The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

334 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปัญห

๔ วชิ ชา ๓ อภญิ ญา ๖ สมณธรรมทั้งสิน้ ทุกอยา่ งย่อมเป็นสิ่งท่บี ุคคลผนู้ ัน้ อาจท�ำใหส้ �ำเร็จได้
ไดก้ ารอภเิ ษกใต้เศวตฉัตร สะอาดผดุ ผ่องคอื วิมตุ ติ
‘‘ยถา มหาราช ร โฺ ขตฺตยิ สฺส อภิชาตกุลกลุ นี สฺส ขตตฺ ยิ าภิเสเกน อภิสิตฺตสสฺ
ปรจิ รนฺต ิ สรฏฺ เนคมชานปทภฏพลา อฏ ฺ ตตฺ สึ า จ ราชปริสา นฏนจจฺ กา มขุ มงคฺ ลิกา
โสตถฺ ิวาจกา สมณพฺราหฺมณสพพฺ ปาสณฑฺ คณา อภิคจฺฉนตฺ ิ, ย ํ ก ิ จฺ ิ ปถวยิ า ปฏฺฏน-
รตนากรนครสุงกฺ ฏฺ านเวรชชฺ กเฉชฺชเภชชฺ ชนมนสุ าสนํ สพพฺ ตถฺ สามิโก ภวติ, เอวเมว โข
มหาราช โย โกจิ ปุคฺคโล ยุตฺโต ปตฺโต…เป... วิมุตฺตปิ ณฺฑรวมิ ลเสตจฉฺ ตฺเตน อภิสิ จฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นว่า บริษทั แหง่ พระราชา ๓๘ บรษิ ทั ผู้เป็นชาวแว่น
แคว้น ชาวนคิ ม ชาวชนบท ลูกจา้ ง ไพรพ่ ลของพระองค์ พวกนกั ฟอ้ น นักเต้น หมสู่ มณะ
พราหมณ์และเจา้ ลทั ธิทั้งปวง ผู้มีปากกลา่ วแตค่ �ำมงคล กล่าวแต่ค�ำอวยพร บ�ำรงุ บ�ำเรอต่อ
ขตั ติยราชา ผู้สืบสันตติวงศใ์ นสกลุ วงศอ์ ภิชาติ ผไู้ ด้อภเิ ษกเปน็ กษตั รยิ อ์ ยู่ ก็ย่อมไดค้ รอบ
ครองส่วนตดั ส่วนแบ่งแห่งเมอื งทา่ บ่อแก้ว นคร โรงภาษี ผคู้ น อยา่ งใดอย่างหนึง่ ในแผ่นดิน
แต่ละคนยอ่ มเปน็ เจา้ ของในสมบัตทิ ั้งปวง ฉันใด ขอถวายพระพร บคุ คลใดบคุ คลหน่งึ เปน็
คนใชไ้ ด้ เปน็ คนทใี่ คร ๆ ข้องแวะได้ ฯลฯ ไดก้ ารอภเิ ษกใตเ้ ศวตฉตั ร สะอาด ผุดผอ่ ง คอื
วิมตุ ติ ฉันนัน้ เหมือนกัน
‘‘เตรสมิ านิ มหาราช ธุตงฺคานิ, เยห ิ สทุ ธฺ กิ โต นิพฺพานมหาสมทุ ฺท ํ ปวิสิตวฺ า
พหวุ ธิ ํ ธมมฺ กีฬมภิกฬี ต,ิ รปู ารปู อฏ ฺ สมาปตตฺ ิโย วฬ เฺ ชติ, อทิ ฺธิวธิ ํ ทพิ พฺ โสตธาตุ ํ
ปรจติ ตฺ วิชานน ํ ปุพฺเพนวิ าสานุสฺสตึ ทพิ ฺพจกขฺ ํุ สพพฺ าสวกฺขย ฺจ ปาปุณาติ ฯ กตเม เตรส
? ปสํ ุกูลกิ งคฺ ํ เตจวี ริกงฺค ํ ปิณฺฑปาติกงคฺ ํ สปทานจารกิ งคฺ ํ เอกาสนิกงฺค ํ ปตฺตปณิ ฑฺ ิกงฺค ํ
ขลุปจฺฉาภตฺตกิ งฺค ํ อาร ฺ กิ งฺคํ รุกขฺ มูลกิ งคฺ ํ อพฺโภกาสิกงคฺ ํ โสสานิกงฺคํ ยถาสนถฺ ติกงคฺ ํ
เนสชชฺ กิ งฺค,ํ อเิ มห ิ โข มหาราช เตรสห ิ ธตุ คุเณห ิ ปุพเฺ พ อาเสวิเตห ิ นิเสวิเตหิ จิณเฺ ณหิ
ปรจิ ิณฺเณหิ จรเิ ตหิ อปุ จรเิ ตหิ ปริปรู ิเตหิ เกวลํ สาม ฺ ํ ปฏลิ ภต,ิ ตสฺสาเธยฺยา โหนตฺ ิ
เกวลา สนตฺ า สุขา สมาปตฺติโย ฯ
ขอถวายพระพร ธดุ งค์ ๑๓ อยา่ งเหลา่ นี้ เปน็ เหตุใหส้ าวกของพระพทุ ธเจา้ ผู้ท�ำให้
หมดจดได้แลว้ ไดเ้ ขา้ ไปสู่มหาสมทุ รคอื พระนิพพาน แลว้ ได้เลน่ ธรรมกีฬาหลายอยา่ ง ได้
ใชส้ อยรูปสมาบตั แิ ละอรปู สมาบัติ ได้บรรลุอิทธวิ ธิ ะ ทิพยโสตธาตุ ปรจิตตวิชานนะ ปุพเพ-
นวิ าสานุสติ ทพิ ยจกั ขุ และความสิ้นไปแห่งอาสวะทงั้ ปวง ธดุ งค์ ๑๓ อย่าง อะไรบา้ ง ? ไดแ้ ก่

กณั ฑ]์ อนมุ านปญั หกัณฑ์ 335

๑. ปังสกุ ลู กิ ังคะ - องค์แหง่ ภกิ ษุผูท้ รงผ้าบงั สุกุลเป็นวัตร
๒. เตจวี รกิ ังคะ - องคแ์ หง่ ภิกษุผทู้ รงผา้ ๓ ผืนเป็นวัตร
๓. ปณิ ฑปาตกิ งั คะ - องค์แห่งภกิ ษุผ้เู ทย่ี วบิณฑบาตเป็นวตั ร
๔. สปทานจารกิ งั คะ - องคแ์ ห่งภกิ ษผุ ้เู ท่ยี วไปตามล�ำดบั ตรอกเป็นวัตร
๕. เอกาสนิกงั คะ - องค์แห่งภกิ ษผุ ฉู้ นั ณ อาสนะเดียวเป็นวตั ร
๖. ปตั ตปณิ ฑิกังคะ - องค์แหง่ ภกิ ษุผฉู้ นั แต่ในบาตรเปน็ วัตร
๗. ขลุปจั ฉาภตั ตกิ ังคะ - องค์แห่งภิกษผุ ไู้ ม่ฉนั ภตั รทมี่ าภายหลงั เป็นวตั ร
๘. อารญั ญกิ งั คะ - องค์แหง่ ภิกษุผู้ถือการอยปู่ ่าเปน็ วตั ร
๙. รุกขมลู กิ ังคะ - องคแ์ หง่ ภิกษผุ ู้ถือการอยู่โคนไม้เปน็ วัตร
๑๐. อัพโภกาสกิ ังคะ - องคแ์ ห่งภิกษุผ้ถู ือการอยใู่ นทแ่ี จ้งเปน็ วัตร
๑๑. โสสานกิ ังคะ - องค์แหง่ ภกิ ษผุ ูถ้ อื การอยปู่ า่ ช้าเป็นวตั ร
๑๒. ยถาสันถติกงั คะ - องคแ์ หง่ ภกิ ษุผถู้ ือเสนาสนะตามทเ่ี ขาจัดแจงให้
เป็นวัตร
๑๓. เนสชั ชกิ ังคะ - องค์แหง่ ภกิ ษุผูถ้ ือการน่ังเปน็ วัตร
ขอถวายพระพร บุคคลมีธุดงค์ ๑๓ อยา่ งเหล่าน้ี เสพคุ้นแล้ว เสพอยู่ประจ�ำแลว้ สง่ั สม
แลว้ คุ้นเคยแลว้ ประพฤติแล้ว ประพฤตมิ ่นั คงแล้ว ท�ำให้บรบิ รู ณ์ไวแ้ ล้วในภพก่อน ย่อมได้รับ
สามัญญผลแตส่ ่วนเดยี ว สมาบตั ทิ สี่ งบเปน็ สุขท้งั สน้ิ ยอ่ มตกเป็นของฝากก�ำนลั แก่เขา ฉนั นนั้
เหมอื นกนั

‘‘ยถา มหาราช สธโน นาวโิ ก ปฏฺฏเน สุฏ ฺ ุ กตสุงโฺ ก มหาสมทุ ฺทํ ปวิสติ ฺวา องคฺ ํ
ตกฺโกลํ จนี ํ โสวรี ํ สุรฏ ฺ ํ อลสนทฺ ํ โกลปฏฏฺ น ํ สวุ ณณฺ ภูม ึ คจฉฺ ต ิ อ ฺ มปฺ ิ ย ํ กิ จฺ ิ
นาวาส ฺจรณํ, เอวเมว โข มหาราช อเิ มห ิ เตรสหิ ธตุ คุเณห ิ ปุพฺเพ อาเสวิเตห ิ
นิเสวิเตห ิ จิณฺเณหิ ปริจิณฺเณหิ จรเิ ตหิ อปุ จริเตห ิ ปรปิ ูรเิ ตห ิ เกวล ํ สาม ฺ ํ ปฏลิ ภต,ิ
ตสสฺ าเธยฺยา โหนฺติ เกวลา สนตฺ า สขุ า สมาปตตฺ โิ ย ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นวา่ นายเรือผู้มที รัพย์ ท�ำก�ำไรได้ดแี ลว้ ท่ที ่าเรือ เขา้ ไป
ยังมหาสมุทร ไปยังแคว้นอังคะ แควน้ ตกั โกละ แควน้ จีนะ แคว้นโสวีระ แควน้ สรุ ัฏฐะ แคว้น
อลสันทะ แควน้ โกลปฏั ฏนะ แควน้ สุวรรณภูมิ รวมทัง้ สถานทใ่ี ดทหี่ นง่ึ อันเปน็ ทีเ่ รอื สัญจรไป
ได้ ฉันใด ขอถวายพระพร บคุ คลที่ธดุ งค์ ๑๓ อย่างเหล่าน้ี ทเี่ สพคุ้นแล้ว เสพอยเู่ ปน็ ประจ�ำ
แลว้ ส่งั สมแล้ว คุ้นเคยแล้ว ประพฤตแิ ล้ว ประพฤติม่นั คงแลว้ ท�ำให้บริบูรณ์แลว้ ในภพกอ่ น

336 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๕.อนมุ านปัญห

ย่อมไดร้ ับสามญั ญผลทั้งสน้ิ สมาบัติทส่ี งบ เปน็ สุขทง้ั สิ้น ย่อมตกเปน็ ของฝากก�ำนันแก่เขา
ฉนั น้นั เหมอื นกัน
‘‘ยถา มหาราช กสสฺ โก ป มํ เขตฺตโทสํ ติณกฏ ฺ ปาสาณ ํ อปเนตฺวา กสิตฺวา
วปิตวฺ า สมฺมา อทุ ก ํ ปเวเสตวฺ า รกขฺ ติ ฺวา โคเปตวฺ า ลวนมทฺทเนน พหธุ ฺ โก โหติ,
ตสฺสาเธยฺยา ภวนฺต ิ เย เกจ ิ อธนา กปณา ทลิทฺทา ทคุ ฺคตชนา, เอวเมว โข มหาราช
อเิ มห ิ เตรสห ิ ธตุ คเุ ณห ิ ปพุ ฺเพ อาเสวเิ ตห…ิ เป.… เกวลา สนฺตา สุขา สมาปตฺตโิ ย ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ ชาวนาน�ำหญา้ ไม้ และก้อนกรวดทเี่ ป็นโทษของนา
ออกไป แลว้ ไถ หวา่ น ไขน้�ำเขา้ อย่างถูกวิธี ดแู ล รักษา เป็นผ้มู ีขา้ วเปลอื กมาก เพราะย�่ำยี
เกลือ จะพงึ ถงึ การกล่าวว่า เปน็ ผูไ้ มม่ ีทรพั ย์ คนก�ำพรา้ ขัดสน ตกทุกขไ์ ด้ยาก ฉันใด ขอถวาย
พระพร บคุ คลทธ่ี ดุ งค์ ๑๓ อย่างเหล่าน้ี ที่เสพคนุ้ แลว้ เสพอยเู่ ป็นประจ�ำแล้ว สั่งสมแลว้ คุ้น
เคยแลว้ ประพฤตแิ ล้ว ประพฤติมนั่ คงแล้ว ท�ำให้บริบรู ณแ์ ลว้ ในภพก่อน ยอ่ มได้รบั สามญั ญ
ผลท้งั ส้ิน สมาบตั ทิ ่ีสงบ เปน็ สุขท้ังสน้ิ ย่อมเปน็ ผูม้ ีทรพั ย์ ฉันนัน้ เหมอื นกัน
‘‘ยถา วา ปน มหาราช ขตตฺ โิ ย มุทฺธาวสิตโฺ ต อภิชาตกุลีโน เฉชชฺ เภชฺชชน-
มนุสาสเน อิสฺสโร โหติ วสวตฺตี สามิโก อจิ ฉฺ ากรโณ, เกวลา จ มหาปถว ี ตสฺสาเธยยฺ า
โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช อิเมหิ เตรสหิ ธุตคุเณหิ ปุพเฺ พ อาเสวิเตหิ นเิ สวเิ ตหิ จณิ ฺเณห ิ
ปรจิ ณิ ฺเณหิ จริเตหิ อปุ จริเตห ิ ปริปูริเตหิ ชนิ สาสนวเร อิสสฺ โร โหติ วสวตตฺ ี สามิโก
อิจฺฉากรโณ, เกวลา จ สมณคุณา ตสฺสาเธยยฺ า โหนตฺ ิ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึ่ง เปรียบเหมือนว่า กษตั ริย์ผ้ไู ดม้ รู ธาภิเษก เป็นผูส้ ืบ
สันตติวงศ์อภชิ าติ ย่อมเปน็ ใหญใ่ นการครอบครอง สว่ นตัดส่วนแบง่ และฝงู ชน เปน็ ผ้ใู ชอ้ �ำนาจ
เปน็ นาย เปน็ ผ้กู ระท�ำไดต้ ามต้องการ และแผ่นดินใหญท่ ัง้ สน้ิ กย็ ่อมตกเปน็ ของฝากก�ำนัลแก่
พระองค์ ฉนั ใด ขอถวายพระพร บุคคลมธี ุดงค์ ๑๓ อยา่ งเหลา่ น้เี สพคนุ้ แลว้ เสพอยเู่ ปน็ ประจ�ำ
แล้ว สง่ั สมแลว้ คุ้นเคยแล้ว ประพฤติแลว้ ประพฤติมั่นคงแล้ว ท�ำใหบ้ รบิ รู ณแ์ ลว้ ในภพก่อน ก็
ย่อมเป็นใหญ่ในพระศาสนาประเสริฐของพระชินวรพทุ ธเจ้า เป็นผูใ้ ชอ้ �ำนาจ เป็นนาย เป็นผู้
กระท�ำได้ตามต้องการ และสมณคุณทั้งส้นิ ก็ย่อมตกเป็นของฝากก�ำนลั แก่เขา ฉนั นั้นเหมอื น
กัน
‘‘นน ุ มหาราช เถโร อปุ เสโน วงฺคนฺตปุตโฺ ต สลเฺ ลขธุตคุเณ ปรปิ รู การิตาย
อนาทยิ ติ วฺ า สาวตฺถิยา สํฆสฺส กติก ํ สปรโิ ส นรทมฺมสารถึ ปฏสิ ลฺลานคต ํ อุปสงกฺ มิตฺวา

กัณฑ]์ อนมุ านปัญหกณั ฑ์ 337

ภควโต ปาเท สริ สา วนทฺ ิตวฺ า เอกมนตฺ ํ นิสที ,ิ ภควา จ ต ํ สุวนิ ีต ํ ปริสํ โอโลเกตฺวา
หฏ ฺ ตฏุ โฺ ปมทุ โิ ต อทุ คฺโค ปรสิ าย สทฺธ ึ สลลฺ าป ํ สลฺลปติ วฺ า อสมฺภนิ เฺ นน พฺรหมฺ สฺสเรน
เอตทโวจ ‘ปาสาทิกา โข ปน ตยฺ าย ํ อุปเสน ปรสิ า, กถ ํ ตวฺ ํ อปุ เสน ปรสิ ํ วเิ นสี’ติ ฯ
โสปิ สพฺพ ฺ นุ า ทสพเลน เทวาติเทเวน ปฏุ โฺ ยถาภูตสภาวคณุ วเสน ภควนฺต ํ
เอตทโวจ –
‘‘โย โกจ ิ มํ ภนเฺ ต อุปสงฺกมติ ฺวา ปพฺพชชฺ ํ วา นสิ สฺ ยํ วา ยาจติ, ตมห ํ เอว ํ
วทาม ิ ‘‘อหํ โข อาวโุ ส อาร ฺ ิโก ปณิ ฺฑปาติโก ปสํ กุ ูลิโก เตจวี รโิ ก ฯ สเจ ตฺวมปฺ ิ
อาร ฺ โิ ก ภวิสสฺ ส ิ ปิณฺฑปาตโิ ก ปํสุกลู โิ ก เตจีวริโก, เอวาหํ ตํ ปพพฺ าเชสฺสาม ิ นสิ สฺ ย ํ
ทสสฺ ามี’’ต,ิ สเจ โส เม, ภนฺเต ปฏิสสฺ ณุ ติ ฺวา นนทฺ ต ิ โอรมติ, เอวาหํ ต ํ ปพพฺ าเชม ิ นิสสฺ ย ํ
เทมิ, สเจ น นนทฺ ติ น โอรมต,ิ น ตํ ปพพฺ าเชมิ, น นิสฺสย ํ เทม,ิ เอวาหํ, ภนฺเต ปริสํ
วิเนมี’’ติ ฯ เอว ํ โข มหาราช ธตุ คณุ วรสมาทิณโฺ ณ ชนิ สาสนวเร อิสฺสโร โหติ ฯ วสวตฺต ี
สามิโก อจิ ฉฺ ากรโณ, ตสฺสาเธยยฺ า โหนฺต ิ เกวลา สนตฺ า สขุ า สมาปตฺติโย ฯ
ขอถวายพระพร พระอปุ เสนวงั คันตบตุ รเถระ เพราะประสงคจ์ ะท�ำสัลเลขธรรมคอื ธุต-
คุณทั้งหลายใหบ้ ริบูรณ์ จึงไมเ่ อ้ือเฟ้ือกติกาของพระองค์ เมืองสาวัตถี พร้อมท้งั บรษิ ทั เข้าเฝ้า
พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผู้เปน็ นายสารถฝี ึกนรชน เสดจ็ ประทับหลกี เรน้ อยู่ ไดก้ ราบท่พี ระบาท
ดว้ ยเศียรเกล้าแล้ว นง่ั ลง ณ ที่อันสมควร ก็พระผูม้ พี ระภาคเจา้ ทรงทอดพระเนตรดบู รษิ ัทที่
ฝกึ ดีแลว้ น้นั ทรงร่ืนเริงยินดบี นั เทิง ตรสั สนทนาปราศรยั กับชาวบรษิ ัท รบั สง่ั ความข้อน้ีด้วย
พระสุรเสียงดุจเสียงพรหมวา่ ‘ดูกอ่ นอปุ เสน บริษทั ของเธอนน้ี า่ เลื่อมใส ดกู อ่ นอปุ เสน เธอ
แนะน�ำบรษิ ัทของเธออยา่ งไร ? ฝา่ ยพระเถระแม้นั้น ถูกพระผูม้ ีพระภาคเจ้า ผูท้ รงป็นพระ
สพั พญั ญู ทรงพระทศพลญาณ ผูท้ รงเปน็ เทพยิง่ กวา่ เหลา่ เทพ ตรัสถามแล้ว จงึ กราบทลู ความ
ขอ้ นก้ี ับพระผมู้ พี ระภาคเจ้าด้วยอ�ำนาจแห่งคณุ ที่มอี ยตู่ ามความเปน็ จรงิ วา่
“ข้าแต่พระองค์ผู้เจรญิ ผใู้ ดผู้หน่งึ เข้ามาหาขา้ พระองค์แลว้ ขอบวชกด็ ี ขอนิสัยก็ดี
ขา้ พระองคจ์ ะกล่าวกบั บคุ คลผูน้ ้ันอยา่ งนวี้ ่า ‘ทา่ นผูม้ อี ายุ เราเป็นผถู้ อื การอย่ปู ่าเปน็ วัตร ถือ
การเทยี่ วบณิ ฑบาตเปน็ วตั ร ถอื การทรงผา้ บังสกุลเปน็ วตั ร ถอื การครองจวี ร ๓ ผนื เปน็ วัตร
ถ้าหากวา่ แมต้ วั ท่านกจ็ ักเปน็ ผถู้ ือการอยปู่ ่าเปน็ วตั ร ถอื การเทย่ี วบิณฑบาตเปน็ วตั ร ถือการ
ทรงผา้ บังสกุลเปน็ วตั ร ถือการครองจวี ร ๓ ผืน เป็นวตั ร ดว้ ยไซร้ เรากจ็ กั ใหท้ า่ นบวช จักให้
นิสัย ข้าแตพ่ ระองค์ผเู้ จริญ ถา้ หากเขารบั ฟงั ขา้ พระองค์แล้ว ยินดี พอใจ ขา้ พระองค์กจ็ กั ให้
เขาบวช จักใหน้ ิสัย ถา้ หากเขาไมย่ นิ ดี ไม่พอใจ ขา้ พระองคก์ จ็ กั ไม่ให้เขาบวช ไมใ่ ห้นสิ ัย

