The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kunnua Kandalf, 2023-02-13 03:30:37

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๕๙ ข้อห้ามใช้ - ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์และให้นมบุตร - ในผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคไตอักเสบ เนื่องจากเคยติด เชื้อ Streptococcus group - ผู้ป่วยที่มีประวัติเป็นโรคหัวใจรูห์มาติค - ในผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บคอเนื่องจากมีการติดเชื้อ แบคทีเรีย และมีอาการรุนแรง เช่น มีตุ่มหนองในคอ มีไข้สูง และหนาวสั่น ยาผสมเพรชสังฆาต สรรพคุณ บรรเทาอาการริดสีดวงทวารหนัก วิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารทันที ข้อควรระวัง การใช้ยาในหญิงตั้งครรภ์และหญิงให้นมบุตร อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย มวนท้อง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๐ ยาพระอังคบพระเส้น (ต ารับที่ 57) ยาต ารับนี้เป็นลูกประคบ ต ารายาพระโอสถพระนารายณ์ระบุว่าใช้ อังคบพระเส้นที่ตึงให้หย่อนหรือผ่อนคลายลง มีสรรพคุณ คลายกล้ามเนื้อและเส้น รักษากลุ่มอาการปวดของ กล้ามเนื้อ เครื่องยาประกอบด้วยตัวยา 6 สิ่ง 1. เทียนด า 1 ส่วน 4. ไพล 4 ส่วน 2. เกลือ 1 ส่วน 5. ใบพลับพลึง 8 ส่วน 3. อบเชย 2 ส่วน 6. ใบมะขาม 16 ส่วน วิธีเตรียม น าเครื่องยาทั้ง 6 สิ่งมาต าคลุกเคล้าให้เข้ากันห่อด้วยผ้า น าไปนึ่งให้ร้อน แล้วใช้ประคบบริเวณที่เส้นตึง ปวด เมื่อย จะท าให้ผ่อนคลายลง ล พบุรี LOPBURI นางสาวจิราภรณ์ ฮวดมัย รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๑ สรรพคุณเครื่องยา เทียนด า สรรพคุณ แก้โรคลม ขับพยาธิขับลมในล าไส้ ช่วยย่อย แก้ท้องอืด เฟ้อ แก้อาเจียน บ ารุง โลหิต ขับปัสสาวะ ขับระดู เกลือ สรรพคุณ ช่วยบรรเทาอาการอาเจียน และช่วยระบาย ช่วยถอนพิษ อบเชย สรรพคุณ แก้ตับอักเสบ แก้จุกเสียด แน่นท้อง อาหารไม่ย่อย แก้ท้องเสีย ขับพยาธิ ไพล สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ แก้ฟกช้ า บวม แก้โรคผิวหนัง สมานแผล ขับลมในล าไส้ แก้จุกเสียด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๒ ใบพลับพลึง สรรพคุณ แก้อาการปวดเมื่อยตามข้อ เคล็ดขัดยอก ช้ า บวม ฟกช้ าด าเขียว ใบมะขาม สรรพคุณ ใช้ใบเป็นยาถ่ายยาระบาย ช่วยรักษาหวัด อาการไอช่วยในการรักษาโรคบิดช่วย ฟอกโลหิต มีคุณสมบัติใช้เป็นยาหยอดตา รักษาเยื่อตาอักเสบ แก้อาการตามัว ยาทาพระเส้น ต ารับที่ 58 ยาขนานนี้ใช้ส าหรับทาแก้เส้นผิดปกติ แก้ลมอัมพาต แก้ลมปัตฆาฏ แก้ตะคริว แก้จับโปง (อาการปวดบวมแดงที่ข้อ เข่าและข้อเท้า) แก้ปวดเมื่อย เครื่องยาประกอบด้วยตัวยา 13 สิ่ง 1. พริกไทย 1 ส่วน 8. ตะไคร้หอม 4 ส่วน 2. ข่า 1 ส่วน 9. ใบขี้เหล็ก 4 ส่วน 3. กระชาย 1 ส่วน 10. ใบตองแตก 4 ส่วน 4. หอมแดง 1 ส่วน 11. ใบมะขาม 4 ส่วน 5. กระเทียม 1 ส่วน 12. ใบเลี่ยน 4 ส่วน 6. มหาหิงคุ์ 1 ส่วน 13. ใบมะค าไก่ 16 ส่วน 7. ยาด า 1 ส่วน **ใช้เหล้าขาวหรือน้ าส้มสายชูบริสุทธิ์เป็นน้ ากระสาย**


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๓ วิธีเตรียม น ามหาหิงคุ์ ยาด า พริกไทย มาต ารวมกันให้ละเอียด ตักใส่โหลแก้วขนาดบรรจุ 2-3 ลิตร พักไว้น า สมุนไพรที่เหลือมาหั่นหยาบๆ ต าให้ละเอียด ตักใส่โหลแก้ว เติมเหล้าขาวหรือน้ าส้มสายชูบริสุทธิ์ให้ท่วมยา คั้นเอา แต่น้ า ใช้ทาบริเวณที่มีอาการ สรรพคุณเครื่องยา พริกไทย สรรพคุณ เมล็ดพริกไทยมีฤทธิ์ในการช่วยกระตุ้นประสาท ช่วยบ ารุงธาตุในร่างกาย ช่วยท าให้เจริญอาหาร ท าให้ลิ้นของ ผู้สูงอายุรับรสได้ดียิ่งขึ้น ช่วยบรรเทาอาการนอนไม่หลับ ช่วยเพิ่มความอบอุ่นให้กับร่างกายและเสริมภูมิต้านทาน ไปด้วยในตัว ขี้เหล็ก สรรพคุณ ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง ช่วยลดความดันโลหิตสูง ช่วยบ ารุงโลหิต ช่วยก าจัดเสมหะ ช่วยแก้ร้อนใน ช่วยขับปัสสาวะ เสริมสร้างภูมิต้านทานโรค ท าให้นอนหลับ ราก แก้อาการเหน็บชา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๔ ใบมะขาม สรรพคุณ ใช้ใบเป็นยาถ่ายยาระบาย ช่วยรักษาหวัด อาการไอ ช่วยในการรักษาโรคบิดช่วยฟอกโลหิต มีคุณสมบัติใช้เป็นยา หยอดตา รักษาเยื่อตาอักเสบ แก้อาการตามัว ใบเลี่ยนสสรรพคุณ ช่วยบ ารุงธาตุไฟในร่างกาย ช่วยขับปัสสาวะ แก้นิ่ว ช่วยขับระดูของสตรี ช่วยบ ารุงโลหิต ประจ าเดือนของสตรี ตะไคร้หอม สรรพคุณ แก้และบรรเทาอาการหวัด อาการไอ ช่วยแก้อาการปวดศีรษะช่วยในการขับน้ าดีมาช่วยในการย่อยอาหาร ช่วยแก้ และบรรเทาอาการปวดท้อง มีฤทธิ์ช่วยในการขับปัสสาวะ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๕ กระชาย สรรพคุณ ช่วยบ ารุงร่างกาย ช่วยแก้ลมวิงเวียน แน่นหน้าอก ช่วยบ ารุงกระดูก ช่วยท าให้กระดูกไม่เปราะบาง ช่วยปรับสมดุล ของความดันโลหิตในร่างกาย ช่วยปรับสมดุลของฮอร์โมนต่าง ๆ ในร่างกาย กระเทียม สรรพคุณ ช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานให้แก่ร่างกาย เสียดแน่นท้อง ช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตของเนื้อเยื่อในร่างกาย ช่วย ปรับสมดุลในร่างกาย ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลและน้ าตาลในเลือด ช่วยรักษาโรคความดันโลหิต ช่วยรักษาโรค ไข้หวัดและไข้หวัดใหญ่ หอมแดง สรรพคุณ ช่วยบ ารุงโลหิต ช่วยบ ารุงหัวใจ ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจ ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตให้ดีขึ้น ช่วยลดระดับน้ าตาลในเลือด ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอล แก้หวัด คัดจมูก ช่วยแก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยขับ ลมในล าไส้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๖ มะค าไก่สรรพคุณ ต าฟอกฝี ปรุงยาถ่ายพิษฝี ถ่ายเส้น ถ่ายกระษัย ข่า สรรพคุณ ช่วยลดอาการอักเสบ ช่วยแก้ตะคริว ช่วยแก้เหน็บชา ช่วยแก้อาการปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ อาการปวดบวมตาม ข้อ ช่วยแก้เสมหะ ช่วยบ ารุงร่างกาย ช่วยแก้เสมหะ ตองแตก สรรพคุณ แก้ร้อนใน ช่วยขับเหงื่อ ใช้ต าพอกแผล ห้ามเลือด ใช้เป็นยาแก้ฟกบวม ใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๗ ยาด า สรรพคุณ ช่วยกัดฟอกเสมหะและโลหิต เป็นยาถ่าย ยาระบาย แก้โรคท้องผูก ช่วยถ่ายพิษไข้ ถ่ายพยาธิตัวตืด ไส้เดือน ช่วยขับน้ าดี ใช้ทาแก้ฟกช้ า บวม มหาหิงคุ์ สรรพคุณ ช่วยขับเสมหะ ช่วยแก้อาการปวดท้อง ปวดกระเพาะ แก้บิด ใช้เป็นยาขับลม แก้อาการจุกเสียดแน่นท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ แก้อาหารไม่ย่อย น้ าค าฝอย สรรพคุณ ช่วยบ ารุงโลหิตสตรี บ ารุงเลือด ปรับสมดุลโลหิต ลดไขมันในเส้นเลือด ส่วนประกอบ ดอกค าฝอย ใบเตย หญ้าหวาน (ในปริมาณที่พอเหมาะ) วิธีท า ต้มน้ าให้เดือด จากนั้นใส่ดอกค าฝอย ใบเตย และหญ้าหวาน วิธีใช้ ดื่มวันละไม่เกิน 3 แก้ว ข้อควรระวัง 1. ไม่ควรดื่มติดต่อกันเกิน 7 วัน เนื่องจากจะส่งผลถึงการท างานของไต 2. ในสตรีมีประจ าเดือน ไม่ควรใช้ดอกค าฝอยในปริมาณที่มากเกินไป เนื่องจากจะท าให้มีโลหิต ออกมามากกว่าปกติ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๘ ผลิตภัณฑ์ ทิงเจอร์พลู สรรพคุณ รักษาแมงกัดต่อย ผื่นคัน ส่วนประกอบ ใบพลูสด แอลกอฮอล์ น้ ากลั่น วิธีใช้ ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า-เย็น งานการแพทย์แผนไทย จังหวัดลพบุรี ยาทาพระเส้น สรรพคุณ แก้เส้นที่ผิดปกติ แก้ลมอัมพาต แก้ลมปัตคาด แก้ตะคริว แก้ จับโปง วิธีใช้ ใช้ทาบริเวณที่มีอาการ บวม แดง ร้อน งานแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลท่าหลวง จังหวัดลพบุรี สมุนไพรแช่เท้า (พรหมจันทร์ Promjun) สรรพคุณ ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ลดคลายเส้นประสาทเท้า ช่วยลด เส้นเอ็นตึง ลดกลิ่นอับที่เท้า หมดปัญหาเท้าแตก ส่วนประกอบ ไพล ขมิ้น ว่านนางค า ขิงข่า เถาเอ็นอ่อน มะกรูด ตะไคร้ สารส้มสตุ เกลือ พิมเสน การบูร วิธีใช้ ใช้ต้มหรือแช่ในน้ าอุ่น แช่เท้าในขณะน้ าอุ่นๆ ให้น้ าต่ ากว่าเข่า แช่ ได้นานตามต้องการ กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรร ามะสัก โทร.08 1373 9134 , 0 2734 6930


