The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

184 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

เวสสนั ดรผู้เป็นทานบดี แล้วทลู ขอวา่ ขอจงเปน็ ทาสของเราเสียเถดิ ดังนี้ พระองคก์ ็จะทรงมี
อันมอบพระสรีระให้ไป บรจิ าคไปแน่นอน พอไดใ้ หเ้ ขาไปแลว้ พระองคจ์ ะไมท่ รงเดือดรอ้ น ขอ
ถวายพระพร พระกายของพระเวสสันดร จัดวา่ เป็นของสาธารณะแกส่ ัตว์ท้ังหลายมากมาย
‘‘ยถา มหาราช ปกฺกา มสํ เปสิ พหุสาธารณา, เอวเมว โข มหาราช ร ฺโ
เวสสฺ นตฺ รสสฺ กาโย พหุสาธารโณ ฯ
ขอถวายพระพร ชิ้นเนอื้ สกุ ยอ่ มเป็นสาธารณะแกค่ นมากมาย ฉนั ใด พระกายของพระ
เวสสนั ดร ก็จัดว่าเป็นของสาธารณะแกส่ ตั ว์มากมาย ฉันนน้ั
ยถา วา ปน มหาราช ผลโิ ต รกุ โฺ ข นานาทชิ คณสาธารโณ, เอวเมว โข มหาราช
ร โฺ เวสฺสนฺตรสฺส กาโย พหสุ าธารโณ ฯ กึการณา ? ‘เอวาหํ ปฏปิ ชชฺ นฺโต สมมฺ า-
สมฺโพธ ึ ปาปณุ ิสสฺ ามี’ติ ฯ
ขอถวายพระพร หรอื อีกอย่างหน่งึ ต้นไม้ท่ีผลดิ อกออกผลแล้ว ย่อมเปน็ ของสาธารณะ
แก่หมู่นกนานาชนิด ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระกายของพระเวสสันดร ก็จดั ว่าเปน็ ของ
สาธารณะแกส่ ัตวม์ ากมาย ฉันน้นั เพราะเหตไุ รหรือ ? เพราะทรงด�ำรวิ ่า เมื่อปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งน้ี
เราก็จักบรรลพุ ระสัมมาสัมโพธญิ าณได้ ดังน้ี
‘‘ยถา มหาราช ปุริโส อธโน ธนตถฺ ิโก ธนปริเยสน ํ จรมาโน อชปถ ํ สงฺกุปถ ํ
เวตตฺ ปถ ํ คจฉฺ ติ, ชลถลวาณชิ ฺช ํ กโรติ, กาเยน วาจาย มนสา ธน ํ อาราเธต,ิ ธนปฺ-
ปฏลิ าภาย วายมติ ฯ เอวเมว โข มหาราช เวสฺสนตฺ โร ทานปติ อธโน พทุ ฺธธเนน
สพพฺ ฺ ุต าณรตนปปฺ ฏิลาภาย ยาจกาน ํ ธนธ ฺ ํ ทาสทิ าส ํ ยานวาหนํ สกลสาปเตยยฺ ํ
สกํ ปตุ ตฺ ทาร ํ อตฺตาน จฺ จชติ วฺ า สมมฺ าสมฺโพธเึ ยว ปริเยสติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นบรุ ุษผไู้ ร้ทรพั ยค์ นหน่งึ มคี วามตอ้ งการทรัพย์ เที่ยว
แสวงหาทรพั ย์ ย่อมเดนิ ไปตามทางแพะเดิน ตามทางทมี่ ีขวากหนาม ตามทางทม่ี ปี า่ หวาย
กระท�ำการคา้ ขายท้ังทางบกทางน้ำ� ยนิ ดีทรัพย์ พยายามเพื่อการไดม้ าซึง่ ทรัพย์ดว้ ยกาย ดว้ ย
วาจา ด้วยใจ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระเวสสันดรผูเ้ ปน็ ทานบดี ไร้ทรพั ย์ ดว้ ยทรัพยข์ อง
พระพทุ ธเจา้ ทรงบรจิ าคทรัพย์ ธัญญาหาร ทาสหญิง ทาสชาย ยานพาหนะ สมบัตทิ ัง้ ปวงบตุ ร
และภรรยาของพระองค์เอง และตวั พระองค์เอง แก่คนท้ังหลายผูม้ าขอ เพอ่ื การได้มาซ่ึงรตั นะ
คอื พระสัพพญั ญุตญาณ แสวงหาอยู่แต่พระสัมมาสัมโพธญิ าณ ฉนั นน้ั เหมือนกนั

กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 185

‘‘ยถา วา ปน มหาราช อมจฺโจ มุทฺทกาโม มทุ ทฺ าธิกรณํ ยํ กิ จฺ ิ เคเห ธนธ ฺ ํ
หิร ฺ สุวณฺณ,ํ ต ํ สพฺพํ ทตฺวาปิ มทุ ทฺ ปปฺ ฏลิ าภาย วายมติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
เวสฺสนฺตโร ทานปต ิ สพพฺ ํ ตํ พาหิรพฺภนฺตรธน ํ ทตวฺ า ชวี ิตมปฺ ิ ปเรส ํ ทตฺวา สมมฺ า-
สมโฺ พธเึ ยว ปรเิ ยสติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกเรอ่ื งหนง่ึ เปรยี บเหมอื นว่า อ�ำมาตย์ผู้ตอ้ งการฐานะที่เป็นใหญ่ คือ
ต�ำแหนง่ อคั รมหาเสนาบดี ย่อมพยายามเพื่อการได้มาซึง่ ต�ำแหนง่ อัครมหาเสนาบดี แม้ว่าต้อง
ใชท้ รพั ย์ ธญั ญาหาร เงนิ และทองอย่างใดอยา่ งหน่ึงในเรอื นทงั้ หมดกต็ าม ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระเวสสันดรผู้ทรงเป็นทานบดี ทรงใชท้ รัพยท์ ้งั ภายนอกทัง้ ภายในนัน้ ไปทง้ั หมด แม้
ชีวิตกท็ รงให้ได้ ก็ทรงแสวงหาแตพ่ ระสัมมาสมั โพธญิ าณ ฉันนนั้ เหมอื นกัน
‘‘อปิจ มหาราช เวสฺสนตฺ รสสฺ ทานปตโิ น เอว ํ อโหสิ ‘ย ํ โส พรฺ าหมฺ โณ ยาจต,ิ
ตเมวาห ํ ตสฺส เทนฺโต กิจฺจการี นาม โหม’ี ต,ิ เอว ํ โส ตสฺส ปุตตฺ ทารมทาสิ ฯ น โข
มหาราช เวสฺสนตฺ โร ทานปต ิ เทสสฺ ตาย พฺราหฺมณสฺส ปุตตฺ ทารมทาส,ิ น อทสสฺ นกามตาย
ปุตฺตทารมทาส,ิ น อตพิ หกุ า เม ปุตฺตทารา, ‘น สกฺโกม ิ เต โปเสต’ุ นฺติ ปุตฺตทารมทาสิ,
น อกุ ฺกณฺ โิ ต ‘อปปฺ ยิ า เม’ต ิ นีหรติ ุกามตาย ปุตฺตทารมทาสิ ฯ อถ โข สพฺพ ฺ ุต าณ-
รตนสเฺ สว ปิยตฺตา สพพฺ ฺ ตุ าณสสฺ การณา เวสฺสนตฺ โร ราชา เอวรูป ํ อตุลํ วิปลุ -
มนุตตฺ ร ํ ปยิ ํ มนาป ํ ทยิตํ ปาณสมํ ปุตตฺ ทารทานวร ํ พฺราหมฺ ณสสฺ อทาสิ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนง่ึ พระเวสสนั ดรผทู้ รงเป็นทานบดี ทรงเกดิ พระด�ำริขอ้ นี้
ว่า พราหมณ์ผนู้ ้ันขอส่ิงใด เราเมอ่ื ใหส้ ิง่ นั้นแกเ่ ขา กช็ ่อื วา่ เปน็ ผทู้ �ำกจิ ที่ควรท�ำ ดงั นี้ พระ
เวสสนั ดรนนั้ ทรงด�ำริอยา่ งนี้แลว้ กท็ รงมอบโอรสธิดาและชายาแก่พราหมณ์ผ้นู น้ั ไป ขอถวาย
พระพร พระเวสสนั ดรผ้ทู รงเปน็ ทานบดี ทรงมอบโอรสธดิ าและชายาแกพ่ ราหมณ์ไป ไม่ใช่
เพราะทรงมีความรังเกยี จ ทรงมอบโอรสธิดาและชายาแก่พราหมณไ์ ป ไมใ่ ช่เพราะไมท่ รง
ต้องการจะพบเห็น ทรงมอบโอรสธดิ าและชายาแกพ่ ราหมณไ์ ป เพราะทรงด�ำริวา่ บตุ รและ
ชายาของเรามมี ากเกินไป เราไมอ่ าจเลีย้ งดูคนเหล่าน้นั ได้ ดังนี้ กห็ าไม่ ทรงมอบโอรสธิดา
และชายาให้ไป เพราะทรงเอือมระอา คดิ วา่ ไมเ่ ปน็ ท่ีรักของเรา ดงั น้ีแลว้ ต้องการจะขจัดไป
เสีย กห็ าไม่ แตท่ วา่ พระเวสสันดร ทรงมอบโอรสธดิ าและชายาผู้มคี ณุ อนั ชัง่ ไมไ่ ด้ ผเู้ พรยี บ
พร้อม ยอดเยย่ี ม ผูเ้ ป็นท่รี กั ท่ีชอบใจ ผนู้ า่ เอน็ ดู เสมอดว้ ยชวี ิต เหน็ ปานฉะน้ี แก่พราหมณ์ไป
เพราะเหตแุ ห่งพระสพั พัญญตุ ญาณ เพราะทรงมแี ก้วประเสรฐิ คือ พระสพั พญั ญตุ ญาณน่นั
แหละเปน็ ท่ีรัก

186 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน จรยิ าปิฏเก –
‘‘น เม เทสสฺ า อโุ ภ ปตุ ตฺ า มททฺ ี เทวี น เทสสฺ ยิ า
สพพฺ ฺ ตุ ํ ปยิ ํ มยหฺ ํ ตสมฺ า ปเิ ย อทาสหน’ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเปน็ เทพยิ่งกว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ข้อน้ไี วใ้ นปกรณจ์ ริยาปฎิ กว่า
“บตุ รทงั้ ๒ คนเป็นทเี่ กลียดชัง ของเราก็หามไิ ด้ พระนางมทั รี
เทวี จะไม่เป็นทรี่ กั ของเราก็หามไิ ด้ แตพ่ ระสพั พญั ญตุ ญาณ
เป็นทรี่ ักของเรา ฉะน้นั เราจึงไดใ้ ห้ของซงึ่ เป็นทรี่ กั ”

‘‘ตสมฺ า มหาราช เวสสฺ ตโร ราชา ปุตฺตทาน ํ ทตวฺ า ปณฺณสาลํ ปวสิ ิตฺวา นิปชชฺ ิ ฯ
ตสสฺ อตเิ ปเมน ทกุ ฺขติ สสฺ พลวโสโก อปุ ปฺ ชฺชิ, หทยวตถฺ ุ อณุ หฺ มโหสิ ฯ นาสกิ าย
อปฺปโหนฺตยิ า มเุ ขน อุณเฺ ห อสสฺ าสปสฺสาเส วิสสฺ ชเฺ ชส,ิ อสฺสูน ิ ปริวตฺตติ ฺวา โลหติ พินฺทูนิ
หตุ ฺวา เนตฺเตหิ นิกขฺ มึสุ ฯ เอวเมว โข มหาราช ทุกฺเขน เวสสฺ นตฺ โร ราชา พรฺ าหฺมณสสฺ
ปตุ ตฺ ทารมทาสิ ‘มา เม ทานปโถ ปรหิ ายี’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เพราะฉะนั้น พระเวสสนั ดร ครน้ั ทรงมอบโอรสธิดาและชายาแล้ว ก็
เสด็จเข้าไปไสยาสน์ยงั บรรณศาลา ความเศรา้ โศกมกี �ำลังเกิดขึ้นแก่พระเวสสนั ดรผูเ้ ปน็ ทุกข์
เพราะความอาลยั รกั ยง่ิ นักนน้ั พระทยั กเ็ ร่าร้อน เมอื่ พระนาสิกไมพ่ อ หายใจอยู่ กท็ รงปล่อย
ลมหายใจร้อน ๆ ทางพระโอษฐ์ พระอสั สุชล กลายเป็นหยาดพระโลหิตไหลออกทางพระเนตร
ขอถวายพระพร พระเวสสนั ดรทรงมอบโอรสธิดาและชายาใหแ้ ก่พราหมณ์ไปดว้ ยความทุกข์
อย่างนี้แล ทรงด�ำรวิ า่ ทานบถ (หนทางทาน) ของเรา ขอจงอยา่ ได้เสยี หายไปเลย ดงั น้ี

‘‘อปจิ มหาราช เวสสฺ นตฺ โร ราชา เทฺว อตถฺ วเส ปฏจิ จฺ พฺราหมฺ ณสสฺ เทฺว
ทารเก อทาสิ ฯ กตเม เทฺว ? ทานปโถ จ เม อปรหิ ีโน ภวิสฺสต,ิ ทกุ ฺขเิ ต จ เม ปตุ ตฺ เก
วนมูลผเลหิ อโิ ตนิทานํ อยยฺ โก โมเจสสฺ ตีติ ฯ ชานาติ หิ มหาราช เวสสฺ นฺตโร ราชา
‘น เม ทารกา สกฺกา เกนจิ ทาสโภเคน ภ ุ ฺชิตํ,ุ อิเม จ ทารเก อยยฺ โก นกิ ฺกิณิสสฺ ติ,
เอวํ อมฺหากมฺป ิ คมน ํ ภวสิ สฺ ต’ี ติ ฯ อิเม โข มหาราช เทฺว อตฺถวเส ปฏิจจฺ พรฺ าหมฺ ณสฺส
เทฺว ทารเก อทาสิ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกอย่างหนง่ึ พระเวสสนั ดร ทรงอาศยั อ�ำนาจประโยชน์ ๒
ประการ จึงทรงมอบโอรสธิดาทงั้ ๒ แกพ่ ราหมณ์ไป อ�ำนาจประโยชน์ ๒ ประการ อะไรบ้าง ?
ทรงอาศัยอ�ำนาจประโยชน์ ๒ ประการ อยา่ งน้ีวา่ ทานบถของเรา จกั ไม่เปน็ อันเสียหายไป

กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 187

ดังน้ี ประการหน่งึ พระอยั ยกา (ปู่) จักทรงเปล้ืองบตุ รท้ัง ๒ ของเรา ผปู้ ระสบทุกข์ เพราะเหตุ
ที่ตอ้ งอยปู่ ่า นอนตามโคนไม้ กินแต่ผลไมน้ ี้ ให้พ้นเสยี ได้ ดงั น้ี ประการหนง่ึ ขอถวายพระพร
พระเวสสันดร ทรงทราบว่า ใคร ๆ ไม่อาจใช้ลูกทัง้ ๒ ของเราเป็นทาสได้ และพระอัยยกา จะ
ทรงไถต่ วั ลูกยาทั้ง ๒ ของเรา เมือ่ เป็นอย่างนี้ แม้พวกเรากจ็ กั มีอนั ไดพ้ บกนั ดังน้ี ขอถวาย
พระพร พระเวสสนั ดร ทรงอาศัยประโยชน์ ๒ ประการเหลา่ น้ี แล จึงทรงมอบโอรสธดิ าทั้ง ๒
แกพ่ ราหมณ์ไป
‘‘อปิจ มหาราช เวสสฺ นตฺ โร ราชา ชานาต ิ ‘อย ํ โข พรฺ าหมฺ โณ ชณิ โฺ ณ วฑุ โฺ ฒ
มหลฺลโก ทพุ ฺพโล ภคโฺ ค ทณฑฺ ปรายโณ ขณี ายโุ ก ปรติ ฺตปุ ฺโ , เนโส สมตโฺ ถ อิเม
ทารเก ทาสโภเคน ภุ ฺชิตนุ ฺ’ติ ฯ สกฺกุเณยฺย ปน มหาราช ปุรโิ ส ปากติเกน พเลน อเิ ม
จนทฺ มิ สูรเิ ย เอวมํ หทิ ธฺ ิเก เอวมํ หานภุ าเว คเหตฺวา เปฬาย วา สมคุ ฺเค วา ปกขฺ ปิ ติ วฺ า
นปิ ปฺ เภ กตวฺ า ถาลกปริโภเคน ปรภิ ุ ฺชติ นุ ’ฺ ’ติ ?
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี อยา่ งหนึ่ง พระเวสสันดรทรงทราบว่า พราหมณ์ผนู้ ้ี เป็นคน
ชราแกเ่ ฒา่ ทรามก�ำลัง ใกล้แตกดับ ต้องใชไ้ ม้เท้าพยุงตัวไป สิ้นอายแุ ลว้ ใกล้หมดบุญเตม็ ที
พราหมณ์ผู้น้ี ไม่อาจใช้ลูกทงั้ ๒ ของเราเป็นทาสได้ ดงั น้ี ขอถวายพระพร บรุ ุษพงึ อาจใชก้ �ำลัง
ตามปกติควา้ เอาดวงจนั ทร์ดวงอาทิตย์ทม่ี ฤี ทธิ์มากอย่างน้ี ทมี่ อี านุภาพมากอยา่ งน้ี ใสไ่ วใ้ น
หบี หรือในตลบั ท�ำใหห้ มดรศั มี เพอ่ื ใช้เปน็ จานชามไดห้ รอื ?
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “มิได้หรอก พระคุณเจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อมิ สฺมึ โลเก จนฺทิมสูรยิ ปปฺ ฏิภาคสฺส เวสฺสนฺตรสสฺ ทารกา
น สกกฺ า เกนจิ ทาสโภเคน ภ ุ ฺชติ นุ ฺติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอยา่ งนน้ั นัน่ แหละ พระ
โอรสธดิ าของพระเวสสนั ดรผู้ทรงมสี ่วนเปรียบดว้ ยดวงจันทรแ์ ละดวงอาทติ ยใ์ คร ๆ ในโลกน้ี
ไม่อาจท่ีจะใชเ้ ป็นทาสได”้
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อุตฺตรึ การณ ํ สโุ ณห ิ เยน การเณน เวสฺสนฺตรสฺส ทารกา น
สกกฺ า เกนจ ิ ทาสโภเคน ภุ ชฺ ิตํุ ฯ ยถา มหาราช ร โฺ จกกฺ วตตฺ สิ ฺส มณริ ตน ํ สภุ ํ
ชาติมนฺตํ อฏ ฺ สํ ํ สปุ ริกมมฺ กตํ จตหุ ตฺถยาม ํ สกฏนาภิปริณาห ํ น สกกฺ า เกนจ ิ ปโิ ลตกิ าย
เวเ ตฺวา เปฬาย ปกขฺ ปิ ิตวฺ า สตถฺ กนสิ านปริโภเคน ปริภ ุ ฺชิตุํ, เอวเมว โข มหาราช

188 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

โลเก จกกฺ วตฺติร ฺโ มณริ ตนปฺปฏิภาคสฺส เวสสฺ นฺตรสสฺ ทารกา น สกฺกา เกนจ ิ
ทาสโภเคน ภุ ชฺ ิตํุ ฯ
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดับเหตุผลทย่ี ิ่งขึ้นไปแม้อีกข้อหนง่ึ เถดิ ว่า เพราะ
เหตใุ ด พระโอรสธิดาของพระเวสสันดร ใคร ๆ จงึ ไม่อาจทจ่ี ะใชเ้ ปน็ ทาสได้ เปรยี บเหมอื นวา่
แกว้ มณขี องพระเจ้าจักรพรรดิอนั สวยงาม มีชาติสงู สง่ มีค่าสงู ส่ง ตกแตง่ ไว้ดี กว้าง ๔ ฝา่ มอื
ชกั วงรอบไดเ้ ท่ากับดมุ เกวียน ใคร ๆ ไม่อาจใชผ้ ้าข้ีรว้ิ หอ่ เกบ็ ไว้ในหบี เพ่อื ใชเ้ ปน็ หินลับมีดได้
ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโอรสธดิ าของพระเวสสนั ดรผมู้ สี ่วนเปรียบได้กบั แกว้ มณีของ
พระเจ้าจักรพรรดิใคร ๆ กไ็ มอ่ าจท่จี ะใชเ้ ป็นทาสได้ ฉันนนั้ เหมอื นกนั
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อุตตฺ รึ การณํ สุโณห ิ เยน การเณน เวสฺสนฺตรสสฺ ทารกา น
สกฺกา เกนจิ ทาสโภเคน ภ ุ ชฺ ติ ํุ ฯ ยถา มหาราช ติธา ปภนิ ฺโน สพพฺ เสโต สตตฺ ป-ฺ
ปติฏ ฺ ิโต อฏ ฺ รตนุพฺเพโธ นวรตนายามปรณิ าโห ปาสาทิโก ทสสฺ นโี ย อโุ ปสโถ นาคราชา
น สกกฺ า เกนจ ิ สุปฺเปน วา สราเวน วา ปิทหิต,ํุ โควจฺฉโก วยิ วจฺฉกสาลาย ปกฺขปิ ติ ฺวา
ปรหิ ริตุํ วา, เอวเมว โข มหาราช โลเก อุโปสถนาคราชปฺปฏภิ าคสฺส เวสสฺ นฺตรสสฺ
ทารกา น สกกฺ า เกนจ ิ ทาสโภเคน ภ ุ ฺชิตํุ ฯ
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดบั เหตผุ ลที่ยง่ิ ขึ้นไปแม้อกี ขอ้ หน่ึงเถดิ ว่า เพราะ
เหตใุ ด พระโอรสธดิ าของพระเวสสนั ดร ใคร ๆ จงึ ไมอ่ าจทจ่ี ะใชเ้ ป็นทาสได้ ขอถวายพระพร
เปรยี บเหมือนว่า พญาชา้ งอโุ บสถซง่ึ ขาวปลอดทง้ั ตัว มีอวัยวะ ๗ ส่วน จรดถึงพืน้ สูง ๘ ศอก
ความยาวรอบตวั ๙ ศอก นา่ เลอื่ มใส นา่ ชม ก�ำลงั ตกมันอย่ถู งึ ๓ ทาง ใคร ๆ ไมอ่ าจที่จะใช้
กระด้งหรือขนั ปดิ บังได้ หรือไมอ่ าจจะขังไว้ในโรงฝกึ ลกู โค เพอื่ ฝกึ เหมือนอยา่ งฝกึ ลกู โคได้
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโอรสธดิ าของพระเวสสันดรผู้มสี ว่ นเปรยี บเหมือนกับพญาชา้ ง
อโุ บสถ อันใคร ๆ ในโลกไมอ่ าจท่จี ะใช้เปน็ ทาสได้ ฉนั นัน้ เหมอื นกัน
‘‘อปรมฺปิ มหาราช อุตตฺ รึ การณํ สุโณห ิ เยน การเณน เวสฺสนฺตรสสฺ ทารกา น
สกกฺ า เกนจิ ทาสโภเคน ภุ ชฺ ติ ุํ ฯ ยถา มหาราช มหาสมุทฺโท ทีฆปถุ ุลวิตฺถณิ โฺ ณ
คมฺภีโร อปปฺ เมยโฺ ย ทรุ ุตตฺ โร อปรโิ ยคาฬโฺ ห อนาวโฏ น สกฺกา เกนจิ สพพฺ ตถฺ
ปิทหติ วฺ า เอกติตฺเถน ปรโิ ภคํ กาตํุ, เอวเมว โข มหาราช โลเก มหาสมทุ ทฺ ปฺปฏภิ าคสฺส
เวสสฺ นฺตรสฺส ทารกา น สกกฺ า เกนจ ิ ทาสโภเคน ภ ุ ฺชิตํุ ฯ
ขอถวายพระพร ขอพระองค์จงทรงสดับเหตุผลท่ยี งิ่ ข้นึ ไปแมอ้ ีกขอ้ หนึ่งเถิดวา่ เพราะ

กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 189

เหตใุ ด พระโอรสธดิ าของพระเวสสนั ดร ใคร ๆ ไมอ่ าจทจี่ ะใช้เปน็ ทาสได้ ขอถวายพระพร
เปรียบเหมอื นว่า มหาสมทุ รท่ีกว้างใหญ่ไพศาล ลกึ ไม่อาจประมาณได้ ขา้ มไดย้ าก หยั่งไม่ถึง
หาสง่ิ ปดิ กน้ั มิได้ ใคร ๆ ไม่อาจทจ่ี ะท�ำการปดิ หมดทุกท่า เหลอื ไว้ใช้สอยเพียงท่าเดยี วได้
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโอรสธดิ าของพระเวสสนั ดร ผูม้ ีสว่ นเปรียบได้กบั มหาสมทุ รในโลก
ใคร ๆ ไมอ่ าจท่ีจะใชเ้ ป็นทาสได้ ฉันนน้ั เหมือนกัน
‘‘อปรมฺปิ มหาราช อตุ ตฺ รึ การณํ สโุ ณห ิ เยน การเณน เวสฺสนฺตรสสฺ ทารกา น
สกกฺ า เกนจิ ทาสโภเคน ภุ ฺชติ ุํ ฯ ยถา มหาราช หิมวนโฺ ต ปพพฺ ตราชา ป ฺจโยชนสตํ
อจฺจุคคฺ โต นเภ ติสหสฺสโยชนายามวิตถฺ าโร จตรุ าสตี กิ ฏู สหสฺสปปฺ ฏิมณฑฺ โิ ต ป จฺ นนฺ ํ
มหานทีสตาน ํ ปภโว มหาภูตคณาลโย นานาวิธคนฺธธโร ทพิ โฺ พสธสตสมลงฺกโต นเภ
วลาหโก วิย อจจฺ ุคคฺ โต ทสิ สฺ ติ, เอวเมว โข มหาราช โลเก หิมวนตฺ ปพฺพตราชปฺ-
ปฏิภาคสฺส เวสสฺ นตฺ รสสฺ ทารกา น สกฺกา เกนจิ ทาสโภเคน ภุ ชฺ ติ ํุ ฯ
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดับเหตุผลทีย่ งิ่ ข้นึ ไปแมอ้ กี ข้อหนง่ึ เถิดวา่ เพราะ
เหตใุ ด พระโอรสธิดาของพระเวสสนั ดร ใคร ๆ จงึ ไม่อาจท่จี ะใช้เป็นทาสได้ ขอถวายพระพร
เปรียบเหมือนวา่ ขุนเขาหิมพานตส์ ูงข้ึนไปในท้องฟา้ ถึง ๕๐๐ โยชน์ กวา้ งยาวไปถึง ๓,๐๐๐
โยชน์ ประดับดว้ ยยอด ๘๔,๐๐๐ ยอด เป็นแดนเกดิ แหง่ แม่น�้ำ ๕๐๐ สาย เปน็ ท่ีอาศัยแหง่ หมู่
สตั วม์ ากมาย เป็นทร่ี องรับไมห้ อมต่าง ๆ มีทพิ ยโอสถหลากหลาย มองเหน็ สูงตระหง่านขึ้นไป
ในทอ้ งฟา้ ดจุ เมฆฝน ฉะน้ัน ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโอรสธิดาของพระเวสสนั ดร ผ้มู ีสว่ น
เปรยี บได้กับขุนเขาหิมพานต์ในโลก ใคร ๆ กไ็ ม่อาจท่จี ะใช้เปน็ ทาสได้ ฉันนัน้ เหมอื นกนั
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อุตฺตรึ การณ ํ สุโณห ิ เยน การเณน เวสฺสนฺตรสฺส ทารกา น
สกกฺ า เกนจิ ทาสโภเคน ภุ ชฺ ิตุํ ฯ ยถา มหาราช รตฺตนฺธการตมิ สิ าย ํ อปุ ริปพพฺ ตคเฺ ค
ชลมาโน มหาอคฺคกิ ขฺ นฺโธ สวุ ิทเู รปิ ป ฺ ายต,ิ เอวเมว โข มหาราช เวสฺสนฺตโร ราชา
ปพฺพตคเฺ ค ชลมาโน มหาอคคฺ ิกฺขนโฺ ธ วิย สวุ ิทูเรปิ ปากโฏ ป ฺ ายติ, ตสสฺ ทารกา น
สกกฺ า เกนจิ ทาสโภเคน ภ ุ ชฺ ติ ํุ ฯ
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดับเหตผุ ลท่ยี ิง่ ขนึ้ ไปแม้อีกข้อหนึง่ เถดิ ว่า เพราะ
เหตุใด พระโอรสธดิ าของพระเวสสันดร ใคร ๆ จึงไมอ่ าจที่จะใชเ้ ป็นทาสได้ ขอถวายพระพร
เปรียบเหมือนวา่ กองไฟใหญท่ ลี่ ุกโพลงอยบู่ นยอดภูเขา ในเวลากลางคนื มดื มิด ยอ่ มปรากฏ
เหน็ ไดแ้ ม้ในทีแ่ สนไกล ฉันใด พระเวสสนั ดร ย่อมทรงปรากฏชัดแม้ในที่แสนไกล ดุจกองไฟ

