234 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
เป็นพษิ ที่ถึงยอด’ ดงั นี้ ฉันใด ขอถวายพระพร บคุ คลใดบคุ คลหน่ึง เป็นอย่สู ้นิ กาลนาน แก่
หงอ่ มเพราะชรา เปน็ ผ้ไู ม่มีภยั ไม่มีอันตราย ตายไปเพราะส้นิ อายุ ใคร ๆ กย็ อ่ มกล่าวถึงบคุ คล
นน้ั ว่า ‘เขาเปน็ ผู้ไมม่ ีภัย ไมม่ ีอนั ตราย จัดวา่ ถงึ ยอดแห่งชวี ิต เขา้ ถึงความตายในสมัยท่สี มควร’
ดงั นี้ ฉนั น้ันเหมอื นกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช พลวตา อาสีวิเสน ทฏฺ สสฺ อนฺตราเยว อาหติ ุณฑฺ ิโก อคท ํ
ทตฺวา อวิส ํ กเรยฺย, อปิ นุ โข ตํ มหาราช วสิ ํ สมเย วิคต ํ นาม โหตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนึง่ เปรยี บเหมือนว่า เม่ือบุคคลผ้นู ้นั ถูกอสรพษิ ทมี่ พี ษิ ร้าย
แรงกดั เอาแล้ว หมองกู ็จดั ยา ท�ำให้หมดพษิ เสียได้ ในระหว่างทเี ดียว ขอถวายพระพร พษิ งู
นนั้ ช่ือวา่ เปน็ พษิ ที่หมดไปในสมยั ท่ีสมควรหมดไปหรอื ไร ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “หามไิ ด้ พระคณุ เจ้า”
‘‘กสิ สฺ ปน ต ํ มหาราช ปจฉฺ ิมํ วสิ ํ ปรุ มิ เกน วิเสน สมสมคติกํ นาโหส’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ ร พิษครั้งหลงั จึงไม่มีคติ
เสมอเหมือน พิษครง้ั ก่อนเล่า ?”
‘‘อาคนตฺ เุ กน ภนฺเต อคเทน ปฏปิ ีฬิตํ วสิ ํ อโกฏคิ ตํเยว วคิ ตน’ฺ ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พษิ ครง้ั หลงั ถกู หมองูทจ่ี รมาก�ำราบเสยี ยังไม่ทนั ถึงท่สี ดุ เลย ก็
ปราศไป พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โย โกจ ิ อกาเล มรติ, โส อาคนฺตเุ กน โรเคน ปฏปิ ีฬิโต
วาตสมฏุ ฺ าเนน วา…เป.… สตตฺ ิเวคปปฺ ฏปิ ีฬิโต วา อกาเล มรติ ฯ อทิ เมตถฺ มหาราช
การณ,ํ เยน การเณน อกาเล มรณ ํ อตฺถีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อยา่ งนน้ั นนั่ แหละ บุคคล
ใดบคุ คลหนึง่ ยอ่ มตายเสยี ในเวลาทีไ่ มส่ มควร คอื ว่า บุคคลนนั้ ถกู โรคทจ่ี รมาบบี คนั้ แล้ว คอื
ถูกโรคท่มี ีลมเป็นสมุฏฐานบ้าง ฯลฯ ถูกอาวุธมหี อกหลาวเปน็ ตน้ บา้ งบีบค้นั แลว้ ก็ย่อมตายใน
เวลาที่ไมส่ มควร ขอถวายพระพร ขอ้ ที่ว่ามาน้ี เปน็ เหตุผลในเรื่องความตายในเวลาที่ไม่
สมควร นี้ ท่ีนับเป็นเหตใุ ห้กล่าวได้วา่ ความตายในเวลาท่ีไม่สมควรกม็ อี ยู่”
กัณฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 235
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อสิ ฺสาโส สรํ ปาเตยฺย, สเจ โส สโร ยถาคติคมนปถ-
มตฺถก ํ คจฺฉติ, โส สโร วจุ จฺ ต ิ ‘อนตี โิ ก อนปุ ทฺทโว ยถาคติคมนปถมตฺถกํ คโต นามา’ติ ฯ
เอวเมว โข มหาราช โย โกจิ จิร ํ ชวี ิตฺวา ชราชิณโฺ ณ อายกุ ฺขยา อนตี ิโก อนุปททฺ โว
มรต,ิ โส วุจฺจต ิ ‘อนีตโิ ก อนุปทฺทโว สมเย มรณมุปคโต’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนึง่ เปรียบเหมือนว่า นายขมงั ธนู พึงยงิ ลกู ศรไป ถา้ หากว่า
ลูกศรนน้ั แล่นไปตามเสน้ ทางทค่ี วรจะไปจนถึงปลายทางได้ คนทัง้ หลายยอ่ มกลา่ วถึงลูกศร
นน้ั ว่า ‘ช่ือว่าเป็นลกู ศรทีห่ าอะไรขัดขวางมิได้ หาอะไรท�ำอนั ตรายมิได้ จึงแลน่ ไปตามเส้นทาง
ทค่ี วรจะไปถงึ จนถึงปลายทางได้’ ดังนี้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร บคุ คลใดบคุ คลหนึง่ เป็นอย่สู ิ้น
กาลนาน เปน็ ผู้ไม่มีภัย แกห่ งอ่ มเพราะชรา ตายไปเพราะสิ้นอายุ ใคร ๆ กก็ ลา่ วถงึ บุคคลนั้น
วา่ ‘เขาเปน็ ผไู้ ม่มีภัย ไมม่ ีอันตราย เขา้ ถึงความตายในสมัยที่สมควร’ ดงั นี้ ฉันน้ันเหมอื นกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อิสสฺ าโส สร ํ ปาเตยฺย, ตสสฺ ตํ สรํ ตสมฺ ึเยว ขเณ
โกจ ิ คณฺเหยยฺ , อปิ นุ โข โส มหาราช สโร ยถาคติคมนปถมตถฺ ก ํ คโต นาม โหตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อย่างหน่ึง เปรยี บเหมือนวา่ นายขมงั ธนูยงิ ลกู ศรไป บรุ ษุ คนหนง่ึ
จับลกู ศรของเขาไว้ได้ในขณะนน้ั นนั่ เอง ขอถวายพระพร ลูกศรน้ัน ช่อื วา่ เปน็ ลกู ศรท่ีแลน่ ไป
ตามเสน้ ทางทีค่ วรจะไปจนถงึ ปลายทางหรอื ไร ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั วา่ “หามิได้ พระคุณเจ้า”
‘‘กิสสฺ ปน โส มหาราช ปจฉฺ ิโม สโร ปรุ มิ เกน สเรน สมสมคติโก นาโหสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร ลูกศรอันหลังจงึ ไมม่ ีคติ
เสมอเหมอื นลูกศรอันแรกเลา่ ?”
‘‘อาคนตฺ เุ กน ภนเฺ ต คหเณน ตสฺส สรสฺส คมน ํ อปุ จฺฉินฺนน’ฺ ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทถ์ วายพระพรว่า “เพราะลูกศรทแ่ี ล่นไปน้นั ถูกบรุ ุษผจู้ บั ไวไ้ ดน้ ้ันตัด
(การแล่นไป) เสียได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โย โกจ ิ อกาเล มรติ, โส อาคนตฺ ุเกน โรเคน ปฏปิ ฬี โิ ต
วาตสมุฏฺ าเนน วา…เป.… สตตฺ ิเวคปปฺ ฏิปีฬโิ ต วา อกาเล มรติ ฯ อิทเมตฺถ มหาราช
การณํ, เยน การเณน อกาเล มรณํ อตฺถีติ ฯ
236 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกนั อย่างน้นั นน่ั แหละ บคุ คล
ใดบุคคลหน่งึ ย่อมตายในเวลาที่ไมส่ มควร คอื ว่า บุคคลน้นั ถกู โรคทจ่ี รมาบบี ค้ัน คอื ถกู โรคที่
มีลมเปน็ สมฏุ ฐานบา้ ง ฯลฯ ถกู อาวุธมีหอกหลาวเป็นต้นบา้ ง บีบค้ันแลว้ ก็ย่อมตายในเวลาที่
ไม่สมควร ขอ้ ทีก่ ลา่ วมาน้ี เป็นเหตผุ ลในเร่อื งความตายในเวลาทไี่ มส่ มควร น้ี ทน่ี ับเปน็ เหตใุ ห้
กล่าวได้วา่ ความตายในเวลาทีไ่ ม่สมควร กม็ ีอยู่”
‘‘ยถา วา ปน มหาราช โย โกจิ โลหมย ํ ภาชนํ อาโกเฏยฺย, ตสฺส อาโกฏเนน
สทฺโท นพิ พฺ ตตฺ ิตวฺ า ยถาคติคมนปถมตถฺ ก ํ คจฉฺ ต,ิ โส สทโฺ ท วจุ ฺจต ิ ‘อนตี โิ ก อนุปทฺทโว
ยถาคตคิ มนปถมตฺถกํ คโต นามา’ติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โย โกจ ิ พหูน ิ ทวิ ส-
สหสสฺ าน ิ ชีวติ วฺ า ชราชณิ โฺ ณ อายุกฺขยา อนีตโิ ก อนุปทฺทโว มรต,ิ โส วุจฺจติ ‘อนีติโก
อนปุ ทฺทโว สมเย มรณมปุ าคโต’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนงึ่ เปรยี บเหมือนวา่ บคุ คลใดบุคคลหน่งึ พึงเคาะภาชนะท่ี
ท�ำด้วยโลหะ เสียงบงั เกิด เพราะการเคาะภาชนะนนั้ แล้ว กด็ งั ไปตามเสน้ ทางทค่ี วรจะดังไป
จนถงึ ท่ีสดุ คนท้ังหลายยอ่ มกลา่ วถงึ เสียงนั้นวา่ ‘ช่ือวา่ เป็นเสยี งท่ีหาอะไรขัดขวางมไิ ด้ หา
อะไรท�ำอันตรายมไิ ด้ ยอ่ มดังไปตามเส้นทางที่ดงั ไปจนถึงทส่ี ดุ ’ ดังนี้ ฉันใด ขอถวายพระพร
บคุ คลใดบคุ คลหน่งึ เปน็ อย่ไู ดห้ ลายพนั วัน แก่หง่อมเพราะชรา เป็นผูไ้ ม่มภี ัย ไมม่ อี ันตราย
ตายไปเพราะส้นิ อายุ คนท้ังหลายยอ่ มกลา่ วถงึ บคุ คลน้นั วา่ ‘เขาเป็นผไู้ มม่ ีภัย ไมม่ อี นั ตราย
เขา้ ถงึ ความตายในสมยั ท่สี มควร’ ดงั น้ี ฉนั น้นั เหมอื นกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช โย โกจ ิ โลหมย ํ ภาชน ํ อาโกเฏยยฺ , ตสฺส อาโกฏเนน
สทฺโท นพิ พฺ ตเฺ ตยยฺ , นิพพฺ ตฺเต สทฺเท อทรู คเต โกจ ิ อามเสยฺย, สห อามสเนน สทฺโท
นริ ชุ ฺเฌยยฺ , อปิ น ุ โข โส มหาราช สทฺโท ยถาคติคมนปถมตฺถก ํ คโต นาม โหตี’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนง่ึ เปรยี บเหมอื นว่า บคุ คลใดบคุ คลหน่ึง พึงเคาะภาชนะที่
ท�ำด้วยโลหะ เสยี งพงึ บังเกดิ เพราะการเคาะภาชนะนน้ั เม่อื เสียงทบ่ี ังเกิดแลว้ ดังไปไมไ่ ด้ไกล
กม็ บี รุ ุษคนหน่งึ ดกั จับเสียงน้ันไว้ เสียงพงึ ดบั ไปพร้อมกบั การดักจบั ขอถวายพระพร เสยี งนัน้
ชอ่ื ว่าเป็นเสียงทดี่ งั ไปตามเส้นทางท่คี วรจะดงั ไปจนถึงทส่ี ุดหรือไร ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “หามไิ ด้ พระคณุ เจ้า”
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 237
‘‘กิสฺส ปน มหาราช ปจฉฺ ิโม สทฺโท ปุริมเกน สทฺเทน สมสมคติโก นาโหสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร เสียงครัง้ หลงั จงึ ไม่มคี ติ
เสมอเหมอื น เสียงคร้ังแรกเล่า ?”
‘‘อาคนตฺ เุ กน ภนฺเต อามสเนน โส สทโฺ ท อปุ รโต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “เพราะมีผ้จู รมาดกั จบั ไว้ เสียงครง้ั หลงั น้ัน จึงดบั ไป พระคุณ
เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โย โกจ ิ อกาเล มรต,ิ โส อาคนตฺ ุเกน โรเคน ปฏปิ ฬี ิโต
วาตสมฏุ ฺ าเนน วา…เป.… สตฺติเวคปฺปฏปิ ีฬิโต วา อกาเล มรติ ฯ อทิ เมตถฺ มหาราช
การณ,ํ เยน การเณน อกาเล มรณํ อตฺถีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อย่างนนั้ นัน่ แหละ บคุ คล
ใดบคุ คลหน่ึง ย่อมตายในเวลาที่ไม่สมควร คือว่า บุคคลน้ันถกู โรคทจี่ รมาบีบคั้นบา้ ง ฯลฯ ถกู
อาวุธมีหอกหลาวเป็นต้นบา้ งบบี ค้นั บา้ ง กย็ อ่ มตายในเวลาทไี่ มส่ มควร ข้อที่ว่ามาน้ี เป็น
เหตุผลในเร่ืองความตายในเวลาท่ีไม่สมควร น้ี ทนี่ ับเปน็ เหตุใหก้ ลา่ วไดว้ า่ ความตายในเวลา
ท่ไี มส่ มควร ก็มีอย”ู่
‘‘ยถา วา ปน มหาราช เขตฺเต สวุ ริ ฬู หฺ ํ ธ ฺ พีชํ สมมฺ า ปวตตฺ มาเนน วสเฺ สน
โอตตวติ ตอากณิ ณฺ พหผุ ลํ หตุ ฺวา สสสฺ ุฏ ฺ านสมย ํ ปาปณุ าติ, ต ํ ธ ฺ ํ วุจจฺ ติ ‘อนีติก-
มนปุ ทฺทว ํ สมยสมฺปตฺตํ นาม โหต’ี ติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โย โกจิ พหนู ิ ทวิ ส-
สหสสฺ านิ ชวี ิตวฺ า ชราชิณโฺ ณ อายุกฺขยา อนตี โิ ก อนุปททฺ โว มรต,ิ โส วจุ ฺจติ ‘อนตี ิโก
อนุปททฺ โว สมเย มรณมปุ คโต’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนง่ึ เปรียบเหมอื นว่า ธัญพชื ทง่ี อกดีแล้วในนา เปน็
ธรรมชาตทิ ี่มีผลมากมาย เกล่ือนกล่น แผ่คุมไปทัว่ ด�ำเนินไปจนถงึ สมยั ท่ีมฐี านะเป็นขา้ วกลา้
ได้ เพราะมฝี นตกดี คนท้งั หลายย่อมกลา่ วถึงธญั ชาตินั้นได้วา่ ‘เป็นขา้ วทชี่ ่อื วา่ หาภัยมไิ ด้ หา
อนั ตรายมไิ ด้ เปน็ ไปจนถึงสมัยอนั ควร’ ดังน้ี ฉนั ใด ขอถวายพระพร บคุ คลใดบคุ คลหนึ่ง เปน็
อย่ไู ด้ตลอดหลายพันวนั แก่หง่อมเพราะความชรา เป็นผ้ไู ม่มภี ยั ไมม่ อี ันตราย ตายไปเพราะ
สิ้นอายุ ยอ่ มกล่าวถึงบคุ คลนน้ั ไดว้ า่ ‘เป็นผูห้ าภัยมิได้ หาอันตรายมิได้ เข้าถึงความตาย
ในสมัยที่สมควร’ ดงั น้ี ฉนั นน้ั เหมือนกนั
238 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘ยถา วา ปน มหาราช เขตเฺ ต สุวิรูฬหฺ ํ ธ ฺ พีช ํ อทุ เกน วิกล ํ มเรยยฺ , อป ิ นุ
โข ตํ มหาราช ธ ฺ ํ อสมยสมปฺ ตตฺ ํ นาม โหต’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนงึ่ เปรียบเหมอื นว่า ธญั พืชทง่ี อกดแี ลว้ ในนา จึงเสยี หาย
ตายไปเสียเพราะขาดนำ�้ ขอถวายพระพร ธญั ชาตนิ ั้น ชื่อวา่ เป็นธญั ชาตทิ ่ีถงึ สมยั อนั ควรหรือ
ไร ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “หามไิ ด้ พระคุณเจ้า”
‘‘กิสสฺ ปน ต ํ มหาราช ปจฉฺ มิ ํ ธ ฺ ํ ปรุ ิมเกน ธ เฺ น สมสมคติก ํ นาโหส’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ ร ธัญชาตคิ รัง้ หลงั จงึ ไม่มี
คติเสมอเหมือน ธญั ชาติคร้งั แรกเล่า ?”
‘‘อาคนตฺ ุเกน ภนเฺ ต อณุ เฺ หน ปฏปิ ฬี ติ ํ ต ํ ธ ฺ ํ มตนฺ’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “เพราะมีความร้อนจรเข้ามาบีบค้ัน ธญั ชาตินน้ั จงึ ตายไปเสยี
พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โย โกจ ิ อกาเล มรต,ิ โส อาคนตฺ เุ กน โรเคน ปฏปิ ีฬิโต
วาตสมฏุ ฺ าเนน วา…เป.… สตตฺ เิ วคปปฺ ฏิปฬี โิ ต วา อกาเล มรติ ฯ อิทเมตถฺ มหาราช
การณํ, เยน การเณน อกาเล มรณํ อตถฺ ีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอยา่ งน้ันน่นั แหละ บคุ คล
ใดบุคคลหนึ่ง ยอ่ มตายในเวลาท่ีไมส่ มควร คอื ว่า บคุ คลนนั้ ถูกโรคที่จรมาบบี คน้ั บา้ ง ฯลฯ ถกู
อาวธุ มีหอกหลาวเปน็ ตน้ บ้างบบี คัน้ บ้าง กย็ อ่ มตายไปในเวลาทีไ่ ม่สมควร มอี ยู่ ขอถวาย
พระพร ข้อท่วี ่ามาน้ี เปน็ เหตุผลในเร่อื งความตายในเวลาที่ไมส่ มควร น้ี เป็นเหตุใหก้ ล่าวได้วา่
ความตายในเวลาท่ีไมส่ มควร กม็ อี ยู่”
‘‘สุตปพุ พฺ ํ ปน ตยา มหาราช ‘สมปฺ นฺนตรุณสสสฺ ํ กมิ โย อฏุ ฺ หติ วฺ า สมลู ํ
นาเสนฺต’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร พระองคเ์ คยทรงสดบั หรือไม่ว่า ข้าวกล้าออ่ นสมบูรณ์ มหี นอนเกิดขนึ้
มาแลว้ กท็ �ำให้เสยี หายไปพร้อมทั้งราก ?”
กณั ฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 239
‘‘สตุ ปุพพฺ ฺเจว ต ํ ภนเฺ ต อมฺเหหิ ทิฏฺ ปพุ ฺพ ฺจา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “โยมเคยไดย้ ิน พระคณุ เจา้ ทงั้ เคยเห็นดว้ ย”
‘‘กินนฺ ุ โข ตํ มหาราช สสสฺ ํ กาเล นฏฺ ํ อทุ าหุ อกาเล นฏฺ น”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ข้าวกล้าน้นั ชือ่ ว่าเสียหายไปในเวลาที่
สมควร หรือวา่ เสยี หายไปในเวลาท่ไี มส่ มควรเลา่ ?”
‘‘อกาเล ภนเฺ ต ยทิ โข ต ํ ภนฺเต สสฺส ํ กมิ โย น ขาเทยยฺ ,ํุ สสสฺ ทุ ฺธรณสมยํ
ปาปุเณยฺยา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “ในเวลาท่ีไม่สมควร พระคณุ เจา้ , พระคุณเจ้า ถ้าหากว่า ข้าว
กล้าน้ัน ไมถ่ ูกพวกหนอนกัดกินไซร้ มันก็จะเปน็ ไปจนถงึ สมยั เกีย่ วข้าว”
‘‘ก ึ ปน มหาราช อาคนฺตเุ กน อุปฆาเตน สสฺสํ วินสสฺ ต,ิ นริ ุปฆาต ํ สสฺส ํ
สสฺสุทธฺ รณสมย ํ ปาปุณาตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ข้าวกลา้ ย่อมพนิ าศไป เพราะหนอนผู้
จรเขา้ มาท�ำลาย ข้าวกลา้ ทีป่ ราศจากหนอนผูท้ �ำลาย ยอ่ มเปน็ ไปจนถึงสมยั เกยี่ วขา้ ว ใช่หรือ
ไม่ ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสวา่ “ใช่ พระคุณเจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โย โกจิ อกาเล มรติ, โส อาคนตฺ เุ กน โรเคน ปฏปิ ฬี ิโต
วาตสมุฏฺ าเนน วา…เป.… สตตฺ ิเวคปฺปฏปิ ฬี ิโต วา มรติ ฯ อทิ เมตถฺ มหาราช การณํ,
เยน การเณน อกาเล มรณ ํ อตถฺ ีติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอยา่ งนั้นน่ันแหละ บคุ คล
ใดบคุ คลหนง่ึ ย่อมตายในเวลาทีไ่ ม่สมควร คอื ว่า บุคคลนัน้ ถูกโรคท่ีจรมาบีบคน้ั บา้ ง ฯลฯ ถูก
อาวธุ มหี อกหลาวเปน็ ตน้ บ้างบีบค้ันบ้าง ก็ย่อมตายในเวลาท่ีไม่สมควร ข้อทว่ี า่ มาน้ี เป็น
เหตุผลในเรอื่ งความตายในเวลาทไ่ี ม่สมควร นี้ ทน่ี บั เปน็ เหตุใหก้ ลา่ วได้วา่ ความตายในเวลา
ที่ไม่สมควร ก็มอี ยู่
240 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘สุตปพุ ฺพ ํ ปน ตยา มหาราช ‘สมฺปนฺเน สสฺเส ผลภารนมเิ ต ม ชฺ รติ ปตฺเต กร
กวสฺส ํ นาม วสฺสชาต ิ นิปตติ ฺวา วินาเสต ิ อผล ํ กโรต’ี ติ ?
ขอถวายพระพร พระองคท์ รงเคยสดบั หรอื ไมว่ า่ เมอ่ื ขา้ วกลา้ สมบรู ณ์ มลี �ำตน้ และใบ
โคง้ งอไป เพราะความหนกั แนน่ รวงข้าว ฝนชื่อกรกวสั สะ ก็ตกลงมา สร้างความเสียหาย ท�ำให้
กลายเป็นข้าวกล้าท่ีไรร้ วงไป ?”
‘‘สตุ ปพุ พฺ เฺ จว ต ํ ภนเฺ ต อมฺเหหิ ทฏิ ฺ ปุพพฺ จฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “เรอ่ื งนัน้ โยมเคยได้ยิน พระคณุ เจ้า ทง้ั เคยเหน็ ด้วย”
‘‘อปิ น ุ โข ต ํ มหาราช สสฺสํ กาเล นฏ ฺ ํ อุทาห ุ อกาเล นฏฺ น”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ข้าวกลา้ นนั้ ช่อื ว่าเสยี หายไป ในเวลาที่
สมควร หรือว่า ชือ่ วา่ เสียหายไปในเวลาทไ่ี มส่ มควรเล่า ?”
