The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

134 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

๑๐. ทสุ ฺสีลปญฺห
๑๐. ทุสสลี ปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยคนทุศีล
[๑๐] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน คหิ ิทสุ ฺสลี สสฺ จ สมณทุสสฺ ลี สสฺ จ โก วเิ สโส, ก ึ นานากรณ,ํ
อโุ ภเปเต สมสมคติกา, อุภินนฺ มฺป ิ สมสโม วิปาโก โหต ิ อุทาห ุ ก ิ ฺจ ิ นานาการณํ
อตถฺ ’ี ’ติ ?
[๑๐] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน อะไรเปน็ ความแปลกกนั อะไรเปน็
ขอ้ แตกต่างกนั ระหวา่ งคฤหัสถ์ทศุ ีลกบั สมณทุศลี บุคคลทัง้ ๒ นี้ มคี ติเสมอเหมอื นกนั หรอื
ทานท่ีให้แกบ่ คุ คลทงั้ ๒ มีวบิ ากเสมอเหมอื นกนั หรอื หรือวา่ ยังมีอะไรท่ีเปน็ ขอ้ แตกตา่ งกันอยู่
เล่า ?”

‘‘ทส ยเิ ม มหาราช คณุ า สมณทุสสฺ ลี สสฺ คิหทิ ุสฺสีลโต วเิ สเสน อติเรกา, ทสหิ จ
การเณหิ อตุ ฺตร ึ ทกขฺ ณิ ํ วิโสเธติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร สมณทุศีลยังมีคณุ ธรรมยงิ่
กวา่ คุณธรรมของคฤหสั ถ์ผทู้ ุศลี โดยพิเศษอยู่ ๑๐ ประการเหลา่ นี้ และยังช�ำระทักษิณาทานให้
หมดจดย่งิ ๆ ขึน้ ไป เพราะเหตุ ๑๐ ประการ”

‘‘กตเม ทส คุณา สมณทสุ ฺสีลสฺส คหิ ิทุสฺสีลโต วเิ สเสน อติเรกา ? อิธ มหาราช
สมณทสุ สฺ ีโล พทุ เฺ ธ สคารโว โหติ, ธมฺเม สคารโว โหติ, สเํ ฆ สคารโว โหต,ิ สพฺรหฺม-
จารสี ุ สคารโว โหติ, อทุ ฺเทสปริปุจฉฺ าย วายมติ, สวนพหโุ ล โหต,ิ ภนิ นฺ สโี ลปิ มหาราช
ทุสฺสีโล ปริสคโต อากปปฺ ํ อปุ ฏฺ เปติ, ครหภยา กายิก ํ วาจสิกํ รกขฺ ติ, ปธานาภมิ ขุ ฺจสสฺ
โหติ จติ ตฺ ํ, ภิกขฺ สุ าม ฺ ํ อุปคโต โหติ ฯ กโรนโฺ ตปิ มหาราช สมณทสุ ฺสีโล ปาป ํ ปฏจิ ฺฉนนฺ ํ
อาจรติ ฯ ยถา มหาราช อติ ฺถ ี สปติกา นิลยี ิตวฺ า รหสเฺ สเนว ปาปมาจรติ; เอวเมว โข
มหาราช กโรนฺโตปิ สมณทุสฺสโี ล ปาป ํ ปฏิจฉฺ นฺน ํ อาจรติ ฯ
อิเม โข มหาราช ทส คุณา สมณทุสฺสีลสสฺ คิหิทสุ สฺ ลี โต วิเสเสน อติเรกา ฯ
สมณทศุ ลี ยงั มีคณุ ธรรมย่งิ กว่าคณุ ธรรมของคฤหสั ถ์ทุศีลโดยพิเศษอยู่ ๑๐ ประการ
อะไรบา้ ง ? ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สมณทุศลี ในพระศาสนานี้
๑. ยังเป็นผมู้ ีความเคารพในพระพทุ ธเจา้

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจริยานาจริยวรรค 135

๒. ยังเป็นผูม้ ีความเคารพในพระธรรม
๓. ยงั เป็นผูม้ คี วามเคารพในพระสงฆ์
๔. ยังเป็นผ้มู คี วามเคารพในเพ่ือนพรหมจารี
๕. ยังพยายามในอทุ เทศ (การเรยี นพระบาลี) และปริปจุ ฉา (การเรียนอรรถกถา)
๖. ยังเป็นผมู้ ากด้วยการสดบั ตรับฟงั
๗. ขอถวายพระพร ผู้เป็นสมณะแมว้ า่ ศลี ขาด เป็นคนทุศีลไปทา่ มกลางบริษัทแลว้ ก็
ยงั รักษาอากัปกิรยิ าไว้ได้ รกั ษาความประพฤติทางกายไว้ได้ ความประพฤติทางวาจาไว้ได้
เพราะกลัวการตเิ ตยี น
๘. ยงั มีจติ บ่ายหน้าตรงตอ่ ความเพยี ร
๙. ยงั เป็นผู้เข้าถงึ สมัญญาว่าภิกษุ
๑๐. ขอถวายพระพร สมณทุศีล แมเ้ มอ่ื จะท�ำกรรมชว่ั กย็ อ่ มประพฤติอย่างปดิ บงั ขอ
ถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า หญงิ มีสามี ย่อมประพฤติชว่ั ชา้ เฉพาะแตใ่ นท่ีลับเทา่ นนั้ ฉนั ใด
ขอถวายพระพร สมณทศุ ลี แมเ้ มื่อจะท�ำกรรมชว่ั กย็ ่อมประพฤตอิ ย่างปิดบัง ฉนั น้ันเหมือนกนั
แล
ขอถวายพระพร สมณทุศีลยงั มีคุณธรรมย่ิงกว่าคฤหัสถ์ผทู้ ุศีล โดยพเิ ศษอยู่ ๑๐
ประการเหล่าน้แี ล
‘‘กตเมหิ ทสห ิ การเณหิ อุตฺตร ึ ทกขฺ ณิ ํ วโิ สเธติ ? อนวชชฺ กวจธารณตายปิ ทกฺขิณ ํ
วิโสเธติ, อสิ ิสาม ฺ ภณฑฺ ลุ งิ คฺ ธารณโตป ิ ทกขฺ ิณ ํ วโิ สเธติ, สํฆสมยมนปุ ฺปวฏิ ฺ ตายปิ
ทกฺขณิ ํ วิโสเธต,ิ พทุ ฺธธมฺมสงฆฺ สรณคตตายปิ ทกฺขิณํ วิโสเธต,ิ ปธานาสยนเิ กตวาสติ ายป ิ
ทกขฺ ิณ ํ วิโสเธต,ิ ชินสาสนธร ปริเยสนโตปิ ทกขฺ ิณ ํ วิโสเธติ, ปวรธมฺมเทสนโตปิ ทกขฺ ณิ ํ
วโิ สเธติ, ธมฺมทีปคตปิ รายณตายป ิ ทกฺขณิ ํ วิโสเธติ, ‘อคฺโค พุทฺโธ’ต ิ เอกนฺตอชุ ุทิฏ ฺ ติ ายป ิ
ทกขฺ ณิ ํ วโิ สเธติ, อุโปสถสมาทานโตป ิ ทกฺขณิ ํ วิโสเธติ ฯ อิเมห ิ โข มหาราช ทสห ิ
การเณห ิ อุตตฺ ร ึ ทกขฺ ณิ ํ วิโสเธติ ฯ
ยงั ช�ำระทักขณิ าทานให้หมดจดยิง่ ขนึ้ ไปได้ เพราะเหตุ ๑๐ ประการ อะไรบา้ ง ?
๑. ยอ่ มช�ำระทักษิณาทานให้หมดจดได้ แมเ้ พราะความทที่ รงเสอื้ เกราะ (คือ ผ้า
กาสาวพสั ตร)์ อันหาโทษมิได้
๒. ยอ่ มช�ำระพระทกั ษิณาทานใหห้ มดจดได้ แม้เพราะการได้ทรงเพศคนหัวโล้น ผมู้ ี
สมัญญาว่าฤาษี (ภิกษุ)

136 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

๓. ย่อมช�ำระพระทกั ษิณาทานใหห้ มดจดได้ แม้เพราะความที่เข้าถึงความเป็น
ตัวแทนสงฆท์ เี่ ขานมิ นต์
๔. ยอ่ มช�ำระพระทักษณิ าทานให้หมดจดได้ แม้เพราะความเปน็ ผถู้ ึงพระพุทธเจา้
พระธรรม และพระสงฆว์ ่าเปน็ สรณะ
๕. ยอ่ มช�ำระพระทักษณิ าทานให้หมดจดได้ แม้เพราะความเป็นผูอ้ ยูอ่ าศัยในบ้าน
พกั อาศยั คือความเพยี ร
๖. ย่อมช�ำระพระทกั ษิณาทานใหห้ มดจดได้ แมเ้ พราะมีการแสวงหาทรัพย์ คือ พระ
ศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจา้
๗. ย่อมช�ำระพระทกั ษณิ าทานให้หมดจดได้ แมเ้ พราะมกี ารแสดงธรรมทย่ี อดเยี่ยม
๘. ยอ่ มช�ำระพระทกั ษิณาทานให้หมดจดได้ แม้เพราะความทม่ี พี ระธรรมเป็นประทปี
สอ่ งคตเิ ป็นท่ีไปเบอื้ งหนา้
๙. ยอ่ มช�ำระพระทกั ษณิ าทานให้หมดจดได้ แมเ้ พราะความท่มี ีความเห็นตรงแนน่ อน
ว่าพระพทุ ธเจา้ ทรงเป็นยอดบุคคล
๑๐. ยอ่ มช�ำระพระทักษิณาทานใหห้ มดจดได้ แมเ้ พราะความท่มี ีการสมาทานอุโบสถ
ขอถวายพระพร สมณทศุ ีลยังช�ำระทักขณิ าทานให้หมดจดยง่ิ ข้ึนไปได้ เพราะเหตุ ๑๐
ประการเหล่านแี้ ล
‘‘สวุ ปิ นฺโนป ิ ห ิ มหาราช สมณทสุ สฺ โี ล ทายกาน ํ ทกขฺ ิณ ํ วิโสเธติ ฯ ยถา มหาราช
อทุ กํ สพุ หลมฺปิ กลลกทฺทมรโชชลฺลํ อปเนติ; เอวเมว โข มหาราช สวุ ปิ นฺโนปิ สมณ-
ทสุ ฺสีโล ทายกาน ํ ทกขฺ ิณํ วโิ สเธติ ฯ
ขอถวายพระพร เปน็ ความจริงวา่ สมณทุศีล แมว้ ่าแสนจะวิบตั ิ กย็ ังช�ำระทักษณิ าทาน
ของทายกทั้งหลายใหห้ มดจดได้ ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ น�ำ้ แมว้ า่ แสนจะขุ่นขน้ ก็
ยังใช้ก�ำจดั โคลนตม เหง่ือไคล ขี้ฝุ่นได้ ฉันใด สมณทศุ ลี แมแ้ สนจะวบิ ตั ิ กย็ ังช�ำระทักษณิ า
ทานของทายกทัง้ หลายให้หมดจดได้ ฉันนัน้ เหมอื นกนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช อุณโฺ หทกํ สุกุธิตมปฺ ิ ปชชฺ ลนฺต ํ มหนตฺ ํ อคคฺ กิ ขฺ นฺธ ํ
นิพพฺ าเปติ, เอวเมว โข มหาราช สวุ ิปนโฺ นปิ สมณทสุ ฺสีโล ทายกาน ํ ทกขฺ ณิ ํ วโิ สเธติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหนงึ่ เปรียบเหมือนน้�ำร้อนใชด้ ับกองไฟกองใหญท่ กี่ �ำลงั ลุก
โพลงได้ ฉันใด สมณทศุ ีล แม้วา่ แสนจะวิบัติ กย็ ังช�ำระทักขณิ าทานของทายกท้ังหลายให้

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 137

หมดจดได้ ฉนั นนั้

‘‘ยถา วา ปน มหาราช โภชน ํ วิรสมปฺ ิ ขทุ าทพุ ฺพลฺย ํ อปเนติ, เอวเมว โข มหาราช
สุวปิ นโฺ นป ิ สมณทสุ สฺ โี ล ทายกานํ ทกฺขณิ ํ วิโสเธติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหน่ึง เปรยี บเหมือนวา่ โภชนาหาร แม้วา่ หารสชาติมิได้ ก็ยัง
ใชก้ �ำจดั ความหวิ ความอ่อนเพลีย ฉนั ใด สมณทศุ ลี แม้ว่าแสนจะวิบัติ ก็ยงั ช�ำระทักขณิ าทาน
ของทายกท้ังหลายให้หมดจดได้ ฉันนนั้

‘‘ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ตถาคเตน เทวาตเิ ทเวน มชฌฺ มิ นกิ ายวรล ฉฺ เก ทกฺขิณ-
วภิ งฺเค เวยยฺ ากรเณ –
‘‘โย สลี วา ทุสฺสเี ลสุ ททาติ ทาน ํ
ธมฺเมน ลทฺธ ํ สปุ สนนฺ จิตโฺ ต
อภสิ ททฺ ห ํ กมมฺ ผล ํ อุฬารํ
สา ทกฺขิณา ทายกโต วสิ ชุ ฺฌต’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระตถาคตผู้เปน็ เทพยง่ิ กว่าเหล่าเทพ ทรงภาษิตความข้อนไี้ วใ้ น
ทกั ขณิ าวิภงั คพยากรณ์ (ทกั ขิณาวภิ ังคสูตร) ในปกรณ์มัชฌิมนิกายอันประเสรฐิ ว่า
“ผู้ใดมศี ีล ได้ของมาโดยชอบธรรม มีจิตเล่อื มใสดี เช่อื กรรม
และผลแหง่ กรรมอนั โอฬาร ให้ทานในชนผู้ทศุ ีล ทกั ษิณาของผู้
น้ัน ชอื่ ว่าบรสิ ุทธิ์ฝ่ายทายก” ดงั นี้

‘‘อจฺฉรยิ ํ ภนเฺ ต นาคเสน, อพฺภตุ ํ ภนฺเต นาคเสน ตาวตก ํ มย ํ ป ฺหํ อปุจฺฉมิ หฺ ,
ต ํ ตฺวํ โอปมฺเมหิ การเณห ิ วภิ าเวนโฺ ต อมตมธรุ ํ สวนูปค ํ อกาสิ ฯ ยถา นาม ภนเฺ ต
สูโท วา สูทนฺเตวาสี วา ตาวตกํ มํสํ ลภติ ฺวา นานาวเิ ธห ิ สมภฺ าเรหิ สมปฺ าเทตวฺ า
ราชปู โภคํ กโรต;ิ เอวเมว โข ภนเฺ ต นาคเสน ตาวตก ํ มยํ ป ฺห ํ อปุจฉฺ มิ ฺห, ต ํ ตวฺ ํ
โอปมเฺ มหิ การเณห ิ วิภาเวตฺวา อมตมธุร ํ สวนูปค ํ อกาสี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “น่าอศั จรรย์จรงิ พระคุณเจา้ นาคเสน นา่ แปลกจรงิ พระคณุ เจ้า
นาคเสน โยมได้ถามปัญหาถงึ เพยี งนน้ั แลว้ ทา่ นก็ได้เปิดเผยปัญหานั้น ท�ำให้มรี สชาตอิ รอ่ ย
เป็นอมตะให้น่าฟงั ด้วยอปุ มา ดว้ ยเหตุผลท้งั หลายมากมาย ข้าแตพ่ ระคณุ เจา้ เปรียบเหมือน
ว่า พอ่ ครวั หรอื ลูกมือของพ่อครวั ไดเ้ นอื้ ถึงเพยี งน้ันแล้ว กใ็ ช้เครือ่ งปรงุ หลายอยา่ งตา่ ง ๆ กัน
มาปรงุ ใหส้ �ำเรจ็ เปน็ เคร่อื งเสวยของพระราชา ฉนั ใด พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมได้ถามปัญหา

138 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ถึงเพยี งนน้ั แลว้ ทา่ นกไ็ ด้เปดิ เผยปญั หาน้นั ท�ำใหม้ ีรสชาติอร่อย เปน็ อมตะ ให้น่าฟงั ดว้ ย
อปุ มา ด้วยเหตุผลทั้งหลายมากมาย ฉนั นัน้ ”

ทุสฺสีลปญฺโห ทสโม ฯ
จบทุสสลี ปญั หาขอ้ ที่ ๑๐

________

๑๑. อุทกสตฺตชีวปญหฺ
๑๑. อุทกสัตตชวี ปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยความเป็นสัตวค์ วามเปน็ ชวี ะแหง่ น้ำ�
[๑๑] ‘‘ภนฺเต นาคเสน อมิ ํ อทุ กํ อคคฺ ิมหฺ ิ ตปฺปมาน ํ จจิ จฺ ิฏายติ จิฏจิ ฏิ ายต ิ
สททฺ ายติ พหุวธิ ,ํ กินฺนุ โข ภนฺเต นาคเสน อทุ กํ ชีวต,ิ กึ กีฬมานํ สททฺ ายติ อทุ าหุ
อ เฺ น ปฏิปฬี ิตํ สททฺ ายต’ี ’ติ ?
[๑๑] พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน น้ำ� ท่ีถกู ต้มอยูบ่ นไฟนี้ พอเดือด ก็ส่ง
เสียงวี้ ๆ ซีด้ ๆ หลายอยา่ ง พระคุณเจา้ นาคเสน น้�ำมีชีวติ หรอื หนอ สง่ เสียงเล่นหรอื หรือถูก
สงิ่ อน่ื บีบค้ัน จึงสง่ เสยี ง ?”

‘‘น หิ มหาราช อุทก ํ ชวี ต,ิ นตฺถิ อทุ เก ชโี ว วา สตโฺ ต วา, อปจิ มหาราช
อคฺคสิ นฺตาปเวคสฺส มหนฺตตาย อทุ กํ จิจจฺ ฏิ ายติ จฏิ ิจฏิ ายติ สททฺ ายต ิ พหุวธิ น”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร นำ�้ หามีชีวติ ไม่ ชวี ะกด็ ี สัตว์
ก็ดี ไมม่ อี ย่ใู นนำ�้ ขอถวายพระพร แตท่ วา่ เพราะความท่ีก�ำลงั ความรอ้ นแห่งไฟมมี ากมาย น�้ำ
จึงส่งเสยี งว้ี ๆ ซี้ด ๆ หลายอย่าง”

‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อเิ ธกจเฺ จ ตติ ถฺ ยิ า อุทกํ ชวี ตตี ิ สโี ตทก ํ ปฏกิ ขฺ ิปติ ฺวา อทุ ก ํ
ตาเปตฺวา เวกติกเวกตกิ ํ ปริภุ ฺชนฺติ, เต ตมุ ฺเห ครหนตฺ ิ ปรภิ วนตฺ ิ ‘เอกนิ ทฺ รฺ ิยํ สมณา
สกยฺ ปุตฺติยา ชีว ํ วเิ หเ นตฺ ี’ติ, ต ํ เตส ํ ครห ํ ปรภิ ว ํ วิโนเทหิ อปเนห ิ นจิ ฉฺ าเรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พวกเดียรถยี บ์ างพวกในโลกนี้ คิดวา่ ‘น�้ำมี
ชีวิต จึงปฏเิ สธน้�ำเย็น ตม้ น้�ำให้รอ้ นแลว้ บรโิ ภคน�ำ้ ที่มกี ารท�ำใหว้ ปิ รติ ผิดแปลกไป พวก
เดยี รถีย์เหลา่ นั้น ย่อมตเิ ตียน ดหู ม่ินพวกท่านวา่ พวกสมณะศากยบตุ รยังเบียดเบียนอินทรยี ์
ชีวะอยอู่ ย่างหน่งึ ’ ดงั นี้ ขอท่านจงบรรเทา จงขจดั ปดั เป่าค�ำตเิ ตยี นดูหมน่ิ นนั้ ของพวกเดยี รถีย์

กัณฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 139

เหล่าน้นั เถดิ ”
‘‘น หิ มหาราช อทุ กํ ชวี ติ, นตถฺ ิ มหาราช อุทเก ชีโว วา สตฺโต วา, อปิจ
มหาราช อคฺคสิ นตฺ าปเวคสฺส มหนตฺ ตาย อทุ ก ํ จิจฺจฏิ ายติ จฏิ จิ ฏิ ายต ิ สทฺทายต ิ พหวุ ิธํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร น�ำ้ ไมม่ ชี ีวติ หรอก ชวี ะก็ดี สตั วก์ ด็ ี ไม่มี
อยู่ในนำ�้ ขอถวายพระพร แตท่ วา่ เพราะความท่ีก�ำลังความรอ้ นแหง่ ไฟมมี ากมาย น�้ำจึงส่ง
เสียงปบ๊ี ๆ ฉี่ ๆ หลายอยา่ ง
‘‘ยถา มหาราช อทุ ก ํ โสพภฺ สรสรติ ทหตฬากกนฺทรปทรอุทปานนนิ นฺ โปกฺขรณิคตํ
วาตาตปเวคสฺส มหนฺตตาย ปรยิ าทยิ ต ิ ปรกิ ฺขยํ คจฺฉต,ิ อปิ นุ ตตถฺ อทุ กํ จจิ ฺจฏิ ายต ิ
จิฏิจฏิ ายต ิ สททฺ ายต ิ พหุวิธ’’นตฺ ิ ?
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า เพราะความท่ีก�ำลงั ลมและแดดรนุ แรง นำ�้ ทอ่ี ยู่ใน
โพรง สระ ล�ำธาร ทะเล ตระพงั น�้ำ รอ่ งน�ำ้ ทีซ่ อกเขา บอ่ น้�ำ ทีล่ ุม่ สระโบกขรณี จึงถกู ขจดั
จนถึงความสนิ้ ไป กแ็ ตว่ า่ น�้ำในสถานทีเ่ หลา่ นัน้ ย่อมสง่ เสยี งปี๊บๆ ฉ่ี ๆ หลายอย่างหรอื หนอ”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “หามิได้ พระคุณเจา้ ”
‘‘ยทิ มหาราช อทุ ก ํ ชเี วยยฺ , ตตฺถาปิ อทุ ก ํ สทฺทาเยยยฺ , อมิ นิ าปิ มหาราช
การเณน ชานาหิ ‘นตถฺ ิ อุทเก ชโี ว วา สตโฺ ต วา, อคคฺ สิ นตฺ าปเวคสฺส มหนตฺ ตาย อทุ กํ
จิจฺจฏิ ายต ิ จฏิ ิจฏิ ายติ สททฺ ายต ิ พหุวธิ น’ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถ้าหากว่า นำ้� พึงมีชวี ิตไซร้ น�้ำแมใ้ น
สถานทเี่ หลา่ นนั้ ก็จะพงึ สง่ เสียง ขอถวายพระพร เพราะเหตผุ ลแม้ข้อนี้ ก็จงทรงทราบเถดิ วา่
ชวี ะกด็ ี สตั วก์ ด็ ี ไม่มีอยใู่ นนำ�้ แตท่ ว่า เพราะความทก่ี �ำลังความรอ้ นแห่งไฟมีมากมาย นำ้� จงึ ส่ง
เสียงปี๊บๆ ฉี่ ๆ หลายอยา่ ง
‘‘อปรมฺปิ มหาราช อตุ ฺตร ึ การณ ํ สุโณห ิ ‘นตฺถิ อุทเก ชโี ว วา สตโฺ ต วา,
อคฺคสิ นตฺ าปเวคสฺส มหนฺตตาย อุทกํ สททฺ ายต’ี ติ ฯ ยทา ปน มหาราช อุทก ํ ตณฺฑุเลหิ
สมฺมิสสฺ ติ ํ ภาชนคตํ โหต ิ ปหิ ติ ํ อทุ ธฺ เน อ ปติ ,ํ อป ิ นุ ตตถฺ อทุ กํ สททฺ ายต’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองค์ทรงสดบั เหตุผลแม้ข้ออน่ื ทวี่ ่า ชีวะกด็ ี สตั ว์กด็ ี ไมม่ อี ยใู่ น
น้�ำ แตท่ วา่ เพราะความท่ีก�ำลงั ความร้อนแหง่ ไฟมมี ากมาย น้ำ� จึงสง่ เสียง ขอถวายพระพร ใน

140 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

เวลาทบ่ี ุคคลยกน�ำ้ ทป่ี นขา้ วสารซึ่งอยู่ในภาชนะปิดฝาข้นึ วางบนเตา ก็น้�ำบนเตานน้ั ย่อมสง่
เสยี งหรอื หนอ”
‘‘น หิ ภนฺเต อจล ํ โหต ิ สนตฺ สนตฺ นฺ’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ว่า “หามไิ ด้ พระคณุ เจา้ ย่อมเป็นอนั สงบนง่ิ ไมส่ น่ั ไหว”
‘‘ตเํ ยว ปน มหาราช อุทก ํ ภาชนคต ํ อคฺค ึ อุชชฺ าเลตวฺ า อทุ ธฺ เน ปติ ํ โหต,ิ อป ิ
นุ ตตฺถ อทุ กํ อจล ํ โหติ สนฺตสนฺตน’ฺ ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร น�ำ้ ทอี่ ยใู่ นภาชนะนน้ั นัน่ แหละ เขาจุด
ไฟใหล้ ุกโพลงเสียกอ่ นแล้ว จงึ คอ่ ยวางบนเตา น้ำ� ทีอ่ ยูบ่ นเตานน้ั ยังคงสงบน่งิ ไม่ส่ันไหวอยู่
นน่ั เองหรือ”
‘‘น ห ิ ภนฺเต จลต ิ ขพุ ฺภต ิ ลุฬต ิ อาวิลติ อูมิชาต ํ โหต,ิ อทุ ฺธมโธ ทิสาวิทสิ ํ
คจฺฉต,ิ อุตตฺ รติ ปตรติ เผณมาล ี โหตตี ิ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “หามิได้ พระคุณเจา้ มันย่อมสัน่ ไหว กระเพื่อม เดอื ด ขุ่นข้ึน
เกดิ เป็นระลอกคล่ืน แล่นไปยังทิศใหญ่ ทศิ น้อย ทงั้ เบือ้ งบน เบื้องลา่ ง เออ่ แผ่เป็นฟองไป”
“กิสฺส ปน ตํ มหาราช ปากตกิ ํ อุทก ํ น จลต ิ สนฺตสนฺต ํ โหติ, กิสสฺ ปน อคคฺ คิ ต ํ
จลต ิ ขุพฺภต ิ ลฬุ ต ิ อาวิลต ิ อมู ชิ าต ํ โหต,ิ อุทฺธมโธ ทิสาวทิ สิ ํ คจฺฉต,ิ อตุ ตฺ รต ิ ปตรติ
เผณมาลี โหต’ี ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร น้ำ� ตามปกติจงึ สงบนิง่ ไม่
สน่ั ไหว ส่วนน�้ำทีอ่ ยู่บนไฟ เพราะเหตไุ ร จงึ สนั่ ไหว กระเพอ่ื ม เดือด ขนุ่ ขึ้น เกิดเปน็ ระลอก
คล่นื แลน่ ไปยังทศิ นอ้ ยใหญ่ ท้งั เบอ้ื งบนเบอ้ื งล่าง เอ่อ แผ่เปน็ ฟองไปเล่า”
‘‘ปากตกิ ํ ภนฺเต อุทกํ น จลต,ิ อคฺคิกตํ ปน อทุ ก ํ อคคฺ ิสนตฺ าปเวคสฺส มหนฺตตาย
จจิ ฺจฏิ ายติ จิฏิจฏิ ายต ิ สทฺทายติ พหวุ ิธน”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “นำ�้ ตามปกติไม่สนั่ ไหว สว่ นน�ำ้ ท่อี ยบู่ นไฟ สง่ เสียงปี๊บๆ ฉี่ ๆ
หลายอย่าง เพราะความท่ีก�ำลังความรอ้ นแหง่ ไฟมีมากมาย”
‘‘อิมนิ าปิ มหาราช การเณน ชานาห ิ ‘นตฺถ ิ อทุ เก ชโี ว วา สตฺโต วา, อคฺคิ-
สนฺตาปเวคสสฺ มหนฺตตาย อุทก ํ สทฺทายตี’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เพราะเหตผุ ลแมข้ ้อนี้ ขอจงทราบเถิด

