The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 400

ลำดับ ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
ที่ การเรยี นรู้ ผู้เรยี นสามารถ ( ช่ัวโมง) (100)
4 นำเสนอโครงงาน นำเสนอผลงาน การนำเสนอผลงานเปน็ การ 20
ตนเองเพ่อื ถ่ายทอด ถา่ ยทอด แนวคดิ เพื่อให้ผู้อืน่ 6
ความรู้ใหก้ ับผู้อ่นื ได้ เข้าใจเก่ยี วกับ กระบวนการ 80
ทำงานและช้ินงานหรอื วิธีการ 20 10
รวม ที่ได้ ซง่ึ สามารถทำไดห้ ลายวิธี - 10
สอบกลางภาค เชน่ การทำแผ่นนำเสนอผลงาน - 100
สอบปลายภาค การจดั นิทรรศการ การ 20
รวมตลอดภาค นำเสนอผา่ นส่อื ออนไลน์ หรอื
การนำเสนอต่อภาคธรุ กิจเพอื่
การพฒั นาต่อยอดสงู่ านอาชีพ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 401

แบบวเิ คราะหผ์ ลการเรียนรู้ของหลกั สูตร
รหัสวิชา ว31284 รายวชิ า คณิตศาสตร์คอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้

เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ช้นิ งาน/
เรยี นรู้ ยอด สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ภาระงาน
สำคัญ อนั พึงประสงค์

ขอ้ ที่ 1 มีความรู้ความ - ระบบจำนวน - ใฝ่เรียนรู้ - -ใบความรู้ -

เขา้ ใจเกีย่ วกับ - ความสัมพนั ธ์ ความสามารถ ใบงาน

วิวัฒนาการ ระหว่าง ในการส่ือสาร -แบบฝึกหัด

ของระบบ คณติ ศาสตร์กบั -ทดสอบท้าย

จำนวนและ การทำงานของ บท

ความสมั พนั ธ์ คอมพวิ เตอร์

ระหว่าง

คณิตศาสตร์

กับการทำงาน

ของเคร่อื ง

คอมพิวเตอร์

ขอ้ ที่ 2 มคี วามรคู้ วาม - ระบบเลขฐาน - ใฝเ่ รยี นรู้ - -ใบความรู้ -

เข้าใจเกีย่ วกับ ทใี่ ช้ใน - มุง่ มั่นใน ความสามารถ ใบงาน

ระบบจำนวน คอมพิวเตอร์ การทำงาน ในการคดิ -แบบฝกึ หัด

ระบบเลขฐาน - ระบบ -ทดสอบท้าย

พชี คณติ บูลีน เลขฐานสอง, บท

แปด, สิบ, สิบ

หก

- การแปลง

เลขฐานสอง,

แปด, และ

เลขฐานสบิ หก

เปน็ ฐานสิบ

- การแปลง

เลขฐานสบิ เปน็

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 402

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ชิน้ งาน/
เรยี นรู้ ยอด สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ภาระงาน
สำคญั อนั พงึ ประสงค์

เลขฐานสอง,

แปดและฐานสบิ

หก

- การแปลง

ระหวา่ ง

เลขฐานสองและ

เลขฐานแปด

- การแปลง

ระหวา่ ง

เลขฐานสองและ

เลขฐานสิบหก

-การบวก ลบ

เลขฐานสอง,เลข

ฐานแปด,

เลขฐานสบิ ,

เลขฐานสิบหก

- การคณู

เลขฐานสอง,

เลขฐานแปด,

เลขฐานสิบ,

เลขฐานสบิ หก

- การหาร

เลขฐานสอง,

เลขฐานแปด,

เลขฐานสบิ ,

เลขฐานสบิ หก

ขอ้ ท่ี 3 มที ักษะใน - ประพจน์ - ใฝเ่ รียนรู้ - -ใบความรู้ -

การคำนวณ - การเชอ่ื ม - มงุ่ มั่นใน ความสามารถ ใบงาน

และการใช้ ประพจน์ดว้ ย การทำงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 403

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ชนิ้ งาน/
เรียนรู้ ยอด สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ภาระงาน
สำคัญ อนั พึงประสงค์

ตรรกะทาง ตัวเชอื่ มแบบ ในการ -แบบฝึกหัด

คณิตศาสตร์ ต่าง ๆ แกป้ ญั หา -ทดสอบท้าย

คอมพิวเตอร์ - การหาค่า บท

ความจรงิ ของ

ประพจน์

- สัจนริ ันดร์

ประพจน์ขัดแย้ง

และคอนทเิ จน

- การสมมูลกัน

ของประพจน์

- เกต (Gate)

- การเขียน

ประพจนบ์ ลู นี

จากวงจรลอจกิ

และประพจน์

บลู นี

- การหาค่า

ผลลพั ธข์ อง

ประพจน์บูลนี

- ทฤษฎีบทของ

พีชคณิตบูลีน

ข้อที่ 4 มคี ณุ ธรรม - มคี ุณธรรม - รกั ชาติ - -จติ พิสยั

จริยธรรม จรยิ ธรรมท่ดี ีตอ่ ศาสน์ ความสามารถ -การเข้าเรยี น

และเจตคติท่ี การเรียนรู้ กษตั รยิ ์ ในการใช้ -การส่งงาน

ดใี นการใช้ - มีภาวะผู้นำใน - ซอื่ สตั ย์ เทคโนโลยี

คณิตศาสตร์ การประพฤติ สจุ ริต -

คอมพิวเตอร์ ปฏิบัติ ตามหลัก - มวี ินัย ความสามารถ

คุณธรรม - อยอู่ ยา่ ง ในการใช้

จริยธรรม พอเพยี ง ทักษะชีวิต

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 404

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรียนรู้ นำไปสู่ ชิน้ งาน/
เรียนรู้ ยอด สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคัญ อนั พึงประสงค์

- การเข้าเรียน - มุ่งมน่ั ใน

การมีน้ำใจ การทำงาน

ความเอาใจใส่ - รักความ

ในการเรยี น เป็นไทย

- การสง่ งาน - มีจติ

และความ สาธารณะ

ซอ่ื ตรงต่อเวลา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 405

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว31284 รายวิชา คณติ ศาสตร์คอมพวิ เตอรเ์ บื้องตน้

รายวชิ าเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของระบบจำนวนและความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์กับการ
ทำงานของเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ ระบบเลขฐาน พีชคณติ บูลนี คอมพวิ เตอรก์ ับเลขฐาน หลักการคำนวณ
ของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์

เพื่อให้ผู้เรียนใช้ทักษะการสื่อสาร ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการใช้ชีวิต
ทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี และประสบการณใ์ นการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ มที กั ษะในการทำงาน
รว่ มกับผอู้ ืน่ สามารถตัดสนิ ใจและแกป้ ญั หาในการทำงาน

เห็นคุณค่าในการใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การ
สื่อสาร รักและภาคภูมิใจในถิน่ ของตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจรติ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่
อย่างพอเพยี ง มุง่ มน่ั ในการทำงาน รักความเป็นไทยและ มจี ติ สาธารณะ

ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ยี วกับววิ ัฒนาการของระบบจำนวนและความสมั พนั ธร์ ะหว่าง

คณิตศาสตร์กบั การทำงานของเครื่องคอมพวิ เตอร์
2. มีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับระบบจำนวน ระบบเลขฐาน พชี คณิตบลู ีน และวงจรลอจิก
3. มที กั ษะในการคำนวณทางคณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์
4. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเจตคติที่ดีในการใช้คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 406

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวิชา ว31284 รายวชิ า คณติ ศาสตร์คอมพิวเตอร์เบ้ืองตน้

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ

ลำดับ ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
1 ระบบจำนวน (ชว่ั โมง) (100)
1.มคี วามรู้ความ 10
2 ระบบเลขฐาน เขา้ ใจเกี่ยวกับ มนุษยค์ ุ้นเคยการใช้ตัวเลขมา 4
ววิ ฒั นาการของ 10
ระบบจำนวนและ ต้งั แตส่ มยั โบราณ มีการคดิ ค้น
ความสัมพนั ธ์
ระหว่างคณติ ศาสตร์ พฒั นาสัญลักษณ์ต่าง ๆมาแทน
กับการทำงานของ
เครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวเลขเพอื่ ใหท้ ราบค่าท่แี น่นอน

2.มคี วามร้คู วาม ของตวั เลขน้ัน ปจั จุบนั ใช้เลข
เข้าใจเกยี่ วกับระบบ
จำนวน ระบบเลข ฮินดูอาราบิคซง่ึ มีเลขที่ใชอ้ ยู่ 10
ฐาน พชี คณติ บูลีน
ตัว คอื 0-9 ระบบจำนวนจรงิ

จัดกลุ่มตัวเลขออกเปน็ ประเภท

ตา่ ง ๆ

ระบบเลขฐานในคอมพิวเตอร์มี 4

4 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบ

เลขฐานสบิ ท่ใี ช้ใน

ชีวิตประจำวันของมนุษย์ ระบบ

เลขฐานสอง ทเ่ี ปน็ พืน้ ฐานใน

การใช้งานของคอมพิวเตอร์

ระบบเลขฐานแปด และ ระบบ

เลขฐานสบิ หก ทนี่ ำมาชว่ ยใน

การทำงานของคอมพิวเตอรเ์ พ่อื

ลดปริมาณข้อมูลของระบบ

เลขฐานสอง

และระบบเลขฐานในปัจจบุ ัน

การคำนวณโดยท่ัวไปนยิ มใช้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 407

ลำดบั ชื่อหน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
(ช่วั โมง) (100)
3 การแทนค่า 2.มคี วามรู้ความ
และหลักการ เข้าใจเกี่ยวกับระบบ ระบบเลขฐานสบิ แตก่ ารทำงาน 20
คำนวณของ จำนวน ระบบเลข
เครื่อง ฐาน พชี คณติ บูลีน ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ใชร้ ะบบ 20
คอมพวิ เตอร์
3. มที กั ษะในการ เลขฐานสอง เลขฐานแปด 20
4 ตรรกศาสตร์ คำนวณและการใช้
เบอ้ื งต้น ตรรกะทาง เลขฐานสบิ และเลขฐานสิบหก
คณิตศาสตร์
5 พีชคณติ บูลนี คอมพวิ เตอร์ ในการเก็บขอ้ มูลเพื่อนำไป
และ
2.มีความรคู้ วาม ประมวลผลจำเป็นต้องมกี าร
เขา้ ใจเกย่ี วกับระบบ
แปลงเลขฐานตา่ ง ๆ สลบั ไปมา

