The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kunnua Kandalf, 2023-02-13 03:30:37

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๗ สรรพคุณของมะนาว 1.ช่วยแก้อาเจียน เป็นลมวิงเวียนศีรษะ เมาเหล้าได้ 2.ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูงและต่ า 3.ใช้เป็นยาแก้ไข้ ด้วยการน าใบมาหั่นเป็นฝอย ๆ แล้วน ามาชงในน้ าเดือด ดื่มเป็นน้ าชาหรือใช้อม กลั้วคอเพื่อช่วยฆ่าเชื้อโรค 4.รักษาโรคลักปิดลักเปิดหรือเลือดออกตามไรฟันได้ เพราะในมะนาวมีวิตามินซีสูงมาก 5.มะนาวช่วยในการขับเสมหะ ช่วยแก้ไอ ช่วยบรรเทาอาการไอ 6.ช่วยบรรเทาอาการต่อมทอนซิลอักเสบ ช่วยบรรเทาอาการเสียงแหบแห้ง 7.ใช้เป็นยาบ้วนปาก ด้วยการใช้น้ ามะนาว 3-4 หยด ก็จะท าให้ช่องปากสะอาดมากยิ่งขึ้น ช่วยแก้ลิ้นเป็นฝ้า ด้วยการใช้ส าลีชุบน้ ามะนาวเช็ดที่ลิ้นวันละ 2-3 ครั้ง 8.ช่วยในการขจัดคราบบุหรี่ 9.แก้เล็บขบ ด้วยการน ามะนาวมาผ่าส่วนหัวแล้วคว้านเอาเนื้อข้างในออกเล็กน้อย แล้วใช้ปูนทา บาง ๆ เอานิ้วสอดเข้าไป 10.ช่วยบรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง แน่นท้อง ด้วยการน าน้ ามะนาวมาใช้กินกับ น้ าตาล 11.แก้อาการท้องร่วงด้วยการดื่มน้ ามะนาว 12.ช่วยการขับพยาธิไส้เดือนด้วยการดื่มน้ าผึ้งผสมมะนาว 13.ช่วยรักษาอาการท้องผูกด้วยการดื่มน้ ามะนาวผสมเกลือเล็กน้อยก็เป็นยาระบายชั้นดี 14.ช่วยรักษาโรคกระเพาะด้วยการน าเปลือกมะนาวมาชงกับน้ าอุ่นและดื่มเป็นยา 15.แก้อาการบิดด้วยการใช้มะนาวกับน้ าผึ้งอย่างละเท่า ๆ กัน แล้วน ามาดื่ม 16.แก้อาการปัสสาวะกะปริดกะปรอย ด้วยการใช้ใบนะนาวสดต้มกับน้ าตาลแดงแล้วน ามาดื่ม 17.บ ารุงโลหิต รักษาโรคโลหิตจาง ด้วยการน าน้ ามะนาวผสมกับน้ าหวานและปรุงด้วยเกลือทะเล พอสมควร ใส่น้ าแข็งน ามาดื่ม 18.แก้โรคเหน็บชา ร้อนใน กระหายน้ าด้วยการดื่มน้ ามะนาว 19.ช่วยบรรเทาอาการอ่อนเพลียด้วยการดื่มน้ ามะนาวผสมน้ าตาล 20.แก้ฝีและลดอาการปวดฝี โดยขูดเอาผิวมะนาวผสมกับปูนแดงปิดไว้ 21.แก้ฝีด้วยการน ามะนาวทั้งลูกมาคว้านไส้ด้านในออกให้พอเอานิ้วแหย่เข้าไปได้ แล้วน าปูนกิน หมากทาเข้าไปในลูกมะนาวเล็กน้อย แล้วสวมนิ้วเข้าไป 22.แก้ผิวหนังฟกช้ า หัวโน อาการปวดบวม ปูดแดง ด้วยการน าน้ ามะนาวกับดินสอพองมาผสมให้ เข้ากัน แล้วทาบริเวณดังกล่าววันละ 1-2 ครั้ง 23.แก้แผลไฟไหม้ น้ าร้อนลวก พุพองแสบร้อน ด้วยการใช้น้ ามะนาวชโลมบริเวณดังกล่าว แก้แผลบาดทะยักด้วยการใช้น้ ามะนาวมาทาบริเวณที่เกิดบาดแผล 24.ช่วยลดเลือนรอยแผลเป็นด้วยการใช้น้ ามะนาวผสมดินสอพองให้เข้ากัน แล้วน ามาทาบริเวณที่ เป็นรอยแผล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๘ ประโยชน์ของมะนาว 1.มะนาวช่วยบ ารุงผิวพรรณให้เปล่งปลั่งสดใส 2.ช่วยบ ารุงตาของคุณให้สดใสอยู่เสมอ 3.มะนาวประกอบด้วยวิตามินและแร่ธาตุหลายชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินเอ วิตามินซี ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส กรดซิตริก 4.ในผลมะนาว 1 ลูกจะมีน้ ามันหอมระเหยอยู่มากถึง 7% ซึ่งน ามาใช้ประโยชน์ในการผสมเป็น น้ ายาท าความสะอาดต่าง ๆ เช่น น้ ายาล้างจาน เป็นต้น 5.มะนาวมีน้ ามันหอมระเหยที่ให้กลิ่นหอมสดชื่น (Aromatherapy) 6.มะนาวมีฤทธิ์ที่ช่วยในการกัดด้วย ซึ่งถือว่าเป็นกรดผลไม้อย่างหนึ่ง (AHA) ที่เป็นที่ยอมรับในการ ช่วยเร่งการผลัดเซลล์ผิวที่เสื่อมสภาพออกไป 7.น้ ามะนาวใช้ในปรุงรสชาติอาหาร ให้รสเปรี้ยว 3.มะขามป้อม ชื่อสามัญ Indian gooseberry ชื่อวิทยาศาสตร์ Phyllanthus emblica L. จัดอยู่ในวงศ์มะขามป้อม (PHYLLANTHACEAE) มะขามป้อม จัดเป็นผลไม้เพื่อสุขภาพและเป็นสมุนไพรพื้นบ้านอีกชนิดหนึ่ง เพราะมีสารต่อต้าน อนุมูลอิสระอย่างวิตามินซีสูงมากและใช้เป็นยารักษาโรคบางชนิดได้ มะข้ามป้อมมีวิตามินและแร่ธาตุหลาย ชนิดที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น วิตามินเอ วิตามินบี 3 วิตามินซี แคลเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก และยัง ประกอบไปด้วย คาร์โบไฮเดรต ใยอาหาร เป็นต้น วิตามินซีในน้ าคั้นจากผลของมะข้ามป้อมนั้นมีมากกว่าน้ าส้ม คั้นประมาณ 20 เท่า (มะขามป้อมลูกเล็ก ๆ 1 ผล จะมีปริมาณวิตามินซี เท่ากับส้ม 1-2 ผล) ประโยชน์ของมะข้ามป้อม 1. นิยมน ามารับประทานเพื่อให้สดชื่น ชุ่มคอ แก้กระหาย 2.วิตามินซีในมะขามป้อมสามารถดูดซึมได้เร็วกว่าวิตามินซีชนิดเม็ดเป็นอย่างมาก 3.ช่วยบ ารุงและรักษาเส้นผมให้มีสุขภาพแข็งแรง ผมนุ่มลื่น ป้องกันผมหงอก ด้วยการทอด มะขามป้อมกับน้ ามันมะพร้าว แล้วเอาน้ ามันมาหมักผม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๙ 4.ช่วยบ ารุงและรักษาสายตา ช่วยในการบ ารุงประสาทและสมอง 5. มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้แข็งแรง 6. เป็นผลไม้ที่ช่วงบ ารุงร่างกายได้เป็นอย่างดี โดยช่วยบ ารุงอวัยวะแทบจะทุกส่วนของร่างกาย ช่วยบ ารุงโลหิตได้เป็นอย่างดี 7. มะขามป้อมเป็นยาแก้หวัด แก้ไอ และละลายเสมหะ ใช้ผลสดประมาณ 30 ผล น ามาคั้นเอาน้ า หรือน ามาต้มทั้งผลแล้วดื่มแทนน้ า ทั้งนี้ควรเลือกมะขามป้อมที่แก่จัด ผิวออกเหลืองจะได้ผลดีที่สุดใน การรักษาอาการไอและหวัด 8. ใบสดมะขามป้อมน ามาต้มน้ าอาบ ลดอาการไข้ 9. มะขามป้อมเป็นตัวช่วยในการลดคอเลสเตอรอล ลดน้ าตาล ลดไขมันในเลือดได้ด้วย 10. ช่วยรักษาและป้องกันการเกิดโรคเลือดออกตามไรฟัน 11. ใช้แก้อาการปวดฟันได้ ด้วยการใช้ปมกิ่งก้านต้มกับน้ าแล้วน ามาอมบ้วนปากบ่อย ๆ 12. รสเปรี้ยวของมะขามป้อมช่วยในการละลายเสมหะและบ ารุงเสียงได้เป็นอย่างดี 13. รากแห้งมะขามป้อม น ามาต้มดื่มแก้อาการท้องเสีย ร้อนใน ความดันโลหิต 14.ป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน และช่วยลดอาการแทรกซ้อนทางตาจากโรคเบาหวานได้อีกด้วย 15. เมล็ดมะขามป้อมเมื่อน ามาต าเป็นผงชงกับน้ าร้อนดื่ม ช่วยรักษาโรคหอบ หืด หลอดลมอักเสบ 16.ช่วยป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร 17.ช่วยป้องกันและรักษาอาการท้องผูก 18.เปลือกมะขามป้อมสามารถน ามาต้มดื่มแก้โรคบิด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๐ 4.กานพูล ชื่อสามัญ Clove ชื่อวิทยาศาสตร์ Syzygium aromaticum (L.) Merr. & L.M.Perry จัดอยู่ในวงศ์ชมพู่ (MYRTACEAE) บัญชียาสมุนไพร ตามประกาศคณะกรรมการแห่งชาติด้านยา (ฉบับที่ 5) ใช้กานพลูเป็นยารักษา อาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม) โดยปรากฏอยู่ในต ารับยาหลายชนิด ฅได้แก่ ยาหอมเทพจิตร ยา หอมนวโกฐ ซึ่งจะมีส่วนประกอบของกานพลูร่วมกับสมุนไพรชนิดอื่น มีสรรพคุณช่วยแก้ลม วิงเวียน อาการหน้ามืดตาลาย ใจสั่น คลื่นไส้อาเจียน และใช้กานพลูเป็นยารักษากลุ่มอาการทางระบบอาหาร ได้แก่ยาธาตุบรรจบ ยาประสะกานพลู ช่วยแก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ จุกเสียด อาหารไม่ย่อย เป็นต้น ประโยชน์ของกานพลู 1. กานพลูมีสารประกอบอย่างฟีโนลิกในปริมาณมาก ซึ่งมีสรรพคุณช่วยเรื่องการต่อต้านอนุมูลอิสระใน ร่างกาย 2. ใบกานพลูมีส่วนช่วยเผาผลาญแคลอรี ช่วยลดความอยากน้ าตาล และช่วยลดและควบคุมระดับ น้ าตาลในเลือด 3. กานพลูแก้ปวดฟัน ด้วยการใช้น้ ามันที่กลั่นมาจากดอกตูมของดอกกานพลูประมาณ 5 หยด แล้วใช้ ส าลีพันปลายไม้จุ่มน้ ามันน ามาอุดในรูที่ปวดฟันช่วยบรรเทาอาการปวดฟันได้ หรือจะน าดอกมาเคี้ยว แล้วอมไว้ตรงบริเวณที่มีอาการปวดฟันก็ได้ 4. ช่วยระงับกลิ่นปาก ใช้ดอกตูมของกานพลูประมาณ 3 ดอก อมไว้ในปากจะช่วยลดกลิ่นปากลงไปได้ เป็นส่วนผสมในน้ ายาบ้วนปากหลายชนิด 5. ช่วยบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน หน้ามืดตาลาย 6. ช่วยแก้อาการสะอึก แก้ซางต่าง ๆ 7. ดอกตูมของกานพลูใช้รับประทานเพื่อขับลม แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ 8. ช่วยบรรเทาอาการปวดท้อง ช่วยลดการบีบตัวของล าไส้ 9. กานพลูมีสรรพคุณช่วยลดอาการจุกเสียดแน่นท้อง ที่เกิดจากการย่อยอาหารไม่สมบูรณ์ 10.ช่วยแก้ลม แก้ธาตุพิการ บ ารุงธาตุ 11. ช่วยขับผายลม จับลมในล าไส้ (ดอกตูม) 12. เปลือกของต้นการพลู ช่วยแก้อาการปวดท้อง แก้ลม และช่วยคุมธาตุ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๑ 13. ผลของกานพลูน ามาใช้เป็นเครื่องเทศ ซึ่งเป็นตัวช่วยให้มีกลิ่นหอม 14.น้ ามันหอมระเหยของกานพลู (Essential oil) ช่วยฆ่าเชื้อโรคได้ (น้ ามันหอมระเหย) 15. น้ ามันหอมระเหยจากกานพลูมีส่วนช่วยฆ่าเชื้อจากบาดแผล แมลงสัตว์กัดต่อยได้ 16. น้ ามันกานพลู (Clove oil) น ามาใช้ในการแต่งกลิ่นอาหาร แต่งกลิ่นสบู่ และยาสีฟัน กานพูลเป็นส่วนผสมของสมุนไพรในต ารับยาต่าง ๆ หลายชนิด เช่น พิกัดตรีพิษจักร พิกัดตรีคันธ วาต ยาหอมเทพจิต ยาหอมนวโกฐ ยาธาตุบรรจบ ยาประสะกานพลู เป็นต้น กานพลูเป็นหนึ่งในสมุนไพรที่แนะน าให้รับประทานของหญิงให้นมบุตรเพราะช่วยเพิ่มการ ไหลเวียนของโลหิต และท าให้มีน้ านมเพิ่มมากขึ้น แต่ส าหรับหญิงที่อยู่ระหว่างการตั้งครรภ์ควรหลีกเลี่ยง การใช้น้ ามันหอมระเหยกานพลู เว้นแต่จะได้รับค าแนะน าจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ 5.