338 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปญั ห

ขา้ แต่พระองคผ์ เู้ จรญิ ขา้ พระองค์แนะน�ำชาวบริษัทอย่างวา่ มานี้ พระเจ้าขา้ ’ ดังน้ี ขอถวาย
พระพร ภิกษผุ ้สู มาทานธตุ คุณประเสรฐิ ยอ่ มเปน็ ใหญใ่ นพระศาสนาประเสรฐิ ของพระชนิ วร-
พุทธเจ้า เป็นผู้ใชอ้ �ำนาจ เปน็ นาย เปน็ ผกู้ ระท�ำไดต้ ามต้องการ และสมาบัตทิ สี่ งบเปน็ สุขทั้ง
สิ้น กย็ ่อมตกเป็นของฝากก�ำนัลแกเ่ ขา อย่างนี้แล

‘‘ยถา มหาราช ปทุม ํ อภิวทุ ธฺ ปรสิ ุทธฺ อุทิจจฺ ชาติปปฺ ภว ํ สนิ ิทฺธํ มุทุ โลภนยี ํ สคุ นฺธํ
ปยิ ํ ปตฺถิต ํ ปสตฺถ ํ ชลกททฺ มมนุปลิตตฺ ํ อณปุ ตตฺ เกสรกณณฺ กิ าภมิ ณฺฑิตํ ภมรคณเสวิตํ
สีตลสลลิ สวํ ทฺธํ,
ขอถวายพระพร เปรยี เหมือนวา่ ดอกบวั หลวง ซึง่ เกดิ เปน็ พืชชาติเจรญิ บริสทุ ธ์ิ สูงสง่
ย่อมมคี ณุ ๑๐ ประการ คอื
๑. สินิทธฺ ํ มทุ ุ - เปน็ ของออ่ นนุ่มสนิท
๒. โลภนยี ํ - เปน็ สง่ิ ท่ใี คร ๆ กอ็ ยากได้
๓. สคุ นธฺ ํ - มีกลิน่ หอม
๔. ปยิ ํ - นา่ รัก
๕. ปตฺถิต ํ - ใคร ๆ กป็ รารถนา
๖. ปสตถฺ ํ - ใคร ๆ กส็ รรเสริญ
๗. ชลกทฺทมมนปุ ลติ ตฺ ํ - อันนำ�้ หรอื เปอื กตมฉาบตดิ มไิ ด้
๘. อณปุ ตตฺ เกสรกณฺณกิ าภิมณฑฺ ิตํ - ประดับด้วยใบเล็ก ๆ เกสรและกลีบ
๙. ภมรคณเสวิตํ - มีหมู่แมลงภคู่ อยแต่บินมาส้องเสพ
๑๐. สีตลสลลิ สวํ ทธฺ ํ - ขยายพันธุ์อย่แู ตใ่ นน้�ำเยน็ สะอาด ฉันใด

เอวเมว โข มหาราช อิเมหิ เตรสหิ ธตุ คุเณหิ ปุพเฺ พ อาเสวเิ ตห ิ นิเสวิเตหิ
จณิ เฺ ณห ิ ปรจิ ิณฺเณหิ จรเิ ตห ิ อุปจรเิ ตหิ ปริปรู ิเตห ิ อริยสาวโก ตสึ คุณวเรหิ สมเุ ปโต
โหติ ฯ
ขอถวายพระพร พระอริยสาวกมีธดุ งค์ ๑๓ อยา่ งเหลา่ น้ี เสพคนุ้ แลว้ เสพอย่เู ปน็
ประจ�ำแล้ว สง่ั สมแล้ว ค้นุ เคยแล้ว ประพฤติแลว้ ประพฤติมั่นคงแล้ว ท�ำใหบ้ รบิ รู ณ์แล้วในภพ
ก่อน ก็ย่อมเป็นผู้ประกอบดว้ ยคณุ อนั ประเสรฐิ ๓๐ ประการ ฉนั นน้ั เหมือนกัน

‘‘กตเมหิ ตสึ คณุ วเรหิ ? สินิทฺธมุทมุ ททฺ วเมตตฺ จติ โฺ ต โหติ, ฆาติตหตวหิ ตกิเลโส
โหต,ิ หตนิหตมานทพโฺ พ โหต,ิ อจลทฬหฺ นวิ ฏิ ฺ นพิ เฺ พมตกิ สทโฺ ธ โหติ, ปริปณุ ณฺ ปีณติ -

กัณฑ์] อนมุ านปญั หกณั ฑ์ 339

ปหฏ ฺ โลภนียสนตฺ สุขสมาปตตฺ ิลาภ ี โหต,ิ สลี วรปวรอสมสจุ คิ นธฺ ปรภิ าวิโต โหต,ิ เทว-
มนสุ สฺ าน ํ ปิโย โหต ิ มนาโป, ขีณาสวอรยิ วรปคุ คฺ ลปตฺถิโต, เทวมนุสฺสานํ วนทฺ ิตปูชโิ ต,
พุธวิพุธปณฑฺ ิตชนานํ ถตุ ถวิตโถมิตปสตโฺ ถ, อธิ วา หุร ํ วา โลเกน อนุปลติ โฺ ต,
อปปฺ โถกวชเฺ ชปิ ภยทสฺสาวี, วิปุลวรสมปฺ ตฺติกามานํ มคคฺ ผลวรตถฺ สาธโน, อายาจิตวปิ ุล-
ปณีตปจจฺ ยภาคี, อนเิ กตสยโน, ฌานชโฺ ฌสิตตปฺปวรวิหาร,ี วิชฏติ กิเลสชาลวตถฺ ,ุ ภินฺนภคฺค-
สงกฺ ฏุ ติ ส ฺฉนิ นฺ คตินีวรโณ, อกุปฺปธมฺโม, อภินตี วาโส, อนวชชฺ โภค,ี คตวิ มิ ตุ ฺโต,
อตุ ฺตณิ ฺณสพฺพวิจิกิจฺโฉ, วิมุตตฺ ชิ ฺโฌสิตตโฺ ถ ทฏิ ฺ ธมฺโม, อจลทฬฺหภีรตุ ตฺ าณมุปคโต,
สมจุ ฉฺ ินนฺ านุสโย, สพพฺ าสวกขฺ ย ํ ปตโฺ ต, สนตฺ สุขสมาปตตฺ ิวหิ ารพหุโล, สพพฺ สมณคณุ -
สมเุ ปโต, อิเมห ิ ตึสคุณวเรห ิ สมเุ ปโต โหติ ฯ
ดว้ ยคุณ ๓๐ ประการ อะไรบา้ ง ?
๑. สนิ ิทธฺ มทุ ุมททฺ วเมตฺตจิตโฺ ต มีเมตตาจติ นุ่มนวลอ่อนโยนสนิท
๒. ฆาติตหตวหิ ตกิเลโส ฆ่าก�ำจดั ท�ำลายกิเลสได้
๓. หตนหิ ตมานทพโฺ พ มที ัพพะคอื มานะอันก�ำจัดปลงลงเสียได้
๔. อจลทฬฺหนิวิฏฺนพิ ฺเพมตกิ สทโฺ ธ มีศรทั ธาปักหลักตั้งม่ัน ไมห่ ว่นั ไหว ปราศจาก
ความสงสัย
๕. ปรปิ ุณฺณปณี ติ ปหฏฺโลภนยี สนตฺ าสขุ สมาปตฺตลิ าภี ไดส้ มาบัตทิ ่ีสงบ เปน็ สขุ อ่มิ
เอิบ บนั เทิง นา่ ได้ เต็มเปยี่ ม
๖. สลี วรปวรอสมสุจิคนธฺ ปริภาวโิ ต อบอวลด้วยกล่นิ หอม หากลิ่นอื่นเสมอมไิ ด้ คือ
ศีลประเสริฐยอดเยี่ยม
๗. เทวมนสุ ฺสานํ ปิโย มนาโป เป็นทรี่ ัก ท่ีชอบใจ ของเทวดาและมนษุ ยท์ ัง้ หลาย
๘. ขณี าสวอรยิ วรปุคคฺ ลปตฺถิโต เป็นบคุ คลท่พี ระอริยเจา้ ผู้ประเสริฐ คือพระขีณาสพ
ปรารถนา
๙. เทวมนุสสฺ านํ วนทฺ ิตปชู โิ ต เป็นผทู้ เ่ี ทวดาและมนษุ ยท์ ้ังหลายกราบไหว้บชู า
๑๐. พุธวิพธุ ปณฺฑติ ชนาน ํ ถุตถวิตโถมิตปสตโฺ ถ เป็นผูท้ บี่ ณั ฑติ ชนผู้ร้จู ริง ผรู้ ูแ้ จง้
ทง้ั หลาย ยกยอ่ ง ชมเชย สดุดี สรรเสริญ
๑๑. อธิ วา หุร ํ วา โลเกน อนุปลิตโฺ ต เปน็ ผู้ทไ่ี ม่ถกู โลกธรรมฉาบติด ไมว่ า่ ในโลก
น้หี รือในโลกอืน่
๑๒. อปปฺ โถกวชฺเชป ิ ภยทสฺสาว ี เปน็ ผ้มู ปี กติเล็งเห็นวา่ เปน็ ภัย แมใ้ นสง่ิ ท่เี ปน็ โทษ

340 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๕.อนมุ านปัญห

เพียงเล็กน้อย นดิ หน่อย
๑๓. วปิ ลุ วรสมฺปตฺติกามานํ มคฺคผลวรตฺถสาธโน บรรดาประโยชน์ คอื สมบตั ิอัน
ไพบูลย์ ประเสริฐ น่าตอ้ งการทัง้ หลาย ได้ส�ำเร็จประโยชน์คอื มรรคและผลอนั ประเสริฐ
๑๔. อายาจติ วปิ ลุ ปณีตปจฺจยภาค ี เปน็ ผู้มสี ว่ นแห่งปจั จยั ท่ีไพบูลย์ ประณีต ทเ่ี ขา
อาราธนา
๑๕. อนเิ กตสยโน ไมม่ ีบ้าน ไมม่ ีทอี่ ยูป่ ระจ�ำ
๑๖. ฌานชฺโฌสติ ตปปฺ วรวิหาร ี มีปกติอยู่ด้วยความอม่ิ เอบิ ใจอันองิ อาศัยฌานอนั
ประเสรฐิ
๑๗. วชิ ฏติ กเิ ลสชาลวตฺถุ สางวตั ถคุ ือกเิ ลสอันเปน็ ดจุ ขา่ ยได้
๑๘. ภินนฺ ภคฺคสงฺกฏุ ิตสญฺฉนิ ฺนคตนิ ีวรโณ เป็นผทู้ �ำลายหัก งอพับ เชอื ดเฉือน เครือ่ ง
ขวางก้นั คติได้
๑๙. อกปุ ปฺ ธมฺโม มีธรรมอนั ไมก่ �ำเรบิ
๒๐. อภนิ ตี วาโส มกี ารอยใู่ นทอี่ ันจะพรากจากไปเสยี ได้
๒๑. อนวชฺชโภค ี ใช้สอยแตป่ ัจจยั อนั หาโทษมไิ ด้
๒๒. คตวิ มิ ตุ ฺโต หลุดพ้นจากคติ
๒๓. อุตตฺ ณิ ฺณสพพฺ วจิ ิกิจโฺ ฉ ข้ามพ้นความสงสยั ทัง้ ปวง
๒๔. วิมตุ ตฺ ิชโฺ ฌสติ ตฺโถ ไดป้ ระโยชนท์ เ่ี กี่ยวเนอื่ งกบั วมิ ุตติ
๒๕. ทิฏฺธมฺโม ไดเ้ ห็นธรรม
๒๖. อจลทฬหฺ ภรี ตฺตาณมปุ คโต เขา้ ถึงธรรมอันเป็นทต่ี ้านทานภยั ทมี่ ่ันคงไม่หว่นั ไหว
๒๗. สมุจฉฺ นิ ฺนานสุ โย ตดั ขาดอนสุ ยั ได้
๒๘. สพพฺ าสวกขฺ ย ํ ปตโฺ ต ไดถ้ ึงธรรมอันเป็นทีส่ ้นิ อาสวะทงั้ ปวง
๒๙. สนฺตสขุ สมาปตตฺ วิ หิ ารพหโุ ล เป็นผ้มู ากดว้ ยสมาบัตวิ หิ ารอนั สงบและเปน็ สุข
๓๐. สพฺพสมณคุณสมุเปโต เป็นผ้ปู ระกอบดว้ ยสมณคุณทั้งปวง
ย่อมเปน็ ผ้ปู ระกอบดว้ ยคุณ ๓๐ ประการเหลา่ น้แี ล
‘‘นน ุ มหาราช เถโร สาริปตุ โฺ ต ทสสหสสฺ โิ ลกธาตุยา อคคฺ ปุริโส เปตวฺ า ทสพล ํ
โลกาจริยํ, โสป ิ อปริมติ มสงฺขฺเยยยฺ กปฺเป สมาจิตกสุ ลมูโล พรฺ าหมฺ ณกลุ กลุ ีโน มนาปกิ ํ
กามรตึ อเนกสตสงฺขํ ธนวร ฺจ โอหาย ชินสาสเน ปพฺพชิตฺวา อเิ มหิ เตรสห ิ ธุตคเุ ณห ิ
กายวจจี ติ ฺตํ ทมยิตวฺ า อชฺเชตรหิ อนนฺตคุณสมนนฺ าคโต โคตมสสฺ ภควโต สาสนวเร

กัณฑ์] อนุมานปญั หกัณฑ์ 341

ธมฺมจกกฺ มนปุ ปฺ วตฺตโก ชาโต ฯ
ขอถวายพระพร ยกเวน้ พระทศพลผู้ทรงเป็นอาจารยข์ องชาวโลกแล้ว บรุ ษุ ผเู้ ป็นเลิศ
แห่งหมนื่ โลกธาตุ กค็ ือพระสารบี ุตรเถระมิใช่หรอื แม้พระเถระนน้ั กเ็ ปน็ ผู้ไดส้ ่ังสมกศุ ลมลู ไว้
โดยชอบแล้ว ตลอดอสงไขยกปั หาประมาณมิได้ ท่านเปน็ ผู้สืบสกุลวงศ์ในสกลุ พราหมณ์ แตก่ ็
กลับละทิง้ อารมณท์ ี่ชอบใจ ความยินดีในกาม และทรพั ยป์ ระเสริฐนับไดห้ ลายร้อย บวชในพระ
ศาสนาของพระชินวรพทุ ธเจา้ ฝกึ กาย วาจา และจติ ดว้ ยธุตคณุ ๑๓ อยา่ งเหลา่ น้ี มาในบัดน้ี
ทา่ นจึงได้เป็นผู้ประกอบดว้ ยคณุ วเิ ศษหาที่สดุ มไิ ด้ เกดิ เปน็ ผทู้ ่ีคอยประกาศสืบต่อซ่งึ พระ
ธรรมจกั ร ในพระศาสนาประเสรฐิ ของพระผ้มู พี ระภาคพระนามวา่ โคดม
ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน เอกงฺคุตฺตรนกิ ายวรล ฉฺ เก –
‘‘นาห ํ ภกิ ขฺ เว อ ฺ ํ เอกปคุ คฺ ลมฺปิ สมนุปสฺสามิ, โย เอวํ ตถาคเตน อนตุ ฺตร ํ
ธมมฺ จกฺกํ ปวตฺตติ ํ สมฺมเทว อนปุ ปฺ วตเฺ ตติ, ยถยทิ ํ ภกิ ฺขเว สารปิ ุตโฺ ต, สารปิ ตุ ฺโต ภิกฺขเว
ตถาคเตน อนุตตฺ รํ ธมฺมจกกฺ ํ ปวตตฺ ิตํ สมฺมเทว อนปุ ปฺ วตฺเตตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ผทู้ รงเป็นเทพย่ิงกว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษติ ความ
ข้อนไ้ี ว้ในเอกนบิ าต อังคตุ ตรนกิ ายวา่
“ภกิ ษุท้ังหลาย เราไม่เหน็ บคุ คลอน่ื แมค้ นเดยี วทีเ่ ผยแผโ่ ดยชอบซึง่ ธรรมจักรอันยอด
เยย่ี มทพ่ี ระตถาคตประกาศไวแ้ ลว้ เหมือนสารบี ุตรนเี้ ลย สารบี ตุ รยอ่ มเผยแผโ่ ดยชอบซึง่
ธรรมจกั รอันยอดเยี่ยมทพี่ ระตถาคตประกาศไวแ้ ล้ว” ดังน้ี
‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน ยํ ก ิ ฺจิ นวงคฺ ํ พทุ ฺธวจน,ํ ยา จ โลกุตตฺ รา กิริยา, ยา จ
โลเก อธคิ มวิปลุ วรสมฺปตตฺ ิโย, สพพฺ ํ ตํ เตรสส ุ ธตุ คเุ ณส ุ สโมธาโนปคตน”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “ดีจรงิ พระคุณเจ้านาคเสน พระพทุ ธพจน์อันมีองค์ ๙ อย่างใด
อย่างหนึง่ ก็ดี การกระท�ำทยี่ อดเยย่ี มในโลกกด็ ี การบรรลธุ รรมและสมบัติอนั ไพบลู ย์ประเสริฐ
ท้ังหลายในโลกกด็ ี ทกุ อย่างนัน้ ถึงความรวมลงในธุตคุณ ๑๓”

