The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kunnua Kandalf, 2023-02-13 03:30:37

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

รายงานผลการดำเนินงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน ปีที่ 12 ระดับภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๗ “หม้อห้อมไม้สัก ถิ่นรักพระลอ ช่อแฮศรีเมือง ลือเลื่องแพะเมืองผี คนแพร่นี ใจงำม” ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่ Phrae Provincial Health Office แ พร่ PHRAE พท.ป.ปัทมา สิงบริคัณ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๘ “หมอพื้นบ้าน ปราชญ์ผู้รู้” พ่อหมอสุพัฒน์ สายยืด วัน-เดือน-ปีเกิด 10 เมษายน พ.ศ. ๒502 อายุ 61 ปี สถานที่ติดต่อ 15/1 หมู่ 6 ต.บ้านเหล่า อ.สูงเม่น จ.แพร่ 54130 ความช านาญ หมอกระดูก การอบรมความรู้ ศึกษาวิชาแพทย์แผนไทย จากบิดา โดยท าการรักษามาตั้งแต่ พ.ศ.2530 เป็นระยะเวลา 32 ปี “หมอกระดูก” หลักการจัดกระดูก การจัดกระดูกนั้น จะท าการรักษาคนไข้ในกรณีที่มีอาการกระดูกหัก กระดูกแตก ภายใน เพื่อให้กระดูกเชื่อมติดกัน โดยหลักการนั้นจะมีการประเมินร่างกายคนไข้ที่มารับการรักษา โดยการตรวจ คล าบริเวณที่มีอาการ แล้วลงคาถา (เป่าลงบริเวณที่มีอาการ) หลังจากนั้นใช้ผ้าพันเพื่อ ลดการเคลื่อนตัวของกระดูก หลังจากนั้นเข้าเฝือกไม้ไผ่ รัดบริเวณที่มีดรัดูกหัก/แตก โดยใช้ระยะเวลา 2 วัน แล้วแกะเฝือกเพื่อประเมินอาการคนไข้ หากอาการยังไม่ดีขึ้นให้ใส่เฝือกไม้ไผ่ต่อ โดยระยะเวลา การรักษานั้นจะไม่เกิน 10 วัน กระดูกก็จะเชื่อมติดกันจนเป็นปกติ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๘๙ พิธีกรรมและข้อปฏิบัติ ขันครู: ในกรณีที่คนไข้มารับการรักษาต้องมีขันธ์ครูมาพร้อมในวันที่จะเข้ารับการ รักษา โดยขันครูประกอบไปด้วย - ธูป 8 คู่ - พลู 1 มัด - หมาก 1 หัว - ข้าวสาร - ผ้าขาว/ผ้าแดง - เงิน 12 บาท ดอกไม้ 1 คู่ การแหก : เป็นจะเป็นพิธีกรรมในการรักษาอย่างหนึ่ง ในกรณีที่ผู้เข้ารับการรักษาถูก คุณไสย หรือสิ่งชั่วร้ายเข้าตัว โดยจะใช้ฝักส้มป่อยลอยในน้ ามนต์หลังจากนั้นใช้งาช้างในการแหก (ขูด บริเวณตามร่างกายหรือบริเวณที่มีอาการ) ซึ่งจะเป็นการขูดออกเป็นทางเดียวกันไปเรื่อย ๆ สมุนไพรหมอสี ยาแก้สรรพพิษหมอสี(ซองสีขาว) ตัวยาประกอบด้วย หญ้าปากควาย สรรพคุณ ช่วยดับพิษร้อนในร่างกาย ยาช่วย ดับพิษกาฬ แก้ไข้ตรีโทษ และไข้หัวทุกชนิด ช่วยในการย่อย อาหาร ยาขับปัสสาวะ ยาแก้พิษฝี แป้งข้าวเจ้า คุณสมบัติมีลักษณะเป็นผง มีสีขาวจับแล้วสาก มือเล็กน้อยร่วนไม่เหนียวจึงเหมาะที่จะประกอบอาหารที่ ต้องการความอยู่ตัวร่วนไม่เหนียวหนืด ชิงซี่สรรพคุณ ไข้พิษ ฝีกาฬ ไข้สันนิบาต รากและใบ แก้หืด แก้เจ็บในทรวงอก เป็นยาระงับความร้อน ต าพอกแก้ฟกช้ า หัวคูน สรรพคุณ สุมเป็นถ่ายแก้พิษไข้พิษร้อน พิษตานซาง ล า ต้นใต้ดินสด รักษาแผลกัดฝ้า กัดหนอง แก้โรคเถาดานในท้อง เปลือกมะกอกป่า สรรพคุณ แก้อาการท้องเสีย แก้อาเจียน แก้อาการสะอึกโรคเกี่ยวกับล าไส้ ย่านาง สรรพคุณ ในต าราสมุนไพรจัดว่าเป็นยาอายุวัฒนะ ช่วยลดและช่วยเสริมสร้างภูมิ ต้านทานโรคในร่างกายช่วยในการปรับสมดุลของร่างกาย ใบน้ าเต้า สรรพคุณ ลดระดับน้ าตาลในเลือด ช่วยแก้ร้อนในกระหายน้ า แก้ไข ดับพิษ ช่วยรักษา โรคเริ่มแก้โรคดีซ่าน แก้งูสวัด ไฟลามทุ่ง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๐ โดยปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบยาให้รับประทานง่ายขึ้น ในรูปแบบยาเม็ดซองขาวหมอสี 150 กรัม มีตัวยาส าคัญประกอบด้วย หญ้าปากควาย 20 กรัม ใบน้ าเต้า 15 กรัม เปลือกมะกอกป่า 20 กรัม ย่านาง 25 กรัม แป้งข้าวเจ้า 30 กรัม หัวคูน 20 กรัม ซิงซี่ 20 กรัม สรรพคุณ แก้ไข้ ร้อนใน วิธีใช้ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 7 เม็ด เด็กรับประทานครั้งละ 3 เม็ด เคี้ยวให้ละเอียดรับประทานกับ น้ าสะอาด หรือแช่กับน้ าต้มสุกเอาน้ าดื่ม สมุนไพรหมอสี ยาแก้สรรพพิษหมอสี(ซองสีแดง) ว่านน้ า สรรพคุณ เหง้า เป็นยาชับลมแก้ธาตุพิการ เป็นยาขมช่วยเจริญอาหาร ช่วยได้ในอาการ ท้องเสีย อาหารไม่ย่อย และอ่อนเพลียหลอดลมอักเสบ แก้เจ็บคอ แก้ปวดฟัน ขมิ้นชัน สรรพคุณ ช่วยเจริญอาหารเป็นยาบ ารุงธาตุ แก้ท้องอึดเฟ้อ อาการแน่นหรือจุกเสียด ท้อง บรรเทาเวลาปวดประจ าเดือน หรือเป็นยารักษาเมื่อประจ าเดือนมาไม่ปกติ ไพล สรรพคุณ เหง้า ขับโลหิตร้ายทั้งหลายให้ตกเสีย ขับระดูสตรี ขับลมในล าไส้ แก้จุกเสียด รักษาโรคเหน็บชา บิดเป็นมูกเลือด สมานล าไส้ แก้ล าไส้อักเสบ แก้มุตกิดระดูขาว ขับลม ขิงแห้ง สรรพคุณ รสหวาน ร้อน เผ็ดแก้พรรดึก แก้ไข้จับ แก้นอนไม่หลับ แก้ลมพานไส้แก้ลม แน่นในทรวง แก้ลมเสียดแทง ลมวิงเวียนลมคลื่นเหียน แก้เสมหะ เจริญไฟธาตุแก้ไอลึกในทรวง อก แป้งข้าวเจ้า คุณสมบัติ มีลักษณะเป็นผงมีสีขาวจับแล้วสากมือเล็กน้อย ร่วนไม่เหนียวจึงเหมาะที่ จะประกอบอาหาร ที่ต้องการความอยู่ตัวร่วนไม่เหนียวหนืด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๑ สรรพคุณ บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟือและขับลม วิธีใช้ ผู้ใหญ่รับประทานครั้งละ 7 เม็ด เคี้ยวให้ละเอียดรับประทานกับน้ าสะอาด หรือแซ่กับน้ าต้มสุก เอาน้ าดื่ม ในยาเม็ดซองแดงหมอสี 150 กรัม โดยปัจจุบันได้มีการพัฒนารูปแบบยาให้รับประทานง่ายขึ้น ในรูปแบบยาเม็ดซองแดงหมอสี 150 กรัม มีตัวยาส าคัญประกอบด้วย ว่านน้ า 20 กรัม ไพล 20 กรัม แป้งข้าวเจ้า 20 กรัม ขมิ้นชัน 40 กรัม ขิง 20 กรัม สรรพพิษ เท่ากับ สารพัดพิษ กระบวนการผลิตยาแก้หมอลี น าตัวยาทั้งหมดล้างน้ าให้สะอาด ตากแดดหรือเอาเข้าห้องอบยาที่อุณหภูมิ 50-55℃ 4-6 ชั่ง โมง น าตัวยาแต่ละชนิดไปบดเป็นผงให้ละเอียด ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 80 ชั่งตัวยาแต่ละชนิดในปริมาณที่ก าหนด คลุกเคล้าผงยาให้เข้ากันแล้วน ามาผสมกับแป้งเปียกคลุกเคล้ากันนวดให้เหนียวตอกเปียกเป็นเม็ด น าผงยาที่ตอกเปียกเป็นเม็ดแล้วตากแดดให้แห้งสนิท น าเม็ดยาที่แห้งแล้วไปอบที่ตู้อบในอุณหภูมิที่เหมาะสมให้แห้งสนิทอีกครั้ง บรรจุผลิตภัณฑ์หีบห่อ กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดแพร่


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๒ ด้านนวัตกรรม การศึกษาประสิทธิ ของนวัตกรรม "ไม้มือหมอ" ร่วมกับการนวดไทยในผู้ป่วย มีอาการปวดคอ บ่า ไหล และสะบัก โรคสะบักจม ลมปลายปัตคาต ส.4 หลัง ลมปลายปัตคาต ส. 5 หลังไหล่ติด และคอตกหมอน (นปภัสร์ พินทยพิสุทธิ์, สุภาภรณ์ผลดี) สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ60 พรรษา นวมินทราชินี ต าบลแม่จั๊วะ อ าเภอเด่นชัย จังหวัดแพร่ บทน า สืบเนื่องจากปัจจุบันการรักษาโรคด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกก าลังเป็นที่นิยม ของ ประชาชน เช่น การนวด การประคบ การอบสมุนไพร ฯลฯ ควบคู่กับการรักษาตัวยการแพทย์แผนปัจจุบัน ท าให้ ลดค่าใช้จ่ายในการใช้ยาแก้ปวด ส าหรับผู้ป่วยที่มีอาการปวดกล้ามเนื้ออักเสบ จากข้อมูลการรักษาด้านการแพทย์ แผนไทยของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ต าบลแม่จั๊วะปี 2559 - 2560 พบว่า ปี2559 มีผู้มารับบริการ แพทย์แผนไทยทั้งหมด 266 คน/986 ครั้ง แบ่งเป็น การนวดไทย 233 คน/913 ครั้ง การอบสมุนไพร 81 คน/ 207 ครั้ง การประคบสมุนไพร 240 คน/928 ครั้ง จ่ายยาสมุนไพร 545 คน 1,162 ครั้ง และปี 2560 มีผู้มา รับบริการแพทย์แผนไทยทั้งหมด 532 คน/1599 ครั้ง แบ่งเป็น การนวดไทย 380 คน/1,251ครั้ง การอบ สมุนไพร 74 คน/11 ครั้ง การประคบสมุนไพร 388 คน/1,272 ครั้งจ่ายยาสมุนไพร 795 คน/1,681 ครั้ง จากข้อมูลดังกล่าว ผู้มารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยปี 2560 มีผู้รับบริการเพิ่มขึ้นจากปี 2559 คิดเป็นร้อย ละ 50 และผู้รับบริการส่วนใหญ่ มารับบริการด้านการนวดถึง 1,251 ครั้ง ส่งผลให้ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยในสถานี อนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ซึ่งมีเพียง 1 คน สามารถให้บริการผู้ป่วยด้วยการนวดได้สูงสุดเฉลี่ยวันละ 5 ครั้ง เกิด อาการบาดเจ็บ ล้าและปวดนิ้วมือ และต้องใช้เวลาในการนวด เฉลี่ย 60 นาที/ครั้ง ดังนั้น แพทย์แผนไทยจึง ร่วมกับผู้ช่วยแพทย์แผนไทย คิดนวัตกรรมเพื่อช่วยลดการบาดเจ็บของผู้ให้บริการนวด โดยน าท่อนไม้ที่มีขนาดเส้น ผ่านศูนย์กลาง 25 ชม. ยาว 30 ชม. มาช่วยนวดกดจุดผู้ป่วยเพื่อลดอาการดึงของกล้ามเนื้อบริเวณบ่า ไหล่ ของ ผู้ป่วยได้ใกล้เคียงกับการใช้มีอกดมากที่สุดจึงเกิดเป็นนวัตกรรม "ไม้มือหมอ" ขึ้น เพื่อคลายกล้ามเนื้อที่แข็งตึงแทน การนวดโดยใช้นิ้วมือกดโดยตรง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๓ วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อศึกษาประสิทธิผลของนวัตกรรม "ไม้มือหมอ" ร่วมกับการนวดไทยในผู้ป่วยที่มีอาการปวดคอ บ่า ไหล่ และ สะบัก (โรคสะบักจม, ลมปลายปัตคาต ส. 4 หลัง, ลมปลายปัตคาต ส. 5 หลัง, ไหล่ติด และคอตกหมอน) วิธีการศึกษา การประดิษฐ์ "ไม้มือหมอ" ทั้งหมด 3 รูปแบบ ได้แก่ รูปแบบที่ 1 ลักษณะเป็นด้ามไม้อย่างเดียวท าให้เกิดการบาดเจ็บของผู้ให้บริการเนื่องจากการออกแรงจับ และกดบนไม้ที่แข็ง รูปแบบที่ 2 ลักษณะใส่ปลอกแฮนด์หุ้มบนไม้ท าให้มีข้อจ ากัดในการนวดน้ ามัน/ไสน้ ามันนวดบริเวณบ่า เนื่องจากผู้จะดูดซับไว้ และเมื่อน ากลับมาใช้จะมีกลิ่นเหม็นหืน รูปแบบที่ 3 ลักษณะใส่ปลอกแฮนด์หุ้มเฉพาะบริเวณที่จับท าให้ไม่มีข้อจ ากัด และสามารถน ามาใช้ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้ให้บริการว่าจะเลือกใช้รูปแบบ 2 หรือ 3 ตามวิธีการรักษา ของแต่ละคน ผลการศึกษา ผลลัพธ์จากการใช้นวัตกรรม "ไม้มือหมอ" ผู้ให้บริการ อาการ ไม่มีอาการปวด ปวดระดับ 1 ปวดระดับ 2 ก่อนใช้นวัตกรรม / หลังใช้นวัตกรรม / ผู้รับบริการ ผลการรักษาการใช้นวัตกรรม "ไม้มือหมอ" ร่วมกับการนวดไทยในผู้ป่วยที่มีอาการปวดคอ บ่า ไหล่ และสะบัก พบว่าระยะเวลาในการนวดเฉลี่ย 30 นาที/ครั้ง อาการหลังการรักษา จ านวน (คน) ร้อยละ ดีมาก 36 72 ดี 8 16 ปานกลาง 6 12