โปร่งฟ้า ชื่อวงศ์ : RUTACEAE ชื่อวิทยาศาสตร์ : Murraya siamensis Craib. ชื่ออื่น : ส่องฟ้า,หวดหม่อนต้น,หัสคุณดง,ลอดฟ้า สรรพคุณของสมุนไพรโปร่งฟ้า 1. ใบโปร่งฟ้า มีรสหอมหวาน รสเผ็ดร้อน แก้ผื่นคัน แก้พิษตะขาบ ห้ามเลือด 2. แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้ไอเจ็บคอ ขับลม ท้องอืด แก้หวัด แก้ไซนัส ภูมิแพ้ หอบหืด 3. บ ารุงหัวใจ บ ารุงสมอง คลายกล้ามเนื้อ นอนกรน ลดไขมันในเลือด ความดันโลหิตสูง 4. เลิกเหล้า เลิกบุหรี่ ถอนพิษคาเฟอีนจากกาแฟ 5. บ ารุงหัวใจ บ ารุงสมอง ลดไขมันในเลือด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๒ นวัตกรรมสุขภาพ (จากผลงานวิชาการ) : การพัฒยาครีมจากสารสกัดใบของต้นสะเก็ดเงินในรูปแบบผลึกเหลว บทน า โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis) คือ โรคผิวหนังเรื้อรังชนิดหนึ่ง ที่มีสถิติพบผู้ป่วยโรคสะเก็ดเงิน ประมาณ ร้อยละ 2-4 ของประชากรทั่วโลก เป็นโรคไม่ติดต่อพบได้ทุกเพศทุกวัยและทุกเชื้อชาติทั่วโลก สาเหตุที่แท้จริงยังไม่ทราบแน่ชัด แต่มักเกิดจากความผิดปกติของภูมิคุ้มกันท าให้เกิดการแบ่งตัวของเซลล์ ผิวหนังเร็วกว่าปกติการเจริญเติบโตและพัฒนาการของผิวหนังไม่สมบูรณ์ เมื่อเทียบกับอาการในโรคตาม คัมภีร์วิถีกุฏฐโรคแล้วพบอาการดังกล่าวมีลักษณะเทียบได้กับโรค “เรื้อนมูลนก” และ “เรื้อนกวาง” เรื้อนมูลนก มีลักษณะอาการ เมื่อบังเกิดผุดขึ้นขึ้นมาเป็นแว่นเป็นวง ตามผิวหนังเล็กก็มีใหญ่ ก็มีสี ขาวนุง ขอบนูน มีสัณฐานดังกลากพรรนัย เรื้อนกวาง มีลักษณะอาการ เมื่อบังเกิดขึ้น เกิดตามข้อมือ ข้อเท้า และก าดลต้นคอ ท าให้เป็น น้ าเหลืองลามออกไป ลักษณะผิวหนัง แห้ง สะเก็ดจะบาง ขนาดเล็ก ละเอียด สีขาว ไม่นูนผิวเนื้อราบเรียบ เกิดจากลมกองและเลือด ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อเพิ่มทางเลือกในการน าสารสกัดจากสมุนไพร มาท าเป็น ผลิตภัณฑ์ในการบรรเทาอาการของโรคสะเก็ดเงิน และเพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวหนัง โดยใช้ NIKKOMULESS LC เป็นสารก่ออิมัลชั่น ส าหรับทาผิว เพื่อบรรเทาอาการโรคผิวหนังต่างๆ และยังมีมอยเจอร์ไรเซอร์เพื่อ เพิ่มความชุ่มชื้นให้ผิวหนัง การท าลายพิมพ์โครมาโตรกราฟีสารสกัดของต้นสะเก็ดเงิน เตรียมแผ่น HPTLC ขนาด 10×20 ซม. น ามาล้างด้วยเมทานอล 1 ครั้ง ก่อนใช้ เพื่อก าจัดสาร ปนเปื้อนที่ติดมากับแผ่น จากนั้นน ามาหยดสารสกัด โดยใช้เครื่อง Linomat 5 แล้วน ามาแยกในตัวท า ละลาย Dichloromethane : Methanol อัตราส่วน 9 ต่อ 1 ปล่อยให้ตัวท าละลายเคลื่อนที่เป็น ระยะทาง 8 ซม. น าแผ่น HPTLC ออกมา และปล่อยให้ตัวท าละลายระเหยออกไปให้หมด จากนั้นน ามา วัดภายใต้รังสียูวี ที่ 254 และ 365 นาโนเมตร และช่วงวิสิเบิล ที่ 480 นาโนเมตร โดยเครื่อง CAMAG Scanner 3 การเตรียม sample soiution ชั่งสารสกัดใบของต้นสะเก็ดเงิน 5 มิลลิกรัม ลงใน volumetric flask 50 มิลลิลิตร ละลายปรับ ปริมาตรด้วย methanol หลังจากนั้นน ามาเตรียมใส่ลงในเครื่อง 5 หยด ด้วยเข็มลงบนแผ่น แถบละ 1,2,3,4,5 ไมโครกรัม ผลการศึกษาและวิจารณ์ เมื่อน าสารสกัดใบของต้นสะเก็ดเงินที่ได้มาผสมกับสูตรต ารับครีมที่เตรี ยมไว้ ซึ่งในสูตร มีวัฏภาคน้ าและน้ ามันคนให้เท่ากัน ได้ตรีมจ านวน 5 สูตร พบว่าสูตรที่ 4 มีลักษณะเนื้อครีมที่มีความ เนียนพอดี ทาผิวแล้วพบว่ากระจายตัวและซึมเข้าสู่ผิวได้ดีเมื่อน าสูตรที่ 4 มีลักษณะของ maltese ซึ่งเป็น ลักษณะบ่งชี้ว่าเกิดเป็นผลึกเหลว น าไปวิเคราะห์หาองค์ประกอบของสารทุติยภูมิ ด้วยวิธีโครมาโตกราฟี (HPTLC) เป็นวิธีที่ง่ายต่อการควบคุมคุณภาพของสารสกัด โดยจะทราบสาระส าคัญ บ่งบอกว่าเป็นพีค พบว่า โคตรมาโตแกรมภายใต้รังสียูวีที่ 450 นาโนเมตร พบสาร rf 0.05 และ 0.97 ซึ่งสามารถระบุพีค ที่ 450 นาโนเมตร ที่พบสาร พด 0.97 เป็น Marker


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๓ สรุปผล การพัฒนาสูตรครีมสารสกัดจากใบของต้นสะเก็ดเงิน ที่มีส่วนผสมของสาร NIKKOMULESS LC เป็นสารก่อให้เกิดผลึกเหลว สูตรทั้ง 5 สูตร ที่มีความแตกต่างของปริมาณสารสกัด และปริมาณ NIKKOMULESS LC มีความคงตัวดีเมื่อผ่านไป 3 เดือนที่อุณหภูมิห้อง สูตรที่ 4 ที่มีสาร NIKKOMULESS LC ร้อยละ 6 และสารสกัดจากใบต้นสะเก็ดเงินร้อยละ 1.5 เป็นสูตรที่เหมาะสมที่สุดในการน าไปพัฒนา ต่อเป็นผลิตภัณฑ์รักษาโรคสะเก็ดเงิน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๔ “มรดกโลกล ้ำเลิศ ก้ำเนิดลำยสือไทย เล่นไฟลอยกระทง ด้ำรงพุทธศำสนำ งำมตำผ้ำตีนจก สังคโลกทองโบรำณ สักกำรแม่ย่ำพ่อขุน รุ่งอรุณแห่งควำมสุข” ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสุโขทัย Sukhothai Provincial Health Office “ยาเบญจกูล” เป็นต ารับยาที่ประกอบด้วยสมุนไพรทั้ง ๕ ตัว ยกตัวอย่างเช่น ดีปลี ช้าพลู สะค้าน เจตมูลเพลิงแดง และขิง ซึ่งเป็นต ารับยาที่บัญญัติอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ มีสรรพคุณในการใช้ เป็นยาปรับธาตุกระจายกองลม และโลหิต บ ารุงกองธาตุทั้ง ๔ ให้บริบูรณ์ เป็นพิกัดยาอายุวัฒนะ เป็นภูมิปัญญา สมุนไพรที่ใช้ดูแลรักษาสุขภาพมานานนับพันปีร่ายกายเราเปรียบเสมือนโรงงานวิเศษ ที่รู้จักคัดแยกและดูดซึมเอาแต่สิ่งที่เป็นประโยชน์ ไปใช้ด้วยความเหมาะสม แต่ถ้าธาตุผิดปกติหรือเสีย ก็เหมือนเครื่องจักรกลที่ก าลังช ารุด ประสิทธิภาพในการคัดเลือก แจกจ่าย ก็เสียหาย การฟื้นฟูสุขภาพ จึงต้องฟื้นฟูธาตุ ให้สมดุล จะมองเห็นได้ว่า สรรพคุณ ยาเบญจกูล เป็นยาสมุนไพรที่ครอบจักรวาล สามารถทานเพื่อรักษาอาการต่างๆที่เปลี่ยนไปจากปกติของธาตุทั้ง ๕ ให้ก าเนิดสมดุล แล้วก็ นอกเหนือจากที่จะช่วยรักษาให้ร่างกายปกติแล้ว ยังช่วยต้านทานอนุมูลอิสระให้ดูอ่อนกว่าวัย และยัง สามารถรับประทานตลอดได้ทั้งชีวิต คนโบราณจึงมักมี ต ารับยาอายุวัฒนะ สุ โขทัย SUKHOTHAI นายเมฑาวุธ ธนพัฒน์ศิริ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๕ “ยาเบญจกูล” ประกอบด้วยสมุนไพร ๕ ชนิด สรรพคุณทางยา : บ ารุงธาตุ แก้ธาตุให้ปกติ ขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ขนาดและวิธีใช้: ต้มกับน้ า ๓ ลิตร ๑๕-๒๐ นาที รับประทานครั้งละ ๑ ถ้วยกาแฟ (๒๕๐ มิลลิลิตร) ก่อนอาหาร วันละ ๓ ครั้ง เช้า-เที่ยง-เย็น ข้อห้ามใช้: ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ผู้ที่มีไข้ และเด็กเล็ก ข้อควรระวัง : - ไม่ควรใช้ยานี้ในฤดูร้อน เนื่องจากอาจท าให้ไฟธาตุก าเริบ - ไม่ควรรับประทานติดต่อกันนานเกิน ๗ วัน “สาระน่ารู้ . . . สมุนไพรใกล้ตัว” ๑. ดีปลี (ประจ าธาตุดิน) ดอก แก้ปถวีธาตุพิการ แก้ท้องร่วง ขับลมในล าไส้ ๒. ช้าพลู (ประจ าธาตุน้ า) ราก แก้ขัดเบา ขับเสมหะ เจริญอาหาร บ ารุงธาตุ ๓. สะค้าน (ประจ าธาตุลม) เถา ขับลมในล าไส้ แก้จุกเสียด ท าให้ผายลมและเรอ ๔. เจตมูลเพลิงแดง (ประจ าธาตุไฟ) ราก บ ารุงธาตุ บ ารุงเลือด ๕. ขิง (ประจ าอากาศธาตุ) เหง้า แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้จุกเสียด คลื่นไส้อาเจียน ๑. ดอกดีปลี ๒๐ กรัม ๒. รากช้าพลู ๒๐ กรัม ๓. รากเจตมูลเพลิงแดง ๒๐ กรัม ๔. เถาสะค้าน ๒๐ กรัม ๕. เหง้าขิงแห้ง ๒๐ กรัม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๖ “หมี่กรอบรุ่งอรุณแห่งความสุข” ประกอบด้วยวัตถุดิบหลัก ๑. หมี่กรอบ ๒. ไข่เจียว ๓. ต้นหอม ๔. ผักชี ๕. พริกสด ๖. ขิง ๗. กระเทียม ๘. งาขาว/งาด า ๙. ถั่วลิสง ๑๐. ใบมะกรูด วิธีการท า เส้นหมี่กรอบ ๑. เตรียมเส้นหมี่ส าหรับทอด แช่น้ าอุ่นประมาณ ๕ นาที พักในตะแกรงให้สะเด็ดน้ า ผสมน้ าเปล่า ๒ ถ้วยกับ น้ าส้มสายชู ๓ ช้อนโต๊ะ เตรียมไว้ ๒. น าเส้นหมี่ที่สะเด็ดน้ าจนหมาด ๆ ใส่ลงในหม้อ น้ าเปล่าผสมกับน้ าส้มสายชู พรมให้ทั่วเส้นหมี่ ทิ้งไว้ ๕ นาที พลิกเส้นหมี่กลับไป-มา พรมน้ าซ้ า ปิดทิ้งไว้ประมาณ ๑๐-๑๕ นาที (จะท าให้เส้นหมี่นุ่มนิ่มขึ้น) ๓. กระทะใส่น้ ามันตั้งไฟอ่อนรอให้น้ ามันร้อน ทอดเส้นหมี่ทีละน้อย ทอดเสร็จ ใส่ภาชนะพักไว้ วิธีการท า น้ าปรุงหมี่ ๑. ใส่น้ ามัน ๓ ช้อนโต๊ะ ใช้ไฟกลางค่อนข้างอ่อน ๒. เจียวหอมแดงกับผิวส้มซ่าให้หอม แบ่งผิวส้มซ่าเล็กน้อยเก็บไว้โรยหน้าหมี่กรอบ ๓. เจียวหอมแดงให้หอม เติมเครื่องปรุงรสทั้งหมดลงไป ใช้ทัพพีคน เคี่ยวให้เดือดจนเหนียว ประมาณ ๔-๕ นาที ลดไฟลงให้อ่อน ๔. น าเส้นหมี่ที่ทอดลงคลุกน้ าปรุงรส คลุกเบา ๆ ให้ทั่ว ๕. ตกแต่งด้วยผักที่เตรียมไว้ พร้อมทั้งงาด า/งาขาว ถั่วลิสง ไข่เจียวที่ซอยไว้ และใบมะกรูด ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๙. ๘. ๑๐ .