เพื่อสะดวกในการใชง้ าน

การคำนวณในระบบ 10

คอมพิวเตอร์ไดแ้ ก่ การบวก ลบ

คูณ และการหารเลขฐาน ซงึ่

การคำนวณแตล่ ะเลขฐานจะมี

หลกั การเหมือนกับการคำนวณ

ของเลขฐานสบิ ซึ่งเปน็ การ

ทำงานภายในหนว่ ยคำนวณ

และตรรกะของคอมพวิ เตอร์

หลักของตรรกศาสตร์ คือ 8

หลักการคดิ วิเคราะห์ ท่ีมีเหตุผล

ซ่งึ จะเป็นประโยชนใ์ นการ

เรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ และการ

ทำงานของคอมพิวเตอร์ ซ่ึง

จะตอ้ งมกี ารตัดสินใจเพื่อหา

ผลลัพธ์ตามเหตกุ ็ต้องอาศัยหลกั

ตรรกศาสตร์

พีชคณิตบูลีนเปน็ พน้ื ฐานสำคัญ 10

ในการออกแบบวงจรตรรกของ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 408

ลำดับ ช่อื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
(ชัว่ โมง) (100)
วงจรลอจิก จำนวน ระบบเลข คอมพวิ เตอร์ ซ่ึงใชเ้ ลขฐานสอง
เบื้องต้น ฐาน พีชคณติ บูลีน ทำงานร่วมกบั เกต (GATE) 36 80
2 10
แบบต่าง ๆ ทำให้อธิบายการ 2 10
40 100
ทำงานของคอมพวิ เตอร์ได้กว่า

พชี คณิตท่วั ไป

รวม
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมทงั้ หมด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 409

แบบวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สตู ร
รหสั วิชา ว31285 รายวิชา อลั กอริทึมเบ้ืองต้น

เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

นำไปสู่

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ชิน้ งาน/
เรยี นรู้ ยอด สำคัญ อันพึง ภาระงาน

ประสงค์

ขอ้ ที่ 1 มคี วามรู้ - ความหมายของ - ใฝ่ - -ใบความรู้

ความเข้าใจ Algorithm เรียนรู้ ความสามารถ -ใบงาน

เกยี่ วกบั - ที่มาของคำวา่ ในการส่อื สาร -แบบฝกึ หัด

แนวคิดการ อัลกอริทมึ (Algorithm) -ทดสอบ

เขยี นผงั งาน - ประโยชน์ของ ทา้ ยบท

ในรูปแบบ อลั กอริทึม (Algorithm)

ต่าง ๆ และ - รูปแบบการเขียน

รหัสเทียม อัลกอริทมึ

(Pseudo - การลำดบั ความคดิ

Code) อยา่ งมเี หตุและผล

รวมถงึ - ฝึกการวเิ คราะห์

สามารถทำ ปญั หา

การเขยี น - หลักการเขยี นซโู ดโคด้

โปรแกรม - ถ้อยคำที่ใชเ้ ขียน ใช้

อลั กอริทมึ ได้ ภาษาองั กฤษทเ่ี ขา้ ใจ

ง่าย

- การใช้ย่อหน้าให้เปน็

ประโยชน์ ในการแสดง

การควบคมุ อย่างเป็น

สดั สว่ น

- การจดั แต่ละประโยค

คำสง่ั ใหเ้ ขียนจากบนลง

ล่าง และมที างออกทาง

เดยี ว

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 410

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ชน้ิ งาน/
เรยี นรู้ ยอด สำคัญ อนั พงึ ภาระงาน

ประสงค์

- การรวมกลุ่มของ

ประโยคคำส่ัง

ขอ้ ที่ 2 มีความรู้ - สญั ลักษณข์ องการ - ใฝ่เรียนรู้ - -ใบความรู้

ความเขา้ ใจ เขยี นผังงาน - มงุ่ มั่นใน ความสามารถ -ใบงาน

เกีย่ วกับการ - อลั กอริทึมแบบลำดบั การทำงาน ในการคิด -แบบฝึกหดั

ออกแบบ - อัลกอรทิ ึมแบบ -ทดสอบ
อลั กอริทึม เง่อื นไข ท้ายบท
และผังงาน - อลั กอรทิ ึมแบบวนซ้ำ
แบบตา่ ง ๆ

ข้อท่ี 3 มีความรู้ - ชนดิ ของของข้อมลู - ใฝ่เรยี นรู้ - -ใบความรู้

โครงสร้าง - โครงสรา้ งขอ้ มลู - มงุ่ มั่นใน ความสามารถ -ใบงาน

ข้อมลู พน้ื ฐาน - ชนิดข้อมลู แบบ การทำงาน ในการ แบบฝึกหดั

ของ ระเบียน แกป้ ัญหา -ทดสอบ

คอมพิวเตอร์ - เซตและข้อความ ท้ายบท

และการ

ประมวลผล

ขอ้ มลู ที่

เกี่ยวขอ้ ง

ขอ้ ที่ 4 มที กั ษะใน - การจัดโครงสรา้ ง - ใฝ่เรยี นรู้ - -ใบความรู้
การออกแบบ ขอ้ มลู แบบลิงคล์ สิ ต์
ขั้นตอนและ - การจัดโครงสร้าง - มุง่ มั่นใน ความสามารถ -ใบงาน
โครงสร้าง ขอ้ มูลแบบของสแตก
ข้อมูลที่ - การจดั โครงสร้าง การทำงาน ในการใช้ แบบฝึกหัด
เหมาะสม ขอ้ มูลลิสต์
และมี - การจดั โครงสร้าง เทคโนโลยี -ทดสอบ
ประสทิ ธิภาพ ขอ้ มลู แบบควิ
ของ ท้ายบท

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 411

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ ยอด สำคัญ อันพงึ ภาระงาน

ประสงค์

โปรแกรม - การจดั โครงสร้าง

ขอ้ มลู แบบตน้ ไม้

ข้อที่ 5 มคี ณุ ธรรม - มีคณุ ธรรมจริยธรรม - รักชาติ - -จิตพิสยั

จรยิ ธรรม ที่ดีตอ่ การเรียนรู้ ศาสน์ ความสามารถ -การเข้า

และเจตคติที่ - มีภาวะผูน้ ำในการ กษตั ริย์ ในการใช้ เรียน

ดีในการเรยี น ประพฤตปิ ฏิบตั ิ ตาม - ซอ่ื สตั ย์ ทักษะชวี ติ -การสง่ งาน

ลอจิกและอัล หลักคณุ ธรรมจรยิ ธรรม สจุ รติ

กอรทึ ึม - การเข้าเรยี น การมี - มีวินยั

น้ำใจ ความเอาใจใสใ่ น - อยูอ่ ยา่ ง

การเรียน พอเพียง

- การส่งงาน และความ - มุ่งมนั่ ใน

ซือ่ ตรงต่อเวลา การทำงาน

- รักความ

เป็นไทย

- มีจิต

สาธารณะ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 412

รายวิชาเพ่มิ เติม คำอธิบายรายวิชา
ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 รหสั วชิ า ว31285 รายวิชา อัลกอริทมึ เบื้องต้น

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์
จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต

การเขียนผังงานการทำงาน การวิเคราะห์และออกแบบอัลกอริทึมแบบลำดับ (Sequential
Algorithms) อัลกอริทึมทางเลือก (Decision Algorithms) อัลกอริทึมการวนซ้ำ (Repetition
Algorithms)

โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธีต่าง ๆ ที่จะนำไปใช้ในการจัดการข้อมูลให้มีประสิทธิภาพ
โครงสร้างของข้อมูลแบบลิเนียและนอนลิเนีย โครงสร้างข้อมูลดังกล่าวประกอบไปด้วย สแตกซ์ คิว
ลิงค์ลิสต์ โครงสร้างแบบต้นไม้ ส่วนของขั้นตอนวิธีจะเป็นขั้นตอนวิธีที่ใช้การจัดการโครงสร้างข้อมูล
แบบต่าง ๆ เช่น การค้นหาข้อมูล และการจัดเรียงขอ้ มูล ขั้นตอนวิธีของโปรแกรมแบบย้อนกลับ และ
การวิเคราะห์การทำงานของข้นั ตอนวธิ ี

เห็นคุณค่าในการใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การ
สื่อสาร รักและภาคภูมิใจในถ่ินของตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่
อย่างพอเพยี ง มุ่งมัน่ ในการทำงาน รักความเป็นไทยและ มีจติ สาธารณะ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับแนวคิดการเขียนผังงานในรูปแบบต่าง ๆ และรหัสเทียม

(Pseudo Code) รวมถึงสามารถทำการเขยี นโปรแกรมอัลกอรทิ ึมได้
2. มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกับการออกแบบอลั กอรทิ ึมและผังงานแบบตา่ ง ๆ
3. มีความร้โู ครงสรา้ งข้อมูลพน้ื ฐานของคอมพวิ เตอร์ และการประมวลผลข้อมูลท่ีเกยี่ วขอ้ ง
4. มีทกั ษะในการออกแบบขน้ั ตอนและโครงสร้างข้อมลู ที่เหมาะสมและมีประสิทธภิ าพของ

โปรแกรม
5. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และเจตคติทีด่ ใี นการเรียนลอจกิ และอัลกอรึทึม

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 413

รายวชิ าเพม่ิ เติม โครงสรา้ งรายวชิ า
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 รหสั วิชา ว31285 รายวชิ า อลั กอริทมึ เบื้องตน้