ธุตงฺคปญโฺ ห ทตุ โิ ย ฯ
จบธุตงั คปญั หาขอ้ ที่ ๒

อนมุ านปญโฺ ห นิฏ€ฺ โิ ต ฯ
จบอนมุ านปัญหากัณฑท์ ่ี ๔

_______

342 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

๖. โอปมมฺ กถาปญหฺ กณฺฑ โอปัมมกถาปญั หกณั ฑ์

ปญฺหมาติกา
ปญั หมาตกิ า หัวข้อปัญหา

“ภนเฺ ต นาคเสน กตหิ งฺเคห ิ สมนฺนาคโต ภิกฺข ุ อรหตตฺ ํ สจฉฺ กิ โรตีติ ?
พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ภกิ ษผุ ปู้ ระกอบด้วยองค์เทา่ ไร ? ยอ่ ม
กระท�ำพระอรหตั ให้แจ้งได”้
“อธิ มหาราช อรหตฺตํ สจฺฉิกาตุกาเมน ภิกฺขนุ า –
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ภกิ ษุผูต้ ้องการท�ำพระอรหตั
ใหแ้ จ้ง ในพระศาสนานี้
คทฺรภสฺส เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๑ แห่งลา
กุกกฺ ุฏสฺส ป จฺ องคฺ านิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๕ แห่งไก่
กลนทฺ กสฺส เอกํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๑ แห่งกระแต
ทปี นิ ยิ า เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๑ แหง่ แมเ่ สือเหลือง
ทปี ิกสฺส เทฺว องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งพ่อเสอื เหลือง
กุมฺมสฺส ป จฺ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๕ แหง่ เต่า
วํสสฺส เอก ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ ไมไ้ ผ่

กณั ฑ]์ ปญั หมาติกา 343

จาปสสฺ เอกํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ ธนู
วายสสสฺ เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แห่งกา
มกฺกฏสสฺ เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แหง่ วานร

คทรฺ ภวคโฺ ค ป โม ฯ คทั รภวรรคที่ ๑

ลาพลุ ตาย เอก ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ เถานำ�้ เตา้
ปทุมสฺส ตณี ิ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๓ แห่งบัวหลวง
พีชสฺส เทวฺ องฺคานิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แห่งพืช
สาลกลฺยาณกิ าย เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ ไม้ขานาง
นาวาย ตณี ิ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๓ แหง่ เรือ
นาวาลคฺคนกสฺส เทฺว องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งเชือกโยงเรือ
กปู สสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๑ แหง่ เสากระโดงเรือ
นยิ ามกสฺส ตีณ ิ องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๓ แห่งนายทา้ ยเรอื

344 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

กมฺมการสสฺ เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๑ แห่งกรรมกร
สมทุ ทฺ สฺส ป จฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๕ แหง่ มหาสมทุ ร

สมุทฺทวคโฺ ค ทตุ โิ ย ฯ สมุททวรรคที่ ๒

ปถวิยา ป จฺ องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๕ แหง่ ดิน
อาปสสฺ ป ฺจ องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๕ แหง่ น้�ำ
เตชสสฺ ป ฺจ องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๕ แห่งไฟ
วายุสฺส ป ฺจ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๕ แห่งลม
ปพฺพตสสฺ ป จฺ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๕ แหง่ ภูเขา
อากาสสสฺ ป ฺจ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๕ แห่งอากาศ
จนทฺ สสฺ ป จฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๕ แหง่ ดวงจันทร์
สูริยสสฺ สตฺต องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๗ แห่งดวงอาทิตย์
สกกฺ สสฺ ตีณิ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๓ แหง่ ท้าวสักกะ

กณั ฑ]์ ปัญหมาติกา 345

จกฺกวตฺติสฺส จตตฺ าริ องคฺ านิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๔ แหง่ พระเจ้าจกั รพรรดิ

ปถววี คฺโค ตติโย ฯ ปถววี รรคท่ี ๓

อุปจกิ าย เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ ปลวก
พฬิ ารสสฺ เทฺว องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แหง่ แมว
อนุ ฺทูรสสฺ เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แห่งหนู
วิจฺฉกิ สสฺ เอก ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ แมงป่อง
นกุลสฺส เอกํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๑ แหง่ พงั พอน
ชรสิงคฺ าลสสฺ เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งสุนขั จงิ้ จอก
มคิ สฺส ตณี ิ องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๓ แห่งเนอื้
โครูปสสฺ จตฺตาร ิ องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๔ แหง่ โค
วราหสสฺ เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แหง่ สกุ ร
หตฺถิสสฺ ป ฺจ องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๕ แหง่ ชา้ ง

346 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

อปุ จิกาวคโฺ ค จตตุ โฺ ถ ฯ อุปจิกาวรรคที่ ๔
สีหสฺส สตฺต องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๗ แหง่ ราชสหี ์
จกกฺ วากสสฺ ตีณ ิ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๓ แหง่ นกจากพราก
เปณาหกิ าย เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งนกเงือก
ฆรกโปตสสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๑ แหง่ นกกระจอก
อลุ ูกสสฺ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แหง่ นกเค้า
สตปตตฺ สสฺ เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๑ แห่งนกตระไน
วคฺคุลิสฺส เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่งค้างคาว
ชลูกาย เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่ ปลิง
สปปฺ สฺส ตีณิ องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๓ แหง่ งู (สามัญ)
อชครสสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ งเู หลอื ม

สีหวคโฺ ค ป ฺจโม ฯ สีหวรรคท่ี ๕

ปนถฺ มกฺกฏกสฺส เอกํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แห่งแมงมุมตามหนทาง

กัณฑ์] ปญั หมาติกา 347

ถนสติ ทารกสฺส เอกํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แห่งทารกทีย่ งั ตดิ นมมารดา
จติ ตฺ กธรกุมมฺ สสฺ เอกํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ เตา่ เหลอื ง
ปวนสสฺ ป ฺจ องฺคานิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๕ แหง่ ปา่
รุกขฺ สสฺ ตณี ิ องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๓ แห่งต้นไม้
เมฆสฺส ป จฺ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๕ แห่งเมฆ
มณิรตนสฺส ตณี ิ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๓ แห่งแก้วมณี
มาควิกสสฺ จตตฺ าริ องคฺ านิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๔ แห่งพรานเน้ือ
พาฬสิ กิ สฺส เทฺว องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่งพรานเบด็
ตจฉฺ กสสฺ เทฺว องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๒ แห่งช่างถาก

มกฺกฏวคฺโค ฉฏโฺ € ฯ มักกฏวรรคท่ี ๖

กมุ ภฺ สฺส เอกํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ หม้อ
กาฬายสสฺส เทฺว องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แห่งกาลักน้�ำ

348 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

ฉตตฺ สสฺ ตีณิ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๓ แหง่ รม่
เขตตฺ สฺส ตณี ิ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๓ แหง่ นา
อคทสสฺ เทวฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่งยา
โภชนสฺส ตีณ ิ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๓ แห่งโภชนะ
อสิ สฺ าสสสฺ จตตฺ าริ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๔ แหง่ นายขมังธนู

กมุ ฺภวคฺโค สตตฺ โม ฯ กุมภวรรคที่ ๗

นอกวรรค
ร ฺโ จตฺตาริ องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๔ แห่งพระราชา
โทวาริกสสฺ เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งนายประตู
นสิ ทาย เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่ หนิ ลับมีด
ปทีปสฺส เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แห่งประทปี
มยูรสฺส เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แหง่ นกยูง

กัณฑ]์ ปญั หมาตกิ า 349

ตุรงคฺ สสฺ เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่งม้า
โสณฺฑกิ สสฺ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๒ แห่งคนขายเหลา้
อินฺทขลี สสฺ เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่งเสาเข่อื น
ตุลาย เอก ํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๑ แห่งเคร่ืองชงั่
ขคคฺ สฺส เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๒ แห่งพระขรรค์
มจฉฺ สสฺ เทวฺ องฺคานิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่งปลา
อิณคคฺ าหกสฺส เอกํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๑ แห่งลูกหน้ี
พยฺ าธิตสฺส เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๒ แหง่ คนเจบ็ ป่วย
มตสสฺ เทฺว องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แหง่ คนตาย
นทยิ า เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๒ แห่งแมน่ �้ำ
อสุ ภสสฺ เอก ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่ โคอสุ ภะ
มคคฺ สสฺ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งหนทาง

350 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

สงุ ฺกสายิกสฺส เอกํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๑ แห่งพนักงานเกบ็ ภาษี
โจรสสฺ ตณี ิ องฺคานิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๓ แหง่ โจร
สกุณคฆฺ ยิ า เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ เหยย่ี ว
สนุ ขสสฺ เอก ํ องฺคํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๑ แห่งสนุ ขั
ติกิจฉฺ กสสฺ ตณี ิ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๓ แห่งหมอยา
คพภฺ นิ ยิ า เทวฺ องคฺ านิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๒ แห่งหญิงมีครรภ์
จมริยา เอกํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ จามรี
กิกยิ า เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งนกต้อยตีวิด
กโปติกาย ตีณิ องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๓ แห่งแมน่ กเขา
เอกนยนสสฺ เทฺว องฺคาน ิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งคนมีนยั นต์ าขา้ งเดยี ว
กสสฺ กสสฺ ตีณ ิ องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๓ แห่งชาวนา
ชมฺพุกสงิ คฺ าลยิ า เอกํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แห่งแม่หมาไน

กณั ฑ์] ปญั หมาติกา 351

จงคฺ วารกสสฺ เทฺว องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๒ แหง่ ผา้ กรองนำ้�
ทพพฺ ิยา เอกํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พึงถือเอาองค์ ๑ แห่งทพั พี
อณิ สาธกสฺส ตีณิ องคฺ านิ คเหตพฺพานิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๓ แหง่ เจ้าหนี้
อนวุ จิ นิ กสสฺ เอกํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ พนักงานตรวจสอบ
สารถสิ ฺส เทวฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๒ แห่งนายสารถี
โภชกสสฺ เทวฺ องฺคานิ คเหตพพฺ านิ ฯ
พึงถอื เอาองค์ ๒ แหง่ คนกนิ ข้าว
ตนุ ฺนวายสฺส เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ ชา่ งปะชุน
นาวกิ สสฺ เอกํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่ นายเรอื
ภมรสสฺ เทฺว องฺคานิ คเหตพฺพานตี ิ ฯ
พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่งแมลงภู่

ปญฺหมาติกา นิฏฺ€ติ า ฯ
จบหัวข้อปญั หา
_______

352 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

๖.๑ คทฺรภวคฺค
๖.๑ คทั รภวรรค หมวดว่าดว้ ยลา

๑. คทฺรภงฺคปญโฺ ห

๑. คทั รภังคปัญหา

ปญั หาวา่ ด้วยองค์แหง่ ลา

[๑] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘คทรฺ ภสฺส เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ น’ฺ ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมํ ตํ เอกํ
องฺค ํ คเหตพพฺ นฺ”ติ ?
[๑] พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๑ แห่ง
ลา’ องค์ ๑ ทพ่ี งึ ถอื เอานัน้ เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช คทรฺ โภ นาม สงกฺ ารกเู ฏปิ จตกุ ฺเกป ิ สงิ ฺฆาฏเกปิ คามทฺวาเรปิ
ถสุ ราสมิ ฺหิป ิ ยตฺถ กตถฺ จ ิ สยต,ิ น สยนพหุโล โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน ติณสนฺถาเรปิ ปณณฺ สนถฺ าเรปิ กฏ ฺ ม ฺจเกปิ ฉมายปิ ยตถฺ กตถฺ จ ิ จมฺมขณฑฺ ํ
ปตฺถรติ ฺวา ยตถฺ กตฺถจิ สยติ พฺพํ, น สยนพหุเลน ภวิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช คทรฺ ภสฺส
เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน ‘กลิงคฺ รูปธานา ภกิ ขฺ เว
เอตรห ิ มม สาวกา วิหรนตฺ ิ อปฺปมตฺตา อาตาปโิ น ปธานสฺมนิ ’ฺ ติ ฯ ภาสิตมฺเปตํ มหาราช
เถเรน สารปิ ุตเฺ ตน ธมฺมเสนาปตนิ าป ิ –
‘‘ปลลฺ งเฺ กน นสิ นิ ฺนสฺส ชณฺณเุ กนาภิวสสฺ ติ
อล ํ ผาสวุ ิหาราย ปหติ ตตฺ สสฺ ภกิ ขฺ ุโน’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ขน้ึ ชือ่ วา่ ลา จะไปนอน
หมอบอยู่ ณ ที่ใดทีห่ น่งึ ไม่วา่ ทกี่ องหยากเย่ือ ไม่ว่าท่ีทางสแี่ พร่ง ไม่ว่าท่ีทางเขา้ บ้าน ไม่ว่าท่ี
กองแกลบ ยอ่ มไม่เป็นผู้มากด้วยการนอน ฉนั ใด ขอถวายพระพร ภิกษผุ ู้มีความเพยี รเป็นพระ
โยคาวจร ไปปูแผ่นหนังนอน ณ ทใ่ี ดทีห่ นงึ่ ไม่ว่าบนลาดหญา้ ไมว่ ่าบนลาดใบไม้ ไม่วา่ บน
เตยี งไม้ ไม่ว่าใตเ้ งาไม้ ไมพ่ งึ เปน็ ผมู้ ากดว้ ยการนอน ฉนั นนั้ เหมือนกนั นี้คือองค์ ๑ แหง่ ลาท่ี
พงึ ถือเอา ขอถวายพระพร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ผทู้ รงเปน็ เทพยิง่ กว่าเหลา่ เทพ ทรงภาษิต
ความข้อนไี้ ว้ว่า ‘ภิกษุท้งั หลาย ในปจั จบุ ันสาวกท้งั หลายของเราใชห้ มอนไม้หนุนศรี ษะและ
เทา้ เป็นผูไ้ ม่ประมาท มีความเพยี ร เครื่องเผากเิ ลสในการบ�ำเพ็ญเพยี รอย’ู่ ดังน้ี ขอถวาย

กัณฑ]์ ๖.๑ คัทรภวรรค 353

พระพร แม้พระสารีบตุ รเถระกไ็ ดภ้ าษติ ความขอ้ น้ไี ว้วา่
“เมอื่ ภิกษุน่ังขัดสมาธิในกุฏีใด ฝนตกไมเ่ ปียกเขา่ ท้งั สอง กุฏี
เท่านี้ ก็เพยี งพอเพอื่ อยผู่ าสุก ของภิกษุผู้มีใจเด็ดเด่ียวมุ่ง
นิพพาน”
คทฺรภงฺคปญโฺ ห ป€โม ฯ
จบคทั รภงั คปญั หาขอ้ ที่ ๑
_______

๒. กุกฺกุฏงฺคปญหฺ
๒. กกุ กฏุ ังคปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยองค์แหง่ ไก่
[๒] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘กุกกฺ ุฏสสฺ ป จฺ องฺคาน ิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ยํ วเทสิ, กตมานิ
ตาน ิ ป จฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๒] พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พึงถอื เอาองค์ ๕ แหง่
ไก่’ องค์ ๕ ท่พี ึงถอื เอานัน้ เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช กุกกฺ โุ ฏ กาเลน สมเยน ปฏิสลฺลยี ติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน กาเลน สมเยเนว เจติยงฺคณ ํ สมฺมชชฺ ิตฺวา ปานยี ํ ปรโิ ภชนยี ํ
อปุ ฏฺ เปตฺวา สรีร ํ ปฏิชคฺคติ วฺ า นหายติ ฺวา เจตยิ ํ วนฺทิตวฺ า วฑุ ฒฺ าน ํ ภิกขฺ ูนํ ทสฺสนาย
คนฺตวฺ า กาเลน สมเยน สุ ฺ าคารํ ปวสิ ติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช กุกกฺ ฏุ สฺส ป มํ องฺค ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ไก่ ย่อมหลกี เรน้ ตามกาลอัน
ควร ตามสมยั อนั ควร ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี ร ปัดกวาดลานเจดีย์
ตงั้ น้�ำฉนั น�้ำใช้ ช�ำระร่างกาย อาบน�ำ้ ไหวเ้ จดีย์ เขา้ ไปพบภกิ ษุผ้ใู หญท่ ง้ั หลาย ตามกาลอนั
สมควร ตามสมัยอนั ควร พึงเข้าไปยงั เรอื นวา่ ง ตามกาลอันควร ตามสมัยอันควร ฉนั นัน้ เหมอื น
กนั น้คี อื องคท์ ่ี ๑ แหง่ ไก่ ท่พี งึ ถอื เอา

354 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช กุกฺกุโฏ กาเลน สมเยเนว วฏุ ฺ าติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน กาเลน สมเยเนว วฏุ ฺ หติ ฺวา เจตยิ งฺคณ ํ สมฺมชชฺ ติ วฺ า ปานยี ํ
ปรโิ ภชนียํ อุปฏ ฺ เปตวฺ า สรีรํ ปฏิชคฺคิตฺวา เจติยํ วนทฺ ติ วฺ า ปนุ เทว ส ุ ฺ าคาร ํ ปวสิ ติ พพฺ ํ
ฯ อิทํ มหาราช กกุ ฺกุฏสฺส ทุตยิ ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หนง่ึ ไก่ ย่อมออก (จากท่เี ร้น) ตามกาลอันควร ตามสมยั
อนั ควร ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร ก็ออก(จากที่เร้น) ตามกาลอนั
ควร ตามสมยั อนั ควร ต้ังนำ้� ฉนั น�ำ้ ใช้ ช�ำระรา่ งกาย อาบนำ้� ไหวเ้ จดยี ์ พงึ เข้าไปยังเรือนว่างอกี
ตามกาลอนั ควร ตามสมยั อนั ควร ฉนั น้นั เหมอื นกนั น้ีคือองคท์ ี่ ๒ แห่งไก่ ท่ีพึงถือเอา