190 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ใหญท่ ่ีลุกโพลงบนยอดภเู ขานั้น ฉันนั้น พระโอรสธิดาของพระองค์ ใคร ๆ จึงไมอ่ าจทีจ่ ะใช้
เป็นทาสได้
‘‘อปรมฺป ิ มหาราช อุตฺตร ึ การณํ สุโณหิ เยน การเณน เวสฺสนตฺ รสฺส ทารกา น
สกฺกา เกนจิ ทาสโภเคน ภ ุ ฺชิตํุ ฯ ยถา มหาราช หมิ วนฺเต ปพพฺ เต นาคปปุ ผฺ สมเย
อุชวุ าเต วายนฺเต ทส ทวฺ าทส โยชนาน ิ ปุปฺผคนฺโธ วายต,ิ เอวเมว โข มหาราช
เวสฺสนตฺ รสสฺ ร ฺโ อป ิ โยชนสหสฺเสหปิ ิ ยาว อกนิฏฺ ภวนํ เอตถฺ นตฺ เร สรุ าสรุ ครฬุ -
คนฺธพฺพยกฺขรกขฺ สมโหรคกินฺนรอนิ ทฺ ภวเนสุ กิตตฺ สิ ทฺโท อพภฺ ุคฺคโต, สลี วรคนโฺ ธ จสฺส
สมปฺ วายติ, เตน ตสสฺ ทารกา น สกฺกา เกนจิ ทาสโภเคน ภ ุ ฺชิตุํ ฯ อนุสิฏโฺ มหาราช
ชาลี กุมาโร ปิตรา เวสสฺ นตฺ เรน ร ฺ า ‘อยฺยโก เต ตาต, ตุมฺเห พฺราหฺมณสสฺ ธนํ
ทตฺวา นกิ กฺ ิณนโฺ ต ตํ นิกขฺ สหสสฺ ํ ทตวฺ า นิกกฺ ิณาต,ุ กณหฺ าชนิ ํ นกิ กฺ ณิ นโฺ ต ทาสสต ํ
ทาสิสต ํ หตถฺ สิ ต ํ อสฺสสต ํ เธนสุ ต ํ อสุ ภสต ํ นกิ ฺขสตนฺต ิ สพฺพสต ํ ทตฺวา นิกกฺ ณิ าต,ุ ยทิ เต
ตาต, อยฺยโก ตมุ เฺ ห พฺราหฺมณสสฺ หตฺถโต อาณาย พลสา มธุ า คณหฺ าติ, มา ตมุ เฺ ห
อยยฺ กสฺส วจนํ กรติ ฺถ, พฺราหมฺ ณสฺเสว อนยุ ายิโน โหถา’ติ, เอวมนุสาสติ ฺวา ปตุ เฺ ต เปเสส,ิ
ตโต ชาลกี ุมาโร คนฺตวฺ า อยยฺ เกน ปฏุ โฺ กเถส ิ –
‘‘สหสสฺ คฆฺ ํ ห ิ ม ํ ตาต พรฺ าหฺมณสฺส ปติ า อทา
อโถ กณหฺ าชนิ ํ ก ฺ ํ หตถฺ นี จฺ สเตน จา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ขอพระองค์จงทรงสดบั เหตผุ ลที่ย่งิ ขึน้ ไปแมอ้ ีกข้อหน่งึ เถดิ วา่ เพราะ
เหตใุ ด พระโอรสธิดาของพระเวสสนั ดร ใคร ๆ จงึ ไม่อาจทจี่ ะใชเ้ ปน็ ทาสได้ ขอถวายพระพร
เปรยี บเหมอื นวา่ ในสมยั ทบ่ี นภเู ขาหิมพานต์มีดอกกากะทิง เมือ่ มีลมอ่อนพัดอยู่ กลนิ่ ดอกไม้
ย่อมฟ้งุ ตลบไป ๑๐–๒๐ โยชน์ ฉนั ใด ขอถวายพระพร กิตติศัพทข์ องพระเวสสันดร ยอ่ มฟุ้ง
กระจายไป ในท่ีระหว่างหลายพันโยชน์ จนถึงพรหมชน้ั อกนฏิ ฐภพ ในที่อยูข่ องพวกเทวดา
อสรู ครุฑ คนธรรพ์ ยักษ์ รากษส มโหรคะ กนิ นร พระอนิ ทร์ ท้ังกลิน่ ศลี ประเสรฐิ ของพระองค์
ก็ฟ้งุ ตลบไป ฉนั นน้ั เหมือนกนั เพราะเหตุนัน้ พระโอรสธิดาของพระองคอ์ นั ใคร ๆ ไม่อาจที่จะ
ใชเ้ ป็นทาสได้ ขอถวายพระพร ชาลีกุมาร อันพระเวสสนั ดรผูเ้ ปน็ พระชนกได้ทรงก�ำชับแลว้ ว่า
น่แี น่ะพ่อ เจ้าจงกราบทูลพระอัยยกาให้ทรงมอบทรัพย์แกพ่ ราหมณไ์ ถ่ตวั เจ้าทั้ง ๒ เถดิ จง
มอบทองพนั ต�ำลึงไถต่ วั เจ้า เม่ือจะไถก่ ัณหาชินา ก็จงมอบไปอย่างละ ๑๐๐ ทุกอยา่ ง คือ ทาส
ชาย ๑๐๐ ทาสหญงิ ๑๐๐ ชา้ ง ๑๐๐ เชือก ม้า ๑๐๐ ตัว โคนม ๑๐๐ ตัว โคผู้ ๑๐๐ ตวั ทอง ๑๐๐
แท่ง ไถต่ วั มา นแ่ี น่ะพอ่ ถา้ หากวา่ พระอยั กาจะทรงใช้พระอ�ำนาจก�ำลัง ยดึ เอาเปล่า ๆ จากมือ

กณั ฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 191

ของพราหมณ์ ขอเจ้าจงอย่าท�ำตามด�ำรสั ของอัยยกา จงติดตามพราหมณไ์ ปเถดิ ดังน้ี ครน้ั
ทรงพร�่ำสอนอยา่ งนี้แลว้ ก็ทรงสง่ พระโอรสพระธิดาไป หลังจากนนั้ ชาลกี มุ ารไปแลว้ ซึง่ ถูก
พระอยั ยกาถาม จงึ ทูลตอบวา่

“ข้าแต่พระอยั ยกา พระบิดาทรงตรี าคาหมอ่ มฉนั มคี า่ เท่าราคา
ทองค�ำ ๑,๐๐๐ แท่ง ทรงตีราคาน้องกัณหาชนิ าราชกญั ญา
ด้วยสัตว์พาหนะมีชา้ งเปน็ ต้นอย่างละ ๑๐๐ แล้ว จึงได้
พระราชทานใหแ้ ก่พราหมณ์” ดงั นี้
‘‘สนุ พิ เฺ พ ิโต ภนฺเต นาคเสน ป โฺ ห, สภุ ินนฺ ํ ทิฏ ฺ ิชาลํ, สุมททฺ โิ ต ปรวาโท,
สกสมโย สุทปี ิโต, พยฺ ฺชนํ สปุ รโิ สธติ ,ํ สุวภิ ตฺโต อตฺโถ, เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นคล่คี ลายปญั หาไดด้ ีแลว้ ทา่ นท�ำลาย
ขา่ ยคอื ทฏิ ฐไิ ด้ดีแล้ว ย่�ำยีวาทะฝ่ายอื่นไดด้ ีแลว้ ท่านไดแ้ สดงความเหน็ ของตนไดด้ ีแล้ว ท้ังยัง
ไดท้ �ำพยัญชนะใหบ้ ริสทุ ธิด์ ี จ�ำแนกอรรถไว้ไดด้ ี โยมขอยอมรบั ค�ำตามท่ีท่านกลา่ วมาอยา่ งน”ี้

เวสฺสนฺตรปญฺโห ป€โม ฯ
จบเวสสันตรปญั หาขอ้ ท่ี ๑

________

๒. ทุกฺกรการิกปญหฺ
๒. ทุกกรการิกปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยเรือ่ งพระโพธิสตั ว์ผู้กระท�ำสิ่งที่ท�ำได้ยาก
[๒] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน สพเฺ พว โพธสิ ตตฺ า ทกุ ฺกรการิกํ กโรนตฺ ิ อุทาห ุ โคตเมเนว
โพธิสตเฺ ตน ทกุ กฺ รการกิ า กตา’’ติ ?
[๒] พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระโพธิสตั ว์ย่อมท�ำทุกกรกิรยิ าทกุ
พระองคห์ รอื วา่ เฉพาะพระโคดมโพธิสตั ว์เทา่ นนั้ ท่ีท�ำทกุ กรกริ ยิ า”
‘‘นตถฺ ิ มหาราช สพเฺ พสํ โพธิสตฺตานํ ทกุ กฺ รการิกา, โคตเมเนว โพธิสตเฺ ตน
ทกุ ฺกรการกิ า กตา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระโพธสิ ัตว์ท้งั หลาย มไิ ด้
ท�ำทกุ กรกริ ยิ าทกุ พระองค์ เฉพาะพระโคดมโพธิสัตวเ์ ท่านน้ั ทท่ี �ำทุกกรกิริยา”

192 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยท ิ เอว ํ อยุตฺตํ, ย ํ โพธสิ ตตฺ าน ํ โพธสิ ตฺเตห ิ เวมตฺตตา
โหตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากวา่ พระโพธสิ ตั วย์ ังมีความแตกต่าง
กบั พระโพธสิ ัตว์ (องค์อนื่ ๆ) อย่างน้ไี ซร้ กย็ อ่ มเปน็ เรอ่ื งไม่สมควร”
‘‘จตูห ิ มหาราช าเนห ิ โพธสิ ตฺตาน ํ โพธสิ ตฺเตหิ เวมตตฺ ตา โหติ ฯ กตเมห ิ
จตูหิ ? กลุ เวมตฺตตา ปธานเวมตฺตตา อายเุ วมตฺตตา ปมาณเวมตฺตตาติ ฯ อเิ มห ิ โข
มหาราช จตหู ิ าเนห ิ โพธสิ ตฺตานํ โพธสิ ตฺเตห ิ เวมตตฺ ตา โหติ ฯ สพฺเพสมฺป ิ มหาราช
พทุ ฺธาน ํ รเู ป สีเล สมาธมิ ฺห ิ ป ฺ าย วมิ ุตตฺ ยิ า วมิ ุตฺติ าณทสสฺ เน จตุเวสารชเฺ ช
ทสตถาคตพเล ฉอสาธารณ าเณ จุทฺทสพุทฺธ าเณ อฏฺ ารสพุทฺธธมเฺ ม เกวเล จ พทุ ธฺ -
คเุ ณ นตถฺ ิ เวมตตฺ ตา, สพเฺ พป ิ พุทธฺ า พทุ ธฺ ธมฺเมห ิ สมสมา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระโพธสิ ัตวย์ อ่ มมีความแตกต่างกบั
พระโพธิสัตว์ (องคอ์ ืน่ ๆ) ดว้ ยฐานะ ๔ ดว้ ยฐานะ ๔ อะไรบ้าง ? ไดแ้ ก่
๑. ความต่างกนั ด้วยสกลุ
๒. ความต่างกันด้วยความเพียร
๓. ความตา่ งกนั ดว้ ยอายุ
๔. ความต่างกนั ด้วยขนาดพระวรกาย
ขอถวายพระพร พระโพธิสัตว์ย่อมมีความแตกตา่ งกบั พระโพธิสตั ว์ด้วยฐานะ ๔ เหล่า
น้แี ล ขอถวายพระพร พระพุทธเจา้ แม้ทกุ พระองค์ไม่ทรงมคี วามต่างกนั ในรปู ในศีล ในสมาธิ
ในปญั ญา ในวมิ ตุ ติ ในวิมุตติญาณทสั สนะ ในเวสารัชชญาณ ๔ ในพระญาณที่เปน็ ก�ำลงั ของ
พระตถาคต ๑๐ ในพระญาณทีไ่ ม่สาธารณะ ๖ ในพระพทุ ธญาณ ๑๔ ในพระพุทธธรรม ๑๘
และในพระพุทธคณุ ทงั้ สนิ้ พระพุทธเจา้ แมท้ ุกพระองคท์ รงเป็นผู้เสมอเหมือนกันดว้ ยพระพทุ ธ
ธรรมทง้ั หลายแล”
‘‘ยทิ ภนฺเต นาคเสน สพเฺ พปิ พทุ ธฺ า พทุ ธฺ ธมเฺ มห ิ สมสมา, เกน การเณน
โคตเมเนว โพธสิ ตเฺ ตน ทุกกฺ รการิกา กตา’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ถ้าหากวา่ พระพุทธเจา้ แม้ทุกพระองค์
ทรงเปน็ ผเู้ สมอเหมอื นกบั ดว้ ยพระพทุ ธธรรมท้ังหลาย จริงแลว้ ไซร้ เพราะเหตุไร เฉพาะพระ
โคดมโพธสิ ัตวเ์ ทา่ นัน้ ทรงกระท�ำทกุ กรกิริยาเล่า ?”

กัณฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 193

‘‘อปรปิ กเฺ ก มหาราช าเณ อปรปิ กฺกาย โพธยิ า โคตโม โพธสิ ตฺโต เนกขฺ มฺมม-
ภนิ ิกขฺ นโฺ ต อปรปิ กฺกํ าณํ ปริปาจยมาเนน ทกุ ฺกรการกิ า กตา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เม่อื ญาณยงั ไม่แกก่ ล้า เมื่อธรรมเครือ่ ง
ตรสั รยู้ งั ไมแ่ กก่ ล้า พระโคดมโพธิสัตว์ เสด็จมหาภิเนษกรมณแ์ ลว้ กท็ รงท�ำทกุ กรกิรยิ า ดว้ ย
ทรงประสงคจ์ ะทรงบม่ พระญาณ”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เกน การเณน โพธิสตฺโต อปริปกฺเก าเณ อปริปกฺกาย
โพธยิ า มหาภินิกฺขมนํ นกิ ขฺ นฺโต, นน ุ นาม าณํ ปริปาเจตฺวา ปริปกเฺ ก าเณ
นกิ ขฺ มติ พฺพน”ฺ ติ ?
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน เพราะเหตไุ ร เม่ือญาณยงั ไม่แก่กลา้ เมอื่
ธรรมเคร่ืองตรัสรู้ ยงั ไม่แกก่ ลา้ เลย พระโพธิสัตว์ยังเสดจ็ ออกมหาภเิ นษกรมณ์เลา่ นา่ จะบม่
พระญาณจนพระญาณแก่กล้าแลว้ จึงคอ่ ยเสด็จมหาภเิ นษกรมณ์ มใิ ชห่ รอื ?”
‘‘โพธิสตฺโต มหาราช วปิ รีต ํ อติ ฺถาคาร ํ ทสิ ฺวา วิปฺปฏิสาร ี อโหสิ, ตสสฺ
วปิ ปฺ ฏสิ ารสิ ฺส อรติ อปุ ปฺ ชฺช,ิ อรติจิตตฺ ํ อุปฺปนนฺ ํ ทิสวฺ า อ ฺ ตโร มารกายิโก เทวปตุ ฺโต
‘อย ํ โข กาโล อรติจิตตฺ สฺส วโิ นทนายา’ต ิ เวหาเส ตวฺ า อิท ํ วจนมพรฺ ว ิ –
‘‘มาริส มา โข ตวฺ ํ อกุ กฺ ณฺ โิ ต อโหสิ, อโิ ต เต สตตฺ เม ทวิ เส ทิพพฺ ํ จกฺกรตน ํ
ปาตุภวสิ สฺ ติ สหสฺสารํ สเนมิกํ สนาภิกํ สพพฺ าการปริปูร,ํ ปถวคิ ตานิ จ เต รตนานิ
อากาสฏฺ านิ จ สยเมว อุปคจฉฺ ิสสฺ นฺติ, ทวฺ สิ หสฺสปริตฺตทีปปรวิ าเรสุ จตูส ุ มหาทเี ปส ุ
เอกมุเขน อาณา ปวตฺติสสฺ ติ, ปโรสหสฺส จฺ เต ปตุ ตฺ า ภวสิ ฺสนตฺ ิ สูรา วรี งคฺ รปู า
ปรเสนปฺปมททฺ นา, เตห ิ ปุตฺเตห ิ ปรกิ ิณโฺ ณ สตตฺ รตนสมนฺนาคโต จตทุ ทฺ ีปมนสุ าสิสฺสสี’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระโพธิสตั วท์ อดพระเนตรเหน็ นาง
สนมก�ำนลั ทีม่ อี าการวิปริตแล้ว ก็ทรงเป็นผู้มคี วามเดือดร้อนพระทยั พระองคผ์ ้ทู รงมพี ระ
วิปฏสิ าร ทรงเกิดความไมย่ ินดขี น้ึ เทพบตุ รท่เี ปน็ พวกมารคนหน่ึง เล็งเหน็ จิตที่ไมย่ ินดเี กิดข้นึ
คิดวา่ นเ้ี ป็นเวลาทเี่ ราจะบรรเทาจิตท่เี บ่ือหน่าย ดังนี้ ยนื เปลง่ ค�ำนี้อยู่ในอากาศว่า
“ท่านผ้นู ริ ทกุ ข์ ขอทา่ นอย่าไดเ้ บือ่ หนา่ ยเลย ในวันที่ ๗ นบั แต่วนั น้ีไป จกั รแกว้ ที่เป็น
ทพิ ย์ จักปรากฏแก่ท่าน เป็นจักรทม่ี ีซกี่ �ำต้งั พัน พรอ้ มทั้งกง พร้อมทง้ั ดมุ บริบูรณโ์ ดยอาการ
ทงั้ ปวง รตั นะทงั้ หลายทอ่ี ยบู่ นพนื้ ดนิ และทีด่ �ำรงอยใู่ นอากาศ จกั มาหาทา่ นเองแน่นอน ทา่ น
จกั มอี �ำนาจเป็นไปในมหาทวปี ท้งั ๔ อนั มีทวีปน้อย ๒,๐๐๐ เปน็ บรวิ าร โดยอาการออกปาก

194 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

เพยี งคราวเดียว และท่านจกั มบี ตุ รมากกว่า ๑,๐๐๐ คน ซงึ่ ลว้ นแต่แกล้วกล้า อาจหาญ ยอ่ ม
ย่ำ� ยีกองทัพฝา่ ยอนื่ ได้ ตัวท่านผ้พู รั่งพร้อมดว้ ยบตุ รเหล่านน้ั ประกอบพร้อมด้วยรตั นะท้งั ๗
แลว้ จักปกครองทวีปทั้ง ๔ ได”้ ดังนี้
‘‘ยถา นาม ทวิ สสนตฺ ตฺตํ อโยสลู ํ สพฺพตฺถ อปุ ฑหนตฺ ํ กณณฺ โสต ํ ปวิเสยยฺ , เอวเมว
โข มหาราช โพธิสตตฺ สฺส ต ํ วจนํ กณฺณโสต ํ ปวิสิตถฺ , อิติ โส ปกติยาว อกุ ฺกณฺ โิ ต
ตสฺสา เทวตาย วจเนน ภิยโฺ ยโส มตฺตาย อพุ ฺพชิ ชฺ ิ สํวชิ ชฺ ิ สเํ วคมาปชชฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า หลาวเหล็กทเี่ ขาเผาไฟตลอดทัง้ วนั พงึ ทมิ่ แทงชอ่ ง
หูทะลุ เขา้ ไปเผาไหมไ้ ดท้ ุกสว่ น ฉันใด ค�ำของเทวดาน้นั กท็ ิม่ แทงช่องพระกรรณของพระ
โพธิสัตว์ เพราะเหตนุ น้ั พระโพธิสตั วน์ ั้น ผูเ้ บือ่ หนา่ ยอยแู่ ล้วตามปกติ พอได้ยนิ ค�ำของเทวดา
ตนนนั้ ก็เบ่อื หน่าย สลดใจ ถงึ ความหวาดหว่ันใจ มากย่งิ ข้ึนไปอีก ฉนั นัน้ ”
‘‘ยถา ปน มหาราช มหตมิ หาอคคฺ ิกขฺ นฺโธ ชลมาโน อ ฺเ น กฏฺเ น อุปฑหิโต
ภยิ โฺ ยโส มตตฺ าย ชเลยฺย, เอวเมว โข มหาราช โพธสิ ตฺโต ปกตยิ าว อกุ ฺกณฺ ิโต ตสสฺ า
เทวตาย วจเนน ภยิ ฺโยโส มตฺตาย อุพฺพิชชฺ ิ สํวชิ ฺชิ สํเวคมาปชฺชิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า กองไฟใหญ่ ๆ ท่ลี กุ โพลงอยู่ ใชไ้ ม้แห้งอ่นื สุมเข้าไป
อีก กพ็ ึงลุกโพลงมากยงิ่ ข้นึ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโพธสิ ตั วผ์ ู้เบ่ือหน่ายอยแู่ ล้ว ตามปกติ
พอไดย้ นิ ค�ำของเทวดานน้ั กเ็ บอ่ื หน่าย สลดใจ ถงึ ความหวาดหวั่นใจ มากยิง่ ขึ้นไปอีก ฉันนน้ั ”
‘‘ยถา วา ปน มหาราช มหาปถวี ปกตติ นิ ฺตา นิพฺพตตฺ หริตสทฺทลา อาสติ โฺ ตทกา
จกิ ฺขลลฺ ชาตา ปนุ เทว มหาเมเฆ อภวิ ุฏฺเ ภยิ โฺ ยโส มตฺตาย จิกขฺ ลลฺ ตรา อสฺส, เอวเมว โข
มหาราช โพธิสตโฺ ต ปกติยาว อกุ กฺ ณ ฺ ิโต ตสฺสา เทวตาย วจเนน ภิยฺโยโส มตฺตาย
อุปปฺ ชฺชิ สํวิชชฺ ิ สํเวคมาปชฺช’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า แผ่นดนิ ใหญ่ ซึ่งเปยี กชื้นอยูแ่ ลว้ ตามปกติ มีหญ้า
เขยี ว ๆ บังเกิด มีน้�ำฝนประพรมอยูเ่ สมอ กเ็ กิดเป็นโคลน เมื่อมีฝนหา่ ใหญ่ตกหนกั ลงมาอีก
ก็จะพงึ เปน็ โคลนมากขน้ึ ไปอกี ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโพธิสตั ว์ ผเู้ บ่อื หนา่ ยอย่แู ลว้ ตาม
ปกติ พอได้ยนิ ค�ำของเทวดาตนน้ัน ก็เบ่อื หนา่ ย สลดใจ ถึงความเรา่ รอ้ นใจมากย่ิงขึ้นไปอกี
ฉนั นั้นเหมอื นกนั ”
‘‘อป ิ น ุ โข ภนเฺ ต นาคเสน โพธิสตตฺ สฺส ยท ิ สตฺตเม ทวิ เส ทพิ พฺ ํ จกกฺ รตน ํ
นิพฺพตเฺ ตยยฺ , ปฏนิ วิ ตฺเตยฺย โพธสิ ตฺโต ทิพเฺ พ จกกฺ รตเน นิพฺพตฺเต’’ติ ?