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ลำดบั ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน
(ชวั่ โมง) (100)
1 อัลกอริทึม 1.มคี วามรู้ ความ อลั กอริทมึ (Algorithm ) 10
และการ เข้าใจ เกย่ี วกับ เปน็ สว่ นหนง่ึ ในข้นั ตอนการ 4
วิเคราะห์ แนวคิดการเขยี นผงั พฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 10
ปัญหา งานในรปู แบบตา่ ง ๆ เกิดจากแนวคิดอยา่ งเปน็ ระบบ 4
และรหัสเทยี ม เพื่อนำไปสูผ่ ลลัพธท์ ี่ต้องการ
(Pseudo Code) และเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงาน
รวมถงึ สามารถทำ ตามความต้องการหรือ
การเขียนโปรแกรม แก้ปัญหาใด ๆ ประกอบ ด้วย
อัลกอริทมึ ได้ ชดุ ของการทำงานที่ชัดเจน
ดังน้ันหากออกแบบอัลกอริทึม
2 การเขยี นรหสั 1.มีความรู้ ความ ได้ดี เมื่อนำไปเขียนโปรแกรม
เทียม เข้าใจ เกย่ี วกับ ภาษาคอมพิวเตอรใ์ ด ๆ
แนวคิดการเขยี นผัง ก็จะไดผ้ ลลพั ธต์ ามความ
งานในรูปแบบตา่ ง ๆ ต้องการ
และรหัสเทยี ม
(Pseudo Code) รหสั เทียม
รวมถงึ สามารถทำ (Pseudocode) คอื การเขียน
การเขียนโปรแกรม โปรแกรมในรปู แบบ
อลั กอริทมึ ได้ ภาษาองั กฤษท่มี ขี ั้นตอนและ
รูปแบบแนน่ อนกะทัดรัด และ
มองดูคล้ายภาษาระดับสงู ท่ใี ช้
กบั เคร่ืองคอมพวิ เตอรซ์ ่ึงไม่
เจาะจงภาษาใดภาษาหนง่ึ

เปน็ คำส่ังทีจ่ ำลอง
ความคดิ เปน็ ลำดับขน้ั ตอนโดย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 414

ลำดับ ชือ่ หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน
(ชัว่ โมง) (100)
3 ผงั งานและ 2.มีความรู้ ความ ใชส้ ัญลักษณ์เปน็ ประโยค
เทคนิคการ เข้าใจ เกย่ี วกับการ ภาษาองั กฤษ ซึ่งซโู ดโคด้ ไม่ใช่ 10 20
นำเสนอ ออกแบบอลั กอรทิ ึม ภาษาโปรแกรมทาง
และผังงานแบบต่าง คอมพวิ เตอรจ์ งึ ไมส่ ามารถนำไป
ๆ ประมวลผลได้ คือ ไมส่ ามารถ
สง่ั ใหค้ อมพวิ เตอรท์ ำงานตาม
คำส่ัง แตเ่ ป็นการเขียนจำลอง
คำสัง่ จริงแบบย่อ ๆ ตาม
อัลกอริทมึ ของโปรแกรม
ระบบ เพ่ือนำไปพฒั นาเป็นการ
เขียนโปรแกรม
ภาษาคอมพวิ เตอรไ์ ด้

การเขยี นอลั กอรทิ มึ เพ่ือ
บอกข้นั ตอนการทำงานท่ีมี
คุณภาพและงา่ ยต่อการทำ
ความเข้าใจ สามารถแปลงเป็น
ผงั งานให้อ่านขั้นตอนการ
ทำงานไดส้ ะดวกขนึ้ โดย

ลักษณะและประโยชน์ของผัง
งาน คือ วิธีการแก้ปญั หาโดยใช้
สญั ลักษณ์มาเรียงต่อกนั เพ่ือใช้
เป็นเครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการ
ออกแบบและขน้ั ตอนวธิ ีในการ
แก้ปัญหาด้วยรหสั ลำลองไปสู่
การเขียนผังงาน ลกั ษณะและ
ความหมายสญั ลักษณ์ของผงั
งานรูปแบบตา่ ง ๆ หลักการใน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 415

ลำดบั ชือ่ หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน
(ชัว่ โมง) (100)
4 โครงสร้าง
ข้อมลู การเขยี นผงั งาน คอื การ 20
20
5 การจัดการ เลอื กใช้สัญลักษณแ์ ทน
โครงสรา้ ง
ขอ้ มูล กระบวนการทถ่ี ูกตอ้ งและเขียน

ขอ้ ความสัน้ ๆ เข้าใจง่าย เรียง

เชอื่ มต่อกนั โดยการเช่อื มต่อ

สญั ลกั ษณ์ตา่ ง ๆ น้ันควรทำให้

จบภายในหน้าเดียวเพ่อื ไม่ให้

เกดิ ความสับสน

3.มคี วามรู้โครงสร้าง โครงสรา้ งขอ้ มูล คือ รูปแบบ 8
10
ข้อมูลพ้ืนฐานของ ของการจัดระเบยี บของข้อมูล

คอมพวิ เตอร์ และ ซึ่งมีอยหู่ ลายรูปแบบ เชน่ เขต

การประมวลผล ข้อมูล(Field), แถวลำดบั

ข้อมลู ท่ีเกี่ยวข้อง (Array), ระเบียน(Record),

ต้นไม้(Tree), ลิงค์ลิสต์(Link

List) เป็นตน้

4.มที กั ษะในการ การจัดการโครงสรา้ งขอ้ มลู เปน็

ออกแบบขน้ั ตอนและ วิธกี ารจัดระเบยี บของข้อมลู ที่

โครงสรา้ งขอ้ มลู ท่ี ไดจ้ ากการดำเนนิ การทาง

เหมาะสมและมี คณิตศาสตร์(Operations)

ประสิทธิภาพของ เพ่อื ใหส้ ามารถจัดการกับขอ้ มูล

โปรแกรม ท่ีใช้กบั ระบบคอมพิวเตอร์

ได้ และรวบรวมข้อมลู เปน็ กลมุ่

อย่างมรี ปู แบบ เพ่ือให้การนำ

ขอ้ มลู กลบั มาใช้ หรอื

ประมวลผลอย่างมี

ประสทิ ธิภาพ ด้วยข้ันตอนวิธที ี่

หลากหลาย แล้วนำเสนอได้

อย่างถูกต้องรวดเรว็ ตาม

ลักษณะงานที่ต้องการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 416

ลำดับ ชอ่ื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
(ชั่วโมง) (100)
นอกจากนั้นการนำกลุ่มของ
ขอ้ มลู ขนาดใหญ่มาจัดรูปแบบ 36 80
เพอ่ื ใหเ้ ครื่องประมวลผลและ 2 10
แสดงผลอย่างมีขน้ั ตอน 2 10
รวม 40 100
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมท้ังหมด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 417

แบบวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหสั วชิ า ว31286 รายวิชา ปฏิบตั ิการวิทยาการเทคโนโลยี 5

เวลา 20 ช่ัวโมง จำนวน 0.5 หน่วยกติ

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชนิ้ งาน/
เรยี นรู้ ยอด เรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ภาระงาน
สำคัญ อันพงึ ประสงค์

ขอ้ ท่ี 1 มีความร้คู วาม - - ใฝเ่ รียนรู้ - -ใบความรู้ -

เขา้ ใจใน กระบวนการ ความสามารถ ใบงาน

กระบวนการ คดิ เพ่ือใช้ใน ในการคิด -แบบฝกึ หัด

คิดเพ่ือ การแก้ปัญหา -ทดสอบท้าย

แกป้ ัญหา บท

ขอ้ ที่ 2 มีความรูค้ วาม - ความรดู้ ้าน - ใฝ่เรยี นรู้ - -ใบความรู้ -

เข้าใจดา้ น วิทยาการ ความสามารถ ใบงาน

วิทยาการ คอมพวิ เตอร์ ในการสือ่ สาร -แบบฝกึ หัด

คอมพิวเตอร์ - การใชส้ ่ือ -ทดสอบทา้ ย

สอ่ื ดจิ ทิ ัล และ เทคโนโลยี บท

เทคโนโลยี สารสนเทศ

สารสนเทศ

มาใชใ้ นการ

แกไ้ ขปญั หา

กับชวี ิตจริง

ขอ้ ที่ 3 มคี วามรู้ความ - ความรู้ - ใฝเ่ รยี นรู้ - -ใบความรู้ -

เข้าใจเก่ยี วกับ เก่ยี วกบั - มุง่ มนั่ ใน ความสามารถ ใบงาน

หลักการและ หลักการใน การทำงาน ในการคดิ -ทดสอบท้าย

ขัน้ ตอนในการ การ บท

ประมวลผล ประมวลผล

ขอ้ มลู เพ่ือให้ ขอ้ มูล

ไดส้ ารสนเทศ - ความรเู้ กี่ยว

ทต่ี ้องการ ขั้นตอนในการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 418

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชน้ิ งาน/
เรียนรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ภาระงาน
สำคญั อนั พงึ ประสงค์

ประมวลผล

ข้อมลู

ข้อท่ี 4 มที กั ษะใน -ความ -ใฝเ่ รียนรู้ -ความสามารุ -ใบความรู้

การจัดเตรียม สามารถใน -มงุ่ มั่นใน ในการคดิ -ใบงาน

ขอ้ มลู การ การสบื ค้น การทำงาน -ความสามารถ

วิเคราะห์ และ ขอ้ มูล ในการใช้

การ รวบรวมขอ้ มลู เทคโนโลยี

ประมวลผล -ความ

ขอ้ มูล สามารถ

จัดเตรยี ม

ข้อมลู

-ความ

สามารถใน

การวเิ คราะห์

ข้อมลู ทาง

สถติ ิ

-ความ

สามารถใน

การ

ประมวลผล

ข้อมลู

-ความ

สามารถใน

การใช้

เครอ่ื งมอื

ประมวลผล

ข้อมูล

ขอ้ ที่ 5 มีทกั ษะใน - ความ -ใฝ่เรยี นรู้ -ความสามารุ -ใบความรู้

การนำเสนอ ในการคดิ -ใบงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 419

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ช้นิ งาน/
เรียนรู้ ยอด เรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคัญ อันพงึ ประสงค์

