The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 350

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน
ชั่วโมง
12. สืบค้นข้อมูล ระบุ (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
ความแตกต่างของเซลล์ 2
เมด็ เลือดแดง เซลลเ์ มด็ 1. อธบิ ายลักษณะ 1. ใช้กลอ้ ง 1. สนใจใฝ่รใู้ น 2
เลือดขาว เพลตเลต
และพลาสมา และหนา้ ทข่ี องเซลล์ จลุ ทรรศนต์ รวจสอบ การศึกษา 2
13. อธบิ ายหมเู่ ลอื ด
และหลกั การให้และรับ เมด็ เลือดแดง เซลล์ ลักษณะเซลลเ์ มด็ 3
เลอื ดในระบบ ABO
และระบบ Rh เม็ดเลือดขาว เพลตเลต เลือดในสไลดถาวร

14. อธิบายและสรปุ และพลาสมาได้ ได้ถูกต้อง
เกี่ยวกบั สว่ นประกอบ
และหน้าท่ขี อง 1. อธิบายหมเู่ ลือดและ 1. ใช้กลอ้ ง 1. สนใจใฝ่รใู้ น
นำ้ เหลอื ง รวมทั้ง
โครงสร้างและหนา้ ท่ี หลักการให้เลอื ดใน จุลทรรศนต์ รวจสอบ การศึกษา
ของหลอดนำ้ เหลือง
และตอ่ มนำ้ เหลอื ง ระบบ ลกั ษณะเซลลเ์ มด็
กระดูกสนั หลงั
ABO และ Rh ได้ เลือดในสไลด์ถาวร
15. สบื ค้นข้อมูล
อธิบาย และ 2. ระบคุ วามแตกต่าง ได้ถูกตอ้ ง
เปรยี บเทียบกลไกการ
ตอ่ ตา้ นหรอื ทำลายสง่ิ ของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดง
แปลกปลอมแบบไม่
เซลลเ์ มด็ เลอื ดขาว

เพลตเลต และพลาสมา

ได้

1. อธิบายลักษณะ 1. เขยี นทศิ ทาง 1. สนใจใฝ่รู้ใน

และหนา้ ทข่ี อง แสดงการไหลเวียน การศึกษา

นำ้ เหลือง หลอด ของน้ำเหลืองใน

น้ำเหลอื ง และต่อม รา่ งกายได้ถูกต้อง

น้ำเหลอื งได้

2. อธบิ าย

ความสมั พันธ์ของ

ระบบนำ้ เหลอื งและ

ระบบหมุนเวียนเลอื ด

ได้

1. อธิบายกลไกการ 1. เขียนแผนผงั 1. สนใจใฝร่ ใู้ น

ตอ่ ต้านหรอื ทำลายสิ่ง แสดงการทำงานของ การศึกษา

แปลกปลอมแบบ ระบบภมู คิ ุ้มกนั แบบ

จำเพาะและแบบไม่ จำเพาะได้ถกู ต้อง

จำเพาะได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 351

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน
จำเพาะและแบบ ช่วั โมง
จำเพาะ (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
2
16. สบื คน้ ข้อมลู 2. อธบิ ายการสร้าง
อธบิ าย และ
เปรยี บเทยี บการสรา้ ง ภูมิคุ้มกันกอ่ เองหรือ
ภูมคิ ุ้มกันก่อเองและ
ภูมิคุ้มกนั รับมา ภมู ิคุ้มกนั แบบรับมาได้

3. อธิบายความผิดปกติ

ของระบบภูมคิ ุ้มกันได้

4. เปรียบเทียบกลไก

การต่อต้านหรอื ทำลาย

สง่ิ แปลกปลอมแบบ

จำเพาะและแบบไม่

จำเพาะได้

5. เปรียบเทยี บการ

สรา้ งภมู ิคุ้มกนั ข้ึนเอง

และภูมิคุม้ กันแบบ

รับมาได้

1. อธิบายกลไกการ 1. เขียนแผนผัง 1. สนใจใฝร่ ้ใู น

ต่อต้านหรอื ทำลายสง่ิ แสดงการทำงานของ การศึกษา

แปลกปลอมแบบ ระบบภูมคิ มุ้ กันแบบ

จำเพาะและแบบไม่ จำเพาะได้ถูกต้อง

จำเพาะได้

2. อธบิ ายการสร้าง

ภมู ิคุ้มกันกอ่ เองหรือ

ภูมคิ ุม้ กนั แบบรบั มาได้

3. อธบิ ายความผดิ ปกติ

ของระบบภมู คิ ุ้มกนั ได้

4. เปรยี บเทียบกลไก

การตอ่ ต้านหรอื ทำลาย

สิ่งแปลกปลอมแบบ

จำเพาะและแบบไม่

จำเพาะได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 352

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลกั ษณะอัน จำนวน

17. สืบคน้ ขอ้ มลู และ (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชว่ั โมง
อธิบายเก่ียวกบั ความ
ผิดปกตขิ องระบบ 5. เปรียบเทยี บการ
ภมู ิคุ้มกันท่ีทำใหเ้ กิด
เอดส์ ภมู ิแพ้ การสร้าง สร้างภมู คิ มุ้ กันข้ึนเอง
ภมู ิต้านทานต่อเน้ือเย่ือ
ตนเอง และภมู คิ มุ้ กนั แบบ

18. สืบค้นข้อมลู รับมาได้
อธบิ าย และ
เปรยี บเทยี บโครงสร้าง 1. อธบิ ายลักษณะของ 1. ปฏิบัตติ นตาม 1. ตระหนักถึง 2
และหนา้ ทีใ่ นการกำจดั
ของเสียออกจาก โรคท่ี แนวทางปอ้ งกนั การ ความสำคัญและ
รา่ งกายของฟองนำ้
ไฮดรา พลานาเรีย เกดิ จากความผดิ ปกติ ตดิ เช้อื HIV ได้อยา่ ง วธิ กี ารดูแลรกั ษา
ไส้เดือนดิน แมลง และ
สตั ว์มีกระดูกสันหลัง ของ ถูกต้อง โรคท่เี กิดจากความ
19. อธบิ ายโครงสรา้ ง
และหนา้ ท่ขี องไต และ ระบบภมู คิ ุ้มกันได้ ผดิ ปกติของระบบ
โครงสร้างท่ใี ช้ลำเลียง
ปสั สาวะออกจาก 2. อธิบายแนวทาง ภูมิคุ้มกนั ได้ 2.
ร่างกาย
ป้องกนั การติดติดเชือ้ สนใจใฝร่ ู้ใน

HIV ได้ การศึกษา

1. อธบิ ายการกำจดั 1. สรา้ งแผนผังมโน 1. สนใจใฝร่ ใู้ น 2

ของเสยี ของสตั ว์และ ทศั น์แสดงการกำจัด การศกึ ษา

สงิ่ มีชีวติ เซลลเ์ ดียวได้ ของเสยี ที่เปน็ สาร

2. เปรยี บเทียบ ประกอบไนโตรเจน

ประเภทของเสียของ ไดถ้ ูกตอ้ ง

ส่งิ มีชีวติ เซลล์เดยี วและ

ของสัตวไ์ ด้

1. อธบิ ายโครงสร้าง 1. เขียนแผนผังสรุป 1. ตระหนักถงึ 2
และการทำงานของไต ขน้ั ตอนการกำจัด ความสำคญั ของไต
และอวยั วะในระบบ ของเสียออกจาก และการดูแลรักษา
ขับถ่ายได้ ร่างกาย ไต
2. อธิบายการทำงาน 2. สนใจใฝ่รู้ใน
ของหนว่ ยไตในการ การศกึ ษา
กำจดั ของเสยี ออกจาก
ร่างกายได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 353

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน
ช่วั โมง
20. อธิบายกลไกการ (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
ทำงานของหน่วยไต ใน 4
การกำจัดของเสยี ออก 3. เปรยี บเทียบปรมิ าณ
จากร่างกาย และเขยี น
แผนผงั สรุปขั้นตอนการ สารในน้ำเลอื ด สารที่
กำจัดของเสยี ออกจาก
ร่างกายโดยหน่วยไต ผา่ นการกรองของโกล

เมอรลู สั และสารในน้ำ

ปัสสาวะได้

4. คำนวณปริมาณสาร

ท่ถี กู ดดู กลบั ทที่ ่อหน่วย

ไตได้

1. อธิบายโครงสรา้ ง 1. เขียนแผนผังสรปุ 1. ตระหนักถงึ

และการทำงานของไต ขั้นตอนการกำจัด ความสำคัญของไต

และอวัยวะในระบบ ของเสียออกจาก และการดูแลรกั ษา

ขบั ถ่ายได้ รา่ งกาย ไต

2. อธบิ ายการทำงาน 2. สรา้ งป้ายนเิ ทศ 2. ตระหนักถงึ

ของหนว่ ยไตในการ แสดงการรกั ษาดุลย ความสำคัญของไต

กำจัดของเสยี ออกจาก ภาพของรา่ งกายได้ ปอด และผิวหนัง

รา่ งกายได้ ถูกต้อง ในการรกั ษาดลุ ย

3. เปรียบเทยี บปริมาณ ภาพของร่างกาย

สารในน้ำเลอื ด สารท่ี 3. สนใจใฝร่ ใู้ น

ผา่ นการกรองของโกล การศกึ ษา

เมอรลู สั และสารในน้ำ

ปสั สาวะได้

4. คำนวณปริมาณสาร

ทีถ่ กู ดูดกลบั ท่ที ่อหน่วย

ไตได้

5. อธบิ ายการรกั ษา

ดุลย

ภาพของร่างกาย โดย

การ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 354

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชวั่ โมง

ทำงานของไต ผิวหนงั

และ

ปอดได้

21. สืบคน้ ข้อมลู 1. อธบิ ายและ 1. ปฏิบัติตนเพอ่ื 1. ตระหนกั ถึง 2

อธิบาย และยกตวั อยา่ ง ยกตัวอย่าง ปอ้ งกันหรือดแู ล ความสำคัญ การ

เก่ยี วกับความผดิ ปกติ โรคทีเ่ ก่ยี วกับความ รกั ษาโรคเกยี่ วกับ ดูแลรักษา และการ

ของไตอันเนือ่ งมาจาก ผิดปกติ ความผิดปกติของไต ปอ้ งกนั โรคที่

โรคต่าง ของไตอันเนื่องมาจาก เกย่ี วกับไตได้

โรค 2. สนใจใฝร่ ู้ใน

ตา่ ง ๆ ได้ การศึกษา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 355

คำอธิบายรายวชิ า

รหสั วิชา ว30244 ชีววทิ ยาเพิม่ เติม 4 / Biology 4

รายวิชาเพิม่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกิต

โครงสร้างและกระบวนการย่อยอาหารของสัตว์ที่ไม่มีทางเดินอาหาร สัตว์ที่มีทางเดินอาหาร
แบบไม่สมบูรณ์ และสัตว์ที่มีทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ กระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึม
สารอาหารภายในระบบย่อยอาหารของมนุษย์ โครงสร้างของปอด การหายใจและการแลกเปลยี่ นแก๊ส
ระบบหมุนเวียนเลือดแบบเปิดและระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิด ทิศทางการไหลของเลือดและการ
เคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดในหางปลา และสรุปความสัมพันธ์ระหว่างขนาดของหลอดเลือดกับ
ความเรว็ ในการไหลของเลือด โครงสร้างและการทำงานของหวั ใจและหลอดเลือดในมนุษย์ โครงสร้าง
หวั ใจของสัตว์เลี้ยงลูกดว้ ยน้ำนม ทิศทางการไหลของเลือดผ่านหวั ใจของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรุป
การหมุนเวียนเลือดของมนุษย์ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว เพลตเลต และพลาสมา หมู่
เลือดและหลักการให้และรับเลือดในระบบ ABO และระบบ Rh น้ำเหลือง โครงสร้างและหน้าที่ของ
หลอดน้ำเหลือง และต่อมน้ำเหลือง กลไกการต่อต้านหรือทำลายสิ่งแปลกปลอมแบบไม่จำเพาะและ
แบบจำเพาะ การสร้างภูมิคุ้มกันก่อเองและภูมิคุ้มกันรับมา ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันที่ทำให้
เกิดเอดส์ ภูมิแพ้ การสร้างภูมิต้านทานต่อเนื้อเยื่อตนเอง โครงสร้างและหน้าที่ในการกำจัดของเสีย
ออกจากร่างกายของฟองน้ำ ไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง
โครงสร้างและหนา้ ที่ของไต และโครงสร้างท่ีใช้ลำเลียงปัสสาวะออกจากร่างกาย กลไกการทำงานของ
หน่วยไต ในการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย และเขียนแผนผังสรุปขั้นตอนการกำจัดของเสียออก
จากรา่ งกายโดยหนว่ ยไต

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง
ดูแลรักษาสิ่งมีชีวิตอื่นเฝ้าระวัง และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และค่านยิ มท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย และเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งและกระบวนการยอ่ ยอาหารของสัตว์ทีไ่ ม่มี
ทางเดินอาหาร สัตว์ท่มี ที างเดินอาหารแบบไม่สมบรู ณ์ และสัตวท์ ม่ี ที างเดินอาหารแบบสมบรู ณ์
2. สังเกต อธบิ าย การกินอาหารของไฮดรา และพลานาเรีย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 356