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๔ ผลการประมินความพึงพอใจการใช้นวัตกรรม "ไม้มือหมอ" จากผู้รับบริการการใช้นวัตกรรม "ไม้มือหมอ" จ านวน 50 คน พบว่ามีความพึงพอใจระดับมากที่สุดจ านวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 76 พึงพอใจระดับมาก จ านวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และพึงพอใจระดับปานกลาง จ านวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 4 สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาพบว่า การใช้นวัตกรรม "มือไม้หมอ" สามารถช่วยลดการบาดเจ็บจากการนวดของผู้ ให้บริการนวดได้ และยังสามารถลดระยะเวลาในการนวดรักษา อาการปวดบ่าไหล่สะบักได้ อีกทั้งประสิทธิผลของ การรักษาอาการปวดคอ บ่าไหล่ สะบัก ได้ดี ท าให้สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ต าบลแม่จั๊วะ สามารถให้บริการ ผู้ป่วยได้เพิ่มขึ้น และยังเผยแพรให้ผู้รับบริการและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลในขตอ าเภอเด่นชัย น า นวัตกรรม "มือไม้หมอ" ไปใช้ส่งผลให้ต าบลแม่จั๊วะ สามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ OTOP ของชุมชนไต้เนื่องจาก เป็นผลิตภัณฑ์ที่ท ามาจากไม้ที่ผลิตในชุมชนสามารถสร้างรายได้ภายในครัวเรือนเพิ่มขึ้น ประโยชน์ของผลการศึกษา 1. ทราบรูปแบบการใช้นวัตกรรม "ไม้มือหมอ" ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2. การใช้นวัตกรรม "ไม้มือหมอ" สามารถรักษาอาการปวดทางกล้ามเนื้อคอ บ่า ไหล่และสะบัก (โรค สะบักจม, ลมปลายปัตคาด ส. 4 หลัง ลมปลายปัดคาด ส. 5 หลัง,ไหล่ติด และคอตกหมอน) ได้ 3 ผู้ให้บริการสามารถให้บริการผู้ป่วยได้เพิ่มขึ้น เนื่องจากการบาดเจ็บของขั้วมือผู้ให้บริการลดลง และ ระยะเวลาในการนวดลดลง ปัจจัยแห่งความส าเร็จ การน าสิ่งประดิษฐ์ใหม่ที่หาได้คในท้องถิ่น เกิดความหลากหลายต่อรูปแบบการท างานท าให้หัวหน้างานเพื่อน ร่วมงาน และผู้รับบริการประทับใจ ส่งผลให้เกิดการพัฒนางานสู่งานวิจัยต่อไป


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๕ ลมผิดเดือน เป็นอาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นกับสตรีหลังคลอดที่ไม่เห็นความส าคัญของการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง โดยไม่ปฏิบัติตามข้อห้ามและข้อปฏิบัติ ซึ่งทางวัฒนธรรมทางภาคเหนือเรียกว่า “อยู่กรรม” (อยู่เดือนหรืออยู่ไฟ) โดยความผิดปกติที่มักเกิดขึ้นกับกลุ่มสตรีหลังคลอดที่ถือว่าภาวะเลือดลม (ธาตุลม) ในร่างกายเสียสมดุลจะท าให้เกิด อาการปวดศีรษะอย่างแรง วิงเวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียนเป็นลมแน่นในท้อง ปวดตามร่างกาย ในข้อในกระดูก หนาวสั่น ร่างกายอ่อนเพลีย ซูบผอม เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต ในรายที่มีอาการรุนแรงอาจถึงขั้นเสียสติเป็นบ้าได้ ซึ่งกลุ่มอาการต่างๆ เหล่านี้ ตามทัศนะคติความเชื่อของชาวล้านนา อาการเจ็บป่วยที่มักเกิดขึ้นกับหญิงหลังคลอดบุตรใหม่ที่ไม่ปฏิบัติตามข้อ ห้ามต่างๆ เช่น ในช่วงหลังคลอดรับประทานอาหารที่เย็นหรือดื่มน้ าเย็น รวมทั้งการสูดดมกลิ่นไอแสลงต่างๆ จึงท าให้เกิด อาการเจ็บป่วยดังกล่าว เรียกว่า “ลมผิดเดือน” แ ม่ฮ่องสอน MAE HONG SON นางสาวศิริขวัญ ชาวจีน รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๖ ๓. การแก้อาการมือเย็นเท้าเย็น ต้มน้ าอุ่นผสมสมุนไพร แช่มือแช่เท้า ประมาณ ๓-๔ วัน เช้า-เย็น ลดอาการเย็นมือเท้า มะกรูด ไพล ๕. การบ ารุงโลหิต รับประทานแบบยาต้มสมุนไพร ส่วนประกอบ หอมแดง ½ กก. เติมความหวานเล็กน้อย ด้วยน้ าตาลทรายแดง ๖. การใช้ยาอาบและการอบไอน าสมุนไพร เพื่อช าระของเสีย และกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ต ารับยาอาบต ารับ ๑ ใบมะเม่า สาบเสือ ใบส้มป่อย ต้มอาบ ๓ วัน ต ารับยาอาบต ารับ ๒ ใบหนาด คนนทีสอ การบูร เปลือกต้นขี้เหล็ก เปลือกต้นคูน ใบเปล้าหลวง ๑. การนวดพื้นฐานเพื่อคลายกล้ามเนื้อ ช่วยให้กล้ามเนื้อคลายตัว กระตุ้นการไหลเวียนของเลือดและลม ๒. การบ ารุงธาตุบ ารุงก าลัง ลมผิดเดือนมักพบอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ ท าให้ร่างกายซูบผอม การไหลเวียนโลหิตไม่ค่อยดี จะท าให้มีอาการสะบัดร้อนสะบัดหนาวไปทั่วร่างกาย ทางภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านจะใช้รากเจตมูลเพลิงแดงต้มให้ดื่ม ดูอาการ ๑ ชั่วโมง จนมีเหงื่อออก เจตมูลเพลิงแดง Plumbago indica L ส่วนที่ใช้: ราก สรรพคุณ : เป็นยาขมเจริญอาหาร แก้ธาตุพิการ เป็นยาบ ารุง เป็นยาขับ ประจ าเดือน เป็นยาฆ่าเชื้อโรค การดูแลรักษาอาการลมผิดเดือนด้วยการแพทย์แผนไทยผสมผสาน ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ๔. การช าระของเสียบ ารุงไต ในร่างกายมักจะมีของเสียพิษตกค้างท าให้เกิดการแพ้ได้ง่าย หรือแสลงกับสิ่งต่างๆ ที่มากระตุ้นโดยการขับของเสีย บ ารุงไตจะใช้อ้อยแดงต้มดื่ม และต้มน้ าฝักคูนดื่มก่อนนอน อาทิตย์ละครั้งเพื่อขับถ่าย ของเสียที่ตกค้างในล าไส้ ผสมเกลือ ๓ ก ำมือ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๗ การดูแลหญิงหลังคลอด (โรงพยาบาลแม่ลาน้อย อ.แม่ลาน้อย จ.แม่ฮ่องสอน) ไพล นั้น ช่วยให้แผลฝีเย็บฟื้นสภาพได้ดีและใช้ระยะเวลาไม่นาน ผู้ป่วยมารับบริการด้วยการนาบไพล ในอาการแผลอักเสบ ฝีเย็บไม่ติด แผลแยก เมื่อมารับบริการโดยเฉลี่ยไม่เกิน ๑ ครั้ง อาการปวดบริเวณแผล เวลาเดิน ลุกนั่งล าบาก และหน่วงบริเวณแผลฝีเย็บ มีอาการดีขึ้นและกลับสู่สภาวะปกติได้เร็ว และสามารถท าเอง ที่บ้านได้ วิธีการไม่ซับซ้อน การนาบไพล (กรณีหญิงหลังคลอดปกติและแผลฝีเย็บยังไม่แห้ง) นาบไพลในหญิงหลังคลอด ๑ สัปดาห์หลังคลอดเป็นต้นไปที่มีอาการปวดบวมแดงบริเวณแผลฝีเย็บเพื่อลด การอักเสบของแผลฝีเย็บ กระตุ้นให้การหดรัดตัวของมดลูกช่วยให้น้ าคาวปลาไหลดีขึ้น อุปกรณ์และสมุนไพร 1. เหง้าไพล 2. เกลือ (ผ่านการสตุ) 3. ผ้า 4. หม้อนึ่ง 5. เก้าอี้ส าหรับนั่งนาบไพล ๗. การรับประทานยาปรับธาตุ ต ารับเบญจกูล ยาแก้ลมผิดเดือน ยาขับลม และยาแก้กินผิด เพื่อปรับสมดุลในร่างกาย ติดตามอาการทุก ๕ วัน – ๑ สัปดาห์ ผู้ป่วยต้องปฏิบัติตามค าแนะน าของแพทย์แผนไทยเพื่อป้องกันอาการก าเริบ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๘ วิธีท า 1. น าเหง้าไพลมาล้างและต าให้ละเอียด ผสมเกลือแล้วน าไปห่อผ้า 2. น าไปนึ่งให้ร้อนแล้ววางบนเก้าอี้สะอาด 3. ให้หญิงหลังคลอดนั่นบนห่อผ้า โดยให้ฝีเย็บตรงกับห่อไพล จนกว่าจะเย็น หมายเหตุ: การนาบไพลควรเน้นเรื่องความสะอาด เพราะมีวัตถุประสงค์เพื่อลดการอักเสบหรือป้องกันการอักเสบ ของแผลฝีเย็บ ดังนั้นจึงควรค านึงถึงวัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ต้องสะอาด แหล่งอ้างอิง: ต าราการผดุงครรภ์ไทย การดูแลมารดาและทารก STAM สมุนไพร อบตัว สรรพคุณ เป็นเครื่องยาหลายชนิดรวมกัน น ามาเทใส่ภาชนะ ต้มให้เดือด ใช้อบตัว ช่วยขับโรคร้ายต่างๆ ในร่างกาย ท าให้เลือดลมปลอดโปร่ง ขับเหงื่อ ท าให้หายปวดเมื่อยร่างกาย บรรเทาอาการเหน็บชา ผดผื่นคัด ท า ให้ผิวพรรณผ่องใส ช่วยละลายไขมันส่วนเกินในร่างกาย บรรเทาอาการลมผิดเดือน เช่น เวียนศีรษะ สาบผิด ปวด ศีรษะข้างเดียว วิธีใช้ ตักตัวยาทั้งซอง ใส่ในภาชนะที่ต้องการ ใส่น้ าลงไปพอควรแล้วน าไปตั้งบนเตาในกระโจม หรือที่ซึ่ง จัดไว้ส าหรับอบสมุนไพร เมื่อน้ ายาเดือดดีแล้ว จึงอบครั้งละประมาณ ๑๐ – ๑๕ นาที พักแล้วอบใหม่ ส่วนประกอบส าคัญ ไพล การบูร เกสรทั้ง ๕ (ดอกมะลิ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง) ผิวมะกรูด และตัวยาอื่นๆ สมุนไพร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๙๙ มะลิลา Jasminum sambac (L.) Aiton. สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ ดับพิษร้อน บ ารุงครรภ์ แก้ไข้ ดอก รสหอมเย็นขม ดับพิษร้อน บ ารุงหัวใจ บ ารุงครรภ์ แก้ไข แก้ร้อนในกระหายน้ า แก้เจ็บตา ดอกแห้ง ปรุงเป็นยาหอมจัดอยู่ในเกสรทั้ง ๕ ท าให้จิตใจชุ่มชื่น แก้ไข้ พิกุล Mimusops elengi L. สรรพคุณ แก้ลม บ ารุงโลหิต ดอก เข้ายา บ ารุงหัวใจ แก้เจ็บคอ แก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ จัดอยู่ในเกสรทั้งห้า บุนนาค GUTTIFERAE สรรพคุณ บ ารุงหัวใจ แก้ร้อนใน แก้ลมวิงเวียน หน้ามืดตาลาย บ ารุงโลหิต ดอก รสหอมเย็นขมเล็กน้อย แก้ลมกองละเอียด วงเวียน หน้ามืดตาลายใจสั่น กระสับกระส่าย แก้กลิ่นสาบในร่างกาย เกสร รสหอมเย็น เข้ายาหอม มีฤทธิ์ฝาดสมาน บ ารุงธาตุ ขับลม บ ารุงครรภ์รักษา ท าให้หัวใจชุ่มชื่น แก้ไข้ สารภี Mammea siamensis Kosterm. สรรพคุณ แก้โลหิตพิการ แก้ไข้มีพิษร้อน เจริญอาหาร บ ารุงหัวใจ ดอก รสขมเย็น บ ารุงหัวใจ บ ารุงก าลัง แก้โลหิตพิการ แก้ไข้ มีพิษร้อน ท าให้เจริญอาหาร บ ารุงหัวใจ ชูก าลัง มี ฤทธิ์ขับลม และฝาดสมาน รักษาธาตุไม่ปกติ ยาไทยใช้ดอกสารภีผสมยาหอม แก้ลม เจริญอาหาร บ ารุงหัวใจ แก้ โลหิตพิการ แก้ไข้ มีพิษร้อน เกสร รสหอมเย็น จัดอยู่ในเกสรทั้งห้า บ ารุงครรภ์รักษา ท าให้ชื่นใจ แก้ไข้ บัวหลวง Nelumbo nucifera Gaerth. สรรพคุณ แก้ไข้มีพิษร้อน ชูก าลัง บ ารุงครรภ์ ดอก รสฝาดหอม แก้ไข้ แก้เสมหะและโลหิต ท าให้คลอดบุตรง่าย บ ารุงครรภ์ บ ารุงหัวใจ ไพล Zingiber montanum (Koening) Link ex Dietr. สรรพคุณ ขับระดู ขับลม ขับเลือดร้าย แก้ปวดเมื่อย เหง้า เป็นยาขับลม ขับประจ าเดือนสตรี มีฤทธิ์ระบายอ่อนๆ แก้บิด สมานล าไส้ เหง้าสด ฝนทาแก้เคล็ดขัดยอก ฟกบวม เส้นตึง เมื่อยขบ เหน็บชา และสมานแผล การบูร Cinnamomum camphora (L.) J.Presl. สรรพคุณ บ ารุงธาตุ ขับเสมหะลม แก้ธาตุพิการ แน่นจุกเสียด ปวดท้อง ขับลม ขับเหงื่อ ต้น ใช้เนื้อไม้น ามากลั่น จะได้ camphor หรือการบูรธรรมชาติ ใช้ผสมเป็นยา เพื่อป้องกันแมลงบางชนิด เป็นยาระงับประสาท แก้อาการชักบางประเภท ฆ่า เชื้อโรคบางชนิด ขับเหงื่อ แก้ไข้หวัดและขับลม ใช้ทาถูนวด แก้ปวดและเป็น ยาฆ่าเชื้อโรคอย่างอ่อน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๐ มะกรูด Citrus hystrix DC. สรรพคุณ แก้ลมจุกเสียด แก้ไอ กัดเสมหะในคอ แก้ระดูเสีย ผิวของผล รสปร่าหอมร้อน ขับลมในล าไส้ ขับประจ าเดือน ขับผายลม คูน Cassia fistula L. สรรพคุณ ถ่ายเสมหะและพรรดึก แก้ท้องผูก ระบายพิษไข้ เนื้อในฝัก รสหวานเอียน ถ่ายเสมหะ แก้พรรดึก ระบายพิษไข้ เป็นยาระบายที่ ไม่ปวดมวน ใช้ในเด็กหรือสตรีมีครรภ์ ท้องผูกเรื้อรัง แก้ไขมาลาเรีย บิดแก้ ตานขโมย พอกแก้ปวดข้อ เจตมูลเพลิงแดง PLUMBAGO indica L. สรรพคุณ บ ารุงธาตุ บ ารุงโลหิต ขับลมในกระเพาะอาหารและล าไส้ ขับโลหิตระดู ราก รสร้อน บ ารุงธาตุ ขับลมในกระเพาะอาหารและล าไส้ บ ารุงโลหิต ขับ ประจ าเดือนสตรี แก้ริดสีดวงทวาร เกลื่อนฝี ให้ความอบอุ่นร่างกาย กระจาย เลือดลม แก้ปวดท้อง ท้องเสีย มีฤทธิ์บีบมดลูกท าให้แท้งได้ ทาแก้โรคผิวหนัง กลากเกลื้อน ขี้เหล็ก Senna siamea (Lam.) lrwin & Barneby. สรรพคุณ ถ่ายพิษ ถ่ายเส้น แก้กษัย ขับโลหิต แก้ไข้ แก้เตโชธาตุพิการ ดอก ใช้เป็นยานอนหลับ ลดความดันโลหิต ดอกตูมและใบอ่อน เป็นยาระบาย ใบ เป็นยาแก้ระดูขาว แก้นิ่ว ขับปัสสาวะ แก่น ใช้แก้ไข้ ท าให้นอนหลับ รักษากามโรค