ขอ้ มลู ให้อยูใ่ น สามารถใน -มงุ่ มน่ั ใน -ความสามารถ

รูปแบบที่ การเลอื ก การทำงาน ในการใช้

เขา้ ใจงา่ ย รูปแบบในการ เทคโนโลยี

นำเสนอข้อมูล

ทีเ่ หมาะสม

- ความ

สามารถใน

การนำเสนอ

ขอ้ มลู ใน

รูปแบบที่

เหมาะสม

ขอ้ ที่ 6 มีทกั ษะใน -ความ - ใฝ่เรยี นรู้ -ความสามารถ -ใบความรู้

การพฒั นา สามารถใน - มงุ่ ม่ันใน ในการใช้ -ใบงาน

โครงงานเพื่อ การพัฒนา การทำงาน เทคโนโลยี

แกป้ ญั หาต่าง โครงงานหรือ -ความสามารถ

ๆ ดว้ ย ชิ้นงาน เพ่อื ในการใช้ทักษะ

เทคโนโลยี ช่วยในการ ชวี ติ

แกป้ ญั หาดว้ ย

เทคโนโลยี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 420

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว31286 รายวิชา ปฏบิ ตั ิการวิทยาการเทคโนโลยี 5

รายวิชาเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกติ

สาระการเรียนรู้ปฏิบัติการเทคโนโลยี 5 มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และมีทักษะ การคิดเชิง
คำนวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ ด้านวิทยาการ
คอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริง ได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ โดยได้กำหนดสาระสำคญั ดงั นี้

วิทยาการคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ การใช้แนวคิดเชิง
คำนวณในการแกป้ ญั หาในชวี ติ ประจำวัน การบูรณาการกับวิชาอ่นื การเขยี นโปรแกรม การคาดการณ์
ผลลัพธ์ การตรวจหาข้อผิดพลาด การพัฒนาแอปพลิเคชันหรือพัฒนาโครงงาน อย่างสร้างสรรค์เพ่ือ
แกป้ ัญหาในชีวติ จรงิ

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การรวบรวมข้อมลู การประมวลผล การประเมินผล
การนำเสนอข้อมูลหรือสารสนเทศเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริง การค้นหาข้อมูลและแสวงหา ความรู้บน
อินเทอร์เน็ต การประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล การเลือกใช้ซอฟต์แวร์หรือ บริการบน
อินเทอร์เน็ต ข้อตกลงและข้อกำหนดในการใช้สื่อหรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ หลักการ ทำงานของ
คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยกี ารสื่อสาร

การรู้ดิจิทัล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย การจัดการ อัต
ลักษณ์ การรู้เท่าทันสื่อ กฎหมายเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ การใช้ลิขสิทธิ์ของผู้อื่นโดยชอบธรรม
นวัตกรรมและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ สังคม
และวัฒนธรรม

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ความเขา้ ใจในกระบวนการคดิ เพือ่ แกป้ ญั หา
2. มีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการนำความรู้ดา้ นวิทยาการคอมพวิ เตอร์ สื่อดจิ ิทัล และ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใชใ้ นการแก้ไขปัญหากับชวี ิตจรงิ
3. มีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกับหลักการและขั้นตอนในการประมวลผลข้อมลู เพื่อใหไ้ ด้
สารสนเทศที่ต้องการ
4. มีทกั ษะในการจัดเตรยี มข้อมูล การวเิ คราะห์ และการประมวลผลขอ้ มลู
5. มที กั ษะในการนำเสนอข้อมลู ใหอ้ ยใู่ นรปู แบบท่ีเข้าใจงา่ ย
6. มีทกั ษะในการพฒั นาโครงงานเพอ่ื แกป้ ัญหาตา่ ง ๆ ดว้ ยเทคโนโลยี

รวมผลการเรียนรู้ 6 ข้อ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 421

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวิชา ว31286 รายวชิ า ปฏบิ ัติการวิทยาการเทคโนโลยี 5

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 5 จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกติ

ลำดบั ชอ่ื หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
(ชว่ั โมง) (100)
1 ความรู้กบั 1. มคี วามรูค้ วาม การทำ โครงงาน เปน็ การประยกุ ต์ใช้ 10
กระบวนการ เข้าใจใน ความรูแ้ ละทักษะจากศาสตร์ต่าง ๆ 2
คดิ เพ่ือ กระบวนการคิดเพอ่ื รวมท้งั ทรพั ยากรในการสรา้ งหรอื
แก้ปัญหา แก้ปญั หา พัฒนาช้ินงานหรอื วธิ ีการ เพอื่

แก้ปญั หาหรืออำนวยความสะดวกใน

การทำงาน

2 การรจู้ ักและ 2. มีความร้คู วาม การใช้วิทยาการคอมพิวเตอร์ ส่อื ต่าง 2 10

เข้าใจคุณคา่ เขา้ ใจเกีย่ วกับการนำ ๆดจิ ิทลั เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อ

ของเทคโนโลยี ความรูด้ ้านวิทยาการ อำนวยความสะดวกและแก้ไขปัญหา
คอมพิวเตอร์ สื่อ
ดิจิทลั และ ได้

เทคโนโลยี

สารสนเทศ มาใชใ้ น

การแก้ไขปัญหากับ

ชีวติ จริง

3 การ 3. มีความรคู้ วาม การประมวลผลข้อมลู เพื่อให้ได้ 6 20

ประมวลผล เข้าใจเกี่ยวกับ สารสนเทศทตี่ ้องการ นำไปสู่การ

ขอ้ มูล หลักการและข้นั ตอน แก้ปญั หาต่าง ๆ โดยเรมิ่ ตง้ั แต่การ
ในการประมวลผล
ข้อมลู เพ่ือให้ได้ จดั เตรียมข้อมลู การวเิ คราะห์ขอ้ มูล

สารสนเทศที่ต้องการ ทางสถิติ และการประมวลผลขอ้ มูลที่
4. มีทักษะในการ ไดม้ า เพ่อื นำขอ้ มลู ไปใชใ้ นการ

จดั เตรียมข้อมูล การ แก้ปญั หา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 422

ลำดบั ชือ่ หน่วย ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
(ชวั่ โมง) (100)
4 การนำเสนอ วเิ คราะห์ และการ การจักการหรือแปลงขอ้ มลู ให้อยใู่ น
ข้อมูล ประมวลผลข้อมูล รปู แบบตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสมกบั ชุด 2 10
5. มที ักษะในการ ข้อมลู ท่ีตอ้ งการนำเสนอ โดยสามารถ
5 การพฒั นา จดั เตรียมข้อมูล การ เลือกใช้ตวั แปรในการมองเหน็ ท่ีทำให้
โครงงาน วเิ คราะห์ และการ
ประมวลผลข้อมลู

ผรู้ ับสารเข้าใจถกู ตอ้ ง ตรงประเด็น

ชดั เจน และดงึ ดูดความสนใจ

6. มีทักษะในการ การทำ โครงงานเปน็ การประยุกตใ์ ช้ 6 30

พฒั นาโครงงานเพือ่ ความรู้และทักษะจากศาสตร์ตา่ ง ๆ

แก้ปัญหาต่าง ๆ ดว้ ย รวมท้งั ทรัพยากรในการสร้างหรือ
เทคโนโลยี
พฒั นาชิ้นงานหรอื วิธกี ารเพื่อ

แกป้ ัญหาหรืออำนวยความสะดวกใน

การทำงาน

- การทำ โครงงานการออกแบบและ

เทคโนโลยี สามารถดำเนินการได้

โดยเรม่ิ จากการสำรวจสถานการณ์

ปัญหาทส่ี นใจ เพื่อกำหนดหัวขอ้

โครงงานแล้วรวบรวมข้อมูลและ

แนวคดิ ท่เี ก่ียวข้องกับปัญหา

ออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหา

วางแผน และดำเนินการแกป้ ัญหา

ทดสอบประเมนิ ผลปรบั ปรงุ แก้ไข

วธิ ีการแกป้ ัญหาหรือชน้ิ งาน และ

นำเสนอวิธกี าร

แกป้ ัญหา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 423

ลำดบั ช่อื หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
(ชวั่ โมง) (100)
รวม
สอบกลางภาค 18 80
สอบปลายภาค 1 10
รวมทง้ั หมด 1 10
20 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 424

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ของหลกั สูตร
รหัสวชิ า ว30283 รายวิชา เทคนคิ การนำเสนอข้ันสูง ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6

ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1 หน่วยกติ

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชนิ้ งาน/
เรียนรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
ขอ้ ท่ี 1 สำคญั อันพึงประสงค์

ข้อที่ 2 ผูเ้ รยี น - ใชง้ านระบบ ความสามารถ - ใฝ่เรียนรู้ -
ขอ้ ที่ 4
สามารถ cloud ในการใช้ - ม่งุ มั่นในการ แบบทดสอบ
เทคโนโลยี ทำงาน - ใบงาน
ปฏิบัตงิ านบน computing สารสนเทศ
ระบบ และการใช้
เครือข่าย ได้

อินเตอรเ์ น็ต คอมพิวเตอร์

และสบื ค้น

ขอ้ มลู ไดอ้ ย่าง

เหมาะสม

ผู้เรียน - ใช้งาน ความสามารถ - อย่อู ย่าง -

สามารถสร้าง โปรแกรม ในการใช้ พอเพยี ง แบบทดสอบ

ช้ินงานเพอ่ื มลั ตมิ ีเดียใน ความคิด - รกั ความเป็น - ใบงาน

การนำเสนอ ระดับสงู ได้ ไทย - ใบกิจกรรม

อยา่ ง การสร้าง

สร้างสรรค์ มัลติมีเดยี

จากโปรแกรม

มลั ติมเี ดยี ได้

ผเู้ รยี นมี

จติ สำนึกใน

การใช้

เทคโนโลยี

อย่างคุ้มคา่ ทงั้

ตอ่ ตนเองและ

สว่ นรวม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 425

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชน้ิ งาน/
เรียนรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ภาระงาน
สำคัญ อนั พงึ ประสงค์
ขอ้ ท่ี 3 ผเู้ รยี น - ใช้งาน
ขอ้ ที่ 4 สามารถสร้าง โปรแกรม ความสามารถ - ซอ่ื สัตย์สจุ รติ -
ช้นิ งานอยา่ ง มัลติมเี ดยี ใน
สรา้ งสรรค์ ระดับสงู ได้ ในการใช้ - มีวินัย แบบทดสอบ
จากเครือข่าย - นำเสนอ
แบบ online ผลงานด้วย ทักษะชวี ิต - ใบงาน
ได้ โปรแกรม
ผู้เรียนมี online - ใบกจิ กรรม
จติ สำนึกใน
การใช้ การสร้าง
เทคโนโลยี
อยา่ งคุ้มคา่ ทั้ง มัลติมีเดีย
ต่อตนเองและ
ส่วนรวม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 426

