The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kunnua Kandalf, 2023-02-13 03:30:37

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค ประจ าปีงบประมาณ พุทธศักราช ๒๕๖๓ รวบรวมข้อมูลโดย กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ข องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค ที่ปรึกษา นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก นายแพทย์ปราโมทย์ เสถียรรัตน์ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก นายแพทย์สรรพงศ์ ฤทธิรักษา รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก บรรณาธิการ นันทศักดิ์ โชติชนะเดชาวงศ์ ศราวุฒิ จันดี รวบรวมและเรียบเรียงโดย ชนากานต์ สุดประโคน ปัทมา สิงบริคัณ ศุภรดา มณฑาทิพย์ ศิริขวัญ ชาวจีน เมฑาวุธ ธนพัฒน์ศิริ ธนดล มางาม กฤษณะ คตสุข สุวิมล สุมลตรี ศิริพร ประทีปอรุโณทัย กริชชัย ทองบ าเรอ อุษา ออมนะภา จิราภรณ์ ฮวดมัย จิรวัฒน์ คณาภิบาล หน่วยงานหลักร่วมจัดงาน กองวิชาการและแผนงาน ส านักงานบริหารกองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย สถาบันการแพทย์ไทย-จีน กองการแพทย์ทางเลือก จังหวัดเจ้าภาพในเขต ๑ - ๓ โดย ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดก าแพงเพชร จังหวัดเจ้าภาพในเขต ๔ - ๖ โดย ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี จังหวัดเจ้าภาพในเขต ๗ - ๑๐ โดย ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร สนับสนุนงบประมาณเครือข่ายส านักงานนายทะเบียนจังหวัด ๗๖ แห่ง ร่วมจัดงาน โดย... ส านักงานบริหารกองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย จัดพิมพ์โดย กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ ๐ ๒๑๔๙ ๕๖๐๘ โทรสาร ๐ ๒๕๙๑ ๑๐๙๕ http://ptmk.dtam.moph.go.th


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ค เวชศาสตร์ จากองค์กษัตรา สู่...ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า่ “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนไทย”


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ง ค าน า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ด าเนินงานโครงการมหกรรมการแพทย์แผนไทย ครั้งที่ ๑ มาตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ และมีความสอดคล้องตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข คือ เป็นองค์กรหลักด้าน สุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี และพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พุทธศักราช ๒๕๔๒ มาตรา ๑๒ ให้กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีอ านาจหน้าที่ด าเนินการต่าง ๆ เกี่ยวกับการคุ้มครองและส่งเสริมการศึกษาอบรม การศึกษาวิจัยและพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร การเสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพด้วยการน าภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือกมาใช้ในชีวิตประจ าวัน และเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพให้กับประชาชนในระดับชุมชน ซึ่งมุ่งเน้นให้เกิดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยของนายทะเบียนจังหวัด บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับภูมิภาค และเชื่อมโยงสู่การเผยแพร่ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยระดับชาติ ในงาน “มหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ” ซึ่งกรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์ทางเลือก และหน่วยงานภาคีเครือข่ายจัดขึ้นเป็นประจ าทุกปี การจัดงานตามโครงการดังกล่าวส าเร็จลุล่วง ไปด้วยดี โดยได้รับความร่วมมือจากจังหวัดเจ้าภาพการจัดงาน สถานบริการสุขภาพของรัฐในส่วนภูมิภาค องค์กรภาคี เครือข่ายทุกภาคส่วนทั้งภายใน และภายนอกกระทรวงสาธารณสุข และผู้บริหารทุกระดับ ตลอดจนหน่วยงานใน สังกัดกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ทั้งนี้ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยกองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และแพทย์พื้นบ้านไทย ได้ด าเนินการเก็บรวบรวมองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก การแพทย์ พื้นบ้านไทย และกิจกรรมที่จัดแสดงภายในงาน โดยน ามาจัดพิมพ์และมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ข้อมูล องค์ความรู้ ผลงาน นวัตกรรมเด่นทางด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และการแพทย์พื้นบ้านไทยของแต่ละภูมิภาค ที่มีทั้งความคล้าย และความต่าง สะท้อนให้เห็นถึงวิถีชีวิตของประชาชนในแต่ละภูมิภาค ในการดูแลและรักษา สุขภาพร่างกายให้แข็งแรง กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกด าเนินการจัดพิมพ์หนังสือรายงานบันทึกองค์ความรู้ ภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค เล่มนี้ หวังว่าจะเป็นแหล่งอ้างอิงข้อมูลทางวิชาการ รวมถึงเป็นแนวทางเพื่อการ ปฏิบัติงานเวชปฏิบัติของบุคลากรสายงานด้านสุขภาพ และหน่วยงานองค์กรภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง และจะเป็น ประโยชน์กับบุคคลทั่วไปหรือผู้สนใจได้ศึกษาเรียนรู้ เพื่อน าไปปรับประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน และร่วมสืบสาน รักษา มรดกภูมิปัญญาของบรรพบุรุษจากอดีตถึงปัจจุบัน และต่อยอดใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนสืบต่อไป นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข จ สารบัญ หน้า ค าน า ง สารบัญ จ บทสรุปผู้บริหาร ผลการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค ฌ ภาคเหนือ จังหวัดเจ้าภาพจัดงาน ก าแพงเพชร ๖ จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑ จังหวดล าพูน ๔5 จังหวัดเชียงราย ๕1 จังหวัดเชียงใหม่ ๖2 จังหวัดน่าน ๖8 จังหวัดพะเยา ๗5 จังหวัดแพร่ ๘7 จังหวัดแม่ฮ่องสอน ๙5 จังหวัดล าปาง ๑๐3 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๒ จังหวัดตาก ๑๐9 จังหวัดพิษณุโลก ๑๒9 จังหวัดเพชรบูรณ์ ๑๓3 จังหวัดสุโขทัย ๑๔4 จังหวัดอุตรดิตถ์ ๑๖4 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๓ จังหวัดชัยนาท ๑๗1 จังหวัดนครสวรรค์ ๑๘4 จังหวัดพิจิตร ๑๘7 จังหวัดอุทัยธานี ๒๐4


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ฉ สารบัญ (ต่อ) ภาคกลางและภาคตะวันออก จังหวัดเจ้าภาพจัดงาน จังหวัดสระบุรี ๒๑7 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๔ จังหวัดนครนายก ๒๓4 จังหวัดนนทบุรี ๒๓8 จังหวัดปทุมธานี ๒๔6 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๒๔9 จังหวัดลพบุรี ๒60 จังหวัดสิงห์บุรี ๒70 จังหวัดอ่างทอง ๒๗8 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๕ จังหวัดกาญจนบุรี ๒๘6 จังหวัดนครปฐม ๓๐1 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๓๐8 จังหวัดเพชรบุรี ๓๑8 จังหวัดราชบุรี ๓๒4 จังหวัดสมุทรสงคราม ๓๒6 จังหวัดสมุทรสาคร ๓๓3 จังหวัดสุพรรณบุรี ๓๓9 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๖ จังหวัดจันทบุรี ๓๔3 จังหวัดฉะเชิงเทรา ๓๔9 จังหวัดชลบุรี ๓๕6 จังหวัดตราด ๓70 จังหวัดปราจีนบุรี ๓๘8 จังหวัดระยอง ๓๙2 จังหวัดสระแก้ว ๓๙8 จังหวัดสมุทรปราการ ๔๐1


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ช สารบัญ (ต่อ) ตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดเจ้าภาพจัดงาน จังหวัดมุกดาหาร ๔๑3 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๗ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๔๒5 จังหวัดขอนแก่น ๔๓3 จังหวัดมหาสารคาม ๔๓6 จังหวัดร้อยเอ็ด ๔40 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๘ จังหวัดนครพนม ๔๔4 จังหวัดบึงกาฬ ๔50 จังหวัดเลย ๔๕7 จังหวัดสกลนคร ๔๖3 จังหวัดหนองคาย ๔๗2 จังหวัดหนองบัวล าภู ๔๗8 จังหวัดอุดรธานี ๔๘2 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๙ จังหวัดชัยภูมิ ๔๘8 จังหวัดนครราชสีมา ๔๙1 จังหวัดบุรีรัมย์ ๔๙6 จังหวัดสุรินทร์ ๕๐6 จังหวัดในเขตสุขภาพที่ ๑๐ จังหวัดยโสธร ๕๑3 จังหวัดศรีสะเกษ ๕๑9 จังหวัดอ านาจเจริญ ๕๒3 จังหวัดอุบลราชธานี ๕๓4 ภาคผนวก โครงการมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค ประจ าปีงบประมาณพุทธศักราช ๒๕๖๓


