The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ป.1 เล่ม 1
สสวท.

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tassawan., 2022-04-05 03:19:18

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ป.1 เล่ม 1 สสวท

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ป.1 เล่ม 1
สสวท.

คู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐาน ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี

คเลม่ ณ๑ ติ ศาสตร์ ๑

ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวชวี้ ดั
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คมู่ ือครู

รายวชิ าพน้ื ฐาน

คณติ ศาสตร์

ช้ัน

ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เลม่ ๑

ตามมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชว้ี ดั
กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑
จดั ท�ำ โดย
สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

คำ�นำ�

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) มีหน้าที่ในการพัฒนาหลักสูตร
วธิ ีการเรียนรู้ การประเมนิ ผล การจดั ท�ำ หนังสอื เรยี น คูม่ อื ครู แบบฝกึ หัด กจิ กรรม และสอ่ื การเรยี นรู้
เพอ่ื ใชป้ ระกอบการเรยี นรใู้ นกลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรข์ องการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน

คู่มือครูรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เล่ม ๑ น้ี จัดทำ�ตามมาตรฐาน
การเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีเน้ือหาสาระเกี่ยวกับการวิเคราะห์ตัวชี้วัด
สาระการเรยี นรรู้ ายชน้ั ปี จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระส�ำ คญั แนวการจดั การเรยี นรู้ แนวการจดั กจิ กรรม
ตามหนังสือเรียน ตัวอย่างแบบทดสอบท้ายบทพร้อมเฉลย รวมทั้งเฉลยแบบฝึกหัด ซ่ึงสอดคล้องกับ
หนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐานคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ เลม่ ๑ ท่ีต้องใช้ควบค่กู นั

สสวท. หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือครูเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ และเป็นส่วน
สำ�คัญในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ขอขอบคุณ
ผู้ทรงคุณวฒุ ิ บุคลากรทางการศกึ ษาและหน่วยงานต่าง ๆ ทม่ี ีสว่ นเกยี่ วขอ้ งในการจดั ทำ�ไว้ ณ โอกาสนี้

(ศาสตราจารย์ชูกจิ ลิมปิจ�ำ นงค์)
ผู้อ�ำ นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำ�ชแี้ จง

สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจ้ ดั ท�ำ ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรู้
แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยมีจุดเน้นเพื่อต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้
ความสามารถท่ีทัดเทียมกับนานาชาติ ได้เรียนรู้คณิตศาสตร์ท่ีเช่ือมโยงความรู้กับกระบวนการ
ใช้กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ และแก้ปญั หาทีห่ ลากหลาย มีการทำ�กิจกรรมดว้ ยการลงมอื ปฏิบัติ
เพอ่ื ให้ผู้เรียนไดใ้ ชท้ กั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ สสวท. จึงได้
จดั ทำ�คมู่ อื ครปู ระกอบการใชห้ นงั สอื เรียนรายวชิ าพ้นื ฐานคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ เล่ม ๑
ทเ่ี ป็นไปตามมาตรฐานหลักสตู ร เพอ่ื เป็นแนวทางใหโ้ รงเรียนนำ�ไปจัดการเรยี นการสอนในชน้ั เรียน

ค่มู อื ครูรายวิชาพืน้ ฐานคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ เล่ม ๑ น้ี ประกอบดว้ ยเนอื้ หาสาระ
เก่ียวกบั การวเิ คราะหต์ วั ช้ีวัด สาระการเรียนรรู้ ายชนั้ ปี จุดประสงค์การเรยี นรู้ สาระสำ�คัญ แนวการ
จดั การเรยี นรู้ แนวการจดั กจิ กรรมตามหนงั สอื เรยี น ตวั อยา่ งแบบทดสอบประจ�ำ บทพรอ้ มเฉลย รวมทงั้
เฉลยแบบฝึกหัด ซ่ึงครูผู้สอนสามารถนำ�ไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้บรรลุ
จุดประสงค์ที่ตั้งไว้ โดยสามารถนำ�ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสมและความพร้อม
ของโรงเรียน ในการจัดทำ�ค่มู ือครเู ลม่ นี้ ได้รับความรว่ มมอื เปน็ อย่างดียง่ิ จากผทู้ รงคณุ วุฒิ คณาจารย์
นักวิชาการอิสระ รวมท้ังครูผู้สอน นักวิชาการ จากสถาบันและสถานศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน
จึงขอขอบคณุ มา ณ ที่นี้

สสวท. หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือครูรายวิชาพ้ืนฐานคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ เล่มน้ี
จะเปน็ ประโยชนแ์ กค่ รผู สู้ อน และผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ย ทจี่ ะชว่ ยใหจ้ ดั การศกึ ษาดา้ นคณติ ศาสตรไ์ ดอ้ ยา่ ง
มปี ระสทิ ธภิ าพ หากมีข้อเสนอแนะใดท่จี ะท�ำ ให้คมู่ อื ครูเลม่ นมี้ คี วามสมบรู ณย์ ิ่งขึน้ โปรดแจง้ สสวท.
ทราบดว้ ย จะขอบคุณยงิ่

สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธกิ าร

สารบัญ

สาระและมาตรฐานการเรยี นร ู้ หนา้
ค�ำ อธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน
โครงสร้างเวลาเรยี น (6)
ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรียนรู้ (7)
ตารางวิเคราะห์จดุ ประสงค์การเรียนร ู้ (8)
ผงั มโนทศั นส์ าระการเรยี นร้ ู (9)
แนวการจัดการเรยี นรู้ (16)
(23)
บทที่ 1 จ�ำ นวนนับ 1 ถึง 10 และ 0
1
ตวั อยา่ งแบบทดสอบท้ายบท 51
54
บทที่ 2 การบวกจำ�นวนสองจำ�นวนทผี่ ลบวกไมเ่ กนิ 10 94
96
ตัวอยา่ งแบบทดสอบทา้ ยบท 148
151
บทท่ี 3 การลบจำ�นวนสองจ�ำ นวนที่ตัวตัง้ ไม่เกิน 10 191
194
ตวั อยา่ งแบบทดสอบทา้ ยบท 268
270
บทท่ี 4 จำ�นวนนับ 11 ถงึ 20 291
296
ตัวอยา่ งแบบทดสอบทา้ ยบท 335
339
บทท่ี 5 การบวก การลบจ�ำ นวนนับไมเ่ กนิ 20

ตัวอยา่ งแบบทดสอบทา้ ยบท

บทท่ี 6 แผนภูมิรปู ภาพ

ตัวอย่างแบบทดสอบทา้ ยบท

บทท่ี 7 การวัดนำ้�หนกั

ตัวอย่างแบบทดสอบทา้ ยบท

กิจกรรมคณิตศาสตร์เชงิ สะเตม็

เฉลยแบบฝกึ หดั 341
บทที่ 1 จ�ำ นวนนบั 1 ถึง 10 และ 0 362
บทที่ 2 การบวกจำ�นวนสองจ�ำ นวนทีผ่ ลบวกไมเ่ กนิ 10 376
บทท่ี 3 การลบจำ�นวนสองจำ�นวนทต่ี ัวตั้งไม่เกิน 10 391
บทท่ี 4 จ�ำ นวนนบั 11 ถงึ 20 400
บทที่ 5 การบวก การลบจ�ำ นวนนับไมเ่ กิน 20 419
บทที่ 6 แผนภูมิรูปภาพ 424
บทท่ี 7 การวดั น้�ำ หนัก 439
ความรู้เพิม่ เตมิ สำ�หรับคร ู 460
คณะผู้จัดทำ�

คมู่ ือครรู ายวิชาพ้ืนฐานคณติ ศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
กล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระท่ี ๑ จำ�นวนและพีชคณติ

มาตรฐาน ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลายของการแสดงจำ�นวน ระบบจำ�นวน การดำ�เนินการของ
จำ�นวน ผลทเี่ กิดข้นึ จากการด�ำ เนนิ การ สมบตั ขิ องการดำ�เนนิ การ และน�ำ ไปใช้
มาตรฐาน ค ๑.๒ เข้าใจและวิเคราะหแ์ บบรปู ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลำ�ดับและอนกุ รม
และนำ�ไปใช้

สาระท่ี ๒ การวดั และเรขาคณิต

มาตรฐาน ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกยี่ วกบั การวดั วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ที่ต้องการวัด
และน�ำ ไปใช้
มาตรฐาน ค ๒.๒ เข้าใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัติของรปู เรขาคณิต ความสัมพนั ธ์
ระหว่างรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำ�ไปใช้

สาระที่ ๓ สถิติและความนา่ จะเปน็

มาตรฐาน ค ๓.๑ เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามรทู้ างสถิตใิ นการแกป้ ญั หา

(6)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

ค่มู อื ครรู ายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

คำ�อธบิ ายรายวชิ าพ้นื ฐาน

รหสั วชิ า ค ๑๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐๐ ชว่ั โมง

ศกึ ษา ฝึกทักษะการคิดคำ�นวณ และฝกึ การแกป้ ญั หาในสาระต่อไปนี้
การใชจ้ �ำ นวนบอกปรมิ าณทไ่ี ดจ้ ากการนบั การอา่ น และการเขยี นตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ และตวั เลขไทย
แสดงจ�ำ นวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐ และ ๐ การนบั ทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐ การบอกอนั ดบั ที่ การแสดงจ�ำ นวนนบั
ไมเ่ กนิ ๒๐ ในรปู ความสมั พนั ธข์ องจ�ำ นวนแบบสว่ นยอ่ ย – สว่ นรวม หลกั และคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั
การเขยี นตวั เลขแสดงจ�ำ นวนนบั ในรปู กระจาย การเปรยี บเทยี บจ�ำ นวน การใชเ้ ครอ่ื งหมาย = ≠ > <
การเรยี งล�ำ ดบั จ�ำ นวนไมเ่ กนิ ๕ จ�ำ นวน
ความหมายของการบวก ความหมายของการลบ การหาผลบวก การหาผลลบ ความสัมพันธ์ของ
การบวกและการลบ โจทย์ปญั หา
แบบรปู ของจ�ำ นวนทเ่ี พม่ิ ขน้ึ หรอื ลดลงทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐ แบบรปู ซ�ำ้ ของรปู เรขาคณติ และรปู อน่ื ๆ
การเปรยี บเทยี บและการวดั ความยาวเปน็ เซนตเิ มตร เปน็ เมตร การเปรยี บเทยี บและการวดั น�ำ้ หนกั
เปน็ กิโลกรัม เปน็ ขีด โจทย์ปัญหาการบวก และโจทย์ปัญหาการลบเกยี่ วกับความยาว น้�ำ หนกั
การจำ�แนกรูปสามเหลี่ยม รูปสเ่ี หลย่ี ม วงกลม วงรี ทรงสเี่ หลี่ยมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก
และกรวย
การใช้ข้อมูลจากแผนภูมิรูปภาพ เมื่อกำ�หนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หน่วย ในการหาคำ�ตอบของ
โจทย์ปัญหา
การจดั ประสบการณ์หรือการสร้างสถานการณ์ทใ่ี กลต้ วั ใหผ้ เู้ รียนไดศ้ กึ ษาคน้ ควา้ โดยปฏิบัตจิ รงิ
ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะการคิดคำ�นวณ และทักษะการแก้ปัญหา การให้เหตุผล
การส่ือสารและการส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำ�ประสบการณ์ความรู้ ความคิด ทักษะและ
กระบวนการทไ่ี ดไ้ ปใชใ้ นการเรยี นรสู้ ง่ิ ตา่ ง ๆ และใชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั อยา่ งสรา้ งสรรค์ รวมทง้ั เหน็ คณุ คา่
และมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อคณติ ศาสตร์ สามารถทำ�งานอยา่ งเปน็ ระบบระเบยี บ รอบคอบ มคี วามรับผดิ ชอบ
มวี จิ ารณญาณและเชอ่ื มนั่ ในตนเอง
การวดั ผลและประเมนิ ผล ใชว้ ธิ กี ารทหี่ ลากหลายตามสภาพความเปน็ จรงิ ของเนอ้ื หาและทกั ษะ
ท่ีตอ้ งการวัด

รหัสตวั ช้วี ัด

ค ๑.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓, ป.๑/๔, ป.๑/๕
ค ๑.๒ ป.๑/๑
ค ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
ค ๒.๒ ป.๑/๑
ค ๓.๑ ป.๑/๑
รวมทง้ั หมด ๑๐ ตวั ชว้ี ัด