‘‘อกาเล ภนฺเต ยท ิ โข ต ํ ภนเฺ ต สสสฺ ํ กรกวสสฺ ํ น วสฺเสยฺย สสฺสุทธฺ รณสมยํ
ปาปเุ ณยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “ช่ือว่าเสยี หายไปในเวลาท่ีไม่สมควร พระคณุ เจ้า ถา้ หากวา่ ฝน
ชือ่ กรกวสั สะนั้น ไมต่ กลงมาไซร้ ข้าวกล้าน้ัน กจ็ ะพงึ ด�ำเนินไป จนถึงสมยั เกยี่ วขา้ ว”
‘‘กึ ปน มหาราช อาคนตฺ เุ กน อุปฆาเตน สสสฺ ํ วนิ สสฺ ติ, นิรุปฆาตํ สสฺส ํ
สสฺสทุ ฺธรณสมย ํ ปาปณุ าตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ข้าวกล้าย่อมพินาศไป เพราะฝนทีจ่ ร
มาท�ำลาย ข้าวกลา้ ทป่ี ราศจากฝนท�ำลาย ยอ่ มด�ำเนินไปจนถงึ สมัยเกยี่ วขา้ ว ใช่หรอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “ใช่ พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช โย โกจิ อกาเล มรติ, โส อาคนฺตเุ กน โรเคน ปฏปิ ฬี ิโต
วาตสมฏุ ฺ าเนน วา ปติ ตฺ สมุฏฺ าเนน วา เสมหฺ สมุฏ ฺ าเนน วา สนนฺ ิปาตเิ กน วา อุต-ุ
ปรณิ ามเชน วา วสิ มปริหารเชน วา โอปกฺกมเิ กน วา ชิฆจฺฉาย วา ปปิ าสาย วา
สปปฺ ทฏฺเ น วา วสิ มาสิเตน วา อคคฺ นิ า วา อทุ เกน วา สตฺติเวคปฺปฏิปฬี โิ ต วา อกาเล
มรติ ฯ ยท ิ ปน อาคนฺตเุ กน โรเคน ปฏิปฬี ิโต น ภเวยยฺ , สมเยว มรณํ ปาปุเณยยฺ ฯ
อิทเมตฺถ มหาราช การณํ, เยน การเณน อกาเล มรณ ํ อตฺถ’ี ’ติ ฯ
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 241
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกันอยา่ งนัน้ น่นั แหละ บุคคล
ใดบุคคลหนึ่ง ย่อมตายในเวลาทีไ่ ม่สมควร คอื วา่ บุคคลนั้น ถูกโรคทจี่ รเข้ามาบีบคัน้ คือ ถกู
โรคทมี่ ลี มเปน็ สมุฏฐานบา้ ง โรคทม่ี ีดเี ปน็ สมฏุ ฐานบา้ ง โรคท่มี ีเสมหะเปน็ สมฏุ ฐานบ้าง ความ
แปรปรวนแห่งอุตุบ้าง การบริหารที่ไมด่ ีบา้ ง ความพยายามบ้าง ความหวิ บา้ ง ความกระหาย
บา้ ง งกู ดั บา้ ง ดมื่ ยาพษิ บ้าง ไฟบา้ ง นำ�้ บ้าง ถกู อาวุธมีหอกหลาวเปน็ ต้นบา้ งบีบคัน้ กย็ ่อม
ตายในเวลาทีไ่ มส่ มควร ก็ถ้าหากว่า ไม่มโี รคที่จรมาบบี คน้ั แล้ว ก็จะพงึ ตายในสมัยท่ีสมควร
น่ันแหละ ขอถวายพระพร ข้อท่ีวา่ มาน้ี เป็นเหตผุ ลในเร่ืองความตายในเวลาทีไ่ ม่สมควร นี้
เปน็ เหตุให้กล่าวไดว้ า่ ความตายในเวลาท่ไี ม่สมควร กม็ อี ยู่”
‘‘อจฉฺ รยิ ํ ภนเฺ ต นาคเสน, อพภฺ ุต ํ ภนฺเต นาคเสน, สุทสสฺ ิต ํ การณํ, สทุ สสฺ ิต ํ
โอปมฺม ํ อกาเล มรณสสฺ ปรทิ ปี นาย, ‘อตถฺ ิ อกาเล มรณ’นฺต ิ อุตฺตานีกตํ ปากฏ ํ กต ํ วิภูตํ
กตํ, อจิตตฺ วกิ ขฺ ิตฺตโกป ิ ภนเฺ ต นาคเสน มนโุ ช เอกเมเกนป ิ ตาว โอปมเฺ มน นิฏ ฺ ํ
คจเฺ ฉยฺย ‘อตฺถิ อกาเล มรณนฺ’ต,ิ ก ึ ปน มนโุ ช สเจตโน ? ป โมปมเฺ มเนวาหํ ภนเฺ ต
ส ฺ ตโฺ ต ‘อตถฺ ิ อกาเล มรณน’ฺ ติ, อปจิ อปราปร ํ นิพพฺ าหน ํ โสตกุ าโม น
สมฺปฏจิ ฺฉินฺ”ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั วา่ “น่าอศั จรรย์จริง พระคณุ เจา้ นาคเสน นา่ แปลกจรงิ พระคุณเจ้า
นาคเสน ในการแสดงถึงความตายในเวลาทไี่ มส่ มควร ท่านแสดงเหตผุ ลได้ดี แสดงอปุ มาไดด้ ี
เปน็ อันวา่ ท่านท�ำใหเ้ ข้าใจงา่ ยแลว้ ท�ำให้ปรากฏแลว้ ท�ำให้ชัดเจนแล้ววา่ ความตายในเวลาที่
ไม่สมควร กม็ ีอยู่ พระคณุ เจ้านาคเสน คนผแู้ มเ้ พียงไม่มีจิตฟ้งุ ซ่าน ก็ถงึ ความยอมรบั วา่ ความ
ตายในเวลาที่ไม่สมควร กม็ อี ยู่ เพราะอปุ มาแต่ละอปุ มานั่นแหละ จะปว่ ยกล่าวไปใยถึงคนผู้
จงใจจะรู้เลา่ พระคุณเจ้า ดว้ ยอุปมาแรกเทา่ นั้น โยมกเ็ ข้าใจแล้วว่า ความตายในเวลาท่ไี ม่
สมควร ก็มอี ยู่ แตว่ ่า โยมต้องการจะฟงั ค�ำแก้อย่างอื่น ๆ อกี จึงยังไมย่ อมรบั ”
อกาลมรณปญโฺ ห ฉฏฺโ€ ฯ
จบอกาลมรณปญั หาข้อท่ี ๖
________
242 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
๗. เจตยิ ปาฏหิ าริยปญหฺ
๗. เจติยปาฏหิ าริยปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการมีปาฏิหาริยท์ เ่ี จดยี ์
[๗] ‘‘ภนฺเต นาคเสน สพเฺ พสํ ปรินิพพฺ ุตานํ เจตเิ ย ปาฏหิ รี ํ โหต ิ อทุ าห ุ เอกจจฺ านํ
เยว โหต’ี ’ติ ?
[๗] พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระอรหนั ตผ์ ้ปู รนิ พิ พานแลว้ ทกุ ท่าน
ย่อมมีปาฏหิ ารยิ ท์ ่เี จดีย์ หรอื ว่าบางท่านเทา่ นน้ั ทม่ี ี ?”
‘‘เอกจจฺ านํ มหาราช โหติ, เอกจจฺ านํ น โหต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร บางทา่ นเทา่ น้ันทีม่ ”ี
‘‘กตเมสํ ภนฺเต โหต,ิ กตเมสํ น โหต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้า ท่านพวกไหน มี ท่านพวกไหน ไมม่ ี ?”
‘‘ติณณฺ นนฺ ํ มหาราช อ ฺ ตรสสฺ อธฏิ ฺ านา ปรินิพพฺ ุตสสฺ เจติเย ปาฏหิ รี ํ โหติ ฯ
กตเมส ํ ติณฺณนฺนํ ? อธิ มหาราช อรหา เทวมนุสสฺ านํ อนกุ มปฺ าย ตฏิ ฺ นโฺ ตว อธฏิ ฺ าติ
‘เอวํ นาม เจตเิ ย ปาฏหิ รี ํ โหตู’ติ, ตสสฺ อธฏิ ฺ านวเสน เจตเิ ย ปาฏิหรี ํ โหติ, เอว ํ อรหโต
อธิฏฺ านวเสน ปรินพิ ฺพตุ สสฺ เจติเย ปาฏหิ ีร ํ โหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ยอ่ มมีปาฏิหารยิ ท์ ี่เจดีย์ของพระอรหนั ต์
ผปู้ รินิพพานแล้ว เพราะมีการอธิษฐาน ของบุคคล ๓ พวก พวกใดพวกหนึง่ ๓ พวกใดบา้ ง ?
ขอถวายพระพร พระอรหันตใ์ นโลกนี้ ขณะทย่ี งั ด�ำรงชวี ติ อยู่ ประสงค์อนุเคราะหเ์ ทวดาและ
มนษุ ยท์ ้ังหลาย จึงไดอ้ ธษิ ฐานไวว้ า่ ‘ปาฏิหารยิ ์ชื่ออยา่ งนี้ ขอจงมีที่เจดียเ์ ถิด’ ดังน้ี เพราะเหตุ
น้นั จึงมปี าฏิหาริย์ท่เี จดียด์ ้วยอ�ำนาจแห่งการอธษิ ฐานของท่านนน้ั ”
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช เทวตา มนุสสฺ าน ํ อนุกมฺปาย ปรนิ พิ ฺพุตสสฺ เจติเย ปาฏิหีรํ
ทสเฺ สนฺติ ‘อิมนิ า ปาฏหิ ีเรน สทธฺ มฺโม นจิ จฺ สมปฺ คฺคหโิ ต ภวิสสฺ ต,ิ มนสุ สฺ า จ ปสนฺนา
กุสเลน อภวิ ฑฒฺ ิสฺสนตฺ ’ี ติ, เอว ํ เทวตานํ อธิฏฺ านวเสน ปรินพิ ฺพุตสฺส เจติเย ปาฏหิ รี ํ
โหติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีการอธิษฐานอกี อย่างหนึ่ง เทวดาประสงค์อนเุ คราะหม์ นษุ ยท์ ง้ั
หลาย จึงแสดงปาฏหิ าริยท์ ี่เจดยี ์ ของพระอรหันต์ผ้ปู รนิ พิ พานแลว้ ดว้ ยมีอธิษฐานว่า ‘เพราะ
กัณฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 243
ปาฏิหารยิ ค์ ร้งั น้ี พระสัทธรรมจกั มีผปู้ ระคบั ประคองไวเ้ ป็นประจ�ำ และมนษุ ย์ท้งั หลายก็จักเปน็
ผูเ้ ลื่อมใส เจริญยิ่ง ดว้ ยกุศลธรรม’ ดังน้ี เพราะเหตนุ ั้น จึงมีปาฏหิ าริยท์ ่ีเจดยี ์ ของพระอรหนั ต์
ผปู้ รนิ พิ พานแลว้ ด้วยอ�ำนาจแหง่ การอธิษฐานของเทวดา อยา่ งนี้
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช อิตฺถ ี วา ปุริโส วา สทฺโธ ปสนโฺ น ปณฑฺ โิ ต พยฺ ตฺโต เมธาวี
พทุ ธฺ ิสมปฺ นโฺ น โยนิโส จนิ ตฺ ยติ ฺวา คนธฺ ํ วา มาล ํ วา ทสุ ฺส ํ วา อ ฺ ตรํ วา ก ิ จฺ ิ
อธฏิ ฺ หิตวฺ า เจติเย อกุ ฺขิปติ ‘เอวํ นาม โหตู’ต,ิ ตสสฺ ป ิ อธฏิ ฺ านวเสน ปรินพิ พฺ ตุ สสฺ เจตเิ ย
ปาฏิหีรํ โหต,ิ เอว ํ มนุสฺสานํ อธฏิ ฺ านวเสน ปรินิพพฺ ุตสสฺ เจตเิ ย ปาฏหิ รี ํ โหติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมกี ารอธษิ ฐานอกี อย่างหนึ่ง หญิงกต็ าม ชายก็ตาม เปน็ ผมู้ ีศรัทธา
เลือ่ มใส เป็นบัณฑิต เฉลียว ฉลาด มปี ัญญา ถึงพร้อมด้วยความรู้ คดิ โดยแยบคายแล้ว ก็
จัดแจงวางของหอมบ้าง พวงดอกไม้บ้าง ผ้าบา้ ง ของอยา่ งใดอย่างหนึ่งบา้ ง ไวท้ เี่ จดีย์
อธษิ ฐานวา่ ‘ขอจงมปี าฏหิ าริย์อย่างน้เี ถดิ ’ ดงั นี้ เพราะเหตนุ ้นั จงึ มีปาฏหิ ารยิ ท์ เ่ี จดีย์ของพระ
อรหนั ตผ์ ปู้ รนิ พิ พานแล้ว ด้วยอ�ำนาจแหง่ การอธษิ ฐานของเขา ย่อมมีปาฏหิ ารยิ ์ท่ีเจดยี ์ของ
พระอรหนั ตผ์ ู้ปรินพิ พานแลว้ ด้วยอ�ำนาจแหง่ การอธษิ ฐาน ของพวกมนุษย์ อยา่ งนี้
‘‘อิเมส ํ โข มหาราช ติณณฺ นนฺ ํ อ ฺ ตรสฺส อธฏิ ฺ านวเสน ปรินิพฺพุตสสฺ เจตเิ ย
ปาฏิหีรํ โหติ ฯ
ขอถวายพระพร ยอ่ มมีปาฏหิ าริยท์ ีเ่ จดีย์ของพระอรหนั ต์ผ้ปู รนิ พิ พานแลว้ ดว้ ยอ�ำนาจ
การอธษิ ฐาน ของบคุ คล ๓ จ�ำพวก พวกใดพวกหนึ่งเหลา่ นแี้ ล
‘‘ยทิ มหาราช เตส ํ อธิฏฺ าน ํ น โหต,ิ ขณี าสวสสฺ ป ิ ฉฬภ ิ ฺ สฺส เจโตวสิปปฺ ตฺตสฺส
เจติเย ปาฏหิ ีรํ น โหติ, อสติป ิ มหาราช ปาฏหิ เี ร จริต ํ ทิสวฺ า สปุ ริสุทฺธํ โอกปเฺ ปตพฺพ ํ
นิฏฺ ํ คนฺตพพฺ ํ สททฺ หิตพฺพ ํ ‘สุปรนิ ิพพฺ โุ ต อย ํ พทุ ธฺ ปุตฺโต’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ถา้ หากว่า บคุ คล ๓ จ�ำพวกเหลา่ นัน้ ไม่มีการอธษิ ฐาน ก็จะไมม่ ี
ปาฏิหารยิ ท์ ่เี จดีย์ของพระอรหันตผ์ ู้ปรนิ ิพพานแลว้ แม้วา่ ท่านจะเป็นพระขณี าสพผไู้ ดอ้ ภญิ ญา
๖ ถึงความช�ำนาญจติ ขอถวายพระพร แมว้ ่า จะไมม่ ีปาฏหิ าริย์ แต่บัณฑติ รู้เห็นข้อประพฤตทิ ่ี
บริสทุ ธ์ดิ ีของทา่ นแล้ว กป็ ลงใจถึงความตดั สินใจเชื่อว่า ‘ทา่ นพุทธบตุ รผูน้ ้ี ปรินิพพานดีแลว้ ’
ดังนี้
244 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “ดีจริง พระคุณเจา้ นาคเสน โยมยอมรับค�ำตามทีท่ า่ นกล่าวมานี้”
เจติยปาฏิหารยิ ปญโฺ ห สตตฺ โม ฯ
จบเจติยปาฏิหาริยปญั หาขอ้ ท่ี ๗
________
๘. ธมมฺ าภิสมยปญหฺ
๘. ธมั มาภสิ มยปญั หา
ปญั หาว่าด้วยการตรัสรูธ้ รรม
[๘] ‘‘ภนฺเต นาคเสน เย เต สมฺมาปฏิปชชฺ นตฺ ิ, เตส ํ สพเฺ พสเํ ยว ธมฺมาภิสมโย
โหติ อทุ าห ุ กสฺสจ ิ น โหต’ี ’ติ ?
[๘] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน บคุ คลผู้ปฏิบตั ชิ อบ ยอ่ มมีการบรรลุ
ธรรมไดท้ กุ คนเลยหรือ หรือว่า บางคนก็ไมม่ ี(การบรรรลุธรรม) ?”
‘‘กสสฺ จ ิ มหาราช โหต,ิ กสฺสจ ิ น โหต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร บางคนมี บางคนไม่มี”
‘‘กสสฺ ภนฺเต โหติ, กสฺส น โหต’ี ’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ “คนไหนมี คนไหนไมม่ ี พระคุณเจา้ ?”
‘‘ติรจฺฉานคตสฺส มหาราช สุปปฺ ฏปิ นฺนสฺสาป ิ ธมฺมาภิสมโย น โหติ, เปตตฺ ิ-
วสิ ยปู ปนฺนสสฺ …เป.… มจิ ฺฉาทฏิ ฺ กิ สฺส…เป.… กุหกสสฺ …เป.… มาตุฆาตกสสฺ …เป.…
ปติ ฆุ าตกสฺส…เป.… อรหนฺตฆาตกสสฺ …เป.… สงฆฺ เภทกสฺส…เป.… โลหติ ุปฺปาทกสสฺ …เป.
… เถยยฺ สวํ าสกสสฺ …เป.… ติตถฺ ิยปกกฺ นฺตสสฺ …เป.… ภิกขฺ นุ ทิ สู กสฺส…เป.… เตรสนฺน ํ
ครุกาปตฺตีน ํ อ ฺ ตรํ อาปชฺชิตฺวา อวฏุ ฺ ิตสฺส…เป... ปณฑฺ กสฺส…เป... อุภโตพยฺ ชฺ นกสสฺ
สุปปฺ ฏิปนนฺ สฺสาป ิ ธมฺมาภสิ มโย น โหต…ิ เป.… โยปิ มนุสฺสทหรโก อูนกสตตฺ วสสฺ ิโก, ตสฺส
สปุ ปฺ ฏิปนนฺ สสฺ าป ิ ธมฺมาภิสมโย น โหติ ฯ
อเิ มสํ โข มหาราช โสฬสนนฺ ํ ปคุ ฺคลานํ สุปฺปฏิปนนฺ านมปฺ ิ ธมฺมาภสิ มโย น
โหต’ี ’ติ ฯ
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 245
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร บคุ คล ๑๖ จ�ำพวกเหลา่ นี้ แมว้ ่าปฏิบัติ
ดี กไ็ มม่ กี ารบรรลธุ รรม คือ
๑. สัตวเ์ ดรัจฉานแม้ว่าปฏิบัตดิ ี ก็ไมม่ ีการบรรลุธรรม
๒. ผู้เขา้ ถึงเปรตวสิ ยั …
๓. ผู้เป็นมจิ ฉาทิฏฐิ …
๔. คนหลอกลวง …
๕. คนฆ่ามารดา …
๖. คนฆา่ บิดา …
๗. คนฆา่ พระอรหันต์ …
๘. คนยุยงสงฆ์ให้แตกแยกกัน (สังฆเภท) …
๙. คนท�ำพระโลหิตของพระพุทธเจา้ ใหห้ อ้ …
๑๐. คนผเู้ ป็นไถยสงั วาส (ปลอมบวช) …
๑๑. คนผู้เข้ารดี เดยี รถีย์ …
๑๒. คนประทษุ ร้ายภกิ ษุณี (ข่มขืนภกิ ษุณี) …
๑๓. ภกิ ษุตอ้ งครุกาบตั ิ (อาบัตสิ งั ฆาทิเสส) ๑๓ ข้อ ขอ้ ใดข้อหนงึ่ ยงั ไมอ่ อกจากอาบตั ิ
๑๔. บณั เฑาะก์ …
๑๕. คน ๒ เพศ …
๑๖. เดก็ ออ่ นอายตุ ่ำ� กวา่ ๗ ขวบ แม้ว่า ปฏบิ ตั ิดี กไ็ ม่มกี ารบรรลุธรรม
ขอถวายพระพร บคุ คล ๑๖ จ�ำพวกเหล่าน้ีแล แมว้ ่าปฏบิ ตั ิดี กไ็ ม่มกี ารบรรลธุ รรม
‘‘ภนฺเต นาคเสน เย เต ปนนฺ รส ปคุ คฺ ลา วริ ทุ ฺธาเยว, เตส ํ ธมมฺ าภิสมโย โหตุ วา
มา วา โหต,ุ อถ เกน การเณน มนุสสฺ ทหรกสฺส อนู กสตฺตวสฺสกิ สสฺ สปุ ปฺ ฏปิ นฺนสฺสาปิ
ธมฺมาภสิ มโย น โหติ ? เอตฺถ ตาว ป ฺโห ภวติ ‘นนุ นาม ทหรกสฺส น ราโค โหต,ิ
น โทโส โหต,ิ น โมโห โหติ, น มาโน โหติ, น มิจฉฺ าทิฏ ฺ ิ โหต,ิ น อรต ิ โหติ,
น กามวติ กโฺ ก โหติ, อมสิ สฺ ิโต กเิ ลเสห ิ โส นาม ทหรโก ยตุ โฺ ต จ ปตโฺ ต จ อรหติ จ
จตตฺ าร ิ สจจฺ าน ิ เอกปฏิเวเธน ปฏิวิชฺฌติ นุ ’ฺ ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน บคุ คล ๑๕ จ�ำพวก เปน็ คนผิด จะไมม่ กี าร
บรรลธุ รรมได้หรอื ไม่ กช็ ่างเถอะ แต่วา่ เพราะเหตไุ ร เด็กอ่อนอายตุ �่ำกวา่ ๗ ขวบ แมว้ ่าปฏบิ ตั ิ
ดี กไ็ มม่ ีการบรรลธุ รรมเล่า ก่อนอื่น ในเรื่องน้ี มปี ญั หาอย่วู ่า ธรรมดาวา่ เด็ก ไม่มรี าคะ ไม่มี
246 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
โทสะ ไมม่ ีโมหะ ไมม่ มี านะ ไม่มมี ิจฉาทิฏฐิ ไมม่ ียนิ ร้าย ไมม่ กี ามวติ ก ไม่คลกุ คลี ด้วยกเิ ลสทง้ั
หลาย จึงเป็นธรรมดาวา่ เดก็ นั้นควรบรรลุ การรทู้ ะลปุ รุโปรง่ สัจจะ ๔ โดยการรทู้ ะลปุ รโุ ปรง่
คราวเดยี วเท่านน้ั ไดม้ ใิ ชห่ รอื ?”
‘‘ต ฺเ เวตถฺ มหาราช การณํ, เยนาห ํ การเณน ภณามิ ‘อนู กสตฺตวสสฺ กิ สสฺ
สปุ ปฺ ฏปิ นนฺ สสฺ าปิ ธมมฺ าภสิ มโย น โหต’ี ติ ฯ ยทิ มหาราช อูนกสตฺตวสสฺ ิโก รชนีเย
รชฺเชยฺย, ทุสฺสนเี ย ทสุ เฺ สยยฺ , โมหนีเย มุยฺเหยฺย, มทนเี ย มชฺเชยยฺ , ทิฏฺ ึ วชิ าเนยฺย,
รต ิ ฺจ อรติ จฺ วชิ าเนยยฺ , กสุ ลากสุ ล ํ วิตกเฺ กยฺย, ภเวยฺย ตสฺส ธมฺมาภสิ มโย, อปจิ
มหาราช อนู กสตฺตวสสฺ กิ สฺส จิตตฺ ํ อพลํ ทุพพฺ ล ํ ปริตฺตํ อปฺป ํ โถกํ มนทฺ ํ อวิภตู ํ, อสงขฺ ตา
นิพฺพานธาต ุ ครกุ า ภาริกา วปิ ุลา มหตี ฯ อูนกสตฺตวสฺสิโก มหาราช เตน ทุพฺพเลน
จิตเฺ ตน ปรติ ฺตเกน มนฺเทน อวภิ ูเตน น สกฺโกติ ครุก ํ ภาริก ํ วปิ ุล ํ มหตึ อสงขฺ ต ํ
นพิ พฺ านธาตํุ ปฏวิ ิชฺฌิตํุ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เหตุผลในเร่ืองนี้ เปน็ เหตทุ ีอ่ าตมภาพ
กลา่ ววา่ ‘เดก็ อ่อนอายุต่ำ� กว่า ๗ ขวบ แมป้ ฏบิ ัติดี กไ็ มม่ กี ารบรรลธุ รรม’ ดังน้ี มอี ยู่ ขอถวาย
พระพร ถ้าหากวา่ เด็กอ่อนอายตุ ำ่� กวา่ ๗ ขวบ พงึ ก�ำหนดั ในอารมณ์ท่ีนา่ ก�ำหนัด พึง
ประทุษรา้ ยในอารมณท์ ่ีนา่ ประทษุ ร้าย พงึ ลุ่มหลงในอารมณท์ ีน่ ่าลุ่มหลง พึงมัวเมาในอารมณ์
ที่น่ามัวเมา พงึ รู้จกั ทฏิ ฐิ พึงรจู้ กั ยนิ ดีและยนิ รา้ ย พงึ ด�ำรทิ �ำกุศลหรืออกศุ ลได้ เขากจ็ ะพงึ มีการ
บรรลธุ รรมได้ ขอถวายพระพร กแ็ ตว่ ่า จิตของเดก็ ทม่ี อี ายุต�่ำกวา่ ๗ ขวบ ยอ่ มเป็นจติ ท่ไี ม่มี
ก�ำลงั มกี �ำลงั ทราม เป็นจิตที่มีอานุภาพน้อย ถอยต่�ำ อ่อนแอ ไม่ปรากฏชดั อสังขตนพิ พาน
ธาตุ เป็นธรรมชาติหนกั แปร้ ไพบลู ยย์ ิ่งใหญ่ ขอถวายพระพร เด็กอายุต่�ำว่า ๗ ขวบ เพราะมี
จติ ทีไ่ ม่มกี �ำลัง มีก�ำลงั ทราม มอี านุภาพน้อย ถอยตำ�่ ออ่ นแอ ไมป่ รากฏชัดน้นั จึงไมอ่ าจร้ทู ะลุ
ปรโุ ปร่งอสังขตนิพพานธาตุ อนั เปน็ ธรรมชาตหิ นกั แปร้ ไพบลู ย์ ย่ิงใหญไ่ ด้
‘‘ยถา มหาราช สิเนรุปพพฺ ตราชา ครโุ ก ภาริโก วิปโุ ล มหนฺโต, อป ิ นุ โข ตํ
มหาราช ปรุ ิโส อตฺตโน ปากติเกน ถามพลวรี ิเยน สกกฺ เุ ณยฺย สิเนรปุ พพฺ ตราชาน ํ
อุทธฺ รติ นุ ฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร ขุนเขาสิเนรุ เปน็ ของหนักแปร้ กว้างขวางใหญโ่ ต ขอถวายพระพร
บุรุษผ้หู น่งึ อาจใชเ้ ร่ยี วแรงก�ำลัง และความเพยี ร ยกขนุ เขาสเิ นรุนั้นขน้ึ ได้หรือไมห่ นอ ?”
กณั ฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 247
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “มิไดห้ รอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เพราะเหตไุ รหรือ มหาบพิตร ?”