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ซ บทสรุปผู้บริหาร ผลการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค หลักการและความส าคัญของโครงการ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โดยกองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย และแพทย์พื้นบ้านไทย ได้ตระหนักถึงความส าคัญของการส่งเสริม ป้องกันโรค ให้ประชาชนใส่ใจต่อการดูแลสุขภาพ จึงได้จัดท า “โครงการมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค” ประจ าปีงบประมาณ พุทธศักราช ๒๕๖๓ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย เสริมสร้างกลไกความร่วมมือในระดับภาค และระดับพื้นที่ ตลอดจน ส่งเสริม สนับสนุนศักยภาพของนายทะเบียนจังหวัด ๗๖ แห่ง เครือข่ายบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย หน่วยงานภาคีที่เกี่ยวข้องและประชาชนให้มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์คุ้มครอง ส่งเสริม และพัฒนาการใช้ประโยชน์จาก ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ในระบบสุขภาพ ตลอดจนมีการประสานความร่วมมือในด้านการแพทย์ แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพในระยะยาว วัตถุประสงค์ ๑. ส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสุขภาพดี ด้วยการบูรณาการองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร พร้อมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคในระบบสุขภาพ ๒. บูรณาการการด าเนินงานด้านส่งเสริม ป้องกันโรค และความรอบรู้ด้านสุขภาพระหว่างหน่วยงานภาคี เครือข่ายทุกระดับ ทั้งภาครัฐ เอกชน ให้เกิดความเข้มแข็ง และประชาสัมพันธ์ต่อสังคมให้เกิดการสร้างกระแส ความตื่นตัวต่อการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก และการใช้สมุนไพรจากท้องถิ่น งบประมาณจากกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โครงการมหกรรมการแพทย์แผนไทย และการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค จ านวนเงินทั้งสิ้น ๘,๕๐๐,๐๐๐ บาท (แปดล้านห้าแสนบาทถ้วน) ***หมายเหตุ : เนื่องด้วยประเทศไทย เป็นหนึ่งในประเทศที่เผชิญกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส านักงบประมาณ กระทรวงการคลัง โดยตอบสนองนโยบายของรัฐบาล จึงมีการตัดโอนงบประมาณที่ยังไม่ด าเนินงานคืนส่วนกลาง เพื่อใช้บรรเทาในการสาธารณภัยของประเทศ จ านวนเงิน ๒,๓๓๓,๕๒๒ บาท (สองล้านสามแสนสามหมื่นสามพันห้าร้อยยี่สิบสิงบาท) งบประมาณกองทุนภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย สนับสนุน จังหวัดละ ๗๐,๐๐๐ บาท (เจ็ดหมื่นบาทถ้วน)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ฌ การด าเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค จังหวัดเจ้าภาพจัดงานมหกรรมฯ โดยได้รับมอบหมายจากแต่ละภูมิภาค ๔ จังหวัด ประกอบด้วย จุดเด่นของการจัดงาน ๑. การจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า รัชกาลที่ ๓ “พระบิดาแห่งการแพทย์แผนไทย” ๒. การจัดนิทรรศการ “พระบรมครูชีวกโกมารภัจจ์” เชิดชูชีวประวัติท่านบรมครูแห่งการแพทย์แผนไทย ๓. การน าเอาผลงานทางศิลปะการแสดง การละเล่นวิถีชุมชน ประเพณีท้องถิ่น ดนตรีพื้นเมืองของแต่ละ ภูมิภาค รวมทั้งการเชิญผู้มีชื่อเสียงทางสังคม ดารา นักร้อง นักแสดงมาเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมให้มีส าคัญ สู่สายตาของผู้เข้าร่วมงานและนักท่องเที่ยว ๔. การเพิ่มกิจกรรมเล่มเกมส์ การตอบปัญหาเพื่อแลกรับของรางวัลมากมาย เป็นอีกส่วนส าคัญของการ ดึงดูดให้ประชาชนที่สนใจรวมทั้งนักท่องเที่ยวมาร่วมงานเป็นจ านวนมาก ภาคเหนือ เขตสุขภาพที่ ๓ “สืบสานภูมิปัญญา รักษามรดกสมุนไพรไทย” ระหว่างวันที่ ๒๔ - ๒๗ มกราคม ๒๕๖๓ ณ วัดพระบรมธาตุเจดียาราม อ าเภอเมือง จังหวัดก าแพงเพชร ภาคใต้ เขตสุขภาพที่ 12 “สืบสานภูมิปัญญา นคราสมุนไพร สานสายใยสู่อาเซียน” ระหว่างวันที่ ๑1 – ๑๔ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ สวนกรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขตสุขภาพที่ 9 “ฮักวิถีภูมิปัญญา อารยธรรมไทอีสาน” ระหว่างวันที่ ๒๐ - ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ ณ โรงแรมทองธารินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ภาคกลางและภาคตะวันออก เขตสุขภาพที่ ๔ “๒๔ ภูมิปัญญา ภูมิใจความเป็นไทย ก้าวไกลสู่สากล” ระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย(อสค.) อ าเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ภาคใต้ เขตสุขภาพที่ 1๑ โดย...ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต *** เนื่องด้วยสถานการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) จึงยกเลิกการจัดงาน ระดับภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขตสุขภาพที่ ๑๐ “เมืองมุก ๒๕๐ ปี วิถีภูมิปัญญา อารยธรรมลุ่มน้ าโขง เชื่อมโยงอาเซียน” ระหว่างวันที่ ๔ - ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ โรงแรมมุกดาหารแกรนด์โฮเทล อ าเภอเมือง จังหวัดมุกดาหาร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข การน าเสนอผลงานทางวิชาการ องค์ความรู้ ภูมิปัญญาที่ได้รับการพัฒนา ส่งเสริมและการต่อยอดผลงาน ญ ๑. ข้อมูลองค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือกอื่น และสมุนไพร ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค ที่น ามาใช้ประโยชน์ตามมาตรา ๑๒ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พุทธศักราช ๒๕๔๒ ซึ่งเกี่ยวกับการ คุ้มครองและส่งเสริมการศึกษาอบรม การศึกษาวิจัย และพัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร ทั้งนี้ กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย ได้สรุปผลการรวบรวม ตรวจสอบความถูกต้อง และวิเคราะห์ข้อมูลผลงานเด่น มีผลงานจากการน ามาจัดแสดงนิทรรศการ จ านวน ๓ ภาค รวมทั้งสิ้น ๑,๐๖๗ เรื่อง/รายการ แบ่งเป็น ๖ ประเภท โดยสรุป คือ ภูมิภาค ข้อมูลองค์ความรู้ภูมิปัญญาฯ ที่มีการบันทึกและการน ามาใช้ประโยชน์ รวม ภูมิภาค 1. หมอพื้นบ้าน ปราชญ์หรือผู้รู้ของ จังหวัด 2. ภูมิปัญญา การแพทย์ แผนไทย การแพทย์ พื้นบ้านไทยหรือองค์ ความรู้ 3. ผักพื้นบ้าน หรืออาหารพื้นเมือง 4. สมุนไพร (สด และแห้ง) 5. วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน และพิธีกรรม 6. นวัตกรรม สุขภาพ เหนือ ๑๘ ๘๘ ๕๒ ๒๓๓ ๔ ๔๒ ๔๓๗ กลางฯ ๗ ๕๔ ๒๒ ๒๐๒ ๑ ๓๘ ๓๒๔ ตะวันออกเฉียงเหนือ ๑๒ ๘๗ ๖ ๑๑๓ ๖ ๘๒ ๓๐๖ รวมทั้งสิ้น ๓๗ ๒๒๙ ๘๐ ๕๔๘ ๑๑ ๑๖๒ ๑,๐๖๗ โดยมีรายละเอียดการน าเสนอข้อมูล ดังนี้ ประเภทที่ ๑ : หมอพื้นบ้าน ปราชญ์หรือผู้รู้ของจังหวัด จ านวน ๓๗ ราย เช่น หมอพื้นบ้าน ผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้สมุนไพร, หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญการนวดเพื่อรักษา, หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้ สมุนไพรเพื่อรักษาผู้ป่วยโรคริดสีดวงทวาร, หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญการนวดเพื่อรักษาอาการปวดกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กษัยเส้น, หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญการรักษาโรคสตรี, ต ารับหมอยาเมืองพระรถ, ต ารับยาดมสมุนไพร, ต ารับยา ตะคริวเข้าท้อง, ต ารับยาริดสีดวงล าไส้และทวาร, ต ารับยาขมไก่ฯลฯ ประเภทที่ ๒ : ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทยหรือองค์ความรู้จ านวน ๒๒๙ เรื่อง/รายการ เช่น ต ารับยาเบญจกูล, ต ารับยาสมุนไพรลูกประคบ, น้ ามันไพล, น้ ายาบ้วนปากเลิกบุหรี่, ต าราเวช ศึกษา, น้ ามันกระดูกไก่ด า, ยาธาตุทรงเสวย, ยาต้มแก้ปวดกล้ามเนื้อ, ยาต้มแก้ภูมิแพ้, ยาต้มแก้ผิดลมผิดเดือน, ยาปรับธาตุล้านนา, จิงเจอร์ครีม, ต ารับยาเทพรังษิต, ต ารับยาวรรณรังสี, ต ารับโคลนบ าบัด, ยาพอกระวีระงับ, สเปรย์ยาแก้ตะโจพิการ, ต ารับสมุนไพรพอกหน้าดินภูเขาไฟ, ต ารับยาสมุนไพรอบตัว, ต ารับยาสมุฏฐานปิตตะ, ต ารับยาศุขไสยาศน์ฯลฯ ประเภทที่ ๓ : ผักพื้นบ้านหรืออาหารพื้นเมืองจ านวน ๘๐ เรื่อง/รายการ เช่น ม้าฮ่อ (มังกรคาบแก้ว), หมี่พันสูตรสมุนไพร, ย าสมุนไพร, น้ าตรีผลา, ข้าวตังออร์แกนิคหน้าธัญพืช, น้ าวาโยกัมปนาท ฯลฯ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ประเภทที่ ๔ : สมุนไพร (สด และแห้ง) จ านวน ๕๔๘ เรื่อง/รายการ เช่น เจตมูลเพลิง, ช้าพลู, ฎ สะค้าน, ขิง, ใบเตย, อัญชัน, ดอกดาวเรือง, แคขาว, สะระแหน่, โหระพา, โกฐพุงปลา, ดอกจันทน์, กานพลู, อบเชยเทศ, เทพธาโร, สมุลแว้ง, ไพล, ขมิ้นชัน, ทานาคา, ก าแพงเจ็ดชั้น, สมอไทย, ผักเสี้ยนผี, ฟ้าทะลายโจร, ข้าวเย็นเหนือ, ข้าวเย็นใต้, แก่นฝางแดง, หอมแดง, มะกรูด, หญ้าใต้ใบ, พลู, มะนาว, กะเพรา, รางจืด, ตะไคร้หอม, ว่านหางจระเข้, ทองพันชั่ง, กระวาน, กฤษณา, เปลือกอบเชย ฯลฯ ประเภทที่ ๕ : วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน และพิธีกรรม จ านวน ๑๑ เรื่อง/รายการ เช่น พิธีการไหว้ ครูแพทย์แผนไทย, พิธีวิเคราะห์สืบหาดวงชะตา (การดูดวง), พิธีแก้กรั้ว ศาสตร์และศิลป์ถิ่นภูมิปัญญาชนชาติพันธุ์ ขะแมร์, พิธีเสี่ยงทายของชาวญัชกุร ฯลฯ ประเภทที่ ๖ : นวัตกรรมสุขภาพ จ านวน ๑๖๒ เรื่อง/รายการ เช่น งูงับขยับนิ้ว, ตู้สุมยาสมุนไพร เคลื่อนที่, นวัตกรรมแก้วไอน้ าสมุนไพร, นวัตกรรมแผ่นแปะเข่าสมุนไพร, นวัตกรรมพอกตาด้วยยาเย็น, นวัตกรรม Inhalation Chamber, นวัตกรรมสุขภาพรอกไม้ไผ่, นวัตกรรมสุขภาพกระดานพาเพลิน, นวัตกรรมเครื่องแช่เท้า สมุนไพรไฮเทค, นวัตกรรมลูกประคบสมุนไพรแบบไอน้ าร้อนต่อเนื่อง, พลาสเตอร์ยางมะละกอก าจัดหูด, Herb Ball สมุนไพรแช่เท้า, นวัตกรรมหม้อสุมยาลาหวัด, นวัตกรรมสปาสุ่มไก่, ปานะ...ยาเพื่อชีวิตที่มีความสุข นวัตกรรมเพื่อความสุขของชีวิต, นวัตกรรมข้อคลาย หายปวด, นวัตกรรมรมกระจูด ช่วยระบบทางเดินหายใจ, นวัตกรรมเหยียบอิฐ แก้รองช้ า, แผ่นแปะสมุนไพรผักเสี้ยนผี, นวัตกรรมเผยแพร่สมุนไพรไทย ด้วยท่อ PVC คล้อง พวงกุญแจ, นวัตกรรมการบริหารสร้างรูปแบบการบริหารด้วยระบบ Line@UPA8373Q (TTM SKH), นวัตกรรม ผ้าก๊อซขมิ้นชัน ฯลฯ หมายเหตุ : ผลการรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์ แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๒. การน าเสนอผลงาน/การเผยแพร่ผ่านเวทีวิชาการ มากกว่า ๔๗ เรื่อง เช่น เรื่อง ประสิทธิผลของการอบไอ น้ าสมุนไพรที่มีผลต่ออาการถอนนิโคตินในกลุ่มผู้บ าบัดการเลิกบุหรี่ โดย โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ จังหวัดเชียงราย, เรื่อง การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับพิษพาราควอตด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยร่วมกับการแพทย์แผน ปัจจุบัน โดย โรงพยาบาลแม่ระมาด จังหวัดตาก, เรื่อง การศึกษาผลของการใช้ยาพอกเข่าสมุนไพรในผู้ป่วยที่มี อาการปวดเข่าในโรงพยาบาลสบปราบ โดย โรงพยาบาลสลปราบ จังหวัดล าปาง, เรื่อง ยาแก้ไอลานสักเพื่อผู้ป่วย เพื่อโรงพยาบาล โดย โรงพยาบาลลานสัก จังหวัดอุทัยธานี, เรื่อง การพัฒนาเจลยาตั้งจากภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน ลดการปวดในโรคออฟฟิศซินโดรม ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ โดย นางสาวกานต์ญาดา นาชัยเพชร และคณะ, เรื่อง ชุดกะลาลูกประคบและลูกประคบจิ๋ว ภูมิปัญญาไทยลดอาการชา ในผู้ป่วยเบาหวาน เครือข่าย สุขภาพโรงพยาบาลภูเวียง โรงพยาบาลภูเวียง จังหวัดขอนแก่น โดย นางสาววิภารัตน์ ลี้ชัยกิจเจริญ, นางสาวนัฎธภรณ์ มีพร และคณะ ฯลฯ ๓. การจัดแสดงผลงานของโรงพยาบาลการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน /คลินิกการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก โดยให้บริการด้านสุขภาพแก่ผู้เข้าร่วมงาน ด้วยการตรวจ การวินิจฉัยโรค การรักษา การจ่ายยา สมุนไพรด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือกอื่น เช่น การแพทย์แผนจีน, การรักษาแบบทางเลือก การแพทย์โฮมิโอพาธีย์ รวมทั้งให้ค าแนะน าการดูแลสุขภาพ และการให้บริการคลินิกเฉพาะความเชี่ยวชาญโรคจาก บุคลากรด้านสาธารณสุขในระดับภูมิภาค เช่น การตรวจจับชีพจรเพื่อวินิจฉัยโรค การดูเมื่อ (ตรวจวิเคราะห์ตาม จักราศี), การย่ าขาง, การเหยียบเล็กแดง, การนวดตอกเส้น, การนวดจับเส้น, , การพอกเข่า (ตามสูตร/ต ารับของ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ฏ โรงพยาบาล) ลดอาการปวด, การฝังเข็มเพื่อการรักษาโรค ฯลฯ โดยมีจ านวนผู้มารับบริการ ๓ ภูมิภาค รวมจ านวน ๑,๑๔๒ ราย แบ่งตามภูมิภาค ดังนี้ ๓.๑ ภาคเหนือ มีประชาชนมารับบริการ จ านวน ๒๘๕ ราย ๓.๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก มีประชาชนมารับบริการ จ านวน ๕๓๒ ราย ๓.๓ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีประชาชนมารับบริการ จ านวน ๓๒๕ ราย ๔. การจัดแสดงผลงานของเครือข่ายหน่วยงานภายนอกกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งมีผู้ผลิต ผู้จ าหน่าย ภาคเอกชนที่ได้รับมาตรฐาน ผู้ประกอบการแปรรูปสมุนไพร อาหารเพื่อสุขภาพ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเข้าร่วมจัด แสดงและจ าหน่ายสินค้า การให้บริการอาหารปรุงสุก สะอาด ปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพ การจ าหน่ายเวชส าอางจาก ธรรมชาติ และยาจากสมุนไพร จ านวนมากกว่า ๑๖๘ หน่วยงาน/บูธ มีรายได้จากการออกร้านร่วมกัน ตลอดระยะเวลา การจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทยฯ รวมมูลค่ามากกว่า ๒,๓๕๓,๓๓๘.- บาท จ าแนกเป็นภูมิภาค ดังนี้ ๔.๑ ภาคเหนือ มีรายได้จากการจ าหน่ายมากกว่าจ านวน ๕๐๐,๐๐๐.- บาท ๔.๒ ภาคกลางและภาคตะวันออกมีรายได้จากการจ าหน่ายมากกว่าจ านวน ๓๕๓,๓๓๘.- บาท ๔.๓ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีรายได้จากการจ าหน่ายมากกว่าจ านวน ๑,๕๐๐,๐๐๐.- บาท ๕. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมการจัดงานฯ บุคลากรจากกลุ่มหน่วยงานภาครัฐ และภาคเอกชน ประกอบด้วย ผู้บริหาร บุคลากรส่วนกลางกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, ผู้บริหาร บุคลากรด้านสาธารณสุขจากเครือข่ายส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ๓ ภาค, และประชาชนผู้สนใจทั่วไป มากกว่า จ านวน ๖๘,๖๔๒ คน จ าแนกเป็นภูมิภาค ดังนี้ ๕.๑ ภาคเหนือ มีผู้เข้าร่วมงานฯ มากกว่าจ านวน ๑๕,๐๐๐ คน ๕.๒ ภาคกลางและภาคตะวันออกมีผู้เข้าร่วมงานฯ มากกว่าจ านวน ๒๖,๖๔๒ คน ๕.๓ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีผู้เข้าร่วมงานฯ มากกว่าจ านวน ๒๗,๐๐๐ คน ความส าเร็จของโครงการมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค ๑. เจ้าหน้าที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ประชาชนทั่วไปมีโอกาสได้เข้าร่วมงานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ด้วยการบูรณาการ องค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือกอื่น พร้อมทั้งได้รับการส่งเสริมการ ดูแลสุขภาพ การป้องกันโรค และสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพ ๒. สัมคม ประชาชนทั่วไป มีความตื่นตัวต่อการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย การแพทย์ พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือกอื่น และสมุนไพรที่มีความส าคัญในการดูแลสุขภาพด้วยตนเองและการดูแลคน รอบข้างได้โดยพึ่งตนเองก่อน ๓. ปูชนียบุคคล หมอพื้น้บาน ปราชญ์ผู้รู้แขนงต่าง ๆ ได้รับการเชิดชู ยกย่องเกียรติยศที่ท าคุณประโยชน์ต่อ สังคม และได้สร้างความสัมพันธ์ของสังคมให้เกิดพลังที่ส าคัญในการร่วมกันพัฒนาองค์ความรู้ ให้สู่ประชาชนมาก และเกิดกระบวนการพึ่งพิง ดูแลซึ่งกันแลกันในสังคม ๔. เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการศึกษา วิจัย การพัฒนา และการต่อยอดจาก องค์ความรู้เดิมด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือกอื่น และสมุนไพรไทยให้มี ความก้าวหน้า รวมทั้งได้รับการเผยแพร่ให้เป็นที่รับรู้ รับทราบได้อย่างกว้าง และน าไปสู่กระบวนการปรับใช้ใน ระบบการให้บริการสุขภาพของหน่วยงานได้เพิ่มขึ้น และสามารถประยุกต์การท างานร่วมกับสหวิชาชีพเพื่อการ ดูแลผู้ป่วยได้มากขึ้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาค กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ข้อเสนอแนะในการพัฒนาการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ครั้งต่อไป ฐ ๑. การจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๓ ระดับภาค (ประจ าปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔) ไม่จ าเป็นต้อง จัดงานในช่วงก่อนงานมหกรรมสมุนไพรแห่งชาติ โดยให้จังหวัดเจ้าภาพ พิจารณาความเหมาะสมของกลุ่มประชากรเข้าร่วมงาน โดยเห็นควรว่า จะต้องไปจัดงานร่วมกับ - งานกาชาด ประจ าปีของจังหวัด - งานวัฒนธรรม ประเพณี หรืองานเทศกาลที่ส าคัญของจังหวัด - งานที่สามารถจัดร่วมกับหน่วยงานอื่น โดยที่เราไปจัดร่วมกับงานนั้น ๆ เป็นหลัก ๒. การเลือกสถานที่ของการจัดงาน ควรพิจารณาความเหมาะสม เช่น - การจัดงานภายในห้างสรรพสินค้า โดย อธด. ชอบ/ชื่นชม ก็คือ การจัดงาน ณ จังหวัดล าพูน - การจัดงานภายนอกห้างสรรพสินค้า ควรค านึงถึงจุดส าคัญที่ประชาชนจะสามารถเข้าถึงได้ง่าย เช่น บริเวณหน้าทางเข้าห้าง - การจัดงานภายในโรงแรม ควรเป็นตัวเลือกสุดท้าย แต่ถ้าหากมีความจ าเป็นขอให้มีการเชิญหน่วยงาน/ กลุ่มผู้เข้าร่วมงานให้ชัดเจน เช่น อสม., นักเรียน นักศึกษา, องค์กร สมาคม ชมรมต่าง ๆ เข้าร่วม ๓. การก าหนดช่วงเวลาของการจัดงาน เห็นควรให้พิจารณาบริบท หรือสถานการณ์ เช่น - จัดงานช่วงบ่าย ไปถึง...ช่วงเย็น (เนื่องจากประชาชนในพื้นที่ต้องปฏิบัติภารกิจประจ าช่วงกลางวัน) เช่น กรณีตัวอย่างการจัดงาน ณ จังหวัดนราธิวาส เมื่อปีงบ พ.ศ.๒๕๖๒ - ถ้าก าหนดให้มีการจัดงานช่วงเย็น ในช่วงกลางวันก็ควรมีการเพิ่มกิจกรรมให้คุ้มค่ากับงบประมาณ เช่น การประชุมวิชาการในโรงแรม, การจัดเวทีแลกเปลี่ยน แสดงของดี/ผลงานเด่นระดับเขต จังหวัดที่เคยท ามา เพื่อมาแลกเปลี่ยน เรียนรู้, ตลอดจนต ารับ/ต ารายาดีของแต่ละพื้นที่, ก าหนดการศึกษาดูงานด้านการแพทย์แผนไทยในพื้นที่ ๔. การจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยฯ ไม่ควรจัดงานในรูปแบบเดิม ขอให้พิจารณาเหตุการณ์ ความส าคัญ หรือสิ่งที่โดดเด่นของจังหวัดหรือพื้นที่เป็นส าคัญ โดยคิดค้นสิ่งแปลกใหม่ ดึงดูด น่าสนใจเป็นประเด็น ในการจัดงาน ๕. ข้อเสนอแนะและแนวทางการจัดงานฯ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ (ปีที่ ๑๓) - ปีงบ 64 ยังคงมีการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยฯ ปีที่ 13 จ านวน 4 ภาค แลกเปลี่ยน เรียนรู้ พัฒนางานแพทย์แผนไทย, แพทย์พื้นบ้าน, แพทย์ทางเลือกและสมุนไพร - ปีที่ 13 จัดงานช่วงเดือนมกราคม - มิถุนายน 2564 (ก าหนด 3 - 5 วัน ครอบคลุมวันเสาร์ - อาทิตย์) - สถานที่ใกล้ชุมชน : เข้าถึง เข้าง่าย ใจกลางชุมชน - น าเสนอ แสดงของดี/ของเด่น/ สอน-สาธิต ผลงานดัง/ต้นแบบ - รวมครูบาอาจารย์/ปราชญ์/หมอพื้นบ้าน/แพทย์แผนไทย/เครือข่าย - ผลงานวิชาการ/วิจัย/R2R - ประชาชน “เข้าใจ - เชื่อมั่น - ชอบ - ใช้” - มั่นคง อาชีพ รายได้ แก่...แพทย์แผนไทย, แพทย์พื้นบ้าน, แพทย์ทางเลือก และสมุนไพร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑ มหกรกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ระหว่างวันที่ ๒๔ – ๒๗ มกราคม ๒๕๖๓ ณ วัดพระบรมธาตุเจดียาราม พระอารามหลวง อ าเภอเมือง จังหวัดก าแพงเพชร ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร ....สืบสานภูมิปัญญา รักษามรดกสมุนไพรไทย...


