The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 250

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน
ชัว่ โมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
2
16. อธิบายสมบัติของ สมบัติของ การตคี วามหมาย -

สารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนกิ ข้อมูลและลงข้อสรุป

17. เขียนสมการไอ สมการไอออนกิ และ การทดลอง 1.ความอยากรู้ 2
ออนิกและสมการไอ สมการไอออนิกสุทธิ อยากเหน็ 2
ออนิกสุทธิของปฏิกิริยา - 2.ความใจกว้าง 2
ของสารประกอบไอออ 3
นกิ การตคี วามหมาย -
18. อธ ิบายการเกิด 1.การเกิดพนั ธะโคเว ขอ้ มลู และลงข้อสรุป 3
พันธะโคเวเลนต์แบบ เลนต์ 1.การใชจ้ ำนวน การใช้วิจารณญาณ
พันธะเดย่ี ว พันธะคู่ และ 2.พันธะเด่ยี ว พันธะ 2.การตีความหมาย การใช้วจิ ารณญาณ
พ ั น ธ ะ ส า ม ด ้ ว ย คู่ และพันธะสาม ข้อมูลและลงข้อสรปุ
โครงสรา้ งลิวอสิ -
1.การสงั เกต
3.โครงสรา้ งลวิ อสิ 2.การสรา้ งแบบจำา
19. เขียนสูตร และ 1.การเขียนสูตรสาร ลอง
เรียกช่อื สารโคเวเลนต์ โคเวเลนต์

2.การเรยี กชอ่ื สาร
โคเวเลนต์
20. วเิ คราะห์ และ ความยาวพนั ธะและ
เปรียบเทยี บความยาว พลงั งานพันธะ
พันธะและพลังงาน
พนั ธะในสารโคเวเลนต์
รวมทั้งคำนวณพลังงาน
ทเ่ี กยี่ วข้องกบั ปฏิกริ ยิ า
ของสารโคเวเลนต์จาก
พลงั งานพนั ธะ
21. คาดคะเนรูปร่าง 1.รูปรา่ งโมเลกุลโคเว
โมเลกุลโคเวเลนต์ โดย เลนต์ ตามทฤษฎีการ
ใ ช ้ ท ฤ ษ ฎ ี ก า ร ผ ลั ก ผลกั ระหว่างคู่

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 251

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน
ชั่วโมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
2
ระหว่างคู่อิเล็กตรอนใน อิเลก็ ตรอนในวง
2
วงเวเลนซ์ และระบุ เวเลนซ(์ VSEPR)

สภาพขั้วของโมเลกุล 2.สภาพข้ัวของพนั ธะ

โคเวเลนต์ โคเวเลนต์

3.สภาพขว้ั ของ

โมเลกุลโคเวเลนต์

22. ระบุชนิดของแรงยึด 1.ชนดิ ของแรงยึด การตคี วามหมาย การใช้วจิ ารณญาณ

เหนี่ยวระหว่างโมเลกุล เหนีย่ วระหว่าง ขอ้ มูลและลงข้อสรุป

โ ค เ ว เ ล น ต์ แ ล ะ โมเลกลุ โคเวเลนต์

เ ป ร ี ย บ เ ท ี ย บ จุ ด 2.ความสัมพันธ์

หลอมเหลว จุดเดือด ระหวา่ งชนดิ ของแรง

และการละลายน้ำของ ยดึ เหน่ียวระหวา่ ง

สารโคเวเลนต์ โมเลกลุ โคเวเลนตก์ บั

จดุ หลอมเหลว จุด

เดือดและการละลาย

นำ้ า

23. สืบค้นข้อมูล และ สมบัติสารโคเวเลนต์ 1.ความใจกวา้ ง 2.

อธิบายสมบัติของสาร โครงรา่ งตาข่าย การเห็นคณุ คา่ ทาง

โคเวเลนต์โครงร่างตา วิทยาศาสตร์

ข่ายชนิดตา่ ง ๆ

24. อธ ิบายการเกิด 1.การเกิดพันธะโลหะ - การใช้วิจารณญาณ 2
3
พันธะโลหะและสมบัติ 2.สมบัตขิ องโลหะ

ของโลหะ

25. เปรยี บเทยี บสมบัติ สมบตั บิ างประการ การสร้างแบบจำลอง 1.ความใจกว้าง 2.

บางประการของ และประโยชนข์ อง การใช้วจิ ารณญาณ

สารประกอบไอออนิก สารประกอบไอออนิก 3.การเห็นคุณค่า

สารโคเวเลนต์ และโลหะ สารโคเวเลนต์ และ ทางวทิ ยาศาสตร์

สบื คน้ ข้อมลู และ โลหะ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 252

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน

นำเสนอตัวอย่างการใช้ (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชัว่ โมง
ประโยชน์ของ
สารประกอบไอออนิก
สารโคเวเลนต์ และโลหะ
ไดอ้ ย่างเหมาะสม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 253

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว 30221 เคมีเพ่ิมเติม 1 / Chemistry 1

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ

ศกึ ษาเกี่ยวกับสญั ลักษณแ์ สดงความเป็นอันตรายของสารเคมีในระบบ GHS และ NFPA ข้อ
ควรปฏบิ ตั ิในการทำปฏิบัติการเคมี ทงั้ กอ่ นทำปฏิบัตกิ าร ขณะทำปฏิบัตกิ าร และหลังทำปฏิบัติการ
การกำจัดสารเคมี และการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับอุบัติเหตุจากสารเคมี ศึกษาการพิจารณาความ
น่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากการวัด จากความเที่ยงและความแม่น อุปกรณ์วัดปริมาตรและวัดมวล
เลขนัยสำคัญ หน่วยวัดในระบบเอสไอ แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย รวมทั้งวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์

ศึกษาแบบจำลองอะตอมของดอลตัน ทอมสัน รัทเทอร์ฟอร์ด โบร์ และแบบกลุ่มหมอก
เขียนและแปลความหมายสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ เลขอะตอม เลขมวล ไอโซโทป เขียนการ
จัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม ศึกษาความหมายของระดับพลังงานของอิเล็กตรอน ออร์บิทัล
เวเลนซ์อิเล็กตรอน วิวัฒนาการของการสร้างตารางธาตุและตารางธาตุในปัจจุบัน แนวโน้มสมบัติ
บางประการของธาตุในตารางธาตุตามหมู่และตามคาบเก่ียวกับขนาดอะตอม ขนาดไอออน พลังงาน
ไอออไนเซชัน สัมพรรคภาพอิเล็กตรอน อิเล็กโทรเนกาติวิตี ศึกษาสมบัติของธาตุแทรนซิชัน ธาตุ
กัมมันตรังสี การเกิดกัมมันตภาพรังสี การสลายตัวและอันตรายจากไอโซโทปกัมมันตรังสี คำนวณ
ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี ศึกษาปฏิกิริยานิวเคลียร์และเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการใช้สาร
กัมมนั ตรงั สี การนำธาตุไปใช้ประโยชน์ รวมท้ังผลกระทบตอ่ ส่ิงมีชวี ิตและส่ิงแวดลอ้ ม

ศึกษาพันธะเคมี สญั ลกั ษณแ์ บบจุดของลวิ อิสและกฎออกเตต การเกดิ พันธะไอออนกิ สูตร
เคมีและชื่อของสารประกอบไอออนิก พลังงานของการเกิดสารประกอบไอออนิก สมบัติของ
สารประกอบไอออนิก สมการไอออนิกและสมการไอออนิกสุทธิ การเกดิ พันธะโคเวเลนต์ โครงสร้าง
ลิวอิส สูตรโมเลกุลและชื่อของสารโคเว-เลนต์ ความยาวและพลังงานพันธะ เรโซแนนซ์ การ
คำนวณพลังงานพันธะและพลงั งานของปฏิกริ ิยา รูปร่างและสภาพขั้วของโมเลกลุ โคเวเลนต์ แรงยดึ
เหนี่ยวระหว่างโมเลกุลและสมบัติของสารโคเวเลนต์ สารโคเวเลนต์โครง-ร่างตาข่าย การเกิดพันธะ
โลหะและสมบัติของโลหะ และการนำสารประกอบชนดิ ต่างๆ ไปใช้ประโยชน์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภปิ รายและสรุป เพอ่ื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถ
ในการตัดสินใจ มีทกั ษะปฏิบัตกิ ารทางวิทยาศาสตร์ รวมท้งั ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ในดา้ นการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ดา้ นการคิดและการแกป้ ญั หา ดา้ นการสื่อสาร สามารถสื่อสารสงิ่ ทเี่ รียนรู้และ
นำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ของตนเอง มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 254

ผลการเรียนรู้
1. บอกและอธิบายข้อปฏิบัติเบื้องต้น และปฏิบัติตนที่แสดงถึงความตระหนักในการทำ

ปฏบิ ัตกิ ารเคมเี พื่อให้มีความปลอดภยั ท้งั ต่อตนเองผู้อื่นและส่ิงแวดลอ้ ม และเสนอแนวทางแก้ไขเม่ือ
เกิดอุบัติเหตุ

2. เลือกและใช้อุปกรณ์หรือเครื่องมือในการทำปฏิบัติการ และวัดปริมาณต่าง ๆ ได้อย่าง
เหมาะสม

3. นำเสนอแผนการทดลอง ทดลองและเขียนรายงานการทดลอง
4. ระบหุ น่วยวดั ปรมิ าณตา่ ง ๆ ของสาร และเปลี่ยนหนว่ ยวดั ใหเ้ ป็นหนว่ ยในระบบเอสไอด้วย
การใช้แฟกเตอร์เปลี่ยนหน่วย
5. สืบค้นข้อมูลสมมติฐาน การทดลองหรือผลการทดลองที่เป็นประจักษ์พยานในการเสนอ
แบบจำลองอะตอมของนกั วิทยาศาสตร์ และอธบิ ายววิ ัฒนาการของแบบจำลองอะตอม
6. เขียนสัญลักษณ์นิวเคลียร์ของธาตุ และระบุจำนวนโปรตอน นวิ ตรอน และอิเล็กตรอนของ
อะตอมจากสัญลักษณ์นวิ เคลียร์ รวมทง้ั บอกความหมายของไอโซโทป
7. อธิบายและเขยี นการจัดเรียงอเิ ล็กตรอนในระดับพลังงานหลกั และระดับพลังงานย่อยเม่ือ
ทราบเลขอะตอมของธาตุ
8. ระบุหมู่ คาบ ความเป็นโลหะ อโลหะและกึ่งโลหะ ของธาตุเรพรเี ซนเททฟี และธาตุแทรน
ซิชนั ในตารางธาตุ
9. วิเคราะห์ และบอกแนวโน้มสมบตั ขิ องธาตเุ รพรเี ซนเททฟี ตามหมู่และตามคาบ
10. บอกสมบัตขิ องธาตโุ ลหะแทรนซชิ ัน และเปรียบเทยี บสมบัติกับธาตุโลหะในกลุ่มธาตุเรพรี
เซนเททีฟ
11. อธบิ ายสมบัติ และคำนวณครึ่งชีวิตของไอโซโทปกมั มันตรงั สี
12. สืบค้นข้อมูล และยกตัวอย่างการนำธาตุมาใช้ประโยชน์ รวมทั้งผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต
และสงิ่ แวดล้อม
13. อธิบายการเกดิ ไอออนและการเกิดพันธะไอออนิก โดยใช้แผนภาพหรอื สัญลกั ษณ์แบบจุด
ของลิวอสิ
14. เขียนสูตร และเรยี กชื่อสารประกอบไอออนิก
15. คำนวณพลังงานที่เกี่ยวขอ้ งกับปฏิกิรยิ าการเกิดสารประกอบไอออนิกจากวฏั จักรบอรน์ -
ฮาเบอร์
16. อธบิ ายสมบตั ขิ องสารประกอบไอออนกิ
17. เขยี นสมการไอออนกิ และสมการไอออนิกสทุ ธิของปฏกิ ิรยิ าของสารประกอบไอออนิก
18. อธิบายการเกิดพันธะโคเวเลนต์แบบพันธะเดี่ยว พันธะคู่ และพันธะสาม ด้วยโครงสร้าง
ลวิ อสิ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 255