3. อธบิ ายเกยี่ วกบั โครงสร้าง หนา้ ที่ และกระบวนการย่อยอาหาร และการดูดซึมสารอาหารภายใน
ระบบยอ่ ยอาหารของมนุษย์
4. สืบค้นข้อมูล อธบิ าย และเปรยี บเทียบโครงสร้างทท่ี ำหน้าท่ีแลกเปลี่ยนแกส๊ ของฟองน้ำ ไฮดรา
พลานาเรีย ไสเ้ ดือนดนิ แมลง ปลา กบ และนก
5. สังเกตและอธิบายโครงสร้างของปอดในสัตวเ์ ลยี้ งลูกด้วยน้ำนม
6. สืบค้นข้อมลู อธบิ ายโครงสร้างทใี่ ชใ้ นการแลกเปลย่ี นแก๊ส และกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สของ
มนษุ ย์
7. อธบิ ายการทำงานของปอด และทดลองวัดปริมาตรของอากาศในการหายใจออกของมนุษย์
8. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย และเปรียบเทยี บระบบหมนุ เวียนเลอื ดแบบเปิดและระบบหมนุ เวียนเลอื ด
แบบปดิ
9. สงั เกต และอธิบายทิศทางการไหลของเลือดและการเคลื่อนทข่ี องเซลล์เม็ดเลือดในหางปลา และ
สรุปความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขนาดของหลอดเลอื ดกับความเร็วในการไหลของเลอื ด
10. อธิบายโครงสรา้ งและการทำงานของหัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์
11. สงั เกตและอธิบายโครงสร้างหัวใจของสตั ว์เลีย้ งลกู ดว้ ยน้ำนม ทิศทางการไหลของเลือดผ่านหัวใจ
ของมนุษย์ และเขียนแผนผังสรุป การหมนุ เวียนเลอื ดของมนุษย์
12. สบื ค้นข้อมูล ระบุความแตกตา่ งของเซลล์เมด็ เลอื ดแดง เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาว เพลตเลต และ
พลาสมา
13. อธิบายหมเู่ ลอื ดและหลกั การใหแ้ ละรบั เลือดในระบบ ABO และระบบ Rh
14. อธบิ ายและสรปุ เกีย่ วกับส่วนประกอบและหน้าที่ของน้ำเหลือง รวมท้งั โครงสร้างและหน้าที่ของ
หลอดนำ้ เหลือง และต่อมน้ำเหลอื ง
15. สืบค้นขอ้ มูล อธิบาย และเปรยี บเทียบกลไกการตอ่ ตา้ นหรือทำลายสง่ิ แปลกปลอมแบบไม่จำเพาะ
และแบบจำเพาะ
16. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และเปรยี บเทียบการสรา้ งภูมิคมุ้ กันก่อเองและภูมิคุม้ กันรับมา
17. สบื คน้ ข้อมูลและอธบิ ายเกยี่ วกบั ความผดิ ปกตขิ องระบบภูมคิ ุม้ กันที่ทำให้เกิดเอดส์ ภูมแิ พ้ การ
สรา้ งภมู ติ า้ นทานต่อเน้ือเยื่อตนเอง
18. สบื ค้นขอ้ มูล อธบิ าย และเปรยี บเทยี บโครงสรา้ งและหน้าทีใ่ นการกำจัดของเสียออกจากร่างกาย
ของฟองนำ้ ไฮดรา พลานาเรีย ไสเ้ ดอื นดนิ แมลง และสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั
19. อธบิ ายโครงสร้างและหน้าที่ของไต และโครงสรา้ งที่ใชล้ ำเลียงปสั สาวะออกจากรา่ งกาย
20. อธบิ ายกลไกการทำงานของหนว่ ยไต ในการกำจดั ของเสียออกจากร่างกาย และเขยี นแผนผังสรปุ
ขั้นตอนการกำจัดของเสยี ออกจากร่างกายโดยหนว่ ยไต
21. สืบค้นขอ้ มูล อธบิ าย และยกตวั อยา่ งเกยี่ วกบั ความผิดปกตขิ องไตอันเน่ืองมาจากโรคต่างๆ
รวมทั้งหมด 21 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 357

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30244 ชีววิทยาเพมิ่ เติม 4 / Biology 4

รายวิชาเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

1 การยอ่ ย 1,2,3 - โครงสรา้ งและกระบวนการ 10 10

อาหาร ยอ่ ยอาหารของสตั ว์ท่ไี ม่มี

ทางเดินอาหาร สัตวท์ ี่มที างเดิน

อาหารแบบไมส่ มบูรณ์ และสัตว์

ทีม่ ีทางเดนิ อาหารแบบสมบูรณ์

- การกินอาหารของไฮดรา

และพลานาเรยี

- โครงสรา้ ง หน้าท่ี และ

กระบวนการย่อยอาหาร และ

การดูดซึมสารอาหารภายใน

ระบบย่อยอาหารของมนุษย์

2 การหายใจ 4,5,6,7 - โครงสรา้ งทท่ี ำหนา้ ท่ี 10 10

และการ แลกเปลีย่ นแกส๊ ของฟองน้ำ

แลกเปลยี่ ไฮดรา พลานาเรยี ไสเ้ ดือนดิน

นแกส๊ แมลง ปลา กบ และนก

- โครงสรา้ งของปอดในสตั วเ์ ล้ียง

ลกู ดว้ ยนำ้ นม

- โครงสร้างที่ใช้ในการ

แลกเปลีย่ นแกส๊ และ

กระบวนการแลกเปล่ียนแก๊ส

ของมนุษย์

- การทำงานของปอด และวดั

ปรมิ าตรของอากาศในการ

หายใจออกของมนุษย์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 358

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

3 การ 8,9,10,11,12,13 - เปรยี บเทยี บระบบหมุนเวยี น 15 15

ลำเลยี ง เลือดแบบเปดิ และระบบ

สารและ หมุนเวียนเลือดแบบปิด

การ - การไหลของเลือดและการ

หมุนเวยี น เคลอ่ื นที่ของเซลล์เมด็ เลือดใน

เลอื ด หางปลา

- โครงสรา้ งและการทำงานของ

หัวใจและหลอดเลือดในมนุษย์

- โครงสรา้ งหัวใจของสตั วเ์ ล้ยี ง

ลกู ดว้ ยน้ำนม ทศิ ทางการไหล

ของเลือดผ่านหัวใจของมนุษย์

12. สบื ค้นข้อมลู ระบคุ วาม

แตกต่างของเซลล์เม็ดเลือดแดง

เซลล์เมด็ เลอื ดขาว เพลตเลต

และพลาสมา

- หม่เู ลอื ดและหลักการให้และ

รบั เลือดในระบบ ABO และ

ระบบ Rh

สอบกลางภาค 20

4 ภมู ิคมุ้ กัน 14,15,16,17 - สว่ นประกอบและหน้าทขี่ อง 15 15

ของ นำ้ เหลอื ง รวมทั้งโครงสร้างและ

รา่ งกาย หนา้ ที่ของหลอดนำ้ เหลือง และ

ตอ่ มน้ำเหลือง

- กลไกการตอ่ ตา้ นหรือทำลาย

สิง่ แปลกปลอมแบบไมจ่ ำเพาะ

และแบบจำเพาะ

- การสร้างภมู ิคุม้ กนั ก่อเองและ

ภูมคิ มุ้ กันรบั มา

- ความผดิ ปกตขิ องระบบ

ภูมิคุม้ กันท่ที ำให้เกิดเอดส์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 359

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

ภูมแิ พ้ การสร้างภมู ิต้านทานต่อ

เนอื้ เย่ือตนเอง

5 การ 18,19,20,21 - โครงสร้างและหนา้ ที่ในการ 10 10

ขบั ถา่ ย กำจัดของเสยี ออกจากร่างกาย

ของฟองนำ้ ไฮดรา พลานาเรีย

ไสเ้ ดือนดิน แมลง และสตั วม์ ี

กระดูกสนั หลงั

- โครงสร้างและหน้าท่ขี องไต

และโครงสรา้ งที่ใชล้ ำเลยี ง

ปสั สาวะออกจากร่างกาย

- กลไกการทำงานของหนว่ ยไต

ในการกำจัดของเสยี ออกจาก

ร่างกาย และเขียนแผนผงั สรุป

ข้นั ตอนการกำจัดของเสยี ออก

จากรา่ งกายโดยหนว่ ยไต

- ความผดิ ปกตขิ องไตอนั

เนอ่ื งมาจากโรคตา่ ง

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 360

แบบวิเคราะหต์ ัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ของหลักสตู ร
รหัสวิชา ว30245 รายวิชา ชีววิทยาเพ่ิมเติม 5 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นที่ 1

สาระชีววทิ ยา
ขอ้ ที่ 5 เขา้ ใจแนวคดิ เกี่ยวกบั ระบบนเิ วศ กระบวนการถา่ ยทอดพลังงานและการหมุนเวยี น
สารในระบบนิเวศความหลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ประชากรและรูปแบบการเพิ่มของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปัญหา และ
ผลกระทบท่ีเกดิ จากการใช้ประโยชน์ และแนวทางการแก้ไขปญั หา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน

1. อภิปรายความสำคญั (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชว่ั โมง
ของความหลากหลาย
ทางชวี ภาพ และความ 1. นักเรียนสามารถ 1. จัดจำแนก และ 1. มีเจคตทิ ีด่ ีต่อ 2
เชือ่ มโยงระหวา่ งความ
หลากหลายทาง อธบิ ายกระบวนการ แยกความแตกต่าง การเรยี นรู้ เรื่อง
พนั ธกุ รรม ความ
หลากหลายของสปีชสี ์ การเกดิ ความ ของส่ิงมชี วี ิตที่เกดิ ความหลากหลาย
และความหลากหลาย
ของระบบนิเวศ หลากหลายทาง จากความ ของสง่ิ มชี ีวติ

2. อธบิ ายการเกดิ เซลล์ ชวี ภาพได้ หลากหลายทาง 2. มีจิต
เรม่ิ แรกของส่งิ มีชวี ิต
และวิวฒั นาการของ 2. นกั เรยี นสามารถ ชีวภาพได้ วทิ ยาศาสตร์ในดา้ น
ส่งิ มชี ีวิตเซลล์เดียว
อธบิ ายความ การตงั้ ใจทำงาน

หลากหลายทาง ซอ่ื สตั ย์ มีความ

พนั ธุกรรม ความ รับผิดชอบ และ

หลากหลายทางสปีชีส์ สามารถทำงานกลุ่ม

และความหลากหลาย ร่วมกบั ผอู้ ่นื ได้

ของระบบนเิ วศได้ 3. สามารถ

ตระหนกั ถึงคณุ ค่า

ของความ

หลากหลายทาง

ชีวภาพได้

1. สบื คน้ ขอ้ มลู 1. เปรียบเทยี บความ 1. มีความ 2

อภิปรายและอธิบาย แตกตา่ งระหว่าง รบั ผิดชอบ มีความ

กำเนิดของสิง่ มีชวี ติ ได้ เซลลโ์ พรคารโิ อต ตัง้ ใจ และมุ่งม่นั ใน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 361

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน
ช่ัวโมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
20
และเซลล์ยคู าริโอต การทำงานทไี่ ด้รบั
2
ได้ มอบหมาย

3. อธิบายลักษณะสำคัญ 1. นักเรยี นสามารถ 1. บอกความ 1. มคี วาม

และยกตวั อยา่ งสงิ่ มชี ีวติ อธิบายลักษณะสำคัญ แตกตา่ งของรปู รา่ ง รับผดิ ชอบ มคี วาม

กลุ่มแบคทเี รยี สง่ิ มีชวี ติ ของสง่ิ มชี ีวิตใน ของแบคทเี รยี กลุ่ม ตั้งใจ และมุ่งมน่ั ใน

กล่มุ โพรทสิ ต์ สิง่ มชี วี ิต อาณาจักรมอเนอราได้ ตา่ งๆได้ การทำงานทไี่ ด้รับ

กลุ่มพืช ส่ิงมชี ีวติ กลุ่มฟัง 2. นกั เรียนสามารถ 2. สงั เกตและสำรวจ มอบหมาย

ไจ และสง่ิ มีชวี ติ กลมุ่ อธบิ ายประโยชนแ์ ละ สาหรา่ ยท่อี ยูใ่ น

สตั ว์ โทษทเี่ กิดจาก แหลง่ นำ้ ธรรมชาติ

สิง่ มีชีวิตในอาณาจักร 3. สามารถจดั

มอเนอรา จำแนกพชื จากการ

3. นักเรยี นสามารถ สังเกตลกั ษณะ

อธิบายลักษณะสำคัญ ภายนอกได้

ของสง่ิ มีชีวิตใน

อาณาจักรโพรติสตา

ได้

4. นกั เรียนสามารถ

อธบิ ายลักษณะสำคัญ

ของสงิ่ มชี ีวิตใน

อาณาจักรฟังไจได้

5. นกั เรียนสามารถ

อธบิ ายลักษณะสำคัญ

ของสิ่งมีชวี ติ ใน

อาณาจักรพืชได้

6. นักเรียนสามารถ

อธบิ ายลักษณะสำคญั

ของสตั ว์ในได้

4. อธิบายและ 1. อธิบายความหมาย 1. สามารถบอกถงึ 1. มีเจคติทด่ี ีต่อ

ยกตวั อยา่ งการจำแนก ของการศึกษาความ ขั้นตอนของ การเรียนรู้ เรือ่ ง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 362

