The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kunnua Kandalf, 2023-02-13 03:30:37

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๐๐ มาดูแลสุขภาพเข่า...กันเถอะ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยมองว่าลมในร่างกายมีหลายชนิด แต่มีลมชนิดหนึ่ง ถ้าเดินไหลไม่สะดวกเกิด อาการติดขัด ที่มักจะท าให้ข้อต่างๆ ในร่างกายพลอยติดขัด ท าให้มีอาการปวดและบวมได้ ซึ่งไปท าให้ข้อเข่า ข้อเท้า ข้ออื่นๆ ปวดบวมได้“ถ้าไม่ใช่เพราะเกิดจากกระดูกเสื่อม ขาโก่ง โครงสร้างร่างกายผิดปกตินั้น ใครที่มี อาการปวดเข่า ในมุมมองภูมิปัญญาแพทย์แผนไทยอธิบายว่า อาการปวดเข่ามาจากการติดขัดของลมในร่างกาย และตามหลักทฤษฎีเส้นของการนวดไทยที่เส้นอาจเกิดการติดขัด” สูตร ๑ สูตร ๒ ส่วนประกอบ ๑. ยาห้าราก ๒. ไพล ๓. ขิง ๔. การบูร ๕. ลูกแป้งข้าวหมาก วิธีใช้ น ายาสมุนไพรผสมกับแป้ง คน ส่วนผสมทั้งหมดให้เข้ากัน เติมน้ าสะอาด ๕-๑๐ ช้อนโต๊ะ (ตามความเหมาะสม) แล้ว น าไปพอกบริเวณเข่า ทิ้งไว้ ๓๐ นาที สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดข้อเข่าในผู้สูง อายุและ ผู้ป่วยเข่าเสื่อม ส่วนประกอบ ๑. ดีปลี ๒. ดองดึง ๓. ไพล ๔. หัวแห้วหมู ๕. ลูกแป้งข้าวหมาก วิธีใช้ น ายาสมุนไพรผสมกับแป้งข้าวเจ้า ๑:๔ ผสมกับน้ า หรือแอลกอฮอล์หรือเหล้า ขาว ผสมให้เข้ากัน พอกทิ้งไว้ ๓๐ นาที สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดข้อเข่า ปวดตามข้อ บริเวณเคล็ดขัดยอกกล้ามเนื้อ ในผู้สูงอายุ และผู้ป่วยเข่าเสื่อม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๐๑ เมนูสุดสร้างสรรค์ อร่อยล้ าเหนือค าบรรยาย... วัตถุดิบหลัก วิธีการปรุงอาหาร ขั้นตอนที่ ๑ : ปรุงรสหมูบด น าเนื้อหมูปรุงรสด้วยกระเทียมสับละเอียด ซอสปรุงรส พริกไทย น้ ามันงาและนมสดรสจืด ขั้นตอนที่ ๒ : ล้างใบชะพลูมาหั่นละเอียด ผสมลงไปในเนื้อหมูบด จากนั้นคลุกให้เข้ากัน ขั้นตอนที่ ๓ : ทอดให้สุก ตั้งกระทะที่มีน้ ามันถั่วเหลือง รอให้กระทะร้อน แล้วน าหมูบดที่ปรุงผสมด้วย ใบ ชะพลู น ามาทอดในกระทะ รอให้เหลืองพอสุก แล้วจัดจานเสิร์ฟ ๑. หมูแดงบด ๕๐๐ กรัม ๒. ใบชะพลูซอย ๒๐๐ กรัม ๓. กระเทียมสับละเอียด ๒ ช้อนชา ๔. พริกไทย ๑ ช้อนชา ๕. น้ ามันงา ๑ ช้อนชา ๖. ซอสปรุงรส ๑ ช้อนชา ๗. นมสดรสจืด ๑๕ มิลลิลิตร ๘. น้ ามันพืช


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๐๒ นวัตกรรมก้าวไกล...ใส่ใจสุขภาพ การศึกษาประสิทธิผลการลดอาการลมกองละเอียดก าเริบ โดยการใช้น้ ามันหอมระเหยสมุนไพรในงานแพทย์แผนไทย นายบ ารุง ทองดี / นางสาวจีรภัทร ปานรัตน์ นางสาวกนกพรรณ ตั้งคติธรรม โรงพยาบาลทับคล้อ จังหวัดพิจิตร หลักการและเหตุผล โรคเรื้อรังมีแนวโน้มอุบัติการณ์สูงขึ้น ภาวะความดันโลหิตสูงยังเป็นปัจจัยเสี่ยงของโรค หลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจและโรคไต อันเป็นสาเหตุถึงขั้นรุนแรงที่ท าให้ผู้ป่วยเสียชีวิต ท าให้ต้องมีการดูแลรักษาสุขภาพของประชาขน มากขึ้นโดยเฉพาะ การเลือกดูแลสุขภาพด้วย การแพทย์แผนไทยฃที่ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิต ลด ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ในต าราการแพทย์แผนไทย มิได้เขียนหรือ กล่าวไว้เกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง แต่จะ เรียกว่าโรคหรืออาการลมขึ้นเบื้องสูงก าเริบ หรือ หทัยวาตะก าเริบหรือลมกองละเอียดก าเริบ เป็น การที่เกิดจากการความผิดปกติของลมกอง ละเอียดท าให้เกิดอาการต่างๆ เช่น ลมตีขึ้น ท าให้ แน่นหน้าอก หายใจ ไม่ออก มึนงง วิงเวียน ปวด ศีรษะเป็นลมปะกัง แขนขาอ่อนเปลี้ยไม่มีก าลัง ท าให้แรงดันโลหิตสูงขึ้น ชีพจรเต้นแรงกว่าปกติ จากผู้ รับบริการในงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลทับคล้อ จังหวัดพิจิตร พบว่า มีผู้ที่ มีภาวะความดันโลหิตสูงและไม่สามารถรับบริการ บางหัตถการได้ จึงคิดหาแนวทาง ในการดูแลรักษาผู้รับบริการที่มีอาการของลมกอง ละเอียดก าเริบ โดยใช้กระบวนการทางการแพทย์ แผนไทยเพื่อค้นหาแนวทางในการดูแลผู้ป่วยอย่าง ปลอดภัย ลดความสูญเสียต่อภาวะแทรกซ้อนของโรค วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสิทธิผลการลดอาการ ลมกอง ละเอียดก าเริบโดยการใช้น้ ามันหอมระเหยสมุนไพร กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการในงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาล ทับคล้อ จังหวัดพิจิตร ที่มีค่า ความดันโลหิตสูงกว่า ๑๕๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอท หลังจากวัดซ้ า ๑ ครั้ง และความดันโลหิตไม่ลดลง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๐๓ วิธีการศึกษา ๑. ทาน้ ามันหอมระเหยสมุนไพรบนฝ่ามือผู้รับ บริการ โดยถูวนให้ทั่วฝ่ามือทั้ง ๒ ข้าง ๒. ประกบฝ่ามือทั้ง ๒ ข้าง ครอบบริเวณจมูกและ ปาก พร้อมสูดลมหายใจเข้าลึก ๆ ๓. หายในออกยาว ๆ พร้อมลดมือลง ๔. ท าข้อ ๒ – ๓ ซ้ าติดต่อกัน ๕ รอบ ๕. วัดความดันโลหิตหลังใช้น้ ามันหอมระเหย สมุนไพร และบันทึกผล ๖. บันทึกผลค่าความดันโลหิตหลังการใช้น้ ามัน หอมระเหยสมุนไพร ๓ ครั้งโดยท าซ้ าข้อ ๑ – ๕ ผลการศึกษา จากการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาประสิทธิผล การลดอาการลมกองละเอียดก าเริบ โดยการใช้ น้ ามันหอมระเหยสมุนไพรในผู้มารับบริการในงาน แพทย์แผนไทย โรงพยาบาลทับคล้อ จังหวัดพิจิตร ที่มีความดันโลหิตสูงกว่า ๑๕๐/๙๐ มิลลิเมตร ปรอท หลังจากวัดซ้ า ๑ ครั้ง และความดันโลหิตไม่ ลดลง ซึ่งได้เก็บข้อมูลโดยการบันทึกข้อมูลค่าความ ดันโลหิตในแบบบันทึกข้อมูล ระหว่างวันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ ถึง ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓ ทั้งหมด จ านวน ๕๐ คน โดยน าเสนอผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ดังนี้ จากตารางพบว่าผู้มารับบริการในงานแพทย์ แผนไทย โรงพยาบาลทับคล้อ จังหวัดพิจิตร ที่มีคค่า ความดันโลหิตสูงกว่า ๑๕๐/๙๐ มิลลิเมตรปรอท หลังจากวัดซ้ า ๑ ครั้งและค่าความดันโลหิตไม่ลดลง ก่อนใช้น้ ามันหอมระเหยสมุนไพร มีค่าเฉลี่ย ๑๖๑.๒๒/ ๙๒.๕๔ (S.D.= ๑๒.๖๒/๑๑.๕๔) หลังใช้น้ ามันหอมระเหยสมุนไพร ครั้งที่ ๑ มีค่าเฉลี่ย ๑๕๐.๔๐/๘๗.๓๔ (S.D.= ๑๐.๕๐/๑๑.๑๐) ครั้งที่ ๒ มีค่าเฉลี่ย ๑๔๓.๓๔/๘๓.๖๖ (S.D.= ๙.๑๓/๑๐.๐๘) ครั้งที่ ๓ มีค่าเฉลี่ย ๑๓๖.๑๘/๗๙.๔๒ (S.D.= ๗.๓๐/๘.๐๕) สรุปผลการรักษา จากการศึกษาประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ น้ ามันหอมระเหยสมุนไพรลดอาการลมกอง ละเอียดก าเริบในผู้รับบริการงานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลทับคล้อ จังหวัดพิจิตร ที่มีค่าความดัน โลหิตสูงกว่า ๑๕๐/๙๐ มิลิเมตรปรอท หลังจาวัด ซ้ า ๑ ครั้ง และค่าความดันโลหิตไม่ลดลง จ านวน ๕๐ คน ตั้งแต่วันที่ วันที่ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๒ ถึง ๑๒ มกราคม ๒๕๖๓ โดยใช้เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบบันทึกข้อมูลค่าความดันโลหิต ที่ผู้วิจัย สร้างขึ้น แล้วท าการวิเคราะห์ข้อมูล หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่าหลังจากใช้ น้ ามันหอมระเหยสมุนไพรจากครั้งแรกถึงครั้ง สุดท้ายของการทดลองพบว่าค่าความดันโลหิต ลดลง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๑ มหกรกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ระหว่างวันที่ ๑๔ – ๑๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓ ณ องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย (อสค.) อ าเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี ....๒๔ ภูมิปัญญา ภูมิใจความเป็นไทย ก้าวไกลสู่สากล...


