The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 450

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ว32286 การเขยี นโปรแกรมบนมือถือ

รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นสัญลักษณ์ที่ผู้พัฒนาภาษากําหนดรหัส
คําสั่ง ขึ้นมา ใช้ควบคุมการทํางานอุปกรณ์ในระบบคอมพิวเตอร์ พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ เริ่ม
จากรหัส คําสั่งอยู่ในรูปแบบเลขฐานสอง จากนั้นพัฒนารูปแบบเป็นข้อความภาษาอังกฤษ ในยุค
ปัจจุบัน ภาษาคอมพิวเตอร์มีอีกมากมายหลายภาษาให้เลือกใช้งาน มีจุดเด่นด้านประสิทธิภาพคําสั่ง
แตกตางกันไป ดังนั้นผู้สร้างงานโปรแกรมต้องศึกษาว่าภาษาใดมีคําสั่งที่มีประสิทธิภาพควบคุมการ
ทํางานตามตอ้ งการ เพือ่ เลอื กไปใช้สร้างโปรแกรมประยกุ ตง์ านตามท่ีได้กําหนดจดุ ประสงคไ์ ว้
1. พัฒนาการภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนาควบคู่กับการประดิษฐ์เครื่อง
คอมพิวเตอร์ เพื่อใช้เป็นคําสั่ง ควบคุมการทํางาน มีพัฒนาการของรหัสคําสั่งจนมาเป็นรูปแบบใน
ปจั จบุ ัน ดงั นี้
ช่วงที่ 1 คอมพิวเตอร์จัดเป็นเครื่องมือคํานวณทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงทํางานลักษณะวงจรเปิด – ปิด
แทนค่าด้วย 0 กับ 1 ผู้สร้างภาษาจึงออกแบบรหัสคําสั่งเป็นชุดเลขฐานสอง เรียกว่า ภาษาเครื่อง
(Machine Language) ผู้ที่จะเขียนรหัสคําสั่งควบคุมระบบได้จึงจํากัดอยู่เฉพาะกลุ่ม และใช้ใน
ห้องปฏบิ ัติการทดลองดําเนินงาน
ชว่ งท่ี 2 จากชว่ งแรกที่รหสั คําสัง่ เป็นชุดเลขฐานสองมีความยุ่งยากในการจําชุดของรหสั คาํ ส่ัง ควบคุม
การทํางาน จึงมีผู้พัฒนารหัสคําสั่งเป็นอักษรภาษาอังกฤษรวมกับเลขฐานอื่น เช่น เลขฐานสิบหก
เพื่อให้เขียนคําสั่งควบคุมงานง่ายขึ้น ตั้งชื่อภาษาว่า แอสแซมบลีหรือภาษาสัญลักษณ์ (Assembly /
Symbolic Language) พร้อมกันน้ตี ้องพัฒนาโปรแกรมแปลภาษาขึ้นมาด้วย (Translator Program)
คือโปรแกรมแอสแซมเบลอร์ (Assembler) ใช้แปลรหัสคําสั่งกลับมาเป็นเลขฐานสอง เพื่อให้ระบบ
สามารถประมวลผลได้
ช่วงที่ 3 เป็นช่วงที่บริษัทหลายแห่งสร้างภาษาคอมพิวเตอร์หลากหลายภาษา เน้นให้ใช้งานง่ายข้ึน
โดยรหัสคําสั่งเป็นข้อความใกล้เคียงกับภาษาอังกฤษที่ใช้ในการสื่อสารกันอยู่แล้ว จัดให้เป็นกลุ่ม
ภาษาระดับสูง (High Level Language) เช่น ภาษาเบสิก ภาษาปาสค่าล ภาษาซี ในส่วนของ
โปรแกรมแปลภาษามี 2 ลักษณะ คอื อินเทอรพรีตเทอร์ และคอมไพเลอร์
ช่วงที่ 4 เน้นเพิ่มประสทิ ธิภาพภาษาคอมพิวเตอร์ให้นําไปใช้ควบคุมการทํางานระบบ คอมพิวเตอร์ที่
ใช้งานรวมกับเทคโนโลยีการสื่อสาร ภาษามีรูปแบบการเขียนรหัสคําสั่งเป็นงานโปรแกรม เชิงวัตถุ
(Object – Oriented Programming Language : OOP) ติดตอ่ ใชง้ านกบั ผใู้ ชโ้ ปรแกรมเชงิ กราฟฟิก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 451

(Graphic User Interface : GUI) ลดขั้นตอนการจดจําเพื่อพิมพ์รหัสคําส่ังมาเป็นการคลิก เลือก
รายการคําส่ัง และปอ้ นค่าควบคุม เช่น ภาษาวชิ วลเบสกิ (Visual BASIC) ภาษาจาว่า (JAVA)

ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายความสำคัญของคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพวิ เตอร์ ซอฟต์แวรช์ นิดต่าง ๆ และบอก
หน้าที่และความแตกตา่ งของแตล่ ะเมนูคำสง่ั ได้
2. อธิบายหลกั การเขยี นโปรแกรม และเขียนขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรมได้
3. อธบิ ายโครงสรา้ งของโปรแกรมและประกาศตัวแปรได้
4. เขยี นฟังก์ชันเกีย่ วกบั อนิ พุต/เอาท์พตุ บอกคำสงวน ชนดิ ของข้อมลู และเขียนรหสั ควบคุมพิเศษ
ได้
5. อธบิ ายตัวดำเนนิ การในภาษาซี เขยี นนิพจน์คณติ ศาสตร์ได้
6. แยกประเภทของตัวดำเนนิ การชนิดต่าง ๆ เขยี นข้ันตอนการทำงานของนิพจนแ์ ละเขยี น
โปรแกรมคำนวณในภาษาซีได้
7. อธิบายการใช้ฟังกช์ นั if ตรวจสอบเงือ่ นไข เขยี นผงั งาน แสดงการตรวจสอบเง่ือนไขของฟังกช์ นั if
ได้
8. เลอื กใช้ฟังก์ชัน if ให้เหมาะสมกบั โปรแกรมทเ่ี ขียน เขยี นฟงั ก์ชัน switch เพื่อทำการ
ตรวจสอบเงือ่ นไขและเขยี นโปรแกรมดว้ ยฟังก์ชัน
9. อธิบายการใช้ฟงั ก์ชันใหว้ นรอบการทำงานหรือทำซ้ำ เขียนผังงานแสดงการวนรอบการทำงาน
ของฟงั ก์ชนั ได้
10. เลือกใช้ฟังกช์ ันวนรอบการทำงานใหเ้ หมาะสมกบั โปรแกรมทีเ่ ขียน ออกจากการวนรอบการ
ทำงาน และประยกุ ตใ์ ช้ในการเขยี นโปรแกรมต่าง ๆ ได้
11. การทำโครงงาน เป็นการประยกุ ตใ์ ช้ความรู้และทักษะจากศาสตรต์ า่ งๆ รวมท้งั ทรพั ยากรใน
การสร้างหรอื พัฒนาช้นิ งานหรอื วธิ ีการ เพือ่ แกป้ ัญหาทีส่ นใจ และสามารถนำเสนอผลงานได้

รวมทั้งหมด 11 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 452

รายวชิ าเพ่ิมเติม โครงสร้างรายวชิ า
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 รหัสวิชา ว32286 การเขียนโปรแกรมบนมือถือ

กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์
จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หนว่ ยกติ