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 195

พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ หากว่า ในวนั ที่ ๗ จกั รแก้วอันเป็นทิพย์
จะพงึ บังเกดิ แก่พระโพธิสตั วจ์ รงิ ไซร้ พระโพธสิ ัตว์จะพึงเสดจ็ กลับมาท�ำจกั รแกว้ ที่เป็นทพิ ยใ์ ห้
บงั เกดิ หรือไม่ ?”
‘‘น ห ิ มหาราช สตตฺ เม ทวิ เส โพธิสตฺตสฺส ทพิ ฺพํ จกฺกรตนํ นพิ ฺพตเฺ ตยยฺ , อปิจ
ปโลภนตถฺ าย ตาย เทวตาย มสุ า ภณิต,ํ ยทิปิ, มหาราช, สตฺตเม ทวิ เส ทิพฺพํ จกกฺ รตนํ
นิพฺพตเฺ ตยฺย, โพธิสตฺโต น นิวตเฺ ตยฺย ฯ ก ึ การณํ ? ‘อนจิ ฺจ’นฺต ิ มหาราช โพธิสตโฺ ต ทฬฺห ํ
อคฺคเหส,ิ ‘ทุกขฺ ํ อนตฺตา’ติ ทฬหฺ ํ อคคฺ เหสิ, อุปาทานกขฺ ยํ ปตโฺ ต ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ในวันที่ ๗ จกั รแก้วอนั เปน็ ทพิ ยจ์ ะไม่
พึงบงั เกิดแกพ่ ระโพธสิ ัตว์หรอก ก็แต่วา่ เปน็ เพียงค�ำพูดท่ีเทวดาผูต้ ้องการประเล้าประโลมใจ
ตนนน้ั กลา่ วเท็จ ขอถวายพระพร ถ้าหากว่า ในวนั ที่ ๗ จกั รแก้วอันเป็นทิพย์ พึงบังเกิดจรงิ
ไซร้ พระโพธสิ ัตว์จะไม่พึงเสดจ็ กลับ เพราะเหตุไร ? ขอถวายพระพร พระโพธสิ ตั ว์ ทรงได้ถือ
มนั่ คงแลว้ วา่ ไม่เท่ยี ง ทรงได้ถือม่นั คงแลว้ วา่ เปน็ ทกุ ข์ เปน็ อนัตตา ทรงเป็นผบู้ รรลุถงึ ธรรม
อนั เปน็ ทส่ี นิ้ ไปแห่งอุปาทานแล้ว
‘‘ยถา มหาราช อโนตตตฺ ทหโต อุทก ํ คงคฺ ํ นทิ ํ ปวิสติ, คงคฺ าย นทิยา มหาสมทุ ทฺ ํ
ปวสิ ติ, มหาสมทุ ฺทโต ปาตาลมุข ํ ปวสิ ติ, อป ิ น ุ มหาราช ตํ อทุ ก ํ ปาตาลมขุ คต ํ
ปฏนิ วิ ตฺตติ วฺ า มหาสมทุ ทฺ ํ ปวเิ สยฺย, มหาสมุทฺทโต คงคฺ ํ นทึ ปวเิ สยยฺ , คงคฺ าย นทิยา
ปนุ อโนตตฺตํ ปวเิ สยฺยา’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า น้�ำจากสระอโนดาด ย่อมไหลไปสู่แมน่ ้ำ� คงคา นำ้�
จากแมน่ �้ำคงคา ย่อมไหลไปส่มู หาสมุทร น้�ำจากมหาสมทุ ร ย่อมไหลไปสปู่ ากบาดาล ขอถวาย
พระพร ก็แต่ว่า น�้ำทีถ่ ึงปากบาดาลแล้วน้ัน จะพงึ ไหลกลบั ไปสู่มหาสมุทร นำ�้ จากมหาสมุทร
พึงไหลไปสแู่ ม่นำ�้ คงคา นำ�้ จากแมน่ ้ำ� คงคา พึงไหลไปสสู่ ระอโนดาดอกี หรอื ไม”่
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “หามิได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โพธิสตฺเตน กปฺปานํ สตสหสฺสํ จตโุ ร จ อสงฺเขฺยยฺเย กสุ ล ํ
ปรปิ าจติ ํ อมิ สฺส ภวสสฺ การณา, โสย ํ อนตฺ ิมภโว อนุปฺปตฺโต ปรปิ กกฺ ํ โพธ ิ าณํ ฉห ิ
วสฺเสห ิ พทุ ฺโธ ภวสิ สฺ ติ สพพฺ ฺ ู โลเก อคคฺ ปุคฺคโล, อปิ นุ โข มหาราช โพธสิ ตฺโต
จกฺกรตนการณา ปฏินวิ ตฺเตยยฺ า’’ติ ?

196 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นอยา่ งน้ันนั่นแหละเหมอื นกนั
พระโพธิสัตว์ทรงบ่มกุศล ตลอด ๔ อสงไขยกับอกี แสนกัป เพราะเหตุแห่งภพ (ทจ่ี ะได้ส�ำเร็จ
เป็นพระพทุ ธเจ้า) นี้ พระโพธิสตั ว์นั้น ทรงมีภพน้ีเป็นภพสุดทา้ ย จะทรงเป็นผบู้ รรลโุ พธิญาณ
ทแี่ กก่ ล้าตามล�ำดับ ใช้เวลาอีก ๖ ปี กจ็ ักส�ำเร็จเป็นพระสพั พญั ญูพุทธเจา้ ผู้เป็นยอดบุคคลใน
โลก ขอถวายพระพร ก็แตว่ า่ พระโพธสิ ัตว์จะพึงเสดจ็ กลับมา เพราะเหตแุ หง่ จักรแก้วอีก
หรอื ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘อปจิ มหาราช มหาปถว ี ปรวิ ตฺเตยฺย สกานนา สปพพฺ ตา, นเตฺวว โพธิสตโฺ ต
ปฏินวิ ตฺเตยยฺ อปตฺวา สมมฺ าสมโฺ พธึ ฯ อาโรเหยยฺ ปิ เจ, มหาราช, คงฺคาย อุทก ํ ปฏโิ สตํ,
นเตฺวว โพธิสตโฺ ต ปฏินิวตเฺ ตยฺย อปตวฺ า สมมฺ าสมฺโพธึ; วิสสุ ฺเสยยฺ ปิ เจ มหาราช
มหาสมุทฺโท อปรมิ ิตชลธโร โคปเท อทุ กํ วยิ , นเตวฺ ว โพธสิ ตโฺ ต ปฏินวิ ตเฺ ตยยฺ อปตฺวา
สมมฺ าสมโฺ พธ;ึ ผเลยฺยป ิ เจ มหาราช สิเนรปุ พพฺ ตราชา สตธา วา สหสสฺ ธา วา, นเตวฺ ว
โพธสิ ตฺโต ปฏนิ วิ ตเฺ ตยยฺ อปตฺวา สมมฺ าสมฺโพธึ; ปเตยฺยุมฺปิ เจ มหาราช จนทฺ มิ สูริยา
สตารกา เลฑฺฑุ วยิ ฉมายํ, นเตฺวว โพธิสตโฺ ต ปฏนิ ิวตเฺ ตยฺย อปตวฺ า สมฺมาสมโฺ พธ;ึ
สํวตฺเตยฺยป ิ เจ มหาราช อากาโส กลิ ชฺ มิว, นเตวฺ ว โพธิสตฺโต ปฏินิวตฺเตยยฺ อปตวฺ า
สมมฺ าสมฺโพธึ ฯ กกึ ารณา ? ปทาลิตตฺตา สพพฺ พนธฺ นานน’ฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ตอ่ ให้แผน่ ดนิ ใหญ่ พร้อมทัง้ ป่าไม้
พรอ้ มท้ังภเู ขา พงึ พลิกผันไปก็ตาม พระโพธิสัตวไ์ ม่ทรงบรรลุพระสมั มาสัมโพธญิ าณแล้ว กจ็ ะ
ไมเ่ สดจ็ หวนกลับมา ขอถวายพระพร แม้หากวา่ น�ำ้ ในแม่นำ้� คงคา จะพงึ ไหลเออ่ ทวนกระแส
ก็ตาม ส่วนพระโพธิสัตว์ไม่ทรงบรรลพุ ระสัมมาสัมโพธญิ าณแล้ว กจ็ ะไมพ่ งึ เสดจ็ หวนกลับมา
ขอถวายพระพร แม้หากว่า มหาสมทุ รอนั เปน็ ที่รองรบั น�้ำหาปริมาณมไิ ด้ จะพึงเหือดแหง้ ไป
เหมือนน�้ำในรอยเทา้ โคกต็ าม พระโพธิสตั วไ์ ม่ทรงบรรลุพระสัมมาสมั โพธิญาณแล้ว ก็จะไม่พึง
เสดจ็ หวนกลบั มา ขอถวายพระพร แม้หากว่า ขุนเขาสเิ นรุ จะพึงแตกเป็น ๑๐๐ เสี่ยง หรอื
๑,๐๐๐ เส่ียงกต็ าม พระโพธิสตั ว์ไม่ทรงบรรลพุ ระสัมมาสมั โพธิญาณแล้ว กไ็ มพ่ งึ เสดจ็ หวน
กลบั มา ขอถวายพระพร แม้หากว่าดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ พร้อมทงั้ ดวงดาว จะพงึ ตกลงมาที่
พน้ื ดิน เหมือนก้อนดนิ กต็ าม พระโพธสิ ัตวไ์ มท่ รงบรรลุพระสมั มาสมั โพธญิ าณแลว้ กจ็ ะไมพ่ ึง

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 197

เสด็จหวนกลบั มา ขอถวายพระพร แม้หากว่า อากาศจะพงึ งอมว้ นไป เหมอื นเสื่อล�ำแพนก็ตาม
พระโพธสิ ัตว์ไม่ทรงบรรลพุ ระสมั มาสมั โพธญิ าณแล้ว ก็จะไมพ่ ึงเสดจ็ หวนกลับมา ถามว่า
“เพราะเหตุไรหรือ ?” ตอบว่า เพราะทรงท�ำลายธรรมเคร่อื งพนั ธนาการทัง้ ปวงได้แล้ว”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กติ โลเก พนธฺ นาน’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ธรรมเคร่อื งพนั ธนาการในโลก มีเท่าไร ?”
‘‘ทส โข ปนมิ านิ มหาราช โลเก พนฺธนานิ, เยห ิ พนฺธเนห ิ พทธฺ า สตตฺ า น
นิกขฺ มนตฺ ิ, นิกขฺ มิตวฺ าป ิ ปฏินิวตตฺ นฺติ ฯ กตมานิ ทส ? มาตา มหาราช โลเก พนธฺ น,ํ
ปิตา มหาราช โลเก พนฺธนํ, ภริยา มหาราช โลเก พนธฺ นํ, ปุตฺตา มหาราช โลเก
พนธฺ น,ํ าตี มหาราช โลเก พนธฺ น,ํ มิตตฺ ํ มหาราช โลเก พนฺธนํ, ธนํ มหาราช โลเก
พนธฺ น,ํ ลาภสกฺกาโร มหาราช โลเก พนธฺ น,ํ อิสสฺ ริยํ มหาราช โลเก พนธฺ น,ํ ป จฺ กาม-
คุณา มหาราช โลเก พนธฺ น,ํ อิมานิ โข มหาราช ทส โลเก พนธฺ นานิ, เยหิ พนฺธเนห ิ
พทฺธา สตตฺ า น นกิ ขฺ มนฺต,ิ นิกขฺ มิตวฺ าป ิ ปฏินิวตฺตนฺติ, ตานิ ทส พนฺธนาน ิ โพธสิ ตฺตสฺส
ฉนิ นฺ านิ ปทาลิตานิ, ตสฺมา มหาราช โพธิสตฺโต น ปฏนิ ิวตฺตตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ธรรมเครอื่ งพนั ธนาการ มี ๑๐ อย่าง
เหลา่ น้ี เปน็ เหตุใหส้ ัตวถ์ กู ผกู มัดแลว้ กไ็ มก่ ้าวออกไป (จากกาม จากเรือน) แมก้ ้าวออกไปแลว้
ก็ตอ้ งหวนกลับมา ๑๐ อยา่ ง อะไรบา้ ง ? ได้แก่
๑. มารดา จัดว่าเป็นเครื่องพนั ธนาการในโลก
๒. บดิ า จดั วา่ เปน็ เครื่องพนั ธนาการในโลก
๓. ภรรยา จดั ว่าเป็นเครอื่ งพนั ธนาการในโลก
๔. บตุ ร จัดวา่ เป็นเครื่องพนั ธนาการในโลก
๕. ญาติ จัดวา่ เปน็ เครอื่ งพนั ธนาการในโลก
๖. มติ รสหาย จัดวา่ เปน็ เครอ่ื งพนั ธนาการในโลก
๗. ทรัพย ์ จดั วา่ เปน็ เครื่องพนั ธนาการในโลก
๘. ลาภสักการะ จดั ว่าเป็นเครอ่ื งพนั ธนาการในโลก
๙. อสิ สริยยศ จดั ว่าเป็นเครื่องพนั ธนาการในโลก
๑๐. กามคุณ ๕ จดั วา่ เป็นเครอ่ื งพันธนาการในโลก
ขอถวายพระพร ธรรมเครอื่ งพันธนาการในโลกมี ๑๐ อย่างเหล่านีแ้ ล เปน็ เหตใุ หส้ ัตว์

198 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ถกู ผูกมัดแล้วกไ็ มก่ า้ วออกไป แม้กา้ วออกไปแล้ว กต็ ้องหวนกลบั มา ขอถวายพระพร พระ
โพธิสตั ว์ตัดท�ำลายเครอื่ งพนั ธนาการ ๑๐ อย่างเหล่าน้ันได้ เพราะฉะนั้น จึงไม่เสดจ็ กลบั มา”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยทิ โพธิสตฺโต อุปปฺ นเฺ น อรตจิ ิตเฺ ต เทวตาย วจเนน อปรปิ กเฺ ก
าเณ อปรปิ กฺกาย โพธิยา เนกฺขมมฺ มภินกิ ขฺ นโฺ ต, ก ึ ตสสฺ ทกุ กฺ รการกิ าย กตาย, นน ุ
นาม สพพฺ ภกเฺ ขน ภวติ พพฺ ํ าณปรปิ ากํ อาคมยมาเนนา’’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ หากวา่ เมอื่ มจี ิตไมย่ ินดเี กิดขน้ึ เมื่อ
ญาณยังไม่แกก่ ล้า เม่ือความรู้ยงั ไม่แก่กลา้ พระโพธสิ ตั ว์กเ็ สด็จมหาภเิ นษกรมณ์ ตามค�ำทลู
ของเทวดาไซร้ ประโยชนอ์ ะไรด้วยทกุ กรกริ ยิ าทท่ี รงท�ำนน้ั เลา่ พระองคท์ รงเป็นผเู้ สวยพระ
กระยาหารทุกวนั ก็เพราะทรงรอคอยความแกก่ ล้าแห่งญาณ มใิ ชห่ รอื ?”
‘‘ทส โข ปนิเม มหาราช ปุคฺคลา โลกสมฺ ึ โอ ฺ าตา อว ฺ าตา หีฬติ า ขฬี ิตา
ครหติ า ปรภิ ตู า อจติ ฺตกี ตา ฯ กตเม ทส ? อิตฺถ ี มหาราช วธิ วา โลกสฺม ึ โอ ฺ าตา
อว ฺ าตา หีฬิตา ขฬี ิตา ครหติ า ปรภิ ูตา อจติ ฺตกี ตา ฯ ทุพฺพโล มหาราช ปุคฺคโล…เป.
… อมติ ฺต าต ิ มหาราช ปคุ ฺคโล…เป.… มหคฆฺ โส มหาราช, ปุคฺคโล…เป.… อครกุ ลุ วาสโิ ก
มหาราช ปคุ ฺคโล…เป.… ปาปมิตฺโต มหาราช ปคุ คฺ โล…เป.… ธนหโี น มหาราช ปคุ ฺคโล…
เป.… อาจารหีโน มหาราช ปคุ ฺคโล…เป.… กมมฺ หีโน มหาราช ปคุ ฺคโล…เป.… ปโยค-
หโี น มหาราช ปคุ ฺคโล โลกสฺมึ โอ ฺ าโต อว ฺ าโต หีฬโิ ต ขีฬโิ ต ครหิโต
ปริภโู ต อจิตฺตีกโต ฯ อเิ ม โข มหาราช ทส ปคุ ฺคลา โลกสฺม ึ โอ ฺ าตา อว ฺ าตา
หฬี ิตา ขฬี ิตา ครหิตา ปรภิ ูตา อจิตตฺ ีกตา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร บุคคล ๑๐ จ�ำพวกเหลา่ น้ี เป็นผทู้ ่ีเขาดู
หม่ิน ดถู ูก เหยียดหยาม ต�ำหนิ ตเิ ตยี น บรภิ าษ ใคร ๆ ก็ไมย่ �ำเกรงในโลก ๑๐ จ�ำพวก อะไร
บ้าง ขอถวายพระพร ได้แก่
๑. หญงิ มา่ ย เป็นผ้ทู ่เี ขาดหู ม่ิน ดูถูก เหยียดหยาม ต�ำหนิ ติเตยี น บรภิ าษ ใคร ๆ
ก็ไมย่ �ำเกรงในโลก
๒. คนออ่ นแอ เปน็ ผู้ทีเ่ ขาดูหมิ่น ฯลฯ
๓. คนที่ปราศจากญาตมิ ติ ร เป็นผู้ทเ่ี ขาดหู ม่ิน ฯลฯ
๔. คนตะกละ เป็นผู้ทเี่ ขาดหู มิ่น ฯลฯ
๕. คนผู้อยูใ่ นสกลุ อันไม่นา่ เคารพ เปน็ ผู้ที่เขาดหู ม่ิน ฯลฯ

กัณฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 199

๖. คนผคู้ บคนชว่ั เป็นมติ ร เปน็ ผ้ทู ีเ่ ขาดหู ม่นิ ฯลฯ
๗. คนผูเ้ ส่ือมทรัพย ์ เป็นผทู้ ี่เขาดหู มิน่ ฯลฯ
๘. คนผูเ้ สื่อมความประพฤติ เป็นผทู้ ีเ่ ขาดหู ม่นิ ฯลฯ
๙. คนผเู้ สอ่ื มการงาน เปน็ ผู้ทเ่ี ขาดูหม่นิ ฯลฯ
๑๐. คนผ้เู สอ่ื มความเพยี ร เปน็ ผทู้ ีเ่ ขาดหู มิน่ ดถู กู เหยยี ดหยาม ต�ำหนิ ติเตยี น
บรภิ าษ ใคร ๆ กไ็ มย่ �ำเกรงในโลก
ขอถวายพระพร บุคคล ๑๐ จ�ำพวกนีแ้ ล เปน็ ผทู้ ี่เขาดหู มน่ิ ฯลฯ ใคร ๆ ก็ไม่ย�ำเกรง
ในโลก
อมิ านิ โข มหาราช ทส านานิ อนสุ สฺ รมานสฺส โพธิสตฺตสสฺ เอวํ ส ฺ า
อปุ ปฺ ชฺช ิ ‘มาหํ กมมฺ หโี น อสสฺ ํ ปโยคหโี น ครหิโต เทวมนุสฺสาน,ํ ยนํ ูนาหํ กมฺมสสฺ ามี อสฺส ํ
กมฺมครุ กมฺมาธปิ เตยโฺ ย กมมฺ สีโล กมฺมโธรยฺโห กมฺมนเิ กตวา อปปฺ มตโฺ ต วิหเรยยฺ นฺ’ติ,
เอว ํ โข มหาราช โพธิสตฺโต าณ ํ ปรปิ าเจนโฺ ต ทุกฺกรการกิ ํ อกาสี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เมือ่ พระโพธสิ ตั วท์ รงระลึกถึงฐานะ ๑๐ เหลา่ นีอ้ ยู่ ก็เกิดหมายพระทยั
อยา่ งนวี้ ่า ขอเรา จงอยา่ เป็นผเู้ สอ่ื มการงาน เสอ่ื มความเพยี ร ถกู มนุษยแ์ ละเทวดาทั้งหลาย
ตเิ ตยี นเลย ไฉนหนอ เราพึงเปน็ นายแหง่ การงาน หนักแน่นในการงาน เป็นใหญ่ในการงาน มี
การงานเปน็ ปกติ ทรงไว้ซึง่ การงาน มีการงานเป็นท่อี าศยั เปน็ ผไู้ มป่ ระมาทอยู่ ดงั นี้ ขอถวาย
พระพร พระโพธิสัตว์ เม่ือจะทรงบม่ ญาณ กไ็ ด้ทรงท�ำทุกกรกริ ิยาแล”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน โพธิสตโฺ ต ทุกฺกรการกิ ํ กโรนฺโต เอวมาห ‘น โข ปนาหํ อิมาย
กฏุกาย ทุกฺกรการิกาย อธคิ จฉฺ ามิ อุตฺตริมนุสฺสธมฺม ํ อลมรยิ าณทสสฺ นวเิ สสํ, สยิ า นุ โข
อ ฺโ มคฺโค โพธายา’ติ ฯ อป ิ น ุ ตสมฺ ึ สมเย โพธิสตฺตสสฺ มคฺคํ อารพภฺ สตสิ มฺโมโส
อโหสี’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระโพธิสัตว์ผ้ทู รงบ�ำเพ็ญทุกกรกริ ิยา ได้
ตรสั อย่างน้วี า่ เราหาบรรลุอุตตริมนสุ สธรรม คือญาณทสั สนวิเศษท่ีเป็นของพระอริยะ ด้วย
ทกุ กรกิรยิ าอนั เผ็ดร้อนนไ้ี ดไ้ ม่ พอกนั ที นา่ จะมีหนทางตรัสรอู้ ย่างอนื่ ก็แตว่ า่ ในสมัยนั้น พระ
โพธิสัตวท์ รงมกี ารหลงลืมพระสติ ปรารภหนทางหรือหนอ ?”
‘‘ป จฺ วสี ต ิ โข ปนิเม มหาราช จติ ตฺ ทุพฺพลกี รณา ธมฺมา, เยห ิ ทพุ พฺ ลีกต ํ จติ ฺต ํ น
สมมฺ า สมาธิยต ิ อาสวานํ ขยาย ฯ กตเม ป ฺจวสี ติ ? โกโธ มหาราช จิตตฺ ทุพพฺ ลกี รโณ

200 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ธมฺโม, เยน ทพุ ฺพลกี ต ํ จิตตฺ ํ น สมมฺ า สมาธิยติ อาสวาน ํ ขยาย, อปุ นาโห…เป.…
มกโฺ ข…เป.… ปฬาโส…เป.… อิสฺสา…เป.… มจฺฉริยํ…เป.… มายา…เป.… สาเ ยฺยํ…เป
.… ถมโฺ ภ…เป.… สารมฺโภ…เป.… มาโน…เป.… อตมิ าโน …เป.… มโท…เป.…
ปมาโท…เป.… ถินมิทธฺ ํ…เป.… ตนทฺ ิ …เป.… อาลสฺยํ…เป.… ปาปมิตตฺ ตา…เป.…
รปู า…เป.… สทฺทา…เป.… คนฺธา…เป.… รสา…เป.… โผฏ ฺ พพฺ า…เป.… ขทุ าปปิ าสา…
เป.… อรติ, มหาราช, จติ ตฺ ทุพพฺ ลีกรโณ ธมฺโม, เยน ทุพพฺ ลกี ต ํ จติ ฺตํ น สมมฺ า สมาธยิ ต ิ
อาสวานํ ขยาย ฯ อเิ ม โข มหาราช ป จฺ วสี ติ จิตฺตทุพฺพลีกรณา ธมฺมา, เยหิ ทพุ ฺพลกี ต ํ
จติ ตฺ ํ น สมมฺ า สมาธยิ ต ิ อาสวาน ํ ขยาย ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ธรรมเปน็ เหตุ กระท�ำความทุรพล
(ความออ่ นแอ) แห่งจติ มี ๒๕ อย่างเหล่าน้ี อนั เปน็ ธรรมท่เี ป็นเหตุทจ่ี ิตถูกกระท�ำให้ทรุ พลแลว้
ก็ไม่ต้งั มนั่ เสมอ โดยชอบเพอ่ื ความสิ้นไปแห่งอาสวะท้งั หลาย ๒๕ อยา่ ง อะไรบา้ ง ? ขอถวาย
พระพร ไดแ้ ก่
๑. โกธะ (ความโกรธ) เป็นธรรมเปน็ เหตทุ �ำความทรุ พลแห่งจิต เปน็ เหตใุ ห้จิต ถกู
กระท�ำใหท้ ุรพลแล้ว ก็ไมต่ ง้ั มั่นเสมอโดยชอบ เพอ่ื ความสนิ้ ไปแห่งอาสวะทงั้ หลาย
๒. อุปนาหะ (ความผูกโกรธ) ฯลฯ
๓. มักขะ (ความลบหลู่) ฯลฯ
๔. ปฬาสะ (ความตเี สมอ) ฯลฯ
๕. อิสสา (ความรษิ ยา) ฯลฯ
๖. มจั ฉริยะ (ความตระหน่ี) ฯลฯ
๗. มายา (ความหลอกลวง) ฯลฯ
๘. สาเถยยะ (ความเสแสรง้ แกล้งท�ำ) ฯลฯ
๙. ถมั ภะ (ความดือ้ ดงึ ) ฯลฯ
๑๐. สารัมภะ (ความแข่งด)ี ฯลฯ
๑๑. มานะ (ความถือตัว) ฯลฯ
๑๒. อติมานะ (ความเยอ่ หยงิ่ ) ฯลฯ
๑๓. มทะ (ความมัวเมา) ฯลฯ
๑๔. ปมาทะ (ความประมาท) ฯลฯ
๑๕. ถีนมทิ ธะ (ความหดหู่ทอ้ ถอย) ฯลฯ

กณั ฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 201

๑๖. ตนั ทิ (ความเกียจครา้ น) ฯลฯ
๑๗. อาลสยะ (ความเฉื่อยชา) ฯลฯ
๑๘. ปาปมิตตา (ความคบคนชว่ั เป็นมิตร) ฯลฯ
๑๙. รูป (รูป) ฯลฯ
๒๐. สัททะ (เสยี ง) ฯลฯ
๒๑. คันธะ (กลิน่ ) ฯลฯ
๒๒. รสะ (รส) ฯลฯ
๒๓. โผฏฐัพพะ (อารมณท์ ก่ี ระทบกาย) ฯลฯ
๒๔. ขุทาปปิ าสา (ความหวิ และความกระหาย) ฯลฯ
๒๕. อรติ (ความไม่ยินด)ี เป็นธรรมเป็นเหตุกระท�ำความทุรพลแห่งจติ เป็นเหตุให้จิต
ถกู กระท�ำให้ทรุ พลแล้ว กไ็ มต่ ้งั มน่ั เสมอโดยชอบ เพ่ือความส้นิ ไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ขอ
ถวายพระพร ธรรมเปน็ เหตุกระท�ำความทรุ พลแห่งจติ มี ๒๕ อยา่ ง เหล่านี้แล ฯลฯ เพ่อื ความ
สน้ิ ไปแห่งอาสวะทงั้ หลาย
โพธสิ ตฺตสฺส โข มหาราช ขุทาปิปาสา กายํ ปรยิ าทยิ สึ ุ, กาเย ปริยาทินฺเน จติ ตฺ ํ
น สมมฺ า สมาธยิ ติ อาสวาน ํ ขยาย ฯ สตสหสสฺ ํ, มหาราช, กปฺปานํ จตุโร จ อสงขฺ เฺ ยยฺเย
กปเฺ ป โพธิสตโฺ ต จตุนนฺ เํ ยว อรยิ สจจฺ าน ํ อภิสมยํ อนฺเวสิ ตาสุ ตาส ุ ชาตสี ,ุ ก ึ ปนสฺส
ปจฉฺ ิเม ภเว อภสิ มยชาติยํ มคคฺ ํ อารพฺภ สติสมโฺ มโส เหสฺสติ ? อปจิ มหาราช
โพธสิ ตฺตสสฺ ส ฺ ามตฺต ํ อปุ ปฺ ชฺชิ ‘สยิ า นุ โข อ ฺโ มคโฺ ค โพธายา’ติ ฯ ปพุ เฺ พ โข
มหาราช โพธสิ ตฺโต เอกมาสโิ ก สมาโน ปติ ุ สกกฺ สฺส กมฺมนฺเต สีตาย ชมฺพุจฉฺ ายาย
สริ สิ ยเน ปลฺลงกฺ ํ อาภชุ ิตฺวา นสิ ินฺโน ววิ ิจฺเจว กาเมห ิ วิจิจฺจ อกุสเลห ิ ธมเฺ มหิ สวิตกฺกํ
สวิจาร ํ วเิ วกช ํ ปตี สิ ุข ํ ป มํ ฌาน ํ อุปสมฺปชฺช วหิ าสิ…เป.… จตตุ ฺถ ํ ฌาน ํ อุปสมฺปชฺช
วหิ าส’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ความหวิ และความกระหาย ไดท้ �ำพระวรกายของพระโพธสิ ตั ว์ ใหส้ นิ้
เร่ียวแรงไป เมอ่ื พระวรกายสิน้ เรยี่ วแรงไป พระทัยก็ไม่ต้งั มั่นโดยชอบ เพ่ือความสิน้ ไปแห่ง
อาสวะท้ังหลาย ขอถวายพระพร พระโพธสิ ตั ว์ ทรงแสวงหาการตรสั รู้อริยสจั ๔ นั่นแหละ มา
ตลอด ๔ อสงไขยกับอกี แสนกัป ในพระชาตทิ ้ังหลายน้นั ๆ ไฉน ในชาตทิ ่ีจะตรัสรใู้ นภพ
สดุ ทา้ ย พระองค์จกั เปน็ ผูห้ ลงลมื พระสติปรารภหนทางอีกเลา่ ขอถวายพระพร ก็แต่วา่ พระ
โพธสิ ตั วเ์ พียงแต่เกิดหมายพระทยั วา่ นา่ จะมีหนทางตรัสรู้อย่างอนื่ ดังน้ีเทา่ นน้ั ขอถวาย

202 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

พระพร ในกาลกอ่ น พระโพธสิ ตั วท์ รงเปน็ ผู้มีพระทัยเปน็ หนึง่ เม่อื เจ้าศากยะผูเ้ ป็นพระชนก
ลงประกอบพระราชพธิ อี ยู่ ก็ทรงนั่งคู้บัลลงั ก์บนพระทีบ่ รรทม ใตเ้ งาต้นหว้าอันเยน็ ทรงสงดั
จากกาม สงดั จากอกุศลธรรมท้งั หลาย เขา้ ปฐมฌานอันมวี ิตก มวี จิ าร เกิดจากวิเวก มีปีตแิ ละ
สขุ อยู่ ฯลฯ เข้าจตตุ ถฌานอยู่แล”

‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏิจฺฉาม,ิ าณํ ปริปาเจนโฺ ต โพธสิ ตโฺ ต
ทุกกฺ รการิก ํ อกาส’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “ดีจริง พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามทที่ า่ นกล่าวมา
นี้ พระโพธิสัตวเ์ มอ่ื จะทรงบ่มพระญาณ จงึ ได้ทรงท�ำทุกกรกิรยิ า”

ทุกกฺ รการกิ ปญโฺ ห ทตุ ิโย ฯ
จบทุกกรการกิ ปญั หาข้อที่ ๒

________

๓. กสุ ลากุสลพลวตรปญหฺ
๓. กสุ ลากสุ ลพลวตรปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยธรรมท่ีมกี �ำลังมากกว่ากนั แห่งกุศลกับอกศุ ล
[๓] ‘‘ภนฺเต นาคเสน กตมํ อธมิ ตตฺ ํ พลวตร ํ กสุ ล ํ วา อกุสล ํ วา’’ติ ?
[๓] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน กศุ ลกบั อกศุ ลอย่างไหน มีประมาณย่ิง
กวา่ กนั มกี �ำลังมากกว่ากนั ?”

