The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kunnua Kandalf, 2023-02-13 03:30:37

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๖ 4.ขิงสรรพคุณ เหง้าแก่สด - ยาแก้อาเจียน - ยาขมเจริญอาหาร - ยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม - แก้ไอ ขับเสมหะ บ ารุงธาตุ - สามารถต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ลดอาการจุกเสียดได้ดี - มีฤทธิ์ในการขับน้ าดี เพื่อย่อยอาหาร - แก้ปากคอเปื่อย แก้ท้องผูก - ลดความดันโลหิต ต้น - ขับผายลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ แก้นิ่ว บ ารุงไฟธาตุ แก้คอเปื่อย ช่วยย่อยอาหาร ฆ่าพยาธิ แก้โรคตา แก้ บิด แก้ลมป่วง แก้ท้องร่วงอย่างแรง แก้อาเจียน ใบ - แก้โรคก าเดา ขับผายลม แก้นิ่วแก้เบาขัด แก้คอเปื่อย บ ารุงไฟธาตุ ช่วยย่อยอาหาร ฆ่าพยาธิ แก้โรคตา ขับลมในล าไส้ ดอก - ท าให้ชุ่มชื่น แก้โรคตาแฉะ ฆ่าพยาธิ ช่วยย่อยอาหาร แก้คอเปื่อย บ ารุงไฟธาตุ แก้นิ่ว แก้เบาขัด แก้บิด ผล - แก้ไข้ 5.ขมิ้นสรรพคุณ - ขมิ้นมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระซึ่งช่วยในการชะลอวัยและชะลอการเกิดริ้วรอย - ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้กับร่างกาย - ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ผิวหนังมีสุขภาพดีแข็งแรง - ขมิ้นชันอาจมีบทบาทช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง เช่น โรคมะเร็งล าไส้ มะเร็งปากมดลูก - ขมิ้นสามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่างกายได้ - ช่วยก าจัดสารพิษออกจากร่างกาย - ช่วยบรรเทาอาการของโรคเบาหวาน - มีส่วนช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูง - ช่วยลดอาการของโรคเกาต์ - ช่วยขับน้ านมของมารดาหลังคลอดบุตร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๗ 6.ไพลสรรพคุณ เหง้า - เป็นยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม - แก้บิด ท้องเดิน ขับประจ าเดือนสตรี ทาแก้ฟกบวม แก้ผื่นคัน น้ าคั้นจากเหง้า - รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม แพลงช้ าเมื่อย หัว - ช่วยขับระดู ประจ าเดือนสตรี เลือดร้าย แก้มุตกิดระดูขาว แก้อาเจียน แก้ปวดฟัน ดอก - ขับโลหิตกระจายเลือดเสีย ต้น - แก้ธาตุพิการ แก้อุจาระพิการ ใบ - แก้ไข้ ปวดเมื่อย แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้เมื่อย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๘ นวัตกรรมการป้องกันโรคไข้เลือดออกด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ด้วยผลิตภัณฑ์สมุนไพรไล่ยุง ไข้เลือดออกภัยร้ายจากยุงลาย การป้องกันยุงที่ได้จากธรรมชาติมีข้อดีกว่าสารเคมีสังเคราะห์ ที่ไม่สะสมเป็นอันตรายต่อสุขภาพ โดยเฉพาะเมื่อใช้เป็นเวลานาน และไม่ ท ารายสิ่งแวดล้อมและกระทบต่อระบบนิเวศวิทยาของพืชและสัตว์ จึง ปลอดภัยต่อผู้ใช้ นอกจากนี้ มักมีความจ าเพาะกับชนิดของยุงด้วย อย่าง น้ ามันหอมระเหยจากพืชในสกุลตะไคร้ มีฤทธิ์ป้องกันยุงได้หลายชนิด ทั้งยุงก้นปล่อง ยุงลาย และยุงร าคาญ ซึ่งงานแพทย์แผนไทยในพื้นที่ อ าเภอเขาย้อย และอ าเภอหนองหญ้าปล้องเห็นความส าคัญของการใช้ สมุนไพรเพื่อการป้องกันยุง จึงน ามาพัฒนารูปแบบการป้องกันยุงเพื่อให้ สามารถผลิตและใช้ได้กับในชุมชน และประชาชนทั่วไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลและรูปแบบผลิตภัณฑ์ สมุนไพรไล่ยุงที่มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อลดการใช้สารเคมีในชุมชน สรรพคุณ ไล่ยุง เ พชรบุรี PHETCHABURI นางสาวจิราภรณ์ ฮวดมัย รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๙ ส่วนประกอบ 1. ตะไคร้หอม 2. ผิวมะกรูด 3. การบูร 4. แอลกอฮอล์ 95 วิธีสกัดน้ ามันหอมระเหย น าต้นตะไคร้หอมมาสับพอหยาบ มะกรูดใช้แต่ผิวหั่นบาง น าตะไคร้ หอมและผิวมะกรูดใส่ภาชนะที่เตรียมไว้ แล้วน าแอลกอฮอร์ 95 เทใส่ให้ท่วมตัว ยา ปิดฝาให้สนิทแช่ไว้ 5-7 วัน แล้วน าสารสกัดมาไล่ยุง ผลการด าเนินงาน ผลและรูปแบบผลิตภัณฑ์สมุนไพรไล่ยุงที่มีประสิทธิภาพ คือ ตุ๊กตาไล่ยุง เจลไล่ยุงและก้านน้ าหอมไล่ยุง จ านวนหลังคาเรือน 52 หลัง ตุ๊กตาไล่ยุง เจลไล่ยุง ก้านไม้หอมไล่ยุง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๒๐ ความพึงพอใจ ไม่พึงพอใจ จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ 51 98.08 1 1.92 ข้อเสนอแนะ 1. ส่งเสริมการน าตุ๊กตาไล่ยุงป้องกันโรคไข้เลือดออกในจังหวัดเพชรบุรี เพราะเป็นการลดใช้สารเคมีและมี ต้นทุนในการผลิตที่ต่ า 2. มีการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เพื่อต่อยอดให้ตุ๊กตาไล่ยุงมีประสิทธิผลในการไล่ยุงมาก การแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลเขาย้อย อ าเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี โทร.08 0021 8704 นวัตกรรม น้ ายาบ้วนปากสมุนไพรลดบุหรี่ บุหรี่นับเป็นสิ่งเสพติดที่มีโทษมากมายและเป็นสาเหตุส าคัญของ การเกิดโรคมะเร็งในระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง ฯลฯ สถิติ สถานการณ์ ผู้สูบบุหรี่ในจังหวัดเพชรบุรีปี 2560 พบ อัตราการสูบบุหรี่ของประชากรอายุ 15 ปี ขึ้นไปมากถึง ร้อยละ 20.57 และจัดเป็นล าดับที่ 31 ของประเทศ ในต าบลหนองขนาน มีผู้สูบบุหรี่ จ านวน 297 คน ผู้สูบบุหรี่อาจมีความผิดปกติในช่องปากเกิดขึ้นเริ่มตั้งแต่ฟันผุ ฟัน ด า มีกลิ่นปาก ท าให้เหงือกและฟันเสี่ยงต่อการ ติดเชื้อมากกว่าคนที่ไม่ สูบถึง 2 เท่า กลุ่มงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล หนองขนาน จึงได้ตระหนักถึงความส าคัญในการลด ละ เลิกบุหรี่เพื่อ ตอบสนองนโยบาย โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุรีทั่วไทย เทิดไทองค์ราชัน จึงได้คิด ค้นนวัตกรรมน้ ายาบ้วนปากสมุนไพรลดบุหรี่ ภาพจาก www.samitivejhospitals.com/th/โรคจากบุหรี่/


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๒๑ วัตถุประสงค์ - เพื่อลดปริมาณการใช้สูบบุหรี่ในผู้ที่สูบบุหรี่ในต าบลหนองขนาน - เพื่อลดปริมาณผู้ที่สูบบุหรี่ในต าบลหนองขนาน - เพื่อส่งเสริมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพช่องปาก สรรพคุณ - ช่วยลดความอยากบุหรี่ - ช่วยลดกลิ่นปาก - ลดการอักเสบและฆ่าเชื้อแบคทีเรีย - ช่วยแก้โรคเหงือกร ามะนาด ปวดฟัน ส่วนประกอบ 1. กระชาย 1 ขีด 2. อบเชย 20 กรัม 3. กานพลู 20 กรัม 4. หญ้าดอกขาว 20 กรัม 5. พิมเสน 5 กรัม 6. การบูร 5 กรัม 7. เกลือ น้ า 1 ลิตร สรรพคุณของสมุนไพร กานพลูสรรพคุณ ลดการอักเสบและฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ช่วยแก้โรคเหงือก ร ามะนาด ปวดฟัน การบูร สรรพคุณ ช่วยแก้อาการปวดฟัน ช่วยขับเสมหะ ท าลายเสมหะ พิมเสน สรรพคุณ ช่วยแก้ปากเปื่อย ปากเป็นแผล เหงือกบวม ท าให้ลม หายใจสดชื่น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๒๒ กระชาย สรรพคุณ ช่วยแก้โรคในปาก เช่น ปากเปื่อย ปากแห้ง ปากเป็นแผล แก้ฝ้าขาวในปาก หญ้าดอกขาว สรรพคุณ ช่วยลดความอยากบุหรี่ ในหญ้าดอกขาวมีสารไนเตรทซึ่งจะไปเคลือบต่อม รับรสที่อยู่ บริเวณลิ้นท าให้ประสาทรับรู้รสบริเวณลิ้นรู้สึกชา ช่วยรักษาแผล ในปาก ปากเปื่อย ปากเป็นแผล เหงือกอักเสบ เหงือกบวม (ภาพจาก www.siangtai.com/2017/09/26/หมอเผยชาหญ้าดอกขาวลดเสี้ยนบุหรี่) เกลือ สรรพคุณ ช่วยฆ่าเชื้อและช่วยให้น้ ายาบ้วนปากสูรนี้เก็บได้นานขึ้นโดยไม่ต้องใช้วัตถุ กันเสีย (ภาพจาก https://decor.mthai.com/home-idea/tips-home-idea/42370.html) ขั้นตอนการท า 1. เตรียมอุปกรณ์ในการท า 2. ต้มน้ าให้เดือด 3. ใส่กระชาย 1 ขีด อบเชย 20 กรัม กานพลู 20 กรัม หญ้าดอกขาว 20 กรัม 4. ใส่เกลือ พิมเสน 5 กรัม การบูร 5 กรัม ปิดฝา 5. ต้มจนน้ าออกเป็นสีน้ าตาล กานพลูบานออกและนิ่มลง ปิดฝา ปิดไฟ 6. ทิ้งส่วนผสมให้หายร้อน 7. กรองให้เหลือแต่น้ า จากนั้นใส่ภาชนะที่ตรียมไว้ เช่น ขวด แพทย์แพทย์ไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลหนองขนาน ต าบลหนองขนาน อ าเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี โทร.09 0991 7781


