The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ืทีมงานกรุธรรม, 2022-03-09 22:17:47

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

Keywords: มิลินทปัญหาปกรณ์แปล เล่ม ๒ ถาม-ตอบปัญหาในพระไตรปิฎก

34 มลิ นิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

๘. อมราเทวปี ญหฺ

๘. อมราเทวปี ญั หา
ปัญหาว่าด้วยอมราเทวี

[๘] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปตํ ภควตา –
‘‘สเจ ลเภถ ขณ ํ วา รโห วา
นิมนตฺ ก ํ วาป ิ ลเภถ ตาทิส ํ
สพพฺ าว อติ ฺถี กยริ ํ ุ นุ ปาป ํ
อ ฺ ํ อลทธฺ า ป ี สปปฺ ินา สทธฺ ิน’ฺ ติ ฯ
[๘] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสวา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผมู้ ีพระภาคเจ้าทรงภาษติ ความ
ข้อน้ีไวว้ ่า
“ถ้าว่า พึงไดโ้ อกาสหรือทล่ี ับ หรอื วา่ พงึ ไดส้ ถานทีป่ ดิ บังเช่นนี้
หญิงท้ังปวงพงึ กระท�ำความชั่วแน่นอน ไม่ได้ชายอนื่ ท่สี มบูรณ์
กพ็ งึ กระท�ำกับชายง่อยเปล้ยี ” ดังน้ี

‘‘ปนุ จ กถียต ิ ‘มโหสธสสฺ ภริยา อมรา นาม อิตถฺ ี คามเก ปิตา ปวตุ ถฺ ปตกิ า
รโห นสิ ินนฺ า วิวิตตฺ า ราชปฺปฏสิ ม ํ สามิก ํ กรติ วฺ า สหสฺเสน นิมนตฺ ียมานา ปาปํ
นากาสี’ติ ฯ ยทิ ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณิตํ ‘สเจ…เป.… สทธฺ ิน’ฺ ติ เตนหิ ‘มโหสธสสฺ
ภรยิ า…เป.… นากาส’ี ติ ยํ วจน,ํ ตํ มิจฺฉา ฯ ยท ิ มโหสธสฺส ภริยา…เป.… นากาส,ิ
เตนหิ ‘สเจ…เป.… สทธฺ ินฺ’ต ิ ตมปฺ ิ วจน ํ มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก ป ฺโห
ตวานุปฺปตโฺ ต, โส ตยา นพิ ฺพาหิตพฺโพ’’ติ ฯ
แตย่ งั ตรสั ไว้อีกแหง่ หนง่ึ วา่ ‘หญิงภรรยาของมโหสถบณั ฑิต ชอ่ื วา่ อมรา ถกู มโหสถ
บณั ฑิตทงิ้ ไวท้ ก่ี ระท่อม เม่อื นางผู้อยู่หา่ งสามี ผู้นั่งอยใู่ นทล่ี ับตามล�ำพงั ถกู ชายอนื่ ใช้ทรพั ย์ตงั้
พันเลา้ โลมอยู่ ก็ไม่ยอมท�ำช่ัวกับชายผูเ้ ทียบเสมอกับพระราชสวามี ดงั นี้ พระคณุ เจ้านาคเสน
ถ้าหากว่า พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรสั ไว้วา่ ถา้ วา่ พงึ ไดโ้ อกาสหรือที่ลบั ฯลฯ กพ็ ึงท�ำกบั ชายงอ่ ย
เปลย้ี ดังนี้ จริงไซร้ ถ้าอย่างนนั้ ค�ำทว่ี า่ หญงิ ภรรยาของมโหสถบัณฑติ ฯลฯ กไ็ มย่ อมท�ำช่ัว
กบั ชายผู้เทยี บเสมอพระราชสวามี ดงั น้ี ก็ย่อมเปน็ ค�ำทีผ่ ดิ ถา้ หากวา่ หญงิ ภรรยาของ
มโหสถบณั ฑติ ฯลฯ ก็ไม่ยอมท�ำช่วั กบั ชายผู้เทียบเสมอกับพระราชสวามี จรงิ ไซร้ ถา้ อยา่ งนัน้
ค�ำวา่ ถ้าพึงไดโ้ อกาสหรอื ท่ีลับ ฯลฯ กพ็ ึงกระท�ำกบั ชายง่อยเปลีย้ ดงั น้ี ก็ยอ่ มเป็นค�ำที่ผิด

กัณฑ]์ ๔.๔ สพั พัญญุตญาณวรรค 35

ปญั หาแม้ข้อนี้ กม็ ี ๒ เงอื่ น ตกถงึ แก่ท่านแลว้ โดยล�ำดบั ขอท่านพึงคลคี่ ลายปัญหานนั้ เถิด”
‘‘ภาสติ มเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘สเจ…เป.… สทธฺ ’ิ นฺติ ฯ กถียต ิ จ ‘มโหสธสฺส
ภรยิ า …เป.… นากาส’ี ติ ฯ กเรยฺย สา, มหาราช, อิตถฺ ี สหสสฺ ํ ลภมานา ตาทิเสน
ปุรเิ สน สทธฺ ึ ปาปกมมฺ ํ, น สา กเรยฺย สเจ ขณ ํ วา รโห วา นมิ นฺตกํ วาปิ ตาทสิ ํ
ลเภยยฺ , วจิ ินนฺตี สา มหาราช อมรา อติ ถฺ ี น อทฺทส ขณ ํ วา รโห วา นิมนตฺ ก ํ วาปิ
ตาทิสํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผมู้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้
วา่ ถา้ ว่า พึงไดโ้ อกาส หรอื ทีล่ ับ ฯลฯ กพ็ ึงท�ำกับชายงอ่ ยเปลีย้ ดังนี้ จรงิ และยังตรสั ไวอ้ ีกแห่ง
หนึง่ ว่า หญิงภรรยาของมโหสถบณั ฑิต ฯลฯ กไ็ มย่ อมท�ำชว่ั กบั ชายผ้เู ทียบเสมอพระราชสวามี
ดงั น้ี จริง ขอถวายพระพร หญงิ นั้น พอถูกเขาใชท้ รัพย์ตง้ั พนั เลา้ โลมอยู่ ก็นา่ จะท�ำกรรมช่ัวกบั
ชายผู้เปน็ เช่นน้นั ถา้ หากวา่ ไดข้ ณะกด็ ี ที่ลับก็ดี แม้ชายผู้มาเกย้ี ว ผเู้ ป็นเช่นกบั สามีนัน้ ก็ดี
(แต่วา่ ) หญงิ นนั้ ไม่ยอมท�ำ ขอถวายพระพร หญิงช่อื อมรานนั้ เมอื่ ใครค่ รวญไป ก็มองไมเ่ ห็น
ขณะกด็ ี ทีล่ ับกด็ ี แมช้ ายผู้มาเกยี้ ว ผู้เป็นเช่นกับสวามี กด็ ี
‘‘อิธ โลเก ครหภยา ขณํ น ปสฺส,ิ ปรโลเก นริ ยภยา ขณ ํ น ปสฺส,ิ กฏกุ วปิ ากํ
ปาปนตฺ ิ ขณ ํ น ปสฺสิ, ปิยํ อม ุ จฺ ิตุกามา ขณํ น ปสฺส,ิ สามิกสสฺ ครกุ ตาย ขณ ํ น
ปสฺส,ิ ธมมฺ ํ อปจายนฺต ี ขณ ํ น ปสสฺ ิ, อนริยํ ครหนฺตี ขณํ น ปสฺสิ, กริ ิย ํ อภินทฺ ิตุกามา
ขณํ น ปสสฺ ิ ฯ เอวรเู ปหิ พหหู ิ การเณห ิ ขณํ น ปสสฺ ิ ฯ
นางอมราน้นั เพราะกลวั การตเิ ตียนในโลกนี้ จงึ มองไม่เหน็ ขณะ เพราะกลัวนรกในโลก
หน้า จึงมองไม่เห็นขณะ เพราะคิดวา่ กรรมช่ัวมผี ลเผด็ ร้อน จงึ มองไมเ่ ห็นขณะ เพราะไม่
ตอ้ งการจะสละมโหสถบณั ฑติ ผู้เป็นทร่ี ัก จงึ มองไม่เหน็ ขณะ เพราะมีความเคารพตอ่ มโหสถ
บณั ฑติ ผเู้ ปน็ สามี จึงมองไมเ่ ห็นขณะ นางผู้ประพฤตินอบน้อมต่อพระธรรม จึงมองไมเ่ หน็
ขณะ นางเป็นผตู้ เิ ตียนความประพฤติเลวทราม จึงมองไม่เหน็ ขณะ นางเป็นผไู้ ม่ตอ้ งการ
ท�ำลายกรรมทค่ี วรท�ำ (คือกศุ ลกรรม) จึงมองไมเ่ ห็นขณะ นางอมรายอ่ มมองไม่เห็นขณะ
เพราะเหตุหลายอย่าง เหน็ ปานนี้

36 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘รโหป ิ สา โลเก วิจนิ ติ ฺวา อปสสฺ นฺตี ปาปํ นากาสิ ฯ สเจ สา มนุสฺเสหิ รโห
ลเภยฺย, อถ อมนสุ เฺ สห ิ รโห น ลเภยยฺ ฯ สเจ อมนุสฺเสห ิ รโห ลเภยยฺ , อถ ปรจิตฺตวทิ ูห ิ
ปพฺพชิเตห ิ รโห น ลเภยยฺ ฯ สเจ ปรจติ ฺตวทิ ูห ิ ปพพฺ ชิเตห ิ รโห ลเภยฺย, อถ ปรจิตฺต-
วทิ ูนหี ิ เทวตาหิ รโห น ลเภยยฺ ฯ สเจ ปรจติ ฺตวทิ นู หี ิ เทวตาหิ รโห ลเภยยฺ , อตฺตนาว
ปาเปหิ รโห น ลเภยยฺ ฯ สเจ อตตฺ นาว ปาเปห ิ รโห ลเภยยฺ , อถ อธมฺเมน รโห น
ลเภยยฺ ฯ เอวรูเปห ิ พหวุ ิเธหิ การเณหิ รโห อลภติ วฺ า ปาป ํ นากาสิ ฯ
นางอมราน้ัน ใคร่ครวญแล้ว มองไม่เห็นแมท้ ล่ี บั ในโลก จึงไม่ยอมท�ำชวั่ ถ้าหากว่า
นางได้ที่ลับจากพวกมนุษย์ ถงึ อยา่ งไร กไ็ ม่ไดท้ ่ีลับจากพวกอมนุษย์ ถ้าหากว่า ไดท้ ่ีลบั จาก
พวกอมนษุ ย์ ถึงอยา่ งไรก็ไม่ไดท้ ่ลี ับจากพวกนักบวชผรู้ ูจ้ ติ ของผู้อ่นื ถา้ หากไดท้ ลี่ ับจากพวก
นกั บวชผ้รู ้จู ิตของผ้อู น่ื ถงึ อยา่ งไร กไ็ มไ่ ด้ทีล่ บั จากพวกเทวดาทงั้ หลายผู้รจู้ ิตของผอู้ น่ื ถา้
หากว่าไดท้ ล่ี บั จากพวกเทวดาผูร้ จู้ ิตของผู้อนื่ ถงึ อย่างไร ก็ไมไ่ ด้ท่ีลบั พอทีต่ นจะท�ำความชวั่
ได้ ถา้ หากว่าได้ทล่ี บั พอทีต่ นจะท�ำความชัว่ ได้ ถงึ อย่างไรกไ็ มไ่ ด้ท่ลี บั พอท่ีจะเสพอสัทธรรม
ได้ นางอมราไม่ได้ทีล่ บั เพราะเหตหุ ลายอย่าง เห็นปานน้ี จึงไม่ยอมท�ำชัว่
‘‘นิมนฺตกมปฺ ิ สา โลเก วจิ ินติ วฺ า ตาทิส ํ อลภนตฺ ี ปาป ํ นากาสิ ฯ มโหสโธ
มหาราช ปณฺฑิโต อฏ ฺ วีสติยา องเฺ คห ิ สมนฺนาคโต ฯ กตเมหิ อฏ ฺ วสี ตยิ า องฺเคหิ
สมนฺนาคโต ? มโหสโธ มหาราช สูโร หิรมิ า โอตตฺ ปปฺ ี สปกโฺ ข มติ ตฺ สมปฺ นโฺ น ขโม
สีลวา สจจฺ วาที โสเจยยฺ สมปฺ นโฺ น อกฺโกธโน อนติมานี อนสุ ูยโก วรี ยิ วา อายหู โก
สงฺคาหโก สํวภิ าคี สขโิ ล นิวาตวุตฺติ สณโฺ ห อสโ อมายาว ี อตพิ ทุ ธฺ ิสมฺปนฺโน กติ ฺติมา
วิชชฺ าสมฺปนโฺ น หเิ ตสี อุปนสิ สฺ ติ าน ํ ปตฺถโิ ต สพพฺ ชนสสฺ ธนวา ยสวา ฯ
นางอมรานั้น ใครค่ รวญถึงชายแมผ้ ้มู าเก้ยี วแลว้ ไม่ได้ชายผู้เปน็ เหมอื นสามนี ัน้ จงึ ไม่
ยอมท�ำชัว่ ขอถวายพระพร มโหสถบัณฑิต เปน็ ผู้ประกอบดว้ ยองค์ ๒๘ เปน็ ผู้ประกอบดว้ ย
องค์ ๒๘ เปน็ ไฉน ? องค์ ๒๘ คือ
๑. มโหสถบัณฑติ เปน็ คนกล้าหาญ
๒. มีหริ ิ ความละอายบาป
๓. มโี อตตปั ปะ ความเกรงกลวั บาป
๔. มีพวกพ้อง
๕. ถึงพรอ้ มดว้ ยกัลยาณมิตร
๖. อดทน

กัณฑ์] ๔.๔ สพั พญั ญตุ ญาณวรรค 37

๗. มศี ีล
๘. มีปกติพูดแตค่ �ำจริง
๙. ถึงพรอ้ มด้วยความสะอาด
๑๐. ไมม่ ักโกรธ
๑๑. ไมเ่ ย่อหย่งิ
๑๒. ไมร่ ิษยา
๑๓. มคี วามเพียร
๑๔. ร้จู กั หา (ทรัพย์) มา
๑๕. รจู้ ักสงเคราะห์ (ผูอ้ ่ืน)
๑๖. รจู้ ักแบ่งปัน
๑๗. มวี าจาออ่ นโยน (นา่ คบเป็นสหาย)
๑๘. ประพฤติอ่อนน้อมถ่อมตน
๑๙. เป็นคนนุม่ นวล
๒๐. ไม่โอ้อวด
๒๑. ไมม่ ีมารยา
๒๒. ถงึ พรอ้ มด้วยความรดู้ ีล้�ำ
๒๓. มีเกียรติ
๒๔. ถงึ พรอ้ มดว้ ยวชิ ชา
๒๕. แสวงหาแต่ประโยชนแ์ ก่ผูเ้ ข้าไปอาศยั
๒๖. เป็นทป่ี รารถนาแหง่ ชนทั้งปวง
๒๗. มีทรัพย์
๒๘. มียศ ดงั นี้
มโหสโธ มหาราช ปณฺฑโิ ต อิเมห ิ อฏฺ วีสติยา องฺเคหิ สมนฺนาคโต ฯ สา อ ฺ ํ
ตาทสิ ํ นิมนตฺ กํ อลภิตฺวา ปาปํ นากาส’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร มโหสถบณั ฑิต เปน็ ผู้ประกอบดว้ ยองค์ ๒๘ เหลา่ น้ี นางอมรานนั้ ไม่
ได้ชายอนื่ ผมู้ าเก้ียว ผู้เปน็ เชน่ กบั มโหสถบณั ฑติ จึงไมย่ อมท�ำชวั่ ”

38 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ ินทต์ รัสวา่ “ดจี รงิ พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามที่ท่านกล่าวมา
แล้วฉะนี้”

อมราเทวปี ญฺโห อฏฺ€โม ฯ
จบอมราเทวีปัญหาข้อที่ ๘

________

๙. อรหนตฺ อภายนปญฺห
๙. อรหนั ตอภายนปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยความไม่กลวั แห่งพระอรหนั ต์
[๙] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปต ํ ภควตา ‘วิคตภยสนฺตาสา อรหนโฺ ต’ติ ฯ ปนุ จ
นคเร ราชคเห ธนปาลก ํ หตฺถึ ภควต ิ โอปตนฺตํ ทสิ วฺ า ป ฺจ ขณี าสวสตานิ ปริจจฺ ชิตวฺ า
ชินวร ํ ปกฺกนตฺ าน ิ ทสิ าวทิ สิ ํ เอกํ เปตวฺ า เถรํ อานนฺทํ ฯ กินนฺ ุ โข ภนเฺ ต นาคเสน เต
อรหนโฺ ต ภยา ปกกฺ นฺตา, ป ฺ ายิสสฺ ต ิ สเกน กมฺเมนาต ิ ทสพล ํ ปาเตตกุ ามา ปกกฺ นฺตา
อุทาห ุ ตถาคตสฺส อตุล ํ วิปลุ มสมํ ปาฏิหารยิ ํ ทฏ ฺ กุ ามา ปกกฺ นฺตา ? ยท ิ ภนฺเต นาคเสน
ภควตา ภณิต ํ ‘วิคตภยสนฺตาสา อรหนโฺ ต’ติ, เตนหิ ‘นคเร…เป.… อานนฺทน’ฺ ติ ยํ วจนํ ต ํ
มิจฺฉา ฯ ยทิ นคเร ราชคเห ธนปาลกํ หตถฺ ึ ภควติ โอปตนฺต ํ ทิสวฺ า ป จฺ ขีณาสว-
สตานิ ปริจฺจชิตฺวา ชินวร ํ ปกกฺ นฺตานิ ทสิ าวทิ ิสํ เอกํ เปตฺวา เถร ํ อานนฺทํ, เตนหิ
‘วิคตภยสนฺตาสา อรหนฺโต’ติ ตมฺป ิ วจนํ มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อภุ โต โกฏโิ ก ป โฺ ห ตวานุป-ฺ
ปตฺโต, โส ตยา นพิ ฺพาหิตพฺโพ’’ติ ฯ
[๙] พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงภาษติ ความ
ข้อนีไ้ ว้วา่ พระอรหนั ตท์ ั้งหลายเป็นผปู้ ราศจากความกลัว ความพรัน่ พรึง ดังน้ี แต่อกี แห่งหนึง่
กลา่ วว่า ทีก่ รุงราชคฤห์ พระขีณาสพจ�ำนวน ๕๐๐ รูป พอเหน็ ช้างธนบาลพงุ่ เข้าใส่พระผูม้ ีพระ
ภาคเจา้ แล้ว ก็พากันสละทงิ้ องค์พระชินวร หลบหลกี ไปยงั ทศิ นอ้ ยทิศใหญ่ เหลอื อยู่แต่พระ
อานนท์เถระรปู เดยี ว ดังน้ี พระคุณเจา้ นาคเสน พระอรหันตเ์ หลา่ นนั้ หลบหลีกไปเพราะกลัว
หรอื ไร ต้องการจะใหพ้ ระทศพลถกู ชา้ งลม้ ดว้ ยคิดวา่ พระองคจ์ ักทรงปรากฏดว้ ยกรรมของ
พระองคเ์ อง ดงั น้ี จึงหลบหลกี ไปหรือไร หรือว่า ต้องการจะเห็นพระปาฏิหาริย์ท่ีวัดไม่ได้ ที่

กัณฑ]์ ๔.๔ สพั พัญญตุ ญาณวรรค 39

ไพบลู ย์ หาปาฏิหาริยข์ องผู้อ่นื เสมอมไิ ดข้ องพระตถาคต จงึ ได้หลกี ไป พระคุณเจ้านาคเสน
ถ้าหากวา่ พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรสั ไวว้ า่ พระอรหนั ต์ท้งั หลายเปน็ ผปู้ ราศจากความกลัว ความ
พรัน่ พรึง ดงั นี้ จรงิ ไซร้ ถา้ อย่างนั้น ค�ำวา่ ท่ีกรงุ ราชคฤห์เหลอื อยูแ่ ตพ่ ระอานนท์เถระรปู เดยี ว
ดงั นี้ ก็ย่อมเปน็ ค�ำท่ผี ิด ถา้ หากวา่ ทก่ี รงุ ราชคฤห์ พระขณี าสพจ�ำนวน ๕๐๐ รปู พอเห็นช้าง
ธนบาลพงุ่ เข้าใสพ่ ระผู้มพี ระภาคเจ้าแล้ว ก็พากนั สละทง้ิ องคพ์ ระชนิ วร หลบหลีกไปยงั ทิศ
นอ้ ยทศิ ใหญ่ เหลอื อยแู่ ตพ่ ระอานนท์เถระรูปเดยี ว จรงิ ไซร้ ถ้าอย่างนน้ั ค�ำท่วี ่า พระอรหันต์
ทง้ั หลายเป็นผปู้ ราศจากความกลัว ความพรนั่ พรงึ ดังนี้ กย็ อ่ มเปน็ ค�ำทผี่ ิด ปัญหาแม้ขอ้ นก้ี ม็ ี
๒ เงอ่ื น ตกถงึ แก่ท่านแลว้ โดยล�ำดับ ขอท่านพึงคลี่คลายปญั หานัน้ เถดิ ”
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘วิคตภยสนตฺ าสา อรหนโฺ ต’ต,ิ นคเร ราชคเห
ธนปาลก ํ หตถฺ ึ ภควต ิ โอปตนฺตํ ทสิ ฺวา ป ฺจ ขณี าสวสตานิ ปรจิ ฺจชติ ฺวา ชนิ วร ํ
ปกกฺ นฺตานิ ทสิ าวิทสิ ํ เอกํ เปตฺวา เถร ํ อานนทฺ ,ํ ต จฺ ปน น ภยา, นาป ิ ภควนฺต ํ
ปาเตตุกามตาย ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษติ ความขอ้ น้วี า่ พระอรหันตท์ ้ังหลาย เป็นผ้ปู ราศจากความกลวั ความพรน่ั พรึง ดังนี้ จริง
เรือ่ งท่วี ่า ท่ีกรุงราชคฤห์ พระขีณาสพ จ�ำนวน ๕๐๐ รูป พอเหน็ ช้างธนบาลพุง่ เขา้ ใส่พระผู้มี
พระภาคเจา้ แลว้ กพ็ ากันสละทิ้งองค์พระชนิ วร หลบหลกี ไปยังทิศใหญท่ ศิ นอ้ ย เหลอื อยูแ่ ต่
พระอานนทเ์ ถระรูปเดยี ว ดังนี้ ก็เปน็ เร่ืองจรงิ แต่วา่ ขอ้ ทีท่ า่ นเหล่าน้นั สละท้ิงพระผูม้ พี ระภาค
เจา้ หลบหลกี ไปน้ัน ไม่ใชเ่ พราะความกลวั ไมใ่ ชเ่ พราะต้องการจะใหพ้ ระองค์ทรงถูกชา้ งชนล้ม
‘‘เยน ปน มหาราช เหตนุ า อรหนโฺ ต ภาเยยฺย ํุ วา ตาเสยฺยุ ํ วา, โส เหต ุ
อรหนฺตาน ํ สมุจฺฉนิ ฺโน, ตสฺมา วคิ ตภยสนฺตาสา อรหนฺโต, ภายติ นุ มหาราช มหาปถว ี
ขณนเฺ ตปิ ภนิ ฺทนฺเตปิ ธาเรนเฺ ตป ิ สมทุ ฺทปพพฺ ตคริ สิ ิขเรติ ?
ขอถวายพระพร เหตทุ ที่ �ำให้พระอรหันต์ท้งั หลายกลัวก็ดี หวาดหวั่นก็ดี พระอรหันต์
ท้งั หลายไดต้ ดั ขาดดว้ ยดี เพราะฉะนั้น พระอรหนั ตท์ ้งั หลายจึงเปน็ ผู้ปราศจากความกลัว
ความพรนั่ พรงึ ขอถวายพระพร เมื่อเขาขุดทะเลกด็ ี ทะลายภูเขาก็ดี ทบุ ยอดเขาออกก็ดี แผน่
ดนิ ใหญ่ยอ่ มกลวั หรอื ”
‘‘น ห ิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั วา่ “หามิได้ พระคุณเจ้า”

40 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เพราะเหตไุ รหรือ มหาบพิตร ?”
‘‘นตถฺ ิ ภนเฺ ต มหาปถวิยา โส เหต,ุ เยน เหตนุ า มหาปถว ี ภาเยยยฺ วา
ตาเสยฺย วา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคณุ เจา้ เหตุทที่ �ำให้แผน่ ดนิ ใหญ่ กลวั กด็ ี หวาดหว่นั กด็ ี
ไม่มแี กแ่ ผน่ ดินใหญ”่
‘‘เอวเมว โข มหาราช นตถฺ ิ อรหนฺตานํ โส เหตุ, เยน เหตุนา อรหนฺโต
ภาเยยฺย ํุ วา ตาเสยยฺ ํุ วา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร กเ็ หมอื นกันอย่างน้นั นั่นแหละ เหตุที่
ท�ำพระอรหนั ต์ทง้ั หลายกลวั ก็ดี หวาดหวน่ั ก็ดี หามแี กพ่ ระอรหันตท์ งั้ หลายไม”่
‘‘ภายติ นุ มหาราช คริ ิสิขร ํ ฉนิ ทฺ นเฺ ต วา ภินฺทนฺเต วา ปตนเฺ ต วา อคฺคนิ า
ทหนเฺ ต วา’’ติ ?
ขอถวายพระพร ยอดเขาจะกลัวหรอื ไม่ เม่ือเขาตดั เสียกด็ ี ทุบท้งิ เสียกด็ ี จะท�ำใหล้ ม้
เสยี กด็ ี ใชไ้ ฟเผาเสียก็ด”ี
‘‘น หิ ภนฺเต’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รสั วา่ “ไมก่ ลัวหรอก พระคุณเจ้า”
‘‘เกน การเณน มหาราชา’’ติ ?
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “เพราะเหตไุ รหรอื มหาบพิตร”
‘‘นตฺถิ ภนเฺ ต คิริสขิ รสฺส โส เหตุ, เยน เหตุนา คิรสิ ิขร ํ ภาเยยยฺ วา ตาเสยยฺ
วา’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้า เหตุท่จี ะท�ำใหย้ อดเขากลัวก็ดี พร่ันพรึงกด็ ี ไม่มีแก่
ยอดเขา”
‘‘เอวเมว โข มหาราช นตถฺ ิ อรหนตฺ าน ํ โส เหตุ, เยน เหตนุ า อรหนโฺ ต
ภาเยยฺยุํ วา ตาเสยยฺ ุ ํ วา ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ก็เหมอื นกันอย่างน้นั นัน่ แหละ เหตทุ จ่ี ะ