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 141

ว่า ชีวะกด็ ี สตั วก์ ด็ ี ไม่มอี ยูใ่ นน้ำ� แต่ทวา่ เพราะความที่ก�ำลงั ความรอ้ นแหง่ ไฟ มีมากมาย น้ำ�
จงึ สง่ เสยี งปบี๊ ๆ ฉ่ี ๆ หลายอยา่ ง”
‘‘อปรมฺป ิ มหาราช อตุ ฺตรํ การณํ สโุ ณห ิ นตถฺ ิ อุทเก ชโี ว วา สตฺโต วา,
อคฺคสิ นฺตาปเวคสฺส มหนฺตตาย อุทก ํ สททฺ ายติ ฯ โหติ ต ํ มหาราช อุทก ํ ฆเร ฆเร
อุทกวารกคต ํ ปหิ ิตน’ฺ ’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอพระองค์ทรงสดับเหตุผลแม้อีกข้อหนึ่งวา่ ชีวะกด็ ี สตั วก์ ด็ ี ไมม่ อี ยู่
ในนำ้� แต่ทวา่ เพราะความท่กี �ำลงั ความร้อน แห่งไฟมมี ากมาย นำ�้ จงึ ส่งเสยี งป๊ีบๆ ฉ่ี ๆ ได้
ยง่ิ อีกหนอ่ ยเถิด ขอถวายพระพรในเรอื นแต่ละหลัง เขาจะมีการใส่น้�ำไว้ในถังน�้ำ และปดิ ฝาไว้
มิใช่หรือ”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “ใช่ พระคณุ เจ้า”
‘‘อป ิ น ุ ต ํ มหาราช อทุ ก ํ จลติ ขุพฺภต ิ ลุฬติ อาวิลติ อมู ชิ าต ํ โหต,ิ อทุ ธฺ มโธ
ทสิ าวิทสิ ํ คจฺฉต,ิ อุตฺตรติ ปตรติ เผณมาลี โหตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กแ็ ตว่ า่ น�้ำนั้น ยอ่ มสัน่ ไหว กระเพ่อื ม
เดือด ขนุ่ ขึ้นมา เกิดเป็นระลอกคลน่ื แลน่ ไปสู่ทิศน้อยใหญ่ ท้งั เบอื้ งบน เบอ้ื งลา่ ง เอ่อ แผ่เป็น
ฟองไปหรือไร ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต อจลํ ตํ โหติ ปากติกํ อทุ กวารกคต ํ อุทกน”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “หามิได้ พระคณุ เจา้ น�ำ้ ทอี่ ยใู่ นถงั น�้ำตามปกตนิ ั้น ย่อมมีอันไม่
สั่นไหว”
‘‘สตุ ปพุ ฺพํ ปน ตยา มหาราช ‘มหาสมุทฺเท อทุ ก ํ จลต ิ ขุพภฺ ต ิ ลุฬต ิ อาวลิ ต ิ
อูมิชาต ํ โหติ, อุทธฺ มโธ ทิสาวิทสิ ํ คจฺฉติ, อุตฺตรติ ปตรต ิ เผณมาล ี โหต,ิ อสุ ฺสกฺกติ ฺวา
โอสสฺ กฺกติ วฺ า เวลาย ปหรติ สททฺ ายต ิ พหวุ ธิ นฺ”ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระองค์เคยทรงสดับมาหรอื ไมว่ ่า น้�ำ
ในมหาสมุทรก็ส่ันไหว กระเพอ่ื ม เดือดขุ่นข้ึนมา เกิดเปน็ ระลอกคล่นื แล่นไปสูท่ ศิ นอ้ ยใหญ่
ทง้ั เบอื้ งบน เบือ้ งลา่ ง เอ่อ แผเ่ ป็นฟองไป ซดั ข้ึนไปกระแทกฝง่ั สง่ เสียงหลายอยา่ ง”

142 มิลินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘อาม ภนเฺ ต สตุ ปพุ พฺ ํ เอตํ มยา ทฏิ ฺ ปุพฺพ ฺจ ‘มหาสมทุ ฺเท อุทกํ หตถฺ สตมฺปิ
เทวฺ ป ิ หตถฺ สตาน ิ คคเน อุสฺสกฺกตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “ใช่ พระคุณเจา้ โยมเคยไดส้ ดับมาว่า และเคยเห็นมาวา่ ‘น�้ำใน
มหาสมทุ รซดั ขึ้นไปบนทอ้ งฟา้ สูงชว่ั ๑๐๐ ศอกบ้าง ๒๐๐ ศอกบ้าง”
‘‘กสิ ฺส มหาราช อุทกวารกคตํ อุทกํ น จลติ น สทฺทายต,ิ กสิ สฺ ปน มหาสมุทเฺ ท
อทุ กํ จลติ สทฺทายตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร ? น้�ำทีอ่ ยใู่ นถังนำ้� ย่อม
ไม่สนั่ ไหว ไมส่ ง่ เสียง แตเ่ พราะเหตุไร ? นำ้� ในมหาสมุทร จึงสนั่ ไหว จึงสง่ เสยี ง”
‘‘วาตเวคสฺส มหนตฺ ตาย ภนเฺ ต มหาสมทุ เฺ ท อุทก ํ จลต ิ สททฺ ายต,ิ อทุ กวารกคตํ
อทุ ก ํ อฆฏฺฏิตํ เกหจิ ิ น จลติ น สททฺ ายตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ น้�ำในมหาสมทุ รส่ันไหว สง่ เสยี ง เพราะแรงลมมี
มาก ฉนั ใด นำ้� ทอี่ ยใู่ นถังน�้ำ ไมถ่ กู อะไร ๆ กระแทกกระท้ัน จงึ ไม่ส่นั ไหว ไม่สง่ เสยี ง
‘‘ยถา มหาราช วาตเวคสฺส มหนตฺ ตาย มหาสมทุ ฺเท อทุ กํ จลต ิ สททฺ ายต ิ เอวเมว
อคคฺ ิสนตฺ าปเวคสฺส มหนตฺ ตาย อทุ ก ํ สทฺทายต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร นำ�้ ในมหาสมทุ ร ยอ่ มสั่นไหว ย่อมส่ง
เสียง เพราะแรงลมมมี าก ฉนั ใด นำ้� (ทอ่ี ยบู่ นไฟ) ยอ่ มส่งเสียง เพราะก�ำลังความร้อนแหง่ ไฟ มี
มาก ฉันนนั้ เหมือนกนั ”
‘‘นน ุ มหาราช เภริโปกฺขรํ สุกฺข ํ สุกฺเขน โคจมฺเมน โอนนธฺ นฺต’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร ธรรมดาขอบปากหนา้ กลองแหง้ เขาใช้หนังโคแหง้ หมุ้ ไวม้ ิใชห่ รอื ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต’’ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั วา่ “ใช่ พระคุณเจา้ ”
‘‘อปิ นุ มหาราช เภรยิ า ชโี ว วา สตฺโต วา อตถฺ ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กแ็ ตว่ ่า ชีวะกด็ ี สัตว์กด็ ี มีอยู่ในกลอง
หรอื ?”

กณั ฑ์] ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 143

‘‘น ห ิ ภนเฺ ต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รสั ว่า “ไม่มหี รอก พระคุณเจ้า”
‘‘กสิ สฺ ปน มหาราช เภร ี สทฺทายตี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร กลองจึงส่งเสยี งไดเ้ ลา่ ?”
‘‘อติ ถฺ ิยา วา ภนเฺ ต ปุรสิ สสฺ วา ตชฺเชน วายาเมนา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ กลองส่งเสียงได้ เพราะความพยายาม (คอื การต)ี
ทีเ่ กิดขึน้ จากความประสงคจ์ ะตีของหญงิ หรือชาย”
‘‘ยถา มหาราช อิตฺถิยา วา ปรุ ิสสฺส วา ตชฺเชน วายาเมน เภรี สทฺทายติ,
เอวเมว อคฺคสิ นตฺ าปเวคสสฺ มหนตฺ ตาย อุทก ํ สทฺทายติ ฯ อมิ นิ าป ิ มหาราช การเณน
ชานาห ิ ‘นตฺถ ิ อทุ เก ชโี ว วา สตโฺ ต วา, อคคฺ สิ นตฺ าปเวคสฺส มหนตฺ ตาย อุทก ํ
สทฺทายตี’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กลองส่งเสยี งได้ เพราะความพยายาม
จะตขี องหญิงหรือชาย ฉนั ใด น�ำ้ สง่ เสียงได้ เพราะก�ำลังความร้อนแหง่ ไฟมีมากฉันนัน้ เหมือน
กนั ขอถวายพระพร แม้เพราะเหตุผล ข้อนี้ ก็ขอพระองคจ์ งทรงทราบไวเ้ ถดิ ว่า ชีวะก็ดี สตั ว์
ก็ดี ไมม่ ีอยู่ในน�ำ้ น�ำ้ ส่งเสยี งได้ เพราะก�ำลังความร้อนแห่งไฟมมี าก’
‘‘มยฺหมปฺ ิ ตาว มหาราช ตว ปจุ ฉฺ ติ พพฺ ํ อตถฺ ิ เอวเมโส ป ฺโห สวุ ินิจฺฉโิ ต โหต,ิ
กนิ ฺน ุ โข มหาราช สพฺเพหปิ ิ ภาชเนหิ อทุ ก ํ ตปฺปมาน ํ สททฺ ายติ อทุ าห ุ เอกจฺเจหิเยว
ภาชเนหิ ตปปฺ มาน ํ สททฺ ายต’ี ’ติ ?
ขอถวายพระพร ค�ำท่พี ระองค์พึงตรสั ถามอาตมภาพ ก็มีอยู่ เพียงเท่าน้ัน ขอ้ น้ีก็เป็น
ปัญหาทอี่ าตมภาพวินิจฉยั ดีแล้ว ตามประการดงั กล่าวมาน้ี ขอถวายพระพร น�้ำทีเ่ ขาใช้
ภาชนะแม้ทุกอยา่ ง ต้มใหร้ อ้ น กย็ ่อมส่งเสียงได้ทั้งนน้ั หรอื ไร หรอื วา่ ท่ีใช้ภาชนะบางอยา่ งตม้
ใหร้ อ้ นเทา่ นัน้ จึงจะสง่ เสียงได้เลา่ ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต สพฺเพหิป ิ ภาชเนหิ อุทกํ ตปฺปมาน ํ สททฺ ายติ, เอกจฺเจหิเยว
ภาชเนหิ อุทก ํ ตปฺปมานํ สทฺทายตี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ น�้ำท่ีถูกเขาใช้ภาชนะทุกอย่างตม้ ให้รอ้ น ยอ่ มสง่
เสียงรอ้ งท้ังนนั้ หามิได้ น�้ำทเี่ ขาใช้ภาชนะบางอยา่ งตม้ ให้รอ้ นเทา่ นนั้ จึงสง่ เสยี งได้”

144 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘เตนห ิ มหาราช ชหิโตสิ สกสมยํ, ปจจฺ าคโตส ิ มม วสิ ยํ, นตถฺ ิ อุทเก ชีโว วา
สตโฺ ต วา ฯ ยทิ มหาราช สพเฺ พหปิ ิ ภาชเนห ิ อุทก ํ ตปปฺ มาน ํ สทฺทาเยยยฺ , ยตุ ตฺ มิทํ
‘อุทก ํ ชวี ต’ี ติ วตตฺ ํุ ฯ น ห ิ มหาราช อุทกํ ทฺวยํ โหติ, ย ํ สทฺทายติ, ต ํ ชวี ต,ิ ย ํ น
สทฺทายติ, ตํ น ชวี ตีติ ฯ ยท ิ มหาราช อทุ กํ ชเี วยฺย, มหนฺตานํ หตถฺ นิ าคานํ อุสฺสนนฺ -
กายานํ ปภนิ นฺ าน ํ โสณฑฺ าย อุสฺส ิ ฺจติ วฺ า มเุ ข ปกขฺ ิปิตวฺ า กจุ ฉฺ ิํ ปเวสยนตฺ านํ, ตมปฺ ิ
อทุ ก ํ เตส ํ ทนฺตนฺตเร จปิ ปฺ ยิ มานํ สทฺทาเยยฺย ฯ หตถฺ สตกิ าป ิ มหานาวา ครกุ า ภารกิ า
อเนกสตสหสฺสภารปรปิ ูรา มหาสมทุ เฺ ท วจิ รนฺต,ิ ตาหิปิ จิปฺปยิ มานํ อุทก ํ สททฺ าเยยฺย ฯ
มหตมิ หนตฺ าปิ มจฺฉา อเนกสตโยชนกิ กายา ติมี ตมิ ิงฺคลา ตมิ ริ ปงิ ฺคลา อพภฺ นตฺ เร นมิ คุ คฺ า
มหาสมุทฺเท นวิ าสฏฺ านตาย ปฏิวสนตฺ า มหาอทุ กธารา อาจมนฺติ ธมนตฺ ิ จ, เตสมปฺ ิ ตํ
ทนฺตนตฺ เรป ิ อุทรนฺตเรป ิ จิปปฺ ยิ มานํ อทุ ก ํ สททฺ าเยยยฺ ฯ ยสฺมา จ โข มหาราช เอวรเู ปห ิ
เอวรูเปหิ มหนเฺ ตห ิ ปฏปิ ฬี เนหิ ปฏปิ ีฬติ ํ อุทก ํ น สทฺทายต ิ ตสฺมาป ิ นตถฺ ิ อุทเก ชโี ว
วา สตโฺ ต วาต,ิ เอวเมต ํ มหาราช ธาเรหี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถา้ อยา่ งนั้นก็เปน็ อันว่า พระองค์ละทง้ิ
ความคดิ เหน็ ของพระองค์ หนั กลับมาสวู่ ิสัยของอาตมภาพท่วี า่ ชีวะกด็ ี สตั วก์ ็ดี ไมม่ อี ยใู่ นนำ�้
ขอถวายพระพร ถ้าหากว่า นำ�้ ทถ่ี ูกเขาใช้ภาชนะแมท้ กุ อยา่ งต้มให้รอ้ น กพ็ ึงส่งเสยี งไดท้ งั้ น้นั
ไซร้ กค็ วรที่จะกลา่ วค�ำวา่ น�้ำมีชวี ติ ค�ำนี้ได้ ขอถวายพระพร เปน็ ความจริงวา่ นำ้� ยอ่ มไม่มี
การแยกเป็น ๒ ประการ คือ (๑) ส่งเสยี งไดอ้ ยู่ กช็ ่อื วา่ มชี วี ิต (๒) ส่งเสียงไมไ่ ด้ กช็ อ่ื วา่ ไมม่ ี
ชีวิต ขอถวายพระพร ถ้าหากวา่ นำ้� พงึ มีชีวิตไซร้ เวลาทชี่ า้ งใหญม่ รี า่ งกายสงู ใหญ่ ก�ำลงั
ตกมัน ใชง้ วงดูดน้ำ� แล้วพน่ เขา้ ไปในปากจนถงึ ทอ้ ง น้�ำแม้นั้นเมื่อถูกบดขยอี้ ยูร่ ะหวา่ งกราม
ของช้างเหล่านัน้ กน็ า่ จะส่งเสียง แมเ้ รอื ใหญย่ าวถงึ ๑๐๐ ศอก เปน็ เรอื หนกั เต็มด้วยของหนกั
ๆ หลายรอ้ ยหลายพันอยา่ ง แล่นไปในมหาสมุทร นำ�้ ถูกเรือใหญเ่ หล่าน้ันบดขยอี้ ยู่ กน็ ่าจะสง่
เสียง แมป้ ลาใหญ่ ๆ มกี ายยาวหลายรอ้ ยโยชน์ คือ ปลาตมิ ิ ปลาติมิงคละ ปลาตมิ ริ ปงิ คละ ด�ำ
ลงไปภายในมหาสมุทร ใช้มหาสมุทรเป็นทีอ่ าศยั อยู่ ทั้งกิน ทง้ั พน่ ธารนำ�้ ใหญ่ นำ้� ทถี่ กู บดขย้ี
ระหวา่ งฟนั ปลาแมเ้ หลา่ น้นั กน็ ่าจะสง่ เสียง ขอถวายพระพร ก็เพราะเหตุวา่ นำ�้ ถกู สิ่งบบี คนั้
ใหญ่ ๆ ท้ังหลาย เห็นปานน้ี บีบคน้ั อยู่ กย็ งั ไม่สง่ เสยี ง เพราะฉะน้นั ชวี ะก็ดี สัตวก์ ด็ ี ไมม่ ีอยใู่ น
นำ�้ หรอก ขอพระองค์ จงทรงยอมรบั ความจริงขอ้ นี้ ตามประการดงั กล่าวมาน้เี ถดิ ”

กัณฑ]์ ๔.๖ อาจรยิ านาจริยวรรค 145

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน โทสาคโต ป โฺ ห อนจุ ฉฺ วิกาย วภิ ตตฺ ยิ า วิภตฺโต, ยถา นาม
ภนฺเต นาคเสน มหคฆฺ ํ มณิรตนํ เฉก ํ อาจริยํ กุสล ํ สิกขฺ ิตํ มณิการ ํ ปาปณุ ิตวฺ า กติ ตฺ ึ
ลเภยยฺ โถมน ํ ปสํส,ํ มุตฺตารตน ํ วา มตุ ตฺ กิ ํ ทสุ ฺสรตนํ วา ทุสฺสิกํ, โลหิตจนฺทนํ วา คนฺธกิ ํ
ปาปณุ ติ ฺวา กติ ตฺ ึ ลเภยฺย โถมนํ ปสสํ ํ ฯ เอวเมว โข ภนเฺ ต นาคเสน โทสาคโต ป โฺ ห
อนจุ ฉฺ วิกาย วิภตฺติยา วิภตฺโต, เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฺฉาม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ “ดีจรงิ พระคุณเจ้านาคเสน ปัญหาท่มี ีโทษ ทา่ นกไ็ ด้จ�ำแนก
อยา่ งเหมาะสมแลว้ พระคณุ เจา้ นาคเสน เปรียบเหมอื นว่า แก้วมณที มี่ ีค่ามาก พอสง่ ไปถงึ ชา่ ง
แกว้ มณีผู้ฉลาด อจั ฉรยิ ะ ช�ำนาญ มีการศึกษาแล้ว กพ็ ึงไดแ้ ต่ขอ้ ที่นา่ ยกยอ่ ง ขอ้ ทีน่ ่าชมเชย
ข้อท่ีนา่ สรรเสรญิ อกี อยา่ งหนง่ึ แก้วมุกดา พอสง่ ไปถึงช่างแก้วมกุ ดา กพ็ งึ ไดแ้ ตข่ อ้ ท่ีน่า
ยกย่อง ข้อที่น่าชมเชย ขอ้ ที่นา่ สรรเสรญิ อกี อย่างหนงึ่ ผ้าเนือ้ ดี พอสง่ ไปถงึ ชา่ งตัดเส้ือผา้ แล้ว
กพ็ งึ ได้แต่ขอ้ น่ายกย่อง ขอ้ ท่ีนา่ ชมเชย ขอ้ ทน่ี า่ สรรเสริญ อกี อย่างหน่งึ จนั ทน์แดง พอสง่ ไป
ถึงชา่ งไมแ้ ก่น ก็พึงไดแ้ ต่ข้อท่นี ่ายกย่อง ขอ้ ที่น่าชมเชย ข้อที่น่าสรรเสริญ ฉนั ใด พระคุณเจา้
นาคเสน ปัญหาท่ีมโี ทษ ท่านกไ็ ดจ้ �ำแนกไว้อยา่ งเหมาะสมแล้ว ฉันนน้ั เหมอื นกนั โยมขอ
ยอมรบั ค�ำสอนทท่ี า่ นกล่าวมาน”้ี

อทุ กสตฺตชวี ปญฺโห เอกาทสโม ฯ
จบอุทกสตั ตชีวปญั หาขอ้ ที่ ๑๑

อาจริยานาจริยวคฺโค ฉฏโฺ € ฯ
จบอาจรยิ านาจริยวรรคที่ ๖

อมิ สมฺ ึ วคฺเค เอกาทส ปญหฺ า ฯ
ในวรรคนี้มีปัญหา ๑๑ ข้อ
________

146 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

๔.๗ นปิ ฺปปญจฺ วคคฺ
๔.๗ นปิ ปปัญจวรรค หมวดว่าดว้ ยไมม่ ีธรรมเปน็ เหตุเนิน่ ช้า

๑. นิปฺปปญฺจปญฺห
๑. นิปปปญั จปญั หา
ปัญหาว่าด้วยความเปน็ ผูไ้ ม่มีธรรมเป็นเหตเุ นนิ่ ช้า
[๑] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ‘นปิ ปฺ ป จฺ ารามา ภกิ ขฺ เว วิหรถ
นิปปฺ ป ฺจรติโน’ต,ิ กตมํ ต ํ นิปปฺ ป จฺ น”ฺ ติ ?
[๑] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงภาษิตความ
ข้อนีไ้ วว้ า่ ‘ภกิ ษุท้งั หลาย พวกเธอจงมนี ปิ ปปญั จธรรม (ธรรมทไี่ มม่ ธี รรมเป็นเหตเุ นน่ิ ช้า) เป็น
ที่ยินดี ยนิ ดใี นนปิ ปปญั จธรรมอยูเ่ ถิด’ ดังน้ี นิปปปัญจธรรมเปน็ ไฉน ?”

‘‘โสตาปตฺตผิ ลํ มหาราช นิปฺปป ฺจ,ํ สกทาคามิผล ํ นิปฺปป ฺจํ, อนาคามผิ ล ํ
นปิ ปฺ ป จฺ ํ, อรหตตฺ ผล ํ นิปฺปป จฺ น”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร โสดาปตั ติผลก็ชอื่ วา่ นิปปปญั จธรรม
สกทาคามผิ ล ก็ชื่อว่านิปปปญั จธรรม อนาคามิผล กช็ ื่อว่านิปปปัญจธรรม อรหัตตผล ก็ชอื่ วา่
นิปปปัญจธรรม”

‘‘ยทิ ภนฺเต นาคเสน โสตาปตฺตผิ ลํ นิปฺปป ฺจํ, สกทาคามอิ นาคามอิ รหตตฺ ผล ํ
นปิ ปฺ ป ฺจ,ํ กิสสฺ ปน อิเม ภิกฺข ู อุทฺทิสนฺติ ปรปิ จุ ฺฉนตฺ ิ สุตฺตํ เคยยฺ ํ เวยยฺ ากรณํ คาถ ํ
อทุ าน ํ อิตวิ ตุ ฺตกํ ชาตก ํ อพภฺ ุตธมฺมํ เวทลลฺ ํ, นวกมเฺ มน ปลิพชุ ฌฺ นฺติ ทาเนน จ ปูชาย จ,
นน ุ เต ชินปฺปฏิกฺขิตฺตํ กมฺม ํ กโรตี’’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากว่า โสดาปตั ติผล ก็ชื่อวา่ นิปปปญั จ-
ธรรม สกทาคามิผล อนาคามผิ ล อรหตั ตผล ก็ช่อื วา่ นปิ ปปญั จธรรมไซร้ เพราะเหตไุ ร ภกิ ษุ
เหล่านั้น จึงยงั เล่าเรยี น สอบถามซ่ึงสตุ ตะ เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อทุ าน อิติวุตตกะ ชาดก
อพั ภูตธรรม เวทัลละ กนั อยู่ ยังย่งุ เกีย่ วกบั งานก่อสรา้ ง ยงั ยุ่งเกยี่ วกบั ทานและการบูชากันอยู่
ภิกษเุ หล่านั้น จดั ว่ากระท�ำการงานท่ีพระชินวรพทุ ธเจา้ ทรงห้าม มใิ ชห่ รือ ?”