คำอธิบายรายวชิ า

รหสั วิชา ว30283 รายวิชา เทคนคิ การนำเสนอขน้ั สูง

รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาและฝึกทกั ษะทางด้านเทคนิคการนำเสนอ (presentation) ซึ่งเป็นวิธีการในการส่อื สาร
ถ่ายทอดข้อมูลเกี่ยวกับงาน แผนงาน โครงการ ข้อเสนอ ผลการดำเนินงานและเรื่องต่างๆ เพื่อ
ความเขา้ ใจ และจงู ใจ โดยผูเ้ รียนสามารถสรา้ งชน้ิ งานในการนำเสนอเก่ียวกบั ผลการดำเนนิ งาน และ
เรื่องต่างๆ ที่ได้รับมอหมายให้ปฏิบัติ การนำเสนอความคิดว่าจะทำอะไร ความเห็น หรือ
ข้อเสนอแนะ สามารถจัดทำในรูปแผนงาน (plan) โครงการ (project) ข้อเสนอ (proposal) หรือ
ข้อเสนอแนะ (suggestion) มีทักษะการใช้งาน cloud computing ทักษะการตกแต่งเอกสาร การ
แก้ไขเอกสาร การออกแบบชิ้นงานโดยใช้รูปแบบสำเร็จรูป ทักษะการสร้างสื่อนำเสนออัตโนมัติ การ
ทำไฮเปอร์ลิงก์ การนำเสนอแบบ offline และ online ได้ และการเชื่อมโยงสมุดงานหรือชิ้นงานให้
มีความสัมพนั ธ์กนั อยา่ งลงตัว

โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
กระบวนการฝึกปฏิบัติ กระบวนการออกแบบ กระบวนการจัดการ กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการคิดวิเคราะห์ มีนิสัยรักการทำงาน รักการค้นคว้า มีความรับผิดชอบ ทำงานร่วมกับผู้อ่ืน
ได้อย่างมคี วามสุขมีสมาธิในการทำงานจนสามารถนำทกั ษะปฏบิ ตั งิ านไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้

ผลการเรียนรู้
1. สามารถปฏิบัติงานบนระบบเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ และสืบค้นข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
2. สามารถสร้างชิน้ งานเพื่อการนำเสนออย่างสร้างสรรค์จากโปรแกรมมลั ติมีเดียได้
3. สามารถสรา้ งช้ินงานอยา่ งสรา้ งสรรคจ์ ากเครือข่ายแบบ online ได้
4. มีจติ สำนกึ ในการใช้เทคโนโลยีอย่างค้มุ คา่ ท้ังต่อตนเองและส่วนรวม

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 427

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30283 รายวชิ า เทคนิคการนำเสนอขั้นสงู

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคัญ เวลา น้ำหนั
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชัว่ โมง ก
1 cloud
computing 1 - ความหมายและความสำคัญ ) คะแน
ของระบบ cloud 8 น
2 การนำเสนอ computing 10
ดว้ ยโปร - การใชเ้ มนูและเคร่ืองมือของ 16
แกรมมัลติ ระบบ cloud computing 35
มเี ดยี ขน้ั สงู - การใชง้ านระบบ cloud 16
computing เบื้องต้น 35
3 การนำเสนอ
ผลงานด้วย 2, 4 -การวางแผนในการนำเสนอ
ผลงาน
- การสร้างสื่อนำเสนอ
อตั โนมัติ
-การแทรกภาพ แทรกเสียง
แทรกภาพเคลื่อนไหว
- การทำไฮเปอร์ลิงก์
- การใช้งานรูปแบบสื่อ
นำเสนอสำเร็จรปู
- การออกแบบรปู แบบสื่อ
นำเสนอด้วยตนเอง
-การทำเอกสารประกอบการ
นำเสนอ

3, 4 -การวางแผนในการนำเสนอ
ผลงาน และการเลือก
โปรแกรมในการนำเสนอ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 428

ลำดับ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนั
ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่วั โมง ก

โปรแกรม ) คะแน
online น

- การสรา้ งสือ่ นำเสนอ 40 80
อัตโนมตั ิ - 10
-การแทรกภาพ แทรกเสียง - 10
แทรกภาพเคลื่อนไหว 40 100
- การเลือกใชธ้ ีมในการ
นำเสนองาน
- การออกแบบรปู แบบส่ือ
นำเสนอด้วยตนเอง
-การทำเอกสารประกอบการ
นำเสนอ
รวม
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมตลอดภาคเรยี น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 429

แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของหลักสตู ร
ว30284 รายวิชา ระบบปฏิบตั ิการเบอ้ื งต้น ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6

ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชวั่ โมง 0.5 หน่วยกติ

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ช้ินงาน/
เรียนรู้ สำคญั อันพงึ ภาระงาน
ข้อท่ี 1 - - ผู้เรียนสามารถ
2 แยกความ ประสงค์ ใบความรู้
แตกตา่ งระหวา่ ง และใบงาน
ขอ้ ท่ี 3- ระบบปฏบิ ตั ิการ - สามารถ - ความ - มจี ิต
และโปรแกรมได้ ใบความรู้
ขอ้ ที่ 4 - ผู้เรียนสามารถ อธบิ าย สามารถใน สาธารณะ และการฝึก
อธบิ ายโครงสร้าง ปฏบิ ตั ใิ น
ขอ้ ท่ี 5 ระบบปฏิบตั กิ าร ระบบปฏิบัตกิ าร การใช้ทักษะ - ซื่อสัตย์ คาบเรียน
ได้
ในแบบต่างๆได้ ชวี ิต สุจริต

อย่างถูกต้อง

ผเู้ รียนสามารถ - ความ - อยอู่ ย่าง
พอเพียง
เขียนคำสงั่ การ สามารถใน
ใช้งานในระบบ การคดิ

ได้บัตรการได้

เบ้อื งต้น

ผเู้ รียนสามารถ การทำงานและ - - ความรกั ใบความรู้
อธบิ ายความ
แตกต่างระหว่าง ความแตกต่าง ความสามารถ ชาติ ศาสน์ และการฝกึ
ระบบปฏิบตั ิการ
ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ของบทบาทการ ในการ กษตั รยิ ์ ปฏิบัติใน

นักเรียนสามารถ Windows และ แก้ปัญหา - รักความเปน็ คาบเรียน
ลงบน
ระบบปฏิบัตกิ าร ระบบปฏบิ ตั ิการ ไทย
Windows และ
ระบบปฏบิ ัติการ Linux
Linux ได้อย่าง
ถกู ต้อง สามารถบอก - - มีวินัย ภาระ/

วธิ กี าร ลง ความสามารถ - ใฝเ่ รยี นรู้ ชิ้นงาน

โปรแกรม ในการสอื่ สาร

ระบบปฏบิ ตั ิการ

ไดอ้ ย่างถกู ต้อง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 430

คำอธิบายรายวิชา

รหสั วชิ า ว30284 รายวชิ า ระบบปฎบิ ัติการเบอื้ งต้น

รายวชิ าเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกิต

ระบบปฏิบัติการ (Operating System) ระบบปฏิบัติการ หมายถึง ชุดของโปรแกรมที่อยู่
ระหว่างฮาร์ดแวร์แลซอฟต์แวร์ประยุกต์ มีหน้าที่ในการควบคุมการปฏิบัติงานของฮาร์ดแวร์ และ
สนับสนุนคำสั่งสำหรับควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์ประยุกต์ ตั วอย่างของซอฟต์แวร์
ระบบปฏิบัตกิ ารที่นยิ มใชใ้ นปจั จุบนั เชน่ MS - DOS , UNIX , Windows 95 , และ Mac System 7
เป็นต้น ระบบปฏิบัติงานมีหน้าที่หลัก ๆ คือ จัดส่วนประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น
หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ ที่เก็บข้อมูลสำรอง และเครื่องพิมพ์ จัดการงานในส่วนของ
การติดต่อกับผู้ใช้ ให้บริการโปรแกรมประยุกต์อื่น เช่น การรับข้อมูล และการแสดงผล เป็นต้น ปกติ
แล้วโปรแกรมประยุกต์จะถูกเรียกให้เริ่มต้นทำงานผ่านระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการทำงานอยู่
เบอ้ื งหลังการทำงานของผใู้ ช้ โดยเฉพาะระบบปฏิบตั ิการบนเคร่ืองเมนเฟรมหรือเคร่ืองท่ีมขี นาดใหญ่ก็
ย่อมมีการทำงานที่ซับซ้อนมากขึ้น เพราะต้องดูแลการทำงานหลายอย่างจากผู้ใช้หลายคนพร้อมกัน
ระบบปฏบิ ตั ิการบนเครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์

ในปัจจุบันนี้ ระบบปฏิบัติการบนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ที่ได้รับความนิยม จะแยกตาม
ฮารด์ แวร์ที่ใช้งานได้เปน็ 2 ระบบ คือระบบปฏบิ ตั กิ ารท่ีทำงานบนเคร่ือง ไอบีเอ็มพีซี (IBM personal
Computer) หรือ เลียนแบบไอบีเอ็มพีซี (IBM PC Competible) และระบบปฏิบัติการที่ทำงานบน
เครื่องแมคอินทอช (Macintosh) โดยปกติแล้ว โปรแกรมประยุกต์ใด ๆ จะสามารถทำงานบน
ระบบปฏิบัติการตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้น เช่น โปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ดที่ถูกออกแบบมาให้ทำงานบน
เคร่อื งไอบีเอ็มพีซี ก็จะไม่สามารถนำไปใช้งานบนเครื่องแมคอนิ ทอช เพราะเคร่ืองไอบีเอม็ พีซี จะนิยม
ใช้ระบบปฏิบัติการของไมโครซอฟต์ที่เรียกว่าเอ็มเอสดอส (MS - DOS) หรืออาจใช้ระบบทใ่ี หม่กว่าคือ
ไมโครซอฟต์วินโดว์ (Microsoft Windows) หรอื ระบบปฏบิ ัติการแบบเปิดในตระกูลยูนิกซ์ เช่น SCO
UNIX หรือ LINUX ในขณะท่เี ครือ่ งแมคอินทอชใชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการที่เรียกว่าแมคอินทอชซสิ เต็มเซเว่น
(Macintosh System 7) ซึ่งออกแบบโดยบริษัทแอปเปิล การที่เครื่องสองชนิดใช้ระบบปฏิบัติการ
ต่างกัน เนื่องมาจากมีหน่วยประมวลผลกลางไม่เหมือนกัน ผู้ที่จะผลิตซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์จะต้อง
เลือกที่จะผลิตซอฟต์แวร์ให้ใช้บนระบบใดระบบหนึ่ง หรือถ้าจะให้ใช้ได้บนระบบปฏิบัติการท้ั งสอง
ชนิดก็ต้องพัฒนาซอฟต์แวร์ขึ้นมาสองชุด โดยมากแล้วผู้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่สนใจว่าจะใช้
ระบบปฏิบัติการใด แต่จะเลือกซอฟต์แวร์ประยุกต์ทีส่ ามารถทำงานให้ไดป้ ระโยชน์สูงสุดตามตอ้ งการ
แล้วจึงพิจารณาว่าซอฟต์แวร์นั้นทำงานบนระบบปฏิบัติการชนิดใด แต่ผู้ใช้บางกลุ่มก็เจาะจงเลือกใช้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 431