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๑ อ้อย Saccharum officinarum L. สรรพคุณ แก้ร้อนใน ขับปัสสาวะ แก้หืดไอ ล าต้นและน้ าอ้อย รสหวานชุ่มขม แก้ร้อนใน ขับปัสส าวะ ขับเสมหะ แก้ไข้สัมประชวร แก้หืดไอ แก้คลื่นไส้อาเจียน แก้ปัสสาวะผิดปกติ ขับนิ่ว แก้ ช้ ารั่ว แก้ท้องผูก แก้ขัดเบา แก้สะอึก บ ารุงธาตุ บ ารุงกระเพาอาหาร เปลือกต้น รสหวานขม แก้แผลเน่าเปื่อย แก้ตานขโมย ตาอ้อย รสหวานขม แก้ตัวร้อน แก้พิษตานซาง ชานอ้อย รสหวานจืด แก้แผลเรื้อรัง แก้ฝีอักเสบบวม คนทีสอ Vitex trifolia L. สรรพคุณ แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้ไข้ แก้มองคร่อหืดไอ รากและใบ แก้ไข้ ขับเหงื่อ ราก รสร้อนสุขุม รักษาโรคตับ แก้ไข้ ถ่ายน้ าเหลือง ขับเหงื่อ ขับปัสสาวะ ผล รสร้อนสุขุม แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้ไข้ ฆ่าพยาธิ แก้หืดไอ แก้ริดสีดวงทวาร แก้ ท้องมาน ใบ รสรร้อนสุขุม เป็นยาขับเสมหะ บ ารุงธาตุหรือแช่น้ าอาบ แก้โรคผิวหนัง ผื่น คัน ใช้ขับลม แก้ไอ แก้หืด บ ารุงน้ าดี แก้ริดสีดวงจมูก ฆ่าพยาธิ แก้เสมหะจุกคอ แก้ล าไส้พิการ แก้ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ ขับเหงื่อ หนาดใหญ่ Blumea balsamifera (L.) DC. สรรพคุณ แก้อาการเกร็งของกล้ามเนื้อ ห้ามเลือด เจริญอาหาร ใบ เป็นยาขับลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ แก้ปวดท้อง ขับเหงื่อ ขับเสมหะ หรือ บดผสมกับต้นข่อย แก่นก้ามปู พิเสน และการบูร มวนด้วยใบตองแห้งสูบ รักษาโรคหืด ใบสดหั่นเป็นฝอยเหมือนยาเส้นตากแห้ง พอ หมาดๆ มวนกับยาฉุนสูบแก้ริดสีดวงจมูก ราก ต้มน้ าดื่ม แก้หวัด และดับกระหาย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๒ ส้มป่อย Acacia concinna (Willd.) DC. สรรพคุณ ฟอกโลหิตระดู ถ่ายระดูขาว ใบ รสเปรี้ยวฝาดเล็กน้อย ต้มน้ าดื่มขับเสมหะ ขับระดูขาว แก้บิด แก้โรคตา ต าประคบให้เส้นเอ็นอ่อน ฝัก รสเปรี้ยว ต้มหรือบดรับประทานเป็นยาถ่าย ขับเสมหะ แก้ไอ แก้ไข้จับสั่น ท าให้อาเจียน แก้น้ าลาย เหนียว ต้มเอาน้ าสระผมแก้รังแค ต าพอกหรือชุมส าลีปิดแผล แก้โรคผิวหนัง เปลือกฝัก รสขมเปรี้ยวเผ็ดปร่า เจริญอาหาร กัดเสมหะ แก้ไอ แก้ซางเด็ก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๓ “ถ่ำนหินลือชำ รถม้ำลั่น เครื่องปั้นลือนำม งำมพระธำตุลือไกล ฝึกช้ำงใช้ลือโลก” ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดล าปาง Lampang Provincial Health Office ล า ปาง LAMPANG พท.ป.ปัทมา สิงบริคัณ รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๔ “หมอพื้นบ้าน ปราชญ์ผู้รู้” พ่อหมอรัดสิทธิ์ สายค าพันธ์ วัน-เดือน-ปีเกิด 27 กันยายน 2492 อายุ 70 ปี สถานที่ติดต่อ 91 หมู่ 5 ต.ดอนไฟ อ.แม่ทะ จ.ล าปาง 52150 ความช านาญ หมอตอกเส้น การอบรมความรู้ ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้จากพ่อครูดาว แม่ครูผ่องพรรณ ท าการรักษามาแล้ว 11 ปี


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๕ “หมอตอกเส้น” การตอกเส้น ตอกเส้นล้านนา เป็นภูมิปัญญาของคนพื้นบ้านใช้รักษาและแก้อาการเจ็บปวดให้กับคน พื้นบ้านมาก่อน ไม่ใช่ตอกเส้นเพื่อสุขภาพแบบนวดไทย หมอตอกเส้นต้องมีการเรียนรู้และฝึกฝนจน ช านาญถึงจะเอาไปท าการตอกให้กับผู้อื่นได้ การตอกเส้นเป็นการใช้อุปกรณ์ควบคู่กับวิธีการ ไม่ได้ใช้ มือลงไปจับกดนวดแบบนวดไทย และคนที่จะเข้ามาให้หมอตอกเส้นท าให้นั้นล้วนแล้วแต่มีอาการ เจ็บปวดมาทั้งสิ้น ไม่เคยมีมาแบบขอตอกแค่ผ่อนคลายหรือตอกเพื่อสุขภาพ และถ้าหมอตอกเส้นไม่มี การฝึกฝนจนช านาญแล้ว ผู้ถูกตอกอาจได้รับบาดเจ็บได้เช่นกัน และตอกเส้นล้านนาถึงได้ถูกยกขึ้นมา เป็นการรักษาอีกทางเลือกหนึ่งของผู้ป่วย และมีการควบคุมดูแลจะกระทรวงแพทย์แผนไทยรวมถึง สภาแพทย์แผนไทยมามาดูแลเรื่องนี้เพิ่มเติม เพื่อความปลอดภัยของประชาชน และตอกเส้นล้านนา บ้านพ่อครูดาว ถือเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลและช่วยกันสืบทอดองค์ความรู้นี้อย่างถูกต้อง พิธีกรรมและข้อปฏิบัติ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๖ ขันครู: ในกรณีที่คนไข้มารับการรักษาต้องมีขันธ์ครูมาพร้อมในวันที่จะเข้ารับการรักษา โดย ขันครูประกอบไปด้วย - เบี้ยแก้ - หมากพลู - ผ้าขาว/ผ้าแดง - ข้าวสาร - ผ้าขาว/ผ้าแดง การแหกหรือเช็ดแหก : ใช้ฝักส้มป่อย ใช้ในการแหกหรือเช็ดแหก เพื่อใช้ในกรณีคนไข้ที่โดน คุณไสย ไล่ผี ไล่สิ่งร้ายๆ สิ่งไม่ดี ไล่โรคภัยออกจากร่างกาย แผ่นประคบเข่าสมุนไพร แก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ แก้ปวดข้อเข่า ตัวยาประกอบด้วย ใบเปล้า 1 ส่วน ใบส้มป่อย 1 ส่วน การบูร 1 ส่วน ใบพลับพลึง 1 ส่วน ไพล 1 ส่วน ขมิ้นชัน 1 ส่วน ใบมะขาม 1 ส่วน หญ้าเอ็นยืด 1 ส่วน วิธีท า 1. ย าตัวยามาหั่น ตาก อบ ให้แห้ง 2. ตัวยาทั้งหมดใช้สัดส่วนเท่ากัน น ามาบรรจุในแผ่นประคบ 3. นึ่งด้วยไอน้ า 20-30 นาที แล้วน าไปประคบบริเวณที่มีอาการปวด ข้อควรระวัง 1. เนื่องจากเป็นแผ่นประคบความร้อน ต้องระวังการใช้ความร้อน หากมีความร้อนสูงอาจเกิดแผลพุพอง 2. ห้ามประคบในบริเวณที่มีแผลเปิด เนื่องจากเสี่ยงต่อการติดเชื้อได้