19. เขยี นสตู ร และเรียกช่ือสารโคเวเลนต์
20. วิเคราะห์ และเปรียบเทียบความยาวพันธะและพลังงานพันธะในสารโคเวเลนต์ รวมทั้ง
คำนวณพลังงานท่ีเก่ยี วข้องกบั ปฏิกิริยาของสารโคเวเลนต์จากพลงั งานพนั ธะ
21. คาดคะเนรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ โดยใช้ทฤษฎีการผลักระหว่างคู่อิเล็กตรอนในวง
เวเลนซ์ และระบสุ ภาพขัว้ ของโมเลกลุ โคเวเลนต์
22. ระบุชนิดของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ และเปรียบเทียบจุดหลอมเหลว
จุดเดอื ด และการละลายน้ำของสารโคเวเลนต์
23. สืบค้นข้อมลู และอธิบายสมบัติของสารโคเวเลนตโ์ ครงรา่ งตาขา่ ยชนิดตา่ ง ๆ
24. อธิบายการเกดิ พันธะโลหะและสมบัติของโลหะ
25. เปรียบเทียบสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ
สืบค้นขอ้ มูลและนำเสนอตัวอย่างการใชป้ ระโยชนข์ องสารประกอบไอออนิก สารโคเวเลนต์ และโลหะ
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

รวมท้ังหมด 25 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 256

โครงสร้างรายวิชา

รหสั วชิ า ว 30221 เคมเี พิ่มเตมิ 1 / Chemistry 1

รายวิชาเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หนว่ ยกติ

ลำดบั ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

1 ความ 1, 2, 3, 4 -ความปลอดภยั ในการ 10 10

ปลอดภัย ทำงานกับสารเคมี

และทกั ษะ -อุบตั เิ หตุจากสารเคมี

ใน -การวัดปริมาณสาร

ปฏิบัตกิ าร -หนว่ ยวัด

เคมี -วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์

2 อะตอม 5, 6, 7, 8, 9, -แบบจำลองอะตอม 20 20

และสมบตั ิ 10, 11, 12 -อนุภาคในอะตอมและ 20
30
ของธาตุ ไอโซโทป

-การจัดเรียงอิเล็กตรอนใน

อะตอม

-ตารางธาตุและสมบัติของ

ธาตุหม่หู ลัก

-ธาตแุ ทรนซชิ ัน

-ธาตกุ ัมมันตรงั สี

-การนำธาตุไปใช้ประโยชน์

และผลกระทบต่อส่ิงมชี วี ิต

สอบกลางภาค

3 พันธะเคมี 13, 14, 15, 16, 17, -สัญลักษณ์แบบจุดของลิว 30

18, 19, 20, 21, 22, อิสและกฎออกเตต

23, 24, 25 -พันธะไอออนกิ

-พันธะโคเวเลนต์

-พนั ธะโลหะ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 257

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

-การใช้ประโยชน์ของ

สารประกอบไอออนิก สาร

โคเวเลนต์ และโลหะ

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรยี น 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 258

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหัสวชิ า ว 30222 รายวิชา เคมเี พ่ิมเตมิ 2 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 2

สาระเคมี
ขอ้ ที่ 1 เขา้ ใจโครงสรา้ งอะตอม การจดั เรยี งธาตใุ นตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมี และ

สมบตั ขิ องสาร แก๊สและสมบัติของแก๊ส ประเภทและสมบัตขิ องสารประกอบอนินทรีย์ และ
พอลิเมอรร์ วมทงั้ การนำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน
ชวั่ โมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
5
1. บอกความหมายของ 1.มวลอะตอมของธาตุ การใชจ้ ำนวน 1.ความใจกว้าง 2.
5
มวลอะตอมของธาตุ 2.มวลอะตอมเฉลี่ย การใชว้ จิ ารณญาณ
5
และคำนวณมวลอะตอม ของธาตุ

เฉลี่ยของธ าตุ มว ล 3.มวลโมเลกลุ และ

โมเลกลุ และมวลสตู ร มวลสูตร

2. อธิบาย และคำนวณ 1.ความหมายของโมล การใชจ้ ำนวน 1.ความรอบคอบ2.

ปริมาณใดปริมาณหนึ่ง 2.ความสมั พันธ์ การใช้วจิ ารณญาณ

จากความสัมพันธ์ของ ระหวา่ งโมล จำนวน

โมล จำนวนอนุภาค มวล อนุภาค มวลและ

และปริมาตรของแก๊สที่ ปรมิ าตรของแกส๊

STP ทSี่ TP

3. คำนวณอัตราส่วนโดย กฎสดั สว่ นคงที่ 1.การใช้จำนวน 1.ความใจกว้าง 2.

ม ว ล ข อ ง ธ า ตุ 2.การลงความเห็น การใช้วิจารณญาณ

องค์ประกอบของ จากข้อมลู 3.ความรอบคอบ

สารประกอบตามกฎ 3.การตีความหมาย

สดั ส่วนคงท่ี ข้อมลู และลงข้อสรุป

4. คำนวณสูตรอย่างง่าย สูตรอยา่ งง่ายและสูตร 1.การใช้จำนวน 1.ความใจกว้าง 2. 5
การใช้วจิ ารณญาณ
และสูตรโมเลกลุ ของสาร โมเลกลุ 2.การลงความเหน็ 3.ความรอบคอบ

จากข้อมูล

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 259

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชั่วโมง

3.การตคี วามหมาย

ข้อมูลและลงข้อสรุป

5. คำนวณความเข้มข้น ความเขม้ ข้นของ การใชจ้ ำนวน 1.ความใจกวา้ ง 2. 6

ของสารละลายในหน่วย สารละลายใน ความรอบคอบ

ตา่ ง ๆ หน่วยร้อยละ สว่ นใน

ลา้ นส่วน สว่ นใน

พนั ล้านสว่ น โมลารตีิ

โมแลลิตี และเศษส่วน

โมล

6. อธิบายวิธกี าร และ วธิ กี ารเตรยี ม 1.การวดั 1.ความรอบคอบ 2. 8

เตรียมสารละลายใหม้ ี สารละลาย 2.การใช้จำนวน การใชว้ จิ ารณญาณ

ความเขม้ ข้นในหน่วยโม

ลารติ ี และปริมาตร

สารละลายตามที่กำหนด

7. เปรียบเทียบจุดเดือด สมบตั ิเก่ียวกบั จุด 1.การทดลอง 1.ความมุง่ มน่ั อดทน 6

และจุดเยือกแข็งของ เดอื ดและจดุ เยือกแขง็ 2.การสังเกต 2.ความรอบคอบ 3.

ส า ร ล ะ ล า ย ก ั บ ส า ร ของสารละลายกับ 3.การลงความเหน็ การใช้วจิ ารณญาณ

บริสุทธิ์ รวมทั้งคำนวณ สารบรสิ ุทธิ์ จากข้อมลู

จุดเดือดและจุดเยือก 4.การตคี วามหมาย

แขง็ ของสารละลาย ข้อมลู และลงข้อสรุป

5.การใช้จำนวน

8 . แ ป ล ค ว า ม ห ม า ย 1.สมการเคมี 1.การทดลอง 1.ความซื่อสัตย์ 2

สัญลักษณ์ในสมการเคมี 2.การดลุ สมการเคมี 2.การกำหนดและ 2.ความเช่ือมน่ั ต่อ

เขียนและดุลสมการเคมี ควบคมุ ตัวแปร หลักฐานเชงิ

ของปฏิกิริยาเคมีบาง 3.การจดั กระทำา ประจกั ษ์

ชนดิ และสอื่ ความหมาย

ข้อมูล 4.การ

ตคี วามหมายข้อมลู

และลงข้อสรุป

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 260

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน
ชวั่ โมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
3
9. คำนวณปริมาณของ การคำนวณปริมาณ การใชจ้ ำนวน -
3
สารในปฏิกิริยาเคมีที่ ของสารในปฏิกริ ยิ า
3
เก่ียวขอ้ งกับมวลสาร เคมี ทเี่ กย่ี วข้องกับ
3
มวลสารความเข้มข้น

ของ สารละลาย

ปริมาตรแก๊สและ

ปฏกิ ริ ยิ าเคมี หลาย

ข้นั ตอน

10. คำนวณปริมาณของ การคำนวณปริมาณ การใช้จำนวน -

สารในปฏิกิริยาเคมีท่ี ของสารในปฏิกิริยา

เ ก ี ่ ย ว ข ้ อ ง ก ั บ ค ว า ม เคมี ที่เกย่ี วขอ้ งกบั

เขม้ ข้นของสารละลาย มวลสารความเขม้ ข้น

ของ สารละลาย

ปริมาตรแกส๊ และ

ปฏกิ ิรยิ าเคมี หลาย

ข้นั ตอน

11. คำนวณปริมาณของ การคำนวณปริมาณ การใช้จำนวน -

สารในปฏิกิริยาเคมีท่ี ของสารในปฏิกิรยิ า

เกี่ยวข้องกับปริมาตร เคมี ทเ่ี กี่ยวข้องกับ

แก๊ส มวลสารความเขม้ ข้น

ของ สารละลาย

ปรมิ าตรแกส๊ และ

ปฏกิ ริ ิยาเคมี หลาย

ขั้นตอน

12. คำนวณปริมาณของ การคำนวณปริมาณ การใชจ้ ำนวน -

สารในปฏิกิริยาเคมี ของสารในปฏิกริ ิยา

หลายข้นั ตอน เคมี ทเ่ี กย่ี วข้องกับ

มวลสารความเขม้ ขน้

ของ สารละลาย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 261

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลักษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชัว่ โมง

ปรมิ าตรแก๊สและ

ปฏิกริ ิยาเคมี หลาย

ข้นั ตอน

13. ระบุสารกำหนด 1.สารกำหนดปรมิ าณ 1.การใช้จำนวน 1.ความเชอ่ื มัน่ ต่อ 3

ปริมาณ และคำนวณ 2.การทดลอง หลักฐานเชิง

ปริมาณสารต่าง ๆ ใน 2.การคำนวณปรมิ าณ ประจกั ษ์

ปฏิกริ ยิ าเคมี สารต่างๆเมื่อมี 2.ความรอบคอบ 3.

สารกำาหนดปริมาณ ความซอ่ื สัตย์.

3.ผลไดร้ อ้ ยละ

14. คำนวณผลได้รอ้ ยละ 1.สารกำหนดปริมาณ 1.การใช้จำนวน 1.ความเชื่อม่ันต่อ 3

ของผลิตภัณฑ์ใน 2.การทดลอง หลักฐานเชิง

ปฏิกิริยาเคมี 2.การคำนวณปริมาณ ประจักษ์

สารตา่ งๆเม่ือมี 2.ความรอบคอบ 3.

สารกำาหนดปรมิ าณ ความซ่อื สตั ย์.

3.ผลไดร้ ้อยละ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 262

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวชิ า ว 30222 เคมีเพิ่มเติม 2 / Chemistry 2

รายวชิ าเพม่ิ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาความหมายและคำนวณมวลอะตอม มวลอะตอมสัมพัทธ์ มวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ
โมล มวลต่อโมล มวลโมเลกุลและมวลสูตร ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนโมล อนุภาค มวล
และปริมาตรของแก๊สที่ STP ศึกษากฎสัดส่วนคงที่ คำนวณอัตราส่วนโดยมวล อัตราส่วนโดยโมล
รอ้ ยละโดยมวล สตู รโมเลกลุ และสตู รเอมพริ คิ ัล

ศึกษาหน่วยความเข้มข้นและการคำนวณความเข้มข้นของสารละลายในหน่วยร้อยละ ส่วน
ในล้านส่วน ส่วนในพันล้านส่วน โมลาริตี โมแลลิตีและเศษส่วนโมล ศึกษาการเตรียมสารละลาย
จากสารบริสุทธิ์และจากการเจือจางสารละลายเข้มข้น เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดหลอมเหลวของ
สารบรสิ ทุ ธ์ิและสารละลาย

ศึกษาการเขียนและดุลสมการเคมี อัตราส่วนโดยโมลของสารในปฏิกิริยาเคมี แปล
ความหมายสัญลักษณ์ในสมการเคมี คำนวณปริมาณของสารในปฏิกิริยาเคมีตามกฎทรงมวล
ศึกษากฎการรวมปริมาตรแก๊สของเกย์-ลสู แซกและสมมติฐานของอาโวกาโดร คำนวณปริมาณของสาร
ในปฏิริยาเคมีโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่าง โมล มวล ความเข้มข้นและปริมาตรแก๊ส คำนวณ
ปรมิ าณสารในปฏกิ ิริยาเคมหี ลายขั้นตอน ปริมาณสารเมื่อมสี ารกำหนดปริมาณ และผลไดร้ อ้ ยละ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การสังเกต
วิเคราะห์ เปรียบเทียบ อธิบาย อภปิ รายและสรุป เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถ
ในการตัดสินใจ มีทกั ษะปฏบิ ตั กิ ารทางวิทยาศาสตร์ รวมท้ังทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ในด้านการใช้
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ด้านการคดิ และการแก้ปญั หา ด้านการส่อื สาร สามารถสื่อสารสง่ิ ท่เี รียนรู้และ
นำความรู้ไปใช้ในชีวติ ของตนเอง มีจิตวทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. บอกความหมายของมวลอะตอมของธาตุ และคำนวณมวลอะตอมเฉลี่ยของธาตุ มวล