‘‘กุสลํ มหาราช อธมิ ตฺต ํ พลวตรํ, โน ตถา อกุสลน’ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร กุศลมีประมาณย่งิ กวา่ มี
ก�ำลังมากกวา่ อกุศลหาเป็นเช่นนัน้ ไม”่

‘‘นาห ํ ภนเฺ ต นาคเสน ตํ วจน ํ สมฺปฏจิ ฺฉาม ิ ‘กุสลํ อธมิ ตตฺ ํ พลวตรํ, โน ตถา
อกสุ ลน’ฺ ติ, ทิสฺสนฺติ ภนฺเต นาคเสน อธิ ปาณาติปาตโิ น อทนิ นฺ าทายิโน กาเมสุมิจฉฺ า-
จาริโน มุสาวาทโิ น คามฆาติกา ปนฺถทสู กา เนกติกา ว จฺ นกิ า, สพฺเพ เต ตาวตเกน
ปาเปน ลภนฺติ หตถฺ จฺเฉทํ ปาทจเฺ ฉทํ หตถฺ ปาทจฺเฉท ํ กณณฺ จฺเฉท ํ นาสจฺเฉท ํ กณฺณนาสจ-ฺ
เฉทํ พลิ งฺคถาลกิ ํ สงฺขมณุ ฺฑกิ ํ ราหุมขุ ํ โชติมาลิก ํ หตฺถปชโฺ ชติก ํ เอรกวตฺตกิ ํ จีรกวาสิกํ

กัณฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 203

เอเณยยฺ กํ พฬสิ มํสกิ ํ กหาปณิกํ ขาราปตจฺฉิก ํ ปลิฆปรวิ ตฺติกํ ปลาลปี ก ํ ตตเฺ ตนป ิ เตเลน
โอส ิ จฺ นํ สุนเขหปิ ิ ขาทาปน ํ ชีวสูลาโรปนํ อสินาปิ สสี จฺเฉท,ํ เกจ ิ รตฺตึ ปาปํ กตวฺ า
รตตฺ เึ ยว วปิ ากํ อนภุ วนฺต,ิ เกจ ิ รตตฺ ึ กตวฺ า ทิวาเยว อนภุ วนตฺ ,ิ เกจิ ทิวา กตฺวา
ทิวาเยว อนุภวนตฺ ิ, เกจ ิ ทิวา กตฺวา รตฺตเึ ยว อนภุ วนตฺ ิ, เกจ ิ เทฺว ตโย ทวิ เส วีติวตเฺ ต
อนุภวนฺติ, สพฺเพป ิ เต ทิฏเฺ ว ธมเฺ ม วิปากํ อนภุ วนตฺ ิ ฯ อตถฺ ิ ปน ภนฺเต นาคเสน
โกจ ิ เอกสสฺ วา ทวฺ นิ นฺ ํ วา ติณณฺ ํ วา จตุนนฺ ํ วา ป ฺจนฺนํ วา ทสนนฺ ํ วา สตสฺส วา
สหสฺสสฺส วา สตสหสฺสสสฺ วา สปริวาร ํ ทาน ํ ทตวฺ า ทฏิ ฺ ธมมฺ กิ ํ โภค ํ วา ยส ํ วา สุข ํ วา
อนภุ วติ า สีเลน วา อุโปสถกมฺเมน วา’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ค�ำตอบท่วี ่า กศุ ลมปี ระมาณยงิ่ กวา่ ‘มี
ก�ำลังมากกว่า อกุศลหาเปน็ เช่นนั้นไม่’ ดังน้ีนัน้ โยมยอมรับไมไ่ ดห้ รอก พระคณุ เจา้ นาคเสน
ในโลกน้ี ก็ปรากฏอยูว่ ่า คนที่มักฆ่าสตั ว์ มกั ถือเอาของท่ีเขามิได้ให้ มกั ประพฤติผดิ ในกาม
มกั กล่าวเทจ็ คนที่เปน็ โจรปลน้ บ้าน เป็นโจรปล้นตามหนทาง เป็นคนหลอกลวง เปน็ คน
คดโกง ทุกคนเหลา่ นั้นผมู้ บี าปทีท่ �ำไว้เพยี งเทา่ นน่ั ย่อมไดร้ ับผลคือการถูกตัดมอื การถูกตัด
เทา้ การถูกตัดทง้ั มือทงั้ เทา้ การถกู ตดั หู การถกู ตดั จมกู การถกู ตดั ทั้งหูทั้งจมูก การถูกถลก
หนงั ศรี ษะ การถกู ถลกหนังท้ังตวั การถูกท�ำปากราหู (งดั ปากใหอ้ า้ เอาผา้ ชบุ นำ�้ มันยดั ปาก
แลว้ จุดไฟ) การถูกท�ำมาลิกะ (มาลัยเปลวไฟสอ่ งสว่าง คือ เอาผา้ ชบุ นำ�้ มันพันตลอดทง้ั ตวั แล้ว
จุดไฟ) การถกู ท�ำหตั ถปัชโชตกิ ะ (มือสอ่ งแสง คอื เอาผ้าชุบน�ำ้ มันพันนิว้ มือแล้วจุดไฟ) การถกู
ท�ำเอรกวตั ติกะ (นุ่งผ้าแกะ คอื ถลกหนังต้งั แต่คอมาจนถึงข้อเท้า แล้วตีใหว้ ิ่งเหยียบหนงั
ตนเอง) การถูกท�ำจีรกวาสิกะ (นงุ่ ผา้ เปลือกปอคอื ถลกหนงั เปน็ ริว้ ๆ ต้ังแต่คอลงมาถงึ ข้อเทา้ )
การถูกท�ำเอเณยยกะ (ท�ำใหเ้ ปน็ เน้ือทราย คอื ให้คุกเข่าคกุ ศอกลงบนหลาวเหลก็ ) การถกู ท�ำ
พฬิสมังสกิ ะ (ตกเบ็ด คอื เอาเบ็ดเกี่ยวตามเน้อื ตวั แล้วดึงให้หนัง เน้อื เอน็ หลดุ ขาดเปน็ ชน้ิ ๆ)
การท�ำกหาปณิกะ (ท�ำเหรยี ญ คือเอามดี เฉือนเน้อื ออกทีละก้อน เป็นกอ้ นกลม ๆ ขนาดเท่า
เหรยี ญ) การท�ำขารปตัจฉิกะ (รดน้�ำแสบ คอื สับฟันเนอ้ื ท่ัวท้งั ตวั แลว้ ใช้น้�ำแสบราดรด) การ
ท�ำปลฆิ ปริวตั ติกะ (ตอกลิม่ คอื ให้นอนตะแคง แล้วใช้หลาวเหลก็ ตอกเข้าไปในชอ่ งหใู ห้ทะลุ
ไปปกั ตดิ กับพื้นดนิ ข้างลา่ ง แลว้ จบั ข้อเทา้ พาเดินใหห้ มุนไปโดยรอบ) การใหน้ อนเตียงหนาม
เหลก็ การถกู ราดรดด้วยน้ำ� มันเดอื ด ๆ การถูกเขาให้สุนขั ขบกดั การถูกเสียบอยู่บนปลาย
หลาว การถกู ตัดศีรษะดว้ ยดาบ บางพวกท�ำชวั่ ตอนกลางคืน กไ็ ดร้ ับผลตอนกลางคนื น่นั แหละ
บางพวกท�ำชวั่ ตอนกลางคืน ก็ได้รบั ผลในตอนกลางวนั บางพวกท�ำชั่วตอนกลางวนั ไดร้ ับผล

204 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ในตอนกลางวนั นั่นแหละ บางพวกท�ำชว่ั ตอนกลางวัน แตไ่ ด้รบั ผลในตอนกลางคนื บางพวก
ท�ำชัว่ ไว้ เมือ่ ลว่ งไปแล้ว ๒-๓ วัน จงึ ได้รับผล คนเหลา่ น้ันแมท้ กุ คน ย่อมไดร้ ับผลในปัจจบุ ัน
นั่นแหละ พระคุณเจ้านาคเสน บุคคลบางคนใหท้ านพรอ้ มทัง้ เคร่อื งบริวารแก่ปฏคิ คาหกคน
เดยี วบ้าง ๒ คนบ้าง ๓ คนบา้ ง ๔ คนบา้ ง ๕ คนบา้ ง ๑๐ คนบา้ ง ร้อยคนบา้ ง พันคนบ้าง หรอื
แสนคนบ้าง แล้วก็ไดร้ ับปริโภคทรพั ยบ์ า้ ง ยศบ้าง ความสขุ บ้าง อนั มอี ยใู่ นปัจจุบัน ด้วยศลี
หรอื ด้วยอโุ บสถกรรม มีอยู่บา้ งหรอื ไม่ ?”
‘‘อตฺถิ มหาราช จตตฺ าโร ปุรสิ า ทาน ํ ทตฺวา สีล ํ สมาทยิ ิตวฺ า อุโปสถกมฺม ํ กตฺวา
ทฏิ เฺ ว ธมเฺ ม เตเนว สรรี เทเหน ติทสปุเร สมนุปปฺ ตตฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร บุรษุ ผู้ใหท้ าน สมาทานศลี
กระท�ำอโุ บสถกรรมแลว้ ไดเ้ สวยวบิ ากในเมอื งสวรรคใ์ นอตั ภาพปัจจบุ นั ดว้ ยสรีรกายนั้นนน่ั
แหละ ก็มีอย่ถู งึ ๔ คน”
‘‘โก จ โก จ ภนเฺ ต’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสถามวา่ “มีใครกนั บา้ งละ พระคณุ เจา้ ?”
‘‘มนฺธาตา มหาราช ราชา นิมิ ราชา สาธีโน ราชา คุตตฺ โิ ล จ คนธฺ พโฺ พ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร มพี ระเจา้ มันธาตุ พระเจา้ นมิ ิ พระเจา้
สาธีนะ และคนธรรพช์ ่ือคุตตลิ ะ”
‘‘ภนฺเต นาคเสน อเนเกห ิ ภวสหสเฺ สห ิ อนฺตรติ ,ํ ทวฺ ินฺนมเฺ ปตํ อมหฺ าก ํ ปโรกฺข,ํ ยท ิ
สมตฺโถสิ วตตฺ มานเก ภเว ภควโต ธรมานกาเล กเถหี’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน เรือ่ งบคุ คลทงั้ ๔ นน้ั ลว่ งเลยมาแล้วหลาย
พนั ภพชาติ เรอื่ งของบุคคลทัง้ ๔ น้ี ลบั สายตาเราท้งั ๒ คนไปนานแล้ว ถา้ หากว่าท่านสามารถ
กจ็ งกลา่ วถงึ บคุ คลในภพปจั จุบนั ในกาลสมยั ทพ่ี ระผู้มีพระภาคเจ้ายงั ทรงพระชนม์อยู่เถดิ ”
‘‘วตตฺ มานเกป ิ มหาราช ภเว ปณุ ณฺ โก ทาโส เถรสฺส สาริปตุ ฺตสฺส โภชนํ ทตฺวา
ตทเหว เสฏ ฺ ฏิ ฺ าน ํ อชฌฺ ปุ คโต, โส เอตรห ิ ปุณณฺ โก เสฏฺ ตี ิ ป ฺ าย,ิ โคปาลมาตา
เทว ี อตตฺ โน เกเส วกิ กฺ ิณติ วฺ า ลทฺเธห ิ อฏฺ ห ิ กหาปเณห ิ เถรสสฺ มหากจฺจายนสฺส
อตฺตฏฺ มกสฺส ปิณฑฺ ปาต ํ ทตฺวา ตทเหว ร ฺโ จนฺทปชโฺ ชตสฺส อคฺคมเหสิฏฺ านํ ปตตฺ า ฯ
สปุ ฺปิยา อปุ าสกิ า อ ฺ ตรสสฺ คลิ านภกิ ฺขุโน อตตฺ โน อรู ุมํเสน ปฏิจฉฺ าทนีย ํ ทตวฺ า

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 205

ทุติยทิวเสเยว รูฬหฺ วณา ส ฉฺ ว ี อโรคา ชาตา ฯ มลฺลิกา เทว ี ภควโต อาภโิ ทสกิ ํ
กมุ ฺมาสปณิ ฺฑํ ทตวฺ า ตทเหว ร โฺ โกสลสฺส อคฺคมเหสี ชาตา ฯ สุมโน มาลากาโร
อฏ ฺ ห ิ สุมนปปุ ฺผมุฏ ฺ หี ิ ภควนตฺ ํ ปเู ชตวฺ า ตทํ ิวสเํ ยว มหาสมฺปตตฺ ึ ปตโฺ ต ฯ เอกสาฏโก
พฺราหมฺ โณ อุตฺตรสาฏเกน ภควนตฺ ํ ปเู ชตวฺ า ตทํ วิ สํเยว สพฺพฏ ฺ ก ํ ลภ,ิ สพเฺ พเปเต
มหาราช ทฏิ ฺ ธมมฺ ิก ํ โภค จฺ ยส จฺ อนภุ วสึ ’ู ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร แม้ในภพปัจจบุ นั นายปุณณะไดถ้ วาย
โภชนาหารแก่ท่านพระสารีบตุ ร แล้วกไ็ ด้ครองต�ำแหน่งเศรษฐีในวันเดยี วกนั นั้นนั่นแหละ นาย
ปณุ ณะนั้น ได้ปรากฏแล้ววา่ เปน็ เศรษฐใี นปจั จบุ นั น้ี พระนางโคปาลมาตาเทวีทรงขายพระ
เกศาของพระนางเองได้ ๘ กหาปณะ แลว้ ถวายบิณฑบาตแกพ่ ระเถระ มีพระมหากจั จายนะ
เปน็ รูปที่ ๘ ได้รับต�ำแหน่งอัครมเหสีของพระเจ้าจันทปัชโชติในวนั น้ันนน่ั แหละ อุบาสิกาช่อื
สปุ ปยิ า ไดใ้ ชเ้ นอ้ื ขาของตนต้มเป็นนำ้� ซปุ ถวายแก่ภิกษไุ ข้รปู หนงึ่ แลว้ แผลก็งอกเตม็ หายเจ็บ
ป่วยในวันที่ ๒ น่นั เอง นางมลั ลิกาเทวี ไดถ้ วายกอ้ นขนมท่ีปรงุ เม่ือเยน็ วานแกพ่ ระผมู้ พี ระ
ภาคเจ้า แล้วก็เกดิ ไดเ้ ปน็ อคั รมเหสีของพระเจ้าโกศลในวนั เดียวกันนน้ั นายสมุ นมาลาการได้
บชู าพระผูม้ ีพระภาคเจา้ ด้วยดอกมะลิ ๘ ก�ำมือ แล้วไดร้ ับมหาสมบัติในวนั น้ันนนั่ แหละ, เอก
สาฎกพราหมณบ์ ชู าพระผมู้ พี ระภาคเจ้าดว้ ยผา้ เฉวียงบ่า แลว้ กไ็ ดร้ บั พระราชทานของทกุ ส่ิง
สง่ิ ละ ๘ ในวนั เดียวกนั นั้น, ขอถวายพระพร บุคคลเหลา่ นีแ้ ม้ทุกคน ลว้ นไดร้ ับโภคสมบัติและ
ยศในอตั ภาพปจั จบุ นั นี้”
‘‘ภนฺเต นาคเสน วิจินิตฺวา ปรเิ ยสติ ฺวา ฉ ชเนเยว อทฺทสาสี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นคน้ หาแล้วพบเห็นอยเู่ พียง ๖ คน
เท่านน้ั หรือ ?”
‘‘อาม มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ใช่ มหาบพติ ร”
‘‘เตนหิ ภนฺเต นาคเสน อกุสลเํ ยว อธิมตฺตํ พลวตร,ํ โน ตถา กุสลํ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “ถา้ อยา่ งนนั้ นะ พระคณุ เจ้านาคเสน อกศุ ลน่นั แหละ มปี ระมาณ
ยิ่งกวา่ มีก�ำลังมากกว่า กศุ ลหาเป็นเช่นนั้นไม่”

206 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

อห ฺหิ ภนเฺ ต นาคเสน เอกทิวสํเยว ทสป ิ ปุริเส ปสฺสามิ ปาปสฺส กมฺมสสฺ
วิปาเกน สเู ลสุ อาโรเปนฺเต วสี มฺป ิ ตสึ มปฺ ิ จตตฺ าลีสมฺป ิ ป ฺ าสมปฺ ิ ปุริสสตมปฺ ิ ปรุ ิส-
สหสฺสมปฺ ิ ปสฺสามิ ปาปสสฺ กมฺมสสฺ วปิ าเกน สเู ลสุ อาโรเปนฺเต ฯ นนทฺ กลุ สฺส ภนฺเต
นาคเสน ภททฺ สาโล นาม เสนาปติปตุ โฺ ต อโหสิ ฯ เตน จ ร ฺ า จนทฺ คุตฺเตน สงคฺ าโม
สมุปพยฺ ฬู ฺโห อโหสิ ฯ ตสมฺ ึ โข ปน ภนเฺ ต นาคเสน สงคฺ าเม อุภโต พลกาเย อสตี กิ -
พนธฺ รปู านิ อเหส,ํุ เอกสมฺ ึ กิร สสี กพนเฺ ธ ปริปาเต เอกํ กพนฺธรปู ํ อฏุ ฺ หติ, สพฺเพเปเต
ปาปสเฺ สว กมมฺ สสฺ วปิ าเกน อนยพยฺ สนํ อาปนนฺ า ฯ อมิ ินาปิ, ภนเฺ ต นาคเสน การเณน
ภณามิ อกุสลเํ ยว อธมิ ตฺต ํ พลวตรํ, โน ตถา กสุ ลน”ฺ ติ ฯ
พระคณุ เจ้านาคเสน โยมเหน็ บรุ ษุ ๑๐ คน ถูกเสยี บบนปลายหลาว เพราะผลของกรรม
ชว่ั เหน็ บุรษุ แม้ ๒๐ คน แม้ ๓๐ คน แม้ ๔๐ คน แม้ ๕๐ คน แม้ ๑๐๐ คน แม้ ๑,๐๐๐ คน
ถูกเสียบบนปลายหลาว เพราะผลของกรรมชวั่ ในวันเดยี วกนั นัน้ เอง พระคุณเจา้ นาคเสน
บุตรเสนาบดี ชอื่ ว่าภัททสาละ แห่งนนั ทสกลุ ได้กอ่ สงครามกบั พระเจ้าจนั ทคตุ พระคณุ เจา้
นาคเสน ในการสงครามคราวนน้ั ในหมูไ่ พรพ่ ลทง้ั ๒ ฝา่ ย มผี หี วั ขาดอยู่ ๘๐ ร่าง เมอื่ ผหี ัวขาด
ร่างหน่ึงล้มลงไป รา่ งหนึ่งกล็ ุกข้นึ มา, ไพรพ่ ลเหลา่ น้ันทกุ คน ล้วนถงึ ความย่อยยบั ไป เพราะ
วบิ ากของกรรมชั่ว, พระคุณเจา้ นาคเสน แมเ้ พราะเหตนุ ี้ โยมจงึ กล่าวว่า อกศุ ลน่นั แหละ
มีประมาณยิง่ กว่า มกี �ำลงั มากกวา่ กุศลหาเป็นเช่นนัน้ ไม”่
‘‘สุยฺยต ิ ภนฺเต นาคเสน อิมสมฺ ึ พุทธฺ สาสเน โกสเลน ร ฺ า อสทสิ ทานํ ทนิ นฺ น’ฺ ’ติ?
พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านเคยได้ยินเรื่อง พระเจ้าโกศลได้ถวายอสทสิ ทานในพระพุทธ-
ศาสนาน้ีหรือไม่ ?”
‘‘อาม มหาราช สยุ ยฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใช่ อาตมภาพเคยไดย้ นิ ”
‘‘อปิ นุ โข ภนฺเต นาคเสน โกสลราชา ต ํ อสทสิ ํ ทาน ํ ทตฺวา ตโตนิทานํ ก ฺจ ิ
ทิฏฺ ธมฺมกิ ํ โภค ํ วา ยสํ วา สขุ ํ วา ปฏลิ ภ’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ก็แต่วา่ พระเจ้าโกศลทรงถวายอสทิสทาน
น้ันแลว้ ทรงได้รับโภคสมบตั ิ ยศ ความสุขอะไร ๆ ในอตั ภาพปัจจุบันนี้ เพราะเหตุท่ไี ดท้ รง
ถวายอสทสิ ทานน้ัน บา้ งหรือไม่ ?”
‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 207

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ไม่ทรงไดร้ บั หรอก มหาบพิตร”
‘‘ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน โกสลราชา เอวรูป ํ อนุตฺตรํ ทาน ํ ทตฺวาปิ น ลภ,ิ
ตโตนิทาน ํ ก จฺ ิ ทิฏฺ ธมมฺ ิก ํ โภคํ วา ยสํ วา สุข ํ วา, เตนห ิ ภนฺเต นาคเสน อกุสลํเยว
อธิมตฺตํ พลวตรํ, โน ตถา กุสลน”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ถา้ หากวา่ พระเจ้าโกศล แมไ้ ดท้ รงถวาย
อสทิสทานทย่ี อดเย่ยี มเห็นปานฉะน้ีแล้ว ยงั มิทรงไดร้ บั โภคทรพั ย์ ยศ หรือวา่ ความสขุ อะไร ๆ
ในอัตภาพปจั จุบนั เพราะเหตทุ ่ีทรงถวายอสทสิ ทานนน้ั แล้วไซร้ ถ้าอย่างนัน้ นะ พระคณุ เจา้
นาคเสน อกศุ ลนั่นแหละ มปี ระมาณยง่ิ กวา่ มีก�ำลงั มากกวา่ กุศลหาเปน็ เช่นนนั้ ไม”่
‘‘ปริตฺตตตฺ า มหาราช อกสุ ล ํ ขปิ ฺปํ ปรณิ มต,ิ วิปลุ ตตฺ า กุสล ํ ทเี ฆน กาเลน
ปรณิ มต,ิ อปุ มายป ิ มหาราช เอต ํ อุปปริกฺขิตพฺพํ ฯ ยถา มหาราช อปรนฺเต ชนปเท
กุมทุ ภณฺฑกิ า นาม ธ ฺ ชาต ิ มาสลูนา อนฺโตเคหคตา โหติ, สาลโย ฉปฺป จฺ มาเสหิ
ปริณมนตฺ ,ิ กึ ปเนตถฺ มหาราช อนฺตร ํ โก วิเสโส กุมุทภณฑฺ ิกาย จ สาลนี จฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร อกศุ ลใหผ้ ลเร็ว เพราะเป็นของต่ำ� ตอ้ ย
กุศลให้ผลในเวลานานช้า เพราะเป็นของอุดม ขอถวายพระพร ขอ้ ท่ีว่านี้ พึงพิจารณาไดแ้ ม้
ดว้ ยอุปมา ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ ทีช่ นบทชายแดน ธัญชาติ ช่ือว่ากุมทุ ภณั ฑกิ า
ปลูกไวเ้ ดอื นเดียว กเ็ ก็บเกีย่ วหาไวใ้ นเรือนได้ สว่ นข้าวสาลี ใช้เวลาถึง ๖ เดือน จึงจะใหผ้ ล ขอ
ถวายพระพร ในธัญชาติ ๒ อย่างน้ี ระหว่างขา้ วกมุ ทุ ภณั ฑกิ ากบั ขา้ วสาลี เพราะเหตุไร จึงมี
ความแตกต่างกนั เลา่ ?”
‘‘ปรติ ฺตตตฺ า ภนเฺ ต กุมุทภณฑฺ ิกาย วิปลุ ตตฺ า จ สาลนี ํ ฯ สาลโย ภนฺเต นาคเสน
ราชารหา ราชโภชน,ํ กมุ ุทภณฺฑิกา ทาสกมฺมกราน ํ โภชนน’ฺ ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ เพราะข้าวกุมทุ ภณั ฑกิ า เป็นข้าวชน้ั เลว และเพราะ
ข้าวสาลีเป็นขา้ วชนั้ ดี พระคุณเจา้ นาคเสน ขา้ วสาลีเป็นของควรแกพ่ ระราชา เปน็ เคร่อื งเสวย
ส�ำหรับพระราชา ข้าวกุมทุ ภัณฑิกา เป็นของกินส�ำหรับพวกทาสกรรมกรทัง้ หลาย”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ปริตตฺ ตตฺ า อกสุ ลํ ขปิ ฺปํ ปริณมต,ิ วปิ ลุ ตฺตา กสุ ล ํ ทีเฆน
กาเลน ปรณิ มตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นอยา่ งนัน้ นั่นแหละ อกุศลให้ผล
เร็ว เพราะเปน็ ของต�ำ่ ต้อย กศุ ลให้ผลในเวลานานช้า เพราะเป็นของอุดม”