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๗ ยาเกี่ยวไฟ แก้เจ็บท้องจนนอนร้องไห้ กลิ้งเกลือก ตัวยาประกอบด้วย ยอดทูน 1 ส่วน สาระแหน่ 1 ส่วน ผักไผ่ 1 ส่วน พริกขี้ฟ้า 1 ส่วน กระพังโหม 1 ส่วน แป้งข้าวหมาก 1 ส่วน วิธีท า 1. เอาขนาดเท่ากันต า ให้กินกับน้ าหม้อนึ่งถ้ายังไม่หายให้กินกับน้ าห้อมเกี่ยว 2. ถ้ายังไม่หาย ให้เอาก้านพร้าวลนไฟปิดเอาน้ าใส่ยากิน ข้อควรระวัง 1. ระวังการใช้ในผู้ป่วยที่มีอาการแพ้ยา ผลงานวิชาการ ผลของการพอกสมุนไพรสูตรร้อนต่อการบรรเทาอาการปวดในผู้ป่วยปวดขจากโรคข้อเข่าเสื่อม ธัญญาวดี มูลรัตน์, นงคราญ ขัดเรียบ, นฤมล ยนทะวงค์ งานแพทย์แผนไทย โรงพยาบาลสบปราบ อ าภอสบปราบ จังหวัดล าปาง ความเป็นมา จากข้อมูลจ านวนประชากรของอ ากอสบปราบ มีประชากรประมาณ 21,568 คน ปี 2562 เป็นผู้ป่วย ที่มีภาวะข้อเข่าสื่อมจ านวน 15 รายพบว่ามีจ านวนเพิ่มขึ้นทุกปี ซึ่งได้รับการักษาโรคด้วย การจ่ายยาเพื่อบรรเทาอาการ หรือ แนะน าให้ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่า จากนโยบายของกระทรวง สาธารณสุข ที่สนับสนุนให้ผสมผสานการแพทย์แผนไทยเข้าสู่ระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ งาน แพทย์แผนไทยมีการรักษาผู้ป่วยอาการปวดเข่าจึงต้องการการบรูณาการศาสตร์แพทย์แผนไทยเข้าไป ร่วมดูแลรักษาผู้ป่วย OA Knee เพื่อเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ในการรักษาผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมและพัฒนา ระบบบริกาสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยให้เป็นทางเลือกหนึ่งของการบริการในชุมชน วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการพอกสมุนไพรสูตรร้อน ลดระดับความปวดในผู้ป่วยปวดเข่าจากโรคข้อเข่าเสื่อม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๘ วิธีการศึกษา เป็นการศึกษาวิจัยกึ่งทดดอง ในผู้ป่วยปวดเข่าจากโรคข้อเสื่อมที่มารับการรักษาในคลินิก แพทย์แผนไทยระหว่างเดือน พฤศจิกายน - ธันวาคม 2562 ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรค ข้อเข่าเสื่อม โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นแบบกลุ่มเดียว ทดสอบก่อน - หลัง ด้วยการรักษาพอกสมุนไพรสูตร ร้อน โรงพยาบาลสบปราบจ านวน 5 ครั้ง ครั้งละ 20 นาที วันเว้นวัน ประเมินผลอาการปวดโดยไว้ แบบประเมิน Westem Onfario and McMaster Univerity, WoMAC ฉบับภาษไทย เปรียบเทียบ ก่อนและหลังการรักษาโดยใช้สถิติ Paired 1-test ผลการศึกษา ผู้ป่วยที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม จ านวน 33 ราย เป็นเพศชาย 10 ราย เป็นเพศหญิง 23 ราย ช่วงอายุ ที่พบมากที่สุดอยู่ระหว่าง 60-64 ปี ส่วนใหญ่ดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 24-29 กิโลกรัม/ ตารางเมตร จ านวนข้อเข่าที่มีอาการปวดข้างเดียวพบมากที่สุด 19 ราย ร้อยละ 57.58 ปวดทั้งสอง ข้าง 14 ราย ร้อยละ 42.42 เมื่อวัดคะแนนความปวดก่อนและหลังการรักษา พบว่าอาการปวดข่า ลดลงคะแนนความปวดลดลงอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p<0.001) และอาการปวดหายไป เมื่อพอก สมุนไพรอย่างต่อเนื่อง มีความพึงพอใจในสรรพคุณโดยสนใจพอกสมุนไพรต่อเนื่อง ร้อยละ 92 และ หากมีอาการปวดเข่าจะกลับมารักษาพอกสมุนไพร ร้อยละ 85 ผลการวิเคราะห์คะแนนเฉลี่ยเปรียบเทียบระหว่างก่อนและหลังการพอกสมุนไพรสูตรร้อน (n - 33) ตัวแปร X S.D. t p-value ก่อนการทดลอง 6.1 1.5 3.82 <0.001 หลังการทดลอง 2.3 1.4 สรุปผลการศึกษา การพอกสมุนไพรสูตรร้อน สามารถลดคะแนนความปวดในผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมได้อย่างมี นัยส าคัญทางสถิติ และ จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าการจัดบริการคลินิก OA Knee แพทย์แผนไทย เป็นที่ยอมรับของประชาชนและสามารถช่วยลดจ านวนผู้ป่วย OP หันมาใช้บริการที่คลินิกแพทย์แผน ไทยเพิ่มมากขึ้นเฉลี่ย 15-20 คนต่อวันเนื่องจากมีความพึ่งพอใจที่มีทางเลือกในการดูแลรักษาสุขภาพ ด้วยสมุนไพร


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๐๙ หมอพื้นบ้าน ปราชญ์ นายกสน เมืองชื่น (พ่อยงค์) เกิดเมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๔๙๒ ที่อยู่ ๑๓๘ หมู่ ๑ ต าบลโมโกร อ าเภออุ้งผาง จังหวัดตาก เบอร์โทรศัพท์ ๐๙๘ ๗๔๙ ๙๑๐๘ ความช านาญ การปรับธาตุด้วยยาสมุนไพร (หมอกวนยาธาตุ) ประสบการณ์ ๒๗ ปี ได้รับการสืบทอดมาจากปู่ และบิดา วิธีการรักษา ตรวจธาตุจากอายุ โดยดูจาก วัน/เดือน/ปีเกิด (ตรวจธาตุ) และปรุงยาสมุนไพรปรับธาตุ นอกจากการรักษาด้วยการปรับธาตุแล้ว รักษาด้วยการเป่า โดยใช้คาถา รักษาตาแดง ตุ่มคัน งูสวัด และแก้ซางในเด็ก ยาผงปรับธาตุ วิธีรับประทาน ผสมกับน้ าผึ้ง หรือเหล้า ปั้นเป็นลูกกลอน ถ้าไม่มีใช้ทานกับน้ าอุ่น (ห้ามใช้กับน้ าร้อนหรือน้ า เย็น) ทานวันละ ๑ ครั้ง ก่อนนอน ทานติดต่อกัน ๔ วัน ข้อห้าม: สตรีมีครรภ์และผู้หญิงมีประจ าเดือนห้ามรับประทาน ตา ก TAK นางสาวศิริขวัญ ชาวจีน รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๐ อาการขาดธาตุทั้งสี่ จะกล่าวถึงอาการขาดธาตุทั้งสี่ ซึ่งต้องมีในตัวตนทุกคนหนา แต่ละธาตุมีสี่ส่วนที่กวนมา ในกายาถ้าธาตุดับก็อับลง มีธาตุดินธาตุน้ าและลมไฟ ดังจะได้ขยายความตามประสงค์ ถ้าธาตุดับหมดทั้งสี่ชีวีปลง ธาตุดับลงหมดอากาศขาดหายใจ หนึ่งธาตุดินถ้าดับสามถึงสี่ส่วน จะประมวลเอาอาการมาขานไข มักปวดเมื่อยทั้งเนื้อตัวมีทั่วไป เดินทางไกลไม่สู้ทนเหมือนคนเคย ชอบพักผ่อนนอนหลับแต่ในร่ม พอบรรทมแล้วตื่นยากอยากอยู่เฉย และเกียจคร้านเรื่องการงานพาลละเลย เพราะธาตุดินน้อยกว่าเคยต้องพึ่งยา สองธาตุน้ าดับไปสามถึงสี่ส่วน จะบอกให้จนครบถ้วนอย่ากังขา มักเหนื่อยอ่อนไม่มีแรงเป็นครั้งครา อีกทั้งยังหวาดผวาและตื่นกลัว ยามหลับนอนตอนค่ าคืนตื่นดึกดึก ชอบคิดลึกหลับไม่ได้คิดไปทั่ว ปากคอแห้งกระหายน้ าชุ่มตามตัว ข้าวก็กินไปไม่ทั่วถึงก้นพุง ปวดหน้าท้องเส้นทองตึงเส้นท้องเต้น หลับเป็นวรรคเป็นเวรตอนใกล้รุ่ง เดี๋ยวคิดไปเดี๋ยวคิดอยู่ดูนังนุง ชอบโมโหมือโต้พุงอยู่คนเดียว สามธาตุลมนั้นเป็นธาตุระบาดหนัก คนเป็นลมแล้วดิ้นชักดูแล้วเสียว ถ้าธาตุลมดับสามส่วนก็แย่เชียว ดับทีเดียวถึงสี่ส่วนยิ่งป่วยใจ มักเป็นคนวิปริตจิตหม่นหมอง ไม่เกี่ยวข้องญาติและมิตรคิดผลักไส มิชอบใครมาพลุกพล่านร าคาญไป ท าอะไรรีบเร่งมากหากไม่ดี มีอาการเรอและหาวเคล้าลมเสียบ เป็นพร้อมเพรียบลมออกหูดูหมองศรี เลียบลิ้นปี่หยุดหายใจตายก็มี ทางที่ดีรีบกวนยามารับทาน สี่ธาตุไฟใหญ่หลวงเป็นห่วงมาก หากดับสามก็ล าบากอยากไขขาน ถ้าดับสี่ปล่อยไว้ไม่ได้การ จะกลายเป็นคนพาลระรานไป เดี๋ยววู่วามเดี๋ยวเศร้าหมองขัดข้องจิต ใจหายวับอับความคิดจิตหวั่นไหว ไม่มีไฟมาค้านน้ าท ายังไง ถูกความเย็นเป็นไม่ได้จะหนาวตาย หากธาตุใดดับไปหนึ่งถึงแค่สอง ก็ไม่ต้องเป็นกังวลจนขวัญหาย หากดับสามขึ้นไปนั้นอันตราย ต้องกินยาเสริมธาตุไว้ให้มั่นคง จบอาการธาตุทั้งสี่เท่านี้แล้ว ด้วยมีความแน่แน่วในประสงค์ อยากให้โรคภัยร้ายมลายลง ขอท่านจงหายป่วยไข้สบายเอย (หมอยงค์ อุ้งผาง)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๑ นายสมัคร ค าภีร์ (ลุงหมอเย็น) เกิดเมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๔๙๖ ที่อยู่ ๑๐๐/๑ หมู่ ๑ ต าบลโมโกร อ าเภออุ้งผาง จังหวัดตาก เบอร์โทรศัพท์ ๐๙๐ ๗๔๖ ๙๕๒๖ ความช านาญ นวด จับเส้น ประสบการณ์ ๓ ปี เรียนรู้จากตนเอง เนื่องจากเคยเป็นอัมพฤกษ์ ใช้วิธีการนวดจับเส้น ตัวเองจนหาย ภายหลังได้เข้ารับการอบรมย่ าขาง และตอกเส้น จากชมรม ผู้สูงอายุ จึงได้น าความรู้เกี่ยวกับจุดและเส้นมาประยุกต์ใช้กับการนวด จับเส้น วิธีการรักษา นวด จับเส้น รักษาไมเกรน ตกหมอน หัวไหล่ติด สะบักจม ยอกหลัง สะโพกเบี่ยง ข้อเท้า หลังเท้า หัวเข่า คอ บ่า ไหล่


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๒ นายบุญทา ชาญใจ เกิดเมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2518 ที่อยู่ 127 หมู่ 2 ต าบลแม่จัน อ าเภออุ้งผาง จังหวัดตาก เบอร์โทรศัพท์ 092 387 0932 ความช านาญ นวด ยาสมุนไพร ประสบการณ์ 27 ปี (เริ่มรักษาเมื่ออายุได้ 17 ปี) ได้รับการสั่งสอนจากหลวงปู่บุญยัง ปัจจุบันหลวงปู่บุญยัง อายุ 116 ปี จ าวัด อยู่ในประเทศพม่า วิธีการรักษา นวด รักษาไหล่ติด เส้นพลิก อัมพฤกษ์ (กรณีเป็นอัมพฤกษ์ นวดเช้า เย็น) สมุนไพรยาต้ม ยาฝนรักษาโรคอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับเส้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๓ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก หรือองค์ความรู้ พอกตาด้วยยาเย็น Cool Herbs Applying the eyes การแพทย์แผนไทย มีศาสตร์การดูแลดวงตาส าหรับผู้ที่มีปัญหาตาฝ้าฝาง พร่ามัว ความดันลูกตาสูง ปวด กระบอกตา เป็นต้น ให้สามารถกลับมามองเห็นได้อย่างชัดเจนอีกครั้ง โดยการใช้ยาเย็นพอกตาตามต ารับยา โบราณ ฟ้าทะลายโจร ๕ กรัม ผ้าก๊อซหรือส าลี ไข่เป็ด ๑ ฟอง + = วิธีท า น าผงฟ้าทะลายโจร ผสมกับไข่ขาวของไข่เป็ด คนให้เป็นเนื้อเดียวกัน วิธีใช้น าส าลีหรือผ้าก๊อซไปชุบน้ าให้พอหมาด แล้วน ามาวางบนเปลือกตา จากนั้นค่อยๆ เทยาลงบนส าลี หรือผ้าก๊อซ รอประมาณ ๑๐-๑๕ นาที แล้วจึงเอาออก ล้างด้วยน้ าสะอาด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๔ ปริวรรตต ารับยา หมอพื้นบ้านในระบบบริการสุขภาพ ยาต้มแก้ภูมิแพ้ สรรพคุณ บรรเทาอาการภูมิแพ้ หอบหืด ตัวยา พญายา แก่นปีป ขันทองพยาบาท สะแก รากหญ้าขัดมอญ รากเตย เขยตายอยาก (เขยตายแม่ยายชักปก) รางจืด เสลดพังพอน หัวหงอกหยอกสาว ข่าตามแดง ใบมะกา วิธีปรุง/วิธีการรับประทาน 1. น ายาที่ได้ต้มกับน้ าเปล่าประมาณ 1 ลิตร ต้อนให้เดือด ประมาณ 15 – 20 นาที 2. รับประทานแทนน้ า ครั้งละ 100 ซีซี (น้ าต้มยา 1 ลิตร ควรรับประทานให้หมดภายใน 1 วัน) ยาต้มแก้ปวดกล้ามเนื้อกระดูกและเส้นเอ็น สรรพคุณ บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกายปวดข้อเข่าเสื่อม ติดข้อต่อ กระดูกทับเส้น โรคเก๊าต์ เนื่องจากการเสื่อมสภาพ ท าให้เลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกายไม่ดี ตัวยา โคคลาน เอ็นอ่อน เถาวัลย์เปรียง เถารางแดง ช้างน้าว ทองพันชั่ง โด่ไม่รู้ล้ม วิธีปรุง/วิธีการรับประทาน 1. น้ ายาที่ได้ต้มกับน้ าเปล่าประมาณ 2 ลิตร ต้มให้เดือดประมาณ 15 – 20 นาที 2. รับประทานแทนน้ า ครั้งละ 100 ซีซี (น้ าต้มยา 1 ลิตร ควรรับประทานให้หมดภายใน 1 วัน) ยาธาตุทรงเสวย สรรพคุณ แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียดท้องแน่นท้อง แก้กรดไหลย้อน ปรับธาตุทั้ง 4 ตัวยา เย็นเหนือ เย็นใต้ เหงือกปลาหมอ หัวร้อยรู ผีหมอบ ใบมะกา ฝักราชพฤกษ์ วิธีปรุง/วิธีการรับประทาน 1. น ายาที่ได้ต้มกับน้ าเปล่าประมาณ 3 ลิตร ต้มให้เดือดประมาณ 15 – 20 นาที 2. รับประทานแทนน้ า ครั้งละ 100 ซีซี (น้ าต้มยา 3 ลิตร ควรรับประทานให้หมดภายใน 7 วัน)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๕ ย าข้าวเกรียบ อาหารพื้นเมืองจังหวัดตาก ย ารวมกับน้ าพริกกุ้งน้ าพริกเผา ถั่วฝักยาว แครอทหั่นฝอย แคบหมู ถั่วลิสงคั่ว หอมเจียว เครื่องปรุง/ส่วนผสม ข้าวเกรียบงา 5 แผ่น หอมแดงหัวเล็กซอย 2 หัว น้ ามะนาว 1 ช้อนโต๊ะ น้ าพริกกุ้ง 1 ช้อนโต๊ะ น้ าพริกเผา 1 ช้อนโต๊ะ มะม่วงดิบสับเส้นเล็ก ½ ถ้วย ถั่วฝักยาวหั่น ½ ถ้วย แครอทขูดฝอย ½ ถ้วย น้ าเปล่า 2 ช้อนโต๊ะ น้ ามันที่มีหอมแดงเจียว 1 ช้อนโต๊ะ น้ าปลา 1 ช้อนโต๊ะ แคบหมู ½ ถ้วย น้ าตาลทราย 1 ช้อนโต๊ะ วิธีท า น าข้าวเรียบมาหักพอหยาบๆ แล้วใส่น้ ามันที่มี หอมแดงเจียวลงไปเพื่อเวลาใส่ส่วนผสมต่างๆ ลงไปข้าว เกรียบจะได้ไม่ติดกันเป็นก้อนแล้วจึงใส่น้ าพริกกุ้งและ น้ าพริกเผาพร้อมทั้งค่อยๆ ย าไปเรื่อยๆ ด้วยมือ (ใส่ถุง มือ) เพื่อป้องกันการติดกันเป็นก้อนตามด้วยใส่น้ ามะนาว น้ าปลา น้ าตาลทราย และน้ าเปล่าเพื่อให้ข้าวเกรียบนุ่ม ขึ้น จึงตามด้วยมะม่วงดิบสับ หอมแดงซอย ถั่วฝักยาวหั่น และแครอทขูดฝอย ย าเพื่อให้ส่วนผสมต่างๆ เข้ากันได้ดี แล้ว จึงโรยด้วยแคบหมู