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๒ นักงานสาธารณสุขจังหวัดกลุ่มภาค กลางและภาคตะวันออก ประกอบด้วยเขตสุขภาพที่ ๔ - ๖ จ านวน ๒๔ จังหวัด โดยมีส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี เป็นเจ้าภาพการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและ การแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาคกลางและภาค ตะวันออก ซึ่งได้รับการสนับสนุนงบประมาณด าเนินงานจาก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวง สาธารณสุข โดยมีสรุปผลการด าเนินงานที่ผ่านมา ดังนี้ ๑. ก าหนดการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ระดับภาคกลาง และภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณพุทธศักราช ๒๕๖๓ โดยมีธีมการจัดงาน คือ “๒๔ ภูมิปัญญา ภูมิใจความ เป็นไทย ก้าวไกลสู่สากล”โดยส่งเสริมให้เกิดองค์ความรู้ และความรอบรู้อันมีคุณค่าของภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพรไทยที่ใช้เป็นยารักษาโรคตั้งแต่บรรพบุรุษจนถึงยุคปัจจุบัน ได้รับเกียรติจากนายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ : อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงาน, นายแพทย์รุ่งฤทัย มวลประสิทธิ์พร : นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดสระบุรีกล่าวรายงานวัตถุประสงค์ ของการจัดงาน, นายสมภพ สมิตะสิริ: รองผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรีกล่าวต้อนรับสู่จังหวัดสระบุรี และบรรยากาศของการจัดงาน และได้เชิญชวนท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัด รวมทั้งได้รับเกียรติจากผู้บริหารระดับสูง กระทรวงสาธารณสุข หัวหน้าส่วนราชการระดับจังหวัด ผู้บริหารหน่วยงานจากเครือข่ายจังหวัด ๒๔ จังหวัดภาคกลาง และภาคตะวันออก และประชาชนทั่วไป ภายในงานดังกล่าว กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเชิญชวนผู้บริหารระดับสูง หัวหน้า ส่วนราชการระดับจังหวัด ประชาชนทั่วไปร่วมกิจกรรมรณรงค์สร้างการรับรู้ต่อสังคม เรื่อง การป้องกันเชื้อไวรัส COVID-๑๙ ๒. นิทรรศการของเครือข่ายส านักงานสาธารณสุขจังหวัด กลุ่มภาคกลางและภาคตะวันออก มีการน าเสนอ นิทรรศการองค์ความรู้ทางวิชาการ ภูมิปัญญาด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย และการแพทย์ ทางเลือกอื่นเพื่อการดูแลสุขภาพ การจัดแสดงผลงานนวัตกรรมที่ได้รับการพัฒนา ต่อยอดเพื่อการดูแลสุขภาพ การจัดแสดงต ารับยาแผนไทยในต าราการแพทย์แผนไทยหรือที่ได้มีการตั้งสูตรต ารับเองโดยเครือข่ายโรงพยาบาลที่ มีการใช้ประโยชน์แก่ผู้ป่วยจริง การจัดแสดงผลงานเมืองสมุนไพรภาคกลางและภาคตะวันออก ส ำ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๓ ๓. จุดเด่นของการจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยฯ ๓.๑ การจัดพิธีไหว้ครูการแพทย์แผนไทย ๓.๒ การประกวดอาหารสมุนไพร “ย าผักหวานป่า...ต้านโรค” ๓.๓ การแข่งทักษะทางวิชาการการแพทย์แผนไทย ๓.๔ การประกวดผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก ๓.๕ การแสดง สร้างความสนุกสนาน ความบันเทิงของกลุ่มศิลปินที่มีชื่อเสียง เช่น การแสดงพื้นถิ่น คาวบอยไนซ์, การแสดงดนตรี โดย สุเมธ องอาจ, กฤษฎา สุภาพพร้อม (บิ๊ก ดารานักแสดงจากช่อง ๗), จิรโรจน์ ศรุณานิธิโรจน์ AF๑๒ (เบนซ์) และภัทรพงศ์ เวศกามี AF๑๒ (มาริว) ๔. การจัดกิจกรรมทางวิชาการ การบรรยายและสาธิตด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก โดยให้บุคลากรทางด้านสาธารณสุข แพทย์แผนไทย และประชาชนทั่วไป ได้มีโอกาส เข้าร่วม ซึ่งมีหัวข้อส าคัญ ดังนี้ ๔.๑ การเสวนาทางวิชาการ เรื่อง พระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์สมุนไพร โอกาสและความท้าทาย วิทยากรโดย ดร.ภญ.มณฑกา ธีรชัยสกุล, ภก.วราวุธ เสริมสินศิริ, ภก.ทรงศักดิ์ วิมลกิตติพงศ์ ๔.๒ การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง กัญชาและโอกาสทางการแพทย์ วิทยากรโดย ภก.อนันต์ชัย อัศวเมฆิน : ที่ปรึกษารัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ๔.๓ การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง กัญชาและกัญชง เพื่อเศรษฐกิจ วิทยากรโดย ภญ.ผกากรอง ขวัญข้าว : โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร และนายยุทธชัย แสวงสุทธิ์ ๔.๔ การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง การขยายผลหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจ าต าบล “การบริหารจัดการขยะเปียกให้เป็นปุ๋ยดิน” วิทยากรโดย กอ.รมน.จังหวัดสระบุรี ๕. องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพร โดยมีผลงานที่น ามาจัดแสดงเผยแพร่ให้แก่ประชาชนทั่วไปที่สนใจ ซึ่งรวบรวมได้และมีการบันทึกน าไปใช้ รวมทั้งสิ้น ๒๕๒ เรื่อง/รายการ แบ่งเป็น ๖ ประเภท ดังนี้ ๕.๑ ประเภทที่ ๑ : หมอพื้นบ้าน ปราชญ์หรือผู้รู้ของจังหวัด จ านวน ๗ คน/องค์ความรู้โดยมี ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญด้านการใช้สมุนไพร, หมอพื้นบ้านผู้เชี่ยวชาญการนวด เหล็กแดง เป็นต้น ๕.๒ ประเภทที่ ๒ : ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือกหรือองค์ ความรู้อื่น จ านวน ๕๐ เรื่อง/รายการ โดยมีการจัดแสดงผลงาน เช่น ต ารับหมอยาเมืองพระรถ, ต ารับยาดมสมุนไพร, ต ารับยาตะคริวเข้าท้อง, ต ารับยาริดสีดวงล าไส้และทวาร, ต ารับยาขมไก่, ต ารับยารักษาหูด ตาปลา เป็นต้น ๕.๓ ประเภทที่ ๓ : ผักพื้นบ้านหรืออาหารพื้นเมือง จ านวน ๓ ชนิด/รายการ โดยมีการจัดแสดงผลงาน เช่น ชุดอาหารสาธิตแสลงต่อผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม, น้ าสมุนไพร ๓ เกลอ เป็นต้น ๕.๔ ประเภทที่ ๔ : สมุนไพร (สมุนไพรสดและสมุนไพรแห้ง) จ านวน ๑๕๗ รายการ โดยมีการจัด แสดงผลงาน เช่น พลู, มะนาว, กะเพรา, รางจืด, ตะไคร้หอม, ว่านหางจระเข้, ทองพันชั่ง, กระวาน, กฤษณา, เปลือกอบเชย, เปลือกสมุลแว้ง, เปลือกชะลูด, อัญชัน, ใบเตย, มะระขี้นก, มะกรูด เป็นต้น ๕.๕ ประเภทที่ ๕ : วัฒนธรรม ประเพณีพื้นบ้าน และพิธีกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพ จ านวน ๑ รายการ โดยมีการจัดแสดงผลงาน เช่น พิธีไหว้ครูแพทย์แผนไทยและพิธีมอบตัวศิษย์


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๔ ๕.๖ ประเภทที่ ๖ : นวัตกรรมสุขภาพ จ านวน ๓๔ ชิ้น/รายการ โดยมีการจัดแสดงผลงาน เช่น นวัตกรรมสปาสุ่มไก่, ปานะ...ยาเพื่อชีวิตที่มีความสุข นวัตกรรมเพื่อความสุขของชีวิต, นวัตกรรมข้อคลาย หายปวด , นวัตกรรมรมกระจูด ช่วยระบบทางเดินหายใจ, นวัตกรรมเหยียบอิฐ แก้รองช้ า, แผ่นแปะสมุนไพรผักเสี้ยนผี, นวัตกรรมเผยแพร่สมุนไพรไทย ด้วยท่อ PVC คล้องพวงกุญแจ, นวัตกรรมการบริหารสร้างรูปแบบการบริหารด้วย ระบบ Line@UPA8373Q (TTM SKH), นวัตกรรมผ้าก๊อซขมิ้นชัน เป็นต้น ๖. คลินิกการแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนจีน และการแพทย์ทางเลือก ให้บริการด้านสุขภาพแก่ ประชาชนโดยผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนจีน ประกอบด้วย การตรวจ การวินิจฉัย การฝังเข็ม การนวดเพื่อการรักษษ โดยมีผู้ป่วยมารับบริการ มากกว่า ๕๓๒ คน ๗. การเชิญหน่วยงานภายนอกกระทรวงสาธารณสุข หน่วยงานภาครัฐระดับท้องถิ่น หน่วยงานภาคเอกชน วิสาหกิจชุมชน กลุ่มของผู้ผู้ลิต ผู้ประกอบการรายใหม่ วัยเยาว์ ผู้จ าหน่ายที่ได้รับมาตรฐานการผลิต ได้มาร่วมจัด แสดงนิทรรศการ จ าหน่ายสินค้า บริการอาหารปรุงสุกทุกสุขลักษณะ และปลอดภัย โดยมีรายได้จากการจ าหน่าย สินค้า ตลอดระยะเวลาของการจัดงาน มากกว่า ๓๕๓,๓๓๘ บาทเศษ ๘. ผู้เข้าร่วมการจัดงาน ประกอบด้วย ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวง ผู้บริหารระดับท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ ส่วนกลางกระทรวงสาธารณสุข บุคลากรด้านสาธารณสุขจากเครือข่ายส านักงานสาธารณสุขจังหวัดกลุ่มภาคกลาง และภาคตะวันออก ประชาชนทั่วไป มากกว่า ๒๖,๖๔๒ คน ตามรายงานจ านวนการลงทะเบียน และระบบ Online และการตรวจสอบของ Organizer ๙. การประกวดกิจกรรมด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และอื่น ๆ โดยมีบุคลากร และหน่วยงานร่วมการประกวดในแต่ละรายการที่ได้รับรางวัล ดังนี้ ๙.๑ การแข่งขันทักษะทางวิชาการด้านการแพทย์แผนไทย โดยมีผู้ได้รับรางวัล ดังนี้ ๙.๑.๑ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี, ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรสาคร, ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี และส านักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี ๙.๑.๒ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรี, ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี และ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ๙.๑.๓ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๓ ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง และส านักงานสาธารณสุขจังหวัดเพชรบุรี ๙.๑.๔ รางวัลชมเชย ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดชลบุรี และส านักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๕ ๙.๒ การประกวด “ย าผักหวานป่า...ต้านโรค” โดยมีผู้ได้รับรางวัล ดังนี้ ๙.๒.๑ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ ๙.๒.๒ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายก ๙.๒.๓ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๓ ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา ๙.๒.๔ รางวัลชมเชย ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี, ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี, ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง, ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดลพบุรี, ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี, ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดตราด และส านักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุรี ๙.๓ การประกวดผลิตภัณฑ์สมุนไพร ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก โดยมีผู้ได้รับรางวัล ดังนี้ ๙.๓.๑ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ : ผลิตภัณฑ์ “อบร่ า แป้งฝุ่นสมุนไพรควบคุมความมัน กลิ่นอบร่ า” บริษัท วอร่า ครีมพลัส จ ากัด ๙.๓.๒ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ : - ผลิตภัณฑ์ “น้ ามังคุดผสมสมุนไพร ตรา พนารินทร์” บริษัท สยามโปรฟรุต จ ากัด - ผลิตภัณฑ์ “โลชั่นรังไหมผสมน้ ามันดอกทานตะวัน” วิสาหกิจชุมชนรังไหมประดิษฐ์ ๙.๓.๓ รางวัลชนะเลิศ อันดับ ๓ ได้แก่ : - ผลิตภัณฑ์ “น้ ามันเย็นดอกไม้ เรือบุญ” - ผลิตภัณฑ์ “อาการ์วูด ออยล์ เอ็กซ์แทร็ก บอดี้ โลชั่น” วิสาหกิจชุมชน กลุ่ม ผลิตไม้กฤษณา - ผลิตภัณฑ์ “น้ ามันนวดต้นก่อหลวง ออร์แกนิค ต้นก่อหลวง” โครงการพัฒนา เครือข่ายผู้สูงอายุ จังหวัดจันทบุรี ๙.๔.๔ รางวัลชมเชย ได้แก่ : - ผลิตภัณฑ์ “น้ ามันมะรุมสกัดเย็น” วีรวรรณสมุนไพร - ผลิตภัณฑ์ “ครีมทาส้นเท้าจากสมุนไพร” ขุนเทพโอสถ - ผลิตภัณฑ์ “โลชั่นนวดสปาไพรจันท์” ไพรจันท์ - ผลิตภัณฑ์ “ยาขับลม ตราเพชรแดง” เปล้าแดงโอสถ - ผลิตภัณฑ์ “ครีมทามือ สูตรผักบุ้งทะเล” วิสาหกิจชุมชนกลุ่มลุฟฟาลา - ผลิตภัณฑ์ “สบู่ล้างหน้า สูตรผักบุ้งทะเลผสมใบบัวบก” วิสาหกิจชุมชนกลุ่ม ลุฟฟาลา - ผลิตภัณฑ์ “สบู่อาบน้ า สูตรผักบุ้งทะเลผสมมะขาม” วิสาหกิจชุมชนกลุ่มลุฟฟาลา - ผลิตภัณฑ์ “เจลอาบน้ าผักบุ้งทะเล” วิสาหกิจชุมชนกลุ่มลุฟฟาลา - ผลิตภัณฑ์ “ครีมบ ารุงผิวหน้าเห็ดเยื่อไผ่” พิมพ์พักตร์ ผลิตภัณฑ์จากเห็ดเยื่อไผ่ - ผลิตภัณฑ์ “สบู่ไข่ขาว” พิมพ์พักตร์ ผลิตภัณฑ์จากเห็ดเยื่อไผ่