ลำดบั ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนั
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง ก
1 รู้จักโปรแกรม
การเขยี น บน ข้อท่ี 1 -2 -อธิบายความสำคัญของ ) คะแน
มอื ถือ ขอ้ ที่ 3-6 คอมพวิ เตอร์ ภาษาคอม 8 น
ขอ้ ท่ี 7 พวิ เตอร์ ซอฟต์แวร์ชนดิ 15
2 การเขยี น ตา่ ง ๆ และบอกหนา้ ที่ 8
โปรแกรม และความแตกตา่ งของแต่ 15
แบบ object ละเมนคู ำส่ังได้ 14
- อธิบายหลักการเขียน 20
3 ตวั ดำเนินการ โปรแกรมและเขยี น
ข้ันตอนการทำงานของ
โปรแกรมได้
- อธบิ ายโครงสร้างของ
โปรแกรมและประกาศตัว
แปรได้
- เขียนฟงั กช์ นั เกี่ยวกบั
อินพตุ /เอาท์พุต บอกคำ
สงวน ชนิดของข้อมูลและ
เขยี นรหัสควบคมุ พิเศษได้
- อธิบายตัวดำเนินการใน
ภาษาซี เขียนนพิ จน์
คณติ ศาสตร์ได้
- แยกประเภทของตัวดำ
เนินการชนิดต่าง ๆเขียน
ขัน้ ตอนการทำงานของ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 453

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชว่ั โมง ก
4 ฟงั กช์ ่ัน
ข้อท่ี 8-10 นิพจนแ์ ละเขียนโปรแกรม ) คะแน
5 การนำเสนอ คำนวณได้ 8 น
ผลงาน ข้อที่ 11 - อธิบายการใชฟ้ ังกช์ นั 20
รวม if ตรวจสอบเงื่อนไข เขียน 2
ผงั งาน แสดงการตรวจสอบ 40 10
สอบกลางภาค เงือ่ นไขของฟังกช์ ัน if ได้ - 80
- เลือกใชฟ้ ังกช์ นั if ให้ 10
เหมาะสมกบั โปรแกรมที่
เขยี น เขยี นฟังก์ชัน
switch เพอ่ื ทำการ
ตรวจสอบเงอ่ื นไขและเขยี น
โปรแกรมดว้ ยฟงั ก์ชัน
- อธบิ ายการใชฟ้ ังก์ชันให้
วนรอบการทำงานหรือ
ทำซ้ำ เขียนผงั งานแสดง
การวนรอบการทำงานของ
ฟังก์ชันได้
- เลือกใช้ฟงั ก์ชนั วนรอบ
การทำงานใหเ้ หมาะสมกบั
โปรแกรมท่ีเขยี น ออกจาก
การวนรอบการ
ทำงาน และประยกุ ต์ใชใ้ น
การเขยี นโปรแกรมตา่ ง ๆ
ได้
-สามารถนำเสนอผลงานได้
อย่างสร้างสรรค์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 454

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชัว่ โมง ก

สอบปลายภาค ) คะแน
รวมทั้งหมด น
- 10
40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 455

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลักสูตร
ว32287 รายวิชา Internet Of Thing ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5

ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง 1 หน่วยกิต

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ สมรรถนะ คุณลักษณะ ชิ้นงาน/
เรียนรู้
ขอ้ ท่ี 1 - ยอด เรยี นรู้ สำคญั อันพงึ ภาระงาน

ขอ้ ที่ 2 ประสงค์

-ผู้เรียน - การทำงาน - ความ - มีจติ ใบความรู้

สามารถ ของ สามารถใน สาธารณะ และใบงาน
อธิบาย โปรแกรมบน การใช้ทกั ษะ - ซอื่ สตั ยส์ จุ ริต
-ผ้เู รยี น มอื ถือ ชีวติ
สามารถ
อธิบาย - สูตร ฟังก์ชัน่
หลกั การเขยี น
โปรแกรม และเคร่ืองมือ
ขนั้ ตอนการ
ตา่ งๆ ใน

โปรแกรม

ทำงานของ

โปรแกรมได้

- ผเู้ รียน - การเขยี น - ความ - อยู่อย่าง ใบความรู้

สามารถเขียน Application สามารถใน พอเพยี ง และการฝกึ
ฟงั กช์ ัน โดยใช้บอรด์ การคดิ ปฏบิ ัตใิ น
เกยี่ วกบั NodeMCU คาบเรียน
อนิ พุต/ ESP8266
เอาท์พุต บอ

กคำสงวน ชนดิ

ของขอ้ มลู และ

เขยี น

รหัสควบคมุ

พเิ ศษได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 456

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ภาระงาน
สำคญั อันพงึ
ขอ้ ท่ี 3 -7 ควบคุมการปิด -การเขียน ใบความรู้
ประสงค์ และการฝกึ
เปิดอุปกรณ์ ควบคมุ การ ความสามารถ -มงุ่ ม่นั ในการ ปฏิบตั ใิ น
ในการใช้ ทำงาน คาบเรยี น
และ Pulse- ปิดเปิด ทักษะชีวิต
width ความสามารถ
Modulator อปุ กรณ์ ในการใช้
เทคโนโลยี
(PWM) (PWM) และ
สำหรบั ควบคุม DC Motor

อุปกรณ์เชน่

DC Motor

การเชื่อมต่อ

เซนเซอร์เขา้ กบั

IoT เช่น Analog

Sensor, Digital

Sensor

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 457

คำอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ว32287 รายวิชา Internet Of Thing

รายวิชาเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต

การพัฒนาการศึกษาด้วย IoT ( Education development with Internet of Things)
วในปัจจุบนั ทีเ่ ราสามารถเชือ่ มต่อสัญญาณอนิ เทอร์เนต็ ได้ทกุ ทีท่ ุกเวลาผ่านสมาร์ทโฟน แทปเล็ท หรือ
คอมพิวเตอร์ เราสามารถสืบค้นข้อมูล รู้การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศทั่วโลก ตอนนี้รถติดที่ไหน
บ้าง หรือดูข้อมูลว่าวันน้ีตัวเองเดินมาแล้วกี่ก้าว เผาผลลาญแคลอรี่ไปเท่าไหร่ นอนหลับเพียงพอไหม
เช็คว่าที่บ้านปิดไฟแล้วหรือยัง IoT (Internet of Things) คือแนวความคิดที่ว่าสิ่งของทุกสิ่งทุกอย่าง
(Things) ที่อยู่รอบตัวเราในชีวิตประจำวัน สามารถเชื่อมต่อกัน สื่อสารแลกเปล่ียนข้อมูลกันได้ ผ่าน
เครือข่ายไร้สาย (Internet) IoT กำลังเป็นเทรนด้านเทคโนโลยีที่น่าจับตาและเป็นที่สนใจทั้งภาครัฐ
และเอกชน บริษัทการ์ทเนอร์ ( Gartner, Inc.) ได้ทำนายว่าในปี 2020 จะมีอุปกรณ์สิ่งของต่างๆ
เช่ือมต่อกนั ไม่ตำ่ กวา่ 20.8 ลา้ นลา้ นช้นิ ทัว่ โลก รฐั บาลองั กฤษทุ่มงบลงทนุ ดา้ นการวิจยั และศึกษาด้าน
IoT ไมต่ ่ำกวา่ 40 ล้านปอนด์ในปที ผี่ ่านมา

