The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 500

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสำคัญ เวลา คะแนน
ผลการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) (100)
2 ความรู้ 15
เพิ่มเติมที่ 2. มีความรคู้ วามเข้าใจ ความรูด้ า้ นอื่น ๆ ท่ีทำงาน 8
สามารถ 20
นำมาใช้ใน เกยี่ วกบั ความรู้อืน่ รว่ มกับโปรแกรมเพือ่ ช่วยใน 12
การ 30
แก้ปญั หา เพม่ิ เติมเพื่อใชใ้ นการ การแกป้ ัญหาตา่ ง ๆ เช่น การ 10
รว่ มกับการ แก้ปญั หารว่ มกับการ ต่อวงจรไฟฟา้ เบื้องต้น การใช้
พัฒนา เขยี นโปรแกรม บอร์ดไมโครคอมพิวเตอร์ การ
โปรแกรม
ใช้เพืองหรือเกยี ร์เพื่อชว่ ยใน
3 การเขยี น
โปรแกรม การทดหรอื สง่ กำลังเคร่ืองกล
เพ่อื ใชใ้ น
การ การเช่ือมต่อกับฐานขอ้ มูล
แกป้ ญั หา
เป็นต้น
4 การพัฒนา
โปรแกรม 3. มที ักษะในการเขยี น การเขยี นโปรแกรมโดยใช้
เพ่อื นำไป
ประยกุ ตใ์ ช้ โปรแกรมในการ ภาษาคอมพิวเตอร์ ในการ
อยา่ ง
เหมาะสม แก้ปัญหา สั่งงานอปุ กรณ์หรอื แอปพลเิ ค

ชนั ตา่ ง ๆ เพือ่ ใชใ้ นการ

แก้ปัญหา

4. มที ักษะในการเขยี น การพฒั นาโปรแกรมเพอ่ื นำไป

โปรแกรมเพื่อนำไป ประยุกต์ใช้งานใน
ประยกุ ต์ใชใ้ น ชีวติ ประจำวนั รวมถึงการ
ชวี ติ ประจำวันและการ ประกอบอาชีพในอนาคต
ประกอบอาชีพ

5. มีคุณธรรม

จริยธรรม และเจตคติท่ี

ดีในการใชค้ ณติ ศาสตร์

คอมพวิ เตอร์

รวม 36 80
สอบกลางภาค 2 10
สอบปลายภาค 2 10
รวมทั้งหมด 40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 501

แบบวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหัสวชิ า ว30290 เทคโนโลยกี บั งานนวัตกรรมเพอ่ื การศึกษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

ภาคเรียนที่ 1 เวลา 40 ชั่วโมง 1 หน่วยกิต

ผลการ ความคดิ รวบ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ ยอด สาระการ สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
เรียนรู้ สำคัญ อนั พึง
ขอ้ 1 หลักการของ สมัคร
ระบบ Cloud ประสงค์ email
Computing ระบบ ความ ใฝเ่ รียนรู้
Cloud สามารถใน
Computing การใช้
คือบรกิ ารที่ เทคโนโลยี
ครอบคลุมถึง
การให้ใช้
กำลงั
ประมวลผล
หน่วยจดั เก็บ
ขอ้ มูล และ
ระบบ
ออนไลน์
ตา่ งๆจากผู้
ใหบ้ ริการ
เพ่ือลดความ
ยุ่งยากในการ
ติดตงั้ ดแู ล
ระบบ ชว่ ย
ประหยัดเวลา
และลด
ต้นทนุ ในการ
สรา้ งระบบ
คอมพวิ เตอร์
และเครือข่าย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 502

ผลการ ความคดิ รวบ นำไปสู่
เรียนรู้ ยอด สาระการ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ชิน้ งาน/
ขอ้ 2 เรียนรู้ สำคญั อันพงึ ภาระงาน
บรหิ ารจัดการ
ขอ้ 3 ข้อมลู บนระบบ ประสงค์
ข้อ 4 Cloud เอง มีทั้งแบบ
Computing บรกิ ารฟรี
และแบบเก็บ
สรา้ งเว็บไซต์บน เงิน
ระบบ Cloud 1.การสมัคร ความสามารถ ความมุง่ ม่ันใน ใบงาน
Computing สมาชิก ในการใช้ การทำงาน
การสร้าง เทคโนโลยี
นวตั กรรมทาง ไดรฟ์
การศกึ ษา 2.การสร้าง
โฟลเดอร์
และไฟล์ การ
ทำ
สำเนา ยา้ ย
ลบ เปล่ียน
ชอ่ื การให้
สทิ ธใิ์ นการ
เขา้ ถึงข้อมลู
การใช้งาน กู ความสามารถ ความมุง่ มน่ั ใน ใบงาน
เกิลไซต์ ในการใช้ การทำงาน
สร้างหน้า เทคโนโลยี
สรา้ งลงิ ก์
แทรกสือ่
มเี ดีย การ
เผยแพร่เว็บ
ไซต
โครงงาน ความสามารถ ความมงุ่ มัน่ ใน -เอกสาร
คอมพิวเตอร์ ในการใช้ การทำงาน -ผลงาน

เทคโนโลยี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 503

คำอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ว30290 เทคโนโลยีกับงานนวตั กรรมเพื่อการศกึ ษา

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4-6 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต

ศึกษา ระบบคลาวดค์ อมพวิ เตอร์ การบริหารจัดการข้อมูลด้วยระบบระบบ Cloud
Computing
สรา้ งเว็บไซตบ์ นระบบ Cloud Computing และหลกั การโครงงานคอมพวิ เตอร์

โดยใชก้ ระบวนการทางเทคโนโลยี กระบวนการคดิ วเิ คราะห์ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจ
และมที ักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี

เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการใช้ระบบ Cloud Computing บรหิ าร
จดั การข้อมลู การสร้างเว็บไซต์ จดั ทำโครงงานคอมพิวเตอร์พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพอ่ื นำไป
ประยุกต์ใช้ในรายวิชาอ่นื ๆได้ ใฝเ่ รียนรู้ มีความมุ่งม่ันในการทำงาน ดำเนินชีวติ อยา่ งพอประมาณ มี
เหตผุ ล รอบคอบ มีคณุ ธรรม มีภมู ิคมุ้ กัน

ผลการเรยี นรู้
1. เข้าใจหลักการของระบบ Cloud Computing
2. บริหารจดั การขอ้ มลู บนระบบ Cloud Computing ได้
3. สร้างเว็บไซต์บนระบบ Cloud Computing ได้
4. สร้างนวตั กรรมทางการศึกษาได้

รวมทั้งหมด 4 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 504

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวิชา ว30290 เทคโนโลยีกบั งานนวัตกรรมเพ่อื การศึกษา

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4-6 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต

ลำดบั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนั
ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่ัวโมง ก
1 เร่อื งเรียนรู้ ขอ้ ที่ 1 ระบบ Cloud
ระบบ Cloud Computingคือบริการที่ ) คะแน
Computing ครอบคลุมถึงการให้ใช้ 2 น
กำลังประมวลผล หนว่ ย 5
2 เรือ่ งเรยี นรู้กู ขอ้ ที่ 2 จดั เก็บข้อมลู และระบบ 2
เกิลไดรฟ์ ออนไลนต์ ่างๆจากผู้ 4 5
ใหบ้ รกิ าร เพื่อลดความ 10
3 เรือ่ งการ ขอ้ ที่ 2 ยุ่งยากในการติดตั้ง ดแู ล
จัดการ ระบบ ชว่ ยประหยัดเวลา
กูเกลิ ไดรฟ์ และลดต้นทนุ ในการสร้าง
ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละ
เครอื ข่ายเอง มีทั้งแบบ
บรกิ ารฟรีและแบบเก็บ
เงนิ
การสมคั รสมาชกิ
การสร้างไดรฟ์
การสร้างโฟลเดอร์ และ
ไฟล์ การทำสำเนา ยา้ ย
ลบ เปล่ียนชอื่ การใหส้ ทิ ธิ์
ในการเข้าถงึ ข้อมูล

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 505

ลำดบั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนั
ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชัว่ โมง ก
การใชง้ าน กูเกิลไซต์
4 เรอื่ งการสร้าง ข้อท่ี 3 สร้างหนา้ สร้างลงิ ก์ แทรก ) คะแน
เวบ็ ไซตด์ ้วยกู ข้อที่ 4 สอ่ื มีเดยี การเผยแพร่ 8 น
เกลิ ไซต์ เว็บไซต์ 24 15
รวม 1.หลักการพัฒนาโครงงาน 45
5 โครงงาน สอบกลางภาค คอมพิวเตอร์ 40
คอมพิวเตอร์ สอบปลายภาค - 80
รวมท้ังหมด - คดั เลือกหัวข้อที่ - 10
สนใจ 40 10
100
- ศกึ ษาค้นคว้า
เอกสาร

- จัดทำขอ้ เสนอ
โครงงาน

- พัฒนาโครงงาน
- จดั ทำรายงาน
- นำเสนอและ
เผยแพร่
2.ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสรา้ ง
ชนิ้ งานหรือโครงงาน ตาม
หลักการทำโครงงาน
3.ศกึ ษาผลกระทบดา้ น
สงั คมและสงิ่ แวดล้อมทีเ่ กดิ
จากงานท่สี รา้ งข้นึ เพอื่ หา
แนวทางปรบั ปรุงและ
พฒั นา
4.เผยแพร่ผลงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 506

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหสั วิชา ว30291 เทคโนโลยีกับการฝึกทักษะการส่อื สารภาษาตา่ งประเทศ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชั่วโมง 0.5 หนว่ ยกิต

ผลการ ความคดิ รวบ นำไปสู่
เรยี นรู้ ยอด สาระการ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ชน้ิ งาน/
เรยี นรู้ สำคญั อนั พงึ ภาระงาน
ข้อท่ี 1 หลักการของ
ระบบ การ ประสงค์
บริหารจัดการ - หลกั การ ความสามารถ - ใฝเ่ รียนรู้ -ใบงาน
ข้อมลู และการ ของระบบ ในการใช้ - มงุ่ มน่ั ในการ
สร้างเว็บไซตบ์ น คลาวด์ เทคโนโลยี ทำงาน
ระบบคลาวด์
คอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์

- การสรา้ ง
โฟลเดอร์
และไฟล์ การ
ทำ
สำเนา ย้าย
ลบ เปล่ยี น
ช่ือ การให้
สิทธิใ์ นการ
เข้าถึงข้อมูล
- การใช้งาน
กเู กลิ ไซต์
สรา้ งหนา้
สร้างลิงก์
แทรกสอ่ื
มีเดีย การ
เผยแพร่
เว็บไซต์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 507

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ สมรรถนะ คุณลักษณะ ช้นิ งาน/
เรียนรู้ ยอด เรยี นรู้ สำคัญ อันพงึ ภาระงาน
ข้อท่ี 2 ประสงค์

ขอ้ ท่ี 3 ผู้เรียนรู้จกั - คน้ หาและ ความสามารถ - ใฝ่เรยี นรู้ -ใบงาน

เลอื กใชโ้ ปรแกรม เลอื กใช้ ในการใช้

สำเรจ็ รูปดา้ น โปรแกรม เทคโนโลยี
ภาษา สำเรจ็ รูปด้าน

ภาษา

- เรียนรู้การ

ใชง้ าน

โปรแกรม

-ฝึกทักษะ

การสื่อสาร
ด้วย
โปรแกรม

ผูเ้ รียนนำเสนอ - การใชง้ าน ความสามารถ - ม่งุ ม่ันในการ - เว็บไซต์
ผลงานทาง โปรแกรม ในการใช้ ทำงาน

เวบ็ ไซต์ด้วย สร้างอนิ โฟ เทคโนโลยี
รูปแบบอนิ โฟ กราฟิก
กราฟิกได้ - การอพั

โหลดงาน

อนิ โฟกราฟิก
ขน้ึ เวบ็ ไซต์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 508

คำอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ว30291 เทคโนโลยีกับการฝึกทักษะการส่ือสารภาษาตา่ งประเทศ

รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 จำนวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกิต

ศกึ ษา ระบบคลาวดค์ อมพิวเตอร์ ซอฟต์แวรส์ ำเรจ็ รูปดา้ นภาษา ซอฟตแ์ วรด์ า้ นการออกแบบ
อินโฟกราฟกิ เพ่ือนำมาประยกุ ต์ใชใ้ นการฝกึ ทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ

โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
และมที กั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีฝึกทกั ษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใชเ้ ทคโนโลยีชว่ ยในการฝึกทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศได้ดี ใช้
เทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ดำเนนิ ชวี ิตอย่างพอประมาณ มเี หตผุ ล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมคิ ้มุ กัน
ปรบั ตัวเพ่อื อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

ผลการเรยี นรู้
1. นักเรยี นมีทกั ษะการใชร้ ะบบคลาวด์คอมพวิ เตอร์
2. นักเรียนมีทกั ษะการใชซ้ อฟต์แวรส์ ำเร็จรูปด้านภาษา
3. นักเรียนสามารถนำเสนอผลงานผ่านระบบคลาวด์คอมพิวเตอร์ในรูปแบบอินโฟกราฟิกได้อย่าง
สร้างสรรค์

รวมทั้งหมด 3 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 509

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30291 เทคโนโลยกี ับการฝึกทักษะการส่ือสารภาษาตา่ งประเทศ

รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกิต

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชวั่ โมง ก
1 ระบบคลาวด์ - ความหมายของระบบ
คอมพิวเตอร์ ข้อที่ 1 คลาวด์คอมพิวเตอร์ ) คะแน
- การเลือกใชร้ ะบบ 6 น
2 ซอฟตแ์ วร์ ข้อที่ 2 คลาวดค์ อมพวิ เตอร์ 30
สำเร็จรปู ดา้ น - การจดั การไฟล์บนระบบ 6
ภาษา ขอ้ ท่ี 3 คลาวด์คอมพวิ เตอร์ 30
- การสรา้ งเวบ็ ไซตบ์ น 8
3 นำเสนอ ระบบคลาวด์คอมพวิ เตอร์ 20
ผลงาน - ค้นหาและเลอื กใช้
โปรแกรมสำเรจ็ รูปด้าน
ภาษา
- เรียนรกู้ ารใช้งาน
โปรแกรม
-ฝึกทกั ษะการสื่อสารด้วย
โปรแกรม
- การใชง้ านโปรแกรม
ออกแบบอนิ โฟกราฟิก

รวม 20 80
สอบกลางภาค - 10
สอบปลายภาค - 10
รวมท้ังหมด 20 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 510

การวดั และประเมินผลการเรยี น

1. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรกู้ ลุ่มสาระการเยนรู้ ดำเนนิ การดงั น้ี
1.1 การประเมนิ ผลก่อนเรียน เพอ่ื ศึกษาความร้พู ื้นฐานของผู้เรยี น
1.2 การประเมินผลระหว่างเรียน เพื่อตรวจสอบพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน นำข้อมูลจากการ
ประเมินไปพัฒนาปรับปรุง แก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน หรือส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติกระบวนการ
เรียนรู้จนเต็มศักยภาพ โดยให้วัดและประเมินผลตามตัวบ่งขี้นั้นๆ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของการ
ประเมินผลทงั้ หมด
1.3 การประเมินผลหลังเรียน เพื่อสรุปผลการเรียน ตรวจสอบความสำเร็จของผู้เรียน เมื่อจบการ
เรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ หรือเมื่อสิ้นสุดการเรียนรายวิชาปลายภาคเรียน ประเมินผู้เรียนใน
เรื่องที่ได้เรียนจบแล้ว เพื่อตรวจสอบผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นตามตัวชี้วัดของผู้เรียน ข้อมูลจากผลการ
ประเมินผู้สอนควรนำไปวิเคราะห์เพื่อใช้ในการปรับปรุง แก้ไข ซ่อมเสริมผู้เรียนให้บรรลุตามตัวชี้วัด
ตามเกณฑท์ ก่ี ำหนด
2. การประเมนิ ผลการอ่าน คดิ วิเคราะห์ และเขียน ดำเนินการดงั นี้
2.1 ครูผู้สอนฝึกฝนและมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติควบคู่ไปกับการจัดการเรียนรู้ในแต่ละ
รายวิชา และตอ้ งทำการประเมนิ ผลทกุ ชั้นปี
2.2 ใช้เกณฑ์การประเมนิ การอา่ น คดิ วเิ คราะห์ และเขียน ดงั นี้

ดเี ยย่ี ม หมายถงึ สามารถจับใจความสำคัญได้ครบถ้วน เขยี นวพิ ากษ์วิจารณ์ เขียน
สร้างสรรค์ แสดงความคิดเหน็ ประกอบอย่างมีเหตผุ ล

ดี หมายถงึ สามารถจบั ใจความสำคญั ได้ เขยี นวพิ ากษว์ ิจารณ์ และเขยี น
สร้างสรรคไ์ ดโ้ ดยใชภ้ าษาสุภาพ

ผ่าน หมายถึง สามารถจับใจความสำคญั และเขยี นวพิ ากษว์ จิ ารณไ์ ดบ้ า้ ง
3. การประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ดำเนนิ การดงั น้ี
3.1 ผู้สอน จัดทำเป็นพฤติกรรมบ่งชี้หรือพฤติกรรมที่ต้องการให้ผู้เรียนแสดงออก แล้วบูรณาการ
คณุ ลกั ษณะควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของกลุ่มสาระทั้งกจิ กรรมในชั้นและนอกช้ัน
เรยี นและต้องดำเนินการประเมนิ ผลรายภาค
3.2 ใช้เกณฑ์การประเมินคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดงั นี้

ดีเย่ยี ม หมายถึง ผู้เรยี นมคี ณุ ลักษณะในการปฏิบัติจนเปน็ นิสยั และนำไปใช้เพื่อ
ประโยชน์สุขของตนเองและสงั คม