โมเลกลุ และมวลสตู ร
2. อธิบาย และคำนวณปรมิ าณใดปริมาณหนึง่ จากความสมั พนั ธ์ของโมล จำนวนอนภุ าค มวล

และปรมิ าตรของแก๊สที่ STP
3. คำนวณอตั ราส่วนโดยมวลของธาตอุ งค์ประกอบของสารประกอบตามกฎสดั ส่วนคงท่ี
4. คำนวณสตู รอยา่ งง่ายและสตู รโมเลกุลของสาร
5. คำนวณความเขม้ ขน้ ของสารละลายในหน่วยตา่ ง ๆ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 263

6. อธิบายวิธีการ และเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นในหน่วยโมลาริตี และปริมาตร
สารละลายตามทีก่ ำหนด

7. เปรียบเทียบจุดเดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลายกับสารบริสุทธิ์ รวมทั้งคำนวณ จุด
เดือดและจุดเยือกแข็งของสารละลาย

8. แปลความหมายสญั ลักษณ์ในสมการเคมีเขยี นและดุลสมการเคมขี องปฏิกิริยาเคมีบางชนดิ
9. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกริ ิยาเคมีท่เี กีย่ วข้องกับมวลสาร
10. คำนวณปริมาณของสารในปฏกิ ิรยิ าเคมที ี่เก่ียวข้องกบั ความเขม้ ข้นของสารละลาย
11. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏิกิริยาเคมีทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับปริมาตรแกส๊
12. คำนวณปรมิ าณของสารในปฏกิ ริ ยิ าเคมหี ลายขั้นตอน
13. ระบุสารกำหนดปรมิ าณ และคำนวณปรมิ าณสารต่าง ๆ ในปฏกิ ิริยาเคมี
14. คำนวณผลได้รอ้ ยละของผลิตภัณฑใ์ นปฏิกิริยาเคมี

รวมทัง้ หมด 14 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 264

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวชิ า ว 30222 เคมเี พ่ิมเตมิ 2 / Chemistry 2

รายวชิ าเพิม่ เตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หน่วยกิต

ลำดบั ชอื่ หนว่ ย มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน
4 โมลและ
สตู รเคมี -มวลอะตอม 20 20
5 สารละลาย 20
-โมล 20
6 ปริมาณ 20
สัมพนั ธ์ -สูตรเคมี 20
60 20
-ความเข้มข้นของ
20
สารละลาย 100

-การเตรยี มสารละลาย

-สมบัติบางประการของ

สารละลาย

สอบกลางภาค

-ปฏกิ ริ ยิ าเคมี

-สมการเคมี

-การคำนวณปริมาณสารใน

ปฏิกิรยิ าเคมี

-สารกำหนดปริมาณ

-ผลได้ร้อยละ

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรียน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 265

แบบวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร
รหสั วชิ า ว30223 รายวชิ า เคมี 3 ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1

สาระเคมี
ข้อ 1 เขา้ ใจโครงสร้างอะตอม การจัดเรียงธาตุในตารางธาตุ สมบัติของธาตุ พันธะเคมแี ละ
สมบัติของสาร แก๊สและสมบัติของแก๊สประเภทและสมบัติของสารประกอบอินทรีย์และพอลิเมอร์
รวมทัง้ การนำาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ท้องถิน่ จำนวน
ทักษะ/ คณุ ลักษณะอนั พึง ชั่วโมง
1. อธิบาย 1. ทฤษฎีจลน์ของ
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) 5
ความสมั พนั ธแ์ ละ แก๊ส 1. การทดลอง 1. ความซอื่ สตั ย์
2. การ 2. ความรอบคอบ 1
คำนวณปรมิ าตร 2. กฎของบอยล์ ตีความหมาย 3. ความใจกวา้ ง 2
ข้อมลู และลง
ความดัน หรอื กฎของชารล์ และ ขอ้ สรปุ
3. การใช้จำนวน
อณุ หภูมขิ องแกส๊ ที่ กฎของ เกย–์ ลู 4. การคิดอย่างมี
วจิ ารณญาณและ
ภาวะต่าง ๆ ตามกฎ สแซก การแก้ปัญหา
5. ความร่วมมือ
ของบอยล์ กฎของ การทำงานเป็นทีม
และภาวะผู้นำ
ชารล์ กฎของเกย์– 1. การใชจ้ ำนวน 1. ความรอบคอบ

ลูสแซก

2. คำนวณปริมาตร 1. กฎรวมแกส๊ 1. การใชจ้ ำนวน 1. ความรอบคอบ
ความดนั หรือ 2. การคดิ อยา่ งมี
อณุ หภูมขิ องแก๊สที่ วจิ ารณญาณและ
ภาวะต่าง ๆ ตามกฎ การแกป้ ัญหา
รวมแกส๊
3. คำนวณปรมิ าตร 1. กฎของอาโวกา
ความดนั อุณหภูมิ โดรและกฎแกส๊
จำนวนโมล หรอื มวล อุดมคติ
ของแกส๊ จาก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 266

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิน่ จำนวน
ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ชวั่ โมง
ความสัมพันธ์ตามกฎ
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) 1
ของอาโวกาโดร และ 3
1. การใชจ้ ำานวน 1. ความรอบคอบ
กฎแกส๊ อุดมคติ 4
1. การสังเกต 1. ความใจกว้าง
4. คำนวณความดนั 1. กฎความดัน 2. การใช้จำนวน 2. ความรอบคอบ

ย่อยหรือจานวนโม ย่อยของดอลตนั

ลของแก๊สในแกส๊

ผสม โดยใช้กฎความ

ดนั ยอ่ ยของดอลตนั

5. อธบิ ายการแพร่ 1. การแพร่ของ

ของแกส๊ โดยใช้ แกส๊

ทฤษฎีจลน์ของแกส๊ 2. กฎการแพร่

คำนวณและ ผ่านของเกรแฮม

เปรยี บเทียบอัตรา

การแพร่ของแกส๊

โดยใชก้ ฎการแพร่

ผ่านของเกรแฮม

6. สืบคน้ ขอ้ มูล 1. ปรากฏการณ์ที่ 1. การคดิ อย่างมี 1. ความใจกว้าง
วิจารณญาณและ 2. การเห็นคณุ ค่า
นำเสนอตัวอยา่ ง เกีย่ วขอ้ งกบั แก๊ส การแกป้ ัญหา ทางวิทยาศาสตร์
2. การสอ่ื สาร
และอธบิ ายการ 2. การประยกุ ต์ใช้ สารสนเทศและ
การรเู้ ทา่ ทนั สื่อ
ประยุกต์ใช้ความรู้ ความรเู้ ก่ียวกับ

เก่ยี วกบั สมบัติและ แก๊สในชวี ติ

กฎตา่ ง ๆ ของแกส๊ ประจำาวันและ

ในการอธิบาย อุตสาหกรรม

ปรากฏการณ์ หรือ

แก้ปัญหานชวี ติ

ประจำาวันและใน

อตุ สาหกรรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 267

ขอ้ 2 เข้าใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี ปริมาณสมั พันธใ์ นปฏกิ ริ ยิ าเคมี อตั ราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด–เบสปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์
เคมีไฟฟา้ รวมทั้งการนำาความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพึง จำนวน
ชว่ั โมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
4
1. ทดลอง และเขยี น 1. การ 1. การสังเกต การใช้
5
กราฟการเพ่ิมข้ึน เปลยี่ นแปลงของ 2. การวดั วจิ ารณญาณ

หรือลดลงของสาร สารเมอ่ื 3. การใช้จำนวน

ท่ีทำาการวัดใน เกิดปฏิกิรยิ าเคมี 4. การกำาหนด

ปฏกิ ริ ยิ า 2. การคำนวณ นยิ ามเชงิ

2. คำนวณอัตราการ อัตราการ ปฏบิ ตั ิการ

เกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี เกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี 5. การทดลอง

และเขยี นกราฟการ 6. การจดั กระทำา

ลดลงหรอื เพ่ิมขน้ึ และสือ่

ของสารที่ไม่ได้วัดใน ความหมายข้อมลู

ปฏิกิริยา 7. การ

ตคี วามหมาย

ข้อมูลและลง

ข้อสรุป

ความร่วมมอื การ

ทำงานเป็นทีม

และภาวะผู้นำา

3. เขยี นแผนภาพ 1. แนวคิดเกยี่ วกับ 1. การสงั เกต 1. ความรว่ มมอื

และอธิบายทิศ การเกิดปฏกิ ิริยา การทำงานเปน็ ทีม

ทางการชนกันของ เคมี และภาวะผูน้ ำ

อนุภาคและพลงั งาน 2. ทฤษฎกี ารชน 2. การใช้

ที่สง่ ผลตอ่ อัตราการ 3. พลังงานก่อกมั วจิ ารณญาณ

เกิดปฏิกริ ยิ าเคมี มันต์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 268

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถิ่น จำนวน
ทักษะ/ คุณลกั ษณะอันพงึ ชวั่ โมง
4. ทดลองและ 1. ปจั จยั ท่มี ีผลตอ่
อธิบายผลของความ อตั ราการ กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) 11
เข้มข้น พื้นทผ่ี ิวของ เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี 1. การ 1. การใช้
สารตั้งตน้ อณุ หภมู ิ ตั้งสมมติฐาน วิจารณญาณ 2
และตัวเรง่ ปฏิกิรยิ าท่ี 2. การกำาหนด 2. ความซอ่ื สตั ย 7
มีตอ่ อตั ราการ และควบคุมตัว
เกิดปฏิกริ ิยาเคมี แปร
5. เปรียบเทียบอัตรา 3. การทดลอง
การเกิดปฏิกริ ิยาเมื่อ 4. การ
มีการเปล่ียนแปลง ตีความหมาย
ความเขม้ ข้น พน้ื ที่ ข้อมลู และลง
ผิวของสารตั้งตน้ ขอ้ สรปุ
อณุ หภูมิ และตัวเร่ง 4. การคดิ อยา่ งมี
ปฏิกิรยิ า วจิ ารณญาณและ
การแกป้ ัญหา
6. ยกตวั อยา่ งและ 1. ผลของปจั จยั ที่ 5. การสือ่ สาร
สารสนเทศและ
อธิบายปัจจยั ทม่ี ผี ล มีตอ่ อัตราการ การรู้เทา่ ทนั สื่อ
6. ความร่วมมอื
ต่ออตั ราการ เกดิ ปฏิกริ ยิ า เคมี การทำงานเป็นทมี
และภาวะผู้นำา
1. การส่อื สาร 1. ความอยากรู้
สารสนเทศและ อยากเห็น
การรู้เท่าทนั สื่อ 2. ความใจกว้าง

เกิดปฏกิ ิรยิ าเคมีใน ในชีวิตประจำาวนั

ชีวิตประจำาวันหรือ หรืออตุ สาหกรรม

อุตสาหกรรม

7. ทดสอบและ 1. ปฏิกริ ยิ าผนั 1. การสังเกต 1. ความอยากรู้
2. การทดลอง อยากเห็น
อธิบายความหมาย กลบั ได้ 3. การ 2. ความใจกว้าง
ตีความหมาย
ของปฏกิ ริ ยิ าผนั กลบั 2. ภาวะสมดุล

ได้และภาวะสมดลุ และสมดุลพลวัต

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 269

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลกั ษณะอันพึง จำนวน
ชวั่ โมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
5
8. อธิบายการ 3. การ ข้อมูลและลง 3. การใช้
7
เปลยี่ นแปลงความ เปล่ยี นแปลงความ ข้อสรปุ วิจารณญาณ

