The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

๘๙๑ ด.ญ.วรางคณา วงค์เเก้วมูล

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanokwantandee, 2022-06-08 02:02:24

๘๙๑ ด.ญ.วรางคณา วงค์เเก้วมูล

๘๙๑ ด.ญ.วรางคณา วงค์เเก้วมูล

แบบฟอรม์ สรุปขอ้ มลู ของผู้เรยี น
ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง
ของ ด.ญ. วรางคณา วงคแ์ กว้ มลู อายุ ๗ ปี วนั ที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๔

คาถาม คาอธบิ าย

จุดแข็งของผเู้ รียนคืออะไร

๑. ผู้เรยี นสามารถทาตามคาส่ังอยา่ งง่ายได้ เชน่ ๑. ผู้เรียนมีความเข้าใจ สนใจฟังคาสั่งหรือคาพูดของผู้อ่ืน

ให้ไปหยิบจาน ขวดนา้ เปดิ ทวี ี เป็นตน้ ในช่วงระยะเวลาและประโยคสั้นๆ จึงจะสามารถแปลผล

คาสง่ั หรอื คาพดู ออกมาเป็นการกระทาที่ถูกต้องได้

๒. นักเรยี นสามารถจดจาหรือเลยี นแบบทา่ ทาง ๒. ผู้เรียนมีความสามารถเลียนแบบการกระทาของผู้อื่นได้

ได้ ทนั ที ในกรณีท่กี จิ กรรมนนั้ ๆ ตนเองมคี วามสนใจ

ผเู้ รยี นมคี วามสนใจอะไร

- ชอบขีดเขียนลงสมดุ เชน่ เขียนตามรอยประ - ผู้เรียนมีความชอบในการขีดเขียนด้วยดินสอหรือสีลงบน

ระบายสีรปู ภาพ เป็นต้น กระดาษ หนังสือ สมุด ถึงแม้ว่าลักษณะการขีดเขียนน้ันจะ

ไม่มีความหมายก็ตาม แต่เมื่อให้เขียนตามรอยประผู้เรียนก็

สามารถเขียนได้ดว้ ยตนเอง

ผู้เรยี นชอบอะไร

๑. ทานขนมกรุบกรอบ ๑. ผู้เรยี นชอบทานขนมโดยเฉพาะ เลย์รสสาหร่าย
๒. เลน่ โทรศัพท/์ โนตบุค
๒. ผู้เรียนชอบเล่นโทรศัพท์/โนตบุค สามารถเปิด-ปิด
โทรศัพท/์ โนตบคุ เองได้

๓. เลน่ ของเลน่ รถ ๓. ผู้เรียนชอบนารถของเล่นมาวางต่อกนั เปน็ แถวยาว

๔. ทานอาหารแห้งๆ เชน่ ขา้ วเหนียว หม/ู ไก/่ ๔. ผู้เรียนชอบทานอาหารซ้าๆ และเปน็ อาหารประเภทแหง้
ปลาปง้ิ หม/ู ไก/่ ปลาทอด

ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดลาปาง ปรับปรุงคร้ังท่ี ๔ วนั ท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

คาถาม คาอธบิ าย

ผูเ้ รียนไม่ชอบอะไร ๑. ทุกครั้งที่มีเสียงดังผู้เรียนจะยกมือข้ึนมาปิดหูท้ังสองข้าง
๑. ไม่ชอบอยู่ในทม่ี เี สียงดงั และจะไม่ยอมทากจิ กรรมตอ่ อีกเลย

๒. ไม่ชอบถกู ขัดใจ ๒. เมื่อผู้เรียนถูกขัดใจมักจะแสดงพฤติกรรมโดย
การรอ้ งไห้ โวยวายเสยี งดัง

๓. ไมช่ อบทานอาหารประเภทนา้ และเสน้ ๓. ผู้เรียนจะไม่ยอมทานอาหารท่ีมีน้าแกง และอาหาร
ประเถทเส้น เช่น บะหม่ี กว๋ ยเตยี๋ ว ขนมจีน

ผู้เรยี นส่อื สารกับบุคคลอื่นอย่างไร - ผู้เรยี นบอกความต้องการโดยการจูงมือบุคคลอื่นไปยังส่ิงที่
- ผู้เรยี นสอื่ สารกับบคุ คลอืน่ โดยใช้ภาษากาย ตอ้ งการ

ผเู้ รียนมคี วามสามารถพิเศษอะไรบา้ ง -
-

คาพดู ใดทีส่ ามารถอธบิ ายความเป็นตัวตน -
ของผ้เู รยี น เช่น เปน็ คนทคี่ ิดทางบวก -

-
เรือ่ งอน่ื ที่สาคญั

-

ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง ปรบั ปรงุ ครงั้ ที่ ๔ วนั ที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

แบบฟอรม์ การบรกิ ารและการชว่ ยเหลอื ผเู้ รยี น
ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง

ของ ด.ญ. วรางคณา วงคแ์ กว้ มูล อายุ ๗ ปี วนั ท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๖๔

คาถาม คาอธบิ าย
ในปจั จุบนั ผเู้ รียนได้รบั การบริการและหรือ
การชว่ ยเหลอื อะไรบา้ ง ๑. ผเู้ รยี นรบั บริการตามหลักสตู รสถานศึกษาสาหรบั
๑. รับบรกิ ารการชว่ ยเหลือระยะแรกเร่ิมและเตรียม เดก็ ทีม่ ีความต้องการจาเป็นพิเศษระยะแรกเริ่มของ
ความพร้อม ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ลาปาง
ลาปาง หนว่ ยบรกิ ารอาเภอแมเ่ มาะ ๒. ผู้เรียนเขา้ รับบรกิ ารกจิ กรรมบาบัด
๒. รับบรกิ ารกจิ กรรมบาบัด ณ โรงพยาบาลลาปาง ทกุ ๆ ๒ เดือน
๓. ผเู้ รียนเข้ารับบริการกายภาพบาบดั
๓. รบั บริการกายภาพบาบัด ณ โรงพยาบาลลาปาง ทุกๆ ๒ เดือน

ในขณะน้ีผ้เู รียนต้องการบรกิ ารและการชว่ ยเหลือ - ผู้เรยี นมีความจาเป็นตอ้ งได้รับเทคโนโลยีสง่ิ อานวย
เพ่ิมเติมอะไรบ้าง ความสะดวก สื่อ บริการและความชว่ ยเหลอื อ่ืนใด
- รบั บริการ เทคโนโลยีสงิ่ อานวยความสะดวก ส่อื ทางการศึกษา เพื่อเป็นสื่อในการจดั การเรียนการสอน
บริการและความชว่ ยเหลอื อื่นใดทางการศกึ ษา ของผู้เรียนให้บรรลุจดุ ประสงค์ทต่ี ้งั ไวใ้ นแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล

การบริการและการชว่ ยเหลือทจี่ าเป็น - ผู้เรียนไดร้ ับสิทธกิ ารจา้ งงานตามมาตรา ๓๕ สาหรับ
หลงั จบการศึกษาของผเู้ รียนควรมีอะไรบา้ ง ผพู้ ิการในการไดห้ รือมีงานทาใน บริษทั โรงงาน หรือ
หน่วยงาน ท้ังภาครฐั และเอกชน
- การจ้างงานตามมาตรา ๓๕

ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง ปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๔ วนั ที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

แบบฟอรม์ การกาหนดเปา้ หมาย
ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง
ของ ด.ญ. วรางคณา วงคแ์ กว้ มูล อายุ ๗ ปี วนั ท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๖๔

เป้าหมาย แผนระยะสนั้ แผนระยะยาว

ดา้ นสขุ ภาพ - ผเู้ รียนสามารถรบั ประทานยาได้
- ผู้เรียนสามารถรบั ประทานยาไดต้ รง ตรงเวลา โดยไมต่ ้องมีคน
เวลา โดยไมต่ ้องมีคน มาคอยเตือน
มาคอยเตือน

ดา้ นกจิ วตั รประจาวัน - ผู้เรียนสามารถเข้าห้องน้า - ผู้เรียนสามารถทาความสะอาด
๑. ผ้เู รียนสามารถเข้าห้องน้าและ
ทาความสะอาดโถชกั โครก/ส้วมซึม แ ล ะ ท า ค ว า ม ส ะ อ า ด โ ถ อุปกรณ์และภาชนะส่วนตัวหลัง
หลังขบั ถ่ายได้ดว้ ยตนเอง ชักโครก/ส้วมซึมหลังขับถ่ายได้ ใช้ได้ดว้ ยตนเอง
๒. ผเู้ รยี นสามารถทาความสะอาด ด้วยตนเอง
อุปกรณ์และภาชนะส่วนตวั หลงั ใช้ได้
ด้วยตนเอง