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๖ ย าไข่เค็มน้ าแร่@แม่กาษา ส่วนผสม ไข่เค็มน้ าแร่หั่นชิ้น 2 ฟอง กุ้งแห้ง 2 ช้อนโต๊ะ หอมจีนซอย ¼ ถ้วยตวง พริกขี้หนูสวนซอย 1 ช้อนโต๊ะ กระเทียม 1 ช้อนโต๊ะ ขึ้นฉ่ายซอย 1 ช้อนโต๊ะ แครอทหั่นฝอย 1 ช้อนโต๊ะ ถั่วลิสงคั่ว 2 ช้อนโต๊ะ น้ าปลา 1 ½ ช้อนโต๊ะ น้ ามะนาว 2 ช้อนโต๊ะ น้ าหญ้าหวาน (แทนน้ าตาล) 2 ช้อนโต๊ะ ย ายวม คาเอ๊าะบละเคาะเด ยวม หรือ งวม มีสรรพคุณ เป็นสมุนไพร ส าหรับ คนทางเหนือตอนบนเรียก “หนามโค้ง” สรรพคุณทางยา มีรสเปรี้ยวฝาดของฝักใช้เป็นยา ช่วยกัดเสมหะ ใช้เป็นยาระบายอ่อนๆ ช่วยในการ ย่อยอาหาร ใชเป็นยาสมานท้อง ย าแบบแห้ง ๑. กุ้งแห้งน าไปล้างน้ าให้สะอาดแล้วแช่ให้เนื้อฟู โขลกพริก กระเทียม ให้แหลก แล้วใส่กุ้งแห้งลงไปโขลกให้ ละเอียดจนเนื้อฟู ตามด้วยกะปิโขลกให้เข้ากัน เมื่อได้น้ าพริกย าแล้ว ตั้งไฟใส่น้ ามันพืชหรือน้ ามันหมู ประมาณ 3- 4 ช้อนโต๊ะ ตั้งไฟให้ร้อน ใส่หอมแดงซอย 5-6 หัว พอหอมแดงเหลือง ตักน้ าพริกแกงลงไปผัดให้หอมจนได้กลิ่น กะปิและพริกหอมลอยขึ้นมา แล้วตักมาพักไว้ให้เย็น 2. น าฝักงวมมาล้างน้ าให้สะอาด และพักไว้ให้สะเด็ดน้ า เด็ดขั้วและปลายดอก เอามาเรียงและซอยเป็นเส้น บางๆ ตามขวาง (คล้ายๆ กับซอยใบมะกรูดโรยหน้าผัดเผ็ดพะแนง) ย าแบบน้ า 1. เครื่องปรุง ฝักอ่อนงวม พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม ข่า ตะใคร้ ปลาร้าหรือกะปิ เกลือ ปลาสดหรือปลาทูนึ่ง 2. ขั้นตอนการท านั้นให้โขลกเครื่องปรุงน้ าพริกให้ละเอียดก่อน แล้วต้มปลากับน้ าปลาร้าให้สุก แกะเนื้อ ครึ่งหนึ่งลงไปโขลกกับน้ าพริก หั่นฝักผักยวมเป็นฝอยละเอียด แล้วน าลงไปคลุกเคล้ากับน้ าพริกให้ทั่ว เติมน้ าปลา และเนื้อปลาแกะที่เหลือให้มีน้ าพอเปียกๆ จากนั้นปรุงรสและถ้าต้องการเปรี้ยวก็เติมน้ ามะนาวและมะกรูดนิด หน่อย เป็นอันเสร็จ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๗ น้ าสมุนไพรตรีธาตุ (ประกอบด้วยสมุนไพร ๓ ชนิด ตะใคร้ อัญชัญ มะนาว) ตะใคร้ สรรพคุณ แก้หืด แก้ปวดท้อง ขับ ปัสสาวะ บ ารุงธาตุ ขับเหงื่อ อัญชัน สรรพคุณ ขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ ระบายท้อง มะนาว สรรพคุณ แก้ไข้ ถอนพิษผิดส าแดง เหงือกปลาหมอ Acanthus ebracteatus Vahl สรรพคุณ แก้พิษฝีดาษ แก้ฝีภายใน แก้โรคผิวหนัง น้ าเหลืองเสีย ต้นและเมล็ด รสเผ็ดร้อน รักษาฝี แก้โรคน้ าเหลืองเสีย เมล็ดเป็นยา ขับพยาธิ ใบ รสเค็ม คั้นน้ าทาศีรษะ ช่วยบ ารุงรักษารากผม แก้ประดง ทั้งต้น รสเค็มกร่อย ต้มรับประทาน แก้พิษฝีดาษ พิษฝีภายใน ตัดราก ฝีทั้งปวง แก้โรคผิวหนัง น้ าเหลืองเสีย เป็นยาอายุวัฒนะ ต้มอาบ แก้พิษ ไข้หัว แก้โรคผิวหนังผื่นคัน ต าพอกปิดหัวฝี แผลเรื้อรัง คั้นน้ าทาศีรษะบ ารุงรากผม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๘ มะกา Bridelia ovata Decne. สรรพคุณ ถ่ายเสมหะและโลหิต ถ่ายพิษไข้ ใบ รสขมขื่น ต้มดื่ม ถ่ายเสมหะและโลหิต ถ่ายพิษตานซาง ถ่ายพิษไข้ แก้ลมเบื้องสูงสู่เบื้องต่ า ใบสดต้องปิ้งไฟก่อนเป็นยาระบายอย่างอ่อน สมอภิเภก Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb. สรรพคุณ แก้เสมหะจุกคอ บ ารุงธาตุ ใบ แก้บาดแผล ดอก แก้โรคตา เปลือกต้น เป็นยาขับปัสสาวะ เมล็ด เป็นยาแก้บิด แก่น เป็นยาแก้ริดสีดวงพลวก ราก เป็นยาแก้โลหิตร้อน ลูกอ่อน เป็นยาแก้ไอเพื่อเสมหะ ไข้เจือลม ลมและเสมหะ ลูกแก่ แก้เสมหะจุกคอ ท าให้ชุ่มคอ แก้โรคตา แก้ธาตุก าเริบ บ ารุงธาตุ แก้ไข้ กระวาน Amomum testaceum Ridl. สรรพคุณ ขับเสมหะ ขับโลหิต ขับลม กระจายเลือดและลมให้ซ่าน หน่อหรือเหง้า รสเผ็ดร้อนหอม กินเพื่อขับพยาธิที่อยู่ในเนื้อ ให้ออกมาทางผิวหนัง ใบ รสเผ็ดร้อนหอม ใช้ขับลมให้ผายเรอ ขับเสมหะ แก้ไข้เชื่อมซึม แก้ร ามะนาด แก้ลม ปิดธาตุให้ความอบอุ่น ใช้กลั่นเป็นการบูร ดอก รสเผ็ดร้อน แก้ตาเจ็บ ตามัว ตาแฉะ ผล เป็นยาขับลม รักษาโรคท้องอืดเฟ้อ แน่นจุกเสียด ใช้ประมาณ 1-2 กรับ ชงน้ าดื่ม ใช้เป็นเครื่องเทศ และแต่งกลิ่นอาหาร จันทน์เทศ Myristica fragrans Houtt. สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดี ดับพิษดีพิษโลหิต บ ารุงตับ แก่น เป็นยาลดไข้ ดอกจันทน์ (รกหุ้มเมล็ด) รสหอมออกฝาด บ ารุงโลหิต ลูกจันทน์ (เมล็ด) รสเผ็ดร้อน บ ารุงก าลัง ขับลม แก้ปวดมดลูก แก้ท้องร่วง ธาตุพิการ เปลือกเมล็ด รสฝาดมันหอม สมานบาดแผลภายใน แก้ท้องขึ้น แก้ปวดท้อง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๑๙ หัวร้อยรู Hydnophytum formicarum Jack. สรรพคุณ แก้ประดง แก้พิษในข้อในกระดูก บ ารุงหัวใจ ขับชีพจร ขับพยาธิ หัว รสจืดฝาด บ ารุงหัวใจ ขับชีพจร แก้พิษในข้อในกระดูก แก้พิษประดง แก้ข้อเข่า ข้อเท้าบวม ขับพยาธิ และรักษามะเร็ง โคคลาน Anamirta cocculus (L.) Wight & Am. สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ปวดหลัง ปวดเอว เส้นตึง แก้กษัยไตพิการ ราก, ดอก, เปลือก, ผล เป็นยาแก้กษัย แก้ลงท้อง แก้ฝี แก้บวม แก้ ตัวพยาธิ แก้ตกโลหิต เถา เป็นยาแก้ไตพิการ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้เส้นตึง บ ารุงโลหิต ขับปัสสาวะ เมล็ด เป็นยาแก้โรคผิวหนัง แก้พิษ ใช้เบื่อปลา ฆ่าหอย เบื่ออีกา รางแดง Ventilago denticulate Willd. สรรพคุณ แก้เส้นเอ็นตึง แก้กษัย ขับปัสสาวะ ราก ผสมกับรากสามสิบ รากเล็บเหยี่ยว รากชะอม แก่นจันทน์ขาแก่น จันทน์แดง เขากวาง ฝนใส่ข้าวจ้าวสุก กิน แก้ผิดสาบ เถา ตากแห้งเป็นยากษัย แก้กร่อน ลงฝักและกร่อนทุกชนิด หรือผสมกับต้นก าแพงเจ็ดชั้น ต้นขมิ้นเครือ ต้นเถาวัลย์เปรียง ต้นนมควาย ต้มน้ าดื่มช่วยให้เจริญอาหาร เป็นยาอายุวัฒนะ ใบ ปิ้งไฟให้กรอบชงน้ าดื่มต่างน้ าชา ขับปัสสาวะ แก้เส้นเอ็นตึง “ค าฝอย” Carthamus tinctorius L. สรรพคุณ บ ารุงโลหิตระดู บ ารุงประสาท บ ารุงหัวใจ ดอก รสหวานร้อน เป็นยาบ ารุงหัวใจ บ ารุงประสาท ขับระดู บ ารุงโลหิต ขับเหงื่อ เกสร รสหวานร้อน บ ารุงโลหิต และน้ าเหลืองให้ปกติ แก้แสบร้อนตามผิวหนัง น้ ามันจากเมล็ด รสร้อน แก้ฝี แก้ขัดตามข้อ แก้อัมพาต ลดไขมันในเส้นโลหิต เมล็ด รสหวานร้อน เป็นยาถ่าย ขับเสมหะ ขับประจ าเดือน รักษาโรคผิวหนัง ทาแก้บวม ลดอาการอักเสบของมดลูก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๐ พริกไทย Piper nigrum L. สรรพคุณ แก้ลมอัมพฤกษ์ แก้ลมลั่นในท้อง บ ารุงธาตุ แก้ท้องอืดเฟ้อ เมล็ด รสเผ็ดร้อน แก้ลมอัมพฤกษ์ แก้ลมลั่นในท้อง บ ารุงธาตุ แก้ท้องอืดเฟ้อ แก้เสมหะเฟื่อง แก้มุตกิด กานพลู Syzygium aromaticum (L.) Merr. & L.M.Perry. สรรพคุณ กระจายเสมหะ แก้เสมหะเหนียว แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้ปวดฟัน ดอก รสเผ็ดปร่า กระจายเสมหะ แก้หืด แก้เสมหะเหนียว แก้ เลือดออกตามไรฟัน แก้ปวดฟัน แก้ร ามะนาด แก้ปวดท้อง แก้ลม แก้เหน็บชา แก้พิษโลหิต พิษน้ าเหลือง ขับน้ าคาวปลา ท าให้อุจจาระ ปกติ ดับกลิ่น แก้ธาตุทั้งสี่พิการ แก้ท้องขึ้น บอระเพ็ด Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f. & Thomson. สรรพคุณ แก้พิษฝีดาษ แก้ไข้เหนือ ไข้พิษ บ ารุงก าลัง บ ารุงน้ าดี เถา รสขมเย็น แก้ไข้ ขับเหงื่อ แก้กระหายน้ า แก้ร้อนใน ใบ รสขมเมา แก้ร ามะนาด ปวดฟัน แก้ไข้ แก้โรคผิวหนัง ดับพิษปวดแสบปวดร้อน ฆ่าแมลงที่หู บ ารุงน้ าดี ฆ่าพยาธิไส้เดือน ผล รถขม แก้ไข้ แก้เสมหะเป็นพิษ ราก รสขมเย็น แก้ไข้ขึ้นสูงมีอาการเพ้อคลั่ง ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ เจริญอาหาร ชะเอม Myriopteron extinsum (wight) K.Schum. เถา รสหวาน ตัดเป็นท่อนให้เด็กเคี้ยวเพื่อให้ชุ่มคอ แก้เจ็บคอ รากสด ต้มดื่ม แก้ปวดเอว เป็นยาบ ารุงธาตุ กินเป็นยากัดเสมหะ แก้ไอ แก้เยื่อ อ่อนในล าคออักเสบ ผล กินเป็นยาท าให้จิตใจชุ่มชื่น แก้กระหาย