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๒๓ จัดแสดงผลิตภัณฑ์ สบู่ล้างมือเบญจรงค์ ต้นเบญจรงค์ หรือ Ganges Primrose เป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่ขึ้นง่าย มีสรรพคุณทางยามากมาย มีฤกธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และเชื้อราหลายชนิด ลดการอักเสบของผิวหนัง ชุมชนช่องสะแก จึงน ามาพัฒนาให้เป็น สบู่ ล้างมือสมุนไพล แผนกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลช่องสะแก โทร.0 3240 1595 เจลล้างมือเบญจรงค์ สรรพคุณ เจลท าความสะอาดมือโดยไม่ต้องใช้น้ า ลดการสะสมของแบคทีเรียและ ไวรัส มีสารสกัดจากต้นเบญจรงค์ แผนกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลช่องสะแก โทร.08 6976 6608 น้ ามันไพล สรรพคุณ แก้ปวดกล้ามเนื้อ กระดูก และข้อ ลดอาการคัดจากแมลงสัตว์กัดต่อย แผนกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลช่องสะแก โทร.0 3240 1595


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๓๓ “นวัตกรรมภูมิปัญญา จังหวัดนาครนายก” เสื้อคลุมสมุนไพรอบบ่าบรรเทาอาการออฟฟิศซินโดรม(Office Syndrome) การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในปัจจุบันได้รับการส่งเสริมจากรัฐบาลให้เป็นทางเลือกอย่าง หนึ่งแก่ผู้รับบริการ กิจกรรมการแพทย์แผนไทยและทางเลือก ได้แก่ การจ่ายยารักษาโรคต่างๆ การนวดรักษา การ อบ การประคบสมุนไพร การดูแลมารดาหลังคลอด การฝังเข็ม การแปรรูปสมุนไพรมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ การปลูกสมุนไพรเพื่อน ามาใช้เอง ซึ่งมีประโยชน์ต่อการดูแลสุขภาพทั้งทางด้านส่งเสริมสุขภาพ การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพของประชาชน รัฐบาลสนับสนุนให้ใช้สมุนไพรให้ใช้สมุนไพรสร้างสุขภาพโดยเน้นให้มีการ เผยแพร่สมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพตนเองที่บ้าน ส มุทรสาคร SAMUTSAKHON นายจิรวัฒน์ คณาภิบาล รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๓๔ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อส่งเสริมอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยในการใช้สมุนไพร และให้ความรู้ด้านสมุนไพรไทยกับประชาชนได้ ดูแลสุขภาพตนเอง 2. เพื่อสร้างนวัตกรรมเสื้อคลุมสมุนไพรอบบ่าบรรเทาอาการออฟฟิศซินโดรม(Office Syndrome) 3. เพื่อลดการแออัดส าหรับผู้มารับบริการในโรงพยาบาล อุปกรณ์ที่ใช้/วิธีการท างานแบบเดิม (กรณีที่เป็นการปรับเปลี่ยนกระบวนการท างาน) ให้บริการผู้ป่วยด้วยการนวด ประคบอบสมุนไพรทั้งตัว จ่ายยาสมุนไพรและให้ค าแนะน าก่อนกลับบ้าน ด้วยการดูแลสุขภาพการพิชิตไมเกรนด้วยตนเอง วิธีการการท างานแบบใหม่ ให้บริการผู้ป่วยด้วยการสอนนวดกดจุดด้วยตนเอง (ตามสูตรพิชิดไมเกรนด้วยต้นเอง) อบบ่าด้วยเสื้อ สมุนไพร(จ่ายยาสมุนไพรเฉพาะบางรายที่มีอาการไม่ทุเลาจากการอบบ่า) สมุนไพรที่ใช้บรรเทาอาการออฟฟิศซินโดรม(Office Syndrome) 1. ไพล 2. ขมิ้นชัน 3. ตะไคร้ 4. ยูคาลิปตัส 5. การบูร 6. พิมเสน 7. สมุลแว้ง 8. ใบส้มป่อย 9. เกสรทั้ง 5 (มะลิ พิกุล บุนนาค เกสรบัวหลวง สารภี) สรรพคุณ ช่วยบรรเทาอาการปวดตึง คอ บ่า ไหล่ คลายเส้น บ ารุงหัวใจ แก้ลมวงเวียน กลิ่นหอม กระจายเลือดลม ให้เป็นปกติ ขั้นตอนการด าเนินการ 1. จัดท าเสื้อคลุมสมุนไพรอบบ่า ขนาดไม่เล็กไม่ใหญ่ส าหรับผู้มารับบริการ เลือกผ้าที่มีใช้ในโรงพยาบาล สมุทรสาครออกแบบเสื้อให้เหมาะสมในการใส่สมุนไพรและขนาดของผู้มารับบริการเสื้อคลุมสมุนไพรให้คลุมบ่าได้ ด้วยความร่วมมือจากงานตัดเย็บของโรงพยาบาลสมุทรสาคร 2. เลือกสมุนไพรที่มีน้ ามันหอมระเหย สรรพคุณบรรเทาอาการออฟฟิศซินโดรม(Office Syndrome) 3. ให้บริการ ให้ค าปรึกษา และส่งต่อจากแพทย์แผนปัจจุบัน อาการออฟฟิศซินโดรม(Office Syndrome)ในคลินิกการแพทย์แผนไทยทุกวันพฤหัสบดี เวลา 08.00-12.00น. และให้บริการเจ้าหน้าที่ใน โรงพยาบาลสมุทรสาคร ตามหน่วยงานต่างๆ 4. ผู้มารับบริการตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการให้บริการ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข 5. เก็บข้อมูลหลังเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการเป็นเสื้อคลุมสมุนไพรอบบ่า ๓๓๕ 6. ประเมินผลติดตามหลังการให้บริการ วิธีการปฏิบัติ 1.ให้ผู้มารับบริการนวดตนเองโดยใช้ 4 นิ้วมือกดบริเวณบ่า มือซ้ายนวดบ่าขวา มือขวานวดบ่าซ้ายข้างละ 5 ครั้ง 2.ประสานมือไว้ที่ท้ายทอย นิ้วหัวแม่มือกดโค้งคอ ท้ายทอย กดขึ้นลงเที่ยวละ 5 ครั้ง 3.ใช้ 2 นิ้ว นิ้วชี้ นิ้วกลางนวดที่ขมับทั้ง 2 ข้าง ตามเข็มนาฬิกา 10 ครั้ง 4.น าสมุนไพรส าหรับบรรเทาอาการออฟฟิศซินโดรม(Office Syndrome)เข้าไมโครเวฟให้เกดความร้อน 1-2 นาที 5.น าสมุนไพรผ่านความร้อนใส่เสื้อคลุมสมุนไพรอบบ่า แล้วน าเสื้อคลุมสมุนไพรรอบบ่า บรรเทาอาการ ออฟฟิศซินโดรม(Office Syndrome)ให้ผู้บริการมาใส่ไว้ 10-15 นาที สมุนไพรประจ าบ้าน 1.กะเพราแดง สรรพคุณ 1. ใช้ท าเป็นยาอายุวัฒนะ (the elixir of life) 2. ช่วยท าให้ร่างกายอบอุ่นและป้องกันอาการหวัดได้ (ใบ) 3. กะเพราเป็นส่วนประกอบของยาสมุนไพรหลายชนิด เช่น ยารักษาตานขโมยส าหรับเด็ก ยาแก้ทางเด็ก ฯลฯ 4. รากแห้งน ามาชงหรือต้มกับน้ าร้อนดื่ม ช่วยแก้โรคธาตุพิการ (ราก) 5. ช่วยบ ารุงธาตุไฟ (ใบ) 6. ช่วยแก้อาการคลื่นเหียนอาเจียน (ใบ) 2.มะกรูด สรรพคุณ ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ ใบ - มีน้ ามันหอมระเหย ผล, น้ าคั้นจากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ท าให้ผมสะอาด ผิวจากผล - ปรุงเป็นยาขับลมในล าไส้ แก้แน่น - เป็นยาบ ารุงหัวใจ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๓๖ 3.มะระขี้นก สรรพคุณ 1. ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ จึงมีส่วนช่วยในการชะลอความแก่ชราได้ 2. ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคให้กับร่างกาย (ผล) 3. ช่วยต่อต้านและป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง (ผล) 4. ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและไตรกลีเซอไรด์ในตับอย่างมีประสิทธิภาพ จึงมีส่วนช่วยในการลดความอ้วน 5. ช่วยป้องกันการหนาตัวของผนังหลอดเลือดแดง 4.ช้าพลู สรรพคุณ 1. ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระต่าง ๆ (ใบ) 2. ใบชะพลูมีรสเผ็ดร้อน ช่วยท าให้เจริญอาหารมากยิ่งขึ้น (ใบ) 3. ใบชะพลูมีเบต้าแคโรทีนในปริมาณมากซึ่งช่วยบ ารุงและรักษาสายตา ช่วยในการมองเห็น ป้องกันโรคตาบอด ตอนกลางคืน แก้โรคตาฟาง เป็นต้น (ใบ) 4. ช่วยยับยั้งและชะลอการขยายตัวของเซลล์มะเร็ง (ใบ) 5.ว่านหางจระเข้ สรรพคุณ ใบ - รสเย็น ต าผสมสุรา พอกฝี ทั้งต้น - รสเย็น ดองสุราดื่มขับน้ าคาวปลา ราก - รสขม รับประทานถ่ายโรคหนองใน แก้มุตกิด ยางในใบ - เป็นยาระบาย น้ าวุ้นจากใบ - ล้างด้วยน้ าสะอาด ฝานบางๆ รักษาแผลสดภายนอก น้ าร้อนลวก ไฟไหม้ ท าให้แผลเป็นจางลง ดับ พิษร้อน ทาผิวป้องกันและรักษาอาการไหม้จากแสงแดด ทาผิวรักษาสิวฝ้า และขจัดรอยแผลเป็น เนื้อวุ้น - เหน็บทวาร รักษาริดสีดวงทวาร เหง้า - ต้มรับประทานแก้หนองใน โรคมุตกิด 6.บัวบก สรรพคุณ 1. แก้อาการช้ าใน ลดอาการอักเสบ 2. เสริมสร้าง และกระตุ้นการสร้างคอลาเจน และอิลาสติกให้ผิวหนังเปล่งปลั่ง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข 3. บ ารุง และรักษาดวงตา และสายตา เพราะใบบัวบกมีวิตามินเอสูง ๓๓๗ 4. บ ารุงประสาท และสมอง เพิ่มความสามารถในการจ า ลดความเสี่ยงอัลไซเมอร์ หรือสมองเสื่อม 5. ลดความเครียด และคลายความกังวลได้ 7.ขิง สรรพคุณ เหง้าแก่สด - ยาแก้อาเจียน - ยาขมเจริญอาหาร - ยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืดเฟ้อ ขับลม - แก้ไอ ขับเสมหะ บ ารุงธาตุ - สามารถต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ลดอาการจุกเสียดได้ดี - มีฤทธิ์ในการขับน้ าดี เพื่อย่อยอาหาร - แก้ปากคอเปื่อย แก้ท้องผูก - ลดความดันโลหิต ต้น - ขับผายลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ แก้นิ่ว บ ารุงไฟธาตุ แก้คอเปื่อย ช่วยย่อยอาหาร ฆ่าพยาธิ แก้โรคตา แก้บิด แก้ลมป่วง แก้ท้องร่วงอย่างแรง แก้อาเจียน ใบ - แก้โรคก าเดา ขับผายลม แก้นิ่วแก้เบาขัด แก้คอเปื่อย บ ารุงไฟธาตุ ช่วยย่อยอาหาร ฆ่าพยาธิ แก้โรคตา ขับ ลมในล าไส้ ดอก - ท าให้ชุ่มชื่น แก้โรคตาแฉะ ฆ่าพยาธิ ช่วยย่อยอาหาร แก้คอเปื่อย บ ารุงไฟธาตุ แก้นิ่ว แก้เบาขัด แก้บิด ผล – แก้ไข้ 8.