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช กกุ กฺ โุ ฏ ปถวึ ขณติ ฺวา ขณิตวฺ า อชโฺ ฌหารํ อชโฺ ฌหรติ ฯ
เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ปจจฺ เวกขฺ ติ วฺ า ปจฺจเวกขฺ ติ วฺ า อชฺโฌหาร ํ
อชโฺ ฌหรติ พฺพํ ‘เนว ทวาย น มทาย น มณฑฺ นาย น วิภูสนาย, ยาวเทว อิมสฺส กายสฺส
ติ ยิ า ยาปนาย วิหึสปู รติยา พฺรหฺมจรยิ านคุ ฺคหาย, อติ ิ ปุราณ จฺ เวทนํ ปฏหิ งขฺ าม ิ
นว จฺ เวทนํ น อุปฺปาเทสฺสามิ, ยาตรฺ า จ เม ภวิสฺสติ อนวชฺชตา จ ผาสุวหิ าโร จา’ติ
ฯ อิท ํ มหาราช กุกกฺ ฏุ สฺส ตติยํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคห์ นงึ่ ไก่ คยุ้ เขีย่ พ้นื ดนิ จิกกนิ อาหารท่คี วรจะจิกกนิ ได้
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพยี รพิจารณาทกุ ครง้ั แล้วจงึ กลืนกนิ อาหารท่ี
ควรกลืนกนิ อยา่ งนี้ว่า ‘เราบริโภคอาหาร ไม่ใช่เพื่อเลน่ ไมใ่ ชเ่ พื่อมัวเมา ไมใ่ ช่เพอื่ ประดบั
ไมใ่ ชเ่ พอื่ ตกแต่ง ทว่าเพยี งเพ่ือความด�ำรงอยูแ่ หง่ กายนเ้ี ทา่ นนั้ เพอ่ื ความเป็นไปได้ เพือ่ ระงับ
ความเบยี ดเบยี น เพื่ออนเุ คราะห์พรหมจรรย์ โดยประการอย่างนี้ เราจกั ก�ำจัดเวทนาเก่า และ
จกั ไมใ่ ห้เวทนาใหมเ่ กดิ ข้นึ ความด�ำเนนิ ไปได้ ความไม่มีโทษและความอยูผ่ าสกุ จักมีแกเ่ รา’
ดังนี้ ฉนั น้นั เหมอื นกันน้ี คอื องค์ท่ี ๓ แหง่ ไก่ ทีพ่ ึงถือเอา

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน –
‘‘กนตฺ าเร ปุตตฺ มํสํว อกขฺ สฺสพฺภ ชฺ น ํ ยถา
เอวํ อาหริ อาหาร ํ ยาปนตฺถมมจุ ฉฺ ิโต’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ผทู้ รงเป็นเทพยิง่ กวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษติ ตาม
ขอ้ น้ไี วว้ า่
“ภิกษุพึงเป็นผู้ไม่สยบกลืนกินอาหารแต่พอยังร่างกายให้เป็น

กัณฑ]์ ๖.๑ คทั รภวรรค 355

ไปได้ เหมอื น(สามีภรรยา) กลนื กนิ เนอ้ื บุตรในทก่ี ันดาร เหมือน
(พอ่ คา้ เกวียน) ใชน้ �้ำมนั หยอดเพลา(เกวยี น) ฉะน้ัน” ดงั นี้

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช กุกกฺ ุโฏ สจกฺขุโกปิ รตตฺ ึ อนฺโธ โหติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน อนนเฺ ธเนว อนเฺ ธน วิย ภวติ พฺพ,ํ อร ฺเ ปิ โคจรคาเม ปิณฑฺ าย
จรนฺเตนป ิ รชนเี ยสุ รูปสททฺ คนธฺ รสโผฏ ฺ พฺพธมฺเมส ุ อนเฺ ธน พธิเรน มเู คน วิย ภวิตพฺพํ,
น นิมติ ตฺ ํ คเหตพพฺ ํ, นานพุ ฺย ฺชน ํ คเหตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช กุกกฺ ฏุ สสฺ จตตุ ถฺ ํ องฺค ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคห์ น่งึ ไกแ่ มว้ ่ามีตาดอี ยู่ ก็ยอ่ มเปน็ ไก่ตาบอดในตอนกลาง
คนื ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร ไม่ใช่คนตาบอดเลย ก็พงึ เป็นดุจคน
ตาบอด คอื แมอ้ ยูใ่ นป่า แม้เท่ยี วบณิ ฑบาตไปในโคจรคาม กพ็ ึงเปน็ ดจุ คนตาบอด คนหูหนวก
คนเป็นใบ้ในรูป เสยี ง กล่ิน รส โผฏฐพั พะ และธรรมทง้ั หลายทีน่ า่ ยินดี ไม่พึงถอื เอานิมติ ไม่
พึงถือเอาอนพุ ยัญชนะ ฉันน้ันเหมอื นกนั นี้คือองคท์ ่ี ๔ แหง่ ไก่ ที่พงึ ถอื เอา

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน มหากจจฺ ายเนน –
‘จกฺขมุ าสฺส ยถา อนโฺ ธ โสตวา พธโิ ร ยถา
ป ฺ วาสสฺ ยถา มูโค พลวา ทพุ ฺพโลริว
อตฺตอตเฺ ถ สมปุ ปฺ นฺเน สเยถ มตสายิกนฺ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระมหากัจจายนเถระ ไดภ้ าษติ ความขอ้ น้ีไว้วา่
“ผเู้ ปน็ ปราชญน์ ั้นถงึ มีตาดี ก็พงึ ท�ำเป็นเหมือนคนตาบอด ถงึ มี
หดู ี กพ็ ึงท�ำเป็นเหมือนคนหูหนวก ถงึ มีปญั ญา กพ็ งึ ท�ำเปน็
เหมือนคนใบ้ ถงึ มกี �ำลัง ก็พึงท�ำเป็นเหมอื นคนออ่ นแอ คร้นั
เมือ่ ประโยชนต์ ามเกิดขน้ึ แล้ว ถงึ จะนอน ในเวลาใกล้จะตาย ก็
ยงั ท�ำประโยชน์ใหส้ �ำเร็จได”้ ดังน้ี

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช กกุ ฺกุโฏ เลฑฑฺ ทุ ณฺฑลคฬุ มุคคฺ เรห ิ ปริปาติยนฺโตปิ สกํ เคหํ
น วิชหติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน จีวรกมฺม ํ กโรนเฺ ตนปิ นวกมฺมํ
กโรนฺเตนปิ วตฺตปปฺ ฏวิ ตฺตํ กโรนฺเตนปิ อทุ ฺทสิ นเฺ ตนป ิ อุทฺทสิ าเปนเฺ ตนปิ โยนโิ สมนสิกาโร
น วชิ หติ พฺโพ, สก ํ โข ปเนตํ มหาราช โยคิโน เคห,ํ ยททิ ํ โยนโิ สมนสกิ าโร ฯ อิท ํ
มหาราช กุกฺกุฏสสฺ ป จฺ มํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ

356 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองคห์ นงึ่ เปรยี บเหมอื นว่า ไก่ แมว้ ่าถกู ขวา้ งปาดว้ ยก้อนดิน
ไม้ ตะบอง ไมค้ อ้ น กย็ ่อมไม่ละเรอื นรงั ของตน ฉนั ใด พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร แมต้ อ้ ง
ท�ำการงานเกยี่ วกบั จีวร แม้ตอ้ งท�ำงานเกย่ี วกับการก่อสร้าง แม้ตอ้ งท�ำวัตรปฏิบตั ิ แม้ตอ้ ง
เรยี นบาลี แมต้ ้องสอนบาลี ก็ไม่ละทิง้ โยนโิ สมนสิการ ฉันนัน้ ขอถวายพระพร เรอื นรังของตน
ของพระโยคนี ้ี คอื โยนิโสมนสิการ นคี้ ือองค์ที่ ๕ แห่งไก่ ทีพ่ งึ ถอื เอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน ‘โก จ ภิกขฺ เว ภิกขฺ โุ น โคจโร สโก
เปตฺติโก วสิ โย? ยททิ ํ จตตฺ าโร สตปิ ฏฺ านา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงเปน็ เทพยง่ิ กว่าเหล่าเทพ ทรงภาษิตความ
ข้อน้ีไว้ว่า “ภิกษุท้งั หลาย แดนทเี่ ปน็ ของบิดาของตนอนั เป็นโคจรของภิกษเุ ปน็ อยา่ งไร ? คือ
สตปิ ฏั ฐาน ๔ ประการ” ดังน้ี

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช เถเรน สารปิ ุตฺเตน ธมฺมเสนาปตนิ าป ิ –
‘‘ยถา สุทนโฺ ต มาตงฺโค สกํ โสณฺฑํ น มทฺทติ
ภกฺขาภกขฺ ํ วชิ านาต ิ อตฺตโน วุตฺติกปปฺ นํ ฯ
‘‘ตเถว พุทธฺ ปุตฺเตน อปปฺ มตเฺ ตน วา ปน
ชนิ วจนํ น มทฺทิตพพฺ ํ มนสกิ ารวรุตตฺ มนฺ”ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระธรรมเสนาบดีสารบี ุตรเถระ ก็ได้ภาษติ ความขอ้ น้ไี วว้ า่
“เหมอื นอยา่ งชา้ งมาตงั คะทีฝ่ ึกดีแลว้ ยอ่ มไมเ่ หยียบยำ่� งวงของ
ตน จึงรู้ถึงสิง่ ท่ีเปน็ อาหารและไมใ่ ช่อาหารเล้ียงชวี ติ ของตน
ฉันใด ภกิ ษผุ ู้เป็นพุทธบุตรผ้ไู มป่ ระมาท ก็ไมพ่ งึ เหยยี บย�่ำพระ
ด�ำรัสของพระชินวรพทุ ธเจ้า อนั ประเสริฐ สงู ส่ง ดว้ ยโยนิโส-
มนสกิ าร ฉนั น้ัน” ดังนี้

กุกกฺ ฏุ งคฺ ปญโฺ ห ทุติโย ฯ

จบกุกกุฏังคปัญหาข้อท่ี ๒

________

กัณฑ์] ๖.๑ คัทรภวรรค 357

๓. กลนทฺ กงคฺ ปญหฺ
๓. กลันทกงั คปญั หา
ปญั หาว่าด้วยองค์แหง่ กระแต

[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘กลนทฺ กสฺส เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพน’ฺ ต ิ ย ํ วเทสิ, กตมํ ต ํ เอก ํ
องคฺ ํ คเหตพฺพน”ฺ ติ ?
[๓] พระเจ้ามลิ ินทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่
กระแต’ องค์ ๑ ทพ่ี ึงถอื เอานนั้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช กลนทฺ โก ปฏสิ ตฺตุมหฺ ิ โอปตนเฺ ต นงฺคฏุ ฺ ํ ปปโฺ ผเฏตวฺ า มหนตฺ ํ
กตวฺ า เตเนว นงฺคุฏฺ ลคุเฬน ปฏสิ ตฺต ุํ ปฏิพาหต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา
โยคาวจเรน กเิ ลสสตตฺ ุมฺหิ โอปตนฺเต สติปฏฺ านลคฬุ ํ ปปโฺ ผเฏตฺวา มหนตฺ ํ กตฺวา เตเนว
สติปฏฺ านลคุเฬน สพพฺ กิเลสา ปฏิพาหติ พพฺ า ฯ อทิ ํ มหาราช กลนทฺ กสสฺ เอก ํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กระแต เม่ือศตั รปู รากฏ ก็
เคาะหางท�ำใหพ้ องใหญข่ ึน้ ใช้หางเป็นไม้ตะบองส้ศู ตั รู ฉันใด พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร
เมือ่ ศตั รูคือกิเลสปรากฏ ก็ย่อมเคาะไมต้ ะบองคือสติปัฏฐาน ท�ำให้พองใหญข่ นึ้ ใช้ไม้ตะบอง
คือสตปิ ัฏฐานสู้กิเลสทั้งปวง ฉนั นั้นเหมอื นกัน น้คี ือองค์ ๑ แหง่ กระแตทีพ่ งึ ถือเอา”

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน จฬู ปนฺถเกน –
“ยทา กิเลสา โอปตนฺติ สาม ฺ คุณธํสนา
สติปฏ ฺ านลคเุ ฬน หนฺตพพฺ า เต ปนุ ปปฺ ุนนฺ”ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระจูฬปันถกเถระไดภ้ าษติ ความขอ้ นไี้ วว้ า่
“เมอ่ื ใด กิเลสทง้ั หลายอันเปน็ เครือ่ งก�ำจัดคุณแห่งความเป็น
สมณะ ปรากฏ เม่ือนนั้ พระโยคาวจรพงึ ใชไ้ ม้ตะบองคอื สต-ิ
ปฏั ฐาน ก�ำจัดกิเลสเหลา่ น้นั บอ่ ย ๆ”

กลนฺทกงคฺ ปญฺโห ตติโย ฯ

จบกลันทกังคปัญหาข้อท่ี ๓

________

358 มลิ ินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

๔. ทปี ินิยงคฺ ปญฺห

๔. ทีปินิยงั คปญั หา

ปัญหาว่าด้วยองคแ์ หง่ แมเ่ สอื เหลอื ง

[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘ทปี ินยิ า เอก ํ องฺค ํ คเหตพฺพน’ฺ ต ิ ย ํ วเทสิ, กตมํ ต ํ เอก ํ
องฺคํ คเหตพพฺ นฺ”ติ ?
[๔] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พึงถอื เอาองค์ ๑ แหง่
แม่เสือเหลือง’ องค์ ๑ ท่ีพงึ ถอื เอาน้นั เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช ทปี ินี สกึเยว คพภฺ ํ คณหฺ าต,ิ น ปนุ ปฺปุน ํ ปรุ ิส ํ อเุ ปติ ?
เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อายต ึ ปฏิสนธฺ ิํ อปุ ฺปตฺต ึ คพภฺ เสยฺยํ จตุ ึ เภท ํ
ขย ํ วนิ าส ํ สํสารภยํ ทคุ ฺคต ึ วิสมํ สมฺปีฬติ ํ ทสิ วฺ า ‘ปุนพฺภเว นปฺปฏิสนธฺ หิสสฺ าม’ี ติ
โยนโิ สมนสิกาโร กรณโี ย ฯ อิทํ มหาราช ทปี นิ ิยา เอกํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร แมเ่ สือเหลือง พอถอื เอา
ครรภ์ได้ครง้ั เดียวเท่านน้ั กไ็ มเ่ ข้าใกลต้ ัวผบู้ อ่ ย ๆ อกี ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้
บ�ำเพญ็ เพียร ครั้นเห็นปฏสิ นธิในอนาคต ความอบุ ัติ ความเปน็ สัตวน์ อนในครรภ์ จุติ ความ
แตกท�ำลาย ความส้ินไป ความพินาศไป ภยั ในสงั สารวัฎ ทุคติ ว่าไมส่ งบ ว่าบีบคร้ันแล้ว ก็พึง
กระท�ำโยนโิ สมนสกิ ารว่า เราจกั ไมป่ ฏิสนธิในภพใหม่อกี ฉันนั้นเหมือนกัน นี้คือองค์ ๑ แหง่
แม่เสอื เหลอื ง ท่พี ึงถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สตุ ตฺ นปิ าเต ธนิยโคปาลกสตุ เฺ ต –
‘‘อุสโภรวิ เฉตวฺ า พนธฺ นานิ
นาโค ปตู ิลตํว ทาลยติ ฺวา
นาหํ ปุนเุ ปสฺสํ คพฺภเสยฺยํ
อถ เจ ปตฺถยสี ปวสสฺ เทวา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพย่งิ กวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ นไี้ ว้ในธนยิ โคปาลกสตู ร ในสุตตนบิ าตว่า
“เราได้ตดั เครื่องผกู ทงั้ หลาย เหมอื นโคอสุ ภะสลดั เชอื กท่ีลา่ ม
ไว้จนขาดสะบัน้ ท�ำลายเถาวลั ย์เหมอื นชา้ งท�ำลายเถาหวั ด้วน

กัณฑ์] ๖.๑ คัทรภวรรค 359

จนแหลกละเอยี ด จึงไมต่ อ้ งกลับมาเกดิ อกี ฝนเอย๋ หากทา่ น
อยากตก กเ็ ชญิ ตกลงมาเถิด”

ทปี ินยิ งฺคปญโฺ ห จตตุ ฺโถ ฯ
จบทีปินิยังคปญั หาข้อที่ ๔

________

๕. ทปี ิกงคฺ ปญหฺ
๕. ทีปิกงั คปัญหา
ปญั หาว่าด้วยองค์แห่งพอ่ เสอื เหลือง
[๕] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘ทีปิกสฺส เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ย ํ วเทส,ิ กตมานิ
ตาน ิ เทฺว องฺคานิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๕] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พึงถือเอาองค์ ๒ แหง่
พ่อเสือเหลอื ง’ องค์ ๒ ทีพ่ งึ ถือเอานั้น เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช ทปี โิ ก อร ฺเ ติณคหน ํ วา วนคหนํ วา ปพฺพตคหนํ วา นิสฺสาย
นลิ ียิตฺวา มิเค คณหฺ าติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน วิเวกํ เสวิตพฺพ ํ
อร ฺ ํ รกุ ฺขมลู ํ ปพพฺ ตํ กนทฺ รํ คริ คิ หุ ํ สุสาน ํ วนปตถฺ ํ อพโฺ ภกาส ํ ปลาลป ุ ชฺ ํ อปปฺ สททฺ ํ
อปปฺ นคิ ฺโฆส ํ วิชนวาต ํ มนุสสฺ ราหเสยฺยกํ ปฏิสลฺลานสารปุ ฺป;ํ วเิ วกํ เสวมาโน ห ิ มหาราช
โยค ี โยคาวจโร นจริ สเฺ สว ฉฬภ ิ ฺ าส ุ จ วสภิ าว ํ ปาปณุ าติ ฯ อิท ํ มหาราช ทปี ิกสสฺ
ป ม ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เสอื เหลอื งอาศยั พงหญา้
ในป่าชา้ ป่ารกบา้ ง ท่ีรกแห่งภูเขาบ้าง ซ่อนตวั แล้วจึงจับเอาเน้อื ทง้ั หลายได้ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพียร กพ็ งึ เสพสถานทีว่ เิ วก คอื ป่า โคนไม้ ภเู ขา ซอกเขา ถ้�ำ
ตามภูเขา ป่าช้า ป่าไม้ ทโี่ ล่งแจง้ ลอมฟาง ซึง่ เปน็ สถานที่ท่ีมเี สียงนอ้ ย ไมม่ ีเสยี งอกึ ทกึ ไม่มี
ผคู้ นพลุกพลา่ น มที ่ีนอนที่สงดั จากพวกคน มคี วามเหมาะสมแกก่ ารหลีกเร้น ขอถวายพระพร
พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพยี ร ผูเ้ สพสภาพทีว่ เิ วก ย่อมบรรลวุ สภี าวะในอภญิ ญา ๖ ต่อกาลไม่
นานเลยทเี ดยี ว ฉนั นน้ั เหมอื นกัน น้ีคือองคท์ ี่ ๑ แห่งพ่อเสือเหลอื ง ทีพ่ งึ ถอื เอา

360 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช เถเรห ิ ธมฺมสงคฺ าหเกหิ –
‘‘ยถาปิ ทีปิโก นาม นลิ ียิตฺวา คณฺหเต มิเค
ตเถวาย ํ พทุ ฺธปตุ ฺโต ยุตตฺ โยโค วิปสสฺ โก
อร ฺ ํ ปวิสิตฺวาน คณฺหาต ิ ผลมตุ ตฺ มนฺ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระเถระผู้เป็นธัมมสงั คาหกาจารยท์ ั้งหลาย ไดภ้ าษติ ความข้อน้ีว่า
“ธรรมดาวา่ เสอื เหลอื ง ซ่อนตวั แลว้ กย็ ่อมจบั เอาเน้อื ทง้ั หลาย
ได้ แมฉ้ ันใด พระโยคาวจรผู้เป็นพุทธบุตร ผูป้ ระกอบความ
เพยี ร เจรญิ วปิ ัสสนา เขา้ ป่าแลว้ กย็ อ่ มจบั เอาผลทส่ี งู สุดได้
ฉนั นั้น”