กณั ฑ]์ ๔.๔ สัพพัญญตุ ญาณวรรค 41

ท�ำใหพ้ ระอรหนั ตท์ ง้ั หลายกลวั ก็ดี หวาดหวน่ั กด็ ี หามีแกพ่ ระอรหันต์ท้งั หลายไม่
‘‘ยทิปิ มหาราช โลกธาตุสตสหสฺเสสุ เย เกจ ิ สตฺตนกิ ายปริยาปนฺนา สพเฺ พปิ เต
สตตฺ ิหตถฺ า เอกํ อรหนตฺ ํ อปุ ธาวิตวฺ า ตาเสยฺยุ,ํ น ภเวยฺย อรหโต จติ ฺตสฺส กิ จฺ ิ
อ ฺ ถตตฺ ํ ฯ ก ึ การณํ ? อฏ ฺ านมนวกาสตาย ฯ
ขอถวายพระพร แมห้ ากวา่ ผูน้ ับเน่อื งในสตั ตนิกายเหล่าใดเหลา่ หน่ึงในแสนโลกธาตุ
ผ้นู ับเนอื่ งในสัตตนิกายเหลา่ น้นั ทง้ั หมด มีมอื ถอื หอกหลาว เข้าไปรุมล้อมพระอรหันตร์ ปู หนึง่
ขใู่ หท้ ่านพร่นั พรงึ ไซร้ จติ ของพระอรหนั ต์จะไม่มีความเป็นอย่างอน่ื ไร ๆ ถามว่า เพราะเหตไุ ร
? ตอบวา่ เพราะความทจี่ ติ ของท่านไมใ่ ชฐ่ านะ ไม่ใชโ่ อกาส (ที่จะท�ำให้พรัน่ พรงึ ได)้
‘‘อปจิ มหาราช เตสํ ขีณาสวาน ํ เอวํ เจโตปรวิ ติ กฺโก อโหส ิ ‘อชชฺ นรวรปวเร
ชินวรวสเภ นครวรมนปุ ปฺ วฏิ ฺเ วีถิยา ธนปาลโก หตถฺ ี อาปตสิ สฺ ติ, อสสํ ยมตเิ ทวเทว ํ
อุปฏ ฺ าโก น ปรจิ ฺจชสิ สฺ ต,ิ ยท ิ มยํ สพเฺ พป ิ ภควนฺต ํ น ปรจิ ฺจชสิ ฺสาม, อานนฺทสสฺ คุโณ
ปากโฏ น ภวิสฺสติ, น เหว จ ตถาคตํ สมุปคมสิ ฺสต ิ หตฺถนิ าโค, หนทฺ มย ํ อปคจฺฉาม,
เอวมทิ ํ มหโต ชนกายสสฺ กิเลสพนฺธนโมกโฺ ข ภวิสฺสต,ิ อานนทฺ สฺส จ คโุ ณ ปากโฏ
ภวสิ ฺสต’ี ติ ฯ เอว ํ เต อรหนโฺ ต อานิสํสํ ทสิ วฺ า ทสิ าวทิ ิส ํ ปกกฺ นตฺ า’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร กแ็ ตว่ า่ พระขีณาสพเหลา่ นนั้ เกดิ ความคิดในใจอย่างนีว้ า่ “วนั น้ี เม่ือ
พระชนิ วรผู้องอาจ ผปู้ ระเสริฐย่งิ กว่าชนผปู้ ระเสริฐ เสดจ็ เข้าไปในพระนคร ช้างธนบาล จกั ว่ิง
มาเผชญิ ทถ่ี นน พระอานนทพ์ ุทธอปุ ัฏฐาก จักไมส่ ละท้ิงพระองคผ์ ู้ทรงเป็นเทพยง่ิ กว่าเหลา่
เทพ ถ้าหากวา่ พวกเราแม้ทกุ คนไม่สละทิ้งพระผู้มพี ระภาคเจ้าไซร้ คณุ ของพระอานนท์ จัก
ไม่ปรากฏ และอีกอย่างหน่ึง ช้าง จักไมเ่ ขา้ ไปจนถงึ องคพ์ ระตถาคตหรอก เอาเถอะ พวกเรา
จงหลกี ไปเสยี ข้อนีจ้ ะเป็นเหตใุ หช้ นหมู่ใหญ่มกี ารพน้ จากกเิ ลสเครอ่ื งพันธนาการได้ทีเดยี ว
ท้งั คุณของพระอานนท์กจ็ กั ปรากฏ ดังน้ี พระอรหนั ตเ์ หลา่ นัน้ พอเห็นอานิสงสด์ ังกล่าวมาน้ี
แลว้ ก็พากนั หลบหลีกไปยังทิศใหญ่ ทิศน้อยเสยี ”
‘‘สวุ ภิ ตโฺ ต ภนเฺ ต นาคเสน ป โฺ ห, เอวเมตํ นตถฺ ิ อรหนตฺ านํ ภยํ วา สนฺตาโส
วา, อานสิ ํสํ ทสิ วฺ า อรหนโฺ ต ปกกฺ นฺตา ทิสาวทิ ิสน”ฺ ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน ทา่ นจ�ำแนกปัญหาไดด้ แี ลว้ ขอ้ ที่พระ
อรหนั ตท์ ง้ั หลายไม่มคี วามกลัว หรอื ความพรนั่ พรึง นี้เปน็ อย่างนี้เอง พระอรหนั ตท์ ั้งหลาย
หลบหลกี ไปยังทิศใหญ่ทศิ น้อย เพราะเหน็ อานิสงส์ตา่ งหาก”

42 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

อรหนตฺ อภายนปญโฺ ห นวโม ฯ
จบอรหันตอภายนปญั หาข้อท่ี ๙

________

๑๐. พุทธฺ สพฺพญฺญุภาวปญหฺ
๑๐. พุทธสพั พญั ญุภาวปญั หา
ปัญหาวา่ ดว้ ยความเป็นพระสพั พัญญขู องพระพุทธเจา้
[๑๐] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ตุมเฺ ห ภณถ ‘ตถาคโต สพพฺ ฺ ู’ติ ฯ ปุน จ ภณถ
‘ตถาคเตน สารปิ ตุ ตฺ โมคฺคลลฺ านปปฺ มุเข ภิกฺขุสเํ ฆ ปณามเิ ต จาตเุ มยฺยกา จ สกฺยา
พฺรหมฺ า จ สหมปฺ ต ิ พีชูปม ฺจ วจฺฉตรุณูปม ฺจ อปุ ทสฺเสตฺวา ภควนฺต ํ ปสาเทส ํุ ขมาเปส ุํ
นิชฌฺ ตฺตํ อกํสู’ติ ฯ กินนฺ ุ โข ภนฺเต นาคเสน อ ฺ าตา ตา อปุ มา ตถาคตสสฺ , ยาหิ
ตถาคโต อปุ มาหิ โอรโต ขมโิ ต อปุ สนฺโต นชิ ฺฌตตฺ ํ คโต?
[๑๐] พระเจ้ามิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พวกท่านกลา่ วกนั วา่ พระตถาคต
ทรงเป็นพระสัพพัญญูทรงรทู้ กุ สง่ิ ทกุ อยา่ ง และยงั กล่าวอกี วา่ เมอ่ื ภกิ ษุสงฆ์อนั มีทา่ นพระสารี-
บตุ รและทา่ นพระโมคคัลลานะเป็นประมุข ถกู พระตถาคตทรงขบั ไลแ่ ลว้ พวกเจ้าศากยะชาว
เมืองจาตุมาและท้าวสหัมบดีพรหม ก็ไดท้ �ำให้พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงเลอ่ื มใส ใหท้ รงอดโทษ
ให้ทรงพอพระทยั โดยแสดงอุปมาเร่อื งพืช และอปุ มาเร่อื งลูกโคอ่อน พระคณุ เจา้ นาคเสน
พระตถาคตไม่ทรงทราบอุปมาทีจ่ ะเป็นเหตใุ หพ้ ระองคท์ รงยนิ ดี ทรงอดโทษ ทรงสงบ ทรงถงึ
ความพอพระทยั หรือไร ?

“ยทิ, ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคตสสฺ ตา อปุ มา อ ฺ าตา, เตนหิ พทุ ฺโธ อสพฺพ ฺ ,ู
ยทิ าตา, เตนหิ โอกสสฺ ปสยหฺ วมี ํสาเปกโฺ ข ปณาเมส,ิ เตนห ิ ตสสฺ อการ ุ ฺ ตา
สมฺภวติ ฯ อยมฺป ิ อภุ โต โกฏโิ ก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตโฺ ต, โส ตยา นพิ ฺพาหติ พฺโพ’’ติ ฯ
พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากวา่ พระตถาคตไม่ทรงทราบอปุ มาเหล่าน้ัน ถา้ อยา่ งนัน้
พระพทุ ธเจา้ ก็หาใช่พระสัพพัญญูไม่ ถา้ หากวา่ ทรงรู้ ถา้ อย่างน้นั กท็ รงมงุ่ จะทดสอบจิตใจตาม
ความพอพระทยั จึงทรงขบั ไล่ ถ้าเปน็ อย่างน้ัน พระตถาคตน้ันกไ็ ม่ทรงมพี ระกรุณา ปญั หาแม้
ขอ้ นกี้ ็มี ๒ เงือ่ น ตกถึงแก่ท่านแล้วโดยล�ำดบั ขอท่านพึงคลค่ี ลายปญั หานนั้ เถดิ ”

กณั ฑ]์ ๔.๔ สัพพญั ญุตญาณวรรค 43

‘‘สพพฺ ฺ ู มหาราช ตถาคโต, ตาหิ จ อปุ มาห ิ ภควา ปสนโฺ น โอรโต ขมโิ ต
อุปสนฺโต นิชฺฌตฺตํ คโต ฯ ธมฺมสฺสามี มหาราช ตถาคโต ตถาคตปฺปเวทิเตเหว เต
โอปมฺเมห ิ ตถาคตํ อาราเธสุํ โตเสสุํ ปสาเทสํ,ุ เตส จฺ ตถาคโต ปสนฺโน ‘สาธู’ติ
อพฺภานโุ มทิ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระตถาคตทรงเป็น
สัพพัญญูจรงิ และพระผูม้ พี ระภาคทรงเลอื่ มใส ทรงยินดี ทรงอดโทษให้ ทรงสงบ ทรงถึงความ
พอพระทยั เพราะอปุ มาเหลา่ น้ัน จรงิ ขอถวายพระพร พระตถาคตทรงเป็นพระธรรมสามี
(เจา้ ของธรรม) เทวดาและคนเหล่านนั้ ได้ใช้อุปมาท่ีพระตถาคตทรงประกาศไว้นน่ั แหละ ท�ำ
พระตถาคตให้ทรงยินดี ให้ทรงพอพระทัย ใหท้ รงเล่ือมใส ซ่ึงพระตถาคตก็ทรงเล่ือมใส
อนโุ มทนาบคุ คลเหล่านั้นว่า ‘สาธ’ุ
‘‘ยถา มหาราช อิตถฺ ี สามกิ สสฺ สนฺตเกเนว ธเนน สามิก ํ อาราเธติ โตเสติ
ปสาเทติ, ต ฺจ สามิโก ‘สาธ’ู ต ิ อพฺภานโุ มทต,ิ เอวเมว โข มหาราช จาตุเมยฺยกา จ
สกฺยา พรฺ หฺมา จ สหมฺปต ิ ตถาคตปฺปเวทเิ ตเหว โอปมเฺ มห ิ ตถาคตํ อาราเธสํ ุ โตเสส ํุ
ปสาเทสํุ, เตส จฺ ตถาคโต ปสนโฺ น ‘สาธ’ู ติ อพฺภานุโมทิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ หญิงใช้ทรัพย์ทีเ่ ป็นของสามนี ั่นแหละ ท�ำให้สามี
ยนิ ดี ให้พอใจ ให้เล่อื มใส ซงึ่ ผเู้ ป็นสามกี ็เลื่อมใสหญิงนน้ั กลา่ วชื่นชมวา่ ดจี รงิ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พวกเจา้ ศากยะชาวเมอื งจาตุมา และท่านท้าวสหมั บดพี รหม กไ็ ดใ้ ช้อปุ มาท่พี ระ
ตถาคตได้ทรงประกาศไวแ้ ลว้ นน่ั แหละ ท�ำพระตถาคตให้ทรงยนิ ดี ให้ทรงพอพระทัย ใหท้ รง
เลอื่ มใส และพระตถาคตกไ็ ดท้ รงเลอ่ื มใสบคุ คลเหลา่ น้นั ตรสั อนโุ มทนาว่า สาธุ ฉนั นน้ั เหมอื น
กนั
‘‘ยถา วา ปน มหาราช กปฺปโก ร ฺโ สนตฺ เกเนว สุวณณฺ ผณเกน ร โฺ
อตุ ตฺ มงฺค ํ ปสาธยมาโน ราชาน ํ อาราเธติ โตเสติ ปสาเทต,ิ ตสสฺ จ ราชา ปสนฺโน ‘สาธ’ู ต ิ
อพภฺ านุโมทต,ิ ยถิจฉฺ ติ มนุปปฺ เทติ, เอวเมว โข มหาราช จาตุเมยยฺ กา จ สกยฺ า พฺรหฺมา
จ สหมปฺ ต ิ ตถาคตปฺปเวทเิ ตเหว โอปมเฺ มห ิ ตถาคต ํ อาราเธสุ ํ โตเสส ุํ ปสาเทสุํ, เตส ฺจ
ตถาคโต ปสนโฺ น ‘สาธู’ต ิ อพภฺ านุโมทิ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหน่งึ เปรยี บเหมอื นวา่ ช่างแต่งผมใชแ้ ผ่นทองของพระราชา
น่ันเอง ปรบั ทรงพระเกศาของพระราชา ท�ำพระองคใ์ หท้ รงยนิ ดี ใหท้ รงพอพระทัย ให้ทรง

44 มลิ ินทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

เลอ่ื มใส พระราชาก็ทรงเลอื่ มใสเขา ตรัสชื่นชมว่า ดจี ริง ฉนั ใด ขอถวายพระพร พวกเจา้ ศากยะ
ชาวเมืองจาตมุ า และท่านท้าวสหมั บดีพรหม ก็ไดใ้ ชอ้ ุปมาท่ีพระตถาคตไดท้ รงประกาศไวแ้ ลว้
นั่นแหละ ท�ำพระตถาคตใหท้ รงยินดี ใหท้ รงพอพระทัย ใหท้ รงเล่อื มใส ซง่ึ พระตถาคตกไ็ ด้ทรง
เลอื่ มใสบคุ คลเหล่านนั้ ตรสั อนุโมทนาวา่ ‘สาธ’ุ ฉันน้ัน

‘‘ยถา วา ปน มหาราช สทธฺ ิวิหารโิ ก อปุ ชฺฌายาภตํ ปณิ ฑฺ ปาตํ คเหตฺวา
อุปชฺฌายสฺส อุปนาเมนโฺ ต อปุ ชฺฌาย ํ อาราเธต ิ โตเสต ิ ปสาเทติ, ต จฺ อุปชฺฌาโย
ปสนฺโน ‘สาธ’ู ติ อพฺภานุโมทต,ิ เอวเมว โข มหาราช จาตุเมยฺยกา จ สกยฺ า พรฺ หมฺ า จ
สหมปฺ ต ิ ตถาคตปปฺ เวทิเตเหว โอปมเฺ มห ิ ตถาคตํ อาราเธสุ ํ โตเสสุ ํ ปสาเทส,ํุ เตส ฺจ
ตถาคโต ปสนโฺ น ‘สาธู’ติ อพฺภานุโมทติ ฺวา สพพฺ ทุกฺขปริมุตตฺ ยิ า ธมฺม ํ เทเสสี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหน่งึ เปรยี บเหมอื นว่า สทั ธิวิหารกิ ถอื เอาบิณฑบาตที่พระ
อุปัชฌายห์ ามาไดน้ ั่นแหละ นอ้ มเขา้ ไปถวายพระอุปชั ฌาย์ ท�ำพระอุปัชฌายใ์ หย้ นิ ดี ให้พอใจ
ให้เลือ่ มใส พระอุปัชฌายก์ ็เลอ่ื มใสสทั ธิวิหาริกผู้นั้น กล่าวช่ืนชมวา่ ดีจรงิ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร พวกเจ้าศากยะชาวเมอื งจาตมุ า และท่านท้าวสหัมบดพี รหม ก็ได้ใชอ้ ุปมาทพ่ี ระ
ตถาคตได้ทรงประกาศไว้แล้วนัน่ แหละ ท�ำพระตถาคตให้ทรงยินดี ใหท้ รงพอพระทยั ให้ทรง
เลอื่ มใส ซงึ่ พระตถาคตก็ไดท้ รงเล่ือมใสบคุ คลเหลา่ นนั้ ตรสั อนโุ มทนาว่า ‘สาธุ’ แล้วทรงแสดง
ธรรมเพอื่ ความหลดุ พ้นจากทุกข์ทง้ั ปวง ฉันน้ันเหมอื นกัน”

‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ ามตี ิ ฯ
พระเจ้ามิลินท์ตรัสวา่ “ดจี ริง พระคุณเจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามทีท่ า่ นกล่าวมา
แลว้ ฉะนี”้

พุทธฺ สพพฺ ญญฺ ภุ าวปญโฺ ห ทสโม ฯ
จบพุทธสพั พญั ญภุ าวปัญหาข้อที่ ๑๐

สพฺพญฺญตุ าณวคโฺ ค จตตุ โฺ ถ ฯ
จบสพั พญั ญุตญาณวรรคที่ ๔

อมิ สมฺ ึ วคเฺ ค ทส ปญหฺ า ฯ
ในวรรคน้ีมปี ญั หา ๑๐ ข้อ
________

กณั ฑ์] ๔.๕ สันถววรรค 45

๔.๕ สนถฺ ววคคฺ

๔.๕ สนั ถววรรค หมวดว่าดว้ ยความเชยชดิ

๑. สนถฺ วปญหฺ

๑. สนั ถวปัญหา

ปัญหาวา่ ดว้ ยความเชยชดิ

[๑] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมเฺ ปตํ ภควตา –
‘‘สนถฺ วโต ภยํ ชาต ํ นเิ กตา ชายเต รโช
อนเิ กตมสนถฺ ว ํ เอต ํ เว มุนทิ สสฺ นน’ฺ ติ ฯ
[๑] พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั วา่ “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงภาษติ ความ
ข้อนไี้ ว้วา่
“ภยั เกดิ จากความเชยชดิ ธุลี (คือราคะ โทสะ และโมหะ) เกิด
จากอารมณเ์ ป็นทีต่ ั้งแห่งกิเลส ความไม่มีกิเลส ไมม่ คี วามเชย
ชิดน้นั แล เปน็ ลกั ษณะของมนุ ”ี ดงั น้ี

‘‘ปุน จ ภควตา ภณิต ํ ‘วหิ าเร การเย รมเฺ ม, วาสเยตฺถ พหสุ สฺ เุ ต’ติ ฯ ยท ิ ภนเฺ ต
นาคเสน ตถาคเตน ภณิตํ ‘สนฺถวโต ภยํ ชาตํ, นเิ กตา ชายเต รโช ฯ อนิเกตมสนฺถวํ,
เอต ํ เว มุนทิ สฺสนนฺ’ติ, เตนหิ ‘วหิ าเร การเย รมเฺ ม, วาสเยตฺถ พหสุ สฺ เุ ต’ติ ยํ วจนํ, ตํ
มิจฺฉา ฯ ยท ิ ตถาคเตน ภณติ ํ ‘วหิ าเร การเย รมเฺ ม, วาสเยตถฺ พหุสฺสเุ ต’ต,ิ เตนห ิ
‘สนฺถวโต ภยํ ชาต,ํ นเิ กตา ชายเต รโช ฯ อนเิ กตมสนฺถวํ, เอต ํ เว มนุ ิทสฺสน’นฺติ ตมปฺ ิ
วจน ํ มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตฺโต, โส ตยา นพิ ฺพาหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
และพระผมู้ พี ระภาคเจ้าตรัสไว้อกี ว่า ‘(ผฉู้ ลาดเม่อื เห็นประโยชน์ของตน) พึงสรา้ ง
วหิ ารอันนา่ ร่ืนรมย์ถวายภิกษผุ เู้ ป็นพหูสตู ให้อย่ใู นทนี เ้ี ถดิ ’ พระคณุ เจ้านาคเสน ถา้ หากวา่
พระตถาคตตรสั วา่ ‘ภัยเกิดจากความเชยชดิ ธลุ ี คือ ราคะ โทสะ และโมหะเกดิ จากอารมณเ์ ป็น
ที่ตง้ั แหง่ กเิ ลส ความไมม่ ีกิเลส ไม่มีความเชยชิด นั้นแล เปน็ ลักษณะของมนุ ’ี ดงั น้ี จริงไซร้ ถ้า
อย่างนั้น ค�ำที่ว่า ‘พึงสร้างวิหารอนั นา่ ร่นื รมยถ์ วายภิกษผุ เู้ ป็นพหูสตู ใหอ้ ยู่ในทน่ี เี้ ถดิ ’ ดังน้ี ก็
ย่อมเปน็ ค�ำทผ่ี ดิ ถ้าหากวา่ พระตถาคตตรัสวา่ ‘พงึ สรา้ งวิหารอันนา่ ร่นื รมย์ ถวายภกิ ษุผู้เป็น
พหูสูตใหอ้ ย่ใู นทนี่ เ้ี ถิด’ ดังน้ี จรงิ ไซร้ ถ้าอย่างนน้ั ค�ำที่ตรัสวา่ ‘ภยั เกดิ จากความเชยชิด ธุลีคือ

46 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ราคะ โทสะ และโมหะ เกดิ จากอารมณเ์ ปน็ ทต่ี ัง้ แหง่ กิเลส ความไม่มีกเิ ลส ไม่มคี วามเชยชดิ
น้ันแล เปน็ ลกั ษณะของมนุ ี’ ดังน้ี กย็ ่อมเปน็ ค�ำทผี่ ดิ ปญั หาแม้ข้อน้ี ก็มี ๒ เง่อื น ตกถงึ แก่ท่าน
แลว้ โดยล�ำดับ ขอท่านพงึ คล่คี ลายปญั หานนั้ เถดิ ”
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘สนถฺ วโต ภย ํ ชาตํ, นิเกตา ชายเต รโช ฯ
อนเิ กตมสนถฺ วํ, เอตํ เว มนุ ทิ สฺสนน’ฺ ติ ฯ ภณติ จฺ ‘วิหาเร การเย รมเฺ ม, วาสเยตถฺ
พหสุ สฺ เุ ต’ติ ฯ ย ํ มหาราช ภควตา ภณิต ํ ‘สนฺถวโต ภยํ ชาต,ํ นเิ กตา ชายเต รโช ฯ
อนิเกตมสนฺถว,ํ เอต ํ เว มุนิทสฺสนนฺ’ติ, ตํ สภาววจนํ อเสสวจน ํ นสิ ฺเสสวจนํ นิปปฺ รยิ าย-
วจน ํ สมณานจุ ฺฉว ํ สมณสารุปฺปํ สมณปฺปติรปู ํ สมณารห ํ สมณโคจรํ สมณปฺปฏปิ ทา
สมณปฺปฏปิ ตฺติ ฯ ยถา มหาราช อาร ฺ โก มโิ ค อร ฺเ ปวเน จรมาโน นริ าลโย
อนเิ กโต ยถจิ ฉฺ ก ํ สยต,ิ เอวเมว โข มหาราช ภิกฺขนุ า ‘สนถฺ วโต ภย ํ ชาต,ํ นเิ กตา
ชายเต รโช ฯ อนเิ กตมสนถฺ วํ, เอตํ เว มนุ ทิ สสฺ นน’ฺ ต ิ จินฺเตตพพฺ ํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษติ ความข้อนไ้ี วว้ ่า ‘ภัยเกิดจากความเชยชดิ ธลุ คี อื ราคะ โทสะ และโมหะ เกดิ จากอารมณ์
เปน็ ทีต่ ั้งแหง่ กเิ ลส ความไม่มกี เิ ลส ไม่มีความเชยชดิ นน้ั แล เปน็ ลกั ษณะของมนุ ’ี ดังน้ี จริง
และตรสั ไวอ้ ีกวา่ ‘พงึ สรา้ งวหิ ารอนั นา่ รืน่ รมย์ถวายภกิ ษุผู้เป็นพหูสูตใหอ้ ยูใ่ นที่น้เี ถดิ ’ ดงั นี้ จรงิ
ขอถวายพระพร ค�ำท่ีตรัสไวว้ า่ ‘ภยั เกดิ จากความเชยชดิ ธุลคี ือ ราคะ โทสะ และโมหะ เกิดจาก
อารมณเ์ ปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ กเิ ลส ความไม่มกี ิเลส ไมม่ ีความเชยชิด นั้นแล เปน็ ลกั ษณะของมุน’ี ดงั น้ี
เป็นค�ำพูดไปตามสภาวะ เป็นค�ำพูดหาส่วนเหลือมิได้ เปน็ ค�ำพูดทีไ่ มม่ ีสว่ นเหลอื เป็นค�ำพูด
โดยนิปริยาย เปน็ ค�ำพูดที่เหมาะแก่สมณะ เป็นค�ำพูดท่ีควรแก่สมณะ เป็นค�ำพูดทีค่ ู่ควรแก่
สมณะ เป็นค�ำพูดทีใ่ ช้เฉพาะสมณะ เป็นอารมณข์ องสมณะ เป็นปฏิปทาส�ำหรบั สมณะ เป็นขอ้
ปฏิบตั ิส�ำหรับสมณะ ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า เนอ้ื ปา่ ผ้ทู อ่ งเทย่ี วไปในปา่ ทบึ ยอ่ ม
เป็นผ้ปู ราศจากทีอ่ ยู่ ไม่มีบ้าน อาศยั อยู่ตามทต่ี ้องการ ฉนั ใด ขอถวายพระพร ผู้เป็นภกิ ษุควร
ค�ำนงึ ว่า ‘ภัยเกิดจากความเชยชดิ ธุลคี ือ ราคะ โทสะ และโมหะ เกิดจากอารมณ์เป็นทีต่ ัง้ แหง่
กเิ ลส ความไม่มีกิเลส ไม่มีความเชยชิด น้นั แล เปน็ ลกั ษณะของมนุ ี’ ดงั นี้ ฉันนั้นเหมอื นกัน
‘‘ย ํ ปน มหาราช ภควตา ภณติ ํ ‘วิหาเร การเย รมฺเม, วาสเยตถฺ พหสุ สฺ ุเต’ติ, ต ํ
เทฺว อตถฺ วเส สมปฺ สสฺ มาเนน ภควตา ภณิตํ ฯ กตเม เทวฺ ? วิหารทานํ นาม สพพฺ พุทฺเธหิ
วณฺณิต ํ อนมุ ต ํ โถมติ ํ ปสตฺถํ, ตํ เต วิหารทาน ํ ทตวฺ า ชาติชรามรณา ปรมิ ุจจฺ ิสฺสนฺตตี ิ ฯ

กณั ฑ์] ๔.๕ สนั ถววรรค 47

อยํ ตาว ป โม อานสิ โํ ส วหิ ารทาเน ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนค�ำท่ีพระผู้มพี ระภาคเจา้ ตรสั ไว้วา่ พงึ สรา้ งวิหารอันนา่ รื่นรมย์
ถวายภิกษผุ ู้เป็นพหสู ตู ใหอ้ ย่ใู นทีน่ ้ี ดงั น้ี ใด พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสค�ำนน้ั เพราะทรงเลง็ เหน็
อ�ำนาจประโยชน์ ๒ อยา่ ง อ�ำนาจประโยชน์ ๒ อย่าง เป็นไฉน ? ขึน้ ชือ่ วา่ การถวายวหิ าร
พระพุทธเจา้ ทกุ พระองคท์ รงยกยอ่ ง ทรงเห็นชอบ ทรงชมเชย ทรงสรรเสรญิ บคุ คลเหล่านัน้
ถวายวหิ ารเป็นทานแล้ว จกั หลดุ พ้นจากชาติ ชรา และมรณะได้ นเี้ ป็นอานิสงส์ข้อแรกในการ
ถวายวิหารกอ่ น
‘‘ปนุ จปรํ วิหาเร วชิ ชฺ มาเน ภกิ ขฺ นุ โิ ย พยฺ ตตฺ สงฺเกตา ภวิสฺสนฺติ, สุลภํ ทสสฺ นํ
ทสสฺ นกามาน,ํ อนเิ กเต ททุ ฺทสสฺ นา ภวสิ ฺสนตฺ ตี ิ ฯ อย ํ ทุตโิ ย อานสิ โํ ส วิหารทาเน ฯ อเิ ม
เทฺว อตฺถวเส สมฺปสฺสมาเนน ภควตา ภณติ ํ ‘วหิ าเร การเย รมเฺ ม, วาสเยตฺถ พหุสฺสุเต’ติ,
น ตตถฺ พทุ ฺธปุตเฺ ตน อาลโย กรณโี ย นเิ กเต’’ติ ฯ
ยงั มีอีกขอ้ หน่งึ เม่ือวิหารมีอยู่ ภกิ ษุณีทัง้ หลาย กจ็ ักเป็นผ้ทู ใี่ คร ๆ สังเกตเห็นได้ดี ผูท้ ่ี
ต้องการจะพบเหน็ ก็พบเห็นไดง้ า่ ย เมอ่ื ไม่มีท่ีอยู่ ก็จกั เป็นผู้ทเ่ี ขาพบเหน็ ไดย้ าก นเ้ี ปน็
อานสิ งส์ขอ้ ท่ี ๒ ในการถวายวิหาร พระผมู้ พี ระภาคเจ้า เมื่อเล็งเห็นอ�ำนาจประโยชน์ ๒ อยา่ ง
นี้ จึงตรัสวา่ พงึ สร้างวิหารอนั นา่ ร่ืนรมย์ ถวายภกิ ษุผเู้ ป็นพหสู ตู ให้อยูใ่ นท่ีน้ี ดงั นี้ ภกิ ษุผู้เปน็
พทุ ธบุตรไมพ่ ึงท�ำความอาลัยในที่อยนู่ น้ั ”
‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ นิ ท์ตรัสว่า “ดีจรงิ พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามทท่ี า่ นกลา่ วมา
แล้วฉะน้ี”

สนถฺ วปญฺโห ป€โม ฯ
จบสันถวปัญหาข้อที่ ๑

________

48 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

๒. อุทรสํยตปญฺห
๒. อุทรสังยตปญั หา
ปญั หาว่าดว้ ยการสำ� รวมทอ้ ง
[๒] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มฺเปต ํ ภควตา –
‘‘อตุ ตฺ ฏิ เฺ นปฺปมชเฺ ชยฺย อทุ เร สยํ โต สยิ า’ติ ฯ
[๒] พระเจ้ามิลินท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงภาษิตความ
ขอ้ น้ีไว้วา่
“ภิกษุไมพ่ ึงประมาทในบณิ ฑบาตทีต่ นยืนรบั ควรเป็นผสู้ �ำรวม
ในทอ้ ง” ดังน้ี