‘‘เย เต มหาราช ภิกฺขู อทุ ทฺ ิสนตฺ ิ ปริปุจฺฉนฺต ิ สุตตฺ ํ เคยฺย ํ เวยฺยากรณ ํ คาถํ
อทุ านํ อติ วิ ตุ ตฺ กํ ชาตก ํ อพภฺ ุตธมมฺ ํ เวทลลฺ ํ, นวกมเฺ มน ปลิพชุ ฺฌนฺติ ทาเนน จ ปูชาย จ,

กณั ฑ]์ ๔.๗ นิปปปญั จวรรค 147

สพฺเพ เต นิปฺปป จฺ สสฺ ปตฺติยา กโรนฺติ ฯ เย เต มหาราช สภาวปริสทุ ธฺ า ปพุ เฺ พ
วาสิตวาสนา, เต เอกจติ ตฺ กขฺ เณน นิปฺปญจฺ า โหนตฺ ิ ฯ เย ปน เต ภกิ ฺขู มหารชกฺขา, เต
อิเมหิ ปโยเคหิ นิปปฺ ป จฺ า โหนตฺ ิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ภิกษเุ หล่าใดเหล่าหน่ึง เล่าเรียน
สอบถามซึง่ สตุ ตะ เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อทุ าน อิตวิ ตุ ตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทลั ละ ยัง
ยุ่งเก่ียวกบั งานก่อสร้าง ยงั ย่งุ เก่ยี วกบั ทานและการบชู ากันอยู่ ภิกษุเหลา่ น้ันท้ังส้ิน ล้วนช่ือว่า
กระท�ำเพอ่ื บรรลุนิปปปัญจธรรม ขอถวายพระพร ภิกษเุ หลา่ ใด เป็นผบู้ รสิ ุทธิต์ ามสภาวะแลว้
อบรมวาสนาไวแ้ ล้วในภพก่อน ภิกษเุ หลา่ นนั้ ยอ่ มส�ำเร็จเปน็ ผไู้ มม่ ธี รรมเป็นเหตเุ น่ินชา้ โดย
ขณะจติ เดียว สว่ นภกิ ษเุ หล่าใด ยงั เป็นผมู้ ธี ลุ ีในดวงตามากอยู่ ภิกษเุ หล่านั้น จะส�ำเร็จเปน็ ผู้
ไมม่ ีธรรมเปน็ เหตเุ น่ินชา้ ก็โดยอาศัยปโยคะ (ความขวนขวายพยายาม) มีการเล่าเรียนเปน็ ต้น
เหล่านี้
‘‘ยถา มหาราช เอโก ปรุ ิโส เขตเฺ ต พชี ํ โรเปตวฺ า อตฺตโน ยถาพลวรี ิเยน วินา
ปาการวติยา ธ ฺ ํ อทุ ธฺ เรยฺย, เอโก ปุรโิ ส เขตเฺ ต พชี ํ โรเปตวฺ า วน ํ ปวิสิตฺวา กฏฺ จฺ
สาข ฺจ ฉินฺทิตฺวา วติปาการํ กตวฺ า ธ ฺ ํ อุทธฺ เรยยฺ ฯ ยา ตตฺถ ตสฺส วตปิ าการ-
ปรเิ ยสนา, สา ธ ฺ ตฺถาย ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เต สภาวปริสทุ ฺธา ปุพฺเพ วาสติ -
วาสนา, เต เอกจติ ตฺ กฺขเณน นิปปฺ ป จฺ า โหนฺต,ิ วินา วติปาการ ํ ปุริโส วิย ธ ฺ ทุ ธฺ าโร
ฯ เย ปน เต ภกิ ฺขู มหารชกขฺ า, เต อเิ มหิ ปโยเคห ิ นปิ ปฺ ป จฺ า โหนฺติ, วตปิ าการํ
กตฺวา ปรุ โิ ส วยิ ธ ฺ ุทธฺ าโร ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ บรุ ุษคนหนึง่ หว่านพชื ไว้ในทนี่ าดแี ลว้ กพ็ ึงใช้ความ
พยายามตามควรแกก่ �ำลงั ของตน เกบ็ เกย่ี วธญั ญชาตไิ ดโ้ ดยเว้นการลอ้ มรั้ว บรุ ุษอกี คนหนง่ึ
หว่านพชื ไวใ้ นทีน่ าแลว้ กย็ งั ต้องเขา้ ปา่ ตัดท่อนไมแ้ ละกิง่ ก้านมาท�ำรว้ั ล้อม จึงจะพงึ เก็บเกย่ี ว
ธญั ญชาตไิ ด้ ในบรุ ุษ ๒ คนนัน้ การตอ้ งแสวงหารั้วลอ้ มของบุรุษ (คนที่ ๒) นนั้ ใด การแสวงหา
รวั้ ล้อมนน้ั ยอ่ มเป็นไปเพอื่ ประโยชนแ์ ก่ธญั ชาติ ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอย่างนัน้ น่ัน
แหละ ภิกษุเหลา่ ใดเป็นผู้บรสิ ทุ ธต์ิ ามสภาวะอย่แู ล้ว ได้อบรมวาสนาไวแ้ ลว้ ในภพก่อน ภกิ ษุ
เหลา่ นัน้ เปน็ ผ้ไู ม่มธี รรมเปน็ เหตุเนนิ่ ช้า โดยขณะจิตเดียว เปรียบได้กับบรุ ุษผู้เก็บเกยี่ วธญั ญ-
ชาติได้โดยเวน้ รัว้ ล้อม ฉะนั้น สว่ นว่า ภกิ ษเุ หลา่ ใด เปน็ ผ้มู ธี ลุ ใี นดวงตามาก ภกิ ษเุ หลา่ นนั้ จะ
ส�ำเร็จเป็นผไู้ ม่มีธรรมเปน็ เหตุเนนิ่ ชา้ ก็โดยอาศัยปโยคะมีการเล่าเรยี นเปน็ ตน้ เหลา่ น้ี เปรยี บ
ไดก้ ับบุรุษผตู้ ้องท�ำร้ัวลอ้ มก่อน จึงจะเก็บเกย่ี วธัญญชาติได้ ฉะน้ัน

148 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปุริโส มหตมิ หนเฺ ต อมฺพรุกฺขมตฺถเก ผลปิณฑฺ ิ ภเวยฺย,
อถ ตตถฺ โย โกจ ิ อิทฺธมิ า อาคนตฺ วฺ า ตสสฺ ผล ํ หเรยยฺ , โย ปน ตตฺถ อนทิ ธฺ ิมา, โส
กฏฺ จฺ วลลฺ ิ จฺ ฉินฺทิตวฺ า นสิ ฺเสณึ พนธฺ ติ วฺ า ตาย ตํ รกุ ขฺ ํ อภริ หุ ิตวฺ า ผลํ หเรยยฺ ฯ ยา
ตตถฺ ตสสฺ นิสฺเสณิปรเิ ยสนา, สา ผลตถฺ าย ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เต สภาวปริสุทฺธา
ปพุ ฺเพ วาสติ วาสนา, เต เอกจิตฺตกขฺ เณน นปิ ปฺ ป ฺจา โหนฺต,ิ อิทธฺ ิมา วิย รกุ ฺขผล ํ
หรนฺโต ฯ เย ปน เต ภิกฺข ู มหารชกฺขา, เต อิมนิ า ปโยเคน สจฺจาน ิ อภิสเมนตฺ ,ิ
นิสเฺ สณยิ า วิย ปุริโส รกุ ฺขผล ํ หรนฺโต ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหน่งึ เปรียบเหมอื นว่า บรุ ุษคนหนงึ่ พงึ มชี ่อแหง่ ผลไม้ อยู่
บนยอดของตน้ มะมว่ งตน้ ใหญ่ ๆ ต่อมามีบรุ ุษผูม้ ีฤทธ์คิ นใดคนหน่ึง (เหาะ) มาตอนบนของต้น
มะม่วงนั้น เกบ็ เอามะม่วงของบรุ ุษผูน้ ัน้ ไป ส่วนผทู้ ่ีไมม่ ีฤทธ์ิ มาที่ต้นมะม่วงนัน้ แล้ว กต็ ดั ไม้
และเถาวลั ย์ ผูกเปน็ พะองแลว้ กไ็ ต่ข้นึ ตน้ มะมว่ งนน้ั ไปทางพะองนนั้ เกบ็ เอาผลมะมว่ งไป ใน
บุรษุ ๒ คนนน้ั การต้องแสวงหาพะองของบุรุษผไู้ ม่มฤี ทธน์ิ ้ันใด การตอ้ งแสวงหาพะองน้ัน
ย่อมมเี พื่อประโยชน์แกผ่ ลมะม่วง ขอถวายพระพร กเ็ หมือนกันอย่างนน้ั นน่ั แหละ ภิกษเุ หลา่
ใดเป็นผบู้ ริสุทธต์ิ ามสภาวะอยแู่ ล้ว ได้อบรมวาสนาไวแ้ ล้วในภพกอ่ น ภกิ ษเุ หลา่ น้ันย่อมส�ำเรจ็
เปน็ ผไู้ ม่มธี รรมเป็นเหตเุ น่ินชา้ โดยขณะจติ เดียว เปรยี บได้กบั บุรษุ ผูม้ ฤี ทธ์ิ ผ้มู าเก็บเอาผล
มะมว่ งไป ฉะน้นั ส่วนว่า ภิกษุเหลา่ ใด เปน็ ผูม้ ีธุลีในดวงตามาก ภิกษเุ หลา่ น้นั จะส�ำเรจ็ เป็นผู้
ไมม่ ธี รรมเป็นเหตุเนน่ิ ชา้ กโ็ ดยอาศัยปโยคะมีการเล่าเรียนเป็นตน้ เหล่านี้ เปรยี บไดก้ บั บรุ ุษผู้
ต้องใชพ้ ะอง จงึ จะเก็บผลไม้ได้ ฉะนั้น
‘‘ยถา วา ปน มหาราช เอโก ปรุ ิโส อตถฺ กรณโิ ก เอกโก เยว สามกิ ํ อุปคนตฺ ฺวา
อตฺถ ํ สาเธติ ฯ เอโก ธนวา ธนวเสน ปรสิ ํ วฑเฺ ฒตฺวา ปริสาย อตถฺ ํ สาเธติ ฯ ยา ตตฺถ
ตสสฺ ปริสปรเิ ยสนา, สา อตถฺ ตฺถาย ฯ เอวเมว โข มหาราช เย เต สภาวปรสิ ทุ ฺธา
ปุพฺเพ วาสิตวาสนา, เต เอกจิตฺตกฺขเณน ฉส ุ อภ ิ ฺ าสุ วสภิ าวํ ปาปณุ นฺติ, ปรุ ิโส วิย
เอกโก อตฺถสทิ ฺธึ กโรนฺโต ฯ เย ปน เต ภกิ ขฺ ู มหารชกฺขา, เต อเิ มหิ ปโยเคหิ
สาม ฺ ตฺถมภิสาเธนฺต,ิ ปริสาย วิย ปุรโิ ส อตฺถสทิ ธฺ ึ กโรนโฺ ต ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนงึ่ เปรยี บเหมือนวา่ บรุ ษุ คนหนงึ่ เป็นผตู้ อ้ งการท�ำผล
ประโยชน์ (รายได้) เข้าถึงความเป็นเจ้าของ (เป็นนาย) แลว้ กท็ �ำผลประโยชน์ใหส้ �ำเร็จได้
ล�ำพงั ตนคนเดียวเทา่ น้นั บรุ ุษผูม้ ีทรพั ยอ์ ีกหนึ่ง ตอ้ งใช้ทรพั ยพ์ อจ้างชาวบรษิ ทั โดยการอาศัย
ชาวบรษิ ทั จงึ ท�ำผลประโยชน์ใหส้ �ำเรจ็ ได้ ในบคุ คลทง้ั ๒ น้ัน การตอ้ งแสวงหาชาวบริษทั ของ

กณั ฑ]์ ๔.๗ นปิ ปปัญจวรรค 149

บรุ ษุ ผู้มีทรพั ยน์ ้ันใด การตอ้ งแสวงหาชาวบรษิ ทั นัน้ ย่อมมเี พือ่ ผลประโยชน์ ขอถวายพระพร
ก็เหมือนกนั อย่างน้ันนนั่ แหละ ภิกษเุ หลา่ ใดเป็นผู้บรสิ ทุ ธติ์ ามสภาวะอยแู่ ลว้ ไดอ้ บรมวาสนา
ไว้แล้วในภพกอ่ น ภกิ ษุเหลา่ นัน้ ยอ่ มบรรลวุ สภี าวะในอภิญญา ๖ โดยขณะจติ เดยี ว เปรยี บได้
กบั บรุ ุษผูท้ �ำผลประโยชนใ์ หส้ �ำเรจ็ ได้โดยล�ำพงั ตนคนเดยี ว ฉะน้ัน ส่วนวา่ ภกิ ษเุ หลา่ ใดเปน็ ผู้
มีธลุ ใี นดวงตามาก ภกิ ษุเหล่าน้นั ยอ่ มท�ำสามัญญผลให้ส�ำเร็จได้ โดยอาศัยปโยคะมกี ารเล่า
เรยี นเป็นตน้ เหล่าน้ี เปรยี บไดก้ ับบุรษุ ผู้ท�ำผลประโยชน์ใหส้ �ำเร็จได้โดยอาศัยชาวบรษิ ทั
ฉะน้ัน
‘‘อทุ เฺ ทโสป ิ มหาราช พหกุ าโร, ปริปุจฺฉาป ิ พหกุ ารา, นวกมฺมมฺปิ พหกุ าร,ํ ทานมปฺ ิ
พหุการ,ํ ปชู าป ิ พหุการา เตส ุ เตส ุ กรณีเยสุ ฯ ยถา มหาราช ปรุ ิโส ราชปู เสวี กตาวี
อมจฺจภฏพลโทวาริกอนกี ฏ ฺ ปาริสชชฺ ชเนหิ เต ตสฺส กรณีเย อนุปฺปตฺเต สพเฺ พป ิ อุปการา
โหนฺติ ฯ เอวเมว โข มหาราช อุทเฺ ทโสป ิ พหุกาโร, ปรปิ จุ ฉฺ าปิ พหุการา, นวกมฺมมฺปิ
พหกุ าร,ํ ทานมฺปิ พหุการํ, ปชู าปิ พหุการา เตสุ เตสุ กรณเี ยสุ ฯ ยท ิ มหาราช สพฺเพป ิ
อภิชาติปริสทุ ธฺ า ภเวยฺย,ุํ อนสุ าสเนน กรณยี ํ น ภเวยฺย ฯ ยสมฺ า จ โข มหาราช สวเนน
กรณยี ํ โหติ, เถโร มหาราช สาริปตุ ฺโต อปริมิตมสงเฺ ขยฺยกปปฺ ํ อุปาทาย อุปจติ กุสลมูโล
ป ฺ าย โกฏึ คโต, โสป ิ วินา สวเนน นาสกฺขิ อาสวกขฺ ย ํ ปาปุณติ ํุ ฯ ตสมฺ า มหาราช
พหุการํ สวนํ, ตถา อุทฺเทโสป ิ ปริปุจฺฉาปิ ฯ ตสฺมา อทุ ฺเทสปริปจุ ฺฉาป ิ นปิ ปฺ ป จฺ า
สงฺขตา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร แมก้ ารเล่าเรียน ก็จดั วา่ มอี ุปการะมาก แมก้ ารสอบถามก็จัดว่ามี
อปุ การะมาก แมง้ านกอ่ สร้างกจ็ ัดว่ามีอุปการะมาก แม้ทานก็จัดว่ามีอปุ การะมาก แม้การบูชา
กจ็ ดั วา่ มีอปุ การะมาก เมื่อกจิ ที่ควรท�ำทั้งหลายเหล่านั้น ๆ มอี ยู่ ขอถวายพระพร เปรยี บ
เหมอื นว่า บุรุษคนหน่ึง เป็นผู้คบหากับพระราชา ได้ท�ำอปุ การคุณไว้กบั พวกอ�ำมาตย์ พวก
ไพรพ่ ล นายประตทู หารยามรักษาพระองค์และชนชาวบรษิ ัททงั้ หลาย เม่ือกิจทตี่ อ้ งท�ำตก
ถึงแกบ่ รุ ษุ ผูน้ ัน้ บุคคลแม้ทงั้ ปวงก็ยอ่ มเปน็ ผู้อุปการะ (ช่วยเหลอื ) เขาฉันใด ขอถวายพระพร
แม้การเลา่ เรยี น ก็จัดว่ามอี ปุ การะมาก แม้การสอบถามกจ็ ัดว่ามีอุปการะมาก แมง้ านกอ่ สร้าง
กจ็ ดั วา่ มอี ุปการะมาก แมท้ านก็จดั ว่ามีอุปการะมาก แมก้ ารบชู ากจ็ ัดวา่ มอี ปุ การะมาก เม่อื กจิ
ทีค่ วรท�ำเหล่าน้ัน ๆ มีอยู่ ฉันนน้ั ขอถวายพระพร ถ้าหากวา่ ภกิ ษแุ มท้ ุกรูปล้วนเป็นผู้มี
อภิชาติบรสิ ุทธไ์ิ ซร้ กิจทค่ี วรท�ำตามค�ำอนุศาสตร์ ก็ไม่น่าจะมี ขอถวายพระพร เพราะเหตมุ ีกจิ
ทค่ี วรท�ำด้วยการสดับตรับฟงั มีอย่แู ล แมแ้ ตพ่ ระสารีบุตรเถระผู้ส่งั สมกศุ ลมลู ไว้นบั ได้หลาย

150 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

อสงไขยกปั หาประมาณมไิ ด้ แล้วไดบ้ รรลุที่สดุ ยอดแห่งปญั ญา กไ็ ม่อาจบรรลอุ าสวกั ขยญาณ
ได้โดยเว้นการสดับตรับฟัง ขอถวายพระพร เพราะเหตนุ ้ัน การสดบั ตรับฟงั จงึ จัดว่ามีอปุ การะ
มาก แม้การเลา่ เรยี น แมก้ ารสอบถาม ก็อยา่ งนน้ั เหมือนกนั เพราะเหตนุ น้ั ทั้งการเลา่ เรียน
การสอบถาม ก็นบั ว่าเปน็ นปิ ปปญั จธรรมได้”

‘‘สุนชิ ฌฺ าปโิ ต ภนเฺ ต นาคเสน ป ฺโห, เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านได้ท�ำใหโ้ ยมเข้าใจปญั หาดแี ล้ว โยม
ขอยอมรับตามทที่ า่ นกล่าวมาน”้ี

นปิ ปฺ ปญฺจปญโฺ ห ป€โม ฯ
จบนิปปปัญจปญั หาขอ้ ท่ี ๑

________

๒. ขณี าสวภาวปญหฺ
๒. ขีณาสวภาวปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยความเปน็ พระขณี าสพ
[๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ตุมเฺ ห ภณถ ‘โย คหิ ี อรหตตฺ ํ ปตโฺ ต, เทวฺ วาสฺส คตโิ ย
ภวนฺต ิ อน ฺ า, ตสมฺ เึ ยว ทวิ เส ปพฺพชติ วา ปรนิ ิพพฺ ายติ วา ฯ น โส ทิวโส สกฺกา
อติกกฺ เมตนุ ’ฺ ติ ฯ สเจ โส ภนฺเต นาคเสน ตสฺมึ ทวิ เส อาจริย ํ วา อุปชฺฌายํ วา
ปตตฺ จวี รํ วา น ลเภถ, อปิ น ุ โข โส อรหา สยํ วา ปพพฺ เชยฺย ทวิ สํ วา อตกิ กฺ เมยฺย,
อ โฺ โกจ ิ อรหา อิทฺธมิ า อาคนตฺ วฺ า ต ํ ปพพฺ าเชยยฺ วา ปรินพิ ฺพาเยยฺย วา’’ติ ?
[๒] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พวกท่านกลา่ วกนั วา่ คฤหัสถผ์ ูใ้ ด
บรรลุความเป็นพระอรหนั ต์ คฤหสั ถผ์ นู้ ้ัน ยอ่ มมีคติ เปน็ ๒ เทา่ นัน้ ไม่เปน็ อื่น คือ ต้องบวช
หรือไม่กต็ ้องปรินิพพานในวันน้ันน่นั แหละ ไมล่ ว่ งเลยวนั นั้นไปได้ ดังน้ี พระคณุ เจ้านาคเสน
ถ้าหากว่า ในวันนั้นไม่อาจได้อาจารย์ อุปชั ฌาย์ หรือบาตรและจวี ร ทา่ นผ้เู ป็นอรหันต์นัน้ จะ
บวชเองหรอื ล่วงเลยวันน้ันไป พระอรหนั ตผ์ มู้ ฤี ทธร์ิ ูปใดรูปหน่ึงพงึ มาบวชให้จะได้หรือไม่ หรือ
ลว่ งเลยวนั น้นั ไปแล้ว จงึ ปรินิพพาน จะไดห้ รือไม่ ?”

‘‘น โส มหาราช อรหา สยํ ปพฺพเชยยฺ , สย ํ ปพพฺ ชนฺโต เถยยฺ ํ อาปชฺชต,ิ น จ
ทิวส ํ อตกิ ฺกเมยฺย, อ ฺ สสฺ อรหนตฺ สสฺ อาคมนํ ภเวยยฺ วา น วา ภเวยยฺ , ตสฺมเึ ยว

กัณฑ์] ๔.๗ นปิ ปปัญจวรรค 151

ทิวเส ปรินพิ พฺ าเยยฺยา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระอรหันต์ไม่อาจบวชเอง
ได้ เมื่อบวชเองก็ย่อมถงึ ความเป็นไถยสังวาส (ปลอมบวช) ท้ังไม่อาจล่วงเลยวนั น้ันไปได้ จะมี
พระอรหันตร์ ปู อ่ืนก็ตาม ไม่มกี ต็ าม ทา่ นกจ็ ะตอ้ งปรนิ พิ พานในวันน้นั นนั่ แหละ”
‘‘เตนหิ ภนฺเต นาคเสน อรหตตฺ สสฺ สนตฺ ภาโว วิชหโิ ต โหต,ิ เยน อธิคตสฺส
ชีวติ หาโร ภวต’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าอย่างนัน้ ความเปน็ พระอรหนั ต์แห่งพระ
อรหนั ต์ ยอ่ มเป็นเหตุครา่ ชีวติ คือ เปน็ เหตใุ ห้บุคคลผบู้ รรลตุ ้องเปน็ ผสู้ ิ้นชวี ิต”
‘‘วสิ มํ มหาราช คหิ ิลงิ คฺ ,ํ วิสเม ลงิ ฺเค ลงิ ฺคทพุ ฺพลตาย อรหตฺตํ ปตฺโต คิหี ตสมฺ ึ
เยว ทวิ เส ปพฺพชติ วา ปรนิ พิ พฺ ายติ วา ฯ เนโส มหาราช โทโส อรหตฺตสสฺ , คหิ ิ-
ลิงฺคสเฺ สเวโส โทโส ยททิ ํ ลิงฺคทุพพฺ ลตา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เพศคฤหัสถไ์ ม่สงบ เพราะความทเี่ ม่ือ
เป็นเพศไม่สงบ ก็เปน็ เพศทที่ รามก�ำลัง คฤหสั ถผ์ บู้ รรลุความเป็นพระอรหนั ต์ จงึ ต้องบวชใน
วันนั้นนั่นแหละ หรือไม่กต็ อ้ งปรินิพพาน ขอถวายพระพร ขอ้ น้หี าใชโ่ ทษของความเป็นพระ
อรหันตไ์ ม่ ความเปน็ เพศทรามก�ำลงั น้ี เปน็ โทษของเพศคฤหสั ถน์ ่นั แหละ
‘‘ยถา มหาราช โภชนํ สพฺพสตตฺ าน ํ อายปุ าลกํ ชวี ิตรกฺขกํ วสิ มโกฏฺ สสฺ มนทฺ -
ทพุ พฺ ลคหณกิ สสฺ อวิปาเกน ชีวติ ํ หรติ ฯ เนโส มหาราช โทโส โภชนสฺส, โกฏฺ สฺเสเวโส
โทโส ยทิท ํ อคคฺ ทิ พุ พฺ ลตา ฯ เอวเมว โข มหาราช วสิ เม ลิงฺเค ลิงคฺ ทพุ พฺ ลตาย อรหตฺต ํ
ปตฺโต คิหี ตสฺมึเยว ทิวเส ปพฺพชติ วา ปรนิ ิพพฺ ายติ วา ฯ เนโส มหาราช โทโส
อรหตตฺ สฺส, คิหิลงิ คฺ สเฺ สเวโส โทโส ยทิทํ ลิงคฺ ทพุ ฺพลตา ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ โภชนาหารซง่ึ เป็นของหล่อเล้ียงอายุ รักษาชวี ิตของ
สตั ว์ท้งั หลายทงั้ ปวง กย็ ังครา่ เอาชวี ติ ได้ เพราะการท่ีไฟธาตุ ยอ่ ยอาหารอนั เปน็ โกฏฐาสะทไ่ี ม่
สงบ (มีขอ้ เสีย) อ่อนก�ำลงั ไปจึงไม่อาจยอ่ ยได้ ขอถวายพระพร นไี้ ม่ใชโ่ ทษของโภชนาหาร
ความท่ีไฟธาตุอ่อนก�ำลงั ไปนี้ เปน็ โทษของโกฏฐาสะเท่านั้น ฉันใด ขอถวายพระพร เพราะ
ความที่ เมื่อเปน็ เพศไมส่ งบ ก็เป็นเพศท่ีทรามก�ำลัง คฤหัสถผ์ ู้บรรลคุ วามเป็นพระอรหันต์ จึง
ต้องบวชในวนั น้นั น่นั แหละ หรอื ไม่ก็ต้องปรินพิ พาน ขอถวายพระพร ขอ้ นหี้ าใช่โทษของความ
เป็นพระอรหันตไ์ ม่ ความเปน็ เพศทรามก�ำลังน้ี เปน็ โทษของเพศคฤหสั ถ์น่นั แหละ ฉันน้ัน

152 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

เหมอื นกนั

‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปรติ ฺต ํ ตณิ สลากํ อุปร ิ ครเุ ก ปาสาเณ ปเิ ต ทพุ ฺพลตาย
ภชิ ชฺ ิตฺวา ปตติ ฯ เอวเมว โข มหาราช อรหตฺตํ ปตฺโต คหิ ี เตน ลิงฺเคน อรหตฺตํ ธาเรตํุ
อสกโฺ กนโฺ ต ตสฺมึเยว ทิวเส ปพฺพชติ วา ปรินิพพฺ ายติ วา ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหน่ึง เปรยี บเหมอื นวา่ เส่อื หญ้าผนื เล็ก ๆ เมอื่ เขาเอาก้อน
หินหนัก ๆ วางไวเ้ บอื้ งบน ก็ยอ่ มฉกี ขาดไป เพราะความท่ีเป็นของไม่แข็งแรง ฉันใด ขอถวาย
พระพร คฤหสั ถผ์ ้บู รรลคุ วามเป็นพระอรหนั ต์ เมื่อไม่อาจรองรับความเปน็ พระอรหนั ต์ โดย
เพศนั้นได้ ก็ต้องบวชเสียในวันนนั้ นัน่ แหละ หรือไมก่ ต็ อ้ งปรินิพพาน ฉนั นัน้ เหมือนกัน