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒ นักงานสาธารณสุขจังหวัดกลุ่มภาคเหนือ ประกอบด้วย เขตสุขภาพที่ ๑ - ๓ จ านวน ๑๘ จังหวัด โดยมีส านักงานสาธารณสุข จังหวัดก าแพงเพชร เป็นเจ้าภาพการจัดงานมหกรรมการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาคเหนือ ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณด าเนินงานจากกรมการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข โดยมี สรุปผลการด าเนินงานที่ผ่านมา ดังนี้ ๑. ก าหนดการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาคเหนือ ประจ าปีงบประมาณ พุทธศักราช ๒๕๖๓ โดยมีธีมการจัดงาน คือ “สืบสานภูมิปัญญา รักษามรดกสมุนไพรไทย” ซึ่งแสดงให้เห็นถึงวิถีการอนุรักษ์ สืบสาน และการต่อยอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาการดูแลสุขภาพจากบรรพบุรุษ สู่ชนรุ่นหลังในปัจจุบันได้อย่างมีคุณค่า ทั้งนี้ ได้รับเกียรติจากนายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ : อธิบดีกรมการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มาเป็นประธานในพิธีเปิดงาน, นายแพทย์ปริญญา นากปุญบุตร : นายแพทย์ สาธารณสุขจังหวัดก าแพงเพชร กล่าวรายงานวัตถุประสงค์ของการจัดงาน, นายเชาวลิตร แสงอุทัย : ผู้ว่าราชการ จังหวัดก าแพงเพชร กล่าวต้อนรับสู่จังหวัดก าแพงเพชรและบรรยากาศของการจัดงาน และได้เชิญชวนท่องเที่ยว ในพื้นที่จังหวัดภาคเหนือ รวมทั้ง มีผู้บริหารระดับสูงกระทรวงสาธารณสุข หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด ผู้บริหาร หัวหน้าส่วนราชการจากเครือข่ายจังหวัด ๑๘ จังหวัดภาคเหนือ และประชาชนทั่วไป ๒. นิทรรศการของเครือข่ายส านักงาน สาธารณสุขจังหวัด กลุ่มภาคเหนือ มีการน าเสนอ ผลงานทางวิชาการ องค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์ แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย และการ การแพทย์ทางเลือกอื่น การแสดงผลงานนวัตกรรม ที่ได้มีการคิดค้น พัฒนาเพื่อการดูแลสุขภาพ การจัดแสดงต ารับยาแผนไทย ต ารับยาหมอ พื้นบ้านไทย การจัดแสดงอาหารเพื่อสุขภาพ การ จัดแสดงผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร เวชส าอางชนิด ต่าง ๆ ที่ได้มีการผลิตมาตรฐานโรงพยาบาล GMP ๓. จุดเด่นของการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยฯ ๓.๑ พิธีไหว้ครูการแพทย์แผนไทย และพิธีมอบตัวศิษย์ของครูหมอพื้นบ้านด้านการแกะต้อ ๓.๒ การจัดนิทรรศการเครือข่ายส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ภาคเหนือ โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็นสัดส่วน ประกอบด้วย ๑) นิทรรศการหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และเวทีกลาง ๒) คลินิกบริการการแพทย์แผนไทย และการแพทย์แผนจีน ๓) การจัดบริการนวดไทยเพื่อสุขภาพ ๔) ตลาดนัดสมุนไพร และ ๕) การแสดงผลิตภัณฑ์ สินค้าจากสมุนไพรภาคเหนือ ส ำ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓ ๓.๓ การจัดนิทรรศการมีชีวิต โดยหมอพื้นบ้านหรือหมอเมือง ภาคเหนือ ในแต่ละซุ้มนิทรรศการ รวมทั้งการให้ค าปรึกษา การรักษาด้วยกรรมวิธีหมอพื้นบ้าน ๓.๔ การประกวดอาหารสมุนไพรภาคเหนือ เพื่อการดูแลสุขภาพ ๔. การจัดกิจกรรมทางวิชาการ การอบรมระยะสั้น และการสอน สาธิตต่าง ๆ ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก โดยให้บุคลากรทางด้านสาธารณสุข แพทย์แผนไทย และประชาชน ทั่วไป ได้มีโอกาสเข้าร่วม ซึ่งมีหัวข้อส าคัญ ดังนี้ ๔.๑ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง กายบริหารเข้าจังหวะ ๔.๒ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง ยืดเหยียด เยียวยาสุขภาพ เทคนิค Tri-Exercise ๔.๓ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง นวดฝ่าเท้าเพื่อสุขภาพ ๔.๔ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง การท ายาพอกมะกรูด ๔.๕ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง การท ายาดมพิมเสนน้ า ๔.๖ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง บุคลิกภาพเพื่อการบริการการแพทย์แผนไทย ๔.๗ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง ศาสตร์การนวดเพื่อสุขภาพ แบบเชลยศักดิ์ ๔.๘ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง นวดไทย แก้อาการไหล่ติด ๔.๙ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง การท ายาดมส้มโอมือ ๔.๑๐ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง การท าลูกประคบ ๔.๑๑ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง ศาสตร์การปรับสมดุลมณีเวช ๔.๑๒ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง ศาสตร์การแกะต้อแม่กุหลาบ ๔.๑๓ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง การท าหมอนทรายประคบร้อน ๔.๑๔ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง การตั้งยาสมุนไพรตามกลุ่มโรค ๔.๑๕ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง การท าน้ ามันจากสมุนไพรไก่ด า ๔.๑๖ การให้ความรู้ และการสาธิต เรื่อง การสกัดสมุนไพรข่อยแก้ปวดฟัน ๔.๑๗ การอบรมระยะสั้น เรื่อง แนวนวดราชส านัก ส าหรับผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ๕. องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร โดยมีผลงานที่น ามาจัดแสดงเผยแพร่ให้แก่ประชาชนทั่วไปที่สนใจ ซึ่งรวบรวมได้และมีการบันทึกน าไปใช้ รวมทั้งสิ้น ๔๓๗ เรื่อง/รายการ แบ่งเป็น ๖ ประเภท ดังนี้ ๕.๑ ประเภทที่ ๑ : หมอพื้นบ้าน ปราชญ์หรือผู้รู้ของจังหวัด จ านวน ๑๘ คน/องค์ความรู้โดยมี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้สมุนไพร, หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญการนวด เพื่อรักษา, หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้โหราศาสตร์ เป็นต้น ๕.๒ ประเภทที่ ๒ : ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือกหรือองค์ ความรู้อื่น จ านวน ๘๘ เรื่อง/รายการ โดยมีการจัดแสดงผลงาน เช่น ต ารับยาเบญจกูล, ต ารับยาสมุนไพร ลูกประคบ, น้ ามันไพล, น้ ายาบ้วนปากเลิกบุหรี่, ต าราเวชศึกษา, น้ ามันกระดูกไก่ด า, ยาธาตุทรงเสวย, ยาต้ม แก้ปวดกล้ามเนื้อ, ยาต้มแก้ภูมิแพ้, ยาต้มแก้ผิดลมผิดเดือน, ยาปรับธาตุล้านนา เป็นต้น ๕.๓ ประเภทที่ ๓ : ผักพื้นบ้านหรืออาหารพื้นเมือง จ านวน ๕๒ ชนิด/รายการ โดยมีการจัดแสดง ผลงาน เช่น ม้าฮ่อ (มังกรคาบแก้ว), หมี่พันสูตรสมุนไพร, ย าสมุนไพร, ย าไข่เค็มน้ าแร่ แม่กาษา เป็นต้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔ ๕.๔ ประเภทที่ ๔ : สมุนไพร (สมุนไพรสดและสมุนไพรแห้ง) จ านวน ๒๓๓ รายการ โดยมีการจัด แสดงผลงาน เช่น เจตมูลเพลิง, ช้าพลู, สะค้าน, ขิง, ตะไคร้, ใบเตย, อัญชัน, ดอกดาวเรือง, แคขาว, สะระแหน่, โหระพา, โกฐพุงปลา, ดอกจันทน์, กานพลู, อบเชยเทศ, เทพธาโร, สมุลแว้ง, ไพล, ขมิ้นชัน, ทานาคา เป็นต้น ๕.๕ ประเภทที่ ๕ : วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน และพิธีกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพ จ านวน ๔ รายการ โดยมีการจัดแสดงผลงาน เช่น พิธีการไหว้ครูแพทย์แผนไทย, พิธีวิเคราะห์สืบหาดวงชะตา (การดูดวง) เป็นต้น ๕.๖ ประเภทที่ ๖ : นวัตกรรมสุขภาพ จ านวน ๔๒ ชิ้น/รายการ โดยมีการจัดแสดงผลงาน เช่น งูงับ ขยับนิ้ว, ตู้สุมยาสมุนไพรเคลื่อนที่, นวัตกรรมแก้วไอน้ าสมุนไพร, นวัตกรรมแผ่นแปะเข่าสมุนไพร, นวัตกรรมพอก ตาด้วยยาเย็น เป็นต้น ๖. คลินิกการแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนจีน การแพทย์พื้นบ้านไทย และการแพทย์ทางเลือก ให้บริการ ด้านสุขภาพแก่ประชาชนโดยผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนจีน ประกอบด้วย การตรวจ การวินิจฉัย การจ่ายยาสมุนไพร การฝังเข็ม การนวด โดยมีผู้ป่วยมารับบริการ มากกว่า ๒๘๕ คน ๗. การเชิญหน่วยงานภายนอกกระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานภาครัฐระดับท้องถิ่น หน่วยงานภาคเอกชน วิสาหกิจชุมชน กลุ่มของผู้ผู้ลิต ผู้จ าหน่ายที่ได้รับมาตรฐานการผลิต ได้มาร่วมจัดแสดงนิทรรศการ จ าหน่ายสินค้า บริการอาหารปรุงสุกทุกสุขลักษณะ และปลอดภัย โดยมีรายได้จากการจ าหน่ายสินค้า ตลอดระยะเวลาของ การจัดงาน มากกว่า ๕๐๐,๐๐๐.- บาทเศษ ๘. ผู้เข้าร่วมการจัดงาน ประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวง ผู้บริหารระดับท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ ส่วนกลางกระทรวงสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขจากเครือข่ายส านักงานสาธารณสุขจังหวัดกลุ่มภาคเหนือ ประชาชนทั่วไป มากกว่า ๑๕,๐๐๐ คน ๙. การประกวดกิจกรรมด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และอื่น ๆ โดยมีบุคลากร และหน่วยงานที่ได้รับรางวัล ดังนี้ ๙.๑ การประกวดผลงานทางวิชาการ งานวิจัยทางการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก แบ่งเป็น ๒ ประเภท ดังนี้ ๙.๑.๑ รางวัลประเภทผลงานวิจัย ๑) รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ จังหวัดเชียงราย เรื่อง ประสิทธิผลของ การอบไอน้ าสมุนไพรที่มีผลต่ออาการถอนนิโคตินในกลุ่มผู้บ าบัดการเลิกบุหรี่ ๒) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ โรงพยาบาลแม่ระมาด จังหวัดตาก เรื่อง การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับพิษพาราควอต ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน ๓) รางวัลรองชนะลิศ อันดับ ๓ ได้แก่ โรงพยาบาลสลปราบ จังหวัดล าปาง เรื่อง การศึกษาผลของการใช้ยาพอกเข่า สมุนไพรในผู้ป่วยที่มีอาการปวดเข่าในโรงพยาบาลสบปราบ ๙.๑.๒ รางวัลประเภทผลงานนวัตกรรม ๑) รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ โรงพยาบาลลานสัก จังหวัดอุทัยธานี เรื่อง ยาแก้ไอลานสักเพื่อผู้ป่วย เพื่อโรงพยาบาล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕ ๒) รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลดอกค าใต้ อ าเภอดอกค าใต้ จังหวัดพะเยา เรื่อง ไม้กดบริหารปวดกล้ามเนื้อ ๓) รางวัลรองชนะลิศ อันดับ ๓ ได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์ อ าเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย เรื่อง การบริหารเข่าและการใช้ยาพอกสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า ๙.๒ การประกวดอาหารสมุนไพรภาคเหนือ เพื่อการดูแลสุขภาพ ดังนี้ ๙.๒.๑ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ จังหวัดนครสวรรค์ : รายการอาหาร “บงกชเสน่ห์หา - บุษยารังสรรค์” ๙.๒.๒ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่ : รายการอาหาร “มนต์รักกาสะลอง” ๙.๒.๓ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๓ ได้แก่ จังหวัดก าแพงเพชร : รายการอาหาร “แกงอ่อมกล้วยไข่ สายใยแม่ปิง” ๑๐. การมอบรางวัลผลการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ประจ าปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ ระดับภาค โดยมีผลการประกวด ดังนี้ ๑๐.๑ ประเภทส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ได้แก่ : - ไม่มีผู้ผ่านการประกวด - ๑๐.๒ ประเภทโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ได้แก่ : โรงพยาบาลอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี เขตสุขภาพที่ ๓ ๑๐.๓ ประเภทโรงพยาบาลชุมชน ได้แก่ : โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเด่นชัย จังหวัดแพร่ เขตสุขภาพที่ ๑ ๑๐.๔ ประเภทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี ได้แก่ : สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี บ้านงิ้วงาม จังหวัเพชรบูรณ์ เขตสุขภาพที่ ๒ ๑๑. การจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๓ ระดับภาคเหนือ ประจ าปี งบประมาณพุทธศักราช ๒๕๖๔ มีมติเห็นชอบมอบหมายให้เขตสุขภาพที่ ๒ โดยส านักงานสาธารณสุขจังหวัด เพชรบูรณ์เป็นผู้แทนจังหวัดเจ้าภาพจัดงาน ต่อไป ๑๒. ข้อเสนอแนะในการจัดงานครั้งต่อไป และการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย ๑๒.๑ ให้มีเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ถ่ายถอดประสบการณ์ เนื้อหา ผลงานดีเด่น ของดีแต่ละเขต บริการสุขภาพหรือระดับจังหวัด ระหว่างการจัดงาน ซึ่งเป็นแนวทางพัฒนาปรับปรุงงานของตนเอง ๑๒.๒ ควรเชื่อมโยงการจัดงานร่วมกับงานประจ าจังหวัด เช่น งานกาชาด, งานประเพณีทาง วัฒนธรรมของจังหวัดหรืองานประจ าปีของจังหวัด ๑๓.๓ การประชาสัมพันธ์ให้มีความครอบคลุม โดยเฉพาะผ่านสื่อออนไลน์ที่ประชาชนสามารถเข้าถึง ได้อย่างง่าย เช่น วิทยุชุมชน, Facebook เป็นต้น ๑๓.๔ เชิญหน่วยงานภาคีทุกภาคส่วน ระดับภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้ประกอบการ ร้านค้าต่าง ๆ ร่วม การจัดแสดงนิทรรศการ ผลงานเด่น ส้นค้าคุณภาพ และให้มีบริการด้านสุขภาพมากขึ้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖ 000000000 “สืบสานภูมิปัญญา รักษามรดกสมุนไพรไทย” ผสมผสานแนวคิดของสมุนไพรไทยในอดีตและ ปัจจุบัน ก้าวไกลสู่สากลด้วยสมุนไพร และการแพทย์แผนไทย แป็นศาสตร์ที่ทุกคนให้ความสนใจ ด้วยคุณค่า สรรพคุณที่โดดเด่น เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ท าให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยได้รับความนิยมและยอมรับทั้ง ประเทศ และระดับสากล ซึ่งในยุคไทยแลนด์ ๔.๐ สมุนไพรไทยเป็นที่นิยม โดยได้มีการน านวัตกรรม ปรับเปลี่ยนความรู้สู่การแปรรูปของสมุนไพรในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บรรจุภัณฑ์ กลิ่น และรูปแบบการใช้งาน ที่ผสมผสานองค์ความรู้ในยุคปัจจุบันมาสร้างมูลค่ามากขึ้น ส่งเสริมผลิตภัณฑ์สมุนไพร ให้เป็นสินค้า นวัตกรรมสามารถแข่งขันในตลาดโลก เกิดประโยชน์แก่เกษตรกร และผู้ประกอบการภายในประเทศ ดังนั้น สมุนไพรจึงยังคงได้รับการยอมรับจนถึงทุกวันนี้ ก า แพงเพชร KAMPHAENG PHET นางสาวศุภรดา มณฑาทิพย์ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ก าแพงเพชร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗ แม่กุหลาบ ชลเชี่ยว วัน-เดือน-ปีเกิด : จ าไม่ได้ อายุ (ปี) : ๘๕ ปี สถานที่ติดต่อ : บ้านเลขที่ ๒๙ หมู่ ๔ ต าบลสระแก้ว อ าเภอเมือง จังหวัดก าแพงเพชร เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘๘-๔๒๖๐๓๖๘ ความช านาญ : รักษาต้อ ด้วยวิธีการแกะต้อ ได้รับการสืบทอดการรักษาจากแม่แป้งร่ า (แม่ของแม่กุหลาบ) วิธีการแกะต้อที่แม่กุหลาบใช้รักษาผู้ป่วย ดังนี้ ๑. สอบถามผู้ป่วยว่า เป็นต้อชนิดไหน ๒. ใช้นิ้วแกะต้อ โดยแกะที่บริเวณสะบัก ดังรูป ท าทีละข้าง พร้อมกับท่องคาถา ว่าตามนี้ - นะโม ตัสสะ ภควะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ (๓ จบ) - พุทธัง แกะ ธัมมัง แกะ สังฆัง แกะ (๓ จบ) - แกะด้วยนะโมพุทธายะ (๓ จบ) ข้างนึงจะท่องคาถาจบพอดี ท าแบบนี้เหมือนกันทั้งสองข้าง สามารถแกะได้ทุกวัน หลังเที่ยงไป แล้วจะดีเนื่องจากมีความเชื่อว่า หากแกะต้อหลังเที่ยง ตะวันจะค่อย ๆ ตกลงดิน เหมือนกับต้อที่ค่อย ๆ ลงดินไป เหมือนกัน หมายเหตุ : ตลอดระยะการรักษา ห้ามกินของแสลง ได้แก่ ไข่ เนื้อวัว ปลาร้า หน่อไม้ ของดอง ทุกชนิด หายแล้วถึงจะกินได้ตามปกติ พอมีอาการดีขึ้นหรือหายให้ใส่บาตรกรวดน้ าอุทิศส่วนกุศลให้เจ้าเวรและให้ ครูตาต้อ แม่แป้งร่ า ข าแดง และแม่กุหลาบ ชลเชี่ยว จะดีมาก หลังจากรักษาไปแล้ว ๓ วัน ให้น าของมาขึ้นครู ดังนี้ ๑. เหล้าขาวขวดใหญ่ ๑ ขวด ๒. ดอกไม้ขาว ๓ ดอก ๓. เทียนไขขาว ๒ เล่ม ๔. ธูป ๑ แพ ๕. เงินบูชาครู ๒๒ บาท หมอพื้นบ้าน...จังหวัดก าแพงเพชร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘ นายสิทธิพันธุ์ ดีมี (เช้าตรู่) วัน-เดือน-ปีเกิด : วันที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๖ อายุ (ปี) : ๔๖ ปี สถานที่ติดต่อ : บ้านเลขที่ ๒๑๗ หมู่ ๑๑ ต าบลปางมะค่า อ าเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดก าแพงเพชร เบอร์โทรศัพท์ : ๐๘๘-๘๕๑๔๒๔๒ ความช านาญ : ขูดมือ วิเคราะห์-บ าบัดโรคโดยใช้ไม้ครีบปลา หรือไม้หางปลา กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง พระแสงฯ ล ้ำค่ำ ศิลำแลงใหญ่ กล้วยไข่หวำน น ้ำมันลำนกระบือ เลื่องลือมรดกโลก อ าเภอทรายทองวัฒนา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙ สุมยำ บรรเทำอำกำรหวัด คัดจมูก สมุนไพรที่ใช้ - ขิงหรือข่า หอมแดง ตะไคร้ ใบกะเพรา หรือโหระพา สิ่งละ ๑ ก ามือ ทุบพอแหลก - มะนาว ๓-๕ ลูก ผ่าครึ่ง - มะกรูด ๓-๕ ลูก ฝานเอาผิว และผ่าครึ่งลูก วิธีการสุมยา น าขิงหรือข่า หอมแดง ตะไคร้ ใบกะเพราหรือโหระพา ใส่ลงในกะละมัง เทน้ าร้อนจัดลงใน ภาชนะบีบน้ ามะนาว ผิวมะกรูด และลูกมะกรูดที่ผ่าครึ่ง น าผ้าคลุมศีรษะและภาชนะ อังใบหน้าเหนือภาชนะ สูดดมไอระเหยของสมุนไพรผ่านไอน้ า ควรระมัดระวังไอน้ าที่ร้อนจัดขณะเริ่มสุมยา ควรสุมยานาน ๓-๕ นาที โดยพักเป็นระยะ จึงสุมใหม่อีกครั้ง จนหมดไอระเหย ข้อควรระวัง การสุมยาในผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ไม่ควรสุมยาในผู้ที่มีอาการไข้ หรือแพ้น้ ามันหอมระเหยจาก สมุนไพรในต ารับนี้ เผำยำ เป็นวิธีการรักษาแบบการแพทย์แผนไทยที่ใช้หลักการเพิ่มธาตุไฟเฉพาะที่ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย โดยใช้ความร้อนของสมุนไพรผ่านเครื่องยาสมุนไพรสดที่มีรสร้อน ข้าไปใช้รักษาในผู้ป่วยที่มีภาวะธาตุไฟหย่อน โรคหรืออาการที่สามารถเผายา - ท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย - ปวดกล้ามเนื้อ - อาการชาปลายมือ-เท้าเย็น ตะคริว สมุนไพรที่ใช้ ได้แก่ ไพล ขมิ้น ตะไคร้บ้าน เกลือ และแอลกอฮอล์ ๙๕% โดยน าส่วนประกอบทั้งหมดมาสับหยาบ ยกเว้นเกลือที่น ามาโรยผิวหนังของผู้ป่วย โดยมีขั้นตอน ดังนี้ ๑. น าผ้าชุบน้ าบิดหมาดแล้วจัดเป็นวงกลม ๒. น าเกลือโรยลงบนผิวหนังของผู้ป่วย หลังจากนั้นน าเครื่องยาเผาใส่ลงในหลุมที่ท าไว้หนาขึ้นมา หนึ่งข้อนิ้วมือ ๓. น าผ้าชุบน้ าบิดพอหมาด คลุมเครื่องยา ห้ามกดตัวเครื่องยาเด็ดขาด เพราะจะท าให้เครื่องยา แน่น ท าให้ผู้ป่วยเกิดแผลไฟไหม้ได้ ๔. น าแอลกอฮอล์ ๙๕% ราดลงบนผ้าให้อยู่ในกรอบที่ท าไว้ หลังจากนั้นจุดไฟ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐ ๕. พอไฟดับให้รอสักครู่ แล้วกดลงไปที่ยา ๖. หลังจากนั้นน าผ้าที่คลุมยาออกไปชุบน้ า แล้วท าการชุบยาให้ยานั้นไม่แน่น เพื่อป้องกันการ เกิดแผลไฟไหม้ หลังจากนั้นน าผ้าออกไปชุบน้ ากลับมา บิดพอหมาดแล้ว คลุมยาท าเหมือนขั้นตอนที่ ๓ วนไป เรื่อยๆ ประมาณ ๓, ๕, ๗, ๙ ครั้ง ตามก าลังโรคของผู้ป่วย พอกตำ ช่วยเรื่องตาฝ้าฟาง น้ าตาไหล เจ็บตา โดยใช้ไข่ขาว (ไข่เป็ดเท่านั้น) ๑ ฟอง และฟ้าทลายโจร ๔ แคปซูล ผสมกันใส่ส าลีแผ่น พอกตาทิ้งไว้ประมาณ ๑๕-๒๐ นาที พอกเข่ำ วิธีการพอกเข่า ๑. นวดเฉพาะจุดสัญญาณ ๑-๓ เข่า ประมาณ ๒๐ นาที ๒. ประคบด้วยลูกประคบสมุนไพรบริเวณเข่า ๕ นาที ๓. จัดท่าผู้ป่วยในท่านอนหงาย ๔. น ายาพอกลงบริเวณเข่าทิ้งไว้ ๓๐ นาที ๕. เมื่อยาแห้งให้ใช้ฝ่ามือลูบตัวยาออก ๖. หลังจากพอกเสร็จทุกครั้งให้กระดกปลายเท้าขึ้นลง ๒๐ ครั้ง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑ สมุนไพรแช่มือแช่เท้ำเพื่อสุขภำพ มือและเท้าของคนเราเป็นอวัยวะที่ใช้ระบายเอาพิษออกจากร่างกาย เมื่อเราใช้มือและเท้าใน กิจวัตรประจ าวันมากกว่าส่วนอื่น กล้ามเนื้อที่มือและเท้าจะเกิดอาการเกร็ง ค้าง การแช่มือแช่เท้าเป็นประจ านั้นจะ ท าให้คลายการเกร็งค้าง เพิ่มการไหลเวียนเลือด และระบายพิษได้ สมุนไพรที่ใช้ - ใบมะขาม : ท าให้ผิวชุ่มชื่น แก้คัน - ขมิ้น : บรรเทาอาการอักเสบ บ ารุงผิว ท าให้ผิวเนียนนุ่ม - ใบหนาด : แก้อักเสบ - ผิวมะกรูด : คลายเส้นเอ็น กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ท าให้รู้สึกสดชื่น - รางจืด : ช่วยขับพิษ - ใบเปล้า : บรรเทาอาการปวดเมื่อย - ใบส้มป่อย : บ ารุงผิวให้ชุ่มชื่น แก้โรคผิวหนัง - ข่า : กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต บรรเทาอาการปวดเมื่อย - การบูร : แก้ปวดเมื่อย สูดดมเข้าไปท าให้สดชื่น - ไพล : บรรเทาอาการอักเสบ ลดอาการเคล็ดขัดยอกของกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการปวดเมื่อย - ตะไคร้: ต่อต้านเชื้อราผิวหนัง - เกลือเม็ด : แก้ปวดเมื่อย กระตุ้นการท างานของสมุนไพร วัสดุอุปกรณ์ - สมุนไพรที่เตรียมไว้ ๑ ก ามือ - น้ าสะอาด ๒ ลิตร - เกลือเม็ด ๑ ก ามือ - การบูร ๑/๔ ช้อนชา - กะละมัง ๒ ใบ (ใช้ส าหรับแช่เท้า ๑ ใบ, แช่มือ ๑ ใบ) หมายเหตุ : อัตราส่วนข้างต้นส าหรับ ๑ คน อ าเภอบึงสามัคคี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒ ขั้นตอนการเตรียมน้ าสมุนไพร ๑. ต้มน้ าสะอาดให้เดือด น าสมุนไพรทั้งหมดลงไปในหม้อ เติมเกลือ การบูร ลงไป สังเกต การเปลี่ยนสีของน้ า จะเปลี่ยนเป็นสีน้ าตาล มีกลิ่นหอมของสมุนไพรแสดงว่าตัวยาถูกสกัดออก มาแล้ว ๒. ตักน้ าสมุนไพรผสมกับน้ าธรรมดาให้อุ่น แค่พอรู้สึกสบาย ไม่ร้อนจนเกินไป ๓. แช่เท้าและมือประมาณ ๓ นาที สลับยกขึ้น (พัก) ๑ นาที ท าประมาณ ๓ รอบ (แช่ให้ ท่วมข้อมือ ข้อเท้า) ประโยชน์ของการแช่มือแช่เท้า - ลดการเกร็งค้างของกล้ามเนื้อบริเวณมือและเท้า - ลดอาการเจ็บ ปวดของกล้ามเนื้อและข้อกระดูก - ลดอาการชาบริเวณปลายขาและแขน - ลดอาการอักเสบ - ระบายพิษ - กระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ยำดมสมุนไพร เป็นภูมิปัญญาไทยทางด้านเภสัชกรรมที่สืบทอดกันมายาวนาน สรรพคุณใช้สูดดมบรรเทาอาการ วิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เมารถ เป็นหวัด คัดจมูก ตัวยาท าจากสมุนไพรไทย ส่วนผสม - การบูรเกล็ด : ขับลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ ขับเหงื่อ ทาแก้เคล็ดขัดยอก แก้พิษแมลง สัตว์กัดต่อย และโรคผิวหนังเรื้อรัง - เมนทอล : ลดอาการปวดเมื่อย ฆ่าเชื้อ และใช้เป็นยาขับลม - พิมเสน : สูดดมแก้วิงเวียน ทาภายนอกแก้เคล็ดขัดยอก - กานพลู : ช่วยขับลม แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดบวม - ดอกจันทน์เทศ : ช่วยขับลม บ ารุงผิวหนัง ข้อควรระวัง : ในการแช่แต่ละรอบไม่ควรแช่นานเกินเวลาที่แนะน า (๓ นาที) ซึ่งหากเกินเวลาดังกล่าว มักพบว่ามีอาการ อ่อนเพลียหรือไม่สบายในร่างกาย เนื่องจากอุณหภูมิในร่างกายเริ่มสูงขึ้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓ - พริกไทยด า : ช่วยขับลม ขับเหงื่อ ขับเสมหะ แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ - โกฐหัวบัว : ลมในกองริดสีดวง ขับลมในล าไส้ แก้ลม บ ารุงโลหิต - กระวาน : ช่วยขับลม และยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย วิธีท า เตรียมพิมเสนน้ า ๑. น าเมนทอล ๓ ส่วน พิมเสน ๑ ส่วน การบูร ๑ ส่วน เทรวมกันในภาชนะส าหรับผสม สาร ๒. ใช้ไม้พายคนให้ส่วนผสมทั้งหมดละลายเป็นของเหลว ๓. น าส่วนผสมที่ได้บรรจุลงในขวดปากกว้าง ปิดฝาพักไว้ เตรียมสมุนไพร ๑. น าสมุนไพรทั้ง ๕ ชนิด ประกอบด้วย กานพลู ดอกจันทน์เทศ พริกไทยด า โกฐหัวบัว กระวานใส่ภาชนะรวมกัน ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน ๒. น าสมุนไพรที่ได้ใส่ในขวดปากกว้างที่เตรียมไว้ ปิดฝาขวดให้สนิท แช่สมุนไพรใน พิมเสนน้ า ๑ คืนแบ่งบรรจุลงในขวดที่มีฝาปิด เพื่อน าไปใช้ประโยชน์ต่อไป ประโยชน์ของยาดม : ใช้สูดดม บรรเทาอาการวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย เป็นหวัด คัดจมูก ข้อควรระวัง : ควรใช้อย่างระมัดระวัง เพราะหากเข้าตา อาจท าให้แสบตาได้ และควรเก็บให้พ้นมือเด็ก ข้อเสนอแนะ ๑. ยาดมสมุนไพร อาจใช้สมุนไพรชนิดอื่นๆ ที่มีคุณสมบัติตามต้องการของแต่ละบุคคลได้ ๒. ผู้ผลิตยาดมสมุนไพรควรศึกษาคุณสมบัติของสมุนไพรแต่ละชนิด เพื่อน าไปใช้ได้อย่าง ถูกต้องและไม่เป็นอันตราย ๓. ยาดมสมุนไพร สามารถเติมกลิ่นลงไป เพื่อให้ได้กลิ่นที่แปลกใหม่ เช่น กลิ่นมะลิ กลิ่นกุหลาบ เป็นต้น ๔. ผู้ผลิตอาจจะบรรจุยาดมสมุนไพรในขวดหรือภาชนะที่แปลกใหม่ เพื่อเป็นการดึงดูด ใจให้อยากซื้อหา น ้ำมันไพล ช่วยคลายความอ่อนล้าของร่างกาย บรรเทาอาการปวดเมื่อย การอักเสบของ เอ็น กล้ามเนื้อ และข้อต่อ ไพล สมุนไพรที่เป็นที่รู้จักกันมานาน ในเรื่องของการช่วยแก้ปวด ลด การอักเสบของกล้ามเนื้อ ข้อต่อช่วยคลายกล้ามเนื้อ ประชาชนสามารถเตรียม น้ ามันไพลใช้เองได้ในครัวเรือน จึงขอแนะน าวิธีเตรียมต ารับน้ ามันไพลทอดสูตร โบราณ ซึ่งใส่เหง้าขมิ้นชันด้วย เพื่อเสริมฤทธิ์ต้านการอักเสบ และแก้ปวด ทั้งนี้ เพราะขมิ้นชัน ประกอบด้วยสารส าคัญ คือ น้ ามันหอมระเหย และสารกลุ่ม curcuminoids ซึ่งเป็นสารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบและแก้ปวดได้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔ ต ารับน้ ามันไพลทอดสูตรโบราณ - หัวไพลสด ๒ กิโลกรัม - ขมิ้นชันสด ๑/๒ กิโลกรัม - น้ ามันปาล์มหรือน้ ามันมะพร้าว ๑ กิโลกรัม - ดอกกานพลู ๑๐๐ กรัม - การบูร ๑๐๐ กรัม วิธีท า ๑. หั่นไพลสดและขมิ้นชันสด ให้เป็นชิ้นบางๆ ๒. เทน้ ามันปาล์มหรือน้ ามันมะพร้าว ลงกระทะ ยกตั้งไฟ พอน้ ามันร้อนปานกลาง เอา ไพลและขมิ้นชันลงทอดในน้ ามัน (เหมือนทอดกล้วยแขก) ทอดจนไพลและขมิ้นชันกรอบ เปลี่ยนเป็นสีน้ าตาลแก่ แล้วน้ ามันเป็นสีเหลืองใส (ระวังไหม้) ช้อนเอาชิ้นไพลและขมิ้นชันออก ๓. ต ากานพลูให้ป่น น าลงทอดในน้ ามันต่อและลดไฟให้เหลือไฟอ่อนๆ เพื่อป้องกันไม่ให้ น้ ามันที่อยู่ในกานพลูระเหยไป ทอดประมาณ ๕ นาที กรองด้วยผ้าขาวบาง ๔. พอน้ ามันอุ่นๆ ผสมการบูรลงในน้ ามัน แล้วเทลงในภาชนะปิดฝาให้สนิทป้องกันการ ระเหย เทบรรจุลงในขวดเล็ก ปิดฝาให้แน่นน าไปใช้ประโยชน์ต่อไป วิธีใช้ : นวดบริเวณที่มีอาการ ได้บ่อยเท่าที่ต้องการ เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด ควรนวดคลึง สักครู่ให้น้ ามันซึมเข้าสู่บริเวณที่มีอาการ ข้อควรระวัง - ห้ามรับประทาน - ไม่ควรใช้กับแผลเปิด โรคผิวหนังที่มีน้ าเหลือง และไม่ควรใช้ในผู้ที่แพ้ไพลหรือ ส่วนประกอบในต ารับ - การที่ยาโดนแสงแดด สีเหลืองของยาอาจจางลง แต่ไม่มีผลต่อสารส าคัญในการออก ฤทธิ์ของยา - การใช้น้ ามันไพล อาจเกิดการชาในบริเวณที่มีการใช้ยา เนื่องจากการออกฤทธิ์ชา เฉพาะที่ของไพลไม่ก่อให้เกิดอันตราย ยำหม่องสมุนไพร มรดกทางภูมิปัญญาของไทย ใช้สูดดมแก้ลมวิงเวียน บรรเทา อาการปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน อาการไมเกรน เมาค้าง ดมแก้หวัด บรรเทาอาการปวดเมื่อยร่างกาย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้ออักเสบ ปวด เส้นเอ็น เคล็ดขัดยอก ฟกช้ าด าเขียว ใช้ทาแก้ผื่นคัน รักษากลากเกลื้อน ใช้ทาถอนพิษอักเสบเรื้อรัง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๕ ส่วนประกอบ ดังนี้ - น้ ามันระก่ า : ช่วยคลายกล้ามเนื้อ แก้อากาปวดเมื่อย ฟกช้ า - เมนทอล : ช่วยบรรเทาอาการหวัด และวิงเวียนศีรษะ - การบูร : ช่วยแก้พิษแมลงสัตว์กัดต่อย และบรรเทาอาการหวัดคัดจมูก - น้ ามันยูคาลิปตัส : มีกลิ่นหอมเฉพาะตัว ช่วยบรรเทาอาการหวัด คัดจมูก - น้ ามันไพล : ช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดอาการอักเสบ อุปกรณ์ สารเคมี ๑. ภาชนะแก้วทนความร้อน ๑. ไขผึ้ง ๑๗ กรัม ๒. ช้อนตักสาร ๒. วาสลีน ๔๐ กรัม ๓. แท่งแก้วคน ๓. น้ ามันระก า ๒๐ กรัม ๔. ขวดบรรจุยาหม่อง พร้อมฝาปิด ๔. การบูร ๕ กรัม ๕. เตาไฟฟ้า ๕. เมนทอล ๑๐ กรัม ๖. เครื่องชั่ง ๖. น้ ามันยูคาลิปตัส ๑๐ กรัม ๗. น้ ามันไพล ๒๐ กรัม วิธีท า ๑. ชั่งวาสลีน ๔๐ กรัม และไขผึ้ง ๑๗ กรัม ลงในภาชนะแก้วทนความร้อน น าไปให้ความร้อนจน ไขผึ้งละลายหมด ๒. ชั่งน้ ามันระก า ๒๐ กรัม การบูร ๕ กรัม และเมนทอล ๑๐ กรัม ลงในภาชนะแก้ว คนด้วยแท่ง คนให้เมนทอลและการบูรละลายให้มากที่สุด ๓. น าสารในข้อ ๑ และ ๒ ผสมกัน แล้วเติมน้ ามันยูคาลิปตัส ๑๐ กรัม และน้ ามันไพล ๒๐ กรัม ๔. ค่อย ๆ เทในขวดหรือภาชนะบรรจุ ปิดฝาทันที รอให้แข็งตัว วิธีใช้ : ทา ถู นวด บริเวณที่มีอาการ ระวังอย่าให้เข้าตา ข้อบ่งใช้ : บรรเทาอาการปวดเมื่อย บวม ฟกช้ า เคล็ดยอกการอักเสบของเอ็น กล้ามเนื้อและข้อต่อ ลูกประคบสมุนไพร การประคบสมุนไพร คือ การใช้สมุนไพรมาห่อด้วย ผ้าเป็นลูก เรียกว่า ลูกประคบ น าลูกประคบไปนึ่ง เมื่อนึ่ง ร้อนแล้ว น้ ามันระเหยซึ่งเป็นตัวยาจะออกมากับไอน้ าและ ความชื้น เมื่อประคบด้วยยาเหล่านั้น จะซึมเข้าไปในผิวหนัง ช่วยรักษาอาการเคล็ด ขัดยอก และอาการปวด ทั้งกลิ่นจาก น้ ามันหอมระเหย ยังช่วยให้เกิดความสดชื่นอีกด้วย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖ ตัวยาที่นิยมท าลูกประคบ (ส่วนประกอบส าหรับลูกประคบ ๒ ลูก) - เหง้าไพล ๕๐๐ กรัม : แก้ปวดเมื่อย ลดการอักเสบ - ผิวมะกรูด ๒๐๐ กรัม : มีน้ ามันหอมระเหย แก้ลมวิงเวียน - ตะไคร้ ๒๐๐ กรัม : แต่งกลิ่น - ใบมะขาม ๑๐๐ กรัม : แก้อาการคันตามร่างกาย ช่วยบ ารุงผิว - ขมิ้นชัน ๑๐๐ กรัม : ช่วยลดอาการอักเสบ แก้โรคผิวหนัง - ใบส้มป่อย ๑๐๐ กรัม : ช่วยบ ารุงผิว แก้โรคผิวหนัง ลดความดันโลหิต - เกลือแกง ๖๐ กรัม : ช่วยดูดความร้อนและช่วยพาตัวยาซึม ผ่านผิวหนังได้สะดวกขึ้น - การบูร ๒ ช้อนโต๊ะ : แต่งกลิ่น บ ารุงหัวใจ แก้พุพอง - พิมเสน ๒ ช้อนโต๊ะ : แต่งกลิ่น บ ารุงหัวใจ แก้หวัด วิธีท าลูกประคบ ๑. หั่นสมุนไพรเป็นชิ้นเล็ก ๆ แล้วน ามาต าพอหยาบ ๆ ๒. ใบมะขาม ใบส้มป่อย ผสมกับข้อ ๑ เสร็จแล้ว ให้ใส่เกลือ การบูร คลุกเคล้าให้เป็นเนื้อเดียวกัน แต่อย่าให้แฉะเป็นน้ า ๓. น าตัวยาที่เตรียมเรียบร้อยแล้ว ใส่ผ้าดิบห่อประมาณลูกส้มโอ (ประมาณ ๔๐๐-๕๐๐ กรัม) รัด ด้วยเชือกให้แน่น ๔. น าลูกประคบที่ได้ไปนึ่งในหม้อนึ่ง ใช้เวลานึ่งประมาณ ๑๕-๒๐ นาที ๕. น าลูกประคบที่รับความร้อนได้ที่แล้ว มาประคบคนไข้ที่มีอาการต่าง ๆ โดยสับเปลี่ยนลูก ประคบ ข้อควรระวัง ๑. ห้ามใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป โดยเฉพาะกับบริเวณผิวหนังอ่อน ๆ ๒. ควรระวังเป็นพิเศษในผู้ป่วยเบาหวาน อัมพาต เด็ก และผู้สูงอายุ เนื่องจากการตอบสนองต่อ ความร้อนช้า อาจท าให้ผิวหนังไหม้ ๓. ไม่ควรใช้ลูกประคบสมุนไพรในกรณีที่มีแผล การอักเสบ (ปวด บวม แดง ร้อน) ในช่วง ๒๔ ชั่วโมงแรกอาจจะท าให้บวมมากขึ้น ๔. หลังจากประคบสมุนไพรแล้ว ไม่ควรอาบน้ าทันที เพราะจะไปชะล้างตัวยาออกจากผิวหนัง และอุณหภูมิของร่างกายปรับเปลี่ยนไม่ทันอาจท าให้เป็นไข้ได้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๗ อำหำรสุขภำพ...เมี่ยงค้ำกลีบบัว เมี่ยงค าเมนูชูสุขภาพ อาหารว่างที่มีคุณค่าทางสมุนไพรสูง เพราะมีคุณสมบัติในการบ ารุงรักษา ธาตุทั้ง ๔ ประกอบด้วย ดิน น้ า ลม ไฟ เพื่อให้สมดุลกัน ส่วนประกอบ - ถั่วลิสง : มีรสมัน บ ารุงธาตุดิน บ ารุงเส้นเอ็น - มะนาว : มีรสเปรี้ยว บ ารุงธาตุน้ า ขับเสมหะ - มะพร้าวคั่ว : มีรสมัน บ ารุงธาตุดิน บ ารุงกระดูก - พริก : มีรสเผ็ดร้อน บ ารุงธาตุลมช่วยย่อยอาหาร บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ - กุ้งแห้ง : มีรสเค็ม บ ารุงธาตุดิน บ ารุงผิวหนัง - ขิง : มีรสเผ็ดร้อน บ ารุงธาตุไฟ แก้อาเจียน - หัวหอมแดง : มีรสเผ็ดร้อน บ ารุงธาตุลม แก้ไข้หวัด อ าเภอพรานกระต่าย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๘ สมุนไพร... หลากหลายสรรพคุณยา เหงือกปลาหมอ : ลดอาการผดผื่นคัน สิวหนอง น้ าเหลืองเสีย รักษาอาการแพ้ ของผิวหนัง ทานาคา : ป้องกันการเกิดสิว ช่วยลดริ้วรอย ลดฝ้า กระ ช่วยให้ผิวอักเสบยุบและแห้งเร็ว ว่านนางค า : ลดรอยกระ จุดด่างด า ลดการอักเสบ ช่วยให้ผิวเนียนนุ่ม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙ กวาวเครือขาว : บ ารุงผิวพรรณให้เต่งตึง เปล่งปลั่งสดใส ชะลอการเกิดริ้วรอยแห่งวัย และลดเลือนริ้วรอย บัวบก : ลดอาการอักเสบ แผลช้ า กระตุ้นการสร้างคอลลาเจน และอิลาสติกให้ผิวหนังเปล่งปลั่ง ดินสอพอง : แก้พิษร้อน ถอนพิษอักเสบ ขจัดสิวเสี้ยน ช่วยให้ผิวกระจ่างใส มะหาด : ช่วยให้ผิวขาวใส นุ่มนวล ลดเลือนจุดด่างด าและรอยสิว