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๗ นวัตกรรมก้าวไกล...ใส่ใจสุขภาพ คู่มือการบริหารข้อเข่า และการใช้ยาพอกสมุนไพรบรรเทาอาการปวดข้อเข่า นายสามารถ กล้าแข็ง / นายอัศวิน ลิ้มฤกษ์ล ารึก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลแก้วศรีสมบูรณ์ อ าเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย บทน า จากข้อมูลประจ าปี ๒๕๖๑ ในเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเขาแก้ว ศรีสมบูรณ์ ทั้งหมด ๕,๔๑๑ คน มีประชากรที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ๑,๐๗๒ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๑๘ และได้มีการส ารวจ ข้อมูลสุขภาพผู้สูงอายุพบว่า มีผู้สูงอายุที่มีปัญหา จากอาการปวดข้อเข่าและโรคข้อเข่าเสื่อม จ านวน ๓๓๘ คน คิดเป็น ร้อยละ ๓๑.๕๓ ซึ่งจัดว่าเป็นปัญหาทางด้าน สุขภาพ ที่ส าคัญของกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเขาแก้ว ศรี สมบูรณ์จึงได้มีการศึกษาวิจัยผลของโปรแกรมการบริหาร ข้อเข่าและการพอกยาสมุนไพรสามารถช่วยบรรเทาความ รุนแรงของ โรคลมจับโปงข้อเข่าหรือโรคข้อเข่าเสื่อมได้ น าไปใช้ในคลินิกแพทย์แผนไทยทุกวันศุกร์ และมี แนวคิดขยายผลการน าไปใช้ด้วยตนเองที่บ้านจึงได้จัดท า นวัตกรรมคู่มือการบริหารข้อเข่าและการพอก ยา สมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า ที่สามารถอ่านและ ท าความเข้าใจได้ง่าย และสามารถน าไปปฏิบัติได้จริงใน ผู้สูงอายุที่มีอาการปวดข้อเข่า ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถ เข้าถึงสื่อโซเชียลมีเดีย (social Media) ต่างๆ ได้ โดยใช้ สมุนไพรที่มีในท้องถิ่นและการให้ความรู้เรื่องโรคพร้อม ค าแนะน าที่สอดคล้องกับสภาวะของผู้ที่มีอาการปวดข้อ เข่า เพื่อน าไปดูแลตนเองที่บ้านสามารถปฏิบัติตามคู่มือ ได้อย่างถูกต้อง และท ากิจวัตรประจ าวันได้ ใช้ชีวิตอย่าง มีความสุข วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อพัฒนาคู่มือการบริหารข้อเข่าและการพอกยา สมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า ๒. เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้คู่มือการบริหาร ข้อเข่าและการพอกยาสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อ เข่า วิธีด าเนินการ ๑. ขั้นตอนการส ารวจข้อมูลผู้สูงอายุ ๑.๑ คัดกรองผู้สูงอายุเรื่องอาการปวดข้อเข่า ในพื้นที่ รับผิดชอบ จากจ านวนผู้สูงอายุ ๑,๐๗๒ คน ๑.๒ ส ารวจผู้สูงอายุที่มาร่วมกิจกรรม ในวัน พฤหัสบดี ที่ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุต าบล เขาแก้วศรีสมบูรณ์ จ านวน ๕๓ คน พบผู้สูงอายุที่ มีอาการปวดข้อเข่า จ านวน ๒๒ คน ๑.๓ สอบถามความสมัครใจผู้สูงอายุที่มีอาการปวดข้อ เข่าหากกลุ่มตัวอย่างใช้คู่มือการบริหารข้อเข่าและการ ใช้ยาพอกสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่ามี ผู้สูงอายุสมัครใจ ๒๒ คน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๔๘ ๒. ขั้นตอนประชุมวางแผน และจัดเตรียมอุปกรณ์ ๒.๑ ประชุมเจ้าหน้าที่และผู้น ากลุ่มผู้สูงอายุ ต าบล เขาแก้วศรีสมบูรณ์ เพื่อชี้แจงกิจกรรม ร่วมวางแผน การด าเนินการศึกษา ๒.๒ จัดท าคู่มือการบริหารข้อเข่าและการใช้ยาพอก สมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า ให้เจ้าหน้าที่ ร่วมกันตรวจสอบก่อนน าไปใช้ ๒.๓ จัดท าแบบบันทึกการใช้คู่มือการบริหารข้อเข่า และการใช้ยาพอกสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อ เข่า โดยให้เจ้าหน้าที่ร่วมกันตรวจสอบก่อนน าไปใช้ ๒.๔ ประชุมกลุ่มตัวอย่างเพื่อชี้แจงขั้นตอน การศึกษา และจัดเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมก่อนการ เก็บข้อมูลด้วยการบันทึก ลงใน แบบบันทึกใช้ คู่มือ ๒.๕ กลุ่มตัวอย่างช่วยกันเตรียมยาพอกสมุนไพรสด เพื่อใช้ร่วมกับคู่มือการบริหาร ข้อเข่า ๒.๖ ต ารับยาพอกสมุนไพรสดน้ าหนัก ๕๐ กรัม ต่อการใช้ ๑ ครั้ง ประกอบด้วยสมุนไพร คือเหง้าไพล ใบผักเสี้ยนผี เหง้าขิง เหง้าข่า ใบกระดูกไก่ด า ใบ กระดูกไก่ขาว ใบกุ่มบก ใบทองพันชั่ง และสุรา ขาว การวิเคราะห์ข้อมูล วิ เคราะห์ ข้ อมู ลด้ วยสถิ ติ เชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) โดยการหาค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของการใช้คู่มือการบริหารข้อ เข่าและการพอกยาสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า จากการตอบแบบบันทึกของผู้ใช้จ านวน ๒๒ คน ผลการทดลอง ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างเป็นเพศหญิงมากที่สุดร้อยละ ๘๖.๓๖ เพศชายร้อยละ ๑๓.๓๔ มีอาชีพมากที่สุดอันดับที่๑ แม่บ้านร้อยละ ๔๕.๔๕ ล าดับที่ ๒ เกษตรกรร้อยละ ๓๑.๘๒ ล าดับที่๓ รับจ้าง และข้าราชการบ านาญร้อยละ ๙.๐๙ และล าดับที่ ๔ ค้าขายร้อยละ ๔.๕๕ กลุ่มตัวอย่างมี ช่วงอายุมากที่สุดล าดับที่ ๑ ระหว่าง ๖๐-๖๔ ปี ร้อยละ ๔๐.๙๑ล าดับที่ ๒ ระหว่าง ๖๕-๖๙ ปี และระหว่าง ๗๐ ถึง ๗๔ ปี ร้อยละ ๒๒.๗๓ ล าดับที่ ๓ ระหว่าง ๗๕ ถึง๗๙ ปี ร้อยละ ๙.๐๙ และล าดับที่ ๔ ระหว่าง ๘๐ ถึง ๘๔ ปี ร้อย ละ ๔.๕๕ ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่าง มีอายุเฉลี่ย ๖๗.๘๑ ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๖.๑๑ อายุมากสุดคือ ๘๒ ปี อายุ ต่ าสุด คือ ๖๐ ปี ส่วนที่ ๒อาการปวดข้อเข่าของผู้ใช้คู่มือการบริหารข้อเข่า และการใช้ยาพอกสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า จ านวนและร้อยละ จ าแนกอาการปวดข้อเข่า ของ กลุ่มตัวอย่าง (n=๒๒)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ส่วนที่ ๓ระยะเวลาที่ปวดข้อเข่า ระดับอาการปวด ข้อ ๑๔๙ เข่าก่อนและหลังการใช้คู่มือการบริหารข้อเข่าและการใช้ยา พอกสมนุไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระยะเวลาปวด ข้อเข่า ระดับอาการปวดข้อเข่าก่อนและหลังการใช้คู่มือ การบริหารข้อเข่าและการใช้ยาพอกสมุนไพรสด บรรเทาอาการปวดข้อเข่า (n=๒๒) แสดงการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระดับอาการปวด เข่า ก่อนและหลังใช้คู่มือการบริหารข้อเข่าและการใช้ ยาพอกสมุนไพรสดบรรเทาอาการ ปวดข้อเข่า (n=๒๒) ส่วนที่ ๔ การประเมินความพึงพอใจของการ ใช้คู่มือ การบริหารข้อเข่าและการใช้ยาพอกสมุนไพรสดบรรเทา อาการปวดข้อเข่า ท่านมีอาการปวดข้อเข่า ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการแปลผล ของระดับความพึงพอใจการใช้คู่มือการบริหารข้อเข่า และการใช้ยาพอกสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า (n=๒๒) สรุปผลการทดลอง ผลการด าเนินงานพบว่ากลุ่มตัวอย่างเป็นเพศ หญิงมากที่สุดร้อยละ ๘๖.๓๖ มีอาชีพเป็นแม่บ้าน มากที่สุดร้อยละ ๔๕.๔๕อายุระหว่าง ๖๐-๖๔ ปี มากที่สุดร้อยละ ๔.๙๑ ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างมีอายุ เฉลี่ย ๖๗.๘๑ ปี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๖.๑๑ อายุ มากที่สุดคือ ๘๒ ปี อายุต่ าสุด คือ ๖๐ ปี มีอาการ ปวดข้อเข่าข้างขวามากที่สุดร้อยละ ๗๗.๒๒ จุด ป ว ด ข อง ข้ อ เ ข่ า ด้ า น ห ลั ง สั ญ ญ า ณ ที่ ๓ (Plantaris)มากที่สุดร้อยละ ๑๘.๑๘ มีระยะเวลา ปวดข้อเข่ามีค่าเฉลี่ย ๑๑๕.๘๒ สัปดาห์ ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ๑๒๕.๘๙ มีระดับอาการปวด ข้อเข่าข้างซ้ายก่อนการใช้คู่มือมีค่าเฉลี่ย ๔.๕๔ เปรียบเทียบระดับอาการปวดข้อเข่าข้างซ้ายหลัง การใช้คู่มือมีค่าเฉลี่ย ๒.๖๒ พบว่ามีความแตกต่าง ของระดับอาการปวดลดลงที่ค่าเฉลี่ย ๑.๙๒ และ ระดับอาการปวดข้อเข่าข้างขวาก่อนการใช้คู่มือมี ค่าเฉลี่ย ๔.๕๓ เปรียบเทียบระดับอาการปวดข้อเข่า ข้างขวาหลังการใช้คู่มือมีค่าเฉลี่ย ๓.๒๙ พบว่ามี ความแตกต่างของระดับอาการปวดลดลงที่ค่าเฉลี่ย ๓.๙๘ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ๐.๘๕ มีผลความพึง พอใจอยู่ในระดับมาก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ประโยชน์ที่ได้รับ ๑๕๐ ๑. เกิดนวัตกรรมคู่มือการบริหารข้อเข่าและ การ พอกยาสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อเข่า ที่น ามา ใช้ได้จริงเพื่อบรรเทาอาการปวดข้อเข่า ในพื้นที่ต าบล เขาแก้วศรีสมบูรณ์ ๒. ผู้ใช้นวัตกรรมมีความพึงพอใจของคู่มือการบริหาร ข้อเข่าและการพอกยาสมุนไพรสดบรรเทาอาการปวดข้อ เข่า เอกสารอ้างอิง นงพิมล นิมตรอานันท. (๒๒๕๗) ,สถานการณ์ทาง ระบาดวิทยาและการประเมินความเสี่ยงโรคข้อเข่าเสื่อม ในคนไทย,วารสารพยาบาลทหารบก, ๕(๑๓) หน้า ๑๘๕- ๑๙๔ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์, (๒๕๖๑), สรุปผลการด าเนินงานปี ๒๕๖๐ โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบลเขาแก้วศรีสมบูรณ์, สุโขทัย:ผู้ แต่ง เอกสารอ้างอิง (ต่อ) รัตนาภรณ์ มากะนัตถ์, (๒๕๕๑), ผลการประคบ สมุนไพรแห้งต่ออาการปวดข้อเข่าในผู้สูงอายุโรคข้อ เข่าเสื่อม, วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร. เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ, (๒๕๔๒), คุณค่าสมุนไพรกับ การพัฒนาสังคมไทย, หมออนามัย, ๒(๘) หน้า ๓๗-๔๐ สุระเพ็ญ สุวรรณสว่าง, (๒๕๕๑), ผลของโปรแกรมการ ออกก าลังกล้ามเนื้อต้นขาต่อระดับความปวดของ ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมตามวัย, วิทยานิพนธ์พยาบาลศา สตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๕๑ คู่มือการบริหารข้อเข่าและการใช้ยาพอกสมุนไพรบรรเทาอาการปวดข้อเข่าและแบบประเมินผู้ป่วยที่ร่วมท าการวิจัย ผลของการอบไอน้ าสมุนไพรในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD) ในโรงพยาบาลทุ่งเสลี่ยม อ าเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย จักพงษ์วานเก่าน้อย / อุไร มงคลศรี แพทย์แผนไทย, นักกายภาพบ าบัด โรงพยาบาลทุ่งเสลี่ยม บทน า ประชากรในอ าเภอทุ่งเสลี่ยม ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปัญหาเผาป่า หมอก ควัน ฝุ่นละอองจึงเกิดขึ้นบ่อย ยากที่จะหลีกเลี่ยง ได้ ท าให้เกิดผลกระทบกับประชาชนและผู้ป่วยที่มี ปัญหาเรื่องระบบทางเดินหายใจ ในแผนกผู้ป่วย นอกของ โรงพยาบาลทุ่งเสลี่ยม พบผู้ป่วยโรคปอด อุดกั้นเรื้อรังเข้ามารับบริการรักษาเป็นอันดับ ๓ ใน ๕ ของโรคเรื้อรัง จากสถิติปี ๒๕๖๐ จ านวน ๒๔๔ คน ปี ๒๕๖๑ จ านวน ๑๗๔ คน ท าให้ต้องใช้ ทรัพยากรทั้งคน ยาและเงิน ในการดูแลผู้ป่วย กลุ่มนี้ เป็นจ านวนมาก แม้ว่าจะมีการปรับยาให้ เหมาะสมกับผู้ป่วยบางกลุ่มยังคงมีอาการก าเริบ รุนแรงบ่อยครั้ง จึงคิดหาวิธีเพื่อศึกษาผลของการ อบไอน้ าสมุนไพรในการรักษาผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้น เรื้อรังคู่ขนานกับการรักษาแพทย์แผนไทยปัจจุบัน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดีขึ้น วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการ อบไอน้ าสมุนไพรในผู้ป่วย โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง วิธีการศึกษา กลุ่มเป้าหมาย ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังสมัครใจเข้าร่วมอบ สมุนไพรที่ผ่านโปรแกรมครบ ๑๒ ครั้ง จ านวน ๓๐ คน ขั้นตอนการด าเนินงาน ๑. คัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง ๓๐ คนที่สมัครใจเข้า รับการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ๒. วัดค่า CAT SCORE ก่อนอบไอน้ าสมุนไพร ๓. นัดหมายผู้ป่วยให้ผู้ป่วยเข้ารับการ อบไอ น้ าสมุนไพรสัปดาห์ละ ๒ ครั้งต่อเนื่อง จ านวน ๑๒ ครั้ง (อบไอน้ าทั้งหมด ๓๐ นาทีรอบละ ๑๕ นาที พัก ๑๐ นาทีและเข้าอบสมุนไพรอีก ๑๕ นาที) ๔. ประเมินค่า CAT SCORE หลังจากอบไอ น้ าสมุนไพรครั้งที่ ๔,๘ และ ๑๒ สรุปผลการศึกษา ผู้ ป่ วยโ รคปอดอุ ดกั้ นเรื้ อ รัง ( COPD) เปรียบเทียบผลการประเมิน CAT Score ก่อน และหลังเข้าโปรแกรม ๔ ครั้ง ๘ ครั้ง และ ๑๒ ครั้ง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๑๑.๓๗, ๑๐.๖๐, ๘.๗๗ และ ๗.๐๐ ลดลงตามล าดับ แสดง ให้เห็นถึงคุณภาพ ชีวิตที่ดีขึ้นของผู้ป่วย อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.0๕ ๐. ๕. ๑๐. ๑๕. เดือนที่ ๑ เดือนที่ ๒ เดือนที่ ๓ ก่อน หลัง ๑๑.๓๗ ๑๑.๓๗ ๑๑.๓๗ ๑๐. ๖ ๘.๓ ๗ ๗