‘‘ปุน จ ภควตา ภณิต ํ ‘อห ํ โข ปนุทาย,ิ อปเฺ ปกทา อิมินา ปตเฺ ตน สมติตตฺ กิ มปฺ ิ
ภุ ชฺ ามิ, ภยิ ฺโยปิ ภุ ฺชาม’ี ติ ฯ ยทิ ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณิต ํ ‘อุตฺติฏฺเ
นปฺปมชเฺ ชยฺย, อทุ เร สํยโต สิยา’ต,ิ เตนห ิ ‘อห ํ โข ปนุทาย,ิ อปฺเปกทา อิมนิ า ปตฺเตน
สมติตถฺ ิกมปฺ ิ ภ ุ ฺชาม,ิ ภยิ โฺ ยป ิ ภุ ชฺ าม’ี ต ิ ยํ วจน,ํ ต ํ มิจฺฉา ฯ ยทิ ตถาคเตน ภณติ ํ ‘อหํ
โข ปนทุ าย,ิ อปฺเปกทา อิมนิ า ปตฺเตน สมติตฺถิกมฺป ิ ภุ ฺชามิ, ภิยโฺ ยป ิ ภ ุ ฺชามี’ต,ิ เตนหิ
‘อตุ ตฺ ฏิ เฺ นปปฺ มชฺเชยยฺ , อุทเร สยํ โต สยิ า’ติ ตมปฺ ิ วจน ํ มจิ ฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อุภโต โกฏิโก
ป ฺโห ตวานุปปฺ ตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหิตพฺโพ’’ติ ฯ
และพระผู้มพี ระภาคเจา้ กย็ งั ตรัสไว้อีกวา่ ‘อทุ ายี สว่ นเราสิ บางคร้ังฉันอาหารเสมอ
ขอบปากบาตรนี้ก็มี ย่งิ กวา่ ก็มี’ ดงั น้ี พระคณุ เจ้านาคเสน ถา้ หากวา่ พระผ้มู พี ระภาคเจ้าตรสั
วา่ ‘ภกิ ษุไมพ่ ึงประมาทบิณฑบาตที่ตนยนื รบั ควรเปน็ ผ้สู �ำรวมในท้อง’ ดงั น้ี จรงิ ไซร้ ถา้ อยา่ ง
นนั้ ค�ำท่ตี รสั ไว้ว่า ‘อทุ ายี ส่วนเราสิ บางครง้ั ฉนั อาหารเสมอขอบปากบาตรน้ีกม็ ี ยงิ่ กวา่ กม็ ’ี
ดงั น้ี กย็ อ่ มเป็นค�ำท่ีผิด ถา้ หากพระตถาคตตรัสวา่ ‘อทุ ายี ส่วนเราสิ บางครั้งฉันอาหารเสมอ
ขอบปากบาตรนีก้ ็มี ยงิ่ กวา่ ก็ม’ี ดังน้ี จรงิ ไซร้ ถา้ อยา่ งน้ัน ค�ำทีต่ รัสวา่ ‘ภิกษไุ ม่พงึ ประมาท
บณิ ฑบาตท่ตี นยืนรบั ควรเปน็ ผู้ส�ำรวมท้อง’ ดงั นี้ ก็ย่อมเปน็ ค�ำที่ผิด ปัญหาแม้ขอ้ นี้ ก็มี ๒
เงอ่ื น ตกถงึ แกท่ า่ นแลว้ โดยล�ำดับ ขอท่านพงึ คล่คี ลายปัญหาน้ันเถิด”

‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘อุตตฺ ิฏฺเ นปฺปมชเฺ ชยยฺ , อุทเร สํยโต สิยา’ติ,
ภณติ ฺจ ‘อห ํ โข ปนทุ าย,ิ อปเฺ ปกทา อิมินา ปตฺเตน สมติตตฺ ิกมฺปิ ภุ ชฺ ามิ, ภิยฺโยปิ

กณั ฑ์] ๔.๕ สนั ถววรรค 49

ภ ุ ฺชาม’ี ติ ฯ ย ํ มหาราช ภควตา ภณิต ํ ‘อุตตฺ ฏิ ฺเ นปปฺ มชฺเชยยฺ , อทุ เร สํยโต สยิ า’ติ,
ต ํ สภาววจนํ อเสสวจนํ นิสเฺ สสวจนํ นิปฺปรยิ ายวจนํ ภูตวจน ํ ตจฺฉวจน ํ ยาถาววจนํ
อวิปรตี วจนํ อสิ ิวจน ํ มนุ ิวจน ํ ภควนตฺ วจนํ อรหนตฺ วจน ํ ปจเฺ จกพุทธฺ วจน ํ ชินวจนํ
สพฺพ ฺ วุ จนํ ตถาคตสฺส อรหโต สมมฺ าสมฺพทุ ฺธสสฺ วจนํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความขอ้ นไ้ี ว้วา่ ‘ภิกษุไม่พงึ ประมาทบณิ ฑบาตทต่ี นยนื รับ ควรเปน็ ผู้ส�ำรวมในท้อง’
ดังน้ี จรงิ และยังตรสั ไวอ้ กี วา่ ‘อทุ ายี ส่วนเราสิ บางครั้งฉนั อาหารเสมอขอบปากบาตรนี้ก็มี ยงิ่
กว่าก็ม’ี ดังน้ี จริง ขอถวายพระพร ค�ำทีต่ รัสไวว้ า่ ‘ภิกษไุ มค่ วรประมาทบิณฑบาตที่ตนยนื รบั
ควรเป็นผู้ส�ำรวมในทอ้ ง’ ดังน้ี ใด ค�ำนน้ั เป็นค�ำที่ตรัสไปตามสภาวะ เปน็ ค�ำพดู หาส่วนเหลอื
มิได้ เป็นค�ำพดู ทไี่ ม่มสี ว่ นเหลอื เปน็ ค�ำพูดโดยนิปรยิ าย เปน็ ค�ำจริง เปน็ ค�ำแท้ เป็นค�ำกล่าว
ไปตามความเปน็ จริง เป็นค�ำพูดทไี่ มว่ ปิ ริต เป็นค�ำพดู ของท่านผู้เปน็ ฤาษี เป็นค�ำของพระมนุ ี
เป็นด�ำรสั ของพระผู้มีพระภาคเจา้ เปน็ ค�ำของพระอรหนั ต์ เป็นค�ำของพระปัจเจกพทุ ธเจ้า เปน็
ค�ำตรัสของพระชนิ เจ้า เปน็ ค�ำตรัสของพระสัพพญั ญู เป็นพระด�ำรัสของพระตถาคตอรหนั ต-
สมั มาสัมพุทธเจ้า
‘‘อุทเร อสํยโต มหาราช ปาณมปฺ ิ หนติ, อทนิ นฺ มปฺ ิ อาทิยต,ิ ปรทารมปฺ ิ คจฺฉต,ิ
มสุ าป ิ ภณติ, มชฺชมปฺ ิ ปิวติ, มาตรมฺป ิ ชวี ิตา โวโรเปต,ิ ปติ รมฺป ิ ชีวติ า โวโรเปติ,
อรหนตฺ มฺปิ ชวี ิตา โวโรเปต,ิ สงฆฺ มฺป ิ ภนิ ทฺ ติ, ทฏุ ฺเ น จิตเฺ ตน ตถาคตสสฺ โลหติ มฺป ิ
อปุ ปฺ าเทติ ฯ นนุ, มหาราช, เทวทตฺโต อทุ เร อสํยโต สฆํ ํ ภินฺทิตวฺ า กปฺปฏ ฺ ยิ ํ กมฺม ํ
อายูหิ ฯ เอวรูปานิ มหาราช อ ฺ านิปิ พหวุ ธิ านิ การณาน ิ ทสิ วฺ า ภควตา ภณติ ํ
‘อตุ ตฺ ิฏเฺ นปฺปมชเฺ ชยฺย, อุทเร สํยโต สิยา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร บุคคลผู้ไมส่ �ำรวมในทอ้ ง ย่อมฆา่ สตั วบ์ ้าง ยอ่ มถอื เอาของท่ีเขามไิ ด้
ให้บ้าง ยอ่ มคบหาภรรยาของผู้อน่ื บา้ ง ยอ่ มกลา่ วค�ำเทจ็ บ้าง ย่อมดืม่ น�้ำเมาบ้าง ยอ่ มปลงชวี ติ
มารดาบ้าง ย่อมปลงชวี ิตบดิ าบา้ ง ยอ่ มปลงชีวิตพระอรหันต์บ้าง ยอ่ มยุยงใหส้ งฆแ์ ตกกันบา้ ง
ยอ่ มเป็นผู้มจี ิตประทษุ ร้ายท�ำพระโลหติ ของพระตถาคตให้ห้อขึน้ บา้ ง ขอถวายพระพร พระ
เทวทัตเป็นผไู้ ม่ส�ำรวมในท้อง มิใชห่ รือ จงึ ยยุ งสงฆใ์ หแ้ ตกแยกกัน พยายามท�ำกรรมทม่ี ผี ลตั้ง
อยไู่ ดต้ ลอดกปั ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจา้ ทรงเล็งเหน็ เหตุการณ์หลายอยา่ ง เหน็
ปานฉะนี้ ทงั้ อย่างอน่ื ๆ ดว้ ย จงึ ตรัสไว้วา่ ไม่ควรประมาทบิณฑบาตที่ตนยืนรับ ควรเป็นผู้
ส�ำรวมในท้อง ดงั นี้

50 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘อุทเร สยํ โต มหาราช จตุสจจฺ าภสิ มย ํ อภิสเมต,ิ จตฺตาร ิ สาม ฺ ผลาน ิ
สจฉฺ ิกโรติ, จตสู ุ ปฏสิ มภฺ ิทาสุ อฏ ฺ ส ุ สมาปตตฺ สี ุ ฉส ุ อภ ิ ฺ าสุ วสีภาว ํ ปาปณุ าต,ิ
เกวล ฺจ สมณธมมฺ ํ ปูเรติ ฯ นน ุ มหาราช สกุ โปตโก อุทเร สํยโต หตุ วฺ า ยาว ตาวตึส-
ภวน ํ กมฺเปตฺวา สกฺก ํ เทวานมินทฺ ํ อปุ ฏฺ านมปุ เนสิ, เอวรปู านิ มหาราช อ ฺ านิปิ
พหุวิธาน ิ การณานิ ทิสฺวา ภควตา ภณิตํ ‘อตุ ตฺ ฏิ เฺ นปปฺ มชเฺ ชยฺย, อทุ เร สํยโต สิยา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร บคุ คลผูส้ �ำรวมในท้อง ย่อมตรัสรู้ธรรมท่คี วรตรัสรู้ คือ สจั จะ ๔ ย่อม
ท�ำสามัญผล ๔ ใหแ้ จ่มแจ้งได้ ย่อมบรรลวุ สภี าวะในปฏิสัมภทิ า ๔ ในสมาบัติ ๘ ในอภญิ ญา ๖
ได้ ทง้ั ยังท�ำสมณธรรมทง้ั สน้ิ ใหเ้ ต็มเป่ยี มได้ ขอถวายพระพร นกแขกเตา้ เปน็ ผ้สู �ำรวมในทอ้ ง
มใิ ชห่ รือ จึงท�ำโลกธาตใุ ห้ไหวไปตลอดถงึ ภพดาวดงึ ส์ ท�ำใหท้ า้ วสกั กะจอมเทพต้องเสดจ็ มา
ทะนุบ�ำรุง ขอถวายพระพร พระผ้มู ีพระภาคเจ้าทรงเลง็ เห็นเหตุการณห์ ลายอยา่ ง เหน็ ปาน
ฉะนี้ ทัง้ อยา่ งอน่ื ๆ ดว้ ย จงึ ตรสั ไว้ว่า ไม่ควรประมาทในบณิ ฑบาตท่ตี นยนื รับ ควรเปน็ ผู้
ส�ำรวมในท้อง
‘‘ย ํ ปน มหาราช ภควตา ภณิตํ ‘อห ํ โข ปนทุ ายิ อปเฺ ปกทา อิมนิ า ปตฺเตน
สมติตตฺ กิ มฺป ิ ภ ุ ฺชามิ, ภิยโฺ ยป ิ ภุ ชฺ าม’ี ติ, ตํ กตกิจฺเจน นิฏ ฺ ิตกริ ิเยน สทิ ธฺ ตเฺ ถน
วสุ ิตโวสาเนน นริ าวรเณน สพพฺ ฺ ุนา สยมฺภนุ า ตถาคเตน อตฺตาน ํ อปุ าทาย ภณติ ํ ฯ
ขอถวายพระพร ส่วนค�ำทพ่ี ระผู้มีพระภาคเจา้ ตรัสไว้วา่ อุทายี ส่วนเราสิ บางคร้ังฉัน
อาหารเสมอขอบบาตรนบ้ี า้ ง ย่งิ กว่าบ้าง ดงั นี้ ใด ค�ำน้นั พระตถาคตผู้ทรงท�ำกจิ เสร็จแลว้ ผู้
สิ้นสุดกิจท่คี วรท�ำแลว้ ผู้ส�ำเรจ็ ประโยชน์แลว้ ผูอ้ ยู่จบพรหมจรรย์แลว้ ผูห้ าธรรมเคร่อื งกางก้นั
มิได้ ผ้เู ป็นพระสพั พัญญู ผูเ้ ป็นพระสยมั ภู ตรัสหมายเอาพระองค์เองเทา่ นั้น
‘‘ยถา มหาราช วนตฺ สฺส วิริตฺตสสฺ อนุวาสติ สสฺ อาตุรสฺส สปปฺ ายกริ ยิ า อิจฺฉติ พฺพา
โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช สกิเลสสฺส อทิฏ ฺ สจจฺ สสฺ อทุ เร สํยโม กรณโี ย โหติ ฯ ยถา
มหาราช มณิรตนสสฺ สปฺปภาสสฺส ชาตมิ นตฺ สฺส อภิชาติปริสุทธฺ สสฺ มชชฺ นนฆิ สํ นปริโสธเนน
กรณีย ํ น โหติ, เอวเมว โข มหาราช ตถาคตสสฺ พทุ ธฺ วิสเย ปารม ึ คตสฺส กิริยากรเณส ุ
อาวรณํ น โหตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ ส�ำหรับผทู้ ่ีเปน็ โรค เอาแต่อาเจียน เอาแต่ถา่ ย เปน็
ไขอ้ ยู่ กจ็ �ำปรารถนาหยูกยามาท�ำใหส้ บายหายจากโรค ฉนั ใด ขอถวายพระพร ส�ำหรับผู้ทมี่ ี
กิเลส ยงั ไมเ่ ห็นสจั ธรรม ก็ย่อมมีอันตอ้ งท�ำความส�ำรวมในท้อง (เพือ่ ท�ำใหส้ บายหายจากโรค

กณั ฑ์] ๔.๕ สนั ถววรรค 51

คอื กเิ ลส ฉันนนั้ ) ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า ส�ำหรับแก้วมณีที่มแี สงรุ่งเรอื ง มคี า่
บรสิ ุทธิ์ เปน็ อภชิ าติอยู่แล้ว กห็ ามอี ันต้องท�ำกจิ โดยการขดั สเี จยี ระไนใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิไม่ ฉนั ใด
ขอถวายพระพร ส�ำหรบั พระตถาคตผูบ้ รรลุพระบารมใี นพทุ ธวิสยั แลว้ หาทรงมอี ันต้องคอย
ส�ำรวมระวังในการกระท�ำกิจทีค่ วรท�ำท้งั หลายไม่ ฉนั นั้นเหมอื นกัน”

‘‘สาธุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรสั ว่า “ดจี รงิ พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามท่ีทา่ นกลา่ วมา
แลว้ ฉะนี้”

อทุ รสํยตปญโฺ ห ทตุ โิ ย ฯ
จบอทุ รสงั ยตปญั หาข้อที่ ๒

________

๓. พทุ ธฺ อปฺปาพาธปญฺห
๓. พุทธอัปปาพาธปัญหา
ปัญหาว่าด้วยความเปน็ ผมู้ ีอาพาธนอ้ ยแหง่ พระพทุ ธเจ้า
[๓] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ‘อหมสฺมิ ภิกขฺ เว พฺราหฺมโณ ยาจโยโค
สทา ปยตปาณ ิ อนฺติมเทหธโร อนุตตฺ โร ภสิ กโฺ ก สลลฺ กตโฺ ต’ติ ฯ ปุน จ ภณติ ํ ภควตา
‘เอตทคฺคํ ภิกฺขเว มม สาวกาน ํ ภิกฺขูน ํ อปปฺ าพาธานํ ยทิทํ พากโุ ล’ติ ฯ ภควโต จ สรีเร
พหกุ ขฺ ตฺต ํุ อาพาโธ อปุ ปฺ นฺโน ทสิ สฺ ติ ฯ ยทิ ภนฺเต นาคเสน ตถาคโต อนุตฺตโร, เตนหิ
‘เอตทคฺคํ…เป.… พากุโล’ติ ยํ วจน,ํ ตํ มจิ ฉฺ า ฯ ยทิ เถโร พากุโล อปฺปาพาธาน ํ อคโฺ ค,
เตนห ิ ‘อหมสฺมิ…เป.… สลลฺ กตโฺ ต’ติ ตมปฺ ิ วจนํ มิจฉฺ า ฯ อยมปฺ ิ อภุ โต โกฏโิ ก ป ฺโห
ตวานุปปฺ ตฺโต, โส ตยา นิพพฺ าหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
[๓] พระเจา้ มิลนิ ทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงภาษิตความ
ขอ้ น้ไี วว้ ่า ‘ภิกษุทั้งหลาย เรานี้แลเป็นพราหมณ์ ผู้ควรแก่การขอ ขวนขวายในธรรมทานตลอด
เวลา ทรงไวซ้ ึง่ อตั ภาพสุดทา้ ย เป็นศลั ยแพทย์ ผูย้ อดเยีย่ ม’ ดังนี้ และพระผมู้ ีพระภาคเจ้าก็ยงั
ตรัสไวอ้ ีกว่า ‘ภกิ ษทุ ั้งหลาย พระพากุละน้ี จดั วา่ เป็นยอดบรรดาภกิ ษุทง้ั หลายผู้มีอาพาธน้อย
ซึ่งเป็นสาวกของเรา’ ดังนี้ แตป่ รากฏวา่ พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ทรงเกดิ พระอาพาธขึ้นในพระ
สรรี ะหลายครงั้ พระคุณเจา้ นาคเสน ถา้ หากวา่ พระตถาคตทรงเป็นผยู้ อดเยยี่ ม จรงิ แล้วไซร้

52 มลิ นิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

ถา้ อยา่ งน้นั ค�ำทวี่ ่า ‘ภิกษุทั้งหลาย พระพากุละน้ี จดั ว่าเป็นยอดแห่งบรรดาภกิ ษทุ ง้ั หลายผูม้ ี
อาพาธนอ้ ย ซึ่งเปน็ สาวกของเรา’ ดังน้ี ก็ยอ่ มเป็นค�ำท่ีผิด ถ้าหากวา่ พระพากลุ ะเถระเป็นยอด
แห่งบรรดาภกิ ษุทง้ั หลายผมู้ อี าพาธนอ้ ย จริงแล้วไซร้ ถ้าอยา่ งน้นั ค�ำที่ว่า ‘ภกิ ษุทัง้ หลาย เรา
นีแ้ ลเป็นพราหมณ์ ฯลฯ เปน็ ผู้ยอดเย่ยี ม เป็นศลั ยแพทย์’ ดงั นี้ ก็ยอ่ มเปน็ ค�ำทผ่ี ดิ ปญั หาแม้ข้อ
น้ี กม็ ี ๒ เง่อื น ตกถึงแก่ท่านแล้วโดยล�ำดบั ขอท่านพงึ คล่ีคลายปัญหานั้นเถดิ ”
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘อหมสฺม…ิ เป.… สลลฺ กตฺโต’ต,ิ ภณติ ฺจ ‘เอตทคฺค…ํ
เป.… พากโุ ล’ต,ิ ต จฺ ปน พาหิราน ํ อาคมานํ อธคิ มาน ํ ปริยตตฺ นี ํ อตฺตนิ วิชฺชมานตํ
สนธฺ าย ภาสิตํ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผ้มู พี ระภาคเจ้าทรง
ภาษติ ความข้อนี้วา่ ‘ภิกษุท้งั หลาย เรานแ้ี ลเป็นพราหมณ์ ฯลฯ เปน็ ศลั ยแพทย’์ ดังนี้ จรงิ และ
ตรสั ไว้วา่ ‘ภิกษทุ ้งั หลาย พระพากลุ ะน้ี ฯลฯ ซึง่ เปน็ สาวกของเรา’ ดังนี้ จริง ก็ขอ้ ท่ีว่า พระพา-
กลุ ะเปน็ ยอดแหง่ บรรดาภิกษุท้งั หลาย ผมู้ ีอาพาธนอ้ ยนัน้ ตรัสหมายเอาภาวะทค่ี นภายนอก
(ไปจากพระองค)์ ก็มอี งคค์ ณุ แตล่ ะอยา่ ง คือ อาคม อธคิ ม ปรยิ ัติ เปน็ ต้น อย่ใู นตนได้
‘‘สนตฺ ิ โข ปน มหาราช ภควโต สาวกา านจงฺกมิกา, เต าเนน จงฺกเมน
ทวิ ารตฺตึ วตี ินาเมนตฺ ,ิ ภควา ปน มหาราช าเนน จงกฺ เมน นิสชฺชาย สยเนน ทิวารตตฺ ึ
วตี ินาเมต,ิ เย เต มหาราช ภิกฺขู านจงกฺ มกิ า, เต เตน องเฺ คน อติเรกา ฯ
ขอถวายพระพร สาวกของพระผมู้ ีพระภาคเจ้า ผู้อธิษฐานการยนื และการจงกรม ก็มี
อยแู่ ล สาวกเหล่านั้น ยบั ยั้งอยตู่ ลอดวนั และคนื ดว้ ยการยืนการจงกรม ส่วนพระผู้มีพระภาค
เจ้าทรงยับยั้งอยู่ดว้ ยการยนื ดว้ ยการจงกรม ด้วยการน่ัง ด้วยการนอน ขอถวายพระพร ภกิ ษุ
ผ้อู ธษิ ฐานการยืนและการจงกรมนนั้ ก็จดั ว่าเปน็ ผยู้ ่ิงกวา่ ดว้ ยองค์คุณนั้น ๆ
‘‘สนตฺ ิ โข ปน มหาราช ภควโต สาวกา เอกาสนกิ า, เต ชวี ิตเหตุป ิ ทุติย ํ โภชน ํ
น ภุ ชฺ นฺติ, ภควา ปน มหาราช ทตุ ิยมฺป ิ ยาว ตติยมฺป ิ โภชน ํ ภ ุ ฺชติ, เย เต มหาราช
ภิกขฺ ู เอกาสนกิ า, เต เตน องฺเคน อติเรกา, อเนกวิธานิ มหาราช ตานิ การณาน ิ เตสํ
เตส ํ ต ํ ต ํ สนธฺ าย ภณติ านิ ฯ
ขอถวายพระพร สาวกของพระผ้มู ีพระภาคเจ้า ผอู้ ธิษฐานการฉนั ณ อาสนะเดียว (ฉนั
หนเดยี ว) กม็ ีอยู่แล สาวกเหล่านน้ั จะไมย่ อมฉนั หนที่ ๒ แม้เพราะเหตแุ ห่งชวี ติ สว่ นพระผู้มี
พระภาคเจ้า เสวยพระกระยาหารแมห้ นที่ ๒ จนกระทง่ั แม้หนท่ี ๓ ขอถวายพระพร ภกิ ษุผู้

กณั ฑ]์ ๔.๕ สนั ถววรรค 53

อธษิ ฐานการฉันอาสนะเดยี วเหล่านั้น จดั ว่าเปน็ ผยู้ ่งิ กว่าดว้ ยองค์คณุ (คอื เฉพาะการอธิษฐาน
การฉนั ณ อาสนะเดยี ว) นัน้ ๆ ขอถวายพระพร พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงเลง็ เอาองค์คุณนัน้ ๆ
แห่งภกิ ษเุ หลา่ นนั้ ๆ จึงตรสั เหตุการณ์หลายอยา่ งตา่ ง ๆ กนั เหล่าน้ันไว้
ภควา ปน มหาราช อนุตฺตโร สีเลน สมาธินา ป ฺ าย วิมุตฺตยิ า วมิ ตุ ฺติ-
าณทสฺสเนน ทสหิ จ พเลห ิ จตูห ิ เวสารชเฺ ชหิ อฏฺ ารสหิ พุทฺธธมฺเมหิ ฉห ิ อสาธารเณห ิ
าเณห ิ เกวเล จ พุทฺธวสิ เย ต ํ สนธฺ าย ภณิต ํ ‘อหมสฺมิ…เป.… สลลฺ กตโฺ ต’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ก็แตว่ ่า พระผมู้ พี ระภาคเจ้าทรงเป็นผ้ยู อดเยีย่ มดว้ ยศลี ดว้ ยสมาธิ
ดว้ ยปญั ญา ด้วยวิมุตติ ด้วยวมิ ตุ ติญาณทัสสนะ ด้วยพละ ๑๐ ด้วยเวสารชั ชญาณ ๔ ดว้ ย
พระพุทธธรรม ๑๘ ด้วยญาณทีไ่ มส่ าธารณะ ๖ ก็ทีต่ รัสว่า ภกิ ษทุ งั้ หลาย เราเปน็ พราหมณ์
ฯลฯ เป็นศัลยแพทย์ ดังน้ี ทรงหมายเอาองค์คณุ ในพระพุทธวสิ ัยนนั้ แต่อยา่ งเดยี ว
‘‘อิธ มหาราช มนุสฺเสส ุ เอโก ชาตมิ า โหติ, เอโก ธนวา, เอโก วิชฺชวา, เอโก
สิปปฺ วา, เอโก สโู ร, เอโก วจิ กขฺ โณ, สพเฺ พเปเต อภภิ วิย ราชาเยว เตส ํ อุตตฺ โม โหติ,
เอวเมว โข มหาราช ภควา สพฺพสตตฺ านํ อคฺโค เชฏฺโ เสฏโฺ ฯ
ขอถวายพระพรมหาบพิตร เปรียบเหมือนวา่ ในบรรดามนุษย์ท้งั หลายในโลกนี้ มนษุ ย์
พวกหนึง่ มีชาติตระกลู สูงส่ง อีกพวกหนงึ่ เป็นผ้มู ีทรัพยม์ าก อีกพวกหนึ่ง เปน็ ผู้มีวิชชามาก
อกี พวกหนง่ึ เปน็ ผู้มีศิลปะมาก อกี พวกหนึ่ง เปน็ คนกล้าหาญ อีกพวกหนงึ่ มีปัญญาหลกั
แหลม ผ้เู ป็นพระราชาเทา่ นน้ั จดั ว่าเปน็ ผูส้ งู สดุ แห่งบุคคลเหล่าน้ัน ครอบง�ำบคุ คลเหล่านั้น
แมท้ กุ คน ฉันใด ขอถวายพระพร พระผูม้ ีพระภาคเจา้ จดั ว่าทรงเปน็ ยอด เป็นใหญ่ ประเสรฐิ
สดุ แห่งบรรดาสัตวท์ ั้งหลายท้งั ปวง ฉนั นน้ั เหมือนกันแล
‘‘ยํ ปน อายสฺมา พากุโล อปปฺ าพาโธ อโหสิ, ต ํ อภนิ ีหารวเสน, โส ห ิ มหาราช
อโนมทสฺสิสฺส ภควโต อทุ รวาตาพาเธ อปุ ฺปนเฺ น วิปสฺสสิ ฺส จ ภควโต อฏ ฺ สฏ ฺ ยิ า จ
ภกิ ขฺ ุสตสหสสฺ านํ ตณิ ปุปฺผกโรเค อุปปฺ นฺเน สย ํ ตาปโส สมาโน นานาเภสชฺเชห ิ ต ํ พยฺ าธึ
อปเนตฺวา อปฺปาพาธตํ ปตโฺ ต, ภณิโต จ ‘เอตทคฺคํ…เป.… พากุโล’ติ ฯ
การทีท่ า่ นพระพากุละ เป็นผู้มอี าพาธนอ้ ย เป็นเพราะอภินหิ ารท่ีทา่ นท�ำไว้ คือว่า ใน
ชาติที่ตัวท่านเองเกิดเป็นดาบส เมอ่ื พระผมู้ พี ระภาคเจ้าพระนามว่าอโนมทสั สีทรงเกดิ พระโรค
ลมในทอ้ งขน้ึ และในชาติที่เกดิ เปน็ ดาบสอีกชาติหนึง่ เมอื่ พระผู้มีพระภาคเจา้ พระนามวา่
วิปัสสี และพระภกิ ษุจ�ำนวน ๖,๘๐๐,๐๐๐ รูป เกิดเปน็ ไขเ้ พราะดอกหญา้ ขึ้น ก็ไดใ้ ชย้ าหลาย