‘‘ทพุ พฺ ลตตฺ า ภนฺเต ปรุ ิสสสฺ มหนฺตตฺตา สิเนรุปพพฺ ตราชสสฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “เพราะบุรษุ มีก�ำลงั ทราม เพราะขุนเขาสิเนรุเปน็ ของใหญโ่ ต
พระคุณเจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อูนกสตฺตวสสฺ ิกสฺส จติ ตฺ ํ อพล ํ ทุพพฺ ลํ ปรติ ฺตํ อปฺป ํ โถกํ
มนฺท ํ อวภิ ูตํ, อสงขฺ ตา นิพฺพานธาต ุ ครกุ า ภาริกา วิปลุ า มหตี ฯ อูนกสตตฺ วสฺสโิ ก เตน
ทุพพฺ เลน จติ ฺเตน ปริตเฺ ตน มนฺเทน อวิภูเตน น สกฺโกติ ครกุ ํ ภาริกํ วิปุล ํ มหต ึ อสงฺขตํ
นพิ พฺ านธาตุ ํ ปฏิวชิ ฺฌิตํุ, เตน การเณน อูนกสตตฺ วสฺสิกสสฺ สปุ ฺปฏิปนฺนสฺสาป ิ ธมมฺ าภิสมโย
น โหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อยา่ งนั้นนัน่ แหละ จติ ของ
เดก็ ผมู้ อี ายุตำ่� กวา่ ๗ ขวบ เปน็ จิตทไี่ ม่มีก�ำลงั ทรามก�ำลงั มีอานภุ าพน้อย ถอยต่�ำ ออ่ นแอ ไม่
ปรากฏชัด อสงั ขตนิพพานธาตุ เป็นธรรมชาติหนกั แปร้ ไพบลู ย์ ยิง่ ใหญ่ เด็กผมู้ อี ายุตำ�่ กวา่ ๗
ขวบ มจี ติ ไมม่ กี �ำลัง ทรามก�ำลัง มีอานุภาพนอ้ ย ถอยต�ำ่ อ่อนแอ ไม่ปรากฏชัดนนั้ จงึ ไมอ่ าจรู้
ทะลุปรโุ ปรง่ อสังขตนพิ พานธาตุอันเป็นของหนกั แปร้ ไพบลู ย์ ยงิ่ ใหญ่ได้ เพราะเหตุนนั้ เดก็
อายตุ ำ่� กว่า ๗ ขวบ แมป้ ฏิบัติดี กไ็ ม่มกี ารบรรลธุ รรม
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อยํ มหาปถว ี ทีฆา อายตา ปุถุลา วิตฺถตา วิสาลา
วติ ฺถณิ ณฺ า วปิ ุลา มหนฺตา, อป ิ น ุ โข ต ํ มหาราช มหาปถว ึ สกกฺ า ปริตตฺ เกน อุทก-
พนิ ฺทุเกน เตเมตฺวา อุทกจกิ ฺขลฺล ํ กาตนุ ฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนึ่ง เปรยี บเหมือนว่า แผน่ ดนิ ใหญ่น้ี ยาวไกล กว้างหนา
แพร่หลาย ขยายไปไกล ไพบลู ย์ ใหญ่โต ขอถวายพระพร บคุ คลอาจใชห้ ยาดน�้ำหยาดเลก็ ๆ
ท�ำแผ่นดนิ ใหญ่นัน้ ให้เปียกชมุ่ เปน็ นำ้� โคลนไปไดห้ รอื ไม่”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “มไิ ดห้ รอก พระคณุ เจ้า”
248 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เพราะเหตไุ ร มหาบพติ ร ?”
‘‘ปรติ ฺตตตฺ า ภนเฺ ต อุทกพนิ ฺทสุ ฺส มหนตฺ ตตฺ า มหาปถวยิ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ถวายพระพรวา่ “เพราะหยาดน�ำ้ เป็นของเล็กนอ้ ย เพราะแผน่ ดนิ ใหญ่
เป็นของใหญโ่ ต”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อนู กสตตฺ วสสฺ ิกสสฺ จติ ตฺ ํ อพล ํ ทุพฺพลํ ปริตตฺ ํ อปปฺ ํ โถกํ
มนฺทํ อวภิ ูต,ํ อสงฺขตา นพิ ฺพานธาต ุ ทีฆา อายตา ปถุ ลุ า วติ ถฺ ตา วิสาลา วติ ฺถิณณฺ า
วปิ ลุ า มหนตฺ า ฯ อูนกสตฺตวสฺสิโก เตน ทพุ พฺ เลน จติ ฺเตน ปริตตฺ เกน มนฺเทน อวภิ เู ตน
น สกโฺ กติ มหต ึ อสงฺขต ํ นิพพฺ านธาต ํุ ปฏวิ ิชฌฺ ิตํุ, เตน การเณน อนู กสตฺตวสฺสิกสฺส
สุปฺปฏปิ นนฺ สสฺ าปิ ธมฺมาภสิ มโย น โหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “กเ็ หมือนกันอย่างนนั้ น่ันแหละ จติ ของเดก็ อายุต่ำ� กว่า ๗
ขวบ เปน็ จติ ที่ไมม่ กี �ำลงั ฯลฯ ไมป่ รากฏชัด อสงั ขตนพิ พานธาตุ เป็นของหนัก ฯลฯ ยง่ิ ใหญ่
เดก็ อายุต่ำ� กว่า ๗ ขวบ เพราะมจี ติ ท่ไี ม่มีก�ำลงั ฯลฯ ไม่ปรากฏชัดนนั้ จงึ ไม่อาจรูท้ ะลุปรุโปร่ง
อสังขตนพิ พานธาตุอนั เปน็ ของหนัก ฯลฯ ยิง่ ใหญน่ น้ั ได้ เพราะเหตุนั้น เดก็ ผู้มอี ายุตำ�่ กว่า ๗
ขวบ แมป้ ฏบิ ัตดิ ี ก็ไมม่ ีการบรรลธุ รรม
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อพลทพุ ฺพลปริตตฺ อปฺปโถกมนทฺ คฺค ิ ภเวยยฺ , อปิ นุ โข
มหาราช ตาวตเกน มนเฺ ทน อคฺคินา สกฺกา สเทวเก โลเก อนฺธการ ํ วธิ มติ วฺ า อาโลก ํ
ทสฺเสตุนฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึง่ เปรียบเหมอื นว่า ไฟเปน็ ไฟท่ไี ม่มกี �ำลงั มกี �ำลงั ทราม มี
อานุภาพนอ้ ย ถอยตำ�่ ขอถวายพระพร ใคร ๆ อาจใช้ไฟอ่อน ๆ เพยี งเท่านัน้ ขจดั ความมืด ท�ำ
แสงสวา่ งให้ปรากฏในโลกพรอ้ มทง้ั เทวดา ไดห้ รือไม่ ?”
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั วา่ “มไิ ดห้ รอก พระคุณเจ้า”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เพราะเหตุไร มหาบพิตร ?”
กัณฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 249
‘‘มนทฺ ตฺตา ภนเฺ ต อคฺคิสสฺ โลกสฺส มหนตฺ ตตฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “เพราะไฟเปน็ ไฟที่ออ่ น เพราะโลกเปน็ ของใหญ่โต พระคณุ เจ้า”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อูนกสตตฺ วสสฺ ิกสฺส จติ ฺต ํ อพล ํ ทุพพฺ ล ํ ปริตตฺ ํ อปปฺ ํ โถกํ
มนฺท ํ อวิภตู ,ํ มหตา จ อวชิ ฺชนธฺ กาเรน ปิหติ ํ ฯ ตสฺมา ทุกกฺ รํ าณาโลก ํ ทสฺสยิตุํ, เตน
การเณน อนู กสตตฺ วสสฺ ิกสฺส สุปฺปฏปิ นฺนสสฺ าป ิ ธมฺมาภิสมโย น โหติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อย่างนั้นนั่นแหละ จิตของ
เด็กอายตุ ำ่� กว่า ๗ ขวบ เป็นจติ ทไี่ มม่ ีก�ำลงั ฯลฯ ไมป่ รากฏชัด ถูกความมืด คือ อวิชชาทใ่ี หญ่
ปิดบงั แลว้ เพราะฉะนนั้ จะแสดงแสงสว่างคอื ญาณ เป็นการกระท�ำได้ยาก เพราะเหตุน้นั เด็ก
ผ้มู อี ายุตำ่� กว่า ๗ ขวบ แม้ปฏบิ ตั ดิ ี กไ็ มม่ ีการบรรลุธรรม
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อาตุโร กโิ ส อณุปรมิ ติ กาโย สาลกกมิ ิ หตฺถินาคํ ตธิ า
ปภินนฺ ํ นวายต ํ ตวิ ติ ฺถตํ ทสปริณาห ํ อฏ ฺ รตนกิ ํ สกฏ ฺ านมปุ คตํ ทิสฺวา คลิ ิต ํุ ปริกฑเฺ ฒยยฺ ,
อป ิ น ุ โข โส มหาราช สาลกกิมิ สกฺกเุ ณยยฺ ตํ หตถฺ ินาคํ คลิ ิตนุ ฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ หนอนผอมอ่อนแอที่มขี นาดล�ำตัวเลก็ ๆ เห็นช้าง
พลาย ตกมนั เป็น ๓ ทาง มีกายยาว ๙ ศอก รอบตวั กว้าง ๑๐ ศอก ๓ คืบ สงู ๘ ศอก ที่มาถึงท่ี
อยขู่ องตนแลว้ ก็เสือกคานไปเพือ่ จะกลนื กินเสยี ขอถวายพระพร หนอนตวั น้ัน อาจกลืนกิน
ชา้ งพลายเชอื กน้นั ได้หรือไม่ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “มิได้หรอก พระคุณเจ้า”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “เพราะเหตุไร มหาบพติ ร ?”
‘‘ปรติ ตฺ ตตฺ า ภนฺเต สาลกกิมิสสฺ มหนฺตตฺตา หตถฺ ินาคสฺสา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “เพราะหนอนตวั เล็กนกั เพราะช้างตัวใหญโ่ ต พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช อนู กสตตฺ วสฺสกิ สสฺ จติ ฺตํ อพลํ ทพุ พฺ ลํ ปริตตฺ ํ อปปฺ ํ โถก ํ
มนทฺ ํ อวภิ ตู ,ํ มหตี อสงฺขตา นิพฺพานธาตุ ฯ โส เตน ทพุ ฺพเลน จิตเฺ ตน ปริตฺตเกน
มนเฺ ทน อวิภเู ตน น สกโฺ กติ มหต ึ อสงขฺ ต ํ นิพพฺ านธาตํุ ปฏวิ ชิ ฌฺ ติ ํุ, เตน การเณน
อนู กสตฺตวสสฺ ิกสฺส สปุ ปฺ ฏปิ นฺนสสฺ าป ิ ธมมฺ าภิสมโย น โหตี’’ติ ฯ
250 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อย่างน้ันนั่นแหละ จติ ของ
เดก็ อายตุ �่ำกวา่ ๗ ขวบ เป็นจิตท่ไี ม่มกี �ำลงั ฯลฯ ไม่ปรากฏชดั น้ัน จึงไม่อาจรู้ทะลปุ รุโปร่ง
อสังขตนิพพานธาตุ อันเป็นของหนัก ฯลฯ ย่ิงใหญน่ น้ั ได้ เพราะเหตุน้ัน เดก็ ผู้มอี ายุต่�ำกว่า ๗
ขวบ แมป้ ฏบิ ัติดี กไ็ มม่ กี ารบรรลุธรรม”
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “ดีจริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามทที่ ่านกลา่ วมา
น”ี้
ธมฺมาภิสมยปญโฺ ห อฏฺ€โม ฯ
จบธมั มาภิสมยปัญหาขอ้ ที่ ๘
________
๙. เอกนตฺ สขุ นิพพฺ านปญฺห
๙. เอกันตสุขนพิ พานปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยพระนพิ พานวา่ เป็นสุขโดยส่วนเดยี ว
[๙] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ก ึ เอกนตฺ สขุ ํ นิพพฺ านํ อทุ าห ุ ทกุ เฺ ขน มสิ สฺ นฺ”ติ ?
[๙] พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระนิพพานเป็นสุขโดยส่วนเดียว
หรอื ว่า เจอื ด้วยทกุ ข์เล่า ?”
‘‘เอกนตฺ สุข ํ มหาราช นิพพฺ าน ํ ทุกเฺ ขน อมสิ ฺสนฺ”ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระนิพพานเปน็ สขุ โดยส่วน
เดียว ไมเ่ จือดว้ ยทุกข์”
‘‘น มย ํ ตํ ภนฺเต นาคเสน วจนํ สทฺทหาม ‘เอกนตฺ สุขํ นิพพฺ านนฺ’ต,ิ เอวเมตฺถ มยํ
ภนเฺ ต นาคเสน ปจเฺ จม ‘นพิ ฺพานํ ทุกเฺ ขน มสิ สฺ น’ฺ ติ, การณ ฺเจตถฺ อุปลภาม ‘นิพพฺ าน ํ
ทกุ เฺ ขน มิสฺส’นตฺ ิ ฯ กตม ํ เอตฺถ การณํ ? เย เต ภนฺเต นาคเสน นพิ ฺพานํ ปรเิ ยสนตฺ ,ิ
เตสํ ทสิ ฺสต ิ กายสสฺ จ จิตตฺ สสฺ จ อาตาโป ปริตาโป านจงฺกมนิสชชฺ าสยนาหารปรคิ คฺ โห
มิทฺธสฺส จ อุปโรโธ อายตนาน ฺจ ปฏิปีฬน ํ ธนธ ฺ ปยิ าติมิตฺตปฺปชหนํ ฯ เย เกจ ิ
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 251
โลเก สขุ ิตา สุขสมปฺปิตา, เต สพฺเพปิ ป จฺ ห ิ กามคเุ ณหิ อายตเน รเมนฺติ พฺรูเหนตฺ ิ,
มนาปิกมนาปิกพหวุ ธิ สภุ นิมิตฺเตน รเู ปน จกฺขํุ รเมนตฺ ิ พฺรูเหนฺติ, มนาปกิ มนาปกิ คตี วาทติ -
พหวุ ิธสภุ นิมิตเฺ ตน สทเฺ ทน โสต ํ รเมนฺติ พรฺ ูเหนฺติ, มนาปกิ มนาปกิ ปปุ ฺผผลปตตฺ ตจมลู สาร-
พหุวธิ สุภนมิ ติ ฺเตน คนเฺ ธน ฆานํ รเมนฺต ิ พฺรเู หนตฺ ิ, มนาปิกมนาปิกขชฺชโภชฺชเลยฺยเปยยฺ -
สายนียพหุวิธสภุ นมิ ิตฺเตน รเสน ชิวฺหํ รเมนตฺ ิ พรฺ ูเหนตฺ ิ, มนาปกิ มนาปกิ สณหฺ สขุ ุมมทุ -ุ
มทฺทวพหุวิธสุภนมิ ิตฺเตน ผสฺเสน กายํ รเมนฺติ พรฺ ูเหนฺต,ิ มนาปกิ มนาปิกกลฺยาณปาปก-
สุภาสุภพหวุ ิธวิตกกฺ มนสิกาเรน มนํ รเมนตฺ ิ พรฺ เู หนตฺ ิ ฯ ตุมฺเห ต ํ จกฺขุโสตฆานชวิ หฺ ากาย-
มโนพรฺ หู นํ หนถ อุปหนถ, ฉินฺทถ อปุ จฉฺ ินฺทถ, รนุ ธฺ ถ อปุ รนุ ธฺ ถ ฯ เตน กาโยปิ ปริตปติ,
จติ ตฺ มฺป ิ ปรติ ปต,ิ กาเย ปริตตเฺ ต กายิกทุกฺขเวทนํ เวทยิ ต,ิ จติ เฺ ต ปริตตฺเต เจตสกิ ทกุ ขฺ -
เวทนํ เวทยติ ฯ นน ุ มาคณฺฑโิ ยป ิ ปรพิ ฺพาชโก ภควนฺต ํ ครหมาโน เอวมาห ‘ภนู หุ สมโณ
โคตโม’ติ ฯ อทิ เมตถฺ การณ,ํ เยนาหํ การเณน พรฺ ูมิ ‘นพิ พฺ าน ํ ทุกฺเขน มิสสฺ น”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ค�ำทวี่ า่ พระนิพพานเป็นสุขโดยส่วนเดยี ว
นนั้ โยมไมข่ อเชือ่ หรอก พระคณุ เจา้ นาคเสน ในเร่ืองนี้ โยมเชื่ออยอู่ ยา่ งนวี้ ่า พระนพิ พานเจอื
ด้วยทุกข์ กใ็ นขอ้ ทีว่ า่ พระนิพพานเจือดว้ ยทุกข์ นี้ โยมมีเหตผุ ลอยู่ เหตผุ ลในขอ้ นเี้ ปน็ ไฉน ?
พระคุณเจ้านาคเสน บคุ คลท้ังหลายผูแ้ สวงหาพระนพิ พาน ปรากฏวา่ กายและจติ มีแตค่ วาม
ร้อนรมุ่ แผดเผา มีอันตอ้ งก�ำหนดการยืน การเดนิ การน่งั การนอน และอาหาร มอี ันต้องก�ำจัด
ความโงกงว่ ง ต้องบังคบั อายตนะ ทง้ั ต้องละจากทรัพย์สิน และญาตมิ ติ รอันเปน็ ทรี่ กั บคุ คล
พวกทีม่ ีสขุ อิม่ เอิบดว้ ยสขุ ในทางโลก ซ่ึงลว้ นแต่ท�ำอายตนะท้งั หลายใหร้ นื่ รมย์ ใหเ้ พ่ิมพนู
คือ ท�ำตาให้รนื่ รมย์ ใหเ้ พ่มิ พูนด้วยรูปทีเ่ ปน็ สุภนมิ ิต มากมายหลายอยา่ ง ท�ำหใู ห้ร่นื รมย์ดว้ ย
เสยี ง ทเ่ี ปน็ สภุ นิมติ (ไพเราะ) มเี สยี งขับร้อง เสยี งบรรเลงเปน็ ต้น แต่ละอยา่ งล้วนนา่ ชอบใจ
ท�ำจมูกใหร้ นื่ รมย์ ใหเ้ พ่มิ พูนด้วยกล่ินทเ่ี ป็นสภุ นมิ ติ (หอม) มากมายหลายอยา่ ง มกี ลิน่ ดอกไม้
กลน่ิ ใบ กล่นิ เปลือก กลิน่ ราก กลิ่นแก่น เป็นต้นแต่ละอยา่ งล้วนน่าชอบใจ ท�ำลน้ิ ให้รนื่ รมย์ ให้
เพ่มิ พูนด้วยรสทเี่ ปน็ สภุ นิมติ (อรอ่ ย) มากมายหลายอยา่ ง จากของเคย้ี ว ของกิน ของดืม่ ของ
เลยี ของล้มิ แต่ละอยา่ งล้วนนา่ ชอบใจ ท�ำกายให้ร่นื รมย์ ให้เพิ่มพูน ด้วยผสั สะทีเ่ ปน็ สุภนมิ ิต
(นุ่ม อบอุ่น ฯลฯ) มากมายหลายอย่าง ซึง่ ละเอยี ด สขุ มุ ออ่ นนุ่ม แต่ละอย่างลว้ นนา่ ชอบใจ
ท�ำใจให้ร่ืนรมย์ ให้เพิม่ พูน ด้วยมนสกิ ารและการตรกึ นึกถึงอารมณม์ ากมายหลายอยา่ ง อัน
เปน็ บญุ บา้ ง บาปบา้ ง ดบี า้ ง ไม่ดีบา้ ง ซ่ึงแตล่ ะอย่างล้วนน่าชอบใจ พวกท่านพากนั ละ ก�ำจัด
บ่นั ทอน ตัดขาด ป้องกัน ขดั ขวาง ความร่นื เริง ความเพม่ิ พูนแห่งตา หู จมกู ลนิ้ กายใจน้นั เสยี
252 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห
เพราะเหตุนน้ั จงึ เรา่ รอ้ นทงั้ กาย เรา่ รอ้ นทัง้ จิต เมอ่ื กายเรา่ ร้อน กช็ ่ือว่าเสวยทกุ ขเวทนาทาง
กาย เมื่อจิตเรา่ รอ้ น ก็ชือ่ ว่าเสวยทกุ ขเวทนาทางใจ แมม้ าคันทยิ ะปริพพาชก เม่ือเขาต�ำหนิ
พระผมู้ ีพระภาคเจา้ กไ็ ดก้ ล่าวอยา่ งนว้ี า่ ‘พระสมณโคดมเปน็ ผทู้ �ำลายความเจรญิ ’ ดงั น้ี มิใช่
หรือ ที่วา่ มานี้ เปน็ เหตุผลในความขอ้ น้ี เป็นเหตใุ หโ้ ยมกล่าวได้ว่า พระนิพพานเจอื ดว้ ยทุกข”์
‘‘น หิ มหาราช นพิ พฺ าน ํ ทกุ ฺเขน มสิ สฺ ,ํ เอกนตฺ สขุ ํ นพิ พฺ านํ ฯ ยํ ปน ตวฺ ํ มหาราช
พฺรสู ิ ‘นิพพฺ านํ ทุกขฺ นฺ’ต,ิ เนตํ ทุกขฺ ํ นพิ พฺ านํ นาม, นิพพฺ านสสฺ ปน สจฉฺ ิกิริยาย
ปุพพฺ ภาโค เอโส, นิพพฺ านปริเยสนํ เอตํ, เอกนตฺ สขุ ํเยว มหาราช นิพพฺ าน,ํ น ทุกเฺ ขน
มสิ ฺสํ ฯ เอตถฺ การณํ วทามิ ฯ อตถฺ ิ มหาราช ราชูนํ รชชฺ สุข ํ นามา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระนิพพานมไิ ดเ้ จือด้วยทกุ ข์หรอก
พระนิพพานเป็นสุขโดยส่วนเดียว ขอ้ ทพ่ี ระองค์ตรสั ว่า พระนพิ พานเป็นทุกข์ ขึน้ ชอื่ ว่า พระ
นพิ พานหาเปน็ ทุกขไ์ ม่ กข็ ้อท่พี ระองค์ตรัสมานีเ้ ปน็ ขอ้ ปฏิบัติ เป็นส่วนเบื้องตน้ เพ่อื จะท�ำพระ
นพิ พานใหแ้ จ้ง ข้อทีพ่ ระองค์ตรสั มานี้ เปน็ ข้อปฏิบตั ิอนั เป็นการแสวงหาพระนพิ พาน ขอถวาย
พระพร พระนิพพานเป็นสุขโดยส่วนเดียว ไมเ่ จือด้วยทกุ ขห์ รอก อาตภาพจะขอกล่าวเหตผุ ล
ในค�ำที่วา่ น้ี ขอถวายพระพร ช่อื ว่ารัชชสขุ แหง่ พระราชาท้งั หลาย มีอยหู่ รอื ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต อตฺถิ ราชนู ํ รชฺชสขุ น”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “ใช่ พระคุณเจ้า รชั ชสขุ แหง่ พระราชาท้งั หลายมอี ย่”ู
‘‘อปิ นุ โข ตํ มหาราช รชฺชสขุ ํ ทกุ เฺ ขน มสิ ฺสนฺ”ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร รชั ชสขุ นนั้ เป็นสุขที่เจอื ดว้ ยทกุ ข์หรือ
ไร ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘กสิ ฺส ปน เต มหาราช ราชาโน ปจฺจนฺเต กุปเิ ต เตสํ ปจจฺ นฺตนสิ สฺ ิตาน ํ ปฏิเสธาย
อมจเฺ จห ิ ปรณิ ายเกห ิ ภเฏหิ พลตฺเถหิ ปรวิ ตุ า ปวาสํ คนตฺ วฺ า ฑํสมกสวาตาตปปฏปิ ฬี ิตา
สมวิสเม ปรธิ าวนฺติ, มหายทุ ฺธ จฺ กโรนตฺ ,ิ ชวี ิตสสํ ย จฺ ปาปุณนตฺ ี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เม่ือหัวเมืองชายแดนเกดิ ก�ำเริบข้นึ (ถ้า
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 253
หากว่ารชั ชสุขไมเ่ จือด้วยทุกข์) เพราะเหตุไร พระราชาเหลา่ นัน้ จึงทรงมพี วกอ�ำมาตย์ พวก
แม่ทพั พวกขา้ ราชบรพิ าร พวกไพรพ่ ลแวดล้อม เสดจ็ นิราศไปเพ่อื ปราบปรามพวกชาวเมอื ง
ชายแดนเหลา่ นั้น ทรงถกู เหลอื บ ยุง สายลม แสงแดดเบยี ดเบยี น เสด็จท่องไปในทีข่ รขุ ระ ท้งั
ยงั จะตอ้ งท�ำกรรมครัง้ ใหญ่ ทง้ั ยังอาจจะสนิ้ พระชนม์ไดเ้ ลา่ ”
‘‘เนตํ ภนฺเต นาคเสน รชฺชสุขํ นาม, รชฺชสุขสสฺ ปรเิ ยสนาย ปพุ ฺพภาโค เอโส
ทกุ ฺเขน ภนฺเต นาคเสน ราชาโน รชชฺ ํ ปรเิ ยสติ วฺ า รชฺชสุขํ อนภุ วนตฺ ิ, เอวํ ภนฺเต
นาคเสน รชชฺ สขุ ํ ทกุ ฺเขน อมสิ ฺส,ํ อ ฺ ํ ต ํ รชฺชสขุ ,ํ อ ฺ ํ ทุกขฺ น”ฺ ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจ้า ข้อท่ที ่านกลา่ วมานี้ หาชือ่ วา่ รัชชสุขไม่ ขอ้ ทวี่ า่ มา
นี้ เปน็ เพียงการท�ำทเ่ี ปน็ ส่วนเบ้ืองตน้ แห่งการแสวงหารัชชสุข พระคุณเจ้านาคเสน พระราชา
ทั้งหลาย ครั้นแสวงหาราชสมบัตไิ ดแ้ ล้ว กไ็ ด้ทรงเสวยรชั ชสขุ พระคุณเจา้ นาคเสน รัชชสขุ ไม่
เจอื ดว้ ยทุกข์ ตามท่ไี ด้กล่าวมานหี้ รอก รัชชสุขเป็นอย่างหนึง่ ทกุ ข์เปน็ อกี อยา่ งหนง่ึ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช เอกนตฺ สขุ ํ นพิ พฺ าน,ํ น ทุกฺเขน มิสฺสํ ฯ เย ปน ตํ นิพฺพานํ
ปริเยสนฺต,ิ เต กาย จฺ จิตตฺ ฺจ อาตาเปตฺวา านจงกฺ มนสิ ชฺชาสยนาหาร ํ ปรคิ คฺ เหตฺวา