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๕๒ ประสิทธิผลโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และลดปริมาณการสูบบุหรี่ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย นางนงเยาว์ เจื้อยแจ้ว/ นางสาวกุลธิดา อิ่นแก้ว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลไทยชนะศึก อ าเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย ที่มาและความส าคัญ การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่ก่อให้เกิดโรค ร้ายตามมาอย่างร้ายแรง ท าลายสุขภาพ ตั้งแต่ ช่องปากและฟัน หลอดลม หลอดอาหารกระเพาะ อาหาร ตลอดจนท าลายเนื้อเยื่อและระบบการ ท างานของอวัยวะต่างๆ ให้สึกกร่อน ท าให้เกิด โรคมะเร็งหลายชนิด จากข้อมูลประชากรอายุ ๑๕ ปี ขึ้นไปในปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ในเขตความ รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ไทยชนะศึก ทั้งหมด ๓,๗๕๑ คน มีผู้สูบบุหรี่ จ านวน ๓๕๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๙.๓๕ สมุนไพรหญ้าดอกขาวในการช่วยเลิกบุหรี่ คือ ใน สารสกัดหยาบจากใบและดอก ที่ได้จาการเคี่ยวมี สาระส าคัญ คือ นิโคติน (nicotine) ในปริมาณ ต่ า ดังนั้น กลุ่มคนที่สูบบุหรี่ที่ค่อยๆ เลิกบุหรี่ได้ โดยไม่มีอาการข้างเคียงนั้น อาจเป็นผลมาจาก มีการทดแทนของสารนิโคตินในกระแสเลือดไม่ให้ ขาดหายไปทันที องค์การอนามัยโลกเสนอ แนวคิดเกี่ยวกับการแพทย์ทางเลือกที่สามารถ น ามาช่วยเสริมการรักษาทางแพทย์แผนไทย ปัจจุบันให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นโดยเรียกการบ าบัดนี้ว่า การดูแลแบบผสมผสาน การบ าบัดแบบผสมผสาน ดังนั้น คณะผู้จัดท าวิจัยจึงตระหนักถึงผลเสียที่ จะเกิดขึ้นกับผู้ที่สูบบุหรี่ จึงได้คิดค้นโปรแกรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดปริมาณ การสูบบุหรี่ ด้วย ศาสตร์การแพทย์แผนไทยขึ้นมา เพื่อการแก้ไขปัญหา ในพื้นที่และน าผลการศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบบุหรี่ในเขตพื้นที่ รับผิดชอบ วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการสูบบุหรี่ ก่อน และหลังการเข้าร่วมโปรแกรมของกลุ่มทดลอง ๒. เพื่อเปรียบเทียบจ านวนปริมาณบุหรี่ที่สูบ (มวน/วัน) ก่อนและหลังการเข้าร่วมโปรแกรมของกลุ่ม ทดลอง สมมติฐานการวิจัย หลังการเข้ าร่ วมโปรแกรมปรับเปลี่ ยน พฤติกรรมและลดปริมาณการสูบบุหรี่ ด้วยศาสตร์ การแพทย์แผนไทย พฤติกรรมและปริมาณการสูบ บุหรี่ของกลุ่มทดลองลดลงกว่าก่อนการทดลอง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข วิธีด าเนินการวิจัย ๑๕๓ การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (QuasiExperimental Design) โดยมีกลุ่มทดลองเป็น ผู้ที่สูบบุหรี่และสมัครใจ เข้าร่วมโปรแกรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและลดปริมาณการสูบ บุหรี่ จ านวน ๓๐ คน อายุ ๓๕-๘๐ ปี ซึ่งมี คุณสมบัติตามเกณฑ์คัดเข้า และเกณฑ์คัดออกที่ ก าหนด ระยะเวลาการทดลอง ๔ สัปดาห์ เครื่องมือใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย ส่วนที่ ๑ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ส่วนที่๒ แบบสอบถามข้อมูลพฤติกรรม เกี่ยวกับ การสูบบุหรี่ กิจกรรมในโปรแกรม ๔ สัปดาห์ ดังนี้ ๑. การใช้ยาอมสมุนไพรหญ้าดอกขาว อม ครั้งละ ๒ เม็ด วันละ ๓ ครั้ง หลังอาหาร ๒. การนวดกดจุดเพื่อผ่อนคลายความเครียด ท า ๑ ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้งละ ๑๕ นาที ๓. การอบสมุนไพร ท า ๑ ครั้งต่อสัปดาห์ ครั้ง ละ ๑๕ นาที ระหว่างการให้โปรแกรมจะมีการท า แบบสอบถามหลังการทดลองในสัปดาห์ ที่ ๑ สัปดาห์ที่ ๓ และสัปดาห์ที่ ๔ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ า (Repented Measure One-way Anova) ผลการวิจัย ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ า (Repented Measure One-way Anova) ส่วนที่ ๑ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูล ด้านการสูบบุหรี่ กลุ่มทดลองเป็นเพศชายมากที่สุด ๒๓ คน มี ค่าเฉลี่ยอายุ ๕๘.๖๓ อายุมากที่สุดคือ ๘๐ ปี อายุ น้อยที่สุด ๓๕ ปี ชนิดบุหรี่ที่สูบเป็นยาเส้น/มวนเอง/ ใบจากมากที่สุด ๒๒ คน บุหรี่ซอง จ านวน ๘ คน จ านวนสูบบุหรี่มากที่สุด วันละ ๖-๑๐ มวน จ านวน ๑๘ คน มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ ๑๐ มวนต่อวัน โดยสูบมาก ที่สุด ๒๐ มวน ต่อวัน น้อยที่สุด ๕ มวนต่อวัน ระยะเวลาที่ สูบบุหรี่มากกว่า ๒๐ ปี มากที่สุด จ านวน ๑๙ คน มีค่าเฉลี่ย คือ ๓๒ ปี ระยะเวลาที่สูบมากที่สุด คือ ๖๕ ปี ระยะเวลาที่สูบบุหรี่น้อยที่สุด คือ ๖ ปีเคย พยายามเลิกบุหรี่ ๒๑ คน ไม่เคยพยายามเลิกบุหรี่ ๙ คน ส่วนที่ ๒ ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการสูบบุหรี่ และลดปริมาณการสูบบุหรี่แสดงคะแนนเฉลี่ย พฤติกรรมการสูบบุหรี่ จ าแนกตามระยะการทดลอง (n=๓๐)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๕๔ ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยพฤติกรรม การสูบบุหรี่ ก่อนและหลังการทดลอง พบว่า สัปดาห์ที่ ๒ ไม่มีความแตกต่างกับก่อนทดลอง (p-value= ๐.๑๒)สัปดาห์ที่ ๓ และสัปดาห์ที่ ๔ มีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการสูบบุหรี่ลดลงอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value = ๐.๐๐๑)แสดงค่าเฉลี่ยมวนบุหรี่ จ าแนกตาม ระยะการทดลอง (n=๓๐) ผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยพฤติกรรม การสูบบุหรี่ ก่อนและหลังการทดลอง พบว่าผล การเปรียบเทียบก่อนการทดลองกับหลังการ ทดลองสัปดาห์ที่ ๒ ไม่มีความแตกต่างกัน (pvalue= ๐.๑๑๓)สัปดาห์ที่ ๓ และสัปดาห์ที่ ๔ มี ค่าเฉลี่ยมวนบุหรี่ลดลงอย่าง มีนัยส าคัญทาง สถิติที่ระดับ ๐.๐๕ (p-value<๐.๐๐๑ สรุปผลการวิจัย พฤติกรรมการสูบบุหรี่เริ่มเปลี่ยนแปลงตั้งแต่ หลังการทดลองสัปดาห์ที่ ๓ ลดลงจนถึงระยะการ ทดลองสัปดาห์ที่ ๔ อย่าง มีนัยส าคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 และผลการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยมวน บุหรี่ ก่อนและหลังการทดลอง พบว่า ค่าเฉลี่ยมวน บุหรี่เริ่มลดลงตั้งแต่หลังการทดลองสัปดาห์ที่ ๓ และ ลดลงจนระยะการทดลองสัปดาห์ที่ ๔ อย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยต่อไป ๑. ควรมีการศึกษาในกลุ่มผู้สูบบุหรี่ในวัยรุ่น ๒. ควรใช้ระยะเวลาในการทดลองที่นานกว่า ๑ เดือน เกร็ดความรู้... หญ้าดอกขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Vernonia cinerea (L.) Less. ชื่อวงศ์ ASTERACEAE สรรพคุณทางยา ช่วยลดความอยากบุหรี่ มีฤทธิ์ท าให้ ลิ้นฝาด หรือชา ลดความอยากบุหรี่ และเมื่อสูบบุรี หลังจากดื่มชาหญ้าดอกขาว จะท าให้รู้สึกคลื่นไส้ อาเจียน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๕๕ ประสิทธิผลของขี้ผึ้งเบญจไพร เพื่อลดอาการคัดจมูก นางสาวยุวดี โอฬารวัตร แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย หลักการและเหตุผล ปัจจุบันอ าเภอบ้านด่านลานหอย มีผู้ป่วย ที่มีเป็นโรคหวัดหรือมีอาการ คัดจมูก มารับการ รักษาที่โรงพยาบาลบ้านด่านลานหอย อย่าง ต่อเนื่อง เนื่องจากสภาพอากาศ ที่เปลี่ยนแปลง บ่อย โดยการรักษาจะเป็นการ จ่ายยาทางแผน ปัจจุบัน กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยจึงเกิด นวัตกรรม “การศึกษาประสิทธิ ผลของขี้ผึ้งเบญจ ไพรเพื่อบรรเทาอาการหวัด”ขึ้นเพื่อเป็นการพัฒนา งานด้านการแพทย์ แผนไทยในสถานบริการ และ มีส่วนร่วมในการรักษาผู้ป่วยกลุ่มนี้ เพื่อลดการใช้ ยาบางกลุ่ม ที่มีผลข้างเคียงต่อร่างกายและเป็น ทางเลือกในการรับการรักษาอีกทางหนึ่ง วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อศึกษาผลก่อนและหลังของการใช้ขี้ผึ้ง เบญจไพร ในการลดอาการคัดจมูก ๒. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้ขี้ผึ้งเบญจ ไพร วิธีการศึกษา กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ จากผู้มา รับ บริการในโรงพยาบาลบ้านด่านลานหอย ที่มี ด้วยอาการคัดจมูก น้ ามูกไหล จาม คันจมูก เพศ หญิงหรือเพศชาย มีอายุ ๑๘ ปีขึ้นไปและไม่เกิน ๖๕ ปี จ านวน ๓๐ คน ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง (Purposive sampling) วัสดุอุปกรณ์ ๑. เอทานอลวาสลีน ๒. พาราฟิน ๓. น้ ามันยูคาลิปตัส ๔. น้ ามันปาล์ม ๕. น้ า ๖. พิมเสน ๗. การบูร ๘. เมนทอล ๙. หม้อต้ม ๑๐. มีด ๑๑. เตาแก๊ส ๑๒. บรรจุภัณฑ์ ๑๓. สารอิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier) สมุนไพรที่ใช้ ๑. หอมแดง ๒. ผิวมะกรูด ๓. ตะไคร้ ๔. ขิง ๕. ข่า ขั้นตอนการด าเนินงาน ขั้นตอนการท าขี้ผึ้งเบญจไพร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ผลการด าเนินงาน ๑๕๖ ส่วนที่ ๑ ข้อมูลในด้านสถานภาพของผู้ที่กรอก แบบสอบถาม อายุ >>> ระหว่าง ๕๑ – ๖๕ ปี เพศ >>> เพศหญิง อาชีพ >>> เกษตรกร โรคประจ าตัว >>> ภูมิแพ้อากาศ อาการหวัด/คัดจมูกในระยะ ๑ เดือน >>> ๑ ครั้ง วิธีการจัดการกับอาการ >>> ไปโรงพยาบาล ส่วนที่ ๒ แบบประเมินให้คะแนนความรุนแรง ของอาการก่อนและหลังการใช้ลูกขี้ผึ้งเบญจไพร ส าหรับบรรเทาอาการคัดจมูก โดยใช้การใช้ ประเมินตามเกณฑ์ให้คะแนนความรุนแรงของ แต่ละอาการ (nasal symptom score ; ๗– point Likert scale) ส่วนที่ ๓ กราฟแสดงความพึงพอใจของ ขี้ผึ้ง เบญจไพร มากที่สุด มาก ปานกลาง สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาถึงผลการเปรียบเทียบก่อนและ หลังการใช้ขี้ผึ้งเบญจไพรเพื่อลดอาการคัดจมูกพบว่า ค่าเฉลี่ยครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ แตกต่างกันอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕ ดังนั้นประสิทธิผล ของขี้ผึ้งเบญจไพรเพื่อลดอาการคัดจมูกจึงสามารถช่วย ลดอาการคัดจมูกได้ และค่าเฉลี่ยคะแนนความพึง พอใจในภาพรวม เท่ากับ ๔.