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน
สิง่ มีชีวิตจากหมวดหมู่ ชั่วโมง
ใหญ่จนถึงหมวดหมยู่ ่อย (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
และวธิ กี ารเขียนช่อื 2
วทิ ยาศาสตรใ์ นลำดับ หลากหลายทาง การศึกษาความ ความหลากหลาย 4
ข้นั สปีชสี ์
ชวี ภาพได้อย่าง หลากหลายทาง ของส่ิงมีชีวติ
5. สร้างไดโคโทมัสคยี ใ์ น
การระบสุ ง่ิ มีชวี ิตหรอื ถกู ต้อง ชีวภาพไดอ้ ย่าง 2. มีจติ
ตวั อยา่ งที่กำหนด
ออกเปน็ หมวดหมู่ 2. อธบิ ายการตง้ั ช่อื ถูกต้อง วทิ ยาศาสตร์ในดา้ น

6. วิเคราะห์ อธบิ าย วิทยาศาสตร์ของ 2. สามารถเขียนชื่อ การตง้ั ใจทำงาน
และยกตัวอย่าง
กระบวนการถ่ายทอด ส่ิงมีชีวติ ได้อย่าง วิทยาศาสตร์ของ ซ่อื สตั ย์ มคี วาม
พลงั งานในระบบนิเวศ
ถกู ต้อง ส่งิ มีชีวิตทถี่ ูกต้องได้ รบั ผดิ ชอบ และ

สามารถทำงานกล่มุ

ร่วมกับผอู้ นื่ ได้

3. สามารถ

ตระหนกั ถึงคณุ ค่า

ของความ

หลากหลายทาง

ชวี ภาพได้

1. อธิบายความหมาย 1. สามารถใช้ไดโค 1. ตระหนกั ถึง

และความสำคัญของ โตมสั คยี จ์ ำแนก ความสำคัญของ

การทำไดโคโตมัสคยี ์ สง่ิ มชี ีวติ ไดอ้ ยา่ ง การศกึ ษาความ

ได้ถูกต้อง ถกู ต้อง หลากหลายทาง

2. นำความรเู้ รื่องได ชวี ภาพกบั การ

โคโตมสั คียไ์ ปใชใ้ น ดำรงชีวิตของ

ชีวิตประจำวันได้ มนุษย์

1. อธิบายความสำคญั 1. เขียน 1. สนใจใฝร่ ู้ใน

ขององค์ประกอบทาง ความสัมพันธ์ของ การศกึ ษา

กายภาพและชวี ภาพ สิ่งมีชีวิตในรปู ของโซ่

ของระบบนเิ วศได้ อาหาร และสายใย

2. อธิบาย อาหารได้

ความสมั พนั ธ์ของ

ส่งิ มีชีวิตในรปู ของโซ่

อาหาร และสายใย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 363

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน
ชว่ั โมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
2
อาหารได้ 4

7. อธบิ าย ยกตวั อย่าง 1. อธบิ าย 1. เขียน 1. มีความ 2

การเกิดไบโอแมกนิฟเิ ค ความสมั พันธข์ อง ความสัมพันธข์ อง รับผดิ ชอบ มคี วาม 2

ชัน และบอกแนวทางใน สิ่งมีชีวติ ในรูปของโซ่ สงิ่ มชี ีวติ ในรูปของโซ่ ตั้งใจ และมุ่งมัน่ ใน 2

การลดการเกิดไบโอแมก อาหาร และสายใย อาหาร และสายใย การทำงานที่ได้รบั

นิฟิเคชัน อาหารได้ อาหารได้ มอบหมาย

8. สืบค้นข้อมลู และ 1. อธิบายวฏั จกั ร 1. เขียนแผนผงั วฏั 1. มีความ

เขยี นแผนภาพเพอื่ ไนโตรเจน กำมะถัน จักรไนโตรเจน รบั ผิดชอบ มคี วาม

อธบิ าย วฏั จกั ร และฟอสฟอรสั ได้ กำมะถัน และ ตงั้ ใจ และมุ่งมั่นใน

ไนโตรเจน วฏั จกั รกามะ ฟอสฟอรัสได้ การทำงานทีไ่ ด้รบั

ถัน และ วัฏจักร มอบหมาย

ฟอสฟอรสั

9. สืบคน้ ขอ้ มูล 1. อธิบายลกั ษณะ 1. สรา้ งแผนผงั แสดง 1. มคี วาม

ยกตัวอยา่ ง และอธิบาย สำคัญของไบโอม การแบ่งเขตของไบ รับผดิ ชอบ มคี วาม

ลกั ษณะของไบโอมท่ี ระดับโลกประเภทต่าง โอมระดบั โลกได้ ตั้งใจ และมุ่งมนั่ ใน

กระจายอยตู่ ามเขต ๆ ได้ การทำงานทไี่ ด้รบั

ภมู ศิ าสตรต์ า่ งๆ บนโลก 2. ยกตวั อย่าง มอบหมาย

สิง่ มีชวี ิตทพ่ี บในไบ

โอมระดบั โลกประเภท

ต่าง ๆ ได้

10. สบื ค้นขอ้ มลู 1. อธบิ ายการ 1. เขยี น 1. มีความ

ยกตัวอย่าง อธบิ าย และ เปล่ยี นแปลงแทนที่ ความสมั พันธ์ของ รับผดิ ชอบ มีความ

เปรยี บเทียบการ ของระบบนิเวศได้ ส่ิงมีชวี ิตในรปู ของ ตง้ั ใจ และมุ่งมัน่ ใน

เปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบ ระบบนิเวศ การทำงานท่ีไดร้ บั

ปฐมภมู แิ ละการ มอบหมาย

เปลย่ี นแปลงแทนท่ีแบบ

ทุติยภมู ิ

11. สืบค้นข้อมูล อธิบาย 1. นักเรียนสามารถ 1. นักเรียนสามารถ 1. มีความ

ยกตัวอยา่ งและสรปุ สืบคน้ ข้อมลู และ คำนวณหาความ รับผดิ ชอบ มคี วาม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 364

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลักษณะอนั จำนวน
ชั่วโมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
2
เกยี่ วกับลักษณะเฉพาะ อภิปรายผลการ หนาแน่นของ ตง้ั ใจ และมุ่งมน่ั ใน
2
ของประชากรของ เปลีย่ นแปลงความ ประชากรได้ การทำงานทไี่ ด้รบั 3

สิ่งมชี ีวติ บางชนิด หนาแน่นของ มอบหมาย

ประชากรได้

12. สบื ค้นข้อมูล อธบิ าย 1. นักเรยี นสามารถ 1. นักเรยี นสามารถ 1. มคี วาม

เปรียบเทียบ และ สืบคน้ ข้อมลู และ สังเกตการ รบั ผดิ ชอบ มีความ

ยกตวั อยา่ งการเพิ่มของ อภปิ รายผลการ เปลย่ี นแปลงของ ต้ังใจ และมุ่งม่นั ใน

ประชากรแบบ เอก็ แพร่กระจายของ ประชากรส่งิ มีชวี ิต การทำงานทไ่ี ดร้ ับ

โพเนนเชียลและการเพม่ิ ประชากรได้ ส่งิ แวดลอ้ มรอบขา้ ง มอบหมาย

ของประชากรแบบลอจิ 2. นักเรียนสามารถ ได้

สติก สบื คน้ ขอ้ มูลและ 2. นกั เรียนสามารถ

อภปิ รายการเพ่มิ -ลด จำแนกการเพิ่ม-ลด

ของจำนวนประชากร ในรปู แบบต่างๆของ

ได้ ประชากรได้

13. อธิบายและ 1. นักเรียนสามารถ 1. นักเรยี นสามารถ 1. มคี วาม

ยกตวั อยา่ งปัจจยั ท่ี สบื คน้ ข้อมลู และ คำนวณหาอัตราเชิง รับผดิ ชอบ มคี วาม

ควบคุมการเตบิ โตของ อภิปรายการเติบโต ประมาณได้ ตั้งใจ และมุ่งมัน่ ใน

ประชากร ของประชากรมนุษย์ การทำงานทไ่ี ด้รบั

ได้ มอบหมาย

14. วเิ คราะห์ อภิปราย 1. นักเรยี นสามารถ 1. นักเรยี นสามารถ 1. มคี วาม

และสรปุ ปญั หาการขาด สบื ค้นข้อมลู และ นำความร้ไู ป รบั ผิดชอบ มคี วาม

แคลนน้ำ การเกิดมลพิษ อภิปรายการใช้ แกป้ ญั หา ต้ังใจ และมุ่งมั่นใน

ทางนำ้ และผลกระทบท่ี ประโยชน์ ปญั หา การทำงานที่ได้รบั

มีตอ่ มนุษย์และ และการจดั การ ของ มอบหมาย

สง่ิ แวดลอ้ ม รวมท้งั เสนอ ทรพั ยากรน้ำในชวี ิต

แนวทางการวางแผนการ จรงิ

จดั การน้ำและการแกไ้ ข

ปัญหา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 365

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลักษณะอนั จำนวน
ชวั่ โมง
15. วเิ คราะห์ อภิปราย (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
และสรุปปัญหามลพิษ 3
ทางอากาศ และ 1. นกั เรยี นสามารถ 1. นกั เรยี นสามารถ 1. มคี วาม
ผลกระทบที่มีตอ่ มนษุ ย์ 3
และสิ่งแวดลอ้ ม รวมทงั้ สืบค้นข้อมูลและ นำความรไู้ ป รับผิดชอบ มีความ
เสนอแนวทางการแก้ไข 3
ปัญหา อภปิ รายการใช้ แก้ปญั หาในชวี ิตจรงิ ตง้ั ใจ และมุ่งมัน่ ใน
16. วิเคราะห์ อภิปราย 3
และสรปุ ปญั หาทเี่ กดิ กับ ประโยชน์ ปัญหา ได้ การทำงานทไ่ี ดร้ บั
ทรัพยากรดนิ และ
ผลกระทบที่มตี ่อมนษุ ย์ และการจัดการของ มอบหมาย
และส่ิงแวดล้อม รวมทั้ง
เสนอ แนวทางการแก้ไข ทรพั ยากรอากาศ
ปัญหา
17. วิเคราะห์ อภปิ ราย 1. นกั เรียนสามารถ 1. นักเรียนสามารถ 1. มีความ
และสรุปปญั หา สืบคน้ ข้อมลู และ นำความรไู้ ป รับผดิ ชอบ มีความ
ผลกระทบที่เกดิ จากการ อภิปรายการใช้ แกป้ ัญหาในชวี ติ จรงิ ตั้งใจ และมุ่งมั่นใน
ทำลายป่าไม้ รวมทั้ง ประโยชน์ ปญั หา ได้ การทำงานท่ีไดร้ บั
เสนอแนวทางในการ และการจดั การของ มอบหมาย
ปอ้ งกันการทาลายป่าไม้ ทรพั ยากรดนิ
และการอนรุ ักษ์ป่าไม้
18. วเิ คราะห์ อภปิ ราย 1. นกั เรยี นสามารถ 1. นกั เรียนสามารถ 1. มีความ
และสรปุ ปญั หา สืบค้นขอ้ มลู และ นำความรไู้ ป รับผดิ ชอบ มคี วาม
ผลกระทบที่ทาใหส้ ัตว์ อภปิ รายการใช้ แก้ปัญหาในชีวติ จรงิ ตง้ั ใจ และมุ่งมนั่ ใน
ปา่ มีจานวนลดลง และ ประโยชน์ ปัญหา ได้ การทำงานทไี่ ดร้ ับ
แนวทางในการอนรุ กั ษ์ และการจดั การของ มอบหมาย
สตั วป์ ่า ทรพั ยากรป่าไม้

1. นักเรยี นสามารถ 1. นกั เรียนสามารถ 1. มคี วาม
สบื ค้นขอ้ มูลและ นำความรูไ้ ป รบั ผิดชอบ มีความ
อภปิ รายการใช้ แกป้ ัญหาในชวี ติ จริง ตั้งใจ และมุ่งมั่นใน
ประโยชน์ ปัญหา ได้ การทำงานท่ไี ดร้ ับ
และการจดั การของ มอบหมาย
ทรัพยากรสัตว์ป่า

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 366

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว30245 รายวิชา ชีววิทยาเพิ่มเตมิ 5 / Biology 5

รายวชิ าเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 6 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ

อภิปรายความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และความเชื่อมโยงระหว่างความ
หลากหลายทางพันธุกรรม ความหลากหลายของสปชี สี ์ และความหลากหลายของระบบนิเวศ อธิบาย
การเกิดเซลล์เริ่มแรกของสิ่งมีชีวิตและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว ลักษณะสำคัญและ
ยกตัวอย่างสิ่งมีชีวิตกลุ่มแบคทีเรีย สิ่งมีชีวิตกลุ่มโพรทิสต์ สิ่งมีชีวิตกลุ่มพืช สิ่งมีชีวิตกลุ่มฟังไจ และ
สิ่งมีชีวิตกลุ่มสัตว์ การจำแนกสิ่งมีชีวิตจากหมวดหมู่ใหญ่จนถึงหมวดหมู่ย่อย และวิธีการเขียนช่ือ
วิทยาศาสตร์ในลำดับขั้นสปีชีส์ สร้างไดโคโทมัสคีย์ อธิบาย และยกตัวอย่างกระบวนการถ่ายทอด
พลังงานในระบบนเิ วศ การเกิดไบโอแมกนิฟิเคชนั และบอกแนวทางในการลดการเกิดไบโอแมกนิฟิเค
ชัน เขียนแผนภาพเพื่ออธิบาย วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรกามะถัน และ วัฏจักรฟอสฟอรัส อธิบาย
ลักษณะของไบโอมที่กระจายอยู่ตามเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ บนโลก อธิบาย และเปรียบเทียบการ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ สรุปเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของประชากรของสิ่งมีชีวิตบางชนิด อธิบายการเพ่ิม
ของประชากรแบบ เอ็กโพเนนเชียลและการเพิ่มของประชากรแบบลอจิสติก ปัจจัยที่ควบคุมการ
เติบโตของประชากร อภิปรายปัญหาการขาดแคลนน้ำ ปัญหามลพิษทางอากาศ ปัญหาที่เกิดกับ
ทรัพยากรดิน ปัญหาผลกระทบที่เกิดจากการทาลายป่าไม้ ปัญหาผลกระทบที่ทาให้สัตว์ป่ามีจานวน
ลดลง การเกิดมลพิษ และผลกระทบที่มีต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเสนอแนวทางการวาง
แผนการจัดการและการแก้ไขปัญหา

โดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้การสำรวจ
ตรวจสอบ สามารถนำความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ์ หรือ
แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวัน สามารถจัดกระทำและวเิ คราะห์ข้อมลู สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู้ มีความสามารถ
ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา มีจิตวิทยาศาสตร์ เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรม และ
ค่านิยมท่เี หมาะสม เพื่อให้มคี ณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ใน
ชีวิตประจำวัน มจี ติ วิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต
มวี ินยั ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อยา่ งพอเพยี ง มุง่ มั่นในการทำงาน รักความเป็นไทย และมจี ติ สาธารณะ

ผลการเรยี นรู้
1. อภิปรายความสำคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ และความเชื่อมโยงระหว่างความ
หลากหลายทางพนั ธกุ รรม ความหลากหลายของสปีชสี ์ และความหลากหลายของระบบนิเวศ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 367

2. อธิบายการเกิดเซลล์เร่ิมแรกของสิ่งมชี วี ิตและววิ ฒั นาการของสง่ิ มีชีวติ เซลลเ์ ดียว
3. อธิบายลักษณะสำคัญและยกตัวอย่างสิ่งมชี วี ติ กลุ่มแบคทีเรยี สิ่งมีชีวิตกลุ่มโพรทิสต์ สิ่งมีชีวิตกล่มุ
พชื ส่ิงมีชีวิตกลมุ่ ฟงั ไจ และส่ิงมชี วี ติ กล่มุ สตั ว์
4. อธิบายและยกตัวอยา่ งการจำแนกสงิ่ มชี วี ิตจากหมวดหมู่ใหญ่จนถึงหมวดหมู่ย่อย และวิธีการเขียน
ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ในลำดับขนั้ สปีชีส์
5. สรา้ งไดโคโทมสั คยี ์ในการระบสุ ิ่งมชี วี ิตหรอื ตัวอย่างทีก่ ำหนดออกเป็นหมวดหมู่
6. วิเคราะห์ อธิบาย และยกตัวอย่างกระบวนการถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
7.อธบิ ายยกตวั อย่างการเกิดไบโอแมกนฟิ เิ คชัน และบอกแนวทางในการลดการเกิดไบโอแมกนิฟเิ คชัน
8. สืบค้นข้อมูล และเขียนแผนภาพเพื่ออธิบาย วัฏจักรไนโตรเจน วัฏจักรกามะถัน และ วัฏจักร
ฟอสฟอรสั
9. สบื ค้นข้อมลู ยกตัวอยา่ งและอธบิ ายลักษณะของไบโอมที่กระจายอยู่ตามเขตภูมิศาสตร์ตา่ งๆบนโลก
10. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่าง อธิบาย และเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงแทนที่แบบปฐมภูมิและการ
เปล่ียนแปลงแทนท่แี บบทุตยิ ภมู ิ
11. สืบค้นข้อมูลอธิบายยกตัวอย่างและสรุปเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของประชากรของสิ่งมีชีวิตบาง
ชนิด
12. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่างการเพิ่มของประชากรแบบ เอ็กโพเนนเชียล
และการเพิ่มของประชากรแบบลอจสิ ติก
13. อธิบายและยกตวั อยา่ งปัจจัยที่ควบคุมการเตบิ โตของประชากร
14. วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรุปปญั หาการขาดแคลนน้ำ การเกิดมลพษิ ทางน้ำ และผลกระทบท่ีมีต่อ
มนุษยแ์ ละส่ิงแวดลอ้ ม รวมทั้งเสนอแนวทางการวางแผนการจัดการน้ำและการแก้ไขปัญหา
15. วิเคราะห์ อภปิ ราย และสรุปปัญหามลพิษทางอากาศ และผลกระทบท่ีมีต่อมนษุ ยแ์ ละสิ่งแวดล้อม
รวมทัง้ เสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหา
16. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหาที่เกิดกับทรัพยากรดิน และผลกระทบที่มีต่อมนุษย์และ
ส่งิ แวดล้อม รวมทั้งเสนอ แนวทางการแก้ไขปญั หา
17. วิเคราะห์ อภิปราย และสรปุ ปญั หาผลกระทบท่ีเกดิ จากการทาลายป่าไม้ รวมท้งั เสนอแนวทางใน
การปอ้ งกนั การทาลายป่าไม้และการอนุรกั ษ์ปา่ ไม้
18. วิเคราะห์ อภิปราย และสรุปปัญหาผลกระทบที่ทาให้สัตว์ป่ามีจานวนลดลง และแนวทางในการ
อนรุ กั ษ์สัตว์ป่า

รวมทั้งหมด 18 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 368

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวิชา ว30245 รายวิชา ชีววิทยาเพิม่ เตมิ 5 / Biology 5

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

1 ความหลาก 1, 2, 3, 4, 5 - ความหลากหลายทาง 30 30

หลาย ชวี ภาพ

ทางชวี ภาพ - การกำเนิดเซลล์ และชนิด

ของเซลล์

- ลกั ษณะสำคญั ของ

แบคทเี รีย โพรทสิ ต์ พืช ฟัง

ไจ และสัตว์

- การจำแนกส่ิงมีชีวติ และ

วิธกี ารเขียนช่ือวิทยาศาสตร์

ในลำดบั ขนั้ สปีชีส์

- สรา้ งไดโคโทมัสคีย์

สอบกลางภาค 20

2 ประชากร 6, 7, 8, 9, 10, 11, - กระบวนการถ่ายทอด 15 15

และระบบ 12, 13 พลังงานในระบบนเิ วศ

นเิ วศ - วัฏจกั รไนโตรเจน วฏั จักร

กามะถัน และ วัฏจักร

ฟอสฟอรสั

- ลักษณะของไบโอมที่

กระจายอยตู่ ามเขต

ภูมิศาสตรต์ า่ งๆ

- การเปลี่ยนแปลงแทนท่ี

- ลกั ษณะเฉพาะของ

ประชากรของสิ่งมชี ีวิตบาง

ชนดิ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 369

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

- การเพ่ิมของประชากร 15 15

และปัจจัยที่ควบคมุ การ 20
60 100
เตบิ โตของประชากร

3 มนษุ ย์กบั 14, 15, 16, 17, 18 - มนุษยก์ บั

ความย่งั ยนื ทรพั ยากรธรรมชาติ

ของ - หลักการอนุรกั ษ์

สง่ิ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ

- ปัญหาส่ิงแวดลอ้ ม

- การอนุรักษ์

ทรัพยากรธรรมชาติ

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรยี น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 370

แบบวิเคราะหต์ ัวชี้วดั /ผลการเรียนรขู้ องหลักสูตร
รหสั วิชา ว30246 รายวชิ า ชีววิทยาเพิ่มเตมิ 6 ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ภาคเรยี นท่ี 2

สาระชีววิทยา
ข้อที่ 4 เข้าใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษย์ รวมทั้งการหายใจและการแลกเปลี่ยนแกส๊
การลำเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการ
ตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธุ์ และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และ
พฤติกรรมของสัตว์ รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชว่ั โมง

1. สืบคน้ ขอ้ มูล อธบิ าย 1. อธิบาย และสรุป 1. เปรยี บเทียบความ 1. มจี ติ 2

และเปรยี บเทยี บ เกี่ยวกับโครงสร้างท่ี แตกตา่ งของระบบ วิทยาศาสตรใ์ นด้าน

โครงสรา้ งและหน้าที่ของ ใช้ในการรับรู้และการ ประสาทของไฮดรา การตง้ั ใจทำงาน

ระบบประสาทของ ตอบสนองของพารามี พลานาเรีย ไสเ้ ดือน ซื่อสัตย์ มคี วาม

ไฮดรา พลานาเรีย เซยี ม ไฮดรา ดิน ก้งุ หอย แมลง รับผิดชอบ และ

ไสเ้ ดอื นดิน กุ้ง หอย พลานาเรีย ไส้เดือน และสัตว์มีกระดูกสัน สามารถทำงานกลมุ่

แมลง และสัตว์มีกระดูก ดิน ก้งุ หอย แมลง หลงั ได้ ร่วมกบั ผอู้ ่นื ได้

สนั หลงั และสัตวม์ ีกระดูกสนั

หลัง

ได้

2. อธิบายเกยี่ วกับ 1. อธิบาย และสรุป 1. เขยี นแผนผงั สรปุ 1. มจี ิต 1

โครงสรา้ งและหน้าที่ของ เกี่ยวกบั โครงสร้าง ความคดิ เร่ือง วทิ ยาศาสตร์ในดา้ น

เซลล์ประสาท ชนดิ และหนา้ ทขี่ อง โครงสรา้ งและหนา้ ที่ การตัง้ ใจทำงาน

เซลล์ประสาทได้ ของเซลลป์ ระสาท ซ่ือสตั ย์ มีความ

รับผดิ ชอบ และ

สามารถทำงานกลมุ่

ร่วมกบั ผู้อ่นื ได้

3. อธิบายเก่ียวกบั การ 1. อธบิ าย และสรุป 1. สามารถเขยี น 1. มจี ิต 2

เปล่ยี นแปลงของ เกยี่ วกับโครงสรา้ ง แผนผงั สรุปความคดิ วทิ ยาศาสตรใ์ นด้าน

ศกั ยไ์ ฟฟา้ ทเ่ี ยื่อหุ้มเซลล์ เก่ยี วกับกลไกการ การตั้งใจทำงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 371

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ช่วั โมง

ของเซลลป์ ระสาท และ ชนิดและหน้าทข่ี อง ถา่ ยทอดกระแส ซอื่ สตั ย์ มีความ

กลไกการถ่ายทอด เซลลป์ ระสาทได้ ประสาทได้ รับผิดชอบ และ

กระแสประสาท สามารถทำงานกลมุ่

ร่วมกับผูอ้ น่ื ได้

4. อธิบายและสรุป 1. อธบิ าย และสรุป 1. เปรยี บเทยี บความ 1. มีจิต 2

เกีย่ วกบั โครงสรา้ งของ เกี่ยวกับโครงสรา้ ง แตกต่างของระบบ วทิ ยาศาสตร์ในดา้ น

ระบบประสาทสว่ นกลาง ของสมองและไขสนั ประสาทส่วนกลาง การตั้งใจทำงาน

และระบบประสาทรอบ หลัง และระบบประสาท ซือ่ สัตย์ มคี วาม

นอก รอบนอก รบั ผดิ ชอบ และ

สามารถทำงานกลมุ่

ร่วมกับผ้อู ื่นได้

5. สืบคน้ ข้อมูล อธบิ าย 1. อธิบาย และสรุป 1. สามารถเขยี น 1. มจี ิต 2

โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของ เกย่ี วกับโครงสรา้ ง แผนผงั สรุปหน้าที่ วทิ ยาศาสตรใ์ นดา้ น

ส่วนต่างๆ ในสมองสว่ น และหนา้ ทข่ี องสมอง ของสมองส่วนต่างๆ การตง้ั ใจทำงาน

หนา้ สมองสว่ นกลาง และไขสนั หลัง และ และไขสันหลงั ได้ ซื่อสตั ย์ มีความ

สมองส่วนหลงั และไข หนา้ ทีข่ อง รับผิดชอบ และ

สันหลงั เสน้ ประสาทสมองได้ สามารถทำงานกลมุ่

ร่วมกบั ผอู้ ่ืนได้

6. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย 1. อธบิ าย และสรุป 1. เปรยี บเทยี บความ 1. มีจิต 2