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๐ โรงพยาบาลลานกระบือ อ าเภอลานกระบือ จังหวัดก าแพงเพชร ผลงานทางวิชาการ ผลการรักษาโรคหัวไหล่ติด ด้วยวิธีการสักยาน้ ามันสมุนไพรรักษาโรค (Medical tattoos) บทน า ในปัจจุบันประเทศไทยมีอุบัติการณ์การเกิดอาการให้ไหล่ติดเพิ่มมากขึ้น มักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศ ชาย และพบในช่วงอายุ 50-60 ปี ซึ่งข้อไหล่เป็นข้อที่มีการเคลื่อนไหวมากที่สุด เช่นการยกแขนขึ้นเหนือศีรษะ เพื่อท างานในมุมสูง การยกของหรือหิ้วของเพื่อรับน้ าหนักมาก ๆ เมื่อเกิดอาการหัวไหล่ติดส่งผลให้เกิดการจ ากัด องศา การเคลื่อนไหวของข้อไหล่ในการใช้งานและเป็นอุปสรรคในการด าเนินชีวิตประจ าวัน จากกรณีศึกษาการ รักษาด้วยวิธีการสักยาน้ ามันสมุนไพรในการดูแลรักษาโรคหัวไหล่ติดซึ่งพบว่าวิธีการสักยาน้ ามันสมุนไพร มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่เป็นรูปธรรม ผู้ป่วยดีขึ้นอาการปวดของผู้ป่วยลดลง การเคลื่อนไหวหัวไหล่ดีขึ้น และประมินระดับความเจ็บปวดเปรียบเทียบก่อนและหลังการรักษาดีขึ้น ในระยะเวลา 2 สัปดาห์ อ าเภอลานกระบือ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑ วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาผลการรักษาโรคหัวไหล่ติด ด้วยวิธีการสักยาน้ ามันสมุนไพรรักษาโรค (Medical tattoos) วิธีศึกษา การศึกษานี้เป็นเชิงกรณีศึกษา (Case Study Research Method) โดยศึกษาผลการรักษาโรคหัวไหล่ติด ด้วยวิธีการสักยาน้ ามันสมุนไพร วิธีเลือกกรณีศึกษา เจาะจงศึกษาในผู้ป่วยที่มีปัญหาหัวไหล่ติดและมีความสมัครใจ ในการทดลองใช้นวัตกรรม โดยผู้ป่วยมีค่าระดับความเจ็บปวด ( VAS ) อยู่ระหว่าง 6-10 พิสัยการเคลื่อนไหวของ ข้อไหล่โดยการวัดองศาในท่ากางแขนออกทางด้านข้าง (Abduction) และพิสัยการเคลื่อนไหวของข้อไหล่โดยการ วัดองศาในท่ากางแขนออกทางด้านหน้า (Fexon) ไม่เกิน 150 องศา เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินการรักษา ได้แก่ แบบตรวจร่างกายทั่วไปทางการแพทย์แผนไทย ประเมินองศาการเคลื่อนไหวข้อไหล่ และประเมินระดับความ เจ็บปวด VAS (Visual Analg Scale) ท าการรักษาด้วยวิธีการสักยาน้ ามันสมุนไพร โดยการใช้เข็มสักลงบริเวณ หัวไหล่ บ่า สะบัก ต้นแขน และท าการประเมินผลการรักษา วิเคราะห์เปรียบเทียบผลก่อนการรักษา และหลังการ รักษา ผลการศึกษา จากข้อมูลผู้ป่วย จ านวน 12 ราย ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 75 หลังจากได้รับการรักษาด้วยวิธีการ สักยาน้ ามันสมุนไพรพบว่าส่วนใหญ่ มีระดับความเจ็บปวดลดลง จากระดับความเจ็บปวด ที่บันทึก ค่า VAS ได้ ระหว่าง 8-9 ในช่วงก่อนใช้นวัตกรรม เป็น 1-3 ในช่วงหลังที่มีการใช้นวัตกรรม นอกจากนี้ยังพบว่าการประเมิน พิสัยการเคลื่อนไหว ของข้อไหล่โดยการองศาในท่ากางแขนออกทางด้านข้าง (Abduction) และการประเมินพิสัย การเคลื่อนไหวของข้อไหลโดยการวัดองศา ในท่ากางแขนออกไปทางด้านหน้า (Flexion) หลังการรักษา วัดองศา ได้อยู่ระหว่าง 150-180 องศา จ านวน 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 ความพึ่งพอใจของผู้รับบริการ มีระดับ ความพึงพอใจมากที่สุด ร้อยละ 96.67