ดา้ นการดูแลบ้านและที่อยูอ่ าศัย - ผู้เรียนสามารถใช้เงินซื้อขนมใน
- สหกรณโ์ รงเรียนได้ด้วยตนเอง

ดา้ นการจัดการเรื่องการเงิน
- ผู้เรยี นสามารถใช้เงินซื้อขนมใน
สหกรณ์โรงเรียนได้ด้วยตนเอง

ด้านมิตรภาพและสังคม - ผู้เรียนจะสามารถร่วมกิจกรรม
- ผูเ้ รียนจะสามารถรว่ มกจิ กรรมกับ กั บ เ พ่ื อ น ไ ด้ อ ย่ า ง น้ อ ย สั ป ด า ห์
เพ่อื นได้อย่างน้อยสัปดาหล์ ะคร้งั ละคร้ัง

ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง ปรับปรงุ ครัง้ ท่ี ๔ วันที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

เปา้ หมาย แผนระยะสนั้ แผนระยะยาว

ด้านการเดนิ ทางและการใชบ้ ริการ - ๑. ผเู้ รยี นร้จู กั ชอ่ื และค้นุ เคยกับครู
ขนสง่ สาธารณะ ประจาชั้น/ครปู ระจาวชิ า
๒. ผู้เรียนเดินทางไปยังห้องเรียน
-
ดา้ นการศึกษาต่อหรอื การฝึกอบรม ไดด้ ้วยตนเอง
๑. ผู้เรียนรู้จกั ชือ่ และค้นุ เคยกับครู
ประจาชั้น/ครปู ระจาวชิ า
๒. ผ้เู รยี นเดินทางไปยงั หอ้ งเรียนได้
ด้วยตนเอง

ด้านการประกอบอาชีพ
-

ดา้ นการใช้เวลาว่างและนนั ทนาการ
-

ด้านการมีสว่ นร่วมในชมุ ชน
-

ด้านกฎหมายและการเรียกรอ้ ง
เพ่อื สทิ ธิของตนเอง

-

ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ลาปาง ปรบั ปรุงครงั้ ที่ ๔ วันที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

แบบฟอรม์ การกาหนดงาน ผรู้ ับผดิ ชอบ และกรอบเวลา
ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวดั ลาปาง

ของ ด.ญ. วรางคณา วงคแ์ ก้วมลู อายุ ๗ ปี วนั ที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๖๔

เปา้ หมายที่ ๑ ผ้เู รยี นสามารถเขา้ หอ้ งน้าและทาความสะอาดโถชกั โครก/สว้ มซึมหลังขบั ถ่ายได้ด้วยตนเอง

ความกา้ วหน้าของงาน
งาน ผรู้ บั ผดิ ชอบ ระยะเวลา (ยังไม่เร่ิมหรือกาลังดาเนนิ งานหรือ

เสรจ็ สน้ิ แลว้ )

๑. ขบั ถ่ายในหอ้ งนา้ น.ส.ปุณยนุช ก.ค.-ก.ย. ๖๓ เสร็จส้นิ แล้ว

น.ส.ณัฐปรีญา

๒. ทาความสะอาดโถชักโครก/ น.ส.ปณุ ยนุช ต.ค.๖๓-มี.ค. กาลังดาเนนิ งาน

สว้ มซึมหลังขับถา่ ยได้ดว้ ยตนเอง น.ส.กนกวรรณ ๖๔

น.ส.ณัฐปรีญา

ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง ปรบั ปรงุ ครง้ั ที่ ๔ วนั ท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓











แบบดาเนนิ การบรกิ ารเปลย่ี นผา่ น (Transition) ชอ่ื ส

เดก็ หญิง วรางคณา วงคแ์ กว้ มูล อายุ ๗ ปี ประเภทความพกิ าร บกพร่องทางรา่ งกาย
๑. กลุม่ สาระการดารงชวี ติ ประจาวนั และการจดั การตนเอง ให้ความรว่ มมือใน
๒. กลมุ่ สาระ การเรยี นรูแ้ ละความรพู้ นื้ ฐาน มกี ารใช้ประสาทสมั ผัสตา่ ง ๆ ใน
ตอบสนองตอ่ สงิ่ เหล่าน้นั ได้ตามศักยภาพ
๓. กลุ่มสาระสงั คมและการเปน็ พลเมอื งทเี่ ขม้ แข็ง ใหค้ วามรว่ มมือในการทาห
๔. กลมุ่ สาระการงานพนื้ ฐานอาชพี ใหค้ วามรว่ มมือในการดูแลเส้อื ผ้าและเคร
๕. ทกั ษะจาเปน็ เฉพาะความพกิ าร สามารถยืนทรงตัวบนคานเกาะยืนไดด้ ้วยต
เหน็ ควรไดร้ บั บรกิ ารเปลยี่
 ดา้ นการศึกษา  ดา้ นการแพทย์  ดา้ นสังค

เปา้ หมาย วธิ กี ารดาเนนิ การ ตวั ชว้ี ดั ความ

๑. ผเู้ รียนสามารถหยิบยา ๑. ฝกึ ปฏิบตั ทิ ี่บ้าน ๑. หยิบยาทาน
ทานก่อนและหลังอาหาร รับประทานอาห
ไดเ้ อง โดยมผี ู้ปกครอง/ - ฝึกปฏบิ ตั ิทกุ เช้า-เย็น ก่อนและ
ครจู ดั เตรียมยาไว้ให้ หลังรบั ประทานอาหาร ๒. หยบิ ยาทาน
รบั ประทานอาห
๒. ฝกึ ปฏบิ ัตทิ ีห่ น่วยบริการ เสรจ็

- ฝึกปฏบิ ตั ิช่วงกลางวนั กอ่ นและ
หลังรับประทานอาหาร

ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ลาปาง ปรับปรุงครง้ั ที่ ๔ วนั

สถานศกึ ษา ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง

ยหรือการเคลื่อนไหวหรือสุขภาพ มพี ฒั นาการตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา ดงั นี้
นการดแู ลสขุ อนามยั และกจิ วัตรประจาวันพ้ืนฐาน
นการรับร้เู สียง การแสดงพฤติกรรมของบุคคล สง่ิ แวดล้อมตามธรรมชาตแิ ละ

หน้าทขี่ องตนเองในต่อการเปน็ สมาชิกทด่ี ีของครอบครวั
ร่ืองแตง่ กายของตนเอง
ตนเอง
ยนผา่ นเพอื่ ไปสกู่ ารบริการ
คม  ดา้ นอนื่ ๆ (ระบุ)..............................................

มสาเรจ็ ผลการพฒั นาผเู้ รยี น ผใู้ หบ้ รกิ าร/หนว่ ยงาน ที่ หมายเหตุ
ใหบ้ รกิ าร
นกอ่ น
หาร ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ - ครอบครวั /ผ้ปู กครอง

นหลัง - - ครปู ระจาชน้ั
หาร
ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ - พเี่ ล้ยี งเดก็ พกิ าร

นท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

เปา้ หมาย วธิ กี ารดาเนินการ ตวั ชวี้ ดั ความ

๒. ผเู้ รียนสามารถเขา้ ๑. ฝกึ ปฏิบตั ทิ ่ีบ้าน ๑. ขบั ถา่ ยในห
ห้องนา้ และทาความ ด้วยตนเอง
สะอาดชกั โครก/ส้วมซึม - ฝึกปฏิบัตทิ กุ วันช่วงเวลา
หลังขับถา่ ยได้ดว้ ยตนเอง ๗.๐๐-๘.๐๐ น., ๑๐.๐๐-๑๑.๐๐ น., ๒. ทาความสะอ
๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น., ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ น. ชักโครก/สว้ มซ
และช่วงเวลาก่อนเข้านอน ขับถ่ายได้ดว้ ยต

๒. ฝึกปฏบิ ัตทิ ห่ี นว่ ยบริการ

- ฝกึ ปฏิบตั ิทุกวัน จ-ศ ชว่ งเวลา
๑๐.๐๐-๑๑.๐๐ น., ๑๓.๐๐-๑๔.๐๐ น.
และ ๑๕.๐๐-๑๖.๐๐ น.