เขม้ ขน้ ของสาร เขม้ ขน้ ของสาร 4. การสื่อสาร

อตั ราการ และ อัตราการ สารสนเทศและ

เกิดปฏกิ ิริยาไป เกิดปฏิกิรยิ าของ การรูเ้ ทา่ ทัน

ข้างหน้า และอัตรา ระบบเมื่อเขา้ สู่ 5. ความร่วมมอื

การเกิดปฏกิ ริ ยิ า ภาวะสมดลุ การทางานเป็นทมี

ย้อนกลับ เมื่อเรม่ิ และภาวะผู้นำา

ปฏกิ ริ ยิ าจนกระทง่ั

9. คำนวณค่าคงท่ี 1. คา่ คงท่ีสมดลุ 1. การใชจ้ ำนวน 1. ความรอบคอบ

สมดลุ ของปฏิกิริยา และความเขม้ ข้น 2. การ

10. คำนวณความ ของสาร ท่ี ตีความหมาย

เขม้ ขน้ ของสารที่ ภาวะสมดุล ข้อมูลและลง

ภาวะสมดุล ข้อสรุป

11. คำนวณคา่ คงที่

สมดลุ หรอื ความ

เข้มข้นของปฏิกริ ิยา

หลายขัน้ ตอน

12. ระบุปจั จัยทมี่ ีผล 1. ปจั จยั ที่มผี ลต่อ 1. การสังเกต 1. การใช้

ต่อภาวะสมดุลและ ภาวะสมดุลและ 2. การพยากรณ์ วิจารณญาณ

ค่าคงทส่ี มดลุ ของ ค่าคงท่ีสมดลุ 3. การทดลอง 2. ความซ่อื สัตย์

ระบบ รวมทัง้ 2. หลักของเลอชา 4. การคิดอยา่ งมี

คาดคะเนการ เตอลเิ อ วจิ ารณญาณและ

เปลี่ยนแปลงท่ี การแก้ปัญหา

เกิดขน้ึ เมื่อภาวะ 5. การสื่อสาร

สมดุลของระบบถูก สารสนเทศและ

รบกวนโดยใช้หลัก การรู้เทา่ ทนั สื่อ

ของเลอชาเตอลเิ อ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 270

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลักษณะอันพงึ จำนวน
ชว่ั โมง
13. ยกตวั อย่างและ กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
อธิบายสมดลุ เคมี 3
ของกระบวนการที่ 6. ความรว่ มมือ
เกิดขึน้ ในส่งิ มีชวี ิต
ปรากฏการณใ์ น การทำงานเป็นทีม
ธรรมชาตแิ ละ
กระบวนการใน และภาวะผูน้ ำ
อตุ สาหกรรม
1. สมดุลเคมีของ 1. การลง 1. ความอยากรู้

กระบวนการที่ ความเห็นจาก อยากเหน็

เกิดขึน้ ใน ขอ้ มลู 2. การใช้

ส่งิ มชี ีวติ 2. การสือ่ สาร วจิ ารณญาณ

ปรากฏการณใ์ น สารสนเทศและ 3. การเห็นคณุ ค่า

ธรรมชาตแิ ละ การรเู้ ทา่ ทันสื่อ ทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการใน 3. การคิดอย่างมี

อุตสาหกรรม วิจารณญาณและ

2. กระบวนการฮา การแกป้ ัญหา

เบอร์ 4. ความรว่ มมือ

การทำงานเปน็ ทมี

และภาวะผ้นู ำา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 271

คำอธิบายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30223 เคมีเพ่ิมเตมิ 3 / Chemistry 3

รายวิชาเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 จำนวน 60 ช่วั โมง 1.5 หน่วยกติ

ศึกษาความสัมพนั ธ์และคำนวณปรมิ าตรความดัน หรืออณุ หภูมิของแกส๊ ท่ีภาวะต่างๆ ตามกฎ
ของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์-ลูสแซก ปริมาตรความดนั หรอื อุณหภูมิของแก๊สที่ภาวะต่างๆตาม
กฎรวมแก๊ส ปริมาตร ความดัน อุณหภูมิ จำนวนโมลหรือมวลของแก๊สจากความสัมพันธ์ตามกฎของ
อาโวกาโดรและกฎแก๊สอุดมคติ ความดันย่อย หรือจำนวนโมลของแก๊สในแก๊สผสมโดยใช้กฎความ
ดันย่อยของดอลตัน การแพร่ของแก๊สโดยใช้ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส อัตราการแพร่ของแก๊ส โดยใช้กฎ
การแพร่ผ่านของเกรแฮม การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับสมบัติและกฏต่างๆของแก๊สในการอธิบาย
ปรากฏการณ์ หรือแก้ปัญหาในชีวิตประจำวันและในอุตสาหกรรม ทดลองและเขียนกราฟการเพ่ิมขึ้น
หรือลดลงของสารที่ทำการวัดในปฏิกิริยา อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี และการลดลงหรือเพิ่มขึ้นของ
สารที่ไมไ่ ดว้ ัดในปฏิกริ ยิ า ทศิ ทางการชนกนั ของอนุภาคและพลังงานทส่ี ่งผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา
ริยาเคมี ผลของความเข้มข้น พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น อุณหภูมิ และตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีต่ออัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีเปรียบเทียบอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงความเข้มข้น พื้นที่ผิว
ของสารตั้งต้นอุณหภูมิ และตัวเร่งปฏิกิริยา ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริ ยาเคมีใน
ชีวิตประจำวันหรืออุตสาหกรรม ความหมายของปฏิกิริยาผันกลับได้และภาวะสมดุล การ
เปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารอัตราการเกิดปฏิกิริยาไปข้างหน้าและอัตราการเกิดปฏิกิริยา
ย้อนกลับ เมื่อเริ่มปฏิกิริยาจนกระทั่งระบบอยู่ในภาวะสมดุล ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา ค่าควา ม
เข้มข้นของสารที่ภาวะสมดุล ค่าคงท่ีสมดุลหรือความเข้มข้นของปฏิกิริยาหลายขั้นตอน ปัจจัยที่มีผล
ตอ่ ภาวะสมดุลและค่าคงทส่ี มดุลของระบบ รวมทัง้ การเปลยี่ นแปลงทเ่ี กิดขึ้นเมอื่ ภาวะสมดุลของระบบ
ถูกรบกวน โดยใช้หลักของเลอชาเตอลิเอ และสมดุลเคมีของกระบวนการที่เกิดขึ้นในส่ิ งมีชีวิต
ปรากฏการณใ์ นธรรมชาติและกระบวนการในอุตสาหกรรม

โดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ
ตรวจสอบ สามารถนำความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบายปรากฎการณ์ หรือ
แกป้ ัญหาในชวี ิตปรำจำวนั สามารถจดั กระทำและวิเคราะหข์ ้อมูล สอื่ สารสิง่ ทเี่ รียนรู้ มีความสามาร
ในการตดั สินใจแก้ปัญหา มีจิตวทิ ยาศาสตร์ เหน็ คณุ ค่าของวิทยาศาสตร์ มจี ริยธรรม คุณธรรมและ
ค่านยิ มท่ีเหมาะสม
ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายความสัมพันธแ์ ละคำนวณปริมาตรความดนั หรืออณุ หภมู ิของแก๊สท่ีภาวะตา่ งๆ ตามกฎ
ของบอยล์ กฎของชาร์ล กฎของเกย์-ลสู แซก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 272

2. คำนวณปริมาตรความดันหรอื อุณหภมู ขิ องแกส๊ ท่ภี าวะตา่ งๆตามกฎรวมแก๊ส
3. คำนวณปริมาตร ความดนั อุณหภมู ิ จำนวนโมลหรือมวลของแก๊สจากความสมั พันธต์ ามกฎของอา
โวกาโดรและกฎแก๊สอดุ มคติ
4. คำนวณความดนั ย่อย หรอื จำนวนโมลของแก๊สในแก๊สผสมโดยใช้กฎความดันยอ่ ยของดอลตนั
5. อธบิ ายการแพรข่ องแกส๊ โดยใช้ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ คำนวณและเปรียบเทยี บอตั ราการแพร่ของแกส๊
โดยใชก้ ฎการแพรผ่ ่านของเกรแฮม
6. สืบค้นข้อมูล นำเสนอตัวอย่าง และอธิบายการประยุกตใ์ ชค้ วามรูเ้ กี่ยวกบั สมบัติและกฎตา่ งๆ ของ
แก๊สในการอธิบายปรากฏการณ์ หรือแกป้ ัญหาในชีวติ ประจำวนั และในอตุ สาหกรรม
7. ทดลองและเขยี นกราฟการเพ่มิ ข้นึ หรือลดลงของสารทท่ี ำการวัดในปฏกิ ิริยา
8. คำนวณอัตราการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี และเขยี นกราฟการลดลงหรือเพิ่มข้ึนของสารท่ีไม่ไดว้ ดั ใน
ปฏิกิรยิ า
9. เขียนแผนภาพ และอธบิ ายทิศทางการชนกันของอนุภาคและพลงั งานทีส่ ่งผลต่ออตั ราการ
เกิดปฏิกริ ยิ าริยาเคมี
10. ทดลองและอธิบายผลของความเข้มขน้ พื้นทผี่ วิ ของสารตงั้ ตน้ อณุ หภูมิ และตวั เรง่ ปฏกิ ิรยิ าที่มตี ่อ
อัตราการเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมี
11. เปรียบเทยี บอตั ราการเกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมเี มือ่ มีการเปลีย่ นแปลงความเข้มขน้ พนื้ ที่ผิวของสารตัง้ ตน้
อณุ หภมู ิ และตัวเรง่ ปฏิกิรยิ า
12. ยกตวั อยา่ งและอธบิ ายปัจจัยที่มีผลตอ่ อัตราการเกดิ ปฏกิ ิรยิ าเคมใี นชวี ติ ประจำวนั หรอื
อุตสาหกรรม
13. ทดสอบและอธบิ ายความหมายของปฏกิ ิรยิ าผันกลับได้และภาวะสมดุล
14. อธิบายการเปลย่ี นแปลงความเข้มขน้ ของสารอตั ราการเกดิ ปฏกิ ริ ิยาไปขา้ งหนา้ และอัตราการ
เกิดปฏกิ ริ ยิ าย้อนกลบั เมื่อเร่ิมปฏิกริ ิยาจนกระท่งั ระบบอยู่ในภาวะสมดุล
15. คำนวณคา่ คงท่สี มดลุ ของปฏกิ ริ ิยา
16. คำนวณค่าความเข้มขน้ ของสารท่ภี าวะสมดุล
17. คำนวณค่าคงที่สมดุลหรือความเขม้ ขน้ ของปฏิกิรยิ าหลายขนั้ ตอน
18. ระบปุ จั จัยทม่ี ีผลต่อภาวะสมดุลและคา่ คงที่สมดุลของระบบ รวมท้ังคาดคะเนการเปลยี่ นแปลงท่ี
เกิดข้ึนเม่ือภาวะสมดลุ ของระบบถูกรบกวน โดยใช้หลกั ของเลอชาเตอลเิ อ
19. ยกตวั อย่าง และอธิบายสมดุลเคมีของกระบวนการทเ่ี กิดขึน้ ในส่งิ มชี วี ิตปรากฏการณ์ในธรรมชาติ
และกระบวนการในอุตสาหกรรม

รวมทงั้ หมด 19 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 273

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวิชา ว30223 เคมีเพ่ิมเตมิ 3 / Chemistry 3

รายวชิ าเพิม่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ

ลำดับ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

1 ของแขง็ 1, 2, 3, 4, 5, 6 -การจัดเรียงอนุภา ค ข อง 30 30

ของเหลว ของแข็ง เตรียมผลึกสาร ชนิด

แกส๊ ของผลึกการเปลี่ยนสถานะของ

ของแข็ง การหลอมเหลว การ

ระเหิด

-สมบัติของของเหลวเกี่ยวกับ

ความตึงผิว การระเหย ความ

ดันไอ ความดันไอกับจุดเดือด

ของของเหลวความสัมพันธ์

ระหว่างความดันไอของ

ของเหลวต่างชนิด และผลของ

อณุ หภมู ติ อ่ ความดนั ไอ

-สมบัติบางประการของแก๊ส

ท ฤ ษ ฎ ี จ ล น ์ ข อ ง แ ก๊ ส

ค ว า ม ส ั ม พ ั น ธ ์ ข อ ง ค ว า ม ดั น

อุณหภูมิและปริมาตรของแก๊ส

และคำนวณหาปริมาตร ความ

ดัน และอุณหภูมิของแก๊สโดย

ใช้กฎของบอยล์ กฎของชาร์ล

กฎรวมแก๊ส

-คำนวณความดัน ปริมาตร

จำนวนโมล มวล และอุณหภูมิ

ของแก๊สตามกฎแกส๊ สมบรู ณ์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 274