ระบบปฏิบัติการเอ็มเอสดอส เพราะมีซอฟต์แวร์ประยุกต์ให้เลือกใช้ได้มากมาย และผู้ใช้บางกลุ่มก็
ตอ้ งการใช้เครอ่ื งแมคอินทอช เพราะมรี ะบบโตต้ อบผูใ้ ชท้ ีไ่ ดง้ า่ ยและสวยงาม

ผลการเรียนรู้
1. อธบิ ายความสำคัญของคอมพิวเตอร์
2. อธิบายหลกั การใชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการแบบถกู ต้อง
3. อธบิ ายโครงสรา้ งของระบบปฏบิ ัติการได้
4. อธบิ ายความแตกต่างของระบบปฏิบตั กิ ารแตล่ ะประเภทได้
5. สามารถตดิ ตั้งโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ Windows และระบบปฏิบตั กิ าร Linux ได้

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 432

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวิชา ว30284 รายวชิ า ระบบปฎบิ ัติการเบือ้ งต้น

รายวชิ าเพ่ิมเตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 จำนวน 20 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกติ

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคัญ เวลา น้ำหนั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่ัวโมง ก

1 รู้จัก 1 -อธบิ ายความสำคัญของ ) คะแน
ระบบปฏิบตั ิ คอมพวิ เตอร์ ภาษาคอมพิ 3 น
การ วเตอร์ ซอฟตแ์ วรช์ นดิ 15
ต่างๆ และบอกหน้าท่ีและ 3
2 การใช้ ความแตกต่างของแต่ละ 15
ระบบปฏบิ ัติ เมนคู ำสัง่ ได้ 8
การอยา่ ง 20
ถกู ต้อง 2 - อธิบายวิธกี ารใช้ 6
ระบบปฏบิ ตั กิ ารอย่าง 30
3 ความ ถูกต้องเหมาะสม ให้ 20
แตกตา่ งของ ปลอดภยั กับชีวิตประจำวนั - 80
ระบบปฏิบตั ิ - 10
การแตล่ ะ 3 -4 - อธิบาย การใช้งาน 10
ประเภท ระบบปฏิบัตกิ ารแต่ละ
ประเภท ได้
4 การติดตงั้ - อธบิ ายความแตกต่างของ
โปรแกรม ระบบปฏบิ ตั ิการแต่ละ
ระบบปฏิบตั ิ ประเภทได้
การ
5 นกั เรียนสามารถติดต้งั
โปรแกรม ระบบปฏบิ ัติการ
ท้งั แบบ Windows และ
ระบบปฏิบตั ิการ Linux ได้

รวม
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 433

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง ก

รวมตลอดภาคเรยี น ) คะแน

20 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 434

แบบวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลักสตู ร

รหสั วิชา ว30285 การสร้างงานแบบอนิ โฟกราฟกิ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6

ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 40 ช่ัวโมง 1 หน่วยกิต

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
ขอ้ ที่ 1 สำคญั อันพงึ
ข้อที่ 2 ผเู้ รยี นเข้า - ความหมาย -ใบงานการ
ประสงค์ ออกแบบ
ข้อท่ี 3 ใจความ ของการ ความสามารถ - ใฝ่เรยี นรู้ โลโกแ้ ละ
เปน็ มา ออกแบบ ในการใช้ - มงุ่ มน่ั ในการ ออกแบบ
ความหมาย อินโฟกราฟิก เทคโนโลยี ทำงาน สญั ลกั ษณ์
คุณสมบัติ - หลักการ (Symbol)
ความสำคัญ ออกแบบ ความสามารถ - อยู่อย่าง
ของการ ในการใช้ พอเพยี ง -ใบงาน
ความคดิ - รกั ความเป็น ส่วนประกอบ
ออกแบบ อินโฟกราฟกิ หนา้ จอของ
ไทย โปรแกรม
อนิ โฟกราฟกิ - วธิ กี าร - ใบงาน
เคร่ืองมอื การ
และการนำ ออกแบบ ทำงานของ

คอมพิวเตอร์ อินโฟกราฟกิ

มาใช้ในการ

ทำกราฟิก

เพือ่ นำไป

ประยุกต์ใชใ้ น

งานด้านต่างๆ

ผู้เรยี นรจู้ กั - การเลอื กใช้

เลอื ก โปรแกรม

เคร่ืองมือเพ่ือ ออกแบบ
ใชใ้ นการ
พัฒนางาน อินโฟกราฟิก

ทางดา้ น - ความสามารถ
ของโปรแกรม
กราฟิกอยา่ ง
เหมาะสม ตรง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 435

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ นำไปสู่ ช้นิ งาน/
เรยี นรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ภาระงาน
สำคญั อันพึง
ขอ้ ที่ 4 โปรแกรม
ประสงค์ ออกแบบ
ขอ้ ที่ 5
ตาม การออกแบบ

วตั ถุประสงค์ อนิ โฟกราฟกิ

และรจู้ กั

กระบวนการ

วธิ ีใช้งาน

โปรแกรม

ออกแบบได้

เบ้ืองต้น

ผู้เรียนมที กั ษะ - การทำงาน ความสามารถ - ซือ่ สัตยส์ จุ ริต - ช้นิ งานท่ี

ในการนำ ของเครื่องมือ ในการใช้ - มวี นิ ยั สร้างข้ึนมา

เครือ่ งมือตา่ ง ต่าง ๆ ใน ทกั ษะชวี ิต โดยใช้

ๆ ใน โปรแกรม โปรแกรม

โปรแกรม ออกแบบ ออกแบบ

ออกแบบมา อนิ โฟกราฟิก

ใช้ไดแ้ ละ

นำไปประยุกต์

ชนิ้ งานกราฟิก

ได้

ผู้เรียน - การสร้าง ความสามารถ - ความรกั - ทำปา้ ย
ในการ ชาติ ศาสน์ โฆษณา
สามารถ ชน้ิ งานตาม แก้ปัญหา กษัตรยิ ์ - ทำปฏทิ ิน

ออกแบบ หวั ข้อท่ี
ช้ินงาน
ทางด้าน กำหนด

กราฟิกไดด้ ้วย - การสร้าง
ช้ินงานตาม
ตัวเองโดยใช้ ความต้องการ
ความสามารถ

ของโปรแกรม

สร้างสรรค์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 436

นำไปสู่

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ชิ้นงาน/
เรียนรู้
ยอด เรยี นรู้ สำคญั อันพงึ ภาระงาน
ขอ้ ท่ี 6
ประสงค์

ชิ้นงานได้

อย่างมีทกั ษะ

และความ

ชำนาญ

ผูเ้ รยี นมที ักษะ - การนำเสนอ ความสามารถ มจี ิตสาธารณะ -การนำเสนอ

การนำเสนอ ผลงานที่ ในการสอ่ื สาร ผลงานการทำ

ผลงานหน้า สร้างสรรค์ขนึ้ ปา้ ยโฆษณา

ชนั้ เรยี น โดย หน้าชัน้ เรยี น หน้าช้นั เรยี น

มีบคุ ลกิ หรือผ่านสอ่ื

ท่วงท่าท่ี ต่างๆ

เหมาะสม

และจงู ใจผู้รับ

ฟังรบั ชมโดย

เลือกสื่อการ

นำเสนอท่ี

ตนเองถนัดได้

เปน็ อย่างดี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 437

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว30285 การสรา้ งงานแบบอินโฟกราฟกิ

รายวชิ าเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาความหมายของการออกแบบอินโฟกราฟิก หลักการ วิธีการออกแบบกราฟิก
ซอฟต์แวร์ด้านอินโฟกราฟิก ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับงานออกแบบอินโฟกราฟิก การใช้งาน
ซอฟต์แวร์ด้านการออกแบบอินโฟกราฟิก ใช้เครื่องมอื และอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงคำสัง่ ที่สำคัญในการ
ออกแบบอินโฟกราฟิก ในโปรแกรมออกแบบอินโฟกราฟิกได้อย่างชำนาญ การนำภาพจากแหลง่ ภาพ
ต่างๆ มาสร้างสรรค์งานกราฟิกให้มีจินตนาการตามความคิดริเริ่ม ทั้งยังศึกษาหลักการออกแบบ
เทคนิคการใช้โปรแกรมการออกแบบอินโฟกราฟิกได้จากเว็บไซต์ต่าง ๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการ
สรา้ งสรรค์งาน ปฏิบัติการออกแบบอินโฟกราฟิก ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

เพื่อใหผ้ เู้ รยี นสามารถใชซ้ อฟต์แวร์ด้านออกแบบอินโฟกราฟิกและสรา้ งสรรคผ์ ลงาน เผยแพร่
สสู่ าธารณะชนได้อยา่ งมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมมีความรบั ผดิ ชอบ มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
ไดอ้ ย่างเหมาะสม มีเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ การทำงาน