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒ นวัตกรรม โรงพยาบาลลานกระบือ ต าบลลานกระบือ อ าเภอลานกระบือ จังหวัดก าแพงเพชร วัตถุประสงค์ของนวัตกรรม 1. เพื่อรักษาผู้ป่วยโรคต้อต่าง ๆ ด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทย 2. เพื่อส่งเสริมบริการด้านสาธารณสุขด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไหย 3. เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ และภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยไว้อย่างเป็นระบบ เป้าหมาย ผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคต้อต่าง ๆ เช่น ต้อลม ต้อเนื้อ ต้อกระจก ต้อหิน และอาการผิดปกติที่ตา อื่น ๆ จ านวน 180 ราย ประวัติความเป็นมา การรักษาโรคต้อด้วยหนามหวาย ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย มีการสืบต่อกันมาเป็นเวลาช้านานแต่ไม่ มีปรากฎหลักฐานเป็นลายลักษณ์อักษร มีเพียงการสืบต่อกันมาแบบมอบตัวเป็นศิษย์แล้วศึกษาอยู่กับครูเมื่อเรียน จบแล้วครูเห็นศิษย์มีความรู้สามารถ จึงอนุญาต ให้ออกไปรักษาได้ และครูหนึ่งคนจะมีศิษย์จ านวนไม่มาก ปัจจุบัน ผู้สืบทอดต่อวิชานี้คือนายชเอม ชุมเพชร ซึ่งเป็นแพทย์แผนไทยประยุกต์ โดยการรักษาจะใช้หนามหวายขม ซึ่งมี ความแหลมคม บ่งไปที่บริเวณด้านหลังของผู้ป่วย ซึ่งจะมีจุดเป็นลักษณะเฉพาะเรียกว่าจุดต้อ แล้วดึงใยสีขาวๆที่อยู่ ในจุดต้อออกมา แต่ละคนจะบ่งไม่เกิน 3 จุด โดยจะท าติดต่อกัน 3 วันใน 3 วันนี้จะต้องไม่ตรงวันพระ ขั้นตอนการรับบริการและการรักษา หากเราคุ้นชินกับการรักษด้วยการแพทย์พื้นคงจะเข้าใจว่าการารักษานั้นมักจะพ่วงมาด้วยพิธีกรรม ความ เชื่อซึ่งล้วนมีผลต่อการรักษาและการหายจากอาการป่วยของคนไข้ทั้งสิ้น โดยมีล าดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ซักประวัติ สอบถามอาการของคนไข้และประวัติการักษา ก่อนทุกครั้ง 2. ไหว้ครู เพื่อแสคงความเคารพครูบาอาจารย์ที่ได้ถ่ายทอดวิชาความรู้ เพราะเชื่อว่าจะช่วยให้การรักษา ประสบความส าเร็จ โดยมีของไหว้ครู คือ กล้วยน้ าว้าห่าม 1 หวี เทียนน้ ามนต์ 1 เล่ม และเงินส าหรับไหว้ครู 12 บาท 3. ตรวจร่างกาย ตรวจดวงตาและค้นหาจุดบริเวณหลัง โดยให้คนไข้นั่งหันหลังและเปิดเสื้อออก ซึ่งจุดจะ มีสีที่แตกต่างกันออกไปตามชนิดของโรคต้อ 4. การรักษา ใช้ส าลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดบริเวณจุดที่ต้องการบ่งเพื่อฆ่าเชื้อ และหมอต้องใส่ถุงมือทุกครั้ง ขณะการรักษา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓ 5. น าหนามหวายขมที่ผ่านกรรมวิธีฆ่าเชื้อแล้ว มาบ่งจุดที่เจอ โดยบ่งหนามหวายลงไปที่ตุ่มเพื่อเปิดแผล เล็กน้อย แล้วใช้หนามเขี่ยเนื้อที่ที่มีลักษณะเป็นใยสีขาวๆออกมาแล้วท่องคาถาเพื่อปิดแผลการบ่งต้อ จะท าครั้งละ ไม่กิน 3 จุด 6. เมื่อบ่งต้อเสร็จหมอจะบอกข้อห้ามต่าง ๆ และวิธีการดูแลตัวเอง คือ ห้ามกินกล้วยทุกชนิดหลีกเสี่ยง การกินหน่อไม้ ชะอม ของหมักดองอย่าให้ลมและเหงื่อเข้าตารวมไปถึงไม่ควรยกของหนักและท างานหนัก การติดตามผลการรักษา จากข้อมูลดังกล่าว พบว่า ผู้ป่วยมารักษาตัวยอาการโรคต้อเนื้อมากที่สุด ร้อยละ 35.55 อาการอื่น ๆ ร้อยละ 21.66 โรคต้อกระจก ร้อยละ 18.88 โรคต้อลม ร้อยละ 18.33 และโรคต้อหินร้อยละ 5.55 ตามล าดับ จากผลการักษา ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นมาก ร้อยละ 61.11 อาการดีขึ้นปานกลาง ร้อยละ 24.4 ดีขึ้นเล็กน้อย ร้อย ละ 8.88 และอาการคงที่ ร้อยละ 5.55 และจากผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่า จากการประเมินจากผู้ป่วย 180 คน พบว่าผู้ป่วย มีความพึ่งพอใจมากที่สุด ร้อยละ 84.44 (รายงานผลการเก็บข้อมูล โดย นวก.สาธารณสุข โรงพยาบาส่งเสริมสุภาพต าบลปากอ่าง จ.ก าแพงเพชร ปี 2557) ประโยชน์ที่ได้รับจากนวัตกรรม 1. ประชาชนที่มีปัญหาทางตา คือ โรคต้อลม ต้อเนื้อ ต้อกระจก และอาการตาพร่ามัว แสบตา คันตา น้ าตาไหล มีอาการทางตาที่ดีขึ้น สามารถมองเห็นได้ชัดขึ้น 2. ประชาชนสามารมีทางเลือกในการักษา เช่น ศาสตร์การแพทย์แผนไทย 3. ประชาชนได้รับการตรวจวินิจฉัยโรคทางตาด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยและมีความรู้ในการดูแลป้องกัน ถนอมสายตาตนเองเพื่อการมีสุขภาพอนามัยดวงตาที่ดีขึ้น การพัฒนานวัตกรรม ชื่อเรื่องวิจัย ผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวายโดยการตรวจระดับความสามารถ ในการมองเห็น (VA) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลปากอ่าง อ าภอเมือง จังหวัดก าแพงเพชร คณะผู้วิจัย นายชเอม ชุมเพชร, นางสาวเอมอร พรมแก้ว,นางวรินทร ทีเวียง, นางธนวรรณ ทรัพย์มาก ปีที่วิจัย 2559 บทคัดย่อ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการรักษาโรคตาด้วยหนามหวาย กลุ่ม ตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคตา (ต้อลม/ต้อเนื้อ/ต้อกระจก/ต้อหิน) ที่มารับการรักษาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ปากอ่าง จ านวน 50 ราย โดยคัดเลือกจากผู้ป่วยเป็นโรคตา (ต้อลม/ต้อเนื้อ/ต้อกระจก/ต้อหิน) เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลซึ่งประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วนคือ ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลผลการรักษา เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และ โดยการตรวจระดับความสามารถการมองเห็น ระหว่าง 1 มิถุนายน 2559 – 30 สิงหาคม 2559 โดยใช้สถิติพรรณนา ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยมีดังต่อไปนี้ " ผลการทดสอบโดยการตรวจระดับความสามารถในการมองเห็น (VA) ก่อนและหลังการรักษา แยกตาม ระดับพบว่าก่อนการรักษาตาข้างขวาของผู้ป่วยอยู่ในระดับปกติ คิดเป็นร้อยละ 36.00, หลังการรักษาคิดเป็นร้อย ละ 54.00, ตาข้างซ้ายก่อนการักษาอยู่ในระดับปกติคิดเป็นร้อยละ 48.0.หลังการรักษาคิดเป็นเป็นร้อยละ 62.00 จากการศึกษาเห็นว่าควรส่งเสริมให้มีการรักษาโรคที่มีอาการไม่รุนแรงด้วย ภูมิปัญญาพื้นบ้านเพื่อลด ค่าใช้จ่าย และเวลาในการพักฟื้นของผู้ป่วยและควรเพิ่มเวลาในการรักษาและเก็บข้อมูลเพื่อให้เป็นไปตามแนวทาง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๔ การักษาของหมอพื้นบ้านตามคู่มือการรักษาโรคต้อด้วยหนามหวาย โดยศาสตร์การแพทย์พื้นบ้าน และการเก็บ ข้อมูลครั้งต่อไป ควรมีจักษุแพทย์ตรวจตาผู้ป่วยก่อนและหลังการรักษา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ การเปลี่ยนแปลงที่ตาของผู้ป่วย โรคตาที่เรียกกันว่าเป็น "ต้อ" นั้นมีหลายชนิดด้วยกันเป็นโรคตาที่พบบ่อยมากมักมีอาการตาพร่ามัว แสบ ตา คันตา น้ าตาไหล เห็นภาพซ้อน "บางชนิดเป็นอันตรายท าให้ตาบอดได้ เช่น ต้อหิน ต้อกระจก แต่บางชนิดไม่ เป็นอันตราย เช่น ตอเนื้อ ต้อลม 1) โรคต้อลม (Pinguecular) มีลักษณะเป็นเยื่อสีขาวหรือขาวเหลืองบริเวณตาขาวข้าง ๆตาด า เกิดจากการถูกสิ่งระคายเคืองต่อเยื่อบุ ตา (เช่น ลม ฝุ่น แสงแดด) มาเป็นเวลานาน มักท าให้มีอาการเคืองตาง่ายไม่ท าให้ตามัวหรือบอด 2) โรคตอเนื้อ (Pterygium) โรคต้อเนื้อเป็นโรคที่ต่อเนื่องมาจากโรคต้อลม มีลักษณะเป็นแผ่นเนื้อรูปสามเหลี่ยม งอกจากตาชาวลาม เข้าไปในตาด ามักพบบริเวณหัวตามากกว่าหางตา ตอเนื้อจะค่อยๆโต ลุกลามอย่างช้า ๆ เข้าไปในตาด าถ้าเป็นมาก จะลามเข้าไปจนถึงกลางตาด าปิดรูม่านตา ซึ่งจะปิดบังการมองเห็นท าให้ตามัวได้ 3) โรคต้อกระจก (Cataract) โรคต้อกระจกเป็นโรคที่ เกิดจากการเสื่อมสภาพ ของเลนส์แก้วตา ท าให้เลนส์แก้วตาซึ่งควรมีลักษณะใส กลับมีสีขาว หรือขาวอมน้ าตาลมากขึ้น 4) โรคต้อหิน (Glaucoma) ต้อหินเป็นภาวะที่เกิดจากความดันในลูกตาสูงขึ้น และมีการเสื่อมของประสาทตาและสูญเสียการมองเห็น ความดันในตาที่สูงจะกดดันเส้นประสาทตา (optic nerve) ให้เสื่อมความดันสูงเป็นเวลานานประสาทตาก็จะเสื่อม 5) จอประสาทตาเสื่อม (Aged -elated macular degeneration) เป็นโรคที่มีความผิดปรกติเกิดขึ้นในจุดกลางรับภาพ ของจอประสาทตาพบว่าท าให้เกิดโรคจอประสาทตา เสื่อมได้ เช่น คนที่มีสายตาสั้นมาก ๆ หรือในโรคติดเชื้อบางอย่าง แต่สาเหตุส่วนใหญ่แล้ว พบในผู้สูงอายุ จึงเชื่อว่า เป็นขบวนการเสื่อมสภาพ ของร่างกายอาการแสดง มองตรงกลางภาพไม่ชัด ส่วนกลาง ของภาพที่มองขาดหายไป หรือมืดด าไป หรือภาพที่เห็นดูบิดเบี้ยวไป


