The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 50

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรียนรู้ การเรียนร/ู้ (ชั่วโมง) คะแนน

ตัวชี้วัด

- การตอบสนองของพืช

ต่อส่ิงเรา้ ในรปู แบบตา่ งๆ

สอบกลางภาค 20

4 พันธกุ รรมและ ว 1.3 ม.4/1, ม. - การถ่ายทอดลักษณะ 12 15

ววิ ฒั นาการ 4/2, ม.4/3, ม. ทางพันธกุ รรม

4/4, ม.4/5, ม.4/6 - ย ี น ก ั บ ก า ร ค ว บ คุ ม

ลกั ษณะทางพันธกุ รรม

- การเปลี่ยนแปลงทาง

พันธุกรรม มวิ เทชนั

- เทคโนโลยที างดีเอน็ เอท่ี

มีต่อมนุษย์และ

สงิ่ แวดลอ้ ม

- วิวัฒนาการและความ

หลากหลายของสิ่งมชี ีวิต

5 ชีวติ ใน ว 1.1 ม.4/1, ม. - ระบบนิเวศ 6 10

ส่งิ แวดล้อม 4/2, ม.4/3, ม.4/4 - การเปลี่ยนแปลงแทนที่

ของระบบนิเวศ

- การเปลี่ยนแปลงขนาด

ของประชากร

- ปัญหาและผลกระทบท่ี

มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ

และส่งิ แวดลอ้ ม

-การอนุรกั ษท์ รพั ยากร

ธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 51

แบบวเิ คราะห์ตวั ชว้ี ัดของหลักสูตร
รหสั วิชา ว 30101 รายวชิ า ฟสิ ิกสพ์ ้ืนฐาน ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรยี นท่ี 1

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชวี ิตประจำวนั ผลของแรงที่กระทำตอ่ วตั ถุ
ลักษณะการเคลื่อนท่แี บบต่าง ๆ ของวตั ถุ รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถ่ิน

ตวั ช้ีวดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน
ชว่ั โมง
กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A )
2
1. วเิ คราะหแ์ ละแปล 1. อธบิ ายและบอก 1. การสังเกต 1. มวี ินยั
2
ความหมายข้อมลู ความหมายของปริมาณ 2. การคำนวณ 2. ใฝ่เรียนรู้

ความเรว็ กบั เวลาของ ท่เี กีย่ วข้องกบั การ 3. มงุ่ ม่นั ในการ

การเคล่ือนท่ขี องวัตถุ เคล่ือนที่ได้ ทำงาน

เพอ่ื อธิบาย ความเรง่ 2. คำนวณและ

ของวตั ถุ แก้ปญั หาเกย่ี วกบั

ปริมาณที่เกย่ี วข้องกบั

การเคล่อื นท่ไี ด้

2. สังเกตและอธบิ าย 1. สามารถอา่ นกราฟ 1. การสังเกต 1. มวี นิ ัย

การหาแรงลัพธท์ ี่เกิด การเคลอื่ นท่ีบอก 2. การ 2. ใฝเ่ รียนรู้

จากแรงหลายแรงที่ ความหมายและอธิบาย ตคี วามหมายข้อมลู 3. มุง่ ม่นั ในการ

อยใู่ นระนาบเดียวกัน การเคล่ือนทไ่ี ด้ และลงข้อสรปุ ทำงาน

ท่กี ระทำต่อ วตั ถุโดย 2. คำนวณและ 3. การคำนวณ

การเขยี นแผนภาพ แกป้ ญั หาเกย่ี วกบั แรง

การรวมแบบเวกเตอร์ ลพั ธ์ทั้งจากการคำนวณ

และภาพได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 52

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ตัวช้ีวดั ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลักษณะอนั จำนวน
ชั่วโมง
กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A )
2
3. สังเกต วเิ คราะห์ 1. สามารถบอกถึงท่ีมา 1. การสังเกต 1. มีวินัย
2
และอธบิ าย ของสูตรคำนวณการ 2. การ 2. ใฝเ่ รียนรู้
2
ความสัมพนั ธ์ เคล่ือนที่ได้ ตีความหมายข้อมูล 3. มุ่งม่นั ในการ

ระหวา่ งความเร่งของ 2. แก้ปญั หาเกี่ยวกับ และลงข้อสรุป ทำงาน

วตั ถกุ ับแรงลัพธ์ ท่ี การเคลือ่ นท่แี นว 3. การคำนวณ

กระทำต่อวตั ถุและ เส้นตรงด้วยสูตร

มวลของวตั ถุ คำนวณการเคลื่อนที่ได้

4. สงั เกตและอธบิ าย 1. สามารถอธบิ ายและ 1. การสงั เกต 1. มวี ินัย

แรงกริ ยิ าและแรง ยกตวั อยา่ งกแรงกริ ิยา- 2. การ 2. ใฝ่เรยี นรู้

ปฏกิ ริ ยิ าระหว่างวตั ถุ ปฏกิ ิริยาได้ ตคี วามหมายข้อมลู 3. มงุ่ ม่นั ในการ

คู่หน่ึงๆ และลงข้อสรุป ทำงาน

3. การคำนวณ

5. สังเกตและอธิบาย 1. สามารถบอกถึงทีม่ า 1. การสังเกต 1. มีวนิ ัย

ผลของความเร่งท่ีมีต่อ ของสูตรคำนวณการ 2. การ 2. ใฝเ่ รียนรู้

การ เคลื่อนท่แี บบต่าง เคลื่อนท่ีแนวเส้นตรง ตีความหมายข้อมูล 3. มุ่งม่นั ในการ

ๆของวตั ถไุ ด้แก่ การ การเคล่ือนท่แี บบ และลงข้อสรุป ทำงาน

เคลอ่ื นท่ีแนวตรง การ โพรเจกไทล์ และการ 3. การคำนวณ

เคลอื่ นทีแ่ บบโพรเจก เคล่ือนที่แบบวงกลมได้

ไทลก์ ารเคลือ่ นที่แบบ 2. แกป้ ัญหาเกย่ี วกับ

วงกลม และการ การเคลอ่ื นทแ่ี นว

เคลอ่ื นท่แี บบสัน่ เส้นตรงด้วยสตู ร

คำนวณการเคลอื่ นที่

แนวเส้นตรง การ

เคลื่อนทีแ่ บบโพรเจก

ไทล์ และการเคล่ือนที่

แบบวงกลมได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 53

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ตวั ชวี้ ัด ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน
ช่วั โมง
กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A )
2
6. สบื คน้ ข้อมลู และ 1. อธบิ ายและบอก 1. การ 1. มีวินยั
2
อธิบายแรงโนม้ ถ่วงท่ี ความหมายของสนาม ตคี วามหมายข้อมลู 2. ใฝ่เรยี นรู้

เก่ยี วกับการเคลื่อนที่ โน้มถว่ งได้ 2. การลงความเหน็ 3. มุ่งมั่นในการ

ของวัตถุตา่ ง ๆ รอบ 2. คำนวณและ จากข้อมลู ทำงาน

โลก แกป้ ัญหาเกยี่ วกบั สนาม 3. การจัดกระทำ

โนม้ ถ่วงได้ และส่อื ความหมาย

ขอ้ มลู

4. ทักษะการ

คำนวณ

7. สังเกตและอธิบาย 1. อธิบายและผลของ 1. สามารถกำหนด 1. มีวนิ ัย

การเกดิ สนามแม่เหล็กต่อการ ปัญหาการทดลอง 2. ใฝเ่ รียนรู้

สนามแมเ่ หลก็ เคล่ือนที่ของตัวนําท่มี ี ได้ 3. มุ่งม่นั ในการ

เนื่องจากกระแสไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าผา่ นได้ 2. สามารถกำหนด ทำงาน

2. ทำการทดลอง กำหนดสมมติฐาน

เปรียบเทยี บและ ได้

วิเคราะหผ์ ลของ 3. สามารถกำหนด

สนามแม่เหลก็ ต่อการ ตวั แปรของการ

เคลอื่ นท่ีของตวั นําที่มี ทดลองได้

กระแสไฟฟา้ ผ่านใน 4. สรุป และ

กรณีตา่ งๆ อภิปรายผลการ

ทดลองได้

5. ผเู้ รยี นมที กั ษะ

การคำนวณ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 54

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถ่ิน

ตัวชี้วัด ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลักษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) ช่วั โมง

8. สงั เกตและอธบิ าย 1. สามารถอธิบายได้วา่ 1. สามารถกำหนด 1. มวี ินยั 2

แรงแมเ่ หล็กท่ีกระทำ เกดิ ไฟฟ้าได้อยา่ งไร ปัญหาการทดลอง 2. ใฝ่เรยี นรู้

ต่อ อนภาุ ค ท่ีท่ีมี เครอื่ งกำเนดิ ไฟฟา้ คือ ได้ 3. มุง่ ม่ันในการ

ประจุไฟฟ้าทีเ่ คล่ือนท่ี อะไร มีหลกั การทำงาน 2. สามารถกำหนด ทำงาน

ในสนาม แมเ่ หลก็ อยา่ งไร สามารถ กำหนดสมมติฐาน

และแรงแมเ่ หลก็ ท่ี นำไปใชป้ ระโยชน์ได้ ได้

กระทำตอ่ ลวดตัวนำที่ อยา่ งไร 3. สามารถกำหนด

มกี ระแสไฟฟ้าผา่ นใน 2. สามารถอธบิ ายได้ว่า ตัวแปรของการ

สนามแม่เหล็ก รวมทั้ง มอเตอรค์ ืออะไร มี ทดลองได้

อธิบายหลกั การ หลกั การทำงานอย่างไร 4. สรุป และ

ทำงานของมอเตอร์ สามารถนำไปใช้ อภปิ รายผลการ

ประโยชน์ไดอ้ ย่างไร ทดลองได้

5. ผเู้ รยี นมที ักษะ

การคำนวณ

9. สังเกตและอธิบาย 1. สามารถอธิบายได้วา่ 1. สามารถกำหนด 1. มวี ินยั 2

การเกดิ อเี อ็มเอฟ อเี อ็มเอฟเกิดอย่างไร ปญั หาการทดลอง 2. ใฝเ่ รียนรู้

รวมทั้งยกตวั อย่างการ 2. สามารถยกตัวอยา่ ง ได้ 3. มุ่งมั่นในการ

นำความรู้ไปใช้ และอิบายถงึ ประโยชน์ 2. สามารถกำหนด ทำงาน

ประโยชน์ ของอีเอ็มเอฟได้ กำหนดสมมติฐาน

ได้

3. สามารถกำหนด

ตัวแปรของการ

ทดลองได้

4. สรุป และ

อภิปรายผลการ

ทดลองได้

5. ผูเ้ รยี นมีทกั ษะ

การคำนวณ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 55

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ตัวช้ีวดั ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลักษณะอัน จำนวน

10. สบื ค้นขอ้ มูลและ กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) ช่วั โมง
อธบิ ายแรงเข้มและ
แรงอ่อน 1. สามารถอธิบายไดว้ า่ 1. สามารถกำหนด 1. มวี ินัย 1

เครื่องกำเนิดไฟฟา้ คือ ปัญหาการทดลอง 2. ใฝ่เรียนรู้

อะไร มีหลกั การทำงาน ได้ 3. ม่งุ มั่นในการ

อย่างไร สามารถ 2. สามารถกำหนด ทำงาน

นำไปใช้ประโยชนไ์ ด้ กำหนดสมมติฐาน

อย่างไร ได้

3. สามารถกำหนด

ตัวแปรของการ

ทดลองได้

4. สรุป และ

อภิปรายผลการ

ทดลองได้

5. ผูเ้ รียนมที กั ษะ

การคำนวณ

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคดิ หลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมท่มี ่ีการ
เปล่ียนแปลง อย่างรวดเร็ว ใชค้ วามรู้และทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ ศาสตร์อ่ืน ๆ
เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
เลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตวั ช้ีวัด ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั จำนวน

1. ประยุกตใ์ ช้ความรู้ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) ชว่ั โมง
และทักษะจากศาสตร์
ตา่ ง ๆ รวมทั้งทรัพยากร 1. สามารถอธิบาย อภิ 1. การตีความหมาย 1. มวี นิ ัย 1
ในการทำโครงงานเพ่อื
แก้ป้ญหา หรือพฒั นา ปลายการใช้ประโยชน์ ข้อมูล 2. ใฝเ่ รยี นรู้
งาน
จากสงิ่ ทไ่ี ดเ้ รยี นรมู้ า 2. การลงความเหน็ จาก 3. มุ่งมัน่ ในการ