๘๕ ถือได้ว่า มีการสร้าง ความสะดวกสบายในการน าไปใช้ในระดับหนึ่ง และยัง เป็นการส่งเสริมการใช้สมุนไพร โดยการน ามาสร้าง ผลงานให้เกิดประโยชน์ แก่ผู้มารับบริการ อีกทั้งยัง เป็นการลดการ ใช้ยาแผนปัจจุบันยาปฏิชีวนะและ เพิ่มการรู้จักการใช้สมุนไพรอีกทางหนึ่ง เกร็ดความรู้... อาการคัดจมูก จ าแนกได้๓ สาเหตุ ๑. อากาศที่ผ่านเข้า หรือออกจากจมูกน้อยลง ซึ่งเกิด จากเยื่อบุจมูกที่บวมมากขึ้นและมีการเพิ่มปริมาณของ น้ ามูก ๒. อากาศที่ผ่านเข้า หรือออกจากจมูกน้อยลง ซึ่งเกิด จากความผิดปกติทางกายวิภาค ๓. เป็นความรู้สึกของผู้ป่วยที่มีอากาศผ่านเข้า หรือออก จากจมูกน้อยลง ทั้งๆทีไม่มีอากาศ ที่ผ่านเข้าหรือ ออกจากจมูกน้อยลงจริง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๕๗ เสื้อลูกคลื่นบรรเทาปวด นางสาวอรุณี สิงห์รอ แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านใหม่สุขเกษม อ าเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย บทคัดย่อ ปัจจุบันวิชาชีพแพทย์แผนไทย เข้ามา มี บทบาทในการดูแลสุขภาพภาคประชาชนมากขึ้น โดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้น าภูมิปัญญาไทยและสมุนไพรไทยเข้าสู่ระบบ บริการสุขภาพ เพื่อเป็นทางเลือกให้ประชาชน เห็นความส าคัญ และเข้ามารับบริการของแพทย์ แผนไทยจ านวนเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากสังคมปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และ วัฒนธรรม ท าให้พฤติกรรมและแบบแผน การ ด าเนินชีวิตของคนเราเปลี่ยนแปลงไป ประชาชนใน ชนบทท างานหนักประเภท ยก แบก หาม และ เคร่งเครียดกับการท างาน ส่งผลให้เกิดการปวด กล้ามเนื้อต่าง ๆ ตามมา จาการส ารวจปัญหาสุขภาพชุมชนของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านใหม่สุขเกษม พบว่า ในระหว่าง ปี ๒๕๖๐–๒๕๖๒ มีผู้มารับ บริการด้วยอาการปวดหลัง จ านวน ๑๕๖ ราย จาก ผู้มารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยทั้งหมด ๔๒๑ ราย คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๐๕ (ข้อมูลจากโปรแกรม GDC จ.สุโขทัย) ซึ่งปัญหาอาการปวดหลังดังกล่าว เป็นอาการเรื้อรัง ที่ต้องได้รับการบ าบัดรักษา ต่อเนื่อง แต่ผู้รับบริการส่วนใหญ่ไม่มีเวลาเข้ามา รับบริการได้ต่อเนื่อง ผู้ให้บริการจึงได้คิดค้น นวัตกรรม เสื้อลูกคลื่นบรรเทาปวด บรรเทาปวด หลังและเอว ที่สามารถช่วยบรรเทาอาการปวดตึง ของหลังและเอว โดยใช้วิธีกดจุดต่าง ๆ ตามหลักการของการแพทย์แผนไทยมารักษา โดยที่ ผู้รับบริการสามารถกลับไปใช้ที่บ้านได้และมีการ รักษาอย่างต่อเนื่อง นอกจากลดอาการ ปวดตึงของหลัง ได้แล้ว ยังช่วยเพิ่มการไหลเวียนของเลือดที่ได้หล่อ เลี้ยงไปยังกล้ามเนื้อหลัง ช่วยให้กล้ามเนื้อหลัง ท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มมาก จุดประสงค์และเป้าหมาย เพื่อเปรียบเทียบอาการปวดหลังก่อนและหลัง การใช้เสื้อลูกคลื่นบรรเทา วิธีการศึกษา เพื่อประเมินวัดระดับความปวดของคนไข้ที่มา รับบริการนวดรักษาในงานแพทย์แผนไทย ของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล บ้านใหม่สุขเกษม กลุ่มผู้ป่วยที่มารับบริการ ด้านการแพทย์แผนไทย ที่มารับบริการหัตถการเดือน มกราคม ถึง มีนาคม ๒๕๖๒ ทั้งหมด ๒๐ คน รูปแบบการด าเนินงาน ระหว่างรอรับบริการ ให้ผู้ป่วยทดลองใส่เสื้อลูกคลื่น บรรเทาปวด เวลา ๑๕ นาที ติดตามผลวัดความ เจ็บปวดก่อนใช้และหลังใช้ (Visual rating scales VRS) แสดงผลเป็นตารางแสดงระดับความเจ็บปวดที่ลดลง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ผลการศึกษา ๑๕๘ สรุปผลประเมินวัดระดับความปวดของ คนไข้ที่มีอาการปวดหลัง ที่มารับบริการหัตถการ โดยการนวดรักษา โดยแพทย์แผนไทยโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านใหม่สุขเกษม อ าเภอกง ไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย จ านวน ๒๐ คน แผนภูมิที่ ๑ แสดงจ านวน ร้อยละ จ าแนกตามเพศ อายุอาชีพ จากแผนภูมิที่ ๑ ส่วนข้อมูลทั่วไป พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน ๒๐ คน เป็นเพศหญิง มากกว่าเพศชาย ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วงอายุต่ า กว่า ๖๐ ปี การประกอบอาชีพส่วนใหญ่มีอาชีพ เกษตรกรรม แผนภูมิที่ ๒ แสดงผลของแบบประเมินวัดระดับความเจ็บปวด จากแผนภูมิส่วนที่ ๒ พบว่า คนไข้ที่มีอาการปวด หลัง มารับบริการทั้งหมด ๒๐ คน มีอาการปวด หลัง ลดลงทั้งหมด ๒๐ คน มี VRS ลดลง ๒ ระดับ จ านวน ๑๒ คน มี VRS ลดลง ๑ ระดับ จ านวน ๘ คน ส่วนที่ ๓ ความพึงพอใจ ผลงาน / นวัตกรรม พบว่าผลประเมินความพึงพอใจ ประโยชน์ของ ผลงานต่อการพัฒนางาน ระดับดีมาก ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ ระดับดีมาก การเลือก ใช้วัสดุอุปกรณ์ เหมาะสม ระดับดีมาก มีความเหมาะสมในการใช้งาน ระดับดีมาก ความสวยงาม ความคงทน ระดับดี ความ สะดวกสบายในการ ใช้งาน ระดับดีมาก ความ ปลอดภั ยในการ ใช้งาน ระดั บดี มาก ประสิทธิภาพในการ ใช้งาน หน่วยงานภายนอก สามารถน าไปใช้หรือดัดแปลงใช้ได้จริง ระดับดี สามารถแก้ปัญหาได้ และบรรลุตามวัตถุประสงค์ ระดับดีมาก ภาพนวัตกรรม เสื้อลูกคลื่นบรรเทาปวด ๐. ๒๐. ๔๐. ๖๐. ๘๐. ๑๐๐. เพศ อายุ อาชีพ ๑ ๕ ๘ ๕ ๕ ๕ ๔ ๕ ๕ ๐ ๒ ๐ ๓ ๐ ๐. ๒. ๔. ๖. ๘. ๑๐. ๑๒. ๑๔. VRS ลดลง 2 ระดับ VRS ลดลง 1 ระดับ ๑ ๒ ๘


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๕๙ ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพเท้า ต่อการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน นางสาวจิราภรณ์ เจ๊กอยู่ แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี เมืองเก่า อ าเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย บทน า การเกิดแผลเบาหวาน ก่อให้เกิดความพิการ และอาจท าให้ผู้ป่วยเบาหวานเสียชีวิตได้ การเกิด แผลที่เท้าจะเพิ่มความเสี่ยงต่อ การเสียชีวิต ๓.๕ เท่า ในช่วงระยะเวลา ๕ ปี และเป็นปัจจัยที่ท าให้มีการ เพิ่มค่าใช้จ่าย ในการรักษาผู้ป่วยในระดับโรงพยาบาล และการให้บริการในหน่วยบริการปฐมภูมิ สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นว มินทราชินี เมืองเก่า ตรวจคัดกรองภาวะ แทรกซ้อน ผู้ป่วยเบาหวาน ๒๖๓ ราย พบว่า มี ๑๐ ราย มีแผนที่ เท้า และ ๗๐ ราย มีการรับความรู้สึกที่เท้าลดลง ซึ่ง จ าเป็นต้องได้รับ การฟื้นฟูสุขภาพเท้าเพื่อป้องกัน ภาวะ แทรกซ้อนที่จะตามมา ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีแนวโน้มการเข้ารับบริการฟื้นฟูสุขภาพเท้า ที่ คลินิกแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้นร้อยละ ๖๐ จาก ปีงบประมาณ ๒๕๖๐ เจ้าหน้าที่มีให้บริการไม่ เพียงพอ คิวรับบริการยาวนาน ล่าช้า ท าให้ผู้ป่วยไม่ มารับบริการตามนัด ผู้รับผิดชอบงานคลินิกแพทย์แผนไทยและ ผู้เกี่ยวข้องจึงมีแนวคิดให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการดูแล สุขภาพ มุ่งเน้นผสมผสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยใช้กะลามะพร้าวที่มี ในชุมชนและสมุนไพร พื้นบ้านมาเป็นส่วนหนึ่งการศึกษาเป็นการลดปริมาณ ขยะและแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ ายุงลาย สร้างความ ยั่งยืน ทางสุขภาพและสมุนไพรในท้องถิ่นต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบอาการขาเท้าก่อนและหลังเข้า ร่วมโปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพเท้า วิธีการศึกษา รูปแบบการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (ONE GROUPPRETEST-POSTTEST DESIGN) ประชากรที่ศึกษา ผู้ป่วยเบาหวานมีอาการชา เท้าที่มารับบริการที่สถานีอนามัยเฉลิมพระ เกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี เมืองเก่า ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๒ จ านวน ๒๐ ราย เข้าโปรแกรมฟื้นฟู สุขภาพเท้าและตรวจการรับความรู้สึกที่เท้า ด้วย ๑๐ กรัม monofilament เครื่องมือที่ใช้ ๑. โปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพเท้า คือ เหยียบกะลา ใช้ กะลา ๒ ใบ เหยียบกะลาครั้งละ ๑๐ นาทีปฏิบัติ ๑ วัน เว้น ๒ วัน ทั้งหมด ๘ วัน ๒. แช่เท้าในน้ าสมุนไพร วันละ ๑ ครั้ง ครั้ง ละ ๑๐ นาที จ านวน ๘ สัปดาห์ การเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย ๓ ส่วน ส่วนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ส่วนที่ ๒ ข้อมูลการเจ็บป่วย ส่วนที่ ๓ แบบบันทึกการตรวจสุขภาพเท้า


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖๐ ขั้นตอนการศึกษา การรับรองการวิจัยในมนุษย์ เลขที่โครงการ/รหัส IBR ๗/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒ :ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด สุโขทัย ผลการศึกษา แผนภูมิที่ ๑ แสดงข้อมูลทั่วไป เพศ ผู้หญิง คิดเป็น ร้อยละ ๗๕ ของผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด อายุ ช่วงอายุ ๕๑-๖๐ ปี คิดเป็นร้อยละ ๕๕ ของผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด อาชีพ รับจ้าง คิดเป็นร้อยละ ๘๕ ของผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด แผนภูมิที่ ๒ แสดงข้อมูลการเจ็บป่วย อาการชาเท้า ขาเท้าขวา ร้อยละ ๖๐ ของผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด ระยะอาการชา ๓-๔, ๕-๖ เดือน ร้อยละ ๓๕ ของผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด โรคประจ าตัวเบาหวานและความดันโลหิต ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้เข้ารับ การอบรมทั้งหมด เชิงบวก (+) Noninsulin-dependent Diabetes mellitus Loss of protective Sensation (moderate risk) ๑๐ g. Monofilament >= ๓ จุด โรคประจ าตัว DM type ๒ / DM type ๒+HT เชิงลบ (-) Loss of protective Sensation (high risk) ไม่สมัครใจ ขอยุติการเข้าร่วม ข้อห้ามอื่นที่เป็นข้อห้ามในการรับบริการ ทาง การแพทย์แผนไทย เช่น ไข้ กระดูกหัก โรคประจ าตัว DM type2 / DM type2+HT ๐. ๒. ๔. ๖. ๘. ๑๐. ๑๒. ๑๔. ๑๖. ๑๘. เพศ อายุ อาชีพ ๕ ๑ ๕ ๑ ๘ ๑ ๑ ๒ ๐ ๑ ๗ ๑ ๐ ๐. ๕. ๑๐. ๑๕. ๒๐. ๒๕. อาการชาเท้า ระยะอาการชา โรคประจ าตัว ๒ ๒ ๐ ๑ ๒ ๖ ๕ ๗ ๗ ๑