มิทธฺ ํ อุปรุนธฺ ติ ฺวา อายตนาน ิ ปฏิปีเฬตวฺ า กาย ฺจ ชีวิต จฺ ปริจจฺ ชิตวฺ า ทุกฺเขน นิพพฺ านํ
ปรเิ ยสิตฺวา เอกนฺตสขุ ํ นพิ ฺพานํ อนภุ วนตฺ ิ, นหิ ตปจจฺ ามติ ฺตา วิย ราชาโน รชฺชสุขํ ฯ เอวํ
มหาราช เอกนฺตสุขํ นพิ ฺพาน,ํ น ทกุ ฺเขน มิสสฺ ,ํ อ ฺ ํ นพิ พฺ าน,ํ อ ฺ ํ ทุกขฺ นตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอย่างน้ันนั่นแหละ พระ
นิพพานเป็นสุขโดยสว่ นเดียว หาเจอื ด้วยทกุ ข์ไม่ แตว่ า่ บคุ คลเหลา่ ใดแสวงหาพระนพิ พาน
บคุ คลเหลา่ น้นั มีอนั ตอ้ งท�ำกายและจิตให้รอ้ นรุ่ม ตอ้ งก�ำหนดการยืน การเดิน การน่ัง การนอน
และอาหาร ต้องก�ำจัดความโงกง่วง ตอ้ งบงั คบั อายตนะ ต้องสละท้งั กาย ทั้งชีวติ ครัน้ แสวงหา
พระนพิ พานไปดว้ ยความล�ำบากแลว้ จึงไดเ้ สวยพระนิพพานอันเปน็ สขุ โดยส่วนเดียว ดุจพระ
ราชาก�ำจดั ข้าศกึ ไดแ้ ล้ว กไ็ ด้เสวยรัชชสขุ ฉะน้ัน ขอถวายพระพร พระนพิ พานเป็นสขุ โดย
สว่ นเดยี ว ไม่เจอื ด้วยทกุ ข์ พระนิพพานก็เปน็ อย่างหนงึ่ ทกุ ข์ก็เปน็ อกี อย่างหนง่ึ ดังกล่าวมานี้
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อุตฺตรึ การณํ สโุ ณหิ เอกนฺตสุขํ นพิ ฺพานํ, น ทุกฺเขน มิสฺสํ,
อ ฺ ํ ทุกขฺ ํ, อ ฺ ํ นิพฺพานนตฺ ิ ฯ อตถฺ ิ มหาราช อาจริยานํ สปิ ปฺ วนฺตาน ํ สปิ ปฺ สุข ํ
นามา’’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองคจ์ งทรงสดับเหตุผลท่ีวา่ พระนิพพานเป็นสขุ โดยส่วนเดียว
254 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
ไมเ่ จือด้วยทกุ ข์ พระนิพพานเปน็ อย่างหนง่ึ ทกุ ขเ์ ปน็ อีกอยา่ งหนงึ่ ที่ยงิ่ กวา่ แม้อกี อยา่ งหนงึ่
เถิด ขอถวายพระพร ช่อื วา่ ศิลปสุข (สขุ ในงานศิลปะ) แห่งพวกอาจารย์ท้งั หลาย ผมู้ ีวิชาศิลปะ
มอี ยูห่ รือ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต อตถฺ ิ อาจริยานํ สปิ ฺปวนตฺ านํ สิปฺปสขุ น”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “ใช่ ศลิ ปสขุ แห่งพระอาจารยท์ งั้ หลายผูม้ ีวิชาศิลปะมีอยู่ พระคณุ
เจ้า”
‘‘อปิ นุ โข ตํ มหาราช สิปฺปสุขํ ทุกฺเขน มสิ ฺสน”ฺ ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ศิลปสุขนนั้ เป็นสขุ ทีเ่ จอื ด้วยทกุ ข์
หรือ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “หามไิ ด้ พระคุณเจา้ ”
‘‘กสิ สฺ ปน เต มหาราช อาจรยิ า อาจรยิ านํ อภวิ าทนปจฺจุฏฺ าเนน อทุ กาหรณฆร-
สมฺมชฺชนทนฺตกฏ ฺ มุโขทกานุปฺปทาเนน อจุ ฺฉิฏ ฺ ปฏิคฺคหณอจุ ฺฉาทนนหาปนปาทปรกิ มเฺ มน
สกจิตตฺ ํ นิกฺขปิ ติ ฺวา ปรจิตฺตานุวตตฺ เนน ทกุ ขฺ เสยฺยาย วิสมโภชเนน กาย ํ อาตาเปนตฺ ’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เพราะเหตไุ ร พวกอาจารยเ์ หล่านั้นจงึ
ท�ำให้กายเดอื ดร้อนดว้ ยการกราบไหว้ การลุกรับอาจารย์ ด้วยการตกั นำ�้ การกวาดถเู รือน
การคอยมอบไม้ช�ำระฟนั น้ำ� ล้างหน้าเขา้ ไปให้อาจารย์ ด้วยการรับของเหลอื เดน การนวดเฟ้น
การใหอ้ าบน�้ำ การระบมเท้าใหแ้ กอ่ าจารย์ ดว้ ยการละวางความคดิ ของตนเสยี คอยคลอ้ ยตาม
ความคดิ ของผู้อ่นื ดว้ ยการนอนเปน็ ทุกข์ ด้วยอาหารทไ่ี มเ่ หมาะสมเลา่ ”
‘‘เนตํ ภนฺเต นาคเสน สิปฺปสขุ ํ นาม, สิปปฺ ปริเยสนาย ปพุ ฺพภาโค เอโส ทุกเฺ ขน
ภนฺเต นาคเสน อาจรยิ า สิปปฺ ํ ปรเิ ยสิตฺวา สปิ ปฺ สขุ ํ อนภุ วนฺติ, เอวํ ภนเฺ ต นาคเสน
สปิ ปฺ สขุ ํ ทุกเฺ ขน อมสิ ฺสํ, อ ฺ ํ ตํ สปิ ฺปสขุ ํ, อ ฺ ํ ทกุ ฺขนฺ”ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ขอ้ ทีว่ ่ามานี้ ไมช่ อื่ ว่าเปน็ ศลิ ปสขุ หรอก ท่ี
ว่ามานี้เปน็ เพียงการท�ำอันเป็นสว่ นเบื้องต่ำ� แหง่ การแสวงหาศลิ ปสขุ พระคณุ เจา้ นาคเสน
อาจารย์ท้ังหลาย ครัน้ แสวงหาวชิ าศลิ ปะได้ด้วยความยากล�ำบากแลว้ ก็ยอ่ มได้เสวยศิลปสขุ
พระคุณเจา้ นาคเสน ศลิ ปสขุ มิได้เจือดว้ ยทกุ ข์ ตามท่กี ล่าวมานี้หรอก ศลิ ปสขุ นัน้ เป็นอย่าง
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 255
หน่ึง ทกุ ข์เปน็ อีกอย่างหนงึ่ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช เอกนตฺ สขุ ํ นิพฺพาน,ํ น ทุกเฺ ขน มสิ ฺสํ ฯ เย ปน ตํ นิพพฺ านํ
ปรเิ ยสนตฺ ,ิ เต กาย ฺจ จิตฺต ฺจ อาตาเปตฺวา านจงกฺ มนิสชฺชาสยนาหาร ํ ปริคฺคเหตวฺ า
มทิ ธฺ ํ อปุ รุนธฺ ติ วฺ า อายตนาน ิ ปฏิปีเฬตฺวา กาย จฺ ชวี ติ ฺจ ปริจจฺ ชิตวฺ า ทุกเฺ ขน นิพพฺ าน ํ
ปริเยสติ วฺ า เอกนฺตสขุ ํ นิพพฺ าน ํ อนภุ วนตฺ ิ, อาจริยา วยิ สิปฺปสขุ ํ ฯ เอวํ มหาราช เอกนฺต-
สุขํ นพิ พฺ าน,ํ น ทกุ ฺเขน มิสฺสํ, อ ฺ ํ ทุกฺขํ, อ ฺ ํ นิพพฺ านน’ฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกนั อย่างน้ันน่ันแหละ พระ
นพิ พานเปน็ สขุ โดยส่วนเดยี ว ไม่เจือดว้ ยทุกข์ แต่วา่ บคุ คลเหล่าใดแสวงหาพระนิพพาน บคุ คล
เหลา่ นน้ั ต้องท�ำกายและจติ ใหร้ ้อนรมุ่ ต้องก�ำหนดการยนื การเดิน การนั่ง การนอน และ
อาหาร ตอ้ งก�ำจดั ความโงกง่วง ตอ้ งบงั คบั อายตนะ ต้องสละทงั้ กายทง้ั ชีวิต ครั้นแสวงหาพระ
นพิ พานไดด้ ้วยความล�ำบากแล้ว จึงได้เสวยพระนิพพานอนั เปน็ สขุ โดยส่วนเดียว ดจุ พวก
อาจารย์ไดเ้ สวยศลิ ปสุข ฉะน้ัน ขอถวายพระพร พระนพิ พาน ชือ่ วา่ เปน็ สุขโดยสว่ นเดยี ว ไม่
เจือด้วยทกุ ข์ พระนพิ พานเปน็ อยา่ งหนง่ึ ทุกข์เปน็ อกี อย่างหนงึ่ ดังกล่าวมาน้”ี
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏิจฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั ว่า “ดีจริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามทท่ี ่านกล่าวมา
นี้”
เอกนตฺ สุขนพิ พฺ านปญฺโห นวโม ฯ
จบเอกันตสขุ นิพพานปญั หาข้อท่ี ๙
________
256 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
๑๐. นิพฺพานรปู สณฺ านปญฺห
๑๐. นิพพานรูปสณั ฐานปัญหา
ปัญหาว่าด้วยสแี ละสัณฐานแหง่ พระนพิ พาน
[๑๐] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘นพิ พฺ านํ นพิ พฺ านนฺ’ต ิ ยํ วเทส,ิ สกกฺ า ปน ตสสฺ
นิพฺพานสฺส รูป ํ วา สณฺ าน ํ วา วยํ วา ปมาณํ วา โอปมฺเมน วา การเณน วา เหตนุ า
วา นเยน วา อุปทสสฺ ยติ นุ ฺ’’ติ ?
[๑๐] พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกล่าวถึงส่ิงใดว่า ‘พระนพิ พาน
พระนิพพาน’ ทา่ นอาจจะบ่งชถ้ี ึงสีกด็ ี สณั ฐานก็ดี วยั ก็ดี ขนาดกด็ แี ห่งพระนิพพานน้นั โดย
อุปมาก็ดี โดยการณ์กด็ ี โดยเหตุก็ดี โดยนยั ก็ดี ไดห้ รือไม่ ?”
‘‘อปฺปฏภิ าคํ มหาราช นิพพฺ าน,ํ น สกกฺ า นิพฺพานสฺส รปู ํ วา สณ ฺ านํ วา วย ํ
วา ปมาณํ วา โอปมฺเมน วา การเณน วา เหตนุ า วา นเยน วา อปุ ทสฺสยติ ุน’ฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระนิพพานเปน็ ส่ิงทอ่ี ะไร
ๆ ก็หาสว่ นเปรยี บมิได้ จึงไม่อาจบ่งช้ีถึงสกี ็ดี สณั ฐานก็ดี วัยก็ดี ขนาดกด็ ี แหง่ พระนพิ พานน้ัน
โดยอปุ มาก็ดี โดยการณก์ ็ดี โดยเหตุก็ดี โดยนัยก็ดี ได”้
‘‘เอตมฺปาหํ ภนฺเต นาคเสน น สมปฺ ฏิจฉฺ าม,ิ ย ํ อตฺถิธมมฺ สสฺ นพิ พฺ านสฺส รูป ํ วา
สณฺ าน ํ วา วยํ วา ปมาณ ํ วา โอปมฺเมน วา การเณน วา เหตนุ า วา นเยน วา
อป ฺ าปน,ํ การเณน มํ ส ฺ าเปห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ข้อท่ที ่านไมอ่ าจท�ำใหร้ ู้สีกด็ ี สณั ฐานกด็ ี
วยั กด็ ี ขนาดกด็ ี แหง่ พระนพิ พานนัน้ โดยอุปมากด็ ี โดยการณ์ก็ดี โดยเหตุก็ดี โดยนัยกด็ ี โยม
ยงั ยอมรบั ไมไ่ ด้หรอก ขอจงชว่ ยท�ำโยมให้เขา้ ใจดว้ ยเหตผุ ลเถดิ ”
‘‘โหตุ มหาราช การเณน ต ํ ส ฺ าเปสสฺ ามิ ฯ อตถฺ ิ มหาราช มหาสมทุ ฺโท
นามา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เอาละ อาตมภาพจะขอถวายพระพรท�ำ
พระองคใ์ ห้ทรงเข้าใจดว้ ยเหตผุ ล ขอถวายพระพร ข้นึ ช่ือวา่ มหาสมทุ ร ย่อมมีอยใู่ ช่ไหม ?”
‘‘อาม ภนฺเต อตฺเถโส มหาสมุทฺโท’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “ใช่ พระคุณเจ้า มหาสมทุ รน้ี มีอยู่”
กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 257
‘‘สเจ ต ํ มหาราช โกจิ เอว ํ ปุจเฺ ฉยฺย ‘กติ ตฺ กํ มหาราช มหาสมทุ เฺ ท อุทกํ,
กติ ปน เต สตฺตา, เย มหาสมุทฺเท ปฏิวสนตฺ ี’ติ, เอวํ ปุฏโฺ ตฺวํ มหาราช กินฺต ิ ตสฺส
พฺยากเรยยฺ าสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถ้าหากวา่ ใคร ๆ จะพึงทลู ถามพระองค์
อยา่ งนีว้ า่ ‘ขอถวายพระพร น�ำ้ ในมหาสมุทรมีเทา่ ไร สตั ว์ทอ่ี าศัยอยู่ ในมหาสมุทรมเี ทา่ ไร
พระเจ้าข้า’ ดังนี้ พระองคท์ รงถูกทลู ถามอยา่ งน้ี จะพงึ ตรสั ตอบคนผนู้ ้ันว่ากระไร ?”
‘‘สเจ มํ ภนฺเต โกจิ เอว ํ ปุจฺเฉยยฺ ‘กติ ฺตกํ มหาราช มหาสมทุ ฺเท อทุ กํ, กติ ปน
เต สตตฺ า, เย มหาสมทุ เฺ ท ปฏิวสนฺต’ี ต,ิ ตมห ํ ภนเฺ ต เอวํ วเทยฺยํ ‘อปจุ ฉฺ ิตพพฺ ํ มํ ตฺวํ
อมโฺ ภ ปุริส ปจุ ฉฺ ส,ิ เนสา ปุจฉฺ า เกนจ ิ ปจุ ฉฺ ิตพฺพา, ปนโี ย เอโส ป ฺโห ฯ อวภิ ตโฺ ต
โลกกฺขายิเกห ิ มหาสมุทโฺ ท, น สกฺกา มหาสมทุ ฺเท อุทก ํ ปริมินิตุ ํ สตฺตา วา เย ตตฺถ
วาสมุปคตาต ิ เอวาห ํ ภนฺเต ตสสฺ ปฏวิ จน ํ ทเทยฺยนฺ”ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ ถ้าหากใคร ๆ พึงถามโยมอยา่ งน้ีว่า ‘ขอถวาย
พระพร น�ำ้ ในมหาสมุทรมเี ทา่ ไร สตั ว์ทอ่ี าศยั อยู่ในมหาสมุทรมเี ท่าไร พระเจ้าขา้ ’ ดงั นไ้ี ซร้
พระคุณเจ้า โยมจะพงึ ตอบเขาอย่างน้วี า่ ‘นีแ่ น่ะพ่อมหาจ�ำเริญเอย๋ เธอถามฉนั ถึงสิ่งที่ไม่ควร
ถามเลย น่เี ปน็ ค�ำถามทไี่ ม่น่าถาม น่เี ปน็ ปัญหาท่ีควรพักไว้ มหาสมุทรเป็นสิ่งท่ีนกั บรรยาย
เรอื่ งโลกท้งั หลาย จ�ำแนกมิได้ ใคร ๆ ไมอ่ าจทีจ่ ะนบั น�้ำในมหาสมทุ รหรือสัตวผ์ ูเ้ ขา้ ไปอยใู่ น
มหาสมุทรน้นั ได้ โยมจะพงึ ให้ค�ำตอบแกเ่ ขาอย่างน’ี้ ’
‘‘กิสสฺ ปน ตฺว ํ มหาราช อตฺถธิ มฺเม มหาสมทุ ฺเท เอว ํ ปฏวิ จน ํ ทเทยฺยาสิ, นนุ
วิคเณตวฺ า ตสสฺ อาจกิ ขฺ ติ พฺพํ ‘เอตตฺ ก ํ มหาสมุทเฺ ท อทุ กํ, เอตฺตกา จ สตตฺ า มหาสมุทฺเท
ปฏิวสนฺต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กแ็ ตว่ ่า เมื่อมหาสมทุ รมอี ย่เู ป็นธรรมดา
เพราะเหตุไร พระองค์จึงทรงใหพ้ ระด�ำรสั ตอบอยา่ งน้ีเล่า กน็ า่ จะทรงนบั แลว้ ตรสั ตอบเขาไป
ว่า น้�ำในมหาสมุทรมเี ท่านี้ และสตั ว์จ�ำนวนเท่าน้ี อาศยั อย่ใู นมหาสมุทร ดงั นี้ มิใช่หรอื ?”
‘‘น สกฺกา ภนเฺ ต อวิสโย เอโส ป โฺ ห’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “ไมอ่ าจบอกได้หรอก พระคุณเจา้ ปัญหานไี้ ม่ใช่วิสยั ”
‘‘ยถา มหาราช อตถฺ ธิ มเฺ มเยว มหาสมุทเฺ ท น สกกฺ า อทุ กํ ปริคเณตํุ สตตฺ า วา
เย ตตถฺ วาสมุปคตา, เอวเมว โข มหาราช อตฺถิธมฺมสเฺ สว นิพพฺ านสฺส น สกกฺ า รปู ํ วา
258 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
สณฺ านํ วา วยํ วา ปมาณํ วา โอปมเฺ มน วา การเณน วา เหตุนา วา นเยน วา
อุปทสฺสยติ ํ,ุ วคิ เณยยฺ มหาราช อิทธฺ มิ า เจโตวสิปฺปตฺโต มหาสมทุ เฺ ท อุทก ํ ตตฺราสเย จ
สตเฺ ต น เตฺวว โส อทิ ธฺ มิ า เจโตวสปิ ฺปตโฺ ต สกกฺ เุ ณยฺย นพิ ฺพานสฺส รปู ํ วา สณฺ านํ วา
วยํ วา ปมาณ ํ วา โอปมเฺ มน วา การเณน วา เหตุนา วา นเยน วา อปุ ทสฺสยติ ํุ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใคร ๆ กย็ ังไม่อาจนับน้�ำในมหาสมุทร
ซึ่งมีอยูเ่ ป็นธรรมดาหรอื สตั ว์ผ้เู ข้าไปอยู่ในมหาสมทุ รน้ันได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร ใคร ๆ ก็
ไมอ่ าจจะบง่ ชส้ี กี ด็ ี สัณฐานกด็ ี วัยกด็ ี ขนาดก็ดี แหง่ พระนิพพาน ซ่ึงมอี ยู่เป็นธรรมดา โดย
อปุ มากด็ ี โดยการณ์ก็ดี โดยเหตุก็ดี โดยนัยกด็ ีได้ ฉนั นั้น ขอถวายพระพร ภิกษผุ ู้มีฤทธ์ิ ถงึ
ความช�ำนาญแหง่ จิต พงึ นับน�ำ้ ในมหาสมทุ ร และสตั ว์ผ้อู าศัยอย่ใู นมหาสมุทรน้นั ได้ แตว่ ่า
ภิกษผุ มู้ ฤี ทธ์ิ ผถู้ งึ ความช�ำนาญแหง่ จิต ไมอ่ าจจะบง่ ช้สี กี ด็ ี สณั ฐานก็ดี วยั ก็ดี ขนาดก็ดี แห่ง
พระนิพพาน โดยอุปมากด็ ี โดยการณ์ก็ดี โดยเหตกุ ด็ ี โดยนยั ก็ดี ได้เลย
‘‘อปรมฺปิ มหาราช อุตตฺ รึ การณ ํ สโุ ณห ิ อตถฺ ธิ มมฺ สฺเสว นิพพฺ านสฺส น สกฺกา รปู ํ
วา สณฺ านํ วา วยํ วา ปมาณ ํ วา โอปมฺเมน วา การเณน วา เหตุนา วา นเยน วา
อปุ ทสฺสยติ นุ ตฺ ิ ฯ อตถฺ ิ มหาราช เทเวส ุ อรปู กายกิ า นาม เทวา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ขอพระองค์จงทรงสดับเหตผุ ล ในข้อทว่ี ่า ใคร ๆ ไมอ่ าจจะบ่งช้ีสีกด็ ี
วยั กด็ ี ขนาดกด็ ี แห่งพระนพิ พาน ซึง่ มอี ย่เู ป็นธรรมดา โดยอุปมากด็ ี โดยการณก์ ด็ ี โดยเหตุ
กด็ ี โดยนัยก็ดี ที่ยิ่งขนึ้ ไป แม้อกี สักขอ้ หน่ึงเถดิ ขอถวายพระพร ในบรรดาเทวดาทั้งหลาย
เทวดาทชี่ ื่อว่าพวกไมม่ รี ปู กาย กม็ ีอย่ใู ช่หรอื ไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต สยุ ฺยติ ‘อตถฺ ิ เทเวส ุ อรปู กายกิ า นาม เทวา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “ใช่ พระคณุ เจา้ โยมกไ็ ด้ยินมาวา่ ในบรรดาเทวดาท้งั หลาย
เทวดามีช่อื วา่ พวกไมม่ รี ปู กาย ก็มอี ยู่”
‘‘สกกฺ า ปน มหาราช เตส ํ อรูปกายิกาน ํ เทวาน ํ รปู ํ วา สณฺ านํ วา วยํ วา
ปมาณํ วา โอปมฺเมน วา การเณน วา เหตนุ า วา นเยน วา อุปทสสฺ ยติ ุนฺ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใคร ๆ ไม่อาจจะบง่ ช้สี ีกด็ ี สณั ฐานกด็ ี
วัยกด็ ี ขนาดก็ดี แห่งพวกเทวดาผ้ไู ม่มีรปู กายเหล่านน้ั โดยอปุ มาก็ดี โดยการณ์ก็ดี โดยเหตุ
ก็ดี โดยนยั ก็ดี ได้หรือไม่ ?”
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 259
‘‘น หิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “มไิ ด้หรอก พระคุณเจา้ ”
‘‘เตนห ิ มหาราช นตฺถ ิ อรปู กายกิ า เทวา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ อย่างน้นั เทวดาพวกไม่มีรปู กาย ก็
ไม่มีอยู่จริง ?”
‘‘อตถฺ ิ ภนฺเต อรูปกายิกา เทวา, น จ สกฺกา เตสํ รปู ํ วา สณ ฺ าน ํ วา วย ํ วา
ปมาณ ํ วา โอปมเฺ มน วา การเณน วา เหตนุ า วา นเยน วา อุปทสสฺ ยิตุนฺ’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “เทวดา พวกไมม่ ีรูปกาย มจี รงิ พระคณุ เจา้ แตว่ า่ ใคร ๆ ไมอ่ าจ
จะบง่ ช้ีสกี ็ดี สัณฐานกด็ ี วยั กด็ ี ขนาดก็ดี แห่งเทวดาเหลา่ น้ัน โดยอุปมาก็ดี โดยการณก์ ด็ ี โดย
เหตุกด็ ี โดยนัยก็ดี ไดเ้ ลย”
‘‘ยถา มหาราช อตถฺ ิสตฺตานเํ ยว อรูปกายกิ านํ เทวาน ํ น สกฺกา รปู ํ วา สณ ฺ าน ํ
วา วย ํ วา ปมาณํ วา โอปมเฺ มน วา การเณน วา เหตุนา วา นเยน วา อปุ ทสฺสยติ ,ุํ
เอวเมว โข มหาราช อตถฺ ธิ มมฺ สเฺ สว นิพพฺ านสฺส น สกฺกา รปู ํ วา สณ ฺ าน ํ วา วยํ วา
ปมาณํ วา โอปมเฺ มน วา การเณน วา เหตนุ า วา นเยน วา อุปทสสฺ ยิตนุ ’ฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ใคร ๆ ไมอ่ าจจะบ่งชส้ี กี ็ดี สัณฐานก็ดี
วัยก็ดี ขนาดก็ดี โดยอุปมากด็ ี โดยการณ์ก็ดี โดยเหตุก็ดี โดยนยั ก็ดี ได้ ฉันใด ขอถวายพระพร
ใคร ๆ กไ็ มอ่ าจจะบ่งช้ีสีก็ดี สณั ฐานกด็ ี วยั กด็ ี ขนาดกด็ ี แห่งพระนิพพานทม่ี อี ยเู่ ปน็ ธรรมดา
โดยอปุ มากด็ ี โดยการณก์ ด็ ี โดยเหตุก็ดี โดยนยั ก็ดี ได้ ฉันนน้ั เหมือนกนั ”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน โหต ุ เอกนฺตสุข ํ นพิ ฺพาน,ํ น จ สกกฺ า ตสสฺ รูป ํ วา สณ ฺ านํ
วา วยํ วา ปมาณ ํ วา โอปมเฺ มน วา การเณน วา เหตนุ า วา นเยน วา อปุ ทสสฺ ยติ ุํ ฯ
อตฺถิ ปน ภนฺเต นิพพฺ านสฺส คณุ ํ อ เฺ ห ิ อนุปวิฏ ฺ ํ ก ิ จฺ ิ โอปมฺมนิทสสฺ นมตตฺ นฺ’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระนิพพานเป็นสขุ โดยสว่ นเดยี ว ท้ังใคร
ๆ ไมอ่ าจจะบ่งช้ีสกี ็ดี สัณฐานกด็ ี วัยก็ดี ขนาดก็ดี แหง่ พระนพิ พานนั้น โดยอปุ มากด็ ี โดย
การณก์ ็ดี โดยเหตกุ ็ดี โดยนัยก็ดี ไดเ้ ลย กต็ ามทีเถิด แต่วา่ คณุ (คณุ สมบตั )ิ ของพระนิพพาน
น้ัน ท่พี อจะแสดงให้เห็นโดยอุปมา เปรียบเทยี บกับคณุ (คุณสมบัติ) ของส่งิ อื่น ๆ สกั เลก็ นอ้ ย
มีอย่บู ้างหรอื ไม่ ?”