เปรียบเทยี บ และ เกี่ยวกบั การทำงาน แตกต่างของระบบ วทิ ยาศาสตร์ในดา้ น

ยกตวั อย่างการทำงาน ของระบบประสาทโซ ประสาทอัตโนวัติ การตั้งใจทำงาน

ของระบบประสาทโซ มาติกและระบบ และระบบประสาท ซอื่ สตั ย์ มคี วาม

มาติกและระบบ ประสาทอัตโนวตั ไิ ด้ โซมาติกได้ รบั ผดิ ชอบ และ

ประสาท อตั โนวัติ สามารถทำงานกลุ่ม

ร่วมกบั ผอู้ ่นื ได้

7. สบื ค้นขอ้ มลู อธบิ าย 1. อธบิ าย และสรุป 1. เปรียบเทยี บความ 1. มจี ิต 2

โครงสรา้ งและหน้าท่ีของ เกย่ี วกบั ลกั ษณะ แตกต่างของอวัยวะ วทิ ยาศาสตร์ในด้าน

ตา หู จมูก ลนิ้ และ โครงสรา้ ง และหน้าท่ี รับสัมผสั ได้ การตงั้ ใจทำงาน

ผิวหนังของมนุษย์ ซอื่ สตั ย์ มีความ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 372

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลกั ษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชวั่ โมง

ยกตวั อยา่ งโรคตา่ งๆ ท่ี ของตา หู จมูก ลิ้น 2. นำเสนอโรคตา่ งๆ รบั ผิดชอบ และ

เกย่ี วขอ้ ง และบอก และผวิ หนังได้ ทีเ่ กย่ี วกบั อวัยวะรบั สามารถทำงานกลมุ่

แนวทางในการดูแล สมั ผัสได้ ร่วมกบั ผอู้ นื่ ได้

ปอ้ งกนั และรักษา

8. สงั เกตและอธบิ าย 1. อธิบาย และสรปุ 1. เขียนแผนผงั สรุป 1. มจี ิต 2

การหาตำแหนง่ ของ จุด ตำแหน่งของ จุดบอด ความคดิ เร่ืองจดุ บอด วิทยาศาสตรใ์ นดา้ น

บอด โฟเวยี และความ โฟเวีย และความไวใน จุดโฟเวีย และความ การต้งั ใจทำงาน

ไวในการรบั สมั ผสั ของ การรบั สมั ผัสของ ไวในการับสมั ผัสของ ซื่อสตั ย์ มคี วาม

ผวิ หนัง ผวิ หนงั ได้ ผิวหนังได้ รับผิดชอบ และ

สามารถทำงานกลุ่ม

รว่ มกับผอู้ น่ื ได้

9. สบื คน้ ข้อมลู อธบิ าย 1. อธบิ าย และสรุป 1. ทดลอง และ 1. มจี ติ 3

และเปรียบเทียบ เก่ยี วกบั การเคลื่อนท่ี สงั เกตการเคล่ือนที่ วิทยาศาสตรใ์ นดา้ น

โครงสรา้ งและหนา้ ท่ีของ ของสิ่งมชี ีวิตเซลล์ ของส่งิ มชี ีวิตขนิด การตง้ั ใจทำงาน

อวัยวะท่เี ก่ียวข้องกับ เดียว และโครงสร้างที่ ต่างๆ ได้ ซ่ือสัตย์ มคี วาม

การเคลอื่ นท่ขี อง ใช้ในการเคล่ือนทข่ี อง รบั ผิดชอบ และ

แมงกะพรนุ หมึก ดาว สงิ่ มชี ีวิตได้ สามารถทำงานกลมุ่

ทะเล ไส้เดือนดนิ แมลง รว่ มกับผอู้ น่ื ได้

ปลา และนก

10. สืบค้นขอ้ มลู และ 1. อธิบาย และสรุป 1. เขียนแผนผงั สรปุ 1. มีจติ 6

อธิบายโครงสร้างและ เกี่ยวกบั โครงสรา้ งท่ี ความคิด เรอ่ื ง วิทยาศาสตร์ในด้าน

หนา้ ท่ขี องกระดูกและ ใช้ในการเคล่ือนท่ีของ โครงสร้างและหนา้ ที่ การต้ังใจทำงาน

กลา้ มเน้ือท่เี กีย่ วข้องกบั คนได้ ของกระดูก และ ซือ่ สัตย์ มีความ

การเคล่ือนไหวและการ กลา้ มเนื้อ รบั ผดิ ชอบ และ

เคลอ่ื นที่ของมนษุ ย์ สามารถทำงานกลมุ่

ร่วมกบั ผูอ้ น่ื ได้

11. สงั เกตและอธิบาย 1. มีความรู้เรื่อง 1. อภปิ รายการ 1. มจี ิต 6

การทำงานของ ขอ้ ตอ่ องคป์ ระกอบที่ใชใ้ น ทำงานของกล้ามเนื้อ วิทยาศาสตรใ์ นดา้ น

ชนิดต่างๆ และการ ลายได้ การตั้งใจทำงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 373

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชัว่ โมง

ทำงานของกลา้ มเนอ้ื การเคลือ่ นท่ีของ ซื่อสัตย์ มีความ

โครงร่างที่เกย่ี วข้องกับ กลา้ มเนอื้ ลาย รับผดิ ชอบ และ

การเคลื่อนไหวและการ สามารถทำงานกลุม่

เคลื่อนที่ของมนษุ ย์ ร่วมกับผูอ้ ืน่ ได้

12. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย 1. อภปิ รายและสรุป 1. จำแนกลกั ษณะ 1. มีจติ 3

และยกตัวอยา่ งการ ความสำคญั ของการ การสืบพันธขุ์ องสัตว์ วิทยาศาสตรใ์ นด้าน

สืบพันธแุ์ บบไม่อาศยั สืบพันธ์ุ ๆ ได้ การตง้ั ใจทำงาน

เพศและการสืบพันธ์ุ 2. อภปิ รายและสรุป ซ่อื สัตย์ มคี วาม

แบบอาศยั เพศในสัตว์ การสบื พันธุ์ของ รบั ผดิ ชอบ และ

สิ่งมีชวี ติ เซลล์เดียว สามารถทำงานกล่มุ

ร่วมกับผอู้ น่ื ได้

13. สืบค้นข้อมูล อธิบาย 1. อภิปรายและสรปุ 1. เปรยี บเทียบความ 1. มจี ิต 4

โครงสรา้ งและหน้าท่ีของ โครงสร้าง และหนา้ ท่ี เหมือน และความ วิทยาศาสตรใ์ นดา้ น

อวัยวะในระบบสืบพันธ์ุ ของอวัยวะเพศชาย ตา่ งของโครงสร้าง การตั้งใจทำงาน

เพศชายและระบบ และหญิงได้ และหนา้ ทข่ี อง ซอื่ สตั ย์ มคี วาม

สบื พนั ธุ์เพศหญิง อวัยวะเพศได้ รบั ผิดชอบ และ

สามารถทำงานกลุ่ม

ร่วมกับผอู้ น่ื ได้

14. อธิบายกระบวนการ 1. อภิปรายและสรปุ 1. เปรียบเทียบความ 1. มีจิต 4

สร้างสเปริ ์ม กระบวนการสรา้ ง เหมอื น และความ วิทยาศาสตร์ในด้าน

กระบวนการสรา้ งเซลล์ เซลลส์ ืบพนั ธข์ุ องเพศ ตา่ งของการสรา้ ง การตั้งใจทำงาน

ไข่ และการปฏิสนธิใน ชาย และเพศหญิง เซลลส์ บื พนั ธไ์ุ ด้ ซื่อสตั ย์ มีความ

มนษุ ย์ รับผดิ ชอบ และ

สามารถทำงานกลุม่

ร่วมกบั ผู้อื่นได้

15. อธบิ ายการ 1. อภปิ ราย และสรปุ 1. เปรยี บเทียบความ 1. มีจติ 4

เจริญเตบิ โตระยะ ความสำคัญของการ แตกต่างของการ วิทยาศาสตรใ์ นดา้ น

เอ็มบรโิ อและระยะหลงั เจรญิ เตบิ โตของกบ เจริญเตบิ โตในกบ ไก่ การตง้ั ใจทำงาน

ไก่ และมนษุ ย์ได้ และมนษุ ย์ได้ ซ่ือสตั ย์ มคี วาม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 374

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชว่ั โมง

เอ็มบรโิ อของกบ ไก่ รับผดิ ชอบ และ

และมนุษย์ สามารถทำงานกล่มุ

รว่ มกับผู้อื่นได้

16. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ าย 1. อธิบาย และสรุป 1. เขยี นแผนผังสรุป 1. มีจิต 10

และเขียนแผนผงั สรปุ เกยี่ วกบั ลักษณะของ ท่มี าของฮอร์โมน วิทยาศาสตร์ในด้าน

หน้าทีข่ องฮอรโ์ มนจาก ต่อมไรท้ ่อ และ และหน้าทีข่ อง การตง้ั ใจทำงาน

ตอ่ มไร้ท่อและเนื้อเย่ือที่ ความหมายของ ฮอรโ์ มนได้ ซ่ือสัตย์ มีความ

สร้างฮอร์โมน ฮอรโ์ มน รบั ผดิ ชอบ และ

ได้ สามารถทำงานกล่มุ

2. อธบิ ายลักษณะ รว่ มกบั ผอู้ ื่นได้

ความสำคัญ และ

หน้าทีข่ องฮอรโ์ มนได้

17. สืบค้นข้อมลู อธบิ าย 1. อธบิ าย และสรปุ 1. เปรยี บเทียบความ 1. มจี ติ 2

เปรียบเทียบ และ เกีย่ วกบั กลไกการเกิด แตกตา่ งของ วิทยาศาสตร์ในด้าน

ยกตวั อยา่ งพฤติกรรมที่ พฤติกรรมของสตั วไ์ ด้ พฤติกรรมแต่ละแบบ การต้งั ใจทำงาน

เปน็ มาแตก่ ำเนดิ และ ได้ ซอื่ สัตย์ มีความ

พฤติกรรมทเี่ กดิ จากการ รบั ผดิ ชอบ และ

เรียนรู้ของสตั ว์ สามารถทำงานกลุ่ม

ร่วมกับผู้อน่ื ได้

18. สบื คน้ ข้อมูล อธิบาย 1. อธบิ าย และสรปุ 1. เขยี นแผนผงั สรปุ 1. มจี ติ 2

และยกตัวอย่าง ความสัมพนั ธ์ระหว่าง ความสมั พันธ์ วิทยาศาสตรใ์ นด้าน

ความสัมพันธ์ระหว่าง พฤติกรรมกับ ระหว่างพฤตกิ รรม การตง้ั ใจทำงาน

พฤติกรรมกบั ววิ ัฒนาการของระบบ กับววิ ัฒนาการของ ซ่ือสัตย์ มคี วาม

ววิ ัฒนาการของระบบ ประสาท ระบบประสาท รับผดิ ชอบ และ

ประสาท สามารถทำงานกลุม่

ร่วมกับผู้อื่นได้

19. สบื ค้นขอ้ มลู อธบิ าย 1. อธิบาย และสรุป 1. เขียนแผนผังสรปุ 1. มจี ิต 1

และยกตวั อยา่ งการ เกี่ยวกับกลไกการ การสอื่ สารระหวา่ ง วทิ ยาศาสตรใ์ นด้าน

การต้ังใจทำงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 375

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน
ชัว่ โมง
สอ่ื สารระหว่างสตั ว์ที่ทำ (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
ใหส้ ตั วแ์ สดงพฤติกรรม
ตดิ ต่อสือ่ สารระหว่าง สตั ว์ท่ที ำใหส้ ตั ว์ ซ่อื สัตย์ มีความ

สัตว์ได้ แสดงพฤตกิ รรม รบั ผดิ ชอบ และ

2. อธบิ าย และสรุป สามารถทำงานกลมุ่

เก่ยี วกับความหมาย ร่วมกับผอู้ ่นื ได้

ของฟีโรโมนได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 376

คำอธบิ ายรายวิชา

รหัสวิชา ว30246 รายวชิ า ชวี วิทยาเพิม่ เตมิ 6 / Biology 6

รายวชิ าเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทของไฮดรา พลานาเรีย ไส้เดือนดิน กุ้ง หอย
แมลง และสัตว์มีกระดูกสันหลัง อธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ประสาท การ
เปลี่ยนแปลงของศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาท และกลไกการถ่ายทอดกระแสประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทส่วนกลางและระบบประสาทรอบนอก อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของ
ส่วนต่างๆ ในสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมองส่วนหลัง และไขสันหลัง ยกตัวอย่างการทำงาน
ของระบบประสาทโซมาติกและระบบประสาท อัตโนวัติ โครงสร้างและหน้าที่ของ ตา หู จมูก ลิ้น
และผิวหนังของมนุษย์ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะที่
เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ของแมงกะพรุน หมึก ดาวทะเล ไส้เดือนดิน แมลง ปลา และนก สืบค้น
ขอ้ มูลและอธิบายโครงสร้างและหนา้ ที่ของกระดูกและกลา้ มเน้ือท่ีเกย่ี วข้องกับการเคล่ือนไหวและการ
เคลอื่ นที่ของมนษุ ย์ อธิบาย มนษุ ย์ สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย และเปรยี บเทียบ และยกตัวอยา่ งการสบื พันธุ์
แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศในสัตว์ อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะใน
ระบบสืบพันธ์ุเพศชายและระบบสบื พันธุเ์ พศหญิง กระบวนการสร้างสเปิรม์ กระบวนการสร้างเซลล์ไข่
และการปฏิสนธิในมนุษย์ การเจริญเติบโตระยะเอ็มบริโอและระยะหลังเอ็มบริโอของกบ ไก่ และ
มนุษย์ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนผังสรุปหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและเนื้อเยื่อที่
สร้างฮอร์โมน อธิบาย เปรียบเทยี บ และยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กาเนิดและพฤตกิ รรมทีเ่ กิด
จากการเรียนร้ขู องสตั ว์ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพฤตกิ รรมกบั วิวัฒนาการของระบบประสาท การสือ่ สาร
ระหว่างสตั ว์ทีท่ าให้สัตว์แสดงพฤติกรรม