54 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

อยา่ งตา่ ง ๆ กัน ถวายการรกั ษาความเจบ็ ป่วยนั้น จึงได้บรรลคุ วามเปน็ ผมู้ อี าพาธนอ้ ย พระผู้
มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสรรเสรญิ ท่านวา่ ภกิ ษุทัง้ หลาย พระพากุละนี้ จดั ว่าเปน็ ยอดแหง่ บรรดา
ภิกษทุ ัง้ หลายผู้อาพาธนอ้ ย ซึ่งเป็นสาวกของเรา ดงั น้ี

‘‘ภควโต มหาราช พฺยาธิมหฺ ิ อุปปฺ ชฺชนฺเตปิ อนปุ ปฺ ชฺชนเฺ ตปิ ธตุ งคฺ ํ อาทยิ นฺเตป ิ
อนาทยิ นฺเตปิ นตฺถ ิ ภควตา สทิโส โกจ ิ สตฺโต ฯ
ขอถวายพระพร แมเ้ มื่อความเจ็บป่วยเกิดขน้ึ แก่พระผ้มู พี ระภาคแล้วก็ตาม ยังไมเ่ กดิ
ข้นึ กต็ าม แมเ้ ม่อื พระองคจ์ ะทรงถอื ธุดงคแ์ ต่ละขอ้ ก็ตาม ไม่ทรงถอื ก็ตาม ถึงอย่างไร สตั ว์ผู้
เสมอเหมอื นพระผ้มู พี ระภาคสกั คนหนึง่ หามีไม่

ภาสติ มเฺ ปตํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน สํยุตตฺ นิกายวรล ฉฺ เก –
‘‘ยาวตา ภิกขฺ เว สตฺตา อปทา วา ทวฺ ิปทา วา จตุปปฺ ทา วา พหุปปฺ ทา วา
รูปิโน วา อรปู โิ น วา ส ฺ โิ น วา อส ฺ ิโน วา เนวส ฺ ีนาส ฺ โิ น วา, ตถาคโต เตสํ
อคฺคมกขฺ ายติ อรหํ สมฺมาสมพฺ ทุ โฺ ธ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ผเู้ ปน็ เทพยิ่งกวา่ เหลา่ เทพ ทรงภาษิตความขอ้ น้ี
ไว้ในสังยตุ ตนิกายวรลัญฉก ว่า “ภกิ ษทุ ง้ั หลาย สตั วท์ ง้ั หลาย ไมม่ เี ทา้ มสี องเท้า มสี เี่ ท้า หรือ
มมี ากเท้ากต็ าม มีรปู หรือไม่มรี ูปก็ตาม มีสัญญา ไมม่ ีสัญญา หรอื มสี ัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญา
กไ็ มใ่ ชก่ ต็ าม มปี ระมาณเทา่ ใด พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธเจา้ บัณฑติ กลา่ วว่า เลศิ กวา่
สตั ว์มีประมาณเท่าน้ัน” ดังนี้

“สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมฺปฏจิ ฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ท์ตรัสวา่ “ดจี ริง พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามทีก่ ล่าวมาน้”ี

พทุ ฺธอปปฺ าพาธปญฺโห ตตโิ ย ฯ
จบพุทธอัปปาพาธปัญหาขอ้ ท่ี ๓

________

กัณฑ์] ๔.๕ สันถววรรค 55

๔. มคฺคุปปฺ าทนปญฺห
๔. มัคคุปปาทนปญั หา
ปญั หาวา่ ด้วยการท�ำมรรคให้เกดิ ขน้ึ
[๔] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปต ํ ภควตา ‘ตถาคโต ภกิ ฺขเว อรห ํ สมมฺ าสมฺพุทฺโธ
อนุปฺปนนฺ สสฺ มคฺคสสฺ อปุ ฺปาเทตา’ติ ฯ ปนุ จ ภณติ ํ ‘อททฺ สํ ขวฺ าห ํ ภิกฺขเว ปรุ าณํ มคฺคํ
ปุราณ ํ อ ชฺ สํ ปุพพฺ เกหิ สมมฺ าสมพฺ ุทเฺ ธห ิ อนยุ าตน’ฺ ติ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ตถาคโต
อนุปปฺ นนฺ สสฺ มคฺคสสฺ อุปปฺ าเทตา, เตนห ิ ‘อทฺทสํ ขวฺ าห ํ ภิกฺขเว ปุราณ ํ มคคฺ ํ ปุราณํ
อ ฺชส ํ ปุพพฺ เกห ิ สมมฺ าสมพฺ ุทเฺ ธห ิ อนยุ าตนฺ’ติ ยํ วจนํ, ตํ มิจฉฺ า ฯ ยท ิ ตถาคเตน ภณติ ํ
‘อทฺทส ํ ขฺวาหํ ภิกขฺ เว ปุราณํ มคคฺ ํ ปรุ าณํ อ ฺชส ํ ปุพฺพเกห ิ สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺเธหิ อนยุ าตนฺ’ติ,
เตนห ิ ‘ตถาคโต ภิกขฺ เว อรห ํ สมมฺ าสมพฺ ทุ โฺ ธ อนปุ ฺปนนฺ สฺส มคคฺ สฺส อุปปฺ าเทตา’ติ ตมปฺ ิ
วจน ํ มิจฺฉา ฯ อยมปฺ ิ อภุ โต โกฏโิ ก ป ฺโห ตวานุปฺปตฺโต, โส ตยา นิพฺพาหติ พฺโพ’’ติ ฯ
[๔] พระเจา้ มิลินทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ น้ีไวว้ า่ ‘ภกิ ษทุ ัง้ หลาย พระตถาคตอรหันตสมั มาสมั พุทธเจา้ ท�ำทางที่ยังไม่เกิดให้เกดิ ขนึ้ ’
ดงั นี้ และยังตรัสไว้อีกว่า ‘ภกิ ษุท้ังหลาย เราได้พบเหน็ แล้วซง่ึ มรรคเก่า ทางเก่า ทีพ่ ระสมั มา
สมั พทุ ธเจ้าทง้ั หลายในปางก่อน เสด็จด�ำเนนิ ตามกันไป’ พระคุณเจา้ นาคเสน ถ้าหากวา่ พระ
ตถาคต ทรงท�ำทางทีย่ ังไม่เกิดข้นึ ให้เกิดขึ้น จรงิ ไซร้ ถา้ อยา่ งน้ัน ค�ำทว่ี า่ ‘ภิกษุทงั้ หลาย เรา
ได้พบเหน็ แล้ว ซ่ึงมรรคเกา่ ทางเกา่ ทพี่ ระสัมมาสัมพทุ ธเจา้ ท้งั หลายในปางก่อน เสดจ็ ด�ำเนนิ
ตามกนั ไป’ ดงั นี้ กย็ ่อมเปน็ ค�ำทผี่ ดิ ถ้าหากวา่ พระตถาคตตรัสวา่ ภกิ ษทุ ง้ั หลาย เราได้พบเหน็
แล้ว ซึง่ มรรคเกา่ ทางเก่า ท่พี ระสัมมาสมั พุทธเจา้ ทงั้ หลายในปางกอ่ น เสดจ็ ด�ำเนนิ ตามกันไป
ดงั นี้ จริงไซร้ ถา้ อยา่ งนน้ั ค�ำทว่ี ่า ภิกษทุ งั้ หลาย ตถาคตอรหันตสัมมาสมั พุทธเจ้า ท�ำทางที่ยงั
ไมเ่ กดิ ข้ึนใหเ้ กิดขน้ึ ดังนี้ ก็ยอ่ มเป็นค�ำทผี่ ิด ปัญหาแม้ข้อนี้ ก็มี ๒ เง่อื น ตกถงึ แก่ท่านแล้วโดย
ล�ำดับ ขอท่านพึงคลี่คลายปัญหาน้นั เถิด”

‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘ตถาคโต ภกิ ขฺ เว อรห ํ สมฺมาสมพฺ ุทฺโธ
อนปุ ฺปนฺนสฺส มคฺคสสฺ อุปฺปาเทตา’ติ ฯ ภณติ ฺจ ‘อททฺ สํ ขฺวาห ํ ภิกขฺ เว ปรุ าณ ํ มคคฺ ํ
ปรุ าณํ อ ชฺ สํ ปพุ พฺ เกหิ สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺเธหิ อนุยาตน’ฺ ติ, ต ํ ทฺวยมฺปิ สภาววจนเมว
ปุพพฺ กานํ มหาราช ตถาคตาน ํ อนฺตรธาเนน อสติ อนุสาสเก มคฺโค อนฺตรธาย,ิ ต ํ
ตถาคโต มคฺคํ ลุคฺคํ ปลคุ ฺคํ คฬู หฺ ํ ปิหติ ํ ปฏิจฺฉนนฺ ํ อส ฺจรณํ ป ฺ าจกขฺ ุนา

56 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

สมฺปสฺสมาโน อทฺทส ปพุ พฺ เกห ิ สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺเธหิ อนุยาต,ํ ตกํ ารณา อาห ‘อทฺทส ํ ขวฺ าหํ
ภิกขฺ เว ปรุ าณํ มคฺค ํ ปรุ าณํ อ ฺชส ํ ปุพพฺ เกหิ สมมฺ าสมพฺ ทุ เฺ ธหิ อนุยาตน’ฺ ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความข้อนไี้ ว้ว่า ภกิ ษทุ ้งั หลาย ตถาคตอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ท�ำทางท่ยี งั ไมเ่ กดิ ให้
เกดิ ขนึ้ ’ ดังนี้ จรงิ และตรัสไวว้ ่า ‘ภิกษทุ ้ังหลาย เราไดพ้ บเหน็ แล้ว ซ่ึงมรรคเกา่ ทางเก่า ทพ่ี ระ
สัมมาสมั พทุ ธเจา้ ทั้งหลายในปางก่อนเสด็จด�ำเนินตามกันไป’ ดังน้ี จรงิ ค�ำตรสั ท้งั ๒ ค�ำนนั้
เป็นค�ำตรัสไปตามสภาวะ ขอถวายพระพร เพราะเมื่อความที่พระตถาคตทง้ั หลายในปางกอ่ น
ทรงล่วงลับไป ไม่มผี อู้ นศุ าสน์ มรรคกย็ ่อมอันตรธานหายไป พระตถาคต (พระองค์น้)ี ทรงใช้
ปญั ญาจักษุคน้ หาอยู่ กไ็ ด้พบแล้ว ซ่ึงมรรคทีข่ าดไปแลว้ ท่พี งั ทลายไปแลว้ ท่ลี ึกลับที่ถูกปิดไว้
ทถี่ ูกบงั ไว้ ทสี่ ญั จรมิได้แล้ว ท่ีพระสัมมาสมั พทุ ธเจา้ ทง้ั หลายในปางก่อนเคยเสดจ็ ตามกันไป
นน้ั เพราะเหตุน้นั จึงตรัสไว้ว่า ‘ภิกษทุ ง้ั หลาย เราได้พบเห็นแลว้ ซง่ึ มรรคเกา่ ทางเก่า ทพี่ ระ
สัมมาสมั พทุ ธเจา้ ทงั้ หลายในปางกอ่ น เคยเสด็จด�ำเนินตามกันไป’ ดงั นี้
‘‘ปพุ พฺ กาน ํ มหาราช ตถาคตาน ํ อนตฺ รธาเนน อสติ อนุสาสเก ลคุ ฺคํ ปลุคคฺ ํ คูฬหฺ ํ
ปหิ ิตํ ปฏจิ ฺฉนฺนํ อส จฺ รณ ํ มคฺคํ ย ํ ทานิ ตถาคโต ส จฺ รณํ อกาส,ิ ตํการณา อาห
‘ตถาคโต ภิกฺขเว อรห ํ สมมฺ าสมฺพทุ โฺ ธ อนปุ ปฺ นฺนสฺส มคคฺ สฺส อปุ ฺปาเทตา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร บัดนี้ มรรคท่ขี าดไปแล้ว ทางทพี่ ังทะลายไปแล้ว ลกึ ลับ ถกู ปดิ ไว้ ถูก
บงั ไว้ ใชส้ ัญจรมิได้ เพราะเหตทุ ี่เม่ือพระตถาคตทัง้ หลายในปางกอ่ น ทรงล่วงลับไป ไม่มีผู้
อนศุ าสน์ พระตถาคตพระองคน์ ้ี ทรงท�ำใหเ้ ป็นมรรค (ทาง) ทใี่ ชส้ ัญจรได้ เพราะเหตนุ ้ัน จงึ
ตรัสว่า ‘ภิกษุท้งั หลาย ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจา้ ผทู้ �ำมรรคท่ยี ังไม่เกิดให้เกิดข้ึน’ ดังนี้
‘‘อธิ มหาราช ร โฺ จกกฺ วตตฺ ิสสฺ อนฺตรธาเนน มณิรตนํ คริ สิ ิขนฺตเร นลิ ียต,ิ
อปรสฺส จกฺกวตตฺ สิ สฺ สมมฺ าปฏิปตฺตยิ า อปุ คจฺฉติ, อป ิ น ุ โข ต ํ มหาราช มณิรตนํ ตสฺส
ปกตน’ฺ ’ติ ?
ขอถวายพระพร เปรียบเหมอื นว่า พอพระเจ้าจกั รพรรดใิ นโลกนี้ ทรงลว่ งลบั ไปแลว้
แกว้ มณีกห็ ลบซ่อนอย่ภู ายในยอดเขาเสีย พระเจา้ จกั รพรรดอิ งคต์ ่อมา จะทรงไดร้ บั ดว้ ยข้อ
ปฏบิ ัติชอบ ขอถวายพระพร แก้วมณนี ้ัน ช่อื วา่ มีเป็นปกติแลว้ แกพ่ ระเจ้าจักรพรรดพิ ระองค์
นั้นหรอื ไร ?
‘‘น ห ิ ภนฺเต ปากติกํเยว ตํ มณริ ตน,ํ เตน ปน นพิ พฺ ตฺตติ น’ฺ ’ติ ฯ

กัณฑ]์ ๔.๕ สันถววรรค 57

พระเจา้ มิลินทต์ รัสว่า “หามิได้ พระคณุ เจา้ แก้วมณนี ้ัน ชื่อวา่ พระเจา้ จกั รพรรดิ
พระองค์น้นั นั่นแหละ ทรงท�ำใหป้ รากฏ พระเจา้ จกั รพรรดิพระองค์นน้ั ทรงท�ำให้บังเกดิ ”
‘‘เอวเมว โข มหาราช ปากตกิ ํ ปพุ พฺ เกหิ ตถาคเตหิ อนจุ ิณณฺ ํ อฏ ฺ งฺคิกํ สวิ ํ มคคฺ ํ
อสติ อนุสาสเก ลคุ ฺค ํ ปลคุ คฺ ํ คฬู หฺ ํ ปิหติ ํ ปฏิจฺฉนนฺ ํ อส ฺจรณ ํ ภควา ป ฺ าจกขฺ ุนา
สมฺปสสฺ มาโน อปุ ฺปาเทสิ, ส จฺ รณํ อกาสิ, ตกํ ารณา อาห ‘ตถาคโต ภกิ ฺขเว อรห ํ สมฺมา-
สมฺพทุ ฺโธ อนุปปฺ นฺนสฺส มคคฺ สฺส อุปปฺ าเทตา’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพร ก็เหมือนกันอยา่ งนนั้ นนั่ แหละ มรรค
อนั สงบเยน็ ประกอบด้วยองค์ ๘ พระตถาคตทงั้ หลายในปางก่อน ทรงท�ำใหป้ รากฏแล้ว ทรง
สง่ั สมไว้แล้ว เมื่อไมม่ ีทา่ นผูอ้ นุศาสน์ กข็ าดไป พงั ทลายไป เป็นของลกึ ลับ ถูกปดิ ไว้ ถูกบังไว้
ใช้สญั จรมไิ ด้ พระผมู้ ีพระภาคเจา้ ทรงใช้ปญั ญาจกั ษคุ ้นพบ ท�ำให้เกิดขึ้น ท�ำให้เปน็ ทางทใี่ ช้
สัญจรได้ เพราะฉะนัน้ จงึ ตรัสวา่ ‘ภิกษทุ ้ังหลาย ตถาคตอรหนั ตสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ผู้ท�ำมรรค
ที่ยังไม่เกิดให้เกดิ ข้นึ ’ ดงั น้ี
‘‘ยถา วา ปน มหาราช สนฺตํเยว ปตุ ตฺ ํ โยนิยา ชนยติ ฺวา มาตา ‘ชนกิ า’ต ิ วุจฺจต,ิ
เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต สนฺตเํ ยว มคคฺ ํ ลุคฺคํ ปลคุ คฺ ํ คฬู ฺห ํ ปิหิต ํ ปฏจิ ฺฉนนฺ ํ
อส จฺ รณํ ป ฺ าจกฺขุนา สมฺปสฺสมาโน อปุ ปฺ าเทส,ิ ส จฺ รณํ อกาสิ, ตํการณา อาห
‘ตถาคโต ภิกฺขเว อรห ํ สมมฺ าสมฺพทุ โฺ ธ อนุปปฺ นนฺ สฺส มคฺคสฺส อปุ ปฺ าเทตา’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึ่ง เปรยี บเหมือนวา่ ผ้เู ป็นมารดา อาศยั ชอ่ งก�ำเนิดท�ำบุตร
ทมี่ ีอยู่ (ในท้อง) นั่นแหละ ใหเ้ กิด คนท้งั หลายจงึ เรียกวา่ ‘ชนิกา’ (ผู้ท�ำใหเ้ กิด) ฉันใด ขอถวาย
พระพร มรรคที่มีอยนู่ ั่นเทียว ซง่ึ ขาดไป พงั ทลายไป ลกึ ลับ ทีถ่ ูกปดิ ถกู บัง ใชส้ ญั จรไม่ได้
พระตถาคตทรงใชป้ ัญญาจักษคุ น้ พบ ท�ำให้เกดิ ข้นึ ท�ำให้ใชส้ ัญจรได้ ฉันน้ันเหมือนกัน เพราะ
เหตุนน้ั จึงตรสั ไวว้ ่า ‘ภิกษทุ ้งั หลาย ตถาคตอรหนั ตสมั มาสัมพุทธเจ้าท�ำทางทีย่ งั ไม่เกิดให้เกดิ
ขน้ึ ’ ดังนี้
‘‘ยถา วา ปน มหาราช โกจ ิ ปรุ โิ ส ย ํ ก ิ จฺ ิ นฏฺ ํ ปสสฺ ติ, ‘เตน ตํ ภณฑฺ ํ
นพิ ฺพตตฺ ติ น’ฺ ติ ชโน โวหรต,ิ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต สนฺตํเยว มคคฺ ํ ลคุ ฺคํ ปลคุ ฺค ํ
คูฬฺห ํ ปิหิต ํ ปฏจิ ฺฉนนฺ ํ อส ฺจรณํ ป ฺ าจกขฺ นุ า สมฺปสฺสมาโน อปุ ปฺ าเทสิ, ส ฺจรณ ํ
อกาส,ิ ตํการณา อาห ‘ตถาคโต ภกิ ฺขเว อรหํ สมฺมาสมฺพทุ โฺ ธ อนุปฺปนฺนสฺส มคคฺ สสฺ
อุปฺปาเทตา’ติ ฯ

58 มิลินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ขอถวายพระพร อีกอยา่ งหน่ึง เปรียบเหมอื น บุรุษบางคน พบส่งิ ของอยา่ งใดอยา่ ง
หนง่ึ ทีไ่ ดห้ ายไปแลว้ ผู้คนจึงกลา่ ววา่ ‘บรุ ุษผนู้ นั้ ท�ำสิ่งของนน้ั ให้บงั เกิด’ ดงั นี้ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร มรรคท่ีมอี ย่นู ัน่ แหละ ซง่ึ ขาดไป พังทลายไป ลึกลบั ถูกปดิ ถูกบัง ใชส้ ญั จรไมไ่ ด้ พระ
ตถาคตทรงใชป้ ญั ญาจักษุคน้ พบ ท�ำให้เกิดข้นึ ท�ำให้ใชส้ ญั จรได้ ฉนั นนั้ เหมอื นกัน เพราะเหตุ
น้นั จึงตรสั ไว้ว่า ‘ภกิ ษุท้ังหลาย ตถาคตอรหันตสัมมาสมั พุทธเจา้ ท�ำทางทีย่ ังไมเ่ กิดให้เกดิ ขึ้น’
ดังนี้

‘‘ยถา วา ปน มหาราช โกจิ ปรุ โิ ส วน ํ โสเธตวฺ า ภูมึ นีหรต,ิ ‘ตสฺส สา ภมู ี’ต ิ
ชโน โวหรติ, น เจสา ภูมิ เตน ปวตฺติตา, ต ํ ภมู ึ การณ ํ กตวฺ า ภูมสิ ามโิ ก นาม โหต,ิ
เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต สนตฺ ํเยว มคคฺ ํ ลคุ ฺคํ ปลคุ คฺ ํ คฬู ฺห ํ ปหิ ติ ํ ปฏิจฺฉนฺนํ
อส จฺ รณ ํ ป ฺ าย สมฺปสสฺ มาโน อุปปฺ าเทส,ิ ส จฺ รณ ํ อกาส,ิ ตํการณา อาห ‘ตถาคโต
ภกิ ฺขเว อรห ํ สมฺมาสมพฺ ุทฺโธ อนปุ ปฺ นนฺ สฺส มคฺคสฺส อปุ ฺปาเทตา’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อกี อย่างหนึ่ง เปรียบเหมอื นบุรุษถางปา่ ช�ำระที่ดนิ ใหส้ ะอาด ผคู้ น
ยอ่ มกล่าวว่า ‘นน้ั เป็นท่ีดินของบรุ ษุ น้นั ’ ดงั นี้ กท็ ดี่ ินนีห้ าใช่ทีด่ นิ ท่ีบุรษุ ผูน้ ั้นท�ำใหเ้ ปน็ ไป
(ท�ำใหเ้ กดิ ขนึ้ ) ไม่ เขาชื่อว่าเปน็ เจา้ ของท่ดี นิ เพราะท�ำทด่ี นิ นน้ั ให้เปน็ เหตุ ฉนั ใด ขอถวาย
พระพร มรรคท่มี อี ยู่นน่ั แหละ ซง่ึ ขาดไป พงั ทลายไป ลกึ ลบั ถูกปดิ ถูกบัง ใชส้ ญั จรไม่ได้ พระ
ตถาคตทรงใช้ปญั ญาจักษคุ น้ พบ ท�ำให้เกิดข้ึน ท�ำให้ใชส้ ญั จรได้ ฉนั นนั้ เหมือนกนั เพราะเหตุ
นั้น จงึ ตรัสไว้วา่ ‘ภิกษทุ ง้ั หลาย ตถาคตอรหันตสมั มาสัมพทุ ธเจา้ ท�ำทางทย่ี ังไม่เกิดให้เกิดขน้ึ ’
ดงั น้ี

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ทต์ รสั ว่า “ดจี ริง พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมขอยอมรับค�ำตามทที่ ่านกลา่ วมา
แล้วฉะนี”้

มคคฺ ปุ ฺปาทนปญโฺ ห จตุตฺโถ ฯ
จบมัคคุปปาทนปัญหาขอ้ ท่ี ๔

________

กณั ฑ์] ๔.๕ สนั ถววรรค 59

๕. พุทฺธอวเิ หกปญฺห
๕. พทุ ธอวิเหฐกปัญหา
ปัญหาวา่ ดว้ ยความที่พระพุทธเจา้ ไมท่ รงเปน็ ผเู้ บยี ดเบียนสตั ว์
[๕] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมเฺ ปตํ ภควตา ‘ปุพฺเพวาห ํ มนุสสฺ ภูโต สมาโน
สตตฺ านํ อวเิ ห กชาตโิ ก อโหสนิ ’ฺ ติ ฯ ปนุ จ ภณติ ํ ‘โลมสกสฺสโป นาม อสิ ิ สมาโน อเนก-
สเต ปาเณ ฆาตยิตฺวา วาชเปยฺย ํ มหาย ฺ ํ ยชี’ติ ฯ ยทิ ภนเฺ ต นาคเสน ภควตา ภณติ ํ
‘ปพุ ฺเพวาห ํ มนสุ ฺสภูโต สมาโน สตฺตาน ํ อวิเห กชาติโก อโหสินฺ’ติ, เตนหิ ‘โลมสกสสฺ เปน
อิสนิ า อเนกสเต ปาเณ ฆาตยติ วฺ า วาชเปยฺย ํ มหาย ฺ ํ ยชิตนฺ’ติ ยํ วจนํ, ต ํ มิจฺฉา ฯ
ยทิ ‘โลมสกสฺสเปน อสิ ินา อเนกสเต ปาเณ ฆาตยติ วฺ า วาชเปยฺยํ มหาย ฺ ํ ยชติ ํ’,
เตนห ิ ‘ปพุ ฺเพวาหํ มนุสสฺ ภูโต สมาโน สตตฺ าน ํ อวิเห กชาติโก อโหสินฺ’ติ ตมปฺ ิ วจนํ
มิจฉฺ า ฯ อยมฺปิ อุภโต โกฏิโก ป โฺ ห ตวานุปฺปตโฺ ต, โส ตยา นิพฺพาหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
[๕] พระเจา้ มิลินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน พระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงภาษิตความ
ข้อนไ้ี ว้วา่ ‘ในชาตกิ อ่ น ตถาคตเกดิ เปน็ มนุษย์ เป็นผไู้ ม่เบยี ดเบยี นสตั ว์ทั้งหลาย’ และยงั ตรสั
ไวอ้ กี วา่ ‘เราเปน็ ฤๅษี ชอ่ื ว่าโลมสกสั สปะ ได้ฆ่าสัตวห์ ลายร้อย บูชาวาชเปยยมหายญั (ยัญคือ
เครอ่ื งดม่ื ทีป่ ระกอบด้วยเนยใสและน�ำ้ ผึ้งทเี่ สกดว้ ยมนต์)’ ดงั น้ี พระคณุ เจา้ นาคเสน ถ้าหากว่า
พระผ้มู พี ระภาคเจา้ ตรัสไวว้ า่ ในชาตกิ อ่ น ตถาคตเกิดเป็นมนษุ ย์ เป็นผไู้ มเ่ บยี ดเบยี ดสตั วท์ ง้ั
หลาย’ ดังน้ี จริงไซร้ ถ้าอยา่ งน้ัน ค�ำท่วี า่ ‘เราเป็นฤๅษี ช่อื ว่าโลมสกสั สปะ ไดฆ้ ่าสตั วห์ ลายร้อย
บูชาวาชเปยยมหายัญ’ ดังนี้ กย็ อ่ มเปน็ ค�ำที่ผิด ถา้ หากว่า พระองค์เป็นโลมสกัสสปฤาษี ไดฆ้ า่
สตั วห์ ลายรอ้ ยบชู าวาชเปยยมหายญั จรงิ ไซร้ ถา้ อย่างน้ัน ค�ำทวี่ า่ ‘ในชาติปางกอ่ นนั่นแหละ
เราเกิดเปน็ มนษุ ย์ เปน็ ผไู้ ม่เบยี ดเบียนสตั วท์ งั้ หลาย’ ดงั นี้ ยอ่ มไม่ถกู ต้อง ปัญหาแม้ข้อน้ี กม็ ี
๒ เงอื่ น ตกถึงแกท่ ่านแลว้ โดยล�ำดับ ขอทา่ นพึงคลี่คลายปัญหานัน้ เถดิ ”

‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ‘ปพุ ฺเพวาห ํ มนสุ ฺสภโู ต สมาโน สตตฺ าน ํ
อวิเห กชาติโก อโหสิน’ฺ ต,ิ ‘โลมสกสฺสเปน อสิ ินา อเนกสเต ปาเณ ฆาตยิตวฺ า วาชเปยฺย ํ
มหาย ฺ ํ ยชติ ’ํ , ต ฺจ ปน ราควเสน วิส ฺ ินา, โน สเจตเนนา’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
ภาษิตความข้อนไี้ ว้ว่า ‘ในชาตปิ างก่อนนั่นแหละ เราเกิดเปน็ มนุษย์ เปน็ ผ้ไู มเ่ บยี ดเบยี นสัตว์
ทัง้ หลาย’ ดังน้ี จริง และทรงเป็นโลมสกัสสปฤาษี ฆ่าสตั ว์หลายร้อยบูชาวาชเปยยมหายัญ จริง

60 มิลนิ ทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

ขอ้ ทฆ่ี า่ สตั ว์หลายร้อยน้ัน เป็นวิสัญญี (คนเลอะเลอื น คนฟ่ันเฟือน) กระท�ำไปด้วยอ�ำนาจราคะ
หาไดม้ ีเจตนากระท�ำไปไม่”