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช ทปี โิ ก ย ํ กิ ฺจ ิ ปสุํ วธิตวฺ า วาเมน ปสเฺ สน ปตติ ํ น
ภกเฺ ขติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน เวฬทุ าเนน วา ปตตฺ ทาเนน วา
ปุปฺผทาเนน วา ผลทาเนน วา สนิ านทาเนน วา มตฺติกาทาเนน วา จุณณฺ ทาเนน วา
ทนฺตกฏ ฺ ทาเนน วา มโุ ขทกทาเนน วา จาตกุ มยฺ ตาย วา มคุ คฺ สุปยฺ ตาย วา ปารภิ ฏยฺ ตาย
วา ชงฆฺ เปสนเี ยน วา เวชชฺ กมเฺ มน วา ทตู กมฺเมน วา ปหิณคมเนน วา ปิณฺฑปฏิปณิ เฺ ฑน
วา ทานานุปฺปทาเนน วา วตฺถุวชิ ชฺ าย วา นกขฺ ตตฺ วิชชฺ าย วา องคฺ วชิ ฺชาย วา
อ ฺ ตร ฺ ตเรน วา พุทฺธปฺปฏกิ ุฏเฺ น มจิ ฺฉาชีเวน นปิ ผฺ าทิต ํ โภชนํ น ภ ุ ชฺ ิตพฺพํ
วาเมน ปสเฺ สน ปตติ ํ ปส ํุ วิย ทีปโิ ก ฯ อทิ ํ มหาราช ทีปิกสฺส ทุติย ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคห์ นงึ่ ธรรมดาว่า พ่อเสือเหลอื งฆ่าสัตวต์ ัวใดตัวหนง่ึ แล้ว
จะไม่ยอมกัดกนิ เนื้อทล่ี ้มไปทางซ้าย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร กไ็ ม่
พึงบริโภคโภชนะส�ำเรจ็ ด้วยการใหไ้ ม้ไผบ่ ้าง ด้วยการใหใ้ บไมบ้ ้าง ด้วยการใหด้ อกไมบ้ ้าง
ด้วยการใหผ้ ลไม้บ้าง ดว้ ยการใหเ้ คร่ืองสนานบา้ ง ดว้ ยการให้ดินเหนียวบ้าง ดว้ ยการให้เครือ่ ง
จณุ บ้าง ด้วยการให้ไม้ช�ำระฟันบา้ ง ด้วยการใหน้ ำ�้ ลา้ งหนา้ บ้าง ด้วยความเปน็ คนประจบบ้าง
ดว้ ยความเป็นผู้มคี �ำพดู ดุจแกงถ่วั บา้ ง ด้วยทูตกรรมบ้าง ด้วยการสง่ ขา่ วบา้ ง ด้วยการใหก้ อ้ น
ขา้ วตอบบ้าง ด้วยการเพ่มิ ใหท้ านบ้าง ดว้ ยวิชาท�ำนายพื้นที่บา้ ง ดว้ ยวชิ าท�ำนายฤกษบ์ า้ ง
ดว้ ยวชิ าดอู วัยวะบา้ ง หรือดว้ ยมจิ ฉาอาชีวะอย่างใดอย่างหนง่ึ ทพ่ี ระพทุ ธเจา้ ทรงรงั เกยี จ ดุจ
พอ่ เสือเหลอื งไมย่ อมกดั กินเน้อื ที่ลม้ ไปทางข้างซา้ ย ฉะนัน้ ฉันนนั้ เหมอื นกนั นี้องค์ท่ี ๒ แหง่
พ่อเสือเหลือง ที่พงึ ถอื เอา

กณั ฑ]์ ๖.๑ คัทรภวรรค 361

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน สาริปุตฺเตน ธมฺมเสนาปตนิ า –
‘‘วจีว ิ ฺ ตตฺ วิ ิปฺผารา อุปฺปนฺนํ มธุปายสํ
สเจ ภุตฺโต ภเวยยฺ าห ํ สาชโี ว ครหโิ ต มม ฯ
ยทปิ ิ เม อนตฺ คณุ ํ นิกขฺ มติ ฺวา พหี จเร
เนว ภินฺเทยยฺ มาชีวํ จชมาโนป ิ ชีวติ น’ฺ ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระธรรมเสนาบดสี ารีบตุ รเถระได้ภาษิตความขอ้ นไ้ี วว้ ่า
“ถ้าหากว่า เราพึงเปน็ ผบู้ ริโภคข้าวมธปุ ายาสท่เี กิดข้ึน เพราะ
การแผ่ไปแหง่ วจีวิญญัตแิ ล้วไซร้ อาชีวะของเราน้นั พึงเปน็ สงิ่
ท่ีบณั ฑติ ติเตียนได้ แมห้ ากวา่ ขนดไสข้ องเราจะพงึ ออกมา
เทย่ี วไปภายนอก เราจะไม่ท�ำลายอาชีวะเลย แมต้ อ้ งสละเพ่อื
ชวี ติ ไป” ดงั นี้

ทปี ิกงฺคปญโฺ ห ปญฺจโม ฯ

จบทปี ิกังคปญั หาข้อท่ี ๕

________

๖. กุมมฺ งฺคปญฺห
๖. กุมมังคปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ เต่า
[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘กุมฺมสสฺ ป ฺจ องคฺ าน ิ คเหตพฺพาน’ี ติ ย ํ วเทสิ, กตมาน ิ
ตาน ิ ป ฺจ องคฺ านิ คเหตพฺพาน’ี ’ติ ?
[๖] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พงึ ถือเอาองค์ ๕ แหง่
เต่า’ องค์ ๕ ทพ่ี ึงถือเอาเหล่านั้น เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช กมุ โฺ ม อทุ กจโร อุทเกเยว วาส ํ กปฺเปติ, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน สพพฺ ปาณภตู ปุคคฺ ลาน ํ หิตานุกมฺปินา เมตฺตาสหคเตน เจตสา วปิ ุเลน
มหคฺคเตน อปปฺ มาเณน อเวเรน อพฺยาปชฺเชน สพพฺ าวนตฺ ํ โลกํ ผรติ วฺ า วหิ ริตพฺพํ ฯ อิทํ
มหาราช กุมมฺ สฺส ป มํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เต่าเปน็ สัตวท์ เี่ ท่ยี วไปในน้�ำ

362 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

ส�ำเรจ็ การอย่แู ตใ่ นนำ�้ เท่านั้น ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร ผอู้ นุเคราะห์
ประโยชน์เก้ือกูลแก่สัตว์ ภูต บคุ คลทัง้ ปวง ก็พึงเปน็ ผูแ้ ผ่ไปสู่โลก (สตั วโลก) อนั มีอยูใ่ นทท่ี งั้
ปวง ด้วยจติ ท่สี หรคตด้วยเมตตาอนั ไพบลู ย์ อนั เปน็ มหคั คตะ อันหาประมาณมิได้ ไมม่ ีเวร
ไม่มคี วามเบยี ดเบียนอยู่ ฉันนัน้ เหมอื นกนั นี้คือองคท์ ่ี ๑ แห่งเตา่ ทพ่ี ึงถือเอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช กุมโฺ ม อุทเก อปุ ฺปิลวนฺโต สสี ํ อกุ ขฺ ปิ ติ วฺ า ยท ิ โกจิ ปสสฺ ต,ิ
ตตเฺ ถว นิมุชชฺ ต ิ คาฬฺหโมคาหต ิ ‘มา ม ํ เต ปุน ปสเฺ สยยฺ ’ุ นตฺ ิ, เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน กเิ ลเสส ุ โอปตนฺเตส ุ อารมมฺ ณสเร นิมชุ ชฺ ติ พพฺ ํ คาฬฺหโมคาหิตพพฺ ํ
‘มา ม ํ กเิ ลสา ปุน ปสฺเสยฺยุน’ฺ ติ ฯ อทิ ํ มหาราช กมุ ฺมสสฺ ทุตยิ ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกองค์หน่งึ ธรรมดาวา่ เต่า ขณะทลี่ อยล่องอยใู่ นน้�ำ โงหวั ขึน้ มา
ถ้าหากวา่ ใคร ๆ เห็นเขา้ ก็จะด�ำลงไปในน�้ำ หยงั่ ลงไปใหล้ ึกทนั ที ดว้ ยคดิ ว่า คนพวกนน้ั อย่า
ได้เหน็ เราอีก ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพญ็ เพยี ร เมื่อกเิ ลสท้งั หลายปรากฏ ก็
พงึ ด�ำลงไปใหล้ ึกทนั ที ด้วยคดิ วา่ คนพวกนั้นอย่าได้เห็นเราอกี ฉันใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพียร เมอ่ื กิเลสท้ังหลายปรากฏ ก็พึงด�ำลงไปในสระคืออารมณ์ พึงหยัง่ ลง
ไปให้ลกึ ด้วยคดิ วา่ ‘กเิ ลสท้งั หลายอยา่ ไดเ้ หน็ เราอกี ’ ดงั น้ี ฉนั นัน้ เหมือนกัน นคี้ อื องค์ท่ี ๒
แหง่ เต่า ที่พงึ ถือเอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช กุมฺโม อุทกโต นกิ ฺขมิตวฺ า กายํ โอตาเปติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน นสิ ชฺชฏ ฺ านสยนจงฺกมโต มานสํ นหี ริตวฺ า สมมฺ ปฺปธาเน
มานสํ โอตาเปตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช กมุ มฺ สสฺ ตติย ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี กี องคห์ นง่ึ ธรรมดาว่าเตา่ ย่อมออกจากน�ำ้ มาผ่ึงแดด ฉนั ใด
พระโยคาวจรผูเ้ จรญิ ความเพยี ร กพ็ งึ ถอนจติ ออกจากการน่ัง การยนื การนอน และการจงกรม
แล้ว กพ็ งึ ผ่งึ จติ ใหร้ อ้ น ในสัมมปั ปธาน ฉนั นน้ั เหมือนกนั นค้ี อื องค์ท่ี ๓ แหง่ เตา่ ทีพ่ ึงถอื เอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช กุมฺโม ปถวึ ขณติ วฺ า ววิ ติ ฺเต วาสํ กปฺเปต,ิ เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ลาภสกกฺ ารสิโลกํ ปชหิตฺวา สุ ฺ ํ ววิ ติ ตฺ ํ กานนํ วนปตฺถ ํ
ปพพฺ ตํ กนทฺ รํ คิรคิ ุหํ อปปฺ สทฺท ํ อปปฺ นคิ โฺ ฆส ํ ปวิวติ ฺตโมคาหติ ฺวา วิวิตเฺ ตเยว วาส ํ
อุปคนฺตพพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช กมุ มฺ สสฺ จตุตถฺ ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องคห์ น่งึ เตา่ ยอ่ มขดุ พื้นดิน ส�ำเรจ็ การอยใู่ นหลมุ ท่ีสงัด ฉนั ใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพยี ร ละความตดิ ใจในลาภ สกั การะ กพ็ ึงหยง่ั ลกึ ลง

กณั ฑ์] ๖.๑ คทั รภวรรค 363

สสู่ ถานทีส่ งัดเงยี บ คือ แมกไม้ ป่าไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ�้ำตามภเู ขาอันวา่ ง อันสงัด มเี สียงน้อย
ปราศจากเสียงอึกทกึ ส�ำเรจ็ การอยู่แตใ่ นทส่ี งัดเท่าน้ัน ฉนั น้ันเหมอื นกนั น้ีคือองคท์ ่ี ๔ แห่ง
เต่า ทพ่ี งึ ถอื เอา

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน อปุ เสเนน วงฺคนตฺ ปุตฺเตน –
‘‘ววิ ิตฺตํ อปฺปนคิ ฺโฆส ํ วาฬมิคนิเสวิตํ
เสเว เสนาสน ํ ภิกฺข ุ ปฏสิ ลลฺ านการณา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระอปุ เสนวงั คนั ตบตุ รเถระไดภ้ าษติ ความขอ้ นไ้ี วว้ า่
“ภิกษพุ ึงอยูเ่ สนาสนะอันสงดั ปราศจากเสียงออ้ื องึ ทส่ี ัตว์รา้ ย
อาศยั อยู่ เพราะการหลีกเรน้ เป็นเหต”ุ

‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช กุมฺโม จารกิ ํ จรมาโน ยทิ ก จฺ ิ ปสฺสต ิ วา, สททฺ ํ สุณาต ิ
วา, โสณฺฑปิ จฺ มาน ิ องคฺ าน ิ สเก กปาเล นิทหติ ฺวา อปโฺ ปสฺสกุ ฺโก ตณุ หฺ ีภโู ต ตฏิ ฺ ติ
กายมนรุ กขฺ นโฺ ต, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน สพพฺ ตฺถ รปู สททฺ คนธฺ รส-
โผฏฺ พพฺ ธมฺเมส ุ อาปตนเฺ ตส ุ ฉส ุ ทวฺ าเรส ุ สํวรกวาฏํ อนุคฺฆาเฏตวฺ า มานสํ สโมทหิตฺวา
สํวรํ กตฺวา สเตน สมฺปชาเนน วหิ าตพพฺ ํ สมณธมมฺ ํ อนุรกขฺ มาเนน ฯ อิท ํ มหาราช
กุมฺมสฺส ป ฺจม ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องค์หนึ่ง ธรรมดาวา่ เตา่ เมอ่ื เท่ียวจาริกไปพบเห็นอะไร ๆ
เขา้ กด็ ี ได้ยนิ เสยี งกด็ ี กจ็ ะปิดซอ่ นอวยั วะทั้งหลาย มีคอเปน็ ที่ ๕ ไว้ในกระดองของตน แล้ว
หยดุ เฉยอยู่ ไม่ขวนขวาย ไดแ้ ตร่ กั ษาตวั อยู่ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญ
เพยี ร เมอ่ื มอี ารมณท์ ้ังปวง คอื รูป เสียง กลนิ่ รส โผฏฐพั พะ และธรรมมาปรากฏ กย็ อ่ มปิด
ประตู คือ ความส�ำรวม ปดิ ซอ่ นจติ ไว้ ท�ำความส�ำรวมได้แล้ว กไ็ ดแ้ ตเ่ ปน็ ผูม้ ีสติ มีสมั ปชัญญะ
คอยรกั ษาสมณธรรมอยู่ ฉนั นนั้ เหมือนกัน นีค้ อื องคท์ ่ี ๕ แห่งเตา่ ทพ่ี ึงถือเอา

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สํยตุ ฺตนิกายวเร กุมมฺ ปู มสุตฺตนเฺ ต –
‘‘กุมฺโมว องคฺ านิ สเก กปาเล
สโมทหํ ภกิ ขฺ ุ มโนวติ กเฺ ก
อนสิ ฺสโิ ต อ ฺ มเห ยาโน
ปรินิพพฺ โุ ตนูปวเทยยฺ ก จฺ ’ี ’ติ ฯ

364 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปมั มกถาปญั ห

ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงเป็นเทพยง่ิ กวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษติ ความ
ข้อนไ้ี ว้ในกมุ มูปมสูตร ในสังยุตตนกิ ายอันประเสรฐิ วา่

“ภกิ ษผุ ้มู ีใจตั้งม่ันในมโนวติ ก ไมม่ ตี ณั หาและทิฏฐิไม่อาศยั
ไมเ่ บียดเบียนผูอ้ ืน่ ดบั กเิ ลสแลว้ ไมว่ า่ ร้ายใคร ๆ เหมอื นเต่า
หดหัวและขาไวใ้ นกระดองของตน ฉะน้นั ”

กมุ ฺมงคฺ ปญฺโห ฉฏโฺ € ฯ
จบกมุ มังคปญั หาข้อที่ ๖

________

๗. วสํ งคฺ ปญฺห
๗. วงั สังคปญั หา
ปัญหาว่าด้วยองค์แห่งไมไ้ ผ่
[๗] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘วสํ สสฺ เอก ํ องฺคํ คเหตพพฺ นฺ’ติ ยํ วเทส,ิ กตมํ ต ํ เอกํ องฺค ํ
คเหตพพฺ นฺ”ติ ?
[๗] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านกล่าวว่า ‘พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่
ไม้ไผ่’ องค์ ๑ ท่ีพงึ ถือเอานน้ั เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช วํโส ยตถฺ วาโต, ตตถฺ อนุโลเมติ, นา ฺ ตฺถมนธุ าวติ, เอวเมว
โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน ย ํ พุทเฺ ธน ภควตา ภาสติ ํ นวงฺคํ สตถฺ ุ สาสนํ, ต ํ
อนุโลมยิตฺวา กปฺปิเย อนวชฺเช ตฺวา สมณธมฺมํเยว ปรเิ ยสติ พฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช วสํ สสฺ
เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ไมไ้ ผย่ ่อมอ่อนโอนตามกัน
ไป ในสถานทีท่ ่มี ีลม ไมแ่ ล่นตามกนั ไป ในทีท่ ี่เปน็ อย่างอนื่ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคา-
วจร กพ็ ึงคล้อยตามพระนวังคสัตถุศาสน์ (ค�ำสอนมอี งค์ ๙) ทีพ่ ระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงภาษติ ไว้
ตั้งอยใู่ นสิง่ ท่เี ปน็ กปั ปยิ ะ ไม่มีโทษ แสวงหาเฉพาะสมณธรรมเทา่ นนั้ ฉันน้ันเหมอื นกนั น้คี ือ
องค์ ๑ แห่งไมไ้ ผ่ ทพ่ี งึ ถอื เอา

กณั ฑ์] ๖.๑ คัทรภวรรค 365

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช เถเรน ราหเุ ลน –
‘‘นวงฺค ํ พุทธฺ วจนํ อนุโลเมตวฺ าน สพพฺ ทา
กปปฺ ิเย อนวชฺชสมฺ ึ ตฺวาปายํ สมุตฺตริน”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระราหลุ เถระไดภ้ าษติ ความขอ้ น้ไี วว้ ่า
“พระโยคาวจรภกิ ษุ อนุโลมตามพระพทุ ธพจน์ อันมีองค์ ๙ ตง้ั
อยู่ในสง่ิ ทเ่ี ป็นกัปปิยะ หาโทษมไิ ด้แล้ว กจ็ ะเป็นผูถ้ งึ ธรรมท่ยี ิง่
ขึ้นไปไดโ้ ดยชอบ”

วสํ งฺคปญโฺ ห สตตฺ โม ฯ

จบวังสังคปญั หาข้อที่ ๗

________

๘. จาปงคฺ ปญหฺ
๘. จาปังคปัญหา
ปญั หาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ ธนู
[๘] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘จาปสฺส เอก ํ องฺคํ คเหตพฺพน’ฺ ต ิ ยํ วเทสิ, กตมํ ต ํ เอก ํ
องคฺ ํ คเหตพพฺ นฺ”ติ ?
[๘] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกล่าววา่ ‘พงึ ถอื เอา องค์ ๑ แหง่
ธนู’ องค์ ๑ ท่พี งึ ถอื เอานนั้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช จาโป สตุ จฉฺ ิโต นมิโต ยาวคฺคมลู ํ สมกเมว อนุนมต ิ
นปฺปฏิตถฺ มภฺ ต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน เถรนวมชฺฌิมสมเกสุ
อนุนมติ พฺพํ นปฺปฏิผรติ พพฺ ํ ฯ อิท ํ มหาราช จาปสสฺ เอก ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ธนูที่เขาถากดแี ลว้ น้อมดัด
เข้าหากนั แลว้ กโ็ ค้งงอเรียบสม่�ำเสมอกนั ไป ไมส่ ะดุด ต้ังแต่ปลายถงึ โคน ฉันใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร กพ็ งึ นอบน้อมในภิกษผุ ู้เป็นเถระ ภิกษผุ ูเ้ ปน็ พระใหมแ่ ละ
ภิกษุผเู้ ปน็ พระรุน่ กลาง สมำ่� เสมอกัน ฉันน้ันเหมือนกนั นค้ี อื องค์ ๑ แห่งธนู ที่พงึ ถือเอา

