The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kunnua Kandalf, 2023-02-13 03:30:37

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๗ เครื่องแกง - พริกแห้งต าหยาบ ๔-๕ เม็ด - ตะไคร้บุบ ๑ ต้น - หอมแดงบุบ ๒-๓ หัว - กระเทียม ๒-๓ หัว - เกลือ ๑ ช้อนชา ขั้นตอนการท า ๑. โขลกเครื่องแกงรวมกันพอหยาบ ๒. หั่นเนื้อหมู ขนาดชิ้นพอดีค า ๓. ผัดเครื่องแกงกับน้ ามันเล็กน้อย จนมีกลิ่นหอม ๔. ใส่เนื้อหมูลงผัดให้เข้ากันจนมีกลิ่นหอมเนื้อหมู พอสุกเติมเครื่องปรุงรส น้ าปลาร้าหรือเกลือ เล็กน้อย ๕. เติมน้ าสต๊อกหมู ใส่ข่า ตะไคร้ทุบ เคี่ยวต่อจนเนื้อหมูสุก นุ่ม ใส่ผักที่เตรียมไว้ดูพอผักสุกใส่ข้าว คั่ว ปิดไฟ โรยใบมะกรูด ผักชีลาวต้นหอม คุณค่าทางโภชนาการ - พลังงาน ๔๗๙.๔๘ แคลอรี - คาร์โบไฮเดรต ๒๐.๐๕ กรัม - ไขมัน ๒๒.๐๔ กรัม - โปรตีน ๔๖.๗๗ กรัม - เส้นใยอาหาร ๒.๖๔ กรัม - เหล็ก ๗.๙๗ มิลลิกรัม - วิตามินเอ ๑,๑๖๐.๕๖ ไมโครเรตินอล - แคลเซียม ๖๖.๕๓ มิลลิกรัม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๘ นวัตกรรม “บาทาย้ า...เหยียบบ าบัด” เนื่องจากในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลห้วยยั้ง มีจ านวนผู้ป่วยโรคเบาหวาน จ านวน ๙๑ ราย พบว่ามีอาการแทรกซ้อนทางเท้าคือ ชาปลายเท้า จ านวน ๓๐ ราย และผู้ป่วยติดบ้านมีอาการขา อ่อนแรง จ านวน ๒ ราย ซึ่งตามทฤษฎีแพทย์แผนไทยนั้น การฟื้นฟูสมรรถภาพในผู้ป่วยที่มีอาการเท้าชา สามารถ บรรเทาอาการหรือรักษาได้ด้วยการนวด ประคบสมุนไพร และการแช่น้ าอุ่น ซึ่งจุดประสงค์หลักเพื่อกระตุ้นระบบ ไหลเวียนโลหิตบริเวณที่ท ากิจกรรมท างานดีขึ้น ท าให้มีอวัยวะส่วนปลายได้รับการฟื้นฟูได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ด้วยหลักการดังกล่าวโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลห้วยยั้ง จึงได้คิดนวัตกรรม “บาทาย้ า...เหยียบบ าบัด” ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยได้ใช้ในการออกก าลังกายบริเวณฝ่าเท้า เหยียบบนพื้นผิววัสดุที่ขรุขระและมั่นคงทดแทนการนวด บริเวณฝ่าเท้า เพิ่มการไหลเวียนโลหิตบริเวณฝ่าเท้า ลดอาการชา ลดการใช้ยารับประทาน และผู้ป่วยสามารถ น าไปใช้ที่บ้านได้ เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการเดินทางอีกด้วย วัสดุอุปกรณ์ - ถุงผ้า ราคา ๓๐๐ บาท - หินกลมมนไม่มีส่วนแหลมคม วิธีการใช้ - เดินหรือนั่งเหยียบ บนพื้นถุงผ้าเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนโลหิตครั้งละ ๑๐-๑๕ นาที อย่างน้อยวันละ ๑ ครั้ง ต่อเนื่องเป็นประจ าทุกวัน นวัตกรรม ปลอกรัดข้อ ปราบมาร ผู้น าเสนอ นางสาวพิมพิไลย์ ศิลาเงิน ต าแหน่งแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ่อแก้ว นวัตกรรม ปลอกรัดข้อ ปราบมาร เกิดมาจากเขต ต าบลพานทอง อ าเภอไทรงาม จังหวัดก าแพงเพชร มีผู้สูงอายุและ ผู้ป่วยที่มีภาวะหลอดเลือดสมองและมีอาการกล้ามเนื้อแขน ขาอ่อน แรง ท าให้ผู้ป่วยไม่ยอมเคลื่อนไหวร่างกายซึ่งน าไปสู่ปัญหาข้อติด นิ้วมืองอ ปลายเท้าตก กล้ามเนื้ออ่อนแรง ส่งผลกระทบต่อการ ท างานต่างๆ ในชีวิตประจ าวัน ทีมสุขภาพของโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพต าบลบ่อแก้ว เห็นปัญหาสุขภาพเหล่านี้ จึงได้คิดค้น นวัตกรรมที่อาจจะช่วยท าให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยเหล่านี้ฟื้นฟู กล้ามเนื้อแขน ขาและป้องกันข้อติดได้ โดยน านวัตกรรม ปลอกรัด ข้อปราบมาร ไปให้ฝึกกล้ามเนื้อ โดยมีท่าบริหาร ดังต่อไปนี้ นวัตกรรมเพื่อการดูแลสุขภาพ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๙ นวัตกรรมดูแลสุขภาพการแพทย์แผนไทย เข็มขัดสมุนไพรประคบร้อน บรรเทาการปวดประจ าเดือน อาการปวดท้องประจ าเดือน จะมีอาการก่อนและหลังมีประจ าเดือน 1-2 สัปดาห์ บางรายอาจเป็น รุนแรงมากจนมีผลกระทบต่อสุขภาพและชีวิตประจ าวันได้ ซึ่งการรักษาอาการปวดประจ าเดือนในปัจจุบันส่วน ใหญ่เป็นการรักษาโดยการใช้ยาแก้ปวด เช่น ยาแอสไพริน ยาไอบูโฟรเฟน เป็นต้น ยาเหล่านี้อาจมีผลข้างเคียงที่ พบบ่อย ได้แก่ ปวดท้อง คลื่นไส้ ปวดศรีษะ ง่วงซึม รวมทั้งผลข้างเคียงต่อตับและไตได้ ทางคณะผู้จัดท าจึงได้คิดพัฒนานวัตกรรมเข็มขัดสมุนไพรประคบร้อนบรรเทาอาการปวดประจ าเดือน เพื่อน ามาใช้ให้ตอบโจทย์กับปัญหาจากอาการปวดเนื่องมาจากประจ าเดือน เป็ นการรักษาตามภูมิปัญญา การแพทย์แผนไทย และใช้สมุนไพรหาได้ง่ายอยู่ใกล้ตัว เพื่อเป็นตัวช่วยในการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันส าหรับ บรรเทาอาการปวด ภาคีหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๐ ผลิตภัณฑ์เข็มขัดสมุนไพรประคบร้อนบรรเทาอาการปวดประจ าเดือน สามารถปรับระดับขนาดให้เข้ากับ สรีระของแต่ละคนได้ เป็นการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการบรรเทาอาการปวดประจ าเดือนด้วยความร้อน สะดวกต่อ การใช้งาน และสนับสนุนผลักดันภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยให้มีการใช้งานอย่างแพร่หลาย ยกระดับนวัตกรรม จากภูมิปัญญาพื้นบ้านของไทยให้เป็นที่ประจัก์แก่คนทั่วไป วิธีการใช้งาน 1. น าถุงสมุนไพรผ่านน้ าจนถุงสมุนไพรชุ่มน้ า 2. น าถุงสมุนไพรเข้าอบในไมโครเวฟก าลังไฟ 600 วัตต์ เป็นเวลา 3 นาที 3. ใส่ถุงสมุนไพร ลงในเข็มขัดประคบร้อน 4. คาดเข็มขัดสมุนไพรประคบร้อนบริเวณท้องน้อยปรับขนาดให้เหมาะสมกับสรีระร่างกาย ข้อควรระวัง ระวังในผู้ที่ผิวบอบบาง และผู้ที่แพ้สมุนไพร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๑ ผลิตภัณฑ์ลูกประคบแยกส่วน เป็นนวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ที่แยกส่วนระหว่างด้ามจับกับตัวลูกประคบ เพื่อการบ าบัด บรรเทาอาการปวด เมื่อยหรือกล้ามเนื้อแข็งตึง โดยนวัตกรรมผลิตขึ้นเพื่อสะดวกต่อการใช้ง่าย สามารถแยกนึ่งเฉพาะตัวลูกประคบได้ อีกทั้งยังสามารถเปลี่ยนสมุนไพรในตัวลูกประคบได้ และท าความสะอาด ง่าย เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคติดต่อทางผิวหนัง • วัสดุที่น ามาผลิตยังไม่ได้ มาตรฐานจึงท าให้นวัตกรรมไม่ตรง ตามแบบที่วางไว้ • Thailand 4.0 ส่งเสริม การสร้างนวัตกรรมที่ ใช้งานได้จริง และล้ าสมัย • ส่งเสริมการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง • วัสดุที่น ามาประดิษฐ์ไม่คงทน • มีความเสี่ยงในการถูกเลียนแบบ • สะดวกต่อการใช้งาน • ลดปริมาณการใช้สมุนไพร จากลูกประคบดั้งเดิม • ลดต้นทุนการผลิต ลดระยะเวลาการผลิต S strength W weakness T Threat O opportunity


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๒ สเปรย์น้ าแร่ว่านหางจระเข้ ปัญหารอยผิวไหม้จากแสงแดด เป็นปัญหาที่เกิดได้บ่อย พบได้ทุกเพศ ทุกวัย ส่วนใหญ่มักเกิดจากการตาก แดดเป็นระยะเวลานานหลายชั่วโมงติดต่อกันหรือท ากิจกรรมกลางแจ้ง ผู้จัดท าได้เห็นความส าคัญในการบรรเทา รอยไหม้จากแสงแดด จึงมีความสนใจที่จะศึกษาสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยรักษารอยไหม้จากแสงแดด จึงท าสเปรย์ น้ าแร่ร่วมกับแผ่นมาส์กเพื่อบรรเทารอยไหม้เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์และสร้างคุณค่าให้กับสมุนไพรไทย สเปรย์น้ าแร่ร่วมกับแผ่นมาส์ก เป็นโครงงานยาที่คิดค้นเพื่อบรรเทาอาการปวดแสบร้อนจากแสงยูวีได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งด้านรูปลักษณ์ ความสวยงาม ความทันสมัย และความเหมาะสมในการใช้งาน Product ผลิตภัณฑ์ประเภทสกินแคร์ในรูปแบบของสเปรย์น้ าแร่รวมกับแผ่นมาส์ก PLACE ร้านเวชส าอาง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๓ วิทยาลัยคุณธรรม “รับผิดชอบ” “เสียสละ” “สามัคคี” วัสดุอุปกรณ์ ๑. ขวดแก้ว ส าหรับบรรจุยาดม ๒. ฉลากยา ๓. ช้อน ๔. ปิกเกอร์ ยำดมสมุนไพรโบรำณ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๔ ส่วนประกอบของยาดมสมุนไพรโบราณ ๑. พริกไทย ๑ ส่วน ๒. กานพลู ๑ ส่วน ๓. อบเชย ๑ ส่วน ๔. ดอกจันทน์ ๑ ส่วน ๕. โกฐหัวบัว ๑ ส่วน ๖. โกฐสอ ๑ ส่วน ๗. การบูร ๑ ส่วน ๘. พิมเสน ๑ ส่วน ๙. เมนทอล ๒ ส่วน ๑๐. บูคาลิปตัส ๑ ส่วน วิธีการปรุงยาดมสมุนไพรโบราณ น าส่วนผสมทุกอย่างรวมเข้าด้วยกันในขวดแก้ว แล้วผสมยาสมุนไพรทั้งด้วยวิธีการเขย่า ๆ จนให้ ส่วนผสมเข้ากันดี จากนั้นจึงตักบรรจุลงในขวดแก้ว ปิดฝาให้สนิท และติดฉลากให้เรียบร้อย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๕ ล า พูน LAMPHUN นางสาวชนากานต์ สุดประโคน รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล ชื่อ – นามสกุล นายบุญธรรม ฟุ่มฟองฟู เกิด วันที่ 8 พ.ค. พ.