208 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ยํ ตตฺถ ภนเฺ ต นาคเสน ขปิ ปฺ ํ ปรณิ มติ, ตํ นาม โลเก อธมิ ตตฺ ํ พลวตร,ํ ตสฺมา
อกุสล ํ พลวตรํ, โน ตถา กสุ ลํ ฯ ยถา นาม ภนเฺ ต นาคเสน โย โกจิ โยโธ มหติ-
มหายทุ ธฺ ํ ปวสิ ติ ฺวา ปฏิสตตฺ ุ ํ อุปกจฺฉเก คเหตฺวา อากฑฒฺ ติ ฺวา ขิปฺปตร ํ สามโิ น อปุ เนยฺย,
โส โยโธ โลเก สมตโฺ ถ สโู ร นาม ฯ โย จ ภิสกโฺ ก ขิปฺป ํ สลลฺ ํ อทุ ฺธรต ิ โรคมปเนติ,
โส ภิสกโฺ ก เฉโก นาม ฯ โย คณโก สีฆสีฆํ คเณตวฺ า ขิปปฺ ํ ทสฺสยต,ิ โส คณโก เฉโก
นาม ฯ โย มลโฺ ล ขปิ ฺป ํ ปฏมิ ลฺล ํ อกุ ฺขิปติ วฺ า อตุ ตฺ านกํ ปาเตต,ิ โส มลฺโล สมตฺโถ สูโร
นาม ฯ เอวเมว โข ภนฺเต นาคเสน ย ํ ขิปฺป ํ ปรณิ มติ กสุ ลํ วา อกสุ ล ํ วา, ตํ โลเก
อธิมตตฺ ํ พลวตรน”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ในธรรมชาติ ๒ อยา่ งน้ัน ในทางโลก
ธรรมชาตใิ ดให้ผลเร็ว ธรรมชาตนิ ั้น ช่อื ว่ามีประมาณยงิ่ กว่า มกี �ำลังมากกวา่ เพราะฉะนั้น
อกศุ ล จัดว่ามีก�ำลงั มากกว่า กศุ ลหาเปน็ เช่นนัน้ ไม่ พระคณุ เจา้ นาคเสน เปรียบเหมือนวา่
นกั รบคนใดคนหนึง่ เข้าสู่การรบครัง้ ยิง่ ใหญ่ จบั ตัวศัตรูฝ่ายตรงข้ามที่ชายกระเบนเหน็บ ครา่
ตวั มาแลว้ กน็ �ำเขา้ ไปหาผเู้ ปน็ นายได้เรว็ ย่ิง ในทางโลก นักรบผูน้ ัน้ ชื่อว่า เปน็ ผเู้ กง่ กล้า
สามารถ อนึ่ง หมอผ่าตัดผใู้ ด ถอนลกู ศรออก ขจดั ความเจ็บปว่ ยไดโ้ ดยฉบั พลนั หมอผ่าตดั ผู้
นนั้ กช็ อื่ ว่าเป็นหมอท่ฉี ลาดสามารถ คนนับคะแนนผใู้ ด นบั ได้รวดเร็ว แสดงได้ฉบั พลนั คน
นบั คะแนนผูน้ น้ั ช่ือว่าเป็นคนฉลาดสามารถ นักมวยปล�้ำผู้ใด ยกนกั มวยปลำ้� ฝ่ายตรงกนั ข้าม
ไดท้ นั ที แล้วท�ำใหต้ กนอนหงาย นกั มวยน้นั ชอ่ื วา่ เกง่ กลา้ สามารถ กล้าหาญ ฉนั ใด พระคณุ
เจ้านาคเสน ธรรมชาติใด จะเปน็ กศุ ลก็ตาม เป็นอกุศลก็ตามให้ผลเรว็ พลนั ในทางโลก
ธรรมชาติน้นั ช่ือวา่ มีประมาณย่งิ กว่า มีก�ำลงั มากกวา่ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั ”
‘‘อุภยมปฺ ิ ตํ มหาราช กมฺม ํ สมฺปรายเวทนียเมว, อปิจ โข อกุสล ํ สาวชชฺ ตาย
ขเณน ทฏิ ฺ ธมมฺ เวทนีย ํ โหต,ิ ปพุ พฺ เกหิ มหาราช ขตฺติเยหิ ปิโต เอโส นิยโม ‘โย ปาณ ํ
หนติ, โส ทณฺฑารโห. โย อทนิ ฺนํ อาทิยติ. โย ปรทาร ํ คจฉฺ ต.ิ โย มสุ า ภณต.ิ โย คาม ํ
ฆาเตต.ิ โย ปนถฺ ํ ทูเสต.ิ โย นิกต ึ กโรต.ิ โย ว จฺ น ํ กโรต,ิ โส ทณฑฺ ารโห วธติ พโฺ พ
เฉตตฺ พฺโพ เภตฺตพโฺ พ หนตฺ พโฺ พ’ติ ฯ ตํ เต อุปาทาย วจิ ินติ วฺ า วจิ นิ ิตวฺ า ทณเฺ ฑนตฺ ิ
วเธนฺติ ฉินฺทนฺต ิ ภนิ ฺทนฺต ิ หนนฺติ จ, อปิ น ุ มหาราช อตฺถ ิ เกหจิ ิ ปิโต นิยโม ‘โย ทานํ
วา เทต,ิ สีล ํ วา รกขฺ ต,ิ อโุ ปสถกมมฺ ํ วา กโรต,ิ ตสสฺ ธนํ วา ยส ํ วา ทาตพพฺ น’ฺ ต;ิ อปิ
น ุ ต ํ วิจินติ ฺวา วจิ นิ ติ ฺวา ธนํ วา ยสํ วา เทนตฺ ิ, โจรสฺส กตกมมฺ สสฺ วธพนธฺ น ํ วยิ า’’ติ ?

กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 209

พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กรรมแม้ทง้ั ๒ อย่างนน้ั ต่างกเ็ ป็น
สัมปรายเวทนยี กรรม (กรรมมวี ิบากที่พงึ เสวยในภพหนา้ ) ได้ด้วยกัน แตว่ า่ อกุศลกรรมเปน็
ทฏิ ฐธิ มั มเวทนียกรรม (กรรมมีวบิ ากทพ่ี ึงเสวยในอัตภาพนี้) โดยพลัน กเ็ พราะความเปน็ กรรม
ท่มี โี ทษ ขอถวายพระพร พวกบรรพบุรษุ กษตั รยิ ท์ งั้ หลาย ไดต้ ั้งข้อก�ำหนดโดยขอ้ นีไ้ ว้ว่า ‘ผู้ใด
ฆ่าสัตว์ ผู้ใดถือเอาของที่เขามิได้ให้ ผู้ใดคบหาภรรยาผอู้ นื่ ผใู้ ดกลา่ วเท็จ ผใู้ ดปล้นบ้าน ผู้ใด
ประทุษร้ายคนเดนิ ทาง ผู้ใดท�ำการหลอกลวง ผู้ใดท�ำการคดโกง ผนู้ ้ันสมควรถูกลงทณั ฑ์ คือ
ควรถกู ฆา่ ควรถูกตัด ควรถูกท�ำลาย ควรถกู เฆ่ยี นต’ี ดงั น้ี พวกกษัตรยิ ์เหล่านั้น ครน้ั ได้
วินิจฉัยไตส่ วน เทยี บข้อก�ำหนดโทษน้ันแลว้ จึงลงทณั ฑ์ คอื จงึ ฆ่า จึงตัด จึงท�ำลาย และจงึ
เฆี่ยนตี ขอถวายพระพร ก็แตว่ า่ ขอ้ ก�ำหนดรางวัลท่กี ษัตรยิ บ์ างพวกตง้ั ไวว้ ่า ‘ผูใ้ ด ใหท้ านก็ดี
รกั ษาศลี กด็ ี ท�ำอุโบสถกรรมกด็ ี ควรใหท้ รัพยห์ รือยศแกผ่ นู้ ้นั ’ ดังน้ี มอี ยู่หรือ ซึ่งพวกกษัตรยิ ์
เหลา่ นนั้ คร้นั วินจิ ฉัยไต่สวนเทยี บขอ้ ก�ำหนดรางวัลนนั้ แล้ว จงึ ใหท้ รัพยบ์ า้ ง ยศบา้ ง เหมือน
อยา่ งทใี่ ห้การฆา่ การจองจ�ำ แกพ่ วกโจร ผู้ท�ำโจรกรรม”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “ไมม่ หี รอก พระคณุ เจ้า”
‘‘ยท ิ มหาราช ทายกาน ํ วจิ นิ ิตวฺ า วิจินติ ฺวา ธน ํ วา ยส ํ วา ทเทยยฺ ํุ, กุสลมฺป ิ
ทิฏฺ ธมมฺ เวทนยี ํ ภเวยยฺ , ยสมฺ า จ โข มหาราช ทายเก น วจิ ินนฺต ิ ‘ธน ํ วา ยสํ วา
ทสฺสามา’ต,ิ ตสมฺ า กุสลํ น ทฏิ ฺ ธมมฺ เวทนียํ ฯ อิมินา มหาราช การเณน อกสุ ลํ
ทิฏ ฺ ธมมฺ เวทนยี ํ, สมฺปราเยว โส อธมิ ตฺตํ พลวตรํ เวทนํ เวทยตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถา้ หากว่า พวกกษัตรยิ เ์ หล่านั้น วินิจฉยั
ไต่สวนแล้ว พงึ ใหท้ รัพยบ์ ้าง ยศบา้ ง แกพ่ วกคนผใู้ หท้ านท้ังหลาย แมก้ ุศลกรรมก็พงึ จัดวา่
เป็นทฏิ ฐธัมมเวทนยี กรรม ขอถวายพระพร แตเ่ พราะเหตทุ ่ีพวกพระราชาเหล่านน้ั ไม่ได้
วินิจฉัยไตส่ วนคนผูใ้ ห้ทานทง้ั หลาย จงึ ไมม่ ดี �ำรวิ า่ ‘พวกเราจักให้ทรัพย์หรือยศ’ ดงั นี้ เพราะ
ฉะนน้ั กุศลกรรม จงึ ไมจ่ ัดว่าเป็นทฏิ ฐธมั มเวทนียกรรม ขอถวายพระพร เพราะเหตุนี้ อกศุ ล
กรรม จงึ จัดวา่ เปน็ ทิฏฐธมั มเวทนียกรรม สตั ว์ (ผู้ท�ำกศุ ล) ย่อมเสวยเวทนา มปี ระมาณยงิ่ กว่า
มกี �ำลังยิง่ กวา่ ในภายหลงั นน่ั แหละ”

210 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน ตวาทเิ สน พทุ ธฺ ิมนฺเตน วนิ า เนโส ป ฺโห สนุ ิพฺเพ ิโย,
โลกิกํ ภนฺเต นาคเสน โลกตุ ตฺ เรน ว ิ ฺ าปติ น’ฺ ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “ดจี รงิ พระคุณเจ้านาคเสน ยกเวน้ ผ้มู ีความรเู้ ช่นทา่ นแลว้
ปญั หาน้ี ใคร ๆ กไ็ ม่อาจคล่คี ลายให้ดีได้เลย พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านใช้ความรทู้ ี่เปน็
โลกุตตระ ท�ำให้เขา้ ใจความรทู้ ีเ่ ปน็ โลกยิ ะได้แล้ว”

กุสลากสุ ลพลวตรปญฺโห ตติโย ฯ
จบกุสลากุสลพลวตรปญั หาข้อที่ ๓

________

๔. ปุพพฺ เปตาทสิ ปญหฺ
๔. ปพุ พเปตาทสิ ปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการอุทิศบญุ ทีท่ �ำแก่ผ้ทู ่ลี ว่ งลับไปแล้ว
[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อเิ ม ทายกา ทานํ ทตวฺ า ปพุ พฺ เปตาน ํ อาทสิ นตฺ ิ ‘อทิ ํ เตส ํ
ปาปุณาต’ู ติ, อปิ นุ เต กิ ฺจ ิ ตโตนทิ านํ วปิ ากํ ปฏิลภนตฺ ี’’ติ ?
[๔] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พวกทายกทง้ั หลายน้ี ใหท้ านแล้ว ก็
มกั จะอทุ ิศให้แกผ่ ลู้ ่วงลับไปก่อนแล้วว่า ‘ขอบญุ น้ี จงถึงแกค่ นเหลา่ น้นั ’ ดงั น้ี คนทลี่ ่วงลบั ไป
กอ่ นแล้วเหล่าน้ัน ยอ่ มได้รับวบิ าก (ผล) อะไร ๆ เพราะเหตุแห่งการอทุ ิศน้ัน บ้างหรือไม่ ?”

‘‘เกจ ิ มหาราช ปฏลิ ภนฺติ, เกจิ นปฺปฏลิ ภนฺต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรตบางพวกไดร้ บั บางพวกไมไ่ ด้รบั ”

‘‘เก ภนฺเต ปฏลิ ภนฺต,ิ เก นปปฺ ฏลิ ภนฺตี’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ พวกไหนได้รบั พวกไหนไม่ได้รับ ?”

‘‘นิรยปู ปนนฺ า มหาราช นปปฺ ฏลิ ภนตฺ ,ิ สคฺคคตา นปปฺ ฏิลภนตฺ ,ิ ติรจฺฉานโยนิคตา
นปฺปฏิลภนฺติ, จตนุ ฺนํ เปตาน ํ ตโย เปตา นปปฺ ฏิลภนตฺ ิ วนตฺ าสกิ า ขุปฺปปิ าสิโน นชิ ฺฌาม-
ตณฺหกิ า, ลภนตฺ ิ เปตา ปรทตฺตูปชวี ิโน, เตปิ สรมานาเยว ลภนฺต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พวกเข้าถงึ นรกไมไ่ ดร้ ับ พวกไปสวรรค์
ไม่ได้รับ พวกไปก�ำเนิดเป็นสตั วเ์ ดรจั ฉานไม่ได้รับ บรรดาเปรต ๔ จ�ำพวก เปรต ๓ จ�ำพวก คือ

กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 211

วันตาสิกเปรต ขุปปิปาสกิ เปรต นชิ ฌานตณั หกิ เปรต ไมไ่ ดร้ บั ปรทัตตปู ชีวีเปรตเท่าน้ัน ย่อม
ได้รบั พวกปรทัตตปู ชวี ีเปรตแม้เหล่าน้นั ตอ่ เมือ่ ระลกึ ไดน้ ั่นแหละ จึงจะไดร้ บั ”
‘‘เตนหิ ภนฺเต นาคเสน ทายกาน ํ ทานํ วิโสสติ ํ โหต ิ อผล,ํ เยส ํ อุททฺ สิ ฺส กตํ ยท ิ
เต นปฺปฏิลภนฺตี’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “ถ้าอยา่ งน้ัน พระคุณเจา้ นาคเสน ทานของพวกทายกทัง้ หลาย
ก็เป็นอันเสยี เปลา่ ไม่มผี ล ถ้าว่า ท�ำอุทศิ แล้ว คนเหล่าน้ันกไ็ มไ่ ด้รบั ”
‘‘น ห ิ ต ํ มหาราช ทาน ํ อผลํ โหต ิ อวิปากํ, ทายกาเยว ตสฺส ผล ํ อนุภวนตฺ ี’’ตฯิ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ทานน้นั จะเปน็ อันไมม่ ผี ล ไม่มีวบิ าก
หามไิ ด้ พวกทายกทงั้ หลายน่นั แหละ ไดเ้ สวยผลแหง่ ทานนัน้ ”
‘‘เตนห ิ ภนเฺ ต นาคเสน การเณน ม ํ ส ฺ าเปห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ อยา่ งน้ัน ก็โปรดท�ำโยมใหเ้ ขา้ ใจดว้ ย
เหตุผลเถิด”
‘‘อิธ มหาราช เกจิ มนุสสฺ า มจฺฉมํสสุราภตฺตขชชฺ กาน ิ ปฏยิ าเทตฺวา าติกลุ ํ
คจฉฺ นฺติ, ยท ิ เต าตกา ต ํ อปุ ายนํ น สมปฺ ฏิจเฺ ฉยยฺ ํุ, อป ิ นุ ต ํ อปุ ายน ํ วโิ สสติ ํ
คจเฺ ฉยยฺ วินสเฺ สยฺย วา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร คนบางพวกในโลกน้ี จดั เตรยี มปลา
เนือ้ สรุ า ขา้ ว ของขบเคีย้ ว แลว้ ไปสสู่ กลุ ญาติ ถ้าหากว่า พวกญาติเหล่าน้นั ไมร่ บั ของก�ำนลั
นั้นไซร้ ของก�ำนัลนัน้ พงึ ถึงความเสยี เปลา่ หรอื พงึ พินาศไปหรอื ไร ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต, สามกิ านํเยว ต ํ โหต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “หามิได้ พระคุณเจ้า ของก�ำนลั น้นั กย็ งั คงตกเปน็ ของคนผเู้ ปน็
เจ้าของนนั่ เอง”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ทายกาเยว ตสฺส ผลํ อนภุ วนตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอยา่ งนัน้ นั่นแหละ พวก
ทายกทง้ั หลายนนั่ เองได้เสวยผลแหง่ ทานน้ัน

212 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ยถา ปน มหาราช ปุริโส คพฺภํ ปวิฏฺโ อสต ิ ปุรโต นิกฺขมนมุเข เกน
นกิ ขฺ เมยฺยา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ บุรษุ คนหน่ึง เขา้ ห้องไปแลว้ เมื่อไม่มปี ระตูออกอน่ื
อกี ประตูหนง่ึ เขาจะพึงออกมาทางไหนได”้
‘‘ปวฏิ ฺเ เนว ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “เขาพึงออกทางประตทู ีเ่ ข้าไปนัน่ แหละ พระคุณเจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ทายกาเยว ตสฺส ผล ํ อนภุ วนฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนอยา่ งนน้ั น่ันแหละ พวกทายก
ทั้งหลายน่นั แหละ ได้เสวยผลแหง่ ทานนัน้ ”
‘‘โหตุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ ามิ, ทายกาเยว ตสฺส ผล ํ
อนุภวนฺติ, น มย ํ ตํ การณํ วโิ ลเมมาติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน เหตผุ ลตามทีท่ ่านกลา่ วมาอย่างนว้ี ่า พวก
ทายกทั้งหลายน่ันแหละ ไดเ้ สวยผลแหง่ ทานนน้ั ดังนี้ น้ี โยมกข็ อรับฟงั ละ แต่โยมไมเ่ ห็น
คล้อยตามเหตุผลนน้ั หรอก”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ยทิ อิเมส ํ ทายกาน ํ ทนิ นฺ ทานํ ปุพพฺ เปตาน ํ ปาปุณาต,ิ เต จ
ตสสฺ วิปากํ อนุภวนตฺ ิ ฯ เตนหิ โย ปาณาตปิ าต ี ลุทฺโท โลหติ ปาณ ี ปทุฏฺ มนสงฺกปโฺ ป
มนุสฺเส ฆาเตตวฺ า ทารุณ ํ กมมฺ ํ กตวฺ า ปพุ พฺ เปตาน ํ อาทิเสยยฺ ‘อิมสฺส เม กมมฺ สสฺ
วปิ าโก ปุพพฺ เปตาน ํ ปาปณุ าตู’ต,ิ อป ิ นุ ตสสฺ วิปาโก ปพุ พฺ เปตานํ ปาปณุ าตี’’ติ ?
พระคุณเจ้านาคเสน ถา้ หากวา่ ทานท่ีพวกทายกเหล่าน้ใี หแ้ ล้ว ตกไปถงึ พวกทีล่ ่วงลบั
ไปก่อนได้ และคนเหล่านัน้ กเ็ สวยวบิ ากแห่งทานนน้ั ไซร้ ถา้ อยา่ งนัน้ บุคคลใดเปน็ พรานนกั
ฆ่าสตั ว์ มมี อื เป้ือนเลอื ด มใี จคดิ ประทุษรา้ ย ฆ่าพวกมนษุ ย์ ท�ำทารณุ กรรม แลว้ อทุ ศิ แก่พวกที่
ล่วงลบั ไปกอ่ นว่า ‘วบิ ากแหง่ กรรมของโยมน้ี ขอจงถงึ แกค่ นท่ลี ว่ งลับไปกอ่ นแล้วเถดิ ’ ดังน้ี
วิบากแห่งกรรมนน้ั จะถงึ แก่คนผลู้ ว่ งไปกอ่ นแล้วหรอื ไมห่ นอ ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ไมถ่ งึ หรอก มหาบพิตร”

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 213

‘‘ภนเฺ ต นาคเสน โก ตตถฺ เหตุ กึ การณ,ํ เยน กสุ ลํ ปาปณุ าต,ิ อกสุ ล ํ น
ปาปุณาต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ในค�ำตอบของท่านน้นั เหตุท่ีท�ำใหก้ ศุ ลถึง
ได้ อกุศลถึงไมไ่ ด้ คืออะไรเล่า ?”
‘‘เนโส มหาราช ป โฺ ห ปุจฉฺ ิตพฺโพ, มา จ ตวฺ ํ มหาราช ‘วิสสฺ ชฺชโก อตถฺ ี’ต ิ
อปจุ ฉฺ ติ พฺพํ ปจุ ฉฺ ิ, ‘กิสฺส อากาโส นริ าลมโฺ พ, กิสฺส คงคฺ า อุทฺธมฺมขุ า น สนฺทติ, กิสฺส
อเิ ม มนุสฺสา จ ทิชา จ ทฺวิปทา มคิ า จตปุ ปฺ ทา’ติ ตมฺป ิ ม ํ ตวฺ ํ ปุจฺฉสิ สฺ สี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร นีไ่ มใ่ ช่ปญั หาที่นา่ ถาม ขอถวายพระพร
ขอพระองคอ์ ย่าทรงถามปญั หาทไ่ี มน่ ่าถาม ดว้ ยทรงด�ำริวา่ ‘คนตอบมอี ย’ู่ ดงั นี้ เลย เหมือน
อย่างพระองคจ์ กั ทรงถามอาตมภาพว่า ‘เพราะเหตไุ ร อากาศจึงไมม่ ีเครือ่ งคำ�้ จุน เพราะเหตุไร
แม่น้�ำคงคา จึงไมไ่ หลบ่ายหน้าไปยังเบ้อื งบน เพราะเหตไุ ร พวกมนุษย์และนกทั้งหลายเหลา่ นี้
จงึ มี ๒ เท้า พวกเนื้อจึงมี ๔ เทา้ ’ ดังน้ี ฉะน้นั แหละ”
‘‘นาหํ ต ํ ภนเฺ ต นาคเสน วเิ หสาเปกโฺ ข ปจุ ฺฉามิ, อปิจ นิพฺพาหนตฺถาย สนฺเทหสสฺ
ปจุ ฺฉาม,ิ พห ู มนสุ ฺสา โลเก วามคามโิ น วิจกขฺ ุกา, ‘กนิ ตฺ ิ เต โอตารํ น ลเภยฺยุนฺ’ติ
เอวาห ํ ต ํ ปจุ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน โยมมไิ ดถ้ าม มงุ่ จะเบยี ดเบียนท่านหรอก
แต่วา่ ถามเพ่ือท่ีจะขจดั ความฉงนสนเท่ห์ มนุษย์ผเู้ ดนิ เอียงซา้ ย มตี าพรา่ มัว ก็มีอยมู่ ากมายใน
โลก โยมคดิ ว่า ‘คนเหล่านั้น จะไมม่ ีโอกาสบา้ งหรือไร’ ดงั นแี้ ล้ว จึงถามทา่ น”
‘‘น สกกฺ า มหาราช สห อกเตน อนนมุ เตน สห ปาปํ กมมฺ ํ สํวิภชิตุํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใคร ๆ ไมอ่ าจจะแบง่ ปนั บาปกรรมให้
กบั คนที่ไม่ได้ท�ำ ให้กับคนท่ไี มย่ ินยอมได้”
‘‘ยถา มหาราช มนสุ สฺ า อทุ กนิพพฺ าหเนน อทุ กํ สุวิทรู มฺปิ หรนฺติ, อปิ น ุ มหาราช
สกฺกา ฆนมหาเสลปพฺพโต นพิ พฺ าหเนน ยถิจฺฉติ ํ หริตุนฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า คนทัง้ หลาย ยอ่ มคดั น�ำ้ ออก น�ำน�้ำไปสทู่ ี่แมแ้ สน
ไกลได้ ขอถวายพระพร ก็แตว่ ่า พวกเขาอาจคัดภเู ขาหนิ ทึบตนั น�ำไปสทู่ ี่ตามปรารถนาได้
หรือไม่ ?”