ตะไคร่ สรรพคุณ ทั้งต้น 1. รสฉุน สุมขุม แก้หวัด ปวดศีรษะ ไอ 2. แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด ขับลมในล าไส้ บ ารุงไฟธาตุ 3. ท าให้เจริญอาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร แก้ท้องเสีย 4. แก้ปวดข้อ ปวดเมื่อย ฟกช้ าจากหกล้ม ขาบวมน้ า 5. แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่ว ขับปัสสาวะ ประจ าเดือนมาผิดปกติ 6. แก้ปัสสาวะเป็นเลือด แก้โรคหืด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ราก ๓๓๘ 1. แก้เสียดแน่น แสบบริเวณหน้าอก ปวดกระเพาะอาหารและขับปัสสาวะ 2. บ ารุงไฟธาตุ ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้ปัสสาวะพิการ 3. รักษาเกลื้อน แก้อาการขัดเบา ใบสด - มีสรรพคุณช่วยลดความดันโลหิตสูง แก้ไข้ ต้น - มีสรรพคุณเป็นยาขับลม แก้ผมแตกปลาย เป็นยาช่วยให้ลมเบ่งขณะคลอดลูก ใช้ดับกลิ่นคาว แก้เบื่ออาหาร บ ารุงไฟธาตุให้เจริญ แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่วปัสสาวะพิการ แก้หนองใน 9.ฟ้าทะลายโจร สรรพคุณ 1. แก้ไข้ทั่ว ๆ ไป เช่น ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ 2. ระงับอาการอักเสบ พวกไอ เจ็บคอ คออักเสบ ต่อมทอนซิล หลอดลมอักเสบ ขับเสมหะ รักษาโรคผิวหนังฝี 3. แก้ติดเชื้อ พวกท าให้ปวดท้อง ท้องเสีย บิด และแก้กระเพาะล าไส้อักเสบ 4. เป็นยาขมเจริญอาหาร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๓๙ โรคข้อเข่าเสื่อมทางการแพทย์แผนไทย แบ่งได้ 2 ชนิด โรคลมจับโปงน้ าเข่า มีอาการปวดบวมแดง ร้อนที่เข่ามากเป็นทั้งข้อเข่า มี น้ าในข้อเข่าชนิดใส ขณะที่บวมและอักเสบจะมีความร้อนขึ้นเสมอ สามารถท าให้ เป็นไข้เส้นได้ไข้จับ มักเป็นบางเวลา ท าให้เดินไม่สะดวก ทิ้งน้ าหนักตัวได้ไม่เต็มที่ ส่วนมากจะก าเริบในช่วงปลายฝนต้นหนาว บางคนอาจมีอาการไข้ ร่วมด้วย เรียกว่าไข้ลมจับโปง โรคลมจับโปงแห้งเข่า มีอาการปวด บวม แดงและร้อนที่เข่าเล็กน้อยและมีสภาวะข้อเข่าผิดรูป ขัดข้อเข่า หัวเข่าติด ขาโก่ง นั่งยองๆไม่ได้ การเหยียดงอเข่าไม่ได้เต็มที่ ขณะเดินในเข่ามีเสียงดังกร๊อบแกร๊บ เวลาขยับข้อ อาการจะปวดมากเวลาเปลี่ยนอิริยาบถและก้าวเดินขึ้นบันได การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อมทางการแพทย์แผนไทย - การนวด ประคบสมุนไพร - การจ่ายยาสมุนไพร เช่น ยาสหัศธารา ยาเถาวัลย์เปรียง ฯลฯ - การฝังเข็ม - หัตถการต่างๆ เช่น การเผายา การพอกยา สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ คลินิกข้อเข่าเสื่อม เปิดให้บริการรักษาทุกวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 08.00-16.00 น. ขอรับค าปรึกษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ได้ที่ หน่วยงานการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ชั้น 6 อาคารอ านวยการ โทร. 0 3553 1077 ต่อ 1606-7 และ 09 8992 9811 สุ พรรณบุรี SUPHANBURI นางสาวจิราภรณ์ ฮวดมัย รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๐ จากภาวะของโรคข้อเข่าเสื่อม จึงท าให้งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุรี มีการคิดค้นนวัตกรรมการท า เจล SK Gel สมเด็จพระสังฆราช องค์ที่ 17 (ซึ่งได้พัฒนามาจากสูตรยาพอกเขาจากผักตบชวา แต่เนื่องจากสูตรยาพอกเขาจากผักตบชวามีวัสดุอุปกรณ์หลาย อย่างและวิธีท าหลายขั้นตอน ท าให้ไม่สะดวกต่อการใช้สูตรยาดังกล่าวในชีวิตประจ าวัน) สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อย ปวดบวม อักเสบของกล้ามเนื้อ น้ าร้อนลวก ส่วนประกอบ ผักตบชวา และย่านาง วิธีใช้ ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เวลาเช้า-เย็น (ท าความสะอาดบริเวณที่มีอาการก่อนการใช้เจล SK Gel หรือไม่ก็ได้) และแผ่นแปะ SK Patches สรรพคุณ ลดอาการปวด วิธีใช้ 1. ท าความสะอาดบริเวณที่มีอาการ (นอกจากใช้บริเวณหัวเข่าแล้วสามารถน ามาประยุกต์ใช้กับบริเวณที่ มีอาการปวดได้ เช่น ต้นคอ ข้อศอก ฯลฯ) 2. แปะแผ่นแปะ SK Patches บริเวณที่มีอาการนาน 20 นาที (ถ้าอาการไม่ดีขึ้นให้ใช้แผ่นแปะ SK Patches ใหม่อีกครั้ง)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๑ โดยมีผลงานการวิจัยแผ่นแปะลดอาการปวดในผู้ป่วยข้อเข่า เสื่อม SK Patches ขึ้น ตามรายละเอียดดังนี้ ชื่อเจ้าของผลงาน งานแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลสมเด็จ พระสังฆราช องค์ที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุรี ที่มาและความส าคัญ โรคข้อเข่าเสื่อม เป็นการเสื่อมสภาพของข้อและมีการสูญเสียน้ า หล่อเลี้ยงข้อ เหตุปัจจัยจากอายุที่มากขึ้นมีการใช้เข่าเยอะ ปี 2562 งาน การแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ได้เปิดคลินิกโรคเข่าเสื่อม มี ผู้ป่วยที่เข้ามารับการรักษาด้วยการพอกเข่ามีการพัฒนาสูตรยาพอกเข่า ตั้งแต่การใช้ต ารับยาพอกเข่า จากกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก สูตร 1 มียาห้ารากได้แก่ รากชิงชี่ รากหญ้านาง รากคนทา ราก มะเดื่อชุมพร รากย่านางผสมกับปูนแดง แต่พบว่ามีผู้ป่วยแพ้ปูนแดงและ ยาห้ารากมีราคาแพง ท าให้หน่วยงานมีการคิดสูตรต ารับยาพอกเข่า สูตร 2 โดยการน าผักตบชวาเป็นพืชที่พบได้ ทั่วไปในแม่น้ าน ามาทดแทนยาห้าราก คุณสมบัติผักตบชวา ช่วยระบายลมที่คั่งค้างตามข้อเมื่อน ามาผสมรวมกับ ย่านาง ที่มีคุณสมบัติ เป็นยารสเย็น ลดความร้อน ปวดตึงกล้ามเนื้อ น ามาท าเป็นแผ่นแปะ ลดอาการปวดในผู้ป่วยโรค ข้อเข่าเสื่อม เป็นวิธีที่สะดวกในการใช้งานประสิทธิผลการรักษาได้ผลดี วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลการใช้แผ่นแปะ (SK Patches) ลดอาการปวดในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม ต ารับยา (ส่วนประกอบ) 1. Hydroxypropyl Methyl Cellulose 2. Gelatin 3. ต้นผักตบชวา 4. ใบย่านาง การเตรียมสมุนไพร 1. น าสมุนไพรต้นผักตบชวา ใบย่านาง มาล้างให้สะอาด และหั่นเป็นชิ้นๆ จากนั้นน าสมุนไพรทั้ง 2 ชนิด ใส่ขวดแก้วหมักด้วยแอลกอฮอล์ 80% ในอัตราส่วน 1 : 4 หมักทิ้งไว้ 7 วัน 2. น าน้ าสมุนไพรที่หมักไว้มาระเหยแอลกอฮอล์ 3. น า Hydroxypropyl Methyl Cellulose และ Gelatin มาผสมกันในอัตราส่วน 1 : 1 จากนั้นหยด สารสกัดผักตบชวาและย่านางลงไปคนให้เข้ากัน และน ามาเทลงแผ่นแปะ เมื่อสมุนไพรเซ็ตตัวให้น าเข้าตู้เย็น แล้ว จึงน ามาแปะ เพื่อลดอาการปวด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๒ ผลลัพธ์ คะแนนระดับความเจ็บปวดของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมก่อนและหลังใช้ยาพอกเข่าผักตบชวา (n=60) คะแนนระดับความเจ็บปวด (คะแนน) ก่อนรักษา จ านวน (คน) ร้อยละ หลังรักษาครบ 4 ครั้ง จ านวน (คน) ร้อยละ น้อยกว่า 5 47 78.3 100 100 มากกว่า 5 13 21.7 0 0 Mean (±SD) 5.5 (±1.21) 2.0 (±0.29) สรุปผล ผลการใช้แผ่นแปะลดอาการปวดในผู้ป่วยโรคเข่าเสื่อม จ านวน 60 คน ซึ่งใช้แผ่นแปะลดปวดติดต่อกัน เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมมีคะแนนระดับความเจ็บปวดลดลงมากกว่า เมื่อเทียบกับก่อนการรักษา ด้วยการใช้แผ่นแปะลดอาการปวด อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p<0.001) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ การใช้แผ่นแปะลดอาการปวดในผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการรักษาผู้ป่วยโรคข้อเข่า เสื่อมที่มีความสะดวกและปลอดภัย งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุรี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๓ จั นทบุรี CHANTHABURI นายกริชชัย ทองบ าเรอ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดจันทบุรี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๔ หมอไทยดีเด่นประจ าภาคกลาง ปีพ.ศ.2562 จังหวัดจันทบุรี “หมอเพ็ญศรี สงวนทรัพย์” ความช านาญในการรักษาโรค ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ที่ได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ความช านาญในการรักษาโรค ได้แก่ โรคตับแข็ง โรคสะเก็ดเงิน โรคเด็ก โรคสตรี โรคผิวหนัง เช่น เริม งูสวัด ไฟลามทุ่ง เป็นต้น การวินิจฉัยโรค โดยใช้ศาสตร์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน โดยสังเกตลักษณะทั่วไปของผู้ป่วยเช่น สีผิว การเดิน การพูด และการตรวจร่างกาย โดยการตรวจลักษณะของชีพจรเป็นหลัก ในการวินิจฉัยไม่เน้นการซัก ประวัติผู้ป่วยก่อน นอกจากตรวจความผิดปกติ จึงสอบถามเพิ่มเติม ภูมิปัญญาหมอไทยเมืองจันท์