‘‘อฏ ฺ เิ ม ภนฺเต นาคเสน ปคุ คฺ ลา ปาณํ หนนฺติ ฯ กตเม อฏ ฺ ? รตฺโต ราควเสน
ปาณ ํ หนต,ิ ทุฏฺโ โทสวเสน ปาณํ หนติ, มูฬฺโห โมหวเสน ปาณ ํ หนติ, มานี
มานวเสน ปาณํ หนติ, ลุทฺโธ โลภวเสน ปาณํ หนติ, อก ิ ฺจโน ชวี กิ ตฺถาย ปาณ ํ หนติ,
พาโล หสสฺ วเสน ปาณ ํ หนติ, ราชา วนิ ยนวเสน ปาณํ หนติ ฯ
พระเจา้ มิลินทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน บคุ คล ๘ จ�ำพวกเหลา่ น้ี ยอ่ มฆา่ สตั ว์
บคุ คล ๘ จ�ำพวก เป็นไฉน ? บคุ คล ๘ จ�ำพวก ไดแ้ ก่
๑. คนก�ำหนดั ยอ่ มฆ่าสัตว์ดว้ ยอ�ำนาจแห่งราคะ
๒. คนโกรธเคอื ง ยอ่ มฆ่าสตั วด์ ้วยอ�ำนาจแหง่ โทสะ
๓. คนหลง ย่อมฆ่าสัตว์ด้วยอ�ำนาจแห่งโมหะ
๔. คนถือตวั ย่อมฆา่ สัตว์ดว้ ยอ�ำนาจแห่งมานะ
๕. คนโลภ ยอ่ มฆ่าสตั วด์ ว้ ยอ�ำนาจแห่งโลภะ
๖. คนขาดแคลน ยอ่ มฆ่าสตั วเ์ พือ่ เลี้ยงชพี
๗. คนพาล ย่อมฆ่าสตั วด์ ว้ ยอ�ำนาจความสนุกสนาน (ดว้ ยอ�ำนาจความไมร่ ู้)
๘. พระราชา ย่อมฆ่าสัตวโ์ ดยเกี่ยวกับเปน็ กฏวนิ ัย

อิเม โข ภนฺเต นาคเสน อฏ ฺ ปุคคฺ ลา ปาณํ หนนตฺ ิ ฯ ปากติกเํ ยว ภนเฺ ต
นาคเสน โพธสิ ตฺเตน กตนฺ’’ติ ฯ
พระคุณเจ้านาคเสน คน ๘ จ�ำพวกเหลา่ นแี้ ล ยอ่ มฆ่าสัตว์, พระคุณเจ้านาคเสน กเ็ ป็น
อนั ว่า พระโพธิสตั วท์ �ำการฆา่ สตั ว์เปน็ ปกติ”

‘‘น มหาราช ปากตกิ ํ โพธิสตฺเตน กตํ, ยทิ มหาราช โพธิสตฺโต ปกติภาเวน
โอนเมยยฺ มหาย ฺ ํ ยชิตุํ, นยมิ ํ คาถ ํ ภเณยฺย –
‘‘สสมทุ ฺทปริยายํ มห ึ สาครกณุ ฑฺ ลํ
น อิจฺเฉ สห นินฺทาย เอวํ เสยฺห วิชานหี’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร พระโพธสิ ตั วห์ าได้ท�ำการฆ่าสตั วเ์ ปน็
ปกตไิ ม่ ขอถวายพระพร ถ้าหากวา่ พระโพธิสัตวพ์ งึ นอ้ มใจท�ำการบูชายญั ใหญ่ โดยเป็นปกติ
กจ็ ะไมต่ รัสคาถานีว้ า่

กัณฑ์] ๔.๕ สนั ถววรรค 61

“อาตมาไม่ปรารถนาแผน่ ดินอนั มีสมทุ รเปน็ ขอบเขต มสี าคร
ลอ้ มรอบประดุจตา่ งหู พร้อมกับค�ำนนิ ทา ท่านจงทราบอยา่ งนี้
เถดิ เสยหอ�ำมาตย”์
‘‘เอววํ าที มหาราช โพธสิ ตฺโต สห ทสฺสเนน จนฺทวติยา ราชก ฺ าย วสิ ฺ ี อโหส ิ
ขติ ตฺ จิตฺโต รตฺโต วิส ฺ ภิ โู ต อากุลากโุ ล ตรุ ติ ตุริโต เตน วิกขฺ ิตฺตภนฺตลฬุ ติ จิตเฺ ตน
มหติมหาปสฆุ าตคลรุหริ ส จฺ ย ํ วาชเปยฺย ํ มหาย ฺ ํ ยชิ ฯ
ขอถวายพระพร พระโพธสิ ัตวผ์ ้มู ีปกตกิ ล่าวอย่างนี้ ทนั ทีที่ไดเ้ หน็ นางจันทวดีราช
กญั ญา ก็มีจติ ฟงุ้ ซา่ น ก�ำหนดั ถกู ความเลอะเลือนครอบง�ำ วุ่นวาย สับสนไป ได้บูชาวาชเปยย
มหายญั อันเปน็ กองโลหติ จากคอของสตั วม์ ากมายหม่ใู หญท่ ีถ่ ูกฆ่า ด้วยจติ ทฟี่ งุ้ ซ่าน พล่งุ
พล่าน วนุ่ วายนั้น
‘‘ยถา มหาราช อมุ มฺ ตตฺ โก ขติ ฺตจติ โฺ ต ชลติ มปฺ ิ ชาตเวทํ อกกฺ มต,ิ กปุ ติ มฺปิ
อาสีวสิ ํ คณหฺ าต,ิ มตฺตมปฺ ิ หตฺถิํ อเุ ปติ, สมุททฺ มปฺ ิ อตีรทสสฺ ึ ปกขฺ นทฺ ต,ิ จนฺทนกิ มฺป ิ
โอฬคิ ลฺลมฺป ิ โอมททฺ ต,ิ กณฺฏกาธานมฺปิ อภริ หุ ต,ิ ปปาเตปิ ปตติ, อสจุ มิ ฺปิ ภกเฺ ขต,ิ
นคฺโคปิ รถยิ า จรติ, อ ฺ มฺปิ พหวุ ิธ ํ อกริ ยิ ํ กโรติ ฯ เอวเมว โข มหาราช โพธสิ ตฺโต
สห ทสฺสเนน จนฺทวติยา ราชก ฺ าย วสิ ฺ ี อโหสิ ขติ ฺตจติ โฺ ต รตฺโต วิส ฺ ภิ ูโต
อากลุ ากุโล ตุริตตรุ ิโต, เตน วกิ ขฺ ติ ตฺ ภนฺตลฬุ ิตจติ เฺ ตน มหตมิ หาปสุฆาตคลรุหิรส จฺ ยํ
วาชเปยยฺ ํ มหาย ฺ ํ ยชิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมอื นวา่ คนบา้ มจี ิตฟุง้ ซ่าน ย่อมเหยียบกองไฟที่ลุกโพลง
ร้อนแรงบา้ ง ย่อมจับอสรพษิ ที่ก�ำลงั โกรธบา้ ง ย่อมเขา้ ไปหาชา้ งตกมนั บา้ ง ย่อมแล่นลงไปสู่
มหาสมทุ รกว้างใหญ่มองไม่เห็นฝัง่ บา้ ง ย่�ำบ่อนำ�้ คร�ำบ้าง ยา่ งเหยยี บแท่นหนามบา้ ง พลาดตก
ไปในเหวบ้าง กินของสกปรกบา้ ง เปลือยกายเที่ยวไปตามถนนบ้าง ย่อมท�ำกิริยาที่ไม่สมควร
อย่างอนื่ ๆ หลายอย่างบ้าง ฉันใด ขอถวายพระพร พระโพธสิ ัตว์ทันทีที่ได้เห็นนางจันทวดีราช
กัญญา มีจติ ฟงุ้ ซ่าน ก�ำหนัด ถูกความเลอะเลอื นครอบง�ำ วุ่นวาย สับสนไป ได้บูชาวาชเปยย-
มหายัญ อนั เป็นกองโลหิตจากคอของสตั วม์ ากมายหมู่ใหญท่ ่ถี กู ฆา่ ดว้ ยจิตท่ฟี ุ้งซา่ น พลงุ่
พลา่ น วุ่นวายนัน้ ฉนั นัน้ เหมอื นกนั
‘‘ขิตตฺ จติ เฺ ตน มหาราช กต ํ ปาปํ ทฏิ ฺ ธมเฺ มปิ น มหาสาวชฺช ํ โหต,ิ สมฺปราเย
วปิ าเกนปิ โน ตถา ฯ อิธ มหาราช โกจ ิ อมุ ฺมตตฺ โก วชฺฌมาปชฺเชยยฺ , ตสสฺ ตุมฺเห กึ

62 มิลนิ ทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ทณฑฺ ํ ธาเรถา’’ติ ?
ขอถวายพระพร บาปท่ีผมู้ ีจิตฟุง้ ซา่ นท�ำ ไมเ่ ปน็ บาปมีโทษมาก แมใ้ นอตั ภาพนี้ เชน่
เดียวกนั ไม่เป็นบาปทีม่ ีโทษมาก แม้โดยการใหว้ บิ ากในภายภาคหน้า ขอถวายพระพร
อาตมภาพขอถามวา่ คนบา้ บางคนในพระนครน้ีท�ำผิด พระองคจ์ ะรับสั่งใหล้ งโทษเขาหรอื ไร”

‘‘โก ภนเฺ ต อมุ มฺ ตฺตกสฺส ทณโฺ ฑ ภวสิ สฺ ติ, ต ํ มยํ โปถาเปตฺวา นีหราเปม, เอโสว
ตสสฺ ทณโฺ ฑ’’ติ ฯ
พระเจ้ามิลนิ ทต์ รสั ว่า “พระคณุ เจ้า จักมีการลงโทษคนบ้าได้กระไรเลา่ โยมจะสัง่ ใหต้ ี
แล้วไลเ่ ขาไป น่ีแหละเปน็ การลงโทษเขาละ่ ”

‘‘อิติ โข มหาราช อมุ มฺ ตฺตกสสฺ อปราเธ ทณโฺ ฑป ิ น ภวต,ิ ตสฺมา อุมมฺ ตฺตกสสฺ
กเตป ิ น โทโส ภวต ิ สเตกจิ ฺโฉ ฯ เอวเมว โข มหาราช โลมสกสฺสโป อิส ิ สห ทสสฺ เนน
จนทฺ วตยิ า ราชก ฺ าย วสิ ฺ ี อโหสิ ขิตตฺ จติ ฺโต รตโฺ ต วิส ฺ ิภโู ต วสิ ฏปยาโต อากลุ า-
กโุ ล ตรุ ติ ตรุ โิ ต, เตน วกิ ขฺ ิตฺตภนฺตลุฬติ จติ เฺ ตน มหติมหาปสฆุ าตคลรหุ ิรส ฺจยํ วาชเปยยฺ ํ
มหาย ฺ ํ ยชิ ฯ ยทา จ ปน ปกตจิ ติ ฺโต อโหส ิ ปฏลิ ทฺธสสฺ ติ, ตทา ปุนเทว ปพพฺ ชิตฺวา
ป จฺ าภ ิ ฺ าโย นิพฺพตเฺ ตตฺวา พฺรหฺมโลกปู โค อโหส’ี ’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร ส�ำหรับคนบ้า ย่อมไม่มีการลงโทษใน
เพราะความผิดทีเ่ ขาท�ำ อย่างนี้ เพราะฉะนัน้ โทษแม้ในกรรมท่คี นบ้าท�ำ ยอ่ มไมม่ ี (หรอื ) ย่อม
เป็นโทษ ทบี่ �ำบดั ได้ ฉนั ใด ขอถวายพระพร โลมสกัสสปฤๅษที ันทที ่ไี ด้เห็นนางจันทวดรี าช
กญั ญา ก็มจี ติ ฟุ้งซา่ น ก�ำหนดั ถกู ความเลอะเลือนครอบง�ำ ว่นุ วาย สบั สนไป ได้บูชาวาชเปยย
มหายญั อนั เปน็ กองโลหิตจากคอของสัตว์มากมายหมูใ่ หญ่ทถ่ี ูกฆา่ ดว้ ยจติ ทฟ่ี ุ้งซ่าน พลงุ่
พลา่ น วุ่นวายนน้ั แต่วา่ ในคราวทีท่ า่ นเป็นผมู้ ีจิตปกติกลับคืน ท่านก็บวชใหม่ ท�ำอภิญญา ๕
ให้บังเกดิ ได้อีกคร้งั หนึง่ แล้วกเ็ ป็นผเู้ ขา้ ถงึ พรหมโลก ฉนั นน้ั เหมอื นกนั ”

‘‘สาธ ุ ภนฺเต นาคเสน เอวเมตํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “ดจี รงิ พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามทท่ี า่ นกลา่ วมา
แลว้ ฉะน้ี”

พุทธฺ อวเิ ห€กปญฺโห ปญจฺ โม ฯ
จบพุทธอวิเหฐกปัญหาข้อที่ ๕

________

กณั ฑ์] ๔.๕ สันถววรรค 63

๖. ฉทฺทนฺตโชตปิ าลารพภฺ ปญฺห

๖. ฉัททนั ตโชติปาลารพั ภปญั หา

ปญั หาปรารภพญาชา้ งฉัททันต์และโชตปิ าลมาณพ

[๖] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปต ํ ภควตา ฉทฺทนฺโต นาคราชา –
‘‘วธิสสฺ เมตนฺติ ปรามสนฺโต
กาสาวมททฺ กฺข ิ ธช ํ อิสนี ํ
ทุกฺเขน ผุฏฺ สฺสุทปาทิ ส ฺ า
อรหทธฺ โช สพภฺ ิ อวชฌฺ รูโป’ติ ฯ
[๖] พระเจา้ มลิ นิ ทต์ รัสวา่ “พระคณุ เจา้ นาคเสน พระผูม้ ีพระภาคเจา้ ทรงภาษติ ความ
ขอ้ นี้ไว้ เมอ่ื คราวเป็นพญาช้างฉทั ทนั ต์ว่า
“พญาชา้ งจับนายพรานนัน้ ด้วยหมายใจว่า ‘เราจกั ฆ่ามนั ’ ได้
เหน็ ผ้ากาสาวพสั ตรอ์ นั เปน็ ธงชัยแห่งฤาษที ้ังหลาย ทงั้ ๆ ท่ไี ด้
รับทุกขเวทนา ก็เกิดสญั ญาขึน้ วา่ ‘บุคคลผู้ทรงธงชัยแหง่ พระ
อรหันต์ สตั บรุ ษุ ไมค่ วรฆา่ ’ ดงั น้ี

‘‘ปุน จ ภณติ ํ ‘โชตปิ าลมาณโว สมาโน กสฺสปํ ภควนฺต ํ อรหนฺต ํ สมมฺ าสมฺพทุ ฺธ ํ
มุณฑฺ กวาเทน สมณกวาเทน อสพภฺ าหิ ผรสุ าห ิ วาจาห ิ อกโฺ กส ิ ปริภาส’ี ติ ฯ ยทิ ภนฺเต
นาคเสน โพธิสตฺโต ตริ จฉฺ านคโต สมาโน กาสาวํ อภปิ ชู ย,ิ เตนห ิ ‘โชติปาเลน มาณเวน
กสฺสโป ภควา อรห ํ สมฺมาสมพฺ ทุ ฺโธ มุณฑฺ กวาเทน สมณกวาเทน อสพภฺ าหิ ผรุสาห ิ
วาจาหิ อกกฺ ุฏโฺ ปรภิ าสโิ ต’ติ ย ํ วจนํ, ต ํ มิจฺฉา ฯ ยท ิ โชติปาเลน มาณเวน กสสฺ โป
ภควา อรห ํ สมฺมาสมฺพทุ ฺโธ มุณฑฺ กวาเทน สมณกวาเทน อสพภฺ าหิ ผรุสาห ิ วาจาห ิ
อกฺกฏุ โฺ ปริภาสิโต, เตนหิ ‘ฉททฺ นฺเตน นาคราเชน กาสาวํ ปูชิต’นตฺ ิ ตมปฺ ิ วจนํ
มจิ ฺฉา ฯ ยทิ ติรจฉฺ านคเตน โพธิสตฺเตน กกขฺ ฬขรกฏกุ เวทน ํ เวทยมาเนน ลุททฺ เกน
นวิ ตถฺ ํ กาสาว ํ ปูชติ ,ํ ก ึ มนุสสฺ ภูโต สมาโน ปรปิ กกฺ าโณ ปริปกกฺ าย โพธิยา กสสฺ ป ํ
ภควนตฺ ํ อรหนตฺ ํ สมมฺ าสมฺพุทฺธํ ทสพล ํ โลกนายก ํ อุทิโตทิต ํ ชลติ พฺยาโมภาส ํ ปวรตุ ตฺ ม ํ
ปวรรุจิรกาสิกกาสาวมภปิ ารตุ ํ ทิสวฺ า น ปูชยิ ? อยมปฺ ิ อุภโต โกฏิโก ป โฺ ห ตวา-
นุปฺปตฺโต, โส ตยา นิพพฺ าหติ พฺโพติ ฯ
และตรสั ไว้อกี วา่ ‘เราเปน็ โชตปิ าลมาณพ ได้ดา่ ว่าบรภิ าษพระผมู้ พี ระภาคเจา้ กัสสป-

64 มิลนิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

อรหนั ตสัมมาสมั พทุ ธเจ้า ด้วยค�ำวา่ สมณะโลน้ ด้วยวาจาหยาบชา้ ท้ังหลาย ดงั นี้ พระคณุ เจา้
นาคเสน ถา้ หากพระโพธิสตั วผ์ ้เู ป็นสัตว์เดรจั ฉาน ได้บชู ายงิ่ ซึง่ ผา้ กาสาวพัสตร์ จรงิ ไซร้ ถา้
อย่างน้ัน ค�ำทีว่ ่า เราเปน็ โชตปิ าลมาณพ ได้ด่าวา่ บรภิ าษพระผู้มพี ระภาคเจา้ กัสสปอรหันต-
สมั มาสัมพทุ ธเจา้ ดว้ ยค�ำว่า สมณะโล้น ด้วยวาจาหยาบช้าทั้งหลาย ดังนี้ กย็ อ่ มเปน็ ค�ำทีผ่ ดิ
ถา้ หากวา่ โชติปาลมาณพด่าว่า บรภิ าษพระผมู้ ีพระภาคเจา้ กัสสปอรหนั ตสัมมาสัมพุทธเจ้า
ด้วยค�ำว่า สมณะโลน้ ดว้ ยวาจาหยาบช้าทง้ั หลาย จรงิ ไซร้ ถ้าอยา่ งนนั้ ค�ำทว่ี ่า พญาชา้ ง
ฉัททนั ต์บูชาผา้ กาสาวพัสตร์ ดงั นี้ กย็ ่อมเป็นค�ำทีผ่ ดิ ถ้าหากพระโพธสิ ตั ว์ผู้เปน็ สัตว์เดรัจฉาน
ก�ำลังเสวยเวทนารุนแรง เผด็ ร้อนทารุณ ก็ยังบชู าผ้ากาสาวพสั ตร์ทน่ี ายพรานนงุ่ หม่ อยู่ไดไ้ ซร้
เพราะเหตไุ ร พระโพธสิ ตั วผ์ เู้ ป็นมนษุ ย์มีญาณแกก่ ล้า เพอ่ื การตรสั รูท้ แ่ี กก่ ล้า เหน็ พระผ้มู ีพระ
ภาคเจา้ กัสสปอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ผูท้ รงมพี ระทศพลญาณ ผู้ทรงเป็นผนู้ �ำสัตวโ์ ลก ผู้
สูงส่ง มีพระรศั มีรงุ่ เรือง แผไ่ ปประมาณ ๑ วา ผ้ยู อดเยยี่ มสูงสุด นุ่งหม่ ผา้ กาสาวะทที่ อจาก
แคว้นกาสีงดงามยอดเย่ียมแลว้ ก็ไมบ่ ูชาเลา่ ปัญหาแม้ขอ้ นีก้ ม็ ี ๒ เงอ่ื น ตกถึงแก่ท่านแล้วโดย
ล�ำดบั ขอท่านพึงคลคี่ ลายปัญหาน้นั เถดิ ”
‘‘ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา ฉทฺทนฺโต นาคราชา ‘วธิสสฺ เมตนฺต…ิ เป.… อวชฺฌ-
รูโป’ติ ฯ โชตปิ าเลน จ มาณเวน กสฺสโป ภควา อรหํ สมมฺ าสมพฺ ุทโฺ ธ มณุ ฺฑกวาเทน
สมณกวาเทน อสพฺภาห ิ ผรุสาห ิ วาจาห ิ อกกฺ ุฏโฺ ปริภาสโิ ต, ต จฺ ปน ชาติวเสน
กุลวเสน ฯ โชติปาโล มหาราช มาณโว อสสฺ ทฺเธ อปปฺ สนเฺ น กุเล ปจฺจาชาโต, ตสสฺ
มาตาปติ โร ภคินภิ าตโร ทาสิทาสเจฏกปริวารกมนุสฺสา พฺรหฺมเทวตา พฺรหมฺ ครุกา, เต
‘พฺราหฺมณา เอว อุตตฺ มา ปวรา’ติ อวเสเส ปพพฺ ชิเต ครหนฺต ิ ชคิ จุ ฉฺ นฺต,ิ เตสํ ตํ วจน ํ
สุตวฺ า โชติปาโล มาณโว ฆฏกิ าเรน กุมฺภกาเรน สตฺถารํ ทสสฺ นาย ปกฺโกสิโต เอวมาห
‘กึ ปน เตน มณุ ฺฑเกน สมณเกน ทฏิ ฺเ นา’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพิตร พระผู้มพี ระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความข้อน้ีไว้ เม่ือคราวทท่ี รงเป็นพญาชา้ งฉทั ทนั ต์วา่ เราพอจับตัวนายพรานได้ กค็ ิดว่า
จกั ฆ่ามนั เสยี ฯลฯ เป็นผ้ทู ่ไี ม่สมควรฆ่า ดังน้ี จรงิ และโชติปาลมาณพก็ไดด้ ่าว่า บริภาษพระผู้
มพี ระภาคเจา้ กัสสปอรหันตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ด้วยค�ำว่า สมณะโลน้ ด้วยวาจาหยาบช้าทั้ง
หลาย จริง ก็แต่ว่า ขอ้ ท่โี ชตปิ าลมาณพดา่ วา่ บริภาษ พระผู้มีพระภาคเจ้ากัสสปะน้นั เป็นด้วย
อ�ำนาจแหง่ ชาตสิ กลุ ขอถวายพระพรโชตปิ าลมาณพ กลบั มาเกิดในสกุลท่ีไม่มศี รัทธา ไม่
เล่ือมใส มารดาบดิ า พีน่ อ้ งหญงิ พน่ี ้องชาย พวกทาสหญิงทาสชาย คนรับใช้ คนทเี่ ป็นบริวาร

กัณฑ]์ ๔.๕ สันถววรรค 65

ของโชตปิ าลมาณพนั้น ลว้ นแต่เป็นผ้เู ทดิ ทูนพรหม ล้วนแตเ่ คารพพรหม คนเหลา่ นนั้ ล้วน
ส�ำคญั วา่ พราหมณเ์ หล่านน้ั เป็นผูส้ ูงสุด เปน็ ผ้ยู อดเยีย่ ม ดังนี้ แล้วพากนั ต�ำหนิ รงั เกียจพวก
นกั บวชที่เหลอื โชตปิ าลมาณพ กฟ็ ังแต่ค�ำของคนพวกนั้น พอช่างปน้ั หม้อชือ่ ฆฏิการรอ้ งเรียก
ชวนไปเฝ้าพระศาสดา จึงกลา่ วอย่างนีว้ า่ ประโยชน์อะไรดว้ ยการพบเหน็ สมณะโลน้ ผ้นู ้นั เลา่ ”
ดงั น้ี
‘‘ยถา มหาราช อมตํ วิสมาสชชฺ ตติ ตฺ กํ โหติ, ยถา จ สโี ตทกํ อคคฺ มิ าสชฺช อณุ ฺหํ
โหต,ิ เอวเมว โข มหาราช โชตปิ าโล มาณโว อสฺสทเฺ ธ อปฺปสนฺเน กุเล ปจฺจาชาโต, โส
กลุ วเสน อนโฺ ธ หตุ วฺ า ตถาคตํ อกโฺ กสิ ปรภิ าสิ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า ยาอมฤตไปแตะยาพิษเข้า ก็กลายเปน็ ยาขมไป
ฉันใด อน่งึ นำ�้ เยน็ ลนไฟเขา้ กก็ ลายเปน็ นำ้� รอ้ นไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร โชตปิ าลมาณพ
เปน็ ผูก้ ลบั มาเกดิ ในสกุลที่ไม่มศี รทั ธา ไม่เล่อื มใส เขาเป็นคนมดื บอดไปด้วยอ�ำนาจแหง่ สกลุ
จึงได้ด่าว่าบรภิ าษพระตถาคต ฉนั น้นั เหมือนกัน
‘‘ยถา มหาราช ชลิตปชฺชลโิ ต มหาอคคฺ ิกฺขนฺโธ สปฺปภาโส อุทกมาสชฺช อปุ หตปฺ-
ปภาเตโช สีตโล กาฬโก ภวติ ปริปกฺกนิคฺคุณฑฺ ผิ ลสทิโส, เอวเมว โข มหาราช โชติปาโล
มาณโว ป ุ ฺ วา สทโฺ ธ าณวิปลุ สปฺปภาโส อสฺสทฺเธ อปปฺ สนฺเน กุเล ปจฺจาชาโต, โส
กุลวเสน อนโฺ ธ หุตฺวา ตถาคต ํ อกฺโกสิ ปริภาสิ, อุปคนตฺ วฺ า จ พุทธฺ คณุ ม ฺ าย
เจฏกภูโต วยิ อโหส,ิ ชนิ สาสเน ปพพฺ ชติ วฺ า อภ ิ ฺ า จ สมาปตตฺ โิ ย จ นิพพฺ ตฺเตตฺวา
พฺรหมฺ โลกูปโค อโหสี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรียบเหมือนว่า กองไฟใหญ่ลุกโพลงกม็ ีแสงสว่างดี แต่พอโดนนำ�้
เขา้ แสงสว่างรุ่งเรอื งกถ็ ูกขจดั ไป กลายเปน็ ไมเ้ ยน็ ทอ่ นด�ำ ๆ ไป เหมอื นผลไม้แก่หงอ่ ม หลุด
จากขั้ว เน่าไป ฉนั ใด ขอถวายพระพร โชติปาลมาณพ เปน็ ผู้มีบุญ มศี รัทธา มแี สงสว่างอัน
ไพบลู ย์คอื ญาณ แตก่ ลบั มาเกิดในสกลุ ทีไ่ มม่ ีศรัทธา ไมเ่ ล่ือมใส เขาจึงเปน็ เหมือนคนมดื บอด
ไป ด้วยอ�ำนาจแหง่ สกลุ ได้ดา่ วา่ บรภิ าษพระตถาคต ฉันนัน้ เหมอื นกัน แต่พอได้เขา้ เฝ้า รจู้ กั
พระพทุ ธคณุ แลว้ กเ็ หมอื นจะกลายเปน็ คนรบั ใช้ไป ไดบ้ วชในพระศาสนาของพระชินวร ท�ำ
อภญิ ญาและสมาบัตทิ ง้ั หลายใหบ้ งั เกดิ ได้แล้ว กไ็ ด้เปน็ ผเู้ ขา้ ถึงพรหมโลก”
‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฺฉามี’’ติ ฯ
พระเจา้ มิลินท์ตรสั วา่ “ดจี ริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามทท่ี ่านกลา่ วมา

66 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

แลว้ ฉะน้ี”