(7)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

ค่มู ือครูรายวิชาพื้นฐานคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

โครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑

ภาคเรยี นที่ ๑ ภาคเรียนท่ี ๒

รายวิชา ชั่วโมง รายวชิ า ชั่วโมง
๙๕
รหสั วชิ า ค ๑๑๑๐๑ ๑๐๕ รหสั วชิ า ค ๑๑๑๐๑
ชื่อวชิ า คณติ ศาสตร์ ช่ือวิชา คณติ ศาสตร์

บทที่ ๑ จ�ำ นวนนบั ๑ ถงึ ๑๐ และ ๐ ๑๘ บทท่ี ๘ การบอกต�ำ แหนง่ และอนั ดบั ที่ ๘
บทที่ ๒ การบวกจำ�นวนสองจ�ำ นวน
๑๕ บทท่ี ๙ รูปเรขาคณิต ๑๔
ทีผ่ ลบวกไม่เกนิ ๑๐
บทที่ ๓ การลบจำ�นวนสองจำ�นวน บทท่ี ๑๐ จำ�นวนนับ ๒๑ ถงึ ๑๐๐ ๑๕

ทตี่ ัวตั้งไมเ่ กิน ๑๐ ๑๖ บทที่ ๑๑ การวดั ความยาว ๑๓
บทท่ี ๔ จ�ำ นวนนบั ๑๑ ถงึ ๒๐
บทท่ี ๕ การบวก การลบจำ�นวนนับ บทท่ี ๑๒ การบวกท่ผี ลบวก ๑๐

ไม่เกนิ ๒๐ ๑๒ ไม่เกนิ ๑๐๐
บทที่ ๖ แผนภูมิรูปภาพ
บทที่ ๗ การวดั น�ำ้ หนัก ๑๙ บทที่ ๑๓ การลบจำ�นวนท่ีตวั ตั้ง ๑๔
กจิ กรรมคณิตศาสตร์เชงิ สะเต็ม :
ยางยืดหยนุ่ ไมเ่ กิน ๑๐๐

๗ บทท่ี ๑๔ โจทยป์ ญั หาการบวกและ ๑๖

๑๓ โจทย์ปัญหาการลบ

๕ กจิ กรรมคณติ ศาสตร์เชงิ สะเตม็ : ๕

พบั แบบไหนพงุ่ ไกลสุด

หมายเหตุ ๑. ควรสอนวนั ละ ๑ ชว่ั โมงทกุ วัน

๒. จ�ำ นวนช่ัวโมงทใ่ี ชส้ อนแต่ละบทนน้ั ได้ รวมเวลาทใ่ี ชท้ ดสอบไว้แลว้

๓. ก�ำ หนดเวลาทใี่ หไ้ วแ้ ตล่ ะบทเปน็ เวลาโดยประมาณ ผสู้ อนอาจปรบั ใหเ้ หมาะสมกบั

ระดบั ความสามารถของนกั เรยี น

(8)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

คมู่ อื ครูรายวิชาพ้นื ฐานคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐา

ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นร้คู ณติ

สาระที่ มาตรฐานการเรียนรู้ ป.๑

๑ จำ�นวนและพีชคณิต ค ๑.๑ เขา้ ใจความหลากหลาย ๑. บอกจ�ำ นวนขอ
ของการแสดงจ�ำ นวน ระบบ แสดงสง่ิ ต่าง ๆ
จ�ำ นวน การดำ�เนินการของ จ�ำ นวนทกี่ ำ�ห
จำ�นวน ผลท่ีเกิดขึน้ จาก และเขยี นตวั เล
การดำ�เนินการ สมบัตขิ อง ตัวเลขไทยแส
การดำ�เนินการ และน�ำ ไปใช้ จำ�นวนนับไมเ่
และ ๐

๒. เปรียบเทียบจ
ไม่เกิน ๑๐๐ แ
โดยใช้เคร่อื งห
=≠><

๓. เรียงลำ�ดับจ�ำ น
ไมเ่ กิน ๑๐๐ แ
ตัง้ แต่ ๓ ถึง ๕

๔. หาคา่ ของตัวไ
ในประโยคสัญ
แสดงการบวก

าน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ – ๓

ตวั ชว้ี ัด

ป.๒ ป.๓

องสง่ิ ตา่ ง ๆ ๑. บอกจ�ำ นวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ ๑. อา่ นและเขยี นตวั เลข
ๆ ตาม แสดงสง่ิ ต่าง ๆ ตาม ฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย
หนด อา่ น จ�ำ นวนที่กำ�หนด อา่ นและ และตวั หนงั สอื แสดง
ลขฮนิ ดอู ารบกิ เขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ จ�ำ นวนนบั ไม่เกนิ
สดง ตัวเลขไทย ตวั หนงั สือ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
เกนิ ๑๐๐ แสดงจำ�นวนนับไมเ่ กนิ
๑,๐๐๐ และ ๐ ๒. เปรียบเทียบและเรยี ง
จ�ำ นวนนบั ลำ�ดบั จ�ำ นวนนับไม่เกนิ
และ ๐ ๒. เปรยี บเทียบจำ�นวนนับ ๑๐๐,๐๐๐ จาก
หมาย ไมเ่ กนิ ๑,๐๐๐ และ ๐ สถานการณต์ ่าง ๆ
โดยใช้เครอื่ งหมาย
นวนนับ =≠>< ๓. บอก อ่าน และเขียน
และ ๐ เศษส่วนแสดงปริมาณ
๕ จ�ำ นวน ๓. เรยี งล�ำ ดบั จำ�นวนนับ สงิ่ ต่าง ๆ และแสดง
ไมท่ ราบคา่ ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ส่ิงตา่ ง ๆ ตามเศษส่วน
ญลกั ษณ์ ตั้งแต่ ๓ ถงึ ๕ จ�ำ นวนจาก ทีก่ �ำ หนด
กและ สถานการณ์ต่าง ๆ
๔. เปรียบเทยี บเศษส่วนท่ี
๔. หาค่าของตวั ไมท่ ราบคา่ ตวั เศษเท่ากัน โดยที่
ตวั เศษนอ้ ยกวา่ หรอื

(9)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

คมู่ ือครูรายวชิ าพ้ืนฐานคณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑
กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐา

สาระที่ มาตรฐานการเรยี นรู้ ป.๑

ประโยคสญั ลกั
การลบของจำ�
ไม่เกิน ๑๐๐ แ

๕. แสดงวธิ หี าคำ�
โจทย์ปญั หาก
โจทยป์ ญั หาก
จำ�นวนนบั ไมเ่
และ ๐

(10)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

าน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ตัวชวี้ ดั

ป.๒ ป.๓

กษณแ์ สดง ในประโยคสัญลักษณ์ เทา่ กับตัวส่วน
๕. หาค่าของตวั ไม่ทราบคา่
�นวนนับ แสดงการบวกและ
ในประโยคสญั ลกั ษณ์
และ ๐ ประโยคสญั ลกั ษณ์แสดง แสดงการบวกและ
ประโยคสัญลักษณแ์ สดง
�ตอบของ การลบของจ�ำ นวนนบั การลบของจ�ำ นวนนบั
ไมเ่ กนิ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
การบวกและ ไม่เกิน ๑,๐๐๐ และ ๐ ๖. หาค่าของตวั ไม่ทราบค่า
ในประโยคสัญลักษณ์
การลบของ ๕. หาค่าของตวั ไมท่ ราบค่า แสดงการคูณของจำ�นวน
๑ หลักกับจำ�นวนไมเ่ กิน
เกิน ๑๐๐ ในประโยคสัญลักษณ์ ๔ หลัก และจำ�นวน ๒
หลกั กบั จำ�นวน ๒ หลัก
แสดงการคูณของจ�ำ นวน ๗. หาค่าของตัวไม่ทราบค่า
ในประโยคสัญลักษณ์
๑ หลักกับจ�ำ นวนไมเ่ กิน แสดงการหารทต่ี วั ตง้ั
ไมเ่ กนิ ๔ หลกั ตวั หาร
๒ หลกั ๑ หลัก
๘. หาผลลพั ธ์การบวก ลบ
๖. หาค่าของตวั ไม่ทราบค่า

ในประโยคสญั ลักษณ์

แสดงการหารทต่ี ัวตัง้

ไมเ่ กนิ ๒ หลัก ตัวหาร

๑ หลกั โดยท่ีผลหาร

มี ๑ หลักทัง้ หารลงตวั

และหารไมล่ งตัว

๗. หาผลลพั ธ์การบวก

ลบ คณู หารระคนของ

ค่มู อื ครรู ายวชิ าพืน้ ฐานคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐา

สาระที่ มาตรฐานการเรยี นรู้ ป.๑

าน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชีว้ ัด ป.๓

ป.๒ คณู หารระคนของ
จ�ำ นวนนับไมเ่ กิน
จ�ำ นวนนบั ไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
และ ๐
๙. แสดงวธิ ีหาคำ�ตอบของ
๘. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของ โจทยป์ ัญหา ๒ ข้นั ตอน
โจทยป์ ัญหา ๒ ข้นั ตอน ของจ�ำ นวนนับไมเ่ กนิ
ของจำ�นวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐,๐๐๐ และ ๐
๑,๐๐๐ และ ๐
๑๐. หาผลบวกของเศษสว่ น
ที่มตี ัวสว่ นเท่ากนั และ
ผลบวกไมเ่ กนิ ๑ และหา
ผลลบของเศษสว่ นทีม่ ี
ตวั ส่วนเทา่ กนั

๑๑. แสดงวธิ หี าค�ำ ตอบของ
โจทยป์ ัญหาการบวก
เศษสว่ นทม่ี ีตัวส่วนเทา่ กัน
และผลบวกไม่เกิน ๑ และ
โจทยป์ ญั หาการลบเศษสว่ น
ท่มี ีตวั สว่ นเท่ากนั

(11)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

คู่มอื ครูรายวิชาพื้นฐานคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐา

สาระท่ี มาตรฐานการเรียนรู้ ป.๑

ค ๑.๒ เขา้ ใจและวิเคราะห์ ๑. ระบุจำ�นวนทห่ี
แบบรปู ความสมั พันธ์ ฟงั กช์ ัน แบบรูปของจ
ล�ำ ดับและอนกุ รม และน�ำ ไปใช้ ขนึ้ หรอื ลดลงท
ทีละ ๑๐ และ
หายไปในแบบ
รูปเรขาคณติ แ
ทส่ี มาชิกในแต
มี ๒ รูป

๒ การวดั และเรขาคณิต ค ๒.๑ เข้าใจพื้นฐานเกย่ี วกับ ๑. วดั และเปรยี บ
การวัด วดั และคาดคะเนขนาด ความยาวเป็น
ของสง่ิ ทต่ี อ้ งการวดั และน�ำ ไปใช้ เป็นเมตร

๒. วัดและเปรียบ
น้�ำ หนักเปน็ ก
เปน็ ขีด

(12)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

าน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ตวั ชี้วดั ป.๓
ป.๒
๑. ระบุจำ�นวนที่หายไปใน
หายไปใน แบบรปู ของจำ�นวนทเ่ี พิ่ม
จ�ำ นวนที่เพิม่ ขึ้นหรือลดลงทลี ะเทา่ ๆ
ทลี ะ ๑ และ กัน
ะระบรุ ปู ที่
บรูปซ้�ำ ของ
และรูปอื่น ๆ
ตล่ ะชุดท่ซี ้ำ�

บเทยี บ ๑. แสดงวธิ หี าคำ�ตอบของ ๑. แสดงวิธหี าค�ำ ตอบของ
นเซนตเิ มตร โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั เวลา โจทยป์ ัญหาเกย่ี วกับเงิน
ท่มี ีหน่วยเดย่ี วและเปน็
บเทียบ หน่วยเดยี วกนั ๒. แสดงวธิ หี าค�ำ ตอบของ
กิโลกรัม โจทย์ปัญหาเกย่ี วกบั เวลา
๒. วัดและเปรียบเทยี บ และระยะเวลา
ความยาวเปน็ เมตรและ
เซนตเิ มตร ๓. เลอื กใชเ้ ครอ่ื งวดั ความยาว
ทเ่ี หมาะสม วดั และบอก
๓. แสดงวิธหี าคำ�ตอบของ ความยาวของสง่ิ ตา่ ง ๆ เปน็
โจทยป์ ัญหาการบวก เซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร
การลบเก่ยี วกบั ความยาว เมตรและเซนตเิ มตร