โดยใช้การเรียนรู้ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้การสำรวจ
ตรวจสอบ สามารถนำความรู้และหลักการไปใช้ประโยชน์ เชื่อมโยง อธิบายปรากฏการณ์ หรือ
แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน สามารถจัดกระทำและวิเคราะห์ข้อมลู สื่อสารสิง่ ท่ีเรียนรู้ มีความสามารถ
ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา มีจิตวิทยาศาสตร์ เห็นคุณค่าของวิทยาศาสตร์ มีจริยธรรม คุณธรรม และ
คา่ นิยมท่เี หมาะสม เพ่ือใหม้ คี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เห็นคุณคา่ ของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชวี ติ ประจำวนั มจี ิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีเหมาะสม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน
ในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสัตย์สุจริต
มวี นิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง มุ่งมัน่ ในการทำงาน รักความเป็นไทย และมีจติ สาธารณะ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 377

ผลการเรยี นรู้
1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของระบบประสาทของไฮดรา พลานา
เรยี ไส้เดือนดนิ กุ้ง หอย แมลง และสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั
2. อธิบายเก่ยี วกับโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของเซลล์ประสาท
3. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของศักย์ไฟฟ้าที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเซลล์ประสาท และกลไกการ
ถา่ ยทอดกระแสประสาท
4. อธิบายและสรุปเก่ียวกับโครงสรา้ งของระบบประสาทสว่ นกลางและระบบประสาทรอบนอก
5. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของส่วนต่างๆ ในสมองส่วนหน้า สมองส่วนกลาง สมอง
ส่วนหลงั และไขสนั หลัง
6. สืบค้นข้อมูล อธบิ าย เปรยี บเทยี บ และยกตัวอยา่ งการทำงานของระบบประสาทโซมาตกิ และระบบ
ประสาท อัตโนวตั ิ
7. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนังของมนุษย์ ยกตัวอย่าง
โรคตา่ งๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง และบอกแนวทางในการดแู ลปอ้ งกัน และรกั ษา
8. สังเกตและอธบิ ายการหาตาแหน่งของ จุดบอด โฟเวีย และความไวในการรบั สัมผสั ของผวิ หนัง
9. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนท่ี
ของแมงกะพรนุ หมึก ดาวทะเล ไสเ้ ดอื นดิน แมลง ปลา และนก
10. สืบค้นข้อมูลและอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของกระดูกและกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลือ่ นไหวและการเคล่ือนทีข่ องมนุษย์
11. สังเกตและอธิบายการทำงานของ ข้อต่อชนิดต่างๆ และการทำงานของกล้ามเนื้อโครงร่างที่
เกี่ยวขอ้ งกับการเคลอ่ื นไหวและการเคล่ือนทข่ี องมนุษย์
12. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตวั อยา่ งการสบื พันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธแ์ุ บบอาศัยเพศ
ในสตั ว์
13. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศชายและระบบสืบพันธุ์
เพศหญงิ
14. อธิบายกระบวนการสรา้ งสเปิร์ม กระบวนการสรา้ งเซลล์ไข่ และการปฏิสนธใิ นมนษุ ย์
15. อธิบายการเจริญเติบโตระยะเอม็ บริโอและระยะหลงั เอ็มบริโอของกบ ไก่ และมนุษย์
16. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนผังสรุปหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและเนื้อเยื่อที่สร้าง
ฮอรโ์ มน
17. สืบค้นข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และยกตัวอย่างพฤติกรรมที่เป็นมาแต่กำเนิดและพฤติกรรมที่
เกิดจากการเรียนรู้ของสัตว์
18. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับวิวัฒนาการของระบบ
ประสาท

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 378

19. สบื ค้นขอ้ มลู อธิบาย และยกตัวอยา่ งการสอ่ื สารระหวา่ งสตั ว์ที่ทำใหส้ ตั วแ์ สดงพฤตกิ รรม
รวมท้ังหมด 19 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 379

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหัสวิชา ว30246 รายวชิ า ชีววิทยาเพ่ิมเตมิ 6 / Biology 6

รายวิชาเพิ่มเติม กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หนว่ ยกิต

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
1 ระบบ - โครงสรา้ งและหน้าที่ของ
ประสาท 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 ระบบประสาท และเซลล์ 15 15
ประสาท
2 การ 9, 10, 11 - ศกั ยไ์ ฟฟา้ ท่ีเยื่อหุ้มเซลล์ 15 15
เคล่ือนไหว ของเซลล์ประสาท
ของ - โครงสร้างของระบบ
สิง่ มชี ีวิต ประสาทสว่ นกลางและ
ระบบประสาทรอบนอก
- โครงสรา้ งและหน้าที่ของ
สมอง และไขสันหลงั
- การทำงานของระบบ
ประสาทโซมาติกและระบบ
ประสาท อัตโนวตั ิ
- โครงสร้างและหน้าที่ของ
ตา หู จมกู ล้นิ และผวิ หนัง
ของมนษุ ย์
- โครงสรา้ งและหน้าที่ของ
อวัยวะท่ีเก่ยี วข้องกบั การ
เคลอ่ื นท่ี
- โครงสรา้ งและหนา้ ที่ของ
กระดูกและกล้ามเน้ือของ
มนุษย์
- การทำงานของ ข้อต่อ
ชนดิ ต่างๆ และการทำงาน
ของกลา้ มเนื้อโครงร่าง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 380

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

สอบกลางภาค 20

3 การสบื พันธ์ุ 12, 13, 14, 15 - การสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั 15 15

และการ เพศและการสบื พนั ธุแ์ บบ

เจรญิ เตบิ โต อาศยั เพศในสัตว์

- โครงสร้างและหนา้ ท่ีของ

อวัยวะในระบบสืบพนั ธุ์

- กระบวนการสร้างเซลล์

สืบพนั ธุ์ และการปฏิสนธิใน

มนษุ ย์

- การเจริญเตบิ โตระยะ

เอม็ บริโอ

4 ฮอร์โมน 16, 17, 18, 19 - หนา้ ทขี่ องฮอรโ์ มนจาก 15 15

และ ตอ่ มไรท้ อ่ และเน้ือเยื่อที่

พฤติกรรม สร้างฮอรโ์ มน

- พฤติกรรมท่ีเปน็ มาแต่

กำเนิดและพฤตกิ รรมท่เี กิด

จากการเรียนรขู้ องสัตว์

- ความสมั พันธ์ระหว่าง

พฤติกรรมกับววิ ฒั นาการ

ของระบบประสาท

- การสอ่ื สารระหวา่ งสตั วท์ ่ี

ทำให้สัตว์แสดงพฤตกิ รรม

สอบปลายภาค 20
รวมตลอดภาคเรยี น 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 381

รายวิชาเทคโนโลยีเพ่มิ เติม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 382

แบบวิเคราะห์ตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นรูข้ องหลักสตู ร
รหัสวชิ า ว31282 รายวชิ า การออกแบบเทคโนโลยี ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4

ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 40 ชว่ั โมง จำนวน 1 หน่วยกติ

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ช้ินงาน/
เรยี นรู้ ยอด สมรรถนะ คุณลกั ษณะอนั ภาระงาน
สำคัญ พงึ ประสงค์

ขอ้ ที่1 ร้แู ละเขา้ ใจหลัก 1.ระบบทาง -ความ ใฝเ่ รยี นรู้ - วเิ คราะห์และ

ของเทคโนโลยี เทคโนโลยี เป็นกลมุ่ สามารถใน เขียนแสดงการ

ความสมั พนั ธ์กับ ของส่วนตา่ ง ๆ ตง้ั แต่ การคดิ ทำงานของ

วิทยาศาสตรห์ รอื สองส่วนข้ึนไป -ความ เทคโนโลยีท่ี

คณติ ศาสตร์ ประกอบเขา้ ดว้ ยกนั สามารถใน กำหนดใน

รวมทั้ง และทำงานรว่ มกัน การใช้ รูปแบบระบบ

ประเมนิ ผล เพอื่ ให้บรรลุ เทคโนโลยี ทางเทคโนโลยี

กระทบที่จะ วัตถปุ ระสงค์โดยใน โดยระบแุ ละ

เกิดข้ึนต่อมนุษย์ การทำงานของระบบ แสดง

สังคม เศรษฐกจิ ทางเทคโนโลยีจะ ความสัมพนั ธ์

และสิ่งแวดลอ้ ม ประกอบไปดว้ ย ตัว ของระบบยอ่ ย

เพอ่ื เปน็ แนวทาง ป้อน(input) รวมทง้ั ความ

ในการพัฒนา กระบวนการ ผดิ พลาดของ

เทคโนโลยี (process) และ ระบบท่ีอาจ

ผลผลิต (output) ท่ี เกิดขึน้

สัมพันธ์กนั -อธิบายและ

นอกจากนี้ระบบทาง วิเคราะหส์ าเหตุ

เทคโนโลยอี าจมี หรือปจั จัยทที่ ำ

ข้อมลู ย้อนกลบั ให้เกดิ การ

(feedback) เพื่อใช้ เปลย่ี นแปลง

ปรบั ปรงุ การทำงาน ของเทคโนโลยี

ไดต้ ามวัตถุประสงค์ และคาดการณ์

โดยระบบทาง เทคโนโลยีท่จี ะ

เทคโนโลยีอาจมี เปลยี่ นแปลงใน

ระบบย่อยหลาย อนาคต

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 383

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ชนิ้ งาน/
เรยี นรู้ ยอด สมรรถนะ คณุ ลักษณะอัน ภาระงาน
สำคัญ พงึ ประสงค์

ระบบ(subsystems) - วิเคราะห์

ท่ีทำงานสัมพันธ์กนั ผลกระทบด้าน

อยู่ และหากระบบ บวกและดา้ น

ย่อยใดทำงาน ลบ พรอ้ มทั้ง

ผดิ พลาดจะส่งผลต่อ สำรวจ

การทำงานของระบบ ผลกระทบของ

อืน่ ดว้ ย เทคโนโลยที ี่

2.เทคโนโลยมี กี าร สนใจในชุมชน

เปลีย่ นแปลง และเสนอ

ตลอดเวลา ต้ังแต่อดตี แนวทางปอ้ งกัน

จนถึงปจั จุบัน ซึ่งมี และแก้ไข

สาเหตุหรอื ปจั จัยมา

จากหลายด้าน เชน่

ปัญหา ความต้องการ

ความกา้ วหนา้ ของ

ศาสตร์ต่าง ๆ

เศรษฐกจิ สังคม

วัฒนธรรม

สง่ิ แวดล้อม

ขอ้ ที่ 2 มีความรู้และ 1. วสั ดแุ ต่ละประเภท - ใฝ่เรียนรู้ - วิเคราะห์

ทักษะเกี่ยวกับ มสี มบตั แิ ตกต่างกัน ความสามา ประเภทและ

วสั ดุ อุปกรณ์ เชน่ ไมส้ งั เคราะห์ รถในการ อธบิ ายสมบัติ

เคร่ืองมอื กลไก โลหะ จงึ ต้องมีการ คิด ของวัสดุใน

ไฟฟา้ และ วเิ คราะหส์ มบตั ิเพอื่ ส่งิ ของเครอ่ื งใช้

อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เลอื กใช้ใหเ้ หมาะสม - พรอ้ มใหเ้ หตผุ ล

และเทคโนโลยีท่ี กบั ลกั ษณะของงาน ความสามา ในการเลอื กใช้

ซับซอ้ นในการ 2. การสร้างชิ้นงาน รถในการ - วิเคราะห์

แกป้ ัญหาหรือ อาจใช้ความรู้ เรือ่ ง ใช้ วสั ดุเครอ่ื งมือ

พฒั นางานได้ เทคโนโลยี พ้ืนฐานในการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 384

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ชิน้ งาน/
เรียนรู้ ยอด สมรรถนะ คุณลักษณะอนั ภาระงาน
สำคัญ พงึ ประสงค์
ข้อที่ 3 อย่างถูกต้อง
ขอ้ ที่ 4 เหมาะสมและ กลไก ไฟฟ้า สร้างสง่ิ ของ
ขอ้ ท่ี 5 ปลอดภัย
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น เครื่องใช้
สามารถระบุ
ปัญหาหรอื ความ LDR sensor เฟือง - ออกแบบ
ตอ้ งการทม่ี ี
ผลกระทบต่อ รอก คาน วงจร อุปกรณ์และ
สงั คมสังเคราะห์
สำเร็จรูป นำเสนอแนว