จากฟสิ ิกส์ได้ ขอ้ มูล ทำงาน

3. การจัดกระทำและสอ่ื

ความหมายขอ้ มลู

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 56

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30101 รายวิชา ฟิสกิ สพ์ ้นื ฐาน/ Fundamental Physics

รายวิชาพน้ื ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

วิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลความเร็วกับเวลาของการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพื่ออธิบาย
ความเร่งของวัตถุ สังเกตและอธิบายการหาแรงรับที่เกิดจากแรงหลายแรงที่อยู่ในระนาบเดียวกันที่
กระทำต่อวัตถุโดยการเขียนแผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์ สังเกต วิเคราะห์ และอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความเร่งของวัตถุกับแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุและมวลของวัตถุ สังเกตและ
อธิบายแรงกิริยาและแรงปฏกิ ิริยาระหว่างวัตถุคู่หนึ่งๆ สังเกตและอธิบายผลของความเร่งที่มีต่อการ
เคลื่อนที่แบบต่างๆของวัตถุ ได้แก่ การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่
แบบวงกลม และการเคลื่อนที่แบบสั่น สืบค้นข้อมูลและอธิบายแรงโน้มถ่วงที่เกี่ยวกับการเคลื่อนท่ี
ของวัตถุต่างๆ รอบโลก สังเกตและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็กเน่ืองจากกระแสไฟฟ้า สังเกตและ
อธิบายแรงแม่เหล็กที่กระทำต่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กและแรงแม่เหลก็ ที่
กระทำต่อลวดตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านในสนามแม่เหลก็ รวมทัง้ อธิบายหลักการทำงานของมอเตอร์
สงั เกตและอธิบายการเกิดอเี อ็มเอฟ รวมทง้ั ยกตวั อย่างการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ สืบค้นข้อมูลและ
อธิบายแรงเข้มและแรงอ่อน

โดยใช้ความร้แู ละทักษะเกีย่ วกับวัสดุอปุ กรณเ์ ครื่องมือกลไกไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์และ
เทคโนโลยีทซ่ี บั ซอ้ นในการแก้ปญั หาหรอื พฒั นางาน ได้อย่างถกู ต้องเหมาะสมและปลอดภัยด้วย
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสบื ค้นข้อมูล การอภิปราย
การสรา้ งสถานการณ์ การวางแผน การลงมอื ปฏบิ ัติ คิดวิจารณญาณ การสรา้ งความคิดรวบยอด และ
การเสรมิ สร้างคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ เพือ่ ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสอ่ื สารสง่ิ ท่ี
เรยี นรู้ มคี วามสามารถในการตดั สินใจ นำความรไู้ ปใช้ในชวี ิตประจำวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม
คณุ ธรรม และคา่ นยิ มท่เี หมาะสม มจี ิตสำนกึ ในการใช้พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม
อย่างคุ้มคา่ และถูกวธิ ี และนำความรูไ้ ปใชโ้ ดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ตัวช้วี ัด
ว2.2 ม.5/1 , ม.5/2 , ม.5/3 , ม.5/4 , ม.5/5 , ม.5/6 , ม.5/7 , ม.5/8 , ม.5/9 , ม.5/10
ว4.1 ม.4-6/5
รวมทงั้ หมด 10 ตวั ชี้วดั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 57

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวิชา ว30101 รายวิชา ฟสิ กิ สพ์ น้ื ฐาน/ Fundamental Physics

รายวชิ าพ้ืนฐาน กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5 จำนวน 40 ช่วั โมง 1.0 หนว่ ยกติ

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
(ชั่วโมง) คะแนน
ที่ การเรยี นรู้ การเรียนรู้/ตัวชีว้ ัด

1 แรงและ ว2.2 -การเคล่อื นทดี่ ว้ ยความเรง่ 10 15

การ ม.5/1 - ม.5/4 -การหาแรงลพั ธ์

เคลือ่ นท่ี -ความสมั พันธร์ ะหว่าง

ดว้ ย ความเรง่ และแรงลัพธ์

ความเรง่ -แรงกกิริยาและปฏิกริ ิยา

2 การ ว2.2 -การเคลื่อนทแ่ี นวตรง 10 15

เคลอื่ นท่ี ม.5/5 -การเคลื่อนที่แบบโพรเจก

แบบตา่ งๆ ไทล์

-การเคลือ่ นทีแ่ บบวงกลม

-การเคลื่อนท่ีแบบสนั่

สอบกลางภาค 20

3 สนามของ ว2.2 -สนามโน้มถว่ ง 10 15

แรง ม.5/6 , ม.5/7 -แรงดงึ ดดู ระหว่างมวล

-การโคจรของดาวเทียม

รอบโลก

-การเปล่ยี นแปลงของ

สนามแม่เหลก็ และ

สนามไฟฟ้า

4 แม่เหลก็ ว2.2 -สนามแม่เหล็ก 10 15

ไฟฟา้ ม.5/8 - ม.5/10 -สนามไฟฟ้า

ว4.1 -มอเตอร์

ม.4-6/5 -เครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟ้า

-แรงนวิ เคลียร์อย่างเข้ม

-แรงนวิ เคลยี ร์อยา่ งออ่ น

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 58

แบบวิเคราะหต์ วั ชวี้ ดั ของหลักสตู ร
รหสั วิชา ว30182 รายวิชา พลังงาน ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตราฐาน ว.2.3 เขา้ ใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำาวันธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวขอ้ ง แสง คลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ รวมท้ังนำาความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถิ่น

ตวั ชวี้ ัด ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พึง จำนวน
ชั่วโมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
6
1. สบื ค้นข้อมลู และ 1. ฟชิ ชนั เป็น 1. การจำาแนกป 1. ความอยากรู้

อธบิ ายพลงั งาน ปฏิกิรยิ าท่ียิง ระเภท (จากการ อยากเห็น (จาก

นิวเคลยี ร์ ฟิชชนั นิวตรอนไปยัง บอกความ ความกระตือรือร้น

และฟวิ ชนั และ นวิ เคลียส ที่มมี วล แตกต่างระหวา่ ง ในการมสี ว่ นร่วม

ความสัมพนั ธ์ มาก แลว้ ฟิชชันกบั ฟวิ ชัน) อภปิ รายและสรปุ )

ระหว่างมวลกบั นิวเคลียสน้ันแตก 2. การใช้ 2. ความมเี หตผุ ล

พลังงานที่ปลดปล่อย ออกเป็น สอง เทคโนโลยี (จากการอภิปราย

ออกมาจากฟชิ ชัน นิวเคลยี สทมี่ ีมวล สารสนเทศ (ใน และ สรปุ บน

และฟิวชนั ใกลเ้ คยี งกนั การเขา้ ถึง พื้นฐานของข้อมูล

2. ฟวิ ชนั เปน็ สารสนเทศท่ี ทีเ่ ช่ือถือได้)

ปฏิกิรยิ าท่ี เกย่ี วกบั เนอ้ื หา) 3. ความร่วมมือ

นิวเคลียสทมี่ มี วล 3. การคดิ อยา่ งมี ชว่ ยเหลือ (จาก

นอ้ ย รวมตวั กัน วจิ ารณญาณ (การ การทำกจิ กรรม)

เกิดเป็นนิวเคลียส วิเคราะห์ และ

ที่มีมวลมากขึน้ ประเมินความ

3. พลังงานท่ี นา่ เชอื่ ถือ ของ

ปลดปลอ่ ยออกมา ข้อมลู ที่ได้ จาก

จากฟิชชันหรอื ฟวิ การสบื ค้น)

ชัน เรยี กวา่ 4. การสอื่ สาร

พลังงานนวิ เคลยี ร์ (การนำาเสนอ)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 59

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ตวั ช้ีวดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอนั พึง จำนวน
ชว่ั โมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
4
ซง่ึ มี ความสัมพนั ธ์ 5. ความรว่ มมอื

กบั มวลทีห่ ายไป การทำงานเป็นทีม

และภาวะผู้นำ

(การรว่ มมือกัน

สืบค้นขอ้ มลู

ภายในกลมุ่ )

2. สบื ค้นขอ้ มลู และ 1. พลังงาน 1. การใช้ 1. ความอยากรู้

อธิบายการเปล่ียน ทดแทน เปน็ เทคโนโลยี อยากเห็น (จาก

พลงั งานทดแทนเปน็ พลังงานทน่ี ำามา สารสนเทศ (จาก การสนใจ สบื คน้

พลังงานไฟฟา้ ใช้ ทดแทน การสบื คน้ ) ขอ้ มลู จาก

รวมทั้งสบื คน้ และ พลังงานหลกั เพื่อ 2. การคิดอยา่ งมี หลากหลายท่ีมา

อภปิ รายเก่ียวกับ แก้ปัญหาหรือ วจิ ารณญาณ (การ และ ความ

เทคโนโลยอี ่ืน ๆ ตอบสนองความ ประเมนิ ความ กระตือรือรน้ ใน

ท่ีนำามาแกป้ ัญหา ตอ้ งการดา้ น นา่ เชือ่ ถอื การร่วมอภปิ ราย)

หรือตอบสนองความ พลังงาน ความสมั พันธ์ 2. ความใจกว้าง

ต้องการทางด้าน 2. พลังงาน และ ความ (จากการอภปิ ราย

พลงั งาน แสงอาทิตย์ สมบรู ณ์ของข้อมูล รว่ มกัน)

สามารถ ทีไ่ ดจ้ ากการ 3. ความมเี หตผุ ล

เปลี่ยนเปน็ สบื ค้น และ การ (จากการอภิปราย

พลงั งานไฟฟ้าได้ เปรยี บเทียบข้อดี รว่ มกนั )

โดยใช้เซลลส์ ุริยะ และข้อจำากัด) 4. ความร่วมมอื

3. เซลลส์ รุ ิยะท่ใี ช้ 3. การสรา้ งสรรค์ ชว่ ยเหลือ (จาก

ทั่วไปประกอบด้วย และนวัตกรรม การร่วมมือกนั

วัสดุ สองช้ินท่ีทำา (ในการสร้าง สืบคน้ และนำา

จากสารทมี่ สี มบัติ ส่ือสำาหรับนำา เสนอ)

เฉพาะตา่ งกัน นำา เสนอ) 5. การเห็นคณุ ค่า

มาประกบกนั เม่ือ 4. การสอ่ื สาร ทางวิทยาศาสตร์

แสงอาทติ ย์ตก (การนำาเสนอ) (จากการ

กระทบ เซลล์ แสดงออกถึงการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 60

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตวั ชี้วัด ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพงึ จำนวน
ชวั่ โมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )

สรุ ยิ ะ จะทำาให้ 5. ความร่วมมอื รับรู้และยอมรบั ใน

เกิดความตา่ งศักย์ การทำงานเป็นทีม การใช้

ระหว่าง วัสดทุ ั้ง และภาวะ ผ้นู ำ วทิ ยาศาสตร์มา

สอง และเม่ือต่อ (ในการร่วมกัน ช่วยแก้ปัญหาด้าน

วงจรไฟฟ้าจะทำา สบื คน้ ข้อมูล) พลงั งาน)

ให เกดิ

กระแสไฟฟา้ ใน

วงจร

4. พลังงาน

นวิ เคลียร์

เปล่ียนเปน็

พลังงานไฟฟา้

ดว้ ยการเรมิ่ จาก

การถ่ายโอน

พลงั งานให้กบั นำ้

จนนำก้ ลายเป็น

ไอนำ้ จากนนั้

ไอนำ้ท่ีได้นำาไป

หมุนกังหันและ

เครือ่ งกำาเนิด

ไฟฟา้

5. เทคโนโลยีดา้ น

พลงั งานเปน็ การ

นำความรู้ ความ

เขา้ ใจทาง

วทิ ยาศาสตรม์ า

ประยกุ ตใ์ ช้ ในการ

พฒั นาแหล่ง

พลงั งานใน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 61

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตัวช้วี ัด ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลกั ษณะอันพงึ จำนวน
ชั่วโมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
10
ธรรมชาติ เพือ่