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๑ อบเชย Cinnamomum sp. สรรพคุณ บ ารุงดวงจิต บ ารุงธาตุ เปลือกต้น ปรุงเป็นยาหอม แก้อ่อนเพลีย แก้จุกเสียด สรรพคุณ ขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะพิการ ระบายท้อง “มะตูม” Aegle marmelos (L.) Correa ex Roxb. สรรพคุณ แก้ธาตุพิการ เจริญอาหาร บ ารุงก าลัง แก้ท้องเสีย ผลดิบแห้ง ชงน้ าดื่ม แก้ท้องเสีย แก้บิด ผลสุก เป็นยาระบาย ช่วยอาหาร ขมิ้นชัน Curcuma longa L. สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดี แก้ไข้เรื่อรัง แก้โรคผิวหนังผื่นคัน แก้ธาตุพิการ ขับผายลม สมานแผล เหง้าสด แก้โรคเหงือกบวมเป็นหนอง รักษาแผลสด แก้โรคกระเพาะ แก้ไข้คลั่งเพ้อ แก้ไข้เรื้อรังผอมเหลือง แก้โรค ผิวหนัง แก้ท้องร่วง แก้บิด พอกแผลแก้เคล็ดขัดยอก ขับผายลมคุมธาตุ หยอดตาแก้ตาบวม ตาแดง ทาแผลถลอก แก้โรคผิวหนังผื่นคัน แก้ท้องอืดเฟ้อ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร เหง้าแห้ง บดเป็นผงเคี่ยวกับน้ ามันพืชท าน้ ามันใส่แผลสด ผสมน้ าทาผิว แก้เม็ดผดผื่นคัน


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๒ “มะกรูด” Citrus hystrix DC. สรรพคุณ แก้ลมจุกเสียด แก้ไอ กัดเสมหะในคอ แก้ระดูเสีย ผล รสเปรี้ยว แก้น้ าลายเหนียว กัดเสมหะในคอ กัดเถาดานในท้อง แก้ประจ าเดือนเสีย ฟอกโลหิตประจ าเดือน ขับประจ าเดือน ขับลมในล าไส้ เอาไส้ออกแล้วใส่มหาหิงค์เข้าไปสุมไฟให้เกรียม บดกวาดลิ้นเด็กอ่อน ขับขี้เทา ขับลม แก้ปวดท้อง ปิ้งไฟให้สุกใช้สระผมท าให้ผมดกด าเงางาม แก้คัดศีรษะ แก้รังแค ผิวของผล รสปร่าหอมร้อน ขับลมในล าไส้ ขับประจ าเดือน ขับผายลม ขิง Zingiber officinale Roscoe. สรรพคุณ ขับลม แก้ท้องอืด จุกเสียดแน่นเฟ้อ คลื่นไส้อาเจียน แก้ หอบไอ ขับเสมหะ เหง้า รสเผ็ดร้อน ใช้เหง้าแก่ทุบหรือบดเป็นผงชงดื่มแก้คลื่นไส้อาเจียน แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ เหง้าสด ต าคั้นน้ า ผสมน้ ามะนาวและเกลือเล็กน้อย จิบแก้ไอ ขับ เสมหะ ขับลม แก้ท้องอืด จุกเสียด แน่นเฟ้อคลื่นไส้ อาเจียน แก้หอบ ไอ ขับเสมหะ แก้บิด เจริญธาตุ กฤษณา Aquilaria crassna Pierre ex Lecomte สรรพคุณ บ ารุงโลหิต แก้ตับปอดพิการ แก้ไข้เพื่อเสมหะและลม แก้ ลมวิงเวียน เนื้อไม้ที่เป็นราด า มีกลิ่นหอมคุมธาตุ บ ารุงโลหิตและหัวใจ แก้ปวดข้อ แก้ตับปอดพิการ ใช้ผสมยาหอมชันและน้ ามันหอมของ กฤษณา เป็นยาบ ารุงหัวใจ แก้อาเจียน วิงเวียนศีรษะ ท้องร่วง โรค ปวดบวมตามข้อ ผสมกับยาหอมต้มน้ าดื่ม แก้กระหายน้ า


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๓ ขันทองพยาบาท Suregada multiflorum (A.Juss.) Baill. (ชื่ออื่น ขันทอง พิษณุโลก) สรรพคุณ แก้ลมพิษ แก้โรคผิวหนัง ประดงผื่นคันน้ าเหลืองเสีย เปลือก รสเมาเบื่อ แก้ลมเป็นพิษ แก้ประดง แก้พิษในกระดูก ฆ่า พยาธิ ใช้บ ารุงเหงือก แก้กลากเกลื้อน แก้โรคเรื้อน โรคผิวหนังทุก ชนิด แก้กามโรค แก้โรคตับพิการ เนื้อไม้ รักษาอาการพิษในกระดูก ประดง รักษาโรคเรื้อน กลาก เกลื้อน โรคผิวหนังทุกชนิด และกามโรค ผลการรักษาผู้ป่วยที่ได้รับพิษพาราควอท โดยการแพทย์แผนไทยปัจจุบันร่วมกับการแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลแม่ระมาด อ.แม่ระมาด จ.ตาก วริศรา สืบวงษ์ดิษฐ์ โรงพยาบาลแม่ระมาด (รางวัลรองชนะเลิศ อันดับที่ 1 ประเภทงานวิจัย) ความส าคัญ พาราควอทเป็นสารเคมีก าจัดวัชพืชที่มีพิษร้ายแรง แต่มีการน ามาใช้งานผิดวัตถุประสงค์ โดยน ามาใช้ท า ร้ายตัวเอง ท าให้ในแต่ละปีมีผู้เสียชีวิตเป็นจ านวนมาก การให้การดูแลรักษาผู้ได้รับสารพิษจากพาราควอทไม่มียา รักษาโดยเฉพาะ วิธีการหนึ่งคือการใช้คีโม ซึ่งมีค่าใช้จ่ายสูง ผู้ป่วนต่างด้าวที่ไม่มีหลักประกันสุขภาพ จึงไม่สามารถ เข้าถึงการรักษาด้วยคีโมได้ งานแพทย์แผนไทยโรงพยาบาลแม่ระมาด เห็นปัญหาเหล่านี้จึงได้ทบทวนแนวทางการ รักษาด้วยเวชกรรมแผนไทย วินิจฉัยโรคและรักษาด้วยยาสมุนไพรไทย เพื่อรักษาดูแลผู้ป่วยร่วมกับแพทย์แผนไทย ปัจจุบัน เพื่อเป็นทางเลือก


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๔ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาผลการรักษาผู้ได้รับพาราควอท ที่มารับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยปัจจุบันร่วมกับ การแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลแม่ระมาด 2. เพื่อศึกษาปัจจัยด้านบุคคล ของผู้ป่วยที่ได้รับพาราควอท 3. เพื่อศึกษาความแตกต่างของผลการรักษาผู้ป่วยที่ได้รับพาราควอท ที่รักษาด้วยการแพทย์แผนไทยปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2555 – 2557 กับผู้ป่วยที่ได้รับพาราควอทที่รักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันร่วมกับ การแพทย์แผนไทย ปี พ.ศ. 2558 - 2561 วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาย้อนหลัง ในผู้ป่วยที่ได้รับพิษพาราควอท ที่มารับการรักษาด้วยการแพทย์ แผนไทยปัจจุบันร่วมกับการแพทย์แผนไทย โดยใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลจาก แบบเวชระเบียนผู้ป่วยนอกและเวช ระเบียนผู้ป่วยใน ในการรักษาด้วยวิธีการแพทย์แผนไทยนั้น มีกระบวนการรักษาดังนี้ 1. กระบวนการดูดพิษ โดยใช้ ดินปลวก 2. กระบวนการล้างพิษ โดยใช้ รางจืด 3. กระบวนการขับพิษ โดยใช้ ยาสมุนไพรต ารับ ชื่อ ยาล้างน้ าเหลืองน้ าเลือดเสีย ต ารับของ กรมหลวง ชุมพรเดชอุดมศักดิ์ 4. กระบวนการดับพิษ โดยใช้ ยาสมุนไพรต ารับ ชื่อ ยาเบญจโลกวิเชียร 5. กระบวนการบ ารุงร่างกายและบ ารุงโลหิต โดยใข้ ยาสมุนไพรต ารับ ชื่อ ยาเบญจผลธาตุ และขมิ้นชัน ผลการศึกษา ผู้ป่วยที่ได้รับสารพิษพาราควอท ที่มารับการรักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันร่วมกับการแพทย์แผนไทย ในโรงพยาบาลแม่ระมาด อ าเภอแม่ระมาด จังหวัดตาก ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2558 – สิงหาคม 2561 ทั้งหมด จ านวน 15 ราย รอดชีวิต 11 ราย (ร้อยละ 73.33) โดยเพศหญิงรอดชีวิต ร้อยละ 100 เพศชายรอดชีวิต ร้อย ละ 60.0 ผู้ป่วยอายุ 22 – 28 ปีและมากกว่า 42 ปี รอดชีวิต ร้อยละ 100 ผู้ที่มีอายุ 29 – 35 ปี รอดชีวิต ร้อยละ 33.3 ผู้ป่วยเชื้อชาติกะเหรี่ยง รอดชีวิต ร้อยละ 80.0 ผู้ป่วยไทยรอดชีวิตร้อยละ 60.0 ผู้ป่วยได้รับ สารพิษพาราควอทน้อยกว่า 15 cc ถึง 60 cc รอดชีวิตร้อยละ 100 ส่วนผู้ป่วยที่รับพาราควอทมากกว่า 60 cc ระยะเวลาในการมารับการรักษาของผู้ป่วยหลังจากที่ได้รับพาราควอท มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ รอดชีวิตร้อยละ 33.3 ระยะเวลาาการมารักษา 1 ถึง 1.30 ชั่วโมง รอดชีวิตร้อยละ 80.0 ขณะที่ 2 ชั่วโมงขึ้นไปรอดชีวิตร้อยละ 66.6 ผู้ป่วยที่ดื่มสุราร่วมกับพาราควอท รอดชีวิตร้อยละ 25.0 ส่วนผู้ที่ไม่ดื่มสุราร่วมกับพาราควอท รอดชีวิตร้อยละ 90.9 นอกจากนี้ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการของผู้ป่วยรับพิษพาราควอท ที่มารับการรักษาด้วยการแพทย์ แผนปัจจุบันร่วมกับการแพทย์แผนไทย หลังจากวันที่จ าหน่าย ผู้ป่วยที่มีค่า BUN ปกติรอดชีวิตร้อยละ 100 ผู้ป่วย ที่มีค่า BUN ผิดปกติรอดชีวิตร้อยละ 50.0 ผู้ป่วยที่มีค่า Creatinine ปกติรอดชีวิตร้อยละ 100 ผู้ป่วยที่มีค่า Creatinine ผิดปกติดรอดชีวิตร้อยละ 42.8 ผู้ป่วยที่มีค่า Bilitotal ปกติรอดชีวิตร้อยละ 75.0 ผู้ป่วยที่มีค่า Bilitotal ผิดปกติรอดชีวิตร้อยละ 66.6 ผู้ป่วยที่มีค่า Bilidirect ปกติรอดชีวิตร้อยละ 100 ผู้ป่วยที่มีค่า Bilidirect ผิดปกติรอดชีวิตร้อยละ 60.0 ผู้ป่วยที่มีค่า AST ปกติรอดชีวิตร้อยละ 100 ผู้ป่วยที่มีค่า AST ผิดปกติรอดชีวิต ร้อยละ 33.3 ผู้ป่วยที่มีค่า ALT และ ALP ปกติรอดชีวิตร้อยละ 66.6 ผู้ป่วยที่มีค่า ALT และ ALP ผิดปกติรอด