การนำ IoT มาใช้กับการศึกษาปัจจุบันได้มีการนำ IoT มาใช้ในหลากหลายรูปแบบ แต่โดย
ส่วนใหญ่จะไม่ได้ใช้โดยตรงกับการเรียนการสอน แต่จะเป็นการนำมาประยุกต์ใช้เพื่อช่วยสร้าง
ประสบการณ์ หรือนำเสนอข้อมูลในสถานการณ์นอกห้องเรียน Informal learning environment
เช่น ผู้เข้าชมพพิ ธิ ภัณฑส์ ามารถใชส้ มาร์ทโฟนรับคำอธิบายต่างๆเก่ียวกับวตั ถุจัดแสดงได้ โดยไม่ต้องมี
เจ้าหน้าที่มายืนอธิบายให้ฟัง เราสามารถใช้สมาร์ทโฟนสแกนที่สมาร์ทแท็ก Smart tags เช่น QR
code, RFID (Radio-frequency identification), NFC (Near field communication) หรือ ใช้
เทคโนโลยี AR (Augmented Reality) โดยเราสามารถเห็นข้อมูลส่วนขยายแบบสามมิติควบคู่ไปกับ
วัตถุจัดแสดงในเวลาเดียวกัน เราสามารถใช้สมาร์ทโฟนเข้าถึงข้อมูลประวัติศาสตร์ ของวัตถุโบราณ
โบราณสถาน อาคาร สง่ิ ปลูกสรา้ ง

การใช้สมาร์ทแท็ก และ AR ในการจัดการเรียนการสอนนั้นจริงๆแล้วได้มีการศึกษาและวจิ ยั
กันมาอย่างต่อเนื่อง เพราะจริงๆแล้วการจัดการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีดังกล่าวแตกแขนง
ออกมาจากการศึกษาในกลุ่มของ Ubiquitous computing/ Pervasive computing ที่พูดถึงการ
เชื่อมตอ่ ส่อื สารของคอมพวิ เตอร์ทฝี่ งั ตวั อยู่ในส่ิงต่างๆรอบตวั ในชีวติ ประจำวัน คอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก
นี้จะเชื่อมต่อกับเซนเซอร์ Sensors เพื่อเก็บข้อมูลสิ่งต่างๆรอบตัวเรา จะสื่อสารกันได้ทุกที่ ทำให้เรา
ไม่หลดุ จากการเชื่อมต่อและสามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลและการเช่ือมต่อนี้ไดต้ ลอดเวลา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 458

ผลการเรียนรู้

1. อธบิ ายความสำคญั ของคอมพิวเตอรฝ์ ังตวั
2. อธิบายการติดตั้ง การเตรียมเครื่องมือ Tools และ Libraries สำหรับการพัฒนา IoT

Application โดยใช้บอร์ด NodeMCU ESP8266 (Arduino Platform)
3. เขียนโปรแกรมควบคมุ การทำงาน IoT Application
4. การใช้งาน Output แบบ Digital ควบคุมการปิดเปิดอุปกรณ์ และ Pulse-width Modulator

(PWM) สำหรบั ควบคุมอปุ กรณเ์ ช่น DC Motor
5. สร้างโปรเจคดา้ น IoT โดยใชบ้ อร์ด NodeMCU ESP8266 (Arduino Platform)
6. การเช่ือมต่อเซนเซอรเ์ ข้ากับ IoT เชน่ Analog Sensor, Digital Sensor
7. สรา้ ง Project เพ่ือการนำเสนอ

รวมทงั้ หมด 7 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 459

โครงสร้างรายวชิ า

รหสั วิชา ว32287 รายวิชา Internet Of Thing

รายวิชาเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ลำดับ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา คะแนน
ผลการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) (100)

1 คอมพิวเตอรฝ์ ัง ขอ้ ที่ 1 - อธิบายความหมาย 4 10

ตวั คอมพิวเตอรฝ์ ังตวั

- อธบิ ายหลกั การ

เขียนโปรแกรมและ

เขียนขนั้ ตอนการ

ทำงานของ

โปรแกรมได้

2 Application ข้อที่ 2-3 - อธบิ ายการใช้งาน 10 10
โดยใช้บอรด์
NodeMCU บอร์ด NodeMCU
ESP8266
- สามารถเขียน 8 20
3 ควบคมุ การปิด ข้อท่ี 4 โปรแกรมควบคุม
เปิดอปุ กรณ์ การปิดเปิดอุปกรณ์
และ Pulse- และDC Moterได้
width
Modulator - รจู้ ัก อปุ กรณ์การ
(PWM) สำหรบั เชอ่ื มต่อ
ควบคมุ อุปกรณ์
เชน่ DC Motor - 10 20

4 การเชอ่ื มต่อ ข้อท่ี 5-6
เซนเซอรเ์ ข้ากับ
IoT เช่น
Analog
Sensor,
Digital Sensor

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 460

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา คะแนน
ผลการเรยี นรู้ (ชวั่ โมง) (100)

5 สร้าง Project เพ่อื ขอ้ ท่ี 7 -สามารถนำเสนอผลงาน 4 20

การนำเสนอ ได้อย่างสรา้ งสรรค์

รวม 36 80
สอบกลางภาค 2 10
สอบปลายภาค 2 10
รวมทั้งหมด 40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 461

แบบวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
ว32288 รายวิชา System for AI ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 5

ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ชัว่ โมง 1 หน่วยกติ

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ชน้ิ งาน/
เรียนรู้ ยอด สำคญั อนั พึง ภาระงาน
ข้อที่ 1 - ใบความรู้
ประสงค์ และใบงาน
ข้อท่ี 2
-ผเู้ รยี นสามารถ - ARTIFICIAL - ความ - มจี ติ ใบความรู้
ขอ้ ที่ 3 -7 และการฝึก
อธบิ าย INTELLIGENCE สามารถใน สาธารณะ ปฏิบตั ใิ น
คาบเรียน
-ผ้เู รียนสามารถ การใช้ทกั ษะ - ซือ่ สัตย์
ใบความรู้
อธบิ ายหลักการ ชีวิต สจุ ริต และการฝกึ
ปฏิบตั ิใน
เขยี นโปรแกรม คาบเรียน

ขั้นตอนการ

ทำงานของ

โปรแกรมได้

- ผเู้ รยี นสามารถ - ประเภทของ - ความ - อยูอ่ ย่าง

เขยี นฟังกช์ นั ปญั ญาประดิษฐ์ สามารถใน พอเพยี ง
เกี่ยวกับอนิ พุต/ -ความหมาย การคดิ
เอาท์พตุ บอก
คำสงวน ชนิด ของ Machine
ของขอ้ มลู และ
Learning

เขียน

รหสั ควบคมุ

พเิ ศษได้

การใช้ภาษา - Neuron ความสามารถ -มุ่งม่ันในการ

Python เขียน Network ดว้ ย ในการใช้ ทำงาน

Neuron Network Keras ทกั ษะชวี ติ
ดว้ ย Keras ความสามารถ

การเขยี น ในการใช้

Reinforcement เทคโนโลยี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 462

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ชิ้นงาน/
เรียนรู้ ยอด สำคญั อันพงึ ภาระงาน