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๖๙ ชาสมุนไพรประสะน้ านม (ตรา หมอยาท่าหลวง) สรรพคุณ กระตุ้นการไหลของน้ านม กระตุ้นการสร้างน้ านม เพิ่มการ ไหลเวียนโลหิตบริเวณเต้านม ส่วนประกอบ ขิง ฝาง ชะเอม มะตูม หญ้าหวาน วิธีรับประทาน ใช้ 1 ซองแช่น้ าร้อน 1 แก้วขนาด 200 มิลลิลิตร แช่ 5-10 นาที รับประทานขณะอุ่น หมอยาท่าหลวง น้ ามันว่าน ย่ามยาไทย สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ บรรเทาอาการชาปลายมือปลายเท้า ข้อเสื่อม นิ้วล็อค รักษาไฟไหม้ น้ าร้อนลวก น้ ากัดเท้า รักษาแผลสด แผล เรื้อรัง ริดสีดวงหู ริดสีดวงทวาร บ ารุงผิว ส่วนประกอบ น้ ามันงา มะกรูด น้ ามันมะพร้าว น้ ามันร าข้าง เกสรบัว หลวง เทียนทั้ง 5 และสมุนไพรอื่นๆ ยาหม่องไพล สรรพคุณ บรรเทาอาการปวด ลดบวม แก้อาการฟกช้ า แมลงกัดต่อย งานแพทย์ไทย โรงพยาบาลท่าหลวง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๐ กัญชาในต ารับยาแพทย์แผนไทย จะไม่ใช้เป็ นยาเดี่ยว ปริมาณน้อย แต่เป็ นการใช้ร่วมกับสมุนไพรตัว อื่นๆในต ารับ อีกทั้งการปรุงยาท าด้วยแพทย์แผนไทยที่มีความช านาญเป็ นอย่างมาก ฉะนั้นสามารถใช้ได้ทั้งต้น หรือเบญจกัญชา (ใบ ดอก ผล ราก ล าต้น) จนกลายเป็ นหลากหลายต ารับ ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้ ช่วยให้กินอาหารได้มากขึ้น คือ ยาไฟอาวุธ ใช้แก้โรคตานทราง มีอาการผอมตัวเหลือง พุงโรก้นปอด กินอาหารได้น้อย สิ งห์บุรี SING BURI นายกริชชัย ทองบ าเรอ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล ภูมิปัญญาต ารับยากัญชาในทางแพทย์แผนไทย ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดสิงห์บุรี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข แก้โรคลม คือ ยาแก้โรคลมอุทธังคาวาตา ที่ท าให้ชัก ลิ้นกระด้างคางแข็ง หรือยาพรมภักตร์ แก้ลมตีน ๒๗๑ ตาย มือตาย หรือในปัจจุบันเรียกว่า โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ท าให้นอนหลับได้ดีขึ้น โดยเฉพาะคนไข้ที่มีปัญหาเรื่ องการนอนไม่หลับ เช่น คนไข้วัยทอง ภาวะ ซึมเศร้า รักษาอาการหอบหืด หรือโรคทางเดินหายใจเรื้อรัง ท าให้ทางเดินหายใจดีขึ้น โดยการสูบม้วนร่วมกับ สมุนไพรตัวอื่นๆ เช่น ใบล าโพงกาสลัก ลดอาการปวด เช่น อาการปวดมวนท้อง ท้องผูกเป็ นพรรดึก(โรคกษัย) เป็ นก้อนขี้แพะ กินอาหารไม่ได้ หรือแม้กระทั้งอาการปวดประจ าเดือน โรคมะเร็ง หรือโรคฝี มหากาฬ ฝี มะเร็งทรวงในทางการแพทย์แผนไทย สรรพคณทางการแพทย์ุ จากการศึกษาทางการแพทย์พบว่า ในกัญชามีสารออกฤทธิ์ส าคัญ 2 ชนิด ที่สามารถ น ามาใช้บ าบัดหรือรักษาโรค ได้แก่ o สาร CBD (Cannabidiol) : มีคุณสมบัติลดอาการเจ็บปวด ลดการอักเสบของแผล ยับยั้งการเจริญเติบโต ของเซลล์มะเร็ง ลดอาการชักเกร็ง และลดอาการคลื่นไส้ o สาร THC (Tetrahydrocannabinol) : มีคุณสมบัติต่อจิตประสาท ท าให้เกิดความผ่อนคลาย และ เคลิบเคลิ้ม หากได้รับในปริมาณที่เหมาะสม จะช่วยลดอาการตึงเครียดได้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๒ การบูร ใบสะเดา เดา หัสคุณเทศ สมุลแว้ง เทียนด า โกฐกระดูก ลูกจันทน์ ดอกบุนนาค พริกไทย ขิงแห้ง ดีปลี ใบกัญชา ต ำรับยำศุขไสยำศน์


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๓ ส่วนประกอบต ารับ 1. การบูร 2. ใบสะเดา 2. หัสคุณเทศ 4. สมุลแว้ง 5. เทียนด า 6. โกฐกระดูก 7. ลูกจันทน์ 8. ดอกบุนนาค 9. พริกไทย 10. ขิงแห้ง 11. ดีปลี(ดอก) 12. ใบกัญชา วิธีการปรุงยา 1. น าสมุนไพร หัสคุณเทศ สมุลแว้ง โกฐกระดูก ลูกจันทน์ ขิงแห้ง ดอกดีปลี มาต าให้พอแตก 2. น าสมุนไพรที่ได้ รวมถึงสมุนไพรทุกตัว ยกเว้น การบูร น ามาคั่วด้วยไฟอุ่นๆ พอมีกลิ่นหอม และ กรอบ 3. สมุนไพรที่ได้จากการคั่ว น า ไปบดละเอียด โดยเครื่องบดยา นาน 2 ชั่วโมง 4. น าสมุนไพร หรือ ยา ที่ได้จากการบด มาล่อนโดยใช้ตะแกรงเบอร์ 100 5. น าสมุนไพร หรือ ยา ที่ล่อนได้ มาผสมกับ การบูร ที่โกร่งเตรียมไว้ผสมให้เป็น เนื้อเดียวกัน 6. จะได้ยา “ศุขไสยาศน์” 950 กรัม (จากตัวยาก่อนบด 1,170 กรัม) วิธีการรับประทาน 1. “ยาศุขไสยาศน์” ผสมน้ าผึ้งปั้นเป็นลูกกลอนรับประทาน 2. “ยาศุขไสยาศน์” ชงน้ าร้อน แทรกด้วยน้ ามะนาว(มะนาว) รับประทาน 3. “ยาศุขไสยาศน์” ชงด้วยน้ าดอกไม้เทศน์รับประทาน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๔ สรรพคุณสมุนไพรในต ารับยาศุขไสยาศน์ 1. การบูร 2. สะเดา 3. หัสคุณเทศ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cinnamomum camphora (L.) J.Pres จัดอยู่ในวงศ์ : LAURACEAE ส่วนที่ใช้: เปลือกต้น เนื้อไม้ น ามากลั่นได้การบูรเกล็ด รสร้อนปร่า สรรพคุณ : แก้ปวดท้อง แก้ธาตุพิการ ขับลมในล าไส้ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Azadirachta indica A.Juss. จัดอยู่ในวงศ์ : MELIACEAE ส่วนที่ใช้: ใบแก่ รสขม สรรพคุณ : บ ารุงธาตุ ช่วยย่อยอาหาร ชื่อวิทยาศาสตร์ : Micromelum minutum Wight & Arn. จัดอยู่ในวงศ์ : Rutaceae ส่วนที่ใช้: เนื้อไม้ เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ : ขับลมในท้องให้กระจาย ท าให้ผายเรอ ขับลมใน ล าไส้ให้กระจาย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๕ 4. สมุลแว้ง 5. เทียนด า 6. โกฐกระดูก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet จัดอยู่ในวงศ์ : LAURACEAE ส่วนที่ใช้: เปลือกต้น รสหอมฉุนปร่า สรรพคุณ : แก้ลมวิงเวียน ใจสั่น แก้พิษหวัด ก าเดา ขับลมในล าไส้ แก้ธาตุพิการ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nigella sativa L. จัดอยู่ในวงศ์ : RANUNCULACEAE ส่วนที่ใช้: เมล็ด รสเผ็ดขม สรรพคุณ : ขับเสมหะให้ลงสู่คูถทวาร ขับลมในล าไส้ แก้อาเจียน บ ารุงโลหิต ชื่อวิทยาศาสตร์ : Aucklandia lappa DC. จัดอยู่ในวงศ์ : COMPOSITAE ส่วนที่ใช้: ราก รสมันสุขุมหอม สรรพคุณ : แก้ลมในกองเสมหะ (มักเกิดในตอนเช้า) บ ารุงกระดูก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๖ 7. ลูกจันทน์ 8. บุนนาค 9. พริกไทย ชื่อวิทยาศาสตร์ : Myristica fragrans Houtt. จัดอยู่ในวงศ์ : MYRISTICACEAE ส่วนที่ใช้: เมล็ดใน รสหอมฝาดหวานสุขุม สรรพคุณ : แก้กระหายน้ า บ ารุงก าลัง แก้ลม แก้จุก เสียด แก้ก าเดา แก้ท้องร่วง แก้ปวดขัดมดลูก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mesua ferrea L. จัดอยู่ในวงศ์ : CALOPHYLLACEAE ส่วนที่ใช้: ดอก รสหอมเย็น สรรพคุณ : บ ารุงโลหิต บ ารุงผิวกายให้สดชื่น แก้ร้อน กระสับกระส่าย ชูก าลัง แก้ลมกองละเอียด หน้ามืด วิงเวียนใจสั่น อ่อนเพลีย