ศ.2510 อายุ 55 ปี สถานที่ติดต่อ : ต าบลลี้ อ าเภอลี จังหวัดล าพูน ความช านาญ : การตอกเส้นล้านนา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๖ ประวัติ ปี พ.ศ. 2535- 2542 เป็นผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ที่ โรงพยาบาลทุ่งหัวช้าง จังหวัดล าพูน ปี พ.ศ. 2540- 2541 เรียนต่อด้านอยุรเวท การแพทย์แผนไทย ณ วิทยาลัยเทคโนโลยีการแพทย์และสาธารณสุข ปี พ.ศ.2548 จบปริญญาตรีจากมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นายบุญธรรม ฟุ่มฟองฟู มีความสนใจเกี่ยวกับศาสตร์การแพทย์แผนไทยมาจากบิดา ซึ่งเป็น หมอพื้นบ้านที่ให้การรักษาเกี่ยวกับการใช้ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยอยู่แล้ว จนกระทั่งปี พ.ศ.2550 ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดล าพูนจัดการอบรมการแพทย์แผนไทยร่วมกับพ่อหมออินสม สิทธิตัน ผู้มีมี ความรู้ความเชี่ยวชาญด้านการแพทย์พื้นบ้านล้านนาทั้งกายภาพบ าบัด สมุนไพรบ าบัด และพิธีกรรม บ าบัด จนสามารถรวบรวมและเขียนเอกสารต าราเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย การนวดตอกเส้น กายภาพบ าบัด พิธีกรรมบ าบัด และสามารถปรุงยาเพื่อรักษาโรคต่างๆ ปัจจุบันนายบุญธรรมมี ประสบการณ์ในด้านการตอกเส้นแบบล้านนา 12ปี และมีความช านาญด้านการรักษาโรคโดยใช้องค์ ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานแพทย์แผนไทย การบ าบัดรักษาอาการทางกายวิธีหนึ่งของระบบการแพทย์พื้นบ้านล้านนา ซึ่งพัฒนามาจากการ เช็ดแหก เป่า กระท าโดยใช้ค้อนไม้ ตอกผ่านลิ่ม ซึ่งท าจากงาช้างหรือไม้ ลงสู่ต าแหน่งต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อผ่อนคลายอาการ ปวดเมื่อย รวมทั้งการรักษาโรคเกี่ยวกับกระดูกและข้อ กล้ามเนื้อ การตอกเส้นจึงเป็นอีกองค์ความรู้ ภูมิปัญญาหนึ่งที่เป็นอัตลักษณ์ในระบบการแพทย์พื้นบ้าน ล้านนา ซึ่งสามารถน ามาประยุกต์ใช้ในระบบสุขภาพแผนปัจจุบันเพื่อให้เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการดูแล สุขภาพของประชาชนด้วยการแพทย์พื้นบ้านต่อไป


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๗ ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) ออฟฟิศซินโดรม หรือกลุ่มอาการปวดกล้ามเนื้อและเยื่อพังผืด (Myofascial pain syndrome) คือ อาการปวดกล้ามเนื้ออันเนื่องมาจากรูปแบบการท างานที่ใช้กล้ามเนื้อมัดเดิมซ้ าๆ เป็นระยะเวลานาน ต่อเนื่อง เช่น การนั่งท างานหน้าคอมพิวเตอร์นานเกินไป โดยไม่ขยับ หรือปรับเปลี่ยนอิริยาบถ ซึ่งอาจ ลุกลามจนกลายเป็นอาการปวดเรื้อรัง อาการของออฟฟิศซินโดรม 1.ปวดกล้ามเนื้อเฉพาะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น คอ บ่า ไหล่ สะบัก มักมีอาการปวดเป็น บริเวณกว้าง ไม่สามารถระบุต าแหน่งได้ชัดเจน อาจมีอาการปวดร้าวไปบริเวณใกล้เคียงร่วมด้วยมีลักษณะ อาการปวดล้าๆ ความรุนแรงมีได้ตั้งแต่ปวดเล็กน้อยเพียงร าคาญจนถึงอาการปวดรุนแรงทรมานอย่างมาก 2.อาการของระบบประสาทอัตโนมัติซึ่งพบร่วมได้เช่น ซ่า วูบ เย็น เหน็บ ซีด ขนลุก เหงื่อออก ตามบริเวณที่ปวดร้าว ถ้าเป็นบริเวณคออาจมีอาการมึนงง หูอื้อ ตาพร่า 3.อาการทางระบบประสาทที่ถูกกดทับ เช่น อาการชาบริเวณแขนและมือ รวมถึงอาการอ่อนแรง หากมีการกดทับเส้นประสาทนานจนเกินไป วิธีการตอกเส้น โดยการใช้ลิ่มวางบนร่างกายรองรับแรงที่ตอกจากค้อนลงมา ลิ่มและค้อนตอกเส้นมีรูปทรงและ น้ าหนักที่พอเหมาะในการจับเพื่อตีหรือตอกลงไปบนอุปกรณ์อีกชิ้นหนึ่งที่วางลงบนร่างกาย เพื่อผ่อนคลายความตึงของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็น ในขณะที่ตอก หมอตอกเส้นจะทาน้ ามันงา ลง บ น ผิ วห นัง บ ริเ วณที่ จ ะ ต อ ก ก่อ น แ ล้ วท าน้ ามั นง าบน ลิ่ ม แ ล ะ ค้ อ นที่ ว าง บ น ร่ าง ก า ย ขณะตอกเส้นลงไปบนบริเวณที่จะรักษาหมอตอกเส้นจะใช้สมาธิและมีคาถาก ากับ เสียงไม้ดังและ สั่นสะเทือนลงไปในกล้ามเนื้อที่ก าลังตอก ประโยชน์ของการตอกเส้น 1.ต่อระบบการไหลเวียนโลหิต เพื่อให้รู้สึกผ่อนคลายและกระตุ้นระบบการไหลเวียนโลหิต ให้เลือดสูบฉีดได้มากขึ้น 2.ต่อระบบกล้ามเนื้อ ท าให้กล้ามเนื้อมีประสิทธิภาพดีขึ้น เนื่องจากมีเลือดมาเลี้ยงเพิ่มมากขึ้น ท าให้กล้ามเนื้อหย่อนลงและช่วยผ่อนคลายความเกร็ง ในกรณีที่มีพังผืดเกิดถายในกล้ามเนื้อ การคลึงจะท าให้พังผืดอ่อนตัวลง ท าให้ กล้ามเนื้อมีความยืดหยุ่น 3.ต่อผิวหนัง ยาสามารถดูดซึมได้ดีขึ้นทางผิวหนัง ภายหลังการนวด 4.ต่อระบบทางเดินอาหาร เพิ่มความตึงตัวของระบบทางเดินอาหารเกิดการบีบตัวของกระเพาะอาหารและล าไส้ เป็นการขับลมในช่องท้อง ช่วยในการขับถ่าย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๘ 5.ต่อจิตใจ ท าให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย สบายกาย สบายใจ ข้อควรระวังในการตอกเส้น ไม่ควรตอกเส้นแก่ผู้ที่รับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ (ไม่เกิน 30 นาที) กลุ่มผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ กลุ่มที่มีปัญญากระดูกพรุ่น กระดูกเสื่อม ไม่ควรตอกเส้น และผู้ที่มี โรคประจ าตัวควรแจ้งก่อนรับบริการทุกครั้ง ไม่ควรนวดผู้ที่มีอาการอักเสบติดเชื้อ ปวด บวม แดง ร้อน และมีไข้มากกว่า 38 องศา ผู้ที่ประสบอุบัติเหตุใหม่และผ่าตัดภายใน 2 เดือน ไม่ควรตอกเส้น เครื่องปรุง ข้าวสวย มะพร้าวคั่ว กุ้งแห้งป่น ข้าวตังทอดกรอบ กระเทียม งาคั่ว ผักสดต่างๆ ไว้กินคู่กับข้าวย า ได้แก่ ถั่วฝักยาว ถั่วงอก ใบมะกรูด ส้มโอแกะ เนื้อ ใบมะกรูดหั่นฝอย ตะไคร้หั่นและ มะนาว เครื่องปรุงน้ าบูดู น้ าบูดู น้ าเปล่า น้ าตาลปี๊บ หอมแดง ข่าหั่นทุบให้แตก ตะไคร้หั่น ใบมะกรูดฉีก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๔๙ วิธีท า เริ่มจากปรุงรสน้ าบูดูกันก่อนโดยน าเอาน้ าบูดูและน้ าเปล่าผสมกันยกขึ้นตั้งไฟ พอน้ าเริ่มเดือดก็ใส่ หอมแดง ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูดลงไป เสร็จแล้วปรุงรสให้ออกหวานเล็กน้อยด้วยน้ าตาลปี๊บ คนให้น้ าตาล ละลาย และตั้งไฟเคี่ยวต่อจนน้ าบูดูค่อนข้างข้น แล้วจึงยกลง กรองเอาแต่น้ าบูดูมาใช้ ผสมข้าวย าโดยการ ตักข้าวใส่จานสักเล็กน้อยแล้วตักส่วนผสมที่เตรียมไว้ลงไปในจานทั้งข้าวตังทอด มะพร้าวคั่ว และกุ้งแห้ง ป่น รวมถึงผักสดต่างๆ ปริมาณตามแต่เราชอบ แล้วราดน้ าบูดูลงไป คลุกเคล้าให้เข้ากัน โรงพยาบาลป่าซาง จังหวัดล าพูน ได้ด าเนินการผลิตยาสมุนไพรตั้งแต่ ปีพ.ศ.2543 โดยได้รับ ครุภัณฑ์และอุปกรณ์การผลิตยาจากสถาบันการแพทย์แผนไทยในลักษณะของการผลิตเพื่อให้บริการ ส าหรับผู้ป่วยที่มีรับการบริการของโรงพยาบาล ต่อมาในปี พ.ศ.2551 โรงพยาบาลป่าซางได้ย้ายอาคารผลิตเดิมเป็นอาคารใหม่โดยใช้ค่าเสื่อม ของโรงพยาบาลจ านวน 1.3 ล้านบาท และในปี พ.ศ.2554 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสถาบัน การแพทย์แผนไทยในการผลิตยาให้ได้มาตรฐาน GMP จนกระทั่งปีงบประมาณ พ.ศ.2557 โรงพยาบาล ป่าซางได้ขอรับการประเมิน การผลิตยาตามเกณฑ์มาตรฐาน GMP จากส านักงานคณะกรรมการอาหาร และยาและได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2557 โดยมีรายการยาที่ผลิต ณ ปัจจุบัน จ านวน 40 รายการ ยาแคปซูล 12 รายการ ได้แก่ ขมิ้นชัน ฟ้าทะลายโจร ขิง เถาวัลย์เปรียง มะขามแขก ยา ริดสีดวงทวารมหากาฬ ยาผสมเพชรสังฆาต ธาตุบรรจบ ปลูกไฟธาตุ ปราบชมพูทวีป จันทน์ลีลา เบญจกูล ยาชง จ านวน 6 รายการ ได้แก่ หญ้าดอกขาว รางจืด ขิง หญ้าหนวดแมว ชุมเห็ดเทศ ตรีผลา ผสมชะเอมเทศ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๐ ยาใช้ภายนอก 6 รายการ ได้แก่ ลูกประคบแห้ง ยาสมุนไพรอบตัว ยาหม่องไพล น้ ามันเหลือง ไพล ทิงเจอร์เสลดพังพอน โลชั่นเสลดพังพอน ต ารับยาสมุนไพรชนิดต้ม 6 รายการ และยาสมุนไพรอื่นๆ จ านวน 4 รายการ ได้แก่ ยาพอกเข่า ยาแช่ มือ-เท้า เป็นต้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๑ หมอพื นบ้ำน ปรำชญ์หรือผู้รู้ของจังหวัด พ่อเกษม แม็ตหนึ่ง วัน-เดือน-ปีเกิด : ๑ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๒ อายุ (ปี) : ๗๑ ปี สถานที่ติดต่อ : บ้านเลขที่ ๑๑๕ หมู่ ๑๗ ต าบลแม่สรวย อ าเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๘๐ เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙๒-๙๐๘๘๕๖๗ ความช านาญ : สูตรยาคลายเส้น เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๔๕ โดยสืบทอดจากบรรพบุรุษ สรรพคุณ : แก้คลายเส้น เอ็นท้องตึง มือชา เท้าชา ท้องเป็นเถา เป็นดาน และเป็นยาเจริญอาหาร วิธีรับประทาน : ต้มน้ าให้เดือด ๑๕ นาที (๑ ซอง/น้ า ๒ ลิตร) เ ชียงราย CHIANG RAI นางสาวศุภรดา มณฑาทิพย์ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๒ มีส่วนประกอบของสมุนไพร ๗ ชนิด ดังนี้ ๑. หญ้าถอดปล้อง ๒. เดือยหิน ๓. แก่นฝาง ๔. ฮ่อสะพายควาย ๕. รางแดง ๖. มะแตกเครือ ๗. มะเขือแจ้ พ่อหวัน สมบูรณ์ วัน-เดือน-ปีเกิด : ๙ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๙๒ อายุ (ปี) : ๗๑ ปี สถานที่ติดต่อ : บ้านเลขที่ ๑๑๙ บ้านเด่นภูเวียง ต าบลแม่สรวย อ าเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๘๐ เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙๓-๕๘๗๖๕๐๙ ความช านาญ : สูตรยาชูก าลัง เณรน้อยกระโดดก าแพง สรรพคุณ : บ ารุงเลือด บ ารุงร่างกาย แก้ปวดหลัง ปวดเอว และเจริญอาหาร วิธีรับประทาน : ต้มน้ าให้เดือด ๑๕ นาที (๑ ซอง/น้ า ๒ ลิตร)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๓ มีส่วนประกอบของสมุนไพร ๗ ชนิด ดังนี้ ๑. แก่นฝาง ๒. โด่ไม่รู้ล้ม ๓. ไม้มะรุม ๔. ฮ่อสะพายควาย ๕. ม้ากระทืบโรง ๖. น้ าผึ้ง ๗. ใบเตย พ่ออุดม เขื่อนติยะ วัน-เดือน-ปีเกิด : ๑๐ มกราคม พ.