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕ นวัตกรรมดูแลสุขภาพ วิถีลานดอกไม้ ๑. น้ ายาบ้วนปากเลิกบุหรี่ สรรพคุณ ลดอาการอยากบุหรี่ ส่วนประกอบ หญ้าดอกขาว 2 เท่า ดีปลี 1 เท่า กานพลู 1 เท่า หญ้าหวาน ½ เท่า เกลือเม็ดเล็กน้อย วิธีใช้ อมครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ อมทิ้งไว้นานครั้งละ 2 นาที อ าเภอโกสัมพีนคร องค์ความรู้ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖ อาหารสมุนไพร “สลัดโรลบุปผำชำติบ้ำรุงสำยตำ” เมนูสลัดโรลบุปผาชาติบ ารุงสายตาเป็นอีกเมนูสุขภาพที่ช่วยในเรื่องการบ ารุงสายตา และบ ารุงร่างกาย อย่างครบถ้วนด้วยมีคุณค่าทางโภชนาการที่ครบถ้วนและด้วยสรรพคุณของสมุนไพรช่วยท าให้ดวงจิต ชุ่มชื่นด้วยดอก มะลิ ทั้งนี้ สลัดโรล เสริฟพร้อมน้ าจิ้มพริกไทยรสเด็ด เหมาะส าหรับอากาศในช่วงฤดูฝนและฤดูหนาว ส่วนประกอบ สลัดโรลบุปผาชาติบ ารุงสายตา 1. ใบเมี่ยงญวณ 2. แครอท 3. ดอกอัญชัน 4. ดอกดาวเรือง 5. ต้นอ่อนทานตะวัน 6. ดอกมะลิ 7. มะเขือเทศ 8. โปรตีนตามชอบ (หมูย่าง ไข่เจียว ปูอัด หมูยอ) “ผักอื่นๆ ตามฤดูกาลได้เลยค่ะ” สมุนไพร 4 สหำย” สรรพคุณ บ ารุงก าลัง ลดอาการอ่อนเพลียบรรเทาอาการท้องอืดเฟ้อ บ ารุงน้ านม ส่วนประกอบ ฝาง 10 กรัม ขิงแห้ง 5 กรัม มะตูม 5 กรัม ชะเอมเทศ 5 กรัม วิธีการรับประทาน น าตัวยาทั้งหมด ต้มในน้ า ขนาด 1 ลิตร ต้มเดือด นาน 15 นาที