ดี หมายถึง ผเู้ รยี นมีคุณลักษณะในการปฏบิ ัตจิ นเปน็ นสิ ยั และนำไปใช้ใน
ชีวติ ประจำวันเพอ่ื ประโยชนส์ ขุ ของตนเองและสังคม

ผา่ น หมายถึง ผู้เรยี นรบั รแู้ ละปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขท่สี ถานศึกษา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 511

กำหนด

4. การตัดสินผลการเรียน ให้นำคะแนนระหว่างภาคเรียนรวมกับคะแนนปลายภาคเรียนตาม

อตั ราส่วน 80 : 20 แล้วนำมาเปล่ยี นเป็นระดับผลการเรยี น

5. ใช้ตัวเลขแสดงระดับผลการเรียน 8 ระดบั ดงั นี้

4 หมายถงึ ผลการเรยี นดีเย่ยี ม ช่วงคะแนนเป็นรอ้ ยละ 80 - 100

3.5 หมายถงึ ผลการเรียนดมี าก ช่วงคะแนนเป็นรอ้ ยละ 75 - 79

3 หมายถงึ ผลการเรยี นดี ชว่ งคะแนนเป็นร้อยละ 70 - 74

2.5 หมายถงึ ผลการเรียนคอ่ นขา้ งดี ชว่ งคะแนนเป็นรอ้ ยละ 65 - 69

2 หมายถึง ผลการเรียนปานกลาง ช่วงคะแนนเปน็ ร้อยละ 60 - 64

1.5 หมายถึง ผลการเรยี นพอใช้ ชว่ งคะแนนเป็นรอ้ ยละ 55 - 59

1 หมายถึง ผลการเรยี นผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่ำ ชว่ งคะแนนเป็นรอ้ ยละ 50 - 54

0 หมายถงึ ผลการเรยี นต่ำกว่าเกณฑ์ ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ 0 - 49

6. ให้ใชอ้ กั ษรแสดงผลการเรียนที่มีเง่อื นไขในแตล่ ะรายวิชาดงั นี้

มส หมายถงึ ไมม่ สี ทิ ธิเขา้ รับการประเมินผลปลายภาคเรียน

ร หมายถึง รอการตัดสินและยังตดั สินไมไ่ ด้

7. การตดั สนิ ผลการเรยี นปฏบิ ตั ิดงั นี้

7.1 ตดั สินผลการเรียนเปน็ รายวชิ า ผ้เู รยี นตอ้ งมเี วลาเรยี นตลอดภาคเรยี นไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของ

เวลาเรียนทัง้ หมดในรายวิชาน้ันๆ

7.2 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านเกณฑ์ที่กลุ่มสาระกำหนดไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60

ของตัวชี้วัดในแต่ละรายวิชากำหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

8. การเปล่ยี นระดับผลการเรียน ใหถ้ ือปฏิบตั ดิ ังน้ี

8.1 การเปลยี่ นผลการเรียน “0”

8.1.1 ครจู ัดสอนซอ่ มเสริมในตวั ชี้วดั ที่ผเู้ รยี นสอบไม่ผ่านก่อนแล้วจึงสอบแก้ตัวและให้สอบแก้ตัวได้ไม่

เกิน 2 ครัง้ เสร็จสิ้นภายในปีการศกึ ษา

8.1.2 ถ้าผู้เรียนไม่มาสอบแก้ตัวตามระยะเวลาที่กำหนด ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยาย

เวลาออกไปไดอ้ กี ไมเ่ กิน 1 ภาคเรียน

8.1.3 ถ้าสอบแก้ตัว 2 ครั้งแล้ว ยังได้รับผลการเรียน “0” อีกให้สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการที่

เก่ียวกับการแก้ผลการเรยี นของผู้เรียน โดยปฏบิ ตั ิดงั น้ี

1. ให้นักเรียนซ้ำรายวชิ าถา้ เป็นรายวชิ าพ้นื ฐาน

2. ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาใหม่ ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของ

สถานศึกษา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 512

3. ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน
รายวิชาใด
8.2 การเปลี่ยนผลการเรยี น “ร” แยกเปน็ 2 กรณีดงั น้ี
8.2.1 มีเหตุสุดวิสัย ทำให้ประเมินผลการเรียนไม่ได้ เช่น เจ็บป่วย เมื่อผู้เรียนได้เข้าสอบ หรือส่งผล
งานทตี่ ดิ คา้ งอยู่เสรจ็ เรยี บร้อย หรือแก้ปัญหาเสรจ็ สิ้นแล้วให้ได้ระดับผลการเรียนตามปกติ (ตง้ั แต่ 0 –
4)
8.2.2 ถ้าสถานศึกษาพจิ ารณาเหน็ ว่าไม่ใช่เหตุสดุ วิสัย เม่อื ผู้เรียนได้เข้าสอบหรือส่งผลงานท่ีติดค้างอยู่
เสร็จเรียบรอ้ ยหรอื แก้ปัญหาเสร็จสิ้นแล้วให้ได้ระดับผลการเรยี นไม่เกิน “1” การเปลี่ยนผลการเรียน
“ร” ให้ดำเนินการแก้ไขตามสาเหตุให้เสร็จสิ้นภายในปีการศึกษานั้น ถ้าผู้เรียนไม่ดำเนินการแก้ “ร”
ตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ให้เรียนซ้ำรายวิชา ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่
จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปไมเ่ กิน 1 ภาคเรียน แตเ่ มอื่ พน้ กำหนดน้ีแลว้ ใหป้ ฏิบัตดิ ังนี้

1. ใหน้ ักเรียนซำ้ รายวชิ าถา้ เป็นรายวชิ าพื้นฐาน
2. ให้เรียนซ้ำหรือเปลี่ยนรายวิชาใหม่ ถ้าเป็นรายวิชาเพิ่มเติม โดยให้อยู่ในดุลยพินิจของ
สถานศึกษา
3. ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่าเรียนแทน
รายวชิ าใด
8.3 การเปลย่ี นผลการเรยี น “มส” แยกเป็น 2 กรณดี งั นี้
8.3.1 กรณีผู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” เพราะมีเวลาไม่ถึงร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อย
ละ 60 ของเวลาเรยี นทั้งหมด ให้สถานศึกษาจัดใหเ้ รียนเพิ่มเติม โดยใชช้ วั่ โมงสอนซ่อมเสริมหรือเวลา
ว่างหรือวนั หยดุ หรอื มอบหมายงานให้ทำจนมีเวลาเรยี นครบตามท่ีกำหนดไว้สำหรบั รายวชิ านั้นแล้วจึง
ให้สอบเป็นกรณีพิเศษ ผลการสอบแก้ตัวแก้ตัว “มส” ให้ได้ระดับผลการเรียนไม่เกิน “1” การแก้
“มส” กรณนี ใี้ ห้กระทำให้เสร็จสนิ้ ในปีการศึกษานน้ั ผเู้ รียนไมม่ ดี ำเนินการแก้ “มส” ตามระยะเวลาที่
กำหนดไว้นี้ให้เรียนซำ้ ยกเว้นมีเหตุสุดวสิ ยั ให้อยู่ในดุลยพินิจของสถานศึกษาท่ีจะขยายการแก้ “มส”
ออกไปอกี ไมเ่ กิน 1 ภาคเรียน แตเ่ มือ่ พ้นกำหนดนีแ้ ลว้ ให้ปฏิบัตดิ ังน้ี
1. ใหเ้ รียนซำ้ รายวิชา ถ้าเป็นรายวิชาพื้นฐาน
2. ให้เรยี นซำ้ หรือเปล่ียนรายวิชาเรียนใหม่ ถ้าเป็นรายวชิ าเพ่ิมเติมโดยให้อยู่ในดุลยพินิจของ
สถานศึกษา
8.3.2 กรณผี ู้เรียนได้ผลการเรียน “มส” และมเี วลาเรียนนอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของเวลาเรียนท้ังหมด ให้
สถานศึกษาจัดให้เรียนซ้ำในรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนรายวิชาใหม่ได้ สำหรับ
รายวิชาเพิ่มเติมทั้งหมด ในกรณีที่เปลี่ยนรายวิชาใหม่ ให้หมายเหตุในระเบียนแสดงผลการเรียนว่า
เรยี นแทนรายวชิ าใด
9. การสอนซอ่ มเสริม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 513

การสอนซ่อมเสริมสามารถดำเนินการได้ในกรณีดงั ต่อไปน้ี
1. ผูเ้ รยี นมีความรู้ / ทักษะพื้นฐานไมเ่ พยี งพอทจี่ ะศึกษาในแตล่ ะรายวิชาน้ัน ควรจัดการสอน

ซอ่ มเสรมิ ปรบั ความรู้ / ทกั ษะพนื้ ฐาน
2. การประเมินระหวา่ งเรียน ผู้เรยี นไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะกระบวนการหรือเจตคติ /

คณุ ลกั ษณะทก่ี ำหนดไว้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วดั
3. ผลการเรียนไม่ถึงเกณฑ์และ/หรือต่ำกว่าเกณฑ์การประเมิน โดยผู้เรียนได้ระดับผลการ

เรียน “0” ตอ้ งจดั การสอนซ่อมเสรมิ กอ่ นจะใหผ้ ูเ้ รียนสอบแก้ตวั
4. ผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริมในภาคฤดูร้อน ทั้งนี้ให้อยู่ในดุลย

พินจิ ของสถานศกึ ษา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 514

สอ่ื การเรยี นรู้และแหล่งเรียนรู้

สื่อการเรียนรู้เป็นเครื่องมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถงึ
ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่ือ
การเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้
ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการ
เรยี นรทู้ ี่หลายหลายของผู้เรยี น

การจัดหาสื่อการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุง
เลือกใช้อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ ที่
สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างเพียงพอ เพ่ือ
พัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง
และผมู้ หี นา้ ทจี่ ัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ควรดำเนินการดงั น้ี

1. จัดใหม้ ีแหลง่ การเรยี นรู้ ศูนย์สอื่ การเรยี นรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่ายการ
เรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและแลกเปลี่ยน
ประสบการณก์ ารเรียนร้รู ะหว่างสถานศกึ ษา ทอ้ งถนิ่ ชมุ ชน สังคมโลก

2. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน
รวมทงั้ จดั หาสิ่งท่มี ีอยใู่ นท้องถนิ่ มาประยกุ ต์ใช้เป็นสอ่ื การเรยี นรู้

3. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับ
วธิ กี ารเรียนรู้ ธรรมชาตขิ องการะการเรยี นรู้ และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผูเ้ รยี น

4. ประเมินคุณภาพของสือ่ การเรยี นร้ทู ี่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ
5. ศกึ ษาค้นคว้า วจิ ยั เพ่อื พัฒนาสอ่ื การเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกบั กระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรียน
6. จดั ให้มีการกำกับ ตดิ ตาม ประเมินคณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพเกี่ยวกับสื่อและการใช้สื่อการ
เรียนรเู้ ป็นระยะๆ และสม่ำเสมอ
ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควร
คำนึงถึงหลักการสำคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้
การออกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ การจดั ประสบการณใ์ หผ้ ้เู รียน เน้ือหามีความถกู ต้องและทันสมัย ไม่
กระทบความม่ันคงของชาติ ไม่ขดั ตอ่ ศลี ธรรม มีการใช้ภาษาท่ีถูกตอ้ ง รูปแบบการนำเสนอที่เข้าใจง่าย
และนา่ สนใจ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 515

อภธิ านศัพท์

กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Process)
เป็นกระบวนการในการศึกษาหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนหลัก คือ

การตงั้ คำถาม หรอื กำหนดปญั หา การสรา้ งสมมติฐานหรือการคาดการณ์คำตอบ การออกแบบวิธีการ
เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การวเิ คราะห์และแปลความหมายข้อมลู การลงขอ้ สรปุ และการส่อื สาร

การแก้ปัญหา (Problem Solving)
เป็นการหาคำตอบของปัญหาที่ยังไม่รู้วิธีการมาก่อน ทั้งปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาใน

วิทยาศาสตรโ์ ดยตรง และปัญหาในชีวิตประจำวนั โดยใชเ้ ทคนคิ วิธกี ารหรอื กลยุทธต์ ่างๆ

การวเิ คราะห์ (Analyzing)
เป็นระดับของผลการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถแยกแยะข้อมูล หรือข้อสนเทศ เพื่อเชื่อมโยง

ความสมั พันธ์

การสังเกต (Observation)
เป็นการหาข้อมูลโดยตรงโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ได้แก่ การดู การดม การฟัง การชิม

และการสมั ผสั

การสืบค้นขอ้ มลู (Search)
เป็นการหาขอ้ มูลหรือขอ้ สนเทศทีม่ ีผู้รวบรวมไว้แล้วจากแหลง่ ตา่ งๆ เช่น ห้องสมุด เครือข่าย

อินเทอรเ์ น็ต ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ เป็นตน้

การสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry)
เป็นการหาความร้ทู างวิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรห์ รือวิธีการอ่ืนๆ เช่น

การสำรวจ การสังเกต การวัด การจำแนกประเภท การทดลอง การสร้างแบบจำลอง การสบื คน้ ข้อมูล
เปน็ ต้น

การสำรวจ (Exploration)
เป็นการหาข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ โดยใช้วิธีการและเทคนิคต่างๆ เช่น การสังเกต การ

สมั ภาษณ์ การเกบ็ ตัวอยา่ ง เพอ่ื นำมาวเิ คราะห์ จำแนก หรือหาความสัมพันธ์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 516

การสำรวจตรวจสอบ (Scientific Investigstion)
เป็นวิธีการหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ โดยผ่านการรวบรวมข้อมูล ใช้ความคิดที่มีเหตุผลใน

การตั้งสมมติฐาน อธิบายและแปลความหมายข้อมูล การสำรวจตรวจสอบทำได้หลายวิธี เช่น การ
สังเกต การสำรวจ การทดลอง เป็นต้น

ความเข้าใจ (Understanding)
เป็นระดับของผลการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถอธิบาย เปรียบเทียบ แยกประเภท ยกตัวอย่าง

เขียนแผนภาพ เลอื ก ระบุ เลอื กใช้เกี่ยวกบั เร่ืองต่างๆ

จิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Mind / Scientific Attitudes)
เป็นคุณลักษณะหรือลักษณะนิสัยของบุคคลที่เกิดขึ้นจากการศึกษาหาความรู้โดยใช้

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
จิตวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วยคุณลักษณะต่างๆ ได้แก่ ความสนใจใฝ่รู้ ความมุ่งมั่น อดทน

รอบคอบ ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ ประหยัด การร่วมแสดงความคิดเห็นและยอมรับ ฟังความ
คดิ เห็นของผอู้ ่นื ความมเี หตผุ ล การทำงานร่วมกับผอู้ ื่นไดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์

เจตคติตอ่ วทิ ยาศาสตร์ (Attitudes Toward Sciences)
เป็นความรู้สึกของบุคคลต่อวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นผลจากการเรียนรู้วิทยาศาสตร์โดยผ่าน

กจิ กรรมทีห่ ลากหลาย ความรสู้ ึกดังกล่าว เชน่ ความสนใจ ความชอบ การเหน็ ความสำคัญและคุณค่า

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 517

ตวั ช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตรช์ วี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับ
สงิ่ ไมม่ ชี ีวติ และความสัมพันธ์ระหว่างส่งิ มีชวี ิตกับสิ่งมชี วี ิตต่างๆ ในระบบนเิ วศ การถ่ายทอดพลังงาน
การเปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา
สิ่งแวดลอ้ ม รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใชป้ ระโยชน์

ชัน้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

1. สืบค้นขอ้ มลู และอธิบาความสัมพนั ธ์ -บริเวณของโลกแต่ละบริเวณมีสภาพทาง

ของสภาพ ทางภูมิศาสตรบ์ นโลกกับ ภูมศิ าสตร์ ทีแ่ ตกต่างกัน แบ่งออกได้เป็นหลาย

ความหลากหลายของไบโอมและ เขตตาม สภาพภมู อิ ากาศและปริมาณนำ้ ฝน ทำให้

ม.4 ยกตัวอย่างไบโอมชนดิ ตา่ งๆ มีระบบนิเวศที่หลากหลายซึ่งส่งผลให้เกิดความ

หลากหลายของไบโอม

2. สบื ค้นขอ้ มลู อภิปรายสาเหตุและ - การเปล่ยี นแปลงของระบบนิเวศเกดิ ข้ึนได้ตลอด

ยกตวั อย่าง การเปล่ยี นแปลงแทนท่ี เวลาทั้งการเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดขนึ้ เองตาม

ของระบบนิเวศ ธรรมชาติ และเกดิ จากการกระทำของมนุษย์

- การเปลีย่ นแปลงแทนทีเ่ ป็นการเปล่ียนแปลงของ

กลมุ่ สิ่งมีชวี ิตท่ีเกิดข้ึนอย่างชา้ ๆ เปน็ เวลานาน ซ่ึง

เปน็ ผลจากปฏสิ มั พนั ธ์ระหวา่ งองคป์ ระกอบ ทาง

กายภาพและทางชีวภาพ สง่ ผลใหร้ ะบบนเิ วศ

เปลย่ี นแปลงไปสสู่ มดุลจนเกิดสงั คมสมบรู ณ์ได้

3. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ ายและยกตวั อยา่ ง - การเปลยี่ นแปลงขององค์ประกอบในระบบนเิ วศ

เก่ยี วกับการเปล่ียนแปลงขององค์ ท้งั ทางกายภาพและทางชวี ภาพมผี ลต่อการ

ประกอบทางกายภาพ และทางชวี ภาพ เปล่ยี นแปลงขนาดของประชากร

ทีม่ ีผลตอ่ การเปลี่ยนแปลงขนาด ของ

ประชากรสิ่งมีชวี ติ ในระบบนิเวศ

ม.4 4. สบื ค้นข้อมูลและอภปิ รายเก่ยี วกับ - มนุษยใ์ ช้ทรัพยากรธรรมชาตโิ ดยปราศจาก