ศ.๒๔๙๑ อายุ (ปี) : ๗๒ ปี สถานที่ติดต่อ : บ้านเลขที่ ๑๐๓ หมู่ ๑๔ บ้านเด่นภูเวียง ต าบลแม่สรวย อ าเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๘๐ เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙๓-๒๔๖๖๕๗๙ ความช านาญ : สูตรยาแก้ห้าต้น (สมุนไพร ๕ อย่าง) สรรพคุณ : แก้วิงเวียนศีรษะ อาเจียน อาหารเป็นพิษ เบื่อ เมา ลมจุกแน่นหน้าอกกินของแสลง วิธีรับประทาน : ใช้ฝนให้ข้น ๆ กินครั้งละ ๑ แก้ว วันละ ๓ เวลาก่อนหรือหลังอาหาร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๔ มีส่วนประกอบของสมุนไพร ๕ ชนิด (เตอะตะลงท่า ล่ากลางคืน ยืนกลางน้ า ซ้ าคนต๋าย วอดวายตึงบ้าน) ดังนี้ ๑. ต้นตีนเป็ด (เตอะตะลงท่า) ๒. ต้นยอบ้าน (ล่ากลางคืน) ๓. ต้นไคร้น้ า (ยืนกลางน้ า) ๔. ไม้มะรุม (ซ้ าคนต๋าย) ๕. ไม้มะไฟ (วอดวายตึงบ้าน) นางมนัชยา มรรคอนันตโชติ (ป้าแก้ว) วัน-เดือน-ปีเกิด : ๑๖ มกราคม พ.ศ.๒๕๐๐ อายุ (ปี) : ๖๓ ปี สถานที่ติดต่อ : บ้านเลขที่ ๕๑๒ หมู่ ๕ ต าบลแม่ข้าวต้ม อ าเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ๕๗๑๐๐ เบอร์โทรศัพท์ : ๐๙๗-๙๒๔๒๓๙๐ ความช านาญ : รักษาโรคด้วยหินบ าบัด ผสมผสานกับ นวดแผนไทย ตอกเส้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๕ หินที่ป้าแก้วใช้บ าบัดมีหลากหลายชนิด ส่วนใหญ่ที่ใช้ คือ “แก้วขนเหล็ก” เนื่องจากมีพลังในการรักษามาก จากค าบอกเล่าของป้าแก้ว “เป็นหินที่ใช้รักษาคนมาเยอะ ยิ่งใช้รักษาคน หินก็จะยิ่งใสขึ้น สวยขึ้น” วิธีใช้หินแก้วขนเหล็กเช่นเดียวกับหินชนิดอื่น คือ น าหิน บริเวณที่เป็นปลายแหลมกดบริเวณจุดที่ปวด เมื่อย พลัง จากหินจะช่วยลดอาการปวด เมื่อย การรักษาจะใช้หิน บ าบัดร่วมกับการนวด และการตอกเส้น ขึ้นอยู่กับอาการ ของแต่ละคน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๖ ภูมิปัญญำกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์พื นบ้ำนไทย กำรแพทย์ทำงเลือก หรือองค์ควำมรู้ ๑) งานวิจัยเรื่อง ประสิทธิผลของการอบไอน้ าสมุนไพรที่มีผลต่ออาการนิโคตินในกลุ่มผู้บ าบัดการเลิกบุหรี่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลแม่ไร่ อ าเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย ได้ด าเนินในโครงการ ๓ ล้าน ๓ ปีฯ เป็นโครงการช่วยบ าบัดผู้ที่ต้องการเลิกบุหรี่ โดยปกติจะใช้ชาชงหญ้าดอกขาวในการช่วยลดบุหรี่ แต่ใช้เวลานาน จนกว่าผู้ป่วยจะเลิกสูบบุหรี่และยังมีอาการถอนนิโคตินที่ท าให้ผู้ที่ต้องการเลิกสูบบุหรี่กลับไปสูบซ้ า เช่น อาการ คลื่นไส้อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ครั่นเนื้อครั่นตัว วิตกกังวล หากได้รับการช่วยลดอาการถอนนิโคตินได้ อาจท าให้ผู้ที่ ต้องการเลิกสูบบุหรี่ สามารถเลิกได้เร็วมากขึ้น ผู้วิจัยจึงหาแนวทางในการช่วยลดอาการถอนนิโคติน คือ การอบไอ น้ าสมุนไพร โดยการอบไอน้ าสมุนไพรเป็นการใช้ความร้อนและน้ ามันหอมระเหยจากสมุนไพรช่วยให้เกิดความรู้สึก ผ่อนคลาย ความร้อนจะกระตุ้นการขับของเสียในร่างกายให้ออกมาในรูปแบบของเหงื่อ กระตุ้นการไหลเวียนของ โลหิต ช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัว การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง ศึกษาสองกลุ่มวัดซ้ าหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้เข้รับการบ าบัดการเลิกบุหรี่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลแม่ไร่ ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่ ก าหนด จ านวน ๔๐ คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ ๒๐ คน โดยกลุ่มเปรียบเทียบได้รับชา หญ้าดอกขาว ค าปรึกษาการเลิกบุหรี่ กลุ่มทดลองได้รับค าปรึกษาการเลิกบุหรี่ ชาหญ้าดอกขาวและได้เพิ่มกิจกรรม การอบไอน้ าสมุนไพรเพื่อช่วยลดอาการถอนนิโคติน และได้รับการประเมินระดับอาการถอนนิโคตินทั้งหมด ๔ ครั้ง ได้แก่ ก่อนหยุดสูบบุหรี่, หลังหยุดสูบบุหรี่ วันที่ ๑, หลังหยุดสูบบุหรี่ วันที่ ๔, หลังหยุดสูบบุหรี่ วันที่ ๗ ผลการวิจัย พบว่า การอบไอน้ าสมุนไพรเป็นการน าตัวยาสมุนไพรมาต้มในน้ า เกิดไอน้ าที่มีสารน้ ามันหอม ระเหยของสมุนไพรในอุณหภูมิในตู้อบไอน้ าสมุนไพรที่ ๔๒-๔๕ องศาเซลเซียส กลิ่นน้ ามันหอมระเหยจะเกิด ความรู้สึกผ่อนคลาย ช่วยให้หายใจได้สะดวกมากขึ้น ความร้อนในตู้อบไอน้ าสมุนไพร สามารถกระตุ้นการไหลเวียน เลือดได้ดีขึ้น ช่วยคลายกล้ามเนื้อลดอาการปวดตึงรวมไปถึงความร้อนจะกระตุ้นให้เกิดเหงื่อ ซึ่งเหงื่อเป็นช่องทาง หนึ่งของร่างกายในการขับของเสียออกนอกร่างกาย หลังจากการอบไอน้ าสมุนไพร ผู้อบไอน้ ารู้สึกสบายตัว ตัวเบา หายใจสะดวก และยังนอนหลับช่วงกลางคืนได้สนิทสามารถลดอาการถอนนิโคตินได้ ดังนั้นกลุ่มทดลองมีอาการ ถอนนิโคตินลดลงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการอบไอน้ าสมุนไพร ซึ่งผลแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ค่าเฉลี่ยเปรียบเทียบของอาการถอนนิโคตินระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบจะเห็นได้ว่า กลุ่ม ทดลองมีอาการถอนนิโคตินที่น้อยกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ ตั้งแต่ หลังหยุดสูบบุหรี่ วันที่ ๑, หลังหยุดสูบบุหรี่ วันที่ ๔ และหลังหยุดสูบบุหรี่ วันที่ ๗ โดยใช้สถิติ Independent sample t-test สรุปได้ว่า การน าการอบไอน้ าสมุนไพร มาเสริมสามารถช่วยลดอาการถอนนิโคตินได้ โดยน าค่าเฉลี่ยอาการถอนนิโคตินมาเปรียบเทียบ กลุ่มทดลองมี ค่าเฉลี่ยที่ต่ ากว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .๐๕ ๒) ประสิทธิผลของการแพทย์แผนไทยแบบผสมผสานในการบรรเทาอาการปวดศีรษะไมเกรน งานแพทย์ แผนไทย โรงพยาบาลป่าแดด จังหวัดเชียงราย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๗ จากสถิติผู้ป่วยโรงพยาบาลป่าแดด ตั้งแต่ปีพ.ศ.๒๕๕๖ ถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๙ มีผู้ป่วยที่มารับ การรักษาด้วยอาการปวดศีรษะไมเกรน จ านวนทั้งหมด ๒๑๗ ราย ส่วนใหญ่เป็นผู้ป่วยรายเก่าที่ต้องมารับการรักษา ต่อเนื่องเป็นเวลานาน และเมื่ออาการก าเริบแพทย์แผนปัจจุบันจะให้การรักษาด้วยยา Naproxen และยา Paracetamol ซึ่งส่งผลระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารและส่งผลกระทบต่อการท างานของตับ ดังนั้นจึงมีผู้ป่วย บางส่วนที่เลือกรับการรักษาด้วยวิธีทางการแพทย์แผนไทย ผลการรักษาพบว่าผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ยังไม่มีการบันทึกข้อมูลผลการรักษาที่ชัดเจน ผู้วิจัยจึงมีความสนใจศึกษาการใช้วิธีทางการแพทย์แผนไทยในการ บรรเทาอาการปวดศีรษะไมเกรนเพื่อลดจ านวนการทานยาแผนปัจจุบัน และเพื่อให้ผู้ป่วยสามารถด าเนินชีวิตและ ปฏิบัติกิจวัตรประจ าวันได้ตามปกติ ตลอดจนส่งผลเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยให้ดียิ่งขึ้น ผลการศึกษาพบว่า ค่าเฉลี่ยจ านวนครั้งของการทดลองเพื่อลดอาการปวดศีรษะไมเกรนเท่ากับ ๕ หมายถึง ค่าเฉลี่ยความเจ็บปวดลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p=๐.๐๐๐) ค่าเฉลี่ย ระดับชีพจรหลังการทดลองลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับก่อนทดลองอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p<๐.