3. อปุ กรณแ์ ละ ทางการเลือกใช้

เครื่องมือในการสรา้ ง วสั ดุ และ

ชิน้ งาน หรือพฒั นา เครื่องมอื

วิธีการมหี ลาย พน้ื ฐาน

ประเภท ตอ้ งเลือกใช้ - วเิ คราะห์การ

ใหถ้ กู ต้อง เหมาะสม ใช้กลไกใน

และ ปลอดภยั สงิ่ ของเคร่ืองใช้

รวมทงั้ รจู้ กั เกบ็ รักษา -วเิ คราะหก์ าร

ใช้งานอุปกรณ์

ไฟฟา้ และ

อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ในสงิ่ ของ

เครื่องใช้

- ออกแบบ

เทคโนโลยีที่มี

องค์ประกอบ

กลไก อุปกรณ์

ไฟฟ้าและ

อิเลก็ ทรอนิกส์

1. ปญั หาหรอื ความ - ใฝ่เรียนรู้ - วเิ คราะห์

ต้องการท่มี ผี ลกระทบ ความสามา มุ่งมนั่ ในการ องคป์ ระกอบ

ต่อ สงั คม เชน่ ปัญหา รถในการ ทำงาน ของปญั หา

ด้านการเกษตร แกป้ ัญหา - วเิ คราะห์หา

อาหาร พลังงาน การ สาเหตุและ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 385

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการเรียนรู้ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรยี นรู้ ยอด สมรรถนะ คุณลักษณะอัน ภาระงาน
สำคญั พึงประสงค์

วธิ ีการ เทคนคิ ใน ขนส่ง สุขภาพและ - กำหนดขอบเขต

แก้ปญั หา การ การแพทย์ การ ความสามา ของปญั หาที่

ออกแบบวิธกี าร บริการ ซง่ึ แตล่ ะดา้ น รถในการ สนใจ

แก้ปญั หาและ อาจมีได้ หลากหลาย ใชท้ กั ษะ - รวบรวม

ประเมินวเิ คราะห์ ปญั หา ชวี ติ ขอ้ มูลท่ี

เหตผุ ลของปญั หา 2. การวิเคราะห์ เกีย่ วข้องกับ

หรอื ข้อบกพร่องท่ี สถานการณป์ ัญหา ปัญหาท่ีสนใจ

เกิดข้นึ โดยอาจ ใชเ้ ทคนิค - เปรียบเทียบ

หรอื วิธกี ารวิเคราะห์ที่ และตัดสินเลอื ก

หลากหลาย ช่วยให้ แนวทางในการ

เข้าใจเง่ือนไขและ แกป้ ัญหา

กรอบของปัญหาได้ - วิเคราะห์

ชัดเจน จากนน้ั องค์ประกอบที่

ดำเนินการสืบค้น จำเปน็ ต่อการ

รวบรวมข้อมูล แกป้ ัญหา

ความรู้ จากศาสตร์ - สรา้ งและ

ตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้อง เปรียบเทยี บ

เพือ่ นำไปสู่ ทางเลอื กในการ

การออกแบบแนว แกป้ ัญหาท่ี

ทางการแก้ปญั หา เหมาะสม

3. การวเิ คราะห์ เงือ่ นไขและ

เปรยี บเทยี บ และ ขอบเขตของ

ตดั สินใจ เลอื กข้อมูล ปญั หา

ทจี่ ำเปน็ โดยคำนงึ ถึง - ออกแบบการ

ทรพั ยส์ ิน ทางปัญญา แกป้ ญั หา

เง่ือนไขและ ส่อื สารใหผ้ ูอ้ นื่

ทรพั ยากร เชน่ เขา้ ใจดว้ ย

งบประมาณ เวลา วิธกี ารท่ี

ข้อมูลและสารสนเทศ เหมาะสมกับ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 386

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ ยอด สมรรถนะ คุณลกั ษณะอัน ภาระงาน
สำคัญ พึงประสงค์

วสั ดุ เคร่ืองมือและ แนวทางการ

อุปกรณ์ ช่วยใหไ้ ด้ แกป้ ัญหา

แนวทางการ - วางแผนการ

แกป้ ญั หาที่เหมาะสม ดำเนินงานใน

4. การออกแบบแนว การแก้ปัญหา

ทางการแก้ปญั หา ทำ - กำหนด

ได้หลากหลายวิธี เชน่ ประเดน็ ในการ

การร่างภาพ ทดสอบและ

การเขยี นแผนภาพ ประเมนิ ช้นิ งาน

การเขียนผังงาน หรือวิธีการใน

5. ซอฟต์แวรช์ ่วยใน แกไ้ ขปัญหา

การออกแบบและ - ออกแบบ

นำเสนอมีหลากหลาย แนวคดิ ในการ

ชนดิ จงึ ตอ้ ง เลอื กใช้ พฒั นาหรือ

ใหเ้ หมาะกบั งาน ปรบั ปรุงช้นิ งาน

6. การกำหนด หรอื วิธกี าร

ขนั้ ตอนและ แกป้ ญั หา

ระยะเวลาในการ

ทำงานก่อน

ดำเนนิ การแก้ปญั หา

จะชว่ ยให้ การทำงาน

สำเร็จไดต้ าม

เป้าหมาย และลด

ขอ้ ผิดพลาดของการ

ทำงานที่อาจเกิดข้นึ

7. การทดสอบและ

ประเมินผลเป็นการ

ตรวจสอบชิ้นงานหรือ

วิธกี ารวา่ สามารถ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 387

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ช้ินงาน/
เรยี นรู้ ยอด สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะอัน ภาระงาน
สำคญั พึงประสงค์
ขอ้ ที่6 ถา่ ยทอดและเผ่ือ
แพร่ความรู้ใหก้ บั แกป้ ญั หาไดต้ าม
ผู้อื่น
วัตถุประสงค์ภายใต้

กรอบของปัญหา เพ่ือ

หาข้อบกพร่องและ

ดำเนนิ การปรับปรุง

โดยอาจทดสอบซ้ำ

เพื่อให้สามารถแก้ไข

ปญั หาได้อยา่ งมี

ประสิทธิภาพ

1. การนำเสนอ - -ซอื่ สตั ย์สจุ ริต - นำเสนอผล

ผลงานเปน็ การ ความสามา การแก้ไขปัญหา

ถา่ ยทอด แนวคดิ รถในการ -มงุ่ มั่นในการ โดยใช้

เพื่อให้ผ้อู นื่ เขา้ ใจ สอื่ สาร ทำงาน กระบวนการ

เกย่ี วกบั กระบวนการ ออกแบบเชงิ

ทำงานและชิ้นงาน - วิศวกรรม

หรือ วธิ ีการท่ีได้ ซึ่ง ความสามา - วิเคราะห์และ

สามารถทำได้หลาย รถในการ อธิบายแนวทาง

วิธี เชน่ การทำแผน่ แกป้ ญั หา ในการแก้ปัญหา

นำเสนอผลงาน การ หรอื พัฒนา

จัด นทิ รรศการ การ - เทคโนโลยตี าม

นำเสนอผา่ นสอ่ื ความสามา กระบวนการ

ออนไลน์ หรือการ รถในการ ออกแบบเชิง

นำเสนอต่อภาคธุรกิจ ใชท้ ักษะ วศิ วกรรม

เพอ่ื การพัฒนาตอ่ ชีวิต - วเิ คราะห์

ยอดสู่งานอาชีพ กรณศี ึกษาที่

- กำหนดให้ แล้ว

ความสามา สรุปข้นั ตอนการ

รถในการ แกไ้ ขปัญหา

หรอื พัฒนางาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 388

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ชนิ้ งาน/
เรียนรู้ ยอด สมรรถนะ คณุ ลักษณะอนั ภาระงาน
สำคญั พงึ ประสงค์

ใช้ ตาม

เทคโนโลยี กระบวนการ

ออกแบบเชิง

วิศวกรรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 389

คำอธิบายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว31282 รายวิชา การออกแบบเทคโนโลยี

รายวชิ าเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกิต

วิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์
หรือ คณิตศาสตร์ รวมทั้งประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อม
เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนา เทคโนโลยี ระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคม
รวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อน เพื่อสังเคราะห์วิธีการ
เทคนคิ ในการแกป้ ัญหาโดยคำนงึ ถึงความถูกต้องด้านทรัพยส์ นิ ทางปัญญา

ศึกษาและอธิบายการออกแบบวิธีการแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจ
เลือกข้อมูลที่จำเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจ
ด้วยเทคนิค หรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ ช่วยในการออบแบบ วางแผนขั้นตอนการ
ทำงานและดำเนนิ การแก้ปัญหา และสามารถทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหา
หรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นภายใต้กรอบเงื่อนไข หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและนำเสนอผลการ
แกป้ ญั หา พร้อมทง้ั เสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอด

เพื่อให้ผู้เรียน ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเพียรพยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
แสวงหาความรู้รู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่าง
เหมาะสม สรปุ เป็นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ มีจติ สาธารณะและจิตสำนกึ ใน
การใช้เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่าทั้งต่อตนเอง ชุมชน และสังคม มีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์แนวคิดหลักของเทคโนโลยี ความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะ

วิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์รวมทั้งประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อมนุษย์ สังคม เศรษฐกิจ และ
ส่งิ แวดลอ้ ม เพ่อื เปน็ แนวทางในการพัฒนาเทคโนโลยี

2. ผู้เรียนใช้ความรู้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
และเทคโนโลยที ซ่ี บั ซอ้ นในการแก้ปญั หาหรือพัฒนางานไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสมและปลอดภยั

3. ผู้เรียนระบุปัญหาหรือความต้องการที่มีผลกระทบต่อสังคมรวบรวม วิเคราะห์ข้อมูลและ
แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่มีความซับซ้อนเพื่อสังเคราะห์วิธีการ เทคนิคในแก้ปัญหา โดยคำนึงถึง
ความถูกต้องดา้ นทรัพยส์ ินทางปัญหา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 390

4. ผู้เรียนสามารถออกแบบวิธกี ารแก้ปัญหาโดยวิเคราะห์เปรียบเทยี บและตัดสินใจเลือกข้อมลู ที่
จำเป็นภายใต้เงื่อนไขและทรัพยากรที่มีอยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยเทคนิค
หรือวิธีการที่หลากหลาย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการออกแบบวางแผนขั้นตอนการทำงานและ
ดำเนนิ การแกปญั หา

5. ผู้เรียนสามารถทดสอบ ประเมินผล วิเคราะห์ และให้เหตุผลของปัญหาหรือข้อบกพร่องที่
เกดิ ขึน้ ภายใต้กรอบเงือ่ นไข หาแนวทางการปรับปรงุ แกไ้ ข พรอ้ มทั้งเสนอแนวทางการพัฒนาต่อยอด

6. ผ้เู รียนสามารถนำเสนอผลงานตนเองเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้กบั ผู้อนื่ ได้

รวมทั้งหมด 6 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 391

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหัสวิชา ว31282 รายวชิ า การออกแบบเทคโนโลยี

รายวิชาเพมิ่ เติม กล่มุ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 40 ชัว่ โมง 1.0 หนว่ ยกิต

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชว่ั โมง ก

1 เทคโนโลยี ) คะแน
น่ารู้ น
1 1.ระบบทางเทคโนโลยี เปน็ 6 20
กลุม่ ของส่วนต่าง ๆ ตง้ั แต่
สองสว่ นขนึ้ ไปประกอบเข้า
ดว้ ยกนั และทำงานรว่ มกนั
เพื่อใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์โดย
ในการทำงานของระบบทาง
เทคโนโลยีจะประกอบไปดว้ ย
ตัวปอ้ น(input) กระบวนการ
(process) และผลผลติ
(output) ทส่ี มั พนั ธก์ ัน
นอกจากน้ีระบบทาง
เทคโนโลยอี าจมขี ้อมูล
ยอ้ นกลับ (feedback) เพ่ือใช้
ปรบั ปรุงการทำงานไดต้ าม
วัตถุประสงค์ โดยระบบทาง
เทคโนโลยอี าจมรี ะบบยอ่ ย
หลายระบบ(subsystems) ที่
ทำงานสมั พนั ธก์ ันอยู่ และ
หากระบบย่อยใดทำงานผิด
พลาดจะส่งผลต่อการทำงาน
ของระบบอนื่ ดว้ ย
2.เทคโนโลยีมีการเปลย่ี น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 392

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชว่ั โมง ก

แปลงตลอดเวลา ต้งั แต่อดีต ) คะแน

จนถึงปัจจบุ นั ซงึ่ มีสาเหตหุ รือ 8
20
ปัจจัยมาจากหลายดา้ น เช่น 20
30
ปญั หา ความตอ้ งการ