ปัญหาและผลกระทบท่ีมตี ่อทรัพยากร ความระมัดระวงั และมกี ารพัฒนา

ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมทง้ั เทคโนโลยใี หม่ๆ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 518

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
นำเสนอแนวทางในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ข เพอ่ื ช่วยอำนวยความสะดวกต่างๆ แกม่ นุษย์
ปัญหา ส่งิ แวดล้อม ส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงทรพั ยากรธรรมชาติและ
สง่ิ แวดลอ้ ม
ม.5 - -ปัญหาทที่เกดิ กับทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ
ม.6 - สิ่งแวดลอ้ ม บางปญั หาส่งผลกระทบในระดับ
ทอ้ งถ่นิ บางปญั หาก็ส่งผลกระทบในระดบั ประเทศ
และบางปัญหาส่งผลกระทบในระดบั โลก
- การลดปรมิ าณการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ การ
กำจัดของเสยี ท่ีป็นสาเหตุของปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
และการวางแผนจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ดี
เป็นตัวอย่างของแนวทางในการอนรุ กั ษ์
ทรพั ยากรธรรมชาติและการลดปัญหาส่ิงแวดล้อม
ท่เี กดิ ขึ้นเพ่ือใหเ้ กดิ การใชป้ ระโยชน์ทยี่ ั่งยืน

-
-

สาระท่ี 1 วทิ ยาศาสตร์ชวี ภาพ
มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสง่ิ มชี วี ิต หนว่ ยของส่ิงมีชีวิต การลเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่างๆ ของสัตว์และมนุษย์ที่ทำงานสัมพันธ์
ความสัมพันธข์ องโครงสร้างและหนา้ ที่ของอวัยวะต่างๆ ของพืชที่ทำงานสัมพันธ์กนั รวมทั้งนำความรู้
ไปใช้ประโยชน์

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ม.4 1. อธิบายโครงสร้างและสมบตั ิของเยอื่ - เยื่อหมุ้ เซลล์มีโครงสรา้ งเป็นเยอ่ื หุ้มสองชน้ั

หุ้มเซลล์ที่ สัมพันธ์กับการลำเลียงสาร ทีม่ ีลพิ ดิ เปน็ องค์ประกอบและมโี ปรตีนแทรกอยู่

และเปรียบเทียบ การลำเลียงสารผ่าน - สารทีล่ ะลายไดใ้ นลิพิดและสารทม่ี ีขนาดเล็ก

เยือ่ หุ้มเซลลแ์ บบต่างๆ สามารถแพรผ่ า่ นเยื่อหมุ้ เซลลไ์ ดโ้ ดยตรง ส่วนสาร

ขนาดเล็กที่มีประจุต้องลำเลยี งผา่ นโปรตีนท่ีแทรก

ม.4 อยู่ท่เี ยื่อห้มุ เซลล์ ซง่ึ มี ๒ แบบ คือ การแพร่แบบ

ฟาซิลิเทต และแอกทีฟทรานสปอรต์ ในกรณีสาร

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 519

ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ขนาดใหญ่ เช่น โปรตีน จะลำเลยี งเข้าโดย

กระบวนการเอนโดไซโทซสิ หรือลำเลียงออกโดย

กระบวนการเอกโซไซโทซิส

2. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของน้ำ - การรกั ษาดลุ ยภาพของน้ำและสารในเลือดเกดิ

และสารใน เลือดโดยการทำงานของไต จากการทำงานของไต ซ่งึ เป็นอวัยวะในระบบ ขับ

ถ่ายทม่ี ีความสำคญั ในการกำจัดของเสียที่มี

ไนโตรเจนเปน็ องคป์ ระกอบ รวมท้งั น้ำและ สารท่ี

มปี รมิ าณเกนิ ความต้องการของรา่ งกาย

3. อธบิ ายการควบคุมดุลยภาพของ - การรกั ษาดุลยภาพของกรด-เบสในเลอื ดเกดิ จาก

กรด-เบสของ เลือดโดยการทำงานของ การทำงานของไตท่ีทำหน้าท่ีขับหรือดดู กลบั

ไตและปอด ไฮโดรเจนไอออน ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน

และแอมโมเนียมไอออน และการทำงานของ

ปอด ทีท่ ำหนา้ ท่ีกำจัดคารบ์ อนไดออกไซด์

4. อธิบายการควบคุมดุลยภาพของ - การรักษาดลุ ยภาพของอุณหภูมิภายในรา่ งกาย

อุณหภูมิภายใน รา่ งกายโดยระบบหมนุ เกดิ จากการทำงานของระบบหมนุ เวยี นเลือดที่

เวยี นเลือด ผวิ หนงั และ กลา้ มเน้อื ควบคุมปรมิ าณเลือดไปทีผ่ วิ หนัง การทำงาน

โครงรา่ ง ของต่อมเหง่ือ และกล้ามเน้ือโครงรา่ ง ซึ่งส่งผลถึง

ปริมาณความร้อนที่ถูกเก็บหรือระบายออกจาก

ร่างกาย

5. อธิบายและเขียนแผนผังเกี่ยวกับ - เม่อื เชื้อโรคหรือสิง่ แปลกปลอมอืน่ เขา้ สเู่ นื้อเยื่อ

การตอบสนอง ของรา่ งกายแบบไม่ ในร่างกาย ร่างกายจะมีกลไกในการตอ่ ต้านหรือ

จำเพาะ และแบบจำเพาะต่อ ส่งิ ทำลายสิ่งแปลกปลอมทงั้ แบบไม่จำเพาะและแบบ

แปลกปลอมของร่างกาย จำเพาะ

- เซลล์เมด็ เลือดขาวกลุ่มฟาโกไซต์จะมีกลไกใน

การตอ่ ต้านหรอื ทำลายสง่ิ แปลกปลอมแบบไม่

จำเพาะ

ม.4 - กลไกในการตอ่ ตา้ นหรือทำลายสงิ่ แปลกปลอม

แบบจำเพาะเป็นการทำงานของเซลล์เม็ดเลือด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 520

ช้ัน ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ขาว ลมิ โฟไซต์ชนดิ บแี ละชนิดที ซึง่ เซลล์เม็ดเลือด

ม.4 ขาว ทัง้ สองชนดิ จะมีตัวรับแอนติเจน ทำให้เซลล์

ทงั้ สองสามารถตอบสนองแบบจำเพาะต่อ

แอนติเจน นั้นๆได้

- เซลลบ์ ีทำหนา้ ทส่ี ร้างแอนติบอดี ซ่ึงช่วยในการ

จับกับสิง่ แปลกปลอมต่าง ๆ เพือ่ ทำลายตอ่ ไป

โดยระบบภูมิคุม้ กนั เซลล์ทีทำหนา้ ทีห่ ลากหลาย

เชน่ กระตุ้นการทำงานของเซลล์บแี ละเซลล์ที

ชนดิ อน่ื ทำลายเซลลท์ ี่ตดิ ไวรสั และเซลลท์ ่ีผิดปกติ

อน่ื ๆ

6. สืบค้นขอ้ มลู อธิบาย และ - บางกรณรี ่างกายอาจเกดิ ความผดิ ปกตขิ องระบบ

ยกตวั อย่างโรคหรือ อาการทเี่ กดิ จาก ภมู คิ ุ้มกัน เช่น ภูมิคมุ้ กันตอบสนองต่อแอนติเจน

ความผิดปกติของระบบ ภูมิคุ้มกนั บางชนดิ อยา่ งรุนแรงมากเกนิ ไป หรือร่างกายมี

ปฏิกริ ยิ าตอบสนองต่อแอนติเจนของตนเอง อาจ

ทำให้ร่างกายเกดิ อาการผดิ ปกติได้

7. อธิบายภาวะภมู ิคมุ้ กนั บกพร่องทมี่ ี - บคุ คลที่ไดร้ บั เลือดหรือสารคดั หล่งั ทมี่ ีเชอื้ HIV

สาเหตุมาจากการตดิ เชือ้ HIV ซ่งึ สามารถทำลายเซลล์ท่ี ทำหภั ูมิค้มุ กันบกพร่อง

และตดิ เชื้อต่างๆ ได้ง่ายขึ้น

8. ทดสอบและบอกชนดิ ขอสารอาหาร - กระบวนการสังเคราะหด์ ้วยแสงเปน็ จุดเร่ิมตน้

ทพี่ ืชสงั เคราะห์ได้ ของการสรา้ งน้ำตาลในพชื พชื เปล่ยี นน้ำตาลไป

9. สบื คน้ ขอ้ มลู อภิปราย และยกตัว เปน็ สารอาหารและสารอนื่ ๆ เช่น คารโ์ บไฮเดรต

อยา่ งเก่ยี วกับการใช้ประโยชนจ์ ากสาร โปรตีน ไขมัน ท่ีจำเป็นตอ่ การดำรงชวี ติ ของพืช

ต่างๆ ท่พี ชื บางชนดิ สร้างขึ้น และสตั ว์

- มนษยุ ส์ ามารถนำสารต่าง ๆ ทพ่ี ชื บางชนิดสร้าง

ขน้ึ ไปใช้ประโยชน์ เชน่ ใช้เปน็ ยาหรือสมุนไพร

ในการรกั ษาโรคบางชนิด ใชใ้ นการไลแ่ มลง กำจดั

ศัตรูพืชและสตั ว์ ใชใ้ นการยบั ย้งั การเจรญิ เตบิ โต

ของแบคทีเรีย และใชเ้ ปน็ วตั ถุดบิ ในอุตสาหกรรม

10. ออกแบบการทดลอง ทดลองและ - ปจั จยั ภายนอกที่มีผลตอ่ การเจริญเตบิ โต เชน่

อธิบายเกย่ี วกับปัจจยั ภายนอกที่มีผล แสง น้ำ ธาตอุาหาร คารบ์อนไดออกไซด์ และ

ตอ่ การเจริญเติบโตของพืช ออกซิจน ปัจจัยภายใน เช่น ฮอรโ์มนพืช ซง่ึ พืชมี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 521

ชั้น ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

11. สืบค้นข้อมูลเก่ียวกบั สารควบคมุ การสงั เคราะหข์ นึ้ เพ่อื ควบคุมการเจรญิ เตบิ โต

ม.4 การเจริญเตบิ โตของพืชทมี่ นษุ ย์ ในชว่ งชวี ิตต่าง ๆ

สังเคราะห์ขน้ึ และยกตวั อย่างการนำ - มนษุ ย์มกี ารสงั เคราะหส์ ารควบคุมการ

มาประยุกต์ใชท้ างด้าน การเกษตรของ เจรญิ เติบโต ของพชื โดยเลียนแบบฮอรโม์ นพชื

พชื เพอ่ื นำมาใช้ ควบคุมการเจริญเติบโตและเพิม่

ผลผลติ ของพชื

12. สังเกต และอธิบายการตอบสนอง - การตอบสนองต่อสิ่งเรา้ ของพชื แบ่งตามความ

ของพืชต่อสง่ิ เร้าในรปู แบบตา่ ง ๆ ท่มี ี สัมพนั ธ์กับทิศทางของส่ิงเร้าได้ ไดแ้ ก่ แบบท่มี ี

ผลตอ่ การดำรงชีวติ ทิศทางสัมพนั ธก์ บั ทิศทางของสิ่งเร้า เชน่ ดอก

ทานตะวนั หนั เข้าหาแสง ปลายรากเจรญิ เข้าหา

แรงโน้มถ่วงของโลก และแบบท่ไี ม่มีทิศทาง

สมั พนั ธ์กับทิศทางของส่ิงเร้า เชน่ การหุบ และ

บานของดอก หรือการหบุ และกางของใบพชื บาง

ชนดิ

- การตอบสนองต่อสิง่ เร้าของพชื บางอยา่ งส่งผล

ตอ่ การเจริญเติบโต เช่น การเจริญในทศิ ทางเข้า

หา หรือตรงขา้ มกับแรงโนม้ ถ่วงของโลก การเจรญิ

ในทศิ ทางเข้าหาหรือตรงขา้ มกบั แสง และการ

ตอบสนองต่อการสัมผัสสิ่งเร้า

ม.5 - -

ม.6 - -

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 522

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม
สารพันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและ
ววิ ฒั นาการของส่ิงมีชีวติ รวมทั้งนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชัน้ ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ม.4 1. อธิบายความสมั พันธร์ ะหว่างยนี - ดเี อ็นเอ มีโครงสรา้ งประกอบด้วยนวิ คลีโอไทด์

การสงั เคราะห์ โปรตีนและลกั ษณะทาง มาเรียงต่อกัน โดยยีนเปน็ ชว่ งของสายดีเอ็นเอทม่ี ี

พันธกุ รรม ลำดับนิวคลโี อไทด์ท่ีกำหนดลักษณะของโปรตนี

ทีส่ งั เคราะห์ขน้ึ ซึ่งสง่ ผลใหเ้ กิดลักษณะทาง

พันธุกรรมตา่ งๆ

2. อธิบายหลักการถ่ายทอดลักษณะที่ - ลกั ษณะบางลกั ษณะมีโอกาสพบในเพศชายและ

ถูกควบคุม ด้วยยีนที่อยู่บนโครโมโซม เพศหญิงไมเ่ ทา่ กัน เชน่ ตาบอดสีและฮโี มฟีเลยี

เพศและมลั ติเปิลแอลลีล ซึ่งควบคุมโดยยนี บนโครโมโซมเพศบางลักษณะมี

การควบคุมโดยยนี แบบมลั ติเปลิ แอลลีล เช่นหมู่

เลอื ดระบบ ABO ซงึ่ การถ่ายทอดลักษณะทาง
พนั ธกุ รรมดังกลา่ วจดั เป็นส่วนขยายของพันธุ
ศาสตรเ์ มนเดล

3. อธิบายผลทเ่ี กดิ จากการเปลีย่ น - มวิ เทชนั ท่เี ปลี่ยนแปลงลำดบั นิวคลีโอไทด์ หรือ
แปลงลำดับ นิวคลโี อไทด์ในดีเอน็ เอต่อ เปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งหรือจำนวนโครโมโซม

การแสดงลกั ษณะของ สง่ิ มีชวี ิต อาจสง่ ผลทำใหล้ กั ษณะของสิ่งมีชวี ิตเปลย่ี นแปลง

4. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนำ ไปจากเดิม ซ่งึ อาจมผี ลดีหรือผลเสยี

มวิ เทชนั ไปใชป้ ระโยชน์ - มนษุ ยใ์ ช้หลกั การของการเกิดมวิ เทชนั ในการชกั

นำ ใหไ้ ดส้ ง่ิ มชี วี ิตที่มีลักษณะที่แตกตา่ งจากเดิม

โดยการใชร้ งั สีและสารเคมตี า่ ง ๆ

5. สืบคน้ ข้อมลู และอภิปรายผลของ - มนษุ ย์นำความรเู้ ทคโนโลยีทางดีเอน็ เอ มา

เทคโนโลยี ทางดีเอ็นเอท่ีมีต่อมนุษย์ ประยกุ ตใ์ ชท้ างด้านการแพทย์ และเภสชั กรรม

และสิ่งแวดลอ้ ม เช่น การสร้างสง่ิ มชี วี ติ ดดั แปรพันธกุ รรม เพ่ือผลิต

ยาและวคั ซีน ด้านการเกษตร เช่น พืชดดั แปร

พนั ธกุ รรมทต่ี ้านทานโรคหรอื แมลง สัตว์ดดั แปร
พนั ธุกรรมท่ีมีลกั ษณะตามทตี่ ้องการ และด้าน นิติ
วทิ ยาศาสตร์ เชน่ การตรวจลายพิมพด์ เี อ็นเอเพื่อ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 523

ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

หาความสัมพนั ธ์ทางสายเลือด หรอื เพ่ือหผกู้ ระทำ

ผิด

ม.4 - การใช้เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอในดา้ นตา่ งๆ ต้อง

คำนึงถงึ ความปลอดภยั ทางชีวภาพ ชีวจรยิ ธรรม

และผลกระทบทางด้านสงั คม

6. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบายและยกตวั อยา่ ง - ส่ิงมีชีวติ ทม่ี ีอยู่ใน่ ปจั จบุ ันมลี ักษณะทปี่ รากฏให้

ความหลากหลายของสง่ิ มีชวี ิต ซงึ่ เป็น เหน็ แตกต่างกันซึง่ เปน็ ผลมาจากความหลาก

ผลมาจากวิวฒั นาการ หลาย ของลักษณะทางพนั ธกุ รรม ซ่งึ เกดิ จากมิว

เทชนั รว่ มกบั การคดั เลอื กโดยธรรมชาติ

- ผลจากกระบวนการคัดเลอื กโดยธรรมชาติ ทำให้

สง่ิ มชี วี ติ ที่มีลกั ษณะเหมาะสมในการดำรงชีวติ

สามารถปรบั ตัวใหอ้ ย่รู อดได้ในส่ิงแวดล้อมนนั้ ๆ

- กระบวนการคดั เลือกโดยธรรมชาตเิ ป็นหลกั การ

ทีส่ ำคญั อย่างหนง่ึ ที่ทำให้เกดิ วิวัฒนาการของ

สงิ่ มีชวี ติ

ม.5 - -

ม.6 - -

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 524

สาระท่ี 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของ

สสารกับโครงสร้างและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนภุ าค หลกั และธรรมชาติ ของการเปล่ียนแปลงสถานะ

ของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ม.4 - -

ม.5 1.ระบวุ ่าสารเปน็ ธาตหุ รือสารประกอบ - สารเคมที กุ ชนิดสามารถระบุได้วา่ เป็นธาตุหรือ