นำาไปใช้

ประโยชน์ รวมท้ัง

เพิ่มประสิทธิภาพ

ความปลอดภยั ลด

ปญั หาส่ิงแวดลอ้ ม

ลดตน้ ทุน ฯลฯ

เพอื่ แกป้ ญั หาหรือ

ตอบสนองความ

ต้องการ ทางด้าน

พลังงาน

3. สงั เกตและอธิบาย 1. เม่อื คลื่น 1. การสงั เกต 1. ความมเี หตุผล

การสะท้อน การหัก เคลือ่ นที่ไปตก (การสะทอ้ น การ

เห การเลี้ยวเบน กระทบสิง่ กดี ขวาง หกั เห การเลี้ย

และการรวมคล่ืน จะเกิดการสะท้อน วเบน และการ

2. เมอ่ื คลืน่ รวมคลนื่ จากการ

เคล่ือนทเ่ี ขา้ ไปใน สาธิตหรอื วีดิ

ตวั กลางตา่ งกนั จะ ทัศน)์

เกิดการหักเห 2. การลง

3. เมื่อคลื่น ความเห็นจาก

เคลือ่ นท่ีไปตก ข้อมูล (จากการ

กระทบขอบสงิ่ กีด อภปิ ราย เกยี่ วกับ

ขวาง จะเกิดการ ผลที่ไดจ้ ากการ

เลยี้ วเบน สังเกตการสะท้อน

4. เมือ่ คล่ืนสอง การหกั เห การ

ขบวนเคล่อื นที่มา เลยี้ วเบน และการ

พบกนั จะเกิดการ รวมคลนื่ ของ

รวมคลืน่ คลื่น)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 62

ตัวชว้ี ดั ความรู้ (K) สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถิ่น จำนวน
ทกั ษะ/ คุณลกั ษณะอนั พงึ ชั่วโมง
4. สงั เกตและอธบิ าย 1. เม่ือกระตนุ้ ให้
ความถีธ่ รรมชาติ วตั ถสุ น่ั แลว้ ปลอ่ ย กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) 2
การสน่ั พ้อง และผล ใหว้ ัตถุสัน่ อยา่ ง 1. การสังเกต 1. ความมีเหตุผล
ที่เกิดขน้ึ จากการสนั่ อสิ ระ วตั ถจุ ะสัน่ (การแกว่งของ 2. ความรว่ มมอื
พอ้ ง ดว้ ยความถ่ีที่ ลูกตุ้ม) ชว่ ยเหลอื
2. การพยากรณ์
เรยี กว่า ความถ่ี (การแกวง่ ของ
ธรรมชาติ ลกู ตุ้มในกจิ กรรม
2. เม่ือวตั ถุถูก ชุดลูกต้มุ )
กระตนุ้ ใหส้ นั่ ดว้ ย 3. การลง
ความถ่ีตรงกบั ความเหน็ จาก
ความถ่ธี รรมชาติ ข้อมูล (จากการ
ของวตั ถนุ น้ั อภปิ ราย ผลการ
จะทำาให้วัตถุ นนั้ สงั เกตในกิจกรรม
สัน่ ด้วยแอมพลจิ ดู เกี่ยวกบั ความถ
มากข้ึน เรียกวา่ ธรรมชาติ และ
การ สนั่ พอ้ ง การแกวง่ ของ
3. การสัน่ พ้อง ลูกตุ้มใน ชดุ
สง่ ผลให้เกิดเสยี ง ลูกตุ้ม)
ดังไพเราะใน 4. การส่อื สาร
เครอ่ื งดนตรี แต่ (จากการอภปิ ราย
การสั่นพ้องทีม่ าก รว่ มกันและ
เกินไป สามารถ การนำาเสนอ)
ทำาใหเ้ กิด 5. ความร่วมมือ
อันตรายได้ เชน่ การทำงานเปน็ ทมี
ในกรณี การสนั่ และภาวะ ผู้นำา
พอ้ งของอาคาร (จากการทำ
เนื่องจาก กิจกรรม)
แผ่นดนิ ไหว หรือ
การสั่นพ้องของ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 63

ตวั ชว้ี ดั ความรู้ (K) สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถ่ิน จำนวน
สะพานเนื่องจาก ทักษะ/ คุณลักษณะอันพงึ ชัว่ โมง
5. สังเกตและอธิบาย ลม
การสะท้อน การหัก 1. คลน่ื เสียงมีการ กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) 2
เห การเลีย้ วเบน สะทอ้ น การหักเห
และการรวมคลืน่ การเลย้ี วเบน และ 1. การสงั เกต 1. ความอยากรู้ 2
ของคลืน่ เสียง การรวมคล่ืน
เชน่ เดยี วกบั คลนื่ (การสะทอ้ น การ อยากเห็น (จาก
6. สืบค้นขอ้ มูลและ อื่น ๆ
อธิบายความสัมพันธ์ หักเห การ ความกระตอื รือรน้
ระหว่างความเข้ม 1. พลังงานเสยี งที่
เสียงกับระดบั เสยี ง ตกตงั้ ฉากบนหน่ึง เลี้ยวเบน และการ ในการมสี ่วนร่วม
และผลของความถี่ หน่วยพื้นท่ีในหนง่ึ
หน่วยเวลา รวมคลื่นของคล่ืน ในการอภิปราย)
เรียกวา่ ความเข้ม
เสยี ง เสยี งจากการ ทำา 2. ความมเี หตผุ ล

กจิ กรรม) (จากการใช้

2. การลง หลกั ฐานและ

ความเหน็ จาก เหตุผลในการ

ข้อมูล (จากการ อภิปรายและสรุป)

อภิปรายผลการ

สงั เกต)

3. การคิดอยา่ งมี

วิจารณญาณ

(จากการอภิปราย

และลงข้อสรปุ

เก่ียวกับการ

สะท้อน หักเห

เลยี้ วเบน และการ

รวมคลื่นของคลน่ื

เสยี ง)

1. การสงั เกต 1. ความมีเหตผุ ล

(จากการฟงั เสียง) (จากการใช้

2. การลง หลักฐานและ

ความเห็นจาก เหตผุ ลในการ

ขอ้ มูล (จากการ อภปิ รายและสรุป)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 64

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ตวั ชีว้ ดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
ชัว่ โมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
2
กับระดบั เสียงทม่ี ีต่อ 2. ระดับเสียงเปน็ อภิปราย ผลการ 2. การเหน็ คณุ ค่า

การไดย้ ินเสียง ปริมาณท่ีใช้บอก สงั เกต) ทางวิทยาศาสตร์

ความดงั ของเสียง 3. การวัด (จาก (จากการ

ซง่ึ ข้ึนกับความเข้ม การตรวจวดั ระดับ แสดงออกถึงการ

เสียง เสยี งและ ความถี่ รับร้แู ละยอมรบั ใน

3. การได้ยนิ เสยี ง เสยี ง ถ้ามีการ การใช้

ของมนุษย์ข้ึนกบั ใหท้ ำากิจกรรม) วทิ ยาศาสตรม์ า

ทงั้ ความถี่ ของ 4. การส่อื สาร ชว่ ยดา้ นกฎหมาย)

เสยี งและระดบั (จากการนำา 3. ความซอ่ื สัตย์

เสียงทเี่ หมาะสม เสนอ) (จากการบันทึกผล

5. ความรว่ มมอื การวดั )

การทำงานเปน็ ทีม 4. ความรว่ มมือ

และภาวะ ผู้นำา ชว่ ยเหลือ (จาก

(จากการทำ การทำกจิ กรรม

กิจกรรมตรวจวัด ตรวจวดั ระดับเสยี ง

ระดับเสยี ง และ และความถเ่ี สยี งถา้

ความถ่เี สยี ง ถ้ามี มีการ ใหท้ ำา

การให้ทำา กิจกรรม)

กจิ กรรม)

7. สังเกตและอธิบาย 1. เสยี งจาก 1. การสงั เกต (บตี 1. ความอยากรู้

การเกิดเสียงสะท้อน แหล่งกำเนิด และเสียงที่เกดิ อยากเห็น (จาก

กลับ เสยี งก้อง บีต เดนิ ทางไปกระทบ จากการสนั่ พ้อง) ความกระตือรือร้น

ดอปเพลอร์ และการ วัตถุ แลว้ สะทอ้ น 2. การลง ในการมสี ว่ น

ส่นั พอ้ งของเสยี ง กลับมายงั ผูฟ้ ัง ถ้า ความเหน็ จาก รว่ มทำากิจกรรม

ผฟู้ ังไดย้ นิ เสยี ง ที่ ขอ้ มลู (จากการ บตี และ การสัน่

ออกจากแหล่งกำา อภปิ รายผลการ พอ้ งของเสยี ง)

เนดิ และเสียงที่ สังเกต) 2. ความมีเหตุผล

สะทอ้ น กลบั มา 3. การพยากรณ์ (จากการใช้

แยกจากกัน เสยี ง (ผลท่เี กดิ ขึ้นเมื่อ หลกั ฐานและ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 65

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตวั ชี้วดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอนั พึง จำนวน
ชั่วโมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )

ทีไ่ ดย้ ินนเ้ี ปน็ เสียง คลน่ื เสียงความถี่ เหตผุ ลในการ

สะท้อนกลบั ต่างกันเลก็ น้อย อภปิ รายและสรุป)

2. ถา้ ผฟู้ ังได้ยนิ มารวมกัน)

เสียงทอ่ี อกจาก 4. การคดิ อย่างมี

แหลง่ กำาเนิดและ วิจารณญาณ

เสยี งที่สะท้อน (จากการอภิปราย

กลับมาอย่าง และลงข้อสรุป

ตอ่ เน่ืองเหมือน เก่ยี วกบั การ

เปน็ เสยี งเดยี วกัน สะทอ้ นกลับ บตี

เสยี งที่ไดย้ ินนี้เป็น ดอปเพลอร์ และ

เสียงก้อง การส่นั พ้องของ

3. เสียงจากแหล่ง เสียง)

กำาเนิดสองแหล่ง

ท่มี คี วามถี่ต่างกนั

ไม่มากมารวมกัน

จะทำาให้ไดย้ ิน

เสียง ที่ดัง คอ่ ย

สลับกนั เปน็ จงั หวะ

เรยี กว่า บีตของ

เสียง

4. ม่อื แหลง่ กำา

เนดิ เสยี งเคลอื่ นท่ี

ผ้ฟู ังเคลื่อนท่ี หรอื

ทั้งแหลง่ กำาเนดิ

และผู้ฟงั เคลื่อนที่

ผู้ฟัง จะได้ยินเสยี ง

ทม่ี ีความถี่

เปล่ยี นไป เรียกวา่

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 66

ตวั ชีว้ ัด ความรู้ (K) สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถิ่น จำนวน
ทกั ษะ/ คุณลักษณะอันพงึ ชว่ั โมง
8. สบื คน้ ข้อมลู และ ปรากฎการณ์ดอป
ยกตัวอย่างการนำา เพลอร์ กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) 2
ความรเู้ กี่ยวกบั เสยี ง 5. ถ้าอากาศในทอ่
ไปใชป้ ระโยชน์ใน ถกู กระตุ้นด้วย 1. การสือ่ สาร 1. ความอยากรู้
ชวี ิตประจำาวนั คล่นื เสยี งท่ีม (จากการนำา อยากเห็น (ความ
ความถต่ี รงกบั เสนอ) สนใจสืบค้น ข้อมูล
ความถ่ธี รรมชาติ 2. ความร่วมมือ จากหลากหลาย
ของอากาศ ในท่อ การทำงานเปน็ ทมี แหล่งที่มา)
น้นั จะเกิดการสั่น และภาวะ ผ้นู ำา 2. ความรว่ มมอื
พ้องของเสียง (จากการรว่ มกนั ชว่ ยเหลอื (จาก
1. ความรู้เก่ยี วกบั สืบค้นขอ้ มลู และ การร่วมกัน สบื คน้ )
เสยี งนำาไปใช้ การนำาเสนอ) 3. การเห็นคณุ ค่า
ประโยชน์ในดา้ น
ตา่ ง ๆ เชน่ การ ทางวิทยาศาสตร์
ออกแบบเคร่อื ง (จากการ
ดนตรี การ แสดงออกถึงการ
ปรบั เทียบเสียง รบั รูแ้ ละยอมรับใน
ของเคร่ืองดนตรี การนำา ความรู้
การอธิบายการ ทางวทิ ยาศาสตร์
เปล่งเสยี งของ ของเสียงมา
มนษุ ย์ หรอื การ ประยุกต์ ใช้ในด้าน
ตรวจวินจิ ฉยั ตา่ ง ๆ)
อวยั วะภายใน
รา่ งกาย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 67