260 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘สรปู โต มหาราช นตถฺ ิ คุณโต ปน สกฺกา ก ิ ฺจ ิ โอปมฺมนทิ สสฺ นมตตฺ ํ
อปุ ทสฺสยติ นุ ฺ’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร คุณของพระนิพพานท่เี ปรียบเทียบกัน
ไดก้ บั คณุ ของสิง่ อื่น ๆ โดยสภาวะท่มี ีอยู่ ไมม่ ีหรอก แตว่ า่ บณั ฑติ อาจจะชีแ้ จงถึงพระนพิ พาน
โดยคณุ เพยี งเปน็ การแสดงให้เหน็ โดยอุปมาสักเล็กน้อยได้”
‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน ยถาห ํ ลภาม ิ นพิ พฺ านสฺส คณุ โตป ิ เอกเทสปริทปี นมตฺต,ํ
ตถา สฆี ํ พรฺ ูห ิ นพิ พฺ าเปห ิ เม หทยปริฬาห ํ วินย สีตลมธุรวจนมาลุเตนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “ขอได้โปรดบอกกลา่ วโดยประการที่โยมจะไดค้ วามแจม่ แจ้ง
พระนพิ พานแม้โดยคุณ สักส่วนหนงึ่ เร็ว ๆ เถิด ขอจงดับ จงก�ำจัดความร้อนใจของโยมดว้ ย
สายลมคอื ค�ำพูดทเี่ ยือกเย็น ไพเราะ นา่ ฟงั เถิด”
‘‘ปทุมสสฺ มหาราช เอโก คโุ ณ นพิ ฺพาน ํ อนปุ วิฏฺโ , อุทกสสฺ เทวฺ คุณา, อคทสสฺ
ตโย คณุ า, มหาสมุททฺ สฺส จตตฺ าโร คุณา, โภชนสฺส ป ฺจ คุณา, อากาสสฺส ทส คุณา,
มณิรตนสฺส ตโย คุณา, โลหติ จนฺทนสสฺ ตโย คุณา, สปฺปิมณฑฺ สสฺ ตโย คณุ า, คริ ิสขิ รสสฺ
ป ฺจ คณุ า นิพพฺ านํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร คุณอย่างหนง่ึ ของดอกปทุม เทียบกัน
ไดก้ ับพระนพิ พาน คณุ ๒ อย่างของนำ้� … คุณ ๓ อยา่ งของยาแกพ้ ิษ … คุณ ๔ อยา่ งของ
มหาสมุทร … คุณ ๕ อย่างของโภชนะ … คณุ ๑๐ อยา่ งของอากาศ … คณุ ๓ อย่างของแกว้
มณี … คณุ ๓ อยา่ งของจนั ทนแ์ ดง … คุณ ๓ อย่างของหวั เนยใส … คุณ ๕ อยา่ งของยอด
ภูเขา เทยี บกันไดก้ บั พระนพิ พาน”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘ปทุมสสฺ เอโก คโุ ณ นพิ พฺ าน ํ อนปุ วฏิ โฺ ’ติ ยํ วเทสิ, กตโม
ปทุมสฺส เอโก คุโณ นพิ พฺ าน ํ อนปุ วฏิ โฺ ’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน คณุ อยา่ งหนง่ึ ของดอกปทุม เทยี บกนั ได้
กบั พระนิพพาน คณุ อย่างหน่งึ ของดอกปทุมเทยี บกนั ได้กบั พระนิพพานเปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช ปทมุ ํ อนุปลิตตฺ ํ อุทเกน, เอวเมว โข มหาราช นพิ พฺ านํ สพฺพ-
กิเลเสหิ อนุปลติ ตฺ ํ ฯ อย ํ มหาราช ปทมุ สสฺ เอโก คุโณ นิพพฺ าน ํ อนุปวฏิ ฺโ ’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั วา่ “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ นำ้� ฉาบติดดอกปทุมมิได้
ฉันใด ขอถวายพระพร กิเลสทงั้ หลายทงั้ ปวง กฉ็ าบตดิ พระนพิ พานมิได้ ฉันนน้ั เหมือนกัน
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 261
ขอถวายพระพร นคี้ ือคุณอย่างหนึง่ ของดอกปทุมซึง่ เทียบกันได้กบั พระนิพพาน”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘อทุ กสสฺ เทวฺ คุณา นพิ ฺพาน ํ อนปุ วฏิ ฺ า’ติ ย ํ วเทสิ, กตเม
อทุ กสสฺ เทฺว คณุ า นพิ ฺพานํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านกล่าวว่า ‘คุณ ๒ อยา่ งของน้ำ� เทียบกัน
ไดก้ ับพระนิพพาน’ ดงั น้ี ขอถามว่า คุณ ๒ อย่างของนำ�้ คือ อะไรบ้าง ซง่ึ เทยี บกนั ไดก้ ับพระ
นิพพาน”
‘‘ยถา มหาราช อุทก ํ สีตลํ ปรฬิ าหนิพพฺ าปน,ํ เอวเมว โข มหาราช นพิ ฺพาน ํ
สีตลํ สพพฺ กิเลสปริฬาหนพิ ฺพาปนํ ฯ อยํ มหาราช อุทกสสฺ ป โม คุโณ นพิ ฺพาน ํ
อนปุ วฏิ ฺโ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ น้�ำเย็น ใช้ดับความ
เร่ารอ้ นได้ ฉันใด พระนพิ พาน ก็เยือกเย็น ใชด้ ับความเร่าร้อน คือ กิเลสท้งั ปวงได้ ฉันนัน้
เหมือนกนั ขอถวายพระพร นคี้ อื คณุ อยา่ งที่ ๑ ของน้�ำ ซึ่งเทียบกันได้กับพระนพิ พาน”
ปนุ จปรํ มหาราช อุทก ํ กลิ นตฺ ตสติ ปปิ าสติ ฆมมฺ าภติ ตตฺ าน ํ ชนปสุปชาน ํ ปปิ าสา-
วนิ ยนํ, เอวเมว โข มหาราช นพิ พฺ านํ กามตณหฺ าภวตณหฺ าวภิ วตณหฺ าปิปาสาวนิ ยนํ ฯ
อยํ มหาราช อทุ กสสฺ ทตุ ิโย คโุ ณ นิพฺพาน ํ อนุปวฏิ โฺ ฯ อิเม โข มหาราช อทุ กสฺส
เทวฺ คุณา นพิ พฺ าน ํ อนปุ วิฏ ฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกอย่างหนึง่ เปรยี บเหมอื นว่า น�้ำใช้เป็นเครือ่ งก�ำจดั ความ
กระหายของสัตวท์ ง้ั หลาย ท้ังคนท้ังสตั ว์เลยี้ งผูเ้ หน็ดเหน่อื ย คอแหง้ กระหายนำ�้ ถูกความรอ้ น
แผดเผาได้ ฉันใด พระนพิ พานก็ใช้เป็นเครื่องก�ำจดั ความกระหายคอื กามตณั หา ภวตณั หา
และวภิ วตัณหาได้ ฉนั นน้ั เหมือนกนั ขอถวายพระพร นคี้ ณุ ของน�ำ้ อยา่ งที่ ๒ ท่ีเทียบกนั ไดก้ ับ
พระนพิ พาน ขอถวายพระพร คุณ ๒ อย่าง ของน�้ำเหลา่ นซี้ ึ่งเทียบกนั ไดก้ บั พระนิพพาน”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘อคทสฺส ตโย คณุ า นิพพฺ าน ํ อนปุ วฏิ ฺ า’ติ ยํ วเทสิ, กตเม
อคทสฺส ตโย คุณา นพิ ฺพานํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘คุณ ๓ อย่างของยาแก้พิษ
เทียบกันไดก้ บั พระนิพพาน’ ดังนี้ ขอถามวา่ คณุ ๓ อย่างของยาแกพ้ ษิ คอื อะไรบ้าง ? ซึง่
เทียบกันไดก้ บั พระนพิ พาน”
262 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘ยถา มหาราช อคโท วิสปฬี ิตาน ํ สตตฺ าน ํ ปฏสิ รณํ, เอวเมว โข มหาราช
นิพพฺ านํ กเิ ลสวิสปฬี ติ าน ํ สตฺตานํ ปฏสิ รณํ ฯ อยํ มหาราช อคทสฺส ป โม คุโณ
นิพพฺ านํ อนปุ วิฏฺโ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ ยาแก้พิษใชเ้ ป็น
เครือ่ งถอนพิษส�ำหรับสัตวท์ ้ังหลายผถู้ กู ยาพิษบบี ค้นั ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพาน ก็
ใช้เปน็ เครือ่ งถอนพษิ ส�ำหรับสตั ว์ทั้งหลายผูถ้ ูกพษิ คอื กเิ ลสบบี ค้นั ได้ ฉันนน้ั เหมือนกนั ขอ
ถวายพระพร น้ี คือ คุณอยา่ งท่ี ๑ ของยาแกพ้ ิษ ซึ่งเทียบกันไดก้ บั พระนพิ พาน
ปุน จปรํ มหาราช อคโท โรคาน ํ อนฺตกโร, เอวเมว โข มหาราช นิพพฺ านํ
สพฺพทุกขฺ าน ํ อนฺตกรํ ฯ อย ํ มหาราช อคทสฺส ทตุ ิโย คโุ ณ นิพฺพาน ํ อนุปวฏิ โฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกอย่างหนึ่ง เปรียบเหมอื นว่า ยาแกพ้ ิษ ท�ำความเจ็บปว่ ยท้งั
หลายให้สน้ิ สดุ ไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกท็ �ำทุกข์ท้งั หลายใหส้ ิ้นสุดไป ฉนั นน้ั
เหมอื นกัน ขอถวายพระพร นี้คือ คุณอย่างท่ี ๒ ของยาแกพ้ ษิ ซ่งึ เทียบกันได้กบั พระนพิ พาน
ปุน จปร ํ มหาราช อคโท อมตํ, เอวเมว โข มหาราช นพิ ฺพาน ํ อมตํ ฯ อยํ
มหาราช อคทสฺส ตตโิ ย คุโณ นพิ ฺพานํ อนุปวฏิ โฺ ฯ อิเม โข มหาราช อคทสสฺ ตโย
คุณา นิพพฺ านํ อนุปวิฏฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกอย่างหนึ่ง เปรยี บเหมือนว่า ยาแกพ้ ษิ เป็นยาอมตะ (ชว่ ยไม่
ให้ตาย) ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกเ็ ป็นอมตะ ฉันนัน้ เหมอื นกัน ขอถวายพระพร นี้
เป็นคุณอย่างที่ ๓ ของยาแก้พษิ ซึ่งเทยี บกันได้กบั พระนพิ พาน ขอถวายพระพร คณุ ๓ อยา่ ง
ของยาแกพ้ ษิ เหลา่ นี้แล ซึ่งเทยี บกนั ไดก้ ับพระนพิ พาน”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘มหาสมทุ ฺทสฺส จตตฺ าโร คณุ า นิพฺพานํ อนุปวิฏ ฺ า’ต ิ ย ํ วเทสิ,
กตเม มหาสมุททฺ สสฺ จตฺตาโร คณุ า นพิ พฺ านํ อนุปวิฏ ฺ า’’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘คณุ ๔ อย่าง ของมหาสมทุ ร
เทียบกันไดก้ ับพระนพิ พาน’ ดงั น้ี ขอถามว่า คุณ ๔ อย่าง ของมหาสมทุ ร คืออะไรบา้ ง ? ซ่งึ
เทียบกันไดก้ ับพระนพิ พาน”
‘‘ยถา มหาราช มหาสมุทฺโท ส ุ โฺ สพฺพกณุ เปหิ เอวเมว โข มหาราช
นิพฺพานํ ส ุ ฺ ํ สพพฺ กเิ ลสกณุ เปหิ ฯ อย ํ มหาราช มหาสมทุ ฺทสสฺ ป โม คโุ ณ นิพฺพาน ํ
อนุปวิฏโฺ ฯ
กัณฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 263
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ มหาสมทุ รว่างเปลา่
จากซากศพทั้งปวง ฉันใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกว็ า่ งเปล่าจากซากศพ คือกเิ ลสท้ัง
หลายทั้งปวง ฉนั น้ันเหมือนกนั ขอถวายพระพร นีค้ ือคณุ อยา่ งที่ ๑ ของมหาสมุทร ซงึ่ เทยี บ
กนั ไดก้ ับพระนิพพาน
ปนุ จปรํ มหาราช มหาสมทุ ฺโท มหนฺโต อโนรปาโร, น ปรปิ ูรติ สพฺพสวนตฺ หี ิ
เอวเมว โข มหาราช นพิ ฺพานํ มหนตฺ ํ อโนรปาร,ํ น ปูรต ิ สพฺพสตเฺ ตหิ ฯ อยํ มหาราช
มหาสมุททฺ สฺส ทุติโย คุโณ นิพพฺ าน ํ อนปุ วฏิ โฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี อย่างหน่ึง เปรยี บเหมอื นวา่ มหาสมทุ รใหญ่โตมองไมเ่ หน็ ฝ่งั
… ไม่เตม็ ด้วยนำ้� ที่ไหลมากจากทท่ี ั้งปวง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกใ็ หญ่โต มองไม่
เห็นฝ่ัง ไมเ่ ตม็ ด้วยสัตว์ทงั้ ปวง ฉันนั้นเหมือนกัน ขอถวายพระพร นค้ี อื คุณอย่างท่ี ๒ ของ
มหาสมุทร ซงึ่ เทยี บกนั ได้กบั พระนพิ พาน
ปุน จปรํ มหาราช มหาสมทุ ฺโท มหนตฺ าน ํ ภตู าน ํ อาวาโส, เอวเมว โข มหาราช
นพิ พฺ าน ํ มหนฺตานํ อรหนฺตานํ วิมลขีณาสวพลปปฺ ตตฺ วสีภูตมหาภตู านํ อาวาโส ฯ อยํ
มหาราช มหาสมุททฺ สฺส ตติโย คโุ ณ นิพพฺ านํ อนุปวฏิ โฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกอยา่ งหนง่ึ เปรยี บเหมอื นวา่ มหาสมุทรเป็นท่อี ยู่ของภตู (สตั ว์)
ใหญ่ ๆ ทั้งหลาย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนพิ พานก็เป็นทีอ่ ยขู่ องภูตใหญ่ ๆ คอื พระอรหนั ต์
ผปู้ ราศจากมลทิน ถึงก�ำลงั แหง่ พระขณี าสพ เป็นวสภี ตู เป็นมหาภตู ฉันนน้ั เหมอื นกนั ขอ
ถวายพระพร น้ีคอื คุณอยา่ งท่ี ๓ ของมหาสมุทร ซ่งึ เทยี บกันได้กับพระนิพพาน
ปุน จปรํ มหาราช มหาสมุทโฺ ท อปรมิ ิตววิ ิธวิปลุ วีจิปุปผฺ สกํ สุ ุมโิ ต, เอวเมว โข
มหาราช นพิ พฺ านํ อปรมิ ติ ววิ ิธวิปุลปริสทุ ธฺ วชิ ฺชาวิมตุ ตฺ ิปปุ ผฺ สํกสุ ุมิตํ ฯ อยํ มหาราช
มหาสมทุ ทฺ สสฺ จตุตฺโถ คุโณ นพิ พฺ าน ํ อนปุ วฏิ โฺ ฯ อเิ ม โข มหาราช มหาสมทุ ทฺ สฺส
จตตฺ าโร คณุ า นพิ พฺ านํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี อยา่ งหน่ึง เปรยี บเหมอื น มหาสมทุ รมีดอกไมแ้ ย้มบาน คือ
คลื่นลูกใหญ่ ๆ หลากหลายประมาณมไิ ด้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานก็มดี อกไม้แยม้
บาน คือ วชิ ชาและวมิ ุตตอิ นั บรสิ ุทธิไ์ พบูลย์ หลากหลายประมาณมิได้ ฉนั นนั้ เหมือนกัน ขอ
ถวายพระพร นี้ คอื คณุ อย่างท่ี ๔ ของมหาสมทุ ร ซ่งึ เทยี บกันได้กับพระนิพพาน ขอถวาย
พระพร คุณ ๔ อยา่ งของมหาสมทุ รเหล่านแ้ี ล ซง่ึ เทียบกันไดก้ ับพระนิพพาน”
264 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘โภชนสฺส ป ฺจ คณุ า นิพพฺ าน ํ อนปุ วฏิ ฺ า’ต ิ ยํ วเทสิ, กตเม
โภชนสสฺ ป จฺ คุณา นพิ ฺพานํ อนปุ วฏิ ฺ า’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘คุณ ๕ อยา่ งของโภชนะ
เทยี บกนั ได้กับพระนิพพาน’ ดงั นี้ ถามว่า คณุ ๕ อย่างของโภชนะ คอื อะไรบา้ ง ? ซงึ่ เทยี บกัน
ได้กบั พระนพิ พาน”
‘‘ยถา มหาราช โภชน ํ สพฺพสตตฺ านํ อายุธารณํ, เอวเมว โข มหาราช นิพฺพานํ
สจฺฉิกตํ ชรามรณนาสนโต อายธุ ารณํ ฯ อยํ มหาราช โภชนสสฺ ป โม คโุ ณ นิพฺพานํ
อนปุ วฏิ ฺโ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า โภชนะเป็นสิ่งที่ทรง
อายุของสัตวท์ ั้งปวงไว้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระนพิ พานทบี่ คุ คลได้กระท�ำให้แจ้งแล้ว ก็
เป็นส่งิ ทรงอยู่ โดยการท�ำชราและมรณะใหพ้ นิ าศไป ฉนั นัน้ เหมือนกนั ขอถวายพระพร นี้คอื
คณุ อย่างท่ี ๑ ของโภชนะ ซงึ่ เทยี บกนั ได้กบั พระนพิ พาน
ปุน จปร ํ มหาราช โภชนํ สพพฺ สตตฺ านํ พลวฑฒฺ น,ํ เอวเมว โข มหาราช นพิ ฺพาน ํ
สจฉฺ ิกต ํ สพพฺ สตฺตาน ํ อิทธฺ ิพลวฑฺฒนํ ฯ อย ํ มหาราช โภชนสฺส ทุติโย คุโณ นพิ พฺ าน ํ
อนปุ วิฏโฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี อย่างหน่งึ เปรียบเหมือนวา่ โภชนะ เปน็ สงิ่ ท่ีเจรญิ ก�ำลงั แก่
สตั ว์ทง้ั ปวง ฉันใด ขอถวายพระพร พระนิพพานที่บุคคลไดก้ ระท�ำใหแ้ จง้ แล้ว กเ็ ปน็ ส่งิ เจริญ
ก�ำลัง คอื ฤทธ์แิ กส่ ตั ว์ท้ังปวง ฉนั นน้ั เหมือนกัน ขอถวายพระพร น้คี อื คุณอยา่ งท่ี ๒ ของ
โภชนะ ซงึ่ เทยี บกันได้กบั พระนพิ พาน
ปนุ จปรํ มหาราช โภชน ํ สพฺพสตฺตาน ํ วณณฺ ชนน,ํ เอวเมว โข มหาราช นพิ พฺ าน ํ
สจฉฺ กิ ต ํ สพพฺ สตฺตานํ คุณวณฺณชนนํ ฯ อยํ มหาราช โภชนสฺส ตตโิ ย คุโณ นิพฺพาน ํ
อนปุ วฏิ ฺโ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกอยา่ งหน่งึ เปรยี บเหมือนวา่ โภชนะเปน็ สิ่งใหเ้ กดิ วรรณะ
ฉันใด ขอถวายพระพร พระนิพพานท่ีบคุ คลได้กระท�ำให้แจ้งแลว้ กเ็ ปน็ ส่ิงใหเ้ กิดวรรณะ คอื
คณุ ธรรม ฉนั น้นั เหมอื นกนั ขอถวายพระพร น้คี ือคณุ อย่างท่ี ๓ ของโภชนะ ซึ่งเทียบกนั ได้กบั
พระนิพพาน
กัณฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 265
ปนุ จปร ํ มหาราช โภชน ํ สพฺพสตฺตานํ ทรถวปู สมนํ, เอวเมว โข มหาราช
นิพพฺ านํ สจฉฺ ิกตํ สพฺพสตตฺ าน ํ สพพฺ กิเลสทรถวูปสมนํ ฯ อย ํ มหาราช โภชนสสฺ จตุตฺโถ
คโุ ณ นพิ พฺ านํ อนุปวฏิ โฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี อย่างหนึง่ เปรียบเหมือนว่า โภชนะเปน็ เครอ่ื งสงบความ
กระวนกระวายของสตั ว์ทั้งปวงได้ ฉันใด พระนิพพานท่ีบุคคลได้กระท�ำให้แจง้ แล้ว ก็เป็น
เครอ่ื งสงบความกระวนกระวาย คือ กิเลสทง้ั ปวงของสัตว์ทั้งปวงได้ ฉนั น้นั เหมอื นกัน ขอ
ถวายพระพร น้คี ือ คอื คุณอย่างท่ี ๔ ของโภชนะซง่ึ เทยี บกันได้กบั พระนพิ พาน
ปนุ จปรํ มหาราช โภชน ํ สพพฺ สตฺตานํ ชิฆจฺฉาทุพฺพลฺยปฏิวิโนทน,ํ เอวเมว โข
มหาราช นิพฺพาน ํ สจฉฺ กิ ตํ สพฺพสตฺตานํ สพฺพทกุ ฺขชฆิ จฉฺ าทุพฺพลยฺ ปฏิวิโนทนํ ฯ อยํ
มหาราช โภชนสสฺ ป จฺ โม คุโณ นิพพฺ าน ํ อนปุ วฏิ โฺ ฯ อเิ ม โข มหาราช โภชนสฺส ป จฺ
คณุ า นิพฺพานํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี อยา่ งหน่งึ เปรียบเหมอื นวา่ โภชนะ เปน็ เคร่ืองบรรเทาความ
หวิ ความอ่อนเพลยี ของสตั วท์ ง้ั ปวงได้ ฉันใด พระนิพพานที่บคุ คลได้กระท�ำให้แจง้ แลว้ กเ็ ปน็
เครอ่ื งบรรเทาความหวิ ความออ่ นเพลยี คอื ทกุ ข์ท้ังปวงของสัตว์ทง้ั ปวงได้ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั
ขอถวายพระพร นี้คือคณุ อย่างท่ี ๕ ของโภชนะ ซ่ึงเทยี บกนั ไดก้ บั พระนพิ พาน ขอถวาย
พระพร คณุ ๕ อย่างของโภชนะเหล่านแี้ ล ซึง่ เทยี บกนั ไดก้ ับพระนพิ พาน”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘อากาสสฺส ทส คณุ า นิพพฺ าน ํ อนปุ วิฏฺ า’ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตเม
อากาสสสฺ ทส คุณา นพิ ฺพาน ํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘คุณ ๑๐ อยา่ งของอากาศ
เทียบกันไดก้ บั พระนิพพาน’ ดงั นี้ ขอถาม คุณ ๑๐ อยา่ ง ของอากาศ คือ อะไรบ้าง ? ซง่ึ เทยี บ
กันไดก้ บั พระนิพพาน”
‘‘ยถา มหาราช อากาโส น ชายต,ิ น ชียติ, น มยี ติ, น จวต,ิ น อุปปฺ ชฺชติ,
ทปุ ปฺ สโห, อโจราหรโณ, อนิสฺสโิ ต, วหิ คคมโน, นิราวรโณ, อนนฺโต ฯ เอวเมว โข มหาราช
นิพฺพาน ํ น ชายต,ิ น ชยี ติ, น มยี ต,ิ น จวติ, น อุปฺปชฺชติ, ทุปฺปสห,ํ อโจราหรณํ,
อนสิ สฺ ติ ํ, อริยคมนํ, นริ าวรณํ, อนนฺตํ ฯ อเิ ม โข มหาราช อากาสสสฺ ทส คณุ า นิพพฺ าน ํ
อนุปวิฏฺ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า อากาศไม่เกดิ , ไม่แก,่
266 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
ไมต่ าย, ไมเ่ คลื่อน, ไม่อบุ ัติ, ขม่ ข่ีไดย้ าก, โจรปลน้ เอาไปไม่ได้, ไม่ตอ้ งองิ อาศัยสงิ่ อ่ืน, เปน็ ท่ี
ด�ำเนนิ ไปแหง่ วหิ ค, ไม่มีส่งิ ขวางกัน้ , หาท่สี ดุ มิได้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระนิพพาน กไ็ ม่
เกิด ไม่แก่, ไม่ตาย, ไมเ่ คลอื่ น, ไม่อุบัติ, ขม่ ขี่ไดย้ าก, โจรปลน้ เอาไปไม่ได,้ ไมต่ ้องอิงอาศัยสง่ิ
อนื่ , เป็นที่ด�ำเนินไปแหง่ พระอริยเจ้า, ไมม่ สี ง่ิ ขวางกัน้ , หาท่สี ุดมไิ ด้ ฉนั น้นั เหมือนกนั ขอถวาย
พระพร คณุ ๑๐ อย่าง ของอากาศเหลา่ นีแ้ ล ซึ่งเทยี บกนั ได้กับพระนิพพาน”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘มณริ ตนสสฺ ตโย คุณา นพิ พฺ าน ํ อนปุ วฏิ ฺ า’ติ ยํ วเทส,ิ กตเม
มณิรตนสสฺ ตโย คุณา นิพพฺ านํ อนปุ วฏิ ฺ า’’ติ ?