214 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “มิได้หรอก พระคุณเจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช สกกฺ า กสุ ลํ สํวิภชิตํุ, น สกฺกา อกุสลํ สวํ ภิ ชิตุํ ฯ ยถา วา
ปน มหาราช สกกฺ า เตเลน ปทโี ป ชาเลตํ,ุ อป ิ นุ มหาราช สกกฺ า อทุ เกน ปทโี ป
ชาเลตุน’ฺ ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนัน้ นน่ั แหละ ใคร ๆ ก็
อาจแบ่งปันกุศลได้ ไม่อาจแบง่ ปันอกศุ ลได้ ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึ่ง เปรยี บเหมอื นว่า
ใคร ๆ อาจใชน้ �ำ้ มนั จดุ ประทีปให้ลุกโพลงได้ ก็แตว่ า่ ใคร ๆ อาจใช้น�ำ้ จุดประทีปให้ลุกโพลงได้
หรือไม่ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “มไิ ด้หรอก พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช สกกฺ า กุสล ํ สวํ ิภชิตุ,ํ น สกฺกา อกุสลํ สวํ ภิ ชิตํุ ฯ ยถา วา
ปน มหาราช กสสฺ กา ตฬากโต อุทกํ นหี รติ ฺวา ธ ฺ ํ ปรปิ าเจนตฺ ิ, อปิ น ุ โข มหาราช
สกฺกา มหาสมุททฺ โต อทุ กํ นหี ริตวฺ า ธ ฺ ํ ปรปิ าเจตุน’ฺ ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อยา่ งนั้นนนั่ แหละ ใคร ๆ
อาจแบ่งปันกุศลได้ ไมอ่ าจแบง่ ปนั อกุศลได้ ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหน่งึ เปรียบเหมอื นว่า
พวกชาวนาตักน�ำ้ จากตระพงั น�ำ้ ไป (ใช)้ หงุ ข้าวได้ ขอถวายพระพร กแ็ ตว่ า่ เขาอาจตักน้ำ� จาก
มหาสมทุ รไป (ใช)้ หุงข้าวไดห้ รอื ไมห่ นอ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “มไิ ด้หรอก พระคุณเจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช, สกกฺ า กุสลํ สวํ ภิ ชติ ํ,ุ น สกกฺ า อกสุ ล ํ สวํ ิภชิตนุ ฺ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอยา่ งนนั้ นั่นแหละ ใคร ๆ
อาจแบ่งปนั กุศลได้ (แต)่ ไม่อาจแบ่งปันอกศุ ลได”้
‘‘ภนฺเต นาคเสน เกน การเณน สกฺกา กสุ ลํ สํวภิ ชติ ํุ, น สกฺกา อกสุ ล ํ สํวิภชติ ํุ ฯ
การเณน มํ ส ฺ าเปห ิ นาหํ อนฺโธ อนาโลโก สตุ ฺวา เวทสิ ฺสามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน เพราะเหตุไร ใคร ๆ อาจแบง่ ปันกศุ ลได้

กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 215

ไมอ่ าจแบ่งปนั อกุศลได้เล่า โปรดท�ำโยมใหเ้ ขา้ ใจด้วยเหตผุ ลเถดิ โยมไม่ใช่คนบอด ไมใ่ ช่คน
มืด ฟังแลว้ กจ็ กั รู้ได้”
‘‘อกุสล ํ มหาราช โถกํ, กสุ ลํ พหุกํ, โถกตตฺ า อกสุ ล ํ กตฺตารเํ ยว ปรยิ าทิยติ,
พหกุ ตตฺ า กสุ ลํ สเทวกํ โลก ํ อชโฺ ฌตถฺ รต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร อกุศลมปี ริมาณนอ้ ย กศุ ลมปี ริมาณ
มาก อกศุ ลครอบง�ำไดเ้ ฉพาะคนท�ำเท่านนั้ เพราะมีปรมิ าณนอ้ ย กุศล แผ่คุมไปได้ ตลอดท้งั
โลกพร้อมทั้งเทวดา เพราะมปี รมิ าณมาก”
‘‘โอปมมฺ ํ กโรห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั วา่ “ขอท่านชว่ ยท�ำอุปมาใหห้ น่อยเถอะ”
‘‘ยถา มหาราช ปริตตฺ ํ เอก ํ อทุ กพินทฺ ุ ปถวิย ํ นิปเตยยฺ , อป ิ นุ โข ต ํ มหาราช
อทุ กพนิ ทฺ ุ ทสปิ ทวฺ าทสปิ โยชนาน ิ อชฺโฌตฺถเรยฺยา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า นำ้� หยาดหนึ่งซ่ึงเป็น
ของเลก็ นอ้ ย ตกไปบนพ้ืนดนิ ขอถวายพระพร ก็แตว่ ่า นำ�้ หยาดนัน้ พึงไหลทว่ มบา่ ไปตลอดท่ี
๑๐ โยชนบ์ า้ ง ๑๒ โยชน์บ้าง หรอื ไร ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต ยตถฺ ตํ อุทกพินฺทุ นิปตติ ,ํ ตตฺเถว ปรยิ าทยิ ต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “หามไิ ด้ พระคุณเจ้า หยาดนำ้� นนั้ ตกไปบนทีใ่ ด กซ็ มึ ซาบได้
เฉพาะทน่ี น้ั ”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เพราะเหตุไรหรือ มหาบพิตร ?”
‘‘ปริตฺตตฺตา ภนเฺ ต อทุ กพนิ ฺทสุ ฺสา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “เพราะหยาดนำ�้ มีปริมาณเพยี งนิดหน่อย พระคุณเจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ปรติ ตฺ ํ อกสุ ลํ ปรติ ตฺ ตฺตา กตตฺ ารเํ ยว ปรยิ าทยิ ต,ิ น
สกกฺ า สํวิภชิตุํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนั้นนน่ั แหละ อกุศลมี
ปรมิ าณนดิ หน่อย เพราะมีปรมิ าณนิดหนอ่ ย จงึ ครอบง�ำไดเ้ ฉพาะผ้ทู ่ีท�ำเทา่ น้ัน จงึ ไมอ่ าจแบง่
ปันได้

216 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ยถา วา ปน มหาราช มหติมหาเมโฆ อภวิ สเฺ สยฺย ตปปฺ ยนโฺ ต ธรณิตลํ, อป ิ นุ
โข โส มหาราช มหาเมโฆ สมนตฺ โต โอตฺถเรยยฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนึ่ง เปรยี บเหมือนวา่ ฝนห่าใหญ่ พงึ ตกกระหน่�ำ ท�ำพ้นื
แผน่ ดนิ ใหอ้ ิ่มเอบิ ขอถวายพระพร กแ็ ตว่ า่ น้ำ� ฝนหา่ ใหญ่น้นั พึงไหลท่วมบา่ ไปตลอดทโี่ ดย
รอบไดห้ รอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต ปูรยิตฺวา โส มหาเมโฆ โสพภฺ สรสรติ สาขากนทฺ รปทรทหตฬาก-
อทุ ปานโปกฺขรณโิ ย ทสปิ ทวฺ าทสปิ โยชนาน ิ อชโฺ ฌตฺถเรยฺยา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “ได้ พระคณุ เจ้า นำ้� ฝนห่าใหญน่ ้นั ท�ำบอ่ สระ หว้ ย ล�ำธาร ซอก
เขา เหมือง ฝาย บงึ อ่างเกบ็ น�้ำ สระบวั ใหเ้ ตม็ เป่ียมแล้ว ก็ยงั ไหลท่วมบา่ ไปตลอดท่ี ๑๐ โยชน์
บา้ ง ๑๒ โยชนบ์ ้าง”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เพราะเหตไุ รหรอื มหาบพิตร ?”
‘‘มหนฺตตตฺ า ภนฺเต เมฆสฺสา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “เพราะเป็นฝนห่าใหญ่ พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช กุสล ํ พหุกํ, พหุกตฺตา สกฺกา เทวมนสุ เฺ สหิปิ
สํวภิ ชิตนุ ฺ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกันอย่างนน้ั น่นั แหละ กศุ ลมี
ปรมิ าณมาก เพราะมีมาก จึงอาจแบ่งปันใหแ้ ม้แก่เทวดาและมนุษย์ทงั้ หลายได้”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เกน การเณน อกสุ ลํ โถก ํ กสุ ล ํ พหตุ รน”ฺ ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน เพราะเหตไุ ร อกศุ ลจึงมปี รมิ าณเล็กนอ้ ย
กุศลมีปริมาณมากกวา่ เลา่ ?”
‘‘อิธ มหาราช โย โกจิ ทาน ํ เทต,ิ สลี ํ สมาทิยต,ิ อุโปสถกมฺม ํ กโรติ, โส หฏฺโ
ปหฏโฺ หสโิ ต ปมุทิโต ปสนฺนมานโส เวทชาโต โหต,ิ ตสสฺ อปราปร ํ ปีติ อุปปฺ ชชฺ ต,ิ
ปีติมนสสฺ ภิยโฺ ย ภยิ โฺ ย กสุ ลํ ปวฑฺฒติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร บุคคลใดคนหนึ่งในโลกนี้ ให้ทาน
สมาทานศีล ท�ำอุโบสถกรรม บคุ คลน้นั เป็นผู้รา่ เริง บนั เทิง ยม้ิ แยม้ ยนิ ดี มีใจผอ่ งใส เกดิ

กณั ฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 217

ความปล้มื ใจ เขาย่อมเกิดความอิ่มเอิบใจอย่เู ร่อื ย ๆ กุศลของผมู้ ีใจอ่มิ เอบิ ย่อมเจรญิ ย่ิง ๆ ข้ึน
ไป
‘‘ยถา มหาราช อทุ ปาเน พหุสลิลสมปฺ ณุ เฺ ณ เอเกน เทเสน อุทก ํ ปวเิ สยฺย, เอเกน
นิกฺขเมยยฺ , นิกฺขมนเฺ ตป ิ อปราปร ํ อุปปฺ ชฺชติ, น สกกฺ า โหต ิ ขย ํ ปาเปตํุ ฯ เอวเมว โข
มหาราช กุสล ํ ภยิ โฺ ย ภิยฺโย ปวฑฒฺ ติ ฯ วสสฺ สเตป ิ เจ มหาราช ปรุ ิโส กต ํ กสุ ลํ
อาวชฺเชยฺย, อาวชชฺ เิ ต อาวชชฺ ิเต ภยิ โฺ ย ภิยฺโย กสุ ล ํ ปวฑฺฒติ ฯ ตสฺส ตํ กสุ ลํ สกฺกา
โหต ิ ยถิจฺฉเกหิ สทฺธ ึ สวํ ภิ ชติ ุํ, อิทเมตฺถ มหาราช การณํ, เยน การเณน กสุ ลํ
พหุตรํ ฯ
ขอถวายพระพร เมือ่ อ่างเกบ็ น้�ำเต็มด้วยน้ำ� มากมายแลว้ นำ�้ ไหลเข้าไปทางด้านหนงึ่
ไหลออกไปทางดา้ นหนง่ึ แม้เมอ่ื นำ้� ไหลออกไป นำ�้ ก็ยังคงเกดิ ขึ้นอยเู่ รอื่ ย ๆ ใคร ๆ จงึ ไม่อาจ
ท�ำให้หมดไปได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร กุศลยอ่ มเจรญิ ยิง่ ๆ ข้นึ ไปได้ ฉันนนั้ เหมอื นกัน ขอ
ถวายพระพร ถ้าหากวา่ บุรุษจะพึงนกึ ถงึ กุศลทต่ี นไดท้ �ำไว้ แม้ ๑๐๐ ปีมาแล้ว เมอ่ื เขานกึ ถงึ
ไป นึกถึงไป กศุ ลกย็ ่อมเจรญิ ย่ิง ๆ ขนึ้ ไป กศุ ลของเขาน้ัน เขาอาจแบง่ ใหก้ ับคนท้งั หลายเทา่ ท่ี
ปรารถนาได้ ขอถวายพระพร ท่กี ล่าวมานี้ เปน็ เหตใุ นความข้อน้ี ซ่ึงเปน็ เหตทุ ท่ี �ำใหก้ ศุ ลมี
ปรมิ าณมากกว่า
‘‘อกุสล ํ ปน มหาราช กโรนฺโต ปจฺฉา วปิ ปฺ ฏสิ าร ี โหต,ิ วปิ ปฺ ฏสิ ารโิ น จิตตฺ ํ
ปฏลิ ยี ติ ปฏิกฏุ ติ ปฏวิ ตตฺ ต ิ น สมปฺ สารียติ โสจต ิ ตปปฺ ต ิ หายติ ขยี ติ น ปรวิ ฑฒฺ ต ิ
ตตเฺ ถว ปริยาทิยติ ฯ ยถา มหาราช สุกขฺ าย นทิยา มหาปฬุ ินาย อุนฺนตาวนตาย
กุฏลิ สงกฺ ุฏิลาย อุปรโิ ต ปรติ ฺต ํ อุทกํ อาคจฺฉนฺต ํ หายต ิ ขยี ต ิ น ปริวฑฺฒต ิ ตตเฺ ถว
ปรยิ าทิยติ ฯ เอวเมว โข มหาราช อกุสล ํ กโรนฺตสสฺ จิตตฺ ํ ปฏลิ ยี ต ิ ปฏิกุฏต ิ ปฏวิ ตตฺ ติ
น สมฺปสารยี ต ิ โสจติ ตปปฺ ติ หายติ ขยี ต ิ น ปรวิ ฑฺฒติ ตตเฺ ถว ปรยิ าทยิ ต,ิ อิทเมตถฺ
มหาราช การณ,ํ เยน การเณน อกสุ ลํ โถกน”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนว่า อกุศล เม่อื ท�ำเข้า กย็ ่อมเปน็ ผู้มคี วามเดอื ดรอ้ นใจในภายหลัง
จิตของบคุ คลผู้มคี วามเดอื ดรอ้ น ยอ่ มหดกลับ ย่อมงอกลับ ยอ่ มถอยกลับ ไม่เหยยี ดไป ยอ่ ม
แห้งแล้ง ยอ่ มเรา่ รอ้ น จึงละลดไป หมดสนิ้ ไป ไม่เจริญ เหือดหายไปในท่ีนน้ั นนั่ แหละ ขอถวาย
พระพร เปรยี บเหมือนวา่ นำ้� ปริมาณน้อย เมอื่ ไหลมาถึง เบ้อื งบนเนนิ ทรายใหญ่ สูง ๆ ตำ่� ๆ
เล้ยี วลดคดโค้งในแม่นำ้� ท่ีแหง้ เหอื ดแล้ว กย็ อ่ มหมดไปไม่เจริญ ยอ่ มเหือดหายไปในทน่ี ้นั นั่น

218 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

แหละ ฉันใด ขอถวายพระพร จิตของบคุ คลท�ำอกุศล ยอ่ มหดกลับ ย่อมงอกลบั ไมเ่ หยียดไป
ยอ่ มแหง้ แล้ง ย่อมเร่าร้อน จึงละลดไป หมดส้ินไป ไมเ่ จริญ เหือดหายไปในที่น้ันน่ันแหละ ฉัน
น้ันเหมอื นกัน ขอถวายพระพร ทีก่ ลา่ วมานี้ เป็นเหตใุ นความน้ี ซึ่งเปน็ เหตุทีท่ �ำใหอ้ กศุ ลเปน็
ของมปี ริมาณเล็กนอ้ ย”

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “ดจี ริง พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามท่ีท่านกลา่ วมา
น้ี”

ปุพพฺ เปตาทิสปญฺโห จตตุ ฺโถ ฯ
จบปุพพเปตาทิสปัญหาข้อที่ ๔

________

๕. สปุ นิ ปญหฺ
๕. สปุ ินปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยความฝนั
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อมิ สมฺ ึ โลเก นรนารโิ ย สุปินํ ปสสฺ นฺติ กลยฺ าณมฺปิ ปาปกมฺปิ,
ทิฏ ฺ ปุพฺพมฺป ิ อทฏิ ฺ ปุพพฺ มฺปิ, กตปุพฺพมฺป ิ อกตปพุ ฺพมฺป,ิ เขมมฺป ิ สภยมฺป,ิ ทเู รป ิ
สนตฺ ิเกปิ, พหุวธิ านิปิ อเนกวณณฺ สหสฺสาน ิ ทิสฺสนตฺ ิ, ก ิ ฺเจต ํ สปุ นิ ํ นาม, โก เจต ํ
ปสสฺ ต’ี ’ติ ?
[๕] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ชายหญงิ ทงั้ หลายในโลกน้ี ต่างกฝ็ ัน
เหน็ สง่ิ ต่าง ๆ หลายพนั อยา่ ง เปน็ สง่ิ ดีบา้ ง สง่ิ ชัว่ รา้ ยบ้าง สง่ิ ทเี่ คยเห็นบ้าง สิง่ ท่ีไม่เคยเห็น
บ้าง สงิ่ ทเี่ คยท�ำบา้ ง สง่ิ ท่ไี มเ่ คยท�ำบ้าง สิ่งทปี่ ลอดภยั บ้าง สิง่ ทม่ี ีภัยบา้ ง สง่ิ ทีอ่ ยู่ไกลบา้ ง สงิ่ ที่
อยู่ใกลบ้ ้าง ช่ือว่าความฝนั นคี้ ืออะไร ? ใครบา้ งเลา่ ? ยอ่ มฝัน”

‘‘นมิ ิตตฺ เมต ํ มหาราช สุปนิ ํ นาม, ย ํ จติ ฺตสสฺ อาปาตมุปคจฺฉติ ฯ ฉยเิ ม มหาราช
สุปินํ ปสฺสนตฺ ิ, วาติโก สุปนิ ํ ปสสฺ ต,ิ ปิตฺติโก สปุ นิ ํ ปสฺสติ, เสมฺหิโก สุปนิ ํ ปสสฺ ติ,
เทวตปู สํหารโต สุปินํ ปสสฺ ติ, สมุทาจณิ ฺณโต สุปิน ํ ปสสฺ ติ, ปพุ ฺพนมิ ิตตฺ โต สปุ ิน ํ ปสฺสต,ิ
ตตฺร มหาราช ย ํ ปพุ พฺ นิมติ ตฺ โต สปุ ินํ ปสสฺ ติ, ตเํ ยว สจฺจ,ํ อวเสส ํ มิจฉฺ า’’ติ ฯ

กัณฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 219

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ช่อื ว่าความฝนั นี้ คอื นิมิตที่
เขา้ ถึงคลองแห่งจิต ขอถวายพระพร บคุ คล ๖ จ�ำพวกเหล่านี้ ยอ่ มเห็นนิมิตทเี่ ป็นความฝัน
(ยอ่ มฝันเห็นนั่นแหละ) คอื คนที่มธี าตุก�ำเรบิ ก็ย่อมฝันเห็นได้ คนทีม่ ดี กี �ำเรบิ ก็ย่อมฝนั เห็นได้
คนท่มี เี สมหะก�ำเริบ กย็ อ่ มฝันเห็นได้ เพราะถกู เทวดาโน้มนา้ วใจ กย็ อ่ มฝนั เหน็ ได้ เพราะมจี ติ
หมกมุ่น ก็ยอ่ มฝนั เหน็ ได้ เพราะเป็นบพุ พนมิ ิต (อารมณ์ที่เป็นเหตกุ ารณบ์ อกล่วงหน้า) ก็ยอ่ ม
ฝนั เหน็ ได้ ขอถวายพระพร ในความฝนั ๖ อยา่ งนัน้ ความฝนั เพราะเป็นบุพพนิมิตเท่านั้นจริง
ความฝันทเ่ี หลอื ไมจ่ รงิ ”
‘‘ภนฺเต นาคเสน โย ปพุ พฺ นิมิตฺตโต สุปินํ ปสฺสติ, ก ึ ตสสฺ จติ ตฺ ํ สย ํ คนฺตฺวา ต ํ
นิมติ ฺต ํ วิจินาต,ิ ต ํ วา นมิ ติ ฺตํ จติ ฺตสฺส อาปาตมปุ คจฉฺ ต,ิ อ ฺโ วา อาคนตฺ ฺวา ตสสฺ
อาโรเจต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน บุคคลใดฝนั เพราะเป็นบพุ พนมิ ติ จิตของ
บุคคลน้ันไปคน้ หานิมิตน้ันเอง, นิมิตน้ัน มาถึงคลองแหง่ จิตของเขา หรือว่าคนอ่นื มาบอกแก่
เขาเล่า ?”
‘‘น มหาราช ตสฺส จิตตฺ ํ สย ํ คนตฺ ฺวา ต ํ นมิ ติ ฺตํ วจิ ินาต,ิ นาปิ อ ฺโ โกจ ิ
อาคนฺตวฺ า ตสสฺ อาโรเจต,ิ อถ โข ตเํ ยว นิมิตฺตํ จิตฺตสสฺ อาปาตมปุ คจฺฉติ ฯ ยถา
มหาราช อาทาโส น สย ํ กหุ ิ ฺจ ิ คนตฺ ฺวา ฉาย ํ วจิ นิ าติ, นาป ิ อ ฺโ โกจ ิ ฉาย ํ
อาเนตฺวา อาทาสํ อาโรเปต,ิ อถ โข ยโต กุโตจิ ฉายา อาคนฺตวฺ า อาทาสสฺส
อาปาตมปุ คจฺฉติ, เอวเมว โข มหาราช น ตสฺส จิตตฺ ํ สยํ คนตฺ วฺ า ตํ นิมิตตฺ ํ วจิ ินาต,ิ
นาปิ อ โฺ โกจิ อาคนฺตฺวา อาโรเจติ, อถ โข ยโต กโุ ตจิ นิมิตฺต ํ อาคนตฺ ฺวา จติ ตฺ สสฺ
อาปาตมปุ คจฺฉต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร จิตของเขาจะไปค้นหานมิ ติ นน้ั เอง ก็
หาไม่ ทั้งจะมใี ครคนใดคนหนง่ึ มาบอกแกเ่ ขากห็ าไม่ แตท่ ว่า นิมติ นัน้ น่นั แหละ มาถึงคลอง
แห่งจติ ของเขา ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า กระจกเงาจะไปค้นหาเงาแมใ้ นท่ไี หน ๆ
เสยี เอง กห็ าไม่ ทัง้ จะมีใครคนใดคนหนง่ึ ยกเงาขน้ึ สูก่ ระจก (ให้ปรากฏในกระจกเงา) กห็ าไม่
แตท่ ว่า เงามาจากสิ่งใดสงิ่ หน่งึ แลว้ กเ็ ข้าถงึ คลองแห่งกระจกเงา ฉนั ใด ขอถวายพระพร จติ
ของบุคคลน้นั จะไปค้นหานิมติ นัน้ เอง กห็ าไม่ ท้งั จะมใี ครคนใดคนหน่งึ มาบอก ก็หาไม่ แตท่ ว่า
นมิ ิตนน้ั น่นั แหละ มาถงึ คลองแหง่ จิตของเขา”

220 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ภนฺเต นาคเสน ย ํ ตํ จิตฺต ํ สปุ นิ ํ ปสฺสต,ิ อป ิ นุ ต ํ จติ ตฺ ํ ชานาต ิ ‘เอว ํ นาม
วปิ าโก ภวสิ สฺ ต ิ เขมํ วา ภย ํ วา’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน จิตท่ีฝันเหน็ นน้ั จะทราบหรือไมว่ า่ ‘ผล
อย่างน้ี อนั เป็นความเกษมกต็ าม เปน็ ภัยกต็ าม จกั เกดิ ข้นึ ’ ดังนี้ ?”
‘‘น หิ มหาราช ตํ จติ ฺต ํ ชานาติ ‘เอววํ ิปาโก ภวสิ สฺ ต ิ เขม ํ วา ภย ํ วา’ต,ิ
นิมติ เฺ ต ปน อุปปฺ นฺเน อ ฺเ ส ํ กเถต,ิ ตโต เต อตถฺ ํ กเถนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร จติ นั้นหาทราบไม่วา่ ‘ผลอย่างนี้ อัน
เปน็ ความเกษมก็ตาม เป็นภยั กต็ าม จกั เกิดข้ึน แต่วา่ เม่อื นิมิตเกิดขน้ึ แล้ว เขากจ็ ะบอกแก่คน
อ่นื ๆ คนเหลา่ นัน้ ก็จะบอกผลจากนิมิตใหเ้ ขาฟัง’
‘‘องิ ฺฆ ภนฺเต นาคเสน การณ ํ เม ทสเฺ สห’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ขอนิมนต์ช่วยท�ำโยมให้ได้มองเห็นเหตผุ ล
เถิด”
‘‘ยถา มหาราช สรเี ร ตลิ กา ปีฬกา ททฺทนู ิ อุฏ ฺ หนตฺ ิ ลาภาย วา อลาภาย วา,
ยสาย วา อยสาย วา, นินฺทาย วา ปสสํ าย วา, สุขาย วา ทุกขฺ าย วา, อปิ น ุ ตา
มหาราช ปฬี กา ชานติ ฺวา อปุ ปฺ ชชฺ นตฺ ิ ‘อมิ ํ นาม มย ํ อตถฺ ํ นปิ ผฺ าเทสฺสามา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ โรคผวิ หนังชนิดปรุ
เป็นตมุ่ ด�ำ ๆ ขนาดเท่าเมล็ดงา ต้งั ข้นึ ในรา่ งกาย เพอ่ื ความมลี าภก็ตาม เพือ่ ความเส่ือมลาภ
กต็ าม เพอื่ ความมียศก็ตาม เพ่ือความเสอ่ื มยศกต็ าม เพื่อได้รับความนินทาก็ตาม เพอื่ ได้
รบั ค�ำสรรเสรญิ กต็ าม เพือ่ ได้รบั ความสุขกต็ าม เพื่อได้รับความทกุ ขก์ ต็ าม ขอถวายพระพร ก็
แตว่ า่ ตุ่มด�ำ ๆ เหลา่ น้นั รู้วา่ พวกเราจักท�ำผลชื่อนใ้ี ห้เกิดข้นึ ดงั น้ีแล้ว จงึ เกิดขนึ้ หรอื ไร ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต ยาทเิ ส ตา โอกาเส ปีฬกา สมภฺ วนตฺ ิ, ตตถฺ ตา ปฬี กา ทสิ วฺ า
เนมิตตฺ กา พฺยากโรนตฺ ิ ‘เอวํ นาม วิปาโก ภวิสฺสต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ คือว่า พวกนกั ท�ำนายนิมิตเหน็ ตมุ่ ด�ำ ๆ ใน
โอกาสที่เกิดขึน้ แล้ว กพ็ ยากรณก์ ันไปวา่ จกั เกิดผลอย่างนข้ี นึ้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ย ํ ต ํ จติ ฺตํ สุปนิ ํ ปสฺสต,ิ น ตํ จติ ฺต ํ ชานาติ ‘เอว ํ นาม
วปิ าโก ภวิสฺสต ิ เขมํ วา ภย ํ วา’ต,ิ นมิ ิตเฺ ต ปน อุปฺปนเฺ น อ เฺ สํ กเถติ, ตโต เต อตฺถํ