ประสงค์

Learning ดว้ ย

Python และ Keras

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 463

คำอธิบายรายวชิ า

รหสั วิชา ว32288 รายวชิ า Internet Of Thing

รายวชิ าเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

หลักการทำงานของ AI ที่เราจะเรียกว่าปัญญาประดิษฐ์ จะผูกพันกับกระบวนการ
Optimization หรือการคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์ท่ีดีที่สุดตามเป้าหมายภายใต้ข้อจำกัด เพียงแต่ ตัว AI
นั้นมันเป็นโปรแกรมสำหรับการ Optimize โปรแกรมการ Optimization อีกทีหนึ่ง มันเป็นระบบ
ซ้อนระบบ เป็นโปรแกรมทีป่ รบั ปรุงโปรแกรม ซ่งึ โปรแกรมท่ใี ช้จัดการก็มหี ลายรูปแบบ เป็น สว่ น เป็น
cluster อยใู่ นสถาปคั ยกรรม Hardware ของปัญญาประดษิ ฐ์อีกที ซ่งึ มกี ารเลยี นแบบระบบฮาร์ดแวร์
ของสมอง

ปญั ญาประดษิ ฐ์ สามารถจำแนกได้ 2 แบบ ทเี่ รียกว่า Artificial Specific Intelligence หรือ
AI สำหรับใช้งานเฉพาะอย่าง เช่น การเล่นโกะ การแต่งหนังสือ การเล่นดนตรี การจัดการบริหาร
สินค้า กับ Artificial General Intelligence ซึ่งเป็น AI ที่สามารถทำงานได้หลากหลายคล้ายมนุษย์
มันอาจเป็นพวกหุ่น Astromech หรือหุ่น Data ใน Star Trek สำหรับ AI ที่เรามีการใช้ในปัจจุบัน
และเป็นที่ประหวั่นกันอยู่ คือ ASI ปัญญาประดิษฐ์ที่ทำงานได้ดีเฉพาะทาง เราพบการใช้งาน AI
ลกั ษณะน้ีในGoogle ในระบบของ Facebook เมื่อเราสั่งสนิ ค้าจาก Amazon หรือวางแผนท่องเที่ยว
กับ Agoda เพราะฐานข้อมูลขององค์กรเหล่านี้นับกันที่หลัก 10 ล้านขึ้นไป แม้แต่ระบบทะเบียน
ค้นหาก็ไม่สามารถจัดการตอบสนองได้ทัน องค์กรเหล่านี้ ใช้ AI มาเรียนรู้พฤติกรรมของผู้บริโภค
ทำนายความสนใจจากประวัติการค้นหาของผู้บริโภค ทำการ Match กลุ่มข้อมูล กลุ่มของบริการ
ผลติ ภัณฑ์ ออกมาใหผ้ บู้ รโิ ภค AI ใช้ผลการรีววิ ของผู้บริโภคเปน็ ตวั Feedback ผลการทำนายของมัน
และทำการปรับปรุงจากการเรียนรู้ ตรงนี้ จุดสำคัญที่อยากให้สังเกตคือ การเรียนรู้จากรีววิ ก็เหมือน
ระบบการลงโทษและให้รางวัลแบบเดียวกับที่เราใช้กันในสังคมมนุษย์ ในระบบการจัดการองค์กร หู
ตา ที่ใช้ในการ Feedback อาจประกอบได้ตั้งแต่มิเตอร์ไฟฟ้า ไปจนถึงมูลค่าหุ้นจากตลาดหลักทรัพย์
ทจ่ี ะใส่เขา้ มาประกอบ ใหม้ นั เรยี นรู้ได้

ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายความสำคัญ ARTIFICIAL INTELLIGENCE (A.I.)
2. อธบิ ายการประเภทของปัญญาประดิษฐ์
3. ความหมายของ Machine Learning

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 464

4. ความหมายของ Neuron Network
5. การใชภ้ าษา Python เขยี น Neuron Network ด้วย Keras
6. การเขยี น Reinforcement Learning ดว้ ย Python และ Keras
7. การนำ Reinforcement Learning ไปใช้กับ Robotic

รวมทงั้ หมด 7 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 465

โครงสร้างรายวชิ า

รหสั วิชา ว32288 รายวชิ า Internet Of Thing

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา คะแนน
เรยี นรู้/ (ชว่ั โมง) (100)
1 ความสำคญั
ARTIFICIAL ผลการเรยี นรู้ - อธิบายความหมาย 4 10
INTELLIGENCE ข้อท่ี 1 -3 ARTIFICIAL 10 10
(A.I.) INTELLIGENCE (A.I.)
- อธิบายหลักการเขยี น
2 ภาษา Python ขอ้ ท่ี 4-5 โปรแกรมและเขียนข้ันตอน
การทำงานของโปรแกรมได้
เขยี น Neuron - การเขียน Python
Network ดว้ ย - Neuron Network
- Keras

Keras

3 การเขียน ข้อที่ 6 - การเขยี น 8 20
Reinforcement Learning
Reinforcement
Learning ดว้ ย
Python และ Keras

4 การนำ ขอ้ ท่ี 7 - การนำ Reinforcement 10 20
Learning ไปใช้กับ
Reinforcement Robotic

Learning ไปใชก้ บั
Robotic

5 สร้าง Project เพือ่ การ ขอ้ ที่ 7 -สามารถนำเสนอผลงานได้ 4 20
นำเสนอ
อย่างสรา้ งสรรค์

รวม 36 80

สอบกลางภาค 2 10

สอบปลายภาค 2 10

รวมท้ังหมด 40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 466

แบบวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สตู ร
รหสั วชิ า ว32290 รายวิชา ฮาร์ดแวร์และยูทิลติ ี้
ภาคเรยี นที่ 1 เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1 หนว่ ยกิต

ผลการเรยี นรู้ ความคิดรวบ สาระการ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ภาระงาน
สำคญั อนั พึงประสงค์

1.สามารถ ศกึ ษา คน้ ควา้ ข้อมูล ใฝเ่ รยี นรู้ -ความเปน็ มา -ใบงาน

คน้ คว้าและ ส่วนประกอบ ทาง ของ -แบบทดสอบ

ศกึ ษาเรื่อง ของ อนิ เตอรเ์ น็ต คอมพิวเตอร์

สว่ นประกอบ คอมพิวเตอร์ -หนว่ ยรับ

(ฮารด์ แวร์) เช่น หน่วยรับ ขอ้ มลู

ของ ข้อมลู , -

คอมพิวเตอร์ หนว่ ยความจำ, หน่วยความจำ

ได้อยา่ งเขา้ ใจ หนว่ ย -หน่วย

ประมวลผล, ประมวลผล

และหน่วย -หน่วย

แสดงผล เปน็ แสดงผล

ตน้ -ระบบและ

อปุ กรณ์เนต็

เวิรก์ เบ้ืองต้น

2.นำเสนอ เรียนรเู้ ทคนิค การใช้ -ใฝเ่ รียนรู้ -การใช้ -นำเสนองาน

ความรเู้ รอ่ื ง การใช้งาน โปรแกรมการ -มุ่งมัน่ ใน โปรแกรม

สว่ นประกอบ โปรแกรม นำเสนอด้วย การทำงาน Powerpoint

(ฮารด์ แวร)์ นำเสนองาน คอมพิวเตอร์ นำเสนองาน

ของ ด้วย -การนำเสนอ

คอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ งานผา่ น

ให้บุคคลอ่นื เว็บไซต์

รับร้ไู ด้

3.เข้าใจและ ศึกษา ปฏบิ ัติตาม ใฝ่เรียนรู้ -โปรแกรม -แบบทดสอบ

สามารถใช้ โปรแกรม พร้อมทัง้ ป้องกนั ไวรสั

งานยูทลิ ิต้ที ี่ ยทู ิลิตี้ต่างๆที่

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 467

ผลการเรยี นรู้ ความคิดรวบ สาระการ นำไปสู่ ช้ินงาน/
ยอด เรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ภาระงาน
สำคัญ อันพึงประสงค์