ค่มู ือครรู ายวิชาพนื้ ฐานคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐา

สาระท่ี มาตรฐานการเรยี นรู้ ป.๑

าน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ตัวชวี้ ัด ป.๓

ป.๒ ๔. คาดคะเนความยาวเปน็
เมตรและเป็นเซนติเมตร
ทม่ี ีหน่วยเปน็ เมตรและ
เซนตเิ มตร ๕. เปรยี บเทียบความยาว
ระหวา่ งเซนตเิ มตรกบั
๔. วัดและเปรยี บเทียบ มลิ ลิเมตร เมตรกับ
นำ้�หนักเปน็ กิโลกรมั และ เซนตเิ มตร กโิ ลเมตร
กรมั กโิ ลกรัมและขีด กับเมตร จากสถานการณ์
ตา่ ง ๆ
๕. แสดงวิธหี าคำ�ตอบของ
โจทยป์ ญั หาการบวก ๖. แสดงวธิ หี าคำ�ตอบของ
การลบเกีย่ วกบั น้�ำ หนกั โจทย์ปญั หาเกย่ี วกบั
ทีม่ ีหน่วยเป็นกโิ ลกรมั ความยาว ท่ีมีหน่วยเปน็
และกรมั กโิ ลกรัมและขดี เซนติเมตรและมลิ ลิเมตร
เมตรและเซนตเิ มตร
๖. วัดและเปรยี บเทยี บ กโิ ลเมตรและเมตร
ปรมิ าตรและความจุ
เป็นลิตร ๗. เลอื กใชเ้ ครอ่ื งชง่ั ทเ่ี หมาะสม
วดั และบอกนำ�้ หนักเป็น
กิโลกรมั และขดี กโิ ลกรัม
และกรัม

(13)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

ค่มู อื ครูรายวิชาพน้ื ฐานคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
กลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐา

สาระท่ี มาตรฐานการเรยี นรู้ ป.๑

(14)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

าน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ตัวช้วี ัด ป.๓
ป.๒
๘. คาดคะเนนำ้�หนกั เปน็
กโิ ลกรมั และเปน็ ขดี

๙. เปรยี บเทยี บนำ้�หนกั
ระหว่างกิโลกรัมกับกรมั
เมตรกิ ตนั กบั กิโลกรัม
จากสถานการณ์ต่าง ๆ

๑๐. แสดงวธิ หี าค�ำ ตอบของ
โจทยป์ ัญหาเกี่ยวกับ
น�ำ้ หนกั ทม่ี ีหนว่ ยเป็น
กิโลกรมั กบั กรมั
เมตรกิ ตนั กับกโิ ลกรมั

๑๑. เลอื กใชเ้ คร่อื งตวง
ที่เหมาะสม วัดและ
เปรยี บเทยี บปรมิ าตร
ความจเุ ป็นลิตรและ
มิลลลิ ิตร

๑๒. คาดคะเนปริมาตรและ
ความจเุ ป็นลติ ร

คู่มือครรู ายวิชาพนื้ ฐานคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑
กล่มุ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐา

สาระท่ี มาตรฐานการเรียนรู้ ป.๑

ค ๒.๒ เข้าใจและวิเคราะห์ ๑. จำ�แนกรปู ส
รูปเรขาคณติ สมบตั ขิ อง รูปสเ่ี หลี่ยม
รูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ ทรงส่เี หล่ียม
ระหว่างรูปเรขาคณิต และ ทรงกลม ทร
ทฤษฏีบททางเรขาคณติ และ และกรวย
น�ำ ไปใช้

๓ สถติ แิ ละความนา่ จะเปน็ ค ๓.๑ เข้าใจกระบวนการ ๑. ใช้ข้อมลู จาก
ทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิติ รปู ภาพในก
ในการแก้ปัญหา ของโจทยป์
กำ�หนดรปู ๑
๑ หนว่ ย

าน พุทธศักราช ๒๕๕๑

๑ ตวั ช้วี ัด ป.๓
ป.๒
สามเหลีย่ ม ๑๓. แสดงวิธหี าคำ�ตอบของ
ม วงกลม วงรี ๑. จำ�แนกและบอกลกั ษณะ โจทย์ปญั หาเกี่ยวกับ
มมมุ ฉาก ของรปู หลายเหลี่ยมและ ปริมาตรและความจทุ ีม่ ี
รงกระบอก วงกลม หน่วยเป็นลติ รและ
มิลลิลิตร

๑. ระบุรูปเรขาคณติ สองมติ ิ
ทมี่ แี กนสมมาตรและ
จ�ำ นวนแกนสมมาตร

กแผนภมู ิ ๑. ใชข้ ้อมูลจากแผนภมู ิ ๑. เขยี นแผนภูมิรปู ภาพ และ
การหาค�ำ ตอบ รูปภาพในการหาค�ำ ตอบ ใชข้ ้อมลู จากแผนภูมิ
ปัญหา เม่ือ ของโจทยป์ ัญหาเมื่อ รปู ภาพในการหาค�ำ ตอบ
๑ รูปแทน กำ�หนดรูป ๑ รปู แทน ของโจทย์ปญั หา
๒ หน่วย ๕ หน่วย หรือ
๑๐ หนว่ ย ๒. เขียนตารางทางเดียวจาก
ขอ้ มลู ท่เี ปน็ จำ�นวนนับ
และใช้ขอ้ มลู จากตาราง
ทางเดียวในการหาค�ำ ตอบ
ของโจทย์ปญั หา

(15)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

คู่มือครูรายวิชาพน้ื ฐานคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ ๑
กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐา

ตารางวเิ คราะหจ์ ดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ตวั ชี้วัด แ

บทที่ เร่ือง จดุ ประสงค์การเรียนรู้
๑ จ�ำ นวนนบั ๑ ถงึ ๑๐ และ ๐
๑. บอกจำ�นวนของส่ิงตา่ ง ๆ และ
แสดงสิ่งต่าง ๆ ตามจำ�นวน
ทก่ี �ำ หนด ๑ ถงึ ๑๐ และ ๐

๒. อา่ นและเขยี นตัวเลข
ฮนิ ดูอารบกิ ตวั เลขไทย
แสดงจ�ำ นวนนบั
๑ ถงึ ๑๐ และ ๐

๓. เปรียบเทยี บและเรยี งลำ�ดบั
จ�ำ นวนนับ ๑ ถงึ ๑๐ และ ๐

๒ การบวกจำ�นวนสองจ�ำ นวน ๑. หาผลบวกในประโยคสญั ลกั ษณ
ทผ่ี ลบวกไมเ่ กนิ ๑๐ แสดงการบวกของจ�ำ นวนนบั
ไมเ่ กิน ๑๐ และ ๐

๒. แสดงวธิ ีหาค�ำ ตอบของโจทย์
ปญั หาการบวกของจ�ำ นวนนบั
ไม่เกนิ ๑๐ และ ๐

(16)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

าน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

และสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑

ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรู้

๑. บอกจำ�นวนของสิ่งต่าง ๆ - การนบั ทีละ ๑ และทีละ ๑๐
แสดงสิ่งตา่ ง ๆ ตามจำ�นวน - การอ่านและการเขยี นตวั เลข
ที่กำ�หนด อ่านและเขียนตวั เลข
ฮินดอู ารบิก ตวั เลขไทย ฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทยแสดง
แสดงจ�ำ นวนนบั ไมเ่ กิน ๑๐๐ จำ�นวน
และ ๐ - การแสดงจ�ำ นวนนับไมเ่ กนิ ๒๐
ในรูปความสมั พนั ธข์ องจ�ำ นวน
๒. เปรยี บเทยี บจำ�นวนนบั ไมเ่ กนิ แบบสว่ นย่อย - ส่วนรวม
๑๐๐ และ ๐ โดยใชเ้ ครื่องหมาย (Part -Whole Relationship)
=≠>< - การเปรยี บเทยี บจำ�นวนและ
การใชเ้ คร่ืองหมาย = ≠ > <
๓. เรยี งล�ำ ดบั จ�ำ นวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐๐ - การเรียงล�ำ ดบั จำ�นวน
และ ๐ ตง้ั แต่ ๓ ถึง ๕ จำ�นวน

ณ์ ๑. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าใน - ความหมายของการบวก

ประโยคสัญลักษณแ์ สดง ความหมายของการลบ

การบวกและประโยคสญั ลกั ษณ์ การหาผลบวก การหาผลลบ และ

แสดงการลบของจ�ำ นวนนับ ความสมั พนั ธข์ องการบวก

ไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ และการลบ

๒. แสดงวธิ หี าคำ�ตอบของโจทย์ - การแก้โจทย์ปัญหาการบวก
ปัญหาการบวกและโจทยป์ ญั หา โจทยป์ ญั หาการลบ และ
การลบของจำ�นวนนบั ไม่เกนิ
การสรา้ งโจทยป์ ญั หา
๑๐๐ และ ๐
พรอ้ มทั้งหาค�ำ ตอบ

คู่มอื ครรู ายวชิ าพน้ื ฐานคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐา

บทท่ี เร่ือง จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๓ การลบจ�ำ นวนสองจำ�นวน
ทต่ี ัวตั้งไม่เกิน ๑๐ ๑. หาผลลบในประโยคสญั ลกั ษณ์
แสดงการลบของจำ�นวนนบั
๔ จ�ำ นวนนับ ๑๑ ถงึ ๒๐ ไม่เกิน ๑๐ และ ๐

๒. ใชค้ วามสมั พนั ธ์ของการบวก
และการลบ ช่วยในการหาค่า
ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค
สัญลกั ษณแ์ สดงการบวกและ
ประโยคสัญลกั ษณแ์ สดงการลบ
ของจ�ำ นวนนบั ไมเ่ กนิ ๑๐ และ ๐

๓. แสดงวธิ ีหาค�ำ ตอบของโจทย์
ปัญหาการลบของจำ�นวนนับ
ไมเ่ กิน ๑๐ และ ๐

๑. บอกจ�ำ นวนของสิ่งต่าง ๆ และ
แสดงสิง่ ต่าง ๆ ตามจำ�นวนท่ี
กำ�หนด ๑๑ ถงึ ๒๐

๒. อ่านและเขียนตวั เลขฮินดู
อารบกิ ตัวเลขไทย ตวั หนังสอื
แสดงจำ�นวนนับ ๑๑ ถึง ๒๐

๓. เปรยี บเทยี บและเรียงล�ำ ดบั
จ�ำ นวนนับ ๑๑ ถงึ ๒๐

าน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรู้

๑. หาคา่ ของตัวไม่ทราบค่าใน - ความหมายของการบวก

ประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการบวก ความหมายของการลบ

และประโยคสัญลกั ษณ์แสดง การหาผลบวก การหาผลลบ

การลบของจ�ำ นวนนับไม่เกิน และความสัมพันธข์ องการบวก

๑๐๐ และ ๐ และการลบ

๒. แสดงวธิ หี าค�ำ ตอบของโจทย์ - การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก

ปญั หาการบวกและโจทยป์ ัญหา โจทย์ปัญหาการลบ และ

บ การลบของจ�ำ นวนนบั ไม่เกนิ การสร้างโจทยป์ ญั หา

๐ ๑๐๐ และ ๐ พรอ้ มท้งั หาคำ�ตอบ

๑. บอกจำ�นวนของสงิ่ ต่าง ๆ แสดง - การนับทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐
ส่งิ ต่าง ๆ ตามจ�ำ นวนทก่ี ำ�หนด - การอ่านและการเขยี นตัวเลข
อา่ นและเขยี นตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ
ตัวเลขไทยแสดงจ�ำ นวนนับ ฮินดูอารบิก ตวั เลขไทยแสดงจำ�นวน
ไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ - การแสดงจำ�นวนนับไมเ่ กนิ ๒๐

๒. เปรยี บเทียบจ�ำ นวนนับไม่เกิน ในรปู ความสมั พันธ์ของจ�ำ นวน
๑๐๐ และ ๐ โดยใช้เครอื่ งหมาย แบบส่วนย่อย - สว่ นรวม
=≠>< (Part - Whole Relationship)
- การบอกอนั ดับท่ี
๓. เรียงล�ำ ดบั จ�ำ นวนนบั ไมเ่ กิน - หลัก ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั
๑๐๐ และ ๐ ต้ังแต่ ๓ ถึง ๕ และการเขยี นตัวเลขแสดงจำ�นวน
จำ�นวน ในรปู กระจาย