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ผลของการทดสอบโปรแกรม ค่าสถิติทดสอบที paired t test ๑๖๑ Mean S.D. ค่าเฉลี่ย ของผลต่าง S.D. ค่าเฉลี่ยผลต่าง t df Sig ๑ tailed ก่อนเข้าโปรแกรม ๖.๔๐ ๐.๙๔๐ ๒.๔๐ ๐.๙๙๕ ๑๐.๗๙๐ * ๑๙ ๐ หลังเข้าโปรแกรม ๘.๘๐ ๐.๙๕๑ สรุปผลการศึกษา ผลจาการศึกษาเรื่องประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพเท้าต่อการลดอาการชาเท้า ในผู้ป่วยเบาหวานมีผู้ ที่มีอาการชาเท้าเข้าร่วมโปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพเท้า จ านวน ๒๐ ราย หลังจาก เข้าร่วมโปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพเท้า มีจ านวนจุดรับความรู้สึกที่เท้าเพิ่มขึ้น นั้นคืออาการชาเท้าลดลง จ านวน ๑๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐ ของผู้เข้าร่วม โปรแกรมทั้งหมด จึงสรุปได้ว่า ประสิทธิผลของโปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพเท้าต่อการลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน สามารถลดอาการชาเท้าในผู้ป่วยเบาหวานได้อย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ ๐.๐๕ โปรแกรมฟื้นฟูสุขภาพเท้า “การเหยียบกะลา” “การแช่เท้าในน้ าสมุนไพร” ไพล ใบมะขาม ใบพลับพลึง ขมิ้นชัน มะกรูด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖๒ ประสิทธิผลของใบพลับพลึงย่างไฟ เพื่อลดอาการปวดข้อ ในโรงพยาบาลสุโขทัย นางสาวยุพาพร จันทร์ตรง แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสุโขทัย อ าเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย บทน า คาดการณ์ว่าผู้ป่วยกระดูกและข้อเพิ่มขึ้น จาก ๔๐๐ ล้านคน ใน พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็น ๕๗๐ ล้านคน ใน พ.ศ. ๒๕๖๓ โดยเฉพาะโรคข้อเสื่อม (Osteoarthritis) สถิติผู้ป่วยโรคกระดูกและข้อในคนไทย พ.ศ. ๒๕๕๓ พบว่ามีผู้ป่วยโรคนี้มากกว่า ๖ ล้านคน โดยข้อที่เสื่อมมากที่สุด คือ ข้อเข่า กลุ่มอาการดังกล่าวยังเป็นสาเหตุของอาการ เจ็บป่วย ๑๐ อันดับแรก ที่มารับบริการการรักษาที่ โรงพยาบาลสุโขทัย (Hosxp โรงพยาบาลสุโขทัย ,๒๕๖๑) วัตถุประสงค์ ๑. เปรียบเทียบอาการปวดข้อเข่าระหว่าง กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม ๒. ประเมินความพึงพอใจต่อการใช้ ใบพลับพลึง เพื่อลดอาการ ปวดข้อเข่า ในกลุ่มทดลอง วิธีการด าเนินการ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบ สุ่ม ประเมินอาการปวด (ก่อน) ย่างใบพลับพลึง ๓ นาที วางใบพลับพลึงบริเวณหัวเข่า ประเมินอาการปวด (หลัง) วิเคราะห์ข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ผลการศึกษา ๑๖๓ ๑. ผลการเปรียบเทียบอาการปวดข้อเข่าในกลุ่มทดลองระหว่างก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มทดลอง Mean S.D. ผลต่างค่าเฉลี่ย T df P-value ก่อน ๗.๒๘ ๐.๙๓๖ - ๔.๐๔ - ๒๔.๐๒๙ ๒๔ ๐.๐๐๐ หลัง ๓.๒๔ ๑.๐๑๒ สรุป คะแนนเฉลี่ยระดับความปวดข้อเข่าในกลุ่มทดลองระหว่างก่อนและหลังการทดลอง แตกต่างกันอย่าง มีนัยส าคัญทางสถิติ ๒. ผลการเปรียบเทียบอาการปวดข้อเข่าในกลุ่มควบคุมระหว่างก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มควบคุม Mean S.D. ผลต่างค่าเฉลี่ย T df P-value ก่อน ๗.๒๐ ๐.๙๕๗ - ๓.๖๐ - ๒๒.๐๔๕ ๒๔ ๐.๐๐๐ หลัง ๓.๖๐ ๐.๗๖๔ สรุป คะแนนเฉลี่ยระดับความปวดข้อเข่าในกลุ่มควบคุมระหว่างก่อนและหลังการทดลอง แตกต่างกันอย่าง มีนัยส าคัญทางสถิติ ๓. ผลการเปรียบเทียบอาการปวดข้อเข่าหลังทดลองระหว่างก่อนและหลังกับกลุ่มควบคุม กลุ่มควบคุม Mean S.D. ผลต่างค่าเฉลี่ย T df P-value ก่อน ๓.๒๔ ๑.๐๑ - ๐.๓๖ - ๑.๔๒๐ ๔๘ ๐.๐๘๑ หลัง ๓.๖๐ ๐.๗๖ สรุป คะแนนเฉลี่ยระดับความปวดข้อเข่าหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ ๔. ความพึงพอใจจากการใช้ โดยประเมินหลังจากขั้นตอนการใช้ใบพลับพลึงลดอาการปวดข้อเข่า ประเมินความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย (S.D.) ระดับความพึงพอใจ ๑.อาการปวดข้อเท้าลดลง ๔.๓๓ ๐.๖๖ ระดับมาก ๒.อุปกรณ์ที่ใช้ไม่สะดวก ๔.๐๓ ๐.๗๒ ระดับมาก ๓.สามารถประยุกต์ใช้ในการดูแลตัวเองได้ง่าย ๔.๒๐ ๐.๖๖ ระดับมาก ๔.ลดค่าใช้จ่าย ๓.๘๓ ๐.๘๓ ระดับมาก ๕.ลดการรับประทานยาแก้ปวด ๔.๐๗ ๐.๕๘ ระดับมาก สรุปผล จากผลการศึกษา พบว่า การใช้ใบพลับพลึงย่างไฟสามารถลดอาการปวดข้อเข่า ประชาชนสามารถดูแลตนเอง ด้วยการใช้ใบพลับพลึงย่างไฟเพื่อลดอาการปวด ด้วยเหตุผลดังนี้ ๑. เป็นแนวทางการรักษาที่ไม่ต้องใช้งบประมาณ ๒. เป็นการสร้างความรู้ ความตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองของประชาชน ๓. เป็นแนวทางในการสร้างความยั่งยืนให้กับระบบสุขภาพบนพื้นฐานของการพึ่งพาตนเอง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖๔ “เหล็กน ้ำพี ลือเลื่อง เมืองลำงสำดหวำน บ้ำนพระยำพิชัยดำบหัก ถิ่นสักใหญ่ของโลก” ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์ Uttaradit Provincial Health Office “ยาสมุนไพร” “ยาแผนไทยพื้นบ้าน” อุ ตรดิตถ์ UTTARADIT นายเมฑาวุธ ธนพัฒน์ศิริ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล “ยาแผนไทยพื้นบ้าน” หมายถึง ยาแผนไทย พื้นบ้าน ที่มีการน ามาใช้ในการรักษาโรคอาการเจ็บป่วย ภายในท้องถิ่นตัวเอง เพื่อบรรเทาอาการปวด อาการ บาดเจ็บ หรือแม้นกระทั่งอาการป่วย “ยาสมุนไพร” หมายถึง ยาที่ได้จากพืช สัตว์ แร่ธาตุ ที่ ยังมิได้ผสมปรุงหรือแปรสภาพ สมุนไพร นอกจากจะ ใช้เป็นยาแล้ว ยังใช้ประโยชน์เป็นอาหาร เครื่องดื่ม อาหารเสริม เครื่องส าอางใช้แต่งกลิ่น แต่งสีอาหารและยา ดังนั้นการใช้สมุนไพรจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง และใช้อย่างถูกต้อง ปัจจุบันมีการตื่นตัวในการน า สมุนไพร มาใช้พัฒนาประเทศมากขึ้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖๕ “ต ารับยาแผนไทยพื้นบ้าน จังหวัดอุตรดิตถ์ ๑๑ ต ารับ” ๑. ต ารับยาแก้ไข้ทับฤดู ส่วนประกอบ ๑. ซังข้าวโพด ๒. จุก/ขั้วมะพร้าว ๓. ไม้ไผ่สีสุก ๔. ข้าวเย็นเหนือ ๕. ข้าวเย็นใต้ สรรพคุณ แก้ไข้ทับฤดู ๒. ต ารับยาแก้ไข้ทับฤดู ส่วนประกอบ ๑. แก่นฝาง ๒. เมล็ดฝ้าย ๓. ข้าวเปลือกข้าวเจ้า สรรพคุณ แก้ปวดท้องประจ าเดือน ๓. ต ารับยาอบแก้ลมผิดเดือน ส่วนประกอบ ๑. ขิง ๒. กระเทียม ๓. ขมิ้นชัน ๔. ดีปลี ๕. รากตะไคร้ ๖. พริกไทย สรรพคุณ แก้โรคลม ขับลมในร่างกาย กระตุ้นการไหลเวียนของลมในร่างกาย ๔. ต ารับยาพอกรักษาโรคมะเร็งมะเร็ง ผิวหนัง/งูสวัด ส่วนประกอบ ๑. ไพล ๒. ขมิ้นชัน ๓. ตะไคร้ ๔. เกลือตัวผู้ ๕. ข้าวสารเจ้า สรรพคุณ กัดหนอง สมานแผล ลดการอักเสบ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖๖ ๕. ต ารับยาทางูสวัด/เริม ส่วนประกอบ ๑. น้ ามันมะพร้าว ๒. น้ าปูนใส (ปูนแดง) ๓. พิมเสน สรรพคุณ รักษาแผลเรื้อรัง แผลกดทับ แผลน้ าร้อนลวกแผลมีหนอง โรคผิวหนัง ๖. ต ารับยาลดกรด/แก๊สในกระเพาะอาหาร ส่วนประกอบ ๑. ขมิ้นอ้อย ๒. ขมิ้นชัน ๓. ว่านนางค า ๔. ฟ้าทะลายโจร ๕. ไพล ๖. เพชรสังฆาต ๗. กระทือ สรรพคุณ ลดกรด/แก๊สในกระเพาะอาหาร ๗. ต ารับยาแก้ปวดกล้ามเนื้อ ส่วนประกอบ ๑. เถารางแดง ๒. เถาวัลย์เปรียง ๓. ดีปลี ๔. พริกไทย ๕. บอระเพ็ด สรรพคุณ แก้ปวดกล้ามเนื้อ ๘. ต ารับยาแก้ปวดกล้ามเนื้อ แก้กษัย (หลวงปู่ทองค า) ส่วนประกอบ ๑. เถาวัลย์เปรียง ๒. ทองพันชั่ง ๓. ตะโกนา ๔. ต้นแจง ๕. ไมยราบ สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖๗ สมุนไพรนับว่าเป็นภูมิปัญญาของคนไทย และมีความส าคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทย มาช้านาน แม้ปัจจุบัน การแพทย์สมัยใหม่จะเข้ามามีบทบาทในการดูแลรักษาอาการป่วยมากอยู่ก็ตาม แต่ความต้องการสมุนไพรน าไปใช้ เป็นส่วนประกอบของยา อาหารเสริม มีมากขึ้น ๙. ต ารับยาน้ ามันทาแก้ปวดเมื่อย ส่วนประกอบ ๑. ใบเปล้าใหญ่ ๒. ขมิ้นชัน ๓. ไพล ๔. ใบพลับพลึง ๕. เหง้าขิง ๖. น้ ามันงา ๗. น้ ามันมะพร้าว ๘. พิมเสน ๙. การบูร ๑๐. เมนทอล สรรพคุณ ทาแก้ปวดเมื่อย ๑๐. ต ารับยาพอกเข่า ส่วนประกอบ ๑. ผิวมะกรูด ๒. ขิงแก่ ๓. ข่าแก่ ๔. เหล้าขาว สรรพคุณ ขับลมในข้อ ขับลมในเส้น ๑๑. ต ารับยาทาแผลสด รักษาน้ าเหลืองเสีย ส่วนประกอบ ๑. ใบสาบเสือ ๒. ขมิ้นชัน ๓. ใบย่านาง ๔. เหล้าขาว สรรพคุณ รักษาแผลสด/รักษาน้ าเหลืองเสีย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖๘ “ต ารับยาไทยนั้น ไม่เคยปรากฏการใช้ยาเดี่ยว การรักษาโดยยาแผนโบราณ ต้องเป็นยาต ารับเท่านั้น” “หมี่พัน”เป็นอาหารพื้นเมืองของจังหวัดอุตรดิตถ์ เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทยโบราณ ที่มีมาอย่างยาวนาน หลายชั่วอายุคน ในการถนอมอาหารให้สามารถเก็บได้นาน และยังเป็นอีกหนึ่งเมนูที่แตกแขนงมาจาก “หมี่คุก" โดยน าหมี่คุกมาพันหรือห่อม้วนด้วยแผ่นข้าวแคบ หารับประทานได้ที่เมืองลับแลที่เดียวเท่านั้น คนพื้นถิ่น นิยมรับประทานเป็นของกินเล่นระหว่างวัน เมื่อต้องเดินทางไปไหนไกลๆ เช่น ท าไร่ ท านา วัตถุดิบหลักหมี่คุก และ หมี่พันสูตรสมุนไพร ๑. เส้นหมี่ไวไวลวก ๒. ถั่วงอกลวก ๓. ผักชีฝรั่งซอย ๔. กระเทียม ๕. น้ ามันที่เหลือจากการเจียวกากหมู ๖. กระเทียมเจียวและกากหมูเจียว ๗. น้ าปลา ๘. พริกป่น ๙. มะนาวผ่าซีก ๑๐. แผ่นข้าวแคบ วิธีท า (หมี่คุก) คลุกเส้นหมี่กับน้ ามัน ปรุงรสด้วยน้ าปลา พริกป่น และน้ าตาลทราย เคล้าให้เข้ากันจากนั้นใส่ถั่วงอกและผักชีฝรั่ง คลุกเคล้าอีกครั้ง ตักใส่จาน โรยหน้าด้วยกระเทียมเจียวและ กากหมูเจียว แคบหมู วางมะนาวเคียงไว้เผื่อเพิ่มรสเปรี้ยว วิธีท า (หมี่พันสมุนไพร) วางหมี่คุกลงบนแผ่นข้าวแคบชิดด้านใดด้านหนึ่ง จากนั้นม้วนแผ่นข้าวแคบให้แน่นมาประมาณครึ่งแผ่น พับริมแป้งด้านซ้ายหรือขวาแล้วม้วนต่อให้สุดแผ่นแป้ง ปลายด้านหนึ่งจะเปิด อีกด้านหนึ่งจะปิดไว้ส าหรับถือ กันไส้ไหลออกมาพร้อมรับประทาน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๖๙ นวัตกรรมก้าวไกล...ใส่ใจสุขภาพ ประสิทธิผลของแป้งแผ่นสมุนไพรบรรเทาอาการปวดเข่าในผู้ป่วยลมจับโปงแห้งเข่า เขตต าบลท่าสัก อ าเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ นายสหชาติ วิชัยปุก และนางสมคิด ทองกระสัน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลท่าสัก อ าเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ บทคัดย่อ การศึ กษานี้เป็นการศึ กษาทางคลินิ กมี วัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาการท าแป้งแผ่นสมุนไพรบรรเทา อาการปวดเข่า ๒) เพื่อทดสอบประสิทธิผลของการใช้แป้งแผ่น สมุนไพรในการบรรเทาอาการปวดเข่า ซึ่งได้ ท าการศึกษาในผู้ที่มีอาการปวดเข่าในเขตต าบลท่า สัก อ าเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ทั้งเพศชายและ เพศหญิง อายุ ๔๐ ปีขึ้นไปที่มีอาการปวดเข่าเรื้อรัง มากกว่าหรือเท่ากับ ๖ เดือน ใช้วิธีการเลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเจาะจง จ านวน ๒๐ ราย โดยการสุ่ม อาสาสมัคร ออกเป็น ๒ กลุ่ม คือ กลุ่มที่ ๑ กลุ่ม ทดลองใช้แป้งแผ่นสมุนไพรและกลุ่มที่ ๒ กลุ่ม ควบคุมใช้แป้งแผ่นยาหลอก โดยทั้ง ๒ กลุ่ม ให้ทดลองใช้แป้งแผ่นสมุนไพรในการพอกเข่าใน ระยะเวลา ๓ สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดย เปรียบเทียบความแตกต่างของระดับความเจ็บปวด ก่อนและหลังการทดลองใช้แป้งแผ่นสมุนไพร โดยใช้ สถิ ติทดสอบค่ า Paired –Samples T –Test และ Independent –Samples T –test ผลการศึกษา พบว่า ระดับความเจ็บปวดหลัง การทดลองใช้แป้งแผ่นสมุนไพร ผลที่ได้กลุ่ม ทดลองใช้แป้งแผ่นสมุนไพรมีระดับความเจ็บปวด ลดลงมากกกว่ากลุ่มควบคุมที่ใช้แป้งแผ่นยาหลอก มีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P value < ๐.๐๕) อย่างไร ก็ตามควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประมาณ สารส าคัญที่อยู่ในแป้งแผ่นสมุนไพร ที่มีผลต่อการ บรรเทาอาการเจ็บปวด เพื่อน า ไปประยุกต์ใช้กับ ผู้ป่วยต่อไป. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา วัตถุประสงค์ของการศึกษา ๑. เพื่อศึกษาการท าแป้งแผ่นสมุนไพรบรรเทา อาการปวดเข่า ๒. เพื่อทดสอบประสิทธิผลของการใช้แป้ง แผ่น สมุนไพรในการบรรเทาอาการปวดเข่า