๐๑) ค่าเฉลี่ย ระดับความดันโลหิตซีสโตลิคและระดับความดันไดแอสโตลิคกลุ่มทดลองก่อนและหลังการทดลองไม่แตกต่างกัน และพบว่าการรักษานี้สามารถท าให้อาการปวดศีรษะไมเกรนหายไปได้นานเป็นระยะเวลา ๓-๖-๙ เดือน บางราย กลับมาปวดอีกเล็กน้อยแต่ไม่ถึงขั้นต้องทานยาแผนปัจจุบัน ท าให้ผู้ป่วยกลับมารักษาทางการแพทย์แผนไทย เนื่องจากกลุ่มตัวอย่างมีความมั่นใจว่าการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยท าให้อาการดีขึ้นได้เทียบเท่ากับการทานยา แผนปัจจุบันและส่งผลให้จ านวนการทานยาแผนปัจจุบันของกลุ่มตัวอย่างลดลงได้จริง ๓) ยาแก้ห้าต้น สูตร ๑ สรรพคุณ : แก้สารพัดพิษ แก้พิษผิดส าแดง แก้เวียนศีรษะหน้ามืดฯ ประกอบด้วยสมุนไพร ๕ อย่าง ดังนี้ ๑. ต้นตีนเป็ด (พญาสัตบรรณ) ๒. มะตาเสือ (ยอบ้าน) ๓. ไคร้น้ า ๔. ไม้ค้อนก้อม (มะรุม) ๕. ต้นมะไฟ ๔) ยาแก้ห้าต้น สูตร ๒ สรรพคุณ : แก้สารพัดพิษ แก้พิษผิดส าแดง แก้เวียนศีรษะหน้ามืดฯ ประกอบด้วยสมุนไพร ๕ อย่าง ดังนี้ ๑. เครือหมูป่อย ๒. แตงเถื่อน ๓. หนาดค า ๔. ดีงูหว้า (เนระพูสี) ๕. จุ่งจาลิง (บอระเพ็ด)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๘ ๕) ยาปรับธาตุล้านนา สรรพคุณ : แก้สารพัดพิษ ลมพิษ ประกอบด้วยสมุนไพร ๕ อย่าง ดังนี้ ๑. จะค่าน (สะค้าน) ๒. ปิดปิวแดง (เจตมูลเพลิงแดง) ๓. ดีปลี ๔. ขิง ๕. ปูลิง (ช้าพลู) ๖)ยาพอกลมปะกังสรรพคุณ : ใช้พอกหน้าแก้ลมปะกัง ร่วมกับการนวด เขี่ยเส้น และประคบสมุนไพร ๑. ใบขี้เหล็ก ๒. ใบรางจืด ๓. ใบสะเดา ๔. ใบย่านาง ๕. เถาบอระเพ็ด ๖. ดินสอพอง ๗) ยา ๙ หม้อ ยาแก้ปวดหลัง ปวดเอว สรรพคุณ : แก้ปวดหลัง ปวดเอว ปวดเมื่อย ตามร่างกาย ปวดข้อ ปวดกระดูก ยาต้มสมุนไพร สรรพคุณ : แก้ความดัน แก้เบาหวาน แก้โรคไต


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๕๙ สมุนไพรต้มก าลังช้างสาร สรรพคุณ : แก้โรคนิ่ว แก้ไอ แก้มะโหกร้อย จ าพวก ปวดข้อ ปวดเข่า แก้โรคไต แก้เหน็บชา ยาแก้ริดสีดวง สรรพคุณ : เป็นยาแก้ริดสีดวง ทุกชนิด ยาแก้สารพัดพิษ สรรพคุณ : ช่วยล้างสารพิษในร่างกาย ยาบ ารุงธาตุ ๔ สรรพคุณ : แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นท้อง ธาตุพิการ อาหารไม่ย่อย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๐ ๑) ดีงูหว้า (เนระพูสี) สรรพคุณ : ใช้ ราก ต้น เหง้า และใบสดต้มน้ า ดื่มหรือเคี้ยวสดๆ เป็นยาแก้ปวดต่างๆ เช่น ปวดตามร่างกาย ปวดท้อง อาหารไม่ย่อย อาหารเป็นพิษ โรคกระเพาะ และบ ารุงร่างกาย ๒) แตงเถื่อน สรรพคุณ : ใช้รากต าพอกเหงือกแก้ปวด หรือ ต้มน้ าดื่มแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ สมุนไพร (ทั งสดและแห้ง) ยาแก้ปวดหัวเข่า สรรพคุณ : แก้ปวดข้อ ปวด หัวเข่า ปวดเส้นเอ็นตึง ยาคลายเส้น สรรพคุณ : แก้ปวดเมื่อยตาม ร่างกาย แก้ปวดเส้นเอ็นตึง เณรน้อยกระโดดก าแพง สรรพคุณ : เป็นยาชูก าลัง บ ารุงเลือด บ ารุงร่างกาย แก้ปวดหลัง ปวดเอว เจริญ อาหาร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๑ ๓) เครือหมูป่อย สรรพคุณ : รักษาอาการปวด เมื่อย ๔) หนาดค า สรรพคุณ : รากใช้ต้มกับน้ ากินเป็นยาแก้ ท้องร่วง แก้ไตพิการ แก้ผื่นคัน ใบใช้ต าพอก หรือคั้นเอาน้ าทารักษาแผลสด แผลถลอกและ ใช้ห้ามเลือด ใบน ามาย่างไฟแล้วน ามาพันขาจะ ช่วยบรรเทาอาการปวด น ามาอังไฟใช้ประคบ บริเวณที่มีอาการเคล็ด ปวดบวม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๒ ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นการเล่าเรื่องราว ถ่ายทอดวิถีชีวิตของคน พื้นเมืองล้านนา โดยปรับประยุกษ์ใช้ศิลปวัฒนธรรม ที่เป็นของชุมชน และภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ใน การดูแลสุขภาพ เมื่อครั้งแต่อดีตมาถึปัจจุบัน โดยการน าเสนอภูมิปัญญาพื้นเมืองที่เชื่อมโยง กับศาสตร์การแพทย์แผนไทยผ่านการเล่าเรื่อง แสดง และสาธิตในเรื่องของอาหารพื้นเมือง ล้านนา สมุนไพรประจ าบ้าน และยาแผนโบราณ ต ารับล้านนาที่อยู่คู่มากับวิถีชีวิตของชาวล้านนา มาถึงปัจจุบัน... ด้วยทฤษฎีทางการแพทย์แผนไทย ได้พูดถึงบุคลคลใดซึ่งมีอายุอยู่ในช่วง ๓๒ ปี ขึ้นไปนั้น จัดเป็นบุคคลที่มี อายุสมุฏฐาน คือ “ปัจฉิมวัย” อายุหรือวัย เป็นสาเหตุของโรค แพทย์แผนไทยแบ่งอายุของคนเราไว้เป็น ๓ ช่วงด้วยกัน ได้แก่ ปฐมวัย (วัยแรกเริ่ม) นับตั้งแต่แรกเกิดจนอายุ ๑๖ ปี แบ่งเป็น ๒ ตอน คือ ตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ ๘ ขวบ ตอนหนึ่งและ ตั้งแต่อายุ ๘ ขวบถึง ๑๖ ปีอีกตอนหนึ่ง มัชฌิมวัย (วัยกลาง) นับตั้งแต่อายุ ๑๗ ปี จนถึงอายุ ๓๒ ปี และปัจฉิมวัย (วัยปลาย) นับตั้งแต่อายุ ๓๓ ปี จนถึง ๖๔ ปี โดยหลักวิชาการแพทย์แผนไทยได้ก าหนดโรค และสาเหตุของโรคที่ อาจเกิดในช่วงวัยต่าง ๆ เพื่อใช้ประกอบการวินิจฉัยโรค ตลอดจนการก าหนดตัวยาสมุนไพรส าหรับการบ าบัด รักษาโรคที่เกิดขึ้น เ ชียงใหม่ CHIANG MAI พท.ศราวุฒิ จันดี รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล คนเฒ่า...เล่าเรื่อง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๓ ปราชญ์พื้นบ้านล้านนา...จังหวัดเชียงใหม่ “น้ ามันนวดสมุนไพร” ตัวยาส าคัญ : หัวไพลสด, หัวขมิ้นสด, หัวขิงสด, หัวกระชายด าสด, หัวกระชายแดงสด, ใบเปาะหอม และตัวยาอื่น ๆ ชื่อ – สกุล นางค าปัน ค านาเรือน วัน เดือน ปีเกิด วันที่ ๑ เมษายน ๒๔๙๘ สถานที่ติดต่อ ต าบลเวียง อ าเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๐ – ๗๖๙ – ๒๗๐๓ ความช านาญ ได้รับรางวัลเป็น อสม.ดีเด่น โดยการประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาให้ มีความเหมาะสมกับบริบทชุมชน การใช้สมุนไพรพื้นบ้านเพื่อการดูแลผู้ป่วยติดเตียง และผู้ป่วยที่ออกนอกบ้าน ไม่ได้ การให้บริการดูแล ช่วยเหลือผู้ป่วย เช่น การนวดฟื้นฟูสภาพกล้ามเนื้อด้วยน้ ามัน, การใช้สมุนไพรสดท าเป็น ลูกประคบแล้วประคบร้อนให้แก่ผู้ป่วย และนอกจากนั้น ก็ยังมีการใช้สมุนไพรรอบบ้านของตนเองดูแลผู้ป่วยที่มี อาการเบื้อต้นหรือมีอาการเล็กน้อย เช่น การใช้ใบฟ้าทะลายโจรต้มส าหรับลดอาการไข้หวัด เจ็บคอ สมุนไพรรอบรั้ว...ภูมิปัญญาในบ้าน ของคุณแม่ อสม.ค าปัน ตะไคร้หอม แคขาว พริก สะระแหน่ มะเขือ โหระพา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๔ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ยาแก้ไอ...สล่ามองโอสถ แก้ไอ แก้เจ็บคอ แก้อาการอาเจียน ช่วยให้น้ าลาย เสลดไม่แห้ง ยาจรุงใจ...สล่ามองโอสถ แก้ลมวิงเวียน ช่วยบ ารุงหัวใจ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นจังหวัดหัวเมืองและมีขนาดใหญ่ทางภาคเหนือ มีวิถีชีวิตที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เช่น ภาษา ขนมธรรมเนียม วัฒนธรรม อาหาร และถ้าหากพูดถึงเรื่องของการดูแลสุขภาพเมื่อคราเจ็บป่วย พี่ น้อง ชาวเชียงใหม่คงจะไม่มีใคร ไม่รู้จัก “สล่ามองโอสถ” “จารุวัฒน์” “ธรรมโอสถ” อย่างแน่นอน สล่ามองโอสถ ก่อตั้งขึ้นโดย “นายมอง อินทารักษ์” เปิดมาตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๔๘๑ ซึ่งสูตรยาของ ร้านได้รับการคิดค้นขึ้น โดยบิดา ชื่อ “นายสมพงษ์ อินทารักษ์” โดยการน าสมุนไพรท้องที่มาบดเป็นผงเพื่อ รักษาโรค มีต ารับยาแก้ไอ ต ารับยาแก้อืดแน่นท้อง ถ้าจะพูดถึงตัวต ารับพิเศษของร้านนี้เป็นเอกลักษณ์ คือ จะมี ลักษณะเป็นผง ให้อม และละลายเสมหะในล าคอ ว่ากันว่า รับประทานแล้วเสมหะลดลง และลดการระคายเคือง คอได้เป็นอย่างดี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๕ ยาจ่าติ๊แหว่งกะ...สล่ามองโอสถ แก้เบื่ออาหาร แก้อาการผิดอาหารแสลง แก้อาการจุกเสียด แก้อาการแน่นท้อง ยาแก้ลมผิดเดือน...สล่ามองโอสถ แก้สาบผิด กินผิด แก้อาการแน่นท้อง ท้องขึ้น แก้อาการจุกเสียด แก้อาการหน้ามืด ตาลาย วิงเวียนศีรษะ แก้โรคผอมแห้ง ยาผงเหลือง...ตราสิงห์ค า แก้ลมจุกเสียด แก้อาการหน้ามืด ตาลาย แก้อาการคลื่นเหียน อาเจียน และช่วยบ ารุงหัวใจ ยาผงแดง...ตราหมาป่า แก้ลมวิงเวียน บ ารุงหัวใจ บ ารุงธาตุ แก้อาการจุกเสียด แก้อาการคลื่นเหียน อาเจียน ยาเม็ดด า (ยาแก้กินผิด)...ตราสิงห์ค า เป็นต ารับยาแก้กินผิด (กินอาหารแสลง) ที่มีความเชื่อถือ ของคนภาคเหนือเป็นเวลานา ห้างขายยาจารุวัฒน์ เป็นร้านขายยาแผนโบราณที่เก่าแก่แห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ก่อตั้งขึ้นโดย “นายอารีย์ กิติบุตร” โดยมีการพัฒนารูปแบบและสูตรต ารับยาต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งมีการผลิตและจ าหน่ายยา แผนโบราณหลายขนานที่คนภาคเหนือใช้มาเป็นเวลาช้านาน เช่น ยาผงเหลืองตราสิงห์ค า, ยาผงแดงตราหมาป่า, ยาเม็ดด าตราสิงห์ค า ฯลฯ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๖ ยาขางตรากระรอก แก้ลิ้นเปื่อย ปากเปื่อย ใช้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ให้เอายาผง พอประมาณใส่ตรงเจ็บปวดและอมไว้ ยาหอมแก้ลม แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด แก้ลมแน่นท้อง เรอหาว ยาลมตรากระรอก แก้ลมขึ้นเบื้องบน แก้ลมวิงเวียน แก้อาการหน้ามืด ตาลาย มึนตึงศีรษะ ยาหอมธรรมโอสถ บ ารุงหัวใจ แก้ลม หญิงมีครรภ์เป็นลมหน้ามืด ตาลาย อ่อนเพลีย ยาแก้จะติแหว่งก๊ะจ่อยจุ่ง แก้ผิดส าแดง แก้อาการท้องอืด แก้อาการลม ปวดท้อง ร้านขายยาธรรมโอสถ...