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

-การแพร่และอัตราการแพร่

ของแก๊ส การคำนวณเกี่ยวกับ

กฎการแพร่ผา่ นของเกรแฮม

- เ ท ค โ น โ ล ย ี ท ี ่ เ ก ี ่ ย ว ข ้ อ ง กั บ

สมบัติของของแข็ง ของเหลว

และแกส๊

สอบกลางภาค 20

2 อตั ราการ 7,8,9,10, 11, 12 -ความหมายของอัตราการ 15 15

เกิด เกิดปฏิกิริยาเคมี อัตราการ

ปฏิกิริยา เกิดปฏิกิริยาเคมี การคำนวณหา

เคมี อัตราการเกิดปฏิกิริยาของสาร

จากกราฟ แนวคิดเกี่ยวกับการ

เกิดปฏิกิริยาเคมีโดยใช้ทฤษฎี

จลน์และการชนกันของอนุภาค

การเกิดสารเชิงซ้อนกัมมันต์

พลังงานกับการดำเนินไปของ

ปฏกิ ิรยิ าเคมี

-ผลของความเข้มข้น พื้นที่ผิว

อณุ หภมู ิ ตัวเร่งปฏกิ ริ ยิ าและตัว

หน่วงปฏิกิริยาต่ออัตราการ

เกิดปฏิกิริยาเคมี สมบัติของ

ตัวเร่งปฏิกิริยา อธิบายผลของ

ปัจจัยต่างๆ ที่มีต่ออัตราการ

เกิดปฏกิ ริ ยิ าเคมี

3 สมดลุ เคมี 13,14,15, 16, 17, -ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นอย่าง 15 15

18, 19 สมบูรณ์ การเกิดปฏิกิริยาไป

ข้างหน้า ปฏิกิริยาย้อนกลับและ

ปฏิกิริยาที่ผันกลับได้ การ

เปลี่ยนแปลงที่ทำให้เกิดภาวะ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 275

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

สมดุลระหว่างสถานะ สมดุลใน

สารละลายอ่ิมตัว สมดลุ ไดนามิก

-สมดุลเคมีในปฏิกิริยา

ความสัมพันธ์ระหว่างความ

เข้มข้นของสารต่างๆ ณ ภาวะ

สมดุล ค่าคงที่สมดุลกับสมการ

เคมี คำนวณหาค่าคงท่ีของสมดุล

และหาความเข้มข้นของสารใน

ปฏกิ ิรยิ า ณ ภาวะสมดลุ

- ผลของความเข้มข้น ความดัน

อุณหภูมิต่อภาวะสมดุลและ

ค่าคงที่สมดุล หลักของเลอชา

เตอลิเอและการนำหลักของเลอ

ชาเตอลิเอไปใช้ในกระบวนการ

อุตสาหกรรม กระบวนการต่างๆ

ของส่ิงมชี ีวิตและส่งิ แวดล้อม

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 276

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ของหลักสตู ร
รหสั วิชา ว30224 รายวชิ า เคมี 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2

สาระเคมี
ข้อ 2 เขา้ ใจการเขยี นและการดลุ สมการเคมี ปรมิ าณสมั พนั ธใ์ นปฏกิ ิริยาเคมี อตั ราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด–เบสปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์
เคมไี ฟฟา้ รวมทั้งการนำาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอนั พงึ จำนวน
ชว่ั โมง
14. ระบแุ ละอธบิ าย กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
วา่ สารเป็นกรดหรอื 4
เบส โดยใชท้ ฤษฎี 1. ทฤษฎกี รด-เบส 1. การสังเกต 1. การใช้
กรด-เบสของอารเ์ ร 2
เนียส ของอารเ์ รเนียส 2. การจำแนก วิจารณญาณ
เบรินสเตด-ลาวรี 10
และลิวอสิ เบรินสเตด– ลาวรี ประเภท 2. การเหน็ คุณค่า
15. ระบุค่กู รด-เบส
ของสารตามทฤษฎี และลวิ อิส 3. ความรว่ มมือ ทางวทิ ยาศาสตร์
กรด-เบสของเบรินส
เตด-ลาวรี การทำงานเป็นทีม

16. คำนวณและ และภาวะผ้นู ำ
เปรยี บเทยี บ
ความสามารถในการ 1. คูก่ รด-เบสของ 1. การ 1. ความใจกวา้ ง
แตกตวั ของกรดและ สารตามทฤษฎี ตคี วามหมาย 2. การใช้
เบส กรด-เบสของ ข้อมลู และลง วิจารณญาณ
เบรินสเตด-ลาวรี ข้อสรปุ
2. สารแอมโฟ 2. การคดิ อย่างมี 1. ความใจกวา้ ง
เทอริก วิจารณญาณและ
การแกป้ ัญหา
1. การคำนวณ 1. การ
ความเข้มข้นของ ตั้งสมมติฐาน
ไฮโดรเนยี ม 2. การทดลอง
ไอออนหรือไฮดร 3. การใช้จำนวน
อกไซดไ์ อออน ใน 4. การ
สาร ละลายกรด ตคี วามหมาย
และเบส

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 277

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลกั ษณะอันพึง จำนวน
ชั่วโมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )

2. ร้อยละการแตก ขอ้ มลู และลง

ตัวของกรดอ่อน ข้อสรุป

หรอื เบสอ่อน 5. ความร่วมมอื

3. คา่ คงท่ีการแตก การทำงานเปน็ ทมี

ตัวของกรดอ่อน และภาวะผูน้ ำ

หรือเบสอ่อน

17. คำนวณค่า pH 1. คา่ คงท่ีการแตก 1. การใชจ้ ำนวน 1. ความใจกว้าง 12
12
ความเขม้ ข้นของ ตวั ของน้ำา 2. การคดิ อยา่ งมี 2. การใช้

ไฮโดรเนียมไอออน 2. การคำนวณคา่ วจิ ารณญาณและ วิจารณญาณ

หรอื ไฮดรอกไซด์ pH ของ การแก้ปัญหา 3. ความรอบคอบ

ไอออนของ สารละลายกรด 3. การสอื่ สาร

สารละลายกรดและ และเบส สารสนเทศและ

เบส 3. การคำนวณ การรู้เท่าทันส่ือ

ความเข้มข้นของ

ไฮโดรเนยี ม

ไอออน หรือไฮดร

อกไซดไ์ อออน

ของสารละลาย

กรด และเบส

18. เขยี นสมการเคมี 1. การ 1. การสงั เกต 1. ความใจกวา้ ง

แสดงปฏิกริ ิยา เกิดปฏกิ ิรยิ า 2. ความรว่ มมือ 2. การใช้

สะเทนิ และระบุ ระหว่างกรดกับ การทำงานเป็นทีม วิจารณญาณ

ความเปน็ กรด-เบส เบส ปฏิกริ ิยา และภาวะผู้นำา

ของสารละลายหลัง สะเทิน และ

การสะเทนิ ปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลิ

19. เขยี นปฏกิ ิริยา ซสิ

ไฮโดรลซิ ิสของเกลือ 2. การเขยี น

และระบุความเปน็ สมการเคมีแสดง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 278

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอนั พึง จำนวน
ชั่วโมง
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A )
12
กรด-เบสของ ปฏิกริ ยิ าระหวา่ ง
4
สารละลายเกลือ กรดกับเบส

ปฏกิ ิรยิ าสะเทนิ

และปฏิกิริยา

ไฮโดรลซิ สิ

3. ความเป็นกรด-

เบสของ

สารละลายเกลือ

20. ทดลองและ 1. สารละลาย 1. การสังเกต 1. ความรอบคอบ

อธบิ ายหลักการการ มาตรฐาน จดุ 2. การวดั 2. การเหน็ คณุ ค่า

ไทเทรต และเลือกใช้ สมมูล จดุ ยุตแิ ละ 3. การทดลอง ทางวทิ ยาศาสตร์

อนิ ดิเคเตอร์ท่ี หลักการการ 4. การจัดกระทำา

เหมาะสมสำาหรบั ไทเทรต และสอ่ื

การไทเทรตกรด-เบส 2. การเลือกใช้ ความหมายข้อมลู

21. คำานวณ อนิ ดิเคเตอรท์ ี่ 5. การใชจ้ ำนวน

ปริมาณสารหรอื เหมาะสมสำาหรบั 6. การส่ือสาร

ความเข้มขน้ ของ การไทเทรต สารสนเทศและ

สารละลายกรดหรือ 3. การคำนวณ การรเู้ ท่าทนั สื่อ

เบสจากการไทเทรต ปรมิ าณสารหรือ 7. ความรว่ มมือ

ความเข้มขน้ ของ การทำงานเปน็ ทมี

สารละลายกรด และภาวะผนู้ ำ

หรอื เบสจากการ

ไทเทรต

22. อธิบายสมบัติ 1. สมบตั ิ 1. การสงั เกต 1. ความรอบคอบ

องคป์ ระกอบ และ องค์ประกอบ และ 2. การลง 2. การเห็นคุณค่า

ประโยชนข์ อง ประโยชน์ของ ความเหน็ จาก ทางวทิ ยาศาสตร์

สารละลายบฟั เฟอร สารละลาย ขอ้ มลู

บฟั เฟอร์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 279

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ จำนวน
ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พึง ช่วั โมง
23. สืบคน้ ข้อมลู 1. การใช้
กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) 4
3. การส่ือสาร
และนำาเสนอ ประโยชนแ์ ละการ สารสนเทศและ
การร้เู ทา่ ทันส่ือ
ตวั อย่างการใช้ แก้ปญั หาโดยใช้ 4. ความร่วมมอื
การทำงานเปน็ ทมี
ประโยชน์และการ ความรูเ้ ร่ืองกรด- และภาวะผนู้ ำ
1. การจัดกระทำา 1. ความใจกวา้ ง
แกป้ ญั หา โดยใช้ เบส และส่อื 2. การใช้
ความหมายข้อมูล วิจารณญาณ
ความรเู้ กยี่ วกบั กรด– 2. การส่อื สาร 3. การเห็นคุณค่า
สารสนเทศและ ทางวทิ ยาศาสตร์
เบส การรเู้ ท่าทันสื่อ
3. ความรว่ มมอื
การทำงานเป็นทมี
และภาวะผนู้ ำ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 280

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ว30224 เคมเี พ่ิมเตมิ 4 / Chemistry 4

รายวชิ าเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาว่าสารเป็นกรดหรือเบสโดยใช้ทฤษฎีกรด-เบสของ อาร์เรเนียส เบรินสเตด-ลาวรี หรือ
ลิวอีส ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี ความสามารถในการแตกตัว
หรือความแรงของกรดและเบส คำนวณค่า pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรือไฮดรอกไซค์
ไอออนของสารละลายกรดและเบส สมการเคมีแสดงปฏิกิริยาสะเทิน และความเป็นกรด-เบสของ
สารละลายหลงั การสะเทิน ปฏิกิรยิ าไฮโดรลิซสิ ของเกลือ และความเป็นกรด-เบสของสารละลายเกลือ
หลักการการไทเทรตและเลือกใช้อินดิเคตอร์ที่เหมาะสมสำหรับการไทเทรตกรด-เบสคำนวณปริมาณ
สารหรือความเข้มข้นของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต สมบัติองค์ประกอบและประโยชน์
ของสารละลายบัฟเฟอร์ การใชป้ ระโยชนแ์ ละการแกป้ ัญหาโดยใช้ความรู้เกย่ี วกับกรด-เบส

โดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ
ตรวจสอบ สามารถนำความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบายปรากฎการณ์ หรือ
แก้ปัญหาในชวี ิตปรำจำวัน สามารถจดั กระทำและวิเคราะห์ข้อมลู สือ่ สารสิ่งที่เรียนรู้ มคี วามสามาร
ในการตดั สินใจแก้ปัญหา มีจติ วิทยาศาสตร์ เห็นคณุ ค่าของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรมและ
ค่านิยมท่ีเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. ระบุ และอธิบายวา่ สารเป็นกรดหรอื เบสโดยใชท้ ฤษฎีกรด-เบสของ อารเ์ รเนียส เบรนิ สเตด-ลาวรี
หรอื ลวิ อสี
2. ระบุคู่กรด-เบสของสารตามทฤษฎีกรด-เบสของเบรินสเตด-ลาวรี
3. คำนวณและเปรียบเทยี บความสามารถในการแตกตัวหรอื ความแรงของกรดและเบส
4. คำนวณคา่ pH ความเข้มข้นของไฮโดรเนียมไอออนหรอื ไฮดรอกไซคไ์ อออนของสารละลายกรด
และเบส
5. เขียนสมการเคมแี สดงปฏกิ ิรยิ าสะเทนิ และระบคุ วามเป็นกรด-เบสของสารละลายหลงั การ สะเทิ
6. เขียนปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสของเกลือ และระบคุ วามเปน็ กรด-เบสของสารละลายเกลอื
7. ทดลอง และอธิบายหลกั การการไทเทรตและเลอื กใช้อนิ ดิเคตอร์ที่เหมาะสมสำหรับการไทเทรต
กรด-เบส
8. คำนวณปริมาณสารหรือความเข้มขน้ ของสารละลายกรดหรือเบสจากการไทเทรต