(17)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

คู่มอื ครูรายวิชาพืน้ ฐานคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑
กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐา

บทที่ เร่อื ง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๕ การบวก การลบจ�ำ นวนนบั
ไมเ่ กนิ ๒๐ ๑. หาผลบวกในประโยคสญั ลกั ษณ
แสดงการบวกของจ�ำ นวนนบั
๖ แผนภูมริ ูปภาพ ไม่เกิน ๒๐ และ ๐

๒. หาผลลบในประโยคสญั ลกั ษณ์
แสดงการลบของจ�ำ นวนนับ
ไมเ่ กิน ๒๐ และ ๐

๓. หาค่าของตวั ไม่ทราบค่าใน
ประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการบวก
และประโยคสัญลักษณ์แสดง
การลบของจำ�นวนนบั ไม่เกิน
๒๐ และ ๐

4. แสดงวิธหี าคำ�ตอบของโจทย์
ปัญหาแสดงการบวกและโจทย์
ปญั หาแสดงการลบของ
จำ�นวนนับไม่เกิน ๒๐ และ ๐

๑. อา่ นขอ้ มลู จากแผนภูมริ ูปภาพ
เมือ่ ก�ำ หนดรปู ๑ รปู
แทน ๑ หน่วย

๒. ใช้ขอ้ มลู จากแผนภูมริ ูปภาพใน
การหาค�ำ ตอบของโจทยป์ ัญหา
เม่ือก�ำ หนดรปู ๑ รปู แทน
๑ หนว่ ย

(18)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

าน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้

ณ์ ๑. หาค่าของตัวไม่ทราบคา่ ใน - ความหมายของการบวก

ประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการบวก ความหมายของการลบ

และประโยคสญั ลกั ษณ์แสดง การหาผลบวก การหาผลลบ

การลบของจำ�นวนนับไมเ่ กนิ และความสัมพนั ธข์ องการบวก

๑๐๐ และ ๐ และการลบ

๒. แสดงวิธีหาค�ำ ตอบของโจทย์ - การแก้โจทยป์ ญั หาการบวก

ปัญหาการบวกและโจทยป์ ัญหา โจทย์ปญั หาการลบ และ

ก การลบของจ�ำ นวนนบั ไมเ่ กิน การสรา้ งโจทยป์ ญั หา

๑๐๐ และ ๐ พร้อมทง้ั หาค�ำ ตอบ

๑. ใช้ข้อมลู จากแผนภูมิรูปภาพใน - การอ่านแผนภมู ริ ูปภาพ
การหาคำ�ตอบของโจทยป์ ญั หา
เมือ่ ก�ำ หนดรปู ๑ รูป แทน
๑ หนว่ ย

คู่มอื ครรู ายวชิ าพื้นฐานคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑
กล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐา

บทท่ี เรือ่ ง จุดประสงค์การเรียนรู้

๗ การวัดนำ้�หนัก ๑. บอกไดว้ า่ สง่ิ ใด หนกั กวา่ เบากวา่
หนกั เทา่ กัน หนกั ทสี่ ดุ เบาที่สดุ

๒. ช่ังและบอกน้ำ�หนักเปน็ กโิ ลกรมั
เปน็ ขีด

๓. เปรียบเทยี บน�ำ้ หนกั เป็น
กโิ ลกรัม เป็นขดี

๔. แก้โจทย์ปญั หาการบวก โจทย์
ปญั หาการลบเกยี่ วกบั นำ�้ หนัก

๘ การบอกต�ำ แหนง่ และอนั ดบั ที่ ๑. อธบิ ายตำ�แหน่งของสง่ิ ต่าง ๆ
โดยใชค้ �ำ ทใ่ี ชใ้ นการบอกต�ำ แหนง่

๒. แสดงตำ�แหน่งของส่ิงต่าง ๆ
ตามอนั ดบั ทีท่ ก่ี ำ�หนด

๓. น�ำ ความรูเ้ ร่อื งอันดบั ทไ่ี ปใช้

๙ รูปเรขาคณิต ๑. จำ�แนกทรงสเี่ หลีย่ มมุมฉาก
ทรงกลม ทรงกระบอก และกรวย

๒. จำ�แนกรปู สามเหล่ียม
รูปสี่เหลี่ยม วงกลม และวงรี

๓. บอกลกั ษณะรูปสามเหลี่ยม
รูปสี่เหลยี่ ม วงกลม และวงรี

๔. เขยี นรปู สามเหลีย่ ม รูปสเ่ี หลยี่ ม
วงกลม และวงรี โดยใชแ้ บบของรปู

๕. บอกรปู ทห่ี ายไปในแบบรปู ซ�ำ้ ของ
รปู เรขาคณติ และรปู อน่ื ๆ

๖. สรา้ งแบบรปู ของรปู เรขาคณติ

าน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑

ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้

า ๑. วัดและเปรยี บเทียบน�้ำ หนักเปน็ - การวัดน�้ำ หนกั โดยใช้หน่วยที่

ด กโิ ลกรมั เปน็ ขีด ไม่ใชห่ น่วยมาตรฐาน

ม - การวดั น�ำ้ หนกั เปน็ กโิ ลกรมั เปน็ ขดี

- การเปรยี บเทยี บน้ำ�หนกั

เป็นกิโลกรมั เปน็ ขดี

- การแก้โจทย์ปัญหาการบวก

การลบเก่ียวกับน�ำ้ หนักท่ีมี

หนว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั เปน็ ขดี

- - การบอกอันดบั ที่

๑. จ�ำ แนกรูปสามเหลี่ยม - แบบรูปซ�ำ้ ของจำ�นวน

ย รปู สี่เหล่ียม วงกลม วงรี รูปเรขาคณิตและรปู อืน่ ๆ

ทรงสเ่ี หลยี่ มมมุ ฉาก ทรงกลม - ลักษณะของทรงสเ่ี หลย่ี มมมุ ฉาก

ทรงกระบอก และกรวย ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย

๒. ระบจุ �ำ นวนทหี่ ายไปในแบบรูป - ลักษณะของรปู สามเหล่ียม

ของจ�ำ นวนทเ่ี พม่ิ ขน้ึ หรอื ลดลง รปู สเ่ี หล่ยี ม วงกลม และวงรี

ม ทีละ ๑ และทีละ ๑๐ และระบุ

ป รูปท่ีหายไปในแบบรูปซ้ำ�ของรูป

เรขาคณิตและรปู อ่ืน ๆ ท่ี

สมาชิกในแตล่ ะชดุ ทซ่ี �้ำ มี ๒ รูป

(19)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

คมู่ อื ครรู ายวิชาพน้ื ฐานคณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐา

บทท่ี เรอ่ื ง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑๐ จ�ำ นวนนับ ๒๑ ถึง ๑๐๐
๑. บอกจำ�นวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ และ
แสดงส่ิงต่าง ๆ ตามจ�ำ นวนท่ี
กำ�หนด ๒๑ ถงึ ๑๐๐

๒. อา่ นและเขยี นตัวเลขฮนิ ดู
อารบกิ ตวั เลขไทย ตวั หนังสือ
แสดงจ�ำ นวนนับ ๒๑ ถึง ๑๐๐

๓. เปรียบเทียบและเรยี งลำ�ดบั
จ�ำ นวนนับ ๒๑ ถงึ ๑๐๐

๔. บอกจ�ำ นวนทห่ี ายไปในแบบรปู
ของจ�ำ นวนท่ีเพ่มิ ข้ึน หรอื ลดลง
ทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐

๑๑ การวดั ความยาว ๑. เปรยี บเทียบความยาวระหวา่ ง
สิง่ ของโดยใช้ค�ำ วา่ ยาวกว่า
ส้ันกว่า สงู กว่า เตย้ี กวา่
เทา่ กัน ยาวทีส่ ุด ส้ันที่สุด
สงู ที่สุด เตีย้ ทส่ี ุด

๒. วดั และเปรยี บเทียบความยาว
ท่มี หี น่วยเป็นเซนติเมตร
เปน็ เมตร

(20)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

าน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรู้

๑. บอกจำ�นวนของสงิ่ ตา่ ง ๆ - การนบั ทีละ ๑ และทีละ ๑๐

แสดงสิง่ ตา่ ง ๆ ตามจ�ำ นวน - การอา่ นและการเขียนตวั เลข

ทก่ี �ำ หนด อ่านและเขียนตวั เลข ฮนิ ดอู ารบิก ตวั เลขไทยแสดง

ฮินดูอารบิก ตวั เลขไทยแสดง จำ�นวน

จำ�นวนนบั ไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ - การแสดงจำ�นวนนบั ไม่เกนิ ๒๐

๒. เปรยี บเทยี บจำ�นวนนบั ไมเ่ กิน ในรปู ความสมั พนั ธข์ องจำ�นวน

๑๐๐ และ ๐ โดยใชเ้ ครอ่ื งหมาย แบบสว่ นยอ่ ย - ส่วนรวม

=≠>< (Part - Whole Relationship)

๓. เรยี งลำ�ดับจ�ำ นวนนบั ไม่เกิน - การบอกอนั ดบั ที่

ง ๑๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ - คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก

จ�ำ นวน และการเขยี นตัวเลขแสดงจำ�นวน

ในรปู กระจาย

- การเปรยี บเทียบจ�ำ นวนและการ

ใชเ้ ครือ่ งหมาย = ≠ > <

- การเรยี งลำ�ดับจ�ำ นวน

๑. วดั และเปรยี บเทียบความยาว - การวัดความยาวโดยใช้หน่วยที่
เป็นเซนติเมตร เปน็ เมตร ไม่ใชห่ นว่ ยมาตรฐาน

- การวัดความยาวเป็นเซนตเิ มตร
เปน็ เมตร

- การเปรยี บเทยี บความยาวเป็น
เซนติเมตร เป็นเมตร

- การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก
การลบเก่ียวกบั ความยาวที่มี
หนว่ ยเปน็ เซนติเมตร เป็นเมตร

คู่มือครรู ายวชิ าพ้นื ฐานคณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐา

บทที่ เรอื่ ง จุดประสงค์การเรียนรู้

๑๒ การบวกทผี่ ลบวกไม่เกนิ ๑๐๐ ๑. หาผลบวกจ�ำ นวนสองหลักกับ
จำ�นวนหนง่ึ หลกั ทผ่ี ลบวก
ไมเ่ กนิ ๑๐๐

๒. หาผลบวกจำ�นวนสองหลกั กับ
จำ�นวนสองหลกั ทผ่ี ลบวก
ไมเ่ กนิ ๑๐๐

๑๓ การลบจำ�นวนทีต่ วั ตัง้ ไมเ่ กนิ ๑. หาผลลบจำ�นวนสองหลักกับ
๑๐๐ จำ�นวนหน่ึงหลักท่ตี ัวตง้ั มากกวา่
๒๐ แต่ไมเ่ กิน ๑๐๐

๒. หาผลลบจ�ำ นวนสองหลักกบั
จ�ำ นวนสองหลกั ทต่ี วั ตั้งมากกวา่
๒๐ แตไ่ มเ่ กิน ๑๐๐

๓. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบค่าใน
ประโยคสัญลักษณก์ ารบวก
และประโยคสัญลกั ษณก์ ารลบ

าน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้

๑. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบคา่ ใน - ความหมายของการบวก

ประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการบวก ความหมายของการลบ

และประโยคสญั ลักษณแ์ สดง การหาผลบวก การหาผลลบ และ

การลบของจำ�นวนนับไมเ่ กิน ความสัมพนั ธข์ องการบวกและ

๑๐๐ และ ๐ การลบ

๒. แสดงวธิ หี าคำ�ตอบของโจทย์ - การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก

ปัญหาแสดงการบวกและโจทย์ โจทยป์ ญั หาการลบและ

ปญั หาแสดงการลบของ การสร้างโจทย์ปญั หา

จำ�นวนนับไม่เกนิ ๑๐๐ และ ๐ พร้อมทง้ั หาค�ำ ตอบ

๑. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ใน - ความหมายของการบวก

า ประโยคสัญลกั ษณ์แสดงการบวก ความหมายของการลบ
และประโยคสัญลกั ษณ์แสดง
การหาผลบวก
การลบของจำ�นวนนับไม่เกิน
า ๑๐๐ และ ๐ การหาผลลบ และความสัมพนั ธ์
๒. แสดงวิธีหาคำ�ตอบของโจทย์ ของการบวกและการลบ
ปญั หาการบวกและโจทยป์ ญั หา - การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก
การลบของจำ�นวนนับไมเ่ กนิ โจทยป์ ญั หาการลบและการสรา้ ง