และอยู่ใน รปู อะตอมโมเลกลุ หรือ สารประกอบและอย่ใู นรปู ของอะตอมโมเลกุลหรอื

ไอออนจากสูตรเคมี ไอออนได้ โดยพจิ ารณาจากสูตรเคมี

2. เปรียบเทียบความเหมือนและความ - แบบจำลองอะตอมใช้อธบิ ายตำแหน่งของ

แตกตา่ ง ของแบบจำลองอะตอมของ โปรตอน นิวตรอน และอเิ ล็กตรอนในอะตอม โดย

โบรก์ ับแบบจำลอง อะตอมแบบกลุ่ม โปรตอน และนวิ ตรอนอยู่รวมกันในนวิ เคลยี สสว่ น

หมอก อิเล็กตรอนเคลือ่ นทีร่ อบนวิ เคลียส ซึ่งในแบบ

จำลองอะตอม ของโบร์ อเิ ล็กตรอนเคลื่อนที่เปน็

วง โดยแต่ละวง มรี ะยะห่างจากนวิ เคลียสและมี

พลงั งานต่างกัน และอเิ ลก็ ตรอนวงนอกสดุ เรียกว่า

เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน

- แบบจำลองอะตอมแบบกลุ่มหมอก แสดงโอกาส

ทจี่ ะพบอิเลก็ ตรอนรอบนวิ เคลียสในลักษณะกลุม่

หมอก เน่ืองจากอิเล็กตรอนมีขนาดเล็กและ

เคล่อื นท่ีอย่างรวดเรว็ ตลอดเวลา จงึ ไมส่ ามารถ

ระบุตำแหน่งท่ีแนน่ อนได้

3. ระบจุ ำนวนโปรตอน นวิ ตรอน และ - อะตอมของธาตเุ ปน็ กลางทางไฟฟ้า มีจำนวน

อิเล็กตรอน ของอะตอม และไอออน โปรตอนเท่ากบั จำนวนอเิ ล็กตรอน การระบชุ นิด

ทเ่ี กดิ จากอะตอมเดียว ของธาตุพิจารณาจากจำนวนโปรตอน

- เม่อื อะตอมของธาตมุ ีการให้หรอื รบั อเิ ล็กตรอน

ทำให้ จำนวนโปรตอนและอเิ ล็กตรอนไมเ่ ท่ากนั

เกิดเปน็ ไอออน โดยไอออนที่มีจำนวนอเิ ลก็ ตรอ

นนอ้ ยกวา่ จำนวนโปรตอนเรียกว่า ไอออนบวก

สว่ นไอออนท่ีมีจำนวนอิเล็กตรอนมากกว่า

โปรตอนเรียกว่า ไอออนลบ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 525

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.5 4. เขยี นสญั ลกั ษณ์นวิ เคลียร์ของธาตุ - สญั ลักษณน์ ิวเคลยี ร์ ประกอบดว้ ยสญั ลกั ษณ์ธาตุ

และระบุการ เปน็ ไอโซโทป เลขอะตอมและเลขมวล โดยเลขอะตอมเปน็

ตวั เลขที่แสดงจำนวนโปรตอนในอะตอม เลขมวล

เปน็ ตัวเลขที่แสดงผลรวมของจำนวนโปรตอนกบั

นิวตรอนในอะตอม ธาตุชนิดเดยี วกันแต่มีเลขมวล

ต่างกนั เรียกวา่ ไอโซโทป

5. ระบหุ มู่และคาบของธาตุ และระบุ - ธาตุจดั เปน็ หมวดหม่ไู ด้อย่างเป็นระบบ โดย

วา่ ธาตเุ ปน็ โลหะ อโลหะ กงึ่ โลหะ อาศัย ตารางธาตุ ซึง่ ในปัจจุบนั จดั เรยี งตามเลข

กลุ่มธาตเุ รพรเี ซนเททีฟหรือกลมุ่ อะตอม และความคลา้ ยคลงึ ของสมบัติ แบ่ง

ธาตุแทรนซชิ นั จากตารางธาตุ ออกเป็นหมู่ ซง่ึ เป็นแถวในแนวตงั้ และคาบ ซงึ่

เปน็ แถวในแนวนอน ทำใหธ้ าตทุ ี่มีสมบตั เิ ป็นโลหะ

อโลหะและก่งึ โลหะอยู่เปน็ กลุ่มบรเิ วณใกล้ๆ กัน

และแบ่งธาตุออก เปน็ กลุม่ ธาตเุ รพรีเซนเททีฟและ

กลุ่มธาตแุ ทรนซิชัน

6. เปรยี บเทียบสมบตั กิ ารนำไฟฟ้า - ธาตุในกล่มุ โลหะ จะนำไฟฟ้าได้ดี และมีแนวโนม้
การใหแ้ ละรับ อเิ ล็กตรอนระหวา่ งธาตุ ให้อิเล็กตรอน สว่ นธาตุในกลุ่มอโลหะจะไม่นำ
ในกลุ่มโลหะกับอโลหะ ไฟฟ้า และมีแนวโน้มรบั อเิ ล็กตรอน โดยธาตุ
เรพรเซี นเททฟใี นหมู่ IA - IIA และธาตุแทรนซชิ ัน
7. สืบค้นข้อมลู และนำเสนอตัวอยา่ ง ทุกธาตุ จดั เปน็ ธาตุในกลุ่มโลหะ สว่ นธาตุเรพรี
ประโยชน์และ อนั ตรายที่เกิดจากธาตุ เซนเททีฟ ในหมู่ IIIA –VIIA มที งั้ ธาตุในกล่มุ โลหะ
เรพรีเซนเททีฟและ ธาตุแทรนซชิ นั และอโลหะ สว่ นธาตุเรพรีเซนเททฟี ในหมู่ VIIIA
จัดเปน็ ธาตุ อโลหะทง้ั หมด
8. ระบวุ า่ พันธะโคเวเลนต์เปน็ พันธะ - ธาตุเรพรีเซนเททีฟและธาตุแทรนซิชนั นำมาใช้
เด่ียว พันธะคู่ หรือพันธะสามและระบุ ประโยชนใ์ นชีวิตประจำวนั ได้หลากหลาย ซงึ่ ธาตุ
บางชนดิ มสี มบัติทเี่ ป็นอนั ตราย จึงตอ้ ง คำนึงถงึ
การปอ้ งกนั อนั ตรายเพื่อความปลอดภัย ในการใช้
ประโยชน์
- พันธะโคเวเลนต์ เป็นการยึดเหนี่ยวระหว่าง
อะตอมดว้ ยการใช้เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนร่วมกันเกดิ
เป็นโมเลกุล โดยการใช้เวเลนซ์อเิ ล็กตรอนร่วมกัน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 526

ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ม.5 จำนวนคอู่ เิ ลก็ ตรอน ระหวา่ งอะตอมคู่ ๑ คเู่ รียกว่า พันธะเดย่ี ว เขียนแทนด้วยเส้น

รว่ มพันธะ จากสูตรโครงสร้าง พันธะ ๑ เส้น ในโครงสร้างโมเลกุล ส่วนการใช้

เวเลนซอ์ เิ ล็กตรอนรว่ มกนั ๒ คู่ และ ๓ คู่

เรยี กว่า พันธะคู่ และพนั ธะสาม เขยี นแทนด้วย

เสน้ พันธะ ๒ เส้น และ ๓ เส้น ตามลำดบั

9. ระบุสภาพขัว้ ของสารทโี่ มเลกลุ - สารที่มีพันธะภายในโมเลกุลเป็นพันธะโคเวเลนต์
ประกอบดว้ ย ๒ อะตอม ท้ังหมดเรยี กวา่ สารโคเวเลนต์ โดยสารโคเวเลนต์
10. ระบสุ ารทเ่ี กิดพนั ธะไฮโดรเจนได้ ทปี่ ระกอบดว้ ย ๒ อะตอมของธาตุชนิดเดียวกนั
จากสูตร โครงสร้าง เป็นสารไม่มีขว้ั ส่วนสารโคเวเลนต์ ทปี่ ระกอบ
11. อธบิ ายความสัมพันธ์ระหว่างจุด ด้วย ๒ อะตอมของธาตุตา่ งชนดิ กนั เปน็ สารมขี วั้
เดอื ดของสาร โคเวเลนตก์ บั แรงดึงดูด สำหรบั สารโคเวเลนตท์ ่ปี ระกอบดว้ ยอะตอม
ระหวา่ งโมเลกลุ ตาม สภาพข้วั หรอื การ มากกว่า ๒ อะตอม อาจเปน็ สารมีข้ัวหรอื ไมม่ ีขวั้
เกดิ พันธะไฮโดรเจน ขึ้นอย่กู ับรปู ร่างของโมเลกุล ซ่งึ สภาพข้ัวของสาร
โคเวเลนต์สง่ ผลตอ่ แรงดึงดดู ระหว่างโมเลกุล ที่ทำ
12. เขยี นสูตรเคมีของไอออนและ ให้จดุ หลอมเหลวและจุดเดือดของสารโคเวเลนต์
สารประกอบไอออนิก แตกต่างกัน นอกจากนส้ี ารบางชนดิ มจี ดุ เดอื ดสูง
กว่าปกติเนอื่ งจากมแี รงดงึ ดดู ระหวา่ งโมเลกุลสูง
ท่ีเรียกวา่ พนั ธะไฮโดรเจน ซ่งึ สารเหล่านีม้ ีพนั ธะ
N–H O–H หรือ F–H ภายใน
โครงสร้างโมเลกลุ
- สารประกอบไอออนกิ ส่วนใหญ่เกิดจากการ
รวมตัวกนั ของไอออนบวกของธาตุโลหะและ
ไอออนลบของ ธาตุอโลหะในบางกรณีไอออน
อาจประกอบด้วย กลมุ่ ของอะตอม โดยเมอ่ื ไอออน
รวมตวั กนั เกิด เปน็ สารประกอบไอออนกิ จะมีสัด
ส่วนการรวมตัว เพือ่ ทำใหป้ ระจขุ องสารประกอบ
เปน็ กลางทาง ไฟฟ้า โดยไอออนบวกและไอออน
ลบจะจัดเรียงตวั สลบั ต่อเน่ืองกันไปใน ๓ มติ ิ
เกิดเปน็ ผลึกของสาร ซ่ึงสูตรเคมีของสารประกอบ
ไอออนิกประกอบด้วย สญั ลักษณธ์ าตทุ ีเ่ ป็น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 527

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.5 ไอออนบวกตามด้วย สัญลกั ษณธ์ าตทุ ่ีเป็นไอออน

ลบ โดยมีตัวเลขท่ี แสดงจำนวนไอออนแต่ละชนดิ

เป็นอัตราสว่ นอยา่ งต่ำ

13. ระบุวา่ สารเกิดการละลายแบบ - สารจะละลายน้ำไดเ้ ม่ือองค์ประกอบของสาร

แตกตัวหรือไมแ่ ตกตวั พร้อมให้เหตผุ ล สามารถเกดิ แรงดึงดดู กบั โมเลกลุ ของน้ำได้ โดย

และระบุวา่ สารละลายท่ีไดเ้ ป็นสาร การละลายของสารในน้ำเกดิ ได้ ๒ ลกั ษณะ คือ

ละลายอเิ ล็กโทรไลต์ หรือนอนอเิ ลก็ การละลายแบบแตกตัว และการละลายแบบ ไม่

โทรไลต์ แตกตวั การละลายแบบแตกตวั เกดิ ขึ้นกบั สาร

ประกอบไอออนิก และสารโคเวเลนต์บางชนดิ ท่มี ี

สมบัตเิ ป็นกรดหรือเบส โดยเม่อื สารเกิดการ

ละลายแบบแตกตัวจะไดไ้ อออนทสี่ ามารถ

เคล่อื นท่ีได้ ทำให้ไดส้ ารละลายท่ีนำไฟฟ้าซง่ึ

เรียกว่า สารละลายอิเลก็ โทรไลต์ การละลาย

แบบไม่แตกตัวเกิดขน้ึ กบั สารโคเวเลนตท์ ีม่ ขี ัว้ สงู

สามารถดงึ ดูดกับโมเลกุลของน้ำได้ดี โดยเม่ือเกิด

การละลายโมเลกลุ ของสารจะไม่แตกตวั เป็น

ไอออน และสารละลายที่ได้จะไม่นำไฟฟ้า ซึ่ง

เรียกวา่ สารละลายนอนอิเลก็ โทรไลต์

14. ระบสุ ารประกอบอนิ ทรีย์ประเภท - สารประกอบอินทรยี ์เป็นสารประกอบของ

ไฮโดรคารบ์อน ว่าอิ่มตวั หรอื ไม่อ่ิมตัว คารบ์ อนส่วนใหญ่พบในสงิ่ มีชีวิต มีโครงสร้าง

จากสูตรโครงสร้าง หลากหลายและแบง่ ได้หลายประเภท เน่อื งจาก

ธาตุคาร์บอน สามารถเกดิ พันธะกบั คารบ์ อน

ด้วยกนั เองและธาตุอน่ื ๆ นอกจากนพี้ ันธะ

ระหวา่ ง คารบ์ อนยังมหี ลายรูปแบบ ได้แก่ พนั ธะ

เดี่ยว พันธะคู่ พนั ธะสาม

- สารประกอบอินทรยี ท์ ่ีมเี ฉพาะธาตคุ ารบ์ อนและ

ไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบ เรยี กว่าสารประกอบ

ไฮโดรคารบ์ อน โดยสารประกอบไฮโดรคาร์บอน

อมิ่ ตวั มีพนั ธะระหว่างคารบ์ อนเป็นพันธะเดีย่ ว

ทกุ พันธะในโครงสร้าง สว่ นสารประกอบ ไฮโดร

คารบ์ อนไม่อม่ิ ตัวมีพันธะระหว่างคารบ์ อน เป็น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 528

ช้นั ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.5 พันธะคหู่ รือพันธะสามอยา่ งน้อย ๑ พนั ธะ ใน

โครงสรา้ ง

15. สืบคน้ ข้อมลู และเปรยี บเทียบ - สารท่ีพบในชีวิตประจำวนั มีทั้งโมเลกุลขนาดเล็ก

สมบตั ทิ างกายภาพระหว่างพอลิมอร์ และขนาดใหญ่ พอลเิ มอร์เป็นสารที่มโี มเลกุล

และมอนอเมอร์ ของพอลเิ มอร์ชนิดน้ัน ขนาดใหญท่ ่เี กิดจากมอนอเมอร์หลายโมเลกลุ

เชือ่ มต่อกนั ดว้ ยพนั ธะเคมี ทำให้สมบตั ทิ างกาย

ภาพของพอลเิ มอร์แตกต่างจากมอนอเมอร์

ทเ่ี ป็นสารตั้งตน้ เช่น สถานะ จดุ หลอมเหลวการ

ละลาย

16. ระบสุ มบัตคิ วามเปน็ กรด-เบส - สารประกอบอินทรยี ์ท่ีมีหมู่ –COOH สามารถ

จากโครงสร้างของสารประกอบอินทรยี ์ แสดงสมบตัคิวามเปน็กรด สว่นสารประกอบ

อนิ ทรีย์ ท่มี ีหมู่ -NH2 สามารถแสดงสมบตั ิความ

เป็นเบส

17. อธิบายสมบตั กิ ารละลายในตวั ทำ - การละลายของสารพิจารณาได้จากความมีขวั้

ละลายชนดิ ต่าง ๆของสาร ของ ตวั ละลายและตวั ทำละลาย โดยสารสามารถ

ละลายได้ในตัวทำละลายที่มขี ั้วใกลเ้ คยี งกนั โดย

สารมีข้ัวละลายในตัวทำละลายท่มี ีขว้ั ส่วนสารไม่

มีข้ัว ละลายในตวั ทำละลายที่ไมม่ ีขวั้ และสารมขี ั้ว

ไม่ละลายในตวั ทำละลายท่ีไม่มขี วั้

18. วเิ คราะหแ์ ละอธิบายความสมั พนั ธ์ - โครงสรา้ งของพอลเิ มอร์อาจเป็นแบบเสน้ แบบ

ระหว่าง โครงสร้างกับสมบัตเิ ทอรม์ อ ก่งิ หรือแบบร่างแห โดยพอลิเมอร์แบบเส้นและ

พลาสตกิ และ เทอร์มอเซตของพอลิ แบบกิง่ มีสมบัตเิ ทอรม์ อพลาสติก ส่วนพอลเิ มอร์

เมอร์ และการนำพอลิเมอร์ไปใช้ แบบรา่ งแห มสี มบตั ิเทอร์มอเซต จงึ มกี ารใช้

ประโยชน์ ประโยชน์ได้แตกตา่ งกัน

19. สืบค้นขอ้ มูลและนำเสนอผล - การใชผ้ ลิตภัณฑพ์ อลิเมอร์ในปริมาณมากก่อให้

กระทบของการใช้ ผลิตภณั ฑ์พอลเิ มอร์ เกิดปญั หาท่สี ่งผลกระทบต่อสิ่งมีชวี ิตและ

ทมี่ ีตอ่ สง่ิ มชี ีวติ และ สิง่ แวดล้อม พรอ้ ม ส่ิงแวดล้อมดังน้นั จงึ ควรตระหนักถงึ การลด

แนวทางป้องกนั หรอื แก้ไข ปริมาณการใชก้ ารใช้ซ้ำ และการนำกลบั มาใช้ใหม่

20. ระบสุ ตู รเคมีของสารต้ังต้นผลติ - ปฏิกริ ิยาเคมที ำใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงของสาร

ภัณฑ์ และ แปลความหมายของสัญ โดยปฏกิ ิรยิ าเคมีอาจให้พลังงานความรอ้ นพลัง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 529

ช้ัน ตัวช้ีวัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.5 ลักษณ์ในสมการเคมี ของปฏิกิริยาเคมี งานแสง หรือพลังงานไฟฟ้า ทีส่ ามารถนำไปใช้