ฉทฺทนตฺ โชติปาลารพฺภปญฺโห ฉฏฺโ€ ฯ

จบฉทั ทนั ตโชติปาลารพั ภปญั หาขอ้ ที่ ๖
________

๗. ฆฏกิ ารปญหฺ
๗. ฆฏกิ ารปัญหา
ปญั หาวา่ ด้วยนายชา่ งหมอ้ ชื่อวา่ ฆฏกิ าร
[๗] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ภควตา ‘ฆฏิการสสฺ กมุ ภฺ การสฺส อาเวสน ํ สพพฺ ํ
เตมาสํ อากาสจฺฉทน ํ อฏฺ าสิ, น เทโวตวิ สฺสี’ติ ฯ ปุน จ ภณติ ํ ‘กสฺสปสฺส ตถาคตสฺส กฏุ ิ
โอวสฺสต’ี ติ ฯ กสิ ฺส ปน ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคตสสฺ เอวมสุ ฺสนฺนกสุ ลมูลสฺส กฏุ ิ โอวสสฺ ต,ิ
ตถาคตสสฺ นาม โส อานุภาโว อจิ ฺฉิตพโฺ พ ? ยท ิ ภนเฺ ต นาคเสน ฆฏิการสสฺ กมุ ภฺ การสฺส
อาเวสน ํ อโนวสสฺ ํ อากาสจฉฺ ทน ํ อโหส,ิ เตนหิ ‘ตถาคตสสฺ กฏุ ิ โอวสสฺ ตี’ติ ย ํ วจนํ, ต ํ
มจิ ฉฺ า ฯ ยทิ ตถาคตสสฺ กฏุ ิ โอวสสฺ ต,ิ เตนห ิ ‘ฆฏิการสสฺ กุมภฺ การสฺส อาเวสนํ
อโนวสฺสก ํ อโหส ิ อากาสจฉฺ ทนน’ฺ ต ิ ตมปฺ ิ วจน ํ มจิ ฺฉา ฯ อยมฺปิ อุภโต โกฏโิ ก ป โฺ ห
ตวานุปฺปตโฺ ต, โส ตยา นพิ ฺพาหิตพฺโพ’’ติ ฯ
[๗] พระเจ้ามลิ นิ ท์ตรัสว่า “พระคณุ เจ้านาคเสน พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงภาษิตความ
ขอ้ นี้ไว้วา่ ‘ทอี่ ยู่ของช่างหม้อชื่อฆฏิการ มีอากาศเป็นหลังคาอยู่ตลอด ๓ เดอื น ถงึ ฝนตกก็ไม่
รั่ว’ และยังตรสั ไวอ้ ีกว่า ‘พระคนั ธกฎุ ขี องพระตถาคตกสั สปพุทธเจ้า ฝนรั่ว’ ดงั นี้ พระคณุ เจา้
นาคเสน เพราะเหตุไร พระคันธกุฎขี องพระตถาคต ผ้ทู รงมีกุศลมูลหนาแนน่ อย่างน้ี ฝนยงั รวั่
รดได้เลา่ ข้นึ ชอื่ ว่า พระอานภุ าพของพระตถาคตนั้น ใคร ๆ ก็ปรารถนา พระคุณเจ้านาคเสน
ถา้ หากว่า ทอี่ ยขู่ องช่างหม้อชอื่ วา่ ฆฏกิ าร มอี ากาศเป็นหลังคา ฝนรัว่ รดมิได้ จรงิ แลว้ ไซร้ ถา้
อยา่ งนั้น ค�ำทวี่ า่ ‘พระคันธกุฎขี องพระตถาคต ฝนรวั่ ’ ดังนี้ กย็ อ่ มเป็นค�ำท่ีผิด ถา้ หากวา่ พระ
คนั ธกุฎีของพระตถาคตฝนร่วั จรงิ แลว้ ไซร้ ถ้าอยา่ งนั้น ค�ำที่ว่า ‘ที่อยู่ของชา่ งหม้อช่ือว่าฆฏิ
การมอี ากาศเป็นหลงั คา ฝนรวั่ รดมิได้’ ดังนี้ กย็ อ่ มเป็นค�ำที่ผดิ ปญั หาแมข้ ้อนี้ กม็ ี ๒ เง่ือน ตก
ถงึ แกท่ ่านแลว้ โดยล�ำดบั ขอท่านพงึ คลคี่ ลายปญั หาน้ันเถดิ ”

กณั ฑ]์ ๔.๕ สนั ถววรรค 67

‘‘ภาสติ มฺเปต ํ มหาราช ภควตา ‘ฆฏกิ ารสสฺ กมุ ภฺ การสสฺ อาเวสนํ สพฺพํ เตมาสํ
อากาสจฺฉทนํ อฏฺ าส,ิ น เทโวตวิ สสฺ ี’ติ ฯ ภณิต ฺจ ‘กสสฺ ปสฺส ตถาคตสฺส กุฏิ โอวสฺสตี’ติ
ฯ ฆฏกิ าโร มหาราช กมุ ฺภกาโร สีลวา กลฺยาณธมฺโม อสุ สฺ นฺนกุสลมูโล อนฺเธ ชิณฺเณ
มาตาปิตโร โปเสติ, ตสสฺ อสมฺมุขา อนาปุจฉฺ าเยวสสฺ ฆเร ตณิ ํ หรติ ฺวา ภควโต กฏุ ึ
ฉาเทสํุ, โส เตน ติณหรเณน อกมปฺ ติ ํ อส จฺ ลิต ํ สุสณ ฺ ิต ํ วปิ ุลมสมํ ปีตึ ปฏลิ ภต,ิ ภยิ ฺโย
โสมนสสฺ จฺ อตุล ํ อุปปฺ าเทสิ ‘อโห วต เม ภควา โลกุตฺตโม สวุ สิ สฺ ตฺโถ’ติ, เตน ตสฺส
ทฏิ ฺ ธมฺมโิ ก วิปาโก นพิ พฺ ตโฺ ต ฯ น หิ มหาราช ตถาคโต ตาวตเกน วิกาเรน จลติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษิตความข้อนไ้ี วว้ า่ ‘ทอ่ี ยู่ของช่างหมอ้ ช่ือวา่ ฆฏิการท้งั หมด มีอากาศเป็นหลังคาอยู่ตลอด
๓ เดอื น ถงึ ฝนตกกไ็ มร่ ่ัว’ และตรัสไวว้ ่า ‘กุฎีของตถาคตกัสสปพทุ ธเจ้า ฝนรัว่ ’ ดงั นี้ จรงิ ขอ
ถวายพระพร ช่างหม้อชื่อวา่ ฆฏกิ าร เปน็ ผ้มู ศี ลี มกี ลั ยาณธรรม มกี ุศลมลู หนาแนน่ เล้ียงดู
มารดาบิดาผู้แก่เฒา่ ตาบอด ภิกษุท้ังหลายไม่ได้ขอเขาต่อหน้าเลย กร็ อื้ เอาหญ้ามุงเรอื นของ
เขาไปมุงพระคันธกฎุ ขี องพระผู้มพี ระภาคเจา้ เพราะการร้ือเอาหญา้ ไปน้ัน ชา่ งหมอ้ กไ็ ด้รบั
ความปลาบปลื้มมากมาย หาทเ่ี สมอเหมอื นมิได้ อันเป็นความปลาบปลมื้ ใจที่ตงั้ มัน่ ดี ไมส่ ัน่
ไม่หวน่ั ไหว ทั้งได้ท�ำโสมนสั ท่ีไมอ่ าจจะวัดได้ ให้เกิดขึ้นยงิ่ ๆ ขึน้ วา่ ‘โอหนอ พระผมู้ ีพระภาค
เจา้ ผูส้ ูงสดุ ในโลก ทรงเปน็ ผูท้ ่ีแสนค้นุ เคยกบั เรา’ ดงั น้ี วิบากในอตั ภาพน้ี ได้บังเกิดแก่เขาแลว้
เพราะเหตนุ ัน้ ขอถวายพระพร เปน็ ความจริง พระตถาคตมิได้ทรงหว่นั ไหว เพราะอาการท่ผี ิด
แปลกไปเพียงเท่าน้ี
‘‘ยถา มหาราช สิเนร ุ คิริราชา อเนกสตสหสฺสวาตสมฺปหาเรนปิ น กมปฺ ต ิ น
จลติ, มโหทธิ วรปปฺ วรสาคโร อเนกสตนหตุ มหาคงฺคาสตสหสฺเสหิป ิ น ปรู ต ิ น วิการ-
มาปชชฺ ติ, เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต น ตาวตเกน วิกาเรน จลติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนว่า พญาภเู ขาสิเนรุ ยอ่ มไม่ส่ัน ไมไ่ หว แม้เพราะถูกลม
ตีตง้ั หลายแสนครั้ง ฉันใด มหาสมทุ รซึ่งเปน็ ทะเลประเสริฐยอดเยีย่ ม กย็ ่อมไม่เต็มเปี่ยม ไมถ่ งึ
ความเปล่ยี นแปลงไป แม้เพราะน�ำ้ หลายหมืน่ หลายแสนสายจากมหาคงคา ฉันใด ขอถวาย
พระพร พระตถาคต ก็ไม่ทรงหวน่ั ไหว เพราะอาการทผ่ี ดิ แปลกไปเพยี งเทา่ นน้ั ฉนั น้นั เหมือน
กันแล

68 มิลินทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘ยํ ปน มหาราช ตถาคตสสฺ กุฏ ิ โอวสฺสต,ิ ตํ มหโต ชนกายสฺส อนุกมฺปาย ฯ
เทวฺ เม มหาราช อตฺถวเส สมปฺ สสฺ มานา ตถาคตา สย ํ นมิ ฺมติ ํ ปจฺจยํ นปปฺ ฏเิ สวนฺต,ิ
‘อย ํ อคฺคทกฺขิเณยโฺ ย สตฺถา’ติ ภควโต ปจฺจย ํ ทตฺวา เทวมนุสฺสา สพพฺ ทคุ คฺ ตโิ ต
ปรมิ ุจจฺ สิ ฺสนตฺ ตี ,ิ ปาฏหิ ีรํ ทสเฺ สตฺวา วุตฺตึ ปรเิ ยสนตฺ ตี ิ ‘มา อ เฺ อุปวเทยยฺ นุ ’ฺ ติ ฯ อิเม
เทฺว อตถฺ วเส สมปฺ สฺสมานา ตถาคตา สยํ นมิ ฺมติ ํ ปจจฺ ยํ นปปฺ ฏิเสวนตฺ ิ ฯ ยท ิ มหาราช
สกฺโก วา ตํ กฏุ ึ อโนวสสฺ ํ กเรยยฺ พฺรหฺมา วา สย ํ วา, สาวชชฺ ํ ภเวยฺย ตเํ ยว กรณํ
สโทสํ สนคิ คฺ หํ, อเิ ม วภิ ตู ํ กตฺวา โลกํ สมฺโมเหนตฺ ิ อธิกตํ กโรนตฺ ีต,ิ ตสมฺ า ตํ กรณ ํ
วชชฺ นยี ํ ฯ น มหาราช ตถาคตา วตถฺ ุ ํ ยาจนตฺ ,ิ ตาย อวตฺถุยาจนาย อปริภาสยิ า
ภวนตฺ ี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร ก็ข้อทพี่ ระคนั ธกุฎีของพระตถาคต ฝนรวั่ ได้ ใด ข้อน้ัน ทรงยอมให้
เปน็ ไป เพื่อจะทรงอนุเคราะหช์ นหม่ใู หญ่ ขอถวายพระพร พระตถาคตทั้งหลาย เมือ่ ทรงเลง็
เหน็ อ�ำนาจประโยชน์ ๒ อย่างเหล่านอ้ี ยู่ ก็ไมท่ รงเสพปจั จยั ทท่ี รงเนรมติ ข้นึ เอง คือ พระ
ตถาคตทงั้ หลาย ทรงเล็งเหน็ อ�ำนาจประโยชน์ ๒ ประการ น้ี คือ
๑. พวกเทวดาและมนุษย์ทงั้ หลาย คิดว่า ‘พระศาสดาน้ี เปน็ อัครทักขิเณยยบุคคล’
ดังนี้ จงึ ถวายปจั จัยแด่พระผมู้ พี ระภาคเจ้า แลว้ ก็จักหลดุ พน้ จากทคุ ติทั้งปวง
๒. คนอนื่ อยา่ ติเตยี นไดว้ า่ ‘ผู้นเี้ อาแตแ่ สดงปาฏิหาริย์ แสวงหาเคร่อื งยังชีพ’
จงึ ไมท่ รงเสพปจั จยั ที่ทรงเนรมิตขน้ึ เอง ขอถวายพระพร อกี อยา่ งหนงึ่ ถา้ หากว่า ท่านทา้ ว
สกั กะ หรอื ทา่ นทา้ วมหาพรหม หรอื พระองคเ์ องพงึ กระท�ำพระคันธกุฎีนนั้ ไมใ่ ห้ฝนรั่วไซร้
การกระท�ำนน้ั กพ็ ึงนา่ ตเิ ตียน มีโทษ มขี อ้ ที่นกั ปราชญอ์ ืน่ จะข่มข่ีเอาได้ว่า ‘ท่านเหลา่ น้ี ท�ำแต่
สิง่ แปลก ๆ ใหช้ าวโลกงมงาย สรา้ งแตส่ ่งิ นา่ พศิ วง’ ดังน้ี เพราะฉะน้นั การกระท�ำนั้น จึงจดั วา่
นา่ ต�ำหนิ ขอถวายพระพร พระตถาคตทัง้ หลาย จะไม่ตรสั ขอสง่ิ ของ เพราะการท่ไี มต่ รสั ขอ
สงิ่ ของนน้ั จึงเปน็ ผู้ทีใ่ คร ๆ ไม่อาจกล่าวตเิ ตยี นได้”

‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏิจฉฺ าม’ี ’ติ ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “ดีจรงิ พระคณุ เจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามที่ท่านกล่าวมา
แลว้ ฉะน้”ี

ฆฏิการปญโฺ ห สตฺตโม ฯ
จบฆฏิการปญั หาขอ้ ท่ี ๗

________

กัณฑ์] ๔.๕ สันถววรรค 69

๘. พรฺ าหฺมณราชวาทปญหฺ
๘. พราหมณราชวาทปัญหา
ปญั หาว่าดว้ ยพระพทุ ธเจา้ โดยพระนามวา่ พราหมณ์และว่าพระราชา
[๘] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสิตมฺเปตํ ตถาคเตน ‘อหมสฺม ิ ภกิ ฺขเว พรฺ าหมฺ โณ
ยาจโยโค’ติ ฯ ปุน จ ภณิต ํ ‘ราชาหมสฺมิ เสลา’ติ ฯ ยท ิ ภนฺเต นาคเสน ภควตา ภณติ ํ
‘อหมสมฺ ิ ภิกฺขเว พรฺ าหมฺ โณ ยาจโยโค’ต,ิ เตนหิ ‘ราชาหมสฺมิ เสลา’ติ ยํ วจน,ํ ตํ
มิจฉฺ า ฯ ยทิ ตถาคเตน ภณติ ํ ‘ราชาหมสฺม ิ เสลา’ต,ิ เตนห ิ ‘อหมสฺม ิ ภกิ ขฺ เว พรฺ าหมฺ โณ
ยาจโยโค’ต ิ ตมฺปิ วจน ํ มิจฺฉา ฯ ขตฺตโิ ย วา ห ิ ภเวยฺย พฺราหฺมโณ วา, นตฺถ ิ เอกาย
ชาติยา เทวฺ วณฺณา นาม, อยมปฺ ิ อุภโต โกฏโิ ก ป โฺ ห ตวานุปปฺ ตโฺ ต, โส ตยา
นพิ พฺ าหิตพโฺ พ’’ติ ฯ
[๘] พระเจา้ มลิ ินทต์ รัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระตถาคตทรงภาษิตความข้อน้ไี วว้ า่
‘ภกิ ษทุ งั้ หลาย เรานแี้ ล เปน็ พราหมณผ์ คู้ วรแกก่ ารขอ’ ดงั นี้ และยงั ตรสั ไว้อีกวา่ ‘เสลพราหมณ์
เราเปน็ พระราชาอยแู่ ลว้ ’ ดงั น้ี พระคณุ เจา้ นาคเสน พระผ้มู ีพระภาคเจ้าตรัสวา่ ‘ภกิ ษทุ งั้ หลาย
เราเป็นพราหมณผ์ ู้ควรแกก่ ารขอ’ ดงั น้ี จริงไซร้ ถ้าอย่างนั้น ค�ำท่ตี รสั ไวว้ า่ ‘ทา่ นเสลพราหมณ์
เราเป็นพระราชาอยูแ่ ลว้ ’ ดังนี้ ก็ยอ่ มเปน็ ค�ำท่ีผดิ ถา้ หากพระตถาคต ตรัสไวว้ ่า ‘เสลพราหมณ์
เราเปน็ พระราชาอยแู่ ล้ว’ ดังนี้ จรงิ ไซร้ ถ้าอยา่ งน้ัน ค�ำทีต่ รสั ไว้วา่ ‘ภิกษุท้งั หลาย เราเป็น
พราหมณผ์ ู้ควรแกก่ ารขอ’ ดงั น้ี กย็ อ่ มไมถ่ ูกต้อง ทรงเป็นกษตั รยิ ์บ้าง เปน็ พราหมณบ์ า้ ง ใน
ชาติเดียวกนั ชื่อว่าจะมี ๒ วรรณะไดก้ ็หาไม่ ปญั หาแมน้ ้ี กม็ ี ๒ เงอ่ื น ตกถงึ แกท่ ่านแล้วโดย
ล�ำดบั ขอทา่ นพึงคลี่คลายปญั หานน้ั เถดิ ”

‘‘ภาสิตมฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘อหมสมฺ ิ ภิกขฺ เว พฺราหฺมโณ ยาจโยโค’ต,ิ ปนุ จ
ภณติ ํ ‘ราชาหมสฺมิ เสลา’ต,ิ ตตถฺ การณํ อตฺถิ เยน การเณน ตถาคโต พฺราหมฺ โณ จ
ราชา จ โหตี’’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร พระผู้มีพระภาคเจา้ ทรง
ภาษติ ความขอ้ นีไ้ ว้ว่า ‘ภกิ ษุท้ังหลาย เราเป็นพราหมณผ์ คู้ วรแก่การขอ’ ดงั นี้ จรงิ และตรสั ไว้
อกี วา่ ‘ทา่ นเสลพราหมณ์ เราเป็นพระราชาอย่แู ล้ว’ ดงั น้ี จรงิ ก็เหตุท่ีเปน็ เหตใุ หพ้ ระตถาคต
ทรงได้ชอื่ ว่าเป็นท้ังพราหมณ์ เป็นทงั้ พระราชา มอี ยู่”

70 มิลนิ ทปญั หาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปญั ห

‘‘กึ ปน ต ํ ภนเฺ ต นาคเสน การณํ, เยน การเณน ตถาคโต พฺราหมฺ โณ จ ราชา
จ โหติ’’?
พระเจา้ มิลินท์ตรสั ว่า “เหตุที่เปน็ เหตใุ หพ้ ระตถาคตทรงได้ช่อื วา่ เป็นทั้งพราหมณ์ เป็น
ทง้ั พระราชามีอยู่ คอื อะไรเล่า ? พระคุฌเจา้ นาคเสน”
‘‘สพเฺ พ มหาราช ปาปกา อกุสลา ธมมฺ า ตถาคตสฺส พาหิตา ปหีนา อปคตา
พฺยปคตา อจุ ฉฺ ินนฺ า ขณี า ขยํ ปตฺตา นิพฺพตุ า อุปสนฺตา, ตสมฺ า ตถาคโต ‘พฺราหฺมโณ’ติ
วจุ ฺจติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพร อกศุ ลธรรมอนั ช่ัวชา้ ทงั้ หลายทั้งปวง
พระตถาคตทรงลอยไปเสียไดแ้ ลว้ คือ ทรงละได้แลว้ ไปปราศแลว้ ถึงความพนิ าศแลว้ ตดั ขาด
แล้ว ส้นิ แล้ว ถึงความส้นิ ไปแลว้ ดบั แลว้ สงบแล้ว เพราะเหตนุ ้นั บัณฑิตจงึ เรยี กขานพระ
ตถาคตวา่ เป็นพราหมณ์
‘‘พฺราหมฺ โณ นาม สสํ ยมเนกสํ ํ วิมตปิ ถํ วีตวิ ตฺโต, ภควาป ิ มหาราช สสํ ยมเนกํส ํ
วิมติปถํ วีติวตฺโต, เตน การเณน ตถาคโต ‘พรฺ าหฺมโณ’ติ วุจจฺ ติ ฯ
ธรรมดาวา่ พราหมณ์ ยอ่ มเปน็ ผู้ลว่ งพ้นความสงสยั ความคลางแคลงใจ ความลังเลใจ
ขอถวายพระพร แมพ้ ระผมู้ ีพระภาคเจ้า กท็ รงเปน็ ผูล้ ว่ งพน้ ความสงสัย ความคลางแคลงใจ
ความลังเลใจ เพราะเหตุนน้ั บณั ฑิตจงึ เรยี กขานพระตถาคตว่าเปน็ พราหมณ์
‘‘พรฺ าหมฺ โณ นาม สพฺพภวคติโยนนิ ิสสฺ โฏ มลรชคตวปิ ฺปมตุ ฺโต อสหาโย, ภควาปิ
มหาราช สพพฺ ภวคติโยนินิสสฺ โฏ มลรชคตวปิ ฺปมุตฺโต อสหาโย, เตน การเณน ตถาคโต
‘พรฺ าหฺมโณ’ติ วจุ จฺ ติ ฯ
ธรรมดาวา่ พราหมณ์ ยอ่ มเป็นผสู้ ลัดออกไปจากภพ คติ ก�ำเนิดทัง้ ปวง หลดุ พน้ จาก
มลทิน ละออง หาผทู้ ดั เทยี มกนั มไิ ด้ ขอถวายพระพร แมพ้ ระผู้มพี ระภาคเจ้าก็ทรงเป็นผูส้ ลัด
ออกไปจากภพ คติ ก�ำเนดิ ทงั้ ปวง หลุดพ้นจากมลทนิ ละออง หาผทู้ ดั เทยี มมไิ ด้ เพราะเหตุนั้น
บัณฑติ จึงเรียกขานพระตถาคตว่าเป็นพราหมณ์
‘‘พรฺ าหมฺ โณ นาม อคฺคเสฏฺ วรปวรทิพฺพวหิ ารพหุโล, ภควาป ิ มหาราช อคฺค-
เสฏฺ วรปวรทพิ พฺ วหิ ารพหโุ ล, เตนาป ิ การเณน ตถาคโต ‘‘พรฺ าหฺมโณ’’ติ วจุ จฺ ติ ฯ
ธรรมดาว่าพราหมณ์ ย่อมเป็นผมู้ ากด้วยทพิ ยวิหารอนั ยอดเยีย่ ม ประเสริฐ เปน็ เลศิ
ขอถวายพระพร แม้พระผมู้ ีพระภาคเจา้ กท็ รงเปน็ ผูม้ ากด้วยทพิ ยวิหารอันยอดเยีย่ ม ประเสรฐิ

กณั ฑ์] ๔.๕ สันถววรรค 71

เป็นเลศิ แมเ้ พราะเหตนุ ั้น บัณฑิตจงึ เรยี กขานพระตถาคตวา่ เปน็ พราหมณ์
‘‘พฺราหฺมโณ นาม อชฌฺ ยนอชฌฺ าปนทานปฺปฏิคฺคหณทมสํยมนิยมปพุ พฺ มนุสฏิ ฺ ิ-
ปเวณิวํสธรโณ, ภควาปิ มหาราช อชฺฌยนอชฺฌาปนทานปฺปฏิคฺคหณทมสํยมนิยมปุพฺพ-
ชินาจณิ ฺณอนุสิฏ ฺ ิปเวณิวสํ ธรโณ เตนาปิ การเณน ตถาคโต ‘พรฺ าหมฺ โณ’ติ วุจจฺ ติ ฯ
ธรรมดาวา่ พราหมณ์ ย่อมเป็นผูท้ รงไวซ้ ่ึงการศกึ ษา (ท่องพระเวท) การสอน (พระเวท)
วิธีการรบั ทาน การทรมานตน ความส�ำรวมตน ขนบธรรมเนียม ค�ำอนุศาสนก์ อ่ นเกา่ และ
ประเพณีวงศ์ ขอถวายพระพร แมพ้ ระผมู้ ีพระภาคเจา้ ก็เปน็ ผทู้ รงไว้ซงึ่ การศกึ ษา การสอน วธิ ี
การรบั ทาน การทรมานตน ความส�ำรวมตน ขนบธรรมเนยี ม ค�ำอนุศาสน์กอ่ นเกา่ และ
ประเพณีวงศ์ แม้เพราะเหตุน้ัน บัณฑิตจึงเรียกขานพระตถาคตวา่ เป็นพราหมณ์
‘‘พฺราหฺมโณ นาม พฺรหาสขุ วหิ ารชฌฺ านฌายี; ภควาป ิ มหาราช พรฺ หาสุขวิหารช-ฺ
ฌานฌายี, เตนาปิ การเณน ตถาคโต ‘พฺราหมฺ โณ’ติ วุจฺจติ ฯ
ธรรมดาว่าพราหมณ์ ย่อมเปน็ ผูม้ ีปกติเขา้ ฌาน ด้วยสขุ วหิ ารธรรมที่ย่ิงใหญ่ ขอถวาย
พระพร แม้พระผมู้ พี ระภาคเจ้าก็ทรงเปน็ ผ้มู ปี กติเขา้ ฌาน ดว้ ยสุขวหิ ารฌานทยี่ ่ิงใหญ่ แม้
เพราะเหตุนน้ั บัณฑติ จงึ เรียกขานพระตถาคตว่าเป็นพราหมณ์
‘‘พฺราหฺมโณ นาม สพพฺ ภวาภวคตสี ุ อภิชาติวตตฺ ติ มนุจรติ ํ ชานาต,ิ ภควาป ิ
มหาราช สพพฺ ภวาภวคตีส ุ อภิชาติวตตฺ ิตมนุจริตํ ชานาต,ิ เตนาปิ การเณน ตถาคโต
‘พรฺ าหฺมโณ’ติ วจุ จฺ ติ ฯ
ธรรมดาวา่ พราหมณ์ ยอ่ มรูจ้ กั อภชิ าติ (ประเภทหรอื พันธข์ุ องสัตว์) ความเปน็ ไปและ
ความท่องเท่ียวไปในภพน้อยภพใหญ่และคตทิ ั้งปวง ขอถวายพระพร แมพ้ ระผู้มพี ระภาคเจ้า
ก็ทรงรจู้ กั อภชิ าติ ความเปน็ ไปและความทอ่ งเท่ียวไปในภพนอ้ ยภพใหญ่และคติท้ังปวง แม้
เพราะเหตนุ นั้ บัณฑิตจงึ เรียกขานพระตถาคตวา่ เปน็ พราหมณ์
‘‘พรฺ าหมฺ โณติ มหาราช ภควโต เนต ํ นาม ํ มาตรา กต,ํ น ปติ รา กต,ํ น ภาตรา
กต,ํ น ภคินิยา กตํ, น มติ ฺตามจฺเจห ิ กตํ, น าติสาโลหิเตหิ กต,ํ น สมณพฺราหมฺ เณห ิ
กตํ, น เทวตาห ิ กตํ, วโิ มกฺขนตฺ กิ เมตํ พทุ ฺธาน ํ ภควนตฺ านํ นาม ํ โพธยิ าเยว มูเล
มารเสน ํ วธิ มิตฺวา อตตี านาคตปจจฺ ปุ ปฺ นฺเน ปาปเก อกสุ เล ธมเฺ ม พาเหตฺวา สห
สพพฺ ฺ ุต าณสฺส ปฏิลาภา ปฏลิ ทธฺ ปาตุภตู สมปุ ปฺ นนฺ มตเฺ ต สจฉฺ กิ า ป ฺ ตตฺ ิ ยทิทํ
พฺราหมฺ โณต,ิ เตน การเณน ตถาคโต วุจจฺ ติ ‘พรฺ าหมฺ โณ’’ติ ฯ

72 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปญั ห

ขอถวายพระพร พระนามว่าพราหมณข์ องพระผูม้ พี ระภาคเจ้าน้ี ไม่ใช่พระนามท่ี
มารดาตงั้ ให้ ไมใ่ ชพ่ ระนามท่ีบิดาต้ังให้ ไม่ใช่พระนามที่พี่นอ้ งชายตัง้ ให้ ไม่ใชพ่ ระนามทพ่ี ี่
น้องหญงิ ต้ังให้ ไม่ใช่พระนามที่มติ รและอ�ำมาตย์ต้ังให้ ไมใ่ ชพ่ ระนามทพ่ี วกญาติสายโลหิตตั้ง
ให้ ไมใ่ ชพ่ ระนามที่พวกสมณะและพราหมณ์ตั้งให้ ไม่ใชพ่ ระนามท่พี วกเทวดาต้งั ให้ พระนาม
ว่า พราหมณ์ ของพระผ้มู ีพระภาคพทุ ธเจา้ น้ี มีในทสี่ ดุ แหง่ วิโมกข์ (วิโมกข์คอื พระอรหตั ตผล)
ค�ำว่า ‘พราหมณ์’ น้ี เป็นสจั ฉกิ าบัญญตั ิ ในเพราะเหตสุ กั วา่ เปน็ บญั ญัตทิ ี่ปรากฏขึ้น โดยเป็น
พระนามที่ทรงไดม้ าพร้อมกบั การทรงย�ำ่ ยกี องทัพมาร ก�ำจัดอกุศลธรรมทง้ั หลายอันช่ัวชา้ ท่ี
เป็นอดีต อนาคตและปจั จบุ ัน ได้มาซึ่งพระสัพพญั ญุตญาณที่โคนโพธพิ ฤกษ์ เพราะเหตนุ ัน้
บัณฑิตจงึ เรยี กขานพระตถาคตวา่ เปน็ พราหมณ์
‘‘เกน ปน ภนเฺ ต นาคเสน การเณน ตถาคโต วุจฺจติ ‘ราชา’’ติ ?
พระเจ้ามิลินท์ตรสั วา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน เพราะเหตุไร จึงเรียกขานพระตถาคตว่า
พระราชาเลา่ ?”
‘‘ราชา นาม มหาราช โย โกจ ิ รชชฺ ํ กาเรต ิ โลกมนุสาสติ, ภควาปิ มหาราช
ทสสหสฺสยิ า โลกธาตยุ า ธมเฺ มน รชฺชํ กาเรติ, สเทวกํ โลกํ สมารกํ สพฺรหมฺ ก ํ
สสฺสมณพฺราหมฺ ณ ึ ปช ํ สเทวมนุสฺส ํ อนุสาสติ, เตนาป ิ การเณน ตถาคโต วุจจฺ ต ิ
‘ราชา’ติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร ธรรมดาว่า พระราชา
พระองค์ใดองค์หน่งึ ย่อมครองราชสมบตั ิ ปกครองชาวโลก ขอถวายพระพร แม้พระผมู้ พี ระ
ภาคเจา้ กท็ รงครองราชสมบัตโิ ดยธรรม ทรงปกครองชาวโลกพร้อมท้ังเทวดา พร้อมทงั้ มาร
พรอ้ มทัง้ พรหม หมปู่ ระชาพร้อมท้ังสมณและพราหมณ์ พร้อมทงั้ เทวดาและมนษุ ย์ในหม่นื โลก
ธาตุ เพราะเหตุนน้ั บณั ฑติ จงึ เรียกขานพระตถาคตว่าพระราชา
‘‘ราชา นาม มหาราช สพฺพชนมนสุ ฺเส อภิภวติ ฺวา นนทฺ ยนโฺ ต าติสฆํ ํ, โสจยนโฺ ต
อมิตตฺ สํฆํ, มหตมิ หายสสริ หิ ร ํ ถริ สารทณฑฺ ํ อนูนสตสลากาลงฺกต ํ อุสฺสาเปต ิ ปณฑฺ รวมิ ล-
เสตจฺฉตตฺ ํ, ภควาปิ มหาราช โสจยนโฺ ต มารเสนํ มจิ ฉฺ าปฏิปนฺนํ, นนทฺ ยนโฺ ต เทวมนุสเฺ ส
สมฺมาปฏปิ นเฺ น ทสสหสฺสิยา โลกธาตยุ า มหติมหายสสริ ิหรํ ขนตฺ ถิ ิรสารทณฺฑํ าณวรสต-
สลากาลงฺกตํ อุสฺสาเปติ อคฺควรวิมตุ ฺติปณฑฺ รวิมลเสตจฺฉตตฺ ํ, เตนาป ิ การเณน ตถาคโต
วจุ จฺ ต ิ ‘ราชา’ติ ฯ