ควรใชร้ ว่ มกบั ควรมีในระบบ ค้นควา้ ทาง
ระบบงาน คอมพิวเตอร์ อนิ เตอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์
ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 468

คำอธิบายรายวิชา

รหสั วิชา ว32290 รายวิชา ฮารด์ แวร์และยทู ิลติ ี้

รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ศึกษา เรียนรู้ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยรับข้อมูล, หน่วยความจำ, หน่วย
ประมวลผล, และหน่วยแสดงผล เทคนิคการใช้งานโปรแกรมนำเสนองานด้วยคอมพิวเตอร์และ
โปรแกรมยูทลิ ิตี้ต่างๆทีค่ วรมใี นระบบคอมพวิ เตอร์

โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีในการสบื ค้นข้อมลู เพื่อให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ
และใชเ้ ทคนิคกระบวนการกลุม่ เพ่ือก่อใหเ้ กิดความรู้ การแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ รวมถึงการนำเสนอ
งานให้ผู้อน่ื ไดร้ บั ร้ขู ้อมูลที่ได้สืบคน้ มา

เพ่ือให้ผเู้ รียนมีความรักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ มคี วามซื่อสตั ย์สุจรติ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่
อย่างพอเพยี ง มงุ่ มนั่ ในการทำงาน รกั ความเปน็ ไทย และมจี ิตสาธารณะ

ผลการเรียนรู้
1.สามารถคน้ คว้าและศึกษาเรื่องสว่ นประกอบ(ฮารด์ แวร)์ ของคอมพวิ เตอร์ไดอ้ ย่างเขา้ ใจ
2.นำเสนอความรู้เรื่องส่วนประกอบ(ฮารด์ แวร์)ของคอมพิวเตอรใ์ หบ้ ุคคลอืน่ รับรู้ได้
3.เข้าใจและสามารถใช้งานยูทิลติ ท้ี ค่ี วรใช้รว่ มกบั ระบบงานคอมพวิ เตอร์ได้

รวมท้ังหมด 3 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 469

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวิชา ว32290 รายวชิ า ฮารด์ แวร์และยูทลิ ิต้ี

รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน 40 ช่ัวโมง 1.0 หน่วยกติ

ลำดับ ชอื่ หน่วยการ มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ท่ี เรียน เรียนรู้/ (ช่วั โมง) คะแนน
1 สว่ นประกอบ -ความเปน็ มาของ
(ฮาร์ดแวร)์ ของ ผลการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ 16 30
คอมพวิ เตอร์ สามารถค้นควา้ -หนว่ ยรับข้อมลู
และศึกษาเรื่อง -หนว่ ยความจำ 14 30
2 การนำเสนอ สว่ นประกอบ -หน่วยประมวลผล
ขอ้ มูล (ฮารด์ แวร์)ของ -หนว่ ยแสดงผล 10 20
คอมพวิ เตอร์ได้ -ระบบและอุปกรณเ์ น็ต
3 ยูทิลิตีท้ ค่ี วรใช้ อย่างเข้าใจ เวริ ์กเบื้องตน้ 40 80
ร่วมกบั -การใชโ้ ปรแกรม - 10
ระบบงาน นำเสนอความรู้ Powerpoint นำเสนอ - 10
คอมพิวเตอร์ เรอื่ งสว่ นประกอบ งาน 40 100
(ฮาร์ดแวร)์ ของ -การนำเสนองานผา่ น
คอมพวิ เตอร์ให้ เวบ็ ไซต์
บุคคลอนื่ รับรู้ได้ -โปรแกรมปอ้ งกันไวรสั
เขา้ ใจและสามารถ
ใช้งานยูทลิ ิตีท้ ค่ี วร
ใชร้ ว่ มกบั
ระบบงาน
คอมพวิ เตอร์ได้

รวม
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมตลอดภาค

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 470

แบบวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลักสตู ร
รหัสวิชา ว30287 รายวชิ า การเขยี นโปรแกรมภาษาซี ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 – 6

ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกติ

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบยอด สาระการ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ช้นิ งาน/
เรยี นรู้ เรยี นรู้ สำคญั อนั พงึ ภาระงาน
ข้อท่ี 1 -2 ใบความรู้
ประสงค์ และใบงาน
ข้อที่ 3-6
-ผเู้ รียนสามารถ - การทำงาน - ความ - มจี ิต ใบความรู้
และการฝึก
อธิบาย ของภาษาซี สามารถใน สาธารณะ ปฏิบัติใน
การใช้ทักษะ - ซอ่ื สัตย์ คาบเรียน
ภาษาคอมพวิ เตอร์ - สตู ร ชีวิต สุจริต
กำเนิดภาษาซี ฟังก์ชันและ
และเขา้ ใจเมนแู ละ เครื่องมือ
บอกความแต่ตา่ ง
ได้ ตา่ งๆ ใน
-ผเู้ รยี นสามารถ โปรแกรม
Dev C++
อธิบายหลกั การ

เขยี นโปรแกรม

ด้วยภาษาซี และ

เขียนขน้ั ตอนการ

ทำงานของ

โปรแกรมภาษาซี

ได้

- ผู้เรยี นสามารถ -เขยี น - ความ - อย่อู ยา่ ง

อธิบายโครงสรา้ ง โครงสร้าง สามารถใน พอเพียง

ของโปรแกรมและ ของภาษาซี การคดิ
ประกาศตัวแปรได้
- ผู้เรยี นสามารถ -ประกาศตวั

เขียนฟงั ก์ชัน แปรตา่ งๆ ใน
เกีย่ วกบั อนิ พตุ / ภาษาซี

อาท์พุต บอกคำ

สงวน ชนดิ ของ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 471

ผลการ ความคิดรวบยอด สาระการ นำไปสู่ ชิน้ งาน/
เรยี นรู้ เรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ภาระงาน
ขอ้ ท่ี 7 ข้อมลู และเขียน สำคัญ อันพึง
รหสั ควบคุมพิเศษ ใบความรู้
ขอ้ ท่ี 8-10 ได้ ประสงค์ และการฝึก
-ผเู้ รียนสามารถ ปฏิบัติใน
อธิบายตัว - การแยก - ความ - ความรกั ชาติ คาบเรียน
ดำเนนิ การ นิพจน์ สามารถใน ศาสน์ กษตั รยิ ์
ในภาษาซี เขยี น คณติ ศาสตร์ การแกป้ ัญหา - รกั ความเปน็ ใบความร/ู้
นิพจน์ ในภาษาซี ไทย ใบงาน/
คณิตศาสตร์ใน - การแยก โปรแกรม
ภาษาซีได้- ผูเ้ รยี น ประเภทของ
สามารถแยก ตวั
ประเภทของตวั ดำเนินการ
ดำเนินการชนดิ ชนดิ ตา่ งๆ
ตา่ ง ๆ เขียน - การทำงาน
ขั้นตอนการ ของนิพจน์
ทำงานของนิพจน์ -การคำนวณ
และเขียน นิพจนใ์ น
โปรแกรมคำนวณ ภาษาซี
ในภาษาซไี ด้
-ผูเ้ รยี นสามารถ - ผู้เรียน - - มีความ
อธิบายการใช้
ฟงั ก์ชนั สามารถสร้าง ความสามารถ มุ่งม่นั ในการ
if ตรวจสอบ
เงอ่ื นไข เขียนผงั โปรแกรม ในการใช้ ทำงาน
งาน แสดงการ
ตรวจสอบเงือ่ นไข โดยใช้ เทคโนโลยี
ของฟังกช์ ัน
if ได้ ฟงั ก์ชัน IF