ใจหวิว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mesua ferrea L. จัดอยู่ในวงศ์ : CALOPHYLLACEAE ส่วนที่ใช้: เมล็ด รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ : แก้อัมพฤกษ์ ลมมุตฆาต ลมลั่นในท้อง แก้ท้องอืดเฟ้อ บ ารุงธาตุ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๗ 10. ขิงแห้ง 11. ดีปลี 12. กัญชา ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber ligulatum Roxb. จัดอยู่ในวงศ์ : ZINGIBERACEAE ส่วนที่ใช้: เหง้า รสหวานเผ็ดร้อน สรรพคุณ : ขับลม แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Piper retrofractum Vahl จัดอยู่ในวงศ์ : PIPERACEAE ส่วนที่ใช้: ดอก รสร้อน สรรพคุณ : แก้ปถวีธาตุ แก้ท้องร่วง ขับลมในล าไส้ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cannabis sativa L. จัดอยู่ในวงศ์ : CANNABACEAE ส่วนที่ใช้: ใบ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ : แก้ไข้ ผอมเหลือง ไม่มีแรง โรคที่เกี่ยวข้อง กับธาตุลมก าเริบ และแก้อาการนอนไม่หลับ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๘ การเปรียบเทียบอาการปวดเข่าระหว่างการพอกเข่า และการนวดเข่าในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมใน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลไผ่จ าศีล อ าเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง ผู้ด าเนินการ นางสาวเบญจมาศ สันทัด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลไผ่จ าศีล อ าเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง หลักการและเหตุผล ข้อเข่าเสื่อมเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ จากการศึกษาภาวะสุขภาพ ผู้สูงอายุพบว่าผู้สูงอายุมีปัญหา ปวดข้อเข่า ในสัดส่วนที่ค่อนข้างสูง คือ ร้อยละ 43.95 ส่วนใหญ่อาการปวดข้อเข่า มีสาเหตุมาจาก ข้อเข่าเสื่อม ผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมมาก จะมีอาการเจ็บหรือปวด ข้อเข่าผิดรูป ข้อฝืดหรือข้อติด เดินไม่ได้ปกติ ซึ่งอาการ ปวดข้อเข่าท าให้ ผู้สูงอายุ เกิดความยากล าบากในการเคลื่อนไหว ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลงเป็น อุปสรรคในการเข้าสังคม จากข้อมูลผู้ป่วยมารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลไผ่จ าศีล ปี 2559-2561 พบผู้มารับ บริการด้วยอาการปวดเข่า จ านวน 2.5 % ของประชากรทั้งหมด และได้รับการรักษาทางการแพทย์แผนไทยด้วย การนวด อบ ประคบ และการพอกยาด้วยสมุนไพร จ านวน 94 % ของจ านวนผู้ป่วยที่มาด้วยอาการปวดเข่าซึ่ง เป็นการรักษา เพื่อลดอาการปวด ท าให้ผู้ป่วยสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และลดภาระการดูแลของผู้ดูแล ลด ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาเปรียบเทียบอาการปวดเข่า หลังได้รับการรักษาด้วยการ พอกเข่า และการนวดเข่าในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม ที่มารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต าบลไผ่จ าศีล เพื่อน ามาปรับปรุงการให้บริการด้านการแพทย์แผนไทยในโรคข้อเข่าเสื่อมต่อไป อ่า งทอง ANGTHONG นางสาวอุษา ออมนะภา รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๗๙ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเปรียบเทียบอาการปวดเข่าก่อนและหลัง ในการพอกเข่า 2. เพื่อเปรียบเทียบอาการปวดเข่าก่อนและหลัง ในการนวดเข่า 3. เพื่อเปรียบเทียบอาการปวดเข่าระหว่างการพอกเข่าและการนวดเข่า วิธีด าเนินการศึกษา 1. ผู้วิจัยแจ้งผู้ป่วยที่เข้าร่วมโครงการวิจัยและเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องทราบ ว่ามีการคัดเลือก แบบสุ่ม ตัวอย่างใช้วิธีหาขนาดตัวอย่างจากทฤษฎีขีดจ ากัดกลางตามเกณฑ์คุณสมบัติ 2. เมื่อได้กลุ่มตัวอย่างส าหรับการวิจัย จ านวน 30 ตน ผู้วิจัยเริ่มสร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย แจ้ง วัตถุประสงค์ของการวิจัย ให้ลงชื่อยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัย ขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จากแบบ สุมภาษณ์กับกลุ่มตัวอย่าง และแบบประเมินความปวดก่อนการเข้าท าวิจัย 3. ผู้วิจัยได้นัดหมายเกี่ยวกับวัน เวลา และสถานที่กับกลุ่มตัวอย่าง และด าเนินกิจกรรม 3.1 สัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป และประเมินความปวด (Pain Scale) ก่อนท าหัตการ หลังจากนั้นท าการ พอกสมุนไพรไปยังบริเวณเข่า แล้วทิ้งไว้จนครบเวลา 20 นาที แล้วเช็ดล้างออก แล้วท าการประเมินความปวด (Pain Scale) หลังท าหัตการอีกครั้ง 3.2 ท าการนัดคนไข้ให้มานวดเข่า หลังจากาการพอกเข่า 2 สัปดาห์ 3.3 เมื่อครบก าหนดนัดคนไข้ให้ท าการนวดเข่าให้คนไข้ ตามหลักการนวดแบบราชส านักนวกรักษา อาการจับโปงเข่า เป็นเวลา 45 นาที พร้อมกับประเมินความปวด (Pain Scale) ก่อนและหลังท าหัตการ 4. การวิเคราะห์ข้อมูล ตรวจสอบความสมบูรณ์ของข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลด้วย 4.1 สถิติพรรณนา (Descriptive statistic) ได้แก่ จ านวนร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 4.2 สถิติอนุมาน (Inferential statistic) ได้แก่ Independent t-test และ Paired t-test การอภิปรายผล ผลการวิจัยพบว่า หลังการพอกเข่าและนวดเข่ากลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความปวดลดลงอย่างมี นัยส าคัญทางสถิติ และกลุ่มที่ได้รับการนวดเข่ามีผลต่างของคะแนนความปวดที่ลดลงมากกว่ากลุ่มที่รับการพอก เข่าอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๐ เกาะอกประคบเต้านมสมุนไพร ผู้จัดท า พท.ป.ธนัชพร ทองศักดิ์ ประเภทผลงาน นวัตกรรม ชื่อหน่วยงาน กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ต าบลบางจัก หลักการและเหตุผล จากการท างาน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบางจัก พบว่ามารดาหลังคลอดได้ประสบปัญหาใน การให้นมบุตร มีอาการน้ านมไม่ไหลหรือไหลน้อย มีอาการคัดตึงเต้านม เต้านมอับเสบ อาการเจ็บที่หัวนม ซึ่ง อาการเหล่านี้จะท าให้มารดาเกิดความเจ็บปวดอย่างรุนแรง จนอาจจะท าให้ไม่สามารถให้นมบุตรได้ ส่งผลถึง โภชนาการของลูกที่อาจได้รับไม่เพียงพอ โดยจาการศึกษาค้นคว้างานวิจัยต่างๆ พบว่าลูกประคบสมุนไพร สามารถ ลดอาการปวดคัดตึงเต้านมและเพิ่มอัตราการไหลของน้ านมของมารดาหลังคลอดได้และการใช้ใบกะหล่ าปลี ประคบเต้านมสามารถรักษาอาการคัดตึงเต้านมระดับปานกลางจนถึงระดับรุนแรงได้จึงท าให้เกิด แนวคิดในการ จัดท านวัตกรรมขึ้นเพื่อใช้ในการประคบเต้านมลดปวด และอาการคัดตึงเต้านมในมารดาหลังคลอด โดยใช้สมุนไพร ร่วมกับความร้อน เป้าหมาย 1. เพื่อบรรเทาอาการปวดหรือลดการอักเสบจาการคัดตึงเต้านมในมารดาหลังคลอด 2. เพื่อกระตุ้นการไหลของน้ านมมารดา 3. เพื่อพัฒนานวัตกรรมรูปแบบใหม่ในการให้บริการดูแลแม่หลังคลอด 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้เกาะอกประคบเต้านมสมุนไพร วิธีด าเนินการ 1. ส ารวจ เก็บรวบรวมข้อมูลและติดตามเยี่ยมมารดาหลังคลอด ที่พบว่ามีปัญหาปวดคัดตึงเต้านม 2. ออกแบบและผลิตสิ่งประดิษฐ์ โยตัดผ้าตามขนาด ที่ก าหนด เพื่อท าเป็นเกาะอก และถุงประคบ สมุนไพรส าหรับประคบเต้านม แล้วน าไปเย็บตามแบบที่วางไว้ เย็บตีนตุ๊กแกและเย็บยางยืดใส่บริเวณขอบด้านล่าง และด้านบน เพื่อให้สามารถยืดขยายตามขนาดตัวมารดาหลังคลอด 3. น าสมุนไพรแห้ง ได้แก่ ไพล ขมิ้นชัน