ประโยชน์ในด้านตา่ งๆ ได้

- ปฏิกริ ิยาเคมแี สดงไดด้ ้วยสมการเคมี ซึ่งมสี ตู ร

เคมี ของสารตั้งตน้ อยูท่ างดา้ นซา้ ยของลูกศร และ

สูตรเคมขี องผลิตภณั ฑ์อย่ทู างดา้นขวา โดยจำนวน

อะตอมรวมของแตล่ะธาตุทางดา้ นซา้ ยและขวา

เทา่ กนั นอกจากนส้ี มการเคมียังอาจแสดงปจั จยั

อื่น เช่น สถานะ พลังงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง ตัวเร่ง

ปฏิกริ ิยเคมที ี่ใช้

21. ทดลองและอธิบายผลของความ - อตั ราการเกิดปฏิกิรยิ าเคมขี ึ้นอย่กู บั ความเข้มข้น

เขม้ ขน้ พน้ื ทผ่ี วิ อณุ หภูมิและตวั เร่ง อณุ หภมู ิพนื้ ทีผ่ ิว หรอื ตวั เรง่ ปฏิกิรยิ า

ปฏกิ ริ ยิ า ที่มผี ลตอ่ อัตราการเกิด - ความร้กู ี่ยวกับปัจจัยท่ีมีผลต่ออตั ราการเกิด

ปฏกิ ริ ยิ าเคมี ปฏิกริ ยิ าเคมสี ามารถนำไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ

22. สืบคน้ ขอ้ มูลและอธิบายปัจจยั ท่มี ี ประจำวันและในอุตสาหกรรม

ผลตอ่ อัตรา การเกดิ ปฏิกิริยาเคมที ีใ่ ช้

ประโยชน์ในชวี ิต ประจำวันหรอื ใน

อุตสาหกรรม

23. อธบิ ายความหมายของปฏกิ ริ ยิ ารี - ปฏิกิริยาเคมีบางประเภทเกิดจากการถา่ ยโอน

ดอกซ์ อเิ ล็กตรอนของสารในปฏกิ ิริยาเคมี ซึง่ เรยี กว่า

ปฏิกริ ยิ ารีดอกซ์

24. อธบิ ายสมบตั ขิ องสารกัมมนั ตรังสี - สารทีส่ ามารถแผร่ ังสไี ด้เรยี กวา่ สารกัมมนั ตรงั สี

และคำนวณ คร่ึงชวี ติ และปริมาณของ ซ่งึ มนี ิวเคลยี สทสี่ ลายตวั อย่างต่อเน่ือง ระยะเวลา

สารกมั มนั ตรังสี ที่สารกมั มนั ตรังสีสลายตวั จนเหลอื ครง่ึ หนง่ึ

ของปริมาณเดิม เรยี กว่า ครง่ึ ชีวิต โดยสาร

กมั มันตรงั สีแตล่ ะชนิดมีค่าครึ่งชีวิตแตกต่างกนั

25. สบื ค้นข้อมลู และนำเสนอตัวอยา่ ง - รังสที ีแ่ ผ่จากสารกมั มันตรังสมี หี ลายชนิด เช่น

ประโยชน์ ของสารกัมมนั ตรังสแี ละการ แอลฟา บีตา แกมมา ซ่ึงสามารถนำมาใช้

ป้องกันอันตราย ทเี่ กิดจากกัมมนั ตภาพ ประโยชน์ได้แตกต่างกัน การนำสารกมั มันตรงั สี

รังสี แตล่ ะชนดิ มาใชต้ ้องคำนึงถงึ ผลกระทบต่อ

สิ่งมชี ีวติ และสิ่งแวดล้อม รวมทงั้ มีการจัดการ

อย่างเหมาะสม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 530

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.6 - -

สาระที่ 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะการ
เคล่อื นทแ่ี บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้ังนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ชน้ั ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ม.4 - -

ม.5 1. วเิ คราะห์และแปลความหมายขอ้ มลู - การเคลอื่ นที่ของวตั ถทุ ่มี ีการเปลยี่ นความเรว็

ความเรว็ กับเวลาของการเคลื่อนทีข่ อง เป็นการเคล่ือนท่ดี ้วยความเร่ง ความเร่งเปน็

วัตถุ เพื่ออธบิ าย ความเร่งของวตั ถุ อตั ราส่วน ของความเรว็ ท่ีเปลี่ยนไปต่อเวลาและ
เป็นปรมิ าณเวกเตอร์ ในกรณีทว่ี ตั ถุท่ีอย่นู ิ่ง

หรอื เคล่อื นท่ีในแนวตรงดว้ ยความเร็วคงตวั วตั ถุ

นน้ั มี ความเร่งเปน็ ศนู ย์
- วตั ถมีความเรว็ เพ่มิ ขนี้ ถา้ ความเรว็ และความเรง่
มที ิศเดียวกันและมีความเร็วลดลง ถา้ ความเร็ว

และ ความเรง่ มที ิศตรงกันข้าม

2. สังเกตและอธิบายการหาแรงลัพธ์ที่ - เมื่อมีแรงหลายแรงกระทำต่อวัตถุหนึ่ง โดยแรง

เกิดจากแรงหลายแรงท่ีอยู่ในระนาบ ทุกแรงอยู่ในระนาบเดียวกันสามารถหาแรงลัพธ์ที่
เดียวกันท่ีกระทำต่อ วัตถุโดยการเขียน กระตอ่ วตั ถุน้นั ได้โดยรวมแบบเวกเตอร์
แผนภาพการรวมแบบเวกเตอร์

3. สังเกต วเิ คราะห์ และอธิบาย -เม่ือแรงลัพธม์ คี ่าไม่เท่ากบั ศนู ย์กระทำตอ่ วัตถุ จะทำ

ความสัมพนั ธ์ ระหว่างความเร่งของ ให้วัตถุเคลื่อนทดี่ ้วยความเร่งมีทิศทางเดยี วกบั แรงลพั ธ์

วตั ถุกบั แรงลัพธ์ ท่กี ระทำต่อวตั ถแุ ละ โดยขนาดของความเร่งข้นึ กบั ขนาดของแรงลัพธก์ ระทำต่อ

มวลของวัตถุ วตั ถุและมวลของวตั ถุ

4. สังเกตและอธิบายแรงกิริยาและแรง - แรงกระทำระหว่างวัตถุคู่หนึ่ง ๆ เป็นแรงกิริยา และแรง

ปฏิกิรยิ าระหว่างวัตถุค่หู นึ่งๆ ปฏิกิริยา แรงทั้งสองมีขนาดเท่ากันเกิดขึ้นพร้อมกัน

กระทำกบั วตั ถคุ นละก้อนแต่มีทิศทางตรงขา้ ม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 531

ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

5. สงั เกตและอธบิ ายผลของความเรง่ ที่มีต่อการ -วัตถุที่เคลื่อนท่ีด้วยความเร่งคงตัวหรอื ความเร่งไมค่ งตัว

เคล่ือนท่ีแบบต่าง ๆ ของวตั ถุ ได้แก่ การ อาจเปน็ การเคลอื่ นท่ีแนวตรง

ม.5 เคลื่อนที่แนวตรง การเคลอ่ื นที่แบบโพรเจกไทล์ การเคล่อื นทีแ่ นวโคง้ หรอื การเคลอื่ นทีแ่ บบสัน่ การ

การเคลื่อนท่ีแบบวงกลม และการเคลื่อนท่ีแบบ เคล่ือนทแ่ี นวตรงด้วยความเร่งคงตวั นำไปใช้ อธบิ าย

ส่ัน การตกแบบเสรี การเคลอ่ื นท่ีแนวโค้งด้วยความเร่งคงตัว

นำไปใชอ้ ธิบายการเคล่ือนทีแ่ บบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนท่ี

แนวโคง้ ด้วยความเรง่ มี ทศิ ทางตั้งฉากกบั ความเรว็

ตลอดเวลานำไปใช้ อธบิ ายการเคลอื่ นทีแ่ บบวงกลมการ

เคลื่อนที่ กลับไปกลับมาด้วยความเรง่ มที ศิ ทางเขา้ สจู่ ุดท่ี

แรงลพั ธเ์ ปน็ ศนู ย์ เรยี กจดุ นี้ว่าตำแหน่งสมดลุ ซง่ึ

นำไปใช้อธบิ ายการเคล่ือนทแี่ บบสนั่

6. สืบคน้ ข้อมูลและอธบิ ายแรงโน้มถ่วงที่ - ในบรเิ วณทม่ี สี นามโนม้ ถว่ ง เมอื่ มวี ัตถทุ ่มี ีมวล จะมี

เกย่ี วกับการเคล่ือนท่ขี องวตั ถตุ า่ ง ๆ รอบโลก แรงโน้มถว่ งซงึ่ เป็นแรงดึงดดู ของโลกกระทำตอ่ วตั ถุ แรงน้ี

นำไปใช้อธบิ ายการเคลอื่ นท่ีของวตั ถุตา่ งๆเช่นดาวเทยี ม

และดวงจนั ทร์รอบโลก

7. สังเกตและอธิบายการเกิดสนามแม่เหล็ก - กระแสไฟฟ้าทำให้เกิดสนามแม่เหล็กในบริเวณรอบแนว

เนื่องจากกระแสไฟฟา้ การเคลื่อนทขี่ องกระแสไฟฟ้า หาทศิทาง ของสนามแม่

แหล็กเนื่องจากกระแสไฟฟา้ ได้จากกฎมือขวา

8. สังเกตและอธบิ ายแรงแมเ่ หล็กทก่ี ระทำตอ่ - ในบริเวณท่ีมสี นามแม่เหล็กเมื่อมีอนุภาคที่มีประจุ

อนภุาค ที่ที่มีประจุไฟฟ้าท่ีเคล่ือนที่ในสนาม ไฟฟ้าเคลื่อนที่โดยไม่อยู่ในแนวเดียวกับ สนามแม่เหล็ก

แม่เหล็ก และแรงแม่เหลก็ ทก่ี ระทำตอ่ ลวดตัวนำ หรือมีกระแสไฟฟ้าผ่านลวดตัวนำโดยกระแสไฟฟ้าไม่อยู่

ทมี่ ีกระแสไฟฟา้ ผา่ นในสนามแมเ่ หลก็ รวมทั้ง ในแนวเดียวกับสนามแมเ่ หล็ก จะมีแรงแม่เหล็กกระทำซึ่ง

อธบิ ายหลกั การทำงานของมอเตอร์ เปน็ พนื้ ฐานในการสรา้ งมอเตอร์

9. สงั เกตและอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟ รวมทง้ั - เมอ่ื มสี นามแมเ่ หล็กเปลย่ี นแปลงตัดขดลวดตัวนำ

ยกตวั อย่างการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ทำให้เกิดอเี อม็ เอฟซึ่งเป็นพ้ืนฐานในการสรา้ ง

เครอื่ งกำเนิดไฟฟา้

• สืบคน้ ขอ้ มูลและอธิบายแรงเข้มและ - ภายในนวิ เคลียสมแี รงเข้มทเ่ี ปน็ แรงยึดเหนยี่ ว
แรงอ่อน ของอนุภาคในนวิ เคลยี สและเปน็ แรงหลักท่ีใช้อธิบาย
เสถยี รภาพของนวิ เคลยี สนอกจากน้ียงั มี แรงออ่ น ซ่ึงเปน็

แรงทใี่ ชอ้ ธิบายการสลายให้ อนภุ าคบีตาของธาตุ

กัมมนั ตรงั สี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 532

ชัน้ ตัวช้วี ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
ม.6 - -

สาระที่ 2 วิทยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวนั ธรรมชาติ ของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี
เกยี่ วข้องกับเสียง แสง และคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมท้ังนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ช้นั ตวั ชว้ี ัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

ม.4 - -

ม.5 1. สบื คน้ ขอ้ มูลและอธิบายพลงั งาน - พลงั งานท่ปี ลดปล่อยออกมาจากฟชิ ชนั หรอื ฟิว
นิวเคลียร์ ฟชิ ชันและฟิวชันและความ ชนั เรยี กวา่ พลังงานนวิ เคลยี ร์ โดยฟิชชนั เปน็
สัมพันธร์ ะหวา่ งมวล กบั พลังงานท่ปี ลด ปฏิกิริยาทน่ี ิวเคลยี สทีม่ ีมวลมาก แตกออกเป็น

ปล่อยออกมาจากฟชิ ชนั และฟิวชัน นวิ เคลียสที่มี มวลน้อยกวา่ ส่วนฟวิ ชันเป็น
ปฏิกริ ยิ าทนี่ วิ เคลียส ที่มีมวลนอ้ ยรวมตัวกนั เกิด
เป็นนวิ เคลียสที่มมี วลมากขึน้ พลงั งานนิวเคลียรท์ ี่

ปลดปล่อยออกมาจาก ฟิชชันและฟวิ ชัน มีคา่ เป็น
ไปตามความสัมพันธ์ ระหว่างมวลกบั พลงั งาน

2. สบื คน้ ขอ้ มูล และอธบิ ายการเปลี่ยน - การนำพลังงานทดแทนมาใชเ้ ป็นการแก้ปัญหา
พลงั งานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟ้า หรือตอบสนองความต้องการด้านพลงั งาน เช่น การ
รวมทัง้ สบื ค้นและ อภิปรายเก่ียวกับ เปลีย่ นพลังงานนวิ เคลยี รเ์ ป็นพลงั งานไฟฟา้ ในโรง

เทคโนโลยีที่นำมาแกป้ ัญหา หรอื ไฟฟา้ นิวเคลยี ร์ และการเปลีย่ นพลังงาน แสงอาทติ ย์

ตอบสนองความต้องการทางด้าน เป็นพลงั งานไฟฟา้ โดยเซลล์สุริยะ
พลังงาน โดยเน้นด้านประสิทธิภาพ - เทคโนโลยีตา่ ง ๆทนี่ ำมาแกป้ ัญหาหรือตอบสนอง

และความคมุ้ ค่าด้านค่าใชจ้ ่าย ความต้องการทางด้านพลังงานเป็นการนำความรู้

ทกั ษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตรม์ าสร้าง
อุปกรณห์ รอื ผลติ ภัณฑ์ตา่ ง ๆ ทีช่ ว่ ยให้การใช้
พลงั งานมปี ระสทิ ธิภาพยิ่งขน้ึ

3. สงั เกต และอธิบายการสะท้อน การ - เม่ือคล่นื เคล่ือนท่ีไปพบสิง่ กีดขวาง จะเกิด
หักเห การเลี้ยวเบน และการรวมคล่ืน การสะท้อน เม่ือคล่นื เคล่ือนที่ผ่านรอยตอ่ ระหวา่ ง

ตัวกลางทตี่ า่ งกนั จะเกดิ การหักเห เมอ่ื คลืน่
เคลื่อนท่ีไปพบขอบสิ่งกีดขวางจะเกิดการเล้ียวเบน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 533

ชั้น ตวั ช้วี ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เม่ือคลืน่ สองขบวนมาพบกันจะเกิดการรวมคลืน่

เกดิ รูปร่างของคล่นื รวม หลังจากคล่นื ทัง้ สอง

เคลื่อนทผ่ี ่านพ้นกันแล้วจะแยกกัน โดยแต่ละคล่ืน

ม.5 4. สงั เกตทและอธิบายความถี่ ยังคงมีรปู รา่ งและทิศทางเดมิ

ธรรมชาติ การส่ันพ้อง และผลทเี่ กดิ ขน้ึ - เมอ่ื กระตุ้นให้วัตถุส่นั แล้วหยุดกระตุน้ วตั ถจุ ะ

จากการสนั่ พ้อง สั่นด้วยความถ่ีทีเ่ รียกวา่ ความถีธ่ รรมชาติ ถา้ มี

แรง กระตุน้ วัตถุท่กี ำลงั ส่นั ด้วยความถีข่ องการ

ออกแรงตรงกับความถธ่ี รรมชาตขิ องวัตถนุ ้นั

จะทำใหว้ ัตถุสน่ั ด้วยแอมพลจิ ูดมากข้นึ เรยี กว่า

การส่นั พ้อง เชน่ การสั่นพ้องของอาคารสูง การ

ส่ันพ้องของสะพาน การส่ันพ้องของเสียง

ในเครื่องดนตรีประเภทเปา่

5. สงั เกตและอธิบายการสะท้อน การหัก - เสยี งมกี ารสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบนและ

เห การเลีย้ วเบน และการรวมคลื่นของ การรวมคล่ืนเชน่ เดียวกบั คลื่นอ่นื ๆ

คล่นื เสียง

6. สืบคน้ ข้อมลู และอธบิ าย - ความถี่ของคลื่นเสียงเป็นปริมาณที่ใช้บอกเสียง

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ความเข้มเสยี ง สูง เสียงต่ำ โดยความถี่ที่คนได้ยินมีค่าอยู่ระหว่าง

กบั ระดับเสียงและผลของความถ่ี กบั ๒๐-๒๐,๐๐๐ เฮิรตซ์ ระดับเสียงเป็นปริมาณ

ระดบั เสยี งท่มี ีต่อการไดย้ ินเสีย ที่ใช้ บอกความดังของเสียงซึ่งขึ้นกับความเข้ม

เสียง โดยความเข้มเสียงเป็นพลังงานเสียงที่ตกตั้ง

ฉาก บนพน้ื ทห่ี นง่ึ หน่วยในหน่งึ หน่วยเวลา เสียง

ทมี่ ี ความดังมากเกนิ ไปเปน็ อนั ตรายตอ่ หู

7 สังเกตและอธิบายการเกิดเสียง - เมื่อเสียงจากแหล่งกำเนิดเดินทางไปกระทบ

สะท้อนกลบั บตี ดอปเพลอร์ และการ วัตถุ แลว้ สะทอ้ นกลับมายังผู้ฟงั ถ้าผฟู้ งั ไดย้ ินเสียง