ตรวจสอบได้

- ผูเ้ รยี น

สามารถสร้าง

โปรแกรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 472

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบยอด สาระการ สมรรถนะ คุณลักษณะ ช้ินงาน/
เรยี นรู้ เรียนรู้ สำคญั อนั พึง ภาระงาน

ประสงค์

- ผู้เรยี นสามารถ โดยใช้

เลอื กใช้ฟังกช์ นั ฟังก์ชนั

if ใหเ้ หมาะสม Switch

กับโปรแกรมที่ ตรวจสอบได้

เขียน เขยี น

ฟงั ก์ชนั

switch เพื่อทำ

การตรวจสอบ

เงื่อนไขและเขยี น

โปรแกรมด้วย

ฟงั ก์ชัน

-ผูเ้ รยี นสามารถ

อธิบายการใช้

ฟังก์ชนั ใหว้ นรอบ

การทำงานหรือ

ทำซำ้ เขียนผัง

งาน

แสดงการวนรอบ

การทำงานของ

ฟังกช์ ันได้

- ผเู้ รียนสามารถ

ลือกใชฟ้ ังกช์ นั

วนรอบการทำงาน

ให้เหมาะสมกบั

โปรแกรมท่ี

เขียน ออกจาก

การวนรอบการ

ทำงาน และ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 473

ผลการ ความคิดรวบยอด สาระการ นำไปสู่ ช้ินงาน/
เรียนรู้ เรียนรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ภาระงาน
สำคัญ อันพึง
ข้อท่ี 11 ภาระ/
ประสงค์ ชิน้ งาน

ประยกุ ตใ์ ช้ในการ - การ - ความ - มีวนิ ยั
เขยี นโปรแกรม นำเสนอ สามารถใน - ใฝเ่ รยี นรู้
ตา่ ง ๆ ได้ โปรแกรมที่ การสื่อสาร
- นกั เรียน ตัวเองจดั ทำ
สามารถนำเสนอ ข้ึน
ผลงานได้อยา่ ง
สรา้ งสรรค์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 474

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว30287 การเขยี นโปรแกรมภาษาซี

รายวิชาเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4-6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกิต

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นในการเขียนโปรแกรมภาษาซี ลักษณะ
ทั่วไป และลักษณะจำเพาะของภาษาซี ลักษณะที่แตกต่างจากภาษาอื่น หลักการของ
ภาษาซี องค์ประกอบและโครงสร้างของโปรแกรม ลกั ษณะของตวั แปรตวั ดำเนินการ นิพจน์
วิธีการและคำสั่งต่าง ๆ ในการเขียนโปรแกรมภาษาซี การสร้างและเรียกใช้ฟังก์ชัน การสร้าง
ไฟล์ การเขา้ ถึงไฟล์และการประยุกต์ใช้งานปฏิบัติการ วเิ คราะหโ์ จทยป์ ญั หา ออกแบบโปรแกรมและ
เขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์
โจทย์ปญั หา สามารถออกแบบโปรแกรมและเขยี นโปรแกรมใช้งานเบ้ืองตน้ ได้

ผู้เรียนมคี วามรักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ เป็นผลเมอื งทด่ี ีของชาติธำรงไว้ซ่ึงความเป็นไทย ศรัทธา
ยึดมั่น และปฏิบัติตนตามหลักศาสนา เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ มีความซื่อสัตย์สุจริต
ประพฤติตรงตามความเปน็ จริงตอ่ ตนเองและผูอ้ น่ื ท้ังกาย และวาจา ใจ มรี ะเบียบ วนิ ยั ประพฤติตาม
ข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียน และสังคม ใฝ่เรียนรู้ ตั้งใจเพียง
พยายามในการเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ แสวงหาความรู้รู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ท้ัง
ภายในและภายนอกโรงเรียนด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุปเป็นองค์ความรู้ และสามารถ
นำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ตั้งใจและรับผิดชอบในหน้าที่การงาน
ทำงานด้วยเพียงพยายามและอดทนเพื่อให้สำเร็จตามเป้าหมาย รักความเป็นไทย ภาคภูมิใจใน
ขนบธรรมเนยี มประเพณี ศลิ ปะ วฒั นธรรมไทยและมีความกตัญญกู ตเวที เห็นคุณคา่ และใช้ภาษาไทย
ในการส่อื สารได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม อนรุ ักษ์และสบื ทอดภมู ิปัญญาไทย มีจิตสาธารณะ ชว่ ยเหลือ
ผู้อื่นด้วยด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน เข้าร่วมกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ชุมชน
และสังคม และผเู้ รียนอยู่อย่างพอเพียง ดำเนนิ ชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มีคุณธรรม
มีภมู คิ มุ้ กนั ในตัวทีด่ ี ปรับตวั เพ่ืออยูใ่ นสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายความสำคัญของคอมพิวเตอร์ ภาษาคอมพวิ เตอร์ กำเนดิ ภาษาซี ซอฟตแ์ วรช์ นิดตา่ ง ๆ
และบอกหน้าท่ีและความแตกต่างของแต่ละเมนคู ำสั่งได้
2. อธบิ ายหลกั การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาซี และเขียนขนั้ ตอนการทำงานของโปรแกรมภาษาซี
ได้
3. อธิบายโครงสร้างของโปรแกรมและประกาศตวั แปรได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 475

4. เขยี นฟงั ก์ชันเกยี่ วกับอนิ พุต/เอาท์พุต บอกคำสงวน ชนิดของข้อมลู และเขยี นรหัสควบคุมพเิ ศษ
ได้

5. อธิบายตัวดำเนินการในภาษาซี เขียนนิพจน์คณติ ศาสตร์ในภาษาซไี ด้
6. แยกประเภทของตัวดำเนินการชนดิ ต่าง ๆ เขยี นขัน้ ตอนการทำงานของนิพจน์และเขยี น

โปรแกรมคำนวณในภาษาซีได้
7. อธิบายการใช้ฟังกช์ นั if ตรวจสอบเงอ่ื นไข เขียนผังงาน แสดงการตรวจสอบเงื่อนไขของฟังกช์ นั if

ได้
8. เลือกใช้ฟังกช์ นั if ใหเ้ หมาะสมกับโปรแกรมที่เขียน เขยี นฟงั กช์ ัน switch เพ่ือทำการ

ตรวจสอบเงอื่ นไขและเขียนโปรแกรมดว้ ยฟังก์ชนั
9. อธิบายการใช้ฟงั กช์ นั ให้วนรอบการทำงานหรือทำซำ้ เขยี นผงั งานแสดงการวนรอบการทำงาน

ของฟงั ก์ชันได้
10. เลือกใชฟ้ ังกช์ ันวนรอบการทำงานให้เหมาะสมกับโปรแกรมท่เี ขียน ออกจากการวนรอบการ