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗ กิจกรรมสาธิต น้ ามันมหาจักร น้ ามันรักษาปวดเข่า เข่าติด เข่าเสื่อม ทาแล้วเย็น ส่วนประกอบส าคัญ หญ้าเอ็นยืด สรรพคุณ ทานวดแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดพังผืดยึด ทานวดหัวเข่า แก้อาการเข่าติด ข้อเข่าเสื่อม ทา ช่วยเรื่องชาปลายมือปลายเท้า น้ ามันมหาจักร เอาน้ ามันงาทะนานหนึ่งด้วยทะนาน 600 มะกรูดสด 30 ลูก แล้วจึงเอาน้ ามันตั้งเพลิง ขึ้น รุมเพลิงให้ร้อน เอาผิวมะกรูดใส่ลงให้เหลืองเกรียมดีแล้ว ยกลงกรองกากให้หมดเอาไว้ให้เย็น จักเอาเทียนทั้ง 5 สิ่งละ 2 สลึง ดีปลีบาท 1 การบูร 2 บาท บดจงละเอียดปรุงลงในน้ ามันนั้นยอนหู แก้ลมแก้ริดสีดวง แก้เปื่อยคันก็ ได้ ทาเมื่อยขบก็ได้ ใส่บาดแผลเจ็บปวดเสี้ยนหนามหอกดาบก็ได้ หายแล แต่อย่าให้ถูกน้ า 3 วัน มิเป็นบุพโพเลยฯ ส่วนประกอบ ๑. ผิวมะกรูดสด 30 ลูก ๒. เทียนทั้ง 5 อย่างละ 7.5 กรัม ๓. ดีปลี 15 กรัม ๔. การบูร 30 กรัม ๕. น้ ามันงา (น้ ามันมะพร้าว/น้ ามันบัว/น้ ามันทานตะวัน) 1 ลิตร ขั้นตอนการท า 1. น าผิวมะกรูดทอดในน้ ามันงาใช้ไฟอ่อน ทอดจนเปลี่ยนเป็นสีน้ าตาล 2. ดีปลีทุบพอแบนใส่ลงไปทอด 3. ใส่เทียนทั้ง 5 ลงไปทอดจนเกรียมดีแล้ว ทิ้งไว้พออุ่น กรองเอากากออก 4. ใส่การบูรคนให้ละลายหมด กรอกใส่ขวดเก็บไว้ใช้ได้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘ ขมิ้นครีม ยาทาวาสลีน ทาแผล ไม่แสบร้อน ช่วยให้แผลแห้งไว สรรพคุณ สมานแผล ลดการอักเสบ รักษาแผลพุพอง วิธีใช้ ทาบริเวณที่เป็นแผล วันละ 3-4 ครั้ง ส่วนประกอบ วาสลีน ½ กิโลกรัม ขมิ้นชัน 2 กิโลกรัม น้ ามันพืช 2 ลิตร พิมเสน วิธีท า ฝานขมิ้นชันให้เป็นชิ้นบาง น าไปทอดในน้ ามันมะพร้าวด้วยไฟอ่อนๆ เคี่ยวจนสุกกรอบและตัวยาออกมาในน้ ามันพักไว้ ให้อุ่น น ามาผสมกับพิมเสนและวาสลีน คนให้เข้ากัน ตักใส่ขวด ถุงประคบสมุนไพร เป็นการประยุกต์น าทรายซึ่งหาได้ง่าย มาใช้เพื่อกักเก็บความร้อน โดยน ามาผสมกับ สมุนไพรแห้งเพื่อความสะดวกในการใช้งาน สามารถใช้กับไมโครเวฟได้ ส่วนประกอบ สรรพคุณ ทรายหยาบ กักเก็บความร้อน ผิวมะกรูด มีน้ ามันหอมระเหย แก้ลมวิงเวียน ตะใคร้ แต่งกลิ่น ลดอาการฟกช้ า ลดอาการปวด เมื่อย ขมิ้นชัน ช่วยลดอาการอักเสบ แก้โรคผิวหนัง ขมิ้นอ้อย บรรเทาอาการฟกช้ าด าเขียวและช่วยรักษาเม็ดผดผื่นคันตามผิวหนัง ไพล ช่วยลดอาการปวดเมื่อย เคล็ดขัดยอก คลายกล้ามเนื้อ ลดกาอักเสบ ฟกช้ า บวม เถาเอ็นอ่อน แก้ปวดเส้นเอ็นลดอาการปวดตึงเมื่อยขบทั้งตัว ท าให้เส้นยืดหย่อนได้ เกลือ ช่วยดูดซับความร้อนและช่วยพาตัวยาผ่านซึมผิวหนังได้อย่างสะดวก การบูร แต่งกลิ่น บ ารุงหัวใจ ช่วยให้ทางเดินหายใจโล่งบรรเทาอาการหวัดคัดจมูก วิธีท า น าสมุนไพรมาคลุกเคล้าผสมกับทรายในกะละมัง เมื่อส่วนผสมเข้ากันแล้วน ามากรอกในถุงผ้าที่เตรียมไว้ เย็บปิดถุง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙ ...หมอในสมัยโบราณ เมื่อน าสมุนไพรที่หาได้จากป่าเขา ก็จะน ามาแปรรูปไว้ให้อยู่ได้นาน ๆ เพื่อจะใช้ปรุงยา ส าหรับการรักษาให้กับผู้ป่วยในพื้นที่ เครื่องมือของการแปรรูปยาสมุนไพร จึงมีความแตกต่างแต่ละชนิด เพื่อให้มี ความเหมาะสมในการใช้ประโยชน์ การรักษาสิ่งเหล่านี้ไว้ให้ลูกหลานได้ดู นับว่าเป็นสิ่งที่จะเป็นเครื่องเจือนใจแก่ ชนรุ่นหลัง อย่าได้ลืมรากเหง้าที่มาแห่งการเป็นหมอ... อุปกรณ์ในการผลิตยาสมุนไพร เครื่องชั่งยาสมุนไพร ใช้ส าหรับการชั่งตวงสมุนไพร ให้มีปริมาณตามความต้องการ ที่แม่นย า