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๕ ประวัติการศึกษาการแพทย์แผนไทย เริ่มศึกษาด้านการแพทย์แผนไทยมาตั้งแต่ 11 ปีกับท่านลุงหรือหมอเนียม วุฒิกิจ ซึ่งเป็นแพทย์ซึ่งมีความ ช านาญ เป็นผู้ถ่ายทอดวิชาความรู้ให้จนกระทั่งอายุ 16 ปีจึงเริ่มเรียนรู้วิชาการแพทย์แผนไทยอย่างจริงจัง โดย เป็นลูกมือในการช่วยหมอเนียมรักษาคนไข้ จนกระทั่งหมอเนียมเสียชีวิตลง จึงได้ดูแลกิจการร้านยาและคลินิควุฒิสารโอสถแทนท่านลุง ร่วมกับท่าน ป้า ซึ่งเป็นภรรยาหมอเนียม ต่อมาได้มอบตัวเป็นศิษย์เรียนเวชกรรมไทยและเภสัชกรรมไทยกับอาจารย์อ้ม แสง ปัญหา และอาจารย์วัชระ เอี่ยมสะอาด จนกระทั่งเปิดคลินิควุฒิสารโอสถ จนถึงปัจจุบัน แนวทางการรักษาโรคสะเก็ดเงินของหมอเพ็ญศรี รักษาด้วยการจ่ายต้มเฉพาะราย และแนะน าการปฏิบัติตัวแก่ผู้ป่วย ข้อห้าม/ข้อควรปฏิบัติส าหรับผู้ป่วยสะเก็ดเงิน 1. งดอาหารแสลงต่อโรค - งดอาหารคาวจัด ย่อยยาก เช่น เนื้อสัตว์ใหญ่ สัตว์ป่า เนื้อวัว เนื้อควาย หัวหมู (แต่เนื้อหมูส่วน อื่นๆทานได้) - งดเนื้อสัตว์ปีก พวกเนื้อไก่ เนื้อเป็ด เนื้อห่าน - งดของหมักดองทุกชนิด หน่อไม้ ส้มต า เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ - งดอาหารทะเลบางชนิด เช่น หมึก หอยแครง ปูม้า กุ้ง ปลาไม่มีเกล็ด ปลาครีบแข็ง (อาหาร ทะเลชนิดอื่นให้สังเกตอาการก าเริบเป็นหลัก) 2. รับประทานยาอย่างสม่ าเสมอ 3. ผ่อนคลายความเครียด สมาธิบ าบัด 4. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ 5. เลี้ยงสิ่งกระตุ้น เช่น ร้อนจัด เย็นจัด 6. ดูแลความสะอาดของเสื้อผ้า ที่นอน 7. งดเกาบริเวณรอยโรค


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๖ แนวทางการรักษาโรคตับแข็งของหมอเพ็ญศรี รักษาโดยการจ่ายยาต้มเฉพาะรายร่วมกับการให้ค าแนะน าแก่ผู้ป่วย ข้อห้าม/ข้อควรปฏิบัติส าหรับผู้ป่วยตับแข็ง 1. งดอาหารแสลงต่อโรค - งดขนมหวานจัด เช่น ทองหยิบ ทองหยอด - งดอาหารรสจัด,อาหารหมักดองทุกชนิด เช่น ส้มต า,แกงเผ็ด,ผลไม้ดอง, ปลาร้า,ปูดอง รวมทั้งหน่อไม้ - อาหารประเภทแป้งหมัก เช่น ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ซาลาเปา - อาหารมันจัด เช่น หมูสามชั้นทอด กล้วยทอด - เมล็ดธัญพืชทีให้พลังงานมาก เช่น ถั่วลิสง งา มะม่วงหิมพาน - ผลไม้หวานจัด เช่น ล าไย ขนุน ทุเรียน - งดอาหารแสลงลม เช่น ผักเลื้อย ผักกลิ่นฉุน (เช่น ฟัก แฟง บวบ น้ าเต้า แตงกวา เห็ดหอม เห็ดนางฟ้า ผักกุด ชะอม) - ผลไม้แสลงลม เช่น กล้วยหอม ลองกอง สละ ระก า - งดการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์โดยเด็ดขาด - งดอาหารเสริม/ยา/เครื่องดื่มชูก าลัง/ผงปรุงรส 2. ดื่มเครื่องดื่มฤทธิ์เย็น เช่น น้ าคั้นใบบัวบก น้ าคั้นหญ้าใบย่านาง เป็นต้น 3. ทานอาหารช่วยบ ารุงตับ เช่น เต่าเกียด เต่ารั้ง เห็นหูหนู เป็นต้น 4. นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ไม่นอนดึก 5.งดท างานหนัก/เดินทางไกล 6. ห้ามมิให้ท้องผูก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๗ ต ารับยาอื่นๆของหมอเพ็ญศรี แก้ท้องขึ้น ปวดท้อง ท้องเฟ้อ จุกเสียด ลงท้อง บ ารุงธาตุ อาหารไม่ย่อย ขับลมในล าไส้ ดับลมร้ายใน กระเพาะอาหาร ใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่ครั้งละ 1 – 2 ช้อนโต๊ะ เด็กครั้งละ 1 – 2 ช้อนชา วันละ 3 เวลา ก่อนอาหาร หรือเมื่อมีอาการ สรรพคุณ วิธีการรับประทาน ยำธำตุศนิวำร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๔๘ บรรเทาอาการปวดเมื่อย วิงเวียน เคล็ดขัดยอก ใช้ทา ถู นวด บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย น ำมันเหลืองวุฒิสำรโอสถ สรรพคุณ วิธีการรับประทาน ส่วนประกอบ เกล็ดสะระแหน่ ใบรสหอมร้อน ขับเหงี่อ แก้หืด แก้ปวดท้อง ขับลมในกระเพาะล าไส้ แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ ปวดท้อง น้ ามันไพล เหง้า ขับโลหิตร้ายทั้งหลายให้ตกเสีย ขับระดูสตรี แก้ฟกช้ า เคล็ดบวม ขับลมในล าไส้ ขับระดู ไล่แมลง แก้จุกเสียด และตัวยาส าคัญอื่นๆ .....