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 281

9. อธิบายสมบตั อิ งคป์ ระกอบและประโยชนข์ องสารละลายบัฟเฟอร์
10. สืบคน้ ข้อมลู และนำเสนอตัวอย่างการใช้ประโยชน์และการแก้ปัญหาโดยใชค้ วามรู้เกี่ยวกบั กรด-
เบส

รวมทง้ั หมด 10 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 282

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวิชา ว30224 เคมีเพิ่มเติม 4 / Chemistry 4

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์

ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 จำนวน 60 ช่วั โมง 1.5 หน่วยกิต

ลำดับ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน
1 กรดเบส1
1, 2, 3, 4 - สมบตั บิ างประการของ 30 30

สารละลายอเิ ล็กโทรไลตแ์ ละ

สารละลายนอนอิเล็กโทร

ไลต์ ประเภทของ

สารละลายอิเลก็ โทรไลต์

ไอออนในสารละลาย กรด

และเบส

- ทฤษฎกี รดเบสของอารเ์ ร

เนยี ส เบรินสเตด–ลาวรี และ

ลิวอิส การถ่ายโอนโปรตอน

ของสารละลายกรดและเบส

คกู่ รดเบส

- การคำนวณและการเขยี น

สมการการแตกตัวของกรด

และเบส การคำนวณคา่ คงที่

การแตกตวั เป็นไอออนของ

กรดอ่อนและเบสอ่อน

- การแตกตัวเปน็ ไอออนของ

น้ำ การคำนวณคา่ คงท่ีการ

แตกตวั ของนำ้ pH ของ

สารละลาย และการคำนวณ

ค่า pH อินดเิ คเตอร์สำหรบั

กรดและเบส สารละลายกรด

และเบสในชวี ติ ประจำวัน

และในส่งิ มชี วี ิต

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 283

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

2 กรดเบส2 สอบกลางภาค 20

5,6,7,8,9,10 - ปฏิกิริยาสะเทินและ 30 30

ปฏกิ ิรยิ าการเกดิ เกลอื จาก

ปฏิกิรยิ าระหว่างสารละลาย

กรดกบั สารละลายเบส

- ปฏิกริ ิยาไฮโดรลซิ สิ ของ

เกลอื

- การไทเทรตสารละลายกรด

และเบส การเขียนกราฟและ

การหาจุดสมมลู จากกราฟ

ของการไทเทรต และ

คำนวณหาความเขม้ ขน้ ของ

สารละลายกรดและเบส

- หลกั การเลือกใชอ้ ินดเิ ค

เตอรส์ ำหรับไทเทรตกรดและ

เบส ประยกุ ตค์ วามรูเ้ รอื่ ง

การไทเทรตไปใช้ใน

ชวี ิตประจำวนั

- สมบตั ิความเป็นบฟั เฟอร์

ของสารละลายเพื่อให้มี

ความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกบั

อัตราการเกิดปฏกิ ริ ิยาเคมี

- สมดุลเคมีในสิ่งมชี ีวิตและ

สิ่งแวดลอ้ ม และสารละลาย

กรดและเบส

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรยี น 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 284

แบบวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ของหลกั สตู ร
รหัสวชิ า ว 30225 รายวิชา เคมีเพมิ่ เตมิ 5 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 ภาคเรียนที่ 1

สาระเคมี
ข้อ 2 เข้าใจการเขียนและการดุลสมการเคมี ปริมาณสัมพันธ์ในปฏิกิริยาเคมี อัตราการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี สมดุลในปฏิกิริยาเคมี สมบัติและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์และเซลล์
เคมไี ฟฟ้า รวมทง้ั การนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอนั พึง จำนวน
ชวั่ โมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
3
1. คำนวณเลข -วธิ กี ารคำนวณ -การจำแนก -ความซอ่ื สัตย์สุต
3
ออกซิเดชัน และระบุ เลขออกซเิ ดชัน ประเภท จากการ จริต

ปฏิกริ ยิ าที่เป็น และปฏิกริ ยิ ารี อภปิ รายและการ -ความใฝเ่ รียนรู้

ปฏิกิรยิ าทีเ่ ปน็ ดอกซ์ จากการ ทำแบบฝกึ หัด -ความมงุ่ มน่ั ในการ

ปฏกิ ริ ยิ ารีดอกซ์ อภปิ ราย การทำ -การใชจ้ ำนวน ทำงาน

แบบฝกึ หดั และ จากการทำ

การทดสอบ แบบฝกึ หัด

2. วิเคราะหก์ าร -การ -การลงความเห็น -ความซ่อื สตั ย์สตุ

เปล่ียนแปลงเลข เปลย่ี นแปลงเลข จากข้อมูลและการ จรติ

ออกซเิ ดชนั และระบุ ออกซิเดชนั ตัว จำแนกประเภท -ความใฝเ่ รยี นรู้

ตวั รดี วิ ซแ์ ละตวั ออกซิ รีดิวซ์ ตัวออกซิ จากการอภิปราย -ความมงุ่ ม่ันในการ

ไดส์ รวมทัง้ เขียนครง่ึ ไดส์ ครง่ึ และการทำ ทำงาน

ปฏิกริ ยิ าออกซเิ ดชนั ปฏกิ ิรยิ า แบบฝึกหัด

และครึง่ ปฏกิ ิริยา ออกซเิ ดชัน คร่งึ

รดี กั ชันของปฏิกริ ยิ ารี ปฏกิ ิริยารีดักชนั

ดอกซ์ และการเขียน

สมการเคมีแสดง

คร่ึงปฏิกริ ิยา

ออกซิเดชันและ

ครึง่ ปฏกิ ริ ิยา

รีดกั ชนั ของ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 285

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พึง จำนวน
ชวั่ โมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
3
ปฏิกิรยิ ารดี อกซ์
6
จากการ

อภปิ ราย การทำ

แบบฝึกหัด และ

การทดสอบ

3. ทดลอง และ -การ -การสังเกต การ -ความซอ่ื สัตยส์ ุต

เปรียบเทยี บ เปรยี บเทียบ ตงั้ สมมติฐาน และ จรติ

ความสามารถในการ ความสามารถใน การทดลอง จาก -ความใฝ่เรียนรู้

เปน็ ตวั รดี ิวซห์ รอื ตัว การเป็นตัวรีดิวซ์ การสังเกต -ความมงุ่ มน่ั ในการ

ออกซไิ ดส์ และเขียน หรือตัวออกซิ พฤติกรรมในการ ทำงาน

แสดงปฏิกริ ิยารีดอกซ์ ไดส์ จากการ ทำการทดลองและ

อภิปราย รายงานการ

รายงานการ ทดลอง

ทดลอง การทำ -การตคี วามหมาย

แบบฝึกหัด และ ขอ้ มลู จาก

การทดสอบ รายงานการ

ทดลอง

-ความรว่ มมอื การ

ทำงานเป็นทีมและ

ภาวะผูน้ ำ จาก

การสังเกต

พฤติกรรมในการ

ทำการทดลอง

4. ดลุ สมการรดี อกซ์ -วิธีการดุล -การใช้จำนวน -ความซือ่ สัตย์สตุ

ดว้ ยการใช้เลข สมการรีดอกซ์ และการคิดอยา่ งมี จรติ

ออกซิเดชัน และวิธี ดว้ ยการใชเ้ ลข วิจารณญาณและ -ความใฝเ่ รยี นรู้

ครงึ่ ปฏิกิรยิ า ออกซิเดชันและ การแกป้ ัญหา จาก -ความม่งุ ม่นั ในการ

วิธคี ร่ึงปฏิกริ ยิ า การทำแบบฝึกหัด ทำงาน

จากการทำ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 286

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พึง จำนวน
ช่วั โมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
3
แบบฝกึ หัด และ
3
การทดสอบ

5. ระบอุ งค์ประกอบ -องคป์ ระกอบ -การสังเกตและ -ความซื่อสัตย์สุต

ของเซลล์เคมีไฟฟ้า ของเซลล์ การลงความเห็น จริต

และเขียนสมการเคมี เคมไี ฟฟา้ การ จากข้อมูล จาก -ความใฝเ่ รยี นรู้

ของปฏกิ ริ ยิ าทแี่ อโนด เขียนสมการเคมี การอภิปราย -ความมงุ่ มน่ั ในการ

และแคโทด ปฏิกิริยา ของปฏกิ ริ ยิ าที่ -การคิดอย่างมี ทำงาน

รวม และแผนภาพ แอโนดและ วิจารณญาณและ

เซลล์ แคโทด ปฏิกริ ิยา การแกป้ ัญหาจาก

รวมและ การทำแบบฝึกหดั

แผนภาพเซลล์

จากการ

อภปิ ราย การทำ

แบบฝึกหดั และ

การทดสอบ

6. คำนวณคา่ -ความหมายและ -การสังเกตและ -ความซ่ือสัตย์สตุ

ศักยไ์ ฟฟา้ มาตรฐาน การคำนวณคา่ การทดลอง จาก จรติ

ของเซลล์และระบุ ศักยไ์ ฟฟา้ การสังเกต -ความใฝ่เรียนรู้

ประเภทของเซลล์ มาตรฐานของ พฤติกรรมในการ -ความมุง่ ม่ันในการ

เคมไี ฟฟ้า ขั้วไฟฟา้ ครึง่ เซลล์และค่า ทำการทดลองและ ทำงาน

และปฏกิ ริ ิยาเคมีที่ ศักยไ์ ฟฟ้ามาตา รายงานการ

เกิดขน้ึ ฐานของเซลล์ ทดลอง

และประเภท -การใช้จำนวน

ของเซลล์ จากการทำ

เคมีไฟฟ้า จาก กิจกรรมและการ

การอภปิ ราย ทำแบบฝกึ หดั

รายงานการ -ความรว่ มมือ การ

ทดลอง การทำ ทำงานเป็นทีมและ

กิจกรรม การทำ ภาวะผูน้ ำ จาก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 287

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพงึ จำนวน
ชวั่ โมง
7. อธิบายหลกั การ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
ทำงาน และเขยี น 3
สมการแสดงปฏิกิริยา แบบฝกึ หดั และ การสังเกต
ของเซลลป์ ฐมภูมิและ 3
เซลลท์ ุติยภูมิ การทดสอบ พฤติกรรมในการ

8. ทดลองชบุ โลหะ ทำการทดลอง
และแยกสารเคมีดว้ ย
กระแสไฟฟา้ และ -การคิดอย่างมี

วจิ ารณญาณและ

การแก้ปัญหาจาก

การอภปิ ราย

-หลกั การทำงาน -การสงั เกตและ -ความซื่อสตั ยส์ ตุ

และการเขียน การทดลอง จาก จรติ

สมการแสดง การสังเกต -ความใฝ่เรยี นรู้

ปฏิกริ ยิ าของ พฤติกรรมในการ -ความมงุ่ ม่นั ในการ

เซลลป์ ฐมภมู ิ ทำการทดลองและ ทำงาน

และเซลล์ทตุ ยิ รายงานการ

ภมู ิ จากการ ทดลอง

อภปิ รายรายงาน -การสอื่ สาร

การทดลอง และ สารสนเทศและ

การนำเสนอ การรับรู้เทา่ ทนั ส่ือ

จากผลการสืบคน้

ขอ้ มลู และการ

นำเสนอ

-ความร่วมมอื การ

ทำงานเปน็ ทีมและ

ภาวะผนู้ ำ จาก

การสงั เกต

พฤติกรรมในการ

ทำการทดลอง

-หลกั การแยก -การสงั เกต การ -ความซอื่ สตั ย์สตุ

สารเคมีด้วย ต้ังสมมตฐิ าน การ จรติ

กระแสไฟฟา้ ทดลอง และการ -ความใฝเ่ รียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 288

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน จำนวน
ความรู้ ทกั ษะ/ คุณลักษณะอนั พงึ ชวั่ โมง
อธิบายหลกั การทาง (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
เคมไี ฟฟ้าที่ใชใ้ นการ การชุบโลหะ กำหนดและ -ความม่งุ ม่ันในการ
ชบุ โลหะ การแยก การทำโลหะให้ ควบคุมตัวแปร ทำงาน
สารเคมีดว้ ย บรสิ ุทธิ์ และการ จากรายงานการ
กระแสไฟฟ้า การทำ ปอ้ งกนั การกดั ทดลองและการ
โลหะใหบ้ ริสุทธ์ิ และ กรอ่ นของโลหะ สังเกตพฤติกรรม
การป้องกัน การกดั จากรายงานการ ในการทำการ
กร่อนของโลหะ ทดลอง การ ทดลอง
อภิปราย การทำ -การคดิ อย่างมี
แบบฝกึ หดั และ วิจารณญาณและ
การทดสอบ การแก้ปัญหาจาก