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๖ - ผลิตภัณฑ์ “เซรั่มเห็ดเยื่อไผ่” พิมพ์พักตร์ ผลิตภัณฑ์จากเห็ดเยื่อไผ่ - ผลิตภัณฑ์ “เจลบ ารุงผิวรอบดวงตา” พิมพ์พักตร์ ผลิตภัณฑ์จากเห็ดเยื่อไผ่ - ผลิตภัณฑ์ “แชมพูเห็ดเยื่อไผ่” พิมพ์พักตร์ ผลิตภัณฑ์จากเห็ดเยื่อไผ่ - ผลิตภัณฑ์ “ครีมทามือรังไหมผสมน้ ามันดอกทานตะวัน” วิสาหกิจชุมชนรัง ไหมประดิษฐ์ - ผลิตภัณฑ์ “สบู่รังไหมผสมน้ ามันดอกทานตะวัน” วิสาหกิจชุมชนรังไหม ประดิษฐ์ ๑๐. การมอบรางวัลผลการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ประจ าปีพุทธศักราช ๒๕๖๓ ระดับภาคกลางและภาคตะวันออก โดยมีผลการประกวด ดังนี้ ๑๐.๑ ประเภทส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ได้แก่ : ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดสระบุรีจังหวัดสระบุรีเขตสุขภาพที่ ๔ ๑๐.๒ ประเภทโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป ได้แก่ : โรงพยาบาลราชบุรีจังหวัดราชบุรีเขตสุขภาพที่ ๕ ๑๐.๓ ประเภทโรงพยาบาลชุมชน ได้แก่ : โรงพยาบาลเสาไห้เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา จังหวัดสระบุรีเขตสุขภาพที่ ๔ ๑๐.๔ ประเภทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี ได้แก่ : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลโพสังโฆ จังหวัดสิงห์บุรีเขตสุขภาพที่ ๔ ๑๑. การจัดงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๓ ระดับภาคกลางและ ภาคตะวันออก ประจ าปีงบประมาณพุทธศักราช ๒๕๖๔ มีมติเห็นชอบมอบหมายให้เขตสุขภาพที่ ๔ โดยส านักงาน สาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นผู้แทนจังหวัดเจ้าภาพจัดงาน ต่อไป ๑๒. ข้อเสนอแนะในการจัดงานครั้งต่อไป และการพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย ๑๒.๑ การประชาสัมพันธ์การจัดงานให้มีความครอบคลุมถึงกลุ่มเป้าหมายทุกระดับ โดยเฉพาะการ ผ่านสื่อออนไลน์ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย ๑๒.๒ สถานที่ของการจัดงานอยู่บริเวณที่เป็นลานกลางแจ้ง มีสภาพอากาศที่อุณหภูมิสูง จึงไม่เหมาะ แก่การเข้าร่วมกิจกรรม ผู้จัดงานควรก าหนดให้มีการจัดกิจกรรมถึงช่วงค่ าของแต่ละวัน และให้บูรณาการร่วมกับ งานที่ส าคัญของจังหวัด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๗ เป็นจังหวัดที่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงพระราชทานอาชีพให้กับพี่ น้องเกษตรกร โดยการจัดตั้งฟาร์มโคนม และศูนย์อบรมไทย-เดนมาร์ก ตั้งแต่วันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๐๕ และได้ก าหนดให้วันที่ ๑๗ มกราคม ของทุกปี เป็น “วันโคนมแห่งชาติ” หลังจากนั้นเมื่อ วันที่ ๗ กันยายน ๒๕๑๔ ได้โอนกิจการมาจัดตั้งเป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และได้เปลี่ยนชื่อหน่วยงานว่า “องค์การ ส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย” หรือรู้จักกันดีในนาม “อ.ส.ค.” ที่ตั้ง ณ อ าเภอมวกเหล็ก จึงส่งผลให้ จังหวัดสระบุรีนั้น มีชื่อเสียงเรื่องของ นมวัว เพราะเป็นพื้นที่เลี้ยงโคนมและส่งผลิตขนาดใหญ่ที่สามารถส่งให้ทั่ว ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ทั้งนี้ จังหวัดสระบุรี ได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงสาธารณสุข ให้เป็น “เมืองสมุนไพร” โดยการ ขับเคลื่อนผ่านคณะกรรมการระดับจังหวัด ซึ่งมีท่านผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี เป็นประธาน นอกจากนั้นยังมี สมุนไพรซึ่งเป็นพืชประจ าอ าเภอทุกอ าเภอที่มีความโดดเด่น เช่น ผักหวานป่า จากอ าเภอบ้านหมอ, ข้าวเจ๊กเชย จากอ าเภอเสาไห้ เป็นต้น จึงเป็นที่มาอย่างส าคัญว่า แนวความคิดการจัดนิทรรศการของจังหวัดสระบุรี จึงได้มีการน าเสนอ สมุนไพรเด่น และการสร้างสรรค์ประยุกต์น าเอานมและสมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ “นมสมุนไพร” และ “ไอศกรีม” ส ระบุรี SARABURI พท.ศราวุฒิ จันดี รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล ...สระบุรี มีดี ต้องอวด... สระบุรี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๘ มา...สระบุรี อย่าพลาดที่จะแวะชมของดี ของเด่น สมุนไพรยอดเยี่ยม …สืบทอดองค์ความรู้และสร้างความสุขแก่เกษตรกรโคนมไทย ให้ด ารงอาชีพอย่างมั่นคงและยั่งยืนด้วยการสรรค์สร้างนวัตกรรม ตลอดห่วงโซ่คุณค่าของอุตสาหกรรมโคนมให้เป็นแบรนด์ที่หนึ่ง ในใจที่คนไทยเพื่อส่งมอบคุณค่าให้คนไทยมีสุขภาพดีด้วย ผลิตภัณฑ์จากนมโคสดแท้ ๑๐๐% ของเกษตรกรไทย ให้อยู่คู่ประเทศไทยตลอดไป… โรงงานนมมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ระหว่างปีพุทธศักราช 2514 - 2515 โรงงานนมผลิตภัณฑ์นมโรง แรกของ อ.ส.ค. เกิดขึ้น โครงสร้างตัวอาคารเป็นคอนกรีตชั้นเดียว ประกอบด้วยห้องเย็นสามห้อง ก่อสร้างบนพื้นที่ 1,000 ตารางเมตร งบประมาณค่าก่อสร้าง 1,025,000 บาท ด้านหลังอาคารเป็นโรงไฟฟ้าและโรงต้มไอน้ าแยก ต่างหาก โรงงานหลังนี้ตั้งอยู่ด้านหน้าอาคาร 1962 ประมาณ 350 เมตร โดยน าเครื่องจักรอุปกรณ์ส าคัญ ๆ ที่จ าเป็นจากโรงนมเก่ามาติดตั้งใช้งาน จากการผลิตนมพาสเจอร์ไรส์บรรจุถุง ซึ่งมีอายุการเก็บรักษาได้ในระยะเวลาสั้น และยังต้องเก็บในที่ที่มีอุณหภูมิต่ า จึงเป็นที่มาของการก้าวไปสู่การพัฒนา ผลิตภัณฑ์นมรูปแบบใหม่ โดยในปี พุทธศักราช 2519 ได้มีการน าเข้าเครื่องจักรผลิตนมสเตอริไลส์ (Sterilized)ระบบ UHT (Ultra High Temperature) ผลิตภัณฑ์นมยู เอชทีในระยะแรกบรรจุกล่องสามเหลี่ยมปีรามิด และในอีกสามปีต่อมาได้มีการพัฒนามาเป็นการบรรจุกล่องแบบ สี่เหลี่ยมเมื่อปี พุทธศักราช 2522 จนถึงปัจจุบัน นมโค อ ำเภอมวกเหล็ก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๑๙ ...ข้าวพื้นเมืองที่มีเปอร์เซนต์อมิโลสสูง ข้าวเมื่อสุกแล้วค่อนข้างร่วน เป็นข้าวพื้นเมืองที่ปลูกในภาคกลางซึ่งมีอยู่หลายพันธุ์ ได้แก่ ข้าวพันธุ์เจ๊กเชย ขาวกอเดียวเหลืองทอง เหรีญทอง ขาวสมนึก ขาวตาหมี ซึ่งในปัจจุบัน ชาวนาในจังหวัดสระบุรี ก็ยังปลูกข้าวพันธุ์เจ๊กเชยที่มีคุณภาพในการหุงที่ดี… ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ ประเภท : พืชล้มลุก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oryza sativa ชื่อสามัญ : ข้าวเจ๊กเชยเสาไห้ (Khao Jek Chuey Sao Hai) ลักษณะเด่น : ได้รับการจดทะเบียนสินค้าบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เป็นข้าวพื้นเมืองของอ าเภอเสาไห้ จังหวัด สระบุรีมีปริมาณอะมิโลสสูง เป็นข้าวไวแสง มีความสูงประมาณ 160 เซนติเมตร คอรวงยาว รวงข้าวมีความยาว เฉลี่ย 33 เซนติเมตร ระแง้ถี่ เป็นข้าวเม็ดยาวน้ าหนักดี สีของกาบใบมี 2 ลักษณะ คือ เจ๊กเชยกาบใบไม้สีม่วง และเจ๊กเชยกาบใบสีม่วงสีข้าวเปลือกมีสีฟาง เมล็ดมีความเรียวยาว เมื่อหุงแล้วข้าวจะสุกร่วนเป็นตัว ไม่เกาะเป็น ก้อน หุงขึ้นหม้อ ข้าวสุกจะนุ่มไม่แฉะ ไม่แข็งหระด้าง ไม่เหนียว และไม่ยุบตัว เมื่อเป็นข้าวราดแกงไม่บูดง่าย ทิ้งไว้เย็น ข้ามวันคุณภาพไม่เปลี่ยน ข้าวเก่าเมื่อน ามาหุง ไม่มีกลิ่นสาบ ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น : น าไปแปรรูปเป็นอาหาร “แป้งข้าวเจ๊กเชย” น ามาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบเส้น ต่าง ๆ เช่น เส้นขนมจีนแป้งสด ก๋วยเตี๋ยว มักกะโรนี สปาเก็ตตี้ อุด้ง ส่วนของขนมหวาน อาทิเช่น ขนมเปียกปูน ขนมชั้น และขนมหม้อแกง การทานข้าวกล้องเจ๊กเชยเสาไห้ เหมาะส าหรับผู้ที่ต้องการรักษาโรคเบาหวาน ควบคุม โรคมะเร็ง โรคอ้วน พิษสุราเรื้อรัง เหน็บชา บริเวณที่พบ : อ าเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ข้าวเจ๊กเชย อ ำเภอเสำไห้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๐ ...ผลไม้หนึ่งในตระกูลเบอร์รีที่นับวันยิ่งได้รับความนิยมในการ รับประทานเพื่อสุขภาพกันมากยิ่งขึ้น... มัลเบอร์รี (Mulberry) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Morus nigra. L. เป็นหนึ่งในพืชตระกูลเบอร์รี โดยคนไทย มักจะรู้จักกันในชื่อของลูกหม่อน เนื่องจากเป็นผลของต้นหม่อนที่ใช้ในการเลี้ยงหนอนไหม อันเป็นจุดก าเนิดของ อุตสาหกรรมผ้าไหม โดยลักษณะของต้นหม่อน เป็นพืชยืนต้นประเภทไม้พุ่มขนาดกลาง เนื้อไม้อ่อน เจริญเติบโตได้ ดีในพื้นที่เขตร้อน ล าต้นมีลักษณะกลม ผิวเรียบ ไม่มีหนาม แต่มียางสีขาวขุ่นคล้ายน้ านม ใบมีลักษณะขอบหยัก ปลายใบแหลม ฐานใบกลมหรือเป็นรูปหัวใจ ผิวใบสาก ก้านใบเรียวเล็ก ดอกเป็นรูปทรงกระบอก โดยจะออกตาม ซอกใบ และปลายยอด ผลของหม่อนหรือลูกมัลเบอร์รี มีลักษณะเป็นผลรวมทรงกระบอก สีของผลเป็นสีเขียวอ่อน แต่เมื่อแก่เต็มที่จะมีสีแดงเข้ม ไปจนเกือบด า มีรสหวานอมเปรี้ยว ข้อควระระวังในการรับประทานมัลเบอร์รี แม้มัลเบอร์รีจะมีประโยชน์ แต่ก็ควรระมัดระวังในการรับประทาน โดยเฉพาะผู้ที่มีอาการแพ้มัลเบอร์รี ไม่ควรรับประทานอย่างเด็ดขาด เพราะอาจจะท าให้อาการก าเริบ ขณะที่ผู้ป่วยโรคเบาหวานก็ควรรับประทาน แต่พอดี เนื่องจากเป็นผลไม้ที่ช่วยลดระดับน้ าตาลในเลือด หากรับประทานมากเกินไปอาจจะท าให้น้ าตาลในเลือด ต่ าจนเป็นอันตราย ทางที่ดีก่อนรับประทานควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญก่อนจะดีที่สุด มัลเบอร์รี่ อ ำเภอเฉลิมพระเกียรติ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๑ ...เป็นสมุนไพรอีกชนิดหนึ่งที่เชื่อกันว่า มีสรรพคุณช่วยเพิ่ม สมรรถภาพทางเพศ ท าให้ท่านชายฟิตปั๋งได้ จึงท าให้ในระยะหนึ่ง เกิดกระแสกระชายด าฟีเว่อร์ มีการส่งเสริมให้ปลูก และท าเป็น ผลิตภัณฑ์โอทอปออกมาวางจ าหน่ายเป็นจ านวนมาก… กระชายด า มีผลเพิ่มสมรรถภาพทางเพศได้ โดยมีผลต่อพฤติกรรมทางเพศ เพิ่มการไหลเวียนเลือดไปยังอวัยวะเพศ ท าให้กล้ามเนื้อเรียบของอวัยวะเพศคลายตัว ส่งผลให้เกิดการแข็งตัวของอวัยวะเพศได้ ซึ่งเป็นข้อมูลที่มาสนับสนุน สรรพคุณพื้นบ้านของกระชายด าในการเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ กระชายด าไม่ได้เป็นยาปลุกอารมณ์ทางเพศ แต่ช่วยท าให้อวัยวะเพศชายแข็งตัวได้ง่าย และบ่อยขึ้น มีระยะเวลาในการแข็งตัวที่นานขึ้น ส าหรับข้อมูลการศึกษา ในคนยังมีน้อย จึงยังไม่มีค าแนะน าเรื่องขนาดที่เหมาะสม และข้อมูลเรื่องความปลอดภัย เมื่อต้องใช้ติดต่อกันเป็น ระยะเวลานาน แม้จะยังไม่มีข้อห้ามหรือข้อควรระวังการใช้กระชายด า แต่มีบางรายงานที่ระบุว่ากระชายด า ในรูปแบบการรับประทานท าให้ตับเกิดความผิดปกติได้ หากใช้ในขนาดสูง หรือใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน ดังนั้น ผู้ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับตับจึงควรหลีกเลี่ยง และในคนทั่วไปก็ไม่ควรใช้ในขนาดสูงหรือติดต่อกันเป็นเวลานาน เช่นกัน นอกจากนี้ไม่ควรใช้ในเด็กหรือสตรีมีครรภ์ เนื่องจากยังขาดข้อมูลด้านความปลอดภัยในการใช้ และควร ระวังการเกิดอันตรกิริยากับยาแผนปัจจุบัน เช่น ยา sildenafil (ยารักษาอาการหย่อนสมรรถภาพทางเพศ) เพราะ อาจท าให้เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยามากขึ้น กระชายด า อ ำเภอแก่งคอย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๒ ...