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๕ ชีวิตร้อยละ 71.4 ผู้ป่วยที่มีค่า Prot total ปกติรอดชีวิตร้อยละ 81.8 ผู้ป่วยที่มีค่า Prot total ผิดปกติรอดชีวิต ร้อยละ 50.0 ผู้ป่วยที่มีค่า Prot alb ปกติรอดชีวิตร้อยละ 69.2 ส่วนผู้ป่วยที่มีค่า Prot glob ปกติรอดชีวิตร้อย ละ 87.5 และผู้ป่วยที่มีค่า Prot glob ผิดปกติรอดชีวิตร้อยละ 40.0. เมื่อเปรียบเทียบผลการรักษาผู้ป่วยที่ได้รับพาราควอท ที่รักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน (พ.ศ. 255 – 2557) กับผู้ป่วยได้รับพาราควอท ที่รักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันร่วมกับการแพทย์แผนไทย (พ.ศ. 2558 – 2561) พบว่าการรักษาด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน ผู้ป่วยรอดชีวิตร้อยละ 33.3 ส่วนการรักษาด้วยการแพทย์ แผนปัจจุบันร่วมกับการแพทย์แผนไทย ผู้ป่วยรอดชีวิตร้อยละ 60.0 (p = 0.03)


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๖ การศึกษาการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย โดยผู้ดูแลที่บ้านในอ าเภอเมืองตาก จังหวัดตาก โดย น.ส.จารุวรรณ จันทร์อินทร์ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก ในปี 2559 จังหวัดตากมีผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองจ านวน 2,215 ราย ซึ่งการรักษาผู้ป่วย กลุ่มนี้ในปัจจุบันส่วนใหญ่คือ การรักประทานยา รองลงมาคือ การท ากายภาพบ าบัด แต่มีผู้ป่วยจ านวนหนึ่งที่ไม่ สามารถท ากายภาพบ าบัดได้ทุกวันเนื่องจากไม่สามารถมารับบริการในโรงพยาบาลได้ จึงมีการส่งเสริมและ พัฒนาการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการดูแลรักษาสุขภาพมากขึ้น จากการศึกษาการดูแลรักษาผู้ป่วยสูงวัยด้วย การแพทย์แผนไทย กรณีศึกษากระบวนการดูแลรักษาผู้ป่วยอัมพาตที่สูงวัย โดยผู้ดูแลที่บ้าน ต าบลเนินปอ อ าเภอ สามง่าม จังหวัดพิจิตร (อุเทน มุกเย,2558) ที่ได้ศึกษาและประเมินผลความเป็นไปได้ของรูปแบบการดูแลรักษา ผู้ป่วยอัมพาตที่สูงวัยด้วยการแพทย์แผนไทย โดยมีญาติดูแลที่บ้าน (Home – based Care) พบว่ากรณีศึกษาที่ ศึกษาทั้งหมดมีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น อย่างไรก็ตามการศึกษาดังกล่าวเป็นการน าร่องเบื้องต้น จึงได้มี ข้อเสนอแนะให้มีการศึกษาเพิ่มเติมกับจ านวนผู้ป่วยที่มากขึ้นเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มากกว่านี้ดังนั้นในฐานะที่ผู้ศึกษามี หน้าที่รับผิดชอบงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกส านักงานสาธารณสุขจังหวัดตาก จึงได้สนใจที่จะ น ารูปแบบจากากรศึกษาดังกล่าวมาใช้ในการดุแลกลุ่มผุ้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตในจังหวัดตาก วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาผลของรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย โดยมีญาติ ดูแลที่บ้าน (Home – based Care) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพด้วยการแพทย์แผนไทยอย่างต่อเนื่อง 3. วิธีการศึกษา การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) เพื่อศึกษาผลของรูปแบบ การดูแลรักษาผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยโดยมีญาติดูแลที่บ้าน (Home – based Care) ในพื้นที่ รพ.สต. เขตอ าเภอเมืองตาก จังหวัดตาก จ านวน 11 รพ.สต. กลุ่มตัวอย่างเป็นแบบกลุ่มเดียว ท าการเก็บข้อมูล 2 ครั้ง ระหว่างเดือนมกราคม 2559 – มิถุนายน 2559 (6 เดือน) ก่อนและหลังด าเนินการ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ที่เกิดจากการไหลเวียนเลือดลม เลือกกลุ่ม ตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) ได้กลุ่มตัวอย่าง จ านวน 22 คน ขั้นตอนการด าเนินการศึกษา 1. ประมวลองค์ความรู้ในประเด็นรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตโดยผู้ดูแลที่บ้าน เพื่อ วิเคราะห์หารูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยอัมพฤกษ์-อัมพาตโดยผู้ดูแลที่บ้าน 2. ส ารวจและก าหนดกลุ่มตัวอย่าง 3. ประเมินความพร้อมของญาติและประเมินอาการของผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตก่อนเข้าร่วมโครงการ 4. ศึกษาข้อมูลรายบุคคลของอาสาสมัครกลุ่มตัวอย่าง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๗ 5. จัดท าหลักสูตรการอบรมผู้ป่วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย 6. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ให้กับญาติผู้ป่วยและผู้ช่วยแพทย์แผนไทยที่จะลง ไปดูแลผู้ป่วย 7. การลงดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ตามรูปแบบที่ก าหนด 8. การติดตามประเมินผล 9. วิเคราะห์ข้อมูล 10.จัดท ารายงานการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 รูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย โดยมีญาติดูแลที่บ้าน (Home – based Care) ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 :การเตรียมความพร้อม มีกิจกรรมดังนี้ การขึ้นทะเบียนผู้ป่วย มีการซักประวัติ ตรวจวินิจฉัย ประเมิน อาการ แยกกลุ่มอาการป่วย วางแผนการรักษา การคัดเลือกผู้ดูแลหลัก (Primary Caregiver) ถึงแนวทางการดูแล บ าบัด ฟื้นฟู ผู้ป่วยอัมพฤกษ์-อัมพาต เมื่อได้ผู้ดูแลแล้วจึงได้ด าเนินการฝึกทักษะผู้ดูแลหลัก,อสม.ประจ าละแวก ผู้ป่วย,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทยโดยมีการอบรมเป็นระยะเวลา 3 วัน และเรียนรู้ร่วมกันจากปฏิบัติจริง (Training & Learning by doing) ขั้นตอนที่ 2 : การลงดูแลผู้ป่วย ซึ่งจะมีผู้ดูแลทั้งหมด 3 คน คือ 2.1 ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย ท าหน้าที่ นวดประจ าสัปดาห์ละ 2 ครั้ง รวม 8 สัปดาห์ 16 ครั้ง (ปฏิบัติตามแผนการ ดูแล รักษา ฟื้นฟู แต่ละราย) 2.2 ญาติให้การดูแล บ าบัด ฟื้นฟู ทุกวัน (7 วัน) ได้แก่ การนวด การจัดการสิ่งแวดล้อม การดูแลสภาพจิตใจ การดูแลเรื่องอาหารที่เหมาะกับโรค การออกก าลังกายที่เหมาะสม เป็นต้น 2.3 อาสาสมัครประจ าสาธารณสุข (อสม.) ท าหน้าที่รายงานผลการปฏิบัติในสภาวะปกติ และกรณีเกิดความ ผิดปกติแก่แพทย์แผนไทยหรือเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ติดตามการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรค, ติดตามการ รับประทานยา ป้องกันการขาดยา ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อการดูแล รักษา ฟื้นฟูของแพทย์แผนไทย และประสาน ความช่วยเหลือด้านอื่นๆ ขั้นตอนที่ 3 : การติดตามและประเมินผลโดยแพทย์แผนไทยและผู้รับผิดชอบ ส่วนที่ 2 คือ แบบบันทึกข้อมูลการดูแลและการติดตามผลการรักษาผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต ประกอบด้วย 1. ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ เพศ อายุ โรคประจ าตัว ประวัติการเจ็บป่วย และชื่อผู้ดูแล 2. ข้อมูลภาวะสุขภาพและการดูแลบ าบัด ได้แก่ ประวัติโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ประวัติการรักษา ข้อมูลการ รับประทานอาหาร ข้อมูลสิ่งแวดล้อม การดูแลภาวะสุขภาพประจ าวัน ข้อมูลผู้ดูแล 3. แบบประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจ าวัน (Barthel Activities of Daily Living:ADL) ประกอบด้วยแบบประเมิน 10 ข้อ 20 คะแนน 4. แบบประเมินอาการผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตด้านการแพทย์แผนไทย โดยประเมินอาการดังนี้ 1.อาการ เกร็ง กระตุก ชา ตะคริว 2.การใช้มือ (ตักข้าว,หยิบจับของ) 3.การนั่ง (ทรงตัว) 4.การเคลื่อนที่ในท่านั่ง แนวราบ 5.การเคลื่อนที่ในท่านั่งแนวดิ่ง เช่น การขยับลงบันได 6.การทรงตัวในท่ายืน 7.การพูด 8. ลักษณะการเดิน 9.ระยะทางการเดินต่อวัน ประเมินโดยแพทย์แผนไทย ก่อน และหลังด าเนินการ


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๘ สรุปผลการศึกษา การประเมินความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจ าวัน (ADL) ก่อนและหลังด าเนินการไม่พบความ แตกต่างทางสถิติ แต่เมื่อดูผลของระดับความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจ าวันในแต่ละกิจกรรมจะพบว่า คะแนนเฉลี่ยของความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจ าวันดีขึ้นทั้งหมด 6 ด้าน ส่วนผลการศึกษาจากการใช้ แบบประเมินด้านการแพทย์แผนไทยพบว่าผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตสามารถช่วยเหลือตนเอง ท ากิจวัตรประจ าวัน ได้ดีขึ้นทั้งหมด 7 ด้าน คิดเป็นร้อยละ 77.78 ผู้ป่วยสามารถประกอบกิจวัตรประจ าวันได้มาก ช่วยเหลือตัวเองได้ มากขึ้น ลดภาวะการพึ่งพิงผู้อื่นในการประกอบกิจวัตรประจ าวัน มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นได้ โดยมีเงื่อนไขและปัจจัยที่ มีผลต่อการรักษาดังกล่าว ได้แก่ การปฏิบัติตามค าแนะน าของแพทย์แผนไทยอย่างเคร่งครัด มีขวัญก าลังใจและมี ความเชื่อมั่นศรัทธาต่อการรักษา ตลอดจนระยะเวลาเจ็บป่วยมีผลต่อการรักษาโดยตรง รวมทั้งการสนับสนุนจาก ครอบครัวที่มีความพร้อมทั้งการช่วยเหลือดูแลอย่างใกล้ชิด ดังนั้นรูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย โดยมีญาติดูแลที่บ้าน (Home – based Care) ในการศึกษาครั้งนี้ จึงเหมาะสมที่จะน ามาใช้ในการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตที่บ้าน โดยวัดผลจาการที่ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตสามารถช่วยเหลือตัวเองได้มากขึ้นในการประกอบกิจวัตรประจ าวันลด การพึ่งพิงผู้อื่น ก็นับว่าเป็นสิ่งที่ท าให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตและผู้ดูแลดีขึ้นอย่างไรก็ตาม การศึกษาในครั้งนี้ยังขาดการประเมินด้านคุณภาพชีวิตและการประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต และญาติ และควรเพิ่มระยะเวลาในการดูแลผู้ป่วยให้มากกว่าเดิมเพื่อที่จะให้เกิดการเห็นผลที่มีแตกต่างของการ ได้รับการดูแล อันจะท าให้เกิดความเชื่อมั่นและมั่นใจในการน ารูปแบบนี้ไปใช้ต่อไป