สนั่ พ้องของเสยี ง . ทอี่ อกจากแหล่งกำเนดิ และเสียงทส่ี ะท้อนกลับมา

แยกจากกนั เสียงทไี่ ดย้ ินนีเ้ ปน็ เสียงสะทอ้ นกลบั

- เมื่อคลื่นเสียงสองขบวนที่มีความถี่ใกล้เคียงกัน

มารวมกันจะเกดิ บีต

- เม่ือแหล่งกำเนิดเสียงเคล่ือนที่ ผ้ฟู ังเคล่ือนที่

หรอื ทงั้ แหลง่ กำเนดิ และผฟู้ งั เคลื่อนที่ ผู้ฟังจะได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 534

ชัน้ ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ยนิ เสียงท่ีมคี วามถ่เี ปลี่ยนไป เรยี กวา่

ปรากฏการณ์ ดอปเพลอร์

- ถ้าอากาศในท่อถูกกระตุ้นด้วยคลื่นเสียงทมี่ ี

ม.5 ความถ่ี เทา่ กบั ความถีธ่ รรมชาตขิ องอากาศในท่อ

นนั้ ทจะเกิดการสั่นพอ้ งของเสยี ง

8. สืบค้นข้อมูล และยกตวั อยา่ งการนำ - ความรู้เกยี่ วกบั เสียงนำไปใช้ประโยชน์ในด้าน

ความรู้เก่ียวกับเสยี งไปใช้ประโยชนใ์ น ต่าง ๆ เช่น คลื่นเหนือเสียงหรืออลั ตราซาวนด์ใช้

ชีวิตประจำวนั ในทางการแพทย์ บตี ของเสยี งในการปรบั เทียบ

เสียงของเคร่อื งดนตรี การสนั่ พ้องของเสยี งใช้ใน

การออกแบบเครื่องดนตรแี ละอธบิ ายการเปล่ง

เสยี งของมนุษย์

9. สงั เกต และอธบิ ายการมองเหน็ สี - เมื่อแสงตกกระทบวตั ถุ วัตถุจะดูดกลืนแสงสีบางสี โดย

ของวตั ถุ และความผดิ ปกตใิ นการ ขนึ้ กับสารสบี นผวิ วัตถแุ ละสะทอ้ นแสงสี ทเี่ หลือออกมา ทำ

มองเหน็ สี ให้มองเหน็ วตั ถุเป็นสตี า่ ง ๆ ข้นึ กับแสงสีท่ีสะท้อนออกมา

ความผดิ ปกติ ในการมองเหน็ สหี รอื การบอดสเี กดิ จากความ

บกพร่องของเซลลร์ ูปกรวยบนจอตา

10. สังเกต และอธบิ ายการทำงานของ - แผ่นกรองแสงสียอมให้แสงสีบางสีผา่ นออกไปได้

แผ่นกรอง แสงสี การผสมแสงสี การ และกน้ั บางแสงสี

ผสมสารสี และ การนำไปใช้ประโยชน์ - การผสมแสงสีทำให้ได้แสงสีท่ีหลากหลายเปลี่ยน

ในชีวิตประจำวัน ไปจากเดิม ถ้านำแสงสีปฐมภมู ิในสัดส่วนท่ีเหมาะสม

มาผสมกันจะได้แสงขาว

- การผสมสารสีทำให้ไดส้ ารสที ี่หลากหลายเปลี่ยนไป

จากเดิม ถา้ นำสารสปี ฐมภมู ิในปริมาณ ทเ่ี ท่ากันมา

ผสมกันจะไดส้ ารสีผสมเป็นสดี ำ

- การผสมแสงสีและการผสมสารสีสามารถ

นำไปใช้ ประโยชนใ์ นดา้ นต่าง ๆ เช่น ดา้ นศิลปะ

ด้านการแสดง

11.สืบค้นขอ้ มูลและอธิบายคลื่นแม่ - คลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็ก

เหลก็ ไฟฟา้ ส่วนประกอบคลนื่ แม่ และสนามไฟฟ้าที่เปล่ียนแปลงตลอดเวลา โดยสนาม

เหลก็ ไฟฟา้ และหลัก การทำงานของ ท้งั สองมีทิศทางต้ังฉากกัน และตั้งฉากกบั ทิศทาง

การเคล่อื นท่ีของคลืน่

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 535

ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

อปุ กรณ์บางชนดิ ที่อาศยั คล่นื แมเ่ หล็ก - อุปกรณบ์ างชนิดทำงานโดยอาศัยคลื่นแมเ่ หล็ก

ไฟฟา้ ไฟฟา้ เช่น เคร่ืองควบคุมระยะไกล เคร่ืองถ่ายภาพ

เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ และเคร่ืองถ่ายภาพ การสั่น

ม.5 พ้องแม่เหล็ก

12. สบื คน้ ข้อมลู และอธบิ ายการ - ในการส่ือสารโดยอาศัยคลืน่ แม่เหล็กไฟฟา้ เพื่อ

สอื่ สาร โดยอาศยั คลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า สง่ ผ่านสารสนเทศจากที่หนงึ่ ไปอีกที่หนึ่ง สารสนเทศ

ในการส่งผ่านสารสนเทศ และเปรียบ จะถูกแปลงให้อยู่ในรูปสญั ญาณ สำหรับส่งไปยัง

เทียบการสื่อสารด้วยสัญญาณ ปลายทางซึ่งจะมีการแปลง สัญญาณกลับมาเป็น

แอนะล็อกกบั สัญญาณดิจิทัล สารสนเทศทเ่ี หมือนเดิม

- สญั ญาณทใี่ ช้ในการสื่อสารมีสองชนิด คือ

แอนะล็อกและดจิ ิทัล การส่งผ่านสารสนเทศ ดว้ ย

สญั ญาณดจิ ิทัลสามารถส่งผ่านได้โดยมีความผิด

พลาดน้อยกว่าสัญญาณแอนะล็อก

ม.6 - -

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอกภพ กาแลก็ ซี
ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการ
ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

ชน้ั ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

ม.4 - -

ม.5 - -

ม.6 1. อธิบายการกำเนิดและการเปลี่ยน - ทฤษฎกี ำเนิดเอกภพท่ียอมรับในปจั จบุ นั คือ

แปลงพลงั งานสสาร ขนาด อุณหภมู ิ ทฤษฎบี ิกแบงระบวุ า่ เอกภพเร่ิมตน้ จากบกิ แบง

ของเอกภพหลังเกิดบิกแบงในชว่ งเวลา ทเี่ อกภพมขี นาดเล็กมาก และมีอณุ หภูมสิ งู มาก

ต่างๆ ตามววิ ัฒนาการของเอกภพ ซงึ่ เปน็ จดุ เริม่ ต้นของเวลาและวิวฒั นาการของ

เอกภพ โดยหลงั เกดิ บิกแบง เอกภพเกิดการขยาย

ตัวอย่างรวดเรว็ มีอณุ หภูมลดลง มสี สารคงอยู่

ในรูปอนุภาคและปฏิยานุภาคหลายชนดิ และมี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 536

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง

ววิ ัฒนาการตอ่ เนอ่ื งจนถงึ ปจั จุบัน ซง่ึ มีเนบวิ ลา

กาแล็กซีดาวฤกษ์และระบบสุรยิ ะเป็นสมาชกิ

บางส่วนของเอกภพ

2. อธบิ ายหลักฐานทส่ี นบั สนุนทฤษฎี - หลกั ฐานสำคัญทีส่ นบั สนุนทฤษฎีบิกแบง คือ

บิกแบง จากความสัมพันธ์ระหว่าง การขยายตวัของเอกภพ ซ่งึ อธิบายด้วยกฎ

ความเร็วกับระยะทาง ของกาแล็กซี ฮบั เบิลโดยใช้ความสัมพนั ธ์ระหว่างความเร็วและ

รวมทั้งข้อมูลการค้นพบไมโครเวฟ พ้ืน ระยะทางของกาแล็กซีท่ีเคล่ือนท่หี ่างออกจากโลก

หลังจากอวกาศ และหลักฐานอีกประการ คือการค้นพบไมโครเวฟ

พื้นหลัง ทกี่ ระจายตวั อยา่ งสม่ำเสมอทุกทศิ ทาง

และสอดคล้องกบั อุณหภูมิเฉลีย่ ของอวกาศ มี

คา่ ประมาณ ๒.๗๓ เคลวนิ

3. อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบ - กาแล็กซี ประกอบดว้ย ดาวฤกษจ์ ำนวนหลาย

ของกาแลก็ ซี ทางชา้ งเผือกและระบุ แสนล้านดวง ซง่ึ อยกู่ ันเป็นระบบของดาวฤกษ์

ตำแหน่งของระบบสุรยิ ะ พร้อมอธบิ าย นอกจากน้ี ยงั ประกอบดว้ ยเทหฟ์ ้าอน่ื เชน่

เชอื่ มโยงกับการสังเกตเห็นทาง เนบวิ ลา และสสารระหว่างดาว โดยองค์ประกอบ

ช้างเผือก ของคนบนโลก ต่าง ๆ ภายในของกาแล็กซอี ยรู่ วมกันด้วยแรง

โน้มถว่ ง

- กาแลก็ ซมี รี ูปรา่ งแตกตา่ งกัน โดยระบบสุรยิ ะ

อยใู่ นกาแล็กซีทางช้างเผือกซ่ึงเป็นกาแล็กซีกงั หนั

แบบมีคาน มโี ครงสร้าง คอื นิวเคลียส จาน และ

ฮาโล ดาวฤกษจ์ ำนวนมากอยู่ในบริเวณนวิ เคลียส

และจาน โดยมีระบบสุรยะอยู่ห่างจากจุด

ศูนยก์ ลาง ของกาแล็กซีทางช้างเผือก ประมาณ

๓๐,๐๐๐ ปีแสง ซึง่ ทางช้างเผือกทสี่ ังเกตเห็นใน

ทอ้ งฟ้าเป็น บรเิ วณหนึ่งของกาแลก็ ซที างชา้ งเผือก

ในมุมมอง ของคนบนโลก แถบฝา้ สขี าวจางๆ ของ

ทาง ช้างเผอื กคือดาวฤกษ์ ทอี่ ยู่อยา่ งหนาแน่นใน

กาแล็กซีทางชา้ งเผือก

4. อธิบายกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ - ดาวฤกษ์ส่วนใหญ่อยรู่ วมกันเป็นระบบดาวฤกษ์

โดยแสดงการเปลี่ยนแปลงความดัน คือ ดาวฤกษท์ ่ีอยู่รวมกันต้ังแต่ ๒ ดวงข้ึนไปดาว

ฤกษเ์ ป็นก้อนแกส๊ ร้อนขนาดใหญ่ เกดิ จาก การ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 537

ชน้ั ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

อณุ หภมู ิขนาด จากดาวฤกษ์ก่อนเกิด ยุบตวั ของกลุ่มสสารในเนบิวลาภายใตแ้ รงโน้มถ่วง

จนเป็นดาวฤกษ์ ทำให้บางส่วนของเนบิวลามีขนาดเล็กลง

ความดนั และอณุ หภมู เิ พ่ิมขึ้น เกิดเป็นดาวฤกษ์

กอ่ นเกิดเมือ่ อณุ หภูมทิ ่ีแก่นสูงขึ้นจนเกิดปฏิกิรยิ า

เทอร์มอนวิ เคลียร์ดาวฤกษ์ ก่อนเกดิ จะกลายเปน็

ดาวฤกษ์ดาวฤกษ์อยใู่ นสภาพสมดุลระหว่าง

แรงดนั กับแรงโนม้ ถ่วงซึง่ เรยี กวา่ สมดุลอุทกสถิต

จึงทำให้ดาวฤกษม์ ีเสถยี รภาพและปลดปลอ่ ย

พลงั งานเป็นเวลานานตลอดช่วงชีวิตของดาวฤกษ์

- ปฏกิ ริ ิยาเทอร์มอนิวเคลียร์ เป็นปฏกิ ิรยิ าหลัก

ของกระบวนการสร้างพลังงานของดาวฤกษ์ทีแ่ ก่น

ของดาวฤกษ์ ทำใหเ้ กิดการหลอมนิวเคลยี สของ

ไฮโดรเจนเปน็ นิวเคลียสฮีเลียมแล้วก่อใหเ้ กิด

พลงั งานอยา่ งต่อเนื่อง

5. ระบุปัจจัยทส่ี ง่ ผลตอ่ ความส่องสวา่ ง - ความส่องสว่างของดาวฤกษ์เป็นพลังงานจาก

ของดาวฤกษ์ และอธบิ ายความสัมพันธ์ ดาวฤกษ์ที่ปลดปล่อยออกมาในเวลา ๑ วินาทีต่อ

ระหวา่ งความ ส่องสว่างกับโชติมาตร หน่วยพื้นที่ ณ ตำแหน่งของผู้สังเกต แต่เนื่องจาก

ของดาวฤกษ์ ตาของมนุษย์ไม่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลง

ความส่องสว่างที่มีค่าน้อยๆ จึงกำหนดค่าการ

เปรียบเทียบความส่องสว่างของดาวฤกษ์ด้วยค่า

โชติมาตร ซึ่งเป็นการแสดงระดับความส่องสว่าง

ของดาวฤกษ์ ณ ตำแหน่งของผูส้ งั เกต

6. อธิบายความสัมพันธร์ ะหว่างสี - สีของดาวฤกษส์ ัมพันธก์ ับอุณหภูมผิ วิ และ

อุณหภูมิผวิ และสเปกตรัมของดาวฤกษ สเปกตรัมของดาวฤกษ์ ซงึ่ นักดาราศาสตร์ใช้สเปก

ตรัมในการจำแนกชนดิ ของดาวฤกษ์

7. อธิบายลำดับววิ ัฒนาการท่ีสัมพนั ธ์ - มวลของดาวฤกษ์ข้นึ อยกู่ ับมวลของดาวฤกษ์

กบั มวลตัง้ ต้น และวเคิ ราะห์การเปล่ียน กอ่ นเกดิ ดาวฤกษ์ที่มมี วลมากจะผลิตและใช้

แปลงสมบตับาิ งประการ ของดาวฤกษ์ พลงังานมาก จงึ มีอายุส้ันกว่าดาวฤกษ์ท่มี ีมวลน้อย

- ดาวฤกษ์มีการววิ ฒั นาการท่ีแตกตา่ งกนั การ

ววิ ัฒนาการและจุดจบของดาวฤกษ์ข้ึนอย่กู บั มวล

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 538

ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ตงั้ ตน้ ของดาวฤกษ์ ส่วนใหญ่เทียบกบั จำนวน เท่า

ของมวลดวงอาทิตย์

8. อธิบายกระบวนการเกิดระบบสุริยะ - ระบบสรุ ยิ ะเกดิ จากการรวมตวั กนั ของกลมุ่ ฝนุ่

และการแบ่ง เขตบรวิ ารของดวง และแก๊สท่เี รียกว่า เนบวิ ลาสุริยะ โดยฝ่นุ และ

อาทิตย์ และลกั ษณะของดาวเคราะห์ แก๊ส ประมาณร้อยละ ๙๙.๘ ของมวล ไดร้ วมตวั

ทีเ่ อื้อต่อการดำรงชวี ติ เป็น ดวงอาทติ ย์ซึ่งเปน็ ก้อนแก๊สร้อน หรอื

พลาสมาสสารสว่ นท่ีเหลือรวมตัวเปน็ ดาวเคราะห์

และ บรวิ ารอน่ื ๆของดวงอาทติ ย์ ดงั นั้นจึงแบง่

เขตบรวิ ารของดวงอาทิตยต์ ามลกั ษณะการเกิด

และองคป์ ระกอบได้แก่ดาวเคราะห์ชนั้ ในดาว

เคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ชั้นนอกและดงดาวหาง

- โลกเป็นดาวเคราะห์ในระบบสรุ ิยะทีม่ สี ่ิงมชี วี ติ

เพราะโคจรรอบดวงอาทตยิ ใ์นระยะทางทเี่หมาะ

สมอย่ใู นเขตท่ีเอ้อื ต่อการมสี งิ่ มีชีวติ มอี ุณหภูมิ

เหมาะสมและสามารถเกิดนำ้ ทย่ี งั คงสถานะเปน็

ของเหลวได้ ปัจจุบันมกี ารค้นพบดาวเคราะห์ ท่ี

อยู่นอกระบบสุรยิ ะจำนวนมาก และมีดาวเคราะห์

บางดวงทีอ่ ยู่ในเขตทเ่ี อ้ือต่อการมสี ่ิงมชี ีวิต

คลา้ ยโลก

9. อธิบายโครงสรา้ งของดวงอาทติ ย์ - ดวงอาทิตยม์ โี ครงสรา้ งภายในแบง่ เปน็ แก่น เขต

การเกดิ ลมสรุ ยิ ะ พายุสรุ ยิ ะและสืบคน้ การแผ่รงั สี และเขตการพาความร้อน และมี

ขอ้ มูลวิเคราะห์ นำเสนอปรากฏการณ์ ชนั้ บรรยากาศอยูเ่ หนือเขตพาความร้อน ซ่งึ แบง่

หรอื เหตกุ ารณ์ทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ผลของลม เปน็ ๓ ชัน้ คือ ชั้นโฟโตสเฟียร์ ชน้ั โครโมส

สุรยิ ะ และพายุสุรยิ ะที่มตี ่อโลก รวมทั้ง เฟียร์ และคอโรนา ในชนั้ บรรยากาศของดวง

ประเทศไทย อาทิตย์ มปี รากฏการณส์ ำคญั เชน่ จุดมดื ดวง

อาทิตย์ การลุกจา้ ทีท่ ำใหเ้ กดิ ลมสรุ ิยะ และพายุ

สรุ ิยะ ซึ่งส่งผลตอ่ โลก

- ลมสรุ ยิ ะ เกดิ จากการแพร่กระจายของอนภุ าค

จากชัน้ คอโรนาออกสู่อวกาศตลอดเวลา อนุภาค

ที่หลดุ ออกสอู่ วกาศเปน็ อนุภาคท่มี ปี ระจุ ลมสุริยะ

ส่งผลทำให้เกิดหางของดาวหางท่ีเรอื งแสง และช้ี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 539