อยากมีสุขภาพดีไม่จ าเป็นต้องลงทุนอะไรมากมาย เพราะการรับประทานกล้วยหอมช่วยให้คุณมีสุขภาพร่างกาย ที่ดีได้ ไม่เพียงเท่านั้น กล้วยหอมยังช่วยในการรักษา และป้องกันโรคต่าง ๆ ได้อีกด้วย… ประโยชน์ของกล้วยหอม กล้วยหอมอุดมไปด้วยแร่ธาตุและสารอาหารต่าง ๆ ที่ร่างกายควรได้รับ และให้พลังงานมากถึง 100 กิโลแคลอรี ต่อหน่วย เพราะในกล้วยหอมมีน้ าตาลอยู่ 3 ชนิด ได้แก่ ซูโครส, ฟรุกโตส, และกลูโคส รวมทั้งเส้นใยอาหาร ดังนั้น ร่างกายเราจะได้รับพลังงาน และน าไปใช้ได้ทันที แค่กล้วยหอม 2 ลูกก็ให้พลังงานได้ถึง 90 นาที และยังมี สรรพคุณอื่น ๆ อีกดังนี้ คลายเครียด กล้วยหอมมีสาร Tryptophan เป็นกรดอะมิโนที่ร่างกายแปลงเป็น Serotonin ได้ ซึ่งเป็น สารกระตุ้นท าให้ร่างกายรู้สึกผ่อนคลาย อารมณ์สดใส และมีความสุข ลดอารมณ์หงุดหงิด อาการปวดหัว ปวดท้องของคุณผู้หญิงในช่วงก่อนหรือระหว่างมีประจ าเดือน เพิ่มพลังสมอง สารอาหารที่อยู่ในกล้วยหอมสามารถกระตุ้นความตื่นตัวให้กับสมองได้ การทานกล้วย หอมเป็นอาหารเช้าช่วยให้สมองท างานได้อย่างเต็มที่ และทานอีกในช่วงกลางวันจะท าให้รู้สึกสดชื่น และตื่นตัวได้ ลดการเกิดแผลในกระเพาะและล าไส้กล้วยหอมมีใยอาหารอยู่มากจึงช่วยให้ล าไส้เล็กย่อยอาหาร ได้ดีขึ้น และช่วยเคลือบกระเพาะอาหารไม่ให้เกิดแผลในกระเพาะ ลดอาการจุกเสียดแน่นท้อง และช่วย ลดท้องผูกอีกด้วย ลดโรคโลหิตจาง กล้วยหอมอุดมไปด้วยธาตุเหล็ก ซึ่งมีส่วนในการกระตุ้นให้ร่างกายสร้างฮีโมโกลบิน ให้กับเม็ดเลือดแดง จึงช่วยป้องกันการเกิดโรคโลหิตจางได้ ลดความดันโลหิต ในกล้วยหอมมีโพแทสเซียม ผลวิจัยยืนยันว่าโพแทสเซียมในผลไม้ช่วยลดความ ดันโลหิตได้ จึงมีส่วนช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดสมองจากความดันโลหิตสูงได้ ลดการเกิดตะคริว คนที่กล้ามเนื้อเป็นตะคริวส่วนหนึ่งมาจากการขาดหรือมีโพแทสเซียมในร่างกายต่ า การทานกล้วยหอมเป็นประจ าจะช่วยลดอาการดังกล่าวได้ บ ารุงระบบประสาท วิตามินบีในกล้วยหอมจะช่วยบ ารุงระบบประสาทให้ท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีความสมดุลมากขึ้น กล้วยหอม อ ำเภอหนองแค


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๓ ...มะม่วงที่มีชื่อเสียงของ อ าเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี เป็นผลไม้ที่เหมาะแก่การรับประทานช่วงฤดูร้อน เพราะมีความ หวาน มัน กรอบ อร่อยที่สุด... มะม ่วงมันหนองแซง ประเภท : ไม้ผลยืนต้นขนาดใหญ่ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera indica L. ชื่อวงศ์ : Anacardiaceae ชื่อสามัญ : Mango tree ลักษณะเด่น : ลักษณะต้นเป็นทรงค่อนข้างทึบใบใหญ่ และสั้น ขอบของใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ลักษณะ การแตกใบคล้ายทรงฉัตรเป็นชั้นๆ ไม่ทนต่อการถูกน้ าท่วมขัง เปลือกและผิวค่อนข้างหนา ผลดิบ ผิวของเปลือกจะ มีสีเขียวนวลของ เนื้อค่อนข้างขาว ลักษณะสีของเนื้อละเอียดมีเสี้ยนเล็กน้อย เมื่อแก่จัดจะมีรสมันและกรอบ ผล สุกผิวของเปลือกจะมีสีเหลือง สีของเนื้อจะเป็นสีเหลือง ลักษณะเนื้อจะละเอียดมีรสชาติหวานชืด เมล็ดมีลักษณะ แบนยาว เนื้อใน เมล็ดมีน้อย และเมื่อเพาะต้นอ่อนสามารถขึ้นได้หลายต้นจากเมล็ดเดียว ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น : เป็นสมุนไพรใช้เปลือกล าต้นสดน ามาต้มเอาน้ ากินเป็นยาแก้ไข้ แก้โรคคอตีบ แก้ เยื่อปากอักเสบ เยื่อเมือกในจมูกอักเสบหรือใช้สวนล้างช่องคลอดแก้อาการตกขาว ใบสดประมาณ 15-30 กรัม น ามาต้มเอาน้ ากินเป็นยาแก้ล าไส้อักเสบเรื้อรัง แก้ซางตานขโมยในเด็ก แก้อืดแน่น หรือใช้ใบสดบดให้ละเอียด พอกบริเวณแผลสดหรือใช้ล้างบาดแผล ผลสด น ามากินเป็นยาแก้คลื่นไส้ อาเจียนวิงเวียน แก้โรค เลือดออกตาม ไรฟัน ขับปัสสาวะ เป็นยาระบาย แก้อาการปวดเมื่อยเมื่อมีประจ าเดือน แก้บิดถ่ายเป็นเลือด และใช้เป็นยาบ ารุง กระเพาะอาหาร เมล็ดใช้เมล็ดสดประมาณ 2-3 เม็ด น ามาต้มเอาน้ ากินเป็นยาถ่ายพยาธิตัวกลม แก้ท้องร่วง แก้ บิดเรื้อรัง ริดสีดวงทวาร ตกขาว ตกเลือด ท้องอืด แก้คลื่นไส้ และแก้ไอ บริเวณที่พบ : อ าเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี มะม่วง อ ำเภอหนองแซง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๔ ดอกเข้าพรรษาเป็นดอกไม้ที่รู้จักกันดีในจังหวัดสระบุรี เพราะดอกเข้าพรรษาเป็นดอกไม้ที่จะออกดอกงดงามเพียงปีละครั้ง ในช่วงวันเข้าพรรษาเท่านั้น จนดอกเข้าพรรษากลายเป็นสัญลักษณ์ ที่บอกให้รู้ว่าวันเข้าพรรษาได้มาถึงแล้ว และชาวจังหวัดสระบุรีก็จะน า ดอกเข้าพรรษานี้มาใส่บาตร ท าให้เกิดเป็นประเพณี “ตักบาตรดอกเข้าพรรษา” ในช่วงเทศกาลเข้าพรรษา ดอกเข้าพรรษา มีชื่อเรียกหลากหลาย ทั้งชื่อ “หงส์เหิน” “กล้วยจะก่าหลวง” “กลางคาน” ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ของดอกเข้าพรรษาเป็นไม้ล้มลุก เหง้า มีรากหัวกลม ต้นสูง 120 เซนติเมตร มีใบ 5 - 7 ใบ กาบใบสีเขียวอ่อน ก้านใบยาว ดอกเข้าพรรษามีสีขาว ขาวอมชมพู สีชมพู และสีเหลือง เรียงเป็นรวงยาวแน่น และซ้อนเหลื่อมกัน ปลายโค้งออก แต่ละใบประดับมีดอกเดียว มีใบประดับย่อยยาว 5 - 6 เกสรตัวผู้ สีเหลือง อับเรณูแบบติดกลาง ยอดเกสรตัวเมียสีขาวรูปกรวย มีเยื่อหุ้มเมล็ดสีน้ าตาล ในหนึ่งปีจะออกดอกเพียง 1 ครั้งเท่านั้น ในช่วงเทศกาล เข้าพรรษา ในประเทศไทยพบมากในบริเวณอ าเภอพระพุทธบาท ขึ้นเองตามไหล่เขา แต่ปัจจุบันได้มีการน า “ดอกเข้าพรรษา” มาเพาะปลูกเองในหลายจังหวัดทางภาคเหนือ การตักบาตรดอกเข้าพรรษาในเทศกาลเข้าพรรษาของทุกปี จะมีประเพณีการตักบาตรดอกเข้าพรรษา จัดขึ้นที่ วัดพระพุทธบาทราชวรมหาวิหาร พระอารามหลวง ต าบลขุนโขลน อ าเภอพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรี ซึ่งเป็นสถานที่ประดิษฐาน “รอยพระพุทธบาท” อันศักดิ์สิทธิ์มีพุทธศาสนิกชนจ านวนมากให้ความเคารพบูชา และเดินทางไปกราบสักการะกันอย่างเนืองแน่นมาโดยตลอด สาเหตุที่น าดอกเข้าพรรษามาตักบาตรนั้น เพราะดอกเข้าพรรษามีสีขาว ที่หมายถึงความบริสุทธิ์ แห่งพระพุทธศาสนา และสีเหลือง ที่หมายถึงสีแห่งพระสงฆ์ ซึ่งในดอกเข้าพรรษาก็มีทั้งสองสีนี้รวมอยู่ด้วยกัน จึงมีความเชื่อกันว่า หากได้น าดอกเข้าพรรษาไปสักการะรอยพระพุทธบาทจะส่งผลบุญให้ผู้ท าบุญตักบาตรได้ขึ้น สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ดอกเข้าพรรษา อ ำเภอพระพุทธบำท


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๕ ...ถ้าพูดถึง “สะเดา” เราคงนึกถึงสมุนไพรรสขมที่มีประโยชน์ และคิดถึงเมนูสูตรเด็ด “สะเดาน้ าปลาหวาน” ที่กินคู่กับปลาดุกย่างที่แสนอร่อย… สะเดา...มีประโยชน์มากมาย ที่ใคร ๆ ยังไม่ค่อยรู้จักกัน... 1. ดีท็อกซ์สารพิษตกค้างในร่างกาย ใบสะเดาเมื่อน ามาต้มในน้ าร้อน ใช้จิบอย่างน้อยวันละครั้ง ล้างพิษในกระแสเลือด กระตุ้นให้เลือดลมไหลเวียนดีขึ้น 2. รักษาโรคผิวหนัง สารเกดูนิน (Gedunin) และนิมโบลิดี (Nimbolide) ในใบและเมล็ดมีประสิทธิภาพในการออกฤทธิ์ ยับยั้งเชื้อรา แบคทีเรีย และเชื้อไวรัสสูง ไม่ว่าจะเป็นเชื้อราตามเท้า เล็บมือ เล็บเท้า กลาก เกลื้อน หิด เริม แผลจากโรคสะเก็ดเงิน (เชื้อแบคทีเรีย) หัด ลมพิษ ผดผื่นคัน หูด และอีสุกอีใส 3. แก้ไข้มาเลเรีย สารเคมีกลุ่มลิโมนอยด์ (Limonoids) ได้แก่ สารเกดูนิน และนิมโบลิดี ในใบและเมล็ดสะเดา สามารถ ยับยั้งเชื้อฟัลซิปารัม (P.Falciparum) ซึ่งเป็นเชื้อไข้มาลาเรียดื้อยาชนิดหนึ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. รักษาโรคไขข้อ ขอบใบสะเดา เมล็ดสะเดา และเปลือกต้น เป็นส่วนที่น ามาใช้เป็นยารักษาโรคไขข้อได้ โดยช่วยลดอาการ ปวด บวมในข้อ ซึ่งอาจน ามาสกัดเป็นน้ ามันใช้ทาในบริเวณที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ และอาการปวดหลังช่วงล่าง หรือน าใบ มาต้มเป็นน้ าดื่มเพื่อรักษาอาการของโรครูมาตอยด์ โรคเกาต์ โรคกระดูกพรุน 5. ช่วยย่อยอาหาร ใบสะเดา สามารถน ามาท าเป็นเมนูเรียกน้ าย่อยได้ เป็นการกระตุ้นให้ร่างกายผลิตน้ าดี ช่วยให้กระเพาะ ย่อยอาหารได้ดีขึ้น อีกทั้งน้ าดีที่ถูกกระตุ้นสร้างออกมานั้นจะช่วยย่อยอาหารประเภทไขมันได้ดีขึ้นด้วย 6. บ ารุงสุขภาพช่องปาก บ ารุงเหงือกและฟัน นิยมน ามาสกัดเป็นส่วนผสมในยาสีฟันทั่วไป ช่วยรักษาโรคร ามะนาด โรคเลือดออกตามไรฟัน โรคเหงือก และลดอาการติดเชื้อแบคทีเรียในช่องปาก 7. ลดความเสี่ยงการเกิดเนื้องอก และมะเร็งมีผลวิจัยบางชิ้นเผยว่า สารพอลิแซ็กคาไรด์ (Polysaccharides) และสารลิโม นอยด์ (Limonoids) ที่พบในเปลือก ใบ และผลสะเดา มีคุณสมบัติช่วยลดความเสี่ยงการเกิดเนื้องอก และมะเร็ง 8. คุมก าเนิด ใช้น้ ามันสะเดาเพื่อคุมก าเนิดในผู้หญิงและผู้ชาย โดยใช้วิธีต่างกัน ผู้หญิงนั้นจะใช้น้ ามันสะเดาชุบส าลีทา บริเวณปากในช่องคลอด ส่วนผู้ชายจะใช้ฉีดน้ ามันสะเดาบริเวณท่อน าอสุจิ 9. บ ารุงข้อต่อ สะเดาช่วยบ ารุงกระดูกและข้อต่อต่าง ๆ ในร่างกาย 10. ช่วยรักษาโรคเบาหวาน โดยจะยับยั้งการผลิตอินซูลินได้กว่าร้อยละ 50 และยังช่วยปรับสมดุลความอยากอาหาร 11. ดีท็อกซ์สารพิษในกระแสเลือด ท าให้มีปริมาณเลือดดีหมุนเวียนในร่างกายมากขึ้น 12. ต้านมะเร็งสารพอลิแซ็กคาไรด์ และสารลิโมนอยด์ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของเนื้อร้าย 13. ลดการติดเชื้อราในช่องคลอด 14. บ ารุงหัวใจ ผลของต้นสะเดา หากน ามาต้ม ใช้จิบอย่างน้อยวันละครั้ง มีคุณสมบัติช่วยขยายหลอดเลือด ท าให้การ ไหลเวียนของเลือดเป็นปกติ ...