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถิ่น

ตัวชีว้ ัด ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลักษณะอันพงึ จำนวน
ชว่ั โมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
6
9. สังเกตและอธิบาย 1. การมองเห็นสี 1. การสังเกต (สี 1. ความมเี หตผุ ล
4
การมองเห็นสีของ ของวตั ถุ ขึ้นอยู่กับ บนวัตถจุ ากการ (จากการใช้

วตั ถุและความ เซลลร์ บั แสง ทำกิจกรรมการ หลักฐานและ

ผดิ ปกติในการ ภายในดวงตา ฉายแสงบางสีบน เหตผุ ลในการ

มองเหน็ ส 2. เมอ่ื แสงตก วัตถสุ ีตา่ ง ๆ) อภิปรายและสรปุ )

กระทบวตั ถุ วตั ถุ 2. การลง

จะดูดกลืนแสงสี ความเหน็ จาก

บางสี และจะ ข้อมูล (จากการ

สะท้อนหรือ อภปิ ราย ผลการ

ส่งผ่านแสงส สังเกต)

ทเ่ี หลือออกมา 3. การคดิ อยา่ งมี

ทำาให้มองเห็น วิจารณญาณ

วตั ถุเป็นสตี ่าง ๆ (จากการอภปิ ราย

3. การทวี่ ตั ถจุ ะ และลงข้อสรุป

สะทอ้ นหรือ เกย่ี วกับการ

สง่ ผา่ นแสงสีอะไร มองเห็นสีของ

ออกมาขึ้นกบั สาร วัตถุ)

สีบนผิววตั ถแุ ละ

แสงสี ทต่ี กกระทบ

4. ความผิดปกตใิ น

การมองเหน็ สีหรอื

การบอดสี เกิด

จากความบกพร่อง

ของเซลล์รูปกรวย

บนจอตา

10. สังเกตและ 1. แผ่นกรองแสงสี 1. การสังเกต (สี 1. ความมเี หตผุ ล

อธิบายการทำงาน ยอมใหแ้ สงสีบางสี บนฉาก และสตี ่าง (จากการใช้

ของแผ่นกรองแสงสี ผ่านออก ไปได้ ๆ จากการผสม หลักฐานและ

การผสมแสงสี การ และก้ันบางแสงสี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 68

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตัวชี้วดั ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พึง จำนวน
ผสมสารสแี ละ ชัว่ โมง
การนำาไปใช้ กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
ประโยชนใ์ นชีวติ 10
ประจำาวนั 2. การผสมแสง แสงสี และการ เหตผุ ลในการ

11. สบื คน้ ขอ้ มูล สที ำาให้ได้แสงสีท่ี ผสมสารสี) อภิปรายและสรุป)
และอธบิ ายคลื่น
แมเ่ หล็กไฟฟ้า หลากหลาย 2. การจำแนก 2. ความร่วมมือ
ส่วนประกอบของ
เปล่ียนไปจากแสง ประเภท (จำแนก ชว่ ยเหลือ (จาก

สีเดิม ถ้านำาแสงสี แสงสแี ละสารสี การสบื คน้ และ

ปฐมภมู ิ ในสดั สว่ น ปฐมภูมิ และแสง การนำาเสนอ)

ทีเ่ หมาะสมมาผสม สีและสารสที ุติย 3. การเหน็ คณุ ค่า

กนั จะไดแ้ สงขาว ภูมิ) ทางวิทยาศาสตร์

3. การผสมสาร 3. การลง (จากการ

สีทำาใหไ้ ดส้ ารสีที่ ความเห็นจาก แสดงออกถึงการ

หลากหลาย ข้อมลู (จากการ รับรู้และยอมรบั ใน

เปล่ยี นไปจากสาร อภปิ รายผลการ การนำา ความรู้

สเี ดิม ถ้านำาสารสี สังเกตในกิจกรรม ดา้ นการผสมแสงสี

ปฐมภูมิ ใน แผน่ กรองแสงสี การผสมสารสี มา

ปรมิ าณท่ีเทา่ กนั การผสมแสงสี ประยกุ ต์ใชใ้ นดา้ น

มาผสมกันจะได้ และการผสมสาร ตา่ ง ๆ)

สารสีผสมเป็น ส)ี

สดี ำา 4. การส่อื สาร

4. การผสมแสงสี (การนำาเสนอ)

และการผสมสารสี 5. ความร่วมมอื

สามารถ นำาไปใช้ การทำงานเปน็ ทมี

ประโยชน์ในดา้ น และภาวะ ผนู้ ำา

ตา่ ง ๆ เช่น ดา้ น (จากการสืบค้น

ศลิ ปะ ดา้ นการ และการนำา

แสดง เสนอ)

1. คลื่น 1. การหา 1. ความมเี หตผุ ล

แมเ่ หล็กไฟฟา้ ความสมั พนั ธ์ (จากการใช้ข้อมูล

ประกอบดว้ ย ของสเปซกับเวลา และหลักฐานใน

สนามแม่เหล็ก (การอภิปราย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 69

ตวั ชีว้ ดั ความรู้ (K) สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิน่ จำนวน
คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟา้ ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอันพึง ชว่ั โมง
และหลักการทำา และสนามไฟฟ้าท่ี
งานของอุปกรณบ์ าง เปลยี่ นแปลง กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) 10
ชนดิ ที่อาศัยคลื่น ตลอดเวลา โดย ส่วนประกอบของ การอภปิ รายและ
แม่เหลก็ ไฟฟ้า สนามท้ังสองมี คล่ืน แม่เหล็ก สรุป)
ทศิ ทางตั้งฉากกัน ไฟฟา้ ) 2. การเห็นคณุ ค่า
12. สืบค้นข้อมูล และ ตั้งฉากกับทิศ 2. การสอื่ สาร ทางวทิ ยาศาสตร์
และอธิบายการ ทางการเคล่อื นท่ี (จากการนำา (จากการ
ส่อื สารโดยอาศัย ของคล่นื เสนอผลการ แสดงออกถึงการ
คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า 2. อปุ กรณ์บาง สืบค้น) ยอมรับในการนำา
ในการสง่ ผา่ น ชนดิ ทำางานโดย 3. ความร่วมมือ ความรู้ เกย่ี วกับ
สารสนเทศและ อาศยั คลนื่ แม่เหลก็ การทำงานเปน็ ทีม คลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า
เปรียบเทียบการ ไฟฟา้ เชน่ เครื่อง และภาวะผู้นำา มาใช้ประโยชน)์
ส่อื สารด้วยสญั ญาณ ควบคมุ ระยะไกล (จากการรว่ มกัน
แอนะ เคร่ือง ถ่ายภาพ สืบค้นและนำา
เอกซเรย์ เสนอ)
คอมพิวเตอร์ และ
เคร่ือง ถ่ายภาพ 1. การจำแนก 1. ความอยากรู้
การสน่ั พ้อง ประเภทประเภท อยากเหน็ (จาก
แม่เหลก็ ของสญั ญาณ การสนใจ แสวงหา
1. การสการสื่อ 2. การส่ือสารจาก ความร้แู ละความ
สารโดยอาศยั คลนื่ การนำเสนอ กระตือรือรน้ ใน
แม่เหล็กไฟฟา้ เพื่อ 3. การคดิ อยา่ งมี การสืบคน้ และการ
ส่งผ่านสารสนเทศ วิจารณาญาณจาก อภิปราย)
จากท่ีหนงึ่ ไปอีกท่ี การประเมนิ ข้อมูล 2. ความมเี หตผุ ล
หนง่ึ สารสนเทศจะ ท่ีไดจ้ ากการ (จากการใช้ขอ้ มลู
ถกู แปลงให้อยู่ใน สบื ค้นและการ
รูปสญั ญาณไฟฟา้
ซง่ึ จะถูกสง่ ไปกลับ
คลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 70

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ตัวชว้ี ดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
ชวั่ โมง
ล็อกกับสญั ญาณ กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
ดจิ ิทัล
จนถึงปลายทาง เปรียบเทยี บ และ เหตุผลในการ

แลว้ แปลงกลบั มา สัญญาณดจิ ิตอล อภปิ รายและสรปุ )

เปน็ สัญญาณไฟฟา้ กลับสญั ญาณ 3. การเหน็ คณุ ค่า

และสารสนเทศที่ อนาล็อก ทางวิทยาศาสตร์

เหมือนเดิม 4. การสร้างสรรค์ (จากการ

2. สญั ญาณท่ีใช้ใน และนวตั กรรม แสดงออกถึงการ

การสอื่ สารมสี อง จากการนำเสนอ ยอมรบั ในการนำา

ชนิดคอื แอนะล็อก 5. ความรว่ มมอื ความรู้ เกย่ี วกับ

และดิจิทลั โดย และการทำงาน คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า

สัญญาณดิจิทัล เป็นทมี และภาวะ มาใชป้ ระโยชน)์

สามารถส่งผา่ นได้ ผู้นำจากการทำ

งา่ ยและมีความ กิจกรรม

ผดิ พลาดนอ้ ยกว่า

สญั ญาณแอ

นะลอ็ ก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 71

รายวิชาพื้นฐาน คำอธบิ ายรายวชิ า
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 รหัสวชิ า ว30182 พลังงาน/ Energy

กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 40 ชว่ั โมง 1.0 หน่วยกติ

ศึกษาพลังงานนิวเคลียร์ฟิชชันและฟิวชันและความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงานที่ปลด
ปล่อยออกมาจากฟิชชันและฟิวชัน การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า เทคโนโลยีที่นำมา
แกป้ ัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางดา้ นพลงั งานโดยเน้นด้านประสิทธภิ าพและความคุ้มค่าด้าน
ค่าใช้จ่าย การสะท้อน การหักเหการเลี้ยวเบน การรวมคลื่น ความถี่ธรรมชาติ การสั่นพ้องและผลท่ี
เกิดขึ้นจากการสั่นพ้อง การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคลื่นของคลื่นเสียง ความ
สมั พันธร์ ะหว่างความเขม้ เสยี งกบั ระดับเสียงและผลของความถี่กับระดับเสียงทม่ี ีต่อการไดย้ นิ การเกิด
เสียงสะท้อนกลับบีต ดัปเพลอร์ และการสั่นพ้องของเสียง การนำความรู้เกี่ยวกับเสียงไปใช้ประโยชน์
ในชวี ติ ประจำวัน การมองเห็นสขี องวัตถุและความผิดปกติในการมองเห็นสี การทำงานของแผ่น กรอง
แสงสี การผสมแสงสี การผสมสารสีและการนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ส่วนประกอบขนึ้ แม่เหลก็ ไฟฟา้ และหลักการทำงานของอุปกรณ์บางชนดิ ท่ีอาศัยข้ึนแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า การ
สื่อสารโดยอาศัยขึน้ แม่เหล็กไฟฟ้าในการสง่ ผ่านสารสนเทศและเปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณ
แอนะลอ็ กกบั สญั ญาณดิจทิ ัล

โดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ
ตรวจสอบ สามารถนำความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ์ หรือ
แกป้ ัญหาในชีวติ ปรำจำวัน สามารถจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมลู สอ่ื สารสิ่งทีเ่ รียนรู้ มีความสามาร
ในการตดั สินใจแกป้ ัญหา มจี ิตวิทยาศาสตร์ เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรมและ
คา่ นยิ มที่เหมาะสม

ตัวชว้ี ัด
ว 2.3 ม.5/1, ม.5/2, ม.5/3, ม.5/4, ม.5/5, ม.5/6, ม.5/7, ม.5/8, ม.5/9, ม.5/10,
ม.5/11, ม.5/12

รวมทงั้ หมด 12 ตัวชวี้ ัด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 72

รายวชิ าพน้ื ฐาน โครงสรา้ งรายวิชา
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 รหัสวิชา ว30182 พลังงาน/ Energy

กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 40 ชัว่ โมง 1.0 หน่วยกติ

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรียนรู้ การเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั (ชวั่ โมง) คะแนน
1 พลังงาน ว2.3 -พลังงานนวิ เคลยี รฟ์ ิชชันและฟิว
นวิ เคลียร์ ม.5/1, ม.5/2 ชนั ความสมั พันธร์ ะหว่างมวลกบั 8 10
พลังงานท่ปี ลดปล่อยออกมาจาก
2 คลืน่ กล ว2.3 ฟชิ ชันและฟวิ ชัน 6 10
ม.5/3, ม.5/4 -การเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็น
3 เสียง พลังงานไฟฟ้า และเทคโนโลยีท่ี 6 10
ว2.3 นำมาแกป้ ัญหาหรือตอบสนอง
ม.5/5 - ม.5/8 ความต้องการทางดา้ นพลังงาน
โดยเนน้ ด้านประสทิ ธภิ าพและ
ความค้มุ ค่าดา้ นค่าใช้จา่ ย
-การสะท้อน การหักเหการ
เลยี้ วเบน การรวมคล่นื ความถี่
ธรรมชาติ
-การส่ันพอ้ งและผลทเ่ี กดิ ขน้ึ จาก
การสั่นพ้อง
-การสะท้อน การหักเห การ
เลี้ยวเบน และการรวมคล่นื ของ
คลื่นเสยี ง
-ความเขม้ เสียงกบั ระดับเสยี งและ
ผลของความถ่ีกบั ระดับเสยี งทม่ี ี
ตอ่ การไดย้ ิน
-การเกิดเสยี งสะทอ้ นกลับบีต ดปั
เพลอร์ และการสน่ั พ้องของเสียง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 73

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
(ชั่วโมง) คะแนน
ท่ี การเรยี นรู้ การเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั
10 20
และยกตวั อย่างการนำความรู้ 20
10
เกี่ยวกับเสยี งไปใชป้ ระโยชนใ์ น 10
40
ชีวิตประจำวนั 20
100
สอบกลางภาค

4 คลืน่ ว2.3 -คลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าส่วนประกอบ

แม่เหล็กไฟฟา้ ม.5/11, ม.5/12 ขึ้นแมเ่ หล็กไฟฟ้าและหลักการ

ทำงานของ อปุ กรณบ์ างชนดิ ท่ี

อาศัยขึ้นแมเ่ หล็กไฟฟา้

-การสอื่ สารโดยอาศยั ขึ้น

แมเ่ หล็กไฟฟา้ ในการสง่ ผา่ น

สารสนเทศและ เปรยี บเทยี บการ

ส่อื สารดว้ ยสญั ญาณแอนะล็อกกับ

สัญญาณดจิ ทิ ัล

5 แสง ว2.3 -การมองเหน็ สีของวัตถแุ ละความ

ม.5/9, ม.5/10 ผิดปกตใิ นการมองเหน็ สี

-การทำงานของแผ่น กรองแสงสี

การผสมแสงสี การผสมสารสีและ

การ นำไปใช้ประโยชน์ใน

ชีวติ ประจำวนั

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรียน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 74

แบบวเิ คราะหต์ วั ชี้วัดของหลักสตู ร
รหสั วิชา ว 30161 รายวิชา โลก และอวกาศ1 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1

สาระที่ 3 วิทยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลง ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและ
ภมู ิอากาศโลก รวมทงั้ ผลต่อสิ่งมชี ีวติ และสง่ิ แวดล้อม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถิ่น

ตวั ชวี้ ดั ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ จำนวน

กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) ช่ัวโมง

1. อธิบายการแบ่ง 1. อธิบายความหมาย 1. การสังเกต 1. มีวินัย 3

ชั้นและสมบัติของ ขอ้ มลู คลืน่ ไหว 2. การ 2. ใฝ่เรียนรู้

โ ค ร ง ส ร ้ า ง โ ล ก สะเทือนได้ ตีความหมายข้อมูล 3. มุง่ มั่นในการ

พร้อมยกตัวอย่าง 2. สรุปและอธิบาย และลงข้อสรปุ ทำงาน

ข้อมูลทสี่ นบั สนุน การแบ่งชนั้ โครงสรา้ ง

โลกได้

2. อธบิ ายหลกั ฐาน 1. อธิบายประเภท 1. การสรา้ ง 1. มวี นิ ัย 2

ทางธรณีวิทยาท่ี ของหนิ ซากดกึ ดำ แบบจำลอง 2. ใฝเ่ รยี นรู้

สนับสนุนการ บรรพ์ ภมู ิอากาศ 2. การ 3. ม่งุ มน่ั ในการ

เคล่อื นที่ของแผ่น บรรพกาล ภาวะ ตคี วามหมายข้อมลู ทำงาน

ธรณี แม่เหล็กโลกบรรพ และลงข้อสรปุ

กาล อายุของหินพ้นื

มหาสมุทร การ

ค้นพบเทือกเขาใต้

สมทุ รและร่องลกึ ก้น

สมุทรได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 75

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ท้องถิ่น

ตัวชว้ี ัด ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลกั ษณะอันพึง จำนวน

กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) ชั่วโมง

3. ระบุสาเหตุ และ 1. อธิบายถงึ ลกั ษณะ 1. การสร้าง 1. มีวินยั 3

อธ ิบายรูปแบบ การเล่อื นที่ของแผน่ แบบจำลอง 2. ใฝเ่ รยี นรู้

แนวรอยต่อของ ธรณีได้ 2. การ 3. มุง่ มน่ั ในการ

แผน่ ธรณีท่ีสัมพันธ์ 2. อธิบายถึงการ ตคี วามหมายข้อมูล ทำงาน

กับการเคลื่อนท่ี เปล่ียนลกั ษณะของ และลงข้อสรุป

ข อ ง แ ผ ่ น ธ ร ณี เปลอื กโลกได้

พร้อมยกตัวอย่าง

หลักฐาน ทาง

ธรณีวิทยาท่ีพบ

4. อธบิ ายสาเหตุ 1. อธิบายวา่ ภเู ขาไฟ 1. การ 1. มีวนิ ัย 2

กระบวนการเกดิ คืออะไร กระบวนการ ตคี วามหมายข้อมลู 2. ใฝเ่ รยี นรู้

ภูเขาไฟระเบดิ เกดิ เกิดผลอยา่ งไร 2. การลงความเห็น 3. มุ่งมนั่ ในการ

รวมทั้งสืบค้น ต่อส่ิงแวดล้อมได้ จากข้อมลู ทำงาน

ขอ้ มลู พน้ื ทีเ่ ส่ยี ง 2. อธบิ ายภเู ขาไฟใน 3. การจัดกระทำ

ภัย ออกแบบและ ประเทศไทย และสื่อความหมาย

นำเสนอแนวทาง ประโยชน์และโทษได้ ขอ้ มูล

การเฝ้าระวงั และ

การปฏิบัตติ น ให้

ปลอดภัย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 76

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ท้องถิ่น

ตวั ชวี้ ัด ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลกั ษณะอันพงึ จำนวน

กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) ชัว่ โมง

5. อธิบายสาเหตุ 1. อธิบายถึงสาเหตุ 1. การ 1. มีวนิ ัย 3

กระบวนการเกดิ และกระบวนการเกดิ ตคี วามหมายข้อมลู 2. ใฝเ่ รยี นรู้

ขนาดและ ความ แผน่ ดนิ ไหว 2. การลงความเหน็ 3. มุ่งมัน่ ในการ

รนุ แรงและผลจาก 2. อธิบายถึง จากข้อมลู ทำงาน

แผน่ ดินไหว ผลกระทบที่เกิดต่อ 3. การจัดกระทำ

รวมทงั้ สบื ค้น สิ่งมีชวี ติ และ และส่อื ความหมาย

ขอ้ มลู พ้นื ท่ีเสีย่ ง ส่ิงแวดลอ้ ม และการ ข้อมลู

ภยั ออกแบบและ เฝ้าระวงั การเกิด

นำเสนอแนวทาง แผน่ ดนิ ไหว

การเฝา้ ระวังและ

การปฏิบตั ิตน ให้

ปลอดภัย

6. อธิบายสาเหตุ 1. อธบิ ายวา่ สนึ ามคิ ือ 1. การ 1. มวี นิ ัย 3

กระบวนการเกิด อะไร เกดิ ไดอ้ ย่างไร ตคี วามหมายข้อมูล 2. ใฝเ่ รียนรู้

และผลจากสึนามิ เกดิ ผลอยา่ งไรตอ่ 2. การลงความเหน็ 3. มงุ่ มน่ั ในการ

รวมทัง้ สืบคน้ สิง่ แวดล้อมได้ จากข้อมลู ทำงาน

ข้อมูลพื้นท่เี สยี่ ง 3. การจดั กระทำ

ภัยออกแบบ และ และสอ่ื ความหมาย

นำเสนอแนว ขอ้ มูล

ทางการเฝ้าระวงั

และการ ปฏบิ ตั ติ น

ให้ปลอดภยั

7. อธิบายปัจจัย 1. อธบิ ายถึงวงโคจร 1. การ 1. มีวินัย 3

สำคัญที่มีผลต่อ ของโลก เปรยี บเทยี บ ตีความหมายข้อมูล 2. ใฝ่เรยี นรู้

การได้รับพลังงาน ความแตกต่างท่เี ปน็ 2. การลงความเห็น 3. มงุ่ มั่นในการ

จากดวงอาทิตย์ สาเหตุของการเกิด จากข้อมูล ทำงาน

แตกต่างกันในแต่ ฤดกู าลและผลที่ 3. การจดั กระทำ

ละบรเิ วณของโลก เกิดขึ้นได้ และสือ่ ความหมาย

ขอ้ มูล

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 77

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ตวั ชว้ี ดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลักษณะอนั พึง จำนวน

กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) ชัว่ โมง

8. อธบิ ายการ 1. อภปิ ราย บอก 1. การ 1. มีวนิ ัย 2

หมนุ เวยี นของ และเปรียบเทยี บการ ตีความหมายข้อมูล 2. ใฝ่เรยี นรู้

อากาศที่เปน็ ผลมา หมนุ เวียนของอากาศ 2. การลงความเห็น 3. ม่งุ ม่ันในการ

จากความแตกตา่ ง เกิดขน้ึ จากความกด จากข้อมลู ทำงาน

ของความกด อากาศทีแ่ ตกตา่ งกนั 3. การจดั กระทำ

อากาศ ระหวา่ งสองบริเวณ และส่ือความหมาย

ได้ ขอ้ มลู

9. อธบิ ายทศิ 1. อภปิ ราย บอก 1. การ 1. มีวนิ ัย 2

ทางการเคลือ่ นท่ี และวเิ คราะห์การห ตคี วามหมายข้อมูล 2. ใฝ่เรียนรู้

ของอากาศท่เี ป็น มนุรอบตวั เองของ 2. การลงความเห็น 3. มุ่งมัน่ ในการ

ผลมาจากการหมุน โลก แรงคอริออลิส จากข้อมลู ทำงาน

รอบ ตัวเองของ ผลต่อทางการ 3. การจัดกระทำ

โลก เคลือ่ นที่ของอากาศ และสื่อความหมาย

ได้ ข้อมูล

10. อธบิ ายการ 1. อภิปราย บอก 1. การ 1. มีวินยั 2

หมนุ เวียนของ และเปรียบเทียบ ตีความหมายข้อมูล 2. ใฝเ่ รยี นรู้

อากาศตามเขต ความกดอากาศในแต่ 2. การลงความเหน็ 3. มุ่งมั่นในการ

ละตจิ ดู และผลท่ี ละบริเวณของโลก จากข้อมูล ทำงาน

มตี อ่ ภมู ิอากาศ ความแตกต่าง และ 3. การจัดกระทำ

การหมุนเวียน ของ และสอ่ื ความหมาย

อากาศได้ ข้อมลู

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 78

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถิน่

ตวั ชีว้ ัด ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลักษณะอันพึง จำนวน
ชั่วโมง
11.อธบิ ายปจั จัยท่ี 1. อภิปราย บอก กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
ทำให้เกดิ การหมุน และวิเคราะห์การ 3
เวียนของนำ้ หมนุ เวยี นของ 1. การสร้าง 1. มีวนิ ยั
ผวิ หนา้ ใน กระแสน้ำผิวหนา้ ใม 2
มหาสมทุ รและ หาสมทุ ร ผลท่ีเกดิ แบบจำลอง 2. ใฝ่เรยี นรู้
รปู แบบการ จากการหมุนเวยี น
หมุนเวียน ของน้ำ ของอากาศได้ 2. การ 3. มุ่งมน่ั ในการ
ผิวหน้าใน
มหาสมทุ ร ตีความหมายข้อมูล ทำงาน
12.อธบิ ายผลของ
การหมนุ เวียนของ และลงข้อสรุป
อากาศและน้ำ
ผิวหน้าใน 1. อภปิ ราย บอก 1. การสร้าง 1. มีวินยั
มหาสมทุ รทีม่ ีตอ่ และวเิ คราะห์การ แบบจำลอง 2. ใฝเ่ รียนรู้
ลักษณะ หมุนเวยี นอากาศและ 2. การ 3. มุ่งมนั่ ในการ
ภมู อิ ากาศ ลมฟ้า นำ้ ในมหาสมุทร และ ตีความหมายข้อมูล ทำงาน
อากาศสง่ิ มีชีวติ ผลต่อภูมอิ ากาศ ลม และลงข้อสรุป
และ ส่ิงแวดลอ้ ม ฟ้าอากาศ ส่งิ มชี วี ติ
และส่งิ แวดลอ้ ม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 79