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการใช้ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับการสร้าง
งานแบบอินโฟกราฟิก มีความตั้งใจเพียรพยายามในการเรียน มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ตั้งใจและ
รับผิดชอบในหน้าที่การงาน ทำงานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมาย
ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยู่ใน
สังคมไดอ้ ย่างมีความสขุ

ผลการเรียนรู้
1. นกั เรียนเข้าใจความหมายของการออกแบบอินโฟกราฟกิ
2. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายหลักการและวิธีการออกแบบอนิ โฟกราฟิก
3. นกั เรยี นรู้จกั โปรแกรมออกแบบอนิ โฟกราฟิก
4. นักเรียนรูจ้ กั วธิ ีใชเ้ คร่อื งมือต่าง ๆ ของโปรแกรมออกแบบอนิ โฟกราฟกิ
5. นกั เรยี นสามารถสรา้ งชน้ิ งานออกแบบอินโฟกราฟิกตามความคิดสรา้ งสรรค์
6. นกั เรียนสามารถนำเสนอชน้ิ งานตอ่ สาธารณะชนไดอ้ ย่างสร้างสรรค์

รวมท้ังหมด 6 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 438

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวิชา ว30285 รายวชิ า การสร้างงานแบบอินโฟกราฟกิ

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 4-6 จำนวน 20 ช่วั โมง 0.5 หนว่ ยกติ

ลำดับ ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชัว่ โมง ก

1 ความหมาย 1,2 - ความหมายของการ ) คะแน
และหลกั ออกแบบอินโฟกราฟิก 2 น
การออก - หลักการออกแบบอนิ โฟ 10
แบบอินโฟ กราฟิก 3
กราฟิก - วิธีการออกแบบอินโฟ 10
กราฟิก 5
2 ความรูพ้ ื้น 20
ฐานการใช้ 3 - การเลือกใชโ้ ปรแกรม 5
งานโปรแกรม ออกแบบอนิ โฟกราฟิก 20
ออกแบบ - ความสามารถของ 5
อินโฟกราฟิก โปรแกรมออกแบบอนิ โฟ 20
กราฟิก
3 เครือ่ งมอื
ต่างๆ ในโปร 4 - การทำงานของเคร่อื งมอื
แกรมออก ตา่ งๆ ในโปรแกรมออกแบบ
แบบอินโฟ อินโฟกราฟิก
กราฟิก
5 - การสร้างชนิ้ งานตาม
4 สรา้ งสรรค์ หัวขอ้ ทกี่ ำหนด
ช้ินงานตาม - การสรา้ งช้นิ งานตามความ
ความคิด ต้องการ

5 นำเสนอ 6 - การนำเสนอผลงานท่ี
ผลงาน สร้างสรรคข์ ึ้นหนา้ ชั้นเรยี น
หรือผ่านสือ่ ต่างๆ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 439

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชวั่ โมง ก

รวม ) คะแน
สอบกลางภาค น
สอบปลายภาค 20 80
รวมตลอดภาคเรยี น - 10
- 10
20 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 440

แบบวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ของหลักสตู ร
รหัสวิชา ว30286 รายวชิ า 3D Animation

เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หนว่ ยกิต

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ นำไปสู่ ช้ินงาน/
เรียนรู้ ยอด เรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคญั อนั พึงประสงค์

ขอ้ ที่ 1 มคี วามรู้ความ - ความรเู้ รื่อง - ใฝ่เรียนรู้ - -ใบความรู้ -

เขา้ ใจในหลกั แอนเิ มชัน 3 ความสามารถ ใบงาน

และวิธกี าร มติ ิ ในการสื่อสาร

สรา้ งชิ้นงาน - การรู้จกั

3 มิติ หลักการ

จดุ เด่นจุดดอ้ ย

ของงาน 3 มติ ิ

ข้อที่ 2 มีความรูค้ วาม -ความรเู้ รอื่ ง - ใฝ่เรยี นรู้ - -ใบความรู้ –

เข้าใจเกย่ี วกับ โปรแกรมการ - มุ่งมัน่ ใน ความสามารถ ใบงาน

ความรู้ สรา้ งช้นิ งาน 3 การทำงาน ในการคดิ -ปฏบิ ตั กิ ารใน

เบื้องต้นของ มติ ิ ชน้ั เรยี น

โปรแกรม -

สรา้ งงาน 3 ความสามารถ

มิติ และ ในการติดต้ัง

สามารถตดิ ต้งั โปรแกรม 3

โปรแกรมได้ มติ ิ

ข้อที่ 3 การใช้ - - ใฝ่เรยี นรู้ - -ใบความรู้

เครอื่ งมือ ความสามารถ - มุ่งมั่นใน ความสามารถ -ใบงาน

พนื้ ฐาน ในการใช้ การทำงาน ในการคดิ -การ

ภายใน เครือ่ งมอื - ปฏบิ ตั กิ ารใน

โปรแกรม พน้ื ฐานของ ความสามารถ ชน้ั เรยี น

โปรแกรม 3 ในการใช้

มติ ิ เทคโนโลยี

-เขา้ ใจ

หลักการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 441

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ นำไปสู่ ชน้ิ งาน/
เรยี นรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคญั อันพงึ ประสงค์

ทำงานของ

โปรแกรม

ขอ้ ที่ 4 การขน้ึ รปู -การรเข้าใข - ใฝ่เรยี นรู้ -ความสามารถ -ใบความรู้

โมเดล 3 มติ ิ วธิ ีการใช้ - มุ่งมั่นใน ในการคิด -ใบงาน

เครอ่ื งมอื การทำงาน -ความสามารถ -การ

-ทกั ษะการ -มีวนิ ยั ในการใช้ ปฏบิ ัติงานใน

ประยกุ ต์ใช้ เทคโนโลยี ช้นั เรยี น

เคร่อื งมือด้วย -ความสามารถ

เทคนคิ ตา่ ง ๆ ในการแกไ้ ข

-การใช้ ปญั หา

เครอื่ งมือตา่ ง

ๆ อยา่ งเชียว

ชาญ

-การขน้ึ รูป

โมเดล 3 มิติ

ที่เป็นสิง่ ของ

-การขน้ึ โมเดล

3 มติ ิ ท่เี ปน็

ส่งิ มชี ีวิต

-การข้นั รูป

โมเดลท่ี

ซบั ซ้อน

ข้อที่ 5 งานแอนิเมชัน -การ - ใฝ่เรียนรู้ -ความสามารถ -ใบความรู้

3 มติ ิ เคล่ือนไหว - มงุ่ มน่ั ใน ในการใช้ -ใบงาน

โมเดลทเี่ ปน็ การทำงาน เทคโนโลยี -การปฏิบัติใน

วตั ถุ -ความสามารถ ชั้นเรียน

-การใสก่ ระดกู ในการใชท้ ักษะ

ใหโ้ มเดล ชีวติ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 442

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชนิ้ งาน/
เรียนรู้ ยอด เรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคัญ อนั พงึ ประสงค์

-การ -ความสามารถ

เคล่ือนไหว ในการคิด

โมเดล

ส่งิ มชี ีวิต

-เทคนคิ การ

เคลื่อนไหว

โมเดลทเี่ ปน็

ธรรมชาติ

ข้อที่ 6 การสรา้ ง -การออกแบบ -รกั ชาติ -ความสามารถ -ใบความรู้

ชิน้ งาน แอนิเมชนั 3 ศาสน์ ในการคดิ -ใบงาน

แอนิเมชัน 3 มิติ กษตั รยิ ์ -ความสามารถ การปฏบิ ตั ใิ น

มิติ -การเขยี น -ซือ่ สตั ย์ ในการใช้ ชนั้ เรียน

สตอรี่บอรด์ สจุ รติ เทคโนโลยี

-การจัดมมุ -อยูอ่ ย่าง -ความสามารถ

กลอ้ งของ พอเพียง ในการแกไ้ ข

วดี ีโอ -รกั ความ ปัญหา

-การทำ เปน็ ไทย -ความสามารถ

แอนเิ มชนั 3 -มจี ิต ในการใชท้ ักษะ

มิติ สาธารณะ ชีวิต

-การตดั ตอ่

-การเร็นเดอร์

ชิน้ งาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 443

คำอธบิ ายรายวิชา

รหัสวิชา ว30286 การสร้างงานแบบอินโฟกราฟิก

รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 – 6 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการสร้างงานแอนิเมชัน 3 มิติ ด้วยโปรแกรม Blender ศึกษา
ความหมายความสำคัญของงานแอนิเมชัน 3 มิติ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรมและปฏิบัติการ
ติดตั้งโปรแกรม การใช้เครื่องมือในออกแบบโมเดล การปั้นโมเดลด้วยวิธีการต่าง ๆ ทำความเข้าใจ
หลักการเขียนงาน การสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบต่าง ๆ ในรูปแบบ 3 มิติ การสร้างงานแอนิเมชัน 3
มิติ ด้วยเทคนิคพิเศษ การใส่โบนเพื่อควบคุมการเคลื่อนไหวของโมเดล การออกแบบมุมกล้อง 3 มิติ
การออกแบบตัวละคร การเขียนสตอรีบอร์ด การจดั วาง สรา้ งแอนิเมติก การสรา้ งโครงงานแอนิเมชัน
3 มติ ิ

ปฏิบัติและประยุกต์ใช้โปรแกรม Blender ในการสร้างสรรค์งานแอนิเมชัน 3 มิติ โดยใช้
กระบวนการเรยี นรคู้ วามเขา้ ใจ กระบวนการคิดวเิ คราะห์ การบวนการแกป้ ญั หา ความสามารถในการ
คิด การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี

เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
เกิดเจตคตทิ ด่ี ีทำให้สามารถใช้คอมพวิ เตอร์ในทางสรา้ งสรรค์ได้

ผลการเรียนรู้
7. บอกความหมายและอธิบายขน้ั ตอนการสร้างงานแอนิเมชนั 3 มิติได้
8. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้เบื้องต้นของโปรแกรมสร้างงาน 3 มิติ และสามารถ
ตดิ ตั้งโปรแกรมได้
9. การใชง้ านเครอื่ งมือพน้ื ฐานของโปรแกรม
10. การขน้ึ โมเดล 3 มิติ
11. การทำแอนิเมชัน 3 มิติ
12. การสร้างช้นิ งานแอนเิ มชัน 3 มิติ