๓. ผู้เรยี นสามารถทา ๑. ฝึกปฏบิ ัตทิ ่บี า้ น ๑. ทาความสะอ
ความสะอาดอุปกรณ์และ ช้อน ส้อม ไดโ้ ด
ภาชนะส่วนตัวหลงั ใช้ - ฝึกปฏิบตั ทิ ุกวันหลังการใช้ ช่วยเหลือ
เสรจ็ โดยมีผู้ช่วยเหลือ อปุ กรณ์และภาชนะส่วนตัว
๒. ทาความสะอ
๒. ฝึกปฏิบตั ิที่หนว่ ยบริการ ได้โดยมีผู้ช่วยเห

- ฝกึ ปฏิบตั ทิ ุกวนั จ-ศ หลังการใช้ ๓. ทาความสะอ
อปุ กรณ์และภาชนะสว่ นตวั น้า ได้โดยมีผู้ชว่

ศูนยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง ปรับปรงุ คร้ังท่ี ๔ วนั

มสาเรจ็ ผลการพฒั นาผเู้ รยี น ผใู้ ห้บรกิ าร/หนว่ ยงาน ท่ี หมายเหตุ
ใหบ้ รกิ าร

ห้องน้าได้ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ - ครอบครวั /ผปู้ กครอง

- ครูประจาช้นั

อาด - พเี่ ล้ยี งเด็กพกิ าร
ซึมหลัง

ตนเอง

อาด ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ - ครอบครวั /ผปู้ กครอง
ดยมผี ู้ - - ครูประจาชน้ั

อาดจาน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕ - พี่เลีย้ งเดก็ พกิ าร
หลือ

อาดแก้ว
วยเหลือ

นที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

เป้าหมาย วธิ กี ารดาเนินการ ตวั ชว้ี ดั ความ

๔. ผู้เรียนสามารถแต่ง ๑. ฝกึ ปฏบิ ตั ทิ ี่บ้าน ผเู้ รยี นสามารถแต
กายชดุ นักเรียนของ ดว้ ยชดุ นักเรียนข
โรงเรยี นได้ด้วยตนเอง - แตง่ กายด้วยชุดนักเรียนทุกเช้า โรงเรียนไดด้ ว้ ยต
ในวนั จนั ทรถ์ ึงวันศุกร์ก่อนไปโรงเรยี น

๒. ฝึกปฏบิ ตั ทิ ี่หน่วยบรกิ าร

๒.๑ ฝึกสวมเสอ้ื มีกระดุมผ่าหน้า

๒.๒ ฝึกสวมกางเกงขาสั้นแบบมี
ตะขอและซิป

๒.๓ ฝึกสวมถุงเท้าและรองเท้า
ผ้าใบ

๕. ผู้เรยี นสามารถใชเ้ งิน ๑. ฝกึ ปฏบิ ัติทบ่ี า้ น ผู้เรียนสามารถ
ซ้อื ขนมในสหกรณ์
โรงเรยี นได้ด้วยตนเอง - ฝึกให้ผู้เรยี นซอื้ ขนมในร้านคา้ ใกล้ ค่าขนมให้แกร่ ้า
บา้ น โดยให้ผ้เู รยี นจ่ายเงินค่าขนม ครงั้ ก่อนออกจา

ใหก้ ับคนขายเอง

๒. ฝกึ ปฏบิ ัติท่หี นว่ ยบริการ

- ฝึกให้ผเู้ รียนซื้อขนมในร้านค้าใกล้

ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง ปรบั ปรงุ คร้ังท่ี ๔ วนั

มสาเรจ็ ผลการพฒั นาผเู้ รยี น ผใู้ หบ้ รกิ าร/หนว่ ยงาน ที่ หมายเหตุ
ใหบ้ รกิ าร
แต่งกาย
ของ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ ๑. ผูป้ กครอง
ตนเอง
๒. ครูประจาชั้น

ถจ่ายเงิน ปีการศึกษา ๒๕๖๔ - ครอบครัว/ผู้ปกครอง
านคา้ ทุก - - ครปู ระจาชนั้
ากร้าน - พี่เล้ยี งเดก็ พกิ าร
ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

นที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

เป้าหมาย วธิ กี ารดาเนินการ ตวั ชวี้ ดั ความ

หนว่ ยบรกิ าร โดยใหผ้ ู้เรียนจ่ายเงินคา่
ขนมให้กบั คนขายเอง

๖. ผเู้ รียนสามารถร่วม ๑. ฝึกปฏิบัติทีห่ น่วยบรกิ าร ผู้เรยี นสามารถ
กิจกรรมกับเพื่อนไดอ้ ย่าง กิจกรรมกบั เพื่อ
นอ้ ยสปั ดาห์ละครั้ง - ฝกึ ใหผ้ ้เู รยี นรว่ มกจิ กรรมตา่ งๆ อย่างน้อยสัปดา
กับเพื่อนที่ทางหนว่ ยบริการจัด คร้งั

๒. ฝกึ ปฏบิ ตั ทิ โี่ รงเรียน

- ฝกึ ให้ผู้เรียนไดม้ ีโอกาสเข้าร่วม
กิจกรรมกับเพื่อนไดอ้ ย่างน้อยสัปดาห์
ละคร้งั

๗. ผ้เู รียนรจู้ กั ช่อื และ ๑. ฝึกปฏิบตั ทิ ีห่ นว่ ยบรกิ าร ผู้เรยี นรู้จกั ช่ือแ
คุ้นเคยกับครูประจาชนั้ / คนุ้ เคยกับครูปร
ครปู ระจาวิชาในโรงเรียน - ฝกึ ให้ผู้เรียนรจู้ ักชอ่ื และคุ้นเคยกบั ชัน้ /ครปู ระจาว
ครูและพี่เลีย้ งในหนว่ ยบรกิ าร โรงเรียน

๒. ฝึกปฏิบัติที่โรงเรียน

- ฝึกใหผ้ ู้เรียนรจู้ ักช่อื และคุ้นเคยกับ
ครูประจาช้นั /ครูประจาวิชาที่ผเู้ รียน

ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดลาปาง ปรับปรงุ ครง้ั ท่ี ๔ วนั

มสาเรจ็ ผลการพฒั นาผเู้ รยี น ผใู้ หบ้ รกิ าร/หนว่ ยงาน ท่ี หมายเหตุ
ใหบ้ รกิ าร

ถร่วม ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ครูประจาชั้น

อนได้ -
าหล์ ะ

ปกี ารศึกษา ๒๕๖๕

และ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ - ครปู ระจาช้ัน/ครู

ระจา - ประจาวชิ า
วิชาใน

ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

นที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

เปา้ หมาย วธิ กี ารดาเนินการ ตวั ชวี้ ดั ความ

๘. ผูเ้ รยี นเดนิ ทางไปยัง ตอ้ งเข้าไปร่วมเรียนในห้องกบั เพื่อนๆ
ห้องเรียนได้ดว้ ยตนเอง
- ฝึกปฏิบัตทิ โ่ี รงเรยี น ผูเ้ รยี นเดนิ ทางไ
หอ้ งเรยี นได้ด้ว
๑. ฝึกใหผ้ ้เู รียนสามารถเดนิ ทางจาก
ประตูหนา้ โรงเรียนไปยังห้องเรยี น
คู่ขนานได้ด้วยตนเอง

๒. ฝึกใหผ้ เู้ รียนสามารถเดนิ ทางจาก
ห้องเรียนคู่ขนานไปยังหอ้ งเรียน
รายวิชาไดด้ ว้ ยตนเอง

ศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง ปรับปรุงครงั้ ท่ี ๔ วนั

มสาเรจ็ ผลการพฒั นาผเู้ รยี น ผใู้ หบ้ รกิ าร/หนว่ ยงาน ที่ หมายเหตุ
ใหบ้ รกิ าร

ไปยัง ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕ - ครปู ระจาชนั้
วยตนเอง

นที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

๕. การวางแผนการจดั การศกึ ษา จดุ ประสงคเ์ ช
ระดบั ความสามารถปจั จบุ ัน เป้าหมายระยะยาว ๑ ปี