กัณฑ์] ๔.๕ สนั ถววรรค 73

ขอถวายพระพร ธรรมดาว่าพระราชา ทรงครอบง�ำมนษุ ย์ทกุ คน ทรงท�ำหมู่พระญาติ
ใหบ้ นั เทงิ ท�ำหมศู่ ัตรูใหเ้ ศรา้ โศก ทรงยกเศวตฉัตรอันขาวสะอาดปราศจากมลทิน ทม่ี คี ันถอื
เปน็ ไมแ้ ก่นมั่นคง ประดับดว้ ยซี่ไมต่ �ำ่ กวา่ ร้อย น�ำมาซ่งึ พระยศและพระสริ ิทีย่ ิง่ ใหญ่ ขอถวาย
พระพร แมพ้ ระผมู้ ีพระภาคเจา้ ก็ทรงท�ำทพั มารผ้ปู ฏิบตั ผิ ิดใหเ้ ศรา้ โศก ทรงท�ำเทวดาและ
มนษุ ย์ทัง้ หลายผ้ปู ฏิบตั ชิ อบใหบ้ นั เทงิ ทรงยกเศวตฉัตรอันขาวสะอาดปราศจากมลทิน คือ
วิมุตตอิ ันประเสรฐิ ยอดเยีย่ ม มคี ันถอื เป็นไม้แก่นอันม่ันคงคือขันติ ประดบั ดว้ ยซต่ี ั้งร้อย คือ
พระญาณอนั ประเสริฐ น�ำมาซึง่ พระยศและพระสิรทิ ี่ยิ่งใหญใ่ นหมืน่ โลกธาตุ แม้เพราะเหตนุ ้ัน
บัณฑิตจึงเรียกขานพระตถาคตวา่ ‘พระราชา’
‘‘ราชา นาม อุปคตสมฺปตฺตชนานํ พหนู มภวิ นทฺ นีโย ภวต,ิ ภควาป ิ มหาราช
อุปคตสมปฺ ตตฺ เทวมนุสฺสาน ํ พหูนมภวิ นทฺ นีโย, เตนาป ิ การเณน ตถาคโต วจุ ฺจติ
‘ราชา’ติ ฯ
ธรรมดาว่าพระราชา ยอ่ มทรงเป็นผทู้ ชี่ นท้ังหลายมากมาย ผู้เข้าไปเฝ้าหรือผพู้ บเห็น
ควรถวายบงั คม ขอถวายพระพร แมพ้ ระผมู้ พี ระภาคเจา้ ก็ทรงเปน็ ผู้ทีเ่ ทวดาและมนษุ ย์ทั้ง
หลายมากมาย ผเู้ ขา้ ไปเฝา้ หรอื ผพู้ บเห็น ควรถวายบังคม แม้เพราะเหตุน้นั บัณฑิตจงึ เรียก
ขานพระตถาคตว่า ‘พระราชา’
‘‘ราชา นาม ยสสฺ กสสฺ จิ อาราธกสฺส ปสที ติ วฺ า วรติ ํ วรํ ทตฺวา กาเมน ตปปฺ ยติ,
ภควาปิ มหาราช ยสฺส กสฺสจ ิ กาเยน วาจาย มนสา อาราธกสสฺ ปสที ิตวฺ า วริตํ
วรมนตุ ฺตร ํ สพพฺ ทุกฺขปริมุตตฺ ึ ทตวฺ า อเสสกามวเรน จ ตปฺปยต,ิ เตนาปิ การเณน
ตถาคโต วุจฺจติ ‘ราชา’ติ ฯ
ธรรมดาวา่ พระราชา ทรงโปรดปรานบคุ คลผูใ้ ดผหู้ นง่ึ ท่ที �ำถูกต้องแล้ว ก็ทรง
พระราชทานพรอนั ประเสริฐ ท�ำใหเ้ ขาพอใจดว้ ยสงิ่ ทต่ี อ้ งการ ขอถวายพระพร แม้พระผ้มู พี ระ
ภาคเจ้า ทรงโปรดปรานบุคคลผใู้ ดผ้หู น่งึ ผู้ท�ำถกู ต้องทางกายและทางวาจา ทางใจแล้ว ก็ทรง
ให้พรอันประเสรฐิ ยอดเยย่ี ม คอื ความหลุดพน้ จากทกุ ข์ท้งั ปวง และทรงท�ำให้พอใจ ด้วยพรที่
ต้องการได้อย่างไม่มีเหลือ แมเ้ พราะเหตุนั้น บณั ฑิตจึงเรียกขานพระตถาคตว่า ‘พระราชา’
‘‘ราชา นาม อาณ ํ วตี กิ กฺ มนตฺ ํ วิครหติ ฌาเปติ ธํเสติ, ภควโตปิ มหาราช
สาสนวเร อาณํ อติกกฺ มนฺโต อลชฺช ี มงกฺ ุภาเวน โอ ฺ าโต หฬี โิ ต ครหโิ ต ภวติ ฺวา
วชชฺ ติ ชนิ สาสนวรมฺหา, เตนาปิ การเณน ตถาคโต วจุ ฺจต ิ ‘ราชา’ติ ฯ

74 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ธรรมดาว่าพระราชา ยอ่ มทรงติเตยี น รบั สั่งใหฆ้ ่า ให้ก�ำจัดบคุ คลผลู้ ะเมิดขอ้ บังคับ ขอ
ถวายพระพร ภกิ ษุอลชั ชี เมือ่ ละเมิดกฎข้อบังคับในพระศาสนาของพระผมู้ พี ระภาคเจา้ กย็ ่อม
เป็นผถู้ กู ดูหมิ่นใหเ้ ก้อเขนิ ถกู ต�ำหนิ ถกู ตเิ ตียน เคล่อื นไปจากพระศาสนาของพระชินวร แม้
เพราะเหตนุ ั้น บัณฑติ จงึ เรยี กขานพระตถาคตว่า ‘พระราชา’

‘‘ราชา นาม ปุพพฺ กานํ ธมมฺ ิกานํ ราชนู ํ ปเวณมิ นุสฏิ ฺ ยิ า ธมฺมาธมฺมมนทุ ีปยติ ฺวา
ธมฺเมน รชฺช ํ การยมาโน ปิหยโิ ต ปิโย ปตฺถโิ ต ภวติ ชนมนสุ สฺ าน,ํ จริ ํ ราชกลุ วํสํ ปยติ
ธมมฺ คุณพเลน, ภควาปิ มหาราช ปพุ ฺพกานํ สยมฺภูนํ ปเวณมิ นสุ ิฏฺ ยิ า ธมมฺ าธมฺม-
มนุทปี ยติ ฺวา ธมเฺ มน โลกมนุสาสมาโน ปิหยิโต ปโิ ย ปตถฺ โิ ต เทวมนุสฺสานํ จิร ํ สาสนํ
ปวตฺเตต ิ ธมมฺ คณุ พเลน, เตนาป ิ การเณน ตถาคโต วุจฺจติ ‘ราชา’ติ ฯ เอวมเนกวิธํ
มหาราช การณ,ํ เยน การเณน ตถาคโต พรฺ าหมฺ โณป ิ ภเวยฺย ราชาปิ ภเวยยฺ , สุนปิ ุโณ
ภิกฺขุ กปปฺ มปฺ ิ โน นํ สมปฺ าเทยฺย, กึ อตพิ หุํ ภณเิ ตน, สขํ ิตฺต ํ สมปฺ ฏิจฉฺ ิตพฺพนฺ”ติ ฯ
ธรรมดาว่าพระราชา เมอื่ ทรงครองราชสมบัติโดยธรรม แสดงสงิ่ ทีเ่ ป็นธรรมและไมใ่ ช่
ธรรม ด้วยค�ำอนุศาสน์ตามประเพณีแห่งพระราชาผู้ทรงธรรมองค์กอ่ น ๆ ก็ย่อมเปน็ ทีน่ า่ ช่นื ใจ
เป็นท่รี ัก เปน็ ที่นา่ ปรารถนาของผู้คนท้ังหลาย ด�ำรงราชกุลวงศ์ไวไ้ ด้ตลอดกาลนาน ดว้ ยพลัง
คณุ ธรรม ขอถวายพระพร แมพ้ ระผ้มู ีพระภาคเจา้ เม่อื ทรงแสดงแตส่ ่ิงท่เี ป็นธรรมและมิใช่
ธรรม พร�่ำสอนชาวโลก โดยธรรม ด้วยค�ำอนุศาสนต์ ามประเพณีแหง่ พระสยัมภูพทุ ธเจ้าองค์
กอ่ น ๆ กท็ รงเปน็ ท่ีน่าชื่นใจ เปน็ ที่รกั เปน็ ทป่ี รารถนาของเทวดาและมนุษย์ทัง้ หลาย ท�ำพระ
ศาสนาให้เปน็ ไปตลอดกาลนาน ด้วยก�ำลังแหง่ คณุ ธรรม แมเ้ พราะเหตุน้ัน บณั ฑิตจงึ เรียกขาน
พระตถาคตวา่ ‘พระราชา’ ขอถวายพระพรมหาบพิตร เหตทุ ีเ่ ปน็ เหตุใหพ้ ระตถาคตทรงได้ชอื่
วา่ เปน็ ท้งั พราหมณ์ เปน็ ทัง้ พระราชา มีหลายอยา่ งตามประการดังกล่าวมานี้ ภกิ ษผุ ู้มวี ิหาร
ธรรมอันละเอียดออ่ น พรรณนาเหตุน้ันไปแมต้ ลอดกัป ก็ไม่อาจท�ำใหส้ นิ้ สุดได้ (เพราะฉะน้นั )
ประโยชนอ์ ะไรดว้ ยการพรรณนาถงึ เหตใุ ห้มากเกินไปเลา่ ควรจะรับเอาเหตทุ ีพ่ รรณนาอยา่ ง
สงั เขปนเ้ี ท่านน้ั เถิด”

‘‘สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
พระเจ้ามลิ นิ ทต์ รสั ว่า “ดจี ริง พระคณุ เจา้ นาคเสน โยมยอมรบั ค�ำตามท่ีทา่ นกล่าวมาน”้ี

พรฺ าหฺมณราชวาทปญฺโห อฏ€ฺ โม ฯ
จบพราหมณราชวาทปัญหาขอ้ ที่ ๘

________

กณั ฑ]์ ๔.๕ สนั ถววรรค 75

๙. คาถาภิคีตโภชนกถาปญฺห

๙. คาถาภคิ ีตโภชนกถาปัญหา

ปัญหาวา่ ด้วยโภชนะท่ขี ับกล่อมคาถาไดม้ า

[๙] ‘‘ภนเฺ ต นาคเสน ภาสติ มเฺ ปต ํ ภควตา –
‘‘คาถาภิคีต ํ เม อโภชเนยยฺ ํ
สมฺปสฺสตํ พรฺ าหฺมณ เนส ธมมฺ า
คาถาภคิ ีตํ ปนุทนฺต ิ พุทฺธา
ธมเฺ ม สตี พรฺ าหฺมณ วุตฺติเรสา’ติ ฯ
[๙] พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงภาษิตความ
ข้อน้ไี วว้ ่า
“โภชนะท่เี ราขบั กล่อมคาถาได้มา เปน็ ของทีไ่ มค่ วรบริโภค
พราหมณ์ น้ไี ม่ใช่ธรรมเนียมปฏิบตั ิของผพู้ บเหน็ พระพุทธเจ้า
ทง้ั หลายไมร่ ับอาหารท่ไี ด้มาเพราะการกล่าวคาถา พราหมณ์
เมื่อธรรมเนียมมอี ยู่ จงึ มีการประพฤตอิ ย่างน”้ี

‘‘ปนุ จ ภควา ปริสาย ธมมฺ ํ เทเสนโฺ ต กเถนโฺ ต อนุปพุ ฺพิกถํ ป มํ ตาว ทานกถ ํ
กเถต,ิ ปจฺฉา สลี กถํ ตสสฺ ภควโต สพพฺ โลกสิ ฺสรสฺส ภาสติ ํ สตุ วฺ า เทวมนุสฺสา
อภิสงขฺ ริตวฺ า ทาน ํ เทนตฺ ิ, ตสสฺ ต ํ อยุ โฺ ยชิต ํ ทานํ สาวกา ปริภ ุ ฺชนฺติ ฯ ยท ิ ภนเฺ ต
นาคเสน ภควตา ภณิตํ ‘คาถาภคิ ตี ํ เม อโภชเนยฺยนฺ’ติ, เตนห ิ ‘ภควา ทานกถํ ป มํ
กเถตี’ต ิ ย ํ วจน,ํ ตํ มิจฺฉา ฯ ยทิ ทานกถ ํ ป ม ํ กเถต,ิ เตนหิ ‘คาถาภิคีต ํ เม
อโภชเนยยฺ น’ฺ ต ิ ตมฺปิ วจน ํ มจิ ฺฉา ฯ ก ึ การณํ ? โย โส, ภนฺเต ทกฺขเิ ณยโฺ ย คหิ ีนํ
ปิณฑฺ ปาตทานสสฺ วปิ ากํ กเถต,ิ ตสสฺ เต ธมฺมกถ ํ สตุ วฺ า ปสนฺนจิตตฺ า อปราปร ํ ทาน ํ
เทนตฺ ิ, เย ต ํ ทาน ํ ปริภ ุ ฺชนฺต,ิ สพฺเพ เต คาถาภิคตี ํ ปรภิ ุ ชฺ นฺติ ฯ อยมฺป ิ อภุ โต
โกฏิโก ป โฺ ห นปิ ุโณ คมภฺ ีโร ตวานุปฺปตโฺ ต, โส ตยา นิพพฺ าหติ พโฺ พ’’ติ ฯ
แตว่ า่ อกี คร้งั หนงึ่ พระผู้มีพระภาคเจา้ เมอ่ื จะทรงแสดงธรรม กล่าวธรรมแกบ่ ริษทั ก็
ตรัสอนปุ ุพพิกถา คอื ทานกถาก่อน ตรัสสลี กถาทีหลัง เทวดาและมนุษย์ทัง้ หลายไดส้ ดบั ค�ำ
ตรัสของพระผูม้ ีพระภาคเจ้า ผู้ทรงเปน็ อิสระในโลกทัง้ ปวงพระองค์นั้น แล้วกจ็ ัดแจงถวายทาน
สาวกทง้ั หลายของพระผู้มพี ระภาคเจ้านั้น กท็ รงบริโภคใชส้ อยทานท่เี ขาจดั ถวายนั้น พระคุณ

76 มลิ ินทปัญหาปกรณ์แปล [๔.เมณฑกปัญห

เจ้านาคเสน ถ้าหากวา่ พระผมู้ พี ระภาคเจา้ ตรัสว่า ‘การทีเ่ รากลา่ วคาถามิใชเ่ พอ่ื อาหาร’ ดงั น้ี
จรงิ ถา้ อย่างนน้ั ค�ำท่ีตรสั ไว้ว่า ‘พระผ้มู ีพระภาคเจ้าตรสั ทานกถาก่อน’ ดังน้เี ปน็ ตน้ กย็ ่อมเป็น
ค�ำท่ีผิด ถ้าหากว่า พระผู้มพี ระภาคเจ้าตรสั ทานกถาก่อน จริงไซร้ ถา้ อย่างนน้ั ค�ำทว่ี ่า ‘การที่
เรากลา่ วคาถามใิ ช่เพื่ออาหาร’ ดงั น้ี กย็ ่อมเป็นค�ำท่ผี ิด เพราะเหตุไรหรือ พระคณุ เจ้า ท่านผู้
เป็นทักขไิ ณยบุคคลผ้ใู ดผหู้ น่ึง กลา่ วถงึ วิบากผลแห่งการถวายบณิ ฑบาตของพวกคฤหสั ถ์
พวกคฤหสั ถ์เหลา่ นน้ั ฟงั ธรรมกถาของท่านผู้นัน้ แลว้ เป็นผูม้ ีจติ เลื่อมใส ถวายทานอยู่เรอ่ื ย ๆ
ท่านเหล่าใด บริโภคใชส้ อยทานท่เี ขาถวายน้นั ท่านเหลา่ น้ันทุกท่าน ลว้ นชอ่ื ว่า บรโิ ภคใชส้ อย
โภชนะทขี่ ับกลอ่ มคาถาไดม้ า ปญั หาท่ลี ะเอียดลกึ ซงึ้ แมข้ อ้ น้ี กม็ ี ๒ เงือ่ น ตกถึงแก่ทา่ นแล้ว
โดยล�ำดับ ขอทา่ นพงึ คลี่คลายปัญหานน้ั เถดิ ”
‘‘ภาสติ มฺเปตํ มหาราช ภควตา ‘คาถาภิคตี ํ เม อโภชเนยฺยํ, สมฺปสสฺ ต ํ พฺราหฺมณ
เนส ธมฺโม ฯ คาถาภคิ ีตํ ปนทุ นตฺ ิ พทุ ธฺ า, ธมฺเม สต ี พรฺ าหฺมณ วตุ ตฺ ิเรสา’ติ, กเถต ิ จ
ภควา ป มํ ทานกถ ํ ต ฺจ ปน กริ ยิ ํ สพฺเพส ํ ตถาคตานํ ป มํ ทานกถาย, ตตถฺ จิตฺตํ
อภิรมาเปตวฺ า ปจฉฺ า สเี ล นิโยเชนตฺ ิ ฯ ยถา มหาราช มนสุ สฺ า ตรณุ ทารกานํ ป ม ํ ตาว
กีฬาภณฺฑกาน ิ เทนตฺ ิ ฯ เสยยฺ ถทิ ํ, วงฺกก ํ ฆฏิก ํ จิงฺคุลกํ ปตฺตาฬฺหก ํ รถก ํ ธนุก,ํ ปจฺฉา
เต สเก สเก กมฺเม นิโยเชนฺติ ฯ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต ป ม ํ ทานกถาย จติ ตฺ ํ
อภริ มาเปตฺวา ปจฉฺ า สเี ล นิโยเชติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบหิตร พระผูม้ พี ระภาคเจ้าทรง
ภาษติ ความข้อนีไ้ วว้ า่ การที่เรากลา่ วคาถามใิ ชเ่ พือ่ อาหาร พราหมณ์ นีไ้ ม่ใช่ธรรมเนียมของผู้
เหน็ ธรรม พระพทุ ธเจ้าทัง้ หลายไม่รับอาหารท่ีไดม้ าเพราะการกลา่ วคาถา พราหมณเ์ มื่อ
ธรรมเนียมมีอยู่ จงึ มีการประพฤติอยา่ งน้ี ดังน้ี จรงิ และพระผ้มู ีพระภาคเจา้ ย่อมตรัสทานกถา
กอ่ นจรงิ กก็ ารตรสั ทานกถากอ่ นน้ัน เปน็ กิจท่ีพระตถาคตทัง้ หลายทกุ พระองค์ทรงกระท�ำ ทรง
ท�ำจติ ของสตั ว์ทั้งหลายใหย้ นิ ดีในทานกถาน้ันแลว้ ภายหลัง ทรงชักชวนใหป้ ระกอบในศีล ขอ
ถวายพระพร เปรียบเหมือนวา่ พวกคนทั้งหลาย ยอ่ มให้ของเล่น เช่นว่า คนั ไถน้อย ๆ ไมห้ งึ่
กังหันน้อย ๆ เครื่องตวงน้อย ๆ รถน้อย ๆ ธนูนอ้ ย ๆ แก่พวกเด็กนอ้ ยทง้ั หลาย กอ่ นเทียว
ภายหลัง จึงชกั ชวนเด็กเหลา่ นั้นให้ประกอบในการงานที่สมควรของตน ฉันใด ขอถวาย
พระพร พระตถาคตก็ทรงท�ำจติ ของสตั ว์ทง้ั หลายใหย้ ินดใี นทานกถากอ่ น ภายหลังจงึ ทรง
ชกั ชวนให้ประกอบในศีล ฉนั นน้ั เหมือนกนั

กัณฑ์] ๔.๕ สันถววรรค 77

‘‘ยถา วา ปน มหาราช ภสิ กโฺ ก นาม อาตุราน ํ ป ม ํ ตาว จตหู ป ฺจาห ํ เตล ํ
ปาเยต ิ พลกรณาย สเิ นหนาย, ปจฉฺ า วิเรเจติ ฯ เอวเมว โข มหาราช ตถาคโต ป มํ
ตาว ทานกถาย จิตตฺ ํ อภริ มาเปตวฺ า ปจฉฺ า สเี ล นโิ ยเชติ ฯ ทายกานํ มหาราช ทานปตนี ํ
จิตตฺ ํ มทุ ุกํ โหต ิ มทฺทว ํ สนิ ทิ ฺธ,ํ เตน เต ทานเสตสุ งฺกเมน ทานนาวาย สสํ ารสาครปาร-
มนุคจฉฺ นฺติ, ตสมฺ า เตสํ ป มํ กมฺมภูมมิ นุสาสติ, น จ เกนจ ิ ว ิ ฺ ตฺติมาปชฺชตี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร อีกอย่างหนงึ่ เปรียบเหมือนว่า ธรรมดาว่าแพทย์ ตลอด ๔-๕ วนั แรก
ก็ให้ผเู้ จ็บป่วยดมื่ น�้ำมนั กอ่ น เพอื่ เสริมสรา้ งก�ำลัง เพือ่ ให้ยนิ ดี ภายหลังจงึ ใหข้ ับถา่ ย ฉันใด ขอ
ถวายพระพร พระตถาคตก็ทรงท�ำจติ ของสัตว์ท้ังหลายใหย้ ินดีในทานกถากอ่ น ภายหลงั จึง
ทรงชักชวนใหป้ ระกอบในศีล ฉนั นั้นเหมอื นกนั ขอถวายพระพร จิตของทายกผู้เปน็ ทานบดี
ย่อมเป็นธรรมชาติทอ่ี ่อนโยน มีความนุ่มนวล แจม่ ใส พวกทายกเหลา่ นนั้ ยอ่ มไปถึงฝงั่ ทะเล
คอื สังสารวฏั ได้ดว้ ยสะพานคือทาน ดว้ ยเรอื คือทานนนั้ เพราะฉะน้ัน พระผมู้ ีพระภาคเจา้ จึง
ทรงอนุศาสน์ทานกถา อันเป็นพืน้ ฐานแห่งการงาน ของคนเหลา่ น้นั ก่อน แต่มไิ ดท้ รงยอมให้
ภกิ ษรุ ปู ไหน ๆ ใช้วญิ ญตั ิ”
‘‘ภนฺเต นาคเสน ‘วิ ฺ ตตฺ ิน’ฺ ติ ยํ วเทส,ิ กติ ปน ตา วิ ฺ ตตฺ โิ ย’’ติ ?
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน ทา่ นกลา่ วถึงค�ำว่า วญิ ญัติ โยมขอถามวา่
ชื่อว่าวญิ ญตั ินั้น มีเท่าไร ?”
‘‘เทวฺ มา มหาราช ว ิ ฺ ตฺตโิ ย กายว ิ ฺ ตฺต ิ วจีว ิ ฺ ตฺติ จาติ ฯ ตตฺถ อตถฺ ิ
กายวิ ฺ ตฺติ สาวชชฺ า, อตฺถิ อนวชชฺ า ฯ อตถฺ ิ วจีว ิ ฺ ตตฺ ิ สาวชฺชา, อตฺถ ิ อนวชชฺ า ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรว่า “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร วญิ ญัตมิ ี ๒ อยา่ ง คอื กาย
วญิ ญตั แิ ละวจวี ิญญตั ิ ในวิญญตั ิทง้ั ๒ น้นั กายวญิ ญัตทิ ่มี ีโทษกม็ ีอยู่ ทไี่ มม่ โี ทษก็มีอยู่ วจี
วญิ ญัตทิ ีม่ ีโทษก็มอี ยู่ ทีไ่ ม่มโี ทษก็มอี ยู่
‘‘กตมา กายวิ ฺ ตตฺ ิ สาวชฺชา ? อิเธกจฺโจ ภิกขฺ ุ กลุ านิ อุปคนตฺ วฺ า อโนกาเส โิ ต
านํ ภ ฺชติ, อย ํ กายวิ ฺ ตฺติ สาวชฺชา ฯ ตาย จ ว ิ ฺ าปติ ํ อริยา น ปริภุ ฺชนตฺ ิ, โส
จ ปคุ คฺ โล อรยิ านํ สมเย โอ ฺ าโต โหต ิ หฬี ิโต ขีฬิโต ครหิโต ปรภิ ูโต อจติ ตฺ กี โต,
ภนิ นฺ าชีโวเตวฺ ว สงขฺ ํ คจฉฺ ติ ฯ
กายวิญญัตทิ ม่ี โี ทษ เป็นไฉน ? ภิกษบุ างรปู ในพระศาสนาน้ี เขา้ ไปสู่ตระกูลแลว้ ก็ยนื
อยใู่ นโอกาสที่ไม่สมควร ท�ำการยนื ให้เสียหายไป นี้ ชื่อวา่ กายวิญญัตทิ ีม่ ีโทษ พระอรยิ บคุ คล