๑๐๐ และ ๐ โจทยป์ ัญหา พรอ้ มทงั้ หาคำ�ตอบ

(21)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

ค่มู อื ครูรายวชิ าพ้นื ฐานคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑
กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐา

บทที่ เรอื่ ง จุดประสงค์การเรยี นรู้

๑๔ โจทยป์ ญั หาการบวกและโจทย์ ๑. แสดงวิธหี าคำ�ตอบของโจทย์

ปญั หาการลบ ปัญหาการบวกของจำ�นวนนับท

ผลบวกไมเ่ กนิ ๑๐๐

๒. แสดงวธิ ีหาค�ำ ตอบของโจทย์

ปัญหาการลบของจำ�นวนนบั

ทตี่ วั ตง้ั ไมเ่ กิน ๑๐๐

(22)   สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)

าน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรู้

๑. หาคา่ ของตัวไม่ทราบคา่ ใน - ความหมายของการบวก

ท่ี ประโยคสญั ลักษณ์แสดงการบวก ความหมายของการลบ

และประโยคสญั ลักษณ์แสดง การหาผลบวก การหาผลลบ

การลบของจำ�นวนนับไม่เกิน และความสัมพันธ์ของการบวก

๑๐๐ และ ๐ และการลบ

๒. แสดงวธิ ีหาค�ำ ตอบของโจทย์ - การแก้โจทย์ปัญหาการบวก

ปญั หาการบวกและโจทย์ปญั หา โจทย์ปญั หาการลบและการสร้าง

การลบของจ�ำ นวนนบั ไม่เกิน โจทย์ปัญหาพร้อมทงั้ หาค�ำ ตอบ

๑๐๐ และ ๐

ผงั มโนทศั น์สาระการเรียนร้คู ณติ

สาระการ

จ�ำ นวนและพีชคณติ การว

จำ�นวนนบั 1 ถงึ 100 และ 0 แบบรปู

การนบั ทีละ 1 และทีละ 10 แบบรูปของจำ�นวนที่เพิ่มขน้ึ และ
ลดลงทีละ 1 และทีละ10
การอ่านและการเขยี นตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก แบบรปู ซ้�ำ ของจ�ำ นวน รปู เรขาคณ
ตวั เลขไทยและการแสดงจำ�นวน และรูปอ่นื ๆ

การแสดงจำ�นวนนับไมเ่ กิน 20 การบวก การลบจ�ำ นวนนับ
ในรปู ความสมั พนั ธ์ของจ�ำ นวน 1 ถึง 100 และ 0

แบบสว่ นยอ่ ย - สว่ นรวม ความหมายของการบวก การลบ
(Part - Whole Relationship) การหาผลบวก ผลลบ
ความสัมพันธ์ของการบวกและกา
การบอกอันดับที่ การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก การล
การสร้างโจทยป์ ญั หา และการหา
หลกั ค่าประจ�ำ หลัก คา่ ของเลขโดด
ในแตล่ ะหลกั และการเขยี นตวั เลข
แสดงจ�ำ นวนในรปู กระจาย

การเปรียบเทียบจ�ำ นวนโดยใช้เครอ่ื งหมาย
=≠ > <

การเรียงลำ�ดับจำ�นวน

ตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๑

รเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์

วัดและเรขาคณิต สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น

ณติ การวัดความยาว การน�ำ เสนอข้อมลู

บ การวดั ความยาวท่ไี มใ่ ช่หน่วย การอา่ นแผนภูมิรูปภาพ
มาตรฐาน
ารลบ
ลบ การวดั และเปรียบเทียบความยาว
าคำ�ตอบ เปน็ เซนตเิ มตร เปน็ เมตร

แกโ้ จทย์ปัญหาการบวก การลบ
เกี่ยวกบั ความยาวเป็นเซนติเมตร
เป็นเมตร

รูปเรขาคณติ สองมิติ สามมติ ิ

ลักษณะของทรงสี่เหลย่ี มมมุ ฉาก
ทรงกลม ทรงกระบอก กรวย

การวัดนำ�้ หนัก ลักษณะของรปู สามเหล่ยี ม
รปู ส่เี หลีย่ ม วงกลม และวงรี

การวัดน้�ำ หนักทไ่ี มใ่ ชห่ น่วยมาตรฐาน

การวดั และเปรยี บเทยี บน�ำ้ หนกั
เป็นกิโลกรมั เปน็ ขดี

แกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก
การลบเกี่ยวกับนำ้�หนักเป็นกิโลกรัม เป็นขดี

(23)สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)  

บทที่ 1 | จำ� นวนนบั 1 ถึง 10 และ 0 ค่มู อื ครู รายวชิ าพนื้ ฐาน คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เลม่ 1

บทที่ 1 จ�ำ นวนนับ 1 ถึง 10 และ 0

จุดประสงค์การเรียนรแู้ ละสาระส�ำ คญั

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระสำ�คัญ

นักเรียนสามารถ • การบอกจ�ำ นวนของสิง่ ต่าง ๆ บอกได้จากการนบั
1. บอกจำ�นวนของส่ิงต่าง ๆ และ หนง่ึ สอง สาม ส่ี ห้า หก เจด็ แปด เกา้ สิบ
แสดงส่งิ ต่าง ๆ ตามจำ�นวน เป็นจำ�นวนนับทเ่ี พ่มิ ขน้ึ ทลี ะหนึ่ง และถ้าไมม่ ีสิง่ ของ
ทก่ี ำ�หนด 1 ถึง 10 และ 0 อยูเ่ ลยถอื ว่ามจี �ำ นวนเปน็ ศูนย์
(หัวข้อ 1.1 1.2 และ 1.14)
• การบอกจ�ำ นวนของส่งิ ต่าง ๆ ที่ได้จากการสังเกต
2. อ่านและเขียนตวั เลขฮินดูอารบิก อาจบอกจ�ำ นวนไดอ้ ย่างรวดเร็วโดยไมต่ ้องนบั
ตวั เลขไทย แสดงจำ�นวนนบั 1 ถงึ 10
และ 0 • ต วั เลขฮนิ ดูอารบิก 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
(หวั ขอ้ 1.3 ถงึ 1.8 และ1.12 ถงึ 1.13) • ตัวเลขไทย ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐
• ตวั หนังสอื หนึง่ สอง สาม สี่ หา้ หก เจด็ แปด เก้า สิบ
3. เปรียบเทยี บและเรียงล�ำ ดับจำ�นวนนับ
1 ถึง 10 และ 0 เปน็ สัญลักษณใ์ ชเ้ ขียนแสดงจ�ำ นวน
• การเขยี นแสดงจ�ำ นวน 0 ถึง 10 อาจเขยี นเป็น
(หัวข้อ 1.9 ถึง 1.11)
จำ�นวนทเี่ ปน็ สว่ นรวมและจ�ำ นวนท่ีเป็นสว่ นย่อยซึง่
เปน็ ความสมั พันธ์ของจ�ำ นวนแบบส่วนย่อย-สว่ นรวม
ของจำ�นวนน้ัน

• เ ท่ากบั ไม่เทา่ กบั มากกว่า นอ้ ยกวา่ เปน็ ค�ำ ท่ีใช้ใน
การเปรียบเทียบจ�ำ นวนซง่ึ ในการเปรียบเทียบ
จ�ำ นวนนับอาจใช้แถบจำ�นวนหรือใชว้ ิธกี ารจับคู่
สิ่งตา่ ง ๆ สองกล่มุ
- ถ้าจับคกู่ นั ได้พอดี แสดงว่าท้งั สองกลุ่มมีจ�ำ นวน
ของส่งิ ต่าง ๆ เทา่ กนั หรือจำ�นวนของสิ่งหนึ่ง
เทา่ กบั จ�ำ นวนของอกี ส่ิงหนงึ่
- ถ้าจับคกู่ นั ได้ไม่พอดี แสดงว่าท้งั สองกลุม่ มจี �ำ นวน
ของส่งิ ตา่ ง ๆ ไมเ่ ท่ากนั หรอื จ�ำ นวนของส่ิงหน่งึ ไม่
เท่ากับจำ�นวนของอีกส่งิ หนงึ่ ถา้ สง่ิ ใดมขี องเหลือ
อยู่ จ�ำ นวนของส่ิงนนั้ จะมากกวา่
- การเรยี งลำ�ดบั จำ�นวนอาจเรยี งล�ำ ดับจากมากไป
นอ้ ยหรือจากนอ้ ยไปมาก โดยพิจารณาจ�ำ นวน
ทม่ี ากท่สี ุดและจำ�นวนทนี่ อ้ ยท่สี ุดก่อน แล้วนำ�
จ�ำ นวนท่เี หลือมาเปรยี บเทยี บกนั
| 1สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   

ค่มู ือครู รายวชิ าพ้ืนฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 1 | จ�ำนวนนบั 1 ถึง 10 และ 0
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เล่ม 1

การวเิ คราะหเ์ น้อื หากบั ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

หัวข้อ เนื้อหา เวลา ทักษะและกระบวนการ
(ชว่ั โมง) ทางคณติ ศาสตร์

1234 5

เตรยี มความพร้อม 1 

1.1 การนับหนึ่งถึงห้า และศูนย์ 1 

1.2 การนบั หกถงึ สบิ 1 

1.3 การเขยี นตวั เลข และตัวหนังสือแสดงจำ�นวนหนง่ึ และสอง 1 

1.4 การเขยี นตัวเลข และตัวหนังสอื แสดงจ�ำ นวนสามและสี่ 1 

1.5 การเขยี นตัวเลข และตัวหนังสือแสดงจ�ำ นวนห้าและศนู ย์ 1 

1.6 การเขียนตวั เลข และตวั หนงั สือแสดงจ�ำ นวนหกและเจด็ 1 

1.7 การเขยี นตัวเลข และตัวหนงั สอื แสดงจำ�นวนแปดและเกา้ 1 

1.8 การเขยี นตวั เลข และตัวหนงั สอื แสดงจ�ำ นวนสบิ 1 

1.9 การเปรียบเทียบจ�ำ นวนนบั โดยการจับคู่ 1 

1.10 การเปรียบเทียบจำ�นวนนบั 1 ถงึ 10 และ 0 1 

1.11 การเรยี งล�ำ ดับจ�ำ นวน 1 ถงึ 10 และ 0 1 
1 
1.12 ความสมั พันธข์ องจ�ำ นวนแบบส่วนยอ่ ย-สว่ นรวม
ของจำ�นวน 0 ถึง 5 1 
1 
1.13 ความสัมพันธ์ของจำ�นวนแบบส่วนยอ่ ย-ส่วนรวม
ของจำ�นวน 6 ถึง 10

1.14 การบอกจ�ำ นวนโดยไมต่ ้องนับ

รว่ มคิดร่วมท�ำ 1 

j การแกป้ ญั หา k การสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณติ ศาสตร ์ l การเชอ่ื มโยง m การใหเ้ หตผุ ล n การคดิ สรา้ งสรรค์

2 |    สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | จ�ำนวนนบั 1 ถงึ 10 และ 0 คมู่ ือครู รายวชิ าพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เล่ม 1

ค�ำ สำ�คัญ

การนบั จ�ำ นวน จ�ำ นวนนบั จ�ำ นวนศนู ย์ กรอบหา้ กรอบสบิ จ�ำ นวนนบั ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ทลี ะหนง่ึ
ตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย สญั ลกั ษณแ์ สดงจ�ำ นวน การเปรยี บเทยี บจ�ำ นวน เทา่ กบั ไมเ่ ทา่ กบั
มากกวา่ นอ้ ยกวา่ แถบจ�ำ นวน เรยี งล�ำ ดบั จ�ำ นวน มากทส่ี ดุ นอ้ ยทส่ี ดุ จากมากไปนอ้ ย จากนอ้ ยไปมาก
การสังเกต ความสมั พันธ์แบบส่วนย่อย – สว่ นรวม จ�ำ นวนที่เป็นส่วนย่อย จ�ำ นวนท่เี ปน็ ส่วนรวม