แผนเปลยี่ นผา่ น ภายในวันท่ี ๓๑ มนี าคม ๑. เม่ือด.ญ.วราง
เรยี นรู้การเตรยี ม
จดุ เดน่ ๒๕๖๔ เมือ่ ให้ด.ญ.วรางคณา ทใี่ ช้ในการกวาด
วรางคณา สามา
ด.ญ.วรางคณา สามารถ ทางานบา้ น สามารถการเกบ็ ขยะไดโ้ ดยใชม้ อื
ขยะ ๗ ใน ๑๐ ค
ช่วยเหลอื ตนเองใน ขยะได้ ๓ วันตดิ ต่อกนั ๓ วนั ภายใน กนั
๒. เมอ่ื ด.ญ.วราง
ชีวติ ประจาวนั บางอย่างง่ายๆได้ เรยี นรู้การเตรียม
ทใ่ี ช้ในการการเก
จดุ ดอ้ ย ด.ญ.วรางคณา
เกบ็ ขยะได้โดยใช
ด.ญ.วรางคณา ไมส่ ามารถบอก จบั ขยะข้ึนมาใส่ใ
ติดต่อกัน ๓ วัน
หรอื เลอื กใช้อปุ กรณ์ในการเก็บ ธันวาคม ๒๕๖๓
๓. เมอ่ื ด.ญ.วรา
ขยะได้

ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง ปรบั ปรุงครัง้ ที่ ๔ วัน

ชงิ พฤติกรรม ระดบั ความสามารถปจั จบุ ัน เป้าหมายระยะยาว ๑ ปี

งคณา ได้ เกณฑ์การประเมิน นางสาวกนกวรรณ ตันดี
มอปุ กรณ์ต่างๆ - ผ่านเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐ ของแต่ ครูประจาชัน้
ดบา้ น ด.ญ. ละตวั ชวี้ ดั
ารถการเกบ็ วิธกี ารประเมนิ ผล
อข้างที่ถนดั เก็บ - การสังเกต
ครง้ั ติดต่อกนั - ทดสอบ
นยายน ๒๕๖๓ - ชิ้นงาน
งคณา ได้ - แฟ้มสะสมงาน
มอปุ กรณ์ต่างๆ - สอื่ เทคโนโลยี เคร่อื งช่วย ใน
ก็บขยะ การทดสอบ ฯลฯ
สามารถการ
ชม้ ือขา้ งทถ่ี นัด
ในถงุ ขยะได้
ภายใน

างคณา ได้

นท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

ระดบั ความสามารถปจั จบุ ัน เปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี จดุ ประสงคเ์ ช

เรียนรกู้ ารกวาดบ
ด.ญ.วรางคณา
ขยะไปท้งิ ได้ (ถุง
ตดิ ตอ่ กัน ๓ วนั
๒๕๖๔

ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจังหวัดลาปาง ปรบั ปรุงครง้ั ท่ี ๔ วนั

ชงิ พฤติกรรม ระดบั ความสามารถปจั จบุ ัน เปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี

บา้ น
สามารถเก็บถงุ
งขยะ ถังขยะ)ได้
ภายใน มนี าคม

นที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

๕.การวางแผนการจดั การศกึ ษา จดุ ประสงคเ์ ช
ระดบั ความสามารถปจั จบุ ัน เปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี

๑) แผนเปลย่ี นผ่าน

จดุ เดน่

ด.ญ.วรางคณา สามารถ ภายในวนั ท่ี ๓๑ มนี าคม ๑. เมือ่ ให้ด.ญ.วร
อุปกรณ์การกวา
ชว่ ยเหลอื ตนเองใน ๒๕๖๕ เม่ือให้ ด.ญ.วรางคณา วรางคณา สามา
บตั รภาพอปุ กรณ
ชวี ติ ประจาวนั บางอย่างง่ายๆได้ ทางานบ้าน (ไม้กวาด ถังตักผ
๑๐ คร้ัง ตดิ ต่อก
จดุ ดอ้ ย ด.ญ.วรางคณา สามารถกวาด ภายใน กรกฎาค

ด.ญ.วรางคณา ไม่สามารถบอก พ้นื ๓ วันตดิ ต่อกนั

หรอื เลือกใช้อุปกรณ์ในการ

ทางานบา้ นได้

ศูนย์การศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดลาปาง ปรบั ปรงุ ครัง้ ที่ ๔ วัน

ชงิ พฤตกิ รรม ระดบั ความสามารถปจั จบุ ัน เป้าหมายระยะยาว ๑ ปี

รางคณา บอก เกณฑก์ ารประเมนิ นางสาวกนกวรรณ ตันดี
าดบ้านด.ญ. - ผา่ นเกณฑ์รอ้ ยละ ๖๐ ของแต่ ครปู ระจาช้ัน
ารถมองหยบิ ช้ี ละตัวชี้วัด
ณ์การกวาดบา้ น วธิ กี ารประเมนิ ผล
ผง) ได้ ๗ ใน - การสงั เกต
กนั ๓ วนั - ทดสอบ
คม ๒๕๖๔ - ชน้ิ งาน

- แฟ้มสะสมงาน
- สื่อเทคโนโลยี เครอื่ งช่วย ใน
การทดสอบ ฯลฯ

นที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

๕. การวางแผนการจดั การศึกษา จดุ ประส
ระดบั ความสามารถปจั จบุ นั เปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี (เปา้ ห

ศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง ปรับปรงุ ครง้ั ท่ี ๔ วนั

สงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เกณฑแ์ ละวธิ ปี ระเมนิ ผล ผรู้ บั ผดิ ชอบ
หมายระยะสนั้ )

เกณฑก์ ารประเมนิ นางสาวกนกวรรณ ตนั ดี
- ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ ของแตล่ ะ ครูประจาชั้น
ตวั ช้ีวัด
วธิ กี ารประเมนิ ผล
- การสงั เกต
- ทดสอบ
- ชิน้ งาน
- แฟ้มสะสมงาน
- สอื่ เทคโนโลยี เคร่อื งชว่ ย ในการ
ทดสอบ ฯลฯ

นที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

ระดบั ความสามารถปจั จบุ นั เป้าหมายระยะยาว ๑ ปี จดุ ประส
(เปา้ ห

๔. เมอ่ื ด.ญ.วราง
เตรียมอุปกรณต์ า่
ด.ญ.วรางคณา ส
ใช้มอื ขา้ งท่ีถนดั จั
วนั ภายใน ธันวา

๕. เม่ือด.ญ.วรางค
บ้าน ด.ญ.วรางคณ
การวาดบ้านเข้าท
ตดิ ต่อกนั ๓ วนั ภ

ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง ปรับปรงุ คร้งั ที่ ๔ วนั

สงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เกณฑแ์ ละวธิ ปี ระเมนิ ผล ผรู้ บั ผดิ ชอบ
หมายระยะสนั้ ) เกณฑ์การประเมิน
งคณา ได้เรียนร้กู าร นางสาวกนกวรรณ ตนั ดี
ครูประจาชัน้
างๆ ทใ่ี ชใ้ นการกวาดบา้ น - ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ ๖๐ ของแตล่ ะ
สามารถกวาดบา้ นไดโ้ ดย ตวั ช้วี ัด
บไม้กวาดได้ ตดิ ต่อกัน ๓

าคม ๒๕๖๔

คณา ได้เรียนร้กู ารกวาด วธิ กี ารประเมินผล

ณา สามารถเกบ็ อุปกรณ์ - การสงั เกต
ที่ (ไมก้ วาด ถังตกั ผง)ได้
ภายใน มีนาคม ๒๕๖๕ - ทดสอบ

- ชิ้นงาน

- แฟม้ สะสมงาน

- สอื่ เทคโนโลยี เคร่อื งชว่ ย ในการ
ทดสอบ ฯลฯ

นที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง ปรบั ปรุงคร้งั ที่ ๔ วนั

นท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

รายงานการประชุมกลมุ่ งานบริหารวิชาการ
เรอ่ื ง การจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๓

ครง้ั ท่ี ๑ / ๒๕๖๔
วันท่ี ๒๒ เดอื น มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๔
ณ ห้องประชุมศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง

ผมู้ าประชุม หวั หน้าเขตพนื้ ท่บี ริการ เขต ๑
๑. นายพิทกั ษ์ วงค์ฆอ้ ง ผปู้ กครอง
๒. นางสาวสาลิกา ชมชน่ื ครูประจาช้นั
๓. นางสาวกนกวรรณ ตนั ดี ครกู ิจกรรมบาบัด
๔. นางสาวปณุ ยนุช คาจิตแจม่ ครกู ายภาพบาบัด
๕. นายอนุชา โสส้มกบ ครูจิตวทิ ยา
๖. นางสาวศศกิ มล ก๋าหล้า พเี่ ล้ียงเด็กพิการ
๗. นางสาวฤทัยรัตน์ บญุ ฝั้น พ่เี ล้ียงเด็กพกิ าร
๘. นางสาวณัฐปรญี า อุตรชน

เรม่ิ ประชุมเวลา ๐๙.๐๐ น.