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข วิธีด าเนินการศึกษา ๑๗๐ เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา แป้งแผ่นสมุนไพร ประกอบด้วย ๑. ใบพลับพลึงย่างไฟ ๑๐๐ กรัม ๒. เหง้าไพล ๑๐๐ กรัม ๓. เหง้าขิง ๑๐๐ กรัม ๔. เหง้าข่า ๑๐๐ กรัม ๕. เหง้าขมิ้น ๑๐๐ กรัม ๖. เกลือเม็ด ๕๐ กรัม ๗. การบูร ๕๐ กรัม ๘. เหล้า ๔๐ ดีกรี ๒๐๐ มิลลิลิตร ๙. แป้งข้าวจ้าว ๕๐๐ กรัม วิธีเตรียมแป้งสมุนไพร น าสมุนไพรในอัตราส่วนที่ก าหนด มาต า ให้ ละเอียดผสมเหล้า ๔๐ ดีกรี ๒๐๐ มิลลิลิตร ใส่เกลือ และการบูรลงไป ใช้แป้งข้าวจ้าวผสม ทีละน้อยเพื่อ เป็นตัวประสานนวดแป้งกับสมุนไพรให้เป็นเนื้อ เดียวกันบรรจุถุงละ ๑๐๐ กรัมใส่ไว้ในตู้เย็น เก็บไว้ได้ นาน ๑ เดือน การเก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผลการศึกษา ประสิทธิผลของแป้งแผ่นสมุนไพร เพื่อบรรเทาอาการ ปวดเข่ามีประสิทธิผลใน การบรรเทาอาการปวดเข่าใน ผู้ป่วยลมจับโปงแห้งเข่าเมื่อเปรียบเทียบทับแป้งแผ่น ยาหลอก ที่ท าขึ้น ผลการศึกษาในภาพรวมแป้งแผ่น สมุนไพรสามารถบรรเทาอาการปวดเข่าได้ดี อาการปวด เข่าลดลงอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับยา หลอก และมีระดับความพึงพอใจในการใช้แป้งแผ่น สมุนไพรในภาพรวม อาสาสมัครมีความพึงพอใจอยู่ ในระดับพอใจมาก ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถน าผลการศึกษาไปใช้ประโยชน์เชิงชุมชน/ สังคม ได้ดังนี้ การให้บริการคลินิกลมจับโปงเข่าในทุกวันอังคาร การท างานบริการเชิงรุกในชุมชน ออกให้บริการรักษา อาการปวดเข่า ด้วยแป้งแผ่นสมุนไพรบรรเทาอาการปวด เข่า


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๘๔ ปราชญ์พื้นบ้าน...จังหวัดนครสวรรค์ รพ.สต.บ้านจันเสน ต าบลจันเสน อ าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ พระครูนิสัยจริยคุณ ปัญญาโร นามเดิมชื่อ : นายวิสุทธิ แป้นโต แต่ชาวบ้านทั่วไปนิยมเรียกนามท่านว่า “หลวงพ่อโอด” เกิดเมื่อวันที่ ๒๘ เดือน ธันวาคม พุทธศักราช ๒๔๖๐ ณ บ้านเลขที่ ๑๐๓ หมู่ที่ ๗ บ้านหัวเขา ต าบลตาคลี อ าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ อุปสมบทเมื่อวันที่ ๒๑ เดือน พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๘๑ หลวงพ่อโอด ท่านเป็นพระที่มากด้วยความเมตรธรรม ท่านใดที่มีความทุกข์ร้อนใจ ก็มักที่จะไปพบ หลวงพ่อท่าน ท่านก็จะให้ข้อแนะน าที่ดีในการด าเนินชีวิตแก่บุคคลเหล่านั้น บ้างเจ็บไข้ได้ป่วยก็จะมาขอให้ ท่านช่วยในการรักษาอาการเจ็บไข้ทั้งหลาย อีกทั้ง ท่านได้เล่าเรียนต ารับ ต ารายากับพระเกจิอาจารย์ที่มี ชื่อเสียงในสมัยนั้น จึงท าให้ท่านมีวิชาความรู้ เรื่องต ารับ ต ารายาในการรักษาโรคต่าง ๆ ดังได้บันทึกไว้ ในสมุดบันทึกของท่าน น ครสวรรค์ NAKHON SAWAN พท.ศราวุฒิ จันดี รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล จันเสน เมืองโบราณ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๘๕ ตัวอย่างต ารับยา “แก้ความดันโลหิตสูง” : หลวงพ่อโอด กาฝากมะม่วง ทั้ง ๕ อย่าง มีดสับเป็นท่อน ๆ ตากแดดแห้ง แล้วคั่วให้เหลือง ชงน้ าร้อนหรือผสมใบชาดื่ม แก้ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ มึนงง จะหายทันที… หมายเหตุ : จากสมุดบันทึกต ารับยาหลวงพ่อโอด ชื่ออื่น : กาฝากมะม่วง, กาฝากมะม่วงพรวน, กาฝากมะม่วงกะล่อน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Dendrophthoe pentandra (L.) Miq. ชื่อวงศ์ : Loranthaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : กาฝากมะม่วง เป็นไม้พุ่มจ าพวกกาฝากอาศัยเกาะต้นไม้อื่น มีเนื้อไม้แข็ง ใบกาฝากมะม่วง เป็นใบเดี่ยว เรียงเวียนกันหรือบางครั้งออกตรงข้าม ตัวใบรูปไข่หรือรูปรี โคนใบเรียวปลายใบมนหรือแหลม ขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ผิวใบเกลี้ยงสีเขียวทั้งสอง ด้าน เนื้อใบหนาคล้ายแผ่นหนัง กรอบ ฉีกขาดง่าย ดอกกาฝากมะม่วง ออกเป็นช่อสั้น ตามซอกใบ ดอกเล็กสีเหลืองแกวเขียวหรือส้มแดง กลีบดอกมี 5 กลีบ ผลกาฝากมะม่วง รูปไข่ปลายตัดสีส้ม เมื่อสุกสีแดงอมชมพู เมล็ดเดี่ยว มีเยื่อหุ้มเมล็ดเหนียวใส สรรพคุณกาฝากมะม่วง : ราก ขับฟอกโลหิต ลดความดันโลหิตสูง ต้น, ใบ แก้โรคปัสสาวะพิการ แก้ลม ประสาทมึนงงในสมอง แก้ความดันโลหิตสูง ขับระดูขาว ทั้งต้น ลดความดันโลหิตสูง รักษาแผล สมานแผล แก้เบาหวาน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๘๖ นวัตกรรมสุขภาพ จุดเริ่มต้นงูขบแบบฉบับจันเสน...ในชุมชนหมู่บ้านสันติสุข หมู่ที่ ๑๑ ต าบลจันเสน อ าเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ มีทรัพยากรธรรมชาติอยู่มากมายหลายชนิด เช่น ต้นไผ่สีสุก และต้นลาน จึงได้ถือก าเนิด การก่อตั้งกลุ่มจักสานขึ้นในชุมชน โดยมรแกนน าในการจัดตั้ง คือ นางสาวสุมนี นาคแย้ม จนกระทั่งถึงปี พุทธศักราช ๒๕๔๙ นางสาวสุมนี นาคแย้ม ได้น าเอาใบลานที่มีอยู่มากมายในชุมชนมาใช้ให้เกิดประโยชน์ โดยการน ามาสานปลาตะเพียน และเป็นจุดเริ่มต้นการสานงูขบจากใบลานขึ้นอีกด้วย ซึ่งภูมิปัญญาของ ชาวบ้านนี้ได้น าไปสอนให้กับนักเรียนพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์และผู้ที่สนใจทั่วไป รวมไปถึงกลุ่ม นักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในชุมชนและวัดจันเสนด้วย วิธีการใช้ ๑. น าส่วนปลายที่มีลักษณะเหมือนปากของงู สวมสอดเข้าไปในนิ้วมือที่เราต้องการนวด โดยการสวม ให้ถึงโคนนิ้วมือ แล้วจับปลายดึงขึ้น – ลง ๒. เมื่อเรานวดเสร็จแล้ว ให้ย่นส่วนหางของงูขบลง เพื่อให้ตัวของงูขบเกิดการพองตัว ใช้ปลายนิ้วมือ แกะ และดึงออกได้ทันที ประโยชน์จากการนวดนิ้วมือด้วย “งูขบ” ช่วยบรรเทาอาการนิ้วล็อค อาการปวดนิ้วมือ นิ้วชา งูขบ (นิ้ว) แก้ได้ง่าย ๆ ด้วยภูมิปัญญาของไทยเรา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๘๗ “ถิ่นประสูติพระเจ้ำเสือ แข่งเรือยำวประเพณี พระเครื่องดีหลวงพ่อเงิน เพลิดเพลินบึงสีไฟ ศูนย์รวมใจหลวงพ่อเพชร รสเด็ดส้มท่ำข่อย ข้ำวเจ้ำอร่อยลือเลื่อง ต้ำนำนเมืองชำละวัน” ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดพิจิตร Phichit Provincial Health Office “หมอพื้นบ้าน ปราชญ์ผู้รู้” “เขามารักษา เขาให้บ้าง ไม่ให้บ้าง คนอยากหาย สตางค์ก็ไม่มี ก็จะบอกว่า ไม่เป็นไร เดี๋ยวหมอเป่าให้ อาศัยกันไป ไอ้ที่ดีน่ะ ไปเจอที่ไหนก็แล้วแต่ เขาเจอ เราก็ทักทาย สวัสดี เรียกหมอ ชื่นใจตรงนี้แหละ” หมอมนัส สุทธิกาศ หมอไทยดีเด่น (ปี ๒๕๖๒)ระดับเขตสุภาพที่ ๓ หมอน้ ามัน เท้าเปล่า ที่พึ่งสุขภาพของชุมชน บ้านสายดงยาง ต.ทับคล้อ อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร พิ จิตร PHICHIT นายเมฑาวุธ ธนพัฒน์ศิริ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๘๘ พ่อหมอมนัส สุทธิกาศ วัน-เดือน-ปีเกิด พ.ศ. ๒๔๙๒ อายุ ๗๑ ปี ชื่อ-สกุล คู่สมรส นางสมศรี สุทธิกาศ สถานที่ติดต่อ ๖๐๒ ม.๖ ต.ทับคล้อ อ.ทับคล้อ จ.พิจิตร ๖๖๑๕๐ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๑-๗๑๔๑๔๘๘ อาชีพ เกษตรกรรมและค้าขาย ความช านาญ หมอน้ ามัน เท้าเปล่า การอบรมความรู้ ศึกษาวิชาแพทย์แผนไทย จากบิดา นายเชื้อ สุทธิกาศ ตั้งแต่อายุ ๑๗ ปี และสืบทอดวิชา รักษา จากต าราเขมร “ภูมิปัญญา วิชาหมอน้ ามัน” การนวดและรักาโรคด้วยน้ ามัน โรคหลักที่ท าการรักษาผู้ป่วยด้วยน้ ามัน ได้แก่ อัมพฤกษ์ อัมพาต กระดูกหัก และอื่นๆ โดยใช้ น้ ามัน ที่ใช้ประกอบไปด้วย น้ ามันมะพร้าว ขุ้นตอนในการรักษาจะมีการใช้น้ ามันที่เตรียมไว้ในหม้อภาชนะ นวด หรือถูไปตามบริเวณที่ผู้ป่วยมีอาการ ร่วมกับการใช้คาถาของหมอผู้รักษา ในกรณีของกระดูกหัก หมอจะท าการใช้ น้ ามันชะโลมไปตามบริเวณ ที่กระดูกหักก่อนจะเข้าเฝือกไม้ไผ่ เพื่อเป็นการป้องกันการเคลื่อนตัวของกระดูกที่หัก และช่วยท าให้กระดูกเข้ารูปตามเดิมมากขึ้น พิธีกรรมและข้อปฏิบัติ หลังจากการนวดหรือรักษาเป็นที่เสร็จสิ้น และผู้ป่วยหายแล้วนั้น ผู้ป่วยจะต้องเสียค่ายกครู ๒ บาทลงในขัน หรือหม้อน้ ามัน เงินที่อยู่ในขัน หรือหม้อน้ ามันทั้งหมดจะต้องเอาไปท าบุญที่วัด หมอจะไม่เก็บเงินไว้ ที่ตัวเอง หรือเอาไว้ที่บ้าน การรับมอบศิษย์ ศิษย์ที่จะมาเรียนหรือรับการถ่ายทอดวิชา จะต้องมาเป็นคู่หรือ ๒ คน อายุนั้นต้องห่างกันประมาณ ๑๐ ปี ขึ้นไป หรือคนหนึ่งอายุน้อยกว่า อีกคนอายุมากกว่า พิธีมอบตัวศิษย์ทุกปี จะท าในเดือน ๖ ของปี และจะต้องเข้ารับการ ครอบครูในช่วงวัน ขึ้น ๖ ค่ า เดือน ๖ ของทุกปี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๘๙ “ขออุทิศตนเช่น ต้นข้าว น้อมรวงแทบเท้าดิน ให้ผู้คนได้ใช้กิน เพื่อเป็นทานอาหารยา ตัวข้าฯ ประเสริฐ สร้อยภู่ระย้า ผู้สูงวัยขออาสา ทั้งชีวา สืบสานสาธารณสุข อุดมการณ์ บ าบัดทุกข์ บ ารุงสุข เพื่อชุมชน” หมอประเสริฐ สร้อยภู่ระย้า หมอไทยดีเด่น (ปี ๒๕๖๓) ระดับเขตสุภาพที่ ๓ หมอยาไทย ต าราสมุนไพรมีชีวิตของชุมชน บ้านเขารวก ต.วังหลุม อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร พ่อหมอมนัส สุทธิกาศ วัน-เดือน-ปีเกิด๕ พฤศจิกายน ๒๔๙๑ อายุ ๗๗ ปี ชื่อ-สกุล คู่สมรส นางทุเรียน พุ่มศรี สถานที่ติดต่อ ๙/๑ ม.๕ ต.วังหลุม อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร ๖๖๑๕๐ เบอร์โทรศัพท์ ๐๙๐-๘๙๑๓๖๘๘ อาชีพ รับจ้าง ความช านาญ หมอยาไทย ต าราสมุนไพรรักษาโรค “ภูมิปัญญา วิชาหมอยาไทย ต ารายาสมุนไพรรักษาโรค” ต ารับยา ๓ ขนาน รักษาโรคลม อัมพฤกษ์ อัมพาต ขนาน ๑ โกฐสอ โกฐเขมา มหาหิงศ์ หนักสิ่งละ ๔ บาท การบูร กานพลู ดอกจันทร์ ลูก พิลังกาสา กัญชา หนักสิ่งละ ๖ บาท โกฐหัวบัว สมอเทศ กระล าพัก จันทร์ชะมดพริกหอม ดีปลี หนัก สิ่งละ ๘ บาท กระวาน สมอไทย ลูกจันทร์ หนักสิ่งละ ๑๐ บาท กฤษณา ขิงแห้ง หนักสิ่งละ ๑๒ บาท พริกไทยล่อน หนัก ๔๐ บาท ยาทั้งหมด บดผงละอียด กินครั้งละ ๑ ช้อนชา วันละ ๓ เวลา หลัง อาหาร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๐ ต ารับยา ๓ ขนาน รักษาโรคลม อัมพฤกษ์ อัมพาต (ต่อ) ขนาน ๒ ขี้เหล็กทั้ง ๕ หนัก ๕ ต าลึงไทย แสมสาร แสมทะเล หนักสิ่งละ ๘ บาท แก่น มะเกลือ หนัก ๑๐ บาท แกนปรู หนัก ๗ บาท สักขี หนัก ๕ บาท ส้มกุ้งน้อย หนัก ๓ บาท ส้มกุ้งไทย หนัก ๖ บาท โคกกระสุนทั้ง ๕ หนัก ๑๘ บาท โคกกระออม หนัก ๕ บาท จุกกระเทียม หนัก ๕ บาท รากทรงบาดาล หนัก ๕ บาท รากช้าพลู หนัก ๑๘ บาท รากผักเสี้ยนผี หนัก ๑๘ บาท รากเจตมูลเพลิงแดง หนัก ๒๑ บาท หัวยาข้าวเย็นทั้ง ๒ หนักสิ่งละ ๑๐ บาท พริกไทยล่อน หนัก ๔ บาท ขิงแห้ง หนัก ๔ บาท เกลือก หนัก ๑ บาท ต้มกิน ขนาน ๓ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐกระดูก โกฐสอ โกฐเชียง เทียนด า เทียนแดง เทียนตาตั๊กแตน เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี ลูกจันทร์ ดอกจันทร์ กระวาน กานพลู ว่านนางค า ว่านร่อนทอง ใบ ขี้เหล็ก หนักสิ่งละ ๔ บาท ต าป็นผง เคี่ยวกับน้ ามะพร้าวไฟ ใช้ทาถูนวดแขนขา วันละหลายๆครั้ง “ ๑ โรงพยาบาล ๑ โรคเรื้อรัง (ONE HOSPITAL ONE NCD)” ต ารับยาโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ลมอัมพฤกษ์ หมายถึง ลมที่ท าให้เกิดอาการเคลื่อนไหวไม่ได้ โดยกระดูกไม่เคลื่อน ลมอัมพาต หมายถึง ลมที่ท าให้เคลื่อนไหวไม่ได้ และมีอาการกระดูกเคลื่อน ลมจับเอาก้นกบไป ถึงราวข้าง จับเอาหัวใจแล้วให้ซึมมึน แล้วขึ้นไปราวบ่าทั้งสอง ขึ้นไป จับเอาต้นลิ้น