366 มลิ นิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน วธิ รุ [ปณุ ณฺ ก]ชาตเก –
‘‘จาโปวูนทุ โร ธีโร วํโสวาปิ ปกมฺปเย
ปฏโิ ลม ํ น วตฺเตยยฺ ส ราชวสต ึ วเส’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงเปน็ เทพยงิ่ กวา่ เหลา่ เทพ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นไี้ ว้ใน วธิ รุ (ปุณณก) ชาดกวา่
“ราชเสวกผู้เป็นปราชญ์พึงโอบอ่อนเหมือนคันธนูและพึง
โอนเอนไปตามเหมือนไมไ้ ผ่ ไมค่ วรทลู ทัดทาน ราชเสวกนั้น
พงึ อยู่ในราชส�ำนักได”้

จาปงคฺ ปญฺโห อฏ€ฺ โม ฯ

จบจาปังคปัญหาข้อที่ ๘

________

๙. วายสงฺคปญหฺ
๙. วายสังคปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ กา
[๙] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘วายสสฺส เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพพฺ าน’ี ติ ย ํ วเทสิ, กตมานิ
ตาน ิ เทวฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๙] พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๒ แหง่
กา’ องค์ ๒ ทีพ่ ึงถอื เอานน้ั เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช วายโส อาสงฺกิตปรสิ งกฺ ิโต ยตุ ตฺ ปฺปยุตฺโต จรต,ิ เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อาสงฺกติ ปริสงฺกเิ ตน ยุตฺตปยุตฺเตน อุปฏฺ ิตาย สตยิ า
สํวเุ ตห ิ อนิ ฺทรฺ เิ ยหิ จริตพฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช วายสสฺส ป มํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร กา เอาแตส่ งสยั ระแวงภยั
พากเพยี รขวนขวายเทย่ี วไปอยู่ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร ก็พึงเปน็
ผเู้ อาแตส่ งสยั ระแวงภยั พากเพียรขวนขวาย มสี ติตง้ั ม่นั ส�ำรวมอินทรยี ท์ ั้งหลาย เท่ียวไป
ฉันน้นั เหมือนกัน น้คี ือองค์ที่ ๑ แห่งกา ท่พี ึงถือเอา

กัณฑ]์ ๖.๑ คทั รภวรรค 367

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช วายโส ย ํ กิ จฺ ิ โภชน ํ ทสิ วฺ า าตหี ิ สวํ ภิ ชิตวฺ า ภุ ชฺ ต,ิ
เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน เย เต ลาภา ธมมฺ ิกา ธมมฺ ลทฺธา อนตฺ มโส
ปตตฺ ปรยิ าปนฺนมตตฺ มฺป,ิ ตถารเู ปหิ ลาเภห ิ ปฏวิ ิภตฺตโภคินา ภวิตพฺพํ สีลวนฺเตหิ
สพรฺ หมฺ จารีหิ ฯ อิท ํ มหาราช วายสสฺส ทตุ ิยํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองค์ ๑ ธรรมดาว่า กา พบของกินอะไร ๆ แล้ว กแ็ บ่งกนั กนิ กับ
พวกญาติ ฉนั ใด ขอถวายพระพร ลาภท่เี กดิ โดยธรรม ไดม้ าโดยธรรม โดยท่ีสดุ แมเ้ พยี ง
ของกนิ ทเ่ี น่อื งอยู่ในบาตรเหล่านัน้ ใด ลาภเห็นปานน้นั เหลา่ นั้น พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร
พงึ แบง่ กนั ฉันกับเพ่อื นพรหมจรรย์ ผู้มศี ีลทง้ั หลาย ฉนั นน้ั เหมือนกัน นีค้ ือองคท์ ่ี ๒ แหง่ กา
ที่พงึ ถือเอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช เถเรน สารปิ ตุ ฺเตน ธมฺมเสนาปตินา –
‘‘สเจ เม อปุ นาเมนฺต ิ ยถาลทธฺ ํ ตปสสฺ ิโน
สพเฺ พ สํวิภชติ ฺวาน ตโต ภุ ชฺ าม ิ โภชนนฺ”ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระธรรมเสนาบดสี ารีบุตรเถระ ได้ภาษติ ความขอ้ นไ้ี วว้ ่า
“ถ้าหาก พวกคนทัง้ หลาย น้อมเอาโภชนะตามทไ่ี ดม้ าเข้าไป
ใหเ้ รา เราก็จะแบ่งให้ภกิ ษุผู้มีตบะทั่วทกุ รปู แล้วจึงจะบริโภค
อาหาร หลังจากน้นั ” ดังน้ี

วายสงฺคปญฺโห นวโม ฯ

จบวายสังคปัญหาข้อท่ี ๙

________

๑๐. มกกฺ ฏงฺคปญฺห
๑๐. มกั กฏงั คปญั หา
ปัญหาวา่ ด้วยองคแ์ ห่งวานร
[๑๐] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘มกฺกฏสสฺ เทวฺ องฺคาน ิ คเหตพฺพานี’ต ิ ย ํ วเทสิ, กตมาน ิ
ตาน ิ เทวฺ องคฺ านิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๑๐] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พึงถือเอาองค์ ๒ แหง่
วานร’ องค์ ๒ ทพ่ี งึ ถือเอานั้น เป็นไฉน ?”

368 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

‘‘ยถา มหาราช มกกฺ โฏ วาสมปุ คจฺฉนโฺ ต ตถารเู ป โอกาเส มหตมิ หารกุ เฺ ข
ปววิ ติ ฺเต สพฺพฏฺ กสาเข ภรี ตุ ฺตาเณ วาสมุปคจฉฺ ต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน ลชฺชึ เปสล ํ สลี วนตฺ ํ กลฺยาณธมมฺ ํ พหุสสฺ ตุ ํ ธมฺมธร ํ วนิ ยธร ํ ปิยํ ครภุ าวนีย ํ
วตฺตาร ํ วจนกขฺ ม ํ โอวาทกํ ว ิ ฺ าปกํ สนฺทสฺสก ํ สมาทปกํ สมุตเฺ ตชกํ สมฺปหสํ กํ เอวรูปํ
กลยฺ าณมิตฺตํ อาจรยิ ํ นสิ สฺ าย วิหรติ พฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช มกกฺ ฏสฺส ป ม ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร วานร เมื่อจะเลอื กอย่อู าศยั
ก็ย่อมเลือกอยู่อาศยั ในโอกาสเหน็ ปานน้ี คอื ตน้ ไม้ต้นใหญ่ ๆ ที่สงัด อันพรั่งพร้อมด้วยกิ่งกา้ น
สาขา เปน็ ทีป่ อ้ งกนั ภยั ได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพียร กพ็ งึ เลอื กอยู่
อาศยั อาจารยผ์ ้เู ปน็ กลั ยาณมิตร เหน็ ปานนี้ คอื เปน็ ลัชชี รกั ษาศีล มีศลี มีกัลยาณธรรม เปน็
พหุสูต ทรงธรรม ทรงวินัย น่ารกั นา่ เคารพ น่ายกยอ่ ง เปน็ ผู้รู้จกั วา่ กลา่ ว อดทนต่อการว่า
กลา่ ว เป็นผ้โู อวาท ผู้บอกให้รู้ ผู้ช้คี ณุ และโทษ ผู้ชกั ชวน กระตุ้นให้อาจหาญ ใหบ้ ันเทิง ฉนั นั้น
เหมือนกนั นคี้ อื องคท์ ี่ ๑ แหง่ วานร ท่พี งึ ถือเอา

‘‘ปุน จปรํ มหาราช มกกฺ โฏ รกุ ฺเขเยว จรติ ติฏฺ ต ิ นสิ ีทต,ิ ยทิ นิทฺทํ
โอกกฺ มติ, ตตเฺ ถว รตตฺ ึ วาสมนภุ วติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน
ปวนาภมิ ุเขน ภวิตพพฺ ํ, ปวเน เยว านจงกฺ มนสิ ชชฺ าสยนํ นิททฺ ํ โอกกฺ มิตพพฺ ํ, ตตเฺ ถว
สตปิ ฏฺ านมนภุ วติ พพฺ ํ ฯ อิทํ มหาราช มกฺกฏสฺส ทุติย ํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หน่ึง ธรรมดาว่าวานร จะเทย่ี วไป จะยืน จะน่งั แมห้ ากวา่
จะกา้ วลงสู่ความหลบั ก็บนต้นไม้ทั้งน้ันแหละ ยอ่ มอยอู่ าศัยไปตลอดทัง้ คนื บนต้นไมน้ ้นั
เท่านั้น ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพญ็ เพียร ก็พงึ เปน็ ผบู้ า่ ยหน้าสู่ปา่ พงึ ยนื
เดิน น่งั นอน ก้าวลงสู่ความหลบั อยู่แต่ในป่าเทา่ น้นั พงึ ได้(การเจริญ)สตปิ ฏั ฐานในปา่ นนั้
เทา่ นน้ั ฉันน้ันเหมือนกนั นีค้ อื องคท์ ี่ ๒ แหง่ วานร ท่พี งึ ถอื เอา

ภาสิตมฺเปตํ มหาราช เถเรน สาริปตุ เฺ ตน ธมมฺ เสนาปตนิ า –
‘‘จงฺกมนฺโตป ิ ติฏฺ นโฺ ต นสิ ชชฺ าสยเนน วา
ปวเน โสภเต ภกิ ฺขุ ปวนนฺตวํ วณณฺ ติ นฺ’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระธรรมเสนาบดสี ารบี ุตรเถระ ไดภ้ าษิตความข้อนีไ้ วว้ ่า
“ภกิ ษุ เดนิ อยู่ก็ดี ยืนอยกู่ ด็ ี ทง้ั การนัง่ และการนอนก็ดี ในป่า
ย่อมงาม ปา่ น่ันแหละ พระอริยะทัง้ หลาย สรรเสรญิ แล้ว”

กณั ฑ์] ๖.๒ สมทุ ทวรรค 369

มกกฺ ฏงฺคปญโฺ ห ทสโม ฯ
จบมักกฏังคปัญหาข้อท่ี ๑๐

คทฺรภวคฺโค ป€โม ฯ
จบคทั รภวรรคท่ี ๑

ตสฺสุทฺทานํ – กลนฺโท ทีปิน ิ ทปี ิโก
คทรฺ โภ เจว กุกฺกุโฏ
กุมโฺ ม วํโส จ จาโป จ วายโส อถ มกกฺ โฏติ ฯ
รวมพระสตู รทีม่ ีในวรรคนี้คือ
๑. คัทรภสูตร ๒. กกุ กุฏสตู ร
๓. กลนั ทสูตร ๔. ทปี ินีสตู ร
๕. ทปี กิ สตู ร ๖. กมุ มสูตร
๗. วังสสูตร ๘. จาปสตู ร
๙. วายสสูตร ๑๐. มกั กฏสูตร
_________

๖.๒ สมุทฺทวคฺค
๖.๒ สมทุ ทวรรค หมวดวา่ ด้วยมหาสมุทร

๑. ลาพุลตงคฺ ปญหฺ
๑. ลาพลุ ตังคปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยองคแ์ หง่ เถาน�้ำเต้า
[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘ลาพุลตาย เอกํ องคฺ ํ คเหตพฺพน’ฺ ติ ยํ วเทสิ, กตมํ ต ํ เอกํ
องฺคํ คเหตพพฺ นฺ”ติ ?
[๑] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แหง่
เถาน้ำ� เตา้ ’ องค์ ๑ ท่พี งึ ถือเอาน้นั เป็นไฉน ?”

370 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

‘‘ยถา มหาราช ลาพุลตา ติเณ วา กฏเฺ วา ลตาย วา โสณฑฺ กิ าหิ อาลมฺพิตฺวา
ตสสฺ ปู ริ วฑฒฺ ติ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อรหตเฺ ต อภิวฑฒฺ ิตกุ าเมน
มนสา อารมมฺ ณํ อาลมฺพติ ฺวา อรหตฺเต อภิวฑฒฺ ิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช ลาพุลตาย เอก ํ
องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เปรยี บเหมือนวา่ เถาน�ำ้ เตา้
เลือ้ ยผ่านไปบนกอหญา้ ก็ดี บนไม้แห้งก็ดี บนเถาวลั ยก์ ็ดี ก็ยอ่ มใชส้ ายงวงทัง้ หลายยึดเหนีย่ ว
ไวเ้ ลอ้ื ยข้ึนไปเจริญงอกงามอยูบ่ นสง่ิ น้นั ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร
ผ้ตู อ้ งการเจรญิ ยิ่งในความเปน็ พระอรหันต์ ยึดเหน่ียวอารมณด์ ว้ ยใจ พึงเจรญิ ยงิ่ ในความเป็น
พระอรหนั ต์ นคี้ ือองค์ ๑ แหง่ เถานำ้� เต้าท่ีพึงถอื เอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช เถเรน สารปิ ตุ เฺ ตน ธมฺมเสนาปตินา –
‘‘ยถา ลาพุลตา นาม ติเณ กฏเฺ ลตาย วา
อาลมฺพติ ฺวา โสณฺฑิกาห ิ ตโต วฑฺฒต ิ อปุ ปฺ ริ ฯ
ตเถว พทุ ธฺ ปตุ เฺ ตน อรหตฺตผลกามินา
อารมมฺ ณ ํ อาลมฺพิตฺวา วฑฺฒิตพฺพํ อเสกขฺ ผเล’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระธรรมเสนาบดีสารบี ตุ รเถระ ไดภ้ าษติ ความข้อนี้ไว้วา่
“เปรียบเหมือนวา่ เถาน้ำ� เตา้ ใช้สายงวงทัง้ หลาย ยดึ เหนี่ยว
เอากอหญ้าบา้ ง ไมแ้ ห้งบ้าง เถาวัลย์บ้าง แล้วข้ึนไปเจรญิ อยู่
เหนือสง่ิ เหล่านั้น ฉนั ใด พระโยคาวจรผูเ้ ปน็ พุทธบตุ รผู้ต้องการ
อรหตั ตผล พงึ ยดึ เหน่ยี วอารมณ์ แลว้ เจริญอยใู่ นอเสกขผล
(อรหตั ผล) ฉันนนั้ เหมอื นกนั ”

ลาพลุ ตงคฺ ปญฺโห ป€โม ฯ

จบลาพตุ ังคปญั หาขอ้ ที่ ๑

________

กัณฑ์] ๖.๒ สมุททวรรค 371

๒. ปทุมงคฺ ปญหฺ
๒. ปทุมังคปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยองค์แห่งบัวหลวง
[๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘ปทมุ สสฺ ตณี ิ องฺคานิ คเหตพพฺ านี’ติ ยํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตานิ ตณี ิ องคฺ านิ คเหตพฺพานี’’ติ ?
[๒] พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ท่านกล่ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๓ แห่งบวั
หลวง’ องค์ ๓ ที่พึงถือเอานั้น เป็นไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช ปทมุ ํ อทุ เก ชาตํ อทุ เก สวํ ทธฺ ํ อนุปลติ ฺต ํ อุทเกน, เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน กเุ ล คเณ ลาเภ ยเส สกฺกาเร สมฺมานนาย ปริโภคปจจฺ เยสุ
จ สพฺพตฺถ อนุปลิตฺเตน ภวิตพฺพํ ฯ อิทํ มหาราช ปทมุ สสฺ ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร บัวหลวงเกดิ ในนำ�้ เจริญอยู่
ในนำ�้ น�้ำท่ไี มฉ่ าบติด ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร เจรญิ อยูใ่ นสกุล ใน
คณะ ในลาภ ในยศ ในสกั การะ ในความนบั ถือ ในปัจจัยเคร่อื งใชส้ อยทง้ั หลาย พงึ เปน็ ผู้อนั สิง่
เหลา่ น้ันไม่ฉาบติดในอารมณท์ ั้งปวง ฉนั นัน้ เหมอื นกัน น้ีคอื องค์ที่ ๑ แห่งบัวหลวงที่พึงถือเอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช ปทมุ ํ อทุ กา อจฺจคุ ฺคมมฺ าติ ฯ เอวเมว โข มหาราช
โยคนิ า โยคาวจเรน สพพฺ โลกํ อภภิ วติ วฺ า อจจฺ ุคฺคมฺม โลกุตฺตรธมฺเม าตพฺพํ ฯ อิท ํ
มหาราชปทุมสสฺ ทตุ ยิ ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องคห์ นึง่ บัวหลวง ยอ่ มโผลข่ น้ึ มาจากน้ำ� ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร กพ็ ึงครอบง�ำโลกทั้งปวง แล้วโผล่ขนึ้ มาด�ำรงอย่ใู น
โลกุตรธรรม ฉันน้ันเหมอื นกัน นี้คือองค์ที่ ๒ แห่งบวั หลวง ทีพ่ งึ ถือเอา
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช ปทมุ ํ อปฺปมตตฺ เกนป ิ อนเิ ลน เอรติ ํ จลติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน อปฺปมตฺตเกสปุ ิ กิเลเสสุ สยํ โม กรณโี ย, ภยทสสฺ าวินา
วหิ ริตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช ปทมุ สฺส ตติย ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองค์หนึ่ง ธรรมดาวา่ บวั หลวง ยอ่ มโอนเอนไหวไปมา เพราะ
น�ำ้ แม้เพยี งเลก็ นอ้ ย ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร พึงหวั่นไหวในกิเลส
ทัง้ หลายแม้เพียงเล็กน้อยกระท�ำการปอ้ งกัน พึงเปน็ ผู้มปี กตเิ ล็งเหน็ วา่ เปน็ ภยั อยู่ ฉันนนั้

372 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

เหมือนกัน นี้คอื องค์ท่ี ๓ แหง่ บัวหลวง ที่พงึ ถือเอา

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน ‘อณุมตฺเตส ุ วชฺเชส ุ ภยทสฺสาวี
สมาทาย สกิ ขฺ ติ สิกฺขาปเทส’ู ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ผูท้ รงเปน็ เทพยิ่งกวา่ เหล่าเทพ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ นี้ไวว้ ่า ‘ผเู้ ห็นภัยในโทษแม้เพียงเล็กนอ้ ยสมาทานศึกษาอยู่ในสกิ ขาบท’