ผิวมะกรูด ตะไคร้บ้าน ใบมะขาม พิมเสน การบูร ไปชั่งน้ าหนัก น าไปต าพอละเอียด ผสมสมุนไพรทั้งหมดคลุกเคล้าให้เข้ากันแล้วใส่ลงในถุงประคบ 4. น าถุงประคบไปอุ่นในเตาไมโครเวฟ ที่ก าลังไฟ 800 วัตต์ เป็นเวลา 1 นาที แล้วน าไปใส่ถุงในชุดเกาะ อก สวมชุดให้คุณแม่ ประคบไว้นาน 5 นาที (ท าซ้ ากัน 3 ครั้ง) 5. ประเมินความพึงพอใจหลังการใช้เกาะอกประคบเต้านม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๑ ผลการด าเนินงาน 1. หญิงหลังคลอดมีอาการปวดลดลง และไม่มีการอักเสบของกล้ามเนื้อเต้านม 2. น้ านมมารดาไหลดีขึ้น 3. นวัตกรรมใช้งานง่าย สะดวกในการน าไปใช้ให้บริการนอกสถานที่ /เยี่ยมบ้าน 4. หญิงหลังคลอกมีความพึงพอใจจาการใช้เกาะอกประคบเต้านมสมุนไพร นวัตกรรม “ช้างน้อยจับมือ” นางนิตยา บ ารุงเวช แพทย์แผนไทยช านาญการ โรงพยาบาลสามโก้ ต าบลสามโก้ อ าเภอสามโก้ จังหวัดอ่างทอง ความเป็นมา ผู้ป่วยที่เป็นโรคอัมพาต หรือกล้ามเนื้ออ่อนแรง บางครั้งมักจะมีอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อร่วมด้วย ท า ให้เกิดภาวะ ก ามือแน่น บางครั้งถ้าเล็บผู้ป่วยยาว ก็อาจท าให้ฝ่ามือเป็นแผลได้ หรือถ้าปล่อยให้ก ามือตลอดเวลา จะท าให้กล้ามเนื้อและเส้นเอ็นหดสั้น เกิดภาวะข้อติดหรือแบมือไม่ได้ตามมา ช้างน้อยจะช่วยแทรกอยู่ระหว่างมือ ของผู้ป่วย ช่วยลดโอกาสที่จะเกิดอาการต่างๆ ตามที่กล่าวมา นอกจากนี้ยังสามารถกระตุ้นให้ผู้ป่วยออกก าลังมือ ด้วยการบีบช้างน้อย เพื่อกระตุ้นการท างานของกล้ามเนื้อมือได้อีกด้วย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต หรือโรคที่มีภาวะสมองผิดปกติที่มีอาการมือเกร็งดีขึ้น 2. เพื่อให้ผู้ป่วยที่เป็นโรคอัมพาต อัมพฤกษ์ ได้กระตุ้นการท างานของกล้ามเนื้อมือ 3. เพื่อลดการเกิดสภาวะข้อติด หรือแบมือไม่ได้ในผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต 4. เพื่อช่วยลดอาการแทรกซ้อน เช่น การเกิดแผลที่มือ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๒ วิธีการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ อุปกรณ์ที่ใช้ท านวัตกรรมช้างน้อยจับมือ 1. ผ้า 2. เข็ม 3. ด้าย 4. กรรไกร 5. ใยสังเคราะห์ 6. กระดาษ วิธีท านวัตกรรมช้างน้อยจับมือ 1. น ากระดาษมาวาดเป็นแบบเป็นรูปช้างน้อยและวาดลงบนผ้าและเย็บตามแบบที่วาด 2. น าใยสังเคราะห์ใส่แบบที่เย็บแล้วให้แน่นและเย็บปิดให้เรียบร้อยเราจะได้ช้างน้อย วิธีน านวัตกรรมมาใช้บริหารมือและนิ้ว การบริหารมือโดยใช้ “ช้างน้อยจับมือ” ท่าที่ 1 บริหารนิ้วมือทั้ง 5 นิ้วพร้อมกัน โดยหงายฝ่ามือ วางคุณช้างน้อยลงบนมือ โดยให้งวง งา และหางอยู่ระหว่างซอกนิ้วมือ ก ามือเข้าหาตัวช้างน้อย โดยใช้แรงกดเฉพาะข้อนิ้ว และหงายมือกลับสู่ท่า เตรียม ท าทั้งหมด 3 เซท เซทละ 10-15 ครั้ง ท่าที่ 2 บริหารทีละนิ้วแบบปกติ หงายมือ วางช้างน้อยลงบนมือ โดยใช้งวง งา และหางอยู่ ระหว่างซอกนิ้วมือ ใช้แรงกดตัวช้างทีละนิ้วโดยใช้แรงจากข้อนิ้ว เริ่มจากนิ้วหัวแม่มือไปนิ้วก้อย ท าทั้งหมด 3 เซท เซทละ 10-15 ครั้ง ท่าที่ 3 บริหารทีละนิ้ว เพื่อฝึกระบบประสาท หงายมือ วางช้างน้อยลงบนมือ โดยให้งวง งา และ หางอยู่ระหว่างซอกนิ้วมือใช้แรงกดตัวช้างทีละนิ้วโดยใช้แรงจากข้อนิ้ว แต่เริ่มจากนิ้วก้อยก่อน แล้วไล่ ล าดับไปนิ้วหัวแม่มือท าทั้งหมด 3 เซท เซทละ 10-15 ครั้ง ท่าที่ 4 วางยกแขนระดับไหล่ เหยียดแขนไปด้านหน้ายกฝ่ามือขึ้นให้ตั้งฉากกับข้อมือให้มากที่สุด วางช้างน้อยลงบนมือ โดยให้งวง งาน และหางอยู่ระหว่างซอกนิ้วมือ ก ามือให้แน่นค้างไว้ 5 วินาที กางมือ ออกให้สุด ให้กลับมาอยู่ในท่าเตรียม ท าทั้งหมด 3 เซท เซทละ 10-15 ครั้ง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๓ เกลือสมุนไพรแช่เท้า ผู้จัดท า นางสาวกฤษณา แสงนาค แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ ประเภทผลงาน นวัตกรรม หน่วยงาน กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลม่วงเตี้ย หลักการและเหตุผล โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบมากในปัจจุบัน เมื่อเป็นแล้วต้องเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน ซึ่งมักจะเกิดเมื่อเป็น เบาหวาน ได้แก่ ภาวะแทรกซ้อนทางสายตา ภาวะแทรกซ้อนทางไต ภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาท รวมไปถึง โรคหลอดเลือด โดยปัญหาที่พบบ่อยคือ แผลเรื้อรังจากเบาหวาน ซึ่งมีผลมาจาก ภาวะแทรกซ้อนทางระบบ ประสาท (Diabetic neuropathy) ซึ่งท าให้เส้นประสาทนั้นไม่สามารถน าความรู้สึกต่อไปได้ จึงท าให้รู้สึกชาหรือ ปวดแสบปวดร้อนตามปลายมือปลายเท้า เมื่อผู้ป่วยมีแผลจึงมักจะไม่รู้ตัวและไม่ดูแลแผลดังกล่าว ประกอบกับ เลือดของผู้ป่วยมีน้ าตาลสูง จึงเป็นอาหารอย่างดีให้กับเหล่าเชื้อโรค จึงท าให้แผลหายช้า ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลม่วงเตี้ย ได้เล็งเห็นความส าคัญของการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน จึงได้มีการรณรงค์ให้ความรู้การดูแลเท้าแก่ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนเป็นประจ าทุกเดือน มีการตรวจเท้า ให้แก่ผู้ป่วยเบาหวานทุกปี นอกจากนี้จึงได้น าองค์ความรู้ทางการแพทย์แผนไทยเข้ามาประยุกต์ในการส่งเสริมให้ ผู้ป่วยให้ความส าคัญในการดูแลเท้ามากขึ้น เพื่อช่วยลดอุบัติการณ์เกิดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยการแช่เท้าโดยใช้ น้ าสมุนไพรที่มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดเมื่อยและสมานแผล ต่อมาได้มีการพัฒนารูปแบบสูตรสมุนไพรแช่เท้า จากเดิมใช้วิธีการต้มน้ าสมุนไพรสด จัดบริการแช่เท้า ประสบปัญหาความยุ่งยากในการเตรียมสมุนไพร และผู้ป่วยขาดความต่อเนื่องในการแช่เท้า จึงเกิดเป็นวัตกรรม เกลือสมุนไพรแช่เท้าในปัจจุบัน เป้าหมาย 1. เพื่อลดความยุ่งยากในการเตรียมสมุนไพรแช่เท้า 2. กระตุ้นให้ผู้ป่วยเบาหวานมีการดูแลสุขภาพเท้าของตนเอง 3. มีการตรวจเท้าด้วยตนเองอย่างสม่ าเสมอ 4. ป้องกันและลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน (แผลที่เท้า) ในผู้ป่วยเบาหวาน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๔ วิธีด าเนินงาน 1. ชี้แจงข้อมูลกับเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการด าเนินงาน 2. หาข้อมูลและพัฒนารูปแบบแช่เท้าสมุนไพรในผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้สูงอายุ 3. น าเกลือสมุนไพรแช่เท้ามาใช้ในผู้ป่วยเบาหวาน 4. ประเมินผลการด าเนินงาน ผลการด าเนินงาน 1. มีความสะดวกในการเตรียมสมุนไพรแช่เท้า 2. สมุนไพรแช่เท้ามีอายุการใช้งานนานขึ้น 3. ผู้ป่วยเบาหวานให้ความส าคัญในการดูแลสุขภาพเท้าของตนเองมากขึ้น 4. ผู้ป่วยเบาหวานมีการตรวจเท้าด้วยตนเองอย่างสม่ าเสมอ 5. ลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน (แผลที่เท้า) ในผู้ป่วยเบาหวาน รูปแบบเดิม ต้มน้ าสมุนไพรสด ข้อเสีย มีความยุ่งยากในการเตรียม รูปแบบใหม่ เกลือสมุนไพร ข้อดี 1. ลดขั้นตอนการเตรียม 2. ผู้ป่วยน ากลับไปท าเองที่บ้านได้ 3. เกิดความต่อเนื่องในการดูแลเท้า แผ่นมาร์กเย็นสมุนไพร (Cool Herbal Mask) ส่วนประกอบส าคัญ สารสกัดเย็นจาก ไพล พริกไทยด า บอระเพ็ด สะเดา ฟ้าทะลายโจร และตัวยาอื่นๆ วิธีใช้ คลี่แผ่นมาร์กออก แปะทิ้งไว้บริเวณที่มีอาการ 15-20 นาที หรือจนกว่าแผ่นมาร์กแห้ง ใช้ได้บ่อยตาม ต้องการ (1 แผ่นใช้ได้ 1 ครั้ง) ควรใช้อย่างต่อเนื่องเพื่อผลลัพธ์ที่น่าพึงพอใจ สรรพคุณ ลดอาการปวด บวม แดง ร้อน ของข้อและกล้ามเนื้อ ส่วนต่างๆของร่างกาย ค าเตือน ห้ามใช้บริเวณเยื่อบุอ่อนและแผลเปิด หากมีอาการแพ้ให้หยุดใช้ และรีบล้างออกด้วยน้ าสะอาดทันที หาก อาการไม่ดีขึ้นให้ปรึกษาแพทย์