ทำงาน และประยุกตใ์ ช้ในการเขียนโปรแกรมตา่ ง ๆ ได้
11. สามารถสร้างโปรแกรมทป่ี ระยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และสามารถนำเสนอผลงานได้

รวมท้ังหมด 11 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 476

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหัสวิชา ว30287 การเขยี นโปรแกรมภาษาซี

รายวชิ าเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต

ลำดบั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง ก
1 รูจ้ ักภาษาซี
ขอ้ ท่ี 1 -2 -อธบิ ายความสำคัญของ ) คะแน
2 การเขยี น คอมพวิ เตอร์ ภาษาคอม 8 น
โปรแกรม ข้อท่ี 3-6 พวิ เตอร์ กำเนิดภาษาซี 15
ภาษาซี ข้อที่ 7 ซอฟต์แวร์ชนิดตา่ งๆ และ 8
บอกหนา้ ท่ีและความแตก 15
3 ตวั ดำเนินการ ตา่ งของแตล่ ะเมนูคำส่ังได้ 14
ในภาษาซี - อธิบายหลกั การเขียน 20
โปรแกรมด้วยภาษาซี
- และเขียนขน้ั ตอนการ
ทำงานของโปรแกรม
ภาษาซีได้
- อธิบายโครงสร้างของ
โปรแกรมและประกาศตัว
แปรได้
- เขียนฟงั กช์ นั เกี่ยวกับ
อนิ พตุ /เอาท์พุต บอกคำ
สงวน ชนดิ ของข้อมลู และ
เขยี นรหัสควบคุมพเิ ศษได้
- อธิบายตัวดำเนินการใน
ภาษาซี เขียนนพิ จน์
คณติ ศาสตร์ในภาษาซีได้
- แยกประเภทของตวั
ดำเนินการชนิด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 477

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชวั่ โมง ก

) คะแน


ตา่ งๆ เขียนข้นั ตอนการ

ทำงานของนิพจนแ์ ละเขยี น

โปรแกรมคำนวณในภาษาซี

ได้

4 ฟงั ก์ชน่ั ขอ้ ท่ี 8-10 - อธิบายการใชฟ้ ังก์ชนั 8 20
if ตรวจสอบเงื่อนไข เขียน
ผงั งาน แสดงการตรวจสอบ
เงอื่ นไขของฟงั กช์ นั if ได้
- เลือกใช้ฟังก์ชัน if ให้
เหมาะสมกับโปรแกรมที่
เขียน เขยี นฟงั กช์ นั
switch เพอ่ื ทำการ
ตรวจสอบเงอ่ื นไขและเขยี น
โปรแกรมด้วยฟงั ก์ชนั
- อธบิ ายการใช้ฟังกช์ นั ให้
วนรอบการทำงานหรือ
ทำซ้ำ เขียนผังงานแสดง
การวนรอบการทำงานของ
ฟงั ก์ชันได้
- เลอื กใช้ฟงั กช์ นั วนรอบ
การทำงานให้เหมาะสมกับ
โปรแกรมทเ่ี ขยี น ออกจาก
การวนรอบการ
ทำงาน และประยุกตใ์ ช้ใน
การเขยี นโปรแกรมต่าง ๆ
ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 478

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนั
ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่วั โมง ก

5 การนำเสนอ ขอ้ ท่ี 11 -สามารถนำเสนอผลงานได้ ) คะแน
ผลงาน อยา่ งสรา้ งสรรค์ น
รวม 2 10
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค 40 80
รวมท้ังหมด - 10
- 10
40 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 479

แบบวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สตู ร
รหสั วิชา ว30288 รายวชิ า ยทู ลิ ติ ี้เบื้องตน้
ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ชน้ิ งาน/

เรยี นรู้ ยอด เรยี นรู้ สำคญั อันพงึ ภาระงาน

ประสงค์

1.สามารถ ศึกษา ค้นควา้ ข้อมลู ใฝเ่ รยี นรู้ -ความเป็นมา -ใบงาน

ค้นควา้ และ สว่ นประกอบ ทาง ของ -

ศกึ ษาเร่ือง ของคอมพวิ เตอร์ อนิ เตอร์เน็ต คอมพิวเตอร์ แบบทดสอบ

สว่ นประกอบ เช่น หน่วยรบั -หนว่ ยรับ

(ฮาร์ดแวร)์ ข้อมลู , ขอ้ มลู

ของ หน่วยความจำ, -

คอมพวิ เตอร์ หน่วย หนว่ ยความจำ

ได้อย่าง ประมวลผล, -หน่วย

เข้าใจ และหน่วย ประมวลผล

แสดงผล เป็นตน้ -หนว่ ย

แสดงผล

-ระบบและ

อปุ กรณ์เนต็

เวิร์กเบอื้ งตน้

2.นำเสนอ เรยี นรู้เทคนิค การใช้ -ใฝ่เรยี นรู้ -การใช้ -นำเสนองาน

ความรู้เรื่อง การใชง้ าน โปรแกรม -มุ่งม่ันใน โปรแกรม

ส่วนประกอบ โปรแกรม การนำเสนอ การทำงาน Powerpoint

(ฮาร์ดแวร์) นำเสนองานดว้ ย ดว้ ย นำเสนองาน

ของ คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ -การนำเสนอ

คอมพวิ เตอร์ งานผา่ น

ใหบ้ คุ คลอื่น เวบ็ ไซต์

รับรไู้ ด้

3.เข้าใจและ ศกึ ษาโปรแกรม ปฏบิ ตั ติ าม ใฝ่เรยี นรู้ -โปรแกรม -

สามารถใช้ ยทู ลิ ิตตี้ ่างๆที่ควร พร้อมทง้ั ปอ้ งกันไวรัส แบบทดสอบ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 480

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ช้นิ งาน/
เรียนรู้ ยอด เรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ภาระงาน
สำคญั อันพงึ

ประสงค์

งานยทู ิลิตี้ท่ี มใี นระบบ คน้ คว้าทาง
ควรใช้ คอมพิวเตอร์ อนิ เตอรเ์ น็ต
ร่วมกบั
ระบบงาน
คอมพิวเตอร์
ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 481

รายวิชาเพม่ิ เติม คำอธบิ ายรายวชิ า
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4-6 รหัสวิชา ว30288 ยูทลิ ิตี้เบือ้ งต้น

กลุ่มสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์
จำนวน 20 ช่ัวโมง 0.5 หนว่ ยกติ

ศึกษา เรียนรู้ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยรับข้อมูล, หน่วยความจำ, หน่วย
ประมวลผล, และหน่วยแสดงผล เทคนิคการใช้งานโปรแกรมนำเสนองานด้วยคอมพิวเตอร์และ
โปรแกรมยูทิลิตตี้ า่ งๆท่คี วรมใี นระบบคอมพวิ เตอร์

โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยีในการสืบค้นข้อมลู เพ่ือให้เกิดความรู้ ความคดิ ความเข้าใจ
และใชเ้ ทคนิคกระบวนการกลุ่มเพ่ือก่อใหเ้ กิดความรู้ การแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ รวมถงึ การนำเสนอ
งานใหผ้ ูอ้ ่นื ไดร้ ับรขู้ ้อมูลท่ีได้สืบค้นมา