ระเบยี บวาระที่ ๑ ประธานแจง้ ที่ประชมุ ทราบ
นายพิทักษ์ วงค์ฆ้อง หัวหน้าเขตพื้นที่บริการ เขต ๑ ประธานการประชุม กล่าวเปิดการประชุม

และขอขอบคุณทุกคนที่มาประชุม เพื่อวางแผนการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลของ
เดก็ หญิงวรางคณา วงค์แกว้ มลู ซึ่งมีความบกพรอ่ งทางร่างกายฯ ระดับชั้นช่วยเหลือระยะแรกเริ่ม เตรียมความ
พร้อมและพฒั นาศักยภาพ หอ้ งเรียนหนว่ ยบรกิ ารอาเภอแมเ่ มาะ

ระเบยี บวาระที่ ๒ เรอื่ งเสนอเพอื่ พิจารณา
นายพิทักษ์ วงค์ฆ้อง ประธานการประชุม ชี้แจงข้ันตอนการจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะ

บุคคล (IEP.) และขอให้ทุกคนได้ร่วมให้ข้อมูลร่วมกันวิเคราะห์พัฒนาการ ร่วมกันวิเคราะห์ความสามารถ
พนื้ ฐาน กาหนดจดุ เด่น จุดอ่อน วางแผนระยะยาว ๑ ปี กาหนดจุดประสงค์เชิงพฤติกรรม กาหนดวิธีการ
ประเมินและผู้รับผิดชอบ รวมทั้งแจ้งความต้องการส่ือ สิ่งอานวยความสะดวก และความช่วยเหลืออ่ืนใด
ทางการศกึ ษา

นายพิทักษ์ วงค์ฆ้อง กล่าวเพ่ิมเติมอีกว่า การร่วมกันจัดทาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลครั้งน้ี
จะช่วยให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีข้ึนตามศักยภาพของเด็กเอง ขอให้นาความสามารถปัจจุบันของเด็ก
มาเปน็ ฐานในการวางแผนระยะยาว ๑ ปี ดังน้ี

การวางแผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบคุ คล (IEP.) ของ เดก็ หญงิ วรางคณา วงค์แก้วมูล
๑. กลมุ่ สาระการเรียนร้กู ารดารงชวี ติ ประจาวันและการจัดการตนเอง

๑) เปา้ หมายระยะยาว ๑ ปี ภายในวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เด็กหญิงวรางคณา วงค์แก้วมูล
สามารถดแู ลสุขอนามยั และกิจวัตรประจาวันพื้นฐานของตนเองได้

๒) ผลสัมฤทธต์ิ ามตัวชี้วดั ในหลกั สตู รสถานศึกษาฯ กลุม่ สาระการดารงชีวิตประจาวนั และการ
จดั การตนเอง วิชา ดป ๑๑๐๖ ตวั ชว้ี ัด ดป ๓.๑/๑

๒. กลุ่มสาระการเรียนร้แู ละความรพู้ ื้นฐาน

กล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจงั หวัดลาปาง

๑) ผลสัมฤทธิ์ตามตัวชว้ี ัดในหลกั สูตรสถานศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรยี นร้แู ละความรู้พืน้ ฐาน

วชิ า รพ ๑๑๐๑ ตัวช้วี ดั รพ ๑.๓/๑

๒) ผลสมั ฤทธต์ิ ามตวั ชีว้ ัดในหลักสูตรสถานศกึ ษาฯ กลุ่มสาระการเรยี นรู้และความรู้พน้ื ฐาน
วิชา รพ ๑๑๐๕ ตัวชวี้ ัด รพ ๒.๑.๑/๑

๓) ผลสัมฤทธิ์ตามตวั ชีว้ ดั ในหลักสูตรสถานศึกษาฯ กลุม่ สาระการเรยี นรูแ้ ละความรู้พื้นฐาน
วิชา รพ ๑๑๐๕ ตวั ช้วี ัด รพ ๖.๑/๑

๓. กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ทางสงั คมและเป็นพลเมอื งที่เข้มแขง็

๑) ผลสัมฤทธต์ิ ามตัวชี้วดั ในหลกั สตู รสถานศึกษาฯ กลุม่ สาระสงั คมและการเป็นพลเมืองท่ี

เขม้ แข็งวิชา สพ ๑๑๐๑ ตวั ชว้ี ดั สพ ๑.๑/๑

๒) ผลสมั ฤทธิต์ ามตัวชว้ี ัดในหลักสตู รสถานศึกษาฯ กลมุ่ สาระสังคมและการเปน็ พลเมืองท่ี
เข้มแข็ง วิชา สพ ๑๑๐๖ วฒั นธรรมประเพณี ๑ตั วชวี้ ดั สพ ๓.๑/๑

๔. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชพี
๑) ผลสมั ฤทธติ์ ามตัวชี้วดั ในหลักสูตรสถานศกึ ษาฯ กลุม่ สาระการงานพืน้ ฐานอาชีพ วิชา กอ

๑๑๐๑ ตวั ชว้ี ัด กอ ๑.๑/๑
๒) ผลสมั ฤทธิ์ตามตัวชี้วัดในหลักสูตรสถานศกึ ษาฯ กลมุ่ สาระการงานพนื้ ฐานอาชีพ วิชา กอ

๑๑๐๓ ตวั ชว้ี ัด กอ ๒.๑/๑
๕. ทักษะจาเป็นเฉพาะความพกิ าร

เป้าหมายระยะยาว ๑ ปี ภายในวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เด็กหญิงวรางคณา วงค์แก้วมูล

สามารถจัดทา่ ทางการนงั่ ของตนเองไดถ้ กู ต้อง
๖. กจิ กรรมวิชาการ กิจกรรมกรรมบาบัด

ภายในวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ เด็กหญิงวรางคณา วงค์แก้วมูล สามารถฟ้ืนฟูสมรรถภาพ
ด้านการเคล่ือนไหว ทักษะการทากิจวัตรประจาวัน การรับประทานอาหาร ปรับส่ิงแวดล้อม และหรือการ
ดัดแปลง และปรับสภาพบา้ น

๗. กจิ กรรมวิชาการ กายภาพบาบดั

ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๔ เด็กหญิงวรางคณา วงค์แก้วมูล กระตุ้นการควบคุมการ
เคลื่อนไหวของกลา้ มเนือ้ สว่ นต่างๆ ของร่างกาย

๘. กจิ กรรมวิชาการ พฤตกิ รรมบาบัด
ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เด็กหญิงวรางคณา วงค์แก้วมูล สามารถทากิจวัตร

ประจาวันของตนเอง การใชภ้ าษาอย่างสมา่ เสมอเพือ่ ใหเ้ ขา้ ใจและสามารถสื่อสารความตอ้ งการของตนเองได้
๙. กิจกรรมวิชาการ ศิลปะบาบัด
ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เดก็ หญิงวรางคณา วงค์แก้วมูล สามารถใช้มือดึง ทุบ นวด

ดนิ นา้ มัน ไดด้ ว้ ยตนเอง
๑๐. กจิ กรรมวชิ าการ เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ICT

ภายในวันท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕ เดก็ หญงิ วรางคณา วงคแ์ ก้วมูล สามารถรู้จกั ส่วนประกอบ

คอมพวิ เตอร์รูจ้ ักหน้าที่ของคอมพิวเตอร์

กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ ศูนย์การศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง

๑๑. แผนเปล่ียนผ่าน

ภายในวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เด็กหญิงวรางคณา วงค์แก้วมูล สามารถใช้เวลาว่างและ

นนั ทนาการ โดยการทากจิ กรรม ไดแ้ ก่ ฟงั เพลง ดทู วี ี ไดด้ ้วยตนเอง

๑๒. รายการสอ่ื

ที่ รายการ ผ้จู ัดหา วิธกี าร จานวน (บาท)
สถานศกึ ษา ขอรับเงนิ อุดหนนุ ๑,๒๖๐ บาท
๑ ผ้าอ้อมสาเรจ็ รูป XXL

๒ ถาดไมต้ ัวเลข สถานศึกษา ขอรบั เงนิ อุดหนุน ๒๐๐ บาท

๓ สเี มจิกแทง่ ใหญ่ สถานศึกษา ขอรับเงนิ อดุ หนุน ๑๓๕ บาท

๔ แผ่นฟิวเจอร์บอรด์ (Future Board) ขนาด สถานศกึ ษา ขอรับเงินอดุ หนุน ๓๖๐ บาท

65 X 81 เซนติเมตร

รวม ๑,๙๕๕

มอบให้ครูผู้สอน คือ นางสาวกนกวรรณ ตันดี เป็นผู้ดาเนินการเขียนหรือพิมพ์แผน
การจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP.) และประสานให้ทุกคนที่ร่วมประชุม ได้พิจารณา อีกรอบ และลงนาม
ต่อไป

มติที่ประชมุ มอบ นางสาวกนกวรรณ ตันดี ถอื ปฏบิ ัติ
ระเบียบวาระที่ ๖ อื่นๆ

ไม่มี

มตทิ ่ปี ระชมุ

ปิดประชุมเวลา ๐๙.๓๐ น.