เป็นร้านขายยาแผนโบราณ ในอ าเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ผลิตภัณฑ์ยาตรากระรอก เป็นยาแผนโบราณของจังหวัดเชียงใหม่ มีสรรพคุณที่มีความน่าเชื่อถือ ของคนภาคเหนือมาเป็นเวลาช้านานถึงปัจจุบัน โดยมิได้ท าการโฆษณาใด ๆ มานานกว่า ๘๐ ปี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๗ สมุนไพรรอบรั้วบ้าน ประโยชน์ง่าย ๆ ป้องกันเจ็บป่วย พริก ช่วยกระตุ้นให้เจริญอาหารขึ้น สะระแน่ ลดอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แคขาว บ ารุงสายตา ป้องกันไข้หวัด โหระพา แก้หวัด ขับเหงื่อ แก้ปวดท้องในเด็ก ตะไคร้บ้าน ขับปัสสาวะ ขับลม แก้ท้องอืด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๘ ภูมิปัญญำกำรแพทย์แผนไทย กำรแพทย์พื นบ้ำนไทย กำรแพทย์ทำงเลือก หรือองค์ควำมรู้ ๑) ผลงานวิจัย เรื่อง สาเหตุของการเข้ารับบริการนวดแบบราชส านักพร้อมการประคบสมุนไพรอย่าง ต่อเนื่องของผู้มารับบริการแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลท่าวังผา จังหวัดน่าน โรงพยาบาลท่าวังผาได้เปิดให้บริการคลินิกแพทย์แผนไทย โดยมีการให้บริการในด้านต่าง ๆ เช่น การนวด อบ ประคบสมุนไพร การนวดฝ่าเท้า การบริบาลหญิงหลังคลอด อีกทั้งยังมีการให้ค าแนะน าส่งเสริมสุขภาพด้าน การแพทย์แผนไทยแก่ผู้มารับบริการ จากการบันทึกข้อมูลของผู้มารับบริการในไตรมาสสองของปีงบประมาณ ๒๕๖๒ พบว่า มีผู้เข้ารับบริการแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลท่าวังผาเป็นจ านวนมากและบางรายได้เข้ารับบริการ อย่างต่อเนื่อง ซึ่งมารับบริการซ้ าต่อเนื่องในต าแหน่งเดิมและบางรายมารับบริการซ้ าต่อเนื่องในต าแหน่งใหม่ กลุ่ม งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลท่าวังผา จึงได้น าข้อมูลของผู้มารับบริการต่อเนื่องน ามาวิเคราะห์หาสาเหตุของการ ให้บริการและความต่อเนื่องของการรับบริการเพื่อน ามาปรับปรุงและพัฒนางานแพทย์แผนไทยให้ดียิ่งขึ้น การศึกษาเป็นการวิจัยเชิงบรรยาย กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยที่เข้ารับบริการนวดแบบราชส านักพร้อมประคบ สมุนไพรในคลินิกแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลท่าวังผา ระหว่างวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ.๒๕๖๒ ถึง ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ จ านวน ๔๕๕ ราย ประมาณ ๑,๕๘๘ ครั้ง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล น่า น NAN นางสาวศุภรดา มณฑาทิพย์ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๖๙ ประกอบด้วย HN ของผู้ป่วย วันที่เข้ารับการรักษา เพศ อายุ สิทธิ์การรักษาพยาบาล ต าแหน่งที่มีอาการ รายละเอียดการเข้ารับบริการ จ านวนครั้งที่มารับบริการ และจ านวนวันที่กลับมารักษาซ้ า จากผลการศึกษาสาเหตุและความต่อเนื่องการรับบริการการแพทย์แผนไทยของโรงพยาบาลท่าวังผา พบว่า ผู้ป่วยที่มีความถี่สูงสุดคือ ๑๒ ครั้ง แต่มาด้วยต าแหน่งการเจ็บปวดที่ต่างกัน ซึ่งจากผลการวิจัยพบว่า ผู้ที่เข้า รับการรักษาซ้ าต่อเนื่องในต าแหน่งเดิมมากที่สุดคือ ๖ ครั้ง จ านวน ๑ รายเท่านั้น และส่วนใหญ่เข้ารับการรักษาซ้ า ต าแหน่งเดิมต่อเนื่องเพียง ๑-๒ ครั้ง ซึ่งไม่สอดคล้องกับข้อสงสัยที่ว่าผู้ป่วยมาด้วยอาการปวดต าแหน่งเดิมซ้ าเป็น จ านวนมากที่เป็นผลจากการรักษาที่ไม่มีคุณภาพของผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ต าแหน่งที่มีการเข้ารับการรักษา ต่อเนื่องมากที่สุดคือ หลัง/สะโพก ๒) องค์ความรู้การใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาโรคของหมอพื้นบ้าน กรณี นายวุ่น สีต๊ะสาร อ าเภอนาน้อย จังหวัดน่าน หมอพื้นบ้านเป็นบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการเยียวยารักษาโรค โดยการเรียนรู้มาจากบรรพบุรุษ หรือเรียนรู้จากต ารา การถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น และจากประสบการณ์ในบริบทวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นผู้มีบทบาท เยียวยาดูแลรักษาสุขภาพคนในชุมชน เป็นที่ยอมรับเชื่อถือจากชุมชน สามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชนในการดูแลสุขภาพในหลายมิติทั้งด้านกาย จิต สังคม วัฒนธรรม และความเชื่อ ในปัจจุบันการแพทย์ แผนปัจจุบันได้กลายเป็นการแพทย์หลักในประเทศไทย แต่อย่างไรก็ตาม การแพทย์พื้นบ้านและหมอยาสมุนไพร ยังคงเป็นทางเลือกของประชาชนเป็นจ านวนมาก หมอพื้นบ้านเป็นที่พึงในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บได้ระดับหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่อาศัยอยู่ในท้องถิ่นชนบททั่วไปในทุกภูมิภาค ซึ่งหมอพื้นบ้านและการแพทย์พื้นบ้านไทยยัง ต้องพึ่งพิงธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง แม้ว่าการแพทย์แผนปัจจุบันจะเข้ามามีบทบาทในการรักษา โรคภัยไข้เจ็บ แต่สภาวะการผลิตตัวยาทั้งหลายก็ยังต้องอาศัยผลผลิตจากทรัพยากรธรรมชาติอยู่เช่นเดียวกัน ความ เจ็บป่วยส่วนใหญ่ก็ยังไม่สามารถวินิจฉัยได้ชัดเจนว่าเป็นโรคอะไร โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความเครียด ซึ่ง เป็นสาเหตุของโรคหลายชนิดจึงต้องท าการรักษาแบบผสมผสานทั้งทางกาย จิต สังคม และสิ่งแวดล้อม (ประเวศ วะสี.๒๕๔๗:๒๓-๒๔) อาจกล่าวได้ว่า ล าพังการแพทย์แผนปัจจุบันเพียงอย่างเดียว ไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการของผู้ป่วยที่มีอยู่เป็นจ านวนมากในปัจจุบันได้ จากรายงานดังกล่าว สามารถยืนยันได้ว่า หมอพื้นบ้านยังมี ความส าคัญและจ าเป็นต้องรับใช้สังคมต่อไป การวิจัยครั้งนี้ เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ แบบปรากฏการณ์วิทยา (Phenomenological research) เลือกใช้วิธีการนี้เนื่องจากเป็นการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับองค์ความรู้ ความคิดความเชื่อของหมอพื้นบ้าน และ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในชุมชนที่มีความเกี่ยวข้องกับการใช้สมุนไพร วิธีการเก็บข้อมูลใช้วิธีแบบสัมภาษณ์เจาะลึก และการสังเกตอย่างมีส่วนร่วม เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์ตามแนวค าถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แนวทางการสังเกต และแบบส ารวจข้อมูลพื้นฐานของหมู่บ้าน โดยท าการสัมภาษณ์เชิงลึก หมอพื้นบ้าน นายวุ่น สีต๊ะสาร โดยใช้แบบ สัมภาษณ์เชิงลึกที่ผ่านการพัฒนา การตรวจจากผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และด าเนินการลงสัมภาษณ์โดย ใช้แบบสัมภาษณ์ อัดเสียง และบันทึกภาพร่วมด้วย เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ละเอียด และเป็นประโยชน์ต่อการเขียน รายงาน การวิเคราะห์ข้อมูลแบบ Thematic Analysis วิเคราะห์เชิงประเด็น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๐ ผลการศึกษาพบว่า หมอพื้นบ้านมีวัฒนธรรมในการดูแลสุขภาพที่เป็นอัตลักษณ์เฉพาะพื้นที่และมีองค์ ความรู้ในด้านการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคเบื้องต้นในหลายกลุ่มอาการ เช่น โรคกระเพาะ โรคซาง โรคปวด ศีรษะโรคท้องเสีย ท้องผูก อาการไข้ ตาแดง แก้พิษเบื่อเมา เป็นต้น ซึ่งภูมิปัญญาเหล่านี้ถือเป็นองค์ความรู้ที่มี คุณค่าและสามารถน ามาใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพได้ การใช้สมุนไพรรักษาอาการไอ ได้แก่ มะนาว ดีปลี เหงือกปลาหมอ โดยใช้เป็นยาเดี่ยว มะนาวน ามาผสม น้ าผึ้งแทรกเกลือนิดหน่อย จิบแก้ไอ ได้ผลดี ดีปลี น ามาผสมน้ าผึ้งแทรกเกลืออีกเหมือนกัน ส่วนเหงือกปลาหมอ น ามาแค่ ๓ ใบ ห้ามเกินนี้ น ามาต้มใส่ข้าวจ้าวเปลือก ๗ เม็ด ห้ามเกินนี้ ใช้แก้ไอได้ดีนัก การใช้สมุนไพรรักษาอาการเมา เบื่อ แก้พิษต่าง ๆ ได้แก่ ไพล เมือดคน ขงคอก ปิงเต๊อะ ฆ้องเขาเขียว จันทน์ขาว จันทน์แดง โดยน าสมุนไพรมาตากแห้ง แล้วน ามาฝน ต้มดื่มเวลาร่างกายได้รับสารพิษ สมุนไพรเหล่านี้ จะช่วยขับพิษออกทางปัสสาวะ ท าให้อาการดีขึ้น การใช้สมุนไพรเพิ่มน้ านม ได้แก่ น้ านมราชสีห์ นมนางแมว นมนางคน ใช้ต้มดื่มเพิ่มน้ านม องค์ความรู้ของหมอพื้นบ้านในการรักษาโรคนั้นมีมากมาย ซึ่งสืบทอดมาจากบรรพบุรุษและครูบาอาจารย์ ผ่านการน ามาใช้จริงในชุมชน ท าให้หมอพื้นบ้านได้รับการยอมรับและเป็นที่พึ่งพิงของชุมชน ในการช่วยดูแลรักษา สุขภาพเบื้องต้น ผักพื นบ้ำนหรืออำหำรพื