‘‘ยถา วา ปน มหาราช ปรุ โิ ส อพโล ทพุ พฺ โล นิหีนชจฺโจ ปรติ ฺตป ุ โฺ มหตมิ หา-
รชชฺ ํ ลภิตฺวา ขเณน ปริปตติ ปริธสํ ติ โอสกฺกติ, น สกโฺ กติ อสิ สฺ รยิ ํ ธาเรตุํ, เอวเมว โข
มหาราช อรหตตฺ ํ ปตฺโต คิห ี เตน ลงิ ฺเคน อรหตตฺ ํ ธาเรตํุ น สกโฺ กติ, เตน การเณน
ตสฺมึเยว ทวิ เส ปพพฺ ชติ วา ปรนิ ิพพฺ ายต ิ วา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหน่งึ เปรียบเหมอื นวา่ บรุ ษุ ผูอ้ ่อนแอ ทรามก�ำลงั มชี าติ
ก�ำเนิดต่�ำทราม มีบุญนอ้ ย ไดร้ ับราชสมบตั ิที่แสนยิง่ ใหญแ่ ลว้ ก็ย่อมตกไป ย่อมพลาดไป ถอย
กลบั ไป มอิ าจจะรองรบั อิสสริยฐานะได้ ฉันใด ขอถวายพระพร คฤหสั ถผ์ ู้บรรลุความเป็นพระ
อรหนั ต์ ก็ย่อมไม่อาจรองรับความเปน็ พระอรหันตโ์ ดยเพศน้นั เพราะเหตนุ นั้ จึงต้องบวชใน
วนั นัน้ นน่ั เอง หรือไมก่ ็ตอ้ งปรนิ ิพพาน ฉันนน้ั เหมือนกันแล”

‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “ดจี ริง พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามที่ท่านกลา่ วมา
น้ี”

ขณี าสวภาวปญฺโห ทตุ โิ ย ฯ
จบขณี าสวภาวปัญหาข้อที่ ๒

________

กณั ฑ]์ ๔.๗ นิปปปญั จวรรค 153

๓. ขณี าสวสติสมฺโมสปญหฺ
๓. ขีณาสวสตสิ มั โมสปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยพระขีณาสพมคี วามหลงลมื สตไิ ด้หรือไม่
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน อตฺถ ิ อรหโต สตสิ มโฺ มโส’’ติ ?
[๓] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พระอรหันต์ยังมีความหลงลืมสติอยู่
หรอื ไม่ ?”
‘‘วิคตสติสมฺโมสา โข มหาราช อรหนโฺ ต, นตถฺ ิ อรหนตฺ าน ํ สติสมโฺ มโส’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระอรหันตท์ ั้งหลาย เปน็ ผู้
ปราศจากความหลงลืมสตแิ ล พระอรหนั ต์ทงั้ หลายไม่มคี วามหลงลมื สติหรอก”
‘‘อาปชฺเชยฺย ปน ภนเฺ ต อรหา อาปตตฺ ินฺ”ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ ก็แตว่ ่า พระอรหันต์ ก็ยังตอ้ งอาบตั ไิ ดม้ ใิ ชห่ รือ ?”
‘‘อาม มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ใช่ มหาบพติ ร พระอรหันต์อาจต้องอาบัติได้”
‘‘กิสมฺ ึ วตถฺ ุสมฺ ิน”ฺ ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “ตอ้ งอาบตั ิ ในวัตถุอะไรบา้ ง”
‘‘กฏุ กิ าเร มหาราช ส จฺ ริตเฺ ต วกิ าเล กาลส ฺ าย, ปวาริเต อปฺปวาริตส ฺ าย,
อนตริ ิตเฺ ต อตริ ิตฺตส ฺ ายา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระอรหันต์ ยงั อาจต้องอาบตั ใิ นเรื่อง
สรา้ งกุฏิ ในเรอื่ งส่อื ขา่ ว ในเร่อื งส�ำคัญเวลาวิกาล วา่ เป็นกาล ในเรือ่ งส�ำคัญภกิ ษุผูป้ วารณา
แลว้ วา่ ยงั มไิ ดป้ วารณา ในเร่อื งส�ำคัญภตั รทีม่ ิได้เปน็ เดนภกิ ษไุ ข้ วา่ เป็นเดนภกิ ษุไข”้
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตมุ ฺเห ภณถ ‘เย อาปตฺตึ อาปชฺชนตฺ ,ิ เต ทฺวหี ิ การเณห ิ
อาปชชฺ นฺติ อนาทรเิ ยน วา อชานเนน วา’ติ ฯ อป ิ น ุ โข ภนเฺ ต อรหโต อนาทรยิ ํ โหต,ิ
ย ํ อรหา อาปตฺต ึ อาปชชฺ ตี’’ติ ?
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน พวกท่านกลา่ วกนั วา่ ภกิ ษพุ วกที่ต้อง
อาบตั ิ ย่อมต้องอาบตั เิ พราะเหตุ ๒ ประการ คอื เพราะหาความเอือ้ เฟื้อ (ในพระวินยั บญั ญัติ)

154 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

มไิ ด้ ประการหนึง่ เพราะความไมร่ ู้ ประการหนง่ึ พระคุณเจ้า พระอรหนั ต์ ยังมีความไมเ่ ออ้ื เฟ้ือ
ท่ีเปน็ เหตใุ หต้ ้องอาบัติอยูห่ รือ ?”
‘‘น ห ิ มหาราชา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ไมม่ ีหรอก มหาบพิตร”
‘‘ยทิ ภนฺเต นาคเสน อรหา อาปตฺต ึ อาปชชฺ ต,ิ นตถฺ ิ จ อรหโต อนาทริย,ํ เตนห ิ
อตถฺ ิ อรหโต สตสิ มฺโมโส’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ถา้ หากวา่ พระอรหันตย์ งั ต้องอาบัติได้
และพระอรหันต์ กม็ ีความเอื้อเฟอื้ ไซร้ ถา้ อยา่ งน้ัน พระอรหนั ตก์ ย็ งั มีความหลงลืมสต”ิ
‘‘นตฺถ ิ มหาราช อรหโต สตสิ มโฺ มโส, อาปตตฺ ิ จฺ อรหา อาปชฺชตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระอรหนั ตไ์ ม่มคี วามหลงลมื สตหิ รอก
แต่พระอรหนั ต์ ก็ยังตอ้ งอาบัติ”
‘‘เตนห ิ ภนฺเต การเณน มํ ส ฺ าเปหิ ก ึ ตตฺถ การณน”ฺ ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้า ถ้าอยา่ งนั้น กจ็ งท�ำโยมใหเ้ ข้าใจ ดว้ ยเหตผุ ลเถดิ
ในข้อทว่ี ่า พระอรหันตไ์ ม่มีความหลงลมื สติ แตพ่ ระอรหันต์ก็ยังตอ้ งอาบัตไิ ดน้ ั้น มีเหตผุ ล
อะไร ?”
‘‘เทฺวเม มหาราช กิเลสา โลกวชชฺ ํ ปณณฺ ตฺติวชชฺ จฺ าติ ฯ กตม ํ มหาราช
โลกวชชฺ ํ ? ทส อกุสลกมฺมปถา, อิท ํ วจุ ฺจติ โลกวชฺชํ ฯ กตม ํ ปณณฺ ตตฺ วิ ชชฺ ํ ? ยํ โลเก
อตถฺ ิ สมณาน ํ อนนจุ ฉฺ วกิ ํ อนนโุ ลมกิ ํ, คิหนี ํ อนวชชฺ ํ ฯ ตตถฺ ภควา สาวกาน ํ สกิ ฺขาปท ํ
ป ฺ เปต ิ ‘ยาวชวี ํ อนตกิ ฺกมนยี น’ฺ ติ ฯ วิกาลโภชน ํ มหาราช โลกสฺส อนวชชฺ ,ํ ต ํ ชนิ สาสเน
วชฺชํ ฯ ภตู คามวิโกปน ํ มหาราช โลกสสฺ อนวชชฺ ํ, ต ํ ชินสาสเน วชฺชํ ฯ อทุ เก หสฺสธมฺม ํ
มหาราช โลกสสฺ อนวชชฺ ํ, ต ํ ชนิ สาสเน วชฺชํ ฯ อิต ิ เอวรูปานิ เอวรปู าน ิ มหาราช
ชินสาสเน วชฺชานิ, อทิ ํ วจุ ฺจต ิ ปณณฺ ตฺติวชฺชํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ความเศรา้ หมองมี ๒ อยา่ ง คือ ท่เี ป็น
โลกวชั ชะ (เป็นโทษทางโลก) และทเี่ ป็นปณั ณัตตวิ ชั ชะ (เป็นโทษทางพระวนิ ัยบัญญัต)ิ ขอ
ถวายพระพร ชอื่ วา่ ทเี่ ปน็ โลกวชั ชะเปน็ ไฉน ? ตอบวา่ ไดแ้ ก่ อกศุ ลกรรมบถ ๑๐ อกศุ ล
กรรมบถ ๑๐ น้ี เรยี กว่าโลกวชั ชะ ชอ่ื วา่ ทเ่ี ป็นปัณณตั ตวิ ชั ชะ เป็นไฉน ? ตอบวา่ การกระท�ำที่

กัณฑ์] ๔.๗ นิปปปัญจวรรค 155

ไม่สมควรแกผ่ ูเ้ ปน็ สมณะท้งั หลาย ไม่อนโุ ลมแกค่ วามเป็นสมณะใด ยอ่ มมอี ยใู่ นโลก อนั
เปน็ การกระท�ำทไี่ ม่เป็นโทษส�ำหรบั คฤหสั ถ์ทั้งหลาย พระผู้มพี ระภาคทรงบัญญัติสกิ ขาบทแก่
สาวกทัง้ หลายในการกระท�ำน้ันว่า พวกเธอไม่ควรล่วงละเมิดตลอดชีวติ ขอถวายพระพร การ
ฉนั ในเวลาวิกาล ซงึ่ ไมเ่ ปน็ โทษส�ำหรับชาวโลก นนั้ จัดวา่ เป็นโทษในพระศาสนาของพระชนิ -
วรพทุ ธเจ้า ขอถวายพระพร การพรากภตู คาม ซง่ึ ไมเ่ ป็นโทษส�ำหรับชาวโลก น้ันจัดวา่ เป็น
โทษในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจ้า ขอถวายพระพร การเล่นนำ�้ ซงึ่ ไม่เป็นโทษส�ำหรบั
ชาวโลก น้นั จดั วา่ เป็นโทษในพระศาสนาของพระชินวรพุทธเจ้า ขอถวายพระพร การกระท�ำ
เห็นปานนี้ อันมปี ระการดังกลา่ วมานี้ น้ี ช่อื ว่าเป็นโทษในพระศาสนาของพระชนิ วรพทุ ธเจา้
นเ้ี รยี กว่าปัณณตั ติวัชชะ
‘‘โลกวชชฺ ํ อภพฺโพ ขีณาสโว ต ํ อชฺฌาจรติ ุํ, ยํ กิเลส ํ ปณฺณตฺตวิ ชชฺ ,ํ ต ํ อชานนฺโต
อาปชฺเชยยฺ ฯ อวสิ โย มหาราช เอกจจฺ สสฺ อรหโต สพฺพ ํ ชานิต,ุํ น ห ิ ตสสฺ พล ํ อตถฺ ิ
สพฺพ ํ ชานติ ุํ ฯ อน ฺ าตํ มหาราช อรหโต อิตฺถิปรุ ิสาน ํ นามมฺป ิ โคตฺตมปฺ ิ, มคฺโคปิ ตสสฺ
มหิยา อน ฺ าโต; วมิ ุตฺตเึ ยว มหาราช เอกจโฺ จ อรหา ชาเนยฺย; ฉฬภ ิ ฺโ อรหา
สกวิสยํ ชาเนยยฺ ; สพพฺ ฺ ู มหาราช ตถาคโตว สพฺพ ํ ชานาตี’’ติ ฯ
พระขณี าสพ เปน็ ผ้ไู ม่สามารถประพฤตลิ ะเมิดการกระท�ำทเ่ี ป็นโลกวัชชะน้ันได้ เม่ือ
ไม่รอู้ ยู่ ทา่ นกอ็ าจตอ้ งอาบตั ิเศรา้ หมองทเ่ี ปน็ ปณั ณตั ติวชั ชะ ขอถวายพระพร อนั การจะรู้ทกุ
ส่งิ ทกุ อย่างไดห้ มดไมใ่ ชว่ สิ ยั ของพระอรหนั ต์รปู ไหน ๆ เพราะว่า ท่านไม่มกี �ำลงั ทจี่ ะรทู้ ุกสิ่ง
ทุกอยา่ งไดห้ มด ขอถวายพระพร พระอรหนั ต์ท่านก็ยงั มีการไม่รูจ้ กั แม้ช่อื แมโ้ คตรของหญงิ
ชายท้งั หลายได้ พระอรหนั ตน์ ัน้ ก็ยังมกี ารไมร่ ้จู ักเสน้ ทางบนแผน่ ดินได้ ขอถวายพระพร
วิมุตตเิ ทา่ นน้ั พระอรหันต์รปู ไหน ๆ กร็ ้จู ัก พระอรหนั ตผ์ ู้ได้อภิญญา ๖ ต้องรสู้ ่งิ ที่เป็นวสิ ัยของ
ตน ขอถวายพระพร พระตถาคตผูเ้ ป็นสพั พญั ญเู ทา่ นน้ั ทรงรูท้ ุกสิ่งทกุ อยา่ งได”้
‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “ดีจรงิ พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามท่ที า่ นกล่าวมา
น้ี”

ขีณาสวสติสมฺโมสปญฺโห ตติโย ฯ
จบขีณาสวสติสมั โมสปญั หาข้อท่ี ๓

________

156 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

๔. โลเก นตถฺ ิภาวปญฺห
๔. โลเกนัตถภิ าวปัญหา
ปัญหาว่าด้วยความไมม่ อี ยใู่ นโลก
[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ทสิ สฺ นตฺ ิ โลเก พุทธฺ า, ทสิ ฺสนตฺ ิ ปจเฺ จกพทุ ธฺ า, ทสิ ฺสนฺติ
ตถาคตสสฺ สาวกา, ทิสฺสนฺต ิ จกกฺ วตฺติราชาโน, ทิสสฺ นฺติ ปเทสราชาโน, ทสิ ฺสนตฺ ิ
เทวมนสุ ฺสา, ทิสสฺ นตฺ ิ สธนา, ทิสฺสนฺต ิ อธนา, ทิสสฺ นตฺ ิ สุคตา, ทิสฺสนตฺ ิ ทคุ คฺ ตา, ทิสสฺ ต ิ
ปรุ สิ สสฺ อติ ฺถลิ งิ คฺ ํ ปาตภุ ูต,ํ ทิสฺสต ิ อิตถฺ ิยา ปรุ สิ ลงิ ฺคํ ปาตภุ ูต,ํ ทสิ ฺสต ิ สุกต ํ ทุกกฺ ตํ กมฺม,ํ
ทสิ สฺ นตฺ ิ กลยฺ าณปาปกาน ํ กมฺมาน ํ วปิ ากปู โภคโิ น สตฺตา, อตฺถิ โลเก สตตฺ า อณฑฺ ชา
ชลาพชุ า สํเสทชา โอปปาติกา, อตฺถ ิ สตตฺ า อปทา ทวฺ ปิ ทา จตุปฺปทา พหุปฺปทา, อตถฺ ิ
โลเก ยกฺขา รกฺขสา กมุ ฺภณฺฑา อสุรา ทานวา คนฺธพพฺ า เปตา ปสิ าจา, อตถฺ ิ กนิ นฺ รา
มโหรคา นาคา สุปณฺณา สทิ ฺธา วิชฺชาธรา, อตถฺ ิ หตถฺ ี อสฺสา คาโว มหสึ า โอฏ ฺ า
คทรฺ ภา อชา เอฬกา มิคา สกู รา สหี า พฺยคฆฺ า ทีป ี อจฉฺ า โกกา ตรจฺฉา โสณา
สงิ คฺ าลา, อตฺถิ พหุวิธา สกณุ า, อตฺถิ สวุ ณฺณํ รชตํ มตุ ฺตา มณิ สงฺโข สิลา ปวาฬ ํ
โลหิตงฺโก มสารคลฺลํ เวฬรุ โิ ย วชิร ํ ผลกิ ํ กาฬโลห ํ ตมพฺ โลห ํ วฏฺฏโลห ํ กสํ โลห,ํ อตฺถิ โขมํ
โกเสยยฺ ํ กปปฺ าสกิ ํ สาณํ ภงฺค ํ กมพฺ ล,ํ อตถฺ ิ สาลิ วีห ิ ยโว กงฺคุ กทุ ฺรูโส วรโก โคธโู ม
มคุ ฺโค, มาโส ตลิ ํ กุลตฺถํ, อตฺถิ มลู คนฺโธ สารคนฺโธ เผคคฺ คุ นโฺ ธ ตจคนโฺ ธ ปตตฺ คนฺโธ
ปปุ ผฺ คนโฺ ธ ผลคนโฺ ธ สพพฺ คนโฺ ธ, อตถฺ ิ ตณิ ลตาคจฉฺ รุกขฺ โอสธิวนปปฺ ตนิ ทีปพฺพตสมุททฺ -
มจฉฺ กจฉฺ ปา สพพฺ ํ โลเก อตถฺ ิ ฯ ยํ ภนเฺ ต โลเก นตถฺ ิ ตํ เม กเถหี’’ติ ฯ
[๔] พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ในโลก พระพุทธเจ้ากป็ รากฏ, พระ
ปัจเจกพุทธเจ้าก็ปรากฏ, พระสาวกของพระตถาคตก็ปรากฏ, พระเจ้าจกั พรรดกิ ็ปรากฏ, พระ
ราชาประจ�ำประเทศก็ปรากฏ, เทวดาและมนุษยท์ ง้ั หลายก็ปรากฏ, คนมีทรพั ยก์ ป็ รากฏ, คน
ไมม่ ที รัพย์กป็ รากฏ, คนมั่งค่ังก็ปรากฏ, คนเขญ็ ใจก็ปรากฏ, ชายทป่ี รากฏเพศเป็นหญงิ ก็
ปรากฏ, หญิงทปี่ รากฏเพศเป็นชายก็ปรากฏ, กรรมดี กรรมชั่วกป็ รากฏ, สัตว์ผู้เสวยวบิ ากของ
กรรมดกี รรมช่ัวกป็ รากฏ, ในโลก สตั ว์ผู้เป็นอัณฑชะ (เกดิ ในไข)่ เปน็ ชลาพชุ ะ (เกดิ ในมดลกู )
เปน็ สงั เสทชะ (เกดิ ในท่ีแฉะชนื้ ) เปน็ โอปปาติกะ (ผดุ เกิดทันที) ก็มีอยู่, สัตว์ผู้ไมม่ เี ท้า สัตวผ์ ้มู ี
๒ เทา้ สัตวผ์ มู้ ี ๔ เทา้ สัตว์ผู้มีเทา้ มากมาย ก็มีอยู่ ในโลก ยกั ษ์ รากษส กมุ ภัณฑ์ อสรู ทานพ
คนธรรพ์ พวกเปรต พวกปศี าจ กม็ อี ยู่ กนิ นร มโหรคะ นาค ครุฑ พวกสทิ ธวชิ ชาธร ก็มอี ยู่,

กณั ฑ]์ ๔.๗ นปิ ปปญั จวรรค 157

ช้าง มา้ โค กระบือ อฐู ลา แพะ แกะ กวาง สกุ ร สีหะ เสอื โคร่ง เสือเหลอื ง หมี หมาป่า เสือดาว
สนุ ขั สนุ ขั จง้ิ จอก กม็ ีอย,ู่ นกชนิดตา่ ง ๆ ก็มีอยู่ ทอง เงิน แก้วมกุ ดา แก้วมณี สงั ข์ ศิลา แกว้
ประพาฬ ทับทมิ เพชรตาแมว ไพฑรู ย์ เพชร แก้วผลึก เหล็ก ทองแดง แรเ่ งนิ แรส่ มั ฤทธิ์ กม็ ี
อยู่ ผา้ เปลอื กไม้ ผ้าไหม ผ้าฝ้าย ผา้ เปลือกปา่ น ผ้าด้ายทอ ผา้ ขนสัตว์ กม็ ีอยู่ ข้าวสาลี ข้าว
จ้าว ข้าวเหนยี ว ข้าวฟ่าง หญ้ากับแก้ ลูกเดือย ข้าวละมาน ถ่ัว ถว่ั เขยี ว งา ถ่วั พู กม็ ีอยู่ ไมท้ ่ีมี
รากหอม ไมท้ ีม่ ีแกน่ หอม ไมท้ ่ีมกี ระพี้หอม ไมท้ ่มี ีเปลือกหอม ไมท้ ม่ี ีใบหอม ไม้ทมี่ ดี อกหอม
ไม้ทมี่ ผี ลหอม ไม้ทม่ี ที ุกสว่ นหอม ก็มีอยู่ หญา้ เครือเถา กอไม้ ต้นไม้ ดวงดาว ปา่ ไม้ แมน่ ้ำ�
ภูเขา ทะเล ปลา เตา่ ทุกอย่าง มีอยูใ่ นโลก พระคุณเจ้า ขอจงช่วยบอกถงึ สิ่งทไ่ี มม่ ใี นโลก”
‘‘ตีณิมานิ มหาราช โลเก นตถฺ ิ ฯ กตมาน ิ ตณี ิ ? สเจตนา วา อเจตนา วา
อชรามรา โลเก นตถฺ ิ สงขฺ าราน ํ นิจฺจตา นตถฺ ิ ปรมตฺเถน สตฺตูปลทธฺ ิ นตถฺ ,ิ อมิ าน ิ โข
มหาราช ตีณิ โลเก นตฺถ’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ในโลก ไมม่ ีสิง่ ๓ อยา่ ง
เหลา่ นี้ ๓ อย่าง อะไรบา้ ง ? ไดแ้ ก่
๑. สง่ิ ทม่ี เี จตนาก็ตาม ไม่มีเจตนากต็ าม ซง่ึ ไม่แกไ่ ม่ตาย ไมม่ ใี นโลก
๒. ความทส่ี ังขารท้งั หลายเป็นของเที่ยง ไม่มี
๓. ว่าโดยปรมตั ถ์ สิง่ ที่บุคคลอาจเข้าไปถอื เอาวา่ เป็นสัตว์ ไมม่ ี”
ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สิ่ง ๓ อย่างเหลา่ น้ีแล ไมม่ ีอยใู่ นโลก”
‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏิจฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “ดีจริง พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามทีก่ ล่าวมาน”ี้

โลเก นตถฺ ภิ าวปญโฺ ห จตตุ โฺ ถ ฯ
จบโลเกนัตถภิ าวปญั หาข้อที่ ๔
________

158 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

๕. นิพพฺ านปญหฺ (อกมมฺ ชาทิปญฺห)
๕. นพิ พานปญั หา (อกัมมชาทปิ ญั หา)

ปัญหาวา่ ดว้ ยการถงึ พระนิพพาน
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ทสิ สฺ นฺติ โลเก กมฺมนพิ ฺพตตฺ า, ทสิ สฺ นตฺ ิ เหตุนพิ ฺพตตฺ า,
ทสิ สฺ นฺติ อุตุนพิ พฺ ตตฺ า, ยํ โลเก อกมฺมช ํ อเหตชุ ํ อนตุ ุชํ, ต ํ เม กเถห’ี ’ติ ฯ
[๕] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ในโลก ส่งิ ทีบ่ ังเกดิ จากกรรม กป็ รากฏ
อยู่ ส่งิ ท่ีบังเกิดจากเหตกุ ็ปรากฏอยู่ สิ่งที่บงั เกดิ จากอุตกุ ็ปรากฏอยู่ ขอทา่ นจงช่วยบอกโยมถงึ
สง่ิ ทมี่ ิไดเ้ กดิ จากกรรม มิได้เกิดจากเหตุ มไิ ด้เกิดจากอุตุ ในโลก”
‘‘เทฺวเม มหาราช โลกสมฺ ึ อกมฺมชา อเหตชุ า อนุตุชา ฯ กตเม เทวฺ ? อากาโส
มหาราช อกมมฺ โช อเหตุโช อนตุ โุ ช; นิพพฺ านํ มหาราช อกมฺมชํ อเหตชุ ํ อนุตชุ ํ ฯ อิเม
โข มหาราช เทฺว อกมฺมชา อเหตุชา อนุตชุ า’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ในโลก ส่ิงที่มไิ ดเ้ กดิ จาก
กรรม มไิ ด้เกดิ จากเหตุ มไิ ด้เกิดจากอตุ ุ มี ๒ อย่างเหลา่ นี ้ ๒ อย่างอะไรบ้าง ?
ไดแ้ ก่ (๑) อากาศ มิไดเ้ กิดจากกรรม มไิ ดเ้ กดิ จากเหตุ มไิ ดเ้ กดิ จากอตุ ุ (๒) พระ
นพิ พาน ก็เปน็ ส่งิ ทมี่ ไิ ด้เกดิ จากกรรม มิไดเ้ กดิ จากเหตุ มไิ ดเ้ กดิ จากอุตุ ขอถวายพระพร สิ่งท่ี
มิไดเ้ กดิ จากกรรม มิไดเ้ กดิ จากเหตุ มไิ ด้เกิดจากอุตุ มี ๒ อย่าง เหล่าน้ี แล”
‘‘มา ภนเฺ ต นาคเสน ชินวจน ํ มกฺเขห ิ มา อชานติ ฺวา ป ฺห ํ พฺยากโรหี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ขอจงอย่าลบหลูค่ �ำของพระชินวรเจา้ เลย
ทา่ นไมร่ กู้ ข็ อจงอยา่ ตอบปญั หาเลย”
‘‘ก ึ โข มหาราช อหํ วทามิ, ย ํ ม ํ ตฺวํ เอว ํ วเทส ิ ‘มา ภนเฺ ต นาคเสน ชินวจนํ
มกเฺ ขหิ มา อชานิตวฺ า ป หฺ ํ พยฺ ากโรหี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร อาตมภาพกลา่ วอะไร (ไม่ถกู ต้อง) หรือ
ซง่ึ เปน็ เหตุให้พระองค์รบั สัง่ กะอาตมภาพอยา่ งน้วี ่า พระคณุ เจ้านาคเสน ขอจงอย่าลบหลคู่ �ำ
ของพระชนิ เจ้าเลย ทา่ นไม่รกู้ ็ขอจงอย่าตอบปัญหาเลย”
‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ยุตฺตมิท ํ ตาว วตตฺ ํุ ‘อากาโส อกมมฺ โช อเหตโุ ช อนตุ โุ ช’ติ ฯ
อเนกสเตหิ ปน ภนเฺ ต นาคเสน การเณหิ ภควตา สาวกานํ นิพพฺ านสสฺ สจฉฺ ิกิริยาย