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๕ ผงพอกเย็นสมุนไพร (Cool Herbal Powder) ส่วนประกอบ ดินสอพอง ไพล พริกไทยด า บอระเพ็ด สะเดา ฟ้าทะลายโจร และตัวยาอื่นๆ วิธีใช้ ผงยา 2-3 ช้อนชา ผสมเหล้า (แอลกอฮอล์ 70 % ) และน้ าเปล่า 1 ต่อ 1 ส่วน คนให้ เข้ากันจนข้น พอกทิ้งไว้ 15-30 นาที จนแห้ง เช็ดหรือล้างออกด้วยน้ าสะอาด วันละ 1-2 ครั้ง ควรใช้อย่าง ต่อเนื่องเพื่อผลลัพธ์ที่น่าพึงพอใจ (1 กล่องใช้ได้ 5-10 ครั้ง) สรรพคุณ ลดอาการปวด บวม แดง ร้อน ของข้อ เส้น เอ็น และกล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกาย ค าเตือน ห้ามใช้บริเวณเยื่อบุอ่อนและแผลเปิด หากมีอาการแพ้ให้หยุดใช้ และรีบล้างออกด้วยน้ า สะอาดทันที หากอาการไม่ดีขึ้นให้ปรึกษาแพทย์


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๖ หมอพื้นบ้าน นายสมเกียรติ ภู่โพธิ์ เกิดวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2504 อายุ 58 ปี6 เดือน สถานที่ติดต่อ 31/4 หมู่ 6 ต าบลหนองลาน อ าเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี 71120 เบอร์โทรศัพท์09 8557 6284 , 06 1487 3782 ความช านาญ นวดตอกเส้น ผู้มีอาการกระดูกทับเส้น , อาการปวดเข่า แขน และไหล่ เป็นต้น (และมีความช านาญทางด้านสมุนไพรบ าบัดโรค เบาหวาน โรคปอด ตับ ไต ริดสีดวง มะเร็งภายใน ตกขาว ปวดท้อง ประจ าเดือน โรคเก๊าท์ สะเก็ดเงิน นวดเหยียบน้ ามันรักษากระดูกทับเส้น ตั้งศาลพระพรหม ศาลพระภูมิ) ประสบการณ์การรักษา เป็นเวลา 43 ปี (ถึงปัจจุบัน) กา ญจนบุรี KANCHANABURI นางสาวจิราภรณ์ ฮวดมัย รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๗ วิธีการรักษา/ขั้นตอนการรักษา 1. ท าการยกครู ได้แก่ 1) ปัจจัยตามความสะดวก 2) ขัน ห้า ประกอบด้วย หมาก พลู ดอกไม้ ธูป และเทียน 2. สอบถามอาการของผู้มารับการรักษา (ผู้ป่วย) 3. วินิจฉัยอาการ 4. ด าเนินการรักษาตามอาการ หมอพื้นบ้าน นายสมาน กลีบทอง เกิดวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2497 อายุ 66 ปี สถานที่ติดต่อ 3/9 หมู่ 12 ต าบลปากแพรก อ าเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี 71000 เบอร์โทรศัพท์08 1857 8589 ความช านาญ นวดตอกเส้น ปรับความสมดุลจัดระบบกระดูกของ ร่างกายและ แก้อาการดังนี้ 1. ไมเกรน ปวดหัว ความดันโลหิตสูง กระดูกคด(ทรุด) หลังงอ(ค่อม) คอตึงไม่ตรง(ต่อมไทรอยด์) 2. ปวดไหล่-ไหล่ติด ยกแขนไม่ขึ้น ปวดแขน ปวดข้อมือ มือชา นิ้วล็อค ปวดข้อศอก 3. ปวดเอว ปวดสะโพก ปวดหลัง ก้มไม่ได้ปวดตึง เอี้ยวตัวไม่ได้ หมอนรองกระดูกเคลื่อน กระดูกทับ เส้นประสาท กล้ามเนื้อกดทับเส้นประสารท(พังผืด) ปวดสลักเพชรร้าวลงขา ปวดก้นกบ(ตึง) 4. ข้อเข่าเสื่อม ปวดหัวเข่า ปวดข้อเท้า เท้าแพลง ขาตึง เข่าตึง เป็นรองช้ า เท้าบวม เท้าชา เส้นเลือดขอด (ปวดเส้นเอ็นร้อยหวายที่เท้า) เป็นตะคริวบ่อย ประสบการณ์การรักษา รวมระยะเวลา 7 ปี (ถึงปัจจุบัน)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๘ วิธีการรักษา/ขั้นตอนการรักษา 1. ท าการยกครู ได้แก่ 1) ปัจจัยตามความสะดวก 2) ขันห้า ประกอบด้วย หมาก พลู ดอกไม้ ธูป และเทียน 2. สอบถามอาการผู้มารับการรักษา 3. วินิจฉัยอาการ 4. ด าเนินการรักษาตามอาการ หมอพื้นบ้าน นางสร้อยสุวรรณ ดีเจริญ อายุ 54 ปี สถานที่ติดต่อ 9/4 ถนนตะคร้ าเอน อ าเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี 71130 เบอร์โทรศัพท์08 0669 5923 ความช านาญ นวด/ประคบ ประสบการณ์การรักษา รวมระยะเวลา 24 ปี (ถึงปัจจุบัน) วิธีการรักษา 1. ท าการยกครู ได้แก่ 1) ปัจจัยตามความสะดวก 2) ขันห้า ประกอบด้วย หมาก พลู ดอกไม้ ธูป และ เทียน 2. สอบถาม และสังเกตลักษณะจากการบุคลิกท่าทาง การเดิน การพูด น้ าเสียง ผู้มารับการรักษา 3. ด าเนินการรักษาตามอาการ ข้อควรระวัง ผู้ที่ไม่ควรรับการรักษา 1. ผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็ง โรคปวด และโรควัณโรค 2. ส าหรับหญิงมีครรภ์ ระหว่างอายุครรภ์ 1 - 3 เดือน , 6 – 9 เดือน (ส าหรับหญิงมีครรภ์ ระหว่าง 4-5 เดือนสามารถนวดได้ในท่าตะแคง แต่ต้องใช้ความระมัดระวัง) 3. ผู้อยู่ในภาวะอารมณ์เครียด ต้องผ่อนคลายความตึงเครียดก่อนรับการรักษา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๘๙ **************************** หมอพื้นบ้าน นายพี กองเสม เกิดวันที่ 2 กรกฎาคม 2503 อายุ 59 ปี 8 เดือน สถานที่ติดต่อ 7/12 หมู่ 5 ต าบลตะคร้ าเอน อ าเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี 71130 เบอร์โทรศัพท์08 1341 1803 ความช านาญ ตรวจชีพจรตามธาตุเจ้าเรือน (รักษาโดยการปรับ สมดุลธาตุ) รักษาอาการไข้ มะเร็ง อัมพฤกษ์-อัมพาต ประสบการณ์การรักษา รวมระยะเวลา 24 ปี (ถึงปัจจุบัน) วิธีการรักษา/ขั้นตอนการรักษา 1. ท าการยกครู ได้แก่ 1) ปัจจัยตามความสะดวก 2) ขันห้า ประกอบด้วย หมาก พลู ดอกไม้ ธูป และเทียน 2. สอบถามอาการ และจับชีพจร ผู้มารับการรักษา 3. ท าการปรับธาตุให้สมดุล โดยให้รับประทานยาบ ารุงธาตุ ซึ่งขนาดและปริมาณของตัวยา ขึ้นอยู่กับเพศและอายุ ของผู้รับการรักษา เป็นระยะเวลาประมาณ 25-30 วัน (หรือประมาณ 1 เดือน) 4. ด าเนินการรักษาตามอาการ (ด้วยยาต้มแก้กษัย) - ยาบ ารุงธาตุ - ยาต้มแก้กษัย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๐ ยาบ ารุงธาตุ สรรพคุณ บ ารุงธาตุ ปรับสมดุลของธาตุในร่างกาย ส่วนประกอบ สะค้าน ดีปลี ช้าพลู เหง้าขิงแห้ง เจตมูลเพลิงแดง และสมุนไพรอื่นๆ ชนิด ขนาดและปริมาณการใช้สมุนไพร ขึ้นอยู่กับเพศ อายุ และอาการของผู้เข้ารับการรักษา **************************** ยาต้มแก้กษัย ส่วนประกอบ กะเพราขาว กะเพราแดง ข้าวเย็นเหนือ ข้าวเย็นใต้ เถาวัลย์เปรียง กะทือ หัวแห้วหมู กระเทียมโทน ว่านน้ าและสมุนไพรอื่นๆ ขนาดและปริมาณการใช้ ขึ้นอยู่กับเพศ อายุ และอาการของผู้เข้ารับการรักษา **************************** ช้าพลูสรรพคุณ แก้เสมหะในทรวงอก ขับเสมหะ ช่วยย่อยอาหาร ขับลม เหง้าขิงแห้ง สรรพคุณ แก้จุกเสียดแน่น เฟ้อ ขับลม แก้ท้องอืด แก้คลื่นไส้อาเจียน สะค้าน สรรพคุณ แก้โรคเบื่อ อาหาร มือเท้าเย็น ปากแห้ง คอแห้ง แก้หืด แก้จุดเสียด ขับลมในล าไส้ ดีปลี สรรพคุณ แก้ปถวีธาตุ พิการ แก้ท้องร่วง ขับลมในส าไส้ แก้หืดไอ แก้ลมวิงเวียน เจตมูลเพลิงแดง สรรพคุณ บ ารุงธาตุ บ ารุงโลหิต ขังลมในกระเพาะอาหารล าไส้ ขับโลหิตระดู กะเพราขาว-แดง สรรพคุณ ขับลม แก้ปวดท้อง แก้ลมตานซาง ขับเหงื่อ แก้ไข้ ขับเสมหะ ข้าวเย็นเหนือ สรรพคุณ ข้าวเย็นใต้ สรรพคุณ กระเทียนโทน สรรพคุณ ว่านน้ า สรรพคุณ หัวแห้วหมูสรรพคุณ ช่วยขับลม แก้อาการแน่นหน้าอก อาเจียน แก้ปวดท้อง ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ กระทือ สรรพคุณ บ ารุงน้ านม รักษา อาการท้องอืดเฟ้อ แน่นจุกเสียด ปวดท้อง เถาวัลย์เปรียงสรรพคุณ เป็นยาถ่ายเส้น ขับปัสสาวะ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ไพล สรรพคุณ ขับระดู ขับลม ขับ ประจ าเดือนสตรี มีฤทธิ์ระบายอ่อนๆ แก้บิด สมานล าไส้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๑ ยาห้าราก สรรพคุณ แก้ไข้ กระทุ้งพา หรือถอนพิษต่างๆ ประกอบด้วย คนทา มะเดื่อชุมพร