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๐ แท่นหินบดยา เมื่อหมอต้องการจะปรุงยาประเภทผง แท่นหินบดยาจะใช้ส าหรับการบด สมุนไพรแห้งให้เป็นผงละเอียดในปริมาณ การใช้ที่ไม่มาก กล่อง/ขวดบรรจุยา เมื่อหมอต้องการจะเก็บรักษาสมุนไพร หรือยาสมุนไพรที่ผลิตเสร็จ ก็จะบรรจุเก็บ รักษาไว้ในขวดและลงกล่องหรือหีบบรรจุยา เครื่องตอกเม็ดยา ใช้ส าหรับภายหลังการผสมยาผงสมุนไพร เสร็จ หมอจะใช้พิมพ์มือส าหรับตอกยา ให้เป็นเม็ด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑ ต ารายาโบราณ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๒ “ม้าฮ้อ” หรือที่เรียกกันว่า... มังกรคาบแก้ว ต าหรับในวัง เครื่องว่างอย่างไทยใส่ใจสุขภาพ มังกรคาบแก้ว หรือ ม้าฮ้อ เป็นอาหารว่างอย่างไทยโบราณที่ใช้ผลไม้รสเปรี้ยวจัด เช่น มะม่วงเปรี้ยว, สับปะรด, ส้มเขียนหวาน, ส้มโอ, ส้มเช้ง ปอกเปลือกแบ่งเป็นชิ้น แล้ววางทับด้วยไส้คล้ายข้าวเกรียบปากหม้อหรือ ไส้สาคูไส้หมู เพียงแต่จะไม่ใส่หัวผักกาดแห้งหรือไชโป๊ว “ม้าฮ้อ” คือ อาหารว่างของไทยโบราณ แต่เดิมเป็นขนม เครื่องเคียงรับประทานแกล้มผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวจัดนิยมท าไว้รับประทานในเทศกาลงานบุญ และเป็นอาหารในพิธี ต่าง ๆ ตามความเชื่อของแต่ละท้องถิ่น โดยเฉพาะชุมชนชาวไทยเชื้อสายมอญ ส่วนประกอบส าคัญได้แก่ หมูสับ กุ้ง สับ ถั่วลิสงคั่ว หอมแดง ผัดกับเครื่องเทศ ปรุงรสหวาน เค็ม โดยการกวนให้เหนียว แล้วปั้นเป็นก้อนกลม จากนั้น น ามาวางไว้บนชิ้นสับปะรดหรือส้มที่หั่นเป็นชิ้นพอดีค า น าไส้ใส่ส้มผ่าซีก จะเรียกชื่อใหม่ว่า มังกรคาบแก้ว แต่งหน้าด้วยพริกชี้ฟ้าซอยหรือผักชี อ าเภอขาณุวรลักษบุรี อาหาร...เป็นยา ...ถ้าเรารับประทานอาหารที่ดี มีประโยชน์ เหมาะสมกับร่างกาย ก็เสมือนว่าเราก าลังรักษา ดูแล สุขภาพของตนเองอยู่เสมอ...


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๓ ขั้นตอนในการท า เครื่องปรุง ๑. เนื้อหมูปนมัน (สับละเอียด) ๓๕๐ กรัม ๒. ถั่วลิสงคั่วให้หอมแล้วป่น ๔ ช้อนโต๊ะ ๓. กระเทียมโขลกละเอียด ๗ กลีบ ๔. ผักชีเด็ดใบสวย ๓ ต้น ๕. พริกชี้ฟ้าสีแดงหั่นเป็นเส้น ๒ เม็ด ๖. สับปะรด ครึ่งลูก ๗. มะม่วงเปรี้ยว ๑ ลูก ๘. น้ ามันพืช ๓ ช้อนโต๊ะ ๙. น้ าตาลปีบ ครึ่งถ้วย ๑๐. น้ าปลา ๒ ช้อนโต๊ะ วิธีท า ๑. ตั้งกระทะให้ร้อนใส่น้ ามัน และกระเทียม เจียวให้เหลืองหอม ๒. ใส่น้ าตาลปี๊บผัดใส่หมูสับ ผัดให้สุก คนไปทางเดียวกัน และตามด้วยน้ าปลา ถั่วลิสงคั่วป่น ผัดจนเหนียวเข้ากันตักขึ้นพักไว้ให้เย็น ๓. การจัดจาน ปั้นไส้เป็นก้อนกลม วางบนมะม่วงหรือส้มหรือสับปะรด แต่งด้ วยใบผักชี พริกชี้ฟ้าแดง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔ ...อาหารเป็นยา สุขภาพดี แข็งแรง ปลอดภัย จากครัวเรือน.. อาหาร...ส าหรับผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ๑. ควรจ ากัดปริมาณเกลือที่รับประทาน โซเดียมคลอไรด์ ควรน้อยกว่า ๖ กรัมต่อวัน หลีกเลี่ยงอาหารที่มี รสชาติเค็มจัดหรือปริมาณโซเดียมสูง เช่น อาหารแปรรูปต่าง ๆ ไส้กรอก กุนเชียง หมูแผ่น ผักดองต่าง ๆ ปลาเค็ม ไข่เค็ม หลีกเลี่ยงการใช้ผงชูรส ๒. หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ ๓. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง เช่น ปาท่องโก๋ ไก่ทอด มันฝรั่งทอด ๔. ใช้น้ ามันมะกอก น้ ามันร าข้าว น้ ามันเมล็ดทานตะวัน น้ ามันถั่วเหลือง แทนการใช้น้ ามันจากสัตว์หรือ น้ ามันปาล์ม ๕. ควรรับประทานผัก และผลไม้เป็นประจ า อาหาร...ส าหรับผู้ป่วยเบาหวาน ๑. รับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ และให้หลากหลายในแต่ละหมู่ ๒. รับประทานข้าวเป็นหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ เช่น ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ๓. รับประทานผักให้มาก และผลไม้เป็นประจ า ๔. รับประทานปลา เนื้อสัตว์ที่ไม่ติดมัน ไข่ และเมล็ดถั่วแห้งเป็นประจ า ๕. ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย ๖. รับประทานอาหารที่มีแต่ไขมันแต่พอควร ๗. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัด และเค็มจัด ๘. รับประทานอาหารที่สะอาด ปราศจากการปนเปื้อน ๙. งดหรือหลีกเลี่ยงหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ น้ าหวาน เครื่องดื่มอัดลม อ าเภอปางศิลาทอง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๕ กัญชำทำงกำรแพทย์ ต ารับยาแผนไทยที่มีกัญชาเป็นส่วนผสม จ านวน ๑๖ ต ารับ ดังนี้ ๑. ยาน้ ามันสนั่นไตรภพ บรรเทาอาการเจ็บปวดท้องแข็ง ลามไปถึงยอดอก กินอาหารไม่ได้ ๒. ยาอัคคินีวคณะ แก้คลื่นเหียนอาเจียน เจริญอาหาร บ ารุงก าลัง ๓. ยาแก้ลมขึ้นเบื้องสูง บรรเทาอาการปวดศีรษะ ตาแดง หูตาฝ้าฟาง หูอื้อ อ่อนเพลีย สวิงสวาย ๔. ยาศุขไสยาศน์ ช่วยให้นอนหลับเจริญอาหาร ๕. ยาไฟอาวุธ แก้ลมจุกเสียด ปวดมวนท้อง ๖. ยาแก้ลมเนาวนารีวาโย แก้อาการตึงบริเวณปลายมอปลายเท้า หันหรือเอี้ยวคอไม่ได้ ๗. ยาแก้สัณฑฆาต กล่อนแห้ง บรรเทาอาการท้องผูก ปวดเมื่อตามร่างกายขับลม ๘. ยาแก้นอนไม่หลับ / ยาแก้ไขผอมเหลือง แก้นอนไม่หลับ แก้ไขผอมเหลือง มีอาการตัวสั่น เสียงสั่น อ่อนเพลีย ไม่มีก าลัง ๙. ยาแก้โรคจิต ลดความกังวล ความเครียด ช่วยให้นอนหลับ **โรคจิต ตามต าราแผนไทย ๑๐. ยาอัมฤตโอสถ บรรเทาอาการตึงกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น มือ เท้าชา ผอมแห้งแรงน้อย จากความ เสื่อมของร่างกาย ๑๑. ยาไพสาลี บรรเทาอาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ ขับลม ช่วยให้หลับสบาย ๑๒. ยาอไภยสาลี ช่วยขับลม บรรเทาอาการจุกเสียด แน่นเฟ้อ ๑๓. ยาท าลายพระสุเมรุ บรรเทาอาการแข็งแกร่งของกล้ามเนื้อ แขนขาอ่อนแรง และอาการชา ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ๑๔. ยาแก้ลมแก้เส้น บรรเทาอาการปวดตึงกล้ามเนื้อ ลดอาการมือเท้า ชา อ่อนก าลัง ๑๕. ยาทัพยาธิคุณ แก้จุกเสียดท้องแข็งเป็นเถาดาน อาการอัมพฤกษ์ เสียงแหบแห้ง ปวดเมื่อย ร่างกาย นอนไม่หลับ ๑๖. ยาทาริดสีดวงทวารหนักและโรคผิวหนัง ทารักษาริดสีดวงทวารหนัก และทารักษาโรค ผิวหนัง ...หลากหลายงานวิชาการ งานบริการสุขภาพเพื่อประชาชน...


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖ แกงอ่อม...กล้วยไข่ อาหารประเภท “อ่อม” ใช้เรียกอาหารที่ใส่น้ าน้อย ๆ คนอีสานจะอ่อมได้กับทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นอ่อม ปลาดุก อ่อมไก่ อ่อมกบ หรืออ่อมไข่มดแดง แล้วแต่ว่าจะหาอะไรได้ หรืออ่อมตามช่วงฤดูกาล คือ ใช้พืชผักที่หาได้ ตามฤดูกาลนั้น ๆ พืชผักที่อยู่ในเมนูแกงอ่อมส่วนใหญ่ จะบ ารุงน้ านมและยังมีคุณประโยชน์อีกมากมายแกงอ่อม กล้วยไข่ดิบอุดมไปด้วยธาตุเหล็กสูง ช่วยในการผลิตฮีโมโกลบินในเลือดท าให้เม็ดเลือดแข็งแรง และมีโพแทสเซียม เกลือแร่ มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการยืดหดตัวของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะกล้ามเนื้อหัวใจ ส่วนผสม - เนื้อหมูสันใน ๑ ขีด - ต้นหอมสด ๒-๓ ต้น - ข้าวคั่วต าละเอียด ๑ ช้อนโต๊ะ - ใบแมงลัก ๑/๔ ถ้วย - มะเขือเปราะผ่า ๑-๒ ผล - ใบมะกรูดฉีก ๓-๕ ใบ - ผักชีลาว ๑-๒ ต้น - ข่าสด ๒-๓ แว่น - ฟักทอง ๑ ขีด - น้ าปลาร้า ๒-๓ ช้อนโต๊ะ - กล้วยไข่ห่าม ๑-๒ ลูก - น้ าสต๊อกหมู อาหารเพื่อ...สุขภาพ


Click to View FlipBook Version