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๕๖ “ทะเลงำม ข้ำวหลำมอร่อย อ้อยหวำน จักสำนดี ประเพณีวิ่งควำย” ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี Chonburi Provincial Health Office “หมอพื้นบ้าน หมอยา เมืองพระรถ” พ่อหมอเพลิน อุชุวัฒน์ วัน-เดือน-ปีเกิด พ.ศ. ๒๔๗๗ อายุ ๘๔ ปีเสียชีวิตปี ๒๕๖๑ สถานที่ติดต่อ ๓๗๔-๓๗๖ ถ.ศรีกุญชร อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ๒๐๑๔๐ เบอร์โทรศัพท์ ๐๓๘-๔๖๑๓๔๕ อาชีพ เจ้าของกิจการร้านขายยา ความช านาญ มีความสามารถเชี่ยวชาญในการรักษาโรคเด็ก โรคสตรี โรคอัมพฤกษ์อัมพาต โรคเบาหวาน และโรคทางยาสมุนไพร ระยะเวลารักษาคนไข้ ตั้งแต่อายุ ๓๕ ปี มีวิธีการศึกษาและเรียนรู้เกี่ยวกับโรคและ การปรุงยา ศึกษาด้วยตนเอง เรียนรู้จากบิดาและการเรียนรู้จากลุง ช ลบุรี CHONBURI นายเมฑาวุธ ธนพัฒน์ศิริ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๕๗ สิบเอกเพลิน อุชุวัฒน์ นายทหารเสนารักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาจากมารดาที่เป็นหมอพื้นบ้าน และ ศึกษาเล่าเรียนการแพทย์แผนไทยพร้อมกับแพทย์แผนปัจจุบัน โดยได้น าองค์ความรู้มาใช้ในการรักษาผู้ป่วย และผู้ยากไร้มากกว่า ๖๐ ปีและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ศิษย์มากกว่าพันคน จนได้รับการคัดเลือกเป็น ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการแพทย์แผนไทย จากกระทรวงสาธารณสุขเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นผู้ที่มีความสามารถ เชี่ยวชาญในการรักษาโรคเด็ก โรคสตรี โรคเบาหวาน และโรคทางยาสมุนไพร ปัจจุบันท่านได้เสียชีวิตเมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๑ แต่ท่านได้ทิ้งมรดกทาง ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยไว้ให้กับลูกหลาน ลูกศิษย์อย่างหา ค่ามิได้ ด้วยความมุ่งมั่นของนายพิษณุ อุชุวัฒน์ บุตรชายผู้สืบสาน ภูมิปัญญาของ ผู้เป็นพ่อจากร้านขายยาเจริญสามัคคีเภสัช พัฒนา เป็นบริษัทปานะโอสถ ประกอบกิจการโรงงานผลิตยา มาตราฐาน GMPโดยน าสูตรต ารับปรุงยาแบบดั้งเดิมของผู้เป็นพ่อ สู่การผลิต ด้วยเครื่องจักรอันทันสมัย เพื่อให้ได้มาตราฐานสากล “สังคมชุมชนมีความสุข” คุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชนแวดล้อมคือความปรารถนาของปานะโอสถ ด้วยแนวคิดที่ว่า ถ้าชุมชนอยู่ได้อย่างมีความสุข เราก็จะ เจริญเติบโตไปด้วยกันอย่างยั่งยืน . . . “ปานะ...ยาเพื่อชีวิตที่มีความสุข นวัตกรรมเพื่อความสุขของชีวิต” สุขภาพที่ดีคือความปรารถนาสูงสุดของการมีชีวิตที่มีความสุข กว่า ๘๐ ปี ที่ปานะโอสถ ผลิตยา สมุนไพรธรรมชาติตามต ารับแพทย์แผนไทย จากรุ่นสู่รุ่นที่ค้นคว้า ทดลอง สืบสานองค์ความรู้ สูตรยาสมุนไพร นานาชนิด จากการปรุงยาแบบดั้งเดิม สู่การผลิตด้วยเครื่องจักร อันทันสมัย เพื่อให้ได้มาตราฐานสากลเป็นที่ ยอมรับของคนรุ่นใหม่ ที่ต้องการความสะดวกสบายและรูปลักษณ์ที่ทันสมัย สอดคล้องกับการใช้ชีวิต ปัจจุบันปานะโอสถ น าองค์ความรู้เรื่องสุขภาพที่ดีมาประยุกต์เป็นการผลิตอาหารเสริมที่มีมาตราฐาน สูง ได้ผลจริงในการบ ารุงร่างกายในแต่ละองคาพยพของทุกเพศ ทุกวัย ทุกไลสไตล์ ตอบสนองความต้องการ อย่างกว้างขวางของกลุ่มลูกค้า นอกจากนี้ปานะโอสถ ได้พัฒนาไปสู่การสกัดสารส าคัญจากสมุนไพรที่มี สรรพคุณทางยา ด้วยเทคโนโลยีขั้นสูง ด้วยความตกลงร่วมมือกับสถาบันวิจัย สมาคมวิจัย สถาบันการศึกษา เพื่อการวิจัย อันน าไปสู่การผลิตยาใหม่ๆที่ดีขึ้น มีผลข้างเคียงน้อย ปลอดภัยต่อการรักษา และมีราคาที่ต่ าลง ทดแทนการน าเข้าสารส าคัญ จากต่างประเทศที่มีราคาสูง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๕๘ ด้วยความมุ่งมั่น ตั้งใจจริงของเราชาวปานะโอสถ ที่จะน าเสนอผลิตภัณฑ์ยาและอาหารเสริมชั้นดี เรา เริ่มจากความสุขของเรา รอยยิ้มของเรา อารมณ์สุนทรีย์ของเรา เพราะเราปานะโอสถมีความมั่นใจว่า “ถ้าเราเป็นองค์กรอารมณ์ดี ทุกสิ่งอย่างที่เราท าก็จะออกมาดี เพื่อความสุข” “ต ารับยารักษาบาดแผล” จากสมาคมผู้ประกอบโรคศิลปะแผนโบราณ วัดพิมพฤฒา อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ยาทาแผลพุพองบนหัวเด็ก ใช้ซังข้าวโพดเผา บดผสมกับน้ ามันพืช ทาแผลพุพองตามตัว และบนหัว เด็ก ยาทาแก้ไฟไหม้น้ าร้อนลวก ใช้น้ ามันพืชผสมน้ าปูนใส เขย่าเข้ากันดี เก็บไว้ใช้ ยาทาแผลดูดน้ าเหลือง ใช้ใบตะโกนาสด ขมิ้นอ้อย ข้าวสารขนิดข้าวเหนียว ต าให้เข้ากัน พอกแผล ที่มีน้ าเหลือง ยาทาแผลพุพองบนหัวเด็ก ใช้ข้าวเหนียวนึ่งสุก เผาไฟ บดละเอียด ผสมน้ ามันพืช ยาทาแผลเรื้อรัง ใช้ใบมะละกอสดๆ ต าพอกแผล ยาทาแผลไฟไหม้น้ าร้อนลวก ใช้ใบมะม่วงเผาไฟ เอาขี้เถ้าผสมน้ ามันพืชทา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๕๙ ยาทาพอกดูดหนอง ใช้ใบต้นไมยราบสด ข้าวสุก เกลือเล็กน้อย แทรกพิมเสน ต าให้เข้ากัน ท า ยาปิดแผลดูดน้ าหนอง ยารักษาบาดแผล ใช้ใบหนาด ต้มกับน้ าสะอาดชะล้างแผลสด ยาพอกแผลสด ใช้ใบหนาดกับยอดหนาดอ่อน ต าละเอียดพอกแผล ยาอบตัวขับเหงื่อ ใช้ใบหนาดกับตะไคร้ทั้งต้น ต้มเอาไอน้ าอบตัวขับเหงื่อ ยาล้างแผล ใช้ใบมะม่วงสดๆต้มกับน้ าสะอาด ใช้ล้างบาดแผล ยาแก้แผลอักเสบ ใช้หญ้าพันงูสด หนัก ๔ บาท ต้มกับสุราโรง รับประทานแก้แผลอักเสบ ใช้ น้ ายาล้างแผลได้ กากต าพอกแผล ยาล้างแผล ใช้ต้นน้ ามนราชสีห์ พอควร ต าแช่หัวเหล้า ท ายาชะล้างแผล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖๐ ยาปิดแผลเน่าเปื่อย ใช้ขี้ผึ้งปิดแผลเน่าเปื่อย มดยอบหนัก ๘ บาท ไพล ๘ บาท ไข่ไก่ (เฉพาะ ไข่แดง ๕ ฟอง สุราครึ่งทะนาน น้ าผึ้งหนึ่งทะนาน รวม ๖ สิ่ง หุงให้ เป็นยางมะตูม ใช้ปิดแผลเน่าเปื่อย ยารักษาบาดแผล น้ ามันรักษาบาดแผล หัวกระดาดแดง หัวกระดาดขาว หัวบุก หัวกลอย หัวอุตพิษ รากกระทุงหมาบ้า รากระงับ ขมิ้นอ้อย บอระเพ็ดสด รวมสรรพ ยา ๙ สิ่ง สิ่งละเท่าๆกัน ต าพอช้ า ใส่กะทะเคี่ยวกับน้ ามันมะพร้าวจน เหลือง ตักใส่ขวดเก็บไว้ ใช้ส าหรับใช่เพื่อรักษาบาดแผลต่างๆ ได้ดี ยารักษาบาดแผล น้ ามันรักษาบาดแผล ต ารับของสมาคม สารส้มหนัก ๒๐ กรัม สีเสียดเทศ ๒๐ กรัม ชันตะเคียน ๒๕ กรัม เกลือสมุทร ๒๕ กรัม หัวกระเทียมสด ๔๐ กรัม หัวขมิ้นสด ๒๕๐ กรัม น้ ามันมะพร้าว ๑,๕๐๐ ซีซี (๑ ลิตรครึ่ง ประมาณ ๑ กิโลครึ่ง) เคี่ยวเป็นยาใส่แผลทุกชนิด แผลสด แผลพุพอง แผล เรื้อรัง วิธีท า ใช้ไฟอ่อนเคี่ยวน้ ามันด้วยภาชนะเคลือบ ป่นเกลือลงไป ในน้ ามันแล้วป่น สีเสียดลงไป รอสักครู่ ใส่ชันตะเคียนป่นกับสารส้มป่นลงไปพร้อมกัน ขมิ้น บุบแหลกๆ ใส่ลงไปเคี่ยวไฟอ่อนๆ คอยเอาไม้พายคนเสมอๆ เพื่อไม่ให้ยาง สนติดก้นภาชนะ เคี่ยว คะเนดูว่าได้ที่แล้วใส่กระเทียมลงไป แล้วยก ภาชนะลงจากไฟ ทิ้งไว้ให้เย็น กรองเอาน้ ามันไว้ใช้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖๑ “สาระน่ารู้ . . . สมุนไพรใกล้ตัว” ๑. ซังข้าวโพด สรรพคุณ ใช้รักษาป็นยาแก้บิด แก้อาท้องร่วง สมานแผล ๒. ใบตะโกนา สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้พยาธิ ขับพยาธิช่วยแก้อาการร้อนใน แก้อาการ ท้องร่วง ท้องเสีย ๓. ขมิ้นอ้อย สรรพคุณ ใช้แก้ฟกช้ าบวม แก้เคล็ด อักเสบ แก้พิษโลหิต และ บรรเทาอาการปวด รักษาอาการเลือดคั่ง ๔. ใบมะละกอ สรรพคุณ ใช้เป็นยารักษาน้ าร้อนลวกแล้วใช้ประคบบริเวณที่ปวด แก้ปวดบวม แก้ปวดเจ็บ ๕. ใบมะม่วง สรรพคุณ ใช้รักษาล าไส้อักเสบเรื้อรัง แก้ซางตานขโมยในเด็ก แก้ ท้องอืดแน่น ๖. ใบต้นไมยราบ สรรพคุณ ใช้เป็นยา แก้ไอ ขับเสมหะ แก้หลอดลมอักเสบเรื้อรัง บ ารุงกระเพาะอาหาร แก้บิด ขับปัสสาวะ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖๒ ๑๒. ไพล สรรพคุณ ใช้ขับโลหิตร้ายทั้งหลายให้ตกเสีย ขับระดูสตรี แก้ฟกช้ า เคล็ดบวม ขับลมในล าไส้ ขับระดู แก้จุกเสียด ๑๓. หัวกระดาดแดง สรรพคุณ ใช้เป็นยาสมานแผล กัดฝ้ากัดหนองน าหัวกระดาดแดง มาโขลงต าพอกแผลที่เป็นหนอง กัดหนอง ๗. ใบหนาด สรรพคุณ ใช้แก้อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ใช้ห้ามเลือด ยาเจริญ อาหาร แก้โรคไขข้ออักเสบ เป็นยาบ ารุงหลังคลอด ๘. ตะไคร้ สรรพคุณ ใช้เป็นยาบีบมดลูก ขับประจ าเดือน ขับปัสสาวะ ขับระดู ขาว ขับลมในล าไส้ แก้แน่น จุกเสียด แก้อาเจียน ๙. หญ้าพันงู สรรพคุณ ใช้เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อปอดและไต ใช้เป็น ยาดับพิษ ร้อน ถอนพิษไข้ แก้อาการร้อนใน ช่วยขับเหงื่อ ๑๐. น้ านมราชสีห์ สรรพคุณ ใช้เป็นยาช่วยขับน้ านม เพิ่มน้ านม และชวยฟอกน้ านม ของสตรีให้สะอาดส าหรับสตรีหลังคลอด ๑๑. มดยอบ สรรพคุณ ช่วยให้เลือดไหลเวียนได้ดี ในทางอายุรเวทใช้มดยอบใน การรักษาโรคทางระบบทางเดินอาหาร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖๓ ๑๔. หัวกระดาดขาว สรรพคุณ ใช้แก้การอักเสบที่ข้อต่อท าให้บวมแดง เป็นยาระบาย ขับ ปัสสาวะ แก้พิษแมลงป่องกัด ๑๕. สารส้ม สรรพคุณ ใช้สมานทั้งภายนอกภายใน แก้ระดูขาวแก้หนองใน และ หนองเรื้อรัง ขับปัสสาวะ ขับนิ่ว ๑๖. หัวกลอย สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้เถาดาน (อาการแข็งเป็นล าในท้อง) หุงเป็น น้ ามันใส่แผล กัดฝ้า กัดหนอง ๑๗. หัวอุตพิด สรรพคุณ ใช้เป็นยากัดฝ้าหนองและสมานแผล หรือใช้หุงเป็นน้ ามัน ใส่แผล ๑๘. รากกระทุงหมาบ้า สรรพคุณ ใช้เป็นยาแก้แผลที่ถูกน้ าร้อนลวก แก้บวม ใช้ทาบริเวณที่ เป็นแผลหรือใช้พอกฝีและบริเวณที่อักเสบ ๑๙. รากระงับ สรรพคุณ ใช้เป็นยากระทุ้งพิษไข้ แก้ไข้จับสั่น ไข้กลับ ไข้เซื่องซึม แก้ไข้พิษทุกชนิด แก้ร้อนในกระหายน้ า