ลงช่อื .................................................ครผู ู้สอน
(นางสาวกนกวรรณ ตันดี )
ผู้บันทกึ การประชุม

ลงช่อื ................................................. หัวหนา้ เขตพ้ืนที่บริการ เขต ๑
(นายพทิ ักษ์ วงค์ฆ้อง)
ผู้ตรวจรายงานการประชุม

กลมุ่ บรหิ ารงานวิชาการ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง

แบบบนั ทึกการวเิ คราะหห์ ลักสูตรสถานศกึ ษา
ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

ห้องเรยี นหนว่ ยแม่เมาะ ๒

ของ
เดก็ หนญายิงวกรจิ าตงิ คขตัณตายิ วะวงคงศเ เ์ กว มูล

จดั ทาโดย
นางสาวกนกวรรณ ตนั ดี
ตาแหน่ง พนกั งานราชการ

ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง
สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ตารางวเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหลกั สตู ร มาตรฐานคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์
กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ และหรอื ผลการเรยี นรู้

หลกั สตู ร หลักสตู รสถานศกึ ษาการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พื้นฐานสาหรบั ผู้เรียนพกิ าร
ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจงั หวดั ลาปาง ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช ๒๕๖๔
กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ี่ ๑ การดารงชวี ิตประจาวนั และการจดั การตนเอง
มาตรฐานท่ี ๑.๑ เข้าใจ เหน็ ความสาคัญและมีทักษะในการดูแลตนเอง การดแู ลสขุ อนามัยส่วนบคุ คล การ

ป้องกัน หลีกเลีย่ งอันตราย และมีความปลอดภัยในการดาเนนิ ชวี ิตประจาวนั
วชิ า ดป ๑๑๐๑ สขุ อนามัยและความปลอดภัยในชีวติ ๑

ตวั ชวี้ ดั ความรู้ กระบวนการ คณุ ลักษณะ สมรรถนะสาคญั กจิ กรรม
KP ทพ่ี ึงประสงค์ ของผเู้ รยี น พฒั นา
C ผเู้ รยี น
ดป ๑.๑/๑ - บอก - กระบวนการ A
ร้แู ละเขา้ ใจการ ความหมาย ปฏิบัตใิ นการ ๒. ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ ๑.ความสามารถ -กิจกรรม
ดูแลสขุ อนามัย และ ดแู ลสุขอนามัย ๓. มีวนิ ยั ในการส่อื สาร เสรมิ
และกิจวตั ร หลักการ - การทาความ ๔. ใฝ่เรียนรู้ ๒.ความสามารถ วิชาการ
ประจาวนั พื้นฐาน การดูแล สะอาดรา่ งกาย ในการคิด
สขุ อนามยั เช่น เล็บ ผม ๓.ความสามารถ
ของตนเอง ผวิ หนัง เปน็ ตน้ ในการแกป้ ญั หา
- การดูแล ๔.ความสามารถ
ตนเองเม่ือ ในการใชท้ ักษะ
เจ็บป่วย ชวี ิต
- กระบวนการ ๕.ความสามารถ
ปฏบิ ัติกจิ วตั ร ในการใช้
ประจาวัน เทคโนโลยี
- การปฏิบตั ิ
กิจวตั รประจา
วนั ท่ีบา้ น

ตวั ชวี้ ดั ความรู้ กระบวนการ คุณลกั ษณะ สมรรถนะสาคญั กิจกรรม
KP ทีพ่ ึงประสงค์ ของผเู้ รยี น พฒั นา
C ผเู้ รยี น
A
ดป ๑.๑/๒ - บอก - ปฏิบตั ติ าม ๒. ซอ่ื สัตย์ สุจริต ๑.ความสามารถ
ปฏบิ ตั กิ ิจวตั ร ตาราง ตารางกจิ วัตร ๓. มีวินยั ในการสื่อสาร
ประจาวนั พนื้ ฐาน กจิ วตั ร ประจาวนั ได้ ๔. ใฝ่เรยี นรู้ ๒.ความสามารถ
ประจาวนั ๕. อยอู่ ย่าง ในการคิด
พืน้ ฐานของ พอเพียง ๓.ความสามารถ
ตนเอง ๖. มุ่งมนั่ ในการ ในการแก้ปัญหา
ทางาน ๔.ความสามารถ
๘. มจี ติ สาธารณะ ในการใช้ทักษะ
ชวี ิต
๕.ความสามารถ
ในการใช้
เทคโนโลยี

มาตรฐานที่ ๑.๓ เข้าใจ รับรู้ อารมณ์ของตนเอง ผ้อู ื่นและมีการจดั การได้อย่างเหมาะสม

วชิ า ดป ๑๑๐๖ สุขภาพจติ และนนั ทนาการ ๑

ตวั ชว้ี ดั ความรู้ กระบวนการ คุณลกั ษณะ สมรรถนะสาคญั กจิ กรรม
K P ทพ่ี ึงประสงค์ ของผเู้ รยี น พัฒนา
C ผเู้ รยี น
A -กจิ กรรม
๑.ความสามารถ เสริม
ดป ๓.๑/๑ - บอก - มีการ ๒. ซอ่ื สัตย์ สจุ ริต ในการสอ่ื สาร วิชาการ
๒.ความสามารถ
เขา้ ใจอารมณ์และ อารมณ์และ แสดงออกทาง ๔. ใฝเ่ รียนรู้ ในการคดิ
๓.ความสามารถ
รบั รูค้ วามรู้สกึ ของ ความ อารมณ์ตรงตาม ๖. มุ่งมัน่ ในการ ในการแกป้ ัญหา
๔.ความสามารถ
ตนเองและผู้อ่ืน แตกตา่ ง สถานการณ์ ทางาน ในการใช้ทักษะ
ชีวติ
ของอารมณ์ - สงั เกต ๕.ความสามารถ
ในการใช้
ของตนเอง สถานการณ์และ เทคโนโลยี

- บอก ปฏบิ ตั ติ นตาม

อารมณ์และ สถานการณ์ท่ี

ความ เหมาะสม

แตกต่าง

ของอารมณ์

ของผู้อนื่

กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ่ี ๒ การเรียนรูแ้ ละความรู้พ้นื ฐาน
มาตรฐานท่ี ๒.๑ มคี วามรเู้ กี่ยวกับวิธกี ารส่ือสารการอา่ น การเขยี น สามารถใช้กระบวนการส่อื สารในรูปแบบ

ตา่ ง ๆ ท้งั การรับข้อมลู การสง่ ข้อมลู เพื่อเรยี นรู้ ปฏบิ ัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ในการดารงชีวิต การ
อยรู่ ว่ มกันในสงั คมได้ ใชก้ ระบวนการอา่ น การเขยี นในรปู แบบต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวันและ
แสวงหาความรู้
วชิ า รพ ๑๑๐๑ การสื่อสารและภาษาในชวี ิตประจาวัน ๑