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 221

กเถนฺต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอยา่ งนั้นนน่ั แหละ จติ ทีฝ่ นั
เห็นนั้น หาทราบไมว่ ่า ผลอยา่ งนี้ อนั เป็นความเกษมกต็ าม เป็นภยั ก็ตาม จะเกดิ ขน้ึ แตว่ า่
เม่ือนมิ ติ เกดิ ข้ึนแลว้ เขาก็ไปบอกแกค่ นอ่ืน ๆ คนเหลา่ นัน้ ก็จะบอกผลท่ีเกิดจากนมิ ติ นน้ั ให้
เขาฟัง”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน โย สุปินํ ปสสฺ ต,ิ โส นิททฺ ายนฺโต อุทาหุ ชาครนฺโต ปสฺสต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ผู้ใดฝนั ผนู้ นั้ ย่อมฝันขณะที่ก�ำลงั หลับ หรือ
วา่ ขณะทีก่ �ำลังตนื่ เล่า ?”
‘‘โย โส มหาราช สปุ นิ ํ ปสสฺ ติ, น โส นิทฺทายนโฺ ต ปสฺสติ, นาป ิ ชาครนฺโต
ปสฺสติ ฯ อปจิ โอกกฺ นเฺ ต มิทเฺ ธ อสมปฺ ตเฺ ต ภวงฺเค เอตถฺ นฺตเร สุปนิ ํ ปสฺสติ ฯ มทิ ธฺ -
สมารฬู ฺหสสฺ มหาราช จติ ฺต ํ ภวงฺคคต ํ โหติ, ภวงคฺ คตํ จติ ตฺ ํ นปฺปวตฺตติ, อปปฺ วตฺตํ
จิตตฺ ํ สุขทกุ ฺขํ นปปฺ ชานาต,ิ อปปฺ ฏิวชิ านนตฺ สฺส สุปโิ น น โหต,ิ ปวตตฺ มาเน จิตเฺ ต สปุ ินํ
ปสฺสติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ผู้ท่ฝี ันนั้น มไิ ดฝ้ ันขณะก�ำลงั หลบั ทง้ั
มไิ ดฝ้ นั ขณะก�ำลงั ตื่น แต่ทวา่ ยอ่ มฝนั ในระหวา่ งทม่ี ีความโงกง่วงกา้ วลง ยงั ไม่จรดถงึ ภวงั ค์
ขอถวายพระพร จิตของผทู้ ม่ี ีความโงกงว่ งเพ่ิมพูน ยอ่ มมอี ันถงึ ภวังค์ จิตทถี่ งึ ภวงั ค์ ย่อมไม่
เปน็ ไป (โดยเป็นวิถ)ี จติ ทไ่ี ม่เป็นไป ยอ่ มไม่รู้สุขและทุกข์ บุคคลผมู้ จี ติ ทีไ่ มร่ ู้สุขและทุกข์ ย่อม
หาความฝนั มไิ ด้ เมือ่ จติ เป็นไป (โดยเป็นวิถ)ี เขาจึงจะฝันเหน็ ได้
‘‘ยถา มหาราช ติมิเร อนฺธกาเร อปฺปภาเส สปุ ริสุทเฺ ธป ิ อาทาเส ฉายา น ทสิ สฺ ต,ิ
เอวเมว โข มหาราช มทิ ธฺ สมารฬู เฺ ห จิตเฺ ต ภวงคฺ คเต ติฏฺ มาเนปิ สรเี ร จิตตฺ ํ อปปฺ วตตฺ ํ
โหต,ิ อปปฺ วตเฺ ต จิตฺเต สปุ นิ ํ น ปสฺสติ ฯ ยถา มหาราช อาทาโส, เอวํ สรีร ํ ทฏ ฺ พฺพํ;
ยถา อนธฺ กาโร, เอวํ มิทฺธ ํ ทฏฺ พฺพํ; ยถา อาโลโก, เอว ํ จติ ฺต ํ ทฏฺ พฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า ในทม่ี ดื มิด ไม่มีความสว่าง เงาย่อมไมป่ รากฏใน
กระจกเงา แมว้ ่าสะอาดดี ฉนั ใด เม่อื จติ มีความโงกงว่ งเพ่มิ พนู ถึงภวงั คแ์ ลว้ แม้ยงั ด�ำรงอยู่ ใน
สรรี ะกจ็ ะมแี ตจ่ ติ ท่ีไมเ่ ปน็ ไป (โดยเปน็ วถิ ี) ในจิตท่ไี มเ่ ป็นไป ย่อมไม่ฝนั เห็น ฉันนน้ั ขอถวาย
พระพร พงึ เห็นสรรี ะวา่ เปน็ ดจุ กระจกเงา พงึ เห็นความโงกง่วงวา่ เป็นดจุ ความมดื พึงเหน็ จติ
เปน็ ดจุ ความสวา่ ง ฉะนนั้ เถดิ

222 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ยถา วา ปน มหาราช มหิโกตฺถฏสสฺ สูริยสสฺ ปภา น ทสิ ฺสติ สนตฺ าเยว สรู ิย-
รสฺม ิ อปปฺ วตฺตา โหต,ิ อปฺปวตฺตาย สรู ิยรสมฺ ยิ า อาโลโก น โหติ, เอวเมว โข มหาราช
มิทฺธสมารูฬฺหสฺส จิตฺตํ ภวงคฺ คต ํ โหติ, ภวงฺคคตํ จิตตฺ ํ นปปฺ วตฺตติ, อปฺปวตเฺ ต จิตฺเต
สุปิน ํ น ปสสฺ ติ ฯ ยถา มหาราช สรู โิ ย, เอว ํ สรีรํ ทฏฺ พพฺ ;ํ ยถา มหโิ กตถฺ รณํ, เอว ํ มิทธฺ ํ
ทฏ ฺ พพฺ ;ํ ยถา สูริยรสฺมิ, เอว ํ จิตฺต ํ ทฏ ฺ พพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหน่ึง เปรียบเหมือนว่า แสงสว่างแหง่ ดวงอาทติ ย์ ท่ีถูกเมฆ
หมอกปกคลุม ยอ่ มไม่ปรากฏ รศั มีแหง่ ดวงอาทิตยม์ อี ยู่เชียวแหละกไ็ ม่เป็นไป เมื่อรัศมแี หง่
ดวงอาทติ ย์ไมเ่ ปน็ ไป ความสว่างกเ็ กดิ ไมไ่ ด้ ฉนั ใด จิตของบุคคลผมู้ ีความโงกง่วงเพม่ิ พูน
ยอ่ มมีอนั ถึงภวังค์ จติ ที่ถึงภวังค์ ย่อมไมเ่ ปน็ ไป เมือ่ จิตไม่เป็นไป กย็ ่อมไมฝ่ นั เห็น ฉนั นนั้
เหมือนกัน ขอถวายพระพร พงึ เห็นสรีระว่าเปน็ ดจุ ดวงอาทิตย์ พึงเห็นความโงกง่วงว่าเปน็ ดุจ
เมฆหมอก พงึ เหน็ จติ วา่ เปน็ ดจุ รัศมดี วงอาทติ ย์ ฉะนนั้ เถิด
‘‘ทวฺ นิ นฺ ํ มหาราช สนเฺ ตปิ สรีเร จติ ฺตํ อปปฺ วตตฺ ํ โหต,ิ มิทธฺ สมารูฬหฺ สฺส
ภวงคฺ คตสฺส สนเฺ ตปิ สรเี ร จิตตฺ ํ อปปฺ วตตฺ ํ โหต,ิ นโิ รธสมาปนฺนสฺส สนเฺ ตปิ สรีเร จิตฺต ํ
อปปฺ วตฺตํ โหต,ิ ชาครนตฺ สสฺ มหาราช จติ ตฺ ํ โลล ํ โหต ิ วิวฏ ํ ปากฏ ํ อนิพทฺธ,ํ เอวรูปสสฺ
จิตฺเต นมิ ติ ตฺ ํ อาปาต ํ น อเุ ปติ ฯ ยถา มหาราช ปุริสํ วิวฏ ํ ปากฏํ อกริ ยิ ํ อรหสสฺ ํ
รหสฺสกามา ปริวชฺเชนฺต,ิ เอวเมว โข มหาราช ชาครนฺตสฺส ทิพโฺ พ อตฺโถ อาปาตํ น
อเุ ปติ, ตสฺมา ชาครนฺโต สปุ ิน ํ น ปสสฺ ติ ฯ ยถา วา ปน มหาราช, ภิกขฺ ํ ุ ภนิ นฺ าชีวํ
อนาจารํ ปาปมิตฺต ํ ทสุ สฺ ลี ํ กสุ ีต ํ หีนวีริยํ กสุ ลา โพธิปกขฺ ิยา ธมมฺ า อาปาตํ น อุเปนตฺ ,ิ
เอวเมว โข มหาราช ชาครนฺตสสฺ ทิพฺโพ อตโฺ ถ อาปาต ํ น อุเปต,ิ ตสฺมา ชาครนฺโต
สุปิน ํ น ปสสฺ ตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ส�ำหรับบคุ คล ๒ จ�ำพวก จิตยอ่ มไม่เป็นไปในสรีระแมว้ า่ มอี ยู่ (ยังเป็น
ๆ อย่)ู คือ คนที่มีความโงกงว่ งเพ่มิ พนู จนจรดถงึ ภวงั ค์ จิตยอ่ มไมเ่ ป็นไปในสรรี ะแมว้ า่ มีอยู่
ท่านผ้เู ข้านิโรธสมาบัติ จิตย่อมไมเ่ ปน็ ไปในสรรี ะแม้ว่ามีอยู่ ขอถวายพระพร จิตของคนท่ีต่ืน
อยู่ ย่อมเปน็ ธรรมชาติท่วี ุ่นวาย แจง้ ชัด ไมเ่ ป็นจิตประจ�ำ นิมติ ย่อมไมถ่ งึ คลอง ในจิตของ
บคุ คลผู้เป็นเช่นนี้ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ คนผูป้ ระสงคจ์ ะเก็บความลับย่อมหลกี
เลย่ี งบุรษุ ผเู้ ปน็ คนเปิดเผย เปน็ คนชดั แลว้ เป็นคนซ่อนกริ ยิ าไวไ้ มไ่ ด้ เปน็ คนเก็บความลับ
มไิ ด้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร ผลอันเป็นทิพย์ ย่อมไม่เข้าถึงคลองแหง่ บุคคลผูต้ ่นื อยู่ ฉันน้ัน
เหมือนกนั เพราะฉะนน้ั คนผตู้ ื่นอยู่ จงึ ไม่ฝนั ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ กศุ ลโพธิ-

กัณฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 223

ปกั ขิยธรรมทงั้ หลาย ย่อมไม่เขา้ ถงึ ภิกษผุ ้มู อี าชวี ะเสียหาย หาอาจาระมิได้ คบคนชวั่ เปน็ มิตร
ทุศีล เกยี จครา้ น มคี วามเพียรเลวทราม ฉนั ใด ขอถวายพระพร ผลอันเปน็ ทพิ ย์ กย็ อ่ มไม่เขา้
ถงึ คลองแห่งบุคคลผู้ตืน่ อยู่ เพราะฉะน้ัน คนผตู้ ื่นอยู่ จึงไมฝ่ ัน ฉนั น้ันเหมือนกัน”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อตฺถิ มทิ ฺธสสฺ อาทมิ ชฌฺ ปริโยสานนฺ’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน มทิ ธะ (ความโงกงว่ ง) มีเบ้ืองตน้ ทา่ มกลาง
ที่สุดหรือไร ?”
‘‘อาม มหาราช อตถฺ ิ มทิ ธฺ สฺส อาทมิ ชฺฌปรโิ ยสานนฺ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใช่ มทิ ธะ มีเบือ้ งตน้ ท่ามกลาง และ
ท่ีสุด”
‘‘กตมํ อาทิ, กตมํ มชฌฺ ํ, กตมํ ปรโิ ยสานน’ฺ ’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “อะไรเปน็ เบอื้ งตน้ ? อะไรเป็นทา่ มกลาง ? อะไรเปน็ ที่สดุ ?”
‘‘โย มหาราช กายสสฺ โอนาโห ปรโิ ยนาโห ทพุ ฺพลฺยํ มนทฺ ตา อกมมฺ ฺ ตา
กายสฺส, อย ํ มิทธฺ สฺส อาท;ิ โย มหาราช กปินทิ ทฺ าปเรโต โวกิณฺณกํ ชคฺคติ, อทิ ํ มทิ ธฺ สสฺ
มชฌฺ ;ํ ภวงฺคคต ิ ปรโิ ยสนํ ฯ มชฺฌูปคโต มหาราช กปนิ ิททฺ าปเรโต สุปนิ ํ ปสสฺ ติ ฯ ยถา
มหาราช โกจิ ยตจาร ี สมาหิตจิตฺโต ติ ธมฺโม อจลพุทฺธ ิ ปหนี โกตูหลสทฺทํ วนมชโฺ ฌ-
คาหติ วฺ า สุขมุ ํ อตฺถ ํ จินฺตยติ, น จ โส ตตฺถ มิทธฺ ํ โอกกฺ มต,ิ โส ตตถฺ สมาหิโต
เอกคฺคจติ ฺโต สุขมุ ํ อตถฺ ํ ปฏิวิชฺฌต,ิ เอวเมว โข มหาราช ชาคโร น มทิ ฺธสมาปนโฺ น,
มชฺฌปู คโต กปินทิ ฺทาปเรโต สุปิน ํ ปสฺสติ ฯ ยถา มหาราช โกตูหลสทฺโท, เอว ํ ชาคร ํ
ทฏ ฺ พฺพํ; ยถา ววิ ติ ฺตํ วนํ, เอวํ กปินทิ ทฺ าปเรโต ทฏฺ พโฺ พ; ยถา โส โกตหู ลสททฺ ํ โอหาย
มิทฺธ ํ ววิ ชเฺ ชตวฺ า มชฌฺ ตตฺ ภูโต สขุ มุ ํ อตฺถํ ปฏวิ ชิ ฌฺ ต,ิ เอว ํ ชาคโร น มิทธฺ สมาปนฺโน
กปินทิ ทฺ าปเรโต สุปนิ ํ ปสฺสตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ความสยบซบเซาแห่งกาย ภาวะทีก่ าย
ทรามก�ำลัง อ่อนแอ ไมค่ วรแกก่ ารงาน จัดวา่ เป็นเบ้ืองตน้ แหง่ มิทธะ ขอถวายพระพร ภาวะท่ี
หลับ ๆ ตนื่ ๆ ปะปนกนั เหมอื นอย่างการหวนกลับของลงิ จัดวา่ เป็นทา่ มกลางแหง่ มทิ ธะ ขอ
ถวายพระพร การถึงภวังค์จดั วา่ เป็นทสี่ ดุ ขอถวายพระพร คนท่ีเขา้ ถึงทา่ มกลางแหง่ มทิ ธะ
นอนหลับเหมือนอยา่ งลงิ หลับ ย่อมฝนั ได้ ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า ผปู้ ระพฤตสิ �ำรวม
มีจติ ต้งั ม่นั ต้งั อย่ใู นธรรม มคี วามรู้ ไม่ว่อกแวก่ อยกู่ ลางป่าอนั ละเสยี ซง่ึ เสยี งโกลาหลแล้ว ก็

224 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ยอ่ มคดิ ถงึ อรรถที่สุขมุ ได้ และ ณ ทีน่ ้นั เขาย่อมไมก่ า้ วลงส่คู วามโงกงว่ ง ณ ทีน่ ้นั เขาผ้มู จี ิตตงั้
มัน่ โดยชอบ ถงึ ความเป็นหนง่ึ ย่อมรู้ทะลปุ รโุ ปรง่ อรรถทีส่ ุขมุ ได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร บุคคล
ผตู้ นื่ อยู่ กม็ ิใช่ ถงึ มทิ ธะท่เี ป็นท่ามกลางกม็ ิใช่ นอนหลบั เหมอื นอย่างลงิ นอนหลับย่อมฝันได้
ฉนั น้ันเหมอื นกัน ขอถวายพระพร พึงเหน็ การตน่ื อยู่ว่าเป็นดจุ เสียงโกลาหล พงึ เห็นการนอน
หลับเหมอื นอยา่ งการนอนหลับของลงิ ว่าเป็นดจุ ป่าทีส่ งดั พึงเห็นบคุ คลผู้ตื่นอยู่ ผู้ประกอบ
ดว้ ยความโงกง่วงนอนหลับเหมอื นอยา่ งลิงนอนหลับ ยอ่ มฝนั ได้ ว่าเปน็ ดุจบคุ คลผูล้ ะเสยี ง
โกลาหล ละเว้นความโงกงว่ งเปน็ กลาง ยอ่ มรทู้ ะลุปรุโปรง่ อรรถท่ีสขุ ุมได้ ฉะนัน้ เถิด”

‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “ดจี รงิ พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามท่ีทา่ นกล่าวมา
นี”้

สปุ ินปญฺโห ปญฺจโม ฯ
จบสปุ ินปัญหาข้อที่ ๕

________

๖. อกาลมรณปญฺห
๖. อกาลมรณปัญหา
ปัญหาว่าด้วยความตายในเวลาท่สี มควรและไม่สมควร
[๖] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เย เต สตฺตา มรนตฺ ิ, สพเฺ พ เต กาเลเยว มรนฺต ิ อุทาห ุ
อกาเลป ิ มรนฺต’ี ’ติ ?
[๖] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน สตั วผ์ จู้ ะตาย สัตวเ์ หล่านน้ั ล้วนตายใน
เวลาท่สี มควรทัง้ น้นั หรอื หรอื ว่าตายในเวลาที่ไมส่ มควร ก็มอี ยู่เลา่ ?”

‘‘อตฺถิ มหาราช กาเลปิ มรณํ, อตฺถ ิ อกาเลป ิ มรณนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ความตายแม้ในเวลาที่
สมควร ก็มอี ยู่ ความตายแมใ้ นเวลาทีไ่ มส่ มควรกม็ ีอย่”ู

‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เก กาเล มรนตฺ ิ, เก อกาเล มรนฺตี’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ใครเลา่ ตายในเวลาทีส่ มควร ใครตายใน

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 225

เวลาทีไ่ ม่สมควร ?”
‘‘ทฏิ ฺ ปพุ พฺ า ปน มหาราช ตยา อมฺพรุกขฺ า วา ชมพฺ รุ ุกขฺ า วา, อ ฺ สมฺ า วา ปน
ผลรุกฺขา ผลานิ ปตนตฺ านิ อามานิ จ ปกกฺ านิ จา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระองคเ์ คยทอดพระเนตรเห็นตน้
มะมว่ ง หรือต้นหว้า หรือวา่ ตน้ ไม้ผลอย่างอื่น ที่มผี ลทั้งดิบและสกุ ตกหล่นอยหู่ รอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “เคยเหน็ พระคณุ เจา้ ”
‘‘ยาน ิ ตาน ิ มหาราช ผลาน ิ รกุ ฺขโต ปตนฺติ, สพพฺ านิ ตานิ กาเลเยว ปตนฺต,ิ
อทุ าห ุ อกาเลปี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร บรรดาผลไมท้ ตี่ กหล่น จากต้นไมผ้ ล
เหลา่ น้ันลว้ น ตกหล่นในเวลาทสี่ มควรท้ังน้ันหรือ หรอื วา่ ตกหลน่ แม้ในเวลาทไี่ ม่สมควร ก็มอี ยู่
เลา่ ?”
‘‘ยาน ิ ตาน ิ ภนเฺ ต นาคเสน ผลานิ ปริปกฺกานิ วลิ นี าน ิ ปตนฺต,ิ สพพฺ านิ ตานิ
กาเล ปตนตฺ ิ ฯ ยานิ ปน ตานิ อวเสสานิ ผลาน ิ เตสุ กานิจิ กมิ ิวิทฺธาน ิ ปตนตฺ ,ิ กานจิ ิ
ลคุฬหตานิ ปตนฺติ, กานจิ ิ วาตปปฺ หตานิ ปตนฺต,ิ กานิจ ิ อนฺโตปตู ิกานิ หุตฺวา ปตนฺติ,
สพพฺ าน ิ ตานิ อกาเล ปตนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน บรรดาผลไม้ท่ีสุกแล้ว หง่อมแล้ว ตกหล่น
ไป ผลไมท้ ั้งหมดเหลา่ นั้น ลว้ นชื่อวา่ ตกหลน่ ในเวลาทีส่ มควร ส่วนผลไมท้ เ่ี หลอื ในบรรดาผล
ไมเ้ หลา่ นั้นบางลกู ถูกหนอนเจาะไช กต็ กหล่นไป บางลกู ถูกไมพ้ ลองตี ก็ตกหลน่ ไป บางลกู ถูก
ลมพดั ก็ตกหลน่ ไป บางลกู เกิดเนา่ อย่ขู า้ งใน กต็ กหล่นไป ผลไม้ทงั้ หมดเหลา่ น้ัน ลว้ นชื่อวา่
ตกหลน่ ในเวลาทไ่ี มส่ มควร”
‘‘เอวเมว โข มหาราช เย เต ชราเวคหตา มรนตฺ ิ, เตเยว กาเล มรนฺต,ิ
อวเสสา เกจ ิ กมฺมปฺปฏิพาฬหฺ า มรนตฺ ิ, เกจ ิ คติปปฺ ฏพิ าฬฺหา มรนฺติ, เกจิ กริ ิยป-ฺ
ปฏิพาฬหฺ า มรนฺตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกันอย่างนัน้ นัน่ แหละ สตั ว์
พวกทถี่ กู ก�ำลงั ชราก�ำจดั ตายไป สัตวเ์ หลา่ นน้ั นน่ั แหละ ช่ือว่าตายไปในเวลาทีส่ มควร สัตว์ที่

226 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

เหลือทง้ั หลาย บางพวกถกู กรรมขัดขวาง ตายไป บางพวกถูกคติขดั ขวาง ตายไป บางพวกถูก
กิริยาขดั ขวางไป (สัตวท์ ัง้ หมดเหลา่ น้นั ล้วนชือ่ ว่าตายในเวลาทไี่ ม่สมควร)
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน เย เต กมฺมปปฺ ฏิพาฬฺหา มรนฺติ, เยปิ เต คติปปฺ ฏพิ าฬหฺ า
มรนฺติ, เยปิ เต กริ ิยปฺปฏิพาฬฺหา มรนตฺ ,ิ เยป ิ เต ชราเวคปปฺ ฏิพาฬหฺ า มรนตฺ ิ, สพฺเพ
เต กาเลเยว มรนตฺ ,ิ โยปิ มาตุกุจฺฉคิ โต มรต,ิ โส ตสสฺ กาโล, กาเลเยว โส มรติ ฯ โยปิ
วชิ าตฆเร มรต,ิ โส ตสสฺ กาโล, โสปิ กาเลเยว มรติ ฯ โยป ิ มาสิโก มรต…ิ เป.… โยป ิ
วสฺสสตโิ ก มรต,ิ โส ตสฺส กาโล, กาเลเยว โส มรต,ิ เตนห ิ ภนเฺ ต นาคเสน อกาเล มรณํ
นาม น โหต,ิ เย เกจ ิ มรนตฺ ิ, สพฺเพ เต กาเลเยว มรนตฺ ี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน สัตว์พวกทถ่ี ูกกรรมขดั ขวาง ตายไป แม้
พวกทถ่ี กู คติขัดขวาง ตายไป แมพ้ วกท่ีถูกกริ ิยาขดั ขวาง ตายไป แม้พวกทถี่ กู ก�ำลงั ชราขดั
ขวาง ตายไป สัตวท์ งั้ หมดเหลา่ นั้น ล้วนชอื่ ว่าตายในเวลาท่สี มควรทง้ั น้ัน แม้ว่า ผู้ใดตายตง้ั แต่
อยใู่ นทอ้ งมารดา เวลาที่อย่ใู นทอ้ งของมารดาน้นั ก็จดั ว่าเป็นเวลาท่สี มควรส�ำหรับเขา เขานั้น
ชื่อว่าตายในเวลาทส่ี มควรท้งั นนั้ แม้วา่ ผูใ้ ดตายในเรอื นคลอด เวลาท่อี ยู่ในเรือนคลอดน้ัน ก็
จัดว่าเป็นเวลาท่สี มควรส�ำหรบั เขา แมเ้ ขานั้น กช็ อ่ื ว่าตายในเวลาท่ีสมควรน่นั แหละ แมว้ ่า ผู้
ใด ตายตอนมอี ายุได้ ๑ เดอื น ฯลฯ แมว้ า่ ผใู้ ด ตายตอนมีอายุ ๑๐๐ ปี เวลาท่มี อี ายไุ ด้ ๑๐๐ ปี
นัน้ กจ็ ดั วา่ เป็นเวลาทีส่ มควรส�ำหรบั เขา เขานัน้ กช็ ือ่ ตายในเวลาทีส่ มควรนน่ั แหละ พระคุณ
เจ้านาคเสน เพราะเหตุนั้น ชอ่ื ว่าความตายในเวลาทไ่ี มส่ มควร ไมม่ หี รอก ทกุ คนน้นั ย่อมตาย
ในเวลาทีส่ มควรท้งั นนั้ ”
‘‘สตฺตเิ ม มหาราช วชิ ฺชมาเนปิ อุตฺตรึ อายุสฺม ึ อกาเล มรนฺติ ฯ กตเม สตตฺ ?
ชฆิ จฺฉิโต มหาราช โภชนํ อลภมาโน อปุ หตพภฺ นตฺ โร วชิ ชฺ มาเนป ิ อุตฺตรึ อายสุ มฺ ึ อกาเล
มรต,ิ ปปิ าสโิ ต, มหาราช, ปานยี ํ อลภมาโน ปริสกุ ฺขหทโย วิชชฺ มาเนป ิ อตุ ตฺ ร ึ อายุสมฺ ึ
อกาเล มรติ, อหินา ทฏโฺ มหาราช วิสเวคาภิหโต ติกิจฉฺ ก ํ อลภมาโน วิชชฺ มาเนปิ อตุ ฺตรึ
อายสุ มฺ ึ อกาเล มรติ, วสิ มาสิโต มหาราช ฑยฺหนเฺ ตสุ องฺคปจจฺ งฺเคสุ อคท ํ อลภมาโน
วชิ ฺชมาเนปิ อตุ ฺตร ึ อายุสฺม ึ อกาเล มรต,ิ อคฺคิคโต มหาราช ฌายมาโน นพิ พฺ าปนํ
อลภมาโน วชิ ชฺ มาเนปิ อุตฺตรึ อายุสฺมึ อกาเล มรต,ิ อุทกคโต มหาราช ปตฏิ ฺ ํ
อลภมาโน วชิ ฺชมาเนปิ อตุ ตฺ รึ อายสุ มฺ ึ อกาเล มรต,ิ สตตฺ ิหโต มหาราช อาพาธิโก ภิสกกฺ ํ
อลภมาโน วชิ ฺชมาเนปิ อตุ ฺตรึ อายสุ ฺม ึ อกาเล มรต,ิ อิเม โข มหาราช สตตฺ วชิ ฺชมาเนป ิ