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖๔ ๒๔. กระเทียม สรรพคุณ ใช้เป็นยาบ ารุงธาตุ กระจายโลหิต ขับปัสสาวะ แก้บวม พุพอง ขับลม แก้ลมจุกเสียด แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ๒๕. พิมเสน สรรพคุณ ใช้แก้แก้บาดแผลสด แผลเรื้อรัง แผลกามโรค แผล เนื้อร้าย ขับเหงื่อ ขับเสมหะ กระตุ้นการหายใจ ๒๓. หัวบุก สรรพคุณ ใช้แก้โรคตับ โรคท้องมาน ยากัดเสมหะ แก้ไอ กัดเสมหะ เถาดาน แก้เลือดจับเป็นก้อน ๒๒. ชันตะเคียน สรรพคุณ ใช้เป็นยาห้ามหนอง และสมานแผล ใช้ทาแผลเน่าเปื่อย แผลมีหนอง แผลโรคเรื้อน ๒๑. สีเสียดเทศ สรรพคุณ ใช้รักษาบิดมูกเลือด ทาสมานแผล ใช้ใส่แผลเน่าเปื่อย ใส่แผลริดสีดวง ห้ามโลหิต ห้ามเลือดก าเดา ๒๐. บอระเพ็ด สรรพคุณ ใช้เป็นยารักษาไข้ ดับพิษร้อน ขับปัสสาวะขับเสมหะ บ ารุงไฟธาตุ บ ารุงก าลัง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖๕ ปัจจุบันการใช้สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน ส่งเสริมและเผยแพร่การใช้สมุนไพร ตัวเดียวเพื่อ รักษาโรค / อาการเบื้องต้นที่พบบ่อยๆ และเนื่องจากสมุนไพรหลายชนิดเป็นพืชผัก ที่รับประทานอยู่เป็น ประจ า จึงแนะน าไว้ในการส่งเสริมสุขภาพด้วย (รวมทั้งสีผสมอาหารที่อยู่ตามธรรมชาติ) และที่พนัสโอสถก็ เช่นกัน ดังต่อไปนี้ ล าดับ กลุ่มอาการ ตัวยา ๑. กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ -ยาขมิ้นชัน -ยาพริกไทย -ยาธาตุอบเชย -ยาชงขิง ๒. กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก -ยาผสมเพชรสังฆาตสูตรต ารับ ๒ -ยาริดสีดวงมหากาฬ ๓. กลุ่มยาบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน -ยาชงขิง ๔. กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก -ยาธรณีสัณฑะฆาต -ยาถ่าย ๕. กลุ่มยาแก้ไข้ แก้ร้อนใน -ยามะระขี้นก ๖. กลุ่มอาการระบบทางเดินหายใจ -ยาฟ้าทะลายโจร -ยาน้ าแก้ไอผสมมะขามป้อม สูตรต ารับ ๑ -ยาปราบชมพูทวีป -ยาตรีผลา ๒๗. น้ าผึ้ง สรรพคุณ ช่วยเพิ่มความสดชื่นให้แก่ร่างกาย ช่วยป้องกันการติดเชื้อ ของบาดแผลและช่วยให้แผลหายเร็ว ๒๖. เกลือสมุทร สรรพคุณ ใช้เป็นยาล้างเมือกในล าไส้ ขับพยาธิในท้อง แก้ ระส่ าระสาย ละลายนิ่ว ถ่วงเสมหะให้ลงเบื้องต่ า


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข -ยาประสะมะแว้ง ๓๖๖ ๗. บ ารุงโลหิต -ยาบ ารุงโลหิต ๘. ยาแก้ไข้ -ยาห้าราก ๙. ยาแก้ไข้แก้ร้อนใน -ยารางจืด -ยาบอระเพ็ด -ยาเขียวหอม -ยาฟ้าทะลายโจร ๑๐. ยาบ ารุงธาตุ ปรับธาตุ -ยาปลูกไฟธาตุ -ยาตรีผลา -ยาเบญจกูล ๑๑. ยารักษาอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก -ยาเถาวัลย์เปรียง -ยาสหัศธารา -ยาน้ ามันไพล -ยาขี้ผึ้งพริก -ยาขี้ผึ้งไพล -ยาประคบ -ยาแก้ปวดกล้ามเนื้อ -ยาอบสมุนไพร ๑๒. ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ -ยากระเจี๊ยบแดง ๑๓. ยารักษากลุ่มอาการทางระบบผิวหนัง -ยาพญายอ (ครีม) -ยาขี้ผึ้งพญายอ -ยาเหงือกปลาหมอ ๑๔. ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม) -ยาหอมเทพจิต -ยาหอมเนาวโกฐ (พนัส) -ยาหอมอินจักร ๑๕. ยารักษากลุ่มอาการสูตินารีเวชวิทยา -ยาประสะไพล -ยาว่านชักมดลูก ๑๖. ยาลดความอยากบุหรี่ -ยาหญ้าดอกขาว


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖๗ อาการแพ้ที่เกิดจากสมุนไพร สมุนไพร มีคุณสมบัติเช่นเดียวกับยาทั่วไป คือมีทั้งคุณและโทษ บางคนใช้แล้วเกิดอาการแพ้ได้ แต่เกิดขึ้นได้น้อย เพราะสมุนไพรมิใช่สารเคมีชนิดเดียวเช่นยาแผนปัจจุบัน ฤทธิ์จึงไม่รุนแรง (ยกเว้นพวกพืช พิษบางชนิด) แต่ถ้าเกิดอาการแพ้ขึ้นควรหยุดยาเสียก่อน ถ้าหยุดแล้ว อาการหายไป อาจทดลองใช้ยาอีกครั้ง โดยระมัดระวัง ถ้าอาการเช่นเดิมเกิดขึ้นอีก แสดงว่าเป็นพิษของยาสมุนไพรแน่ ควรหยุดยาและเปลี่ยนไปใช้ยา อื่น หรือถ้าอาการแพ้รุนแรง ควรไปรับการรักษาที่ศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๖๘ นวัตกรรมก้าวไกล...ใส่ใจสุขภาพ “ข้อคลาย หายปวด” ด้วยใบลานและท าท่าฤาษีดัดตน โดย...โรงพยาบาลพนัสนิคม โรคนิ้วล็อค ภาวะนิ้วล็อค เป็นหนึ่งในกลุ่มโรค ออฟ ฟิตซินโดรม ที่มีสาเหตุเกิดจากการหนาตัวขึ้น ของปลอกหุ้มเส้นเอ็นบริเวน ฐานของนิ้วมือ ท าให้เส้นเอ็นเคลื่อนผ่านปลอกหุ้มเส้นเอ็นที่ หนาขึ้นด้วยความยาก ล าบาก มีการเสียดสี ท า ให้เกิดอาการปวด หรือติดล็อคได้ กลุ่มงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาล พนัสนิคม ได้น าใบลานมาสาน สวมใส่นิ้ว และกายบริหารฤาษีดัดตน มาบริหาร นิ้วผลการศึกษาในผู้ป่วย ๓๐ ราย พบว่าสามารถ แก้อาการนิ้วล็อคในระยะ ๑-๓ ได้ วิธีใช้ ๑. สวมใบลานเข้าในนิ้วที่อาการถึง โคนนิ้ว โดยวิธีการย่นตัวใบลานเพื่อขยายช่องสวมให้ ใหญ่ขึ้น วิธีใช้ ๒. จับที่ปลายใบลานค่อยๆดึงยืดออกนิ้วจะ มีการกระตุกเหมือนจังหวะหัวใจเต้นรอจนกว่ จังหวะเต้นที่นิ้วจะเบา แล้วปล่อยค้างได้ ประมาณ ๑๐ -๑๕ นาที ท าวันละ ๒ รอบ เช้า –เย็น ท า ๑๐ ครั้ง/รอบ ๓. มือที่ตัวใบลานส่วนปลายนิ้วโป้งเกี่ยวที่ หัวแล้วย่นใบลาน ค่อยๆถอดออก หมั่นท าบ่อยๆ สามารถท าให้อาการ นิ้ว ล็อค ค่อยๆคลาย อาการปวดลดลง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ท่ากายบริหารฤาษีดัดตน ๓๖๙ “ท่าแก้ลลมในแขน” ท่านี้จะช่วย แก้ลมในแขน ช่วยป้องกันใน เรื่องของการเกิด โรคนิ้วล็อกได้ ท่าเตรียม นั่งชันเข่าข้างซ้าย และยื่นแขนข้างซ้าย ออกไปข้างหน้า ให้อยู่ในระดับเดียวกัน กับ หัวไหล่ โดยไม่พักมือไว้บนเข่า ใช้มือ ข้างขวา จับนิ้วมือข้างซ้ายที่ ยื่นออกไป ให้ฝ่ามือ ตั้งขึ้น ขั้นปฏิบัติ ออกแรงดึงฝ่ามือเข้าหาล าตัวจากนั้นสูดลม หายใจเข้าให้ลึกที่สุด กลั้นลมหายใจไว้สักครู่ ผ่อนลมหายใจออกพร้อมกับปล่อยมือข้างที่จับ ไว้ กางนิ้วมือข้างที่ล็อคออกให้เต็มที่ กรีดนิ้ว มือหรือพับ นิ้วมือลงทีละนิ้วจนครบ หัก ข้อมือลงและลดมือมาไว้ข้างล าตัว ท าต่อจาก การสวมใบลาน ๕ ครั้ง ท าซ้ าเช่นเดิม โดยเปลี่ยนเป็นนั่งชัน เข่า ขวา และยื่นแขนขวา ท าสลับกันซ้ายขวา นับเป็น ๑ ครั้งท าซ้ า ๕ – ๑๐ ครั้ง ๑ . ๒ . ๓ . ๔ .