ย่านาง ชิ่งชี่ และเท้ายายม่อม (**หมายเหตุ ยาห้ารากเป็นส่วนประกอบของยาพอกเข่าสูตรเย็นท่าเสา) รากคนทา สรรพคุณ ใช้ต้มกินแก้ไข้เพื่อเส้น แก้ท้องร่วง แก้โรคล าไส้ แก้ไข้พิษ ไข้กาฬ แก้ไข้ทุกชนิด รากมะเดื่อชุมพร สรรพคุณ ไข้กระทุ้งพิษไข้ กล่อมเสมหะและโลหิต แก้ไข้หัว แก้พิษร้อน และ ไข้กาฬ ย่านาง สรรพคุณ แก้พิษเมาเบื่อ กระทุ้งพิษไข้ แก้ไข้ แก้เมาสุรา ถอนพิษผิดส าแดง แก้ไม่ผูก ไม่ถ่าย แก้ไข้ราดสาก ไข้กลับ แก้โรคหัวใจบวม แก้ก าเดา แก้ลม รากชิงชี่ สรรพคุณ ขับลม รักษามะเร็ง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๒ รากเท้ายายม่อม สรรพคุณ แก้ ไข้ แก้พิษสัตว์กัดต่อย ปรุงเป็นยาแก้พิษไข้ พิษกาฬ ลดความ ร้อนในร่างกาย กระทุ้งพิษไข้หวัด ไข้เหนือ ขับเสมหะลงสู่เบื้องต่ า ถอนพิษไข้ทุกชนิด แก้ร้อนในกระหายน้ า แก้หืดไอ แก้อาเจียน ดับพิษฝี แก้ไข้เหนือไข้พิษ ไข้กาฬ ตัดไข้จับ แก้ไข้เพื่อดีพิการ แก้พิษงู **************************** ยาพอกเข่าสูตรร้อน สรรพคุณ ช่วยผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เอ็น ท าให้เลือดบริเวณข้อ เข่าไหลเวียนดีขึ้น ส่วนประกอบ 1. ไพล 1 ช้อนชา 2. ผักเสี้ยนผี 1 ช้อนชา ๓. การบูร 2 หยิบมือ 4. พิมเสน 1 หยิบมือ ** เหล้าขาว เป็นกษัยยา วิธีใช้ น าส่วนประกอบมาคลุกเคล้าให้เข้ากันให้พอเป็นก้อน เหลว จากนั้นน าไปพอกบริเวณเข่า ระยะเวลาประมาณ 20-30 นาที ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการ ดังนี้ 1. แพ้สมุนไพร 2. มีบาดแผลสดที่ผิวหนัง 3. แพ้แอลกอล์ฮอล์(ในเหล้าขาว) 4. ผู้มีอาการบวมแดงร้อนที่หัวเข่า สรรพคุณสมุนไพร ไพล สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อย บรรเทาอาการปวด ลดการอักเสบของ กล้ามเนื้อ และข้อได้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๓ ผักเสี้ยนผี สรรพคุณ ช่วยรักษาโรคข้ออักเสบ(ทั้งต้น) ผักเสี้ยนผีมีฤทธิ์เป็นยาชาเฉพาะที่ ช่วยแก้ อาการปวดได้ การบูร สรรพคุณ ช่วยแก้อาการปวดฟัน ช่วยขับเสมหะ ท าลายเสมหะ พิมเสน สรรพคุณ ช่วยแก้ปากเปื่อย ปากเป็นแผล เหงือกบวม ท าให้ลมหายใจ สดชื่น ** เหล้าขาว ใช้เป็นกษัยยา ****************************


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๔ ยาพอกเขาสูตรเย็นท่าเสา สรรพคุณ ลดอาการปวดข้อเข่าแบบเฉียบพลันที่มีอาการ ปวด บวม แดง และร้อน ส่วนประกอบ 1. ยาห้าราก (รากคนทา รากชิงชี่ รากมะเดื่อชุมพร รากย่านาง รากเท้ายายม่อม) อย่างละ 1 ส่วน 2. ฟ้าทะลายโจร 1 ส่วน 3. เถาวัลย์เปรียง 1 ส่วน 4. พญายอ 1 ส่วน 9. กระดูกไก่ด า 1 ส่วน 5. เถาเอ็นอ่อน 1 ส่วน 10. พิมเสน 1 ส่วน 6. เถาโคคลาน 1 ส่วน 11. การบูร 1 ส่วน 7. ทองพันชั่ง 1 ส่วน 12. เหล้าขาว 40 ดีกรี 100 มิลลิลิตร 8. รางจืด 1 ส่วน วิธีท า/วิธีใช้ น ามาสกัดด้วยเหล้าขาว 40 ดีกรี เป็นระยะเวลา 1 เดือน ถึงน ายามาใช้ได้ โดยน ายาพอกสูตร เย็นมาชุบกับส าลีหรือผ้าก๊อซให้ชุ่มน้ าแล้ววางลงบริเวณที่มีอาการปวด วางใบยอลง สุดท้ายพันด้วย Plastic wrap พอกยาไว้เป็นระยะเวลา 30 นาที ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการ ดังนี้ 1. แพ้สมุนไพร 2. แพ้แอลกอล์ฮอล์(ในเหล้าขาว) 3. มีบาดแผลสดที่ผิวหนัง สรรพคุณสมุนไพร ฟ้าทะลายโจร (ใบ) สรรพคุณ รักษาอาการท้องเสีย ไอ เจ็บคอ ฝี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๕ เถาวัลย์เปรียง สรรพคุณ ต ารายาพื้นบ้าน : ใช้เถา ขับปัสสาวะ แก้บิด แก้หวัด ใช้ เถาคั่วไฟให้หอมชงน้ ากินแก้ปวดเมื่อย แก้เส้นเอ็นพิการ แก้เมื่อยขบในร่างกาย พญายอ (ใบ) สรรพคุณ รักษาอาการเนื่องจากแมลงกัดต่อย และโรคเริม เถาเอ็นอ่อน สรรพคุณ รักษาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย หรือมีอาการปวดหลัง ปวด เอว เถาโคคลาน สรรพคุณ ช่วยแก้อาการปวดเมื่อย ปวดหลัง ปวดเอว แก้เส้นตึง (เถา , ราก) ทองพันชั่ง สรรพคุณ สารออกฤทธิ์ Rhinacanthin A-F ซึ่งมีฤทธืต้านเชื่อแบคทีเรีย ต้านเชื่อรา ต้านไวรัส ยับยั้งเบาหวาน ขับลม เป็นยาระยาย ลดไข้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๖ รางจืด สรรพคุณ ใบสดคั้นน้ ากินแก้ไข้ และถอนพิษ “รางจืดหรือรางเย็น รสเย็นใช้ปรุง เป็นยาเขียวรับประทานเป็นยาถอนพา ท าให้ลดความร้อนในร่างกาย แก้ไข้ แก้พิษ กระทุ้งพิษไข้หัว รากและเถารับประทานเป็นยาแก้ร้อน ในกระหายน้ า แก้พิษร้อนทั้งปวง” กระดูกไก่ด า สรรพคุณ มีฤทธิ์ต้านอักเสบ ลดปวดสูงมาก ซึ่งเป็นฤทธิ์ที่มาจากสาระส าคัญ ในกลุ่ม Flavonoids คือ Vitexin และ Apigenin ที่ออกฤทธิ์ผ่าน กลไกเดียวกันกับยาต้านอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ (NSAIDs) โดย ไปยับยั้งเอนไซม์ทั้ง Cyclooxygenase (COX) และ Lipoxygenase pathways ท าให้มีผลยับยั้งการหลั่นสารที่ เหนี่ยวน าให้เกิดการอักเสบหลายชนิด จากยาพอกเขาสูตรเย็นท่าเสา ได้มีการด าเนินการวิจัย ดังนี้ ชื่องานวิจัย การเปรียบเทียบอาการปวดเข่าก่อนและหลังการพอกยา ด้วยสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสาในผู้ป่วยข้อเข่า อักเสบ ในต าบลท่าเสา อ าเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ชื่อผู้วิจัย 1. นางสาวอนัญญา พื้นนวล 2. นางสกาวเดือน ระดมกิจ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านท่าเสา อ าเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี ระยะเวลาวิจัย มกราคม พ.ศ. 2561-ธันวาคม พ.ศ. 2561


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๗ หน่วยงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านท่าเสา บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยการทดลองเบื้องต้น (pre-experimentai Design) แบบกลุ่มเดียวกันผลการ ทดลองและหลังการทดลอง (One-Group pretest Posttest Desing) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบอาการ ปวดเข่าก่อนและหลังการพอกยาด้วยสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสาให้ผู้ป่วยข้อเข่าอักเสบ ซึ่งมารับการรักษาที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลบ้านท่าเสา ต าบลท่าเสา อ าเภอท่ามะกา จังหวัดกาญจนบุรี จ านวน 30 ราย ในช่วงอายุ 40-80 ปี ทั้งเพศชาย และเพศหญิง โดยได้รับการพอกยาสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสาจ านวน 5 ครั้ง ติดต่อกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1. เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ แบบบันทึกส่วนบุคคล สมุดประจ าตัว อาสาสมัคร แบบประเมิน Oxford Knee Score และแบบสอบถาม Modified WOMAC 2. เครื่องมือใช้ในการด าเนินการทดลอง ได้แก่ สายวัด Goniometer เครื่องชั่งน้ าหนัก เครื่องวัดส่วนสูง เครื่องวัดความดันโลหิต หูฟังตรวจโรค และยาพอกสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยจ านวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิง คือ Chi-square test และ Dependent t-test ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับการพอกยาสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสาที่เข่าโดยใช้แบบประเมิน Oxford Knee Score พบว่าผลการเปรียบเทียบก่อนและหลังการรักษาไม่มีความแตกต่างกัน แต่พบว่ามีแนวโน้มอาการ ปวดลดลงหลังการใช้ยาพอกเข่าสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสา และพบว่าการเปรียบเทียบอาการปวดเข่าก่อนและหลัง การรักษาด้วยการพอกยาสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสาโดยใช้ Modified WOMAC เป็นแบบทดสอบมีค่าก่อนการรักษา เท่ากับ 136.07 และหลังการรักษาเท่ากับ 71.57 เมื่อน าค่าเฉลี่ยผลการเปรียบเทียบอาการปวดเข่าก่อนและ หลังการรักษามาเปรียบเทียบกันพบว่าค่าเฉลี่ยคะแนนผลการเปรียบเทียบอาการปวดเข่าหลังการรักษามีค่าน้อย กว่าก่อนการรักษา อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p<0.05) จากการวิจัยนี้ ควรมีการส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยข้อเข่าอักเสบ อีกทั้งยังสามารถน าวิธีการพอกยาสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสามาผสมผสานกับการรักษาข้อเข่าแบบแผนปัจจุบัน เพื่อ เป็นการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมและเป็นการลดการใช้ยาแก้ปวด แก้อักเสบ ที่มีผลท าให้ระคายเคืองต่อระบบ ทางเดินอาหาร และในอนาคตควรมีการพัฒนาออกแบบนวัตกรรมเพื่อให้ยาพอกสมุนไพรสูตรเย็นท่าเสาใช้ได้ง่าย และสะดวกยิ่งขึ้น ****************************