ตวั ชว้ี ดั ความรู้ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ สมรรถนะสาคญั กจิ กรรม
KP ทพี่ งึ ประสงค์ ของผเู้ รยี น พัฒนา
รพ ๑.๑/๑ C ผเู้ รยี น
การใช้ประสาท ๑. วิธกี ารใช้ กระบวนการรับ A
สัมผัสตา่ ง ๆ ใน ประสาท สาร ใฝ่เรียนรู้ ความสามารถใน -กจิ กรรม
การรบั รเู้ สียง การ สัมผัสต่าง การดู การฟงั การสื่อสาร เสรมิ
แสดงพฤตกิ รรม ๆ การสัมผัส การ
ของบุคคล ในการรับรู้ ชิมรส การดม วชิ าการ
สิ่งแวดลอ้ มตาม - ทาง กล่นิ
ธรรมชาตแิ ละ สายตา การใชว้ ธิ ีการ
ตอบสนองตอ่ สง่ิ (การสบตา) ทางเลือก
เหล่านนั้ ได้ - การไดย้ ิน การสรา้ ง
- การออก ความคดิ
เสียงพดู รวบยอด
- การสมั ผัส กระบวนการส่ง
- การแสดง สาร
ท่าทาง - สีหนา้ ภาษา

ท่าทาง

มาตรฐานท่ี ๒. ๒ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับความหลากหลายของการแสดงจานวน ๑ - ๑๐ ระบบจานวน
ทางคณิตศาสตร์ ผลทเ่ี กดิ ขึน้ จากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนนิ การ สัญลักษณท์ าง
คณิตศาสตร์ จานวนนบั เศษสว่ น จานวนคละ ทศนยิ ม รอ้ ยละ ขนาด ระยะทาง ความสงู
นา้ หนัก ปรมิ าตร ความยาว เวลา การหาพืน้ ท่คี วามยาวรอบรปู การจาแนกรูปทรง ชนิดของ
รูปทรงเรขาคณติ คุณสมบัติของรูปทรง การจาแนกรูปทรง ชนิดของรปู ทรงเรขาคณิต
คุณสมบตั ิของรปู ทรง และนาความรเู้ ก่ยี วกบั จานวน การดาเนนิ การ การวัด เรขาคณติ ไปใช้
แก้ปัญหา การใหเ้ หตผุ ล การสื่อสาร การสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ สามารถเชือ่ มโยง
คณติ ศาสตร์กบั ศาสตร์อืน่ ๆ ได้ตามศักยภาพ

วชิ า รพ ๑๑๐๕ คณิตศาสตร์ ๑ (จานวนและการดาเนินการทางคณิตศาสตร)์

ตวั ชว้ี ดั ความรู้ กระบวนการ คุณลกั ษณะ สมรรถนะสาคญั กิจกรรม
K P ท่ีพงึ ประสงค์ ของผเู้ รยี น พฒั นา
รพ ๒.๑.๑/๑ C ผเู้ รยี น
นบั จานวน ๑-๑๐ -สัญลักษณ์ - การนบั จานวน A
ดว้ ยวิธกี ารหรือ ตวั เลขไทย ๑ - ๑๐ (โดยนบั ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๑.ความสามารถ -กจิ กรรม
รูปแบบที่ ตวั เลขฮินดู ตามรปู ภาพ ๒. มงุ่ ม่นั ในการ ในการสอ่ื สาร เสริม
หลากหลาย อารบิก หรือสิง่ ของ)
๑ - ๑๐ ทางาน วชิ าการ
๓. รักความเปน็
ไทย

มาตรฐานที่ ๒.๖ เขา้ ใจเทคโนโลยแี ละกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรา้ งสิ่งของเครอื่ งใชห้ รือวธิ กี าร
ตามกระบวนการเทคโนโลยอี ย่างมีความสรา้ งสรรค์ เลือกใช้เทคโนโลยใี นทางสรา้ งสรรค์ต่อ
ชวี ติ สังคม สิง่ แวดลอ้ มและมีสว่ นรว่ มในการจัดการในเทคโนโลยที ่ีย่ังยืน

วชิ า รพ ๑๑๑๔ เทคโนโลยใี นชีวิตประจาวัน ๑

ตวั ชวี้ ดั ความรู้ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ สมรรถนะสาคญั กิจกรรม
KP ทพี่ งึ ประสงค์ ของผเู้ รยี น พฒั นา
รพ ๖.๑/๑ C ผเู้ รยี น
รู้จกั อปุ กรณ์ - อุปกรณ์ - กระบวนการ A
เทคโนโลยใี น เทคโนโลยีใน สอ่ื สาร ใฝเ่ รียนรู้ ๑.ความสามารถ -กจิ กรรม
ชีวติ ประจาวัน ชวี ติ ประจาวนั - กระบวนการ มงุ่ ม่นั ในการ ในการสือ่ สาร เสรมิ
โดยการบอก ช้ี - ชื่อและ คิด ทางาน ความสามารถใน วชิ าการ
หยบิ หรอื รูปแบบ หนา้ ทข่ี อง - กระบวนการ การคิด
การสื่อสารอน่ื อปุ กรณ์ จาแนกประเภท ความสามารถ
เทคโนโลยี - กระบวนการ ในการแกป้ ญั หา
สารสนเทศ ปฏบิ ัติ ๔. ความสามารถ
- การจาแนก - กระบวนการ ในการใช้
อุปกรณ์ สร้างความ เทคโนโลยี
เทคโนโลยีใน ตระหนกั และ
ชวี ติ ประจาวนั สรา้ งเจตคติ
- การดูแล กระบวนการ
รักษาอปุ กรณ์ แก้ปญั หา
เทคโนโลยี - กระบวนการ
สารสนเทศ เรยี นรู้แบบองค์

รวม

กลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ่ี ๓ สงั คมและการเป็นพลเมืองท่เี ข้มแข็ง
มาตรฐานท่ี ๓.๑ ปฏบิ ตั ิตามบทบาทหนา้ ท่ีทมี่ ีต่อตนเอง ครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และสังคม รวมถงึ การ

รักษา สทิ ธขิ องตนเอง และแสดงออกถึงการเคารพสทิ ธิของบคุ คลอืน่
วชิ า สพ ๑๑๐๑ หนา้ ท่ีพลเมอื ง สิทธิ และการแสดงออกตามบทบาทหน้าที่ ๑

ตวั ชวี้ ดั ความรู้ กระบวนการ คณุ ลกั ษณะ สมรรถนะสาคญั กิจกรรม
K P ทพ่ี งึ ประสงค์ ของผเู้ รยี น พฒั นา
C ผเู้ รยี น
สพ ๑.๑/๑ - บทบาทและ - กระบวนการ A
การปฏบิ ตั ิ ๑. มีวนิ ัย ๑.ความสามารถ -
รู้และเข้าใจ หน้าที่ หน้าท่ขี อง ๒. ใฝ่เรียนรู้ ในการสอ่ื สาร กจิ กรรม
การเป็นลกู ๓. มงุ่ มัน่ ในการ
บทบาทหนา้ ที่ของ ของสมาชิกใน ทางาน ๒.ความสามารถ เสริม
- กระบวนการ ๔.รักความเป็น ในทกั ษะชีวติ วิชาการ
ตนเองในการเปน็ ครอบครัว ของการปฏิบตั ิ ไทย
หนา้ ทต่ี าม ๑.ความสามารถ กจิ กรรม
สมาชกิ ทด่ี ีของ - การปฏิบัติ กฎเกณฑใ์ นการ ๑. มวี ินยั ในการส่ือสาร เสรมิ
เป็นสมาชกิ ทด่ี ี ๒. ใฝเ่ รียนรู้
ครอบครวั ตนเป็น ของครอบครวั ๓. มงุ่ มน่ั ในการ ๒.ความสามารถ วชิ าการ
ทางาน ในทกั ษะชวี ติ
สมาชิกทีด่ ีของ ๔. รกั ความเปน็
ไทย
ครอบครัว

สพ ๑.๑/๓ - ปฏิบตั ิตาม

ร้บู ทบาทหน้าท่ี กฎกติกา

ของตนเองในการ ของการเป็น

เป็นสมาชกิ ท่ดี ี สมาชิกที่

ของโรงเรยี น ดขี อง

ครอบครวั

มาตรฐานที่ ๓.๓ มคี วามรู้ความเข้าใจเกีย่ วกบั วัฒนธรรม ประเพณี และศาสนา สามารถปฏิบัติตนเพ่อื ธารง
รกั ษาประเพณี วัฒนธรรม และเป็นศาสนกิ ชนทีด่ ี ในการอยรู่ ว่ มกนั ในสังคม

วชิ า สพ ๑๑๐๖ วฒั นธรรมประเพณี ๑

ตวั ชว้ี ดั ความรู้ กระบวนการ คุณลกั ษณะ สมรรถนะสาคญั กจิ กรรม
K P ทพี่ ึงประสงค์ ของผเู้ รยี น พัฒนา
สพ ๓.๑/๑ C ผเู้ รยี น
รูข้ นบธรรมเนียม - บอกชอ่ื - เขา้ ร่วม A -กิจกรรม
ประเพณขี อง ประเพณี ประเพณไี ทย ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๑.ความสามารถ เสริม
ทอ้ งถิน่ และ ไทย ๒. มุง่ มนั่ ในการ ใน การสื่อสาร วชิ าการ
ประเทศไทย ทางาน ๒.ความสามารถ
๓. มีจติ สาธารณะ ใน ทักษะชีวิต

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ที่ ๔ การงานพ้นื ฐานอาชีพ
มาตรฐานที่ ๔.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ียวกับการทางานในบา้ น และมที ักษะกระบวนการในการทางานบา้ น

เพ่ือตนเองและครอบครวั
วชิ า กอ ๑๑๐๑ การทางานบ้าน ๑

ตวั ชวี้ ดั ความรู้ กระบวนการ คณุ ลักษณะ สมรรถนะสาคญั กจิ กรรม
K P ทพ่ี งึ ประสงค์ ของผเู้ รยี น พฒั นา
กอ ๑.๑/๑ C ผเู้ รยี น
ดแู ลเสอื้ ผา้ และ ๑. เส้อื ผา้ ๑. กระบวนการ A
เครอ่ื งแต่งกาย และเคร่ือง สงั เกต ๑. มวี ินยั ๑. ความสามารถ -กิจกรรม
ของตนเองหรือ แต่งกาย ๒. กระบวนการ ๒. มุ่งมน่ั ในการ ในการแกป้ ัญหา เสรมิ
สมาชิกใน ของตนเอง ทางาน ทางาน ๒. ความสามารถ วิชาการ
ครอบครัว จน ๒. หลัก ๓. กระบวนการ ในการใชท้ ักษะ
เป็นสุขนสิ ัย และวธิ กี าร ปฏิบตั ิ ชีวติ
ดแู ล เกบ็
รกั ษา
เสือ้ ผา้ และ
เคร่อื งแตง่
กายของ
ตนเอง
๓. ฝึก
ปฏิบตั ิใน
การดแู ล
เส้ือผ้าและ
เครอื่ งแตง่
กายของ
ตนเอง

มาตรฐานที่ ๔.๒ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกบั อาชพี ในชมุ ชน มีทกั ษะในการประกอบอาชีพและสามารถ
ประกอบอาชีพทีถ่ นดั และสนใจซง่ึ มีหลากหลายในชมุ ชนของตนเอง

วชิ า กอ ๑๑๐๓ การประกอบอาชพี ทห่ี ลากหลายในชมุ ชน

ตวั ชวี้ ดั ความรู้ กระบวนการ คณุ ลักษณะ สมรรถนะสาคญั กิจกรรม
KP ที่พึงประสงค์ ของผเู้ รยี น พฒั นา
กอ ๒.๑/๑ C ผเู้ รยี น
บอกอาชพี ต่าง ๆ ๑. อาชพี ของ ๑. กระบวนการ A
ของครอบครวั สมาชกิ ใน สงั เกต ๑. ใฝ่เรยี นรู้ ๑. ความสามารถ -กจิ กรรม
และในชมุ ชนได้ ครอบครัว ๒. กระบวนการ ๒ มุ่งมั่นในการ ในการสือ่ สาร เสรมิ
อย่างถูกต้อง ทางาน ๒. ความสามารถ วชิ าการ
ปฏิบตั ิ ในการคดิ
๓. ความสามารถ
ในการแก้ปัญหา

ลงชื่อ............................................ครผู สู้ อน ลงชอ่ื .......................................ผรู้ ับรอง
(นางสาวกนกวรรณ ตันดี) (นางสาวจฑุ ามาศ เครอื สาร)
ตาแหน่งพนักงานราชการ รองผ้อู านวยการ

ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษประจาจงั หวัดลาปาง

แบบบนั ทกึ การวเิ คราะหง์ าน

วชิ า ดป ๑๑๐๑ สุขอนามัยและความปลอดภยั ในชวี ิต ๑
จดุ ประสงค์ ภายใน ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕รแู้ ละเขา้ ใจการดูแลสขุ อนามัยและกิจวตั รประจาวนั
พื้นฐาน
งาน (Task) รู้และเข้าใจการดแู ลสุขอนามัยและกิจวัตรประจาวนั พื้นฐาน
ชอ่ื นกั เรยี น เด็กหญิงวรางคณา วงคแ์ ก้วมลู

ลาดับ รายละเอยี ด ผลการประเมนิ Forward Backward วัน เดอื น
ท่ี ได้ ไม่ได้ Chaining Chaining
ปี

๑. รบั รวู้ ิธีการทาความสะอาด

รา่ งกาย

๒. รบั รวู้ ิธกี ารดแู ลตนเองเมื่อ

เจบ็ ปว่ ยได้

๓. รบั ร้กู ารปฎิบัตกิ จิ วัตร

ประจาวนั ท่ีบา้ น

๔. ช/ี้ บอกวิธีการทาความ  ก.ย. ๖๔
 ธ.ค. ๖๔
สะอาดรา่ งกาย  ม.ี ค. ๖๕

๕. ชี้/บอกวธิ ีการดแู ล

ตนเองเม่อื เจบ็ ป่วย

๖. ชี/้ บอกการปฏิบตั ิกจิ วัตร

ประจาวันทบี่ ้าน

ลงชื่อ............................................ ผู้บันทึก
(นางสาวกนกวรรณ ตันดี)

กลุ่มบรหิ ารงานวชิ าการ ศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษประจาจงั หวัดลาปาง ปรับปรงุ ครงั้ ที่ ๒ วนั ที่ ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

วชิ า ดป ๑๑๐๖ สุขภาพจติ และนนั ทนาการ ๑
จุดประสงค์ ภายใน ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ เข้าใจอารมณแ์ ละรบั รคู้ วามรู้สึกของตนเองและผู้อืน่
งาน (Task) เข้าใจอารมณแ์ ละรับร้คู วามรสู้ ึกของตนเองและผอู้ ่นื ได้
ชื่อนักเรยี น เดก็ หญงิ วรางคณา วงคแ์ กว้ มูล

ลาดับ รายละเอียด ผลการประเมนิ Forward Backward วัน เดอื น
ท่ี ได้ ไมไ่ ด้ Chaining Chaining ปี

๑ ช้ี/บอกอารมณโ์ กรธ   ก.ย.๖๔
 ธ.ค. ๖๔
๒ ช/้ี บอกอารมณ์ ดีใจ   มี.ค. ๖๕

๓ ชี้/บอกอารมณ์ เสยี ใจ 

ลงชอื่ ............................................ ผบู้ นั ทึก
(นางสาวกนกวรรณ ตนั ดี)

กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ศูนยก์ ารศึกษาพเิ ศษประจาจังหวดั ลาปาง ปรับปรงุ ครง้ั ท่ี ๒ วนั ท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๖๓

วิชา รพ ๑๑๐๑ รายวชิ าการสือ่ สารและ ภาษาในชวี ติ ประจาวนั ๑
จดุ ประสงค์ ภายใน ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕ ร้กู ารใช้ประสาทสัมผสั ตา่ ง ๆ ในการรับรู้เสียง การแสดง

พฤติกรรมของบคุ คล ส่งิ แวดล้อมตามธรรมชาติและตอบสนองต่อสงิ่ เหลา่ นั้นได้

งาน (Task) ตอบสนองตอ่ เสยี งเรยี กไดถ้ ูกต้อง
ชอ่ื นกั เรยี น เด็กหญงิ วรางคณา วงคแ์ ก้วมูล

ลาดับ รายละเอียด ผลการประเมิน Forward Backward วนั เดือน
ท่ี ได้ ไมไ่ ด้ Chaining Chaining
ปี
 
๑. ช้/ี บอกวธิ ีการใชป้ ระสาท ก.ย. ๖๔

สมั ผสั ต่าง

๒. หนั หาเสยี งเรียก  ธ.ค. ๖๔
 ม.ี ค. ๖๕
๓. ย้ิมตอบเม่ือมีคนพูดดว้ ย

ลงชื่อ............................................ ผบู้ นั ทกึ
(นางสาวกนกวรรณ ตันดี)

กลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษประจาจังหวัดลาปาง ปรบั ปรุงครงั้ ท่ี ๒ วนั ที่ ๒๑ สิงหาคม ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version