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๐ “เมืองเกำะครึ่งร้อย พลอยแดงค่ำล ำ ระก ำแสนหวำน หลังอำนหมำดี ยุทธนำวีเกำะช้ำง สุดทำงบูรพำ” ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด Trat Provincial Health Office “สหกิจชุมชน นิเวศพิพิธภัณฑ์ชอง บ้านช้างทูน” ๖๒/๒ หมูที่ ๕ ต าบลช้างทูน อ าเภอบ่อไร่ จังหวัดตราด ชาวชองเป็นคนสมถะรักสันโดษ ชอบชีวิต เรียบง่าย ชอบใช้ชีวิตอยู่ในป่ามากกว่า นอกจากนั้น ชาวชองมีนิสัยใจเย็น ใจดี โอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ต่อพวกพ้อง มีความจริงใจ มีความซื้อสัตย์ พูดจริง ท าจริง ซึ่งเป็นลักษณะที่ชาวชองมีความภาคภูมิใจมาก เพราะค าว่า “ชอง”ในภาษาชองมึความหมายหนึ่ง แปลว่า “พวกเรา” ต ราด TRAT นายเมฑาวุธ ธนพัฒน์ศิริ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๑ ชาวซองมีภาษาพูดและวัฒนธรรม ประเพณีของตนเอง นับถือผีบรรพบุรุษ ท าพิธี เซ่นไหว้ทุกปี เป็นการรวมญาติ เรียกว่า พิธี เลี้ยงผีหิ้ง ผีโรง แต่เดิมชาวซองอาศัยอยู่ใน พื้นที่ป่าเชิงเขา ปลูกบ้านเรือนอาศัยอยู่อย่าง ง่ายๆ และมักโยกย้าย หากมีคนตายในบ้าน นอกจากจะท ามาหาเลี้ยงชีพด้วยการปลูกข้าวไร่ แล้ว ยังเป็นนักเก็บของป่า และเป็นพรานที่ ช านาญ ปัจจุบันจะประกอบอาชีพท าสวน ผลไม้และรับจ้าง ชาวชองมีความเชื่อว่าอานุภาพของไม้ ชองระอานี้ แม้ไม่ต้องปลุกเสกสามารถน ามา “ใช้เป็นยาแก้พิษเบื่อ ยาสั่ง หรืออ านาจมนต์ทางไสยศาสตร์” หากพกติดตัวจะคุ้มครอง ให้แคล้วคลาด ปลอดภัยจาก ลมเพ ลมพัด หรือคุณผี คุณคน คุณไสยทั้งหลาย หากใครโดนคุณไสยมนต์ด า หรือยาสั่ง ใช้แกว่งน้ ากิน แช่หรืออาบได้ หายดังปลิดทิ้งแล สมุนไพรอบตัว “ชองระอา” กับสปาสุ่มไก่ ประกอบด้วย เหง้าไพล ขมิ้นชัน ผิวมะกรูด ต้นตะไคร้ เหง่าข่า การบูร ใบคันทรง ใบขุนนาง ใบชองระอา ใบเทพทาโร ใบหนาด ใบมะนาว ใบมะขาม ใบเหงือกปลาหมอ ประโยชน์ของการอบสมุนไพร ๑. ช่วยในระบบไหลเวียนโลหิต ๒. ช่วยในระบบทางเดินหายใจ ๓. ช่วยขับเหงื่อออกจากร่างกาย / ขยายรูขุมขน ๔. ช่วยลดน้ าหนัก / บ ารุงผิวพรรณ ๕. ลดอาการปวดกล้ามเนื้อ ๖. ในหญิงหลังคลอด ช่วยในการขับน้ าคาวปลา ช่วยให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ๗. ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ช่วยฟื้นฟูสมรรถภาพของร่างกาย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๒ วิธีการใช้ น าห่อยาต้มใส่หม้อ โดยไม่ต้องแกะยาออกจากผ้า ๑ ห่อ สามารถใช้อบได้ถึง ๓ ครั้ง “เปิดขุมทรัพย์ ภูมิปัญญาไทยในโรงเรียน” ฤๅษีดัดตน เปนทาการบริหารอยางหนึ่งที่สืบทอดมาตั้งแตสมัยบรรพบุรุษ เพื่อท าให รางกาย ตื่นตัว แข็งแรง มีสมาธิ และเปนการผอนคลายรูปแบบหนึ่ง นอกจากนี้ยังชวย ในการรักษาโรคเบื้องต นไดอีกดวย ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๑ ท่านวดบริเวผณ กล้ามเนื้อใบหน้า ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๒ ท่าแก้ลมข้อมือ และลมในล าลึงค์ ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๓ ท่าแก้ปวดท้อง ข้อเท้า และแก้ลมปวดศีรษะ ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๔ ท่าแก้ลมเจ็บศีรษะ ตามัว และแก้เกียจ ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๕ ท่าแก้แขนขัด และแก้ขัดแขน ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๖ ท่าแก้กล่อน และแก้เข่าขัด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๓ ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๗ ท่าแก้กล่อนปัตคาต และแก้เส้นมหาสนุกระงับ ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๘ ท่าแก้ลมในแขน ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๙ ท่าด ารงกายอายุยืน ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๑๐ ท่าแก้ไหล่ ขา และแก้เข่า ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๑๑ ท่าแก้โรคในอก ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๑๒ ท่าแก้ตะตริวมือ ตะคริวเท้า ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๑๓ ท่าแก้ตะโพกสลักเพชร และแก้ไหล่ตะโพกขัด ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๑๔ ท่าแกลมเลือดนัยนตามัว และแก ลมอันรัดทั้งตัว


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๔ “ประโยชน์ของการบริหารร่างกายด้วยท่าฤาษีดัดตน” ๑. ช่วยให้เกิดการเคลื่อนไหวของแขนขาหรือข้อต่างๆ เป็นไปอย่าง คล่องแคล่ว ๒. ท าให้โลหิตหมุนเวียน เลือดลมเดินได้สะดวก สามารถท าได้ในทุกอิริยาบถของคนไทย ๓. เป็นการต่อต้านโรคภัย บ ารุงรักษาสุขภาพให้มีอายุยืนยาว ๔. มีการใช้สมาธิร่วมด้วยจะช่วยยกระดับจิตใจให้พ้นอารมณ์ขุ่นมัว หงุดหงิด ความง่วง ความเครียด และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการหายใจ “ขยับกายในออฟฟิศ ป้องกันออฟฟิตศซินโดม” คุณทราบหรือไม่ว่า แม้การนั่งท างานในออฟฟิศ จะเป็นงานที่ดูเหมือนเบาและสบาย แต่ด้วย การเกร็งตัวอยู่ในท่าเดียวเป็นเวลานาน ๆ ก็ท าให้กล้ามเนื้อ และอวัยวะต่างๆ อ่อนล้า และอาจ น าไปสู่ภาวะต่าง ๆ ได้ เช่น ปวดคอ ปวดหลัง และหากปล่อยไว้เป็นเวลานาน อาจท าให้อาการปวดเรื้อรัง น าไปสู่การเกิดออฟฟิศซินโดม มาใช้เวลาว่างระหว่างการท างานให้เป็นประโยชน์เพื่อป้องกันออฟฟิศ ซินโดรมกัน ฤๅษีดัดตนท่าที่ ๑๕ท่าแก้เมื่อยปลายมือปลายเท้า


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๕ “พักสายตา” หันหน้าไปทิศทางอื่นที่ ไม่ใช่จอคอมพิวเตอร์ หรือบริเวณที่มีแสงจ้า หลับตาลง นับ ๑-๑๐ ช้า หลังจากนั้น ลืมตาขึ้น “ยืดกล้ามเนื้อต้นแขน” นั่งอยู่บนเก้าอี้ประสานมือบิดกลับ ดันแขน ทั้ง ๒ ข้าง ออกไปข้างหน้าให้มากที่สุด ในขณะที่พยายามยืด หลังให้ตรงไว้ นับ ๑-๑๐ ช้าๆผ่อนแขนกลับมาแล้ว ท าซ้ าอีกครั้ง จากนั้นลุกขึ้นยืนตรง กางขาเล็กน้อย ประสานมือบิด กลับเหมือนเดิม ยืดแขนขึ้นเหนือศีรษะ นับ ๑-๑๐ ช้าๆ ผ่อนแขนกลับมา ท าซ้ าอีกครั้ง “ยืดกล้ามเนื้อหลัง และสีข้าง” ยกแขนขวาขึ้น งอแขนให้ปลายนิ้วแตะที่บ่าซ้ายใช้มือซ้ายดึง ข้อศอกขวาไว้ แล้วค่อยๆ เอียงล าตัวไปทางด้านซ้ายจะรู้สึกตึง ทางด้านขวา นับ ๑-๑๐ ช้าๆ จากนั้นคืนตัวมาตั้งตรง สลับมาเป็น แขนซ้าย ท าซ้ าอีกด้านละ ๑ เที่ยว