อย่างไรก็ตาม ควรรับประทานอาหารที่หลากหลายและครบ 5 หมู่ เพื่อสุขภาพร่างกายที่สมดุลและแข็งแร… สะเดา อ ำเภอวิหำรแดง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๖ "ผักหวานป่า" เป็นผักที่สามารถเก็บได้เฉพาะฤดูเท่านั้น โดยจะสามารถเก็บ เกี่ยวได้ตั้งแต่เดือนมีนาคมจนถึงเดือนพฤษภาคม นอกจากนี้ก็ยังอาจมี ประปรายบ้างในช่วงนอกฤดู แต่จะมีราคาสูง เหตุผลที่ท าให้ผักชนิดนี้ กลายเป็นที่นิยมก็เพราะผักหวานป่ามีคุณค่าทางอาหารสูง ช่วยบ ารุงร่างกาย และยังมีฤทธิ์ในการต้านมะเร็ง แก้ท้องผูก ชะลอความแก่ชรา และที่ส าคัญคือมีรสชาติอร่อย อาหารจานเด็ดที่ผู้คนมักนึกถึงเมื่อเห็นผักหวานป่าก็คือ แกงผักหวานใส่ไข่มดแดง เป็นที่รู้กันดีว่ารสหวาน ของผักหวานป่าเข้ากันได้ดีกับความเปรี้ยวมันของไข่มดแดง ซึ่งช่วงฤดูที่ไข่มดแดงมีขนาดใหญ่ และเต่งตึง ประจวบ เหมาะกับผักหวานป่าแตกยอดอ่อนมากก็คือช่วงฤดูร้อนนั่นเอง ผักหวานป่ายังน าไปผัดน้ ามันใส่ในแกงส้ม ย า หรือลวกจิ้มน้ าพริกได้อีกด้วย การกินผักหวานป่า 100 กรัม ร่างกายจะได้รับเส้นใยอาหาร 2.1 กรัม แคลเซียม 24 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 68 มิลลิกรัม และเบตาแคโรทีนสูงถึง 4,756 ไมโครกรัม ขณะที่สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (วว.) ได้ทดลองแปรรูปและวิจัยชาผักหวานป่าพร้อมดื่มพบว่า ช่วยต้านอนุมูลอิสระได้ดีกว่าชาใบ หม่อน และชาดอกค าฝอย ทั้งยังช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล มีสารคอลลาเจนซึ่งเป็นโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบ หลักของผิวหนัง และมีโคเอนไซม์ที่มีบทบาทส าคัญต่อการสร้างพลังงานของเซลล์ด้วย ผักหวานป่ามีพืชที่ลักษณะคล้ายกันจนหลายคนสับสน คือต้นผักหวานเมาหรือต้นเสน ซึ่งเป็นพืชมีพิษ ท าให้ เกิดอาการเบื่อเมาและอาจเสียชีวิตได้ วิธีสังเกตุคือ ผักหวานเมาจะมีผิวใบด้าน ใบสดเหนียวไม่กรอบเหมือนใบ ผักหวานป่า และช่อดอกไม่แตกกิ่งก้าน ผักหวานป่า อ ำเภอบ้ำนหมอ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๗ เถาเอ็นอ่อนเป็นพืชท้องถิ่นของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงประเทศไทย มักพบขึ้นตามป่าราบหรือตามที่รกร้างทั่วทุกภาค แต่มักพบมากทางจังหวัดสระบุรี เถาเอ็นอ ่อน ชื่อวิทยาศาสตร์ Cryptolepis dubia (Burm.f.) M.R.Almeida ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Cryptolepis buchananii Roem. & Schult. ชื่อวงศ์ตีนเป็ด (APOCYNACEAE) และอยู่ในวงศ์ย่อยนมต าเลีย (ASCLEPIADOIDEAE หรือ ASCLEPIADACEAE) ลักษณะของเถาเอ็นอ่อน ต้นเถาเอ็นอ่อน จัดเป็นไม้เถาเลื้อยพาดพันกับต้นไม้อื่น เป็นไม้เลื้อยจ าพวกเถาเนื้อแข็ง เถาล าต้นกลม เปลือกเถาเรียบหนาเป็นสีน้ าตาลอมสีด าหรือเป็นสีแดงเข้ม และมีลายประตลอดเถา ยาวประมาณ 4 - 5 เมตร ก้านเล็ก มีสีเทาอมเขียว และไม่มีขนปกคลุม เมื่อเถาแก่เปลือกจะหลุดลอกออกเป็นแผ่น ๆ มียางสีขาวข้นทั้งต้น พรรณไม้ชนิดนี้ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด มักพบขึ้นตามป่าราบหรือตามที่รกร้างทางจังหวัดหวัดสระบุiu สรรพคุณของเถาเอ็นอ่อน ราก เถา และใบมีรสขมเบื่อเอียน เป็นยาเย็น มีพิษ ออกฤทธิ์ต่อหัวใจ และตับ ใช้เป็นยาฟอกเลือด เถาน ามาต้มกินจะช่วยท าให้จิตใจชุ่มชื่น เมล็ดมีรสขมเมา เป็นยาขับลมในล าไส้และในกระเพาะอาหาร ท าให้ผายและเรอ ช่วยแก้อาการจุกเสียด แน่นท้อง เถาใช้แก้อาการฟกช้ าด าเขียว โดยใช้เถาที่บดเป็นผง 0.35 กรัม ผสมกับเหล้ารับประทาน หรือใช้ยาแห้ง ประมาณ 5-6 กรัม น ามาดองกับเหล้ารับประทานครั้งละ 5 ซีซี วันละ 3 ครั้ง (ต ารับนี้ใช้แก้อาการปวด เมื่อยตามร่างกายได้ด้วย) ใบและเถาเป็นยาบ ารุงเส้นเอ็น แก้อาการปวดเมื่อย โดยใบมีรสเบื่อเอียน ใช้ท าเป็นลูกประคบ ด้วยการ น าใบมาโขลกให้ละเอียด แล้วน ามาห่อกับผ้าท าเป็นลูกประคบแก้เมื่อยขบ แก้ปวดเสียวเส้นเอ็น ช่วย คลายเส้นเอ็น ท าให้เส้นเอ็นที่ตึงยืดหย่อน ส่วนเถามีรสขมเบื่อมัน ใช้ต้มกับน้ าดื่มเป็นยาบ ารุงเส้นเอ็นให้ แข็งแรง แก้เส้นเอ็นพิการ เส้นแข็ง แก้อาการปวดเมื่อยเส้นเอ็น แก้อาการปวดบวม ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย ปวดหลัง แก้ขัดยอก เถาเอ็นอ่อน อ ำเภอหนองโดน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๘ รางจืด เป็นสมุนไพรที่ได้ชื่อว่า ราชาแห่งการล้างพิษ ตลอดจนช่วยถอนพิษที่เป็นอันตรายต่อร่างกายออกไป เชื่อว่าหลาย ๆ คนอาจยังไม่รู้จักกันมากนัก สารส าคัญในรางจืด สารส าคัญที่พบในรางจืดประกอบด้วย กลุ่มโพลีฟีนอล (Polyphenol) ได้แก่ กรดฟีนอลิค (Phenolic acid) เช่น Gallic acid และ Caffeic acid ซึ่งมีฤทธิ์อนุมูลอิสระ protocatechuic acid กลุ่มฟลาโวนอยด์ (Flavonoid) ได้แก่ apigenin และ apigenin glucoside โดยเฉพาะ apigenin ซึ่งเป็นสารส าคัญในรางจืดที่สามารถยับยั้งพิษของสารหนู สรรพคุณตามต ารายาไทยของรางจืด ๑. แก้ท้องร่วง ๒. แก้ร้อนใน กระหายน้ า ๓. ใช้ปรุงเป็นยาเขียวลดไข้ ๔. รักษาโรคหอบหืดเรื้อรัง ๕. แก้ผื่นคันจากอาการแพ้ต่าง ๆ ๖. แก้พิษเบื่อเมา เนื่องจากเห็ดพิษ ๗. ถอนพิษผิดส าแดง และพิษอื่น ๆ ๘. ช่วยถอนพิษสุราหรืออาการเมาค้าง ๙. รักษาโรคข้ออักเสบ และปวดบวม ๑๐. ใช้รักษาผู้ที่ได้รับสารเคมีที่มีพิษร้ายแรง เช่น สารหนู หรือยาฆ่าแมลง นอกจากนี้รางจืดยังสามารถน าไปแก้พิษที่เกิดขึ้นในสัตว์ได้เป็น อย่างดี ไม่ว่าจะเป็น สุนัข หรือแมว อีกทั้งในต ารายาไทย และต ารายา พื้นบ้านยังได้อธิบายเอาไว้ว่าส่วนต่างๆ ของพืชชนิดนี้ สามารถน าไป บรรเทาอาการที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ ไม่ว่าจะเป็น รางจืด อ ำเภอดอนพุด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๒๙ การที่ได้ชื่อว่า "ทานตะวัน" นั่นเป็นเพราะลักษณะการหันของ ช่อดอกและใบนั้นจะหันไปตามทิศทางของดวงอาทิตย์ โดยในตอนเช้า จะหันไปทางทิศตะวันออก และในช่วงเย็นจะหันไปทางทิศตะวันตก ตามดวงอาทิตย์ แต่การหันจะลดน้อยลงเรื่อย ๆ หลังมีการผสมเกสร แล้วไปจนถึงช่วงดอกแก่ ซึ่งช่อดอกจะหันไปทางทิศตะวันออกเสมอ สรรพคุณ...ทานตะวัน ๑. น้ ามันจากเมล็ดทานตะวันมีรสร้อน สามารถช่วยลดระดับไขมันในเส้นเลือดได้ ๒. ใบทานตะวันมีรสเฝื่อน เป็นยาแก้เบาหวาน ๓. เมล็ดช่วยลดความดันโลหิต (เมล็ด) หรือจะใช้แกนหรือไส้ของล าต้นทานตะวันน ามาต้มกับน้ าดื่ม (แกนต้น) หรือจะใช้ใบทานตะวันสด 60 กรัม (ถ้าใบแห้งใช้ 30 กรัม) และโถวงู่ฉิกสด 60 กรัม (ถ้าแห้งใช้ 30 กรัม) น ามาต้มเอาแต่น้ าดื่ม (ใบ) ส่วนอีกวิธีเป็นการทดลองกับผู้ป่วยที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงจ านวน 10 คน ด้วยการใช้ฐานรองดอกแห้งประมาณ 45 กรัมน ามาบดให้ละเอียดแล้วท าเป็นยาน้ าเชื่อม 100 มิลลิลิตร น ามาให้ ผู้ป่วยกินครั้งละ 20 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง พบว่าหลังจากการศึกษาแล้ว 60 วัน ความดันโลหิตของผู้ป่วยลดลง โดยมีอาการดีขึ้น 4 คน และมีอาการดีขึ้นเล็กน้อย 4 คน ส่วนอีก 2 คน ไม่มีอาการดีขึ้นเลย (ฐานรองดอก) ๔. ช่วยท าให้อวัยวะภายในร่างกายชุ่มชื้น ๕. ช่วยแก้อาการปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ ตาลาย ด้วยการใช้ฐานรองดอกแห้งประมาณ 25 - 30 กรัม น ามาตุ๋นกับไข่ 1 ฟอง ใช้กินหลังอาหารวันละ 2 ครั้ง ๖. เปลือกเมล็ดมีรสเฝื่อน ช่วยแก้อาการหูอื้อ ด้วยการใช้เปลือกเมล็ดทานตะวันประมาณ 10 - 15 กรัม น ามาต้มกับน้ าดื่ม ๗. ช่วยแก้อาการปวดฟัน ด้วยการใช้ดอกแห้ง 25 กรัม น ามาสูบเหมือนยาสูบหรือจะใช้ฐานรองดอก 1 อัน และรากเกากี้น ามาตุ๋นกับไข่รับประทาน ๘. รากและล าต้นเป็นยาขับพิษร้อน ถอนพิษไข้ ๙. ใช้เป็นยาแก้หวัด แก้อาการไอ แก้ไข้หวัด หากใช้แก้อาการไอให้ใช้เมล็ดน ามาคั่วให้เหลือง แล้วน ามาชง กับน้ าดื่ม (เมล็ด, น้ ามันจากเมล็ด) ส่วนราก และล าต้นก็เป็นยาแก้ไอเช่นกัน ๑๐. ช่วยแก้อาการร้อนใน ทานตะวัน อ ำเภอวังม่วง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๐ เพชรสังฆาตเป็นสมุนไพรที่คนรู้จักกันดีว่าใช้รักษาริดสีดวงทวาร หมอยาพื้นบ้านเรียกชื่อต่างกันไป เช่น ต าลึงทอง ย่าพลู ร้อยข้อ สามร้อยข้อ ขันข้อ ต่อกระดูก เพชรสังฆาตมีสรรพคุณเด่น ๆ อยู่ ๒ อย่าง คือ รักษากระดูกหัก กระดูกแตก กับริดสีดวงทวาร สรรพคุณ...เพชรสังฆาต เพชรสังฆาตมีสรรพคุณเด่นในการใช้เป็นยาแก้โรคริดสีดวงทวารหนัก ด้วยการน าส่วนต่าง ๆ คือ ราก ล าต้น ใบ และเถามาใช้ โดยสามารถรักษาโรคต่าง ๆ ดังนี้ ๑. ช่วยแก้ท้องอืด และท้องเฟ้อ แก้อาการจุกเสียด ขับลมในล าไส้ ๒. รักษาโรคริดสีดวงทวาร เพราะเพชรสังฆาตอุดมไปด้วยวิตามินซี และสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยลดอาการ อักเสบ ท าให้หลอดเลือดด าบริเวณทวารหนักหดตัวลง ลดอาการเลือดด าคั่ง และท าให้ระบบโลหิตไหลเวียน สะดวกขึ้น ๓. บ ารุงกระดูก ช่วยกระตุ้นการสร้างเซลล์กระดูกพร้อมกับลดอาการบวมหรืออักเสบ เมื่อเปรียบเทียบกับ การให้ฮอร์โมนเอสโตรเจนเพื่อรักษาความหนาแน่นของกระดูกแล้ว พบว่า เพชรสังฆาตให้ผลดีกับความหนาแน่น ของมวลกระดูก และความแข็งแรงได้มากกว่า ๔. ช่วยระบายท้อง เพชรสังฆาตมีฤทธิ์เป็นยาระบายอ่อน ๆ ดังนั้น จึงเหมาะกับผู้ที่มีอาการท้องผูกเป็นอย่าง มาก รักษาโรคอื่น ๆ ช่วยลดน้ าหนัก ใช้หยอดหูแก้น้ าหนวกไหล แก้เลือดเสียในสตรี ท าให้เจริญอาหาร ต้านเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ใช้เป็นยาพอกกระดูกหัก อีกทั้งยังช่วยต้านอนุมูลอิสระ และชะลอความแก่ด้วย เพชรสังฆาต อ ำเภอเมือง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๑ เส้นทางส าคัญของการเกิดขึ้นของ...เมืองสมุนไพร สระบุรี ต้นทาง * สร้างเครือข่าย กลุ่มผู้ปลูกที่ได้รับมาตรฐาน * อนุรักษ์ ส่งเสริมการปลูก สมุนไพรในครัวเรือน, สมุนไพรหายาก, สมุนไพรเชิงเศรษฐกิจ กลางทาง * ส่งเสริมการแปรรูปสมุนไพรให้ได้มาตรฐาน GMP รวมทั้งการวิจัย และประกันคุณภาพ ปลายทาง * ส่งเสริมการใช้สมุนไพรในระบบบริการ และ สมุนไพรวิถีชุมชน * เพิ่มช่องทางการจ าหน่าย Outlet และการ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ สระบุรี....เมืองสมุนไพร “สุขภาพดี” ๓ เส้นทาง ส าเร็จ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๒ เริ่มด าเนินการผลิตยาสมุนไพรมาตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒ เดิมได้ผลิตยาสมุนไพรภายใต้มูลนิธิอิ่มบุญจัง ได้น าเงินบริจาคมาจัดสร้างอาคารสถานที่ใหม่ ผ่านการประเมินมาตรฐาน GMP ในปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ จาก โรงพยาบาลทั้ง ๔๗ แห่ง ทั่วประเทศ ต่อมาในปีพุทธศักราช ๒๕๕๙ โรงพยาบาลได้รับงบประมาณจากทางจังหวัดสระบุรี จัดท าศูนย์การแปรรูป สมุนไพรแบบครบวงจร ซึ่งเป็นโรงงานยาสมุนไพรที่มีขนาดใหญ่ และรองรับการก้าวเข้าสู่การผลิตยาสมุนไพรตาม มาตรฐาน WHO GMP ซึ่งผ่านการรับรองจากกองแบบแผน ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา การปฏิบัติงานผลิตยาสมุนไพรในอาคารผลิตยาสมุนไพรแบบครบวงจร เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่วันที่ ๑ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ โดยมีการผลิตยาสมุนไพรในรูปแบบยาแคปซูล ชาชง ยาน้ า และยาใช้ภายนอก เป็นจ านวน ทั้งสิ้น ๓๕ รายการ ภายใต้นโยบายงานผลิตยาสมุนไพร “ร่วมแรง ร่วมใจ สร้างสรรค์ พัฒนา” โรงพยาบาลให้บริการ “แพทย์แผนไทย” โรงพยำบำลเสำไห้ เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษำ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๓ โรงพยาบาลหนองโดน เป็นโรงพยาบาลชุมชนขนาดพื้นที่ ๑๐ เตียง ตั้งอยู่พื้นที่ของอ าเภอหนองโดน จังหวัด สระบุรี ได้เริ่มใช้ยาสมุนไพร เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ จากนั้นได้เริ่มท าการผลิตยาสมุนไพรในการรักษาผู้ป่วย เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๔ จ านวน ๕ รายการ เพื่อใช้ควบคู่ในการรักษาและทดแทนยาแผนปัจจุบันในบางกรณี ซึ่ง ปัจจุบันโรงพยาบาลหนองโดนได้พัฒนาโรงผลิตยาสมุนไพรจนสามารถผลิตยาสมุนไพรได้มากกว่า 47 รายการ พร้อมกันนี้ได้พัฒนาโรงผลิตยาสมุนไพร จนได้รับมาตรฐาน GPM 2548 ในปี 2557 ทั้งนี้ในปี 2562 โรงผลิตยาสมุนไพร โรงพยาบาลหนองโดนได้ปรับปรุงพัฒนาจนได้รับการผ่านประเมิน มาตรฐาน WHO GPM ใส่ใจมาตรฐานควบคุมคุณภาพ โรงพยาบาลหนองโดน ได้มีการควบคุมคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร โดยได้มีการส่งผลิตภัณฑ์ ตรวจวิเคราะห์ ยาฆ่าแมลงสารเคมี โลหะหนัก และเชื้อจุลชีววิทยา ซึ่งได้รับความร่วมมือจากศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์ ในการตรวจวิเคราะห์ ดังกล่าว เพื่อควบคุมคุณภาพมาตรฐานและสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภคและ บุคคลากรทางการแพทย์ให้มีความ “เชื่อมั่น ชอบใช้ สมุนไพร โรงพยาบาลหนองโดน” โรงพยำบำลหนองโดน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๔ “นวัตกรรมภูมิปัญญา จังหวัดนาครนายก” 1. การรักษาอาการโรคข้อเข่าเสื่อมด้วยการกักน้ ามันไพล “การกักน้ ามัน” เป็นการรักษาความผิดปกติของกระดูก ข้อเข่า และกล้ามเนื้อ ซึ่งเป็นหนึ่งในวิธีการรักษา แบบแพทย์แผนไทยประยุกต์ ช่วยเติมน้ าในข้อ ลดอาการปวดบวม อักเสบเฉพาะจุด และเพิ่มความแข็งแรงของข้อ และกระดูก ส่วนประกอบน้ํามันไพล 1. น้ ามัน 500 มิลลิลิตร 2. ไพลสด 600 กรัม 3. ขมิ้นชัน 300 กรัม 4. พิมเสน 20 กรัม 5. การบูร 20 กรัม 6. เมนทอล 20 กรัม น ครนายก NAKHON NAYOK นายจิรวัฒน์ คณาภิบาล รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๕ วิธีการกักน้ ามันไพล 1. วางแผ่นส าลีบนต าแหน่งหัวเข่าที่จะท าการกักน้ ามัน 2. เทน้ ามันไพลลงบนแผ่นส าลีทีละน้อยจนทั่วแผ่นส าลี โดยเว้นตามขอบ ส าลีไว้ เพื่อไม่ให้น้ ามัน ไพลเยิ้มไหลออกนอกส าลี 3. ใช้ไดร์เป่าผม(เปิดลมแบบร้อน) เป่าบนแผ่นส าลี โดยหลังจากใช้ไดร์เป่าผม เป่าบนส าลีที่อยู่ ด้านบนจนร้อนแล้ว พลิกแผ่นส าลีเพื่อให้ด้านที่เพิ่งเป่าเสร็จ วางบนผิว โดยจะกักน้ ามันนานครั้งละ 30 นาที ท า 3 วัน โดยท าวันเว้นวัน 2. ผ้าก๊อซขมิ้นชัน ช่วยลดสารคัดหลั่งจากบาด66ผลที่ออกมาติดกับผ้าก๊อซ ลดระยะเวลาในการดูแลบาดแผล สามารถ ป้องกันการติดเชื้อ การอักเสบ และการเกิดภาวะแทรกซ้อน ส่วนประกอบ 1. ขี้ผึ้ง 500 กรัม 2. วาสลีน 1 กิโลกรัม 3. น้ ามันขมิ้นชัน 1 กิโลกรัม 4. พิมเสน 100 กรัม 5. ผ้าก๊อซ วิธีท า 1.ละลายขี้ผึ้ง และวาสลีน ผ่านกระบวนการความร้อน 2. เติมน้ ามันขมิ้นชัน และพิมเสน 3. น าก๊อซที่ผ่านการอบฆ่าเชื้อลงไป หยุดให้ความให้ร้อนรอให้แข็งตัว 4. แพ็คใส่ถุงผ่านกระบวนการปราศจากเชื้อ โดยวิธีการนึ่งไอน้ า ใช้อุณหภูมิ 121 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นเวลา 30 นาที วิธีใช้ ใช้ก๊อซปิดลงบนผลที่ท าความสะอาดแล้ว ให้แนบสนิทกับแผล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๖ “ต ารับยารักษาโรค” 1. ต ารับยารักษากลากเกลื้อน (ต ารับนางพวน กุลดี หมอพื้นบ้านจังหวัดนครนายก) สรรพคุณ รักษากลากเกลื้อน ลดอาการคัน ส่วนประกอบต ารับยา 1. เกลือตัวผู้ ช่วยสมานแผล 2. ชุมเห็ดเทศ (ใบและราก) รักษาโรคผิวหนังต่าง ๆ รักษากลากเกลื้อน ผดผื่นคัน ผิวหนังอักเสบ เป็นผื่นคัน วิธีท า น ารากและใบชุมเห็ดเทศโขลกละเอียดผสมเกลือ วิธีใช้ พอกบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง (เช้าเย็น) สามารถพอกได้ จนกว่าอาการจะหาย ข้อห้าม ห้ามทาบริเวณแผลเปิด หรือบริเวณเนื้อเยื่ออ่อน 2. ต ารับยารักษาหูด ตาปลา (ต ารับนายสุนีย์ กองทอง หมอพื้นบ้านจังหวัดนครนายก ) สรรพคุณ รักษาหูด ตาปลา ส่วนประกอบต ารับยา 1. รากต้นแก้ว แก้อาการคันที่ผิวหนัง แก้ฝี แก้พิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย 2. ผักโขมหนาม แก้ฝี ขี้กลาก แก้อาการบวม อักเสบต่าง ๆ แก้อาการคัน ตามผิวหนัง วิธีท า น ารากต้นแก้วและผักโขมหนาม ในปริมาณเท่าๆกัน โขลกรวมกันให้ละเอียด วิธีใช้ ใช้พอกบริเวณที่มีอาการ สามารถพอกได้บ่อยครั้ง จนกว่าหัวผีจะหลุด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๗ 3. ต ารับยารักษาผื่นคัน ยุงกัด รินกัด (ต ารบนายสนีย,กองทอง หมอพื้นบ้านจังหวัดนครนายก) สรรพคุณ รักษาผื่นคัน ยุงกัด ชิ้นกัด ส่วนประกอบต ารับยา 1. ยาสูบ (ยาตั้งเบอร์ 5) แก้ลมพิษ รักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน เรื้อนกวาง ผื่นคัน หิด 2.ขมิ้นชัน ช่วยลดการอักเสบ รักษา โรคผิวหนัง ผดผื่นคัน 3.น้ ามันมะพร้าว บ ารุงผิวพรรณไม่ให้แห้งกร้าน และลดอาการอักเสบของผิวหนัง วิธีท า คั้นกะทิสดแล้วน าไปเกี่ยวเพื่อท าน้ ามันมะพร้าว (ไม่ควรใช้ น้ ามันมะพร้าวสกัดเย็น) น ายาสูบ (ยาตั้งเบอร์ 5) ต าให้ละเอียด โรงงาน ผสมกับขมิ้นผง และน้ ามันมะพร้าว ตั้งไฟอ่อน เคี่ยวจนสุก และวางทิ้งไว้ให้เย็น วิธีใช้ ใช้ทาบริเวณที่เป็นได้บ่อยครั้งตามความต้องการ ข้อห้าม ห้ามทาบริเวณแผลเปิด หรือบริเวณเนื้อเยื่ออ่อน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๘ “พระต ำหนักสง่ำงำม ลือนำมสวนสมเด็จ เกำะเกร็ดแหล่งดินเผำ วัดเก่ำนำมระบือ เลื่องลือทุเรียนนนท์ งำมน่ำยลศูนย์รำชกำร” ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี Nonthaburi Provincial Health Office “ยาดมสมุนไพร” เป็นยาสามัญประจ าบ้านที่มีใช้กันมาอย่างยาวนานตั้งแต่สมัยโบราณ ในแต่ละท้องถิ่นก็จะมี ส่วนผสมและวิธีการท าที่ต่างกันออกไป โดยขึ้นอยู่กับวัตถุดิบที่มีในท้องที่นั้น เช่น ยาดมสมุนไพรไทย กับจีนที่มีกลิ่นแตกต่างกัน เพราะส่วนประกอบที่เป็นสมุนไพรในท้องถิ่นต่างกัน ท าให้กลิ่นยาดมนั้นก็ จะมีความต่างกันอย่างชัดเจน รวมถึงความชอบของคนแต่ละในพื้นถิ่นที่ต่างกันก็จะท าให้มีสูตรยาดม ต่าง ๆ กัน น นทบุรี NONTHABURI นายเมฑาวุธ ธนพัฒน์ศิริ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๓๙ ตามหลักการแพทย์แผนไทยระบุว่า วัยชราหรือผู้สูงอายุ จะเริ่มตั้งแต่อายุ ๓๒ ปีขึ้นไป คนในวัยนี้มักเป็นโรคลมเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากคนในวัยชรามักมีอาการหน้ามืด วิงเวียน ปวดหัว เป็นลม จึงต้องมียาหม่องตลับเล็ก ๆ หรือขวดเล็ก ๆ พกพาติดตัว ยาดมสมุนไพร เป็นการน าสมุนไพรแห้งที่มีกลิ่นหอมเย็น สดชื่นตั้งแต่ ๒ ชนิดขึ้นไป เช่น ลูก จันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู มาผสมกันแล้วหมักด้วยน้ ามันหอมระเหย ซึ่งน้ ามันหอมระเหยจะเป็นตัว สกัดสารส าคัญและกลิ่นของสมุนไพรออกมา “ส่วนประกอบ” สมุนไพรแห้ง ๑. แก่นกฤษณา ๒. ลูกกระวาน ๓. ดอกกานพลู ๔. ลูกจันทน์เทศ ๕. ดอกจันทน์เทศ ๖. เปลือกอบเชย ๗. เม็ดพริกไทยด า ๘. เปลือกสมุลแว้ง ๙. ปลือกชะลูด ๑๐. ใบพิมเสน “ส่วนประกอบ” สารเคมี ๑. พิมเสน ๓ ส่วน ๒. การบูร ๓ ส่วน ๓. เมนทอล ๔. น้ ามันส้ม (สูตรสดชื่น) ๕. น้ ามันลาเวนเดอร์ (สูตรผ่อนคลาย)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๔๐ วิธีการท า ๑. น าสมุนไพรทั้งหมด มาหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ และบุบพริกไทยด าเล็กน้อย ๒. น าพิมเสน การบูร เมนทอล และน้ ามันหอมระเหยมาผสมกันในถ้วยแก้วให้ละลายเป็นเนื้อ เดียวกัน ๓. จากนั้นน าสมุนไพรที่หั่นแล้วใส่ในขวดแก้ว ๔. เติมส่วนผสมในข้อ ๒ ลงไปในขวดแก้วให้ท่วมด้วยสมุนไพร ปิดฝาให้สนิท ๕. ตั้งขวดแก้วทิ้งไว้ประมาณ ๗ วัน แล้วจึงน ามาใช้ โดยท าการแยกบรรจุเป็นขวดเล็ก ๆ วิธีการใช้และสรรพคุณ ใช้สูดดม แก้วิงเวียนศีรษะ หน้ามืด ตาลาย ท าให้สดชื่น “สาระน่ารู้ . . . สมุนไพรใกล้ตัว” ๑. แก่นกฤษณา สรรพคุณ บ ารุงโลหิตและหัวใจ ท าให้หัวใจชุ่มชื่น แก้ลมวิงเวียนศีรษะ ๒. ลูกกระวาน สรรพคุณ แก้ลม แก้เสมหะ แก้ไข้ คลื่นไส้ อาเจียน ๓. ดอกกานพลู สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน แก้อาการหน้ามืด ตาลาย ๔. ลูกจันทน์เทศ สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน แก้อาการหน้ามืด ตาลาย ใจสั่น ๕. ดอกจันทน์เทศ สรรพคุณ แก้อาการหน้ามืด ตาลาย ใจสั่น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๔๑ ๖. เปลือกอบเชย สรรพคุณ บ ารุงดวงจิต แก้อ่อนเพลีย ชูก าลัง ๗. เม็ดพริกไทยด า สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดท้อง จุกเสียด แน่นเฟ้อจากอาหารไม่ย่อย ๘. เปลือกสมุลแว้ง สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน และลมที่ท าให้ใจสั่น แก้พิษหวัด แก้ก าเดา ขับลมในล าไส้ แก้ธาตุพิการ ๙. เปลือกชะลูด สรรพคุณ บ ารุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น ๑๐. ใบพิมเสน สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ลม บ ารุงหัวใจ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๔๒ “ผักสมุนไพร/เครื่องดื่ม ประจ าธาตุเจ้าเรือน” ธาตุเจ้าเรือนคืออะไร ตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทยกล่าว ว่า คนเรา เกิดมาในร่างกายประกอบด้วย ธาตุ ทั้งสี่ คือ ดิน น้ า ลม และไฟ ซึ่งแต่ละ คนมีธาตุหลักเป็นธาตุประจ าตัว เรียก ว่า “ธาตุเจ้าเรือน” ซึ่งมี ๒ ลักษณะ คือ ธาตุ เจ้าเรือนเกิดซึ่งจะเป็นไปตามวัน เดือน ปี เกิด และธาตุเจ้าเรือน ปัจจุบันที่พิจารณา จากบุคลิกลักษณะ อุปนิสัย และภาวะด้าน สุขภ าพก าย และใจ ว่าสอดคล้องกับ ลักษณะของ บุคคลธาตุเจ้าเรือนอะไร เมื่อธาตุทั้งสี่ในร่างกายสมดุล บุคคล จะไม่ค่อย เจ็บป่วย หากขาดความสมดุล มักจะเกิดเจ็บป่วยด้วยโ รค ที่เกิดจ าก จุดอ่อนด้านสุขภาพของแต่ละคนตามเรือน ธาตุที่ขาดความสมดุล ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกัน ปัญหาความเจ็บป่วย ที่อาจเกิดขึ้น สิ่งที่สามารถ ช่วยได้ระดับหนึ่ง ในเบื้องต้น คือ พฤติกรรม ก า รบ ริโ ภ ค อ า ห า ร ข อง แ ต่ ล ะ คนใน ชี วิตป ร ะ จ า วัน โดยใช้ รส ของอ าห า ร คุณลักษณะที่เป็นยามาปรับสมดุลของ ร่างกาย เพื่อป้องกันความเจ็บป่วย จะรู้ได้ อย่างไรว่าเป็นคนธาตุอะไร มีจุดอ่อนด้าน สุขภาพด้วยโรคอะไร และควรรับประทาน ธาตุดิน ผู้ที่เกิดในเดือน ตุลาคม พฤศจิกายน และธันวาคม เป็นคนธาตุดิน รูปร่างมักสูง ผิวค่อนข้างคล้ า ผมดก ด า กระดูกใหญ่ ข้อ กระดูกแข็งแรง น้ าหนักตัวมาก ล่ าสัน เสียง ดังหนักแน่น คนธาตุดิน ควรรับประทานอาหารรสฝาด หวาน มัน และเค็ม ผักผลไม้ที่ควรรับประทาน คือ มังคุด ฝรั่งเงาะ ฟักทอง มันเทศ เผือก ถั่ว ต่าง ๆ ผักพื้นบ้าน ได้แก่ ผักกระโดน กล้วย ดิบ ยอดมะม่วงหิมพานต์ ยอดมะยม สมอไทย กระถินไทย กระโดนบก กระโดนน้ า ผักหวาน สะตอ ผักโขม โสน ขจร ยอดฟักทอง บวบ อาหารที่แนะน า คือ ผักกูดผัดน้ ามันงา ดอกงิ้ว ทอดไข่ แกงป่ากล้วยดิบ คั่วขนุน สะตอผัดกุ้ง สมอไทย ผัดน้ ามันหอย อาหาร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข อาหารอย่างไร ให้ตรงกับธาตุเจ้าเรือนของ ๒๔๓ ตน พิจารณาได้จากข้อมูลต่อ ไปนี้ ธาตุน้ า ผู้ที่เกิดในเดือน กรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน เป็นคนธาตุน้ า รูปร่างสมบูรณ์ สมส่วน