กณั ฑ์] ๔.๗ นปิ ปปัญจวรรค 159

มคฺโค อกขฺ าโต, อถ จ ปน ตวฺ ํ เอว ํ วเทส ิ ‘อเหตชุ ํ นิพฺพานน’ฺ ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน กอ่ นอืน่ การทีท่ า่ นจะกลา่ ววา่ ‘อากาศ เป็น
สง่ิ ทม่ี ไิ ดเ้ กดิ จากกรรม มิไดเ้ กดิ จากเหตุ มิได้เกิดจากอตุ ุ’ ดังนี้ น้ี กถ็ กู ตอ้ งแล้วละ พระคณุ เจา้
นาคเสน ก็แต่ว่า พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรัสบอกสาวกทง้ั หลาย ถึงเหตุหลายร้อยอย่างทีเ่ ปน็
หนทางท�ำพระนพิ พานใหแ้ จง้ แต่ท่านกก็ ลบั มากลา่ วเสยี อย่างนีว้ ่า พระนพิ พาน เปน็ ส่ิงทมี่ ิได้
เกิดจากเหตุ”
‘‘สจจฺ ํ มหาราช ภควตา อเนกสเตหิ การเณห ิ สาวกาน ํ นิพฺพานสสฺ สจฉฺ ิกริ ิยาย
มคโฺ ค อกขฺ าโต, น จ ปน นิพฺพานสฺส อุปฺปาทาย เหต ุ อกขฺ าโต’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปน็ ความจรงิ พระผมู้ ีพระภาคเจ้าตรัส
บอกสาวกทั้งหลาย ถึงเหตุหลายรอ้ ยอย่างที่เป็นหนทางท�ำพระนิพพานใหแ้ จ้ง กแ็ ตว่ ่า จะเป็น
อันตรัสบอกถงึ เหตทุ �ำพระนิพพานให้เกิดขึ้น กห็ าไม”่
‘‘เอตถฺ มย ํ ภนเฺ ต นาคเสน อนฺธการโต อนฺธการตรํ ปวสิ าม, วนโต วนตร ํ
ปวสิ าม, คหนโต คหนตร ํ ปวสิ าม, ยตฺร หิ นาม นพิ พฺ านสฺส สจฉฺ กิ ิรยิ าย เหตุ อตฺถ ิ ตสสฺ
ปน ธมมฺ สสฺ อุปปฺ าทาย เหตุ นตฺถิ ฯ ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน นพิ ฺพานสฺส สจฉฺ กิ ิรยิ าย
เหต ุ อตฺถ ิ เตนห ิ นพิ ฺพานสฺส อปุ ฺปาทายปิ เหตุ อจิ ฺฉิตพโฺ พ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ในขอ้ ทีท่ า่ นกลา่ วว่า เหตุท�ำพระนพิ พาน
ใหแ้ จ้งมีอยู่ แต่เหตทุ �ำใหพ้ ระนิพพานธรรมนน้ั เกิดข้นึ หามีไม่ น้ี ท�ำใหโ้ ยมเขา้ สทู่ มี่ ดื ยงิ่ กว่า
มดื เข้าปา่ เสียย่ิงกว่าปา่ เข้าส่ทู ร่ี กเสยี ยงิ่ กวา่ ท่รี ก พระคณุ เจ้านาคเสน ถา้ หากวา่ เหตุท�ำพระ
นพิ พานใหแ้ จง้ มีอยูแ่ ลว้ ไซร้ ถงึ อย่างนน้ั แม้เหตทุ �ำพระนพิ พานใหเ้ กดิ ขึน้ พึงปรารถนาได้
‘‘ยถา ปน ภนฺเต นาคเสน ปตุ ตฺ สฺส ปิตา อตฺถ ิ เตน การเณน ปิตุโนป ิ ปิตา
อจิ ฺฉิตพฺโพ ฯ ยถา อนเฺ ตวาสิกสสฺ อาจริโย อตฺถิ เตน การเณน อาจรยิ สฺสปิ อาจริโย
อจิ ฺฉิตพโฺ พ ฯ ยถา องฺกุรสฺส พีชํ อตถฺ ิ เตน การเณน พีชสฺสปิ พชี ํ อจิ ฉฺ ติ พพฺ ํ ฯ เอวเมว
โข ภนเฺ ต นาคเสน ยทิ นิพพฺ านสฺส สจฺฉกิ ริ ิยาย เหตุ อตฺถ ิ เตน การเณน นพิ ฺพานสสฺ
อปุ ฺปาทายปิ เหตุ อิจฉฺ ติ พโฺ พ ฯ
พระคณุ เจา้ นาคเสน เปรียบเหมอื นวา่ ส�ำหรบั ผเู้ ปน็ บิดาของบุตรย่อมมอี ยู่ เพราะเหตุ
นั้น ผเู้ ป็นบิดาแมข้ องบดิ า กพ็ งึ ปรารถนาไดเ้ หมือนกนั ฉันใด ส�ำหรบั ผเู้ ป็นอาจารยข์ องศษิ ย์
ย่อมมอี ยู่ เพราะเหตนุ น้ั ผเู้ ป็นอาจารย์แม้ของอาจารย์ ก็พงึ ปรารถนาไดเ้ หมือนกัน ฉนั ใด พืช

160 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ของหน่อไม้ยอ่ มมีอยู่ เพราะเหตนุ นั้ พชื แมข้ องพืช ก็พึงปรารถนาได้เหมือนกนั ฉันใด พระคณุ
เจ้านาคเสน ถา้ หากว่า เหตุท�ำพระนิพพานใหแ้ จ้งมอี ยู่ เพราะเหตุนนั้ แม้เหตทุ �ำพระนิพพาน
ให้เกดิ ข้ึน ก็พึงปรารถนาได้เหมือนกัน ฉันนนั้
‘‘ยถา รุกขฺ สสฺ วา ลตาย วา อคเฺ ค สติ เตน การเณน มชฌฺ มปฺ ิ อตถฺ ิ มูลมฺป ิ
อตถฺ ิ ฯ เอวเมว โข ภนฺเต นาคเสน ยทิ นิพฺพานสสฺ สจฉฺ กิ ริ ยิ าย เหต ุ อตถฺ ิ เตน
การเณน นิพฺพานสฺส อุปปฺ าทายป ิ เหต ุ อิจฉฺ ิตพโฺ พ’’ติ ฯ
อกี อย่างหนึง่ เปรียบเหมือนว่า ตน้ ไม้ก็ดี เครอื เถากด็ ี เมอื่ มียอดได้ เพราะเหตนุ ัน้ แม้
กลาง แมโ้ คน กย็ อ่ มมไี ด้ เหมือนกนั ฉนั ใด พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากว่า เหตทุ �ำพระนพิ พาน
ใหแ้ จง้ มอี ย่ไู ซร้ เพราะเหตนุ ้นั แม้เหตทุ �ำพระนพิ พานใหเ้ กดิ ข้ึน กพ็ งึ ปรารถนาได้เหมอื นกนั
ฉันน้ัน”
‘‘อนปุ ฺปาทนยี ํ มหาราช นพิ พฺ านํ, ตสฺมา น นิพฺพานสฺส อุปปฺ าทาย เหต ุ
อกขฺ าโต’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร พระนิพพานเป็นส่งิ ทไี่ ม่อาจท�ำใหเ้ กิด
ข้นึ ได้ เพราะฉะนั้น จงึ มิได้ตรสั เหตทุ �ำพระนพิ พานให้เกิดขนึ้ ไว”้
‘‘อิงฆฺ ภนเฺ ต นาคเสน การณ ํ ทสเฺ สตวฺ า การเณน ม ํ ส ฺ าเปหิ, ยถาห ํ
ชาเนยฺยํ นพิ พฺ านสสฺ สจฉฺ กิ ิริยาย เหต ุ อตฺถิ, นิพฺพานสสฺ อุปฺปาทาย เหตุ นตฺถี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “เอาเถอะ พระคุณเจา้ นาคเสน ขอท่านจงแสดงใหโ้ ยมเข้าใจ
เหตุผลด้วยเหตุผลเถิด โยมจะพงึ รู้ไดโ้ ดยประการใดเลา่ ว่า เหตทุ �ำพระนิพพานใหแ้ จ้งมีอยู่ แต่
เหตทุ �ำพระนิพพานใหเ้ กิดไม่มี”
‘‘เตนห ิ มหาราช สกกฺ จฺจํ โสตํ โอทห, สาธุก ํ สโุ ณหิ, วกฺขาม ิ ตตฺถ การณ,ํ
สกฺกเุ ณยยฺ มหาราช ปรุ โิ ส ปากตเิ กน พเลน อโิ ต หมิ วนตฺ ํ ปพพฺ ตราช ํ อปุ คนตฺ ุนฺ’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ อยา่ งนนั้ กข็ อพระองค์จงทรงเง่ีย
พระโสต สดบั อย่างเคารพเถิด ขอจงทรงสดับด้วยดีเถิด อาตมภาพจกั ขอกลา่ วถึงเหตผุ ลใน
ความข้อนัน้ ขอถวายพระพร บุรุษอาจใชก้ �ำลงั ตามปกติ ละจากทน่ี ี้เขา้ ไปยังภูเขาหิมพานตไ์ ด้
มใิ ชห่ รอื ?”

กัณฑ์] ๔.๗ นิปปปัญจวรรค 161

‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “ได้ พระคุณเจ้า”
‘‘สกฺกุเณยฺย ปน โส มหาราช ปรุ ิโส ปากติเกน พเลน หิมวนฺต ํ ปพพฺ ตราช ํ อธิ
อาหริตนุ ’ฺ ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร บุรษุ ผูน้ ั้นอาจใช้ก�ำลงั ทีม่ ตี ามปกติ ลาก
เอาภูเขาหิมพานต์มา ณ ท่ีน้ไี ด้หรอื ไม่ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “มิไดห้ รอก พระคณุ เจา้ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช สกฺกา นพิ ฺพานสฺส สจฉฺ ิกริ ิยาย มคโฺ ค อกฺขาต,ํุ น สกฺกา
นพิ ฺพานสสฺ อุปปฺ าทาย เหต ุ ทสเฺ สตํุ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกนั อยา่ งน้ันนัน่ แหละ บุคคล
อาจกล่าวถงึ มรรค เพอ่ื ท�ำพระนพิ พานใหแ้ จ้งได้ แต่ไมอ่ าจแสดงเหตทุ �ำพระนพิ พานใหเ้ กดิ ขึน้
ได้
‘‘สกกฺ ุเณยยฺ มหาราช ปุรโิ ส ปากติเกน พเลน มหาสมทุ ฺท ํ นาวาย อุตฺตริตวฺ า
ปารมิ ตีรํ คนตฺ ุน’ฺ ’ติ ?
ขอถวายพระพร บุรษุ อาจใช้ก�ำลังท่ีมีตามปกตขิ น้ึ เรือไปสมู่ หาสมุทรได้ มใิ ช่หรอื ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ?
พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “ได้ พระคณุ เจา้ ”
‘‘สกฺกุเณยฺย ปน โส มหาราช ปุริโส ปากติเกน พเลน มหาสมุทฺทสสฺ ปารมิ ตีรํ อธิ
อาหริตนุ ’ฺ ’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กแ็ ต่ว่า บุรษุ ผู้นัน้ อาจใช้ก�ำลังทีม่ ตี าม
ปกติ ดงึ เอาฝ่ังไกลของมหาสมทุ ร มายงั ทีน่ ้ี ได้หรอื ไม่ ?”
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “มิได้หรอก พระคุณเจา้ ”

162 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘เอวเมว โข มหาราช สกฺกา นพิ พฺ านสฺส สจฺฉกิ ริ ิยาย มคโฺ ค อกฺขาตุ,ํ น สกฺกา
นิพพฺ านสฺส อุปปฺ าทาย เหต ุ ทสเฺ สตุํ ฯ กึการณา ? อสงขฺ ตตฺตา ธมฺมสฺสา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอย่างนนั้ นัน่ แหละ บุคคล
อาจกลา่ วถงึ มรรค เพ่ือท�ำพระนิพพานใหแ้ จง้ ได้ แต่ไมอ่ าจแสดงเหตุท�ำพระนพิ พานใหเ้ กิดขน้ึ
ได้ ถามวา่ เพราะเหตุไร ? ตอบวา่ เพราะพระนพิ พานเปน็ อสงั ขตธรรม”
‘‘อสงฺขตํ ภนฺเต นาคเสน นิพพฺ านน’ฺ ’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน พระนพิ พาน เป็นอสงั ขตธรรมหรอื ?”
‘‘อาม มหาราช อสงขฺ ตํ นิพฺพานํ น เกหจิ ิ กตํ, นิพพฺ านํ มหาราช น วตตฺ พฺพํ
อุปปฺ นฺนนฺต ิ วา อนปุ ฺปนนฺ นตฺ ิ วา อปุ ฺปาทนยี นตฺ ิ วา อตีตนตฺ ิ วา อนาคตนฺต ิ วา
ปจฺจุปปฺ นนฺ นฺติ วา จกฺขุว ิ ฺเ ยฺยนฺติ วา โสตวิ เฺ ยฺยนฺติ วา ฆานว ิ เฺ ยฺยนตฺ ิ วา
ชิวหฺ าวิ ฺเ ยฺยนฺติ วา กายว ิ เฺ ยฺยนฺต ิ วา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถกู ต้อง พระนพิ พาน เปน็ อสงั ขตธรรม
อนั ปัจจัยอะไร ๆ กม็ ไิ ด้สรา้ งขนึ้ ขอถวายพระพร ใคร ๆ กไ็ ม่ควรกล่าวพระนิพพานว่า เกดิ ข้นึ
แลว้ ยงั ไมเ่ กิดขนึ้ อาจท�ำให้เกดิ ขน้ึ วา่ เป็นอดตี วา่ เป็นอนาคต วา่ เป็นปัจจบุ ัน วา่ อันจกั ขุ
วญิ ญาณพึงรู้ได้ วา่ อนั โสตวญิ ญาณ พงึ รไู้ ด้ วา่ อนั ฆานวิญญาณ พงึ รไู้ ด้ วา่ อนั ชิวหาวญิ ญาณ
พึงรู้ได้ หรอื ว่าอันกายวญิ ญาณ พงึ รู้ได”้
‘‘ยท ิ ภนฺเต นาคเสน นพิ พฺ าน ํ น อุปฺปนฺน ํ น อนุปปฺ นนฺ ํ น อุปฺปาทนีย ํ น อตีต ํ
น อนาคตํ น ปจจฺ ปุ ฺปนฺนํ น จกฺขุว ิ เฺ ยฺย ํ น โสตวิ เฺ ยยฺ ํ น ฆานวิ ฺเ ยยฺ ํ น
ชิวฺหาว ิ ฺเ ยยฺ ํ น กายวิ เฺ ยยฺ ,ํ เตนห ิ ภนเฺ ต นาคเสน ตมุ เฺ ห นตฺถิธมมฺ ํ นิพพฺ านํ
อปทสิ ถ ‘นตถฺ ิ นิพฺพานน”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ถ้าหากว่า พระนพิ พานไมใ่ ช่สง่ิ ทีเ่ กดิ ขึน้
แลว้ ไม่ใชส่ ่ิงท่ียงั ไมเ่ กดิ ข้นึ ไม่ใชส่ ่ิงทอี่ าจใหเ้ กดิ ขน้ึ ไมใ่ ช่ส่ิงท่ีเป็นอดีต ไมใ่ ช่สง่ิ ทีเ่ ป็นอนาคต
ไม่ใชส่ ่งิ ทีเ่ ป็นปจั จุบนั ไมใ่ ชส่ ่งิ ที่จักขวุ ญิ ญาณพึงรู้ได้ ไม่ใช่ส่ิงทโ่ี สตวิญญาณพึงรู้ได้ ไมใ่ ช่สิ่งที่
ฆานวญิ ญาณพึงรไู้ ด้ ไม่ใชส่ ิ่งท่ชี ิวหาวิญญาณพงึ รไู้ ด้ ไม่ใช่ส่งิ ทกี่ ายวญิ ญาณพึงรู้ไดไ้ ซร้ ถ้า
อย่างนั้น พระคณุ เจ้านาคเสน กเ็ ป็นอนั ว่าพวกทา่ นระบถุ งึ พระนพิ พานอันไมม่ อี ยู่เปน็ ธรรมดา
ว่า พระนพิ พานไมม่ ีอยจู่ ริง”

กัณฑ์] ๔.๗ นิปปปัญจวรรค 163

‘‘อตฺถิ มหาราช นิพพฺ านํ, มโนวิ ฺเ ยฺย ํ นพิ พฺ านํ, วสิ ทุ เฺ ธน มานเสน ปณีเตน
อุชเุ กน อนาวรเณน นิรามิเสน สมมฺ าปฏปิ นโฺ น อริยสาวโก นพิ พฺ าน ํ ปสสฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระนิพพานมีอยูจ่ ริง พระนิพพานเปน็
สิ่งทม่ี โนวิญญาณจะพึงรไู้ ด้ พระอริยสาวกผู้ปฏิบตั ิชอบ ย่อมมองเหน็ พระนิพพานได้ด้วยจิตท่ี
บริสทุ ธ์ิ ทป่ี ระณีต ที่ตรง ที่หาธรรมเคร่อื งขวางก้ันมิได้ ทีป่ ราศจากอามสิ แล”
‘‘กีทิสํ ปน ตํ ภนเฺ ต นพิ ฺพานํ, ย ํ ต ํ โอปมเฺ มหิ อาทปี นยี ํ การเณหิ มํ ส ฺ าเปห ิ
ยถา อตถฺ ิธมมฺ ํ โอปมฺเมห ิ อาทปี นียนฺ”ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ กพ็ ระนพิ พานนี้เป็นเชน่ กบั อะไร พระนพิ พานเป็น
ส่ิงที่อาจแจ่มแจ้งวา่ เป็นของมีอย่จู รงิ เป็นธรรมดา ด้วยอปุ มาทั้งหลาย โดยประการใด ขอ
ทา่ นจงท�ำโยมใหเ้ ขา้ ใจ พระนิพพานท่ีอาจแจม่ แจ้งได้ดว้ ยอุปมาทงั้ หลายน้นั ด้วยเหตผุ ลท้งั
หลายเถดิ ”
‘‘อตถฺ ิ มหาราช วาโต นามา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ธรรมดาว่าลม มีอยจู่ ริงหรือ ?”
‘‘อาม ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสวา่ “ใช่ มอี ยจู่ รงิ พระคณุ เจา้ ”
‘‘องิ ฆฺ มหาราช วาต ํ ทสเฺ สห ิ วณณฺ โต วา สณฺ านโต วา อณุํ วา ถลู ํ วา ทฆี ํ
วา รสฺส ํ วา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร เอาละ ขอพระองค์จงแสดงลม โดยสี
บา้ ง โดยสณั ฐานบ้าง โดยความเปน็ ของละเอียดบา้ ง โดยความเป็นของหยาบบา้ ง โดยความ
เปน็ ของยาวบ้าง โดยความเปน็ ของสนั้ บ้าง เถดิ ”
‘‘น สกฺกา ภนฺเต นาคเสน วาโต อปุ ทสฺสยติ ํ,ุ น โส วาโต หตถฺ คคฺ หณํ วา
นมิ มฺ ทฺทน ํ วา อเุ ปต,ิ อปจิ อตถฺ ิ โส วาโต’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ใคร ๆ ไมอ่ าจทจี่ ะระบุลม โดยสี (เป็นต้น)
ได้หรอก ลมน้นั มไิ ด้เขา้ ถึงการจับด้วยมือ หรือเขา้ ถึงการบบี คล�ำได้ แตว่ ่า ลมนน้ั ก็มีอย่จู ริง”

164 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ยท ิ มหาราช น สกกฺ า วาโต อปุ ทสสฺ ยิตํุ, เตนหิ นตฺถิ วาโต’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ถา้ หากว่าใคร ๆ ไม่อาจระบุลม (โดยสี
เป็นตน้ ) ได้ไซร้ ถา้ อยา่ งนน้ั ลมก็หามอี ยู่จรงิ ไม่ ?”

‘‘ชานามห ํ ภนฺเต นาคเสน วาโต อตฺถตี ิ เม หทเย อนปุ วิฏฺ ,ํ น จาหํ สกฺโกมิ
วาตํ อุปทสสฺ ยิตนุ ฺ’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมกร็ ู้อยู่ เป็นของทซ่ี ึมซาบอยูใ่ นใจของ
โยมแล้วว่า ลมมีอยู่จรงิ แตโ่ ยมกไ็ ม่อาจที่จะระบุถึงลม (โดยสีเปน็ ต้น) ได้”

‘‘เอวเมว โข มหาราช อตฺถิ นิพพฺ านํ, น จ สกกฺ า นพิ ฺพานํ อุปทสสฺ ยติ ํุ วณฺเณน
วา สณ ฺ าเนน วา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกนั อยา่ งน้ันนน่ั แหละ พระ
นพิ พานก็มีอยจู่ รงิ แตใ่ คร ๆ กไ็ มอ่ าจทีจ่ ะระบุถงึ พระนิพพานโดยสี หรือวา่ โดยสณั ฐาน
(เป็นต้น) ได้”

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน สปู ทสฺสติ ํ โอปมมฺ ,ํ สุนทิ ฺทฏิ ฺ ํ การณ,ํ เอวเมต ํ ตถา
สมฺปฏิจฉฺ าม ิ ‘อตถฺ ิ นพิ ฺพานน’ฺ ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ ดีจรงิ พระคุณเจ้านาคเสน ท่านช้แี จงอุปมาได้ดแี ล้ว ท่านแสดง
ไขเหตผุ ลได้ดแี ล้ว โยมขอรับค�ำตามที่ทา่ นกล่าวมาน้ี อย่างนีว้ ่า พระนิพพาน มีอยู่จรงิ ”

นพิ พฺ านปญโฺ ห ปญจฺ โม ฯ
จบนพิ พานปัญหาขอ้ ท่ี ๕

________

๖. กมฺมชาทปิ ญฺห
๖. กมั มชาทิปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยสงิ่ ทีเ่ กิดจากกรรมเปน็ ตน้
[๖] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กตเม เอตฺถ กมมฺ ชา, กตเม เหตุชา, กตเม อุตุชา, กตเม
น กมมฺ ชา, น เหตุชา, น อุตุชา’’ติ ?
[๖] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ในบรรดาสิง่ ทง้ั หลายเหล่านี้ อะไรเปน็

กัณฑ]์ ๔.๗ นิปปปัญจวรรค 165

ส่งิ ท่เี กดิ จากกรรม อะไรเป็นสิ่งทเ่ี กิดจากเหตุ อะไรเป็นสิ่งทเ่ี กดิ จากอตุ ุ อะไรเป็นสง่ิ ทไี่ มเ่ กิด
จากกรรม ไมเ่ กิดจากเหตุ ไมเ่ กิดจากอตุ ุ ?”
‘‘เย เกจิ มหาราช สตตฺ า สเจตนา, สพเฺ พ เต กมมฺ ชา; อคคฺ ิ จ สพฺพานิ จ
พีชชาตานิ เหตชุ านิ; ปถว ี จ ปพฺพตา จ อุทก ฺจ วาโต จ, สพฺเพ เต อตุ ุชา; อากาโส
จ นิพฺพาน ฺจ อเิ ม เทฺว อกมมฺ ชา อเหตชุ า อนุตุชา ฯ นพิ ฺพาน ํ ปน มหาราช น วตตฺ พฺพํ
กมฺมชนตฺ ิ วา เหตุชนตฺ ิ วา อุตุชนฺต ิ วา อุปฺปนฺนนตฺ ิ วา อนุปฺปนฺนนตฺ ิ วา
อุปปฺ าทนยี นฺติ วา อตีตนฺติ วา อนาคตนตฺ ิ วา ปจจฺ ปุ ปฺ นนฺ นฺติ วา จกขฺ ุว ิ เฺ ยยฺ นตฺ ิ วา
โสตว ิ เฺ ยฺยนตฺ ิ วา ฆานว ิ เฺ ยฺยนตฺ ิ วา ชิวหฺ าวิ ฺเ ยยฺ นฺต ิ วา กายวิ เฺ ยฺยนฺต ิ วา,
อปจิ มหาราช มโนวิ เฺ ยฺย ํ นพิ พฺ าน,ํ ย ํ โส สมมฺ าปฏิปนฺโน อริยสาวโก วสิ ทุ เฺ ธน
าเณน ปสสฺ ตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร สัตวผ์ ู้มีเจตนาท้งั หลายท้ัง
ปวง ลว้ นเปน็ ส่งิ ที่เกิดจากกรรม ไฟและพชื ทเ่ี กดิ มาท้งั หมด ล้วนเป็นสิ่งทีเ่ กิดจากเหตุ แผ่น
ดิน ภูเขา น้ำ� ลม ทัง้ หมด ลว้ นเปน็ สงิ่ ทีเ่ กิดมาจากอุตุ สงิ่ ๒ อย่างเหลา่ น้ี คือ อากาศและพระ
นพิ พาน เป็นสิง่ ทไ่ี มเ่ กดิ จากกรรม ไม่เกิดจากเหตุ ไม่เกดิ จากอตุ ุ ขอถวายพระพร ก็แล พระ
นพิ พาน ใคร ๆ ไมค่ วรกล่าววา่ เกดิ จากกรรม ว่าเกดิ จากเหตุ ว่าเกิดจากอุตุ ว่าเกดิ ขนึ้ แลว้ ว่า
ยงั ไมไ่ ดเ้ กดิ ข้นึ ว่าอาจท�ำให้เกิดขน้ึ ว่าเปน็ อดีต วา่ เปน็ อนาคต วา่ เปน็ ปจั จุบนั วา่ อันจกั ขุ
วญิ ญาณพึงรูไ้ ด้ วา่ อันโสตวญิ ญาณพงึ รูไ้ ด้ ว่าอันฆานวิญญาณพงึ รู้ได้ วา่ อันชวิ หาวิญญาณ
พงึ รู้ได้ หรือวา่ อนั กายวญิ ญาณพึงรู้ได้ ขอถวายพระพร กแ็ ต่ว่า พระนิพพาน อันมโนวิญญาณ
จะพึงรไู้ ด้ คือ เปน็ สงิ่ ทพี่ ระอริยสาวกผู้ปฏบิ ตั ิชอบนั้น เหน็ ด้วยญาณท่ีหมดจด”
‘‘รมณีโย ภนเฺ ต นาคเสน ป โฺ ห สวุ นิ จิ ฉฺ ิโต นิสสฺ สํ โย เอกนฺตคโต, วมิ ต ิ
อุปปฺ จฺฉนิ นฺ า, ตวฺ ํ คณวิ รปวรมาสชฺชา’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ปัญหาทีน่ ่าร่นื รมย์ใจ ท่านก็ไดว้ นิ จิ ฉยั ดี
จนหมดสงสยั ถึงความแนน่ อนใจได้ ความคลางแคลงใจกถ็ ูกทา่ นตัดเสียได้ ท่านนบั ว่าเป็นผู้
ประเสริฐยอดเย่ียมองอาจในหมคู่ ณะแล”