ช้ัน ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ไปทางทิศตรงกนั ข้ามกบั ดวงอาทติ ย์และเกิด

ปรากฏการณ์แสงเหนือ แสงใต้

- พายสุ ุรยิ ะ เกิดจากการปลดปล่อยอนภุ าคมี

ประจุ พลังงานสงู จำนวนมหาศาล มกั เกิดบอ่ ยครัง้

ในช่วงท่มี กี ารลุกจา้ และในช่วงที่มจี ุดมืด ดวง

อาทติ ย์จำนวนมาก และในบางครงั้ มีการ พน่ ก้อน

มวลคอโรนา พายสุ รุ ยิ ะอาจส่งผลตอ่ สนามแม่

เหล็กโลก จึงอาจรบกวนระบบการส่งกระแสไฟฟ้า

และการสื่อสาร รวมทง้ั อาจสง่ ผล ตอ่ วงจรอเิ ลก็

ทรอนกิ ส์ของดาวเทียม นอกจากนน้ั มกั ทำใหเ้ กิด

ปรากฏการณแ์ สงเหนือ แสงใต้ท่สี ังเกตได้ชัดเจน

10. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบายการสำรวจ - มนษุ ย์ใชเ้ ทคโนโลยอี วกาศในการศกึ ษา เพื่อ

อวกาศ โดยใช้ กล้องโทรทรรศน์ในช่วง ขยาย ขอบเขตความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และใน

ความยาวคลนื่ ต่าง ๆ ดาวเทยี ม ยาน ขณะ เดียวกนั มนษุ ย์ได้นำเทคโนโลยีอวกาศมาใช้

อวกาศ สถานีอวกาศ และนำเสนอ ประโยชนใ์ นดา้ นต่าง ๆเชน่ วัสดุศาสตร์ อาหาร

แนวคดิ การนำความรทู้ างด้านเทคโน การแพทย์

โลยีอวกาศมาประยุกต์ใช้ ในชวี ติ - นกั วิทยาศาสตร์ได้สรา้ งกล้องโทรทรรศน์ เพอื่

ประจำวนั หรอื ในอนาคต ศึกษา แหล่งกำเนดิ ของรังสีหรอื อนภุาคในอวกาศ

ในช่วง ความยาวคลน่ื ต่าง ๆ ได้แก่ คล่นื วิทยุ

ไมโครเวฟ อนิ ฟราเรด แสงอลั ตราไวโอเลต และ

รังสเี อก็ ซ์

- ยานอวกาศ คือ ยานพาหนะที่นำมนุษย์หรอื

อปุ กรณ์ทางดาราศาสตร์ข้นึ ไปสอู่ วกาศ เพือ่

สำรวจหรือเดนิ ทางไปยังดาวดวงอ่ืน ส่วนสถานี

อวกาศ คือ หอ้ งปฏิบัติการลอยฟ้าทโ่ี คจรรอบ

โลกใช้ในการศกึ ษาวจิยัทางวิทยาศาสตร์ในสาขา

ตา่ งๆในสภาพไร้นำ้ หนัก

- ดาวเทยี ม คือ อปกุ รณ์ท่ีใช่ ้ในการสำรวจวัตถุ

ทอ้ งฟ้า และนำมาประยกตุ ์ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น

การสื่อสาร โทรคมนาคม การระบุตำแหน่งบน

โลก การสำรวจ ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ุตนุ ิยมวิทยา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 540

ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรยี นร้แู กนกลาง

โดยดาวเทียม มีหลายประเภทสามารถแบ่งไดต้ าม

เกณฑ์โคจร และการใชง้ าน

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณพี ิบตั ิภัย กระบวนการเปลยี่ นแปลง
ลมฟ้าอากาศและภมู ิอากาศโลก รวมทัง้ ผลต่อสิ่งมชี วี ิตและสิง่ แวดลอ้ ม

ชั้น ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ม.4 - -

ม.5 - -

ม.6 1. อธิบายการแบ่งชั้นและสมบัติของ - การศึกษาโครงสรา้ งโลกใชข้ ้อมูลหลายดา้ น

โครงสร้างโลก พร้อมยกตัวอย่างข้อมูล เช่น องคป์ ระกอบทางเคมีของหินและแร่

ทสี่ นบั สนนุ องคป์ ระกอบ ทางเคมีของอุกกาบาต ข้อมลู คลนื่

ไหวสะเทือนที่เคลื่อนทผี่ า่ นโลก จึงสามารถแบ่ง

ชน้ั โครงสรา้ ง โลก ได้ ๒ แบบ คือ โครงสร้างโลก

ตามองคป์ ระกอบทางเคมี แบง่ ได้เป็น ๓ ช้ันได้แก่

เปลอื กโลก เนอื้ โลก และแกน่ โลก และโครงสร้าง

โลกตาม สมบตั เิ ชงิ กล แบ่งได้เป็น ๕ ช้ัน ไดแ้ ก่

ธรณภี าค ฐานธรณภี าค มัชฌิมภาค แก่นโลก

ชน้ั นอก และแกน่ โลกชน้ั ใน

2. อธิบายหลักฐานทางธรณวี ิทยาที่ - แผ่นธรณีต่าง ๆเปน็ ส่วนประกอบของธรณีภาค

สนับสนนุ การเคลื่อนท่ีของแผ่นธรณี การเปลี่ยนแปลงขนาดและตำแหน่งตั้งแต่อดีต

จนถึงปัจจุบนั การเคลื่อนที่ของแผน่ ธรณดี งั กล่าว

อธบิ ายได้ตามทฤษฎีธรณีแปรสณั ฐาน ซ่งึ มี ราก

ฐานมาจากทฤษฎีทวีปเลอื่ นและทฤษฎี การแผ่

ขยายพ้นื สมุทร โดยมหี ลักฐานทสี่ นับสนนุ ไดแ้ ก่

รปู รา่ งของขอบทวีปทส่ี ามารถเช่ือมตอ่ กันได้

ความคลา้ ยคลึงกันของกลุ่มหินและแนวเทือกเขา

ซากดกึ ดำบรรพ์ ร่องรอยการเคลื่อนท่ขี องตะกอน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 541

ชั้น ตัวชวี้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ธารน้ำแขง็ ภาวะแม่เหล็กโลกบรรพกาล อายหุ นิ

ของพื้นมหาสมุทร รวมทงั้ การค้นพบ สนั เขากลาง

สมทุ ร และร่องลกึ กน้ สมทุ ร

3. ระบุสาเหตุ และอธิบายรูปแบบแนว - การพาความร้อนของแมกมาภายในโลก ทำให้

รอยตอ่ เกดิ การเคลอื่ นท่ีของแผ่นธรณี ตามทฤษฎีธรณี

ของแผน่ ธรณีท่สี ัมพนั ธ์กับการเคลื่อนที่ แปรสัณฐาน ซง่ึ นักวทิ ยาศาสตรไ์ ด้สำรวจพบ

ของแผน่ ธรณี พร้อมยกตัวอย่าง หลกั ฐานทางธรณวี ทิ ยา ได้แก่ ธรณีสัณฐาน และ

หลกั ฐาน ทางธรณวี ิทยาท่ีพบ ธรณีโครงสร้าง ทีบ่ รเิ วณแนวรอยต่อของแผน่

ธรณี เชน่ รอ่ งลึกก้นสมทุ รหมู่เกาะภเู ขาไฟ รูปโค้ง

แนวภเู ขาไฟ แนวเทือกเขา หุบเขาทรุด และสนั

เขากลางสมุทร รอยเลื่อน นอกจากน้ี ยังพบการ

เกิดธรณีพิบตั ภิ ัยทีบ่ ริเวณแนวรอย ตอ่ ของแผ่น

ธรณี เชน่ แผน่ ดินไหว ภเู ขาไฟระเบดิ สึนามิ ซึ่ง

หลกั ฐานดงั กล่าวสัมพันธก์ ับรูปแบบ การ

เคลื่อนท่ีของแผน่ ธรณี นักวทิ ยาศาสตร์จงึ สรุปได้

ว่าแนวรอยต่อของแผ่นธรณมี ๓ รปูแบบ ได้แก่

แนวแผน่ ธรณีแยกตวั แนวแผ่นธรณี

เคลือ่ นทีเ่ ข้าหากนั แนวแผน่ ธรณีเคล่อื นท่ีผา่ นกนั

ในแนวราบ

4. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด - ภเู ขาไฟระเบดิ เกิดจากการแทรกดนั ของแมก

ภเู ขาไฟระเบดิ รวมท้ังสืบคน้ ขอ้ มลู มาขน้ึ มาตามส่วนเปราะบาง หรอืรอยแตกบน

พ้ืนทีเ่ สี่ยงภัย ออกแบบและ นำเสนอ เปลือกโลก มกั พบหนาแนน่ บริเวณรอยต่อระหวา่ ง

แนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏบิ ตั ิ แผน่ ธรณี ทำใหบ้ ริเวณดังกลา่ วเปน็ พ้ืนท่เี ส่ียงภยั

ตน ใหป้ ลอดภัย ผลจาก การระเบดิ ของภูเขาไฟมีทั้งประโยชนแ์ ละ

โทษ จึงต้องศึกษาแนวทางในการเฝ้าระวงั และ

การปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภั

5. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด - แผน่ ดนิ ไหวเกดิ จากการปลดปล่อยพลงั งานที่

ขนาดและ ความรุนแรง และผลจาก สะสมไว้ของเปลือกโลกในรปู ของคลน่ื ไหว

แผ่นดนิ ไหว รวมทง้ั สบื ค้นข้อมลู พ้ืนท่ี สะเทือนแผน่ ดินไหวมีขนาดและความรนุ แรง แตก

เส่ียงภยั ออกแบบและ นำเสนอ ตา่ งกัน มักเกิดข้นึ บรเิ วณรอยตอ่ ของแผ่น ธรณี

และพนื้ ทภ่ี ายใต้อิทธพิ ลของการเคลื่อนของ แผ่น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 542

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

แนวทางการเฝา้ ระวังและการปฏบิ ัติ ธรณี ทำใหบ้ รเิ วณดังกล่าวเป็นพน้ื ทเ่ี ส่ยี งภัย แผน่

ตน ให้ปลอดภัย ดนิ ไหว ซ่ึงสง่ ผลให้ส่ิงกอ่ สร้างเสียหาย เกดิ

อันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สนิ จึงตอ้ งศึกษา

แนวทางในการเฝ้าระวงั และการปฏบิ ตั ิตนให้

ปลอดภยั

6. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกดิ และ - สนึ ามิ คือ คลื่นน้ำที่เกดิ จากการแทนท่ีมวลน้ำ

ผลจากสึนามิ รวมทัง้ สบื ค้นข้อมลู พนื้ ที่ ในปรมิ าณมหาศาล ส่วนมากจะเกดิ ในทะเลหรือ

เส่ียงภัย ออกแบบ และนำเสนอแนว มหาสมุทร โดยคล่ืนมีลักษณะเฉพาะ คอื ความ

ทางการเฝา้ ระวังและการ ปฏิบัติตนให้ ยาวคลื่นมากและเคล่ือนที่ดว้ ยความเร็วสูง เมอื่

ปลอดภยั อยกู่ ลางมหาสมุทรจะมีความสงู คลื่นน้อย และ

อาจเพิ่ม ความสูงขึน้ อย่างรวดเรว็ เม่ือคลืน่

เคล่ือนทผี่ า่ นบริเวณน้ำตื้นจึงทำใหพ้ ื้นทบี่ รเิ วณ

ชายฝง่ั บางบริเวณเปน็ พนื้ ที่เส่ยี งภยั สึนามิกอ่ ให้

เกิดอนั ตรายแก่มนุษย์และสง่ิ ก่อสรา้ ง ในบริเวณ

ชายหาดน้ัน จึงต้องศึกษาแนวทาง ในการเฝา้

ระวัง และการปฏบิ ตั ิตนให้ปลอดภัย

7. อธิบายปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการ - พน้ื ผิวโลกแต่ละบรเิ วณไดร้ ับพลงั งานจากดวง

ไดร้ บั พลังงาน จากดวงอาทิตย์แตกต่าง อาทติ ย์ในปริมาณทีแ่ ตกต่างกัน เนอื่ งจาก ปัจจยั

กันในแต่ละบรเิ วณของโลก สำคัญหลายประการ เชน่ สณั ฐานและ การ

เอียงของแกนโลก ลกั ษณะของพ้ืนผิวละอองลอย

และเมฆ ทำให้แตล่ ะบริเวณบนโลกมีอุณหภมู ิไม่

เท่ากัน ส่งผลให้มีความกดอากาศ แตกต่างกนั และ

เกดิ การถา่ ยโอนพลังงานระหว่างกนั

8. อธบิ ายการหมุนเวียนของอากาศที่ - การหมุนเวียนของอากาศเกิดขึน้ จากความกด

เป็นผลมาจากความแตกตา่ งของความ อากาศท่แี ตกต่างกนั ระหวา่ งสองบรเิ วณ โดย

กดอากาศ อากาศเคลื่อนท่ีจากบริเวณท่ีมีความกด อากาศสูง

ไปยังบรเิ วณท่ีมีความกดอากาศตำ่ ซง่ึ จะเห็นได้

ชัดเจน ในการเคล่ือนท่ขี องอากาศในแนวราบ

และเม่ือพจิ ารณาการเคลอื่ นที่ของ อากาศใน

แนวด่ิงจะพบว่าอากาศเหนือบริเวณ ความกด

อากาศต่ำจะมีการยกตัวขน้ึ ขณะที่ อากาศเหนือ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 543

ช้ัน ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

บริเวณความกดอากาศสงู จะจมตวั ลงโดยการ

เคลอื่ นที่ของอากาศท้ังในแนวราบและ แนวดงิ่ น้ี

ทำใหเ้ กดิ เปน็ การหมนุ เวยี นของอากาศ

9. อธิบายทิศทางการเคลอ่ื นที่ของ - การหมนรุ อบตวั เองของโลกทำใหเก้ ิดแรงคอริออ

อากาศทีเ่ ป็นผลมาจากการหมุน รอบ ลิส ส่งผลให้ทิศทางการเคล่ือนที่ของอากาศเบนไป

ตวั เองของโลก โดยอากาศทเ่ี คลื่อนท่ใี นบรเิ วณซกี โลกเหนือ จะ

เบนไปทางขวาจากทิศทางเดิม ส่วนบรเิ วณซกี โลก

ใต้จะเบนไปทางซา้ ยจากทศิ ทางเดิม

10. อธิบายการหมุนเวยี นของอากาศ - โลกมีความกดอากาศแตกต่างกนั ในแตล่ ะบรเิ วณ

ตามเขต ละติจดู และผลท่ีมตี ่อ รวมท้ังอิทธิพลจากการหมุนรอบตัวเองของโลก

ภมู อิ ากาศ ทำให้อากาศในแต่ละซกี โลกเกดิ การหมนุ เวียน

ของอากาศตามเขตละตจิ ดู แบง่ ออกเป็น ๓ แถบ

โดยแต่ละแถบมภี มู อิ ากาศแตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ การ

หมุนเวยี น แถบขัว้ โลกมีภูมิอากาศแบบหนาวเยน็

การหมนุ เวยี นแถบละตจิ ดู กลาง มภี มู ิอากาศแบบ

อบอุน่ และการหมุนเวียนแถบเขตรอ้ นมี

ภมู อิ ากาศแบบร้อนชืน้

- นอกจากนบี้ รเิ วณรอยต่อของการหมนุ เวียน

อากาศแตล่ ะแถบละติจดู จะมีลักษณะลมฟ้า

อากาศ ที่แตกตา่ งกัน เช่น บรเิ วณใกลศ้ ูนยส์ ตู ร

มีปรมิ าณ หยาดนำ้ ฟ้าเฉลยี่ สูงกวา่ บริเวณอืน่

บริเวณละตจิ ูด ๓๐ องศา มีอากาศแหง้ แลง้ ส่วน

บรเิ วณละติจูด ๖๐ องศา อากาศมีความแปร

ปรวนสงู

11.อธิบายปจั จัยทีท่ ำให้เกิดการหมุน - การหมนุ เวียนของกระแสน้ำผิวหนา้ ใมหาสมทุ ร

เวยี นของนำ้ ผิวหนา้ ในมหาสมุทรและ ไดร้ ับอิทธพิ ลจากการหมุนเวียนของอากาศ ในแต่

รปู แบบการหมุนเวียน ของน้ำผวิ หน้า ละแถบละติจดู เปน็ ปัจจัยหลักทำให้บรเิ วณ ซีก

ในมหาสมุทร โลกเหนือมกี ารหมนุ เวียนของกระแสนำผ้ ิวหนา้ ใน

ทิศทางตามเข็มนาฬกิ า และทวนเขม็ นาฬิกาใน

ซกี โลกใต้ ซ่ึงกระแสนำ้ ผวิ หน้าในมหาสมุทร มีทัง้

กระแสน้ำอุน่ และกระแสนำ้ เย็น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 544

ชัน้ ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง

12.อธบิ ายผลของการหมนุ เวียนของ - การหมนุ เวยี นอากาศและน้ำในมหาสมทุ ร ส่งผล

อากาศและน้ำผวิ หน้าในมหาสมุทรท่ีมี ตอ่ ภูมอิ ากาศ ลมฟา้ อากาศ ส่ิงมีชวี ิตและส่งิ แวด