ความรู้หรอื ทักษะพ้นื ฐานของนักเรยี น

1. การสงั เกต
2. การนับ
3. การเขียน
4. การอ่าน

สอื่ และแหลง่ เรยี นรู้

1. หนงั สือเรยี นหนา้ 2 - 61
2. แบบฝกึ หดั หน้า 2 - 44
3. ใบกจิ กรรม แบบบนั ทกึ กจิ กรรม บตั รภาพตา่ ง ๆ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทใ่ี ชป้ ระกอบกจิ กรรม ดงั น้ี

• สื่อของจริง เช่น ตัวนบั ลกู เต๋า ปากกา ดินสอ ไม้บรรทัด ถาดไข่ ไขพ่ ลาสติก
• บัตรขอ้ ความ บตั รค�ำ บตั รภาพสัตว์ บัตรภาพสวนสัตว์ และบตั รภาพส่ิงของ
• แถบจำ�นวน กรอบหา้ กรอบสบิ
• ใบกจิ กรรม แบบบันทึกกิจกรรม
4. สอ่ื เพ่มิ เติมหนา้ 4 7 8 11 12 35 43 44 46 47 48 49 50 51 52 53 54 และ 57
(Download ได้จาก QR code หนา้ 2)
5. สื่อวีดทิ ัศน์ (QR code )
• ความสัมพันธ์แบบสว่ นย่อย – สว่ นรวม หนา้ 49
6. AR หนา้ 3 5 และ 57

เวลาทใ่ี ชจ้ ัดการเรยี นรู้ 16 ชวั่ โมง

| 3สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   

คมู่ ือครู รายวิชาพน้ื ฐาน คณติ ศาสตร์ บทท่ี 1 | จ�ำนวนนบั 1 ถงึ 10 และ 0
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เลม่ 1

การจดั การเรียนรู้
การเตรยี มความพร้อม (1ชัว่ โมง)

บทท่ี 1 จำานวนนบั 1 ถงึ 10 และ 0

เรยี นจบบทน้แี ลว้ นักเรยี นสามารถ

บอกจำ�นวนสิ่งต�่ ง ๆ และแสดงส่ิงต�่ ง ๆ
ต�มจำ�นวนที่กำ�หนด 1 ถึง 10 และ 0

อ�่ นและเขยี นตวั เลขฮนิ ดอู �รบิก ตวั เลขไทย
แสดงจำ�นวนนบั 1 ถงึ 10 และ 0

เปรยี บเทยี บและเรยี งล�ำ ดบั จ�ำ นวนนบั 1 ถงึ 10 และ 0

สอ่ื เพม่ิ เติม

1. ครใู ช้หนา้ เปิดบทสนทนาเกี่ยวกบั จำ�นวนสัตว์ และสัตว์ชนิดตา่ ง ๆ ในสวนสตั ว์
โดยครใู ชก้ ารถาม-ตอบกระตุ้นความสนใจของนกั เรยี น เชน่
- นักเรยี นเคยไปเทย่ี วสวนสัตวก์ บั คุณพอ่ คุณแม่หรือไม่ ไปทีใ่ ดมาบา้ ง
- จากภาพมสี ตั วช์ นิดใดบา้ ง สตั ว์แตล่ ะชนดิ มีจ�ำ นวนเท่าไร
- มีสัตวช์ นดิ ใดอีกบา้ งที่นักเรียนเคยเหน็ ทไี่ ม่มีในภาพนี้
- ในภาพนน้ี กั เรยี นรจู้ กั สตั วช์ นดิ ใดบา้ ง ไมร่ จู้ กั สตั วช์ นดิ ใด ใหน้ กั เรยี นทร่ี จู้ กั ออกมาอธบิ าย
ใหเ้ พอ่ื นฟงั
- มีใครเล้ียงสตั วอ์ ะไรบ้าง และเลย้ี งเปน็ จ�ำ นวนเท่าไร
สมุ่ นกั เรยี น 2-3 คน ออกมาเลา่ ถงึ สวนสตั วท์ เ่ี คยไปเทย่ี วมา วา่ ไปทใ่ี ด ไปกบั ใคร สตั วท์ ช่ี อบคอื สตั ว์
ชนดิ ใด ไมช่ อบสตั วช์ นดิ ใด เพราะอะไร ครอู าจใหค้ วามรู้เพิ่มเติมว่านกั เรียนสามารถหาภาพสัตวท์ ่ี
อยากรอู้ น่ื ๆ หรอื สตั วห์ ายากต่าง ๆ ไดจ้ ากแหลง่ เรียนรู้ เช่น หนังสือ หอ้ งสมดุ หรอื เวบ็ ไซตต์ ่าง ๆ

4 |    สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | จ�ำนวนนับ 1 ถึง 10 และ 0 คู่มือครู รายวิชาพ้ืนฐาน คณิตศาสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เล่ม 1

2. ครใู ชเ้ ตรียมความพร้อมหนา้ 4 เพอ่ื ตรวจสอบ
ความรู้พ้ืนฐานของนกั เรียนเก่ยี วกับการนบั สิ่งของและ
การบอกจำ�นวนของสง่ิ ต่าง ๆ โดยครนู ำ�สนทนากับนกั เรียน
เกย่ี วกับสตั วใ์ นภาพและจำ�นวนสตั วท์ ี่อย่ใู นภาพโดยใช้
การถาม-ตอบกระตุ้นความสนใจของนักเรียน เชน่
- ในภาพมีสตั ว์อะไรบ้าง (ยีราฟ ชา้ ง กวาง ลิง นก)
- สตั วช์ นิดใดมีเขา (กวาง)
- สัตว์ชนิดใดมงี า (ชา้ ง)
- นักเรียนบอกจ�ำ นวนของสตั วแ์ ต่ละชนิดได้หรือไม่
- สตั วแ์ ตล่ ะชนิดมจี �ำ นวนเท่าไร
นกั เรียนบางคนอาจตอบค�ำ ถามเกี่ยวกบั การบอกจ�ำ นวน
และนบั จ�ำ นวนของสัตว์แตล่ ะชนิดได้ แต่นักเรียนบางคน
อาจตอบไมไ่ ด้ ครูนำ�เขา้ สู่บทเรยี นโดยให้นกั เรียน
ท�ำ กิจกรรมเตรยี มความพรอ้ ม ดังนี้
ครแู จกตัวนบั ใหน้ กั เรียนคนละ 5 อัน และกรอบหา้ คนละ 1 แผน่ ใหน้ ักเรยี นนับจ�ำ นวนสตั ว์
แตล่ ะชนดิ ทอ่ี ยใู่ นภาพแลว้ วางตวั นบั ใหเ้ ทา่ กบั จ�ำ นวนสตั วท์ น่ี บั ไดล้ งในกรอบหา้ อาจมนี กั เรยี นบางคน
สามารถทำ�ไดแ้ ต่บางคนอาจจะยังไมส่ ามารถนับจำ�นวนสตั ว์ทอี่ ยู่ในภาพได้ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั
เฉลยและวางตวั นับลงในกรอบหา้ และช่วยกันพิจารณาวา่ สตั ว์ชนิดใดมจี �ำ นวนมากท่ีสุดและสัตว์
ชนิดใดมีจ�ำ นวนน้อยทีส่ ุด จากนนั้ ครแู นะน�ำ วา่ การบอกจ�ำ นวนของสัตวช์ นดิ ตา่ ง ๆ สามารถบอกได้
โดยการนับซงึ่ นักเรยี นจะได้เรียนการนับจ�ำ นวนหนึ่งถงึ ห้าและศูนยใ์ นหัวขอ้ ตอ่ ไป
การใชก้ รอบหา้ ในการวางตวั นับใหเ้ ท่ากับจำ�นวนสตั วแ์ ตล่ ะชนิดนน้ั นักเรยี นอาจไมจ่ �ำ เป็นตอ้ ง
วางตวั นบั เรียงกนั แต่วางตวั นับใหม้ จี �ำ นวนเท่ากบั สตั วท์ น่ี บั ได้ เชน่


กวาง หรอื กวาง

ครูอาจแนะน�ำ กรอบหา้ ว่าเปน็ สื่อทใี่ ชแ้ สดงจ�ำ นวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ ทปี่ ระกอบดว้ ยช่อง 5 ชอ่ ง
ตดิ กนั และสามารถนำ�มาใชใ้ นการนับและบอกจ�ำ นวนหน่ึงถงึ หา้ ได้

| 5สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   

คู่มอื ครู รายวชิ าพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 1 | จำ� นวนนับ 1 ถึง 10 และ 0
ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 1 เลม่ 1

1.1 การนบั หน่ึงถึงหา้ และ ศนู ย์ (1 ช่วั โมง)

จุดประสงค์การเรียนรู้

บอกจ�ำ นวนของส่งิ ต่าง ๆ และแสดงสง่ิ ต่าง ๆ

ตามจ�ำ นวนที่กำ�หนด 1 ถงึ 5 และ 0

สื่อการเรยี นรู้

- สอ่ื ส�ำ หรบั ใชใ้ นการนบั เชน่ ดนิ สอ ปากกา หรอื อน่ื ๆ
- ตวั นับ
- กรอบห้า

- บัตรภาพ

แนวการจัดการเรยี นรู้

1. ครอู าจน�ำ เขา้ สูบ่ ทเรยี นโดยใช้กจิ กรรมการนบั
สิ่งต่าง ๆ ตามจำ�นวนทกี่ ำ�หนด เชน่ ครูเตรียมปากกา
5 ด้าม ดนิ สอ 5 แทง่ ไม้ไอศกรีม 5 อัน ใหน้ กั เรียนคนละ
1 ชุด จากน้ันครูและนกั เรยี นชว่ ยกนั นบั สิ่งของต่าง ๆ ที่
เตรยี มไว้ โดยนบั พร้อม ๆ กัน ใหน้ ักเรียนทุกคนนบั จนคล่อง แล้วครูบอกนักเรียนวา่ ส่ิงของแตล่ ะอยา่ ง
น้นั มีจำ�นวน 5 ชิน้
ครเู ตรยี มสิ่งของอน่ื ๆ ที่มจี ำ�นวนต่างกัน เช่น ดินสอ 1 แท่ง ปากกา 3 ด้าม ยางลบ 2 ก้อน
แล้วให้นกั เรยี นแต่ละคนชว่ ยกนั นบั จ�ำ นวนของส่งิ ต่าง ๆ โดยให้นบั พรอ้ มกนั จนคล่อง แลว้ ครแู ละ
นกั เรยี นช่วยกนั บอกจำ�นวนของส่งิ ตา่ ง ๆ ที่นบั ได ้ เม่ือนกั เรยี นทกุ คนนับจำ�นวนของสิง่ ตา่ ง ๆ
คลอ่ งแล้ว ครูชดู นิ สอ 5 แท่ง แล้วถามนักเรยี นว่า ครมู ีดินสอก่ีแท่ง ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกันนบั จำ�นวน
ของดนิ สอ โดยครูพูดว่า “ดินสอ 1 แท่ง” แลว้ ให้นักเรียนพูดตาม ครหู ยิบดนิ สอมาชเู พ่มิ 1 แทง่ พูดวา่
“ดนิ สอ 2 แท่ง” แล้วให้นกั เรยี นพูดตาม ครูหยิบดนิ สอมาชูเพม่ิ 1 แทง่ พูดว่า “ดินสอ 3 แทง่ ” แล้วให้
นักเรียนพดู ตาม ครูหยบิ ดินสอมาชูเพม่ิ 1 แท่ง พูดว่า “ดินสอ 4 แทง่ ” แล้วใหน้ กั เรียนพูดตาม
ครหู ยิบดนิ สอมาชเู พ่มิ 1 แทง่ พูดว่า “ดนิ สอ 5 แท่ง” แล้วให้นักเรยี นพดู ตาม ครชู ูดินสอทั้ง 5 แทง่
อกี ครัง้ ถามนักเรียนวา่ ครมู ีดนิ สอทง้ั หมดก่แี ทง่ (5 แทง่ ) ครหู ยบิ ปากกาขึ้นมา 2 ดา้ ม แล้วถาม
นกั เรียนวา่ ครมู ีปากกาก่ดี ้าม ครูและนักเรยี นช่วยกันนับท�ำ นองเดยี วกันกบั การนับดนิ สอ จากน้นั ครู
ให้นกั เรยี นบอกจำ�นวนปากกา นกั เรียนควรบอกไดว้ ่าปากกามี 2 ดา้ ม จากน้นั ครูยกตัวอย่างส่ิงของ
ทีม่ ีจ�ำ นวนต่างกนั จนครบทุกจ�ำ นวนหนึ่งถงึ ห้า โดยใหน้ ักเรียนนับพรอ้ มกันทำ�นองเดียวกันกับการนับ
ดินสอ เม่อื นกั เรียนนับส่ิงของท่เี ปน็ สื่อของจริงจนคลอ่ งแลว้ ครูยกตัวอย่างการนับสิง่ ตา่ ง ๆ ทอ่ี ยใู่ น
บตั รภาพตามหนงั สือเรียนหน้า 5 ครูถามนกั เรียนวา่ สตั วท์ นี่ ักเรยี นเห็นในหนังสอื เรยี นคอื สตั วช์ นดิ ใด
(ลิง กับ หนูคาปิบารา่ ) ซ่งึ นักเรียนอาจไม่ร้จู กั หนชู นิดน้ี ครูอาจแนะนำ�ให้นกั เรียนสแกน AR โดยการ
ดาวนโ์ หลดแอปพลิเคชนั AR สสวท.คณิตประถม หรือศึกษาเพิ่มเตมิ จากเกร็ดน่ารู้ ในหนงั สือเรยี น
หน้า 5 จากนั้นครใู หน้ กั เรียนทกุ คนชท้ี ่ีหนตู วั แรกและนับจำ�นวนของหนคู าปิบารา่ พร้อมกนั วา่ หนึง่
สอง สาม ส่ี ห้า โดยทกุ ครงั้ ทน่ี บั ใหน้ กั เรียนชท้ี ีร่ ปู หนไู ปทีละตวั พรอ้ มกบั การนับ เช่น นับหนง่ึ ให้ชที้ ี่
หนตู ัวทีห่ น่งึ นบั สองให้ชท้ี ่หี นตู วั ทสี่ อง ..... นับห้าให้ชที้ ี่หนูตัวทีห่ า้ จนครบทุกตวั เม่ือนักเรียนนบั