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “ท่านกล่าวว่า ‘คุณ ๓ อย่าง ของแกว้ มณี เทยี บกนั ได้กับพระ
นพิ พาน’ ดงั น้ี ขอถามวา่ คุณ ๓ อย่าง ของแก้วมณี คืออะไรบา้ ง ? ซง่ึ เทียบกนั ไดก้ ับพระ
นพิ พาน”
‘‘ยถา มหาราช มณิรตนํ กามททํ, เอวเมว โข มหาราช นิพพฺ านํ กามททํ ฯ อยํ
มหาราช มณิรตนสสฺ ป โม คโุ ณ นิพพฺ านํ อนปุ วฏิ ฺโ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า แกว้ มณีมอบแตค่ วาม
นา่ พงึ พอใจ ฉันใด ขอถวายพระพร พระนิพพานก็มอบแตค่ วามน่าพึงพอใจ ฉนั นน้ั เหมอื นกนั
ขอถวายพระพร นีค้ ือคุณของแก้วมณอี ย่างที่ ๑ ซึ่งเทยี บกนั ได้กับพระนิพพาน”
ปุน จปรํ มหาราช มณิรตน ํ หาสกรํ, เอวเมว โข มหาราช นพิ ฺพาน ํ หาสกรํ ฯ
อย ํ มหาราช มณริ ตนสสฺ ทตุ ิโย คโุ ณ นพิ พฺ าน ํ อนปุ วิฏโฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกอย่างหนึง่ เปรยี บเหมอื นว่า แกว้ มณสี ร้างแต่ความบันเทงิ ใจ
ฉันใด พระนิพพานก็สรา้ งแตค่ วามบนั เทงิ ใจ ฉันนัน้ เหมือนกนั ขอถวายพระพร น้ีคือคุณของ
แก้วมณีอยา่ งท่ี ๒ ซงึ่ เทยี บกันได้กบั พระนิพพาน”
ปุน จปรํ มหาราช มณริ ตนํ อชุ โฺ ชตตตฺ กร,ํ เอวเมว โข มหาราช นพิ ฺพาน ํ
อุชฺโชตตฺตกรํ ฯ อย ํ มหาราช มณริ ตนสสฺ ตติโย คุโณ นิพพฺ าน ํ อนุปวิฏฺโ ฯ อเิ ม โข
มหาราช มณริ ตนสสฺ ตโย คุณา นิพฺพานํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี อยา่ งหนง่ึ เปรียบเหมือนวา่ แกว้ มณสี ร้างแต่แสงโชตชิ ่วง
ฉนั ใด พระนิพพานก็สรา้ งแต่แสงโชตชิ ว่ ง ฉันนนั้ เหมือนกัน ขอถวายพระพร น้คี อื คณุ อย่างที่
๓ ของแก้วมณี ซ่ึงเทยี บกนั ได้กับพระนิพพาน ขอถวายพระพร คุณ ๓ อย่างของแกว้ มณีเหลา่
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 267
นี้แล ซงึ่ เทียบกนั ไดก้ บั พระนพิ พาน”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘โลหิตจนทฺ นสสฺ ตโย คณุ า นิพพฺ านํ อนปุ วฏิ ฺ า’ต ิ ย ํ วเทสิ,
กตเม โลหิตจนทฺ นสฺส ตโย คุณา นิพฺพานํ อนุปวิฏ ฺ า’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘คุณ ๓ อยา่ ง ของจนั ทนแ์ ดง
เทียบกนั ได้กบั พระนพิ พาน’ ดงั น้ี ขอถามว่า คณุ ๓ อย่างของจันทนแ์ ดง คืออะไรบ้าง ? ซึ่ง
เทียบกนั ได้กบั พระนิพพาน”
‘‘ยถา มหาราช โลหิตจนฺทนํ ทลุ ลฺ ภํ, เอวเมว โข มหาราช นิพพฺ าน ํ ทุลลฺ ภํ ฯ
อย ํ มหาราช โลหิตจนฺทนสฺส ป โม คโุ ณ นิพฺพาน ํ อนปุ วฏิ ฺโ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า จนั ทนแ์ ดงเป็นสงิ่ ท่ี
หาได้ยาก ฉันใด ขอถวายพระพร พระนพิ พานกเ็ ป็นสิ่งทห่ี าไดย้ าก ฉันนน้ั เหมอื นกัน ขอถวาย
พระพร นีค้ อื คณุ อย่างท่ี ๑ ของจนั ทน์แดง ซง่ึ เทียบกนั ได้กบั พระนพิ พาน”
ปนุ จปรํ มหาราช โลหิตจนทฺ น ํ อสมสคุ นฺธํ, เอวเมว โข มหาราช นิพพฺ าน ํ
อสมสุคนธฺ ํ ฯ อย ํ มหาราช โลหิตจนทฺ นสสฺ ทุติโย คโุ ณ นพิ ฺพานํ อนปุ วฏิ โฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี อยา่ งหน่ึง เปรียบเหมือนวา่ จันทน์แดงมกี ลิน่ หอม หากลิ่น
เสมอเหมอื นมไิ ด้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานก็มกี ลน่ิ หอม หากลิน่ อนื่ เสมอเหมือน
มไิ ด้ ฉนั นัน้ เหมือนกนั ขอถวายพระพร นีค้ อื คณุ อย่างท่ี ๒ ของจันทนแ์ ดง ซงึ่ เทยี บกนั ได้กับ
พระนพิ พาน
ปนุ จปรํ มหาราช โลหิตจนทฺ น ํ สชชฺ นปสตถฺ ํ, เอวเมว โข มหาราช นพิ ฺพานํ อรยิ -
สชฺชนปสตฺถํ ฯ อยํ มหาราช โลหิตจนฺทนสฺส ตติโย คุโณ นิพพฺ านํ อนปุ วิฏฺโ ฯ อิเม โข
มหาราช โลหติ จนทฺ นสฺส ตโย คณุ า นพิ ฺพานํ อนปุ วฏิ ฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกอย่างหนึง่ เปรียบเหมือนว่า จนั ทน์แดงเป็นสิ่งทชี่ นท้ังปวง
สรรเสรญิ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนพิ พานก็เป็นสิง่ ทีพ่ ระอรยิ เจา้ สรรเสริญ ฉันน้นั เหมอื น
กนั ขอถวายพระพร นคี้ อื คุณอยา่ งที่ ๓ ของจันทนแ์ ดง ซึง่ เทียบกันได้กบั พระนพิ พาน ขอ
ถวายพระพร คณุ ๓ อย่าง ของจันทน์แดงเหล่านี้ ซึ่งเทยี บกนั ได้กับพระนพิ พาน”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘สปปฺ ิมณฑฺ สสฺ ตโย คุณา นพิ ฺพาน ํ อนุปวฏิ ฺ า’ติ ยํ วเทส,ิ
กตเม สปปฺ มิ ณฺฑสสฺ ตโย คุณา นิพพฺ านํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ?
268 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกล่าววา่ ‘คณุ ๓ อยา่ งของหวั เนยใส
เทียบกันได้กับพระนิพพาน’ ดงั น้ี ขอถามว่า คณุ ๓ อย่าง ของหัวเนยใส คืออะไรบา้ ง ? ซง่ึ
เทยี บกนั ได้กบั พระนพิ พาน”
‘‘ยถา มหาราช สปปฺ มิ ณโฺ ฑ วณณฺ สมปฺ นฺโน, เอวเมว โข มหาราช นิพฺพานํ
คุณวณณฺ สมปฺ นนฺ ํ ฯ อยํ มหาราช สปปฺ ิมณฺฑสสฺ ป โม คโุ ณ นิพฺพานํ อนปุ วฏิ ฺโ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ หวั เนยใส เปน็
ธรรมชาติที่ถึงพรอ้ มดว้ ยสสี ัน ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานก็เปน็ สง่ิ ทถ่ี ึงพรอ้ มด้วย
สสี นั คอื คุณ ฉนั นั้นเหมือนกนั ขอถวายพระพร น้คี ือคณุ อยา่ งที่ ๑ ของหวั เนยใส ซึ่งเทียบกนั
ไดก้ บั พระนิพพาน
ปุน จปร ํ มหาราช สปปฺ มิ ณโฺ ฑ คนฺธสมฺปนโฺ น, เอวเมว โข มหาราช นพิ พฺ าน ํ
สลี คนฺธสมปฺ นฺนํ ฯ อย ํ มหาราช สปฺปมิ ณฺฑสฺส ทุตโิ ย คุโณ นิพฺพานํ อนุปวิฏฺโ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกอย่างหนึ่ง เปรยี บเหมือนว่า หัวเนยใส เปน็ ธรรมชาติท่ีถงึ
พร้อมดว้ ยกลิ่น ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกเ็ ปน็ สิง่ ที่ถึงพรอ้ มดว้ ยกลิ่นคือศลี ฉัน
น้ันเหมอื นกัน ขอถวายพระพร นค้ี ือคณุ อยา่ งที่ ๒ ของหวั เนยใส ซง่ึ เทียบกนั ได้กบั พระ
นพิ พาน
ปุน จปรํ มหาราช สปปฺ มิ ณโฺ ฑ รสสมฺปนฺโน, เอวเมว โข มหาราช นิพพฺ าน ํ
รสสมฺปนนฺ ํ ฯ อย ํ มหาราช สปฺปมิ ณฑฺ สฺส ตติโย คุโณ นิพฺพาน ํ อนุปวิฏโฺ ฯ อิเม โข
มหาราช สปฺปมิ ณฺฑสฺส ตโย คุณา นิพพฺ าน ํ อนุปวฏิ ฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี อย่างหน่ึง เปรียบเหมอื นวา่ หัวเนยใส เปน็ ธรรมชาตทิ ีถ่ ึง
พรอ้ มด้วยรส ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกเ็ ปน็ ส่ิงทถี่ งึ พรอ้ มด้วยรส (คือวิมุตต)ิ ฉัน
นัน้ เหมอื นกนั ขอถวายพระพร น้คี ือคุณอย่างที่ ๓ ของหัวเนยใส ซึง่ เทียบกนั ไดก้ บั พระ
นพิ พาน ขอถวายพระพร คณุ ๓ อยา่ งของหัวเนยใสเหลา่ น้ีแล ซงึ่ เทยี บกนั ได้กับพระนิพพาน”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘คิริสิขรสฺส ป จฺ คุณา นิพพฺ านํ อนุปวิฏฺ า’ต ิ ยํ วเทส,ิ กตเม
คริ ิสิขรสสฺ ป จฺ คุณา นิพฺพาน ํ อนปุ วฏิ ฺ า’’ติ ?
พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกล่าววา่ ‘คุณ ๕ อย่างของยอดภูเขา
เทยี บกันได้กับพระนิพพาน’ ดังน้ี ขอถามวา่ คณุ ๕ อยา่ งของยอดภูเขา คือ อะไรบา้ ง ? ซึง่
เทยี บกนั ไดก้ บั พระนพิ พาน”
กณั ฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 269
‘‘ยถา มหาราช คิริสิขรํ อจจฺ ุคฺคต,ํ เอวเมว โข มหาราช นพิ ฺพานํ อจฺจุคตํ ฯ
อยํ มหาราช คิรสิ ิขรสฺส ป โม คโุ ณ นิพฺพาน ํ อนุปวิฏโฺ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า ยอดภูเขา เปน็ สว่ นท่ี
สูงยิ่ง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกเ็ ปน็ ส่วนทส่ี ูงยิ่ง ฉันน้นั เหมือนกัน ขอถวายพระพร
นค้ี ือคณุ อยา่ งที่ ๑ ของยอดภูเขา ซงึ่ เทยี บกันได้กับพระนิพพาน
ปนุ จปร ํ มหาราช คริ ิสิขรํ อจล,ํ เอวเมว โข มหาราช นิพฺพาน ํ อจลํ ฯ
อยํ มหาราช คริ สิ ิขรสสฺ ทตุ ิโย คโุ ณ นพิ ฺพาน ํ อนุปวิฏโฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี อยา่ งหนง่ึ เปรียบเหมอื นวา่ ยอดภเู ขา เปน็ ส่งิ ทีห่ าความส่ัน
ไหวมิได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนพิ พานก็เป็นสง่ิ ท่ีหาความสัน่ ไหวมิได้ ฉนั น้นั เหมอื นกัน
ขอถวายพระพร น้คี อื คณุ อย่างที่ ๒ ของยอดภูเขา ซ่งึ เทียบกนั ได้กับพระนพิ พาน
ปนุ จปรํ มหาราช คริ สิ ขิ ร ํ ทุรธิโรหํ, เอวเมว โข มหาราช นิพพฺ านํ ทรุ ธโิ รห ํ
สพพฺ กเิ ลสานํ ฯ อยํ มหาราช คริ ิสขิ รสสฺ ตติโย คุโณ นิพฺพานํ อนปุ วฏิ ฺโ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกอย่างหนงึ่ เปรยี บเหมือนวา่ ยอดภูเขา เปน็ สงิ่ ทใ่ี คร ๆ ปนี ขึ้น
ไปได้ยาก ฉันใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกเ็ ป็นส่งิ ทีก่ ิเลสทงั้ ปวงยา่ งขน้ึ ไดย้ าก ฉนั นัน้
เหมือนกัน ขอถวายพระพร น้คี ือคุณอยา่ งท่ี ๓ ของยอดภูเขา ซ่งึ เทยี บกันไดก้ บั พระนิพพาน
ปนุ จปร ํ มหาราช คริ ิสิขร ํ สพฺพพีชาน ํ อวิรูหนํ, เอวเมว โข มหาราช นพิ พฺ าน ํ
สพพฺ กิเลสาน ํ อวิรูหนํ ฯ อย ํ มหาราช คิรสิ ขิ รสฺส จตุตโฺ ถ คโุ ณ นพิ พฺ าน ํ อนุปวฏิ โฺ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกอยา่ งหน่ึง เปรียบเหมือนว่า ยอดภเู ขาไมเ่ ป็นที่งอกงามแห่ง
พชื ท้ังปวง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนพิ พานก็ไม่เป็นทีง่ อกงามแห่งกเิ ลสทงั้ ปวง ฉนั นั้น
เหมอื นกัน ขอถวายพระพร นี้คือคุณอยา่ งท่ี ๔ ของยอดภูเขา ซึง่ เทียบกันไดก้ ับพระนพิ พาน
ปนุ จปรํ มหาราช คิริสขิ ร ํ อนุนยปฺปฏฆิ วิปปฺ มตุ ตฺ ํ, เอวเมว โข มหาราช นิพฺพานํ
อนนุ ยปปฺ ฏิฆวปิ ปฺ มตุ ตฺ ํ ฯ อยํ มหาราช คริ สิ ขิ รสฺส ป ฺจโม คโุ ณ นิพพฺ าน ํ อนปุ วฏิ โฺ ฯ
อิเม โข มหาราช คริ สิ ขิ รสสฺ ป จฺ คณุ า นพิ พฺ าน ํ อนุปวิฏฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี อยา่ งหนึ่ง เปรยี บเหมอื นวา่ ยอดภเู ขาพน้ แล้วจากความยินดี
และความยนิ รา้ ย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานกพ็ น้ แลว้ จากความยนิ ดีและความ
ยินร้าย ฉนั นน้ั เหมือนกนั ขอถวายพระพร นีค้ อื คณุ อยา่ งที่ ๕ ของยอดภูเขา ซึ่งเทยี บกันไดก้ บั
พระนพิ พาน ขอถวายพระพร คณุ ๕ อยา่ งของยอดภูเขาเหลา่ น้แี ล ซงึ่ เทยี บกันไดก้ ับพระ
270 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
นิพพาน”
‘‘สาธุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “ดจี ริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามทที่ า่ นกลา่ วมา
นี้”
นิพฺพานรูปสณฺ€านปญฺโห ทสโม ฯ
จบนพิ พานรูปสณั ฐานปัญหาขอ้ ที่ ๑๐
________
๑๑. นิพพฺ านสจฉฺ กิ รณปญฺห
๑๑. นิพพานสจั ฉกิ รณปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการท�ำพระนิพพานให้แจง้
[๑๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตุมฺเห ภณถ ‘นพิ พฺ าน ํ น อตีตํ, น อนาคต,ํ น ปจจฺ ปุ ฺปนฺน,ํ
น อปุ ฺปนนฺ ํ น อนปุ ปฺ นนฺ ํ น อปุ ฺปาทนยี น’ฺ ติ ฯ อิธ ภนฺเต นาคเสน โย โกจ ิ
สมฺมาปฏปิ นฺโน นิพฺพาน ํ สจฉฺ กิ โรติ, โส อุปฺปนนฺ ํ สจฉฺ ิกโรติ อทุ าหุ อุปฺปาเทตวฺ า
สจฺฉกิ โรต’ี ’ติ ?
[๑๑] พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พวกทา่ นกล่าวกันวา่ ‘พระนพิ พาน
ไม่เป็นอดีต ไมเ่ ป็นอนาคต ไมเ่ ปน็ ปจั จุบัน ไม่ใชส่ ิ่งทเ่ี กิดข้นึ แล้ว ไมใ่ ชส่ ิ่งที่ยงั ไม่เกดิ ขนึ้ ไมใ่ ช่
สิ่งทีอ่ าจท�ำให้เกิดขึ้นได’้ ดังนี้ พระคุณเจ้าทง้ั หลาย บุคคลใดบุคคลหนึง่ ในโลกนปี้ ฏบิ ตั ชิ อบ ก็
ยอ่ มท�ำพระนพิ พานใหแ้ จ้งได้ บุคคลนัน้ กระท�ำพระนพิ พานท่เี กิดขน้ึ แล้วใหแ้ จ้งหรอื ไร หรอื
วา่ กระท�ำพระนพิ พานใหเ้ กิดข้นึ แล้ว จงึ กระท�ำใหแ้ จ้งเล่า ?”
‘‘โย โกจ ิ มหาราช สมฺมาปฏปิ นโฺ น นิพฺพาน ํ สจฺฉกิ โรต,ิ โส น อุปปฺ นฺน ํ
สจฉฺ ิกโรต,ิ น อปุ ฺปาเทตวฺ า สจฉฺ กิ โรติ, อปิจ มหาราช อตฺเถสา นิพฺพานธาตุ, ย ํ โส
สมมฺ าปฏปิ นฺโน สจฉฺ กิ โรต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร บคุ คลใดบุคคลหนง่ึ ปฏิบัติ
ชอบ กย็ อ่ มกระท�ำพระนพิ พานให้แจง้ ได้ บุคคลน้นั หาไดก้ ระท�ำพระนิพพานท่เี กดิ ขน้ึ แลว้ ให้
แจง้ ไม่ หาไดก้ ระท�ำพระนพิ พานให้เกิด แลว้ จงึ กระท�ำให้แจง้ ไม่ ?”
กัณฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 271
‘‘มา ภนฺเต นาคเสน อิมํ ป ฺห ํ ปฏจิ ฉฺ นนฺ ํ กตวฺ า ทเี ปหิ ววิ ฏ ํ ปากฏํ กตฺวา ทเี ปหิ
ฉนทฺ ชาโต อุสสฺ าหชาโต, ยํ เต สิกฺขติ ,ํ ต ํ สพฺพ ํ เอตเฺ ถวากิราหิ เอตฺถายํ ชโน สมฺมูฬโฺ ห
วิมติชาโต สํสยปกขฺ นโฺ ท, ภนิ เฺ ทต ํ อนโฺ ตโทสสลฺล’’นฺติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน โปรดอย่าแสดงปญั หานีอ้ ย่างปดิ ๆ บัง ๆ
เลย โปรดเกดิ ฉนั ทะ เกดิ อุตสาหะ แสดงอยา่ งเปิดเผย อยา่ งปรากฏเถิด ขอจงเปิดเผยพระ
นิพพานทีท่ า่ นได้ศกึ ษามาให้หมดเถดิ ในเรือ่ งพระนิพพานนี้ ยังมคี นลุ่มหลงเกดิ ความ
คลางแคลงใจ เข้าสู่ความสงสัยกนั อยู่ ขอทา่ นจงหักลูกศรทเ่ี สยี บอยภู่ ายในใจข้อน้ีเสยี เถดิ ”
‘‘อตฺเถสา มหาราช นิพฺพานธาตุ สนตฺ า สุขา ปณตี า, ต ํ สมฺมาปฏิปนโฺ น
ชินานสุ ิฏ ฺ ิยา สงฺขาเร สมมฺ สนฺโต ป ฺ าย สจฺฉิกโรติ ฯ ยถา มหาราช อนเฺ ตวาสิโก
อาจรยิ านุสิฏ ฺ ิยา วชิ ฺชํ ป ฺ าย สจฉฺ กิ โรต,ิ เอวเมว โข มหาราช สมฺมาปฏิปนฺโน
ชนิ านสุ ิฏ ฺ ยิ า ป ฺ าย นิพพฺ าน ํ สจฉฺ ิกโรติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร นพิ พานธาตซุ ง่ึ สงบ เป็นสุข ประณีตน้ี
มีอยู่, บุคคลผปู้ ฏบิ ตั ชิ อบ ผ้ไู ด้พิจารณาสงั ขารทง้ั หลายไปตามค�ำทีพ่ ระชินเจ้าทรงอนุศาสน์ไว้
ย่อมกระท�ำพระนิพพานน้นั ให้แจง้ ด้วยปัญญาได้ ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นลกู ศษิ ยผ์ ู้
ปฏบิ ตั ชิ อบตามค�ำทอ่ี าจารย์อนศุ าสน์ไว้ ยอ่ มกระท�ำวชิ ชาใหแ้ จง้ ดว้ ยปัญญาได้ ฉันใด บคุ คล
ผปู้ ฏิบัตชิ อบตามค�ำทพี่ ระชินเจา้ ทรงอนุศาสนไ์ ว้ กย็ ่อมกระท�ำพระนพิ พานให้แจ้งด้วยปัญญา
ได้ ฉันนน้ั เหมอื นกัน
‘‘กถํ ปน ตํ นพิ ฺพานํ ทฏฺ พพฺ นตฺ ิ ? อนีติโต นิรปุ ทฺทวโต อภยโต เขมโต สนตฺ โต
สขุ โต สาตโต ปณีตโต สจุ โิ ต สตี ลโต ทฏฺ พพฺ ํ ฯ
กบ็ ัณฑติ พงึ เห็นพระนพิ พานน้นั อยา่ งไร ? พงึ เห็นวา่ หาเสนียดมไิ ด้ วา่ หาอุปทั ทวะ
(อันตราย) มิได้ วา่ หาภยั มไิ ด้ วา่ เกษม ว่าสงบ วา่ เปน็ สขุ ว่านา่ ยินดี ว่าประณตี ว่าสะอาด ว่า
เยือกเย็น
‘‘ยถา มหาราช ปุรโิ ส พหุกฏ ฺ ป ุ ฺเชน ชลิตกฏฺ ิเตน อคคฺ นิ า ทยหฺ มาโน วายาเมน
ตโต ม ุ จฺ ิตวฺ า นิรคฺคิโกกาสํ ปวิสิตวฺ า ตตฺถ ปรมสขุ ํ ลเภยฺย, เอวเมว โข มหาราช โย
สมมฺ าปฏิปนโฺ น, โส โยนโิ ส มนสิกาเรน พยฺ ปคตตวิ ธิ คคฺ สิ นตฺ าปํ ปรมสขุ ํ นิพพฺ านํ
สจฉฺ กิ โรติ ฯ ยถา มหาราช อคคฺ ,ิ เอว ํ ติวิธคคฺ ิ ทฏฺ พฺโพ; ยถา อคฺคคิ โต ปรุ โิ ส, เอว ํ
สมมฺ าปฏปิ นโฺ น ทฏฺ พฺโพ; ยถา นิรคฺคิโกกาโส, เอว ํ นพิ พฺ านํ ทฏฺ พพฺ ํ ฯ
272 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า บุรุษคนหน่ึง ก�ำลังจะถูกไฟทล่ี ุกตดิ กองไม้แหง้
หลายกองเผาเอา ก็ใชค้ วามพยายามหนีพ้นจากกองไฟนน้ั ได้ เขา้ ไปอยูใ่ นโอกาสทีป่ ราศจาก
ไฟแล้ว ก็ได้รับความสขุ อย่างยง่ิ อยู่ ณ ท่ีนัน้ ฉันใด ขอถวายพระพร บคุ คลใดเปน็ ผปู้ ฏิบัติชอบ
บุคคลนั้น ก็ย่อมใช้โยนโิ สมนสกิ ารกระท�ำพระนิพพานอนั เปน็ ธรรมทีป่ ราศจากความรอ้ นแห่ง
กิเลสดจุ ไฟ ๓ กอง อนั เปน็ สุขอยา่ งย่ิง ให้แจ้งได้ ฉนั น้นั เหมอื นกัน ขอถวายพระพร บุคคลพงึ
เห็นกิเลสดุจไฟ ๓ กองว่า เปน็ ดุจกองไฟเถิด พงึ เหน็ บุคคลผู้ปฏบิ ัติชอบ วา่ เป็นดุจบรุ ุษผู้ตก
ไปในกองไฟ พงึ เหน็ พระนพิ พาน วา่ เปน็ ดุจโอกาสทปี่ ราศจากไฟ ฉะนัน้
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปุรโิ ส อหกิ ุกฺกุรมนสุ สฺ กุณปสรรี วฬ ชฺ โกฏฺ าสราสคิ โต
กณุ ปชฏาชฏิตนตฺ รมนปุ วฏิ โฺ วายาเมน ตโต ม ุ จฺ ติ ฺวา นกิ ฺกณุ โปกาสํ ปวสิ ิตวฺ า ตตฺถ
ปรมสุขํ ลเภยยฺ , เอวเมว โข มหาราช โย สมมฺ าปฏปิ นฺโน, โส โยนิโส มนสิกาเรน
พฺยปคตกิเลสกณุ ปํ ปรมสุข ํ นิพพฺ านํ สจฺฉิกโรติ ฯ ยถา มหาราช กุณปํ, เอว ํ ป ฺจ
กามคุณา ทฏ ฺ พพฺ า; ยถา กณุ ปคโต ปรุ โิ ส, เอว ํ สมฺมาปฏิปนโฺ น ทฏ ฺ พโฺ พ; ยถา
นกิ กฺ ุณโปกาโส, เอวํ นิพพฺ าน ํ ทฏ ฺ พฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนึ่ง เปรยี บเหมือนว่า บุรุษคนหนึ่งตกลงไปในกองซากงู
ซากไก่ ซากมนษุ ย์ กองโกฏฐาสะอันเปน็ ของเสยี จากรา่ งกายเขา้ ไปในระหว่างสถานที่มีแต่
ซากศพสุมอย่เู กลอ่ื น ก็ใชค้ วามพยายามหนีพน้ จากสถานท่ีนน้ั ไปได้ เขา้ ไปสโู่ อกาสท่ี
ปราศจากซากศพได้แลว้ ก็ไดร้ บั ความสุขอยา่ งยงิ่ อยู่ ณ สถานทีน่ น้ั ฉนั ใด ขอถวายพระพร
บคุ คลใดเป็นผู้ปฏิบัตชิ อบ บุคคลน้ัน กย็ อ่ มใช้โยนิโสมนสิการกระท�ำพระนิพพานอันเป็นธรรม
ทปี่ ราศจากซากศพคอื กิเลส เปน็ สุขอยา่ งยงิ่ ให้แจง้ ได้ ฉนั นั้นเหมือนกัน ขอถวายพระพร พึง
เห็นกามคณุ ๕ วา่ เปน็ ดุจซากศพ พึงเห็นบคุ คลผู้ปฏบิ ัตชิ อบว่าเปน็ บุรษุ ผตู้ กไปในกองซากศพ
พึงเห็นพระนิพพานว่าเปน็ ดุจโอกาสทป่ี ราศจากซากศพ ฉะน้ันเถดิ
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปรุ ิโส ภโี ต ตสิโต กมปฺ ิโต วปิ รตี วพิ ภฺ นตฺ จติ โฺ ต วายาเมน
ตโต มุ ฺจติ วฺ า ทฬหฺ ํ ถิรํ อจลํ อภยฏ ฺ านํ ปวิสติ ฺวา ตตฺถ ปรมสขุ ํ ลเภยฺย, เอวเมว โข
มหาราช โย สมฺมาปฏิปนโฺ น, โส โยนโิ สมนสกิ าเรน พฺยปคตภยสนฺตาสํ ปรมสขุ ํ นพิ พฺ านํ
สจฺฉิกโรติ ฯ ยถา มหาราช ภยํ, เอว ํ ชาติชราพยฺ าธิมรณ ํ ปฏจิ จฺ อปราปรํ ปวตตฺ ภย ํ
ทฏฺ พพฺ ํ; ยถา ภโี ต ปุริโส, เอวํ สมมฺ าปฏิปนฺโน ทฏฺ พโฺ พ; ยถา อภยฏฺ าน,ํ เอว ํ
นพิ พฺ าน ํ ทฏฺ พพฺ ํ ฯ
กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 273
ขอถวายพระพร อกี อย่างหน่งึ เปรียบเหมอื นวา่ บุรษุ คนหนึ่ง กลวั ภยั สะด้งุ หว่นั หวาด
มจี ติ วิปริตวุน่ วาย กใ็ ช้ความพยายามหนีพ้นจากสถานทีน่ ั้น เข้าไปสสู่ ถานทแ่ี ขง็ แรง ม่นั คง ไม่
หว่ันไหว ไมม่ ภี ัยได้แล้ว กไ็ ด้รับความสขุ อยา่ งย่งิ อยู่ ณ สถานที่นัน้ ฉันใด ขอถวายพระพร
บคุ คลใด เป็นผปู้ ฏิบัติชอบ บคุ คลน้นั ก็ยอ่ มใช้โยนิโสมนสกิ าร กระท�ำพระนพิ พานอันเปน็
ธรรมที่ปราศจากภยั ความสะดงุ้ กลวั เป็นสุขอยา่ งยงิ่ ให้แจง้ ได้ ฉันนน้ั เหมอื นกนั ขอถวาย
พระพร พงึ เหน็ ภยั ทีอ่ าศยั ชาติ ชรา พยาธิ มรณะ เปน็ ไปสบื ต่อกนั ไป ว่าเปน็ ดจุ ภยั พึงเห็น
บุคคลผู้ปฏบิ ัตชิ อบ ว่าเป็นดจุ บรุ ุษผ้กู ลัวภยั พงึ เห็นพระนพิ พาน ว่าเป็นดุจสถานทีไ่ ม่มีภยั
ฉะน้นั เถิด
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปรุ โิ ส กิลิฏ ฺ มลนิ กลลกททฺ มเทเส ปตโิ ต วายาเมน ต ํ
กลลกทฺทมํ อปวาเหตวฺ า ปริสุทฺธวิมลเทสมปุ คนตฺ ฺวา ตตถฺ ปรมสขุ ํ ลเภยฺย, เอวเมว โข
มหาราช โย สมมฺ าปฏิปนโฺ น, โส โยนโิ ส มนสิกาเรน พฺยปคตกเิ ลสมลกททฺ ม ํ ปรมสขุ ํ
นพิ พฺ าน ํ สจฺฉกิ โรติ ฯ ยถา มหาราช กลล,ํ เอวํ ลาภสกกฺ ารสโิ ลโก ทฏ ฺ พโฺ พ; ยถา
กลลคโต ปรุ ิโส, เอวํ สมมฺ าปฏิปนฺโน ทฏฺ พฺโพ; ยถา ปรสิ ุทธฺ วิมลเทโส, เอว ํ นพิ พฺ านํ
ทฏฺ พพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนง่ึ เปรียบเหมือนว่า บรุ ุษคนหนง่ึ ตกไปในทที่ ีเ่ ปน็ แอ่ง
โคลน ตม เลอะเทอะ สกปรก ใชค้ วามพยายามละสถานท่ที ีม่ ีแต่เปลอื กตมนนั้ เสีย เข้าไปยัง
สถานที่ท่ีสะอาด ปราศจากมลทนิ ได้แลว้ ก็ได้รบั ความสุขอยา่ งยงิ่ อยู่ ณ สถานทน่ี นั้ ฉันใด ขอ
ถวายพระพร บุคคลใดเปน็ ผูป้ ฏิบัตชิ อบ บคุ คลนนั้ ก็ยอ่ มใช้โยนโิ สมนสกิ าร กระท�ำพระ
นพิ พานอันเป็นธรรมท่ปี ราศจากเปือกตมคอื กเิ ลสให้แจง้ ได้ ฉันนน้ั เหมือนกนั ขอถวายพระพร
พึงเห็นลาภสักการะและชอื่ เสียง วา่ เป็นดุจเปอื กตม พึงเหน็ พระนพิ พาน วา่ เป็นดุจสถานทท่ี ี่
สะอาดปราศจากมลทนิ ฉะน้ันเถดิ
‘‘ต ฺจ ปน นิพพฺ าน ํ สมมฺ าปฏิปนฺโน กินฺต ิ สจฉฺ กิ โรติ ? โย โส มหาราช
สมฺมาปฏปิ นฺโน, โส สงขฺ ารานํ ปวตฺต ํ สมมฺ สติ ฯ ปวตตฺ ํ สมมฺ สมาโน ตตถฺ ชาตึ ปสฺสติ
ชร ํ ปสฺสติ พฺยาธ ึ ปสสฺ ต ิ มรณํ ปสสฺ ต,ิ น ตตถฺ ก ิ จฺ ิ สุข ํ สาต ํ ปสฺสต ิ อาทโิ ตป ิ
มชฺฌโตปิ ปรโิ ยสานโตปิ ฯ โส ตตฺถ กิ ฺจิ น คยฺหปู ค ํ ปสสฺ ติ ฯ
กแ็ ตว่ ่า บคุ คลผู้ปฏิบัติชอบ ย่อมกระท�ำพระนพิ พานนั้นให้แจง้ วา่ กระไรเลา่ ? ขอถวาย
พระพร บุคคลผปู้ ฏิบัติชอบ ย่อมพจิ ารณาสังขารเปน็ ไปอยู่ เมือ่ พิจารณาสงั ขารเป็นไปอยู่ ก็
274 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห
ยอ่ มเหน็ ชาติ เห็นชรา เห็นพยาธิ เหน็ มรณะในสงั ขารนั้น ยอ่ มไม่เห็นความสขุ ความส�ำราญ
อะไร ๆ ในสงั ขารนนั้ ไมว่ ่าเบ้อื งต้น ไม่ว่าท่ามกลาง ไมว่ ่าทส่ี ุด บคุ คลผปู้ ฏบิ ัตชิ อบนั้น ยอ่ ม
มองไมเ่ ห็นอะไร ๆ ทค่ี วรเขา้ ไปถอื เอาในสงั ขารนั้น
ยถา มหาราช ปรุ ิโส ทวิ สสนฺตตฺเต อโยคุเฬ ชลเิ ต ตตฺเต ก เิ ต อาทิโตปิ
มชฌฺ โตปิ ปรโิ ยสานโตปิ น ก ิ ฺจ ิ คยฺหปู ค ํ ปเทสํ ปสสฺ ต,ิ เอวเมว โข มหาราช โย
สงขฺ ารานํ ปวตตฺ ํ สมฺมสติ, โส ปวตตฺ ํ สมมฺ สมาโน ตตฺถ ชาต ึ ปสฺสต ิ ชรํ ปสฺสต ิ พยฺ าธ ึ
ปสฺสต ิ มรณ ํ ปสฺสติ, น ตตฺถ ก ิ จฺ ิ สุขํ สาตํ ปสสฺ ติ อาทโิ ตป ิ มชฺฌโตป ิ ปรโิ ยสานโตปิ
ฯ โส ตตฺถ น กิ จฺ ิ คยฺหูปค ํ ปสสฺ ต,ิ ตสสฺ คยหฺ ูปค ํ อปสสฺ นตฺ สฺส จิตฺเต อรติ สณ ฺ าต,ิ
กายสฺม ึ ฑาโห โอกฺกมติ, โส อตาโณ อสรโณ อสรณีภโู ต ภเวสุ นพิ ฺพินฺทติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ เมอ่ื กอ้ นเหลก็ ถกู ไฟเผาตลอดท้ังวัน จนร้อนจัด ลกุ
โพลง บุรษุ คนหนง่ึ ยอ่ มมองไม่เหน็ สว่ นทีน่ ่าเข้าไปจับถือเลยสกั สว่ นหนึ่ง ไม่วา่ ต้น ไมว่ ่ากลาง
ไมว่ า่ ปลาย ฉันใด ขอถวายพระพร บุคคลใด พจิ ารณาสงั ขารทีเ่ ปน็ ไปอยู่ บคุ คลนนั้ เมอื่
พิจารณาสงั ขารที่เป็นไปอยู่ กย็ อ่ มเห็นชาติ เหน็ ชรา เหน็ พยาธิ เห็นมรณะในสังขารนน้ั ย่อม
ไม่เห็นความสขุ ความส�ำราญอะไร ๆ ในสงั ขารนน้ั ไม่ว่าเบ้ืองตน้ ไมว่ า่ ท่ามกลาง ไมว่ า่ ท่ีสุด
ฉนั น้นั เหมอื นกนั บุคคลผ้ปู ฏบิ ัตชิ อบน้นั ยอ่ มมองไม่เห็นอะไร ๆ ทค่ี วรเข้าไปถือเอาในสังขาร
นน้ั เม่อื บคุ คลผู้ปฏบิ ตั ชิ อบน้ัน มองไมเ่ หน็ สิง่ ท่คี วรเข้าไปถือเอา ความไมย่ ินดี ก็ย่อมตั้งขนึ้ ใน
จติ ความเรา่ ร้อนกย็ อ่ มกา้ วลงในกาย เขาก็เป็นผู้ไมม่ ที ีต่ ้านทาน ไม่มที พ่ี งึ่ เปน็ ผหู้ าอะไร ๆ
เปน็ ท่พี ่งึ มิได้ ยอ่ มเบอื่ หนา่ ยในภพทั้งหลาย
‘‘ยถา มหาราช ปรุ โิ ส ชลติ ชาล ํ มหนตฺ ํ อคฺคกิ ฺขนธฺ ํ ปวเิ สยยฺ , โส ตตถฺ อตาโณ
อสรโณ อสรณภี โู ต อคคฺ ิมฺหิ นพิ พฺ นิ ฺเทยยฺ , เอวเมว โข มหาราช ตสฺส คยหฺ ูปคํ
อปสฺสนฺตสสฺ จิตฺเต อรต ิ สณฺ าต,ิ กายสฺม ึ ฑาโห โอกฺกมต,ิ โส อตาโณ อสรโณ อสรณี-
ภโู ต ภเวส ุ นพิ ฺพินทฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ บรุ ุษคนหนึง่ เข้าไปยงั กองไฟใหญ่ท่ีมีเปลวลกุ โพลง
เขาเปน็ ผไู้ มม่ ีที่ต้านทาน ไม่มที ี่พึ่ง เปน็ ผูท้ ่ีหาอะไร ๆ เปน็ ท่ีพ่ึงมไิ ด้ กพ็ ึงเบอ่ื หนา่ ยในกองไฟ
ฉันใด ขอถวายพระพร เม่ือบุคคลผูป้ ฏบิ ตั ชิ อบน้นั มองไม่เห็นสง่ิ ท่คี วรเข้าไปถือเอา ความไม่
ยนิ ดี กย็ อ่ มต้งั ขนึ้ ในจิต ความเร่าร้อน กย็ ่อมกา้ วลงในกาย เขาก็เป็นผ้ไู ม่มที ต่ี า้ นทาน ไม่มีท่ี
พ่ึง เปน็ ผ้ทู ห่ี าอะไร ๆ เป็นท่ีพงึ่ มไิ ด้ ย่อมเบือ่ หน่ายในภพทงั้ หลาย ฉนั นัน้ เหมอื นกัน
กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 275
‘‘ตสสฺ ปวตฺเต ภยทสสฺ าวสิ สฺ เอว ํ จติ ฺต ํ อปุ ปฺ ชชฺ ต ิ ‘สนตฺ ตตฺ ํ โข ปเนต ํ ปวตตฺ ํ
อาทิตฺต ํ สมฺปชชฺ ลติ ํ พหุทุกฺขํ พหปู ายาสํ, ยทิ โกจ ิ ลเภถ อปฺปวตตฺ ํ เอต ํ สนฺตํ เอตํ ปณีต,ํ
ยททิ ํ สพฺพสงขฺ ารสมโถ สพพฺ ปู ธปิ ฏนิ สิ ฺสคฺโค ตณหฺ กขฺ โย วิราโค นโิ รโธ นิพพฺ านนฺ’ติ ฯ อิติ
เหต ํ ตสสฺ อปฺปวตฺเต จิตตฺ ํ ปกขฺ นทฺ ต ิ ปสที ติ สมฺปหํสยต ิ ตุสยติ ‘ปฏลิ ทฺธํ โข เม
นสิ ฺสรณนฺ’ติ ฯ
บคุ คลผูม้ ปี กติเลง็ เห็นภยั ในสังขารท่ีเปน็ ไปน้ัน ย่อมเกิดความคดิ อย่างนี้วา่ ‘สังขารท่ี
เปน็ ไปนี้ ร้อน แผดเผา ลุกโพลง มีทุกขม์ าก มีความคับแค้นมากหนอ ถ้าหากวา่ ใคร ๆ จะพงึ
ได้ธรรมอนั หาสังขารเปน็ ไปมิได้ ซงึ่ สงบน้ี ประณีตน้ไี ซร้ ธรรมอนั หาสงั ขารเป็นไปมิไดน้ ้ี
ไดแ้ ก่ ธรรมอันเป็นทมี่ ีสงบสงั ขารทั้งปวง เปน็ ที่สละอปุ ธิท้งั ปวง เป็นที่สิ้นตณั หา เปน็ ทส่ี �ำรอก
ราคะ เป็นทดี่ ับ (ตัณหา) เป็นนิพพาน’ เมอ่ื เป็นดงั นี้ จติ ของเราก็ยอ่ มแล่นไป ยอ่ มเล่อื มใส
ยอ่ มบันเทงิ ย่อมยนิ ดี ในธรรมอนั หาสงั ขารเปน็ ไปมไิ ดว้ ่า ‘เราไดน้ ิสสรณธรรม (ธรรมท่ีแล่น
ออกไปจากทกุ ข์) แล้วหนอ’ ดังนี้
‘‘ยถา มหาราช ปุรโิ ส วิปปฺ นฏฺโ วเิ ทสปกฺขนฺโท นพิ พฺ าหนมคฺค ํ ทิสฺวา ตตฺถ
ปกฺขนทฺ ติ ปสีทต ิ สมฺปหํสยต ิ ตสุ ยต ิ ‘ปฏิลทฺโธ เม นิพฺพาหนมคฺโค’ติ, เอวเมว โข
มหาราช ปวตฺเต ภยทสสฺ าวสิ ฺส อปปฺ วตฺเต จิตตฺ ํ ปกขฺ นทฺ ติ ปสที ต ิ สมปฺ หสํ ยต ิ ตสุ ยต ิ
‘ปฏลิ ทธฺ ํ โข เม นิสสฺ รณน’ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า บุรษุ คนหนึ่งหลงทาง ดง่ิ ไปผดิ ที่ พอพบเห็น
ทางออกเข้า กแ็ ลน่ ตรงไปทางน้นั เลอื่ มใส บนั เทิง ยินดีอย่วู ่า ‘เราไดท้ างออกแลว้ หนอ’ ดังนี้
ฉนั ใด ขอถวายพระพร จติ ของบคุ คลผมู้ ีปกตเิ ลง็ เหน็ ภยั ในสังขารที่เปน็ ไปอยู่ ยอ่ มแล่นไป
ย่อมเล่อื มใส ย่อมบันเทิง ยอ่ มยนิ ดี ในธรรมอันหาสังขารเป็นไปมไิ ด้ว่า ‘เราได้นิสสรณธรรม
แล้วหนอ’ ดงั น้ี ฉันนัน้ เหมอื นกัน
‘‘โส อปฺปวตฺตตฺถาย มคคฺ ํ อายูหติ คเวสต ิ ภาเวต ิ พหุลกี โรต,ิ ตสสฺ ตทตถฺ ํ สติ
สนตฺ ิฏ ฺ ติ, ตทตถฺ ํ วรี ยิ ํ สนฺตฏิ ฺ ติ, ตทตถฺ ํ ปีต ิ สนฺติฏฺ ติ, ตสฺส ต ํ จติ ฺตํ อปราปรํ
มนสกิ โรโต ปวตตฺ ํ สมตกิ กฺ มิตวฺ า อปปฺ วตฺต ํ โอกกฺ มต,ิ อปฺปวตตฺ มนุปปฺ ตฺโต มหาราช
สมฺมาปฏปิ นโฺ น ‘นิพพฺ านํ สจฺฉิกโรต’ี ต ิ วจุ จฺ ต’ี ’ติ ฯ
บุคคลผู้ปฏิบตั ิชอบนน้ั ย่อมพยายามแสวงหา ยอ่ มเจริญ ยอ่ มท�ำไวม้ ากซ่งึ มรรค
ปฏปิ ทา เพอ่ื ประโยชน์แกธ่ รรมอันหาสังขารเปน็ ไปมิได้ สตขิ องเขา ยอ่ มตั้งม่ันอยเู่ พื่อ
ประโยชน์นน้ั วิริยะ ยอ่ มต้ังอยเู่ พื่อประโยชน์นั้น ปตี ิ ยอ่ มตง้ั มน่ั อยู่ เพือ่ ประโยชนน์ ้ัน จติ ของ
276 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
เขาผู้กระท�ำไว้ในใจโดยถกู ทางน้นั ย่อมก้าวล่วงสังขารท่ีเปน็ ไป แล้วก้าวลงสู่ธรรมอนั หา
สงั ขารเป็นไปมิได้ ขอถวายพระพร บณั ฑติ ย่อมกลา่ วถงึ บุคคลผูป้ ฏิบตั ชิ อบ ผบู้ รรลุธรรมอนั
หาสงั ขารเปน็ ไปมไิ ด้ ตามล�ำดบั ว่า ‘ท�ำพระนิพพานให้แจง้ ”
‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “ดจี ริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามท่ีท่านกล่าวมา
น”้ี
นิพฺพานสจฺฉิกรณปญโฺ ห เอกาทสโม ฯ
จบนพิ พานสจั ฉกิ รณปญั หาขอ้ ที่ ๑๑
________
๑๒. นพิ ฺพานสนนฺ ิหติ ปญหฺ
๑๒. นพิ พานสันนหิ ิตปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยถามถึงภมู ิประเทศที่พระนพิ พานตง้ั อยู่
[๑๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน อตฺถิ โส ปเทโส ปรุ ตฺถิมาย วา ทสิ าย ทกฺขิณาย วา
ทิสาย ปจฺฉิมาย วา ทสิ าย อตุ ตฺ ราย วา ทิสาย อุทธฺ ํ วา อโธ วา ตริ ยิ ํ วา, ยตฺถ
นิพฺพานํ สนนฺ หิ ติ น’ฺ ’ติ ?
[๑๒] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ภูมิประเทศท่ีพระนพิ พานตงั้ อยทู่ าง
ทศิ ตะวันออกก็ตาม ทางทิศใต้ก็ตาม ทางทศิ ตะวันตกก็ตาม ทางทศิ เหนอื กต็ าม ทางทศิ เบ้ือง
บนกต็ าม ทางทิศเบ้ืองล่างกต็ าม ทางทิศเบ้ืองขวางกต็ าม มอี ยูห่ รอื ?”
‘‘นตถฺ ิ มหาราช โส ปเทโส ปุรตถฺ ิมาย วา ทิสาย ทกขฺ ิณาย วา ทิสาย ปจฺฉมิ าย
วา ทิสาย อตุ ตฺ ราย วา ทสิ าย อุทธฺ ํ วา อโธ วา ติริยํ วา, ยตฺถ นพิ ฺพาน ํ
สนฺนหิ ติ น”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ภมู ปิ ระเทศทพ่ี ระนพิ พาน
ตงั้ อยทู่ างทิศตะวนั ออกก็ตาม ฯลฯ ทางทิศเบอื้ งขวางก็ตาม ไม่มหี รอก”
‘‘ยท ิ ภนฺเต นาคเสน นตฺถิ นพิ ฺพานสสฺ สนฺนิหโิ ตกาโส, เตนหิ นตฺถิ นพิ ฺพานํ ?