ต่อลักษณะ ภมู ิอากาศ ลมฟ้าอากาศ ล้อม เช่น กระแสน้ำอุ่นกัลฟส์ ตรมี ที่ทำให้บาง

สงิ่ มชี ีวติ และ ส่ิงแวดลอ้ ม ประเทศในทวีปยโุ รปไม่หนาวเย็นเกินไป และเมื่อ

การหมุนเวียนอากาศและนำ้ ในมหาสมุทรแปร

ปรวน ทำให้เกดิ ผลกระทบต่อ สภาพลมฟา้ อากาศ

เชน่ ปรากฏการณ์เอลนีโญ และลานญี า ซ่ึงเกิด

จากความแปรปรวน ของลมค้าและสง่ ผลต่อ

ประเทศที่อยูบ่ รเิ วณ มหาสมุทรแปซิฟิ

13. อธบิ ายปจั จัยที่มผี ลตอ่ การเปลีย่ น - โลกได้รบั พลงั งานจากดวงอาทิตย์โดยปริมาณ

แปลง ภมู อิ ากาศของโลกพร้อมท้งั นำ พลงั งานเฉล่ียที่โลกไดร้ ับเท่ากับพลงั งานเฉล่ีย ที่

เสนอแนวปฏิบัติ เพือ่ ลดกิจกรรมของ โลกปลดปล่อยกลับสอู่ วกาศ ทำใหเ้ กิดสมดุล

มนษุ ย์ ท่ีสง่ ผลต่อการเปล่ยี นแปลง พลังงานของโลก สง่ ผลให้อณุ หภูมเิ ฉลี่ยของโลก

ภูมิอากาศโลก ในแตล่ ะปีคอ่ นขา้ งคงท่ีและมีลกั ษณะภมู ิอากาศ ที่

ไมเ่ ปล่ยี นแปลง หากสมดลุ พลังงานของโลกเกิด

การเปลี่ยนแปลงไปจะทำใหอ้ ุณหภูมเิ ฉลยี่ ของโลก

และภมู ิอากาศเกิดการเปล่ยี นแปลงได้ เนือ่ งจาก

ปจั จัยหลายประการท้ังปจั จัยทเี่ กิดขึน้ ตามธรรม

ชาตแิ ละการกระทำของมนุษย์ เช่นแกส๊ เรือน

กระจก ลกั ษณะผิวโลก และละอองลอย

- มนษุ ยม์ สี ่วนช่วยในการชะลอการเปลี่ยนแปลง

ภูมิอากาศโลกไดโ้ ดยการลดกิจกรรมทที่ ำให้เกดิ

การเปล่ยี นแปลงสมดุลพลงั งาน เช่น ลดการ

ปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกและละอองลอย

14. แปลความหมายสัญลกั ษณล์ มฟา้ - แผนท่อี ากาศผิวพ้ืนแสดงขอ้ มูลการตรวจอากาศ

อากาศ ที่สำคญั จากแผนท่อี ากาศ ในรูปแบบสัญลกั ษณห์ รือตัวเลข เช่น บริเวณ

และนำข้อมลู สารสนเทศตา่ ง ๆ มาวาง ความกดอากาศสงู หยอ่ มความกดอากาศต่ำพายุ

แผนการดำเนนิ ชีวติ ใหส้ อดคล้องกบั หมุนเขตรอ้ น ร่องความกดอากาศต่ำ การแปล

สภาพลมฟา้ อากาศ ความหมายสญั ลกั ษณ์ลมฟา้ อากาศ ทำให้ทราบ

ลกั ษณะลมฟ้าอากาศ ณ บริเวณหนึ่ง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 545

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- การแปลความหมายสญั ลักษณท์ ี่ปรากฏบนแผน

ทอี่ ากาศ รว่ มกบั ขอ้ มูลสารสนเทศตา่ ง ๆ เช่น

โปรแกรมประยุกตเ์ กีย่ วกบั การพยากรณ์อากาศ

เรดาร์ตรวจอากาศ ภาพถ่ายดาวเทยี ม สามารถ

นำมาวางแผนการดำเนินชวี ิตใหส้ อดคล้องกบั

สภาพลมฟ้าอากาศ เช่น การเลือกช่วงเวลา ใน

การเพาะปลกู ให้สอดคล้องกับฤดูกาล การเตรยี ม

พร้อมรบั มือสภาพอากาศแปรปรวน

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเีพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่ม่ีการเปลี่ยนแปลง
อยา่ งรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และ ศาสตร์อ่นื ๆ เพ่ือแก้ปัญหา
หรือพฒั นางานอยา่ งมีความคิดสรา้ งสรรค์ ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยี
อยา่ งเหมาะสม โดยคำนงึ ถึงผลกระทบต่อชีวติ สังคม และสงิ่ แวดล้อม

ชั้น ตวั ชีว้ ดั สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

ม.4 1. วเิ คราะห์แนวคดิ หลักของเทคโนโลยี - ระบบทางเทคโนโลยี เป็นกลมุ่ ของส่วนต่าง ๆ

ความสัมพนั ธ์ กับศาสตรอ์ ืน่ โดยเฉพาะ ต้ังแต่ สองส่วนข้ึนไปประกอบเขา้ ดว้ ยกนั และ

วิทยาศาสตร์ หรอื คณิต ศาสตร์ ทำงาน ร่วมกนั เพ่ือืให้บรรลุวตั ถปุระสงค์ โดยใน

รวมทงั้ ประเมินผลกระทบที่ จะเกดิ ขน้ึ การทำงาน ของระบบทางเทคโนโลยจี ะประกอบ

ตอ่ มนษุ ย์ สังคม เศรษฐกจิ และสิ่งแวด ไปดว้ ย ตัวป้อน (input) กระบวนการ (process)

ล้อม เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา และ ผลผลิต (output) ท่ีสัมพันธก์ ันนอกจากนี้

เทคโนโลยี ระบบทางเทคโนโลยอี าจมีข้อมลู ยอ้ นกลับ

(feedback) เพื่อใชป้ รับปรงุ การทำงานไดต้ าม

วัตถุประสงค์ โดยระบบทางเทคโนโลยีอาจมี

ระบบยอ่ ยหลายระบบ (sub-systems) ที่ทำงาน

สมั พันธ์กนั อยู่ และหากระบบยอ่ ยใดทำงานผดิ

พลาดจะส่งผลต่อการทำงานของระบบอน่ื ด้วย

- เทคโนโลยมี ีการเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา ตงั้ แต่

อดตี จนถงึ ปจั จุบัน ซึ่งมีสาเหตุหรือปัจจัย มาจาก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 546

ช้นั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง

หลายด้าน เชน่ ปัญหา ความตอ้ งการความ

กา้ วหนา้ ของศาสตร์ต่าง ๆ เศรษฐกจิ สังคม

วฒั นธรรม ส่ิงแวดล้อม

2. ระบปุ ญั หาหรอื ความต้องการทมี่ ผี ล - ปญั หาหรอื ความต้องการทม่ี ีผลกระทบต่อสังคม

กระทบตอ่ สังคม รวบรวม วิเคราะห์ เชน่ ปัญหาดา้ นการเกษตร อาหาร พลงั งาน

ข้อมลู และแนวคดิ ทีเ่ กย่ี วข้องกบั ปญั หา การขนสง่ สุขภาพและการแพทย์ การบริการ

ท่มี คี วามซับซ้อน เพ่ือสังเคราะห์วิธีการ ซง่ึ แตล่ ะดา้ นอาจมีได้หลากหลายปญั หา

เทคนคิ ในการแก้ปญั หา โดยคำนงึ ถงึ - การวิเคราะห์สถานการณป์ ัญหาโดยอาจใช้

ความถกู ตอ้ งด้านทรัพยส์ ินทาง ปัญญา เทคนิค หรือวธิ กี ารวิเคราะหท์ ่ีหลากหลาย ช่วยให้

เขา้ ใจ เงอ่ื นไขและกรอบของปัญหาได้ชดั เจน

จากนนั้ ดำเนนิ การสืบคน้ รวบรวมขอ้ มลู ความรู้

จากศาสตรตา์ ่ง ๆทเี่ กยี่ วข้อง เพื่อนำไปสู่การ

ออกแบบ แนวทางการแก้ปัญหา

3. ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหาโดย - การวเิคราะห์ เปรียบเทียบ และตดั สินใจเลือก

วเิ คราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจ ข้อมลู ทจี่ ำเปน็ โดยคำนงึ ถึงทรพั ย์สินทางปัญญา

เลอื กข้อมลู ทจี่ ำเป็น ภายใต้เงื่อนไข เงือ่ นไขและทรพั ยากร เช่น งบประมาณ เวลา

และทรัพยากรท่ีมอี ยู่ นำเสนอแนวทาง ข้อมูลและสารสนเทศ วสั ดุ เครื่องมือและอุปกรณ์

การแก้ปัญหาให้ผอู้ น่ื เข้าใจด้วยเทคนิค ชว่ ยใหไ้ ดแ้ นวทางการแกป้ ัญหาท่เี หมาะสม

หรือวิธีการทห่ี ลากหลาย โดยใชซ้ อฟต์ - การออกแบบแนวทางการแกป้ ัญหาทำได้หลาก

แวร์ ช่วยในการออกแบบ วางแผน หลายวิธิี เช่น การรา่ งภาพ การเขียนแผนภาพ

ขน้ั ตอนการทำงาน และดำเนินการ การเขียนผงั งาน

แกป้ ัญหา - ซอฟต์แวรช์ ่วยในการออกแบบและนำเสนอมี

หลากหลายชนดิ จงึ ต้องเลือกใชใ้ ห้เหมาะกับงาน- -

- การกำหนดขน้ั ตอนและระยะเวลาในการทำงาน

กอ่ นดำเนินการแกป้ ญั หาจะชว่ ยใหก้ ารทำงาน

สำเรจ็ ได้ตามเปา้ หมาย และลดข้อผิดพลาดของ

การทำงานทอี่ าจเกดิ ขน้ึ

4. ทดสอบ ประเมนิ ผล วิเคราะห์ และ - การทดสอบและประเมินผลเปน็ การตรวจสอบ

ให้เหตผุ ล ของปญั หาหรือข้อบกพร่องท่ี ช้ินงานหรือวธิ กี ารวา่ สามารถแก้ปัญหาได้ตาม

เกิดขึน้ ภายใต้ กรอบเงื่อนไข หาแนว วตั ถปุ ระสงคภ์ ายใต้กรอบของปัญหา เพอ่ื หา

ทางการปรับปรุงแก้ไข และนำเสนอผล ขอ้ บกพร่อง และดำเนินการปรับปรุง โดยอาจ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 547

ชั้น ตัวชวี้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

การแกป้ ัญหา พร้อมทง้ั เสนอ แนวทาง ทดสอบซำ้ เพื่อให้สามารถแก้ไขปญั หาได้อย่างมี

การพัฒนาต่อยอด ประสทิ ธิภาพ

- การนำเสนอผลงานเปน็ การถา่ ยทอดแนวคิด

เพอ่ื ให้ผู้อืน่ เขา้ ใจเกย่ี วกับกระบวนการทำงาน

และชิน้ งานหรือวิธกี ารท่ีได้ ซึ่งสามารถทำได้

หลายวธิ ีเช่น การทำแผ่นนำเสนอผลงาน การจัด

นิทรรศการ การนำเสนอผ่านส่ือออนไลน์ หรือ

การนำเสนอต่อภาคธรุ กจิ เพอื่ การพัฒนาตอ่ ยอด

สงู่ านอาชีพ

5. ใชค้ วามรูแ้ ละทักษะเก่ยี วกับวัสดุ - วสั ดุแต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกนั เช่น

อปุ กรณ์ เครอื่ งมือกลไก ไฟฟ้าและ ไม้สงั เคราะห์ โลหะ จงึ ต้องมีการวเิ คราะห์สมบัติ

อิเลก็ ทรอนิกส์ และเทคโนโลยีท่ี เพ่อื เลือกใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะของงาน

ซับซ้อนในการแก้ปัญหา หรอื พฒั นา - การสรา้ งชิ้นงานอาจใชค้ วามรู้ เรอ่ื งกลไก ไฟฟา้

งาน ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เชน่ LDR sensor เฟอื ง

ปลอดภยั รอก คาน วงจรสำเร็จรปู

- อุปกรณ์และเครื่องมือในการสรา้ งช้ินงาน หรือ

พัฒนาวธิ ีการมีหลายประเภท ตอ้ งเลอื กใช้ให้

ถกู ต้องเหมาะสม และปลอดภยั รวมท้ังรจู้ ักเก็บ

รักษา

ม.5 1. ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้และทักษะจาก - การทำโครงงานเป็นการประยุกต์ใช้ความรู้

ศาสตร์ตา่ ง ๆ รวมทง้ัทรพยั ากรในการ และทกั ษะจากศาสตร์ต่าง ๆ รวมท้งั ทรพั ยากร ใน

ทำโครงงานเพอื่แกปญ้ หั า หรือพฒั นา การสร้างหรือพัฒนาชน้ิ งานหรอื วธิ ีการ เพอ่ื

งาน แก้ปัญหาหรืออำนวยความสะดวกในการทำงาน

- การทำโครงงานการออกแบบและเทคโนโลยี

สามารถดำเนนิ การได้ โดยเร่มิ จาก การสำรวจ

สถานการณป์ ัญหาท่สี นใจ เพ่อื กำหนดหัวข้อ

โครงงาน แล้วรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่

เกยี่ วขอ้ ง กบั ปัญหา ออกแบบแนวทางการ

แก้ปัญหา วางแผน และดำเนินการแกป้ ัญหา

ทดสอบ ประเมินผล ปรบั ปรงุ แก้ไขวิธีการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 548

ชน้ั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง

แก้ปญั หาหรือชิ้นงาน และ นำเสนอวิธีการ

แกป้ ัญหา

ม.6 - -

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น ขั้นตอน
และเปน็ ระบบ ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ รู้ท่าทัน และมีจริยธรรม

ชั้น ตัวชว้ี ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

ม.4 1.ประยุกต์ใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการ - การพัฒนาโครงงาน
พัฒนาโครงงานท่มี ีการบูรณาการกบั - การนำแนวคดิ เชิงคำนวณไปพฒั นาโครงงาน ท่ี

วชิ าอ่ืน อยา่ งสร้างสรรค์ และเชื่อม เกย่ี วกับชีวติ ประจำวนั เช่น การจดัการพลงงั าน

โยงกับชีวิตจรงิ อาหาร การเกษตร การตลาด การค้าขาย การทำ
ธุรกรรม สุขภาพ และส่งิ แวดลอ้ ม
- ตัวอย่างโครงงาน เช่น ระบบดูแลสขุ ภาพ

ระบบ อตั โนมัติควบคมุ การปลกู พืชระบบจัดเส้น
ทางการขนส่งผลผลิต ระบบแนะนำการใช้งาน
หอ้ งสมดุ ท่มี ีการโตต้ อบกบั ผู้ใชแ้ ละเชอื่ มต่อกับ

ฐานขอ้ มลู

ม.5 1. รวบรวม วิเคราะหข์ ้อมูลและใช้ - การนำความรูด้ ้านวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ส่ือ

ความรู้ ดา้ นวิทยาการคอมพิวเตอร์ ดจิ ทิ ัล และเทคโนโลยสาี รสนเทศ มาใชแก้ ป้ญหั า
สื่อดจิ ิทลั เทคโนโลยี สารสนเทศในการ กบั ชีวิตจริง
แกป้ ญั หาหรือเพ่ิมมลู คา่ ให้กับบริการ - การเพมิ่ มลู ค่าให้บริการหรือผลติ ภณั ฑ์

หรอื ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ ในชวี ิตจริง อยา่ ง - การเก็บข้อมูลและการจดั เตรียมข้อมลู ให้พร้อม
สร้างสรรค์ กับการประมวลผล
- การวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถิติ

- การประมวลผลขอ้ มูล และเครื่องมือ
- การทำข้อมลู ใหเ้ ปน็ ภาพ (data visualization)
เช่น barchart, scatter, histogram

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 549

ชน้ั ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

- การเลอื กใชแ้ หล่งขอ้ มูล เช่น

data.go.th,wolfram alpha, OECD.org, ตลาด

หลกั ทรัพย,์ world economic forum

- คณุ คา่ ของขอ้ มลู และกรณศี ึกษา

- กรณีศึกษาและวิธกี ารแกป้ ัญหา

- ตวั อย่างปัญหา เชน่

- รปู แบบของบรรจุภณั ฑ์ท่ดี งึ ดดู ความสนใจ และ

ตรงตามความตอ้ งการผใู้ ช้ในแต่ละประเภท

- การกำหนดตำแหน่งป้ายรถเมลเ์ พอื่ ลดเวลา

เดนิ ทางและปญั หาการจราจร สำรวจความ

ต้องการรับประทานอาหารในชมุ ชน และเลือก

ขายอาหารท่จี ะได้กำไรสูงสุด

-ออกแบบรายการอาหาร ๗ วนั สำหรบั ผู้ปว่ ย

เบาหวาน

ม.6 1. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศใน การ - การนำเสนอและแบง่ ปนั ข้อมูล เชน่ การเขยี น

นำเสนอ และ แบ่งปันข้อมลู อย่าง บลอ็ ก อปั โหลดวิดีโอ ภาพอินโฟกราฟิก

ปลอดภยั มีจริยธรรม และ วิเคราะห์ - การนำเสนอและแบง่ ปันข้อมลู อย่างปลอดภัย

การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยสี ารสนเทศ เช่น ระมดั ระวังผลกระทบที่ตามมาเมอื่ มีการ

ท่ีมผี ลตอ่ การดำเนินชีวติ อาชพี สังคม แบง่ ปนั ข้อมลู หรือเผยแพรข่ ้อมลู ไม่สร้างความ

และ วฒั นธรรม เดือดร้อนตอ่ ตนเองและผู้อืน่

- จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ

- เทคโนโลยีเกดิ ใหม่ แนวโนม้ ในอนาคต การ

เปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี

- นวตั กรรมหรือเทคโนโลยดี า้ นตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวข้อง

กับชวี ิตประจำวัน

- อาชีพเกีย่ วกบั เทคโนโลยีสารสนเทศ

- ผลกระทบของเทคโนโลยสี ารสนเทศตอ่ การ

ดำเนินชวี ิต อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม


Click to View FlipBook Version