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 227

อตุ ฺตร ึ อายสุ ฺมึ อกาเล มรนฺติ ฯ ตตรฺ าปาหํ มหาราช เอกํเสน วทามิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร บุคคล ๗ จ�ำพวกเหลา่ น้ี แมเ้ มอ่ื มีอายุ
ยืนย่งิ กช็ ่อื ว่าตายในเวลาที่ไมส่ มควร ๗ จ�ำพวก ใครบา้ ง ขอถวายพระพร บคุ คล ๗ จ�ำพวก
คอื
๑. คนหวิ จัด ไมไ่ ดอ้ าหาร ภายในกายถูกท�ำลาย (ตายไป) แมม้ อี ายยุ นื ย่ิง กช็ ่ือวา่
ตายในเวลาทไ่ี ม่สมควร
๒. คนกระหายจัด ไมไ่ ด้น้ำ� ด่ืม หัวใจเหือดแห้ง (ตายไป) แมม้ อี ายยุ นื ยง่ิ กช็ ่อื ว่าตาย
ในเวลาทีไ่ ม่สมควร
๓. คนถกู งูกดั ถกู ก�ำลังของพษิ รุกรานอยู่ ไมไ่ ดร้ ับการบ�ำบดั รกั ษา (ตายไป) แม้
มอี ายยุ ืนยิง่ ก็ชือ่ ว่าตายในเวลาที่ไมส่ มควร
๔. คนกนิ ยาพิษ เพ่ืออวยั วะใหญ่นอ้ ยถกู ก�ำลงั ยาพษิ แผดเผาอยู่ ไมไ่ ดก้ นิ ยาแกพ้ ษิ
(ตายไป) แม้มอี ายุยนื ยงิ่ ก็ช่ือวา่ ตายในเวลาทีไ่ ม่สมควร
๕. คนท่ีตกอยู่ในไฟ ถูกไฟเผาอยู่ ไมไ่ ด้น�้ำดบั ไฟ (ตายไป) แมม้ อี ายยุ นื ยิง่ ก็ช่ือวา่
ตายในเวลาทไ่ี ม่สมควร
๖. คนตกน�้ำ ไมไ่ ดท้ ่ียึดเกาะ (ตายไป) แมม้ ีอายยุ นื ยิง่ กช็ ือ่ วา่ ตายในเวลาท่ไี มส่ มควร
๗. คนทถ่ี ูกหอกหลาวเสยี บแทงเจ็บป่วยอยู่ ไม่ไดห้ มอผ่าตัด (ตายไป) แมม้ ีอายุยนื
ยิ่ง กช็ ่อื ว่าตายในเวลาที่ไม่สมควร
ขอถวายพระพร บุคคล ๗ จ�ำพวกน้แี ล แมเ้ มอื่ มอี ายุยืนย่งิ ก็ช่อื ว่าตายในเวลาทีไ่ ม่
สมควร ขอถวายพระพร แม้ในเรือ่ งความตายในเวลาท่ไี มส่ มควรนั้น อาตมภาพ ก็จักขอกลา่ ว
ไปโดยส่วนเดียว
‘‘อฏ ฺ วิเธน มหาราช สตฺตานํ กาลงกฺ ริ ยิ า โหติ, วาตสมฏุ ฺ าเนน ปิตตฺ สมฏุ ฺ าเนน
เสมฺหสมฏุ ฺ าเนน สนฺนิปาติเกน อุตวุ ิปริณาเมน วสิ มปริหาเรน โอปกฺกมเิ กน กมฺมวิปาเกน
มหาราช สตตฺ าน ํ กาลงกฺ ริ ยิ า โหติ ฯ
ขอถวายพระพร สัตว์ทงั้ หลาย เสยี ชวี ติ เพราะเหตุ ๘ อยา่ ง คอื
๑. สตั ว์ทั้งหลายมีการท�ำกาละ เพราะโรคทมี่ ลี มเปน็ สมฏุ ฐาน
๒. สตั ว์ทัง้ หลายมีการท�ำกาละ เพราะโรคท่มี ีดเี ปน็ สมฏุ ฐาน
๓. สตั ว์ทั้งหลายมีการท�ำกาละ เพราะโรคท่มี ีเสมหะเป็นสมุฏฐาน
๔. สัตวท์ ง้ั หลายมกี ารท�ำกาละ เพราะโรคหลายโรครมุ เร้า

228 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

๕. สัตว์ทง้ั หลายมีการท�ำกาละ เพราะสภาพแปรปรวนแห่งอตุ ุ
๖. สัตวท์ ้ังหลายมีการท�ำกาละ เพราะการบริหารที่ไมด่ ี
๗. สัตว์ท้ังหลายมีการท�ำกาละ เพราะความพยายาม (แหง่ ตนและผอู้ ่นื )
๘. สตั วท์ ั้งหลายมีการท�ำกาละ เพราะวิบากกรรมของตน

ตตรฺ มหาราช ยทิท ํ กมมฺ วปิ าเกน กาลงฺกริ ิยา, สาเยว ตตถฺ สามยิกา กาลงกฺ ริ ยิ า,
อวเสสา อสามยกิ า กาลงฺกริ ิยาติ ฯ ภวต ิ จ –
‘‘ชฆิ จฺฉาย ปปิ าสาย อหิทฏฺ า วิเสน จ
อคฺคิอุทกสตตฺ หี ิ อกาเล ตตถฺ มยี ติ
วาตปติ เฺ ตน เสมเฺ หน สนนฺ ิปาเตนุตหู ิ จ
วสิ โมปกกฺ มกมเฺ มห ิ อกาเล ตตฺถ มียตี’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ในบรรดาเหตุ ๘ อย่างนัน้ การเสียชีวติ ท่ีมเี พราะวบิ ากของกรรมนใ้ี ด
การเสียชีวติ ขอ้ น้ันนนั่ แหละ จดั ว่าเป็นการเสยี ชวี ติ ท่มี ีสมัย การเสยี ชวี ติ ข้อทีเ่ หลือ จัดว่า
เป็นการเสียชวี ติ ทห่ี าสมยั มิได้ จงึ เป็นอนั กล่าวไดว้ า่
“สตั ว์ตายเพราะความหิว เพราะความกระหาย เพราะยาพิษ
เพราะไฟ เพราะน�ำ้ เพราะหอกหลาว ในเพราะเหตเุ หล่าน้ัน
ชอื่ ว่าตายในเวลาทไี่ มส่ มควร
อน่งึ สตั วต์ ายเพราะโรคลม เพราะโรคดี เพราะโรคเสมหะ
เพราะโรคหลายโรครุมเรา้ เพราะการบรหิ ารทไ่ี ม่ดี เพราะ
ความพยายาม เพราะวิบากของกรรม ในเพราะเหตเุ หล่าน้ัน ก็
ชื่อวา่ ตายในเวลาท่ีไมส่ มควร”

‘‘เกจ ิ มหาราช สตตฺ า ปุพเฺ พ กเตน เตน เตน อกสุ ลกมฺมวิปาเกน มรนฺติ ฯ อิธ
มหาราช โย ปุพฺเพ ปเร ชฆิ จฉฺ าย มาเรติ, โส พหนู ิ วสสฺ สตสหสสฺ าน ิ ชิฆจฺฉาย
ปริปีฬิโต ฉาโต ปรกิ ิลนฺโต สกุ ฺขมิลาตหทโย พุภุกขฺ โิ ต วิสุกขฺ โิ ต ฌายนโฺ ต อพภฺ นฺตรํ
ปรฑิ ยฺหนโฺ ต ชฆิ จฉฺ ายเยว มรต ิ ทหโรป ิ มชฺฌิโมป ิ มหลลฺ โกปิ, อทิ มฺปิ ตสสฺ สามยกิ มรณํฯ
ขอถวายพระพร สัตว์ท้งั หลายบางพวก ยอ่ มตายเพราะวิบากของอกศุ ลกรรมนั้น ๆ ที่
ได้ท�ำไวใ้ นภพกอ่ น ขอถวายพระพร บุคคลใดในโลกน้ี ในภพก่อน ไดท้ �ำคนอ่ืนให้ตาย เพราะ
ความหิว บคุ คลน้นั ย่อมเปน็ ผทู้ ี่ถกู ความหิวบีบคนั้ หิวจดั ทรมาน หวั ใจแหง้ เหย่ี วอับเฉา

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 229

อยากแตจ่ ะกิน แหง้ กอบ ถูกความหวิ เผาผลาญภายใน ย่อมตาย เพราะความหิวท่แี ผดเผาใน
วัยหนุ่มบ้าง ในวยั กลางคนบ้าง ในวยั แก่เฒา่ บ้าง ตลอดเวลาหลายแสนปี ความตายแมอ้ ยา่ งนี้
กจ็ ดั ว่า เปน็ ความตายทมี่ สี มัยของเขา
‘‘โย ปุพฺเพ ปเร ปิปาสาย มาเรติ, โส พหนู ิ วสสฺ สตสหสสฺ าน ิ เปโต หุตวฺ า
นิชฌฺ ามตณฺหิโก สมาโน ลูโข กิโส ปริสกุ ขฺ ิตหทโย ปิปาสายเยว มรต ิ ทหโรปิ มชฺฌโิ มปิ
มหลลฺ โกปิ, อิทมปฺ ิ ตสฺส สามยิกมรณํ ฯ
บุคคลใด ในภพก่อน ได้ท�ำคนอน่ื ใหต้ าย เพราะความกระหาย (เพราะอดนำ้� ) บคุ คล
นน้ั ยอ่ มเปน็ เหมือนนิชฌามตัณหกิ เปรต ซบู ซดี ผา่ ยผอม หัวใจเหอื ดแห้ง ย่อมตาย เพราะ
ความกระหายนน่ั แหละ ในวยั หนมุ่ บ้าง ในวัยกลางคนบ้าง ในวัยแก่เฒ่าบา้ ง ตลอดเวลาหลาย
แสนปี ความตายแมอ้ ยา่ งน้ี กจ็ ดั วา่ เป็นความตายทม่ี ีสมยั ของเขา
‘‘โย ปุพเฺ พ ปเร อหนิ า ฑสํ าเปตวฺ า มาเรต,ิ โส พหนู ิ วสสฺ สตสหสสฺ าน ิ อชคร-
มเุ ขเนว อชครมขุ ํ กณหฺ สปฺปมุเขเนว กณฺหสปปฺ มขุ ํ ปริวตฺตติ ฺวา เตห ิ ขายติ ขายิโต อหีห ิ
ทฏโฺ เยว มรต ิ ทหโรปิ มชฺฌิโมปิ มหลฺลโกปิ, อิทมฺป ิ ตสสฺ สามยิกมรณํ ฯ
บุคคลใด ในภพก่อน ได้ท�ำคนอื่นให้ถกู งกู ัดตาย บุคคลน้ันละจากปากงูเหลือม เวยี น
มาสปู่ ากงเู หลอื ม ละจากปากงเู หา่ เวยี นมาส่ปู ากงูเห่า ถูกงูเหลา่ นัน้ กัดครัง้ แลว้ ครั้งเล่า ยอ่ ม
เปน็ ผถู้ กู งกู ดั ตายนั่นแหละ ในวัยหนุ่มบา้ ง ในวยั กลางคนบ้าง ในวัยแกเ่ ฒา่ บา้ ง ตลอดเวลา
หลายแสนปี ความตายแมอ้ ยา่ งนี้ กจ็ ัดว่าเป็นความตายท่ีมสี มยั ของเขา
‘‘โย ปุพฺเพ ปเร วสิ ํ ทตฺวา มาเรต,ิ โส พหนู ิ วสฺสสตสหสสฺ านิ ฑยฺหนฺเตหิ องคฺ -
ปจจฺ งฺเคห ิ ภชิ ฺชมาเนน สรเี รน กณุ ปคนฺธํ วายนฺโต วเิ สเนว มรต ิ ทหโรป ิ มชฺฌิโมป ิ
มหลฺลโกปิ, อิทมปฺ ิ ตสฺส สามยกิ มรณํ ฯ
บคุ คลใด ในภพก่อน ให้ยาพษิ ท�ำคนอนื่ ให้ตาย บคุ คลนน้ั ย่อมเป็นผู้มีอวัยวะใหญ่
น้อยไหมเ้ กรยี ม มีรา่ งกายฉีกขาด ส่งกลิ่นเหมน็ ฟงุ้ ไป ยอ่ มตายเพราะยาพษิ น่ันแหละ ในวยั
เดก็ บา้ ง ในวยั กลางคนบ้าง ในวยั แก่เฒา่ บา้ ง ตลอดเวลาหลายแสนปี ความตายแมอ้ ยา่ งนี้ ก็
จดั วา่ เป็นความตายท่มี สี มัยของเขา

230 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘โย ปพุ เฺ พ ปเร อคคฺ นิ า มาเรต,ิ โส พหนู ิ วสฺสสตสหสฺสานิ องคฺ ารปพฺพเตเนว
องฺคารปพพฺ ตํ ยมวสิ เยเนว ยมวิสยํ ปรวิ ตตฺ ิตฺวา ทฑฺฒวิทฑฒฺ คตโฺ ต อคคฺ ินาเยว มรต ิ
ทหโรปิ มชฌฺ โิ มปิ มหลลฺ โกป,ิ อทิ มปฺ ิ ตสสฺ สามยกิ มรณํ ฯ
บคุ คลใด ในภพกอ่ น ใชไ้ ฟท�ำคนอืน่ ใหต้ าย บคุ คลน้นั ย่อมเป็นผ้ลู ะจากภูเขาถ่าน
เพลงิ เวียนมาสูภ่ ูเขาถา่ นเพลงิ ละจากอารมณข์ องพญายม เวียนมาสู่อารมณ์ของพญายม
รา่ งกายถูกไฟเผาไหม้ ตายไป เพราะไฟนัน่ แหละ ในวยั หนุม่ บา้ ง ในวยั กลางคนบา้ ง ในวยั แก่
เฒา่ บา้ ง ตลอดเวลาหลายแสนปี ความตายแม้อย่างน้ี ก็จดั ว่าเป็นความตายทีม่ ีสมัยของเขา
‘‘โย ปพุ ฺเพ ปเร อุทเกน มาเรติ, โส พหนู ิ วสฺสสตสหสฺสาน ิ หตวลิ ตุ ตฺ ภคฺค-
ทุพฺพลคตฺโต ขุพภฺ ิตจติ โฺ ต อทุ เกเนว มรต ิ ทหโรป ิ มชฌฺ โิ มป ิ มหลลฺ โกป,ิ อิทมปฺ ิ ตสสฺ
สามยกิ มรณํ ฯ
บคุ คลใด ในภพกอ่ น ใชน้ ้ำ� ท�ำคนอน่ื ใหต้ าย บคุ คลนัน้ จะเป็นผูม้ รี ่างกายถูกท�ำรา้ ยถกู
ปลน้ ถูกหัก ทรามก�ำลงั มจี ติ ฟงุ้ ซา่ น ย่อมตายเพราะน้�ำน่ันแหละ ในวัยหนุ่มบ้าง ในวัยกลาง
คนบา้ ง ในวยั แกเ่ ฒ่าบ้าง ตลอดเวลาหลายแสนปี ความตายแม้อย่างนี้ ก็จดั ว่าเป็นความตายที่
มสี มยั ของเขา
‘‘โย ปพุ ฺเพ ปเร สตฺตยิ า มาเรติ, โส พหูน ิ วสฺสสตสหสฺสานิ ฉนิ ฺนภินนฺ โกฏฏฺ ิต-
วโิ กฏฏฺ ิโต สตตฺ ิมขุ สมาหโต สตตฺ ยิ าเยว มรต ิ ทหโรปิ มชฺฌิโมป ิ มหลลฺ โกปิ, อิทมฺปิ ตสสฺ
สามยิกมรณํ’’ ฯ
บคุ คลใด ในภพกอ่ น ใช้หอกหลาวท�ำคนอื่นใหต้ าย บุคคลนัน้ จะเปน็ ผู้มรี ่างกายฉีก
ขาดปรุพรนุ ถกู คร่าตวั มาสูป่ ลายหอกหลาว ยอ่ มตายไปเพราะหอกหลาวนนั่ แหละ ในวัยหนุ่ม
บ้าง ในวัยกลางคนบ้าง ในวยั แก่เฒา่ บา้ ง ตลอดเวลาหลายแสนปี ความตายแมอ้ ย่างน้ี กจ็ ดั วา่
เปน็ ความตายท่ีมีสมยั ของเขา
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อกาเล มรณ ํ อตฺถีต ิ ย ํ วเทต,ิ องิ ฺฆ เม ตฺวํ ตตฺถ การณ ํ
อตทิ ิสาต’ิ ’ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ค�ำทที่ ่านกลา่ วว่า ‘ความตายในเวลาทไี่ ม่
สมควร กม็ ีอย’ู่ ดังน้ใี ด ขอเชญิ ทา่ นชีแ้ จงเหตผุ ลในเรอ่ื งน้นั เถดิ ”

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 231

‘‘ยถา มหาราช มหตมิ หาอคฺคิกขฺ นโฺ ธ อาทนิ นฺ ติณกฏ ฺ สาขาปลาโส ปริยาทินนฺ ภกฺโข
อุปาทานสงขฺ ยา นิพฺพายต,ิ โส อคคฺ ิ วจุ ฺจติ ‘อนตี โิ ก อนปุ ททฺ โว สมเย นพิ พฺ โุ ต นามา’ติ,
เอวเมว โข มหาราช โย โกจิ พหนู ิ ทวิ สสหสฺสานิ ชีวิตวฺ า ชราชณิ ฺโณ อายกุ ขฺ ยา
อนีติโก อนปุ ททฺ โว มรต,ิ โส วจุ ฺจติ ‘สมเย มรณมุปคโต’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ กองไฟกองใหญ่ ๆ
ตดิ หญา้ ไม้แหง้ กง่ิ ก้าน ใบ กนิ เชือ้ จนสิ้นแลว้ ก็ย่อมดบั ไปเพราะหมดเช้ือบคุ คลยอ่ มกลา่ วถึง
ไฟกองน้นั วา่ ‘ชื่อว่าเปน็ ไฟไม่มีภัยแลว้ ไมม่ ีอันตรายแล้ว ดับไปแล้ว ในสมยั ทค่ี วรดับ’ ดงั น้ี
ฉนั ใด ขอถวายพระพร บคุ คลใดบุคคลหนงึ่ เป็นอยูไ่ ด้หลายพนั วัน แก่หง่อมเพราะชรา เป็นผู้
ไมม่ ีภยั ไม่มีอนั ตราย ตายไปเพราะสิน้ อายุ ใคร ๆ ก็ย่อมกล่าวถงึ บุคคลนัน้ วา่ ‘เขาเปน็ ผ้เู ข้า
ถงึ ความตายในสมยั ท่ีสมควร’ ดงั นี้ ฉันนน้ั เหมอื นกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช มหตมิ หาอคฺคิกขฺ นโฺ ธ อาทินนฺ ติณกฏ ฺ สาขาปลาโส อสฺส,
ตํ อปริยาทนิ เฺ นเยว ตณิ กฏฺ สาขาปลาเส มหตมิ หาเมโฆ อภปิ ฺปวสฺสิตฺวา นิพฺพาเปยฺย, อป ิ
น ุ โข มหาราช มหาอคคฺ กิ ขฺ นฺโธ สมเย นิพฺพุโต นาม โหตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนึ่ง เปรียบเหมือนว่า กองไฟกองใหญ่ ๆ ติดหญา้ ไม้แห้ง
ก่งิ ก้าน ใบ เม่ือยังมิไดท้ ันท�ำให้หญ้า ไมแ้ ห้ง กง่ิ ก้าน ใบ ให้มอดไปเลย ฝนห่าใหญ่ ๆ ก็
กระหนำ�่ ลงมา ท�ำให้ดับไป ขอถวายพระพร กองไฟกองใหญ่ ๆ ชื่อว่าดับไปแล้วในสมยั ทคี่ วร
ดับหรือไร ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘กสิ ฺส ปน โส มหาราช ปจฺฉิโม อคคฺ กิ ฺขนโฺ ธ ปุริมเกน อคคฺ กิ ฺขนฺเธน สมสมคตโิ ก
นาโหสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ ร กองไฟกองหลัง จึงไมม่ ี
คตเิ หมือนกองไฟกองแรกเล่า”
‘‘อาคนตฺ ุเกน ภนฺเต เมเฆน ปฏิปีฬิโต โส อคฺคกิ ขฺ นโฺ ธ อสมเย นพิ ฺพโุ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “เพราะไฟกองหลังนนั้ ถกู เมฆฝนทจ่ี รมาก�ำราบเสีย จึงดบั ไปใน
สมัยท่ไี ม่ควรดบั พระคณุ เจ้า”

232 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

“เอวเมว โข มหาราช โย โกจิ อกาเล มรต,ิ โส อาคนตฺ เุ กน โรเคน ปฏปิ ฬี โิ ต
วาตสมฏุ ฺ าเนน วา ปิตฺตสมุฏฺ าเนน วา เสมฺหสมฏุ ฺ าเนน วา สนนฺ ิปาตเิ กน วา
อุตุปริณามเชน วา วิสมปริหารเชน วา โอปกฺกมิเกน วา ชฆิ จฉฺ าย วา ปิปาสาย วา
สปฺปทฏเฺ น วา วิสมาสิเตน วา อคคฺ นิ า วา อุทเกน วา สตตฺ ิเวคปปฺ ฏปิ ฬี ิโต วา อกาเล
มรติ ฯ อทิ เมตถฺ มหาราช การณํ, เยน การเณน อกาเล มรณ ํ อตถฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอยา่ งนัน้ น่นั แหละ บุคคล
ใดบุคคลหนงึ่ ย่อมตายในเวลาท่ไี มส่ มควร คือวา่ บคุ คลน้นั ถูกโรคทจี่ รมาบบี ค้ัน คือ ถูกโรคที่
มีลมเปน็ สมุฏฐานบ้าง โรคท่ีมีดีเป็นสมุฏฐานบ้าง โรคท่ีมเี สมหะเปน็ สมฏุ ฐานบ้าง โรคหลาย
โรครุมเร้าบ้าง ความแปรปรวนแห่งอตุ ุบา้ ง การบรหิ ารทไ่ี มด่ บี ้าง ความพยายามบา้ ง ความหวิ
บา้ ง ความกระหายบ้าง งูกดั บ้าง ดม่ื ยาพษิ บ้าง ไฟบ้าง น�้ำบ้าง ถูกอาวธุ มหี อกหลาวเปน็ ต้น
บา้ งบีบคัน้ กย็ อ่ มตายในเวลาทไี่ มส่ มควร ขอถวายพระพร ข้อท่วี า่ มานี้ เป็นเหตผุ ลในเรื่อง
ความตายในเวลาที่ไม่สมควรน้ี ที่นบั เป็นเหตุใหก้ ลา่ วได้วา่ ความตายในเวลาท่ไี มส่ มควรกม็ ี
อยู่
‘‘ยถา วา ปน มหาราช คคเน มหตมิ หาวลาหโก อฏุ ฺ หติ วฺ า นินฺน ฺจ ถล จฺ
ปริปูรยนฺโต อภิวสสฺ ติ, โส วุจจฺ ต ิ ‘เมโฆ อนีติโก อนปุ ททฺ โว วสฺสต’ี ติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช โย โกจิ จิร ํ ชีวติ ฺวา ชราชณิ โฺ ณ อายุกฺขยา อนตี โิ ก อนปุ ททฺ โว มรต,ิ โส
วจุ ฺจต ิ ‘สมเย มรณมปุ คโต’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนึง่ เปรียบเหมือนวา่ เมฆฝนกลุ่มใหญ่ ๆ ต้งั ครม้ึ ขน้ึ ใน
ทอ้ งฟ้าแลว้ กต็ กกระหนำ่� ท�ำทีล่ ุ่ม ที่ดอนให้เต็ม บคุ คลย่อมกลา่ วถึงเมฆฝนกล่มุ น้นั วา่ ‘ชือ่ ว่า
เปน็ เมฆฝนทไ่ี ม่มีภยั ไม่มีอันตราย ตกลงมา’ ดังนี้ ฉันใด ขอถวายพระพร บุคคลใดบคุ คลหนงึ่
เปน็ อยู่สนิ้ กาลนาน แก่หงอ่ มเพราะชรา เป็นผไู้ มม่ ีภยั ไมม่ ีอนั ตราย ตายไปเพราะสิน้ อายุ ใคร
ๆ กย็ อ่ มกลา่ วถงึ บุคคลน้ันว่า ‘เขาเปน็ ผ้ทู ่ีเข้าถึงความตายในเวลาที่สมควร’ ดังนี้ ฉันนนั้
เหมือนกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช คคเน มหตมิ หาวลาหโก อุฏฺ หิตฺวา อนฺตราเยว มหตา
วาเตน อพฺภตถฺ ํ คจฺเฉยฺย, อป ิ นุ โข โส มหาราช มหาวลาหโก สมเย วิคโต นาม
โหตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหน่งึ เปรียบเหมือนวา่ เมฆฝนกลุม่ ใหญ่ ๆ ต้งั คร้ึมข้นึ ใน

กัณฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 233

ท้องฟา้ แล้ว กถ็ ูกลมแรงพัดให้ล่วงเลยไปเสยี ในระหวา่ ง ขอถวายพระพร เมฆฝนกลุม่ ใหญ่นนั้
ช่อื วา่ ปราศไปในสมยั ท่คี วรปราศไปหรอื อย่างไร ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “หามิได้ พระคุณเจ้า”
‘‘กสิ สฺ ปน โส มหาราช ปจฉฺ โิ ม วลาหโก ปุริเมน วลาหเกน สมสมคตโิ ก
นาโหสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ ร เมฆฝนกลุม่ หลงั จึงไม่มี
คติเสมอเหมือนฝนกลมุ่ แรกเลา่ ?”
‘‘อาคนตฺ ุเกน ภนเฺ ต วาเตน ปฏิปีฬิโต โส วลาหโก อสมยปปฺ ตโฺ ต เยว วิคโต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “เพราะเมฆฝนกลุม่ หลัง ถูกลมท่ีจรมาก�ำราบเสยี จงึ ปราศไป ยงั
ไมถ่ งึ สมัยท่สี มควร พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โย โกจ ิ อกาเล มรติ, โส อาคนฺตเุ กน โรเคน ปฏิปีฬิโต
วาตสมุฏฺ าเนน วา…เป.… สตฺตเิ วคปปฺ ฏปิ ฬี โิ ต วา อกาเล มรติ ฯ อทิ เมตฺถ มหาราช
การณํ, เยน การเณน อกาเล มรณ ํ อตฺถีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนน้ั นัน่ แหละ บคุ คล
ใดบุคคลหนงึ่ ย่อมตายในเวลาทีไ่ มส่ มควร คือวา่ บคุ คลนั้นถกู โรคทีจ่ รมาบบี คนั้ แลว้ คอื ถกู
โรคท่ีมลี มเป็นสมฏุ ฐาน ฯลฯ ถูกอาวุธมหี อกหลาวเป็นตน้ บ้างบีบคน้ั แลว้ ก็ยอ่ มตายในเวลาที่
ไมส่ มควร ขอถวายพระพร ข้อที่วา่ มานี้ เปน็ เหตุผลในเรอ่ื งความตายในเวลาทไี่ ม่สมควร นี้ ที่
นบั เป็นเหตุใหก้ ล่าวได้ว่า ความตายในเวลาท่ไี มส่ มควร ก็มีอยู่”
‘‘ยถา วา ปน มหาราช พลวา อาสีวโิ ส กุปิโต กิ ฺจเิ ทว ปรุ ิส ํ ฑเํ สยฺย, ตสสฺ ตํ
วสิ ํ อนตี กิ ํ อนุปททฺ ว ํ มรณํ ปาเปยยฺ , ต ํ วิสํ วุจจฺ ต ิ ‘อนตี ิกมนปุ ททฺ ว ํ โกฏิคตนฺ’ติ ฯ
เอวเมว โข มหาราช โย โกจิ จิรํ ชวี ิตฺวา ชราชิณโฺ ณ อายกุ ฺขยา อนตี โิ ก อนุปทฺทโว
มรต,ิ โส วจุ ฺจต ิ ‘อนตี โิ ก อนุปทฺทโว ชวี ติ โกฏิคโต สามยกิ ํ มรณมปุ คโต’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนง่ึ เปรยี บเหมือนวา่ อสรพษิ ที่มีพิษรา้ ยแรง ขุน่ เคืองข้ึนมา
พงึ กดั เอาบรุ ุษคนหนง่ึ เขา้ พิษของงนู น้ั พึงท�ำให้ตายได้ อยา่ งหาสง่ิ ปอ้ งกนั มไิ ด้ หาสิง่ ขวางกน้ั
มิได้ คนทง้ั หลายยอ่ มกลา่ วถึงงนู ั้นว่า ‘เป็นพิษทห่ี าสง่ิ ป้องกนั มไิ ด้ หาส่งิ ขวางกนั้ มไิ ด้ จดั ว่า


Click to View FlipBook Version