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ทอ้ งถนิ่

ตัวชว้ี ดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพงึ จำนวน

กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) ช่วั โมง

13. อธิบายปจั จัย 1. อภิปราย บอก 1. การ 1. มีวินัย 2

ทม่ี ผี ลต่อการ และวเิ คราะห์ความ ตคี วามหมายข้อมลู 2. ใฝเ่ รยี นรู้

เปลี่ยน แปลง แตกต่างของพลังท่ี 2. การลงความเห็น 3. มุง่ มัน่ ในการ

ภูมิอากาศของโลก โลกได้รับจากดวง จากข้อมลู ทำงาน

พรอ้ มทงั้ นำ เสนอ อาทติ ย์ และผลท่ี 3. การจัดกระทำ

แนวปฏบิ ัติ เพ่ือลด เกดิ ขน้ึ เช่น อณุ หภูมิ และส่อื ความหมาย

กจิ กรรมของ เฉลี่ยของโลก สมดลุ ขอ้ มลู

มนุษย์ ที่ส่งผล พลังงาน ภมู ิอากาศ

ต่อการ เกดิ การเปลีย่ นแปลง

เปล่ยี นแปลง ได้

ภมู ิอากาศโลก 1. อภปิ ราย อธิบาย

และคิดวิธีแก้ปัญหา

ในบทบาทมนุษยใ์ น

การชะลอการ

เปล่ยี นแปลง

ภูมอิ ากาศโลกwfh

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 80

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถ่ิน

ตัวชี้วดั ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอนั พึง จำนวน

14. แปล กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) ชว่ั โมง
ความหมาย
สญั ลกั ษณ์ลมฟา้ 1. สามารถตคี วาม 1. การสร้าง 1. มีวนิ ัย 2
อากาศทส่ี ำคัญ
จากแผนที่อากาศ วเิ คราะห์ และอธบิ าย แบบจำลอง 2. ใฝ่เรยี นรู้
และนำข้อมูล
สารสนเทศตา่ ง ๆ แผนท่ีอากาศ ข้อมลู 2. การ 3. มุง่ ม่นั ในการ
มาวาง แผนการ
ดำเนินชวี ติ ให้ การตรวจอากาศใน ตีความหมายข้อมลู ทำงาน
สอดคลอ้ งกับ
สภาพลมฟ้า รปู แบบสัญลกั ษณ์ และลงข้อสรปุ
อากาศ
หรอื ตวั เลข เช่น

บริเวณ ความกด

อากาศสงู หยอ่ ม

ความกดอากาศตำ่

พายุหมุนเขตร้อน

ร่องความกดอากาศ

ตำ่ การแปล

ความหมาย

สญั ลกั ษณล์ มฟา้

อากาศได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 81

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว30161 รายวชิ า โลก และอวกาศ1 / Earth and Space1

รายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาการศึกษาโครงสร้างโลก การแบ่งโครงสร้างโลก ทฤษฎีทวีปเลื่อนของเวเกเนอร์
หลักฐานและข้อมูลทางธรณีวิทยา กระบวนการที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ลักษณะการ
เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิ ปัจจัยท่ีทำให้ผิวโลกได้รับพลงั งานจาก
ดวงอาทติ ย์ตา่ งกัน ความกดอากาศ การหมุนเวียนของอากาศ แรงคอริออลิส ภูมิอากาศของแต่ละ
เขตพื้นที่ การหมุนเวียนของกระแสน้ำหน้าผิวมหาสมุทร การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก และ
อุตนุ ิยมวทิ ยาและการพยากรณอ์ ากาศ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารส่ิงท่เี รยี นรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และคา่ นยิ มท่เี หมาะสม

รหัสตวั ชว้ี ดั
ว3.2 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6, ม.6/7, ม.6/8, ม.6/9, ม.6/10, ม.6/11,

ม.6/12, ม.6/13, ม.6/14

รวมทงั้ หมด 14 ตัวช้วี ัด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 82

โครงสร้างรายวชิ า

รหสั วิชา ว30161 โลก และอวกาศ1 / Earth and Space1

รายวชิ าพ้ืนฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 จำนวน 40 ชว่ั โมง 1 หนว่ ยกติ

ลำดบั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
(ชวั่ โมง) คะแนน
ท่ี การเรยี นรู้ ตวั ชีว้ ัด

1 โลกและการ ว3.2 - การศกึ ษาโครงสร้างโลก 10 20

เปล่ยี นแปลง ม.6/1 - ม.6/3 - การแบง่ โครงสรา้ งโลก

- ทฤษฎที วปี เลือ่ นของเวเกเนอร์

- หลักฐานและขอ้ มลู ทาง

ธรณีวทิ ยา

- กระบวนการที่ทำให้เกิดการ

เคล่อื นที่ของแผ่นธรณี

- ลักษณะการเคล่ือนทข่ี องแผน่

ธรณี

2 ปรากฏ ว3.2 - แผ่นดินไหว 10 20

การณท์ าง ม.6/4 - ม.6/6 - ภูเขาไฟระเบิด

ธรณี - สึนามิ

สอบกลางภาค 20

3 บรรยากาศ ว3.2 - ปัจจยั ทที่ ำให้ผวิ โลกได้รับ 20 20

ม.6/7 - ม.6/14 พลังงานจากดวงอาทติ ย์ต่างกัน

- ความกดอากาศ

- การหมนุ เวียนของอากาศ

- แรงคอริออลสิ

- ภูมิอากาศของแตล่ ะเขตพ้ืนท่ี

- การหมุนเวยี นของกระแส

นำ้ หนา้ ผิวมหาสมุทร

- การเปลี่ยนแปลงอณุ หภูมิโลก

- อุตนุ ิยมวทิ ยาและการพยากรณ์

อากาศ

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรยี น 40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 83

แบบวิเคราะหต์ วั ช้วี ัดของหลักสตู ร
รหสั วิชา ว30162 รายวิชา โลก และอวกาศ2 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ
กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุรยิ ะ รวมทัง้ ปฏสิ มั พันธ์ภายในระบบสรุ ิยะ ท่ีสง่ ผลตอ่ สง่ิ มชี ีวิต และการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิน่

ตัวชี้วดั ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอัน จำนวน

(P ) พงึ ประสงค์ (A ) ชว่ั โมง

1. อธบิ ายการกำเนิด 1. อภิปรายและ 1. การสงั เกต 1. มวี ินยั 4

และการเปลยี่ น แปลง อธบิ ายถงึ ความ 2. การตีความหมาย 2. ใฝ่เรียนรู้

พลงั งานสสาร ขนาด คิดเหน็ และ ข้อมูลและลงข้อสรุป 3. มุ่งม่นั ในการ

อณุ หภูมิของเอกภพ แบบจำลองเอกภพ ทำงาน

หลังเกดิ บกิ๊ แบงใน ในอดตี

ชว่ งเวลาตา่ งๆ ตาม 2. อภิปรายและ

ววิ ฒั นาการของเอก อธิบายการกำเนดิ

ภพ เอกภพ

2. อธบิ ายหลักฐานท่ี 1. อธบิ าย อภปิ ลาย 1. การสร้าง 1. มีวินัย 4
แบบจำลอง 2. ใฝเ่ รียนรู้
สนับสนนุ ทฤษฎี และวเิ คราะห์ 2. การตคี วามหมาย 3. มุง่ มั่นในการ
ข้อมูลและลงข้อสรุป ทำงาน
บ๊กิ แบง จาก หลกั ฐานยืนยนั การ

ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง เกิดเอกภพเช่น

ความเร็วกับระยะทาง คลน่ื วิทยุพื้นหลงั

ของกาแล็กซรี วมท้ัง และปรากฏการณ์

ข้อมลู การค้นพบ เรดชีพได้

ไมโครเวฟ พ้ืน

หลังจากอวกาศ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 84

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ตัวชีว้ ดั ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั จำนวน

(P ) พึงประสงค์ (A ) ชั่วโมง

3. อธิบายโครงสร้าง 1. อธบิ าย 1. การสรา้ ง 1. มวี ินยั 4

และองคป์ ระกอบของ ความหมายของ แบบจำลอง 2. ใฝ่เรยี นรู้

กาแลก็ ซี ทาง กาแลก็ ซี ลกั ษณะ 2. การตคี วามหมาย 3. มงุ่ มน่ั ในการ

ชา้ งเผือกและระบุ และการแบง่ กลมุ่ ได้ ข้อมูลและลงข้อสรปุ ทำงาน

ตำแหน่งของระบบ

สุรยิ ะ พร้อมอธิบาย

เช่ือมโยงกบั การ

สงั เกตเหน็ ทาง

ชา้ งเผือก ของคนบน

โลก

4 . อ ธ ิ บ า ย 1. อธิบาย อภิปลาย 1. การตีความหมาย 1. มวี ินยั 4

กระบวนการเกิดดาว และวิเคราะห์ ข้อมูล 2. ใฝเ่ รียนรู้

ฤกษ์โดยแสดงการ วิวฒั นาการของดาว 2. การลงความเห็น 3. มงุ่ มัน่ ในการ

เปลี่ยนแปลงความดัน ฤกษ์ตามขนาดของ จากข้อมลู ทำงาน

อณุ หภูมิขนาด จาก ดาวได้ 3. การจัดกระทำและ

ดาวฤกษ์ก่อนเกิดจน 2. อธบิ าย อภปิ ลาย สอื่ ความหมายข้อมูล

เป็นดาวฤกษ์ และวเิ คราะห์กำเนิด

และวัฒนาการของ

ดวงอาทิตย์ได้

5. ระบปุ จั จัยทส่ี ง่ ผล 1. อธิบาย อภปิ ลาย 1. การตีความหมาย 1. มีวนิ ัย 4

ตอ่ ความส่องสวา่ งของ และวเิ คราะห์ความ ขอ้ มลู 2. ใฝ่เรยี นรู้

ดาวฤกษ์ และอธิบาย ส่องสวา่ งและโชติ 2. การลงความเห็น 3. มงุ่ มน่ั ในการ

ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง มาตร บอกถงึ ค่าโชติ จากข้อมลู ทำงาน