ผิวพรรณสดใส เต่งตึง ตาหวาน น้ าในตามาก ท่าทางเดิน มั่นคง ผมดกด างาม ทนหิว ทนร้อน ทนเย็นได้ ดี เสียงโปร่ง ความรู้ทางเพศดีอากัปกิริยาไม่ กระฉับกระเฉง คนธาตุน้ า ควรรับประทานอาหารรส เปรี้ยว และ ขม ผักผลไม้ที่ควรรับประทาน ได้แก่ มะนาว ส้ม สับปะรด มะเขือเทศ มะยม มะกอก และมะดัน ผักพื้นบ้าน ได้แก่ ขี้เหล็ก แคบ้าน ชะมวง ผักติ้ว ยอด มะกอกยอดมะขาม มะอึก มะเขือเครือ สะเดา บ้าน มะระขี้นก มะระจีน มะแว้ง ใบยอ อาหารที่แนะน า คือ แกงขี้เหล็กปลา ย่าง แกงส้ม ดอกแค แกงอ่อม แกงอ่อม มะระขี้นก ห่อหมกใบยอ แกงป่าสะเดา ใส่ปลาหมอ แกงป่าสะเดาปิ้ง ต้มโคล้งยอด ว่าง เช่น เต้าส่วน วุ้นกะทิ กล้วยบวชชีแกงบวด ฟักทอง ตะโก้เผือก เครื่องดื่มที่แนะน า คือ น้ าอ้อย น้ ามะพร้าว น้ าตาลสด น้ ามะตูม น้ าส้ม น้ าฝรั่ง น้ าลูกเดือย น้ าข้าวโพด น้ าแห้ว น้ าฟักทอง ธาตุลม ผู้ที่เกิดในเดือน เมษายน พฤษภาคม และมิถุนายน เป็นคนธาตุลม รูปร่างโปร่ง ผ อมบ าง ผ มบ า ง ข้ อ ก ร ะ ดู ก ลั่น เ มื่ อ เคลื่อนไหว ช่างพูด นอนไม่ค่อยหลับ ทนหนาว ไม่ค่อยได้ เสียงต่ า ออกเสียงไม่ ชัดเจน ความรู้สึกทางเพศไม่ค่อยดีมักมี อาการเวียนหัว หน้ามืด เป็นลมง่าย ในฤดูฝน จะเจ็บป่วยง่ายเพราะธาตุลมก าเริบ คนธาตุลม ควรรับประทานอาหารรสเผ็ด ร้อน ผลไม้ที่ควรรับประทาน คือ ชมพู่ แตงโม แตงไทย ผักพื้นบ้าน ได้แก่ ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย พริกไทย ขมิ้นชัน ชะพลู ผักไผ่ พริกขี้หนูสด สะระแหน่ หูเสือ ผักคะ แยง ผักชีลาว ผักชีล้อม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๔๖ ปัจจุบันสมุนไพรเข้ามามีบทบาทส าคัญในชีวิตมากขึ้นในการใช้รักษาโรคหรือการใช้เพื่อเป็นอาหารเสริม เนื่องจากสังคมได้ตระหนักถึงคุณค่าและประโยชน์ของสมุนไพร แต่หากการน าสมุนไพรมาใช้อย่างไม่ถูกต้อง ไม่ถูก วิธีสมุนไพรก็อาจจะก่อให้เกิดโทษต่อผู้ใช้ได้ อันตรายที่เกิดขึ้นจากการใช้สมุนไพรสามารถจ าแนกได้เป็น ๗ กลุ่ม สมุนไพร ๑ ชนิด อาจให้เกิดอันตรายได้มากกว่า ๑ กลุ่ม โดยข้อมูลบางส่วนมีหลักฐานยืนยันแน่นอน บางส่วนอิง ข้อมูลจากการทดลอง (สัตว์ทดลองและ/หรือหลอดทดลอง) และบางส่วนก็มีเพียงกรณีศึกษาเท่านั้น อันตรายจาก การใช้สมุนไพร จ าแนกเป็น ๗ กลุ่ม ดังนี้ กลุ่ม ๑ : สมุนไพรที่ท าให้เกิดปฏิกิริยาการแพ้ จากการส ารวจการใช้ “นมผึ้ง” ปีพุทธศักราช ๒๕๓๖ – ๒๕๔๐ พบการเกิดปฏิกิริยาตอบสนองไว เกินจากการได้รับนมผึ้งเกือบ ๔๐ ราย มีอาการคือ อาการหืด อาการหลอดลมหดเกร็ง หลอดเลือดบวม ความดัน โลหิตต่ า ผื่นคัน เยื่อบุตาอักเสบ กลุ่ม ๒ : สมุนไพรที่ท าให้เกิดความเป็นพิษ ๑. สมุนไพรที่ท าให้เกิดความเป็นพิษต่อตับ ในประเทศไทยเคยมีรายงานในปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ ว่าใบขี้เหล็กซึ่งผลิตและจ าหน่ายในรูปแบบยาเม็ด ท าให้เกิดตับอักเสบ ต้องผ่านการต้มเอาพิษออกตามวิธีดั้งเดิม นอกจากนี้คาวา (Kava) สมุนไพรที่นิยมใช้ในการรักษาอาการนอนไม่หลับ มีรายงานหลายรายงานว่ามีผลท าลาย ตับเช่นกัน ป ทุมธานี PATHUM THANI พท.ศราวุฒิ จันดี รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล ส านักงานสาธารณสุขจังหวัด ปทุมธานี สมุนไพร…มีประโยชน์อย่างไร กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดปทุมธานี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒. สมุนไพรที่ท าให้เกิดความเป็นพิษต่อไต มีรายงานการเกิดความเป็นพิษต่อไตจากการใช้ ๒๔๗ ผลิตภัณฑ์ สมุนไพรลดน้ าหนักที่มี Aristolochic acid ในผู้ป่วยโรคไต ควรระวังการใช้ ชะเอมเทศ และมะขามแขก เพราะอาจมีผลท าให้เกิดภาวะโปแตสเซียมต่ าในเลือด และน้ าลูกยอ อาจให้เกิดภาวะโปแตสเซียมสูงในเลือด และมี รายงานว่า Juniper Berries ในปริมาณสูงท าให้ไตเกิดการถูกท าลายได้ ส่วนมะเฟือง มีรายงานว่าท าให้ไตเกิด ความเป็นพิษจากออกซาเลท กลุ่ม ๓ : สมุนไพรท าให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ การใช้สมุนไพรอาจท าให้เกิดอาการข้างเคียงหรือฤทธิ์ไม่พึงประสงค์ได้ อาการไม่พึงประสงค์ซึ่ง สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่ต้องการหรือไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่ต้องการ กลุ่ม ๔ : การเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาแผนปัจจุบันกับสมุนไพร ๑. ผู้ป่วยที่รับประทานยาละลายลิ่มเลือด และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด เช่น ยาวาฟาริน แอสไพริน โคลพิโดเกรล ยาสมุนไพรอาจเพิ่มฤทธิ์หรือลดฤทธิ์ยาแผนปัจจุบัน ส่งผลอาจท าให้เลือดออกง่ายขึ้น เลือดหยุดยากขึ้น ๒. ในต ารับยาแผนโบราณที่มีส่วนผสมของดีปลีในปริมาณสูงให้ระมัดระวังการใช้ในคนไข้ที่ รับประทานยากันชัก ยาลดความดัน ยาขยายหลอดลม และยาฆ่าเชื้อ ๓. ผู้ป่วยที่รับประทานเบาหวาน ควรระมัดระวังการใช้ยาสมุนไพรที่มีฤทธิ์ลดน้ าตาลในเลือด เพราะอาจท าให้เสริมฤทธิ์ของยาเบาหวาน เช่น มะระขี้นก หญ้าหนวดแมว โสม หนานเฉาเหว่ย หรือบัวบกซึ่งมี ฤทธิ์เพิ่มระดับน้ าตาลในเลือดผลท าให้ประสิทธิภาพของยาเบาหวานลดลง ๔. ผู้ป่วยโรคหัวใจ ซึ่งต้องจ ากัดปริมาณโพแทสเซียม ควรระมัดระวังการับประทานยาสมุนไพรที่มี โพแทสเซียมสูง เช่น ยาหญ้าหนวดแมว ๕. ผู้ป่วยที่สงสัย่วาเป็นไข้เลือดออก ห้ามรับประทานยาลดไข้สมุนไพร เพราะอาจบดบังอาการ ไข้เลือดออกได้ ๖. ห้ามใช้ในหญิงก าลังอยู่ในช่วงของการตั้งครรภ์หรือการให้นมบุตร เช่น ยาเถาวัลย์เปรียง ๗. ผู้ป่วยที่เป็นโรคตับ/ไต ควรระมัดระวังการรับประทานยาสมุนไพรต ารับที่มีการบูรสะสมเกิดพิษได้ ๘. ผู้ป่วยที่มีความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ แผลในกระเพาะอาหาร โรคตับ โรคไต ระมัดระวังการใช้ ยาสหัสธารา กลุ่ม ๕ : การใช้สมุนไพรผิดชนิด ผิดวิธี อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้สมุนไพร ส่วนหนึ่งเกิดจากความเข้าใจผิดเกี่ยวกับชนิดของสมุนไพร เนื่องจากสมุนไพรบางชนิดมีลักษณะที่คล้ายคลึงกัน และมีความคล้ายคลึงกันกับพืชมีพิษบางอย่างหากขาดความ เชี่ยวชาญในการจ าแนกชนิดของพืชสมุนไพรก็อาจน ามาซึ่งอันตรายต่อร่างกาย ได้จากการใช้สมุนไพรไม่ถูกชนิด ได้ รวมทั้งการน ามาใช้โดยผิดวิธี กลุ่ม ๖ : การปนเปื้อนในสมุนไพร การปนเปื้อนที่เกิดขึ้นในผลิตภัณฑ์สมุนไพรไม่ว่าจะเป็นโลหะหนัก ยาฆ่าแมลงหรือเชื้อจุลินทรีย์ต่าง ๆ ในผลิตภัณฑ์สมุนไพรเป็นสิ่งที่ไม่ควรเกิดขึ้นหรืออาจมีก็ไม่ควรเกินปริมาณที่ก าหนด เนื่องจากการปนเปื้อนของ สารดังกล่าวอาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ทั้งแบบเฉียบพลัน และสารบางอย่างอาจมีการสะสมและ ก่อให้เกิดอันตรายในระยะยาวตามมา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๔๘ กลุ่ม ๗ : สมุนไพรที่มีการปลอมปน สมุนไพรหลายชนิดที่มีการอวดอ้างสรรพคุณเกินจริงจากการสุ่มตรวจสมุนไพรที่มีการกล่าวอ้างว่า สามารถรักษาโรคได้หลายชนิดหรือการรักษาโรคได้หายรวดเร็วทันใจ หลายตัวอย่างจะพบการปนปลอมของสารที่ มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา โดยเฉพาะยาสเตียรอยด์ ที่ท าให้เกิดอันตรายต่อร่างกายได้ หากใช้ไม่ถูกต้อง องค์ประกอบ สมุนไพรสารสกัดเปลือกมังคุดที่ยับยั้งท าลายเชื้อ Streptococcus ที่ท าให้เกิดฟันผุ วิธีใช้ บ้วนปาก ครั้งละ ๑๐ มิลลิลิตร นาน ๖๐ วินาที โดยที่ไม่ต้องผสมน้ า บ้วนทิ้งโดยไม่ต้องบ้วนน้ า แนะน าให้ใช้หลังการแปรงฟัน วันละ ๒ ครั้ง เช้น และก่อนนอน หรือหลังการรับประทานอาหาร ค าเตือน ห้ามใช้ในเด็กอาย่ ากว่า ๖ ปี น้ ายาบ้วนปาก...Up Digidental


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๔๙ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โรงพยาบาลวังน้อย โรงพยาบาล บางไทร ศูนย์เวชปฏิบัติครอบครัว และโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา “ภูมิปัญญา แผ่นแปะสมุนไพร ผักเสี้ยนผี” พ ระนครศรีอยุธยา PHRA NAKHON SI A YUTTHAYA นายจิรวัฒน์ คณาภิบาล รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๐ ส่วนประกอบ - สารสกัดผักเสี้ยนผี Cleome Uiscoso L. Extract - น้ ามันระก า Methyl Salicylate -การบูร Camphor - เมนทอล Menthal - เมือกเม็ดแมงลัก -กลีเซอรีน Glycerin - ผงวุ้น Aqar วิธีการใช้ ลอกพลาสติกออกและแปะบริเวณกล้ามเนื้อหลังส่วนบน ที่มีอาการปวดเป็นเวลา 30 นาที ข้อห้ามข้อควรระวัง - ห้ามแปะบริเวณที่มีแผลเปิด - ห้ามใช้ในผู้มีประวัติการแพ้สมุนไพรที่เป็นส่วนประกอบ “สมุนไพร” ผักเสี้ยนผี ชื่อสามัญ Asian spider flower, Tickweed[1], Polanisia vicosa[2], Wild spider flower[4], Stining cleome, Wild caia tickweed[9] ชื่อวิทยาศาสตร์ Cleome viscosa L. (ชื่อพ้อง Arivela viscosa (L.) Raf.) จัดอยู่ในวงศ์ CLEOMACEAE ชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ ผักส้มผี[4], ส้มเสี้ยนผี (ภาคเหนือ), ผักเสี้ยนตัวเมีย, ไปนิพพานไม่รู้กลับ[6] เป็นต้น วงศ์ผักเสี้ยน มีอยู่ด้วยกันประมาณ 20 สกุล และมีมากกว่า 300 ชนิด ส่วนในประเทศไทย จะพบขึ้นเป็นวัชพืชหรือปลูกไว้เป็นไม้ประดับเป็นหลัก ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 5 ชนิด ได้แก่ ผักเสี้ยน (Cleome gynandra L.), ผักเสี้ยนผี (Cleome viscosa L.), ผักเสี้ยนขน (Cleome rutidosperma DC.), ผักเสี้ยนป่า (Cleome chelidonii L. f.), และผักเสี้ยนฝรั่ง (Cleome houtteana Schltdl. ชื่อพ้อง Cleome hassleriana Chodat) ต้นผักเสี้ยนผี จัดเป็นไม้ล้มลุก มีความสูงได้ประมาณ 1 เมตร ที่ส่วนต่าง ๆ ของ ต้นจะมีต่อมขนเหนียวสีเหลืองปกคลุมอยู่หนาแน่น มีกลิ่นเหม็นเขียว มีเขตกระจายพันธุ์กว้างขวาง พบได้ทั่วไปใน ทวีปเอเชีย แอฟริกา และออสเตรเลีย ส าหรับในประเทศไทยมักจะพบขึ้นได้ตามข้างถนนหรือที่รกร้าง ตามริมน้ า ล าธาร บางครั้งก็อาจพบได้บนเขาหินปูนที่แห้งแล้งหรือตามชายป่าทั่ว ๆ ไป ใบผักเสี้ยนผี ใบเป็นใบประกอบ มี 3-5 ใบย่อย ก้านใบยาวประมาณ 1-6 เซนติเมตร โดยมากเป็นสีน้ าตาลแดง ส่วนใบย่อยมีลักษณะเป็นรูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่หัวกลับ มีความ ประมาณ 1.5-4.5 เซนติเมตร มีปลายแหลมหรือมน ส่วนโคนใบเรียวสอบ ขอบใบเรียบ มักเป็นสีเดียวกันกับก้าน ใบและมีขน ใบประดับคล้ายใบ มี 3 ใบย่อย ยาวประมาณ 1-2.5 เซนติเมตร มีก้านสั้น ๆ ร่วงได้ง่าย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๑ ดอกผักเสี้ยนผี ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่งหรือตามซอกใบ ดอกยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร ขยายอีกในช่องผล ดอกจ านวนมาก ก้านดอกยาวประมาณ 1-1.4 เซนติเมตร ในผลสามารถ ยาวได้ถึง 3 เซนติเมตร ดอกมีกลีบเลี้ยง 3 กลีบ ลักษณะของกลีบเลี้ยงเป็นรูปใบหอก มีความยาวประมาณ 0.5-1 เซนติเมตร ติดทน กลีบดอกสีเหลืองมี 4 กลีบ โคนเรียวแคบเป็นก้านกลีบ มักมีสีเข้มที่โคน แผ่นกลีบมีลักษณะเป็น รูปรี ยาวประมาณ 0.7-1.2 เซนติเมตร ดอกมีเกสรตัวผู้จ านวนมาก และมีขนาดไม่เท่ากัน ก้านเกสรมีสีเหลืองอ่อน อมเขียว ยาวประมาณ 4-9 มิลลิเมตร ส่วนอับเรณูเป็นสีเทาอมเขียว