6 |    สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | จำ� นวนนบั 1 ถงึ 10 และ 0 คมู่ ือครู รายวชิ าพน้ื ฐาน คณติ ศาสตร์
ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1 เลม่ 1

หนูครบทุกตวั แล้ว ครูถามนักเรียนวา่ มหี นูคาปบิ าร่าก่ตี วั นกั เรยี นควรตอบได้ว่ามีหนูคาปิบาร่า 5 ตัว
จากน้นั ครูติดบตั รภาพลงิ 1 ตัว ครถู ามนักเรียนวา่ ในบตั รภาพน้มี ีลงิ กตี่ วั ครูและนกั เรียน
ช่วยกนั นับจำ�นวนลงิ ท่อี ยู่ในบตั รภาพได้ 1 ตวั นกั เรยี นควรตอบไดว้ ่า ในบตั รภาพมีลงิ 1 ตวั
ครตู ิดบตั รภาพลิง 2 ตวั ครถู ามนักเรยี นว่า ในบตั รภาพนม้ี ลี งิ กีต่ วั ครูและนักเรียนช่วยกนั
นับจำ�นวนลิงทีอ่ ยใู่ นบัตรภาพได้ 2 ตวั นกั เรียนควรตอบไดว้ ่า ในบตั รภาพมีลิง 2 ตัว
ครตู ิดบตั รภาพลิง 3 ตวั ครูถามนกั เรยี นวา่ ในบตั รภาพน้มี ีลงิ ก่ตี วั ครแู ละนักเรยี นช่วยกัน
นบั จ�ำ นวนลิงที่อย่ใู นบัตรภาพได้ 3 ตวั นักเรยี นควรตอบไดว้ า่ ในบตั รภาพมลี ิง 3 ตวั
ครูตดิ บตั รภาพลงิ 4 ตัว ครถู ามนกั เรยี นวา่ ในบตั รภาพนมี้ ลี ิงกี่ตวั ครูและนักเรยี นช่วยกัน
นบั จำ�นวนลงิ ทีอ่ ยใู่ นบัตรภาพได้ 4 ตวั นักเรยี นควรตอบได้วา่ ในบัตรภาพมีลิง 4 ตัว
ครูติดบัตรภาพลิง 5 ตวั ครูถามนกั เรยี นว่า ในบตั รภาพน้มี ลี งิ กตี่ ัว ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกัน
นับจ�ำ นวนลิงทอ่ี ยู่ในบัตรภาพได้ 5 ตัว นกั เรียนควรตอบได้ว่า ในบตั รภาพมีลงิ 5 ตัว
ครถู ามนักเรยี นวา่ นักเรียนทราบจำ�นวนของดินสอ จ�ำ นวนของปากกา จำ�นวนของไมบ้ รรทดั
จำ�นวนของหนคู าปบิ าร่า จ�ำ นวนของลิงในบตั รภาพแตล่ ะบตั รได้อย่างไร นกั เรยี นควรตอบไดว้ ่า
บอกจำ�นวนได้จากการนบั ถา้ นักเรยี นตอบไมไ่ ด้ ครอู าจแนะนำ�วา่ การบอกจ�ำ นวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ
ตามกิจกรรมขา้ งต้นนเี้ รียกกว่าการนบั ซงึ่ การนบั เป็นการบอกจ�ำ นวนของสงิ่ ต่าง ๆ โดยเสียงสดุ ท้าย
ของการนบั จะเป็นจ�ำ นวนของสงิ่ นนั้ เชน่ จ�ำ นวนลิงในบัตรภาพนับได้ หนึง่ สอง สาม จนครบทกุ ตัว
แลว้ ตวั สุดทา้ ยทน่ี ับสาม แสดงวา่ มีลงิ 3 ตวั ครใู หน้ กั เรียนสังเกตว่าทุกครัง้ ทมี่ ีการนับจะเป็นการน�ำ
เอาสงิ่ นั้นมาเพ่ิมจากทมี่ อี ยแู่ ล้ว เชน่ กิจกรรมการนบั ดนิ สอ การนับปากกา เป็นตน้ ครูแนะนำ�ว่า
การนบั ลกั ษณะนี้เป็นการบอกจ�ำ นวนและจำ�นวน 1 2 3 4 5 เป็นจ�ำ นวนท่ีเพ่มิ ข้นึ ทลี ะ 1 ครอู าจ
ยกตวั อย่างบตั รภาพอ่นื ๆ ท่มี ีจ�ำ นวนส่งิ ของแตกตา่ งกัน
ตั้งแต่ 1 ถึง 5 แลว้ ให้นกั เรียนชว่ ยกันนบั และบอกจำ�นวน
ของสิง่ ของท่อี ยใู่ นบัตรภาพนัน้
2. เมอื่ นกั เรยี นนบั และบอกจำ�นวนของส่ิงตา่ ง ๆ
ทเ่ี ปน็ จ�ำ นวน 1 ถึง 5 จนคล่องแล้ว ครูจดั กิจกรรมแนะนำ�
จำ�นวนศูนย์ โดยใช้บัตรภาพตามหนังสือเรยี นหนา้ 6
ติดบนกระดานทีละภาพครูตดิ บัตรภาพแรกแลว้ สนทนา
กบั นักเรยี นโดยถามนกั เรียนวา่ เหน็ ภาพอะไรบ้าง
(ผกั และกระต่าย) ผกั ทน่ี ักเรียนเหน็ คอื ผักอะไร นกั เรียนเคย
กินหรือไม่ ทำ�ไมในภาพจงึ มีกระต่าย (นักเรียนบางคนอาจ
ตอบได้วา่ กระตา่ ยชอบกินแครร์ อต) ครูใหน้ กั เรยี นช่วยกนั
นบั จำ�นวนแครร์ อตในตะกร้า นักเรียนควรตอบได้วา่
มแี ครร์ อตในตะกรา้ 3 หวั ครตู ดิ บตั รภาพทส่ี องบนกระดาน
แลว้ ให้นกั เรียนชว่ ยกนั นับจำ�นวนแครร์ อตในตะกรา้
นกั เรียนควรตอบได้ว่า มีแคร์รอตในตะกร้า 2 หัว ครตู ดิ
บตั รภาพท่ีสามบนกระดาน แล้วให้นักเรียนชว่ ยกนั นับจ�ำ นวนแครร์ อตในตะกร้า นกั เรยี นควรตอบได้
วา่ มแี ครร์ อตในตะกรา้ 1 หัว ครูติดบัตรภาพที่สบี่ นกระดาน ครถู ามนักเรียนวา่ ในตะกรา้ มีแครร์ อต
อยูห่ รือไม่ (ไม)่ ครูถามต่อไปวา่ จำ�นวนแครร์ อตในตะกร้าเปน็ เทา่ ไร นกั เรยี นอาจตอบไมไ่ ด้ ครูแนะน�ำ

| 7สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   

คูม่ อื ครู รายวชิ าพืน้ ฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 1 | จำ� นวนนับ 1 ถึง 10 และ 0
ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1 เล่ม 1

จำ�นวนศูนย์ว่าไมม่ ีแคร์รอตในตระกร้าหรือกล่าววา่ มีแคร์รอต
ในตะกรา้ 0 หวั จากนนั้ ครูยกตัวอย่างบตั รภาพอ่ืน ๆ
ท่แี สดงจ�ำ นวนของสิง่ ตา่ ง ๆ เป็นศนู ย์ เชน่ จ�ำ นวนไขใ่ น
ตะกรา้ เปน็ 0 ฟอง จ�ำ นวนขนมในจานเปน็ 0 ชน้ิ เปน็ ตน้
3. ครูให้นักเรียนจบั คูก่ นั แลว้ ให้ชว่ ยกนั นับจ�ำ นวนเตา่
และแสดงตัวนับในกรอบห้าให้เท่ากบั จ�ำ นวนเต่า
ตามหนงั สือเรียนหน้า 7 โดยครแู จกกรอบห้าคลู่ ะ 1 แผ่น
และตวั นับคู่ละ 5 อัน ให้นกั เรยี นพจิ ารณาตัวอยา่ งใน
หนังสอื เรยี น ครใู ห้นกั เรียนชท้ี ่เี ตา่ แล้วนบั พร้อมกนั หนงึ่
สอง สาม จนครบ ครูถามนักเรียนว่ามเี ต่ากตี่ วั (3 ตัว)
ครถู ามนักเรียนวา่ ตอ้ งวางตวั นบั ในกรอบหา้ ก่ีอัน (3 อนั )
ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตว่ามตี วั นับวางอยใู่ นกรอบห้า 3 อัน
ซง่ึ เท่ากับจำ�นวนเตา่ 3 ตวั จากน้นั ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะคู่
ทำ�กิจกรรมไปพรอ้ มกัน โดยท�ำ และตรวจสอบไปพร้อมกนั
ทลี ะขอ้ จนครบ 5 ขอ้ จากนั้นครใู หน้ กั เรียนอาสาสมคั ร
ออกมาแสดงตวั นับให้เท่ากบั จ�ำ นวนไข่เตา่ ตามกรอบทา้ ยหนงั สอื เรียนหนา้ 7 หรือครอู าจใช้สื่อ
เพมิ่ เติมให้นกั เรยี นแต่ละคนแสดงตัวนบั ใหเ้ ท่ากบั จ�ำ นวนไข่เตา่ ครแู ละนกั เรยี นช่วยกันตรวจสอบ
ความถกู ต้อง

การตรวจสอบความเข้าใจ

4. ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรียนโดยใหน้ ักเรยี น
นบั จำ�นวนสตั ว์แตล่ ะชนดิ และแสดงตัวนบั ให้เท่ากบั จ�ำ นวน
แตล่ ะชนิดทน่ี ับไดใ้ นกรอบห้า ตามหนังสือเรยี นหนา้ 8
เปน็ รายบุคคล ครอู าจน�ำ ส่ือกรอบห้าจากส่ือเพิม่ เตมิ โดย
การสแกน QR Code ในหนา้ แรกของบท จากน้ันครแู ละ
นกั เรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ถา้ พบวา่ มนี ักเรยี น
คนใดนับจำ�นวนสัตวแ์ ละแสดงตัวนับไมถ่ กู ตอ้ งครูอาจให้
นักเรยี นคนน้นั นับออกเสยี งดงั ๆ ใหเ้ พอ่ื นในหอ้ งชว่ ยกัน
ตรวจสอบความถูกตอ้ งอกี ครัง้ จากน้นั ครูและนักเรียน
รว่ มกันสรปุ สิ่งท่ีได้เรยี นรู้

สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้

• เราสามารถบอกจำ�นวนของส่งิ ตา่ ง ๆ ไดจ้ ากการนบั

• หนง่ึ สอง สาม ส่ี หา้ เปน็ จ�ำ นวนนบั ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ทลี ะหนง่ึ

• ถ ้าไมม่ สี ่ิงของอยเู่ ลยถอื ว่ามจี �ำ นวนเปน็ ศูนย์

จากนน้ั ให้นกั เรยี นท�ำ แบบฝึกหัด 1.1 หนา้ 2 - 4

8 |    สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทท่ี 1 | จำ� นวนนบั 1 ถึง 10 และ 0 ค่มู อื ครู รายวชิ าพน้ื ฐาน คณิตศาสตร์
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 1 เล่ม 1

1.2 การนบั หกถงึ สบิ (1 ช่วั โมง)

จุดประสงค์

บอกจ�ำ นวนของสิง่ ตา่ ง ๆ และแสดงสิง่ ต่าง ๆ ตามจ�ำ นวนทก่ี ำ�หนด 6 ถึง 10

สือ่ การเรียนรู้

- ถาดไขแ่ ละไข่พลาสติก 10 ฟอง
- ตัวนบั
- บตั รภาพ
- กรอบสบิ

แนวการจัดการเรยี นรู้

การพฒั นาความรู้

1. ครูน�ำ เขา้ สู่บทเรียนโดยการทบทวนการนบั จ�ำ นวน
ส่งิ ของจำ�นวน 1 ถึง 5 อาจใช้การนบั ตวั นบั หรอื ใชก้ ารนบั
นว้ิ มอื ของตนเอง โดยครใู หน้ กั เรยี นทกุ คนชมู อื ขน้ึ มา 1 ขา้ ง
แลว้ ถามนกั เรยี นวา่ มอื ขา้ งนม้ี กี น่ี ว้ิ ครแู ละนกั เรยี นนบั นว้ิ มอื
พร้อมกนั หน่งึ สอง สาม ส่ี ห้า จากนั้นครูให้นักเรยี น
ยกมือขน้ึ มาอีกขา้ งหนง่ึ แล้วถามนักเรียนวา่ นิว้ มือท้ังหมด
ของเรามกี ่ีนวิ้ ครูบอกนักเรยี นวา่ วันนีเ้ ราจะเรียนเรื่องการนับจำ�นวนของสงิ่ ตา่ ง ๆ ทีน่ ับตอ่ จาก 5
ครูสาธติ การนับนว้ิ มอื ของตนเองโดยนับต่อจาก 5 ทีละนวิ้ พรอ้ มกับการชูนิว้ มอื แตล่ ะครง้ั ให้ตรงกับ
เสยี งนบั หก เจด็ แปด เกา้ สบิ ครถู ามนกั เรยี นวา่ นว้ิ มอื มที ง้ั หมดกน่ี ว้ิ นกั เรยี นควรตอบไดว้ า่ มี 10 นว้ิ
จากนนั้ ครนู ำ�ถาดไข่ท่ีมีไขพ่ ลาสตกิ 5 ฟอง แลว้ สมุ่ นักเรียน 1 คน ออกมานับและบอกจ�ำ นวนไข่
ท้งั หมด โดยใหเ้ พื่อนในห้องนบั จ�ำ นวนไข่ไปพรอ้ มกนั หนึ่ง สอง สาม สี่ หา้ มีไข่ทัง้ หมด 5 ฟอง
จากนัน้ ครนู ำ�ไข่พลาสติกใส่ถาดเพม่ิ อีก 1 ฟอง ครใู หน้ กั เรยี นนบั จำ�นวนไขต่ ่อจากห้า เป็น หก
มไี ข่ 6 ฟอง ครูน�ำ ไข่พลาสติกใสถ่ าดเพมิ่ อกี 1 ฟอง ครใู ห้นกั เรยี นนบั จำ�นวนไข่ตอ่ จากหก เปน็ เจ็ด
มไี ข่ 7 ฟอง ครูนำ�ไขพ่ ลาสติกใสถ่ าดเพิ่มอกี 1 ฟอง ครใู หน้ กั เรียนนับจ�ำ นวนไข่ต่อจากเจด็ เป็น แปด
มีไข่ 8 ฟอง ครูน�ำ ไขพ่ ลาสตกิ ใส่ถาดเพม่ิ อกี 1 ฟอง ครใู หน้ กั เรียนนบั จำ�นวนไข่ตอ่ จาก แปด
เปน็ เก้า มีไข่ 9 ฟอง ครูนำ�ไขพ่ ลาสติกใส่ถาดเพ่ิมอีก 1 ฟอง ครใู หน้ กั เรียนนับจำ�นวนไข่ต่อจากเกา้
เปน็ สิบ มไี ข่ 10 ฟอง ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั สรุปว่า นับตอ่ จากห้า เป็น หก เจด็ แปด เกา้ สบิ และ
หก เจ็ด แปด เกา้ สิบ เป็นจ�ำ นวนทเ่ี พ่มิ ขึ้นทีละหน่ึง จากนัน้ ครูแจกตัวนบั ใหน้ กั เรยี นคนละ 10 อัน
แลว้ ให้นักเรียนแต่ละคนนบั จ�ำ นวนตัวนับและบอกจ�ำ นวนตัวนบั ที่นบั ได้ โดยใหท้ ุกคนนับออกเสยี ง
หนึ่ง สอง สาม ส่ี ห้า หก เจด็ แปด เก้า สิบ หรือครอู าจแจกบตั รภาพทม่ี ีจ�ำ นวนสง่ิ ของ 10 ช้นิ แล้วให้
นักเรยี นแต่ละคนนบั และบอกจำ�นวนสง่ิ ของที่อยูใ่ นบัตรภาพนัน้ เพ่ือใหน้ กั เรยี นนบั จ�ำ นวนของส่ิงของ
ใหค้ ลอ่ งครคู วรใหน้ กั เรยี นฝึกนับหลาย ๆ ครัง้ โดยใหฝ้ กึ นับเปน็ รายบุคคล

| 9สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   

คูม่ ือครู รายวชิ าพื้นฐาน คณติ ศาสตร์ บทที่ 1 | จำ� นวนนบั 1 ถึง 10 และ 0
ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 เล่ม 1

2. ครถู ามนกั เรยี นวา่ เราจะทราบจ�ำ นวนของสง่ิ ตา่ ง ๆ

ได้อยา่ งไร (โดยการนบั ) ครูใหน้ กั เรยี นช่วยกนั นบั และบอก

จำ�นวนของส่ิงต่าง ๆ ตามหนังสือเรียนหน้า 10 โดยครู

สนทนากบั นกั เรยี นวา่ เห็นภาพอะไรบา้ ง (รถ ลกู บอล

หนา้ กาก ลกู ขา่ ง ตกุ๊ ตา) ครใู หน้ กั เรยี นนบั และบอกจ�ำ นวนรถ

โดยใหช้ ี้และนบั รถทลี ะคันพร้อมกนั ถามนกั เรียนว่ามรี ถ

ทงั้ หมดกีค่ ัน (5 คัน) ครใู หน้ ักเรียนนับและบอกจำ�นวน

ลกู บอลโดยใหช้ ี้และนับลูกบอลทีละลูกพรอ้ มกัน ถาม หก

นักเรียนวา่ มีลกู บอลท้งั หมดก่ีลูก (9 ลูก) ครูให้นกั เรยี นนบั เกา

และบอกจำ�นวนหนา้ กาก โดยให้ชีแ้ ละนบั หน้ากากทลี ะอัน แปด
พรอ้ มกนั ถามนกั เรยี นวา่ มหี นา้ กากทง้ั หมดกอ่ี นั (6 อนั ) เจด็
ครูใหน้ ักเรยี นนับและบอกจ�ำ นวนลกู ขา่ ง โดยใหช้ แี้ ละนบั

ลูกขา่ งทีละอันพร้อมกัน ถามนักเรยี นวา่ มีลกู ขา่ งทงั้ หมด

กี่อนั (8 อนั ) ครูใหน้ กั เรยี นนับและบอกจำ�นวนต๊กุ ตา

โดยใหช้ ้ีและนบั ตุ๊กตาทีละตวั พรอ้ มกนั ถามนักเรียนวา่ มี

ต๊กุ ตาทง้ั หมดกี่ตวั (7 ตัว)

3. ครแู นะน�ำ กรอบสบิ ว่าเปน็ สอ่ื ส�ำ หรับใชใ้ นการนับ

และบอกจำ�นวน 1 ถงึ 10 ครูใหน้ ักเรียนจบั คู่และแจก

บตั รภาพลูกโปง่ กรอบสบิ และตัวนบั คลู่ ะ 1 ชุด แล้วให้

นักเรยี นแต่ละคชู่ ว่ ยกันนบั จำ�นวนลกู โป่งท่ีอยู่ในบตั รภาพ

แต่ละบัตรและวางตัวนบั ในกรอบสิบให้เท่ากบั จำ�นวน

ลูกโปง่ ที่นับได้ และบอกวา่ แตล่ ะภาพมีลูกโปง่ กใ่ี บ

ตามหนังสอื เรยี นหน้า 11 โดยทำ�ไปพร้อมกนั ทีละข้อ

จนครบ 5 ขอ้ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง

ซ่ึงในการใช้กรอบสิบช่วยในการนบั และบอกจ�ำ นวนของ

ลกู โป่งในแตล่ ะบตั รภาพน้นั ครูอาจใหน้ กั เรียนนำ�ตวั นบั มา * อาจระบายสีในตําแหนง ท่ีแตกตางจากนไ้ี ด
วางในบตั รภาพใหต้ รงกับลกู โป่งแตล่ ะลกู จนครบทกุ ลกู แล้ว

นำ�ตัวนบั ทั้งหมดไปวางเรียงในกรอบสบิ จากนั้นนับจำ�นวน

ตวั นับในกรอบสิบ และบอกจ�ำ นวนลูกโป่งในแตล่ ะข้อ ซ่งึ จุดประสงคใ์ นการใชก้ รอบสิบในหน้านีไ้ ม่ใช่

แคก่ ารวางตวั นบั ใหเ้ ทา่ กบั จ�ำ นวนลกู โปง่ เพราะการวางตัวนบั ให้เทา่ กับจ�ำ นวนลกู โป่งสามารถวาง

ตัวนับในกรอบสบิ ตำ�แหน่งใดกไ็ ด้ แต่ในทนี่ ้ตี ้องการใหน้ กั เรยี นวางตวั นับใหเ้ ปน็ ระเบียบเพอื่ ให้งา่ ยใน

การบอกจ�ำ นวนของลกู โป่ง เชน่ บตั รภาพลกู โปง่ บัตรแรกวางตัวนบั เปน็ 5 กับ 2 บอกจำ�นวนลกู โป่ง

ไดเ้ ลยว่ามี 7 ลกู ไม่ต้องใช้เวลาในการนบั ตวั นับในกรอบสบิ อีกครั้ง

10 |    สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 1 | จ�ำนวนนับ 1 ถึง 10 และ 0 คมู่ ือครู รายวชิ าพื้นฐาน คณติ ศาสตร์
ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 เลม่ 1
การตรวจสอบความเขา้ ใจ

4. ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล
โดยให้นกั เรียนแต่ละคนวาดรูปลกู บอลเพม่ิ อีกให้เท่ากบั
จ�ำ นวนที่ก�ำ หนดตามหนงั สอื เรียนหนา้ 12 จากน้นั ครแู ละ
นกั เรียนรว่ มกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ถา้ พบว่ามนี กั เรยี น
คนใดวาดลกู บอลมจี ำ�นวนไมถ่ ูกต้อง ครใู ห้นักเรยี นคนน้ัน
แก้ไขใหถ้ ูกต้อง โดยอาจให้เพ่อื นในห้องชว่ ยกัน จากนน้ั
รว่ มกนั สรุปสง่ิ ท่ีได้เรียนรู้

ส่งิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรู้

• เราสามารถบอกจำ�นวนของส่งิ ตา่ ง ๆ ไดจ้ ากการนบั
• หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เกา้ สิบ

เปน็ จำ�นวนนบั ทีเ่ พิม่ ข้นึ ทีละหนึง่
จากนั้นให้นักเรียนทำ�แบบฝกึ หัด 1.2 หนา้ 5 - 7

| 11สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี   


Click to View FlipBook Version