ปทุมงคฺ ปญโฺ ห ทุตโิ ย ฯ
จบปทุมังคปญั หาข้อท่ี ๒

________

๓. พีชงคฺ ปญหฺ
๓. พีชังคปัญหา
ปัญหาว่าด้วยองคแ์ หง่ พชื
[๓] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘พชี สสฺ เทฺว องฺคานิ คเหตพพฺ านี’ติ ย ํ วเทส,ิ กตมาน ิ
ตานิ เทวฺ องคฺ าน ิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๓] พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ท่านกลา่ วว่า ‘พงึ ถือเอาองค์ ๒ แห่ง
พชื ’ องค์ ๒ ทพ่ี ึงถอื เอาน้นั เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช พีชํ อปปฺ กมฺปิ สมานํ ภททฺ เก เขตฺเต วุตตฺ ํ เทเว สมมฺ า ธาร ํ
ปเวจฉฺ นฺเต สุพหนู ิ ผลาน ิ อนทุ สสฺ ติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ยถา
ปฏิปาทติ ํ สลี ํ เกวล ํ สาม ฺ ผลมนุทสฺสติ ฯ เอว ํ สมฺมา ปฏปิ ชฺชิตพฺพํ ฯ อทิ ํ มหาราช
พีชสฺส ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พชื แม้เพยี งเลก็ นอ้ ย ทเี่ ขา
หว่านไว้ในนาดี แต่เม่อื ฝนโปรยสายธารลงมาดว้ ยดี กจ็ ักมอบผลใหม้ ากมาย ฉันใด ขอถวาย
พระพร ศีลท่พี ระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ท�ำใหด้ �ำเนนิ ไปตามล�ำดับ กจ็ ะคอยมอบสามัญญผล
ทงั้ ส้นิ ให้ ฉนั นน้ั เหมือนกนั เมื่อเปน็ เช่นนี้ ก็พงึ ปฏิบัติโดยชอบเถิด นค้ี ือองค์ที่ ๑ แหง่ พชื ที่พึง
ถือเอา

กัณฑ์] ๖.๒ สมทุ ทวรรค 373

‘‘ปุน จปรํ มหาราช พีชํ สุปริโสธิเต เขตฺเต โรปติ ํ ขปิ ปฺ เมว สวํ ริ หู ต,ิ เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน มานส ํ สุปริคคฺ หติ ํ ส ุ ฺ าคาเร ปรโิ สธิต ํ สติปฏ ฺ านเขตฺตวเร
ขิตตฺ ํ ขปิ ปฺ เมว วริ หู ติ ฯ อทิ ํ มหาราช พชี สสฺ ทุตยิ ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองค์หน่งึ ธรรมดาวา่ พชื ถูกเพาะไวใ้ นไรน่ าทช่ี �ำระดแี ล้ว ก็
ย่อมงอกขึ้นไดเ้ ร็วพลนั ทีเดียว ฉันใด ขอถวายพระพร จิตทีพ่ ระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพยี ร
ประคบั ประคองไว้ดีแลว้ อย่ใู นเรอื นว่าง ช�ำระดีแล้ว วางไวแ้ ลว้ ในไรน่ าคือสตปิ ัฏฐานอนั
ประเสริฐ ยอ่ มงอกงามได้เรว็ พลัน ฉันน้ันเหมอื นกัน นี้คอื องคท์ ่ี ๒ แห่งพชื ท่พี งึ ถอื เอา

ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช เถเรน อนุรทุ ฺเธน –
‘‘ยถาปิ เขตฺเต ปริสทุ ฺเธ พชี จฺ สฺส ปตฏิ ฺ ิตํ
วปิ ุล ํ ตสฺส ผล ํ โหต ิ อปิ โตเสติ กสสฺ กํ ฯ
ตเถว โยคิโน จิตฺตํ ส ุ ฺ าคาเร วิโสธิตํ
สติปฏฺ านเขตฺตมฺห ิ ขิปปฺ เมว วิรูหตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระอนรุ ุทธเถระ ไดภ้ าษติ ความขอ้ นไี้ วว้ ่า
“เปรียบเหมอื นว่า พชื ทอี่ ย่ใู นไร่นาอันช�ำระแลว้ ยอ่ มมผี ล
ไพบูลย์ ทงั้ ท�ำชาวไรช่ าวนาให้ยินดี ฉนั ใด จติ ที่พระโยคีผ้อู ยู่
ในเรือนวา่ ง ช�ำระแล้ว ในไร่นาคอื สตปิ ฏั ฐาน ย่อมงอกงามได้
เรว็ พลนั ฉันน้นั เหมือนกัน”

พีชงฺคปญโฺ ห ตติโย ฯ

จบพชี ังคปัญหาข้อท่ี ๓

________

374 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปญั ห

๔. สาลกลยฺ าณิกงคฺ ปญหฺ

๔. สาลกัลยาณกิ งั คปัญหา

ปัญหาว่าดว้ ยองค์แห่งไมข้ านาง

[๔] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘สาลกลยฺ าณกิ าย เอก ํ องฺคํ คเหตพพฺ น’ฺ ติ ย ํ วเทสิ, กตมํ ตํ
เอกํ องคฺ ํ คเหตพพฺ นฺ”ติ ?
[๔] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสวา่ “พระเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พึงถือเอาองค์ ๑ แหง่ ไม้
ขานาง’ องค์ ๑ ท่ีพึงถือเอานัน้ เป็นไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช สาลกลฺยาณกิ า นาม อนโฺ ตปถวยิ ํเยว อภวิ ฑฒฺ ติ หตถฺ สตมปฺ ิ
ภิยฺโยป,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน จตฺตาริ สาม ฺ ผลาน ิ จตสโฺ ส
ปฏิสมฺภิทา ฉฬภิ ฺ าโย เกวล ฺจ สมณธมฺม ํ ส ุ ฺ าคาเรเยว ปริปรู ยิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช
สาลกลยฺ าณิกาย เอกํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ธรรมดาวา่ ไมข้ านาง เจริญ
เติบโตอยภู่ ายในพ้นื ดนิ งอกขน้ึ ไปได้ แมต้ ้งั ๑๐๐ ศอก ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผูบ้ �ำเพญ็ เพยี ร ก็พงึ ท�ำสามัญญผล ๔ ปฏิสมั ภทิ า ๔ อภญิ ญา ๖ และสมณธรรมทง้ั สิ้นให้
บรบิ ูรณ์ในเรือนว่าง ฉันนัน้ เหมอื นกนั นีค้ อื องค์ ๑ แห่งไมข้ านาง ที่พงึ ถอื เอา

ภาสิตมเฺ ปตํ มหาราช เถเรน ราหเุ ลน –
‘‘สาลกลยฺ าณิกา นาม ปาทโป ธรณรี ุโห
อนฺโตปถวยิ ํเยว สตหตโฺ ถป ิ วฑฒฺ ติ ฯ
‘‘ยถา กาลมหฺ ิ สมฺปตเฺ ต ปรปิ าเกน โส ทุโม
อคุ ฺค ฉฺ ิตฺวาน เอกาห ํ สตหตฺโถปิ วฑฒฺ ติ ฯ
‘‘เอวเมวาหํ มหาวรี สาลกลยฺ าณิกา วยิ
อพฺภนตฺ เร สุ ฺ าคาเร ธมฺมโต อภวิ ฑฺฒยนิ ”ฺ ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระราหุลเถระไดภ้ าษติ ความขอ้ น้ีไว้ว่า
“ธรรมดาว่า ไม้ขานางพงึ งอกอยู่บนธรณี ย่อมเจรญิ เตบิ โต
ตั้งแตพ่ ื้นดินนนั่ แหละ จน(สงู )ถงึ ๑๐๐ ศอก ตน้ ไมน้ ั้น เม่อื เวลา
มาถงึ เข้า มคี วามแกร่ อบ เพียงวนั เดยี วก็เติบโตโผลข่ ้นึ ไปได้

กณั ฑ]์ ๖.๒ สมทุ ทวรรค 375

ถงึ ๑๐๐ ศอก ฉันใด พระมหาวีระ ข้าพระองคก์ เ็ จรญิ ยง่ิ โดย
ธรรม อย่ภู ายในเรอื นวา่ ง ดุจไม้ขานาง ฉันน้ันเหมือนกัน
พระเจ้าขา้ ”

สาลกลยฺ าณกิ งคฺ ปญโฺ ห จตตุ ฺโถ ฯ
จบสาลกัลยาณิกังคปัญหาข้อที่ ๔

________

๕. นาวงฺคปญหฺ
๕. นาวงั คปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยองค์แห่งเรือ
[๕] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘นาวาย ตีณิ องฺคาน ิ คเหตพฺพาน’ี ติ ย ํ วเทสิ, กตมานิ
ตานิ ตณี ิ องฺคาน ิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๕] พระเจ้ามิลินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกล่าวว่า ‘พึงถอื เอาองค์ ๓ แหง่
เรอื ’ องค์ ๓ ท่ีพึงถือเอานั้น เป็นไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช นาวา พหุวธิ ทารสุ งฆฺ าฏสมวาเยน พหุมปฺ ิ ชนํ ตารยติ, เอวเมว
โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน อาจารสีลคุณวตฺตปปฺ ฏิวตฺตพหุวิธธมมฺ สงฺฆาฏสมวาเยน
สเทวโก โลโก ตารยิตพโฺ พ ฯ อิทํ มหาราช นาวาย ป มํ องฺค ํ คเหตพฺพํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เรอื มีแตเ่ ครือ่ งไมห้ ลายอยา่ ง
ต่าง ๆ ประกอบเขา้ ด้วยกัน ย่อมพาชนแมม้ ากใหข้ ้ามฝั่งได้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคา-
วจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร มีแตธ่ รรมหลายอย่าง มีอาจาระ ศีล คณุ วตั รปฏิบัตปิ ระสานกนั เข้า ก็จะพงึ
ขา้ มโลกพร้อมทั้งเทวโลกได้ ฉนั น้ันเหมือนกัน นคี้ ือ องคท์ ่ี ๑ แห่งเรือ ทพ่ี ึงถอื เอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช นาวา พหวุ ิธอมู ติ ฺถนิตเวควิสฏมาวฏฏฺ เวคํ สหติ, เอวเมว โข
มหาราช โยคินา โยคาวจเรน พหวุ ิธกเิ ลสอมู เิ วคํ ลาภสกฺการยสสโิ ลกปชู นวนทฺ นา
ปรกุเลสุ นนิ ฺทาปสสํ าสขุ ทุกฺขสมมฺ านนวมิ านนพหวุ ธิ โทสอูมิเวค จฺ สหติ พพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช
นาวาย ทุติย ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกองคห์ นงึ่ เรอื ยอ่ มทนสคู้ ล่ืนแรง กระแสน�้ำท่ีเชีย่ วกราก แรง
กระแสน�้ำวนหลายอยา่ งต่าง ๆ กันได้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพยี ร

376 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

กพ็ งึ ทนสแู้ รงคลื่น คอื กเิ ลสมากมายหลายอย่าง ลาภ สกั การะ ยศ ชื่อเสียง การบูชา การกราบ
ไหว้ และแรงคลนื่ คือโทษมากมายหลายอย่าง มีนนิ ทา สรรเสรญิ สุข ทุกข์ ความนับถือ ความ
ดูหมิ่น ในสกุลของผ้อู น่ื ท้ังหลาย ฉนั น้ันเหมือนกัน นค้ี ือองคท์ ี่ ๒ แห่งเรือ ท่ีพงึ ถอื เอา

‘‘ปุน จปร ํ มหาราช นาวา อปรมิ ิตมนนตฺ มปารมกโฺ ขภติ คมภฺ เี ร มหติมหาโฆเส
ติมิตมิ งิ ฺคลมกรมจฺฉคณากุเล มหตมิ หาสมทุ เฺ ท จรติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า
โยคาวจเรน ติปริวฏฏฺ ทวฺ าทสาการจตุสจฺจาภิสมยปปฺ ฏเิ วเธ มานส ํ ส ฺจารยิตพฺพํ ฯ อิท ํ
มหาราช นาวาย ตติย ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มอี ีกองคห์ นงึ่ ธรรมดาวา่ เรือ ยอ่ มแล่นไปในมหาสมุทรอันกว้าง
ขวาง อนั หาประมาณไม่ได้ ไมม่ ีทีส่ ้ินสุด และไม่เหน็ ฝ่ัง ใคร ๆ ไมอ่ าจท�ำให้ก�ำเรบิ ได้ ลกึ มแี ต่
เสียงคลื่นสง่ เสียงดงั ครนื ๆ พลุกพล่านไปดว้ ยปลาตมิ ิ ปลาตมิ ิงคละ มังกร ฝงู ปลาท่ัวไป ฉันใด
ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร กพ็ งึ ท�ำจติ ใหส้ ญั จรไปในการรู้ทะลุปรุโปร่งญาณ
ทต่ี รัสรสู้ ัจจะ ๔ อนั มปี ริวัฏ ๓ อาการ ๑๒ ฉันนนั้ เหมือนกนั นค้ี อื องคท์ ี่ ๓ แห่งเรือ ท่ีพึงถือเอา

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาตเิ ทเวน สํยตุ ตฺ นิกายวเร สจจฺ สํยตุ ฺเต –
‘‘วิตกเฺ กนฺตา จ โข ตมุ เฺ ห ภิกฺขเว ‘‘อทิ ํ ทกุ ขฺ นฺ”ติ วติ กเฺ กยยฺ าถ, ‘‘อยํ ทุกขฺ -
สมทุ โย’’ต ิ วติ กเฺ กยฺยาถ, ‘‘อยํ ทุกฺขนโิ รโธ’’ต ิ วิตกเฺ กยฺยาถ, ‘‘อย ํ ทุกฺขนโิ รธคามนิ ี
ปฏิปทา’’ติ วิตกเฺ กยยฺ าถา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพย่งิ กวา่ เหลา่ เทพ ทรงภาษติ ความ
ข้อนี้ไว้ ในสัจจสังยุต ในสงั ยตุ ตนกิ ายอันประเสริฐวา่
“ภกิ ษทุ งั้ หลาย เธอท้งั หลายเมอ่ื จะตรกึ พงึ ตรึกวา่ ‘น้ีทกุ ข์ นีท้ กุ ขสมุทยั นที้ กุ ขนิโรธ
นที้ กุ ขนโิ รธคามินปี ฏปิ ทา’

นาวงฺคปญโฺ ห ปญจฺ โม ฯ
จบนาวังคปัญหาข้อที่ ๕

________

กัณฑ์] ๖.๒ สมุททวรรค 377

๖. นาวาลคคฺ นกงคฺ ปญฺห
๖. นาวาลคั คนกงั คปัญหา
ปัญหาวา่ ด้วยองค์แหง่ เชือกโยงเรอื
[๖] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘นาวาลคฺคนกสสฺ เทฺว องคฺ าน ิ คเหตพฺพาน’ี ต ิ ย ํ วเทส,ิ
กตมาน ิ ตานิ เทฺว องคฺ านิ คเหตพพฺ าน’ี ’ติ ?
[๖] พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ พงึ ถือเอาองค์ ๒ แหง่
เชือกโยงเรอื (สมอเรอื ) องค์ ๒ ท่ีพึงถอื เอานนั้ เป็นไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช นาวาลคฺคนกํ พหอุ ูมชิ าลากุลวกิ โฺ ขภติ สลลิ ตเล มหติมหาสมุทฺเท
นาวํ ลคเฺ คต ิ เปติ, น เทติ ทสิ าวทิ ิส ํ หรติ ุํ, เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน
ราคโทสโมหมู ิชาเล มหตมิ หาวิตกกฺ สมปฺ หาเร จิตตฺ ํ ลคฺเคตพฺพ,ํ น ทาตพพฺ ํ ทิสาวิทสิ ํ
หรติ ํุ ฯ อิท ํ มหาราช นาวาลคคฺ นกสฺส ป มํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เชอื กโยงเรอื ยอ่ มรั้งเรือไว้
ท�ำใหต้ ิดอยู่ในมหาสมทุ รที่กวา้ งใหญ่ ซง่ึ มแี ตพ่ น้ื นำ�้ ท่ีก�ำเริบขน้ึ เพราะเกลยี วคลืน่ มากมาย
หลายระลอก ไมย่ อมให้เกลยี วระลอกคลืน่ น�ำไปสูท่ ิศใหญท่ ิศนอ้ ย ฉันใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจรผ้บู �ำเพ็ญเพยี ร ก็พึงร้งั จติ ไวใ้ นคราวประจวบกับมหาสมทุ ร คอื วิตกใหญ่ ๆ ท่มี ีแต่
ระลอกคล่นื คือ ราคะ โทสะ และโมหะ ไม่พึงยอมใหร้ าคะ เปน็ ตน้ น�ำไปสู่ทิศใหญ่ ทิศนอ้ ย
ฉันนนั้ เหมอื นกนั นี้ คอื องคท์ ่ี ๑ แหง่ เชือกโยงเรอื ทพ่ี ึงถอื เอา
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช นาวาลคฺคนกํ น ปลฺ วต ิ วสิ ีทต,ิ หตถฺ สเตป ิ อทุ เก นาวํ
ลคเฺ คต ิ านมปุ เนติ, เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน ลาภยสสกกฺ ารมานน-
วนทฺ นปชู นอปจติ ีส ุ ลาภคคฺ ยสคเฺ คปิ น ปลฺ วิตพฺพํ, สรรี ยาปนมตฺตเกเยว จติ ตฺ ํ เปตพพฺ ํ ฯ
อิทํ มหาราช นาวาลคคฺ นกสสฺ ทตุ ยิ ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห์ นึ่ง เชือกโยงเรอื (สมอเรอื ) ไม่ลอย เอาแตจ่ ม ร้ังเรือไว้
น�ำเข้าไปสกู่ ารจอดนงิ่ ในน�ำ้ แม้วา่ ลึกตงั้ ๑๐๐ ศอก ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร ก็ไม่พงึ ลอ่ งลอยไปในลาภ ยศ สักการะ ความนับถอื การกราบไหว้ การบูชา
ความนอบน้อม แมใ้ นลาภยศชน้ั ยอด พงึ จอดพกั จติ ไวใ้ นเหตุสักวา่ เปน็ เพียงปัจจัยเคร่ือง
อ�ำนวยสรรี ะให้ด�ำเนนิ ไปไดเ้ ทา่ นั้น ฉันนน้ั เหมอื นกนั น้ี คือ องคท์ ่ี ๒ แหง่ เชอื กโยงเรือท่ีพึงถอื

378 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๖.โอปมั มกถาปัญห

เอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช เถเรน สาริปตุ ฺเตน ธมฺมเสนาปตินา –
‘‘ยถา สมุทฺเท ลคฺคนก ํ น ปฺลวต ิ วิสีทติ
ตเถว ลาภสกฺกาเร มา ปลฺ วถ วิสีทถา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ท่านพระธรรมเสนาบดเี ถระ ไดภ้ าษิตความขอ้ น้ไี ว้วา่
“เชอื กโยงเรือ (สมอเรือ) ไม่ลอย จมอยใู่ นมหาสมุทร ฉันใด
ทา่ นท้ังหลาย ก็จงอย่าล่องลอยไปในลาภและสักการะ จงหยุด
น่ิง ฉนั นัน้ เหมอื นกันเถิด”

นาวาลคคฺ นกงคฺ ปญฺโห ฉฏโฺ € ฯ

จบนาวาลคั คนกังคปัญหาขอ้ ที่ ๖

________

๗. กูปงฺคปญฺห
๗. กปู ังคปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยองค์แห่งเสากระโดงเรอื
[๗] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘กูปสสฺ เอก ํ องฺค ํ คเหตพฺพน’ฺ ติ ยํ วเทส,ิ กตม ํ ต ํ เอกํ องคฺ ํ
คเหตพพฺ น”ฺ ติ ?
[๗] พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ท่านกลา่ ววา่ ‘พงึ ถอื เอาองค์ ๑ แห่ง
เสากระโดงเรือ’ องค์ ๑ ท่ีพงึ ถือเอานน้ั เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช กโู ป รชชฺ ุ ฺจ วรตฺต ฺจ ลงกฺ าร จฺ ธาเรต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน สติสมปฺ ช ฺ สมนนฺ าคเตน ภวติ พฺพ,ํ อภิกฺกนเฺ ต ปฏกิ ฺกนเฺ ต อาโลกิเต
วโิ ลกเิ ต สมิ ชฺ ิเต ปสาริเต สงฆฺ าฏิปตตฺ จีวรธารเณ อสเิ ต ปีเต ขายิเต สายเิ ต อจุ จฺ าร-
ปสฺสาวกมเฺ ม คเต เิ ต นิสนิ ฺเน สุตฺเต ชาครเิ ต ภาสิเต ตณุ ฺหภี าเว สมปฺ ชานการินา
ภวิตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช กปู สฺส เอกํ องฺคํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร เสากระโดงเรือ ทรงเชอื ก
โยงใบเรอื สายหนังรดั ใบเรือ และใบเรอื ไว้ ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญ
เพียร ก็พงึ เปน็ ผูป้ ระกอบด้วยสติและสัมปชญั ญะ พงึ เป็นผ้มู ีปกติท�ำความร้สู ึกตัวในการกา้ ว