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๖ “บริหารหัวไหล่” พับแขนทั้ง ๒ ข้างขึ้น ให้ปลายนิ้วแตะที่ไหล่ทั้ง ๒ ข้าง ยกหัวไหล่ขึ้น แล้วหมุนไปด้านหน้า ๕ รอบ จากนั้นหมุนกลับสวนทางไปด้านหลังอีก ๕ รอบ ท่า นี้ลดอาการตึงบริเวณไหล่ได้ดีมาก หมุนไป ด้านหน้า ๕ รอบ หมุนไป ด้านหลัง ๕ รอบ “ยืดกล้ามเนื้อคอ” เอามือไพล่หลังใช้มือซ้ายจับข้อมือขวา แล้วเอียง ศีรษะไปทางด้านซ้าย ช้าๆ นับ ๑-๑๐ เอียงศีรษะคืน มาตั้งตรง สลับมือขวาจับข้อมือซ้าย แล้วเอียงช้าๆ ไปทางขวา นับ ๑-๑๐ ท าสลับ ซ้าย-ขวา อีก ๑ เที่ยว “บริหารกล้ามเนื้อบริเวณข้อมือ” ท ามือพนมกลางหน้าอกคล้ายสวัสดี ดันข้อมือ กางศอก ออกให้สุด นับ ๑-๑๐ ผ่อนข้อมือ แล้วดันข้อมือใหม่ ท าซ้ า อีกครั้ง กลับข้อมือลงด้านล่าง ดันข้อมือ กางศอกออกให้ สุด นับ ๑-๑๐ ผ่อนข้อมือ จากนั้นดันข้อมือใหม่ ท าซ้ าอีก ครั้ง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๗ “ปรับสมดุลคนท างานออฟฟิศ พิชิต ๒ ม. (เมื่อยตัว เมื่อยตา)” วิธีป้องกันและปรับสมดุลคนท างานออฟฟิศพิชิต ๒ ม. (สอง มอ) “ยืดกล้ามเนื้อบริเวณหน้าอก และหลังส่วนล่าง” นั่งตัวตรง ใช้มือดันบั้นเอวด้านหลัง แบะหัวไหล่ออก แอ่นอกไป ข้างหน้าให้เต็มที่ คอตั้งตรง นับ ๑-๑๐ ช้า คืนตัวตรง ผ่อนคลาย แล้ว ท าอีกรอบ “บริหารมือ” ก าและเหยียดนิ้วออกให้เต็มที่ ๕ รอบ ๑) "ม. เมื่อยตัว" ป้องกันได้โดย การนั่ง ท างานด้วยท่าทาง การท างานที่ถูกต้องเหมาะสมของที่ ใช้บ่อยให้วางไว้ใกล้ตัวจัดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ให้ เหมาะสมแก่ผู้ใช้งาน โดยหน้าจอคอมพิวเตอร์และเก้าอี้ ที่นั่งควรปรับให้เหมาะสมกับผู้ใช้แต่ละคน ควรหยุดพัก เป็นระยะระหว่างท างาน หากิจกรรมที่มีการเคลื่อนไหว ของร่างกาย หรือ ยืดเหยียดกล้ามเนื้อจะช่วยผ่ผอนคลาย ความตึงเครียด ท าให้ร่างกายกระปรี้กระเปร่า ลดความ ปวดเมื่อยล้าของกล้าม เนื้อและเส้นเอ็นได้เป็นอย่างดี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๘ “เปิดขุมทรัพย์ ภูมิปัญญาไทยในโรงเรียน” สมุนไพรควรมีไว้ในโรงเรียน พืชสมุนไพร หมายถึง กลุ่มของพืชที่นิยมน ามาใช้ส าหรับรักษาโรค บ ารุงร่างกาย และใช้ส าหรับ การถอนพิษตามความเชื่อ และภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมถึงการใช้ในทางการแพทย์ แผนโบราณ และแผน ปัจจุบัน ทั้งนี้ สมุนไพรบางชนิดนิยมน ามาเป็นส่วนประกอบของอาหาร ๒) วิธีการป้องกันและแก้ไข ปัญหา "ม.เมื่อยตา" คือ จัด ต าแหน่งการท าผงาน ให้เหมาะสม แสงสว่างเพียงพอ ขณะ ท างานให้กระพริบตาบ่อยๆ เพื่อป้องกันภาวะตาแห้ง หรือให้ พักหลับตาประมาณ ๓ - ๕ วินาทีบ่อยๆ เพื่อช่วยกระตุ้นต่อม น้ าตาให้ไหลออกมาเพื่อให้ความชุ่มชื้นแก่ดวงตา ควรมีการพัก สายตาเป็นช่วงสั้นๆ จาก การท างานกับคอมพิวเตอร์ทุกๆ ๑ - ๒ ชั่วโมง ให้พักสายตา ประมาณ ๕ - ๑๐ นาทีโดยละสายตาจาก คอมพิวเตอร์มองไปไกลๆ และควรลุกขึ้นเดินยืดเส้นยืดสาย บ้าง หากรู้สึกเคืองตา ปวดตา หรือแสบตา ให้พักสายตาทันทีอย่า ฝืนท างานต่อ ๑. พลู สรรพคุณ ใช้รักษาโรคลมพิษ และกลุ่มอาการคัน เนื่องจากแมลงสัตว์กัด ต่อย วิธีใช้ น าใบพลู ที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปมาขยี้หรือบดหยาบๆ จากนั้น ผสมกับแอลกอฮอล์เล็กน้อย น าไปทาบริเวณที่เกิดลมพิษ หรือผื่นคัน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗๙ ๒. มะนาว สรรพคุณ ใช้เป็นสมุนไพรแก้ไอ ขับเสมหะ เหงือกบวม เลือดออก ตามไรฟัน วิธีใช้ น าน้ ามะนาว ๑ ช้อนโต๊ะ กินเมื่อมีอาการไอ ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ในผู้ป่วยที่เป็นไข้ตัวร้อนจัด ๓. กะเพรา สรรพคุณ ใช้รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ อาหารไม่ย่อย และอาการ คลื่นไส้อาเจียน วิธีใช้ ใชใบกะเพราสด ๑๐-๑๕ ใบใส่ในแก้ว เติมน้ าต้มสุก ๒๕๐ มิลลิลิตร ทิ้งไว้ ๑๐-๑๕ นาที ค่อยๆจิบ รับประทาน ๔. รางจืด สรรพคุณ ใช้ขับพิษในร่างกาย แก้อาการเมาค้าง วิธีใช้ น าใบรางจืดที่ไม่อ่อน หรือแก่เกินไป ๗-๑๐ ใบ ต้มกับน้ าเปล ่า ๓๐๐ มิลลิลิตร กรองเอาแต่น้ า กรณีขับพิษ กินวันละครั้ง ก่อน อาหาร ติดต่อกัน ๗ วัน แล้วหยุด ๑ เดือน ๕. มะกรูด สรรพคุณ ใช้เป็นสมุนไพรรักษาอาการวิงเวียนศีรษะ หน้ามืดเป็นลม วิธีใช้ ใช้ผิวมะกรูดขยี้ หรือต าพอหยาบ จากนั้นน ามาดมแก้อาการ วิงเวียนศีรษะ ๖. ตะไคร้หอม สรรพคุณ ใช้เป็นสมุนไพรไล่ยุง วิธีใช้ ใช้ใบตะไคร้หอม และกาบใบขยี่หรือต าพอหยาบ น าไปวางไว้ ในสถานที่ที่ต้องการไล่ยุง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๘๐ ๗. ว่านหางจระเข้ สรรพคุณ ใช้รักษาแผลที่เกิดจากแผลไฟไหม้ น้ าร้อนลวก วิธีใช้ น าวุ้นใส ๆ จากว่านหางจระเข้ มาทาบริเวณบาดแผล ที่ถูกไฟไหม้ น้ าร้อนลวก ๘. ทองพันชั่ง สรรพคุณ ใช้รักษาโรคผิวหนัง (กลาก/เกลื้อน) วิธีใช้ น าใบทองพันชั่งที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปมาขยี้หรือ บดหยาบๆ ผสมกับแอลกอฮอล์ ทาบริเวณที่แป็น ๙. พริกขี้หนู สรรพคุณ ใช้เป็นสมุนไพรขับลมในล าไส้ กระตุ้นระบบไหลเวียนโลหิต ขับน้ ามูก กระตุ่นการตื่นตัว วิธีใช้ ใช้เป็นส่วนประกอบของอาหาร ๑๐. เสลดพังพอนตัวเมีย (พญายอ) สรรพคุณ ใช้รักษา ผดผื่นคัน และแมลงสัตว์กัดต่อย วิธีใช้ น าใบทองพันชั่งที่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไปมาขยี้หรือ บดหยาบๆ ผสมกับแอลกอฮอล์ ทาบริเวณที่รอยโรค


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๘๑ นวัตกรรมก้าวไกล...ใส่ใจสุขภาพ การประยุกต์ใช้ทฤษฏีการดูแลตัวเอง ต่อการลดความเจ็บปวดของผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อม หลักการและเหตุผล โรคข้อเข่าเสื่อม (Osteoarthritis of the knee) เป็นโรคที่มีความผิดปกติของเยื่อบุข้อ หรือผิวกระดูกอ่อน ซึ่งท าให้ปวดข้อเคลื่อนไหวข้อ ล าบากเกิดการเสียดสีขณะเคลื่อนไหว ผลเสีย ของโรคนี้คือรักษาไม่หายขาด ไม่กลับสู่สภาพ ปกติ และจะทวีความรุนแรงขึ้น อาจท าให้เกิด ความพิการ ปัจจุบันได้มีการรักาในหลายๆวิธี เช่น การรักษาโดยการใช้ยาและไม่ใช้ยา ส าหรับ การรักษาโดยการไม่ใช้ยา ได้แก่รักษาทางเวช ศาสตร์พื้นฟู เช่นการประคบด้วยความเย็นหรือ ความร้อน การออกก าลังกล้ามเนื้อรอบๆข้อ ซึ่ง การใช้ทฤษฏีดูแลตัวเองต่อการลดความเจ็บปวด จะท าให้ประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการ รักษา สามารถบรรเทาอาการปวดข้อเข่าได้ด้วย ตนเอง สะดวก ส่งผลให้ผู้สูงอายุ ข้อเข่าเสื่อม เกิดความรู้ทักษะ พัฒนาศักยภาพ และเห็น ความส าคัญในการปฏิบัติตัวเพื่อดูแลตัวเอง วัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยของความรู้ เกี่ยวกับข้อเข่าเสื่อมด้านแผนไทย ความพึงพอใจ ต่อตนเอง ความเจ็บปวดของข้อเข่า ในผู้สูงอายุ ข้อเข่าเสื่อมของกลุ่มทดลองก่อนและหลังการ ของความรู้เกี่ยวกับข้อเข่าเสื่อมด้านแผนไทย ความ พึงพอใจต่อตนเอง ความเจ็บปวดของข้อเข่าในผู้สูงอายุ ข้อเข่าเสื่อมระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมและไม่ได้ รับโปรแกรมและศึกษาความพึงพอใจต่อตนเองและ ต่อโปรแกรม ลดปวดในกลุ่มทดลอง วิธีการด าเนินการ การวิจัยนี้ป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (QuasiExperimental Research)แบบมีกลุ่มควบคุม วัดผล ก่อนและหลังการทดลอง (Pre-Post-test control group design) ซึ่งเป็นการพัฒนาโดยประยุกต์ใช้ ทฤษฏีการดูแลตนเอง ต่อการลดความเจ็บปวดของ ผู้สูงอายุข้อเข่าเสื่อมในอ าเภอบ่อไร่จังหวัดตราด ใน กลุ่มทดลองประกอบด้วย กิจกรรมย่อย จ านวน ทั้งสิ้น๔ กิจกรรม ดังต่อไปนี้ กิจกรรมที่ ๑ สร้างสัมพันธภาพและ บรรยากาศการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ๒ การให้ความรู้แก่ผู้สูงอายุข้อ เข่าเสื่อมที่เข้าร่วมวิจัย เรื่องความรู้เกี่ยวกับข้อ เข่าเสื่อ มด้านการแพทย์แผนไทย และสอน โปรแกรมการดูแลตนเองด้วยการฝึกทักษะ และให้


Click to View FlipBook Version