กมมฺ ชาทปิ ญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ
จบกัมมชาทปิ ญั หาขอ้ ที่ ๖

________

166 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

๗. ยกขฺ ปญฺห
๗. ยักขปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยเรื่องยักษ์
[๗] ‘‘ภนฺเต นาคเสน อตถฺ ิ โลเก ยกฺขา นามา’’ติ ?
[๗] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ธรรมดาวา่ ยักษม์ ีอยู่ในโลกหรอื ?”
‘‘อาม มหาราช อตฺถิ โลเก ยกขฺ า นามา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ใชแ่ ล้ว ธรรมดาวา่ ยกั ษ์
ย่อมมีอยูใ่ นโลก”
‘‘จวนตฺ ิ ปน เต ภนเฺ ต ยกฺขา ตมฺหา โยนยิ า’’ติ ?
พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ กพ็ วกยักษ์เหล่านั้น ย่อมจตุ จิ ากก�ำเนดิ น้นั หรือ ?”
‘‘อาม มหาราช จวนฺติ เต ยกขฺ า ตมฺหา โยนิยา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ใช่ พวกยักษเ์ หล่านัน้ ย่อมจุติจาก
ก�ำเนิดนนั้ ”
‘‘กสิ ฺส ปน ภนฺเต นาคเสน เตส ํ มตานํ ยกฺขาน ํ สรรี ํ น ทิสสฺ ติ, กุณปคนฺโธป ิ น
วายตี’’ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน เพราะเหตไุ ร ซากของยักษ์ท่ตี ายแล้วเหล่า
นนั้ จงึ ไม่ปรากฏ แมก้ ล่นิ ศพกไ็ ม่ฟงุ้ ไป ?”
‘‘ทิสฺสติ มหาราช มตาน ํ ยกขฺ านํ สรรี ,ํ กุณปคนฺโธป ิ เตส ํ วายต,ิ มตานํ มหาราช
ยกฺขานํ สรรี ํ กฏี วณฺเณน วา ทิสสฺ ต,ิ กมิ ิวณฺเณน วา ทิสสฺ ติ, กิปิลลฺ ิกวณเฺ ณน วา ทิสสฺ ต,ิ
ปฏงคฺ วณเฺ ณน วา ทสิ ฺสต,ิ อหวิ ณเฺ ณน วา ทิสฺสติ, วจิ ฉฺ ิกวณเฺ ณน วา ทิสฺสต,ิ สตปทิ-
วณเฺ ณน วา ทิสสฺ ต,ิ ทิชวณเฺ ณน วา ทิสฺสต,ิ มคิ วณเฺ ณน วา ทิสฺสต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ซากของยักษท์ ีต่ ายแล้ว ก็ปรากกอยู่
แมก้ ลน่ิ ศพของยักษเ์ หล่าน้ันกฟ็ ุง้ ไป ขอถวายพระพร ซากของยกั ษท์ ต่ี ายแลว้ ย่อมปรากฏ
เป็นซากแมลงบ้าง ย่อมปรากฏเป็นซากหนอนบ้าง ย่อมปรากฏเป็นซากมดบา้ ง ย่อมปรากฏ
เป็นซากตก๊ั แตนบ้าง ย่อมปรากฏเป็นซากงูบ้าง ย่อมปรากฏเป็นซากแมลงปอ่ งบา้ ง ยอ่ ม

กัณฑ์] ๔.๗ นิปปปัญจวรรค 167

ปรากฏเปน็ ซากตะขาบบา้ ง ยอ่ มปรากฏเป็นซากนกบ้าง ย่อมปรากฏเปน็ ซากเนอ้ื บา้ ง”
‘‘โก ห ิ ภนเฺ ต นาคเสน อ โฺ อทิ ํ ป หฺ ํ ปุฏฺโ วสิ ชเฺ ชยฺย อ ฺ ตรฺ ตวาทเิ สน
พทุ ธฺ มิ ตา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ยกเวน้ ผูม้ ีปัญญาเชน่ อยา่ งทา่ นแล้ว ใคร
อ่ืนเล่า ถกู ถามแล้ว จะอาจเฉลยปัญหานีไ้ ด้”

ยกฺขปญโฺ ห สตฺตโม ฯ
จบยกั ขปญั หาขอ้ ท่ี ๗

________

๘. อนวเสสสิกฺขาปทปญฺห
๘. อนวเสสสิกขาปทปญั หา
ปญั หาว่าด้วยสกิ ขาบทท่ีไม่มีสว่ นเหลอื
[๘] ‘‘ภนฺเต นาคเสน เย เต อเหส ํุ ตกิ จิ ฺฉกานํ ปพุ ฺพกา อาจริยา เสยยฺ ถทิ ,ํ
นารโท ธมฺมนตฺ รี องฺคิรโส กปโิ ล กณฺฑรคคฺ ิ สาโม อตุโล ปพุ ฺพกจฺจายโน, สพเฺ พเปเต
อาจริยา สกเึ ยว โรคุปฺปตตฺ ิ ฺจ นทิ าน ฺจ สภาว ฺจ สมฏุ ฺ าน จฺ ตกิ ิจฺฉ จฺ กริ ยิ จฺ
สิทธฺ าสิทธฺ จฺ สพฺพ ํ ตํ นริ วเสส ํ ชานิตวฺ า ‘อิมสมฺ ึ กาเย เอตฺตกา โรคา อปุ ฺปชชฺ ิสสฺ นตฺ ’ี ต ิ
เอกปปฺ หาเรน กลาปคคฺ าหํ กรติ ฺวา สุตฺต ํ พนฺธสึ ุ, อสพพฺ ฺ โุ น เอเต สพฺเพ, กสิ ฺส ปน
ตถาคโต สพฺพ ฺ ู สมาโน อนาคต ํ กริ ิย ํ พทุ ฺธ าเณน ชานิตฺวา ‘เอตฺตเก นาม วตถฺ ุสฺม ึ
เอตฺตก ํ นาม สิกฺขาปทํ ป ฺ เปตพพฺ ํ ภวิสสฺ ต’ี ติ ปริจฺฉนิ ฺทติ วฺ า อนวเสสโต สิกขฺ าปทํ น
ป ฺ เปส,ิ อุปปฺ นฺนปุ ฺปนเฺ น วตฺถสุ ฺม ึ อยเส ปากเฏ โทเส วิตถฺ าริเก ปถุ คุ เต อชุ ฌฺ ายนฺเตส ุ
มนุสฺเสส ุ ตสฺมึ ตสมฺ ึ กาเล สาวกาน ํ สกิ ขฺ าปทํ ป ฺ เปส’ี ’ติ ?
[๘] พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน บรรดาอาจารย์ของพวกแพทย์ทัง้
หลายแตป่ างก่อน มีอยู่ เช่นว่า ท่านนารทะ ทา่ นธมั มนั ตรี ทา่ นองั คีรสะ ทา่ นกปิละ ทา่ น
กัณฑรคั คิ ท่านสามะ ทา่ นอตลุ ะ ทา่ นปพุ พกจั จายนะ อาจารย์เหล่านแ้ี มท้ ุกทา่ น รู้จักความเกิด
ขน้ึ แห่งโรค เหตุแหง่ โรค สภาวะแหง่ โรค สมฏุ ฐานของโรค วธิ บี �ำบดั กิจท่ีควรท�ำ และโรคที่
รกั ษาส�ำเร็จ หรอื ไมส่ �ำเรจ็ ได้ทุกอย่างในคราวเดียวกัน เชน่ ว่า โรคเท่าน้ี จักเกิดขน้ึ ในร่างกาย
น้ี เปน็ ต้น เหมือนอยา่ งผกู เส้นดา้ ยท�ำใหจ้ ับกนั เปน็ พวง ๆ ในคราวเดยี วกัน ฉะนน้ั อาจารย์

168 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

เหลา่ นี้ทุกทา่ นหาเปน็ สัพพัญญไู ม่ แตเ่ พราะเหตไุ ร พระตถาคตผูท้ รงเปน็ พระสพั พญั ญู รกู้ ิจท่ี
ควรท�ำในอนาคต ด้วยพุทธญาณ ก�ำหนดไดว้ า่ จกั มสี กิ ขาบททเี่ ราตอ้ งบัญญตั ิเท่านัน้ ในวัตถุ
เท่าน้ี ดังน้ีแล้ว กย็ งั ไมท่ รงบัญญตั สิ กิ ขาบทให้หมดสิ้นเสยี เลยวา่ ตอ่ เม่ือเร่อื งราวเกิดข้นึ แล้ว
ความผดิ แพรไ่ ปมากมายแล้ว คนทง้ั หลายติเตียนแลว้ จึงได้ทรงบัญญตั ิสิกขาบทแก่สาวกทัง้
หลายในคราวครง้ั น้ัน ๆ ?”
‘‘ าตเมตํ มหาราช ตถาคตสฺส ‘อิมสฺมึ สมเย อิเมสุ มนสุ เฺ สสุ สาธิกํ ทยิ ฑฺฒ-
สกิ ฺขาปทสตํ ป ฺ เปตพพฺ ํ ภวสิ ฺสตี’ติ, อปจิ ตถาคตสฺส เอว ํ อโหส ิ ‘สเจ โข อหํ สาธกิ ํ
ทยิ ฑฒฺ สิกฺขาปทสตํ เอกปปฺ หาร ํ ป ฺ เปสสฺ ามิ, มหาชโน สนตฺ าสมาปชฺชสิ ฺสต ิ ‘พหกุ ํ อธิ
รกฺขติ พฺพํ, ทุกกฺ รํ วต โภ สมณสสฺ โคตมสสฺ สาสเน ปพฺพชิต’ุ นตฺ ิ, ปพพฺ ชิตุกามาปิ น
ปพฺพชสิ สฺ นตฺ ิ, วจน ฺจ เม น สททฺ หิสฺสนตฺ ิ, อสทฺทหนฺตา เต มนสุ ฺสา อปายคามโิ น
ภวิสสฺ นฺต ิ อุปปฺ นนฺ ปุ ฺปนฺเน วตฺถสุ ฺมึ ธมฺมเทสนาย วิ ฺ าเปตฺวา ปากเฏ โทเส สกิ ขฺ าปท ํ
ป ฺ เปสสฺ ามี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระตถาคตทรงทราบความ
ข้อนี้ว่า ในสมัยนีจ้ ักมีสิกขาบทท่ีเราตอ้ งบัญญตั ใิ นคนทงั้ หลายเหลา่ น้ี อยู่ ๑๕๐ กว่าข้อ ดงั นี้
แต่ทวา่ พระตถาคตทรงมีพระด�ำรอิ ย่างนว้ี ่า ถา้ หากว่าเราจะบัญญตั สิ กิ ขาบททัง้ ๑๕๐ กว่าขอ้
คราวเดียวกันไซร้ มหาชนก็จะถึงความพรั่นพรงึ ใจว่า สกิ ขาบทท่ีตอ้ งรกั ษาในพระศาสนานี้ มี
มากมาย เจา้ ประคณุ เอ๋ย อนั การทจ่ี ะบวชในพระศาสนาของพระสมณโคดม เป็นกิจที่ท�ำได้
ยากเสยี จรงิ หนอ ดังน้แี ลว้ แม้อยากบวชก็ไม่กลา้ บวช ท้งั จักไมเ่ ชอ่ื ค�ำของเราด้วย เม่ือไม่เช่อื
ถือ พวกคนเหล่านั้นก็จักเปน็ ผไู้ ปอบาย (เพราะฉะนัน้ ) เมอ่ื มเี รอื่ งราวเกดิ ข้ึนแลว้ เราจกั ท�ำคน
เหลา่ น้ันให้เขา้ ใจด้วยธรรมเทศนาแล้วจักบญั ญตั สิ กิ ขาบท ในเมื่อมีโทษปรากฏแล้วเทา่ นั้น”
ดังน้ี
‘‘อจฉฺ รยิ ํ ภนเฺ ต นาคเสน พุทธฺ านํ, อพภฺ ุต ํ ภนเฺ ต นาคเสน พทุ ฺธานํ, ยาว มหนตฺ ํ
ตถาคตสฺส สพพฺ ฺ ุต าณ,ํ เอวเมต ํ ภนฺเต นาคเสน สนุ ทิ ทฺ ิฏฺโ เอโส อตโฺ ถ ตถาคเตน,
‘พหกุ ํ อธิ สิกฺขิตพพฺ นฺ’ติ สุตวฺ า สตฺตานํ สนตฺ าโส อุปปฺ ชฺเชยฺย, เอโกปิ ชนิ สาสเน น
ปพพฺ เชยฺย, เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระสพั พัญญตุ ญาณของพระตถาคตยงิ่
ใหญ่เพยี งใด ขอ้ นี้จดั วา่ เปน็ ส่งิ ที่น่าอศั จรรยแ์ หง่ พระพทุ ธเจา้ ทัง้ หลาย จดั วา่ เป็นสงิ่ ทน่ี า่ แปลก

กณั ฑ]์ ๔.๗ นปิ ปปัญจวรรค 169

ใจแหง่ พระพุทธเจา้ ท้ังหลาย พระคณุ เจ้านาคเสน ข้อน้ี เป็นอยา่ งทที่ ่านกลา่ วมานี้ กเ็ ปน็ อนั
พระตถาคตทรงไขความข้อนไ้ี ว้ดแี ลว้ ว่า เมอื่ สตั วท์ ั้งหลายไดส้ ดบั วา่ สกิ ขาบทท่พี ึงศกึ ษาใน
พระศาสนาน้มี มี ากมาย ดงั น้ีแลว้ กจ็ ะพึงถึงความพร่ันพรงึ แม้สกั คนหนึง่ กไ็ ม่กลา้ บวชในพระ
ศาสนาของพระชนิ วรพุทธเจา้ โยมขอยอมรบั ค�ำตามท่ที า่ นกล่าวมาน”้ี

อนวเสสสกิ ขฺ าปทปญฺโห อฏ€ฺ โม ฯ
จบอนวเสสสิกขาปทปัญหาข้อท่ี ๘

________

๙. สูรยิ ตปนปญฺห
๙. สูริยตปนปญั หา
ปัญหาว่าด้วยแสงร้อนแหง่ ดวงอาทติ ย์
[๙] ‘‘ภนฺเต นาคเสน อยํ สูรโิ ย สพฺพกาลํ ก ิน ํ ตปต ิ อทุ าห ุ กิ ฺจกิ าลํ มนทฺ ํ
ตปตี’’ติ ?
[๙] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ดวงอาทติ ยน์ ี้ ส่องแสงแรงกลา้ อยู่
ตลอดกาลทงั้ ปวงหรือ หรือบางครั้งกส็ อ่ งแสงอ่อน ๆ บ้าง”

‘‘สพพฺ กาล ํ มหาราช สรู ิโย ก ิน ํ ตปต,ิ น ก ิ จฺ ิกาล ํ มนฺท ํ ตปต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ดวงอาทิตยส์ อ่ งแสงแรงกล้า
ตลอดกาลทั้งปวง ในกาลไหน ๆ กไ็ ม่สอ่ งแสงอ่อน”

‘‘ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน สูรโิ ย สพพฺ กาล ํ ก ินํ ตปต,ิ กสิ ฺส ปน อปเฺ ปกทา สูริโย
ก ินํ ตปต,ิ อปเฺ ปกทา มนฺทํ ตปตี’’ติ ?
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ถา้ หากวา่ ดวงอาทติ ย์ส่องแสงแรงกลา้ อยู่
ตลอดกาลทง้ั ปวงไซร้ เพราะเหตุไร ในกาลบางคราว ดวงอาทิตย์ก็ส่องแสงแรงกล้า ในกาล
บางคราวก็สอ่ งแสงออ่ น (อย่อู ยา่ งน้)ี เลา่ ?”

‘‘จตฺตาโรเม มหาราช สูรยิ สสฺ โรคา, เยส ํ อ ฺ ตเรน โรเคน ปฏปิ ีฬิโต สูรโิ ย มนทฺ ํ
ตปติ ฯ กตเม จตฺตาโร ? อพฺภ ํ มหาราช สรู ิยสฺส โรโค, เตน โรเคน ปฏปิ ฬี โิ ต สรู ิโย
มนทฺ ํ ตปติ ฯ มหกิ า มหาราช สรู ิยสสฺ โรโค, เตน โรเคน ปฏปิ ฬี ิโต สรู ิโย มนทฺ ํ ตปตฯิ

170 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

เมโฆ มหาราช สูริยสฺส โรโค, เตน โรเคน ปฏปิ ฬี โิ ต สูริโย มนฺทํ ตปติ ฯ ราหุ มหาราช
สูริยสสฺ โรโค, เตน โรเคน ปฏปิ ีฬิโต สูรโิ ย มนทฺ ํ ตปติ ฯ อิเม โข มหาราช จตตฺ าโร
สรู ยิ สฺส โรคา, เยสํ อ ฺ ตเรน โรเคน ปฏปิ ฬี ิโต สูรโิ ย มนฺท ํ ตปต’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ดวงอาทติ ยน์ ้ี มีโรคอยู่ ๔ อย่างเหล่านี้
ดวงอาทิตย์ ถกู โรคอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง บรรดาโรคเหลา่ นี้ บบี คั้นแล้ว กย็ อ่ มส่องแสงอ่อนไป
โรค ๔ อยา่ งอะไรบา้ ง ไดแ้ ก่
ก้อนเมฆหนา ๆ ก็เปน็ โรคของดวงอาทติ ยอ์ ย่างหนงึ่ ดวงอาทติ ย์ถูกโรคคือก้อนเมฆ
หนา ๆ น้นั บบี คั้น (คอื ปิดบงั ) กย็ ่อมส่องแสงออ่ นไป
หมอกก็เป็นโรคของดวงอาทติ ยอ์ ยา่ งหน่ึง ดวงอาทิตย์ถกู โรคคือหมอกนั้นบีบค้ันแล้ว
กย็ อ่ มส่องแสงออ่ นไป
เมฆฝนก็เปน็ โรคของดวงอาทิตยอ์ ยา่ งหนึง่ ดวงอาทติ ย์ถูกโรคคอื เมฆฝนนั้นบีบคนั้
แล้ว ก็ยอ่ มส่องแสงอ่อนไป
เทพราหกู ็เปน็ โรคของดวงอาทติ ยอ์ ย่างหน่ึง ดวงอาทติ ยถ์ กู โรคคอื เทพราหนู ัน้ บบี คน้ั
แล้ว กย็ อ่ มส่องแสงอ่อนไป
ขอถวายพระพร ดวงอาทติ ยม์ ีโรคอยู่ ๔ อยา่ ง เหลา่ น้ีแล ซ่งึ ดวงอาทติ ยถ์ ูกโรคอยา่ ง
ใดอยา่ งหนง่ึ บรรดาโรคเหลา่ น้ี บีบค้ันแล้วก็สอ่ งแสงอ่อนไป”

‘‘อจฺฉรยิ ํ ภนฺเต นาคเสน อพฺภตุ ํ ภนฺเต นาคเสน สูรยิ สฺสป ิ ตาว เตโชสมฺปนฺนสฺส
โรโค อุปปฺ ชชฺ ิสฺสติ, กมิ งฺค ํ ปน อ ฺเ ส ํ สตฺตานํ, นตถฺ ิ ภนเฺ ต เอสา วภิ ตตฺ ิ อ ฺ สสฺ
อ ฺ ตรฺ ตวาทเิ สน พทุ ธฺ มิ ตา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “น่าอัศจรรย์จริง พระคุณเจา้ นาคเสน นา่ แปลกใจจริง พระคุณ
เจ้านาคเสน ขอ้ ท่ีวา่ ดวงอาทติ ย์ ถงึ พรอ้ มด้วยเดช ก็จกั ยงั มีโรคเกิดขึน้ ได้ จะปว่ ยกล่าวไปใย
ถึงสัตวเ์ หลา่ อน่ื ทัง้ หลายเลา่ พระคณุ เจ้า ยกเว้นบุคคลผมู้ ีความรเู้ ชน่ ทา่ นเสยี แลว้ บุคคลอื่น
หามีอนั จ�ำแนกปัญหาข้อน้ไี ด้ไม่”

สูริยตปนปญโฺ ห นวโม ฯ
จบสรู ยิ ตปนปญั หาข้อท่ี ๙

________

กณั ฑ]์ ๔.๗ นปิ ปปัญจวรรค 171

๑๐. กนิ ตปนปญหฺ
๑๐. กฐนิ ตปนปญั หา
ปัญหาว่าดว้ ยแสงแดดแผดกล้า
[๑๐] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน กสิ สฺ เหมนเฺ ต สรู โิ ย ก ินํ ตปต,ิ โน ตถา คิมฺเห’’ติ ?
[๑๐] พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน เพราะเหตุไร ในฤดูหนาว ดวง
อาทติ ยจ์ งึ สอ่ งแสงแรงกล้า แต่ในฤดูรอ้ นมไิ ดส้ อ่ งแสงแรงกล้าอย่างนน้ั ?”
‘‘คมิ ฺเห มหาราช อนุปหตํ โหต ิ รโชชลลฺ ํ, วาตกขฺ ุภติ า เรณู คคนานคุ ตา โหนตฺ ิ,
อากาเสป ิ อพภฺ า สุพหลา โหนตฺ ิ, มหาวาโต จ อธิมตฺตํ วายติ, เต สพฺเพ นานากุลา
สมายุตา สูรยิ รํสิโย ปิทหนฺติ, เตน คิมฺเห สรู ิโย มนฺทํ ตปติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ในฤดรู อ้ น ธุลีขี้ฝุ่นมิไดถ้ กู
ลมขจดั (จนหมดสน้ิ ไป) ละอองถกู ลมตใี ห้ฟงุ้ ข้ึนไปอยู่บนทอ้ งฟา้ ทัง้ ในอากาศกม็ ีแตก่ อ้ นเมฆ
หนา ๆ ลมแรงพัดไปแรง สิ่งทมี่ อี ยา่ งต่าง ๆ เหล่านั้นทงั้ หมด รวมกนั เขา้ กป็ ดิ บงั รัศมีดวง
อาทติ ยไ์ ว้ เพราะเหตุนน้ั ในฤดูร้อน ดวงอาทิตยจ์ งึ ส่องแสงอ่อน
‘‘เหมนฺเต ปน มหาราช เหฏ ฺ า ปถวี นพิ ฺพุตา โหต,ิ อุปริ มหาเมโฆ อุปฏ ฺ ิโต
โหติ, อปุ สนตฺ ํ โหต ิ รโชชลลฺ ํ, เรณุ จ สนตฺ สนฺต ํ คคเน จรต,ิ วคิ ตวลาหโก จ โหต ิ
อากาโส, วาโต จ มนฺทมนทฺ ํ วายติ, เอเตสํ อปุ รตยิ า วสิ ทุ ธฺ า โหนฺติ สรู ยิ รํสิโย, อปุ ฆาต-
วมิ ตุ ตฺ สสฺ สูรยิ สฺส ตาโป อติ วิย ตปติ ฯ อิทเมตถฺ มหาราช การณ,ํ เยน การเณน
สูรโิ ย เหมนฺเต ก ินํ ตปติ, โน ตถา คมิ ฺเห’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร สว่ นว่า ในฤดหู นาว แผ่นดนิ เบอ้ื งล่างเย็น เบ้ืองบนก็มเี มฆใหญต่ ง้ั ข้ึน
ธุลีข้ฝี ุ่นน่ิงสงบอยู่ ท้งั ละอองก็เคล่อื นไปชา้ ๆ บนทอ้ งฟา้ ท้งั อากาศก็ปราศจากเมฆฝน ทง้ั ลม
กพ็ ัดไปอ่อน ๆ รัศมีดวงอาทิตย์ ย่อมเปน็ ธรรมชาติทีห่ มดจด เพราะส่งิ เหล่าน้มี ีความสงบ
ระงบั เม่อื ดวงอาทติ ย์พน้ จากสง่ิ ขดั ข้อง แสงแดดย่อมแผดกลา้ ย่ิงนกั ขอถวายพระพร ที่กลา่ ว
มานเ้ี ปน็ เหตผุ ลในเรื่องนี้ ทเี่ ป็นเหตทุ �ำให้ดวงอาทติ ย์ส่องแสงแรงกล้าในฤดหู นาว ในฤดูรอ้ น
มไิ ดส้ อ่ งแสงแรงกลา้ อย่างน้ัน”

172 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘สพพฺ ตี มิ ตุ โฺ ต ภนเฺ ต สูริโย ก ิน ํ ตปต,ิ เมฆาทิสหคโต ก ิน ํ น ตปตี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรัสวา่ “พระคุณเจ้า ดวงอาทิตยพ์ ้นจากเสนยี ดจัญไรท้ังปวงได้ ก็ยอ่ ม
สอ่ งแสงแรงกล้า ประจวบกันเขา้ กับเมฆฝนเป็นตน้ กไ็ มส่ ่องแสงแรงกลา้ ”

ก€ินตปนปญฺโห ทสโม ฯ
จบกฐินตปนปญั หาขอ้ ที่ ๑๐

นิปฺปปญจฺ วคโฺ ค สตตฺ โม ฯ
จบนปิ ปปัญจวรรคท่ี ๗

อมิ สมฺ ึ วคฺเค ทส ปญฺหา ฯ
ในวรรคน้มี ีปญั หา ๑๐ ขอ้
________

๔.๘ เวสฺสนฺตรวคคฺ
๔.๘ เวสสนั ตรวรรค หมวดวา่ ด้วยเร่ืองพระเวสสันดร

๑. เวสฺสนตฺ รปญฺห
๑. เวสสันตรปัญหา
ปญั หาวา่ ด้วยเรอ่ื งพระเวสสันดร
[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน สพเฺ พว โพธิสตฺตา ปตุ ฺตทาร ํ เทนตฺ ิ อุทาห ุ เวสฺสนฺตเรเนว
ร ฺ า ปตุ ตฺ ทารํ ทินฺนนฺ’’ติ ?
[๑] พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระโพธิสัตวท์ กุ พระองค์ล้วนแตใ่ ห้
บตุ รและภรรยาหรือ หรอื วา่ เฉพาะพระราชาเวสสันดรเท่าน้ันใหบ้ ุตรและภรรยา”