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๒๙ ภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาพื้นบ้านไทย ต ารับยาลูกแปลกแม่ พิ ษณุโลก PHITSANULOK นางสาวชนากานต์ สุดประโคน รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๐ คืนความสาวคืนความสวย ด้วยลูกแปลกแม่ วิธีท ายาลูกแปลกแม่ 1.น ากล้วยน้ าไท มาปอกเปลือก แล้วหั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ จากนั้นน าไปบดหรือปั่นให้ละเอียด 2.น าผลมะตูมนิ่ม 1 ลูก คว้านเนื้อออกมาแล้วหั่นเป็นชิ้นเล็กๆ แล้วบดหรือปั่นให้ละเอียด 3.น าพริกไทยล่อนหรือพริกไทยด า 1 กิโลกรัม มาบดให้ละเอียด น าส่วนผสมที่เตรียมไว้ข้างต้น ใส่ลงกระทะทองเหลือ ใช้ไฟอ่อนๆ กวนให้เข้ากันสังเกตเมื่อส่วนผสม เข้ากันเป็นเนื้อเดียวไม่ติดกระทะ จึงยกลง แล้วทิ้งไว้ให้เย็น น ามาปั้นเป็นลูกกลอนขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย จากนั้น น าไปตากแดดให้แห้งหรืออบ แล้วเก็บใส่ภาชนะที่มีฝาปิด สรรพคุณยาลูกแปลกแม่ ส าหรับต ารับยาลูกแปลกแม่ มีสรรพคุณช่วยในการบ ารุงผิวพรรณให้ดูสดใสและอ่อนกว่าวัย ช่วยให้ ฮอร์โมนในร่างกายสมดุล เนื่องจากต ารับยาลูกแปลกแม่ เป็นยาที่มีรสหลักเผ็ดร้อน และมีกลิ่นหอมของพริกไทย ท าให้ต ารับมีมากกว่าข้างต้น จากค าอธิบายของแพทย์ไทยเนตรดาว ยวงศรี ประจ าสถาบันการแพทย์แผนไทยเนตร ดาว มูลนิธิวิทยาศาสตร์ทางจิตเพื่อการพัฒนา สรุปได้ดังนี้ ส าหรับผู้หญิง แนะน าให้กินปริมาณ 500 มิลลิกรัมหลังอาหารเช้า และเย็น กล่าวคือจาก ประสบการณ์ของคนไข้หลังกิน 1 สัปดาห์ มีผิวพรรณสดใส มีน้ ามีนวลมากขึ้นและในระยะยาว 3 เดือน ผิวพรรณ ดีขึ้นอย่างชัดเจน รูขุมขนเล็กลง ผิวหน้าเรียบขึ้น ในผู้ชาย การกินในปริมาณที่เท่ากันกับผู้หญิง พบว่าจะท าให้มีความแข็งแรง เสริมสร้างมัดกล้ามเนื้อ ได้เหมือนกันไม่แนะน าให้กินเยอะเกินไป เพราะอาจจะท าให้มีอาการร้อนภายในท้องได้ และไม่ควรกินในขณะที่ ท้องว่าง คนที่มีอาการร้อนใน ท้องผูก หรือเป็นโรคกระเพาะอาหาร ให้ระวังในการกิน เพราะอาจเกิดผลข้างเคียง จากยา ที่มีรสเผ็ดร้อน นอกเหนือจากประโยชน์ในข้างต้นแล้ว ในช่วงฤดูหนาวที่ก าลังจะมาถึงนี้ ต ารับยาลูกแปลกแม่ก็ สามารถกินแก้อาการเป็นหวัดคัดจมูก ท าให้ทางเดินหายใจโล่ง เพราะรสเผ็ดร้อนและเหมาะกับคนธาตุลม ที่เกิดใน เดือนเมษายน-พฤษภาคม-มิถุนายน ที่มีจุดอ่อนทางสุขภาพเจ็บป่วยง่ายในฤดูฝน เป็นช่วงที่มีความร้อนกับลม กระทบกัน จึงมีผลต่อคนธาตุลมให้เจ็บป่วยได้ง่ายกว่าธาตุอื่นๆ และข้อมูลจากงานวิจัย คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในการศึกษาฤทธิ์ด้านปฏิกิริยาออกซิ เดชั่นของสารสกัดสมุนไพรในต ารับยาลูกแปลกแม่ พบว่าสารสกัดพริกไทยด า สารสกัดมะตูมนิ่ม และสารสกัด ต ารับยาลูกแปลกแม่ มีฤทธิ์ในการต้านออกซิเดชั่นได้และเป็นประโยชน์ในการพัฒนาต ารับยาให้เป็นยาอายุวัฒนะ ได้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น หรือพูดง่ายๆว่าเป็นยาอายุวัฒนะนั่นเอง


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๑ ยาอายุวัฒนะล้านนา “กิ๋นล้ำ หลับม่วน ปวดหำย ถ่ำยคล่อง” ส่วนประกอบ ชะเอมเทศ เถาวัลย์เปรียง ใบชุมเห็ดเทศ ฝางเสน มะตูม สะค้าน ก าแพงเจ็ดชั้น แก่น ขี้เหล็ก ใบเตย วิธีท า น าสมุนไพรทั้งหมดมาห่อด้วยผ้าขาวบางแล้วน ามาต้มดื่ม สรรพคุณ กิ๋นล ำ แปลว่ำ เจริญอำหำรมำกกว่ำเดิม หลับม่วน แปลว่ำ นอนหลับสบำยได้ดี ปวดหำย แปลว่ำ อำกำรปวดลดลง ถ่ำยคล่อง แปลว่ำ ขับถ่ำยได้ดีขึ้น


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๒ น้ าปรุงใบเนียม ส่วนประกอบ น้ าดอกไม้สด ใช้ดอกมะลิ น้ ามันจันทน์ น้ ามันหอมกลิ่นต่างๆที่ชอบ มัส (ตัวตรึงกลิ่นให้ติดทนทาน) ใบเนียมหั่นเป็นท่อนๆ ผิวมะกรูด พิมเสน วิธีท า เทส่วนผสมทุกอย่างใส่ขวดเปล่า แล้วเขย่าเบาๆให้เข้ากัน ปิดฝาพักไว้เอทิลแอลกอฮอล์ 70-90 % แบ่งเอทิลแอลกอฮอล์ใส่ขวดเปล่า วิธีท า 1) น าใบเนียมใส่ในขวดเอทิลแอลกอฮอล์ 70-90 % ขวดที่ 1 2) น าใบเตยหอมใส่ในขวดเอทิลแอลกอฮอล์ 70-90 % ขวดที่ 2 3) น าผิวมะกรูด และพิมเสน ใส่ในขวดเอทิลแอลกอฮอล์ 70-90 % ขวดที่ 3 (เขย่าให้เข้า กัน) ปิดฝาพักไว้ 1 วัน จึงกรองเอาเศษใบไม้ออก น าของเหลวทั้ง 3 ขวดผสมรวมเข้า ด้วยกันแล้วจึงน าส่วนผสมที่ 1 ที่เตรียมไว้เทผสมในส่วนผสมที่ 2 จนหมด (เมื่อผสมแล้ว หากส่วนผสมที่ได้มีลักษณะขุ่น ให้เติมเอทิลแอลกอฮอล์ 70-90 % ลง ไปทีละนิดจนน้ าปรุงมีลักษณะใสจึงหยุดเติม) 4) น าใส่ขวดทึบแสงพักบ่มไว้ 3 เดือน เก็บในที่ๆไม่มีแสงแดด น้ ามันหอมใส่กลิ่นตามใจ ชอบ ให้เข้ากันดี และยังเป็นตัวตรึงกลิ่นให้ติดทนทาน สรรพคุณ ช่วยให้มีกลิ่นหอมสดชื่นตลอดทั้งวัน และช่วยแก้ลมวิงเวียนศรีษว


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๓ 1. ผักพื้นบ้านหรืออาหารพื้นเมือง : ไอติมหญ้าดอกขาว เ พชรบูรณ์ PHETCHABUN นางสาวชนากานต์ สุดประโคน รวบรวม และเรียบเรียงข้อมูล น าหญ้าดอกขาวต้มกับน้ าสะอาด เติมหญ้าหวานหรือน้ าตาลเล็กน้อย เพื่อให้มีรสชาติอร่อยถูกปาก ต้มเสร็จพักไว้ให้เย็นแล้วจึงน าไปเข้า ตู้เย็นเพื่อให้เป็น “ไอติมหญ้าดอกขาว”


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๔ เมนู...พระรามเดินดง ส่วนผสม/วิธีท า 1.เครื่องเทศ พริกแห้ง หอมแดง กระเทียม น ามาคั่วไฟให้หอมแล้วต าให้ละเอียด 2.ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด น าไปปิ้งไฟให้หอม แล้วต าให้ละเอียด (น าส่วนผสมข้อ 1 กับ ข้อ 2 มา ต ารวมกัน) 3.น าส่วนผสมที่ได้ผัดในน้ ามันมะกอก ผัดจนมีกลิ่มหอมแล้วใส่ไก่ลงไป ผัดจนสุก เติมเครื่องปรุง ให้รสชาติอร่อย (น้ าปลา ซีอิ้วขาว น้ าตาล นมสด ) ใส่ใบกะเพรา เพื่อเพิ่มความหอม


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๕ สมุนไพรไทย เลิกบุหรี่ 1.หญ้าดอกขาว ชื่อสามัญ : Little ironweed, Ash-coloured fleabane, Ash-coloured ironweed, Purple fleabane, Purple-flowered fleabane. ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cyanthillium cinereum (L.) H.Rob. จัดอยู่ในวงศ์ทานตะวัน : (ASTERACEAE หรือ COMPOSITAE) ชื่อท้องถิ่นอื่น หญ้าสามวัน (เชียงใหม่), เสือสามขา (ตราด), ถั่วแฮะดิน ฝรั่งโคก (เลย), ก้านธูป ต้นก้าน ธูป (จันทบุรี), หนาดหนา (ชัยภูมิ), หญ้าละออง หญ้าดอกขาว หญ้าหมอน้อย (กรุงเทพฯ) เป็นต้น สรรพคุณของหญ้าดอกขาว 1.ต้นมีรสขมชุ่ม เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อปอดและตับ มีสรรพคุณท าให้เลือดเย็น เป็นยาแก้พิษ 2.เมล็ดมีสรรพคุณเป็นยาแก้พิษ ใช้เมล็ดแห้ง 2-4 กรัม น ามาป่นให้ละเอียด ใช้ชงกับน้ าร้อนกิน ต ารายาพื้นบ้านจะใช้ทั้งต้น 1 ก ามือ น ามาต้มกับน้ า 4 ถ้วย ใช้ดื่มต่างน้ าชาเป็นยาบ ารุงเลือด แก้ตกเลือด ช่วยบ ารุงก าลัง เมล็ดป่นใช้ชงกับน้ าร้อนกินเป็นยาบ ารุงธาตุ 3.ใช้เป็นยาลดไข้ แก้ตัวร้อน แก้ไข้หวัดแดดตัวร้อน แก้ไอ แก้ไอหวัด แก้ไข้ทับระดู ไข้มาลาเรีย 4.น ามาใช้แก้อาการไอ เจ็บคอ และหอบ รวมไปถึงการช่วยลดเสมหะและน้ ามูกเวลาเป็นหวัด 5.เมล็ดน ามาป่นให้ละเอียดใช้ชงกับน้ าร้อนกินเป็นยาแก้ไอ ไอเรื้อรัง 6.ต้นใช้ต าให้ละเอียดเป็นยาพอกแก้นมคัด 7.ต้นใช้ต้มกับน้ า ดื่มแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ เมล็ดป่นใช้ชงกับน้ าร้อนกินเป็นยาแก้ท้องอืด ทั้งต้นใช้ต้ม กับน้ าดื่มเป็นยาแก้ปวดท้อง ท้องเสีย ท้องขึ้น ท้องร่วง โรคกระเพาะ 8.ช่วยขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะขัด ด้วยการใช้รากสด 30-60 กรัม ถ้าเป็นแห้งให้ใช้ 15-30 กรัม น ามาต้มเอาน้ ากิน เมล็ดป่นใช้ชงกับน้ าร้อนกินเป็นยาแก้ปัสสาวะขัด ช่วยแก้ริดสีดวงทวาร 9.ต ารายาพื้นบ้านล้านนาจะใช้ทั้งต้นและรากหญ้าดอกขาว น ามาตากแห้งบดเป็นผง ใช้เป็นยา รักษาแผลสด แผลเรื้อรัง ผิวหนังพุพอง และใช้ห้ามเลือด 10.ใบสดใช้ต าพอกปิดแผล เป็นยาสมานแผล ช่วยรักษาแผลบวมอักเสบ ดูดฝีหนอง แก้บวม 11.ใช้แก้เหน็บชา แขนขาไม่มีแรง ให้ใช้หญ้าดอกขาวทั้งต้น และกิ่งก้านของใบทองพันชั่ง น ามาต้ม กับน้ ากินแทนน้ าชา


องค์ความรู้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์ทางเลือก ในงานมหกรรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้านไทย ปีที่ ๑๒ ภาคเหนือ ณ จังหวัดก าแพงเพชร กองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและแพทย์พื้นบ้านไทย กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ๑๓๖ 12.ใช้รักษาอาการปวด ปวดเมื่อยตามร่างกาย ด้วยการใช้หญ้าดอกขาวน ามาต้มกิน 13. เมล็ดมีรสเฝื่อน ใช้ต าแล้วน าไปพอกศรีษะ ช่วยก าจัดเหา 14.ใช้ลดอาการอยากบุหรี่ ด้วยการใช้หญ้าดอกขาวทั้งต้นประมาณ 2-3 ต้น ใส่น้ าพอท่วมยา ต้ม เดือด 10 นาที ใช้กินบ่อย ๆ หรือจะใช้ในรูปแบบชาชงในขนาด 3 กรัม วันละ 3 ครั้ง หลังอาหารก็ได้ ประโยชน์ของหญ้าดอกขาว ปัจจุบันมีโรงพยาบาลหลายแห่งน าหญ้าดอกขาวไปใช้เป็นยาแก้อาการติดบุหรี่ นอกเหนือจากจะ ท าให้เลิกบุหรี่ได้แล้ว ท าให้สมรรถภาพร่างกายดีขึ้น หญ้าดอกขาวมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ ท า ให้มีปริมาณของก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์คั่งค้างในปอดลดลง และที่ส าคัญผลข้างเคียงของการเลิกบุหรี่ ด้วยวิธีนี้ก็มีน้อยมาก เช่น มีอาการกระวนกระวาย หงุดหงิดง่าย สมาธิแปรปรวน เนื่องจากสมุนไพรชนิดนี้มีความปลอดภัยสูง มีสรรพคุณมากมาย กินง่าย มีรสชาติดีเยี่ยม จึงได้มีการพัฒนาเป็นยาในรูปแบบชง แบบชาชง แบบแคปซูล แบบลูกอมเม็ดแข็ง แบบลูกกวาดนุ่ม แบบ หมากฝรั่ง สามารถหาซื้อได้ง่าย ซึ่งในปัจจุบันชาหญ้าดอกขาวถูกบรรจุอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2555 ในส่วนยาพัฒนาจากสมุนไพรส าหรับลดความอยากบุหรี่ในรูปแบบชง ใช้กินครั้งละ 2 กรัม โดยชง กับน้ าร้อนประมาณ 120-200 มิลลิเมตร ใช้กินหลังอาหารวันละ 3-4 ครั้ง แม้สมุนไพรชนิดนี้จะมีประโยชน์ แต่มีข้อเสียที่อาจเป็นประโยชน์อยู่ด้วย นั้นก็คือ เมื่อกินยาชนิด แล้วจะท าให้ปากแห้ง คอแห้ง ท าให้ไม่อยากอาหาร (ควรระวังในการใช้ในผู้ป่วยโรคหัวใจและโรคไ ต เนื่องจากสมุนไพรชนิดนี้มีโพแทสเซียมสูง) 2.มะนาว ชื่อสามัญ Lime ชื่อวิทยาศาสตร์ Citrus aurantiifolia (Christm.) Swingle จัดอยู่ในวงศ์ส้ม (RUTACEAE)


Click to View FlipBook Version