นเมือง วิสาหกิจชุมชนกลุ่มชาเมี่ยง ต าบลน้ าเกี๋ยน อ าเภอภูเพียง จังหวัดน่าน มีการปลูกเมี่ยงเพื่อเก็บยอดและใบ อ่อนน ามาหมักดอง เพื่อใช้เป็นของว่างรับแขกและเป็นยาสมุนไพรพื้นบ้าน ที่เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นสืบทอดกันมา รุ่นต่อรุ่นนับร้อยปี (อมเมี่ยง) ลดลง ผู้ปลูกเมี่ยงมีผลตอบแทนทางเศรษฐกิจน้อย คนปลูกเมี่ยงจึงมีการรวมกลุ่มน า เมี่ยง พืชพื้นถิ่น ที่มีสารประกอบทางชีวภาพที่ทรงพลังเรียกว่า Flavonoids และ Polyphenols สารกลุ่มคาเทชิน ที่มีมากในใบเมี่ยงสด คือ Epigallocatechin Gallate (EGCG) ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระประเภทคาเทซีน ฟลา โวนอยด์ ที่มีฤทธิ์แรงมากกว่าวิตามินอีถึง ๒๐ เท่า ชาเมี่ยงมีธาตุอาหารหลายชนิด เช่น วิตามินซี โปรตีน ฯลฯ ที่มี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๑ ผลต่อระบบเมตาโบลิซึมของเซลล์ร่างกาย ช่วยแก้กระหาย ดื่มแล้วชุ่มคอ ช่วยแก้ร้อนใน ลดไขมัน ช่วยชะล้าง สารพิษ จากภูมิปัญญาและผลการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และชุดความรู้ท ามาหากิน OKMD จากอมเมี่ยง เป็นผลิตภัณฑ์ชาเมี่ยง พัฒนาต่อยอดเป็นครีมบ ารุงผิวหน้า บ ารุง มือและเท้า แชมพู ลดผมร่วง ชะลอผมหงอก เซรั่มบ ารุงผมและหนังศีรษะ ชาเมี่ยง ; ชาอัสสัม Assam Tea เป็นชาที่มีเฉพาะในพื้นที่ คนพื้นถิ่นใช้ของว่างของรับแขกและเป็นยา พื้นบ้านดูแลรักษาอาการเจ็บป่วย ดังนี้ ชากับโรคมะเร็ง การดื่มน้ าชาเป็นประจ าสามารถช่วยลดอัตราการเกิดมะเร็งที่อวัยวะต่าง ๆ ได้ สารคาเท ซิน Catechins ช่วยยับยั้งสารก่อมะเร็งด้วยกลไกที่หลากหลายที่ส าคัญคือ Epigallocatechin Gallate (EGCG) ชากับโรคหัวใจ คาเทชิน (Catechins) ช่วยลดการเกร็งของเลือดฝอย ลดการเกิดตะกอนในเส้นเลือดฝอย ลดความเสี่ยงของโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย Epigallocatechin Gallate (EGCG) ช่วยการสะสมและการสร้าง ตะกอนในเส้นเลือดจากโคเลสเตอรอล ลดการเกิดเส้นเลือดแข็งตัวตีบตัน และลดความเสี่ยงของโรคเส้นเลือดหัวใจ ตีบ ชากับโรคเบาหวาน สารโพลิฟีนอล (Polyphenols) ในชา ช่วยลดระดับน้ าตาลในเลือด ช่วยยับยั้งการ ท างานของเอนไซม์อะไมเลสที่ย่อยแป้ง ชากับสุขภาพช่องปาก สารโพลิฟีนอล (Polyphenols) ในชา ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของแบคทีเรียใน ช่องปาก ซึ่งมีทั้งแบคทีเรียที่ก่อโรคในช่องปาก ชากับโรคอุจจาระร่วง สารโพลิฟีนอล (Polyphenols) มีคุณสมบัติในการต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื่อกันว่า Polyphenols ท าลายเยื่อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรีย ชากับโรคอ้วน ประกอบด้วย สารโพลิฟีนอล (Polyphenols) ที่มีความสามารถยับยั้งเอนไซม์ CatecholO-methyltransferase ช่วยกระตุ้นการเผาผลาญพลังงานและช่วยชะลอการปล่อยกลูโคส (Glucose) สู่กระแส เลือด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๒ ผลิตภัณฑ์สมุนไพร..กลุ่มวิสาหกิจชุมชนน าเกี๋ยน อ าเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ตัวอย่างผลิตภัณฑ์สมุนไพรกลุ่มชาเมี่ยง แชมพูชาเมี่ยง (Chamiang) ผลิตภัณฑ์จากยอดชาและสาร สกัดจากธรรมชาติ ท าความสะอาดเส้น ผมบ ารุงรากผม ลดอาการผมร่วง ช่วยให้ ผมนุ่มลื่น ใช้ต่อเนื่องช่วยชะลอผมหงอก ครีมบ ารุงผิว บ ารุงมือ-เท้าและเล็บ มีส่วนผสมของสารสกัดจากชาเมี่ยงและว่านหางจระเข้ แก้ปัญหาส้นเท้าแตก ช่วยบ ารุงผิวที่แห้งกร้านให้กลับมาเนียนนุ่ม ช่วยบ ารุงเล็บให้มีสุขภาพดี เซรั่มชาเมี่ยง บ ารุงผมและหนังศีรษะ(Assam Tea : Repair and Anti Falling Hair Serum) ผลิตภัณฑ์จากยอดชาและสารสกัดจากธรรมชาติ ช่วยให้ผมนุ่มลื่น มีน้ าหนัก เมื่อใช้อย่างต่อเนื่องช่วยลด อาการผมร่วง ชะลอผมหงอก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๓ อาหารเพื่อสุขภาพ “อกไก่ย่างมะแขว่น ซาบซ่ากระซิบรัก” ครีมบ ารุงผิวหน้าชาเมี่ยง ผลิตภัณฑ์จากยอดชาและสารสกัด ธรรมชาติ ส่วนผสมของกลุ่มโพลีฟีนอลและกลุ่ม ฟลาโวนอยด์ สารสกัดของชาอัสสัม ช่วยให้ผิวขาว เนียนนุ่ม ลบเลือนริ้วรอยบนผิวหน้า ช่วยชะลอ การเสื่อมของเซลล์ ท าให้ผิวแข็งแรง ชาเมี่ยง (Camellia Sinensis Var assamica) เป็นพืชดั้งเดิมของภาคเหนือ ปลูกและ ดูแลรักษาแบบธรรมชาติ ไม่ใช้สารเคมีใดๆ มีฤทธิ์ ทางชีวภาพ ต้านการเกิดสภาวะออกซิเดชั่น ป้องกันการเกิดมะเร็งต่างๆ ชาเมี่ยงมะตูม ผลิตจากใบชาเมี่ยงร้อยละ ๙๐ ผลมะตูม ร้อยละ ๑๐ เป็นการผสมผสานคุณประโยชน์ของ พืชสองชนิดมาเป็นเครื่องดื่มสมุนไพรดูแลสุขภาพ มะตูมมีสรรพคุณช่วยบ ารุงธาตุ มีสารเพกตินที่มีใย อาหารและมีสารแทนนิน ช่วยควบคุมระดับน้ าตาล ในเลือด และช่วยขับของเสียในร่างกาย ไม่เป็น อันตรายต่อผู้ป่วยโรคเบาหวาน ช่วยแก้ร้อนใน กระหายน้ า ช่วยดับร้อนได้ดี และชาเมี่ยงมีธาตุ อาหารหลายชนิด เช่น วิตามินซี โปรตีน น้ าตาล บ ารุงร่างกาย ท าให้มีสุขภาพดี มีอิทธิพลต่อระบบ เมตาโบลิซึมของเซลล์ร่างกาย ช่วยแก้กระหาย ดื่ม แล้วชุ่มคอ ชื่นใจ และช่วยย่อยอาหาร แก้ร้อนใน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๔ ส่วนประกอบส าคัญ ๑. อกไก่ ๒. มะแขว่น ๓. ไซรัปมะไฟจีน ๔. น้ าชาเมี่ยง ๕. รากผักชี ขิง ตะไคร้ ๖. ส้มเมืองน่าน ๗. ซอสปรุงรส วิธีท า ๑. น าอกไก่ผสมกับไซรัปมะไฟจีน น้ าชาเมี่ยง ซอสปรุงรส คลุกเคล้าให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้ ๑ คืน ๒. น าอกไก่ที่หมักเสร็จแล้ว มาย่างให้สุกอย่างทั่วถึง ๓. จัดใส่จาน โรยด้วยมะแขว่นป่น และสาหร่าย รับประทานพร้อมกับย า (ส้ม, ขิง, ตะไคร้, มะไฟจีน) และ ผักสดปลอดสารพิษ เช่น เบบี้คอส แรดิช มะไฟจีน เป็นผลไม้ที่เป็นเอกลักษณ์ของ จังหวัดน่านและมีแห่งเดียวในประเทศไทย จัดเป็นพืชสมุนไพรชนิดหนึ่งที่มีสรรพคุณ ทางยา ผลของมะไฟจีนสามารถบริโภคได้ ทั้งในรูปแบบของผลไม้สด และน ามาแปร รูปเป็นผลไม้ตากแห้ง ผลิตภัณฑ์มะไฟจีน เชื่อมแห้งเป็นผลิตภัณฑ์ที่ขายดีและเป็นที่ นิยมในท้องตลาด มะแขว่น เป็นพืชเครื่องเทศหนึ่งที่พบมาก ทางภาคเหนือของไทย เป็นพืชเศรษฐกิจ ท้องถิ่นของจังหวัดภาคเหนือหลายจังหวัด ยกตัวอย่างเช่น จังหวัดน่าน ถึงกับมีการ จัดงาน มะแขว่น ขึ้นทุกปี มะแข่วนมีความ ต้องการใช้ในการบริโภคประจ าวัน โดย เป็นเครื่องเทศหรือเป็นส่วนประกอบของ อาหารพื้นเมืองภาคเหนือหลากหลายชนิด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๕ ทุ่งบัวแดง กว๊านพะเยา ชมความสวยงามทุ ่งบัวแดงกว ่า 100 ไร ่ บริเวณกว๊านพะเยา แหล ่ง ท่องเที่ยวใหม่ ของต าบลบ้านต๋อม อ.เมือง จ.พะเยา พะ เยา PHAYAO นางสาวศิริขวัญ ชาวจีน รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๖ นายแต่ง กุสาวดี (พ่อแต่ง) เกิดวันที่ 1 มีนาคม 2491 ที่อยู่ 8 หมู่ 10 ต าบลงิม อ าเภอปง จังหวัดพะเยา เบอร์โทรศัพท์ 082 185 1805 ความช านาญ ตอกเส้น รู้จักต้นยาสมุนไพร จัดตั้งต ารับยา ประสบการณ์ 60 ปี (เริ่มท าการรักษาตั้งแต่อายุ 12 ปี ได้รับการสืบทอดความรู้มาจากบิดา จากภูมิปัญญาสู่การดูแลหญิงหลังคลอด “ยาแก้ลมผิดเดือน” จากพ่อแต่ง กุสาวดี (หมอพื้นบ้าน จ.พะเยา) ส่วนประกอบ เปลือกงุ้น เปลือกทองหลางใบมน รากง้วนหมู (กระทุ่งหมาบ้า) รากง้วนเซ็ง เปลือกเปล้าหลวง เปลือกขี้เหล็ก เปลือกลมแล้ง (ราชพฤกษ์) ฮ้อมเกี่ยว ฮ้อมบ้าน บัวฮาขาว (เสนียด) บัวฮาแดง ฝ้าแป้ง ขมิ้นขึ้น (ขมิ้นชัน) ปูเล (ไพล) การบูร วิธีใช้ ต้มอาบ รม (อบไอน้ า) ยา วันละ 1 ครั้ง ต้มกิน จิบระหว่างรมยา สรรพคุณ แก้ลมผิดเดือน ขับน้ าคาวปลา ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ไวขึ้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๗ การดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพทั้งสภาวะปกติ และสภาวะที่ผิดปกติ โดยใช้ทฤษฎีความสมดุลของธาตุต่างๆ ใน ร่างกายและกายวิภาคศาสตร์ จากหลักฐานสมัยอยุธยาพบว่า การแพทย์แผนไทยได้รับจากอายุเวทอินเดียเป็นส าคัญ โดยหมอชีวกโก มารภัจจ์ (แพทย์ประจ าตัวของพระพุทธเจ้า) เป็นผู้แต่งคัมภีร์แพทย์ ครั้นพระพุทธศาสนาเริ่มเผยแผ่เข้ามาสู่ไทย พระสงฆ์ได้น าความรู้ในการรักษาโรคเข้ามาใช้กับชาวบ้านด้วย จึงเกิดการผสมผสานกับวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของ คนไทย ตามทฤษฎีการแพทย์ไทย กล่าวว่า คนเราเกิดมาในร่างกายประกอบด้วย ธาตุทั้งสี่ ดิน น้ า ลม ไฟ ซึ่งในแต่ ละคนจะมีธาตุหลักเป็นธาตุประจ าตัว เรียกว่า “ธาตุเจ้าเรือน” เมื่อธาตุทั้งสี่ในร่างกายสมดุล บุคคลจะไม่เจ็บป่วย หากขาดความสมดุลจะเกิดความเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจาก จุดอ่อนด้านสุขภาพของแต่ละคนตามเรือนธาตุ ที่ขาด ความสมดุล การแพทย์แผนไทยจึงเป็นการแพทย์แบบองค์รวมมีการรักษาแบบธรรมชาติบ าบัดหลากหลายวิธี อาทิ วิธี รักษาด้วยการนวด กดจุด อบประคบสมุนไพร การใช้ยาสมุนไพร การนวดแผนไทย เป็นการนวดเพื่อบ าบัดโรคต่างๆ ซึ่งให้ประโยชน์ต่างๆ กับร่างกาย ดังนี้ ลดอาการปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ ลดการติดขัดของข้อต่อกระดูก ช่วยกระตุ้นกล้ามเนื้อที่อ่อนแรงให้แข็งแรง ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ช่วยเพิ่มการหมุนเวียนของโลหิตในร่างกาย โรคที่รักษาด้วยการนวดแผนไทย 1. ปวดกล้ามเนื้อ 2. ปวดศีรษะ 3. คอตกหมอน 4. หัวไหล่ติด 8. ปวดข้อศอก ข้อมือ 12. ข้อเท้าแพลง 5. ปวดบ่า ปวดสะบัก 9. นิ้วล็อค 13. ปวดส้นเท้า 6. ยอกหลัง ปวดหลัง 10. ปวดเข่าจากข้อเสื่อม 15. อัมพฤกษ์ อัมพาต 7. ท้องผูก 11. ตะคริวที่น่อง 16. กล้ามเนื้ออ่อนแรง ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก หรือองค์ความรู้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๘ การรักษาด้วยยาสมุนไพร มีประโยชน์ต่อร่างกาย คือ ใช้เป็นยารักษาป้องกันโรค ใช้เป็นยาบ ารุง เสริมร่างกาย เมื่อน ามาใช้เป็นเครื่องเทศจะช่วยเจริญอาหาร ย่อยอาหาร และช่วยในระบบขับถ่าย เช่น ยาขมิ้นชัน ช่วยขับลมรักษาแผลกระเพาะอาหาร ยาฟ้าทะลายโจร รักษาอาการเจ็บคอ และหวัด การประคบสมุนไพร โดยการใช้สมุนไพรที่มีคุณสมบัติต่อกล้ามเนื้อ และหลอดเลือด เช่น ไพล ขมิ้นชัน ขมิ้นอ้อย ตะใคร้ มะกรูด และการบูร ห่อด้วยผ้านึ่งให้ร้อนแล้วน ามาประคบ ประโยชน์ที่ได้รับคือ ลดการติดขัดของข้อต่อบริเวณที่ประคบ ลดอาการเกร็งของกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการปวดเมื่อย การอบสมุนไพร โดยการอบไอน้ าที่ได้จากการต้มสมุนไพร เป็นวิธีบ าบัดรักษาอย่างหนึ่ง ซึ่งมีประโยชน์ต่อผิวหนัง กล้ามเนื้อ และมดลูก เช่น ช่วยช าระล้าง และขับของเสียออกจากร่างกายทางผิวหนัง ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และเส้นเอ็น ช่วยบ ารุงผิวพรรณ บรรเทาอาการคัน รักษาผดผื่น กระตุ้นการหมุนเวียนโลหิต ช่วยบรรเทาอาการบวม แก้เหน็บชา ช่วยให้หญิงหลังคลอดบุตร มดลูกแห้ง และมดลูกเข้าอู่ได้เร็วขึ้น การทับหม้อเกลือ ความร้อนช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ท าให้มดลูกเข้าอู่เร็วขึ้น ช่วยขับน้ าคาวปลา ท าให้กล้ามเนื้อท้องกระชับ ลดส่วนเกิน ช่วยลดอาการปวด บวมของมดลูก ช่วยให้มารดาหลังคลอดมีสุขภาพแข็งแรง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๗๙ การพิจารณาเลือกใช้การแพทย์แผนไทย ควรค านึงถึงหลัก 4 ประการ 1. มีประสิทธิผล การรักษานั้นสามารถรักษาโรคที่เจ็บป่วยได้จริง 2. มีความปลอดภัย เลือกรับบริการกับสถานบริการและผู้ให้บริการที่ได้รับการรับรอง มีความน่าเชื่อถือ 3. มีความคุ้มค่า ค่าใช้จ่ายในการรักษาต้องไม่มากจนเกินไป 4. มีเหตุผล ควรมีทฤษฎีหรือกลไกของการบ าบัดรักษาที่สามารถอธิบายให้เข้าใจได้ “สามารถรับบริการด้านการแพทย์แผนไทย ได้จากสถานบริการของรัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกแห่งใกล้บ้านท่าน” ผักพื้นบ้านหรืออาหารพื้นเมือง เมี่ยงค า ส่วนประกอบ ถั่วลิสงคั่ว พริกขี้หนูสวนซอย หอมแดงหั่นลูกเต๋า ขิงหั่นลูกเต๋า มะนาวหั่นทั้งเปลือก มะพร้าวคั่ว น้ าจิ้ม ใบชะพลู สรรพคุณ 1. ใบชะพลู บ ารุงธาตุน้ าช่วยขับลม ป้องกันกรดไหลย้อน 2. หัวหอมแดง บ ารุงธาตุลมแก้ไข้หวัด 3. ขิง บ ารุงธาตุไฟแก้อาเจียน 4. มะนาว บ ารุงธาตุน้ าขับเสมหะ 5. เปลือกมะนาว บ ารุงธาตุไฟช่วยขับลม 6. พริก บ ารุงธาตุลมช่วยย่อยอาหาร บรรเทาอาการท้องอืดท้องเฟ้อ 7. มะพร้าวบ ารุงธาตุดิน บ ารุงกระดูก 8. ถั่วลิสง บ ารุงธาตุดิน บ ารุงเอ็น 9. กุ้งแห้ง บ ารุงธาตุดิน บ ารุงผิวหนัง 10.น้ าตาล บ ารุงธาตุดิน บ ารุงก าลัง เลือกปรุงได้ตามสัดส่วนที่เหมาะสมกับธาตุเจ้าเรือนของตัวเองได้เลย เช่น ถ้าเป็นหวัด ภูมิแพ้ หรือคัดจมูก ก็ เพิ่มสัดส่วนของมะนาว หัวหอมแดง ใบชะพลูเป็นสัก 2 เท่า ก็น่าจะช่วยรักษาอาการได้บ้าง และหากใครเป็นกรด ไหลย้อนก็ให้เพิ่มสัดส่วนของใบชะพลู ขิง และหัวหอมแดง มากขึ้นอีกสักหน่วย “เมี่ยงค า ค าเล็กๆ ๑-๒ ค า กินเข้าไปแล้วสามารถช่วยรักษาอาการหวัดและกรดไหลย้อนได้อีกด้วย” โรงพยาบาลแม่ใจ ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2535 โดยมีนโยบายมุ่งเน้นให้บริการอย่างผสมผสานด้วยการแพทย์แผนไทย แพทย์แผนปัจจุบัน และการแพทย์ทางเลือก ให้บริการอย่างประทับใจ และมีการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพให้ เข้มแข็ง ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกให้บริการตรวจรักษา ฟื้นฟูสมรรถภาพและส่งเสริม ป้องกันสุขภาพแก่ชุมชน ด้วยการแพทย์แผนไทย ทั้งในโรงพยาบาลและเครือข่ายสุขภาพ ตลอดจนส่งเสริมกลุ่ม เกษตรกรให้ปลูกสมุนไพรให้ได้มาตรฐาน และปลอดภัยจากสารเคมี เพื่อส่งเข้าสู่กระบวนการผลิตยาสมุนไพรที่ได้ มาตรฐาน WHO GMP ของโรงพยาบาล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๐ กลุ่มวิสาหกิจชุมชนปลูกและแปรรูปสมุนไพร อ.แม่ใจ ก่อตั้งและพัฒนากลุ่มผู้ปลูกสมุนไพรเรื่อยมา จนกระทั่ง สามารถผลิตยาสมุนไพรในปี พ.ศ. 2545 เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ สนับสนุน และผลิตสมุนไพรที่ได้ มาตรฐาน ควบคู่กับการผลิตยาสมุนไพรของโรงพยาบาลโดยเกิดจากการรวมกลุ่มของ อสม. ผู้สูงอายุ ซึ่งได้ใช้เวลา ว่างเว้นจากการประกอบกสิกรรมตามฤดูมาปลูกสมุนไพร และแปรรูปสมุนไพรให้กับโรงพยาบาล โดยปัจจุบันมี เกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรระดับต าบลและอ าเภอ ปลูกและแปรรูปสมุนไพรทั้งสดและแห้งส่งให้กับโรงพยาบาลอย่าง ต่อเนื่อง โรงพยาบาลแม่ใจได้พัฒนาศักยภาพด้านการผลิตยาสมุนไพรที่มีคุณภาพให้แก่ โรงพยาบาลและเครือข่าย สุขภาพจังหวัดพะเยาเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการใช้ยาสมุนไพรบูรณาการการแพทย์แผนปัจจุบัน และลดค่าใช้จ่าย ด้านสุขภาพ โรงพยาบาลแม่ใจ ได้รับการรับรองมาตรฐานการผลิตยาสมุนไพร WHO-GMP ปี พ.ศ. 2559 ผลิตภัณฑ์สมุนไพรโรงพยาบาลแม่ใจ ขมิ้นชันแคปซูล ฟ้าทลายโจรแคปซูล บอระเพ็ดแคปซูล เพชรสังฆาตแคปซูล ขิงแคปซูล ยาหอมเทพจิตร ยาหอมนวโกฐ ชาชงขิง ชาชงหญ้าดอกขาว ชาชงรางจืด ชาชงชุมเห็ดเทศ คาลาไมน์เสลดพังพอน โลชั่นตะใคร้หอม ยาหม่องไพล ลูกประคบ ยาอบ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๑ ช้าพลูPiper sarmentosum Roxb. สรรพคุณ แก้เสมหะในทรวงอก ขับเสมหะ ช่วยย่อยอาหาร ขับลม ใบ รสเผ็ดร้อน แก้คูถเสมหะ ขับเสมหะให้ตก ท าให้เสมหะแห้ง ขับลมในล าไส้ บ ารุงธาตุ ขิง Zingiber officinale Roscoe. สรรพคุณ ขับลม แก้ท้องอืด จุกเสียด แน่นเฟ้อคลื่นไส้อาเจียน แก้หอบไอ ขับเสมหะ เหง้าสด ต าคั้นน้ า ผสมน้ ามะนาวและเกลือเล็กน้อย จิบแก้ไอ ขับเสมหะ ขับลม แก้ท้องอืด จุกเสียด แน่นเฟ้อ คลื่นไส้ อาเจียน แก้หอบไอ ขับเสมหะ แก้บิด เจริญธาตุ หอม Allium ascalonicum สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อเสมหะ บ ารุงธาตุ แก้หวัด หัว รถเผ็ดร้อนฉุน ดับพิษไฟลวกน้ าร้อนลวก ห้ามเลือดออก แก้โรคเด็กเป็นซางชัก แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้พิษสัตว์กัดต่อย แก้เด็กอ่อนเป็นหวัด พริกขี้หนู Capsicum frutescens L. var. frutescens. สรรพคุณ แก้ลมจุกเสียด ขับผายลม เจริญอาหาร แก้เคล็ดขัดยอก ฟกช้ าด าเขียว ปวดตามข้อ เมล็ดพริกสด รักษาโรคอหิวาห์ตกโรค ผลนอกจาก จะมีรสเผ็ดแล้ว ยังให้วิตามินเอและซีมาก ใช้ผสม เป็นยาขับลม ยาทาถูนวด ลดการอักเสบ ช่วยเจริญ อาหาร ขับเหงื่อ แก้ปวดเมื่อยดี แก้พิษสัตว์กัดต่อย และแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๒ มะพร้าว Cocos nucifera L. var. nucifera สรรพคุณ แก้ไข้ ท้องเสีย แก้ร้อนในกระหายน้ า น้ ามะพร้าว รสหวานเค็ม แก้อ่อนเพลีย บ ารุงครรภ์ รักษา บ ารุงหัวใจ แต่แสลงกับโรคปวดหลัง ไข้ทับระดู และตรีขณะมีประจ าเดือน น้ ามะพร้าวอ่อน แก้พิษต่างๆ น้ ามันมะพร้าว รสมัน ทาสมานแผล ทาผมรักษาเส้นผม ผสมกับน้ าปูนใสทาแก้น้ าร้อนลวก ไฟไหม้ มะนาว Citrus aurantifolia (Christm.) Swingle. สรรพคุณ แก้ไข้ ถอนพิษผิดส าแดง แก้พิษอักเสบ น้ าในผล รสเปรี้ยว ผสมเกลือและน้ าตาลทรายแดง จิบแก้เสมหะ แก้ไอ กินแก้เลือดออกตามไรฟัน ฟอกโลหิต กัดเถาดานในท้อง ล้างเสมหะในคอ ขมิ้นชัน Curcuma longa L. สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดี แก้ไข้เรื้อรัง แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน แก้ธาตุพิการ ขับผายลม สมานแผล เหง้าสด แก้โรคเหงือกบวมเป็นหนอง รักษาแผลสด แก้โรคกระเพาะ แก้ไข้คลั่งเพ้อ แก้ไข้เรื้อรังผอมเหลือง แก้โรคผิวหนัง แก้ท้องร่วง แก้บิด พอกแผลแก้เคล็ดขัดยอก ขับผายลมคุมธาตุ หยอดตามแก้ตาบวม ตาแดง ทางแผลถลอก แก้โรคผิวหนังผื่นคัน แก้ท้องอืดเฟ้อ รักษาแผลใน กระเพาะอาหาร เหง้าแห้ง บดเป็นผงเคี่ยวกับน้ ามันพืชท าน้ ามันใส่แผลสด ผสมน้ าทาผิว แก้เม็ดผดผื่นคัน ฟ้าทลายโจร Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall. ex Nees. สรรพคุณ แก้ไข้ แก้เจ็บคอ แก้ท้องเสีย ทั้งต้นและใบ ก่อนออกดอก รสขม เป็นยาแก้เจ็บคอ แก้ท้องเสีย แก้ไข้ แก้หวัด แก้ปอดอักเสบ แก้บิด เจริญอาหาร ต้มกับเบญจมาศสวน กินแก้ไส้ติ่งอักเสบ ลดความดันเลือด ใบ รสขม บดผสมน้ ามันพืช ทาแผลน้ าร้อนลวก ไฟไหม้ ใบสดน ามาเคี้ยวกลืนน้ า แก้คออักเสบ เจ็บคอ ข้อควรระวัง ไม่ควรกินติดต่อกันนาน ผู้ที่มีโรคหัวใจความดันต่ าไม่ควรใช้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๓ เพชรสังฆาต Cissus quadrangularis L. สรรพคุณ แก้ลักปิดลักเปิด ขับลมในล าไส้ แก้ริดสีดวงทวารหนัก เถา รสร้อนขมคัน คั้นน้ าดื่มแก้โรคลักปดลักเปิด แก้ประจ าเดือนไม่ปกติ แก้ริดสีดวงทรวาร แก้กระดูกแตกหักซ้น ขับลมในล าไส้ แก้ริดสีดวงทวารหนัก ทั้งชนิดกลีบมะไฟและเดือยไก่ บอระเพ็ด Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f. & Thomson. สรรพคุณ แก้พิษฝีดาษ แก้ไข้เหนือ ไข้พิษ บ ารุงก าลัง บ ารุงน้ าดี เถา รสขมเย็น แก้ไข้ ขับเหงื่อ แก้กระหายน้ า แก้ร้อนใน ใบ รสขมเมา แก้ร ามะนาด ปวดฟัน แก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง ดับพิษปวดแสบปวดร้อน ฆ่าแมลงที่หู บ ารุงน้ าดี ฆ่าพยาธิไส้เดือน ผล รถขม แก้ไข้ แก้เสมหะเป็นพิษ ราก รสขมเย็น แก้ไข้ขึ้นสูงมีอาการเพ้อคลั่ง ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ เจริญอาหาร รางจืด Thunbergia laurifolia Lindl. สรรพคุณ ถอนพิษ แก้ไข้ ถอนพิษยาเบื่อเมา แก้ร้อนในกระหายน้ า เถาและใบ กินแก้ร้อนในกระหายน้ า แก้พิษร้อนต่างๆ ราก แก้เมาค้าง แก้อาการปวดหัวมึนหัวเนื่องจากพิษสุรา ถอนพิษสุรา พิษตกค้างในร่างกาย ยังเข้ายารักษาโรคอับเสบปอดบวม ไพล Zingiber montanum (Koening) Link ex Dietr. สรรพคุณ ขับระดู ขับลม ขับเลือดร้าย แก้ปวดเมื่อย เหง้า เป็นยาขับลม ขับประจ าเดือนสตรี มีฤทธิ์ระบายอ่อนๆ แก้บิด สมานล าไส้ เหง้าสด ฝนทาแก้เคล็ดขัดยอก ฟกบวม เส้นตึง เมื่อยขบ เหน็บชา และสมานแผล ต้น รสฝาดขื่นเอียน แก้ธาตุพิการ อุจจาระไม่เป็นปกติ ใบ รสขื่นเอียน แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้เมื่อยปวด ดอก รสขื่น กระจายเลือดที่เป็นลิ่มเป็นก้อน แก้ช้ าใน ท าลายเลือดเสีย ขับประจ าเดือนสตรี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๔ ตระไคร้หอม Cymbopogon nardus Rendle. สรรพคุณ แก้ริดสีดวงในปาก ขับโลหิต ท าให้มดลูกบีบตัว ขับลมในล าไส้ ฆ่าแมลง เหง้า เป็นยาบีบมดลูก ขับประจ าเดือน ขับปัสสาวะ ขับระดูขาว เหง้า, ใบ, กาบ น ามากลั่นได้น้ ามันหอมระเหย ใช้เป็นเครื่องหอม เช่น สบู่ หรือพ่นทาผิวหนังกันยุง แมลง ทั้งต้น รสปร่าร้อนขม แก้ริดสีดวงใน ปาก ขับโลหิต ท าให้มดลูกบีบตัวท าให้แท้ง ขับลมในล าไส้ แก้แน่นท้อง ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. สรรพคุณ แก้ท้องผูก ขับปัสสาวะ แก้กลากเกลื้อน ฝัก รสเอียนเบื่อ แก้พยาธิ เป็นยาระบาย ขับพยาธิตัวตืด พยาธิไส้เดือน ใบ เป็นยาถ่าย รักษาขี้กลาก โรคผิวหนังอื่นๆ ใบและดอก ท ายาต้มรับประทาน ขับเสมหะในรายที่หลอดลมอักเสบ แก้หืด เมล็ด กลิ่นเหม็นเบื่อ รสเอียนเล็กน้อย ใช้ขับพยาธิ แก้ตานซาง แก้ท้องขึ้น แก้นอนไม่หลับ เถาวัลย์เปรียง Derris sandens (Roxb.) Benth. สรรพคุณ ถ่ายเส้น ถ่ายกษัย ท าให้เส้นเอ็นอ่อน ขับปัสสาวะ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย เถา รสเฝื่อนเอียน เป็นยาถ่ายเส้น ขับปัสสาวะ ท าให้เส้นเอ็นหย่อน ถ่ายกษัย ขับปัสสาวะ แก้บิด แก้ปวดเมื่อย เป็นยาถ่ายเฉพาะเสมหะไม่ได้ถ่ายอุจจาระจึงไม่เหมาะที่ใช้ในโรคบิด โรคไอ โรคหวัด ใช้ได้ดีในเด็ก เถาหั่นตากแห้ง คั่วชงน้ ากินต่างน้ าชา ท าให้เส้นหย่อน แก้เมื่อยขบ แก้กษัยเหน็บชา ราก รสเฝื่อนเมา ขับปัสสาวะ เป็นยาอายุวัฒนะ ใช้เบื่อปลา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๕ โดย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลดอกค าใต้ จังหวัดพะเยา (รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ประเภทนวัตกรรม) นวัตกรรมไม้กดบริหารลดปวดกล้ามเนื้อ หมู่บ้านสันป่าหนาดเหนือ ต าบลดอกค าใต้ อ าเภอดอกค าใต้ จังหวัดพะเยา ปัจจุบันประชากรส่วนใหญ่ของต าบลดอกค าใต้อยู่ในวัยท างานมีปัญหาสุขภาพเจ็บป่วยด้วยโรคทางระบบ โครงสร้างและกล้ามเนื้อ ได้แก่ อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ โรคข้อเข่าเสื่อม และ โรคหัวไหล่ติดอักเสบ เป็นต้น หมู่บ้านตัวอย่าง คือ หมู่บ้านสันป่าหนาดเหนือ หมู่ที่ 5 ต าบลดอกค าใต้ มีประชากรทั้งหมด 511 คน อยู่ในกลุ่ม วัยท างานร้อยละ 51.46 ท าให้มีแนวคิดจัดท าอุปกรณ์ไม้กดบริหารลดปวดกล้ามเนื้อขึ้น โดยดัดแปลงจากที่พบ เห็นตามท้องตลาดทั่วไปมาประยุกต์ให้อยู่ในอุปกรณ์ไม้ชิ้นเดียวเพื่อให้มีประโยชน์การใช้ที่หลากหลายและสะดวก มากขึ้น วัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีอาการปวดเมื่อยสามารถบ าบัดรักษาบรรเทาอาการปวดด้วยตนเองที่บ้าน 2. เพื่อลดการรับประทานยาแก้ปวดคลายกล้ามเนื้อ 3. เพื่อส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านและน าวัสดุที่มีอยุ่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ 4. เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุได้ใช้ในการดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง ประหยัดค่าใช้จ่าย และเพิ่มรายได้ กลุ่มเป้าหมาย ผู้ที่มีอาการปวดกล้ามเนื้ออายุ 22 ปีขึ้นไป จ านวน 50 คน ระยะเวลาการศึกษา วันที่ 1 พฤษภาคม – 15 มิถุนายน พ.ศ. 2561 นวัตกรรม.....ไม้กดบริหารลดปวดกล้ามเนื้อ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๖ วิธีการศึกษา 1. จัดท าไม้กดบริหารลดปวดกล้ามเนื้อ ออกแบบ จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่มีอยู่ในท้องถิ่น และประดิษฐ์ ร่วมกับ อสม. และผู้สูงอายุ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ได้แก่ ไม้เนื้อแข็ง เชือก กาว สว่านเจาะ มีด และเลื่อยไม้ 2. ให้ผู้ที่มีอาการปวดกล้ามเนื้อใช้บรรเทาอาการปวดด้วยตนเอง จ านวน 50 คน ตรวจดูต าแหน่ง และ อาการปวดเบื้องต้น ประเมินผลก่อนการใช้ ด้วยแบบสอบถาม และแถบวัดระดับความเจ็บปวด 10 ระดับ ให้ค าแนะน าและสอนวิธีการใช้อุปกรณ์ไม้กดบริหารลดปวดกล้ามเนื้อ 3. ให้ผู้ใช้น าไปใช้บริหารด้วยตนเอง เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ 4. ประเมินผลหลังการใช้ด้วยแบบสอบถามประสิทธิผลและความพึงพอใจ 5. เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ผลการใช้อุปกรณ์ไม้กดบริหารลดปวดกล้ามเนื้อ จากแผนภาพ พบว่า ผู้ใช้อุปกรณ์ไม้กดบริหารลดปวดกล้ามเนื้อมีอาการปวดลดลงจ านวน 46 คน คิดเป็น 92% และมีอาการทรงตัวจ านวน 4 คน คิดเป็น 8% ส่วนผู้ใช้ที่มีอาการปวดมากขึ้นไม่มี 0% จากแผนภูมิที่ 1 พบว่า ผู้ใช้ไม้กดบริหารลดปวดมีระดับความพึงพอใจในระดับ 80% ขึ้นไป คือ (1) สามารถ ใช้นวด กด บริหารร่างกายด้วยตัวเองได้ (2) ลดอาการปวดได้ (3) ใช้ง่ายและสะดวก (4) มีขั้นตอนการใช้ที่ไม่ซับซ้อน (5) มีความปลอดภัย (6) สามารถใช้ได้ในชีวิตประจ าวัน (8) ลดการรับประทานยาแก้ปวดคลายกล้ามเนื้อได้ (9) มีรูปแบบและรูปลักษณ์ที่น่าใช้ (10) ขนาด และ (11) วัสดุมีความเหมาะสมกับการใช้งาน (12) ประหยัดและคุ้มค่า ส่วนระดับความพึงพอใจในระดับมากที่น้อยกว่า 80% คือ (7) ใช้อุปกรณ์นี้แล้วช่วยลดการไปใช้บริการนวดจากผู้อื่นได้ มีจ านวน 38 คน คิดเป็น 76% และ (13) อุปกรณ์นี้สามารถประดิษฐ์ใช้เองได้มีจ านวน 32 คน คิดเป็น 64% ซึ่งการ ใช้ไม้กดบริหารลดปวดนี้อาจมีประสิทธิผลน้อยกว่าการให้ผู้อื่นนวด และมีขั้นตอนที่ยุ่งยากในการประดิษฐ์ใช้เอง จากแผนภูมิที่ 2 พบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจที่เลือกใช้ไม้กดบริหารลดปวดกล้ามเนื้อรูปแบบใหม่ 46.77% ทั้ง 2 รูปแบบเท่ากัน 32.31% และรูปแบบเดิม 20.92% ดังนั้นจึงส่งเสริมให้กลุ่มชมรมผู้สูงอายุต าบลดอกค าใต้ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อใช้ดูแลสุขภาพตนเองและจ าหน่าย เพิ่มรายได้ต่อไป


Click to View FlipBook Version