‘‘สพเฺ พป ิ มหาราช โพธสิ ตตฺ า ปุตตฺ ทาร ํ เทนฺต,ิ น เวสสฺ นฺตเรเนว ร ฺ า ปตุ ฺตทารํ
ทินฺนน’ฺ ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระโพธสิ ัตว์ทุกพระองค์
ล้วนแต่ให้บุตรและภรรยา ไมใ่ ช่เฉพาะพระราชาเวสสนั ดรเท่านัน้ ท่ีใหบ้ ุตรและภรรยา”

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 173

‘‘อปิจ โข ภนฺเต นาคเสน เตสํ อนุมเตน เทนตฺ ี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน กแ็ ตว่ า่ พระโพธิสตั ว์ยอ่ มให้ตามความ
ยินยอมของบุคคลเหล่านั้นหรอื ?”
‘‘ภริยา มหาราช อนุมตา, ทารกา ปน พาลตาย วลิ ปึส,ุ ยท ิ เต อตฺถโต
ชาเนยยฺ ,ํุ เตปิ อนุโมเทยฺยุํ, น เต วิลเปยยฺ นุ ”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระชายาทรงยินยอม แตว่ า่ โอรสธดิ า
ซ่ึงยังเป็นเดก็ ร้องไห้ เพราะความทีย่ งั ไร้เดียงสา ถา้ หากพวกเดก็ ๆ เหล่านน้ั รเู้ ดยี งสา พวก
เดก็ ๆ แม้เหล่านน้ั กจ็ ะพงึ ยินยอม เด็ก ๆ เหลา่ นัน้ จะไม่ร้องไห้”
‘‘ทกุ ฺกรํ ภนฺเต นาคเสน โพธสิ ตเฺ ตน กต,ํ ยํ โส อตฺตโน โอรเส ปิเย ปุตเฺ ต
พรฺ าหมฺ ณสฺส ทาสตฺถาย อทาสิ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ข้อทพ่ี ระโพธสิ ตั ว์น้ันทรงมอบบตุ รที่รักอัน
เปน็ โอรสธดิ าของพระองค์เองให้เป็นทาสแกพ่ ราหมณ์ จดั วา่ เปน็ ข้อท่ที �ำไดย้ าก ขอ้ ที่ ๑
‘‘อทิ มฺปิ ทุตยิ ํ ทุกกฺ รโต ทุกฺกรตรํ, ย ํ โส อตตฺ โน โอรเส ปเิ ย ปตุ เฺ ต พาลเก
ตรณุ เก ลตาย พนฺธติ วฺ า เตน พรฺ าหฺมเณน ลตาย อนมุ ชชฺ ียนเฺ ต ทสิ วฺ า อชฌฺ เุ ปกฺขิ ฯ
แมข้ อ้ ที่พระโพธสิ ตั วน์ ั้น เหน็ บุตรเป็นท่รี กั ซึ่งเปน็ โอรสธดิ าของพระองค์ ผยู้ งั ไร้เดยี ง
สา ออ่ นเยาว์ ถูกพราหมณน์ ัน้ ใชเ้ ถาวลั ย์ผกู มดั กระชากลากถไู ป แล้วก็ยงั วางเฉยอย่ไู ด้ จดั
เป็นข้อท่ีท�ำไดย้ ากย่ิงกว่ายาก ข้อที่ ๒
‘‘อิทมปฺ ิ ตตยิ ํ ทกุ กฺ รโต ทกุ กฺ รตร,ํ ยํ โส สเกน พเลน พนธฺ นา มุจจฺ ติ วฺ า อาคเต
ทารเก สารชฺชมุปคเต ปนุ เทว ลตาย พนธฺ ิตวฺ า อทาสิ ฯ
แม้ข้อที่พระองค์ ใชเ้ ถาวัลย์ มดั พวกเด็ก ๆ ผูใ้ ช้ก�ำลงั ของตนแก้มดั ว่งิ กลับมาถึงความ
หวาดกลวั อยู่ มอบให้ไปอกี กจ็ ัดวา่ เปน็ ข้อที่ท�ำไดย้ ากเสยี ย่งิ กวา่ ยาก ข้อที่ ๓
‘‘อิทมปฺ ิ จตุตฺถํ ทกุ กฺ รโต ทกุ ฺกรตรํ, ยํ โส ทารเก ‘อยํ โข ตาต, ยกโฺ ข ขาทติ ุํ
เนติ อมฺเห’ต ิ วลิ ปนเฺ ต ‘มา ภายิตถฺ า’ต ิ น อสฺสาเสสิ ฯ
แมข้ ้อทีเ่ มื่อพวกเดก็ ๆ ร�ำพันอยวู่ า่ เสดจ็ พ่อ ผนู้ ี้ เป็นยักษ์ มนั จะพาลูกไปกิน พระองค์
จะทรงปลอบโยนวา่ จงอย่ากลัวเลย ดงั นีบ้ ้าง ก็หาไม่ จัดวา่ เปน็ ขอ้ ทที่ �ำได้ยากเสยี ยงิ่ กว่ายาก
ข้อที่ ๔

174 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘อิทมฺปิ ป จฺ ม ํ ทกุ กฺ รโต ทกุ กฺ รตรํ, ยํ โส ชาลสิ ฺส กุมารสฺส รุทมานสสฺ ปาเทสุ
นิปติตฺวา ‘อล ํ ตาต, กณหฺ าชนิ ํ นิวตเฺ ตหิ, อหเมว คจฉฺ าม ิ ยกเฺ ขน สห, ขาทต ุ มํ ยกฺโข’ติ
ยาจมานสฺส เอว ํ น สมปฺ ฏจิ ฺฉิ ฯ
แม้ขอ้ ทีเ่ ม่ือชาลีกุมารรอ้ งไห้ หมอบลงท่ีพระบาท วงิ วอนอยู่วา่ เอาละ เสดจ็ พ่อ ลกู
ขอรอ้ ง ขอจงทรงโปรดให้กณั หาชนิ าได้กลบั ไป ลกู คนเดียวจะไปกับยักษ์ ขอยกั ษ์จงกนิ ลูกคน
เดียวเถิด ดังน้ี พระองค์กไ็ ม่ทรงยอมรบั ตามค�ำวงิ วอนนี้ ก็จัดว่าเปน็ ข้อท่ที �ำได้ยากเสยี ยงิ่ กวา่
ยาก ข้อที่ ๕
‘‘อิทมฺปิ ฉฏ ฺ ํ ทกุ ฺกรโต ทุกฺกรตรํ, ยํ โส ชาลิสสฺ กมุ ารสฺส ‘ปาสาณสม ํ นูน เต
ตาต หทยํ ย ํ ตวฺ ํ อมฺหาก ํ ทุกฺขติ าน ํ เปกฺขมาโน นิมฺมนสุ ฺสเก พฺรหาร เฺ ยกเฺ ขน
นยี มาเน น นวิ าเรส’ี ติ วิลปมานสสฺ การุ ฺ ํ นากาสิ ฯ
แม้ขอ้ ที่ เมอ่ื ชาลกี มุ ารรอ้ งไห้ร�ำพนั วา่ เสด็จพ่อ มพี ระทยั แข็งกระด้างดังแผ่นศิลาเสีย
น่กี ระไร ทเ่ี มอื่ พวกหมอ่ มฉนั ทง้ั ๒ เป็นทุกข์อยู่ กย็ ังทรงเพิกเฉย ก�ำลงั จะถกู ยักษ์พาไปในป่า
ทบึ ปราศจากผู้คน ก็ไมท่ รงป้องกนั ดงั นี้ กไ็ ม่ทรงพระกรุณา กจ็ ัดวา่ เป็นข้อทท่ี �ำได้ยากเสียย่ิง
กว่ายาก ข้อที่ ๖
‘‘อิทมฺปิ สตฺตมํ ทกุ ฺกรโต ทุกกฺ รตร,ํ ย ํ ตสฺส รุฬรฬุ สฺส ภมี ภมี สฺส นีเต ทารเก
อทสฺสน ํ คมิเต น ผล ิ หทย ํ สตธา วา สหสสฺ ธา วา, ป ุ ฺ กาเมน มนเุ ชน กึ
ปรทกุ ขฺ าปเนน, นนุ นาม สกทาน ํ ทาตพฺพ ํ โหต’ี ’ติ ?
แม้ข้อท่เี มอ่ื พวกเดก็ ๆ ถูกพราหมณท์ ี่แสนรา้ ย แสนน่าสะพรึงกลัวนนั้ น�ำไปจนพน้
สายพระเนตร พระทัยก็หาไดแ้ ตกเปน็ ๑๐๐ เส่ยี ง หรือ ๑,๐๐๐ เสีย่ งไม่ กจ็ ัดว่าเปน็ ขอ้ ที่ท�ำได้
ยากเสยี ย่ิงกวา่ ยาก ขอ้ ท่ี ๗ เพราะเหตุไร พระโพธิสตั ว์ ซึ่งเป็นคนทีใ่ ครบ่ ญุ จงึ เป็นผทู้ ไ่ี ม่ขจดั
ทุกข์ของผู้อ่นื เลา่ ? ธรรมดาว่า น่าจะให้ทานของตนมใิ ช่หรือ ?”
‘‘ทุกกฺ รสสฺ มหาราช กตตตฺ า โพธิสตตฺ สฺส กิตฺติสทฺโท ทสสหสฺสยิ า โลกธาตยุ า
สเทวมนุสฺเสส ุ อพภฺ คุ ฺคโต, เทวา เทวภวเน ปกิตเฺ ตนฺต,ิ อสรุ า อสรุ ภวเน ปกิตฺเตนตฺ ,ิ
ครุฬา ครฬุ ภวเน ปกิตฺเตนฺติ, นาคา นาคภวเน ปกติ เฺ ตนฺติ, ยกขฺ า ยกขฺ ภวเน ปกิตฺเตนฺติ,
อนปุ พุ ฺเพน ตสสฺ กติ ฺตสิ ทโฺ ท ปรมฺปราย อชฺเชตรหิ อิธ อมฺหาก ํ สมยํ อนปุ ปฺ ตฺโต, ต ํ มยํ
ทานํ ปกิตเฺ ตนตฺ า วิโกเปนตฺ า นสิ ินฺนา สุทินฺน ํ อุทาห ุ ททุ ทฺ นิ ฺนนฺติ ฯ โส โข ปนาย ํ
มหาราช กิตฺตสิ ทฺโท นปิ ุณานํ ว ิ ฺ นู ํ วทิ นู ํ วิภาวีน ํ โพธิสตฺตาน ํ ทส คเุ ณ อนทุ สฺสติ ฯ

กณั ฑ์] ๔.๘ เวสสันตรวรรค 175

กตเม ทส ? อเคธตา นริ าลยตา จาโค ปหาน ํ อปุนราวตตฺ ิตา สุขุมตา มหนตฺ ตา
ทรุ นุโพธตา ทุลฺลภตา อสทสิ ตา พุทธฺ ธมมฺ สสฺ , โส โข ปนาย ํ มหาราช กติ ตฺ สิ ทฺโท
นปิ ณุ านํ วิ ฺ ูนํ วิทนู ํ วิภาวนี ํ โพธสิ ตตฺ านํ อิเม ทส คุเณ อนทุ สฺสตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระกติ ตศิ ัพทข์ องพระโพธสิ ตั ว์ฟุ้งขจร
ไป ในหมนื่ โลกธาตุ พร้อมทัง้ เทวดาและมนุษย์ เพราะไดท้ รงท�ำสง่ิ ทที่ �ำได้ยาก พวกเทวดาก็
พากนั สรรเสรญิ อยูใ่ นที่อยู่ของพวกเทวดา พวกอสูรก็พากนั สรรเสริญอย่ใู นท่ีอยูข่ องพวกอสรู
พวกครุฑก็พากันสรรเสริญอย่ใู นทอ่ี ย่ขู องพวกครุฑ พวกนาคก็พากันสรรเสรญิ อย่ใู นที่อยู่ของ
พวกนาค พวกยกั ษก์ ็พากนั สรรเสริญอยู่ในทีอ่ ยู่ของพวกยกั ษ์ พระกิตติศัพท์ของพระโพธิสตั ว์
นน้ั ฟุง้ ขจรสืบต่อกนั มาตามล�ำดับ จนกระทั่งถงึ สมัยของพวกเรา ณ ทีน่ ี้ ในปจั จุบนั นี้ พวกเรา
สรรเสริญทานน้ันอยู่ ก็กลบั มานั่งคลางแคลงใจเสียได้ วา่ เปน็ ทานดี หรือวา่ ทานไม่ดี ขอถวาย
พระพร พระกิตติศพั ท์ข้อนี้นั้น ย่อมช้ีใหเ้ ห็นพระคณุ ๑๐ ประการ ของพระโพธิสตั วท์ ้ังหลาย
ผูท้ รงเปน็ วญิ ญูชน ละเอยี ดออ่ น รอบรู้ มปี ญั ญาเห็นแจม่ แจง้
พระคณุ ๑๐ ประการ อะไรบา้ ง ? ได้แก่
๑. อเคธตา ความไมต่ ิดขอ้ ง
๒. นิราลยตา ความเป็นผู้หาอาลยั มิได้
๓. จาโค ความสละได้
๔. ปหาน ํ ความเลกิ ละเสียได้
๕. อปุนราวตตฺ ิตา ความไม่หวนกลบั มาอีก (ตกลงใจแน่วแนไ่ มเ่ ปลยี่ นใจกลับกลอก)
๖. สุขุมตา ความสุขุม
๗. มหนตฺ ตา ความเปน็ ผู้น่าบูชา (หรอื ความเปน็ บรุ ุษผู้ย่ิงใหญ)่
๘. ทุรนุโพธตา ความเป็นผทู้ ใี่ คร ๆ ตามรู้ (จติ ใจ) ไดย้ าก
๙. ทุลฺลภตา ความเป็นบุคคลที่หาได้ยาก
๑๐. อสทิสตา พุทฺธธมมฺ สฺส ความที่พระพุทธเจ้าทรงเป็นบุคคลผู้หาใครเสมอ
เหมอื นมไิ ด้
ขอถวายพระพร พระกิตติศพั ท์น้ี ยอ่ มชี้ใหเ้ หน็ พระคณุ ของพระโพธสิ ตั ว์ทง้ั หลาย
ผ้ทู รงเป็นวญิ ญชู นละเอยี ดอ่อนรอบรู้ มปี ัญญาเหน็ แจม่ แจง้ ๑๐ ประการ เหลา่ นีแ้ ล”

176 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘ภนฺเต นาคเสน โย ปร ํ ทกุ ขฺ าเปตฺวา ทานํ เทต,ิ อป ิ นุ ตํ ทานํ สุขวปิ าก ํ
โหติ สคฺคสํวตฺตนิกนฺ”ติ ?
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ผู้ใดใหท้ าน ท�ำผู้อื่นใหเ้ ปน็ ทกุ ข์ ทานนนั้ มี
วบิ ากเปน็ สุข อ�ำนวยผลให้เกดิ ในสวรรค์ไดด้ ว้ ยหรือ ?”
‘‘อาม มหาราช กึ วตฺตพฺพน”ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ได้ มหาบพิตร ไฉนใครเล่าจะกลา่ วถงึ ได้”
‘‘องิ ฆฺ ภนฺเต นาคเสน การณ ํ อปุ ทสฺเสห’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินท์ตรัสวา่ “เอาละ พระคุณเจา้ นาคเสน ขอทา่ นโปรดชแี้ จงเหตผุ ลเถิด”
‘‘อิธ มหาราช โกจ ิ สมโณ วา พฺราหฺมโณ วา สลี วา โหต ิ กลฺยาณธมโฺ ม, โส
ภเวยฺย ปกฺขหโต วา ป ี สปฺป ี วา อ ฺ ตร ํ วา พฺยาธ ึ อาปนโฺ น, ตเมน ํ โย โกจ ิ
ป ุ ฺ กาโม ยานํ อาโรเปตฺวา ปตฺถิต ํ เทสมนปุ าเปยฺย, อปิ น ุ โข มหาราช กสสฺ ปุริสสสฺ
ตโตนิทาน ํ ก ิ ฺจิ สขุ ํ นพิ พฺ ตฺเตยยฺ สคคฺ สํวตตฺ นิก ํ ตํ กมฺมนฺ”ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ สมณะหรอื พราหมณ์
บางคนในโลกนเ้ี ป็นผู้มศี ลี มีกัลยาณธรรม สมณะหรือพราหมณ์ผ้นู ้นั เกิดปว่ ย ชาไปแถบหนง่ึ
จนง่อยเปลยี้ ไปกด็ ี ถึงความปว่ ยไข้อยา่ งใดอยา่ งหน่ึงก็ดี บุรุษผู้ใครบ่ ญุ คนใดคนหนงึ่ ยก
สมณะหรือพราหมณผ์ นู้ ้ันข้ึนยานพาหนะ พาไปส่งถึงสถานท่ีท่ตี ้องการ ขอถวายพระพร ความ
สขุ อะไร ๆ ทม่ี กี รรมนั้นเปน็ เหตุ พงึ บังเกดิ แกบ่ ุรษุ คนไหนบา้ งหรอื หนอ กรรมน้นั อ�ำนวยผลให้
เกดิ ในสวรรคห์ รือไม่ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต กึ วตตฺ พพฺ ํ ? หตฺถิยาน ํ วา โส ภนฺเต ปรุ โิ ส ลเภยฺย อสสฺ ยานํ วา
รถยานํ วา, ถเล ถลยานํ ชเล ชลยาน ํ เทเวสุ เทวยาน ํ มนุสฺเสสุ มนสุ สฺ ยาน,ํ ตทนุจฺฉวกิ ํ
ตทนุโลมกิ ํ ภเว ภเว นิพพฺ ตเฺ ตยยฺ , ตทนุจฉฺ วิกาน ิ ตทนโุ ลมิกานิ จสสฺ สขุ าน ิ
นพิ ฺพตเฺ ตยฺยุํ, สคุ ตโิ ต สุคต ึ คจฺเฉยฺย, เตเนว กมมฺ าภสิ นเฺ ทน อิทธฺ ยิ านํ อภริ ยุ ฺห ปตถฺ ิตํ
นิพฺพานนครํ ปาปเุ ณยฺยา’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รสั ว่า “ใช่ พระคุณเจา้ ไฉนใครพึงกลา่ วถึงได้ บรุ ุษผู้นนั้ จะพงึ ได้รับ
ยานคือชา้ งบา้ ง ยานคอื ม้าบ้าง ยานคอื รถบ้าง อยบู่ นบก จะพงึ ไดร้ บั ยานบก อยใู่ นน้�ำ กจ็ ะพงึ
ได้รบั ยานพาหนะน�ำ้ อย่ใู นหมเู่ ทวดา ก็จะพึงได้รับยานพาหนะเทวดา อยูใ่ นหมู่มนุษยก์ ็จะพงึ

กัณฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 177

ได้รับยานพาหนะมนุษย์ ยานพาหนะที่เหมาะสมแกก่ รรมนัน้ ท่ีอนโุ ลมตามกรรมน้ัน ก็จะพงึ
บงั เกดิ แกเ่ ขา ในทกุ ๆ ภพ เขาจะพึงละจากสุคตไิ ปสสู่ คุ ติ จะพึงยา่ งขึ้นอิทธยิ านไปนพิ พาน
นครทปี่ รารถนาได้ ก็ดว้ ยการจดั แจงแห่งกรรมนัน้ นั่นแหละ”
‘‘เตนห ิ มหาราช ปรทกุ ขฺ าปเนน ทนิ ฺนทาน ํ สุขวิปาก ํ โหติ สคฺคสํวตตฺ นกิ ํ, ยํ โส
ปรุ โิ ส พลีพทเฺ ท ทุกขฺ าเปตวฺ า เอวรูปํ สุขํ อนุภวติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ อย่างน้นั กเ็ ป็นวา่ ทานทีบ่ ุรษุ ผู้นน้ั
ให้ โดยมกี ารท�ำให้ผ้อู ่นื เปน็ ทุกข์ ยอ่ มมีวบิ ากเป็นสุข อ�ำนวยผลให้เกดิ ในสวรรค์ เปน็ เหตใุ ห้
บรุ ษุ ผ้ทู �ำโคพลิพัททง้ั หลาย ให้เปน็ ทุกข์ เสวยความสขุ เห็นปานฉะน้ีได้
‘‘อปรมปฺ ิ มหาราช อตุ ฺตรึ การณ ํ สโุ ณห ิ ยถา ปรทุกฺขาปเนน ทินนฺ ทานํ สุขวปิ าก ํ
โหต ิ สคฺคสํวตตฺ นกิ ํ ฯ อิธ มหาราช โย โกจ ิ ราชา ชนปทโต ธมมฺ ิก ํ พลึ อุทธฺ ราเปตฺวา
อาณาปวตฺตเนน ทาน ํ ทเทยฺย, อปิ นุ โข โส มหาราช ราชา ตโตนิทานํ กิ ฺจ ิ สุข ํ
อนภุ เวยยฺ สคฺคสวํ ตฺตนิก ํ ต ํ ทานนฺ’’ติ ?
ขอถวายพระพร ขอจงทรงสดับเหตผุ ลท่ีย่ิงขน้ึ ไปแม้ข้ออน่ื อกี เถดิ วา่ เพราะเหตุใด
ทานทพ่ี ระโพธิสตั วม์ อบให้ โดยมีการท�ำใหผ้ อู้ ่นื เปน็ ทุกขจ์ ึงมีวบิ ากเป็นสุข ย่อมอ�ำนวยผลให้
เกดิ ในสวรรค์ ขอถวายพระพร พระราชาองคใ์ ดองคห์ นงึ่ ในโลกนี้ รบั สงั่ ให้มกี ารประกาศพระ
ราชโองการเก็บภาษโี ดยชอบธรรมจากชนบทน�ำมาถวายทาน ขอถวายพระพร พระราชา
พระองคน์ นั้ จะทรงไดร้ ับความสุขอะไร ๆ เพราะเหตุทีท่ รงได้ถวายทานน้ันหรือหนอ ทานน้ัน
อ�ำนวยผลให้เกิดในสวรรคห์ รือ ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต กึ วตฺตพพฺ ,ํ ตโตนทิ านํ โส ภนเฺ ต ราชา อตุ ตฺ ร ึ อเนกสตสหสสฺ คุณํ
ลเภยยฺ ฯ ราชูน ํ อติราชา ภเวยฺย, เทวาน ํ อติเทโว ภเวยยฺ , พรฺ หมฺ าน ํ อตพิ ฺรหฺมา ภเวยยฺ ,
สมณาน ํ อตสิ มโณ ภเวยฺย, พรฺ าหมฺ ณานํ อติพรฺ าหฺมโณ ภเวยยฺ , อรหนฺตานํ อติอรหา
ภเวยยฺ า’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “ใช่แลว้ พระคุณเจา้ ไฉนใครจะกลา่ วถงึ ได้ เพราะเหตทุ ีท่ รงได้
ถวายทานน้ัน พระราชาพระองคน์ ้ัน จะทรงได้รับผลหลายแสนเทา่ ยงิ่ ๆ ข้นึ ไป จะทรงเปน็
พระราชาทย่ี ่ิงกวา่ พระราชาท้ังหลาย จะทรงเป็นเทวดาย่งิ กวา่ เทวดาทงั้ หลาย จะทรงเป็น
พรหมทยี่ ง่ิ กว่าพรหมทงั้ หลาย จะทรงเป็นสมณะท่ีย่ิงกว่าสมณะทงั้ หลาย จะทรงเปน็ พราหมณ์
ที่ย่งิ กว่าพราหมณท์ ง้ั หลาย จะทรงเป็นพระอรหันต์ทยี่ ิ่งกว่าพระอรหนั ตท์ ้ังหลาย”

178 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘เตนห ิ มหาราช ปรทุกฺขาปเนน ทินฺนทาน ํ สขุ วิปากํ โหติ สคคฺ สวํ ตตฺ นิก,ํ ยํ โส
ราชา พลนิ า ชน ํ ปเี ฬตวฺ า ทนิ นฺ ทาเนน เอวรปู ํ อุตตฺ ร ึ ยสสุขํ อนภุ วตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถา้ อยา่ งนนั้ ทานทพ่ี ระราชาพระองค์
นน้ั ถวายโดยมีการท�ำใหผ้ ู้อืน่ เปน็ ทุกข์ ยอ่ มมวี บิ ากเป็นสขุ อ�ำนวยผลให้เกิดในสวรรค์ เป็น
เหตใุ หพ้ ระราชาผู้ทรงบีบบงั คบั ผ้คู นด้วยภาษีท่ที รงใชถ้ วายเปน็ ทาน พระองค์นั้น ทรงไดร้ บั
ยศและความสุขยง่ิ ๆ ข้ึนไป เห็นปานฉะนี้”
‘‘อตทิ าน ํ ภนฺเต นาคเสน เวสฺสนตฺ เรน ร ฺ า ทินฺนํ, ย ํ โส สกํ ภรยิ ํ ปรสฺส
ภรยิ ตฺถาย อทาสิ, สเก โอรเส ปุตเฺ ต พฺราหฺมณสฺส ทาสตฺถาย อทาสิ, อตทิ านํ นาม
ภนเฺ ต นาคเสน โลเก วทิ หู ิ นินฺทติ ํ ครหิต,ํ ยถา นาม, ภนฺเต นาคเสน อตภิ าเรน
สกฏสสฺ อกฺโข ภชิ ฺชติ, อติภาเรน นาวา โอสีทติ, อติภุตเฺ ตน โภชน ํ วสิ ม ํ ปรณิ มติ,
อติวสฺเสน ธ ฺ ํ วินสฺสต,ิ อติทาเนน โภคกฺขยํ อุเปติ, อตติ าเปน ปถวี อุปฑยหฺ ต,ิ
อตริ าเคน อมุ ฺมตตฺ โก โหติ, อตโิ ทเสน วชโฺ ฌ โหต,ิ อติโมเหน อนย ํ อาปชชฺ ติ, อตโิ ลเภน
โจรคฺคหณมปุ คจฺฉต,ิ อตภิ เยน นริ ชุ ฺฌต,ิ อติปเู รน นท ี อตุ ตฺ รต,ิ อตวิ าเตน อสน ิ ปตติ,
อติอคคฺ ินา โอทน ํ อตุ ฺตรติ, อติส ฺจรเณน น จริ ํ ชีวติ ฯ เอวเมว โข ภนเฺ ต นาคเสน
อติทาน ํ นาม โลเก วทิ หู ิ นนิ ฺทติ ํ ครหิตํ, อตทิ านํ ภนฺเต นาคเสน เวสสฺ นตฺ เรน ร ฺ า
ทินฺน,ํ น ตตถฺ ก ิ ฺจ ิ ผล ํ อจิ ฉฺ ติ พพฺ นฺ”ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทานท่ีพระราชาเวสสนั ดรทรงมอบให้ไป
นน้ั จดั ว่าเปน็ อตทิ าน คอื ข้อทีท่ รงมอบพระชายาของพระองค์ให้เปน็ ภรรยาของผู้อื่น ทรง
มอบบุตรที่เปน็ โอรสธดิ าของพระองคเ์ องให้เปน็ ทาสของพราหมณ์ พระคณุ เจ้านาคเสน ขน้ึ ชอ่ื
ว่าอติทาน เป็นทานทีผ่ ้รู ้ทู ้ังหลายในโลก ต�ำหนิติเตยี น พระคุณเจ้านาคเสน เปรยี บเหมือนวา่
เพราะบรรทกุ ของหนักเกินไป เพลาเกวยี น ย่อมหักได้ เพราะบรรทุกของหนกั เกินไป เรือก็
ย่อมจมได้ เพราะบรโิ ภคมากเกนิ ไป ของกิน ย่อมกลายเปน็ ของแสลงไปได้ เพราะมฝี นตก
มากเกนิ ไป ธัญชาติก็ยอ่ มเสยี หายได้ เพราะให้มากเกนิ ไป ก็ยอ่ มถงึ ความสิ้นทรัพย์ เพราะมี
แดดร้อนเกินไป แผ่นดินก็ย่อมร้อนได้ เพราะก�ำหนัดเกนิ ไป กย็ อ่ มกลายเปน็ คนบ้าไปได้
เพราะโกรธเกนิ ไป กย็ ่อมถูกเขาฆ่า (หรือฆ่าเขา) ได้ เพราะหลงเกินไป ย่อมถึงความแนะน�ำ
ไมไ่ ด้ เพราะอยากได้มากเกินไป กย็ ่อมเข้าถงึ การถูกจับตัวว่าเปน็ โจร เพราะกลวั เกนิ ไป ย่อม
ผิดพลาดได้ แมน่ �้ำ เพราะเต็มเกนิ ไป ก็ย่อมล้นฝ่งั ได้ เพราะลมแรงเกินไป สายฟา้ กฟ็ าดตกลง
มาได้ เพราะไฟร้อนเกนิ ไป ข้าวสุก กล็ น้ หม้อได้ เพราะสญั จรมากเกนิ ไป ก็ย่อมมชี ีวิตอยไู่ ดไ้ ม่

กัณฑ์] ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 179

นาน ฉันใด พระคุณเจ้านาคเสน ขนึ้ ช่อื ว่าอติทาน ผรู้ ู้ท้ังหลายในโลกต�ำหนิตเิ ตียน พระคุณเจ้า
นาคเสน อติทานทพ่ี ระราชาเวสสันดรทรงบ�ำเพ็ญ ผลอะไร ๆ ในอติทานนน้ั เป็นผลท่ีไมน่ า่
ปรารถนาเลย”
‘‘อตทิ านํ มหาราช โลเก วทิ ูหิ วณฺณติ ํ ถุตํ ปสตฺถ,ํ เย เกจ ิ ยาทิส ํ กีทิสํ ทานํ
เทนฺต,ิ อตทิ านทายี โลเก กิตฺต ึ ปาปณุ าติ ฯ ยถา มหาราช อตปิ วรตาย ทพิ พฺ ํ วนมูล ํ
คหิตมปฺ ิ หตถฺ ปาเส ติ านํ ปรชนานํ น ทสสฺ ยติ, อคโท อตชิ จจฺ ตาย ปฬี าย สมคุ ฺฆาตโก
โรคานํ อนตฺ กโร, อคฺคิ อตโิ ชตติ าย ฑหต,ิ อทุ ก ํ อติสตี ตาย นพิ ฺพาเปติ, ปทมุ ํ
ปริสุทฺธตาย น อุปลมิ ฺปต ิ วาริกทฺทเมน, มณ ิ อติคณุ ตาย กามทโท, วชริ ํ อติติขิณตาย
วิชฌฺ ต ิ มณมิ ตุ ตฺ าผลกิ ,ํ ปถว ี อติมหนฺตตาย นโรรคมคิ ปกฺขชิ ลเสลปพฺพตทเุ ม ธาเรต,ิ
สมทุ โฺ ท อตมิ หนตฺ ตาย อปริปรู โณ, สิเนรุ อติภารตาย อจโล, อากาโส อติวติ ถฺ ารตาย
อนนฺโต, สรู ิโย อตปิ ฺปภตาย ตมิ ิรํ ฆาเตติ, สโี ห อตชิ าตติ าย วิคตภโย, มลฺโล
อตพิ ลวตาย ปฏมิ ลลฺ ํ ขปิ ปฺ ํ อุกฺขปิ ติ, ราชา อตปิ ุ ฺ ตาย อธิปติ, ภิกขฺ ุ อตสิ ีลวนตฺ ตาย
นาคยกฺขนรมรูหิ นมสสฺ นโี ย, พุทโฺ ธ อติอคคฺ ตาย อนปุ โม ฯ เอวเมว โข มหาราช อติทาน ํ
นาม โลเก วิทูห ิ วณฺณติ ํ ถุต ํ ปสตฺถ,ํ เย เกจิ ยาทิสํ กีทิส ํ ทาน ํ เทนฺติ, อติทานทายี
โลเก กติ ฺต ึ ปาปณุ าติ, อตทิ าเนน เวสฺสนฺตโร ราชา ทสสหสฺสยิ า โลกธาตุยา วณณฺ ิโต
ถุโต ปสตฺโถ มหิโต กติ ฺตโิ ต, เตเนว อติทาเนน เวสสฺ นฺตโร ราชา อชเฺ ชตรห ิ พทุ ฺโธ
ชาโต อคโฺ ค สเทวเก โลเก ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร อติทาน เปน็ ทานทผ่ี รู้ ูท้ ั้งหลายในโลก
ยกย่อง ชมเชย สรรเสริญ บคุ คลผู้ใหอ้ ติทาน ให้ทานทเ่ี ป็นเช่นนน้ั อยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง ย่อมได้
รบั เกยี รติ (ฐานะท่ีนา่ ยกย่องสรรเสรญิ ) ในโลก ขอถวายพระพร รากไม้ปา่ ท่ีเปน็ ทิพย์ แม้เพียง
แต่ถอื ไว้ กท็ �ำให้คนผู้อ่ืนทอี่ ยใู่ นช่วงหตั ถบาสไมอ่ าจมองข้ามได้ เพราะความเป็นของประเสรฐิ
ยงิ่ (เปน็ ) ยาถอนความเจบ็ ปว่ ยได้ กระท�ำโรคทั้งหลายใหส้ ิน้ สดุ ไปได้ กเ็ พราะความเป็นยา
ชนิดที่ย่ิง ไฟไหมส้ ิง่ ทั้งปวงได้ กเ็ พราะมีความรอ้ นยงิ่ นำ�้ ท�ำใหไ้ ฟดับได้ กเ็ พราะมีความเยน็ ยง่ิ
ปทุมไม่เปรอะเป้อื นโคลนตม กเ็ พราะความเป็นสง่ิ ทหี่ มดจดเกลย้ี งเกลา แก้วมณี มอบแต่ส่ิงที่
ต้องการ กเ็ พราะเป็นส่งิ ท่มี คี ณุ านุภาพยง่ิ เพชร เจาะแก้วมณี แกว้ มุกดา แก้วผลกึ ได้ กเ็ พราะ
เปน็ ธรรมชาตทิ ่ีแขง็ แกร่งย่งิ แผน่ ดินรองรับคน งู เนอ้ื นก นำ�้ กอ้ นหิน ภูเขา ตน้ ไม้ได้ กเ็ พราะ
ความเปน็ สิง่ ใหญ่ยง่ิ มหาสมุทรไมเ่ ตม็ เพราะใหญ่ยง่ิ ภูเขาสิเนรไุ มไ่ หว ก็เพราะหนกั ย่ิง
อากาศทีห่ าที่สุดมไิ ด้ กเ็ พราะกว้างขวางยิง่ ดวงอาทิตย์ ก�ำจดั ความมืดได้ กเ็ พราะมีแสงสว่าง

180 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

แรงกลา้ ยิ่ง ราชสหี ์ ปราศจากความกลัว กเ็ พราะมชี าติก�ำเนดิ ที่สงู สง่ ยง่ิ นกั มวยปลำ้� ยกนัก
มวยฝ่ายตรงขา้ มกนั ทุ่มกระเดน็ ไปได้พลนั ก็เพราะมีก�ำลงั ยิง่ พระราชา ทรงเปน็ ผู้ใหญย่ ิ่ง ก็
เพราะทรงมบี ุญยง่ิ ภกิ ษเุ ป็นผู้ทนี่ าค ยักษ์ คนและเทวดา ควรนมัสการ กเ็ พราะเปน็ ผูม้ ีศลี ยิ่ง
พระพทุ ธเจ้า ทรงเปน็ ผทู้ หี่ าบุคคลอื่นเปรยี บเทยี บมไิ ด้ เพราะทรงเป็นบุคคลผยู้ อดยง่ิ ฉนั ใด
ขอถวายพระพร ขนึ้ ชอ่ื วา่ อติทาน เปน็ ทานที่ผรู้ ูท้ ั้งหลายในโลกยกยอ่ ง ชมเชย สรรเสริญ
บคุ คลผใู้ ห้อตทิ าน ให้ทานที่เป็นเช่นนัน้ อย่างใดอย่างหน่ึง ย่อมไดร้ ับเกยี รติในโลก ฉันใด พระ
ราชาเวสสันดร ทรงเป็นผู้ทผี่ รู้ ู้ทัง้ หลายยกย่อง ชมเชย สรรเสรญิ บูชา แซซ่ อ้ ง ในหมน่ื โลกธาตุ
ก็เพราะอตทิ าน ฉันนัน้ เหมือนกนั เพราะอติทานนั้นน่นั เอง พระราชาเวสสันดรจงึ ทรงได้เกดิ
มา ส�ำเร็จเปน็ พระพุทธเจ้า เปน็ บคุ คลผู้ยอดเยีย่ มในโลกทมี่ ีพรอ้ มพร่ังทง้ั เทวดา ในกาล
ปจั จบุ ันนี้
‘‘อตถฺ ิ ปน มหาราช, โลเก ปนียํ ทาน,ํ ยํ ทกฺขิเณยฺเย อนุปฺปตเฺ ต น
ทาตพพฺ นฺ”ติ ?
ขอถวายพระพร ทานทคี่ วรยกเวน้ อนั จัดเปน็ ทานไม่ควรใหใ้ นพระทักขไิ ณยบคุ คลผู้
มาถงึ มีอยู่ในโลกบ้างหรือไม่ ?”
‘‘ทส โข ปนิมาน ิ ภนเฺ ต นาคเสน ทานาน,ิ ยาน ิ โลเก อทานสมมฺ ตาน,ิ โย ตานิ
ทานาน ิ เทต,ิ โส อปายคาม ี โหติ ฯ กตมานิ ทส ? มชชฺ ทาน,ํ ภนเฺ ต นาคเสน โลเก
อทานสมมฺ ตํ, โย ต ํ ทาน ํ เทติ, โส อปายคาม ี โหติ ฯ สมชชฺ ทาน…ํ เป.… อติ ถฺ ทิ านํ…เป
.… อสุ ภทาน…ํ เป.… จิตฺตกมฺมทานํ…เป.… สตฺถทานํ …เป.… วิสทานํ…เป.… สงขฺ ลกิ -
ทาน…ํ เป.… กุกฺกฏุ สกู รทานํ…เป.… ตลุ ากูฏมานกฏู ทาน,ํ ภนเฺ ต นาคเสน โลเก อทาน-
สมฺมต ํ โหต,ิ โย ต ํ ทาน ํ เทติ, โส อปายคาม ี โหติ ฯ อิมาน ิ โข ภนฺเต นาคเสน
ทส ทานานิ โลเก อทานสมฺมตานิ, โย ตาน ิ ทานาน ิ เทติ, โส อปายคาม ี โหต’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน การให้ ๑๐ อย่างเหลา่ นแ้ี ล เป็นการให้ท่ี
บณั ฑติ ท้ังหลายไมน่ ับว่าเป็นทาน ผใู้ ดให้ส่งิ ๑๐ อย่างเหลา่ นั้นเป็นทาน ผู้นนั้ มอี ันตอ้ งไป
อบาย การให้ ๑๐ อย่าง อะไรบา้ ง ได้แก่
๑. มชฺชทานํ การใหน้ ำ้� เมา บัณฑิตท้ังหลาย ไม่นับวา่ เปน็ ทาน ผใู้ ดใหน้ �้ำเมาน้นั เปน็
ทาน ผนู้ ้ัน มีอนั ต้องไปอบาย
๒. สมชฺชทานํ การใหม้ หรสพฟอ้ นร�ำ ขับรอ้ ง ฯลฯ

กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสันตรวรรค 181

๓. อิตถฺ ีทานํ การให้หญิงแก่ชาย ฯลฯ
๔. อุสภทานํ การใหโ้ คตัวผู้แกโ่ คตัวเมีย เพ่อื ประโยชน์แกก่ ารตัง้ ครรภ์ ฯลฯ
๕. จติ ตฺ กมมฺ ํ การให้ภาพจิตรกรรม ฯลฯ
๖. สตถฺ ทานํ การใหศ้ าสตรา ฯลฯ
๗. วสิ ทานํ การให้ยาพิษ ฯลฯ
๘. สงขฺ ลกิ ทานํ การให้โซ่ตรวน ฯลฯ
๙. กกุ กฺ ฏุ สูกรทานํ การใหไ้ ก่ สกุ ร เป็นต้น ฯลฯ
๑๐. ตลุ ากูฏมานกฏู ทานํ การให้เครือ่ งช่ังโกง เครอื่ งตวงวดั โกง บัณฑติ ทงั้ หลายไมน่ ับ
วา่ เปน็ ทานในโลก ผู้ใดให้ทานเครือ่ งชัง่ โกง เครื่องตวงวัดโกงนน้ั ผู้นน้ั มอี นั ต้องไปอบาย
พระคณุ เจา้ นาคเสน การให้ ๑๐ อยา่ งเหล่านีแ้ ล เป็นการให้ทีบ่ ณั ฑติ ทั้งหลายไม่นับว่า
เปน็ ทาน ผู้ใดให้ส่งิ ๑๐ อย่างเหล่าน้ันเป็นทาน ผูน้ ้นั มอี นั ตอ้ งไปอบาย”
‘‘นาห ํ ตํ มหาราช อทานสมฺมตํ ปจุ ฉฺ าม,ิ อิม ํ ขฺวาห ํ มหาราช ต ํ ปจุ ฺฉาม ิ ‘อตถฺ ิ
ปน มหาราช โลเก ปนยี ํ ทานํ, ยํ ทกขฺ เิ ณยเฺ ย อนปุ ฺปตเฺ ต น ทาตพพฺ น’ฺ ติ ฯ
พระนาคเสน “ขอถวายพระพร อาตมภาพมิไดถ้ ามถงึ การให้ทบ่ี ัณฑิตท้ังหลายไมน่ ับ
ว่าเปน็ ทานนั้น ขอถวายพระพร อาตมภาพถามถงึ การใหท้ ่ีนบั วา่ เปน็ ทานนนั้ น่นั แหละว่า ขอ
ถวายพระพร ทานทค่ี วรยกเวน้ อนั จัดเปน็ ทานทไี่ ม่ควรให้ในพระทกั ขไิ ณยบคุ คลผู้มาถงึ มีอยู่
ในโลกบา้ งหรอื ไม่”
‘‘นตฺถิ ภนฺเต นาคเสน โลเก ปนยี ํ ทานํ ฯ ยํ ทกขฺ เิ ณยฺเย อนุปฺปตฺเต น ทาตพฺพํ,
จติ ฺตปฺปสาเท อุปฺปนฺเน เกจ ิ ทกฺขเิ ณยฺยานํ โภชน ํ เทนตฺ ,ิ เกจ ิ อจฉฺ าทนํ, เกจิ สยนํ,
เกจ ิ อาวสถํ, เกจิ อตถฺ รณปาวุรณํ, เกจิ ทาสทิ าส,ํ เกจ ิ เขตฺตวตถฺ ํุ, เกจิ ทฺวิปทจตุปปฺ ทํ,
เกจิ สต ํ สหสสฺ ํ สตสหสสฺ ํ, เกจ ิ มหารชชฺ ํ, เกจ ิ ชวี ิตมฺปิ เทนตฺ ี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทานที่ควรยกเว้น อันจดั เป็นทานที่ไม่ควร
ให้ในทกั ขิไณยบุคคลผมู้ าถึง หามอี ยู่ในโลกไม่ บางพวก เม่อื เกดิ จิตเลอื่ มใสขึ้นมา ยอ่ มให้
โภชนาหารแก่ทักขไิ ณยบุคคลทัง้ หลาย บางพวกใหเ้ คร่อื งนุ่งหม่ บางพวกให้ท่ีนอน บางพวก
ใหท้ ่อี ยอู่ าศยั บางพวกให้เคร่อื งปูลาดและผา้ ห่ม บางพวกใหท้ าสหญิงทาสชาย บางพวกกใ็ ห้
ท่งุ นา ท้องนา บางพวกใหส้ ัตว์ ๒ เทา้ ๘ เท้า บางพวกใหท้ รัพยห์ น่ึงรอ้ ย หนง่ึ พนั หนึ่งแสน
บางพวกให้ราชสมบตั บิ างพวก กใ็ หแ้ ม้ชีวิต”

182 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ยท ิ ปน มหาราช เกจิ ชีวติ มปฺ ิ เทนตฺ ,ิ กกึ ารณา เวสฺสนตฺ รํ ทานปตึ
อตพิ าฬฺห ํ ปรปิ าเตสิ สุทินเฺ น ปุตฺเต จ ทาเร จ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร บางพวก แมแ้ ตช่ วี ติ ก็ยงั ใหไ้ ด้ เพราะ
เหตไุ ร ผู้คน จงึ พากันโจมตี พระเวสสนั ดรอย่างรนุ แรงยง่ิ เม่ือพระองค์ทรงใหโ้ อรสธิดาและ
ชายาเป็นทานบดีแล้วเลา่ ?
‘‘อป ิ นุ โข มหาราช อตฺถ ิ โลกปกต ิ โลกาจณิ ณฺ ,ํ ลภติ ปิตา ปตุ ตฺ ํ อิณฏโฺ ฏ วา
อาชีวกิ ปกโต วา อาวปติ ุ ํ วา วกิ กฺ ิณติ ํ ุ วา’’ติ ?
ขอถวายพระพร เร่อื งท่บี ิดากู้หนเ้ี ขาก็ตาม หาเลยี้ งชีพอยเู่ ปน็ ปกตกิ ็ตาม ยอ่ มได้บุตร
ไปใชข้ ัดหนี้บา้ ง เอาบุตรขายไปบา้ ง เปน็ เรือ่ งปกติของชาวโลก ชาวโลกคนุ้ เคยกนั อยูม่ ใิ ช่
หรอื ?”
‘‘อาม ภนเฺ ต ลภติ ปิตา ปตุ ตฺ ํ อณิ ฏฺโฏ วา อาชีวกิ ปกโต วา อาวปติ ํุ วา
วกิ กฺ ิณติ ํุ วา’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “ใช่ พระคุณเจา้ เรอื่ งท่ีบิดาผู้เป็นหนี้เขาก็ตาม หาเล้ียงชพี อยู่
เปน็ ปกติกต็ าม ย่อมไดบ้ ุตรไปใชข้ ัดหนบี้ า้ ง เอาบุตรขายไปบ้าง เป็นเรอ่ื งปกติของชาวโลก
ชาวโลกค้นุ เคยกันอยู่”
‘‘ยท ิ มหาราช ลภติ ปิตา ปตุ ตฺ ํ อิณฏโฺ ฏ วา อาชีวกิ ปกโต วา อาวปติ ํุ วา
วิกฺกิณติ ํ ุ วา, เวสสฺ นฺตโรป ิ มหาราช ราชา อลภมาโน สพฺพ ฺ ุต าณํ อปุ ทฺทโุ ต ทกุ ฺขิโต
ตสฺส ธมฺมธนสสฺ ปฏลิ าภาย ปตุ ฺตทารํ อาวเปสิ จ วิกฺกณิ ิ จ ฯ อติ ิ มหาราช เวสสฺ นตฺ เรน
ร ฺ า อ เฺ ส ํ ทินนฺ ํ เยว ทินฺนํ, กต ํ เยว กตํ ฯ กสิ ฺส ปน ตฺว ํ มหาราช เตน ทาเนน
เวสสฺ นฺตร ํ ทานปตึ อติพาฬฺหํ อปสาเทสี’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ถ้าหากวา่ บิดาผกู้ ูห้ นีเ้ ขาก็ตาม หา
เลีย้ งชพี อยู่เป็นปกตกิ ต็ าม ย่อมไดบ้ ุตรไปใช้ขดั หน้ีก็ได้ เอาบตุ รขายไปกไ็ ด้ไซร้ ขอถวาย
พระพร แมพ้ ระเวสสันดร เมื่อไม่ทรงได้พระสัพพญั ญตุ ญาณ ทรงล�ำบาก เป็นทุกขอ์ ยู่ ก็ย่อม
ทรงใหโ้ อรสธดิ าและชายาเปน็ มัดจ�ำและขายไป เพอ่ื ประโยชนแ์ กก่ ารได้มาซงึ่ ทรัพยค์ ือพระ
ธรรมนนั้ ได้เหมือนกัน ขอถวายพระพร เพราะเหตุน้ัน กเ็ ปน็ อันวา่ พระเวสสนั ดรใหส้ ่งิ ที่คนอ่ืน
ๆ ใหก้ นั นั่นแหละ ทรงกระท�ำสิ่งท่ีคนอ่ืน ๆ กระท�ำน่นั แหละ ขอถวายพระพร เพราะเหตุไร
พระองคจ์ งึ ทรงติเตยี นพระเวสสนั ดรผู้ทรงเป็นทานบดี ด้วยทานนน้ั อย่างรนุ แรงย่งิ เล่า”

กณั ฑ]์ ๔.๘ เวสสนั ตรวรรค 183

‘‘นาห ํ ภนเฺ ต นาคเสน เวสฺสนฺตรสสฺ ทานปตโิ น ทานํ ครหาม,ิ อปิจ ปุตฺตทารํ
ยาจนฺเต นมิ ินติ ฺวา อตฺตานํ ทาตพพฺ น”ฺ ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมมิไดต้ ิเตียนทานของพระเวสสนั ดรผู้
เป็นทานบดี เพยี งแต่ว่า เมอ่ื มีผู้มาขอโอรสธดิ าและภรรยา กน็ ่าจะมอบตนเองใหแ้ ทน”
‘‘เอต ํ โข มหาราช อสพภฺ ิการณํ, ยํ ปุตตฺ ทาร ํ ยาจนเฺ ต อตตฺ านํ ทเทยยฺ , ย ํ ย ํ ห ิ
ยาจนเฺ ต ตํ ตเทว ทาตพพฺ ,ํ เอต ํ สปฺปุรสิ านํ กมมฺ ํ ฯ ยถา มหาราช โกจ ิ ปรุ โิ ส ปานยี ํ
อาหราเปยฺย, ตสฺส โย โภชนํ ทเทยยฺ , อป ิ นุ โส มหาราช ปุรโิ ส ตสฺส กิจฺจการ ี
อสสฺ า’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ขอ้ ทว่ี ่า เมื่อมผี ู้มาขอโอรสธดิ าและ
ชายา ก็นา่ จะมอบตนเองให้แทน จัดว่าเป็นเหตุทไ่ี ม่ดีงาม เมอื่ มผี ู้มาขอส่ิงใด ๆ ก็น่าจะให้ส่งิ
น้นั ๆ นัน่ แหละ นจ้ี งึ จดั วา่ เป็นการกระท�ำของผู้เป็นสตั บุรษุ ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่
บรุ ุษบางคน ให้ขอนำ�้ ด่มื มาให้ บุรษุ ผูใ้ ดใหข้ ้าวเขากิน ขอถวายพระพร บุรษุ ผนู้ นั้ ชอื่ ว่าเป็นผู้
ท�ำกจิ ท่คี วรท�ำแกเ่ ขาหรอื ?”
‘‘น ห ิ ภนเฺ ต ย ํ โส อาหราเปติ, ตเมว ตสฺส เทนฺโต กิจจฺ การี อสสฺ า’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินท์ตรสั วา่ “ไมช่ อื่ ว่าเป็นผูท้ �ำกิจที่ควรกระท�ำหรอก พระคณุ เจา้ เขาใหข้ อ
สงิ่ ใด เมื่อให้ส่งิ น้ันน่นั แหละแก่เขา จงึ จะชอ่ื ว่าเป็นผ้ทู �ำกจิ ที่ควรท�ำ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช เวสสฺ นตฺ โร ราชา พรฺ าหมฺ เณ ปุตตฺ ทารํ ยาจนฺเต ปุตตฺ ทาร-ํ
เยว อทาสิ ฯ สเจ มหาราช พฺราหมฺ โณ เวสสฺ นฺตรสสฺ สรีรํ ยาเจยยฺ , น โส มหาราช
อตตฺ านํ รกฺเขยยฺ น กมเฺ ปยยฺ น รชเฺ ชยยฺ , ตสฺส ทินฺนํ ปริจจฺ ตตฺ ํเยว สรรี ํ ภเวยฺย ฯ
สเจ มหาราช โกจ ิ เวสฺสนตฺ รํ ทานปตึ อปุ คนฺตวฺ า ยาเจยฺย ‘ทาสตตฺ ํ เม อุเปหี’ติ, ทินนฺ ํ
ปริจจฺ ตตฺ เํ ยวสฺส สรีรํ ภเวยฺย, น โส ทตฺวา ตเปยยฺ , ร ฺโ มหาราช เวสฺสนฺตรสสฺ กาโย
พหุสาธารโณ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกันอย่างนน้ั นนั่ แหละ เมอ่ื
พราหมณ์มาทูลขอโอรสธดิ าและชายา พระเวสสนั ดรก็ทรงมอบโอรสธิดาและชายาให้ไป ขอ
ถวายพระพร ถา้ หากว่า พราหมณ์จะพงึ ทูลขอพระสรรี ะของพระเวสสนั ดรไซร้ พระองคก์ จ็ ะไม่
ทรงรกั ษาพระองค์เองไว้ ไม่ทรงหว่ันไหว ไม่ทรงหว่ งใยพระองค์เอง พระองค์กจ็ ะทรงมีอัน
มอบพระสรรี ะไปให้ บริจาคไปแน่นอน ขอถวายพระพร ถ้าหากว่า จะมบี างคนเขา้ ไปหาพระ


Click to View FlipBook Version