การออกแบบการ
ทดลองและการ
อภปิ ราย
-ความรว่ มมือ การ
ทำงานเป็นทีมและ
ภาวะผ้นู ำ จาก
การสงั เกต
พฤติกรรมในการ
ทำการทดลอง
-ความรว่ มมอื การ
ทำงานเปน็ ทีมและ
ภาวะผนู้ ำ จาก
การสงั เกต
พฤติกรรมในการ
ทำการทดลอง
-การสอ่ื สาร
สารสนเทศและ
การรับรู้เทา่ ทนั ส่ือ
จากการนำเสนอ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 289

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พึง จำนวน
ช่วั โมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
3
9. สืบคน้ ขอ้ มลู และ -ความกา้ วหนา้ -การสื่อสาร -ความซอื่ สตั ยส์ ุต
2
นำเสนอตวั อย่าง ทางเทคโนโลยีที่ สารสนเทศและ จริต
2
ความกา้ วหนา้ ทาง เกีย่ วขอ้ งกับ การรูเ้ ทา่ ทนั สื่อ -ความใฝเ่ รยี นรู้

เทคโนโลยที เ่ี กยี่ วข้อง เซลลเ์ คมไี ฟฟ้า และความรว่ มมือ -ความมงุ่ มั่นในการ

กบั เซลลเ์ คมีไฟฟา้ ใน ในชีวิตประจำวนั การทำงานเปน็ ทมี ทำงาน

ชวี ติ ประจำวนั และนวตั กรรม และภาวะผูน้ ำ

ดา้ นพลงั งานที่ จากการนำเสนอ

เปน็ มิตรต่อ

สง่ิ แวดลอ้ ม จาก

การนำเสนอ

ข้อมลู และการ

อภิปราย

10. สืบค้นข้อมูลและ -ความหมาย -การลงความเห็น -ความซ่อื สตั ย์สุต

นำเสนอตวั อยา่ ง ธาตุ จากข้อมูล จาก จรติ

สารประกอบอินทรีย์ องค์ประกอบ การอภิปราย -ความใฝ่เรียนรู้

ที่มพี ันธะเดี่ยว พันธะ พนั ธะเคมี และ -การสอ่ื สาร -ความมุ่งมั่นในการ

คู่ หรือพนั ธะสาม ความ สารสนเทศและ ทำงาน

ทีพ่ บในชีวติ ประจำวัน หลากหลายของ การรูเ้ ทา่ ทันส่ือ

สารประกอบ จากผลการสบื ค้น

อนิ ทรยี ์ จากการ ข้อมลู และการ

อภิปราย และ นำเสนอ

การทดสอบ

11. เขียนสูตร -วธิ ีการเขยี น - -ความซ่ือสัตยส์ ตุ

โครงสรา้ งลวิ อิส สูตร สูตรโครงสรา้ ง จรติ

โครงสร้างแบบยอ่ ลิวอิส สตู ร -ความใฝ่เรยี นรู้

และสูตรโครงสรา้ ง โครงสร้างแบบ -ความมงุ่ ม่ันในการ

แบบเส้นของ ยอ่ และสูตร ทำงาน

สารประกอบอนิ ทรีย์ โครงสรา้ งแบบ

เสน้ ของ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 290

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/ คุณลักษณะอนั พงึ จำนวน
ช่วั โมง
12. วเิ คราะห์ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
โครงสรา้ ง และระบุ 2
ประเภทของ สารประกอบ
สารประกอบอนิ ทรีย์ 2
จากหมู่ฟังก์ชัน อนิ ทรยี ์ จากการ

13. เขยี นสตู ร ทำแบบฝกึ หัด
โครงสรา้ งและ
และการทดสอบ

-ประเภทและ -การจำแนก -ความซ่อื สตั ยส์ ุต

หมูฟ่ ังกช์ นั ของ ประเภท จากการ จริต

สารประกอบ ทดลอง การทำ -ความใฝ่เรยี นรู้

อินทรยี ์ จากการ แบบฝกึ หัด -ความมุ่งม่ันในการ

อภปิ ราย การทำ -การทดลอง จาก ทำงาน

แบบฝกึ หดั และ รายงานการ

การทดสอบ ทดลองและการ

สงั เกตพฤตกิ รรม

ในการทำการ

ทดลอง

-การตีความหมาย

ข้อมูลและลง

ข้อสรปุ และการ

คิดอย่างมี

วิจารณญาณและ

การแก้ปัญหา จาก

การอภปิ ราย

-ความรว่ มมือ การ

ทำงานเปน็ ทีมและ

ภาวะผนู้ ำ จาก

การสังเกต

พฤติกรรมในการ

ทำการทดลอง

-วธิ กี ารเรยี กช่ือ -การคิดอย่างมี -ความซือ่ สัตยส์ ตุ

สารประกอบ วจิ ารณญาณและ จรติ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 291

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
ช่ัวโมง
เรียกชอ่ื สารประกอบ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
อนิ ทรยี ์ประเภทตา่ งๆ 2
ที่มหี มู่ฟังกช์ นั ไมเ่ กิน อนิ ทรยี ท์ ี่มีหมู่ การแก้ปัญหา จาก -ความใฝ่เรียนรู้
1 หมู่ ตามระบบ 2
IUPAC ฟังกช์ ันไมเ่ กนิ 1 การทำกจิ กรรม -ความม่งุ ม่นั ในการ

14. เขียนไอโซเมอร์ หมู่ ตามระบบ การอภิปราย และ ทำงาน
โครงสรา้ งของ
สารประกอบอนิ ทรีย์ IUPAC จากการ การทำแบบฝึกหดั
ประเภทตา่ งๆ
อภปิ ราย การทำ -ความรว่ มมอื การ
15. วเิ คราะหแ์ ละ
เปรยี บเทียบจุดเดือด แบบฝึกหดั และ ทำงานเปน็ ทีมและ
และการละลายในนำ้
ของสารประกอบ การทดสอบ ภาวะผูน้ ำ จาก
อนิ ทรยี ท์ ี่มหี มูฟ่ ังก์ชัน
ขนาดโมเลกุล หรอื การสังเกต
โครงสร้างต่างกนั
พฤติกรรมในการ

อภิปราย

-ไอโซเมอรซิ มึ -การลงความเหน็ -ความซื่อสตั ยส์ ตุ

และการเขียนไอ จากข้อมูล จาก จริต

โซเมอร์ การอภปิ ราย -ความใฝเ่ รยี นรู้

โครงสรา้ งของ -การคดิ อย่างมี -ความมงุ่ มัน่ ในการ

สารประกอบ วิจารณญาณและ ทำงาน

อนิ ทรีย์ จากการ การแก้ปัญหา จาก

อภิปราย การทำ การทำแบบฝึกหัด

แบบฝึกหดั และ

การทดสอบ

-ความสัมพนั ธ์ -การสงั เกต จาก -ความซื่อสัตย์สุต

ระหว่างจุดเดอื ด รายงานการ จรติ

และการละลาย ทดลอง -ความใฝ่เรยี นรู้

ของ -การกำหนดและ -ความม่งุ มัน่ ในการ

สารประกอบ ควบคมุ ตัวแปร ทำงาน

อินทรยี ์ที่มหี มู่ จากการออกแบบ

ฟงั ก์ชนั ขนาด การทดลองและ

โมเลกลุ หรือ รายงานการ

โครงสรา้ ง ทดลอง

ตา่ งกัน จากการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 292

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถนิ่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ/ คุณลักษณะอนั พึง จำนวน
ชัว่ โมง
16. ระบุประเภทของ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
สารประกอบ 2
ไฮโดรคารบ์ อนและ อภิปราย การ -การทดลอง จาก
เขยี นผลติ ภณั ฑจ์ าก
ปฏกิ ิริยาการเผาไหม้ ทดลอง การทำ การสังเกต
ปฏกิ ริ ยิ ากบั โบรมนี
หรือปฏิกริ ิยากบั แบบฝกึ หดั และ พฤติกรรมในการ
โพแทสเซียมเปอร์
แมงกาเนต การทดสอบ ทำการทดลอง

-การตีความหมาย

ข้อมูลและลง

ข้อสรปุ จากการ

วเิ คราะห์

ความสัมพันธข์ อง

ขอ้ มูล

-การส่อื สาร

สารสนเทศและ

การร้เู ทา่ ทนั สื่อ

จากการสืบคน้

ข้อมลู และการ

นำเสนอ

การทำปฏกิ ริ ิยา -การสังเกต จาก -ความซ่ือสัตย์สตุ

ของ รายงานการ จรติ

สารประกอบ ทดลอง -ความใฝ่เรียนรู้

ไฮโดรคารบ์ อน -การจำแนก -ความมุง่ มัน่ ในการ

แต่ละประเภท ประเภท จากการ ทำงาน

จากการ วิเคราะหผ์ ลการ

อภปิ ราย การ ทดลอง การ

ทดลอง การทำ อภปิ ราย และการ

แบบฝกึ หัด และ ทำแบบฝกึ หดั

การทดสอบ -การลงความเห็น

จากข้อมลู จาก

การอภปิ รายผล

การทดลอง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 293

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
ชว่ั โมง
17. เขียนสมการเคมี (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
และอธบิ ายการ 2
เกิดปฏิกิรยิ าเอสเทอ -การทดลอง และ
รฟิ เิ คชัน ปฏิกริ ิยา 2
การสงั เคราะห์เอไมด์ ความร่วมมือ การ
ปฏิกริ ิยาไฮโดรลิซิส
และปฏิกริ ิยาสะปอน ทำงานเปน็ ทีมและ
นิฟเิ คชนั
ภาวะผ้นู ำ จาก
18. ทดสอบปฏิกริ ิยา
เอสเทอริฟิเคชนั การสงั เกต
ปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลิซิส
และปฏกิ ิรยิ าสะปอน พฤติกรรมในการ
นิฟเิ คชนั
ทำการทดลอง

-การเขียน -การทดลอง และ -ความซื่อสัตย์สุต

สมการและการ ความรว่ มมอื การ จรติ

เกิดปฏิกริ ยิ าเอส ทำงานเปน็ ทีมและ -ความใฝ่เรียนรู้

เทอร์รฟิ ิเคชนั ภาวะผนู้ ำ จาก -ความมุ่งม่นั ในการ

ปฏกิ ริ ิยาการ รายงานการ ทำงาน

สงั เคราะหเ์ อไมด์ ทดลองและการ

ปฏิกริ ิยาไฮโดรลิ สังเกตพฤติกรรม

ซสิ และ ในการทำการ

ปฏิกิรยิ าสะปอน ทดลอง

นิฟเิ คชนั จากผล -การส่อื สาร

การสบื ค้นข้อมลู สารสนเทศและ

การอภิปราย การร้เู ทา่ ทันส่ือ

รายงานการ จากผลการสืบคน้

ทดลอง การทำ ข้อมูลและการ

แบบฝกึ หดั และ นำเสนอ

การทดสอบ

-การ -การทดลอง และ -ความซอ่ื สตั ย์สุต

เกดิ ปฏิกิรยิ าเอส ความร่วมมอื การ จริต

เทอร์ริฟิเคชัน ทำงานเป็นทีมและ -ความใฝเ่ รยี นรู้

ปฏกิ ริ ิยาการ ภาวะผ้นู ำ จาก -ความมุ่งม่นั ในการ

สังเคราะหเ์ อไมด์ รายงานการ ทำงาน

ปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลิ ทดลองและการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 294

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/ คุณลักษณะอันพึง จำนวน
ช่วั โมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
2
ซสิ และ สังเกตพฤตกิ รรม
2
ปฏิกิริยาสะปอน ในการทำการ