ความ สอ่ งสวา่ งกับ มาตรของดาวดวง 3. การจดั กระทำและ

โชติมาตรของดาว ตา่ งๆได้ ส่อื ความหมายข้อมูล

ฤกษ์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 85

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ตัวชวี้ ัด ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ คุณลักษณะอัน จำนวน
ช่ัวโมง
6. อธิบาย 1. อธบิ าย อภปิ ลาย (P ) พงึ ประสงค์ (A )
ความสัมพนั ธ์ระหวา่ ง และวิเคราะห์สาเหตุ 4
สีอุณหภูมิผวิ และ ทีด่ าวฤกษม์ ีสตี า่ งๆ 1. การตคี วามหมาย 1. มวี นิ ยั
สเปกตรมั ของดาว และความสัมพนั ธ์ 4
ฤกษ์ ของสกี ับอุณหภูมิ ขอ้ มลู 2. ใฝ่เรียนรู้
ของดาวฤกษ์ได้ 4
7. อธิบายลำดับ 1. อธิบายและ 2. การลงความเห็น 3. มงุ่ มนั่ ในการ
วิวฒั นาการทีส่ ัมพนั ธ์ คำนวณหาระยะห่าง
กบั มวลตัง้ ตน้ ของดาวฤกษ์ได้ จากข้อมูล ทำงาน
และวเคิ ราะห์การ 2. อธบิ ายลกั ษณะ
เปล่ยี น แปลงสมบตั ิ ของเนบวิ ลา และ 3. การจัดกระทำและ
บางประการ ของดาว กระบวนการที่
ฤกษ์ เนบิวลาใหก้ ำเนิด สอ่ื ความหมายขอ้ มลู
ดาวฤกษ์ได้
8. อธิบาย 1. อธบิ าย อภิปลาย 1. การตคี วามหมาย 1. มวี ินัย
กระบวนการเกิด และวเิ คราะห์
ระบบสรุ ิยะและการ ลกั ษณะกาแล็กซี ข้อมลู 2. ใฝ่เรียนรู้
แบ่ง เขตบริวารของ ลักษณะ และการ
ดวงอาทิตย์ และ แบง่ กลุ่มได้ 2. การลงความเหน็ 3. มุ่งมน่ั ในการ
ลกั ษณะของดาว
เคราะหท์ ่เี อ้ือต่อการ 2. อธบิ าย อภิปลาย จากข้อมลู ทำงาน
ดำรงชีวิต และวเิ คราะห์การ
กำเนิดระบบสุริยะ 3. การจดั กระทำและ

สือ่ ความหมายข้อมลู

1. การตคี วามหมาย 1. มีวนิ ยั
ข้อมลู 2. ใฝเ่ รยี นรู้
2. การลงความเห็น 3. มุ่งมน่ั ในการ
จากข้อมูล ทำงาน
3. การจดั กระทำและ
สอื่ ความหมายขอ้ มูล

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 86

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ตัวชว้ี ัด ความรู้ (K) ทกั ษะ/กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั จำนวน
ช่วั โมง
9. อธบิ ายโครงสรา้ ง 1. อธิบาย อภิปลาย (P ) พงึ ประสงค์ (A )
ของดวงอาทิตย์การ และวเิ คราะห์ 4
เกิดลมสรุ ยิ ะ พายุ ตำแหนง่ การวางตัว 1. การตีความหมาย 1. มวี ินัย
สรุ ยิ ะและสืบค้น และลักษณะของ
ขอ้ มลู วเิ คราะห์ บริวารของดวง ข้อมลู 2. ใฝเ่ รียนรู้
นำเสนอปรากฏการณ์ อาทติ ย์ได้
หรอื เหตุการณ์ท่ี 2. อธบิ าย อภิปลาย 2. การลงความเห็น 3. มุ่งมนั่ ในการ
เก่ียวขอ้ งกบั ผลของ และวิเคราะห์ขอ้ มลู
ลมสรุ ยิ ะ และพายุ ของดวงอาทิตย์ จากข้อมูล ทำงาน
สุริยะทม่ี ตี ่อโลก ลกั ษณะโครงสรา้ ง
รวมทั้งประเทศไทย และผลกระทบตอ่ 3. การจดั กระทำและ
โลกได้
สอ่ื ความหมายขอ้ มูล

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 87

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ทอ้ งถนิ่

ตวั ชว้ี ดั ความรู้ (K) ทักษะ/กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั จำนวน

(P ) พงึ ประสงค์ (A ) ชัว่ โมง

10. สบื คน้ ขอ้ มูล 1. สืบค้นและอธิบาย 1. การตคี วามหมาย 1. มีวินัย 4

อธิบายการสำรวจ สิง่ ประดษิ ฐ์ทาง ข้อมลู 2. ใฝเ่ รยี นรู้

อวกาศ โดยใช้ กลอ้ ง เทคโนโลยีอวกาศที่มี 2. การลงความเหน็ 3. ม่งุ มั่นในการ

โทรทรรศน์ในช่วง การนำมาใช้และ จากข้อมลู ทำงาน

ความยาวคลน่ื ตา่ ง ๆ ประโยชน์ท่เี กดิ ขน้ึ 3. การจัดกระทำและ

ดาวเทียม ยานอวกาศ 2. คน้ หาข้อมลู และ ส่อื ความหมายข้อมูล

สถานอี วกาศ และ อธบิ ายการขนสง่

นำเสนอ แนวคดิ การ ดาวเทียมได้

นำความรู้ทางด้าน 3. ค้นหาขอ้ มูล และ

เทคโน โลยีอวกาศมา อธิบายการโคจรของ

ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิต ดาวเทยี มได้

ประจำวนั หรอื ใน 4. สืบคน้ และอธิบาย

อนาคต ถงึ ระบบการขนส่ง

อวกาศ ระบบการ

ทำงานของจรวด

5. สบื คน้ และอธบิ าย

ถงึ การใชช้ วี ติ อย่ใู น

อวกาศในสภาพไร้

น้ำหนัก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 88

คำอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว30162 รายวิชา โลก และอวกาศ2 / Earth and Space2

รายวชิ าพืน้ ฐาน กลุม่ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวน 40 ช่วั โมง 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษากำเนิดเอกภพ วิวัฒนาการของเอกภพ หลักฐานสำคัญที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง
กาแล็กซี วิวัฒนาการของดาวฤกษ์ ปฏิกิริยาเทอร์โมนิวเคลียร์ ความส่องสว่างและโชติมาตร ของ
ดาวฤกษ์ สแี ละอุณหภูมิของดาวฤกษ์ ระยะห่างของดาวฤกษ์ มวลของดาวฤกษ์ กำเนิดระบบสุริยะ
องค์ประกอบของระบบสุริยะ โครงสร้างของดวงอาทิตย์ ลมสุริยะและพายุสุริยะ กล้องโทรทรรศน์
ดาวเทียม ระบบขนส่งอวกาศ และการใช้ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยอี วกาศ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่เี รยี นรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม

รหสั ตัวชว้ี ดั
ว3.1 ม.6/1, ม.6/2, ม.6/3, ม.6/4, ม.6/5, ม.6/6, ม.6/7, ม.6/8, ม.6/9, ม.6/10

รวมท้ังหมด 10 ตวั ช้วี ัด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 89

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวิชา ว30162 โลกและอวกาศ2 / Earth and Space2

รายวิชาพ้นื ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 จำนวน 40 ช่วั โมง 1 หน่วยกติ

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
(ชว่ั โมง) คะแนน
ท่ี การเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด
10 15
1 เอกภพ ว3.1 - กำเนิดเอกภพ
10 15
ม.6/1 - ม.6/3 - ววิ ัฒนาการของเอกภพ
10 20
- หลกั ฐานสำคญั ทส่ี นับสนุน 15

ทฤษฎบี กิ แบง

- กาแลก็ ซี

2 ดาวฤกษ์ ว3.1 - วิวฒั นาการของดาวฤกษ์

ม.6/4 - ม.6/7 - ปฏิกริ ยิ าเทอรโ์ มนิวเคลียร์

- ความส่องสว่างและโชติมาตร

ของดาวฤกษ์

- สแี ละอุณหภูมิของดาวฤกษ์

- ระยะห่างของดาวฤกษ์

- มวลของดาวฤกษ์

สอบกลางภาค

3 ระบบ ว3.1 - กำเนดิ ระบบสุรยิ ะ

สรุ ิยะและ ม.6/8 - ม.6/9 - องค์ประกอบของระบบสรุ ยิ ะ

ดวง - โครงสร้างของดวงอาทิตย์

อาทติ ย์ - ลมสรุ ิยะและพายสุ รุ ิยะ

4 เทคโนโลยี ว3.1 - กลอ้ งโทรทรรศน์ 10 15

สำรวจ ม.6/10 - ดาวเทยี ม 20
40 100
อวกาศ - ระบบขนสง่ อวกาศ

- การใชป้ ระโยชน์จาก

เทคโนโลยอี วกาศ

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรียน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 90

แบบวเิ คราะหต์ วั ชีว้ ัดของหลักสูตร
รหัสวิชา ว31183 รายวิชา วิทยาการเทคโนโลยี 4 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4

ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ช่วั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

มาตรฐาน นำไปสู่
การเรียนรู้/
ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ชิน้ งาน/
ตัวชี้วัด
ว4.1 ม.4/1 สำคญั อนั พงึ ภาระงาน
ว4.2 ม.4/1
ประสงค์
ว4.1 ม.4/2
ว4.2 ม4/2 การแก้ไขปญั หา แนวคดิ เชิงคำนวณ ความสามารถ ใฝเ่ รยี นรู้ - แนวคดิ การ

อยา่ งเปน็ ลำดบั เป็นความสามารถใน ในกาคิด แก้ไขปัญหา

ขัน้ ตอน และมี การแก้ไขปญั หาโดย ความสามารถ โดยมุง่ เนน้ การ

วิธีการแกป้ ัญหา มงุ่ เน้นการคิดเชิง ในการ คดิ เชิงตรรกะ

อยา่ งมีระบบและ ตรรกะหรือเปน็ การ แก้ปญั หา หรือเปน็ การ

พฒั นาโครงงาน แกไ้ ขปญั หาอย่างเป็น แกไ้ ขปญั หา

ทางดา้ น ลำดบั ขน้ั ตอน และมี อย่างเปน็

เทคโนโลยเี ปน็ การ วิธีการแก้ปญั หาอย่างมี ลำดบั ข้นั ตอน

นำแนวคิดเชิง ระบบ และมวี ธิ กี าร

คำนวณมา การพัฒนาโครงงาน แกป้ ัญหาอย่าง

แก้ปัญหาตา่ ง ๆ ทางด้านเทคโนโลยเี ป็น มีระบบ สกู่ าร

การนำแนวคดิ เชิง พฒั นา

คำนวณมาแก้ปัญหา โครงงาน

ตา่ ง ๆ อย่างเป็นระบบ

เพือ่ ให้โครงงานสำเร็จ

ลุลว่ งตามเปา้ หมาย

วิเคราะห์ ปัญหาหรอื ความ ความสามารถ ม่งุ มนั่ ในการ - วเิ คราะห์
ในกาคิด ทำงาน สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหา ต้องการที่มผี ลกระทบ ความสามารถ
ในการ ปญั หามี
โดยอาจใช้เทคนิค ต่อสังคม แกป้ ญั หา ผลกระทบต่อ
สังคม
หรือวิธีการ การวเิ คราะห์

วเิ คราะหท์ ่ี สถานการณป์ ัญหาโดย

หลากหลาย อาจใชเ้ ทคนิคหรือ

วธิ กี ารวเิ คราะหท์ ี่

หลากหลาย ชว่ ยให้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 91

มาตรฐาน สาระการเรียนรู้ นำไปสู่ ชนิ้ งาน/
การเรยี นร/ู้ ความคิดรวบยอด สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคัญ อันพึง
ตวั ชว้ี ัด
ประสงค์

เข้าใจเงื่อนไขและกรอบ

ของปัญหาได้ชดั เจน

จากน้นั ดำเนนิ การ

สืบค้น รวบรวมขอ้ มลู

ความร้จู ากศาสตร์ตา่ ง

ๆที่เกย่ี วข้อง เพื่อ

นำไปสพู่ ัฒนาโครงงาน

ที่เกีย่ วกับ

ชวี ิตประจำวัน

ว4.1 ม4/3 นำแนวคิดเชงิ การนำแนวคดิ เชงิ ความสามารถ มงุ่ ม่ันในการ - พฒั นา

ว4.2 ม4/3 คำนวณพฒั นา คำนวณพฒั นาโครงงาน ในกาคิด ทำงาน โครงงาน

โครงงาน พัฒนา พฒั นาเวบ็ ไซต์ แนะนำ ความสามารถ

เวบ็ ไซต์ แนะนำ การใช้งานห้องสมุด ในการใช้

การใช้งาน การนำแนวคิดเชิง ทกั ษะชีวติ

ห้องสมุด คำนวณพฒั นาโครงงาน

โปรแกรมเจ้งเตือนการ

กินยาผา่ นสมาร์ท

โฟนหรือแท็บเล็ต

ว4.1 ม.4/4 ประเมนิ ผลเปน็ การทดลองและ ความสามารถ มุง่ มั่นในการ - ประเมินผล
ว4.2 ม4/2 การตรวจสอบ ประเมินผลเป็นการ ในการใช้ ทำงาน เป็นการ
ชิน้ งานหรือวิธกี าร ตรวจสอบชนิ้ งานหรือ เทคโนโลยี
ว่าสามารถ วธิ กี ารว่าสามารถ ตรวจสอบ
แก้ปัญหาได้ตาม แกป้ ญั หาไดต้ าม ชิ้นงานหรือ
วัตถปุ ระสงค์ วตั ถุประสงคภ์ ายใต้ วธิ กี ารวา่
ภายใตก้ รอบของ กรอบของปัญหา เพื่อ สามารถ
ปญั หา หาขอ้ บกพร่อง และ แก้ปญั หาได้
ดำเนินการปรบั ปรุง ตาม
วตั ถปุ ระสงค์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 92