เจรจาไม่ได้ชัดแล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๑ ยาปรุงเฉพาะราย ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ต ารับ ๑ เหง้าไพล เหง้าขมิ้นอ้อย เหง้าข่า หัวกระเทียม รากเจตมูลเพลิงแดง พริกไทยล่อน ลูกจันทร์ ดอกจันทร์ การบูร หนักสิ่งละ ๕ กรัม ต ารับ ๒ ผักเสี้ยนผี (ทั้งต้น) เปลือกต้นทองหลาง เปลือกต้นกุ่มบก เปลือกต้นกุ่มน้ า เกลือสินเธาว์ หนักสิ่งละ ๕ กรัม ต ารับยาอื่น ๆ ยาหอมเทพจิตร ยาหอมทิพโอสถ ยาหอมนวโกฐ ยาสหัสธารา ยาเถาวัลย์เปรียง ยาธรณีสัณฑฆาต และยามะขามแขก ผลลัพธ์การรักษา ระยะก่อนการรักษา ระยะหลังการรักษา ๔ เดือน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๒ ก่อนการรักษา ก่อนการรักษา หลังการรักษา ๑ เดือน หลังการรักษา ๑ เดือน ต ารับยาโรคสะเก็ดเงิน ต ารับยาสมุนไพรส าหรับต้มรับประทาน ยาหลัก แก้โลหิตน้ าเหลืองเสีย ข้าวเย็นเหนือ ข้าวเย็นใต้ ทองพันชั่ง เหงือกปลาหมอ หนักสิ่งละ ๓ บาท หัวร้อยรู ขันทองพยาบาท ราก/เนื้อไม้กระดูก หัวยั้ง หนักสิ่งละ ๒ บาท ยาช่วยแก้พิษในโลหิต บ ารุงเลือด จันทน์แดง จันทน์ขาว แกแล ก าแพงเจ็ดชั้น ฝางเสน รากตองแตก ใบมะกา ตรีผลา หนักสิ่งละ ๑ บาท ยาประกอบ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค เกสรบัวหลวง หนักสิ่งละ ๒ สลึง ยาทาแก้โรคผิวหนังสมุนไพร ยาทาน้ ามัน น้ ามันมะพร้าว หนัก ๑ ลิตร เมล็ดกระเบา เมล็ดกระเบียน หนักสิ่งละ ๕ บาทขมิ้นชัน หนัก ๒๐๐ กรัม ใบยาสูบหนัก ๒ บาท ข่า หนัก ๒๐๐ กรัม กระเทียม หนัก ๑๐๐ กรัม ทองพันชั่ง หนัก ๒๐๐ กรัม ลูก ล าโพง หนัก ๕ บาท ยาอาบแก้โรคผิวหนังสมุนไพร เหงือกปลาหมอ ทองพันชั่ง ใบส ามะงา หนักสิ่งละ ๓ บาท ขมิ้นชัน ใบ เปล้าใหญ่ ชุมเห็ดเทศ หนักสิ่งละ ๑ บาท พิมเสน ๑ ช้อนชา เกลือสมุทร ๑ หยิบมือ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๓ แสดงสาธิตและจ าหน่าย ผลิตภัณฑ์สมุนไพรจากหน่วยบริการระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลจาก ๑๗ แห่ง ทั้ง ๑๒ อ าเภอ ของจังหวัดพิจิตร “ ๑ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล ๑ ผลิตภัณฑ์” (ONE PCC ONE PRODUCT) ๑. ทิงเจอร์สามเกลอ รพ.สต.หนองโสน อ าเภอสามง่าม ๒. สเปรย์สมุนไพรลดความอยากบุหรี่ รพ.สต.วังหลุม อ าเภอตะพานหิน ๓. สบาย บาล์ม รพ.สต.ดงป่าค า อ าเภอเมืองพิจิตร จังหวัดพิจิตร ๔. ทิงเจอร์ข่าจากแอลกอฮอล์ รพ.สต.ท่าเยี่ยม อ าเภอสากเหล็ก ๕. ยาดมสมุนไพร รพ.สต.วังจิก อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง ๖. น้ ายาบ้วนปากกระชาย รพ.สต.ห้วยแก้ว อ าเภอบึงนาราง ๗. ยาหม่องสมุนไพรขัดมอญ รพ.สต.เขาทราย อ าเภอทับคล้อ ๘. สมุนไพรอบตัว รพ.สต.บ้านสายดงยาง อ าเภอทับคล้อ ๙. ผงสมุนไพรพอกเข่า รพ.สต.เนินมะกอก อ าเภอบางมูลนาก ๑๐. น้ ามันไพล รพ.สต.บ้านหนองยาง อ าเภอวังทรายพูน ๑๑.ยาหม่องไพล รพ.สต.บ้านหนองยาง อ าเภอวังทรายพูน ๑๒. ต ารับยาแก้ริดสีดวง รพ.สต.หนองหญ้าปล้อง อ าเภอวชิรบารมีจังหวัดพิจิตร ๑๓. น้ ามันหญ้าขัดมอญ รพ.สต.ไผ่รอบเหนือ อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง ๑๔. สเปรย์กระดูกไก่ด า รพ.สต.ไผ่รอบเหนือ อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง ๑๕. แผ่นแปะสมุนไพร ลดอาการปวดเข่า รพ.สต.ท่าบัว อ าเภอโพทะเล ๑๖. เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง รพ.สต.วังส าโรง อ าเภอตะพานหิน ๑๗. ยาหม่องพลับพลึง รพ.สต.ส านักขุนเณร อ าเภอดงเจริญ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๔ “ต ารับยาสนั่นไตรภพ” สูตรต ารับยา ๑. กะเพรา ๒. แมงลัก ๓. ผักเสี้ยนผี ๔. กระชาย ๕. กัญชา ๖. พริกไทย ๗. หอมแดง ๘. หญ้าไทร ๙. เกลือ ๑๐. คัดเค้า ๑๑. ลูกจันทน์ ๑๒. ดอกจันทน์ ๑๓. กระวาน ๑๔. กานพลู ๑๕. เทียนด า ๑๖. เทียนขาว ๑๗. การบูร ๑๘. น้ ามันงา สรรพคุณ แก้กษัยเหล็ก ขนาดและวิธีใช้ ใช้น้ ามันทารีดท้อง นวดคลึงบริเวณรอบสะดือถึงชายโครง ทิศตาม เข็มนาฬิกา ๓ วันก่อน แล้วจึงให้กินน้ ามัน ครั้งละ ๓-๕ มิลลิลิตร กินวันละ ๑ ครั้ง ก่อนอาหารเช้า เป็นเวลา ๓ วัน “ต ารับยาศุขไสยยาศน์” สูตรต ารับยา ๑. การบูร ๒. ใบสะเดา ๓. หัสคุณเทศ ๔. สมุลแว้ง ๕. เทียนด า ๖. โกฐกระดูก ๗. ลูกจันทน์ ๘. ดอกบุนนาค ๙. พริกไทย ๑๐. ขิงแห้ง ๑๑. ดีปลี(ดอก) ๑๒. ใบกัญชา สรรพคุณ ช่วยให้นอนหลับ เจริญอาหาร ขนาดและวิธีใช้ ๑. ยาศุขไสยาศน์ ผสมน้ าผึ้งปั้นเป็นลูกกลอนรับประทาน ๒. ยาศุขไสยาศน์ ชงน้ าร้อน แทรกด้วยน้ ามะนาว(มะนาว) รับประทาน ๓. ยาศุขไสยาศน์ ชงด้วยน้ าดอกไม้เทศน์รับประทาน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๕ “สาระน่ารู้. . . สมุนไพรใกล้ตัว” ๑. กะเพรา ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum tenuiflorum L. สรรพคุณใช้เป็นยาแก้พยาธิ ขับพยาธิช่วยแก้อาการร้อนใน แก้อาการท้องร่วงท้องเสีย ๒. แมงลัก ชื่อวิทยาศาสตร์ Ocimum x africanum Lour. สรรพคุณ ใช้เป็นยาขับลม ขับเหงื่อ แก้ไอ บรรเทาอาการ ปวดฟันได้ดี ๓. ผักเสี้ยนผี ชื่อวิทยาศาสตร์ Cleome viscosa L. สรรพคุณ รสขมร้อน เจริญไฟธาตุ คุมแก้ลม แก้ปวดท้อง ลงท้อง ท าให้หนองแห้ง แก้ฝีภายใน ๔. กระชาย ชื่อวิทยาศาสตร์ Boesenbergia rotunda L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด ขับลม ช่วยให้กระเพาะและล าไส้ ๕. กัญชา ชื่อวิทยาศาสตร์ Cannabis sativa L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้พยาธิ ขับพยาธิช่วยแก้อาการร้อนใน แก้อาการท้องร่วง ท้องเสีย ๖. พริกไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ Piper nigrum L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาลดอาการท้องอืดเฟ้อ ขับลมในล าไส้ ช่วยเจริญอาหาร แก้กองลม และช่วยบ ารุงธาตุ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๖ “สาระน่ารู้ . . . สมุนไพรใกล้ตัว” ๗. หอมแดง ชื่อวิทยาศาสตร์ Allium ascalonicum L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาขับลมในล าไส้แก้ปวดท้อง บ ารุงธาตุ แก้หวัดคัดจมูก ใช้หัวต าสุมหัวเด็กแก้หวัด ๘. หญ้าไทร ชื่อวิทยาศาสตร์ Leersia hexandra L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ แก้โลหิตประจ าเดือนเป็นลิ่ม ซึ่งท าให้เจ็บปวดตามท้องน้อยและบั้นเอว ๙. เกลือ ชื่อวิทยาศาสตร์ - สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้ท้องผูก) ล้างเมือกในล าไส้ ขับพยาธิในท้อง แก้ระส่ าระสาย แก้สมุฎฐานตรีโทษ ๑๐. คัดเค้า ชื่อวิทยาศาสตร์ Oxyceros horridus L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาขับโลหิต รักษาไข้เพื่อโลหิต รักษาโรค รัตตะปิดตะโรคและช่วยแก้อาการท้องเสีย ๑๑. ลูกจันทน์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Myristica fragrans Houtt. สรรพคุณ ใช้เป็นยาบ ารุงก าลังแก้ไข้ บ ารุงหัวใจ บ ารุงธาตุ แก้จุกเสียด ขับลม คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย ๑๒. ดอกจันทน์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Myristica fragrans Houtt. สรรพคุณ ใช้เป็นยาบ ารุงโลหิต บ ารุงธาตุ ขับลม แก้ปวดมดลูก แก้ท้องร่วง บ ารุงก าลัง บ ารุงผิวเนื้อให้เจริญ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๗ “สาระน่ารู้ . . . สมุนไพรใกล้ตัว”(ต่อ) ๑๓. กระวาน ชื่อวิทยาศาสตร์ Amomum krervanhPierre ex Gagnep สรรพคุณ ใช้เป็นยารักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ช่วยขับลม และแก้แน่นจุกเสียด มีฤทธิ์ขับลม และบ ารุงธาตุ ๑๔. กานพลู ชื่อวิทยาศาสตร์ Syzygium aromaticum L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาฆ่าเชื้อ แก้ปวดฟัน แก้ร ามะนาด แก้ปวดท้อง มวนในล าไส้ แก้ลม แก้เหน็บชา ๑๕. เทียนด า ชื่อวิทยาศาสตร์ Nigella sativa L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาขับเสมหะให้ลงสู่คูถทวาร ขับลมในล าไส้ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้อาเจียน บ ารุงโลหิต ๑๖. เทียนขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ Cuminum cyminum L. สรรพคุณ ใช้เป็นยาขับลม ใช้ขับผายลม ขับลมในล าไส้ บ ารุงธาตุ แก้ดีพิการ ขับเสมหะ ๑๗. การบูร ชื่อวิทยาศาสตร์ Cinnamomum camphora (L.) J.Pres สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้ปวดท้อง แก้ธาตุพิการ ขับลมในล าไส้ ใช้ทาถูนวดแก้ปวด แก้เคล็ดบวม ขัดยอก ๑๘. น้ ามันงา ชื่อวิทยาศาสตร์ Sesamum indicum L. สรรพคุณ ใช้น้ ามันที่สกัดจากเมล็ด ใส่บาดแผล และผสม เป็นน้ ามันทาถูนวดแก้เคล็ดขัดยอก ขัดยอก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๘ “สาระน่ารู้ . . . สมุนไพรใกล้ตัว”(ต่อ) ๑๙. ใบสะเดา ชื่อวิทยาศาสตร์ Azadirachta indica A.Juss. สรรพคุณ ใช้บ ารุงธาตุ ช่วยย่อยอาหาร ช่วยลดอาการปวด และบวมในข้อ ๒๐. หัสคุณเทศ ชื่อวิทยาศาสตร์ Micromelum minutum Wight&Arn. สรรพคุณ ใช้เป็นยาขับลมในท้องให้กระจาย ท าให้ผายเรอ ขับลมในล าไส้ให้กระจาย ๒๑. สมุลแว้ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้อาการวิงเวียน แก้ลมวิงเวียน ใจสั่น แก้พิษหวัด ก าเดา ขับลมในล าไส้ แก้ธาตุพิการ ๒๒. โกฐกระดูก ชื่อวิทยาศาสตร์ Aucklandia lappa DC. สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้ลมในกองเสมหะ (มักเกิดในตอนเช้า) บ ารุงหัวใจท าให้ชุ่มชื้น และบ ารุงกระดูก ๒๓. ดอกบุนนาค ชื่อวิทยาศาสตร์ Mesua ferrea L. สรรพคุณ บ ารุงโลหิต บ ารุงผิวกายให้สดชื่น แก้ร้อนใน แก้ลมกองละเอียด หน้ามืดวิงเวียนใจสั่น ๒๔. ขิงแห้ง ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber ligulatum Roxb. สรรพคุณ แก้พรรดึก แก้นอนไม่หลับ แก้ลมแน่นในทรวง แก้ลมเสียดแทง ลมวิงเวียน ลมคลื่นเหียน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๙๙ “สาระน่ารู้ . . . สมุนไพรใกล้ตัว”(ต่อ) ๒๕. ดีปลี (ดอก) ชื่อวิทยาศาสตร์ Piper retrofractum Vahl. สรรพคุณ ช่วยขับลม ลดอาการไอ ระคายคอจากเสมหะ ลดอาการท้องอืดท้องเฟ้อแน่นจุกเสียด ๒๖. สมอไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ Terminalia chebula Retz. สรรพคุณ เป็นยาระบายอ่อนๆ แก้ลมป่วง แก้ลมจุกเสียด รู้ผายธาตุ รู้ระบายรู้ถ่ายอุจจาระ ๒๗. พิลังกาสา ชื่อวิทยาศาสตร์ Ardisia elliptica Thunb. สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้ไข้ แก้ท้องเสีย แก้ลมพิษ ฆ่าเชื้อโรค แก้ธาตุพิการ แก้กามโรค แก้โรคหนองใน ๒๘. เทียนตั๊กแตน ชื่อวิทยาศาสตร์ Anethum graveolens L. สรรพคุณ เป็นยาขับลม บ ารุงก าลัง บ ารุงธาตุ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อในเด็ก แก้เสมหะพิการ แก้โรคก าเดา ๒๙. ขอนดอก ชื่อวิทยาศาสตร์ Mimusops elengi L. สรรพคุณ ใช้บ ารุงตับ บ ารุงปอด บ ารุงหัวใจ บ ารุงครรภ์ แก้ลมกองละเอียด แก้ลมวิงเวียน ๓๐. ว่านนางค า ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma aromatic Salisb. สรรพคุณ เป็นยาขับลมในล าไส้และแก้ปวดท้อง ใช้ฝนทา แก้เม็ดผื่นคัน ต าพอกแก้ฟกช้ า และข้อเคล็ด


Click to View FlipBook Version