นิฟเิ คชนั จากผล ทดลอง

การสืบคน้ ข้อมูล -การสอื่ สาร

การอภิปราย สารสนเทศและ

รายงานการ การรเู้ ท่าทนั ส่ือ

ทดลอง การทำ จากผลการสืบคน้

แบบฝึกหัดและ ขอ้ มูลและการ

การทดสอบ นำเสนอ

19. สบื ค้นข้อมลู และ -การนำ -การสือ่ สาร -ความซื่อสัตยส์ ตุ

นำเสนอตวั อย่างการ สารประกอบ สารสนเทศและ จรติ

นำสารประกอบ อนิ ทรยี แ์ ตล่ ะ การรู้เทา่ ทันส่ือ -ความใฝเ่ รียนรู้

อินทรยี ไ์ ปใช้ ประเภทไปใช้ จากผลการสบื ค้น -ความมุง่ ม่ันในการ

ประโยชน์ใน ประโยชน์ จาก ข้อมลู และการ ทำงาน

ชีวิตประจำวันและ การอภปิ ราย ผล นำเสนอ

อุตสาหกรรม การสบื คน้ ข้อมูล -ความรว่ มมือ การ

การนำเสนอ ทำงานเป็นทีม

และการทดสอบ และกภาวะผนู้ ำ

จากการสงั เกต

พฤติกรรมในการ

ทำกจิ กรรม

20. ระบุประเภทของ -ความหมายของ -การจำแนก -ความซื่อสตั ย์สตุ

ปฏิกิริยาการเกดิ พอลิ พอลเิ มอร์ มอ ประเภท จากการ จรติ

เมอร์จากโครงสร้าง นอเมอร์ อภิปราย การทำ -ความใฝ่เรียนรู้

ของมอนอเมอรห์ รอื ปฏกิ ิรยิ าการเกิด กิจกรรม และการ -ความมงุ่ ม่นั ในการ

พอลเิ มอร์ พอลิเมอร์แบบ ทำแบบฝึกหัด ทำงาน

เตมิ และแบบ -การลงความเหน็

ควบแน่น จาก จากข้อมูล จาก

การทำกจิ กรรม การทำกจิ กรรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 295

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/ คุณลกั ษณะอนั พึง จำนวน
ช่ัวโมง
21. วเิ คราะหแ์ ละ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
อธิบายความสัมพนั ธ์ 2
ระหวา่ งโครงสรา้ ง การอภิปราย -การสื่อสาร
และสมบัตขิ องพอลิ
เมอร์ รวมทง้ั การ การทำ สารสนเทศและ
นำไปใช้ประโยชน์
แบบฝกึ หัด และ การร้เู ทา่ ทนั สื่อ

การทดสอบ จากการอภปิ ราย

และการสรปุ

ความรู้

-ความร่วมมือ การ

ทำงานเป็นทีมและ

ภาวะผนู้ ำ จาก

การสงั เกต

พฤติกรรมในการ

ทำกิจกรรม

-โครงสรา้ งของ -การจำแนก -ความซ่ือสตั ย์สตุ

พอลิเมอร์ ประเภทและการ จริต

ความสมั พนั ธ์ ลงความเห็นจาก -ความใฝเ่ รียนรู้

ระหว่าง ข้อมูล จากการทำ -ความมงุ่ ม่นั ในการ

โครงสร้างกบั กจิ กรรมและการ ทำงาน

สมบตั ขิ องพอลิ อภปิ ราย

เมอร์ และการ -การตีความหมาย

นำไปใช้ ขอ้ มูลและลง

ประโยชน์ จาก ข้อสรปุ จากการ

การอภิปราย อภิปราย

ผลงานการ -การส่อื สาร

สบื คน้ ขอ้ มลู สารสนเทศและ

การทำ การร้เู ท่าทันสื่อ

แบบฝึกหัด และ จากผลงานการ

การทดสอบ สืบคน้ ขอ้ มลู และ

การนำเสนอ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 296

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ/ คุณลักษณะอันพึง จำนวน
ชวั่ โมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
2
-ความรว่ มมือ การ
2
ทำงานเป็นทีมและ

ภาวะผู้นำ จาก

การสงั เกต

พฤติกรรมในการ

ทำกิจกรรม

22. ทดสอบ และระบุ -ประเภทของ -การสงั เกต จาก -ความซ่อื สัตยส์ ตุ

ประเภทของพลาสติก พลาสติกและ การทำกจิ กรรม จริต

และผลติ ภณั ฑ์ยาง ผลิตภณั ฑย์ าง -การจำแนก -ความใฝ่เรยี นรู้

รวมทง้ั การนำไปใช้ จากการทำ ประเภท และการ -ความมงุ่ ม่ันในการ

ประโยชน์ กิจกรรม การ ตคี วามหมาย ทำงาน

อภิปราย การทำ ข้อมูลและลง

แบบฝกึ หดั และ ข้อสรุป จากการ

การทดสอบ ทำกิจกรรม และ

-สมบตั ิและการ การอภปิ ราย

นำไปใช้ -การสื่อสาร

ประโยชนข์ อง สารสนเทศและ

พลาสติกและ การรบั รู้เท่าทนั ส่ือ

ผลติ ภัณฑ์ยาง จากผลงาน การ

จากการนำเสนอ สบื คน้ ขอ้ มลู และ

การอภิปราย การนำเสนอ

ผลงาน จากการ -ความร่วมมือ การ

สืบคน้ ขอ้ มูล ทำงานเป็นทีมและ

การทำ ภาวะผ้นู ำ จาก

แบบฝกึ หดั และ การสังเกต

การทดสอบ พฤติกรรมในการ

ทำกิจกรรม

23. อธิบายผลของ -การปรบั เปลย่ี น -การส่ือสาร -ความซ่ือสัตย์สุต

การปรบั เปลีย่ น โครงสรา้ งและ สารสนเทศและ จรติ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 297

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลักษณะอนั พงึ จำนวน
ชั่วโมง
โครงสร้าง และการ (K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
สังเคราะห์พอลิเมอร์ 2
ท่ีมตี ่อสมบัติของพอลิ การสงั เคราะห์ การรับรเู้ ทา่ ทันส่ือ -ความใฝเ่ รยี นรู้
เมอร์
พอลิเมอร์ จาก จากผลงานการ -ความมงุ่ ม่นั ในการ
24. สบื คน้ ขอ้ มูลและ
นำเสนอตวั อยา่ ง การอภิปราย สบื ค้นขอ้ มูลและ ทำงาน
ผลกระทบจากการใช้
และการกำจัด ผลงานการ การนำเสนอ
ผลติ ภัณฑ์พอลิเมอร์
และแนวทางการ สืบคน้ ข้อมลู -ความรว่ มมือ การ
แก้ไข
และการทดสอบ ทำงานเปน็ ทีมและ

ภาวะผนู้ ำ จาก

การสงั เกต

พฤติกรรมในการ

นำเสนอ

-ผลกระทบจาก -การลงความเหน็ -ความซ่อื สัตยส์ ุต

การใชแ้ ละการ จากข้อมลู จาก จริต

กำจดั ผลติ ภัณฑ์ การอภิปราย -ความใฝ่เรยี นรู้

พอลเิ มอร์ และ -การสอ่ื สาร -ความมงุ่ ม่นั ในการ

แนวทางแก้ไข สารสนเทศและ ทำงาน

จากการ การรเู้ ทา่ ทันส่ือ

อภปิ ราย ผลงาน จากผลงานการ

การสืบคน้ ข้อมลู สืบคน้ ข้อมลู การ

และส่อื สร้าง นำเสนอ และการ

ความตระหนัก จดั ทำส่อื สร้าง

ความตระหนัก

-การคิดอย่างมี

วิจารณญาณและ

การแก้ปัญหา จาก

การเสนอแนว

ทางการแก้ปญั หา

-ความรว่ มมือ การ

ทำงานเปน็ ทีมและ

ภาวะผู้นำ จาก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 298

ผลการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถิ่น
ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพึง จำนวน
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ช่ัวโมง

การสังเกต
พฤติกรรมในการ
สบื คน้ ขอ้ มูล การ
นำเสนอและการ
จดั ทำส่ือสรา้ ง
ความตระหนัก
-การสร้างสรรค์
และนวตั กรรม
จากการเสนอแนว
ทางการแก้ปญั หา
และการจัดทำสอื่
สรา้ งความ
ตระหนัก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 299

คำอธิบายรายวชิ า

รหัสวิชา ว30225 เคมีเพิ่มเติม 5 / Chemistry 5

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หน่วยกิต

เข้าใจเคมีไฟฟ้าเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระหว่างพลังงานไฟฟ้าและการ
เกิดปฏิกิริยาเคมีที่มีการถ่ายโอนอิเล็กตรอนแล้วทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเลขออกซิเดชัน เรียก
ปฏิกิริยาชนิดนี้ว่า ปฏิกิริยารีดอกซ์ ปฏิกิริยารีดอกซ์มีทั้งครึ่งปฏิกิริยาที่มีการให้อิเล็กตรอน เรียกว่า
ครึ่งปฏิกิริยาออกซิเดชัน และครึ่งปฏิกิริยาที่มีการรับอิเล็กตรอน เรียกว่า ครึ่งปฏิกิริยารีดักชัน
ปฏิกิริยารีดอกซ์เขียนแทนได้ด้วยสมการรีดอกซ์ ซึ่งการดุลสมการรีดอกซ์ทำได้โดยการใช้เลข
ออกซิเดชนั และวิธีครึ่งปฏิกิริยา เซลลไ์ ฟฟา้ ประกอบดว้ ยแอโนด แคโทด และสารละลายอิเล็กโทรไลต์
เซลล์เคมีไฟฟ้าสามารถเขียนแสดงได้ด้วยแผนภาพเซลล์ ค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลล์คำนวณได้
จากค่าศกั ยไ์ ฟฟ้ามาตรฐานของคร่งึ เซลล์ เซลลเ์ คมีไฟฟา้ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ในชวี ิตประจำวัน
ซึ่งมีทั้งเซลล์ปฐมภูมิและเซลล์ทุติยภูมิ เซลล์อิเล็กโทรลิติกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ทั้งใน
ชีวิตประจำวัน และในอุตสาหกรรมหลายประเภท ปฏิกิริยาเคมีหลายปฏิกิริยาที่พบในชีวิตประจำวนั
เป็นปฏิกิริยารีดอกซ์ ซึ่งความรู้เรื่องเซลล์เคมีไฟฟ้าและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับ
เซลล์เคมีไฟฟ้า นำไปสูน่ วตั กรรมดา้ นพลังงานท่ีเปน็ มิตรต่อสงิ่ แวดล้อม

เข้าใจสารประกอบอินทรีย์เป็นสารประกอบของคาร์บอน ส่วนใหญ่พบในสิ่งมีชีวิต มี
โครงสร้างหลากหลายและแบ่งได้หลายประเภท และนำสารประกอบอินทรีย์ไปใช้ประโยชน์ได้อย่าง
หลากหลาย โครงสร้างของสารประกอบอินทรีย์แสดงได้ด้วยสูตรโครงสร้างต่างๆ การพิจารณา
ประเภทของสารประกอบอินทรีย์อาจใช้หมู่ฟังก์ชันเป็นเกณฑ์ การเรียกชื่อสารประกอบอินทรีย์จะ
เรียกตามระบบ IUPAC หรืออาจเรียกโดยใช้ชื่อสามัญ ปรากฏการณ์ที่สารมีสูตรโครงสร้างเหมือนกัน
แต่มีสมบัติแตกต่างกัน เรียกว่า ไอโซเมอริซึม สารประกอบอินทรียท์ ี่มีหมู่ฟังกช์ ัน ขนาดโมเลกุล หรือ
โครงสร้างของสารต่างกันจะมีจุดเดือดและการละลายในน้ำต่างกัน สารประกอบอินทรีย์บางประเภท
เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน กรดคาร์บอกซิลิกทำปฏิกิริยากับแอลกอฮอล์ได้เป็นเอสเทอร์ กรด
คาร์บอกซิลิกทำปฏิกิริยากับเอมีนเกิดเป็นเอไมด์ เอสเทอร์และเอไมด์สามารถเกดิ ปฏิกิริยาไฮโดรลซิ สิ
สารประกอบอินทรีย์สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากมายในชีวิตประจำวัน พอลิเมอร์เป็นสารที่มี
โมเลกุลใหญ่มีทั้งพอลิเมอร์ธรรมชาติและพอลิเมอร์สังเคราะห์ พอลิเมอร์มีโครงสร้างต่างกันข้ึนอยู่กับ
ชนิดของมอนอเมอรแ์ ละภาวะของปฏกิ ริ ิยาการเกดิ พอลเิ มอร์ พอลิเมอร์มที ้ังท่ใี หค้ วามร้อนแล้วสามาร
ถนำกลับมาขึ้นรูปใหม่และที่ให้ความร้อนแล้วไม่อ่อนตัวจึงไม่สามารถนำกลับมาขึ้นรูปใหม่ได้ การ
ปรับเปล่ียนโครงสร้างหรือการสงั เคราะห์พอลิเมอร์เพื่อให้ได้ผลิตภัณฑท์ ี่สามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้


Click to View FlipBook Version