รวมท้ังหมด 6 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 444

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวชิ า ว30286 การสร้างงานแบบอนิ โฟกราฟกิ

รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกิต

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคญั เวลา คะแนน
ผลการเรียนรู้ (ชว่ั โมง) (100)

1 รจู้ กั และเข้าใจ 1.บอกความหมายและ นักเรียนรู้จักและเข้าใจความหมาย 2 5

การสร้างงาน อธบิ ายขัน้ ตอนการ ของงาน 3 มิติ สามารถบอกความ 5
3 มิติ สรา้ งงานแอนเิ มชัน 3 แตกต่างของ 3 มิติและ 2 มิติได้
มติ ไิ ด้ สามารถบอกข้อดีของงาน 3 มิติได้ 10

สามารถอธิบายหลักการสร้างงาน

3 มติ ิได้

2 รู้จกั กบั 2. มีความรูค้ วามเข้าใจ การรู้จกั และเขา้ ใจโปแกรมตา่ ง ๆ 2

โปรแกรม เก่ียวกับความรู้ ทีส่ ามารถใช้สร้างงาน 3 มติ ิได้

สรา้ งงาน 3 เบื้องตน้ ของโปรแกรม สามารถเลือกใช้งานโปรแกรมสรา้
มิติ สรา้ งงาน 3 มิติ และ งาน 3 มิติ ได้อย่างเหมาะสม รแู้ ละ
สามารถตดิ ตง้ั เขา้ ใจหลักการและวิธีในการติดตั้ง
โปรแกรมได้ โปรแกรมได้อย่างถกู ต้องสมบูรณ์

พร้อมใช้งาน

3 การใช้งาน 3.การใชง้ านเคร่ืองมือ การู้จกั และเขา้ ใจอุปกรณแ์ ละ 6
โปรแกรม พ้ืนฐานของโปรแกรม เคร่ืองมือต่าง ๆ ภายในโปรแกรม

เบ้อื งต้น สร้างงาน 3 มิติ สามารถรู้จักชื่อ

และเข้าใจวธิ ีการใชง้ านของ

เครอ่ื งมอื นัน้ ๆ จนสามารถใช้งาน

ไดอ้ ย่างดี สามารถประยกุ ต์ใช้

เครื่องมือต่าง ๆ ในโปรแกรมจน

สามารถสร้างชิ้นงานที่ไดร้ ับ

มอบหมายได้ รจู้ ักและเข้าใจการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 445

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคญั เวลา คะแนน
ผลการเรยี นรู้ (ช่วั โมง) (100)
4 การป้นั โมเดล 20
3 มติ ิ ค้นควา้ หาวธิ ีการใชง้ านเคร่ืองมอื ใน 8
20
5 แอนิเมชนั 3 โปรแกรมใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุด 10
มิติ 20
การข้ึนโมเดล 3 มิติ การรจู้ กั และเข้าใจหลกั การการปน้ั 8
6 การสร้าง 80
ชิ้นงาน โมเดลท่เี ริ่มจากปัน้ โมเดลสง่ิ ของอย่าง 36 10
แอนิเมชัน 2 10
งา่ ยไม่ซบั ซอ้ น ไปจนถึงการปน้ั 2 100
40
สง่ิ มีชวี ิตทซ่ี บั ซอ้ นอยา่ งถูกต้อง ร้จู กั

และเข้าใจหลกั วธิ ีการปัน้ โมเดลด้วย

เทคนิคตา่ ง ๆ การปน้ั โมเดลที่

เหมาะสมกบั งานจนไดช้ น้ิ งานที่ 3 มิติ

ทม่ี คี ณุ ภาพ

5.แอนเิ มชนั 3 มติ ิ การบวนการสร้างงานแอนิเมชัน 3

มิติ การรู้จักการใช้ทามไลน์ การใส่

โบนในโมเดล การขยับโมเดล การ

เคลื่อนไหวของสิ่งมีชีวิต การ

เ ค ล ื ่ อ น ไ ห ว ข อ ง โ ม เ ด ล อ ย ่ า ง เ ป็ น

ธรรมชาติ

6.การสร้างงาน กระบวนการสรา้ งงานแอนิเมชนั หลกั
แอนิเมชนั และวิธีการ การเขียนสตอรีบ่ อรด์ การ

วางแผนงาน การออกแบบแอนิเมชัน

การเร็นเดอรง์ าน การใสเ่ สยี งการตดั

ตอ่ การวางมุมกลอ้ ง จนสำเร็จ

ออกมาเป็นวดี ีโอแอนิเมชนั 3 มติ ิ ได้

รวม

สอบกลางภาค

สอบปลายภาค

รวมทั้งหมด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 446

แบบวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ของหลักสตู ร
ว32286 รายวิชา การเขียนโปรแกรมบนมือถือ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5

ภาคเรียนท่ี 1 เวลา 40 ชว่ั โมง 1 หน่วยกติ

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบยอด สาระการ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ช้นิ งาน/
เรียนรู้ เรียนรู้ สำคญั อันพึง ภาระงาน
ขอ้ ท่ี 1 -2 ใบความรู้
ประสงค์ และใบงาน
ข้อท่ี 3-6
-ผูเ้ รียนสามารถ - การทำงาน - ความ - มจี ติ ใบความรู้
และการฝกึ
อธบิ าย ของ สามารถใน สาธารณะ ปฏบิ ตั ใิ น
การใชท้ ักษะ - ซอื่ สัตย์ คาบเรยี น
ภาษาคอมพวิ เตอร์ โปรแกรมบน ชีวิต สุจรติ
ทใี่ ชเ้ ขยี น
โปรแกรมบนมือ มือถือ

ถือ และเขา้ ใจเมนู - สูตร
ฟงั กช์ ันและ
และบอกความแต่ เครื่องมอื
ต่างได้
-ผเู้ รยี นสามารถ ต่างๆ ใน
อธบิ ายหลกั การ โปรแกรม

เขยี นโปรแกรม

ด้วย มอื ถือ และ

เขียนขัน้ ตอนการ

ทำงานของ

โปรแกรมได้

- ผู้เรยี นสามารถ -เขยี น - ความ - อยู่อยา่ ง

อธบิ ายโครงสรา้ ง โครงสร้าง สามารถใน พอเพียง
ของโปรแกรมและ ของภาษา การคิด
ประกาศตวั แปรได้ -ประกาศตัว
- ผเู้ รยี นสามารถ แปรต่างๆใน
เขยี นฟังก์ชัน ภาษาซี
เกยี่ วกบั อนิ พุต/

อาท์พุต บอกคำ

สงวน ชนิดของ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 447

ผลการ ความคดิ รวบยอด สาระการ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ เรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคัญ อนั พงึ

ประสงค์

ข้อมลู และเขียน
รหัสควบคุมพเิ ศษ
ได้

ข้อท่ี 7 -ผู้เรยี นสามารถ - การแยก - - ความรักชาติ ใบความรู้
ขอ้ ท่ี 8-10 อธบิ ายตวั นพิ จน์ ความสามารถ ศาสน์ กษตั รยิ ์ และการฝกึ
ดำเนินการ คณิตศาสตร์ ในการ - รกั ความเปน็ ปฏบิ ตั ิใน
ใน เขยี นนิพจน์ - การแยก แก้ปัญหา ไทย คาบเรยี น
คณิตศาสตร์ ประเภทของ
- ผู้เรียนสามารถ ตวั ใบความร้/ู
แยกประเภทของ ดำเนินการ ใบงาน/
ตวั ดำเนนิ การชนิด ชนิดตา่ งๆ โปรแกรม
ตา่ ง ๆ เขียน - การทำงาน
ขั้นตอนการ ของนิพจน์
ทำงานของนิพจน์ -การคำนวณ
และเขยี น นิพจน์
โปรแกรมคำนวณ
-ผู้เรียนสามารถ - ผเู้ รียน - - มคี วาม
อธบิ ายการใช้
ฟังก์ชัน สามารถสร้าง ความสามารถ มุง่ มัน่ ในการ
if ตรวจสอบ
เงอ่ื นไข เขยี นผงั โปรแกรม ในการใช้ ทำงาน
งาน แสดงการ
ตรวจสอบเงอ่ื นไข โดยใช้ เทคโนโลยี
ของฟังกช์ นั
if ได้ ฟังก์ชนั IF

ตรวจสอบได้

- ผู้เรยี น

สามารถสร้าง

โปรแกรม

โดยใช้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 448

นำไปสู่

ผลการ ความคดิ รวบยอด สาระการ สมรรถนะ คุณลักษณะ ชน้ิ งาน/
เรียนรู้ เรียนรู้ สำคัญ อนั พงึ ภาระงาน

ประสงค์

- ผเู้ รียนสามารถ ฟงั ก์ชนั

เลอื กใชฟ้ ังก์ชนั Switch

if ให้เหมาะสม ตรวจสอบได้

กับโปรแกรมที่

เขยี น เขียน

ฟงั กช์ นั

switch เพื่อทำ

การตรวจสอบ

เง่ือนไขและเขยี น

โปรแกรมด้วย

ฟงั กช์ นั

-ผเู้ รยี นสามารถ

อธบิ ายการใช้

ฟังกช์ ันใหว้ นรอบ

การทำงานหรือ

ทำซ้ำ เขียนผงั

งาน

แสดงการวนรอบ

การทำงานของ

ฟังก์ชนั ได้

- ผู้เรยี นสามารถ

ลอื กใชฟ้ ังก์ชัน

วนรอบการทำงาน

ใหเ้ หมาะสมกับ

โปรแกรมที่

เขยี น ออกจาก

การวนรอบการ

ทำงาน และ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 449

ผลการ ความคิดรวบยอด สาระการ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรยี นรู้ เรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
สำคัญ อันพึง
ขอ้ ที่ 11 ภาระ/
ประสงค์ ช้ินงาน

ประยุกตใ์ ชใ้ นการ - การ - ความ - มีวนิ ยั
เขียนโปรแกรม นำเสนอ สามารถใน - ใฝ่เรียนรู้
ตา่ ง ๆ ได้ โปรแกรมท่ี การส่อื สาร
- นกั เรยี น ตวั เองจัดทำ
สามารถนำเสนอ ขึน้
ผลงานได้อย่าง
สรา้ งสรรค์


Click to View FlipBook Version