78 มลิ ินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

ทงั้ หลายย่อมไมบ่ รโิ ภคปัจจัยทใี่ ช้กายวญิ ญัตทิ ม่ี ีโทษนัน้ บอกใหท้ ายกรู้ และบคุ คลนั้น กย็ ่อม
เป็นผู้ที่น่าดูหมน่ิ นา่ ต�ำหนิ น่ารังเกยี จ นา่ ติเตยี น นา่ เหยยี ดหยาม ไม่นา่ เคารพ ในความเหน็
ของพระอริยเจ้าท้งั หลาย ยอ่ มถึงความนบั ว่าเป็นผมู้ อี าชวี ะแตกท�ำลาย
‘‘ปนุ จปรํ มหาราช อเิ ธกจโฺ จ ภกิ ฺขุ กลุ านิ อปุ คนฺตฺวา อโนกาเส ิโต คลํ
ปณาเมตวฺ า โมรเปกขฺ ิตํ เปกฺขติ ‘เอวํ อเิ ม ปสสฺ นฺตี’ต,ิ เตน จ เต ปสฺสนฺติ ฯ อยมฺปิ
กายว ิ ฺ ตตฺ ิ สาวชฺชา ฯ ตาย จ ว ิ ฺ าปิต ํ อริยา น ปริภุ ชฺ นฺต,ิ โส จ ปุคคฺ โล อริยานํ
สมเย โอ ฺ าโต โหติ หฬี โิ ต ขฬี โิ ต ครหโิ ต ปรภิ ูโต อจติ ตฺ กี โต, ภนิ ฺนาชีโวตฺเวว สงฺขํ
คจฺฉติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมีอกี อย่างหน่งึ ภิกษบุ างรปู ในพระศาสนานี้ เข้าไปสู่ตระกูลแลว้ ก็
ยนื อยใู่ นโอกาสที่ไม่สมควร โก่งคอ เพ่งมองไป เหมอื นอย่างนกยงู เพ่งมอง ดว้ ยคิดวา่ ทายก
เหลา่ นี้ จะมองเห็นเราได้ โดยวิธีการอยา่ งนี้ เพราะเหตนุ ัน้ พวกทายกเหลา่ นัน้ จึงมองเห็นเธอ
แม้น้ีก็ชื่อวา่ กายวญิ ญัติที่มีโทษ พระอรยิ บคุ คลทั้งหลาย ย่อมไมบ่ รโิ ภคปจั จยั ทใี่ ช้กายวญิ ญตั ิ
ท่ีมโี ทษนน้ั บอกให้พวกทายกรู้ และบุคคลน้ัน ก็ย่อมเป็นผูท้ ี่นา่ ดูหม่ิน นา่ ต�ำหนิ นา่ รงั เกียจ
น่าตเิ ตยี น นา่ เหยยี ดหยาม ไมน่ ่าเคารพ ในความเห็นของพระอรยิ เจ้าทงั้ หลาย ย่อมถงึ ความ
นับว่าเปน็ ผ้มู อี าชีวะแตกท�ำลาย
‘‘ปุน จปรํ มหาราช อเิ ธกจโฺ จ ภิกฺขุ หนกุ าย วา ภมกุ าย วา องฺคุฏฺเ น วา
ว ิ ฺ าเปติ, อยมฺป ิ กายวิ ฺ ตตฺ ิ สาวชชฺ า, ตาย จ ว ิ ฺ าปิต ํ อรยิ า น ปริภุ ฺชนฺต,ิ โส
จ ปุคฺคโล อรยิ านํ สมเย โอ ฺ าโต โหติ หีฬโิ ต ขฬี โิ ต ครหโิ ต ปริภโู ต อจิตตฺ ีกโต,
ภินนฺ าชีโวเตฺวว สงฺข ํ คจฺฉติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี กี ข้อหน่งึ ภกิ ษบุ างรูปในพระศาสนานี้ เขา้ ไปส่ตู ระกูลแล้ว ใช้
คางบ้าง ใช้คิ้วบา้ ง ใช้หวั แมม่ ือบ้าง บอกใหท้ ายกรู้ แมน้ ้ี กจ็ ัดวา่ เป็นกายวิญญัตทิ มี่ โี ทษ พระ
อริยบุคคลท้ังหลาย ย่อมไมบ่ รโิ ภคปจั จยั ที่ใชก้ ายวิญญตั ิอย่างทมี่ ีโทษน้นั บอกให้ทายกรู้ และ
บคุ คลนัน้ กย็ อ่ มเปน็ ผู้ทนี่ ่าดูหมิน่ นา่ ต�ำหนิ นา่ รงั เกียจ นา่ ตเิ ตียน น่าเหยยี ดหยาม ไม่นา่
เคารพ ในความเหน็ ของพระอริยบุคคลทง้ั หลาย ยอ่ มถงึ ความนับวา่ เปน็ ผู้มอี าชวี ะแตกท�ำลาย
‘‘กตมา กายวิ ฺ ตฺต ิ อนวชชฺ า ? อธิ ภกิ ขฺ ุ กุลานิ อปุ คนตฺ วฺ า สโต สมาหิโต
สมปฺ ชาโน าเนป ิ อฏ ฺ าเนป ิ ยถานุสฏิ ฺ ึ คนฺตฺวา าเน ติฏ ฺ ติ, ทาตกุ าเมส ุ ตฏิ ฺ ต,ิ
อทาตกุ าเมส ุ ปกฺกมติ ฯ อย ํ กายว ิ ฺ ตฺติ อนวชชฺ า, ตาย จ ว ิ ฺ าปิต ํ อรยิ า

กัณฑ์] ๔.๕ สันถววรรค 79

ปรภิ ุ ฺชนตฺ ,ิ โส จ ปุคคฺ โล อริยานํ สมเย วณฺณโิ ต โหติ ถโุ ต ปสตฺโถ สลฺเลขติ าจาโร,
ปริสทุ ฺธาชีโวเตฺวว สงขฺ ํ คจฺฉติ ฯ ภาสิตมเฺ ปต ํ มหาราช ภควตา เทวาติเทเวน –
‘น เว ยาจนตฺ ิ สปฺป ฺ า ธโี ร จ เวทิตุมรหติ
อุททฺ สิ สฺ อรยิ า ติฏฺ นฺต ิ เอสา อรยิ าน ยาจนา’ติ ฯ
กายวญิ ญตั ทิ ไี่ ม่มีโทษ เป็นไฉน ? ภกิ ษุในพระศาสนานี้ไปส่ตู ระกูลท้ังหลายแลว้ เปน็ ผู้
มสี ติ มีจติ ตง้ั มน่ั มสี มั ปชญั ญะ ไปในท่ที ีส่ มควรบ้าง ในทท่ี ่ไี ม่สมควรบา้ ง ตามท่ที รงอนุศาสน์
ไว้ หยุดยืนในท่ีทีส่ มควร เมอื่ มีผตู้ ้องการถวาย กห็ ยุดยืน เมอ่ื ไม่มผี ู้ตอ้ งการถวาย ก็หลกี ไป น้ี
ชือ่ ว่ากายวญิ ญตั ทิ ีไ่ ม่มีโทษ ก็พระอริยบุคคลทง้ั หลาย ย่อมบรโิ ภคปจั จัยทีใ่ ชก้ ายวิญญัตทิ ี่ไม่มี
โทษน้ัน บอกให้ทายกรู้ และบุคคลนัน้ ในความเห็นของพระอรยิ ะทั้งหลาย ก็เปน็ ผู้ทีน่ า่ ยกย่อง
นา่ ชมเชย นา่ สรรเสรญิ มีความประพฤตขิ ูดเกลากเิ ลส ถึงความนบั วา่ เปน็ ผูม้ อี าชวี ะบรสิ ุทธิ์
ทีเดียว ขอถวายพระพร พระผมู้ ีพระภาคเจ้า ผทู้ รงเป็นเทพยิ่งกวา่ เทพ ได้ทรงภาษิตความขอ้
นไ้ี ว้วา่

“ผูม้ ปี ัญญายอ่ มไม่ขอแล ธีรชนย่อมควรเพื่อจะร้เู อง พระอรยิ ะ
ทง้ั หลาย ยอ่ มยืนเจาะจง นั่น เปน็ การขอแบบพระอรยิ เจา้
ทง้ั หลาย” ดังน้ี
‘‘กตมา วจวี ิ ฺ ตฺติ สาวชฺชา ? อิธ มหาราช ภกิ ขฺ ุ วาจาย พหวุ ธิ ํ ว ิ ฺ าเปติ
จวี รปิณฺฑปาตเสนาสนคลิ านปปฺ จจฺ ยเภสชฺชปรกิ ฺขารํ, อยํ วจวี ิ ฺ ตฺติ สาวชชฺ า, ตาย จ
วิ ฺ าปิตํ อรยิ า น ปริภ ุ ชฺ นตฺ ิ, โส จ ปคุ คฺ โล อรยิ าน ํ สมเย โอ ฺ าโต โหต ิ หีฬิโต
ขฬี โิ ต ครหโิ ต ปริภูโต อจติ ตฺ กี โต, ภินนฺ าชโี วตฺเวว สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
วจีวิญญตั ทิ ี่มีโทษ เปน็ ไฉน ? ขอถวายพระพร ภกิ ษุบางรูปในพระศาสนานี้ กลา่ วขอ
ของหลายอย่าง คอื จวี ร บิณฑบาต เสนาสนะ และเครื่องบริขารคือยาอนั เปน็ ปจั จัยส�ำหรบั คน
ป่วยไข้ ด้วยวาจา น้ีช่อื วา่ วจีวญิ ญัติทม่ี โี ทษ กพ็ ระอริยบคุ คลท้ังหลาย ยอ่ มไมบ่ ริโภคปัจจยั ที่
ใชว้ จีวิญญัติที่มโี ทษนั้น บอกให้ทายกรู้ และบุคคลผ้นู ้นั กย็ อ่ มเปน็ ผูท้ ีน่ า่ ดูหมิน่ นา่ ติเตยี น นา่
ต�ำหนิ นา่ รังเกยี จ น่าเหยยี ดหยาม ไมน่ ่าเคารพในความเหน็ ของพระอรยิ ะทง้ั หลาย ยอ่ มถงึ
ความนับว่าเป็นผู้มอี าชีวะแตกท�ำลาย
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช อิเธกจโฺ จ ภกิ ฺขุ ปเรสํ สาเวนโฺ ต เอว ํ ภณติ ‘อิมนิ า เม
อตโฺ ถ’ติ, ตาย จ วาจาย ปเรส ํ สาวติ าย ตสฺส ลาโภ อุปปฺ ชฺชติ, อยมปฺ ิ วจวี ิ ฺ ตตฺ ิ

80 มลิ นิ ทปญั หาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

สาวชฺชา, ตาย จ วิ ฺ าปติ ํ อรยิ า น ปริภุ ฺชนฺต,ิ โส จ ปคุ ฺคโล อรยิ านํ สมเย
โอ ฺ าโต โหติ หีฬิโต ขฬี ิโต ครหิโต ปรภิ โู ต อจิตตฺ กี โต, ภินนฺ าชีโวตฺเวว สงฺข ํ
คจฺฉติ ฯ
ขอถวายพระพร ยังมอี ีกข้อหนง่ึ ภกิ ษุบางรูปในพระศาสนาน้ี เมอ่ื จะกลา่ วให้ผอู้ ่ืน
ได้ยิน จึงกล่าวอยา่ งนว้ี ่า ‘อาตมภาพมีความต้องการดว้ ยสงิ่ น’ี้ ดงั นี้ และภกิ ษุรปู นนั้ ก็มีความ
อยากเกิดขึน้ พร้อมกับวาจาทก่ี ล่าวใหผ้ ้อู ื่นไดย้ นิ นน้ั แม้นีก้ ็จดั ว่าเป็นวจีวิญญตั ทิ ่มี โี ทษ ก็พระ
อริยบุคคลทัง้ หลายย่อมไมบ่ ริโภคปัจจัยทีใ่ ช้วจีวิญญตั ทิ ี่มีโทษนัน้ บอกใหท้ ายกรู้ และบคุ คล
ผูน้ ัน้ กย็ อ่ มเปน็ ผทู้ ีน่ ่าดหู มน่ิ น่าต�ำหนิ นา่ รังเกยี จ นา่ ตเิ ตยี น น่าเหยยี ดหยาม ไมน่ ่าเคารพ
ในความเห็นของพระอรยิ ะทัง้ หลาย ย่อมถึงความนบั ว่าเป็นผูม้ อี าชวี ะแตกท�ำลาย
‘‘ปุน จปร ํ มหาราช อิเธกจฺโจ ภกิ ขฺ ุ วจวี ปิ ผฺ าเรน ปรสิ าย สาเวต ิ ‘เอว ฺจ เอว ฺจ
ภิกฺขูน ํ ทาตพฺพนฺ’ต,ิ ต จฺ เต วจนํ สุตฺวา ปรกิ ิตฺตติ ํ อภิหรนฺต,ิ อยมฺป ิ วจวี ิ ฺ ตฺต ิ
สาวชชฺ า, ตาย จ ว ิ ฺ าปติ ํ อริยา น ปริภ ุ ฺชนตฺ ิ, โส จ ปคุ ฺคโล อริยานํ สมเย
โอ ฺ าโต โหติ หฬี ิโต ขีฬิโต ครหิโต ปริภูโต อจิตฺตีกโต, ภนิ ฺนาชโี วตฺเวว สงขฺ ํ
คจฺฉติ ฯ
ขอถวายพระพร ยงั มีอีกข้อหนงึ่ ภิกษุบางรปู ในพระศาสนานี้ เปลง่ วาจาให้บรษิ ทั
ไดย้ นิ วา่ ควรถวายของแกภ่ ิกษทุ งั้ หลาย อยา่ งน้แี ละอยา่ งนเี้ ถดิ ดังนี้ คนเหลา่ น้นั พอได้สดบั
ค�ำของภกิ ษุรูปนนั้ ก็น้อมถวายปัจจัยท่ีภกิ ษรุ ปู น้ันแนะน�ำ แมน้ ้ี ก็จัดวา่ เปน็ วจวี ญิ ญัตทิ ีม่ โี ทษ
กพ็ ระอริยบุคคลทั้งหลาย ยอ่ มไม่บริโภคปัจจัย ท่ใี ช้วจีวญิ ญตั ิที่มีโทษนั้น บอกใหท้ ายกรู้ และ
บุคคลผู้นน้ั กย็ อ่ มเปน็ ทน่ี ่าดูหม่ิน นา่ ต�ำหนิ น่ารังเกยี จ น่าตเิ ตยี น นา่ เหยียดหยาม ไมน่ า่
เคารพในความเห็นของพระอรยิ ะทงั้ หลาย ย่อมถึงความเปน็ ผนู้ บั ว่าเป็นผู้มอี าชวี ะแตกท�ำลาย
‘‘นนุ มหาราช เถโรป ิ สารปิ ุตฺโต อตฺถงฺคเต สรู ิเย รตฺตภิ าเค คลิ าโน สมาโน เถเรน
มหาโมคคฺ ลลฺ าเนน เภสชชฺ ํ ปุจฺฉียมาโน วาจํ ภินทฺ ,ิ ตสฺส เตน วจเี ภเทน เภสชฺช ํ
อปุ ฺปชฺชิ ฯ อถ เถโร สารปิ ุตโฺ ต ‘วจเี ภเทน เม อิมํ เภสชชฺ ํ อปุ ฺปนนฺ ํ, มา เม อาชโี ว
ภิชชฺ ี’ต ิ อาชวี เภทภยา ต ํ เภสชชฺ ํ ปชห ิ น อปุ ชีวิ ฯ เอวมปฺ ิ วจวี ิ ฺ ตฺต ิ สาวชฺชา,
ตาย จ ว ิ ฺ าปติ ํ อรยิ า น ปริภุ ชฺ นฺติ ฯ โส จ ปุคคฺ โล อริยาน ํ สมเย โอ ฺ าโต
โหต ิ หฬี โิ ต ขฬี โิ ต ครหิโต ปรภิ โู ต อจิตตฺ ีกโต, ภินฺนาชโี วเตวฺ ว สงฺขํ คจฺฉติ ฯ
ขอถวายพระพร แม้พระสารีบุตรเถระ เมื่อพระอาทิตยอ์ ัสดงคตคนื หน่งึ เกดิ ป่วยไข้ขึ้น
พอพระมหาโมคคัลลานเถระถามถึงยา ก็เปล่งวาจาบอกไป ยาเกิดขน้ึ (แสวงหามาได้) เพราะ

กัณฑ์] ๔.๕ สนั ถววรรค 81

การทที่ า่ นเปลง่ วาจานั้น คร้งั นัน้ พระสารีบตุ รเถระ คดิ วา่ ยานี้ เกิดขน้ึ เพราะการเปลง่ วาจา
ของเรา อาชีวะของเราอย่าแตกท�ำลายเลย ดังนี้ เพราะกลัวการแตกท�ำลายแห่งอาชีวะ ท่านจึง
สละท้ิงยานน้ั เสีย ไม่ใชเ้ ลยี้ งชีพ วจวี ญิ ญัติอยา่ งน้ี กจ็ ัดวา่ มีโทษ พระอริยบคุ คลทง้ั หลาย ยอ่ ม
ไม่บรโิ ภคปจั จัยทใ่ี ชว้ จวี ญิ ญตั ิท่ีมโี ทษน้นั บอกใหท้ ายกรู้ และบุคคลผู้นนั้ ก็ย่อมเป็นผ้ทู ่นี ่าดู
หมิ่น นา่ ต�ำหนิ นา่ รงั เกยี จ น่าตเิ ตยี น น่าเหยยี ดหยาม ไม่นา่ เคารพ ในความเห็นของพระอรยิ ะ
ท้งั หลาย ย่อมถงึ ความนับวา่ เปน็ ผู้มีอาชวี ะแตกท�ำลาย
‘‘กตมา วจีว ิ ฺ ตตฺ ิ อนวชฺชา ? อธิ มหาราช ภิกขฺ ุ สติ ปจฺจเย เภสชชฺ ํ
ว ิ ฺ าเปติ าติปวาริเตส ุ กเุ ลสุ, อย ํ วจวี ิ ฺ ตฺต ิ อนวชชฺ า, ตาย จ วิ ฺ าปิต ํ อรยิ า
ปรภิ ุ ชฺ นตฺ ิ, โส จ ปุคฺคโล อรยิ าน ํ สมเย วณณฺ โิ ต โหติ โถมโิ ต ปสตฺโถ, ปรสิ ุทฺธาชโี ว-
เตวฺ ว สงขฺ ํ คจฺฉติ, อนุมโต ตถาคเตห ิ อรหนฺเตหิ สมมฺ าสมพฺ ทุ ฺเธหิ ฯ
วจีวิญญตั ทิ ี่ไมม่ ีโทษ เปน็ ไฉน ? ขอถวายพระพร ภิกษบุ างรูปในพระศาสนาน้ี เม่ือ
ปจั จัยมอี ยู่ ก็กลา่ วขอยาในตระกูลทั้งหลายท่ีพวกญาตไิ ด้ปวารณาไว้ นี้ ชือ่ ว่าวจวี ิญญตั ิทไ่ี มม่ ี
โทษ ก็พระอริยบุคคลทง้ั หลาย ย่อมบริโภคปจั จยั ท่ีใช้วจีวญิ ญัตทิ ี่ไมม่ ีโทษน้ัน บอกให้ทายกรู้
และบคุ คลผนู้ ้ัน ก็ยอ่ มเปน็ ผู้ทนี่ ่ายกยอ่ ง นา่ ชมเชย น่าสรรเสริญ ในความเหน็ ของพระอริยะทัง้
หลาย ถงึ ความนับว่าเป็นผู้มีอาชวี ะบริสุทธ์ิทีเดียว เธอเปน็ ผ้ทู ่ีพระตถาคตอรหันตสมั มาสัม-
พุทธเจ้าทั้งหลายทรงอนุโมทนา
‘‘ย ํ ปน มหาราช ตถาคโต กสภิ ารทวฺ าชสฺส พฺราหฺมณสฺส โภชนํ ปชหิ, ตํ อาเว น-
วินิเว นกฑฒฺ นนิคฺคหปปฺ ฏิกมฺเมน นิพฺพตฺติ, ตสมฺ า ตถาคโต ต ํ ปณิ ฑฺ ปาต ํ ปฏกิ ฺขปิ ิ
น อุปชีวี’’ติ ฯ
ขอถวายพระพร สว่ นขอ้ ท่พี ระตถาคตทรงละเวน้ โภชนะของกสิภารทวาชพราหมณ์
บังเกดิ เพราะการผูกปญั หา การแกป้ ัญหา การฉุดครา่ การข่มข่แี ละการท�ำคนื เพราะฉะน้นั
พระตถาคตจงึ ทรงปฏิเสธบณิ ฑบาตน้ัน ไม่ทรงใชเ้ ลีย้ งชพี
‘‘สพฺพกาล ํ ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคเต ภุ ชฺ มาเน เทวตา ทพิ ฺพํ โอชํ ปตเฺ ต
อากริ นฺต,ิ อทุ าหุ ‘สูกรมทฺทเว จ มธุปายาเส จา’ต ิ ทวฺ ีสุเยว ปิณฑฺ ปาเตสุ อากิรึส’ู ’ติ ?
พระเจา้ มลิ ินท์ตรัสว่า “พระคุณเจ้านาคเสน เม่อื พระตถาคตเสวยพระกระยาหาร
เทวดาโปรยปรายทพิ ยโอชะลงในบาตร ทกุ คราว หรือว่าโปรยปรายในบิณฑบาต ๒ คราว คือ
ในสูกรมัททวะ และในขา้ วมธปุ ายาสเทา่ นั้นเล่า ?”

82 มิลินทปัญหาปกรณแ์ ปล [๔.เมณฑกปัญห

‘‘สพฺพกาล ํ มหาราช ตถาคเต ภุ ชฺ มาเน เทวตา ทพิ พฺ ํ โอชํ คเหตฺวา
อุปติฏ ฺ ิตฺวา อุทธฺ ฏทุ ฺธเฏ อาโลเป อากริ นฺติ ฯ
พระนาคเสนถวายพระพรวา่ “ขอถวายพระพรมหาบพติ ร เม่ือพระตถาคตเสวยพระ
กระยาหาร เทวดาย่อมถือเอาทพิ ยโอชะ ยนื อย่ใู กล้ ๆ แลว้ โปรยปรายลงในค�ำขา้ วแตล่ ะค�ำท่ี
ทรงตักขึ้นมาทกุ คราวไป

‘‘ยถา มหาราช ร โฺ สูโท ร ฺโ ภ ุ ชฺ นฺตสฺส สปู ํ คเหตฺวา อุปติฏฺ ิตฺวา กพเฬ
กพเฬ สูปํ อากิรต,ิ เอวเมว โข มหาราช สพพฺ กาลํ ตถาคเต ภุ ฺชมาเน เทวตา ทิพพฺ ํ
โอช ํ คเหตฺวา อุปติฏฺ ิตวฺ า อุทฺธฏทุ ธฺ เฏ อาโลเป ทิพฺพํ โอช ํ อากิรนตฺ ิ ฯ เวร ชฺ ายมฺปิ
มหาราช ตถาคตสสฺ สกุ ขฺ ยวปุลเก ภ ุ ฺชมานสสฺ เทวตา ทิพฺเพน โอเชน เตมยติ วฺ า
เตมยติ วฺ า อุปสหํ รึสุ, เตน ตถาคตสฺส กาโย อปุ จโิ ต อโหส’ี ’ติ ฯ
ขอถวายพระพร เปรยี บเหมือนวา่ นายวเิ สท (พ่อครัว) ของพระราชา เมื่อพระราชา
เสวยพระกระยาหาร ยอ่ มถือเอาแกงมายืนอยใู่ กล้ ๆ แลว้ คอยเกลี่ยแกงลงในค�ำขา้ วทกุ ๆ ค�ำ
ฉันใด ขอถวายพระพร เม่ือพระตถาคตเสวยพระกระยาหาร เทวดายอ่ มถือเอาทิพยโอชะมา
ยนื อยู่ใกล้ ๆ คอยเกลีย่ ทิพยโอชะลงในค�ำข้าวท่ีทรงตกั ขนึ้ มาทกุ คราวไป ฉนั น้นั เหมือนกัน ขอ
ถวายพระพร แมท้ เี่ มืองเวรัญชา เม่ือพระตถาคตจะเสวยพระกระยาหาร ทส่ี กุ ขยวปุลกวิหาร
เทวดากใ็ ชท้ พิ ยโอชะคอยน้อมเข้าไปท�ำแต่ละค�ำใหช้ ุ่ม เพราะเหตนุ ้ัน พระวรกายของพระ
ตถาคตจึงไดก้ ระปรี้กระเปร่า”

‘‘ลาภา วต ภนเฺ ต นาคเสน ตาส ํ เทวตานํ, ยา ตถาคตสฺส สรรี ปฺปฏิชคฺคเน สตต ํ
สมติ ํ อุสสฺ กุ ฺกมาปนนฺ า ฯ
พระเจา้ มิลนิ ท์ตรัสวา่ “พระคณุ เจ้านาคเสน ข้อท่ีพวกเทวดาเปน็ ผ้ถู งึ ความขวนขวาย
อยู่เป็นประจ�ำสมำ�่ เสมอ ในการปรนนบิ ตั ิพระสรรี ะของพระตถาคต จัดว่าเปน็ ลาภของพวก
เทวดาเหล่าน้นั หนอ

“สาธ ุ ภนเฺ ต นาคเสน เอวเมต ํ ตถา สมปฺ ฏจิ ฉฺ ามี’’ติ ฯ
ดีจริง พระคุณเจ้านาคเสน โยมขอยอมรบั ค�ำตามท่ที า่ นกลา่ วมานี”้

คาถาภิคีตโภชนกถาปญฺโห นวโม ฯ
จบคาถาภิคีตโภชนกถาปัญหาข้อที่ ๙

________

กัณฑ]์ ๔.๕ สันถววรรค 83

๑๐. ธมฺมเทสนายอปฺโปสสฺ ุกกฺ ปญฺห
๑๐. ธมั มเทสนายอปั โปสสุกกปญั หา
ปญั หาวา่ ดว้ ยความทีพ่ ระพทุ ธเจา้ ทรงเปน็ ผู้มีความขวนขวายน้อยในการแสดงธรรม
[๑๐] ‘‘ภนฺเต นาคเสน ตมุ เฺ ห ภณถ ‘ตถาคเตน จตหู ิ จ อสงฺขเฺ ยยฺเยห ิ กปฺปานํ
สตสหสฺเสน จ เอตฺถนฺตเร สพฺพ ฺ ุต าณ ํ ปริปาจิต ํ มหโต ชนกายสฺส สมทุ ธฺ รณายา’ติ
ฯ ปุน จ ‘สพพฺ ฺ ตุ ํ ปตตฺ สสฺ อปโฺ ปสสฺ ุกกฺ ตาย จิตตฺ ํ นมิ, โน ธมฺมเทสนายา’ติ ฯ
[๑๐] พระเจา้ มิลนิ ท์ตรสั ว่า “พระคุณเจา้ นาคเสน พวกทา่ นกลา่ วกันว่า พระตถาคต
ทรงใชเ้ วลาในระหวา่ ง ๔ อสงไขยกบั อกี แสนกัปน้ี บ่มพระสัพพญั ญตุ ญาณ เพอ่ื โปรดชนหมู่
ใหญ่ ดังนี้ และยังกล่าวอีกวา่ เมือ่ ทรงบรรลุพระสพั พญั ญตุ ญาณแลว้ กท็ รงน้อมพระทัยไปเพอ่ื
ความขวนขวายนอ้ ย ไม่ใชเ่ พอื่ แสดงธรรม” ดังนี้

‘‘ยถา นาม ภนเฺ ต นาคเสน อิสฺสาโส วา อสิ สฺ าสนเฺ ตวาส ี วา พหุเก ทวิ เส
สงคฺ ามตฺถาย อปุ าสน ํ สกิ ขฺ ิตวฺ า สมฺปตฺเต มหายุทเฺ ธ โอสกฺเกยยฺ , เอวเมว โข ภนเฺ ต
นาคเสน ตถาคเตน จตูห ิ จ อสงฺขเฺ ยยเฺ ยหิ กปปฺ าน ํ สตสหสเฺ สน จ เอตถฺ นฺตเร
สพพฺ ฺ ตุ าณ ํ ปรปิ าเจตวฺ า มหโต ชนกายสสฺ สมทุ ธฺ รณาย สพฺพ ฺ ตุ ํ ปตฺเตน
ธมฺมเทสนาย โอสกกฺ ิตํ ฯ
พระคุณเจา้ นาคเสน เปรยี บเหมือนวา่ นายขมังธนู หรอื ศิษย์ของนายขมงั ธนู ไดซ้ อ้ ม
วธิ กี ารยงิ ธนไู ว้ เพือ่ ประโยชน์แก่การสงคราม มาตลอดหลายวันแลว้ แต่เมือ่ การรบครง้ั ใหญ่
มาถงึ กก็ ลบั ท้อแทใ้ จไปเสีย ฉันใด พระคุณเจ้านาคเสน พระตถาคตใชเ้ วลาในระหวา่ ง ๔
อสงไขยกบั อกี แสนกปั นี้ บ่มพระสัพพญั ญตุ ญาณ เพ่ือโปรดชนหมู่ใหญ่ แต่พอพระองคท์ รง
บรรลพุ ระสัพพัญญุตญาณแลว้ ก็กลบั ทรงท้อแท้พระทัยในอันจะแสดงธรรมไปเสยี ฉนั นั้น

‘‘ยถา วา ปน ภนฺเต นาคเสน มลโฺ ล วา มลฺลนเฺ ตวาสี วา พหุเก ทิวเส นิพฺพุทฺธํ
สิกขฺ ติ ฺวา สมปฺ ตฺเต มลลฺ ยุทฺเธ โอสกฺเกยฺย, เอวเมว โข ภนเฺ ต นาคเสน ตถาคเตน จตูหิ
จ อสงขฺ ฺเยยฺเยห ิ กปฺปาน ํ สตสหสเฺ สน จ เอตฺถนตฺ เร สพพฺ ฺ ุต าณ ํ ปรปิ าเจตฺวา มหโต
ชนกายสฺส สมทุ ธฺ รณาย สพฺพ ฺ ุต ํ ปตฺเตน ธมฺมเทสนาย โอสกกฺ ติ ํ ฯ
พระคุณเจา้ นาคเสน อีกอยา่ งหน่ึง เปรียบเหมอื นวา่ นกั มวย หรอื ลกู ศษิ ย์ของนกั มวย
ซอ้ มการชกตอ่ ย ตลอดเวลาหลายวันแลว้ แตเ่ มือ่ การชกมวยมาถึง ก็กลับท้อแทใ้ จไปเสีย
ฉันใด พระคุณเจ้านาคเสน พระตถาคตทรงใชเ้ วลาในระหว่าง ๔ อสงไขยกับอีกแสนกัป บ่ม


Click to View FlipBook Version