ความกา้ วหน้าของศาสตรต์ ่าง

ๆ เศรษฐกจิ สงั คม

วฒั นธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม

2 ความรู้และ 1 1. วัสดุแต่ละประเภทมีสมบตั ิ

ทกั ษะ แตกตา่ งกนั เชน่ ไม้

พื้นฐาน สังเคราะห์ โลหะ จงึ ต้องมี

การวเิ คราะห์สมบัติเพื่อ

เลือกใช้ใหเ้ หมาะสม กับ

ลักษณะของงาน

2. การสรา้ งชิน้ งานอาจใช้

ความรู้ เรอ่ื งกลไก ไฟฟา้

อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เช่น

LDR sensor เฟอื ง รอก คาน

วงจรสำเร็จรูป

3. อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือใน

การสรา้ งช้นิ งาน หรอื พัฒนา

วิธกี ารมีหลายประเภท ต้อง

เลอื กใช้ใหถ้ ูกต้อง เหมาะสม

และ ปลอดภยั รวมท้ังรู้จัก

เกบ็ รกั ษา

3 การแก้ 1, 2, 3 1. ปญั หาหรอื ความต้องการที่

ปญั หาตาม มีผลกระทบต่อ สงั คม เชน่

กระบวนการ ปญั หาดา้ นการเกษตร อาหาร

พลงั งาน การขนส่ง สขุ ภาพ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 393

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั เวลา น้ำหนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง ก

) คะแน


ออกแบบเชิง และการแพทย์ การบรกิ าร
วิศวกรรม ซง่ึ แตล่ ะดา้ นอาจมไี ด้
หลากหลายปญั หา
2. การวิเคราะหส์ ถานการณ์
ปัญหาโดยอาจ ใช้เทคนิคหรือ
วธิ ีการวิเคราะห์ที่
หลากหลาย ช่วยใหเ้ ข้าใจ
เงอ่ื นไขและ กรอบของปญั หา
ได้ชดั เจน จากน้นั ดำเนินการ
สบื คน้ รวบรวมขอ้ มลู ความรู้
จากศาสตรต์ ่าง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง
เพือ่ นำไปสู่
การออกแบบแนวทางการ
แกป้ ัญหา
3. การวิเคราะห์ เปรยี บเทียบ
และตัดสนิ ใจ เลอื กข้อมลู ท่ี
จำเปน็ โดยคำนึงถงึ ทรัพย์สนิ
ทางปญั ญา เง่ือนไขและ
ทรพั ยากร เช่น งบประมาณ
เวลา ข้อมูลและสารสนเทศ
วัสดุ เครอื่ งมือและอุปกรณ์
ช่วยให้ได้ แนวทางการ
แกป้ ัญหาทเี่ หมาะสม
4. การออกแบบแนวทางการ
แกป้ ญั หา ทำได้หลากหลาย
วธิ ี เชน่ การรา่ งภาพ
การเขียนแผนภาพ การเขียน
ผังงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 394

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชวั่ โมง ก

4 นำเสนอ 5. ซอฟต์แวรช์ ่วยในการ ) คะแน
ผลงาน ออกแบบและ นำเสนอมี น
หลากหลายชนิดจึงตอ้ ง 6
เลอื กใชใ้ ห้เหมาะกับงาน 10
6. การกำหนดข้นั ตอนและ
ระยะเวลาในการ ทำงานก่อน
ดำเนนิ การแกป้ ญั หาจะชว่ ย
ให้ การทำงานสำเรจ็ ได้ตาม
เปา้ หมาย และลด
ขอ้ ผิดพลาดของการทำงานที่
อาจเกิดขึน้
7. การทดสอบและ
ประเมินผลเป็นการ
ตรวจสอบช้นิ งานหรอื วิธกี าร
ว่าสามารถ แก้ปญั หาได้ตาม
วัตถุประสงคภ์ ายใต้ กรอบ
ของปัญหา เพ่ือหา
ข้อบกพร่องและ ดำเนินการ
ปรับปรุง โดยอาจทดสอบซำ้
เพ่อื ใหส้ ามารถแก้ไขปัญหาได้
อยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพ
1 1. การนำเสนอผลงานเป็น
การถา่ ยทอด แนวคดิ เพ่ือให้
ผอู้ ืน่ เข้าใจเกย่ี วกบั
กระบวนการทำงานและ
ชน้ิ งานหรือ วิธีการทไี่ ด้ ซึ่ง
สามารถทำไดห้ ลายวิธี เช่น
การทำแผ่นนำเสนอผลงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 395

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนั
ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชัว่ โมง ก

) คะแน


การจัด นทิ รรศการ การ

นำเสนอผา่ นสอ่ื ออนไลน์ หรือ

การนำเสนอต่อภาคธรุ กิจเพ่อื

การพฒั นาต่อยอดสงู่ านอาชพี

รวม 40 80

สอบกลางภาค - 10

สอบปลายภาค - 10

รวมตลอดภาคเรียน 40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 396

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลกั สตู ร
รหัสวิชา ว31283 รายวชิ า ปฏบิ ตั ิการวิทยาการเทคโนโลยี 4 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4

ภาคเรยี นที่ 2 เวลา 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรียนรู้ นำไปสู่ ชน้ิ งาน/
เรียนรู้ ยอด สมรรถนะ คุณลักษณะอัน ภาระงาน
การศึกษาตวั อยา่ งการ สำคัญ พงึ ประสงค์
1.ผู้เรยี น ศกึ ษาตัวอยา่ ง แก้ปัญหาตามกระบวนการ -ความ -ซอื่ สัตย์สุจรติ - การ
ศึกษา การแก้ปัญหา ออกแบบเชิงวิศวกรรมใน สามารถ ประเมิน
ตัวอย่างการ เพอ่ื เป็น งานตา่ ง ๆ เพื่อให้เกดิ ความ ในการ การ
แกป้ ัญหา แนวทางในการ เข้าใจและสามารถนำ แก้ปัญหา วิเคราะห์
ตาม ประยกุ ตใ์ ชง้ าน ความรู้ไปประยกุ ต์ใชใ้ นการ การ
กระบวนกา จริงใน แก้ปัญหาได้ -ความ มงุ่ มั่นในการ แกป้ ัญหา
รออกแบบ ชีวติ ประจำวนั สามารถ ทำงาน จาก
เชงิ ได้ การนำแนวคิดเชงิ ออกแบบ ในกาคิด ตวั อยา่ ง
วิศวกรรม และคำนวณพัฒนาโครงงาน -ความ
2.ผ้เู รยี น นำแนวคดิ เชิง พฒั นาเวบ็ ไซต์ แนะนำการ สามารถ - แนวคิด
สามารถ ออกแบบและ ใชง้ านห้องสมุด ในการใช้ ดการ
ประยกุ ต์ คำนวณพัฒนา การนำแนวคิดเชิงคำนวณ ทักษะชวี ิต พฒั นา
แนวคดิ เชงิ โครงงาน พฒั นาโครงงาน โปรแกรม โครงงาน
ออกแบบ พฒั นาเว็บไซต์ เจง้ เตือนการกนิ ยาผ่าน
และคำนวณ แนะนำการใช้ สมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต
ส่กู ารพฒั นา งานหอ้ งสมุด
โครงงานได้

3.ผเู้ รียน คิดและวางแผน การกำหนดปญั หา ความสาม ม่งุ ม่ันในการ - ประเมิน
ารถในการ ทำงาน ผล
สามารถ ออกแบบโครงง การศกึ ษาและกำหนด ใช้ โครงงาน
เทคโนโลยี
เขียน งานทีเ่ ป็นจรงิ ขอบเขตของปญั หา

โครงงาน ได้ ตลอดจนการวางแผนและ

ออกมาที่ ออกแบบโครงงาน สูก่ าร

เปน็ รูปธรรม ดำเนนิ งาน เปน็ โครงงานที่

ได้ เปน็ รูปธรรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 397

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ ยอด สมรรถนะ คณุ ลักษณะอัน ภาระงาน
การนำเสนอผลงานเป็นการ สำคญั พงึ ประสงค์
4. ผูเ้ รยี น ถา่ ยทอดและ ถา่ ยทอด แนวคดิ เพอ่ื ให้ -ความ -ซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ - นำเสนอ
สามารถ เผื่อแพร่ความรู้ ผอู้ นื่ เข้าใจเก่ียวกับ สามารถ โครงงาน
นำเสนอ ให้กบั ผูอ้ ่ืน กระบวนการทำงานและ ในการ -มุ่งมนั่ ในการ
ผลงาน ชิน้ งานหรือ วิธกี ารท่ไี ด้ ซ่ึง สื่อสาร ทำงาน
ตนเองเพ่อื สามารถทำได้หลายวิธี เช่น
ถา่ ยทอด การทำแผ่นนำเสนอผลงาน -ความ
ความรใู้ หก้ ับ การจัด นทิ รรศการ การ สามารถ
ผู้อ่นื ได้ นำเสนอผา่ นสื่อออนไลน์ ในการ
หรือการนำเสนอต่อภาค แกป้ ญั หา
ธรุ กิจเพอ่ื การพัฒนาต่อยอด
สู่งานอาชพี -ความ
สามารถ
ในการใช้
ทกั ษะชวี ิต

-ความ
สามารถ
ในการใช้
เทคโนโลยี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 398

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ว31283 รายวชิ า ปฏิบตั ิการวิทยาการเทคโนโลยี 4

รายวิชาเพม่ิ เติม กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หน่วยกิต

ศกึ ษาการประยุกต์ใช้แนวคิดเชงิ คำนวณในการพฒั นาโครงงาน การพัฒนาโครงงานทางด้าน
เทคโนโลยี การนำแนวคิดเชิงคำนวณพัฒนาโครงงานที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน ตลอดจนใช้ในการ
พัฒนาโครงงานท่ีมีการบูรณาการกับวชิ าอ่ืนอยา่ งสร้างสรรคแ์ ละเชอื่ มโยงกับชวี ติ จริง

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) และการ
เรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน (Problem-based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึก
ทักษะการคิด เผชิญสถานการณ์ การแก้ปัญหาวางแผนการเรียนรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และนำเสอน
ผ่านการทำกิจกรรมโครงงาน เพื่อให้เกิดทักษะความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการวิเคราะห์โจทย์
ปญั หา จนสามารถนำเอาแนวคิดเชงิ คำนวณมาประยกุ ตใ์ ช้ในการสรา้ งโครงงานได้

เพื่อให้ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสือ่ สารเพือ่ รวบรวมข้อมลู ในชวี ิตจริงจากแหลง่ ตา่ ง ๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน มา
ประยุกต์ใช้ สร้างความรู้ใหม่ เข้าใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต อาชีพ
สังคม วฒั นธรรม และใชอ้ ยา่ งปลอดภัยมีจริยธรรม ตลอดจนนำความรู้ความเขา้ ใจในวิชาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม และการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคิด
และจินตนาการ ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถ
ในการตดั สินใจ และเป็นผทู้ ่ีมจี ิตวิทยาศาสตร์ มีคณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มในการใช้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยอี ย่างสร้างสรรค์

ผลการเรยี นรู้
1. ผู้เรยี นศึกษาตัวอยา่ งการแก้ปญั หาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
2. ผเู้ รยี นสามารถประยกุ ต์แนวคดิ เชงิ ออกแบบและคำนวณส่กู ารพฒั นาโครงงานได้
3. ผเู้ รยี นสามารถเขียนโครงงานออกมาทเ่ี ป็นรปู ธรรมได้
4. ผ้เู รียนสามารถนำเสนอผลงานตนเองเพื่อถ่ายทอดความรู้ใหก้ ับผู้อื่นได้

รวมท้ังหมด 4 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 399

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวชิ า ว31283 รายวิชา ปฏิบตั กิ ารวทิ ยาการเทคโนโลยี 4

รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกติ

ลำดบั ชือ่ หน่วย ผลการเรียนรู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
ที่ การเรยี นรู้ ( ชั่วโมง) (100)
20
1 ศึกษาตัวอย่าง ผู้เรยี นศึกษาตวั อย่าง การศึกษาตัวอยา่ งการแกป้ ญั หา 4
20
การแก้ปัญหาตาม การแกป้ ัญหาตาม ตามกระบวนการออกแบบเชงิ
20
กระบวนการ กระบวนการ วศิ วกรรมในงานตา่ ง ๆ เพื่อให้

ออกแบบเชิง ออกแบบเชงิ เกิดความเขา้ ใจและสามารถนำ

วศิ วกรรม วศิ วกรรม ความรไู้ ปประยุกต์ใชใ้ นการ

แกป้ ัญหาได้

2 การประยุกต์ใช้ ผูเ้ รยี นสามารถ การนำแนวคิดเชิงออกแบบและ 4

แนวคิดเชิง ประยกุ ตแ์ นวคดิ เชิง คำนวณพัฒนาโครงงาน พัฒนา

ออกแบบและ ออกแบบและคำนวณ เวบ็ ไซต์ แนะนำการใชง้ าน

คำนวณเพ่ือ ส่กู ารพัฒนาโครงงาน ห้องสมดุ

พัฒนาโครงงาน ได้ การนำแนวคดิ เชงิ คำนวณ

พัฒนาโครงงาน โปรแกรมเจ้ง

เตอื นการกินยาผ่านสมารท์

โฟนหรือแท็บเล็ต

3 พัฒนาโครงงาน ผ้เู รยี นสามารถเขียน การกำหนดปัญหา การศึกษา 6

โครงงานออกมาที่ และกำหนดขอบเขตของปัญหา

เป็นรูปธรรมได้ ตลอดจนการวางแผนและ

ออกแบบโครงงาน สกู่ าร

ดำเนินงาน เปน็ โครงงานท่ีเป็น

รปู ธรรม


Click to View FlipBook Version