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๘ สมุนไพรสด หญ้าหางม้าจีน สรรพคุณ ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว และต่อมลูกหมากอักเสบ ข้อมูลสรรพคุณจากhttps://orapan11.wordpress.com>2017/04/4>หญ้าหางม้าจีน -สรรพคุณ ข่อยด า สรรพคุณ รักษาอาการพิษแมลงกัดต่อย หญ้างวงช้าง สรรพคุณ ดับพิษร้อน แก้ปอดอักเสบ แก้เจ็บคอ ขับปัสสาวะ หญ้าแพรก สรรพคุณ ช่วยห้ามเลือด ควบคุมระดับน้ าตาลในเลือด บ ารุงระบบภูมิคุ้มกัน รักษาและป้องกันท้องผูก ลดปัญหาในช่องปาก ล้างสารพิษในระบบเลือด ช่วยลดความอ้วน ข้อมูลสรรพคุณจาก kaijeaw.com/หญ้าแพรก/ หญ้าไผ่น้ า สรรพคุณ รักษาโรคไต ขับปัสสาวะ ลดการอักเสบของทางเดินปัสสาวะ บ าบัดอาการต่อม ลูกหมากโต บรรเทาอาการบวม แก้พิษร้อนใน แก้พิษงูกัด ชาวบ้านทั่วไปใช้ในการ รักษาต่อมน้ าเหลืองอักเสบ ล าคออักเสบ ท้องเดิน ข้อมูลสรรพคุณจาก https://www.chonburipost.com › สุขภาพและความงาม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๒๙๙ ผลิตภัณฑ์ น้ ามันโอสถทิพย์ (สีเหลือง) (สีเขียว) (สีขาวขุ่น) น้ ามันโอสถทิพย์สรรพคุณ แก้อัมพาต มีอาการเหน็ดเสียวตามร่างกาย มือเท้าตาย แก้ปวดตามข้อตามสันหลังและบั้นเอวแก้เส้นเอ็นพิการ สมานกระดูกที่แตกหรือหัก แก้ไฟไหม้ น้ าร้อนลวด แก้ถอนพิษแมลงสัตว์กัดต่อย แก้เคล็ดขัดยอกฟกช้ า แก้คันตามผิวหนัง ใช้ใส่แผลสดก็ได้ ทาแก้ริดสีดวงทวารก็ได้ ข้อความระวัง ห้ามรับประทาน ใช้ทาเฉพาะภายนอก ยาหม่องโอสถ สรรพคุณ แก้อัมพาต มีอาการเหน็บเสียวตามร่างกาย มือเท้าตาย สมานกระดูกที่แตก หรือหัก แก้ไฟไหม้ น้ าร้อน ขัดยอกฟกช้ า แก้คันตามผิดหนัง ใช้ใส่แผลสด ข้อควรระวัง ห้ามรับประทาน ใช้ทาเฉพาะภายนอก ยามหาโยธา สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดหลัง ปวดเอว ปวดขา ปวดแขน ตาค้างแก้โรคเหน็บ ชา แก้ลมสันนิบาต ปากเบี้ยว ชาตามมือ ชาตามเท้า แก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต มือ-เท้าไม่มีก าลังและเป็นยาบ ารุงก าลัง ให้สุขภาพแข็งแรงเจริญอาหาร และแก้ ตามกระดูก กล้ามเนื้อ และปวดตามเส้นประสาท โทร. 0 2622 1530-31


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๐๐ น้ ามันปู่ฤาษีณวโกฐิ ว่าน สรรพคุณ ผสมสูตรส าคัญ ว่าน และ สมุนไพร สมานแผล ทาแก้ กระดูหักกระดูก แก้เส้น ปวดเมื่อย โทร. 09 8557 6284 ยาหอมชนะลมร้อยแปดจ าพวก สรรพคุณ แก้ลมละเอียด ลมขึ้นเบื้องสูง ลมชักสลบ หน้ามืด ตามัว วิงเวียนศีรษะ อ่อนเพลีย สมองมันงง ประสาทพิการ ใจคอหงุดหงิด และสามารถระงับ อาการเมาต่างๆ เช่น เมาคลื่น เมารถ เมาเรือ หรือพิษลมร้อนท าให้ร้อน หัวอก ใช้น้ าดอกไม้เทศเป็นน้ ากระสาย รับประทานเป็นประจ ายานี้จะ บ ารุงก าลัง บ ารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น ใช้ได้ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ สตรีมีครรภ์ก็ รับประทานได้ถ้ารับประทานอาหารจุกจิกไม่เป็นเวลาท าให้ปวดท้อง ท้องเสีย ธาตุไม่ปกติรับประทานได้ โรคกระเพาะหลังอาหารทุกเวลา น้ ามะกรูดหมักผมสมุนไพร สรรพคุณ ช่วยบ ารุงรากผม เส้นผม และลดอาการคันขอหนังศีรษะ โทร. 06 1487 3782


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๐๘ “ภูมิปัญญา รองช้ า เหยียบอิฐ” โรคเอ็นฝ่าเท้าอักเสบ (รองช้ า) เกิดจากการที่เอ็นฝ่าเท้า (Plantar fascia) อักเสบ เอ็นฝ่าเท้าเป็นเอ็นแผ่นบางๆ ที่ห่อหุ้มเท้า ส้นเท้าไปยัง ปลายนิ้วเท้า และเป็นตัวรับแรงกระแทก ขณะยืน เดิน หรือ วิ่ง เมื่อมีการใช้เอ็นฝ่าเท้าท างาน มากเกินไป หรือใช้ งานผิดปกติ เช่น การถูกกระแทก ถูกกดบีบจากการเคลื่อนไหว จึงท าให้เกิดการอักเสบ ผู้ป่วยมักมีอาการเจ็บส้น เท้า เป็นมากในตอนเช้าเมื่อลุก จากเตียง โดยอาการมักเป็นๆ หายๆ จะมีอาการปวด ฝ่าเท้าหรือส้นเท้าเมื่อเดินลง น้ าหนัก หรือเดินและ เคลื่อนไหวร่างกายมักมีอาการมากขึ้นตามลักษณะการ ใช้งานแต่เมื่อพักแล้วอาการปวดจะดี ขึ้น ส่วนในรายที่ เป็นต่อเนื่องนานหรือไม่ได้รับการรักษาที่เหมาะสม อาการจะเรื้อรังมากขึ้น และมักเอกซเรย์พบ หินปูนงอก บริเวณกระดูกส้นเท้าด้วย ความร้อนกับการคลายกล้ามเนื้อ ความร้อนจะช่วยให้การไหลเวียนโลหิตบริเวณ ที่ประคบหรือองความร้อนดีขึ้น ซึ่งสามารถช่วย ลดอาการ ปวดและบวมได้ อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นจะช่วยให้ กล้ามเนื้อและข้อต่อที่มีความตึงหรือเกร็งคลายตัวลง และยังช่วยฟื้นฟู เนื้อเยื่อที่ถูกท าลายหรือเกิดความ เสียหายให้ดีขึ้นได้อีกด้วย ป ระจวบคีรีขันธ์ PRACHUAP KHIRI KHAN นายจิรวัฒน์ คณาภิบาล รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๐๙ อิฐมอญ กับการเก็บความร้อน คุณสมบัติของอิฐมอญเป็นวัสดุที่ยอมให้ความ ร้อนถ่ายเทเข้า-ออก ได้ง่าย และยังสามารถดูดเก็บความ ร้อนไว้ในตัวเองเป็นเวลานานกว่าจะเย็นตัวลง เนื่องจาก อิฐมอญมีความจุความร้อนสูง ท าให้สามารถกักเก็บความ ร้อนไว้ในเนื้อวัสดุได้มาก่อนที่จะค่อยๆ ถ่ายเทสู่ภายนอก ประโยชน์ของการเหยียบอิฐร้อน เพื่อช่วยให้การไหลเวียนโลหิตที่ดีขึ้นของ กล้ามเนื้อที่มีอาการปวดตึง และช่วยให้กล้ามเนื้อคลาย ตัวลง อาการปวดตึงของกล้ามเนื้อบริเวณส้นเท้าจึงลดลง อุปกรณ์ 1. อิฐมอญ 2. ผ้าชุบน้ า 3. เตาไฟ วิธีการเตรียม 1. เตรียมเตา (ใช้เตาแก๊สหรือเตาถ่าน) น าอิฐ มอญมาตั้งบนเตาย่างไฟ เพื่อเก็บความร้อนประมาณ 20- 30 นาที 2. น าอิฐที่ย่างไฟได้ที่ พันด้วยผ้าชุบน้ า วิธีการรักษาแบบแพทย์แผนไทย กดนวดเบาๆ และเม้นจุดเจ็บ ประคบ ด้วย การใช้อิฐย่าง ไฟอ่อนๆ แล้ววางบนผ้าขนหนู (ชุบน้ า บิดหมาด) ห่อผ้าประมาณ 3-4 ชั้น ให้เท้าเหยียบย่ า เน้นจุดปวด นวดละอิฐร้อนวันเว้นวัน 3-5 ครั้ง “จิบชา สบายอุรา ” ชาอัญชัน ชาอัญชัน เป็นสมุนไพรชนิดหนึ่งที่ส่วนใหญ่ปลูกใน เขตร้อน มีสรรพคุณทางยาที่สามารถใช้เป็น ส่วนประกอบ ในการผลิตยาได้ มีเอกลักษณ์พิเศษเฉพาะตัวเนื่องจากมี สารที่ท าหน้าที่กระตุ้นการไหลเวียนของ โลหิตได้ให้ไป เลี้ยงส่วนต่างๆ ในร่างกายได้ดีมากยิ่งขึ้น เนื่องจากดอกอัญชันมีฤทธิ์ในการละลายลิ่มเลือด ส าหรับผู้มีเลือดจาง ห้ามรับประทานดอกอัญชันเด็ดขาด หรืออาหารเครื่องดื่มที่ย้อมสีด้วยอัญชันก็ไม่ควร รับประทานบ่อยๆ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๐ ชากุหลาบ กุหลาบ ถือได้ว่าเป็นราชินีของดอกไม้ ยังสามารถ น ามาท าชา คุณประโยชน์บ ารุงร่างกาย ต้านอนุมูล อิสระ บ ารุงผิวพรรณ จาการขับเซลล์ผิวที่ตายแล้ว ช่วยลด ความเครียด ช่วยกระตุ้นให้ระบบประสาม และสมอง แจ่มใส ชามะลิ มะลิ มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ซึ่งเป็นสรรพคุณแรก ของมะลิที่ปกป้องเซลล์ของเราจากการท าลายของ อนุมูล อิสระทั้งหลาย นั่นคือชะลอความแก่ชรา ชามะลิยัง สามารถช่วยให้ร่างกายดูดซึมคลอเลสเตอรอลและไขมัน ที่ คุณกินมากเกินไป และยังช่วยในการผ่อนคลาย ช่วย ระงับความตึงเครียด ท าให้นอนหลับสบาย อุดมไปด้วย กลิ่นหอมผ่อนคลาย ช่วยบ ารุงผิวพรรณ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๑ ชาบัวหลวง ท าชาดอกบัวหลวง มีสรรพคุณช่วยบ ารุงหัวใจ แก้ อาการใจหวิว ใจสั่น บ ารุงไต ท าให้เลือดลมเดินสะดวก ช่วยให้นอนหลับง่าย และผิวพรรณสดใส การทับหม้อเกลือหญิงหลังคลอด การดูแลมารดาหลังคลอดแบบแผนไทย การน าวิธีจากภูมิปัญญาไทยสมัยโบราณ มาประยุกต์ใช้เพื่อดูแล สุขภาพของสตรีหลังคลอด จะเริ่มท าตั้งแต่มารดาหลังคลอด 5 - 7 วัน กรณีคลอดบุตรตามปกติและ 30 - 45 วัน หลังผ่าตัดคลอดบุตร อุปกรณ์ต่าง ๆ สามารถหาได้ในชุมชนเอง ขึ้นอยู่กับการเลือ กใช้ เช่น การอบสมุนไพร การอาบสมุนไพร การประคบ การอยู่ไฟ การนั่งถ่าน การนาบอิฐ การทับหม้อเกลือ เป็นต้น อุปกรณ์ที่ใช้ ผ้าสี่เหลี่ยม 1 ผืน หม้อทะนน(เตรียมไว้ 4 ใบ) เตาถ่านขนาดให้พอดีกับหม้อเกลือเม็ด เติมในหม้อทะนน ประมาณ 3/4 ส่วน ตั้งไฟนานประมาณ 15 นาที จนเกลือปะทุสมุนไพรที่ใช้ ได้แก่ ไพลสด 1 ส่วน ว่านนางค า 1/2 ส่วน ว่านชักมดลูก 1/2 ส่วน การบูรพอประมาณ ใบพลับพลึง และใบละหุ่ง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๒ วิธีการเตรียมยา ล้างไพล ว่านนางค าและว่านชักมดลูกให้สะอาด ไม่ต้องปอกเปลือกหั่นต าพอหยาบๆ ผสมการบูรลงไป น าไปวางบนผ้าที่จะใช้ห่อหม้อเกลือ และน าใบพลับพลึง เอาด้านหน้าวางบนผ้า 2 ใบ ตั้งฉากกันวางทับสมุนไพรที่ ปรุงไว้ น าหน้าหม้อเกลือที่ร้อนได้ที่ วางทับใบพลับพลึง ห่อผ้ามัดให้แน่นพอเหมาะมือ ทุกครั้งที่เปลี่ยนหม้อใหม่ ควรเติมยาให้พอดีกับยาที่แห้งไป ถ้ายาแห้งมากให้พรมน้ า การทับหม้อเกลือ ท่าที่ 1 นอนหงาย ให้โกยท้องก่อน แล้วจึงน าเอามุมหม้อเกลือวางหมุนไปรอบๆ หมุนวน 1 รอบ วางพัก หม้อเกลือเหนือหัวเหน่า แล้วหมุนใหม่ 5-6 รอบ ข้อควรระวัง หม้อต้องไม่ร้อนเกินไป เพราะผ้าจะไหม้ บริเวณใต้อกห้ามวางแรงๆ เพราะจะท าให้จุกแน่นได้ต้องโกย ล าไส้ก่อนทุกครั้ง เพื่อไม่ให้ไส้พอง ท่าที่ 2 การเข้าตะเกียบ เอาหม้อเกลือวางด้านข้างบริเวณร่องกล้ามเนื้อขาด้านนอก กดไล่ขึ้นเหนือเข่า จนถึงต้นขา ช่วงข้อต่อสะโพกบนร่องกล้ามเนื้อหน้าแข้งจากข้อเท้าถึงเข่า จากนั้นจับผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่สามารถใช้ หม้อเกลือกดทับแนวขาด้านใน บน-ล่าง ในลักษณะ กด-ยก-กด-ยก ซึ่งสามารถช่วยแก้เหน็บชาได้ เสร็จแล้วเปลี่ยน หม้อเกลือใหม่ ท่าที่ 3 ท่านอนตะแคง หลังคลอดจะมีอาการปวดหลังมาก ให้ใช้หม้อเกลือกดทับบริเวณช่วงกระเบน เหน็บ ใช้มือพยุงสะโพกด้านบน มืออีกข้างหนึ่งจับหม้อเกลือ ใช้ด้านข้างของหม้อกดทับหมุนไปมาหลายรอบ จากนั้นกดไล่ขึ้นไปตามร่องกล้ามเนื้อชิดแนวกระดูกสันหลัง ท่าที่ 4 ท่านอนคว่ า เอาหม้อเกลือทับท้องขาใต้ก้น เลื่อนไปเรื่อยๆ จนทั่วขาทั้ง 2 ข้าง ข้อควรระวัง 1. ผู้ป่วยมีไข้เกิน 37.5 องศา 2. หลังรับประทานอาหารอิ่มใหม่ๆ 3. ปลาตัดคลอดห้ามท าหล่อถึง 45 วัน 4. มีอาการอ่อนเพลีย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๓ การตอกเส้น การนวดตอกเส้นเป็นภูมิปัญญาแบบลานนาซึ่งเป็นการรักษาแบบโบราณมีความศักดิ์สิทธิ์ถ่ายทอดความรู้ สืบทอดกันมาประมาณ 725 ปี ตั้งแต่สมัยเชียงแสน ตามต าราที่บอกกล่าวมาแต่ดั้งเดิมและสืบทอดให้แก่คนใน ครอบครัว ญาติพี่น้องเท่านั้น ส่วนผู้สืบทอดที่ไม่ใช่ญาติการคัดเลือกให้สืบทอดต้องอาศัยทักษะ ดูนิสัยใจคอของ ผู้เรียนว่ามีศีลธัมม หรือไม่ ท าให้ศาสตร์นี้เกือบจะหมดไปเพราะขาดการสืบทอดแบบจริงจัง การนวดตอกเส้นเป็น ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้าน หมอตอกเส้นเป็นหมอรักษาอาการเจ็บป่วยของคนไข้ที่ไม่หวังผลประโยชน์ทางธุรกิจ หรือเรียกร้องผลประโยชน์อื่นใดนอกจากค่าขันครูเท่านั้น ผู้ที่เรียนวิชาตอกเส้นให้ดีต้องเรียนคู่กับ ธัมม ด้วย ประโยชน์ของการตอกเส้น ปรับกล้ามเนื้อที่แข็งเกรงให้อ่อนนุ่ม และปรับสมดุลของร่างกาย ท าให้เลือดลมเดินสะดวก ลดอาการปวด เมื่อยตามกล้ามเนื้อ โรคที่ตอกเส้นรักษาได้ 1. ปวดส้นเท้า 2. ข้อเท้าแพลง 3.ตะคริวน่อง 4.ปวดเข่า 5.นิ้วล๊อค 6.ปวดข้อศอก 7.ปวดหลัง(เอว) 8.สะบักจม(ไหล่ติด) 9.คอตกหมอน 10.ปวดศีรษะ(ไมเกรน) 11.อัมพฤกษ์-อัมพาต 12.เหน็บชา 13.หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท 14.เหน็บชา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๔ 15.เก๊าท์ 16.เส้นเลือดตีบ- ขอด โรคที่ห้ามตอกเส้น 1. โรคหัวใจ 2.โรคประสาท 3.บริเวณแผลที่เป็นมะเร็ง 4. บริเวณอักเสบ บวม แดง ร้อน บวมพอง 5. โรคความดันโลหิตสูง 6.เป็นไข้ เมื่อมีอาการเหล่านี้ การตอกเส้น จะท าให้อาการก าเริบ เพราะท าให้เลือดสูบฉีดมากขึ้น การตรวจร่างกาย 1. บริเวณเส้นที่จะตอกมีอาการบวม แดง ให้ใช้นิ้วกดเบ่าๆ ถ้าเจ็บไม่ควรตอก 2. บริเวณเส้นที่จะตอกมีอาการเส้นเอ็นแข็ง นิ้วกดไม่ลง ไม่มีอาการปวด ควรตอกเส้น เพราะได้ผลดีกว่า นวดธรรมดา อุปกรณ์ในการนวดตอกเส้น 1. ขันครู (มีเครื่องไหว้ครูตามต าราโบราณ) 2. ฆ้อน และลิ่ม (ไม้ฟ้าฝ่า ไม้มะค่า ไม้มะขาม เขาสัตว์ งาช้าง) 3. น้ ามันว่านสมุนไพร 4. ลูกประคบ สมุนไพรในครัวเรือน 1. ตะไคร้ สรรพคุณ 1. รสฉุน สุมขุม แก้หวัด ปวดศีรษะ ไอ 2. แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด ขับลมในล าไส้ บ ารุงไฟธาตุ 3. ท าให้เจริญอาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร แก้ท้องเสีย 4. แก้ปวดข้อ ปวดเมื่อย ฟกช้ าจากหกล้ม ขาบวมน้ า 5. แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่ว ขับปัสสาวะ ประจ าเดือนมาผิดปกติ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคกลางและภาคตะวันออก ณ จังหวัดสระบุรี กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๓๑๕ 6. แก้ปัสสาวะเป็นเลือด แก้โรคหืด ราก 1. แก้เสียดแน่น แสบบริเวณหน้าอก ปวดกระเพาะอาหารและขับปัสสาวะ 2. บ ารุงไฟธาตุ ขับปัสสาวะ แก้นิ่ว แก้ปัสสาวะพิการ 3. รักษาเกลื้อน แก้อาการขัดเบา ใบสด 1.มีสรรพคุณช่วยลดความดันโลหิตสูง แก้ไข้ ต้น 1. มีสรรพคุณเป็นยาขับลม แก้ผมแตกปลาย เป็นยาช่วยให้ลมเบ่งขณะคลอดลูก ใช้ดับกลิ่นคาว แก้เบื่อ อาหาร บ ารุงไฟธาตุให้เจริญ แก้โรคทางเดินปัสสาวะ นิ่วปัสสาวะพิการ แก้หนองใน 2. มะกรูดสรรพคุณ ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ ใบ - มีน้ ามันหอมระเหย ผล, น้ าคั้นจากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ท าให้ผมสะอาด ผิวจากผล - ปรุงเป็นยาขับลมในล าไส้ แก้แน่น - เป็นยาบ ารุงหัวใจ 3.หอมหัวแดงสรรพคุณ - ช่วยท าให้ร่างกายอบอุ่น - หอมแดงช่วยท าให้เจริญอาหาร (ผล,ใบ) - ร่างกายซูบผอม แก้ด้วยการใช้เมล็ดแห้ง 5-10 กรัมน ามาต้มน้ าดื่ม - มีส่วนช่วยเสริมสร้างความจ า ท าให้ความจ าดีขึ้น - ช่วยบ ารุงโลหิต - ช่วยบ ารุงหัวใจ - ช่วยเจริญธาตุไฟ - ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ - ช่วยเพิ่มการไหลเวียนของโลหิตให้ดีขึ้น


Click to View FlipBook Version