เป็นรูปขอบขนาน มีความยาวประมาณ 1-2 มิลลิเมตร มีรังไข่เป็นลักษณะรูปทรงกระบอกสั้น ๆ โค้งงอเล็กน้อย ไม่มีก้าน มีต่อมขนขึ้นหนาแน่น ยาวประมาณ 0.5-1 เซนติเมตร และก้านเกสรตัวเมียจะสั้น ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลผักเสี้ยนผี ผลมีลักษณะเป็นฝักคล้ายถั่วเขียวแต่มีขนาดเล็กมาก ผลกว้าง ประมาณ 2-4.5 มิลลิเมตรและยาวประมาณ 1-4 นิ้ว ตรงปลายผลมีจะงอยแหลม เห็นเส้นเป็นริ้วได้ชัดเจน ในผล มีเมล็ดจ านวนมาก เมล็ดผักเสี้ยนผี มีลักษณะผิวขรุขระย่นเป็นแนว เมล็ดมีสีน้ าตาลแดง มีขนาด ประมาณ 1.5 x 1 มิลลิเมตร สรรพคุณ ทั้งต้น - รสร้อน เจริญไฟธาตุ คุมแก้ลม แก้ปวดท้อง ลงท้อง ท าให้หนองแห้ง แก้ฝีภายใน ใบ - รสร้อนขม แก้ปัสสาวะพิการ แก้ฝีภายในปอด ตับ ขับหนองฝี ขับน้ าเหลืองเสีย ขับลมให้ลงสู่ เบื้อต่ า ระบายอ่อน ดอกและผล - รสขมขื่นร้อน ฆ่าพยาธิผิวหนัง ฆ่าเชื้อโรค ผล - รสเมาร้อนขม ราก - รสร้อนขน แก้โรคผอมแห้งของสตรี เนื่องจากคลอดบุตรแล้วอยู่ไฟไม่ได้แก้วัณโรค แก้เลือดออก ตามไรฟัน กระตุ้นหัวใจ เมล็ด - รสร้อนขม ขับน้ าเหลืองเสีย แก้เลือดออกตามไรฟัน กระตุ้นหัวใจ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๒ การบูร ชื่อสามัญ Camphor, Gum camphor, Formosan camphor, Laurel camphor ชื่อวิทยาศาสตร์ Cinnamomum camphora (L.) J.Presl(ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์ Camphora officinarum Nees, Laurus camphora L. จัดอยู่ในวงศ์อบเชย (LAURACEAE) ชื่อท้องถิ่นอื่น ๆ การะบูน การบูร (ภาคกลาง), อบเชยญวน (ไทย), พรมเส็ง (เงี้ยว), เจียโล่ (จีน แต้จิ๋ว), จางมู่ จางหน่าว (จีนกลาง) เป็นต้น ต้นการบูร เป็นพรรณไม้พื้นเมืองของประเทศจีน ญี่ปุ่น และไต้หวัน มีเขตการ กระจายพันธุ์ในแถบเมดิเตอร์เรเนียน อินโดนีเซีย อินเดีย อียิปต์ แอฟริกาใต้ จาไมกา บราซิล สหรัฐอเมริกา และ ประเทศไทย โดยจัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลักษณะเป็นทรงพุ่มกว้างและทึบ มีความสูงของต้นได้ถึง 30 เมตร ล าต้นมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางถึง 1.5 เมตร เปลือกต้นเป็นสีน้ าตาล ผิวหยาบ ส่วนเปลือกกิ่งเป็นสีเขียวหรือเป็นสี น้ าตาลอ่อน ล าต้นและกิ่งเรียบไม่มีขน ส่วนเนื้อไม้เป็นสีน้ าตาลปนแดง เมื่อน ามากลั่นแล้วจะได้ "การบูร" ทุกส่วนมี กลิ่นหอม โดยเฉพาะที่ส่วนที่ของรากและโคนต้น ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด และวิธีการปักช า ใบการบูร ใบเป็นใบเดี่ยวออกเรียงสลับ ลักษณะเป็นรูปรีหรือรูปรีแกมรูปไข่ ปลายใบเรียวแหลม โคนใบป้านหรือกลม ส่วนขอบใบเรียบหรือเป็นคลื่นเล็กน้อย ใบมีขนาดกว้างประมาณ 2.5-5.5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 5.5-15 เซนติเมตร แผ่นใบค่อนข้างเหนียว หลังใบเป็นสีเขียวเข้มและเป็น มัน ส่วนท้องใบเป็นสีเขียวอมเทาหรือนวล ไม่มีขน เส้นใบขึ้นตรงมาจากโคนใบประมาณ 3-8 มิลลิเมตร แล้วแยก ออกเป็นเส้น 3 เส้น ตรงมุมที่มีเส้นใบแยกออกนั้นมีต่อม 2 ต่อม และตามเส้นกลางใบอาจมีต่อมเกิดขึ้นตรงมุมที่มี เส้นใบแยกออกไป ส่วนก้านใบมีความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร ไม่มีขน ที่ตาใบมีเกล็ดซ้อนเหลื่อมกันอยู่ โดย เกล็ดชั้นนอกจะเล็กกว่าเกล็ดชั้นในตามล าดับ และเมื่อน าใบมาขยี้จะมีกลิ่นหอมคล้ายกลิ่นการบูร ดอกการบูร ออกดอกเป็นช่อแบบแยกแขนง โดยจะออกเป็นกระจุกตามง่ามใบ ดอกมีขนาดเล็กเป็นสีขาวอมสีเหลืองหรืออมสีเขียว ก้านดอกย่อยมีขนาดสั้นมาก ดอกรวมมีกลีบ 6 กลีบ เรียงเป็น วง 2 วง วงละ 3 กลีบ ลักษณะเป็นรูปรี ปลายมน ด้านนอกเกลี้ยง ส่วนด้านในมีขนละเอียด ดอกมีเกสรเพศผู้ 9 ก้าน เรียงเป็นวง 3 วง วงละ 3 ก้าน ส่วนอับเรณูของวงที่1 และ 2 หันหน้าเข้าด้านใน ที่ก้านเกสรมีขน ส่วนวงที่


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๓ 3 จะหันหน้าออกทางด้านนอก ที่ก้านเกสรค่อนข้างใหญ่ มีต่อม 2 ต่อม อยู่ใกล้กับก้าน ลักษณะของต่อมเป็นรูปไข่ กว้างและมีก้าน อับเรณูจะมีช่องเปิด 4 ช่อง เรียงกันเป็นแถว 2 แถว แถวละ 2 ช่อง มีลิ้นเปิดทั้ง 4 ช่อง ส่วนเกสร เพศผู้เป็นหมันมี 3 ก้าน อยู่ด้านในสุด ลักษณะเป็นรูปร่างคล้ายหัวลูกศร มีแต่ขนและไม่มีต่อม ส่วนรังไข่เป็นรูปไข่ ไม่มีขน ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ไม่มีขน ปลายเกสรเพศเมียมีลักษณะกลม ส่วนใบประดับมี ลักษณะเรียวยาว ร่วงได้ง่าย และมีขนอ่อนนุ่ม โดยจะออกดอกในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม ผลการบูร ผลมีลักษณะเป็นรูปไข่หรือกลม และเป็นผลแบบมีเนื้อ ผลเป็นสีเขียว เข้มมีขนาดยาวประมาณ 6-10 มิลลิเมตร เมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสีด า ผลมีฐานดอกซึ่งเจริญเติบโตขึ้นมาเป็น แป้นรองรับผล ภายในผลมีเมล็ด 1 เมล็ด การบูร คือ ผลึกที่แทรกอยู่ในเนื้อไม้ของต้นการบูร ที่มีอยู่ทั่วไปทั้งต้น โดย มักจะอยู่ตามรอยแตกของเนื้อไม้ และมีมากที่สุดในแก่นของราก รองลงมาคือส่วนแก่นของต้น ซึ่งส่วนที่อยู่ใกล้กับ โคนต้นจะมีการบูรมากกว่าส่วนที่อยู่เหนือขึ้นมา ส่วนในใบและยอดอ่อนมีการบูรอยู่น้อย โดยในใบอ่อนจะมีน้อย กว่าใบแก่ ซึ่งผงการบูรนั้นจะมีลักษณะเป็นเกล็ดกลม ๆ ขนาดเล็ก เป็นสีขาวและแห้ง อาจจับกันเป็นก้อนร่วน ๆ และแตกง่าย เมื่อทิ้งไว้ในอากาศจะระเหิดไปหมด โดยจะมีรสปร่าเมา สรรพคุณ - ช่วยบ ารุงธาตุในร่างกาย (การบูร, เนื้อไม้) - ช่วยแก้ธาตุพิการ (การบูร) - ช่วยคุมธาตุ (เมล็ดใน, เปลือกต้น) - การบูรมีสรรพคุณเป็นยาบ ารุงหัวใจและเป็นยากระตุ้นหัวใจ (การบูร) - ใช้เป็นยาระงับประสาท (การบูร) - ช่วยแก้เลือดลม (การบูร) - รากและกิ่งเป็นยาช่วยท าให้เลือดลมไหลเวียนดี (รากและกิ่ง) - ช่วยแก้โรคตา (การบูร)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๔ เมนทอล เมนทอล หรือ เกล็ดสะระแหน่ คือสารชนิดหนึ่งที่พบในน้ ามันหอมระเหยที่สกัดได้จากพืชบาง ชนิดเช่น สะระแหน่ไทย มินท์ หรือสะระแหน่ฝรั่ง เป็นต้น เมนทอลมีลักษณะเป็นผลึกสีขาว กลิ่นและรสชาติหอม เย็น ในใบมินท์พบสารเมนทอลอยู่มากถึง 80-89% เลยทีเดียว เนื่องจากเมนทอลมีกลิ่นหอมและมีสรรพคุณทาง ยาหลายอย่างจึงมักถูกน ามาใช้ประโยชน์ในด้านการปรุงแต่งกลิ่นอาหาร ขนมหวาน ขนมขบเคี้ยวต่างๆ รวมไปถึง อุตสาหกรรมเครื่องส าอางและวงการผลิตยาด้วย สรรพคุณ - เมนทอลช่วยบรรเทาอาการหวัด คัดจมูก แก้ไข้ แก้ไอ ลดการอักเสบในล าคอ บรรเทาอาการ ปวดศีรษะ แก้กระหายน้ า - รสหอมเย็นซ่าของเมนทอลช่วยลดกลิ่นปากได้เป็นอย่างดี - เมนทอลช่วยให้สดชื่น ผ่อนคลายจากความเหนื่อยล้า ลดความโกรธ ท าให้ใจเย็นขึ้น - เมนทอลมีฤทธิ์เป็นยาชาอย่างอ่อน ลดอาการปวดบวม ลดการบวมของเส้นเลือดที่จมูก บรรเทา อาการเจ็บปวดที่เกิดขึ้นตามร่างกาย - เมนทอลช่วยขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียดแน่นกระเพาะอาหาร ช่วยให้ระบบ ย่อยอาหารท างานได้ดีมากขึ้น ต ารับยาในต าราโบราณ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ยาตะคริวเข้าท้อง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๕ สรรพคุณ - อาการตะคริว (ท้อง) - แก้อาการกล้ามเนื้อแข็งเกร็ง ตัวยาส าคัญ - ผิวมะกรูด ๑ ส่วน - การบูร 1 ส่วน - น้ ามันก๊าด 1 ส่วน วิธีการท า - เอาผัวมะกรูดกับการบูรมาโขลกให้ละเอียดผสมน้ ามันก๊าดคั้นเอาน้ า แล้วน าไปทา ข้อควรระวัง - ห้ามน าไปรับประทานเด็ดขาด เพราะถ้ากินเข้าไปท าให้อาเจียน ท้องร่วง มันซึม ไอ *สามารถ ใช้น้ ามัน เช่น น้ ามันงา น้ ามะพร้าว แทนได้ ยาริดสีดวงล าไส้ และทวาร สรรพคุณ - แก้อาการริดสีดวงล าไส้ และทวาร ตัวยาส าคัญ - พริกไทย 1 ส่วน - ดีปลี 1 ส่วน - กระเทียม 1 ส่วน - เม็ดผักเสียน 1 ส่วน - มะตูมอ่อน 1 ส่วน วิธีใช้ - เอาพริกไทย ดีปลี เม็ดผักเสียน มะตูมอ่อน โขลกให้ละเอียด แล้วน ามาผสมน้ ามันก๊าดคั้นเอาน าทา ข้อควรระวัง - ไม่เหมาะกับผิวแพ้ง่ายถ้าใช้น้ ามันก๊าด (สามารถใช้น้ ามัน เช่น น้ ามันงา น้ ามะพร้าว แทนได้)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๖ ยาต้มแก้ไอ สรรพคุณ - แก้ไอ ตัวยาส าคัญ - ดีปลี 1 บาท - พริกไทย 1 บาท - ขิง 1 บาท วิธีรับประทาน - ต้ม 3 ส่วน เอา 1 ส่วน ดื่มก่อนอาหาร เช้า – เย็น ข้อควรระวัง - ผู้หญิงมีครรภ์ไม่ควรรับประทาน,ระคายเคืองต่อกระเพาะอาหาร,ไม่ควรทานติดต่อกันเป็น เวลานาน และไม่เหมาะกับผู้ป่วยที่มีอาการไข้ร่วมด้วย สมุนไพรรอบตัว “เจ็บป่วยคราใดใช้ยาสมุนไพรก่อนไปพบแพทย์” ยาขมิ้นชัน สรรพคุณ บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน ควรระวังการใช้ - ผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ําดี - ควรระวังการใช้กับหญิงตั้งครรภ์


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๗ - ควรระวังการใช้กับเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้าน ประสิทธิผลและความปลอดภัย - ควรระวังการใช้ยานี้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับ ตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่ท่อน้ําดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้ อาการไม่พึงประสงค์ ผิวหนังอักเสบจากการแพ้ ยามะขามแขก สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องผูก วิธีใช้ ชนิดชง รับประทานครั้งละ 2 กรัม ชงน้ าร้อน ประมาณ 120 - 200 มิลลิลิตร ก่อนนอน ชนิดแคปซูลและชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 800 มิลลิกรัม – 1.2 กรัม ก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ผู้ป่วยที่มีภาวะทางเดินอาหารอุดตัน (gastrointestinal obstruction) หรือปวดท้อง โดยไม่ ทราบสาเหตุ ข้อควรระวังการใช้ ยานี้กับหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร อาการไม่พึงประสงค์ ปวดมวนท้อง ผื่นคัน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๘ ยาเถาวัลย์เปรียง สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ ลดการอักเสบ ของกล้ามเนื้อ วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ข้อควรระวัง ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคแผลเปื่อย เพปติกระคายเคืองกระเพาะอาหาร อาการไม่พึงประสงค์ ปวดท้อง ท้องผูก ปัสสาวะบ่อย คอแห้ง ใจสั่น ยาฟ้าทะลายโจร สรรพคุณ บรรเทาอาการเจ็บคอ, บรรเทาอาการของโรค หวัด (Common cold) เช่น เจ็บคอ ปวด เมื่อยกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน วิธีใช้ บรรเทาอาการหวัด เจ็บคอ รับประทานครั้งละ 1.5 – 3 กรัม วันละ 4 ครั้งหลังอาหาร และก่อนนอน บรรเทาอาการท้องเสีย รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 2 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและ ก่อนนอน ข้อควรระวัง - หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจท าให้แขนขามีอาการ ชาหรืออ่อนแรง - หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วัน แล้วไม่หาย หรือ มี อาการรุนแรงขึ้นระหว่างใช้ ยาควรหยุดใช้และพบแพทย์


Click to View FlipBook Version