มาตรฐาน สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
การเรยี นร/ู้ ความคิดรวบยอด สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคญั อันพึง
ตัวชวี้ ดั
ประสงค์

โดยอาจทดสอบซำ้
เพ่ือให้สถานการณแ์ ก้ไข
ปญั หาได้อยา่ งมี
ประสิทธิภาพ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 93

คำอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ว31183 รายวชิ า วิทยาการเทคโนโลยี 4

รายวชิ าพนื้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาการประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงานทางด้าน
เทคโนโลยี การนำแนวคิดเชิงคำนวณพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน ตลอดจนใช้ในการพัฒนา
โครงงานทีม่ กี ารบูรณาการกบั วชิ าอ่นื อยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละเชอื่ มโยงกับชวี ติ จริง

โดยอาศยั กระบวนการเรยี นรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และการ
เรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Problem-based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึก
ทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์ การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนำเสอน
ผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์
ปัญหา จนสามารถนำเอาแนวคดิ เชงิ คำนวณมาประยุกต์ใช้ในการสร้างโครงงานได้

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อรวบรวมข้อมูลในชีวิตจริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อื่น
มาประยุกตใ์ ช้ สรา้ งความรู้ใหม่ เข้าใจการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีท่ีมผี ลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ
สังคม วัฒนธรรม และใช้อยา่ งปลอดภัยมีจรยิ ธรรม ตลอดจนนำความร้คู วามเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิด
และจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการส่ือสาร และความสามารถ
ในการตัดสนิ ใจ และเปน็ ผทู้ ี่มจี ิตวิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์

ตัวช้ีวดั
ว 4.1 ม.4/1 , ม.4/2 , ม.4/3 , ม.4/4
ว 4.2 ม.4/1 , ม.4/2 , ม.4/3

รวมทัง้ หมด 7 ตัวชว้ี ัด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 94

รายวิชาพน้ื ฐาน โครงสรา้ งรายวชิ า
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 4 รหัสวิชา ว31183 วิทยาการเทคโนโลยี 4

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกิต

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ท่ี การเรยี นรู้ การเรียนร้/ู ตัวช้ีวดั (ชั่วโมง) คะแนน
1 แนวคดิ เชงิ ว4.1 ม.4/1 แนวคิดเชิงคำนวณ เป็น
คำนวณใน ว4.2 ม.4/1 ความสามารถในการแก้ไขปญั หา 4 20
การพัฒนา โดยมงุ่ เนน้ การคดิ เชงิ ตรรกะหรือ
โครงงาน เปน็ การแก้ไขปัญหาอยา่ งเป็น 4 20
ลำดบั ข้ันตอน และมีวธิ กี าร
2 การนำแนวคิด ว4.1 ม.4/2 แก้ปัญหาอยา่ งมีระบบ
เชงิ คำนวณ ว4.2 ม.4/2
พัฒนา การพัฒนาโครงงานทางด้าน
โครงงานท่ี เทคโนโลยเี ป็นการนำแนวคดิ เชิง
เกย่ี วกับ คำนวณมาแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ อยา่ ง
ชวี ติ ประจำวนั เป็นระบบ เพ่ือให้โครงงานสำเร็จ
ลลุ ว่ งตามเปา้ หมาย

ปญั หาหรือความต้อง
การท่ีมีผลกระทบต่อสงั คม

การวเิ คราะห์สถาน
การณ์ปัญหาโดยอาจใชเ้ ทคนิค
หรอื วธิ ีการวิเคราะห์ทห่ี ลากหลาย
ช่วยให้เข้าใจเงื่อนไขและกรอบ
ของปญั หาได้ชัด
เจน จากนน้ั ดำเนนิ การสืบค้น
รวบรวมข้อมูล ความรจู้ ากศาสตร์
ต่าง ๆที่เกยี่ วข้อง เพื่อนำไปสู่
พฒั นาโครงงานท่ีเกีย่ ว
กับชวี ิตประจำวัน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 95

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
(ช่ัวโมง) คะแนน
ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้/ตวั ชีว้ ัด
6 20
3 การประยุกต์ใช้ ว4.1 ม.4/3 การนำแนวคิดเชงิ คำนวณพฒั นา 6 20

แนวคดิ เชิง ว4.2 ม.4/3 โครงงาน พัฒนาเวบ็ ไซต์ แนะนำการ 20 10
10
คำนวณเพื่อ ใชง้ านห้องสมดุ 100

พฒั นา การนำแนวคิดเชิงคำนวณพฒั นา

โครงงาน โครงงาน โปรแกรมเจง้ เตือนการกนิ

ยาผ่านสมารท์ โฟนหรอื แท็บเลต็

4 นำเสนอ ว4.1 ม.4/4 การทดลองและประเมนิ ผลเปน็

โครงงาน ว4.2 ม.4/2 การตรวจ

สอบช้ินงานหรือวธิ ีการว่าสามารถ

แกป้ ญั หาได้ตามวตั ถุประสงค์ภายใต้

กรอบของปัญหา เพอื่ หาข้อบกพรอ่ ง

และดำเนนิ

การปรับปรงุ โดยอาจทดสอบซำ้

เพ่ือให้สถาน

การณ์แกไ้ ขปัญหาไดอ้ ยา่ งมี

ประสทิ ธภิ าพ

การนำเสนอและประเมินผลเปน็

การถา่ ย

ทอดแนวคิดเพื่อให้ผ้อู ื่นเข้าใจ

เก่ยี วกับกระบวน

การ ทำงานและชนิ้ งานหรอื วิธกี ารท่ี

ได้ ซึง่ ทำไดห้ ลายวิธี เชน่ การทำ

แผน่ นำเสนองาน การจดั นทิ รรศการ

การนำเสนอผา่ นส่อื ออนไลน์ หรือ

การนำเสนอต่อภาคธุร

กิจ เพอื่ การพฒั นาตอ่ ยอดสู่งาน

อาชีพ

สอบกลางภาค

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรยี น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 96

แบบวิเคราะห์ตัวชี้วดั ของหลักสตู ร
รหัสวชิ า ว32184 รายวิชา วิทยาการเทคโนโลยี 5 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5

ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ นำไปสู่ ชน้ิ งาน/
เรยี นรู้ ยอด เรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะอนั ภาระงาน
ขอ้ ท่ี 1 -2 สำคัญ พงึ ประสงค์ ใบความรู้
-ผูเ้ รยี นสามารถ - การทำงาน - ความ - มีจิตสาธารณะ และใบงาน
ขอ้ ท่ี 3-6 อธิบายนำความรู้ ของ สามารถใน - ซ่ือสัตยส์ จุ รติ
ดา้ นวิทยาการ โปรแกรม การใชท้ ักษะ ใบความรู้
คอมพวิ เตอร์ ส่ือ - ชวี ิต และการฝกึ
ดจิ ิทลั และ ปฏิบตั ใิ น
เทคโนโลยี วิเคราะห์ - ความ - อยู่อยา่ ง คาบเรียน
สารสนเทศ มาใช้ ข้อมูล และใช้ สามารถใน พอเพยี ง
แก้ปัญหากับชวี ติ เครือ่ งทำ การคิด
จริง
-ผเู้ รยี นสามารถ ข้อมูลเปน็
อธิบายการเพิ่ม
มลู คา่ ใหบ้ รกิ าร data
หรือผลิตภณั ฑ์
- ผเู้ รียนสามารถ visualization
อธบิ ายการ
วเิ คราะห์ข้อมลู
ทางสถติ ิ
การประมวลผล
ขอ้ มลู และ
เคร่อื งมือ
การทำข้อมลู ให้
เปน็ ภาพ (data
visualization)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 97

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ ยอด เรียนรู้ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะอนั ภาระงาน
ข้อท่ี 7 สำคญั พึงประสงค์

ข้อท่ี 8- การทำโครงงาน วิธกี ารสรา้ ง - - ความรักชาติ ใบความรู้
10
เปน็ การ โครงงาน และ ความสามารถ ศาสน์ กษตั ริย์ และการฝึก

ประยุกต์ใช้ การ ในการ - รักความเปน็ ปฏิบตั ใิ น

ความรแู้ ละทักษะ ประยกุ ตใ์ ช้ แก้ปญั หา ไทย คาบเรยี น

จากศาสตร์ต่างๆ การพฒั นา

ร่วมท้งั ทรัพยา ช้ินงาน

การในการสรา้ ง

หรอื พฒั นา

ชิ้นงานหรือ

วิธกี าร เพื่อ

แก้ปัญหาหรือ

อำนวยความ

สะดวกในการ

ทำงาน

ผ้เู รยี นสามารถทำ มแี นวคดิ การ - - มีความมุ่งมน่ั ใบความร้/ู

โครงงานการ ทำโครงงาน ความสามารถ ในการทำงาน ใบงาน/

ออกแบบและ จากผลงาน ในการใช้ โปรแกรม

เทคโนโลยี การออกแบบ เทคโนโลยี

สามารถ เทคโนโลยีได้

ดำเนินการได้

โดยเริ่มจาก การ

สำรวจ

สถานการณ์

ปัญหาท่ีสนใจ

เพอื่ กำหนดหวั ข้อ

โครงงาน แลว้

รวบรวมขอ้ มูล

และแนวคดิ ที่

เก่ยี วข้องกบั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 98

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชน้ิ งาน/
เรยี นรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะอัน ภาระงาน
สำคญั พึงประสงค์
ปัญหา ออกแบบ
แนวทางการ
แกป้ ญั หา
วางแผนและ
ดำเนนิ การ
แก้ปญั หา
ทดสอบ
ประเมินผล
ปรบั ปรุงแก้ไข
วิธีการแก้ปัญหา
หรือช้ินงาน และ
นำเสนอวธิ ีการ
แก้ปัญหา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 99

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวชิ า ว32184 รายวชิ า วทิ ยาการเทคโนโลยี 5

รายวิชาพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 จำนวน 20 ช่วั โมง 0.5 หนว่ ยกติ

ในยุคการเรียนการสอนท่มี ีการแขง่ ขันการเรยี นการสอนที่เนน้ ความเข้าใจของผู้เรียนในเรื่อง
การนำความร้ดู ้านวิทยาการคอมพวิ เตอร์ ส่ือดจิ ทัล และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใช้แก้ปัญหากับชีวิต
จริง การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทำข้อมูลให้เป็นภาพ (data visualization) และใช้ความรู้ด้าน
วิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศในการแก้ปัญหาหรือการเพิ่มมูลค่าให้กับ
บริการหรือผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ในชีวิตจริงอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้การทำโครงงาน เป็นการประยุกต์ใช้
ความรแู้ ละทกั ษะจากศาสาตร์ตา่ งๆ รว่ มทง้ั ทรัพยาการในการสร้างหรือพัฒนาช้ินงานหรือวธิ ีการ เพื่อ
แก้ปัญหาหรอื อำนวยความสะดวกในการทำงาน การทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยีสามารถ
ดำเนินการได้ โดยเริ่มจาก การสำรวจสถานการณ์ปัญหาที่สนใจ เพื่อกำหนดหัวข้อโครงงาน แล้ว
รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เก่ียวข้องกับปัญหา ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา วางแผนและ
ดำเนินการแก้ปัญหา ทดสอบ ประเมินผลปรับปรุงแก้ไขวิธีการแก้ปัญหาหรือชิ้นงาน และนำเสนอ
วธิ ีการแก้ปัญหาเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ)

ตวั ชีว้ ดั
ว4.1 ม.5/1
ว4.2 ม.5/1

รวมท้ังหมด 2 ตัวช้ีวดั


Click to View FlipBook Version