เยส ฺจ ต ํ นพิ พฺ านํ สจฉฺ ิกต,ํ เตสมฺปิ สจฺฉกิ ริ ิยา มิจฺฉา, การณ ํ ตตถฺ วกขฺ ามิ, ยถา
กัณฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 277
ภนฺเต นาคเสน มหิยา ธ ฺ ุฏฺ าน ํ เขตฺต ํ อตฺถ ิ คนฺธฏุ ฺ านํ ปุปผฺ ํ อตถฺ ิ ปปุ ผฺ ฏุ ฺ าน ํ
คุมโฺ พ อตถฺ ิ ผลฏุ ฺ าน ํ รุกโฺ ข อตฺถ ิ รตนฏุ ฺ านํ อากโร อตถฺ ิ ตตฺถ โย โกจ ิ ย ํ ยํ อจิ ฺฉติ,
โส ตตฺถ คนฺตฺวา ต ํ ต ํ หรต,ิ เอวเมว โข ภนฺเต นาคเสน ยทิ นพิ พฺ านํ อตฺถ ิ ตสฺส
นพิ พฺ านสสฺ อฏุ ฺ าโนกาโสป ิ อิจฉฺ ิตพโฺ พ, ยสมฺ า จ โข ภนเฺ ต นาคเสน นพิ พฺ านสสฺ
อุฏ ฺ าโนกาโส นตถฺ ิ ตสฺมา นตฺถิ นิพฺพานนตฺ ิ พรฺ ูมิ, เยส จฺ นพิ พฺ าน ํ สจฉฺ ิกตํ, เตสมฺป ิ
สจฉฺ กิ ริ ิยา มจิ ฺฉา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าหากว่า โอกาสที่พระนพิ พานตงั้ อยูไ่ มม่ ี
ละก็ ถ้าอยา่ งนน้ั พระนพิ พานก็หามีจริงไม่ และบคุ คลเหล่าใดได้กระท�ำพระนิพพานนั้นใหแ้ จ้ง
แมบ้ ุคคลเหล่าน้ัน ช่ือว่ามกี ารกระท�ำใหแ้ จ้งผดิ ๆ โยมจักขอกล่าวเหตุผลในขอ้ ที่ว่านั้น
พระคณุ เจ้านาคเสน เปรยี บเหมอื นว่า บนแผน่ ดิน ที่นาอันเปน็ ทีต่ ั้งขึน้ แหง่ ข้าว กม็ ีจริง ดอกไม้
อันเป็นทตี่ ัง้ แหง่ กล่นิ กม็ ีจรงิ กอไมอ้ ันเป็นทตี่ ้ังขึน้ แห่งดอกไม้ ก็มจี รงิ ตน้ ไม้อนั เป็นทต่ี ง้ั แห่ง
ผลไม้ กม็ จี ริง บ่อแกว้ อนั เป็นท่ตี ัง้ ขึ้นแห่งแก้ว กม็ จี รงิ ใครคนใดคนหนึง่ ตอ้ งการส่งิ ใด ๆ ณ
สถานทีม่ ีนาเปน็ ต้นเหล่านั้น แลว้ กย็ อ่ มน�ำเอาส่งิ ที่ตอ้ งการนน้ั ๆ ไปได้ ฉนั ใด พระคณุ เจ้านาค
เสน ถา้ วา่ พระนิพพานมีจรงิ ละก็ แม้โอกาสอันเป็นท่ตี ง้ั ขึ้นแห่งพระนิพพาน ก็นา่ จะปรารถนา
ได้ ฉนั นน้ั เหมือนกนั พระคุณเจา้ นาคเสน แตเ่ พราะเหตุว่า โอกาสอนั เปน็ ทต่ี ้งั ขนึ้ แห่งพระ
นพิ พาน ไมม่ ี เพราะฉะน้นั โยมกข็ อกล่าวว่า พระนพิ พานไมม่ ีจรงิ หรอก และบคุ คลเหลา่ ใด ได้
กระท�ำพระนพิ พานให้แจง้ แม้บคุ คลเหลา่ นน้ั ชื่อวา่ มีการกระท�ำใหแ้ จง้ ผิด ๆ”
‘‘นตถฺ ิ มหาราช นพิ พฺ านสฺส สนฺนหิ ิโตกาโส, อตฺถิ เจตํ นิพฺพานํ, สมมฺ าปฏปิ นฺโน
โยนิโสมนสกิ าเรน นพิ พฺ านํ สจฉฺ กิ โรติ ฯ ยถา ปน มหาราช อตฺถิ อคฺค ิ นาม, นตฺถิ ตสสฺ
สนนฺ ิหิโตกาโส, เทฺว กฏ ฺ านิ สงฺฆฏฺเฏนฺโต อคคฺ ึ อธิคจฺฉติ ฯ เอวเมว โข มหาราช อตฺถิ
นพิ พฺ าน,ํ นตถฺ ิ ตสฺส สนนฺ ิหิโตกาโส, สมมฺ าปฏิปนฺโน โยนิโส มนสิกาเรน นพิ ฺพานํ
สจฺฉกิ โรติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร โอกาสเป็นทีต่ ั้งแหง่ พระนิพพานไม่มี
หรอก แต่ว่า พระนพิ พานนก้ี ม็ จี รงิ บคุ คลผูป้ ฏบิ ัตชิ อบ ยอ่ มใช้โยนโิ สมนสิการกระท�ำพระ
นิพพานให้แจ้งได้ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ ธรรมดาวา่ ไฟ มจี ริง โอกาสท่ีตั้งอยู่แห่ง
ไฟนั้น หามีไม่ คนเอาไมแ้ ห้ง ๒ ท่อนมาสกี นั ยอ่ มได้ไฟ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระนิพพานมี
จริง โอกาสท่ตี ้ังอยูแ่ หง่ พระนิพพานนั้น หามไี ม่ บุคคลผ้ปู ฏบิ ตั ชิ อบ ย่อมใช้โยนิโสมนสกิ าร
กระท�ำพระนิพพานให้แจง้ ได้ ฉนั น้นั เหมือนกัน
278 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อตฺถิ สตตฺ รตนาน ิ นาม ฯ เสยฺยถทิ ,ํ จกฺกรตน ํ
หตฺถิรตน ํ อสฺสรตน ํ มณิรตน ํ อิตถฺ ริ ตน ํ คหปตริ ตนํ ปริณายกรตนํ ฯ น จ เตส ํ รตนาน ํ
สนฺนิหโิ ตกาโส อตถฺ ิ ขตตฺ ิยสสฺ ปน สมมฺ าปฏปิ นนฺ สสฺ ปฏปิ ตฺตพิ เลน ตานิ รตนานิ
อปุ คจฉฺ นตฺ ิ ฯ เอวเมว โข มหาราช อตถฺ ิ นิพฺพานํ, นตถฺ ิ ตสฺส สนนฺ หิ ิโตกาโส, สมมฺ า-
ปฏปิ นโฺ น โยนิโสมนสิกาเรน นิพพฺ าน ํ สจฺฉิกโรต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนงึ่ เปรยี บเหมอื นวา่ ธรรมดาวา่ แก้ว ๗ อย่าง คอื จกั รแกว้
ช้างแก้ว ม้าแกว้ แก้วมณี นางแก้ว คฤหบดีแกว้ ปริณายกแกว้ มีจรงิ แต่โอกาสทตี่ ้งั อยู่แหง่
แกว้ เหลา่ นั้น หามีไม่ ก็กษตั ริย์ผูป้ ฏิบัตชิ อบ ยอ่ มได้รบั แก้วเหล่านั้น ตามก�ำลังแหง่ การปฏบิ ัติ
ฉันใด ขอถวายพระพร พระนพิ พานมีจริง โอกาสทีต่ ้งั อยูแ่ หง่ พระนพิ พานนั้น หามีไม่ บุคคล
ผ้ปู ฏิบัตชิ อบ ย่อมใช้โยนโิ สมนสกิ ารท�ำพระนิพพานใหแ้ จ้งได้ ฉันน้นั เหมือนกนั ”
‘‘ภนฺเต นาคเสน นิพพฺ านสฺส สนฺนหิ โิ ตกาโส มา โหต,ุ อตถฺ ิ ปน ตํ าน,ํ ยตถฺ
โิ ต สมมฺ าปฏปิ นฺโน นิพพฺ านํ สจฺฉกิ โรต’ี ’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน โอกาสที่ตงั้ อยแู่ ห่งพระนิพพาน จะไมม่ ี
ก็ชา่ งเถอะ แต่ว่า ที่ต้ังทบ่ี คุ คลผู้ปฏิบัติชอบจะตงั้ อยู่ กระท�ำพระนพิ พานใหแ้ จ้ง มอี ยหู่ รอื ?”
‘‘อาม มหาราช อตฺถิ ต ํ านํ, ยตฺถ ิโต สมมฺ าปฏปิ นฺโน นพิ ฺพานํ สจฺฉิกโรต’ี ’ตฯิ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ใช่ ที่ตงั้ ทบ่ี คุ คลผูป้ ฏิบตั ชิ อบจะตงั้ อยู่
กระท�ำพระนิพพานให้แจง้ มอี ยู”่
‘‘กตม ํ ปน ภนฺเต ต ํ านํ, ยตถฺ โิ ต สมฺมาปฏปิ นโฺ น นพิ พฺ านํ สจฺฉกิ โรตี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “ท่ตี ้งั ที่บุคคลผปู้ ฏบิ ตั ชิ อบจะตั้งอยู่ กระท�ำพระนพิ พานให้แจง้
น้นั เป็นไฉน ? พระคณุ เจ้า”
‘‘สลี ํ มหาราช านํ, สเี ล ปตฏิ ฺ ิโต โยนโิ สมนสิกโรนโฺ ต สกกฺ ยวเนป ิ จีนวลิ าเตปิ
อลสนเฺ ทป ิ นิคุมฺเพป ิ กาสิโกสเลปิ กสมฺ ีเรป ิ คนธฺ าเรป ิ นคมทุ ฺธนปิ ิ พฺรหฺมโลเกปิ ยตฺถ
กตฺถจปิ ิ โิ ต สมมฺ าปฏิปนฺโน นิพพฺ านํ สจฺฉกิ โรติ ฯ ยถา มหาราช โย โกจิ จกขฺ มุ า
ปรุ ิโส สกยวเนป ิ จนี วลิ าเตปิ อลสนฺเทป ิ นิคุมเฺ พปิ กาสโิ กสเลป ิ กสฺมีเรป ิ คนฺธาเรป ิ
นคมุทฺธนปิ ิ พรฺ หมฺ โลเกป ิ ยตฺถ กตถฺ จปิ ิ โิ ต อากาสํ ปสฺสต,ิ เอวเมว โข มหาราช สเี ล
ปตฏิ ฺ ิโต โยนโิ สมนสิกโรนโฺ ต สกยวเนปิ…เป.… ยตถฺ กตถฺ จปิ ิ ิโต สมฺมาปฏิปนฺโน
นิพฺพานํ สจฺฉกิ โรติ ฯ
กณั ฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 279
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ศีล ช่ือวา่ เปน็ ทีต่ ัง้ บคุ คลต้งั ม่ันในศลี
ท�ำไวใ้ นใจโดยถูกอบุ าย ด�ำรงอยใู่ นสถานทใ่ี ดที่หน่งึ ไมว่ า่ ในป่าสกั กยวัน ไม่ว่าในเมืองจีน-
วิลาตะ ไมว่ า่ ในเมืองอลสันทะ ไมว่ ่าในเมืองนิคมุ พะ ไมว่ ่าในเมอื งกาสิโกศล ไมว่ ่าในเมือง
กสั มริ ะ ไมว่ ่าในเมอื งคนั ธาระ ไมว่ ่าในนคมุทธะ ไมว่ ่าในพรหมโลก ซ่งึ เป็นผปู้ ฏบิ ตั ิชอบ ก็ยอ่ ม
กระท�ำพระนพิ พานใหแ้ จ้งได้ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า บุรษุ ผมู้ ตี าดีคนใดคนหนึ่ง
ด�ำรงอยูใ่ นสถานทีใ่ ดสถานท่หี นึง่ ไมว่ ่าในป่าสักกยวนั ฯลฯ ไม่วา่ ในพรหมโลก ยอ่ มมองเห็น
อากาศ ฉนั ใด ขอถวายพระพร บุคคลผูต้ ั้งมัน่ ในศลี ท�ำไวใ้ นใจโดยถกู อุบาย ด�ำรงอยู่ในสถาน
ท่ีใดทห่ี นงึ่ ไม่วา่ ในปา่ สักกยวัน ฯลฯ ไมว่ า่ ในพรหมโลก ก็ยอ่ มกระท�ำพระนิพพานให้แจง้ ได้
ฉันน้นั เหมือนกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช, สกยวเนป…ิ เป.… ยตถฺ กตถฺ จปิ ิ ติ สฺส ปพุ ฺพทิสา อตถฺ ิ
เอวเมว โข มหาราช สีเล ปตฏิ ฺ ิตสสฺ โยนโิ สมนสกิ โรนฺตสสฺ สกฺกยวเนป…ิ เป.… ยตฺถ
กตฺถจปิ ิ ิตสฺส สมฺมาปฏิปนฺนสฺส อตถฺ ิ นิพฺพานสจฺฉกิ ริ ิยา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึง่ เปรยี บเหมอื นว่า ทศิ เบื้องหนา้ ย่อมมแี ก่บรุ ุษผู้มีตาดี ผู้
ด�ำรงอย่ใู นสถานทใี่ ดสถานทห่ี นึ่ง ไมว่ า่ ในป่าสักกยวนั ฯลฯ ไม่วา่ ในพรหมโลก ฉันใด ขอ
ถวายพระพร การกระท�ำพระนิพพานให้แจง้ ย่อมมีแก่บุคคลผู้ปฏิบตั ชิ อบ ผู้ต้ังมัน่ อยู่ในศีล ท�ำ
ไวใ้ นใจโดยถกู อุบาย ผู้ด�ำรงอยใู่ นสถานท่ใี ดสถานทห่ี น่งึ ไมว่ ่าในปา่ สกั กยวนั ฯลฯ ไมว่ า่ ใน
พรหมโลก ฉนั นนั้ เหมอื นกนั ”
‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เทสติ ํ ตยา นิพพฺ านํ, เทสติ า นพิ ฺพานสจฉฺ ิกิริยา, ปริกขฺ ตา
สีลคณุ า, ทสฺสิตา สมฺมาปฏปิ ตตฺ ิ, อสุ สฺ าปิโต ธมฺมทฺธโช, สณ ฺ ปติ า ธมฺมเนตตฺ ิ, อว โฺ ฌ
สปุ ฺปยตุ ตฺ านํ สมมฺ าปโยโค, เอวเมตํ คณวิ รปวร ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “ดีจรงิ พระคุณเจ้านาคเสน ทที่ า่ นได้แสดงพระนพิ พาน ได้แสดง
การท�ำพระนิพพานใหแ้ จ้ง ไดช้ ้ถี งึ คณุ ของศลี ได้แสดงสัมมาปฏบิ ตั ิ ไดย้ กธงคอื พระธรรม ได้
ตั้งแบบแผนคอื พระธรรม ความพยายามชอบแห่งกลุ บตุ รผู้พยายามชอบ ย่อมไม่เปน็ อนั เหลว
เปล่า ท่านผปู้ ระเสรฐิ ยอดเยยี่ มแหง่ พระสงฆ์ โยมขอยอมรบั ค�ำตามทที่ า่ นกล่าวมากระนี้”
นิพฺพานสนฺนิหติ ปญฺโห ทวฺ าทสโม ฯ
จบนิพพานสนั นหิ ติ ปญั หาข้อที่ ๑๒
280 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห
เวสฺสนฺตรวคฺโค อฏฺ€โม ฯ
จบเวสสันตรวรรคข้อที่ ๘
อมิ สฺมึ วคฺเค ทวฺ าทส ปญฺหา ฯ
ในวรรคน้มี ปี ัญหา ๑๒ ขอ้
เมณฺฑกปญหฺ กณฺโฑ นฏิ €ฺ โิ ต ฯ
จบเมณฑกปัญหากณั ฑ์
________
กณั ฑ์] อนมุ านปญั หกณั ฑ์ 281
๕. อนมุ านปญหฺ กณฑฺ
๕. อนมุ านปญั หากณั ฑ์ กณั ฑว์ า่ ด้วยอนมุ านปัญหา
๑. อนุมานปญฺห
๑. อนมุ านปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยการอนุมาน
[๑] อถ โข มลิ ินฺโท ราชา, เยนายสฺมา นาคเสโน, เตนปุ สงฺกมิ; อปุ สงฺกมิตฺวา
อายสฺมนฺต ํ นาคเสน ํ อภวิ าเทตวฺ า เอกมนฺต ํ นิสีท,ิ เอกมนตฺ ํ นสิ ินฺโน โข มิลนิ โฺ ท ราชา
าตุกาโม โสตุกาโม ธาเรตกุ าโม าณาโลก ํ ทฏ ฺ ุกาโม อ ฺ าณ ํ ภนิ ทฺ ิตุกาโม าณา-
โลก ํ อปุ ปฺ าเทตกุ าโม อวชิ ชฺ นธฺ การ ํ นาเสตุกาโม อธิมตฺต ํ ธิติ จฺ อสุ สฺ าห ฺจ สต ิ จฺ
สมปฺ ช ฺ ฺจ อุปฏฺ เปตฺวา อายสฺมนตฺ ํ นาคเสน ํ เอตทโวจ ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ก ึ ปน พุทโฺ ธ
ตยา ทิฏฺโ ’’ติ ฯ
[๑] ครง้ั น้ันแล พระเจ้ามิลินท์ ไดเ้ สดจ็ เข้าไปหาท่านพระนาคเสน ณ ที่ท่านพ�ำนกั อยู่
แล้วกท็ รงกราบไหวพ้ ระนาคเสน ประทับนัง่ ลง ณ ท่อี นั สมควร ครัน้ ประทบั น่งั ลงแล้ว ก็ทรง
เป็นผใู้ ครจ่ ะทราบ ใครจ่ ะสดบั ใครจ่ ะทรงจ�ำ ใคร่จะทอดพระเนตรเห็นแสงสวา่ งคือญาณ ใคร่
จะท�ำลายความไมร่ ู้ ใคร่จะท�ำแสงสวา่ งคอื ญาณใหเ้ กดิ ขึ้น ใครท่ จ่ี ะท�ำความมดื คอื อวิชชาให้
พนิ าศไป จึงทรงตั้งความทรงจ�ำ ความอตุ สาหะ สติ และสัมปชญั ญะไว้ม่ัน มปี ระมาณย่ิง ตรัส
ความข้อน้ีกบั ทา่ นพระนาคเสนว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นเคยเหน็ พระพุทธเจ้าหรอื ?”
‘‘น หิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “อาตมภาพไมเ่ คยเหน็ หรอก มหาบพติ ร”
‘‘กึ ปน เต อาจริเยหิ พุทฺโธ ทฏิ โฺ ’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “ก็แตว่ ่า อาจารยท์ ้ังหลายของท่านเคยเห็นหรือ ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ไม่เคยเห็นหรอก มหาบพติ ร”
282 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปัญห
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน น กริ ตยา พุทโฺ ธ ทิฏโฺ , นาป ิ กริ เต อาจริเยห ิ พทุ ฺโธ ทิฏฺโ ,
เตนห ิ ภนเฺ ต นาคเสน นตถฺ ิ พุทโฺ ธ, น เหตถฺ พทุ ฺโธ ป ฺ ายตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ทราบวา่ ตัวท่านกไ็ ม่เคยเห็นพระพุทธเจ้า
ท้ังอาจารยท์ งั้ หลายของทา่ น กไ็ ม่เคยเห็นพระพุทธเจ้า พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ อย่างนัน้
พระพทุ ธเจ้าก็มิได้มจี รงิ เปน็ อนั วา่ พระพุทธเจ้ามไิ ด้ปรากฏในโลกน้ี”
‘‘อตถฺ ิ ปน เต มหาราช, ปุพฺพกา ขตฺติยา, เย เต ตว ขตตฺ ยิ วํสสฺส ปุพพฺ งคฺ มา’’ต?ิ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร บุรพกษตั ริย์ ท่ีเป็นตน้ วงศแ์ ห่งวงศ์
กษัตรยิ ข์ องพระองค์ มจี รงิ หรือ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต, โก สํสโย, อตฺถ ิ ปุพฺพกา ขตฺตยิ า, เย มม ขตตฺ ยิ วํสสสฺ ปุพพฺ ง-ฺ
คมา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “ใช่ มีจริง พระคุณเจ้า สงสยั อะไรกนั เล่า บุรพกษตั ริย์ทเี่ ป็นตน้
วงศ์แห่งวงศก์ ษตั รยิ ข์ องโยมมจี ริง”
‘‘ทฏิ ฺ ปุพฺพา ตยา มหาราช ปพุ ฺพกา ขตฺตยิ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “พระองคเ์ คยทรงทอดพระเนตรเหน็ บุรพกษัตริย์หรือ ?
มหาบพิตร”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “ไม่เคยเห็นหรอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘เย ปน ต ํ มหาราช อนุสาสนฺติ ปุโรหติ า เสนาปติโน อกขฺ ทสสฺ า มหามตตฺ า, เตห ิ
ปพุ พฺ กา ขตตฺ ิยา ทฏิ ฺ ปพุ พฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พวกปโุ รหิต พวกเสนาบดี พวกตลุ าการ
พวกมหาอ�ำมาตยท์ คี่ อยกราบทลู พระองค์ เคยเห็นบุรพกษัตรยิ ์หรอื ?”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสว่า “ไม่เคยเห็นหรอก พระคณุ เจ้า”
‘‘ยทิ ปน เต มหาราช ปพุ ฺพกา ขตฺตยิ า น ทิฏ ฺ า, นาปิ กริ เต อนุสาสเกห ิ
ปพุ ฺพกา ขตฺตยิ า ทฏิ ฺ า, เตนห ิ นตถฺ ิ ปุพฺพกา ขตฺติยา, น เหตฺถ ปพุ พฺ กา ขตฺติยา
กณั ฑ์] อนุมานปญั หกณั ฑ์ 283
ป ฺ ายนตฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถ้าหากวา่ พระองคไ์ ม่เคยทรงทอด
พระเนตรเหน็ พวกบรุ พกษัตรยิ ์ ทั้งพวกท่คี อยกราบทลู พระองค์ กไ็ มเ่ คยเหน็ พวกบรุ พกษตั ริย์
ไซร้ ถ้าอยา่ งนน้ั พวกบุรพกษตั รยิ ์เหล่านั้นก็ไมม่ ีจรงิ เปน็ อนั วา่ พวกบรุ พกษตั รยิ ์มิไดป้ รากฏ
ในโลกน”ี้
‘‘ทิสสฺ นตฺ ิ ภนเฺ ต นาคเสน ปพุ ฺพกานํ ขตฺติยานํ อนภุ ูตานิ ปรโิ ภคภณฺฑานิ ฯ
เสยฺยถิทํ เสตจฺฉตตฺ ํ อณุ หฺ ีส ํ ปาทกุ า วาลพชี น ี ขคฺครตนํ มหารหาน ิ จ สยนานิ ฯ เยห ิ
มย ํ ชาเนยฺยาม สททฺ เหยยฺ าม ‘อตถฺ ิ ปพุ พฺ กา ขตตฺ ิยา’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน เคร่ืองราชปู โภคทพี่ วกบรุ พกษัตรยิ ท์ รง
ใช้สอยปรากฏอยู่ เช่นอะไรบา้ ง ? เช่นวา่ เศวตฉตั ร อุณหสิ ฉลองพระบาท พัดวาลวชี นี พระ
ขรรค์แกว้ และที่บรรทมใหญ่ เป็นเหตใุ ห้พวกโยมพงึ รู้ พึงเชอื่ ได้ว่า พวกบรุ พกษตั ริยม์ จี ริง”
‘‘เอวเมว โข มหาราช มยมเฺ ปต ํ ภควนฺตํ ชาเนยยฺ าม สททฺ เหยฺยาม ฯ อตถฺ ิ ตํ
การณ,ํ เยน มย ํ การเณน ชาเนยฺยาม สทฺทเหยยฺ าม ‘อตถฺ ิ โส ภควา’ติ ฯ กตม ํ ตํ
การณํ ? อตฺถ ิ โข มหาราช เตน ภควตา ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมมฺ าสมฺพทุ เฺ ธน
อนุภูตานิ ปรโิ ภคภณฑฺ านิ ฯ เสยฺยถทิ ํ, จตฺตาโร สตปิ ฏฺ านา จตตฺ าโร สมมฺ ปปฺ ธานา
จตตฺ าโร อิทธฺ ปิ าทา ป ฺจินทฺ ฺรยิ าน ิ ป ฺจ พลาน ิ สตตฺ โพชฌฺ งคฺ า อริโย อฏฺ งคฺ โิ ก
มคฺโค, เยห ิ สเทวโก โลโก ชานาต ิ สททฺ หต ิ ‘อตถฺ ิ โส ภควา’ติ ฯ อิมินา มหาราช
การเณน อิมนิ า เหตนุ า อมิ นิ า นเยน อิมนิ า อนุมาเนน าตพโฺ พ ‘อตฺถิ โส ภควา’ติ ฯ
‘‘พห ู ชเน ตารยิตฺวา นิพฺพโุ ต อปุ ธกิ ฺขเย
อนุมาเนน าตพพฺ ํ อตถฺ ิ โส ทฺวปิ ทุตฺตโม’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อยา่ งนั้นนน่ั แหละ พวก
อาตมภาพก็พึงรู้ พงึ เชอ่ื วา่ พระผู้มีพระภาคเจา้ พระองคม์ ีจริง กเ็ หตุผลทท่ี �ำใหพ้ วกอาตมภาพ
พึงรู้ พงึ เช่อื วา่ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ พระองค์น้นั มีอยูจ่ รงิ เหตุผลท่วี ่านัน้ เป็นไฉน ? ขอถวาย
พระพร เครือ่ งใชส้ อยที่พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ผรู้ ู้ ผ้เู ห็น ผเู้ ป็นอรหันตส์ ัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์
นั้นทรงใช้สอย ยงั มอี ยู่ เชน่ อะไรบ้าง ? เชน่ วา่ สติปัฏฐาน ๔ สัมมปั ปธาน ๔ อทิ ธบิ าท ๔
อินทรยี ์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ พระอรยิ มรรคมอี งค์ ๘ อันเป็นเหตุให้ชาวโลกพรอ้ มทงั้ เทวโลก
ได้รู้ ได้เช่ือวา่ พระผู้มีพระภาคเจา้ พระองคน์ น้ั มีจริง ขอถวายพระพร พวกอาตมภาพพงึ รู้ได้
วา่ พระผู้มพี ระภาคเจ้าพระองคน์ น้ั มจี ริง กด็ ว้ ยการณน์ ี้ ดว้ ยเหตุนี้ ดว้ ยนยั น้ี ดว้ ยข้ออนุมานนี้