กณั ฑ]์ ๖.๒ สมทุ ทวรรค 379

ไป ในการกา้ วกลับ ในการแลดู ในการเหลียวดู ในการคู้ ในการเหยยี ด ในการทรงผ้าสงั ฆาฏิ
บาตรและจีวร ในการกิน ในการดมื่ ในการเคยี้ ว ในการลิ้ม ในการถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ใน
การเดนิ ในการยืน ในการน่งั ในการหลับ ในการต่นื ในการพดู ในการน่งิ เฉย ฉันนัน้ เหมือน
กัน นี้คอื องค์ ๑ แห่งเสากระโดงเรอื ที่พึงถอื เอา
ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน ‘สโต ภกิ ขฺ เว ภิกฺขุ วหิ เรยฺย
สมปฺ ชาโน, อย ํ โว อมฺหาก ํ อนุสาสนี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ผทู้ รงเปน็ เทพยงิ่ กว่าเหลา่ เทพ ได้ทรงภาษิต
ความข้อนไ้ี ว้วา่ ‘ภกิ ษทุ ้ังหลาย ภิกษพุ งึ มสี ติสัมปชัญญะอยู่เถดิ นเ้ี ป็นค�ำพร�ำ่ สอนของเรา
ส�ำหรบั เธอทั้งหลาย’

กูปงคฺ ปญฺโห สตตฺ โม ฯ
กูปังคปญั หาข้อที่ ๗
________

๘. นยิ ามกงฺคปญหฺ
๘. นยิ ามกงั คปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ นายทา้ ยเรือ
[๘] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ‘นยิ ามกสสฺ ตีณิ องฺคาน ิ คเหตพฺพาน’ี ติ ยํ วเทสิ, กตมานิ
ตาน ิ ตณี ิ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๘] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ วว่า ‘พึงถือเอาองค์ ๓ แหง่
นายท้ายเรอื ’ องค์ ๓ ท่ีพงึ ถือเอานัน้ เปน็ ไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช นยิ ามโก รตตฺ นิ ฺทวิ ํ สตต ํ สมิตํ อปฺปมตโฺ ต ยตตฺ ปฺปยตฺโต นาว ํ
สาเรต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน จิตตฺ ํ นยิ ามยมาเนน รตตฺ ินฺทวิ ํ สตตํ
สมิตํ อปปฺ มตฺเตน ยตตฺ ปปฺ ยตฺเตน โยนิโสมนสกิ าเรน จิตฺต ํ นยิ าเมตพพฺ ํ ฯ อทิ ํ มหาราช
นิยามกสฺส ป ม ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร นายทา้ ยเรอื เปน็ ผ้ไู ม่
ประมาท หากเพียรขวนขวาย ขบั เรอื ให้แล่นไปอย่เู ป็นประจ�ำสมำ�่ เสมอ ตลอดทงั้ คนื ทงั้ วนั
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร ผบู้ �ำเพ็ญเพยี ร ผูจ้ ะถือท้ายเรอื คอื จติ ก็พงึ เป็นผไู้ ม่

380 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

ประมาท พากเพียรขวนขวาย ใชโ้ ยนโิ สมนสกิ าร ถือทา้ ยเรือคือจติ ไว้เปน็ ประจ�ำ สมำ�่ เสมอ
ตลอดทัง้ คนื ทั้งวนั ฉนั นนั้ เหมอื นกัน น้คี อื องค์ที่ ๑ แหง่ นายท้ายเรอื ที่พงึ ถอื เอา

ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน ธมฺมปเท –
‘‘อปฺปมาทรตา โหถ สจติ ฺตมนุรกฺขถ
ทคุ ฺคา อุทธฺ รถตตฺ าน ํ ปงฺเก สนฺโนว กุ ชฺ โร’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพยงิ่ กวา่ เหล่าเทพ ไดท้ รงภาษิต
ความขอ้ นี้ไว้ว่า
“เธอทง้ั หลายจงยนิ ดใี นความไม่ประมาท จงตามรักษาจิตของ
ตน จงถอนตนขึ้นจากหลม่ เหมอื นชา้ งกญุ ชรทจ่ี มลงในเปือก
ตม ถอนตนข้นึ ได้ ฉะน้นั ” ดงั นี้

‘‘ปุน จปรํ มหาราช นยิ ามกสฺส ย ํ กิ ฺจิ มหาสมุทเฺ ท กลฺยาณ ํ วา ปาปกํ วา,
สพพฺ ํ ต ํ วทิ ิต ํ โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน กุสลากสุ ล ํ สาวชฺชานวชฺชํ
หีนปปฺ ณตี ํ กณฺหสุกฺกสปฺปฏิภาคํ วชิ านติ พฺพํ ฯ อิทํ มหาราช นิยามกสสฺ ทุติยํ องคฺ ํ
คเหตพฺพํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอีกองคห์ น่ึง ส่ิงใดสง่ิ หนง่ึ จะเปน็ ส่ิงดงี ามกต็ าม เปน็ สงิ่ ไม่ดงี าม
ก็ตาม ในมหาสมทุ ร นายทา้ ยเรือย่อมมีอันรู้แจง้ สงิ่ นน้ั ทั้งหมด ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระ
โยคาวจร ผู้บ�ำเพญ็ เพียร พึงร้แู จง้ ธรรมที่เป็นกุศลและอกศุ ล ทม่ี ีโทษและไม่มโี ทษ ทเ่ี ลวและ
ประณตี ที่มีส่วนเปรียบได้กบั ด�ำและขาว ฉันน้นั เหมอื นกัน นี้คือองคท์ ี่ ๒ แห่งนายท้ายเรือที่
พงึ ถอื เอา

‘‘ปนุ จปรํ มหาราช นิยามโก ยนเฺ ต มทุ ทฺ ิก ํ เทต ิ ‘มา โกจ ิ ยนฺตํ อามสติ ถฺ า’ติ,
เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน จติ ฺเต สวํ รมทุ ฺทกิ า ทาตพฺพา ‘มา กิ ฺจ ิ ปาปก ํ
อกุสลวิตกฺก ํ วติ กเฺ กสี’ต,ิ อิทํ มหาราช นยิ ามกสสฺ ตติย ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี องค์หนึง่ นายท้ายเรือยอ่ มประทบั ตราไวท้ เ่ี ครอ่ื งยนต์ว่า ‘ใคร
ๆ อย่าได้แตะตอ้ งเคร่ืองยนต’์ ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพญ็ เพียร ก็พึง
ประทับตรา คอื ความส�ำรวมไวท้ ่จี ติ วา่ ‘อยา่ ไดต้ รกึ อกุศลวติ กชั่วชา้ อะไร ๆ เลย’ ดงั นี้ ฉันนั้น
เหมอื นกัน นคี้ อื องค์ที่ ๓ แห่งนายท้ายเรือ ทพ่ี งึ ถือเอา

กัณฑ]์ ๖.๒ สมุททวรรค 381

ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน สํยตุ ตฺ นกิ ายวเร ‘มา ภิกฺขเว ปาปเก
อกุสเล วติ กเฺ ก วติ กฺเกยฺยาถ, เสยฺยถีทํ, กามวติ กกฺ ํ พฺยาปาทวติ กฺก ํ วหิ ึสาวติ กฺกนฺ”ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผู้มีพระภาคเจา้ ผู้ทรงเป็นเทพย่ิงกวา่ เหล่าเทพ ไดภ้ าษติ ความ
ขอ้ นี้ไว้ว่า
“ภิกษทุ งั้ หลาย เธอทงั้ หลาย อย่าตรกึ ถงึ บาปอกุศลวิตก คอื
๑. กามวิตก (ความตรกึ ในทางกาม)
๒. พยาปาทวิตก (ความตรึกในทางพยาบาท)
๓. วิหิงสาวิตก (ความตรึกในทางเบียดเบยี น)” ดังนี้

นิยามกงคฺ ปญฺโห อฏ€ฺ โม ฯ
จบนิยามกงั คปัญหาข้อที่ ๘

________

๙. กมฺมการงฺคปญฺห
๙. กัมมการังคปัญหา
ปญั หาวา่ ด้วยองคแ์ หง่ กรรมกร
[๙] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘กมมฺ การสสฺ เอกํ องฺค ํ คเหตพฺพน’ฺ ติ ยํ วเทส,ิ กตม ํ ตํ เอก ํ
องคฺ ํ คเหตพฺพนฺ”ติ ?
[๙] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน ทา่ นกลา่ ววา่ ‘พึงถอื เอาองค์ ๑ แหง่
กรรมกร’ องค์ ๑ ท่พี ึงถือเอานั้น เป็นไฉน ?”
‘‘ยถา มหาราช กมมฺ กาโร เอวํ จินตฺ ยติ ‘ภตโก อห ํ อมิ าย นาวาย กมฺม ํ กโรม,ิ
อมิ ายาห ํ นาวาย วาหสา ภตตฺ เวตนํ ลภาม,ิ น เม ปมาโท กรณโี ย, อปฺปมาเทน เม
อยํ นาวา วาเหตพพฺ า’ต,ิ เอวเมว โข มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน เอว ํ จินฺตยติ พพฺ ํ ‘อิมํ
โข อหํ จาตมุ หาภูติกํ กายํ สมฺมสนโฺ ต สตตํ สมิต ํ อปฺปมตโฺ ต อปุ ฏฺ ิตสฺสต ิ สโต
สมฺปชาโน สมาหโิ ต เอกคฺคจติ โฺ ต ชาติชราพฺยาธมิ รณโสกปรเิ ทวทุกขฺ โทมนสสฺ ปุ ายาเสห ิ
ปริมจุ ฺจสิ สฺ ามีต ิ อปฺปมาโท เม กรณโี ย’ติ, อิท ํ มหาราช กมมฺ การสฺส เอก ํ องคฺ ํ
คเหตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร ผู้เปน็ กรรมกรยอ่ มคดิ อย่าง

382 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๖.โอปัมมกถาปัญห

นวี้ า่ ‘เราเป็นลกู จา้ ง ท�ำงานอยใู่ นเรอื ล�ำนี้ ได้รับคา่ จา้ งเน่อื งด้วยเรอื ล�ำนี้ เราจงึ ไม่ควรท�ำความ
ประมาท ควรขบั เรอื ล�ำนี้ไปดว้ ยความไม่ประมาท’ ดงั น้ี ฉนั ใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจร
ผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พงึ คดิ อยา่ งนี้ว่า ‘เราจะเป็นผ้ไู มป่ ระมาท มีสตติ ง้ั ม่นั พจิ ารณากายอันเป็น
เพยี งมหาภูต ๔ น้ี เปน็ ประจ�ำสม�ำ่ เสมอ มีสติ มีสมั ปชัญญะ มจี ิตตงั้ มัน่ ถงึ ความเป็นหนง่ึ จัก
หลดุ พน้ จากชาติ ชรา พยาธิ มรณะ โสกะ ปรเิ ทวะ ทกุ ข์ โทมนสั อปุ ายาส เราควรท�ำความไม่
ประมาท อย่างนี้แล’ ดงั น้ี ฉนั นัน้ นี้คอื องค์ท่ี ๑ แห่งกรรมกร ท่พี ึงถอื เอา

ภาสิตมฺเปต ํ มหาราช เถเรน สาริปตุ เฺ ตน ธมมฺ เสนาปตนิ า –
‘‘กายํ อิมํ สมฺมสถ ปริชานาถ ปุนปปฺ ุนํ
กาเย สภาวํ ทิสฺวาน ทุกขฺ สฺสนตฺ ํ กริสฺสถา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ทา่ นพระธรรมเสนาบดีสารีบุตรเถระไดภ้ าษิตความข้อนไี้ วว้ ่า
“ทา่ นทั้งหลาย จงพิจารณากายนี้ จงก�ำหนดร้บู อ่ ย ๆ เถิด ท่าน
เห็นสภาวะในกายแล้ว จักกระท�ำท่ีสดุ แหง่ ทุกขไ์ ด”้

กมฺมการงฺคปญฺโห นวโม ฯ

จบกมั มการงั คปญั หาข้อที่ ๙

________

๑๐. สมทุ ทฺ งฺคปญหฺ
๑๐. สมทุ ทังคปัญหา
ปญั หาว่าด้วยองค์แห่งมหาสมุทร
[๑๐] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘สมทุ ฺทสสฺ ป จฺ องคฺ านิ คเหตพฺพานี’ติ ยํ วเทส,ิ กตมานิ
ตาน ิ ป ฺจ องฺคาน ิ คเหตพพฺ านี’’ติ ?
[๑๐] พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ท่านกล่าวว่า ‘พึงถอื เอาองค์ ๕ แห่ง
มหาสมทุ ร’ องค์ ๕ ทพ่ี ึงถอื เอานัน้ เปน็ ไฉน ?”

‘‘ยถา มหาราช มหาสมทุ โฺ ท มเตน กณุ เปน สทธฺ ึ น สวํ สต,ิ เอวเมว โข มหาราช
โยคินา โยคาวจเรน ราคโทสโมหมานทิฏฺ มิ กขฺ ปฬาสอสิ ฺสามจฉฺ รยิ มายาสาเ ยฺยกุฏลิ วสิ ม-
ทจุ จฺ รติ กเิ ลสมเลห ิ สทฺธึ น สวํ สิตพฺพํ ฯ อิท ํ มหาราช สมุทฺทสสฺ ป ม ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ

กัณฑ]์ ๖.๒ สมุททวรรค 383

พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร มหาสมทุ ร ย่อมไม่อยู่ร่วม
กบั ซากสัตวต์ าย ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผู้บ�ำเพ็ญเพียร กไ็ มพ่ ึงอยรู่ ่วมกบั กิเลส
ท้งั หลาย คือ ราคะ โทสะ โมหะ มานะ ทฏิ ฐิ มกั ขะ (ความลบหลคู่ ุณ) ปฬาสะ (ความตีเสมอ)
อสิ สา (ความรษิ ยา) มัจฉรยิ ะ (ความตระหน่)ี มายา (ความหลอกลวง) สาเฐยยะ (ความเส
แสรง้ ) กฏุ ลิ ะ (ความคดโกง) วสิ มา (ความไม่สม่ำ� เสมอ) และทจุ ริตทั้งหลาย ฉนั น้ันเหมือนกัน
นี้คอื องคท์ ่ี ๑ แห่งมหาสมุทร ทพ่ี ึงถอื เอา
‘‘ปุน จปรํ มหาราช มหาสมทุ ฺโท มตุ ฺตามณเิ วฬุริยสงฺขสลิ าปวาฬผลิกมณวิ ิวธิ รตน-
นจิ ยํ ธาเรนโฺ ต ปิทหต,ิ น พห ิ วิกริ ติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โยคินา โยคาวจเรน
มคฺคผลฌานวโิ มกฺขสมาธสิ มาปตฺติวปิ สสฺ นาภ ิ ฺ าววิ ิธคณุ รตนาน ิ อธิคนฺตฺวา ปทิ หติ พฺพาน,ิ
น พห ิ นีหริตพฺพานิ ฯ อทิ ํ มหาราช สมทุ ฺทสสฺ ทตุ ยิ ํ องฺค ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี องค์หน่งึ มหาสมทุ ร ยอ่ มรองรับปดิ ก้ันขุมทรพั ย์ คือ รัตนมณี
หลายอยา่ งต่าง ๆ กัน มีแก้วมกุ ดา แกว้ มณี แก้วไพฑรู ย์ สงั ข์ กอ้ นหิน แกว้ ประพาฬ แก้วผลกึ
เปน็ ตน้ ไมใ่ หก้ ระจัดกระจายไปภายนอก ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผูบ้ �ำเพ็ญเพียร
บรรลรุ ตั นะ คือคุณวิเศษหลายอยา่ งต่าง ๆ กัน มี มรรค ผล ฌาน วโิ มกข์ สมาธิ สมาบตั ิ
วปิ ัสสนา อภิญญา เป็นตน้ แล้วก็พึงปกปดิ ไว้ ไม่ใหแ้ พร่ไปภายนอก ฉนั นน้ั เหมือนกัน นีค้ อื
องคท์ ี่ ๒ แห่งมหาสมุทร ท่ีพึงถอื เอา
‘‘ปนุ จปร ํ มหาราช มหาสมทุ ฺโท มหนเฺ ตหิ มหาภเู ตห ิ สทธฺ ึ สํวสติ ฯ เอวเมว โข
มหาราช โยคนิ า โยคาวจเรน อปปฺ จิ ฺฉํ สนฺตุฏฺ ํ ธตุ วาทํ สลฺเลขวุตฺตึ อาจารสมปฺ นฺน ํ
ลชชฺ เึ ปสลํ ครุํ ภาวนยี ํ วตตฺ ารํ วจนกขฺ มํ โจทกํ ปาปครหึ โอวาทก ํ อนสุ าสกํ ว ิ ฺ าปก ํ
สนฺทสสฺ กํ สมาทปกํ สมตุ เฺ ตชก ํ สมฺปหํสกํ กลยฺ าณมิตตฺ ํ สพรฺ หฺมจาร ึ นสิ ฺสาย วสิตพพฺ ํ ฯ
อทิ ํ มหาราช มหาสมทุ ฺทสฺส ตติย ํ องคฺ ํ คเหตพพฺ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอกี องค์หนง่ึ มหาสมทุ ร ย่อมอยูร่ ว่ มกบั สตั ว์ท่ยี ่ิงใหญท่ ง้ั หลาย
ฉันใด ขอถวายพระพร พระโยคาวจรผบู้ �ำเพ็ญเพียร ก็พงึ อยูอ่ าศัยเพอ่ื นพรหมจารี ผู้เป็น
กัลยาณมติ ร ผมู้ กั นอ้ ย สันโดษ เป็นธตุ วาทะ (กล่าวสรรเสริญธุดงค์) ประพฤติขดู เกลากเิ ลส
ถงึ พร้อมด้วยอาจาระ เปน็ ลชั ชี (ละอายบาป) มศี ลี เป็นท่รี กั น่าเคารพ น่ายกยอ่ ง เป็นผู้บอก
กล่าว อดทนการว่ากล่าว เปน็ ผ้ทู กั ทว้ งติเตยี นบาป เป็นผู้โอวาท เปน็ ผอู้ นุศาสน์ เป็นผบู้ อกให้
รู้ เป็นผูช้ ้ีใหเ้ ห็น เป็นผชู้ กั ชวนใหอ้ าจหาญ ให้บนั เทิง ฉนั นนั้ เหมือนกัน นค้ี อื องคท์ ่ี ๓ แห่ง
มหาสมทุ ร ท่ีพงึ ถือเอา


Click to View FlipBook Version