เพ่ือให้ผู้เรยี นมีความรักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ มคี วามซื่อสัตย์สจุ ริต มีวินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยู่
อย่างพอเพียง มุง่ มั่นในการทำงาน รกั ความเป็นไทย และมจี ิตสาธารณะ

ผลการเรียนรู้
1.สามารถค้นคว้าและศึกษาเรื่องสว่ นประกอบ(ฮารด์ แวร)์ ของคอมพวิ เตอร์ไดอ้ ย่างเขา้ ใจ
2.นำเสนอความรู้เรื่องสว่ นประกอบ(ฮาร์ดแวร)์ ของคอมพวิ เตอรใ์ หบ้ คุ คลอ่ืนรับรู้ได้
3.เขา้ ใจและสามารถใชง้ านยูทิลติ ท้ี คี่ วรใช้ร่วมกบั ระบบงานคอมพิวเตอร์ได้

รวมท้ังหมด 3 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 482

รายวชิ าเพิม่ เติม โครงสรา้ งรายวิชา
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4-6 รหสั วิชา ว30288 ยูทลิ ิตี้เบื้องต้น

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 20 ชั่วโมง 0.5 หนว่ ยกติ

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรยี นรู้ เรยี นร/ู้ (ช่ัวโมง ก

ผลการเรยี นรู้ ) คะแน

1 สว่ นประกอบ ข้อท่ี 1 -ความเป็นมาของคอมพวิ เตอร์ 10 30

(ฮารด์ แวร์) -หนว่ ยรบั ข้อมูล

ของ -หนว่ ยความจำ

คอมพิวเตอร์ -หน่วยประมวลผล

-หนว่ ยแสดงผล

-ระบบและอปุ กรณ์เนต็ เวริ ก์

เบ้ืองต้น

2 การนำเสนอ ข้อที่ 2 -การใช้โปรแกรม Powerpoint 6 30

ข้อมูล นำเสนองาน 4 20

-การนำเสนองานผ่านเว็บไซต์ 20 80
- 10
3 ยูทลิ ติ ้ีทค่ี วร ข้อที่ 3 -โปรแกรมปอ้ งกันไวรสั - 10
20 100
ใช้รว่ มกบั

ระบบงาน

คอมพวิ เตอร์

รวม

สอบกลางภาค

สอบปลายภาค

รวมทั้งหมด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 483

แบบวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สตู ร

รหสั วิชา ว33289 รายวชิ า เทคโนโลยเี พอ่ื การศึกษาและการประกอบอาชพี ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6

ภาคเรยี นท่ี 1 เวลา 40 ชั่วโมง 1 หน่วยกติ

นำไปสู่

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ชิ้นงาน/
เรยี นรู้ ยอด
เรยี นรู้ สำคญั อันพงึ ภาระงาน
ขอ้ 1 หลกั การของ
ระบบ Cloud ประสงค์
Computing
ระบบ Cloud ความ ใฝ่เรยี นรู้ สมคั ร email

Computing สามารถใน

คอื บรกิ ารที่ การใช้

ครอบคลุมถึง เทคโนโลยี

การใหใ้ ชก้ ำลัง

ประมวลผล

หน่วยจัดเก็บ

ขอ้ มลู และ

ระบบออนไลน์

ต่างๆจากผู้

ใหบ้ ริการ เพื่อ

ลดความยงุ่ ยาก

ในการตดิ ตง้ั

ดแู ลระบบ ช่วย

ประหยดั เวลา

และลดตน้ ทนุ

ในการสรา้ ง

ระบบ

คอมพวิ เตอร์

และเครือข่าย

เอง มีทั้งแบบ

บรกิ ารฟรแี ละ

แบบเก็บเงนิ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 484

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการ สมรรถนะ คุณลักษณะ ช้ินงาน/
เรยี นรู้
ขอ้ 2 ยอด เรียนรู้ สำคัญ อันพงึ ภาระงาน

ข้อ 3 ประสงค์

ข้อ 4 บริหารจัดการ 1.การสมคั ร ความสามารถ ความมุ่งม่นั ใบงาน
ข้อ 5
ขอ้ มลู บนระบบ สมาชิก ในการใช้ ในการทำงาน

Cloud การสรา้ งไดรฟ์ เทคโนโลยี

Computing 2.การสรา้ ง

โฟลเดอร์ และ

ไฟล์ การทำ

สำเนา ย้าย

ลบ เปลยี่ นชอ่ื

การให้สิทธิใ์ น

การเขา้ ถงึ

ข้อมลู

สร้างเวบ็ ไซต์ การใช้งาน กู ความสามารถ ความมุ่งม่ัน ใบงาน

บนระบบ เกิลไซต์ ในการใช้ ในการทำงาน

Cloud สร้างหน้า สรา้ ง เทคโนโลยี

Computing ลงิ ก์ แทรกสื่อ

มเี ดยี การ

เผยแพร่

เวบ็ ไซต์

ประยกุ ต์ใชง้ าน คน้ หาและ ความสามารถ ความมงุ่ ม่นั -ใบงาน

ระบบ Cloud เลือกใช้ ในการใช้ ในการ -ผลงาน

Computing โปรแกรมหรอื เทคโนโลยี ทำงาน

กับวิชาเรยี นได้ แอพพลิเคช่ัน

เสริมการเรียนรู้

ในรายวิชาอน่ื ๆ

การนำเสนอ นำเสนอ ความสามารถ ความมุ่งม่นั เอกสารรายงาน

รายงานและ เอกสารรายงาน ในการใช้ ในการทำงาน

นำเสนออาชีพ การนำ เทคโนโลยี

ทเี่ กยี่ วข้องกับ เทคโนโลยีไป

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 485

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการ นำไปสู่ ชิ้นงาน/
สมรรถนะ คุณลักษณะ ภาระงาน
เรียนรู้ ยอด เรียนรู้ สำคัญ อนั พึง

ประสงค์

เทคโนโลยี ประยกุ ต์ใช้กับ
คอมพิวเตอร์ รายวชิ าอื่นๆ
และนำเสนอ
อาชีพท่ี
เกี่ยวข้องกับ
เทคโนโลยี
คอมพวิ เตอร์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 486

คำอธิบายรายวชิ า

รหัสวิชา ว33289 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ

รายวิชาเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษา ระบบคลาวด์คอมพวิ เตอร์ การบริหารจัดการข้อมูลด้วยระบบระบบ Cloud
Computing
สรา้ งเวบ็ ไซต์บนระบบ Cloud Computing และอาชีพที่เกี่ยวขอ้ งกบั เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์

โดยใชก้ ระบวนการทางเทคโนโลยี กระบวนการคิดวเิ คราะห์ เพื่อให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจ
และมที ักษะในการใช้เทคโนโลยี

เพื่อให้ผูเ้ รยี นมีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในการใชร้ ะบบ Cloud Computing บรหิ าร
จดั การข้อมลู การสรา้ งเวบ็ ไซต์ มีการพฒั นางานและสามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นรายวชิ าอ่นื ๆได้ ใฝ่
เรียนรู้ มคี วามมงุ่ มัน่ ในการทำงาน ดำเนนิ ชีวิตอยา่ งพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มี
ภมู ิคุ้มกัน และมีแนวทางในการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื นำไปประกอบอาชีพได้

ผลการเรียนรู้
1. เขา้ ใจหลกั การของระบบ Cloud Computing
2. บรหิ ารจัดการข้อมลู บนระบบ Cloud Computing ได้
3. สรา้ งเวบ็ ไซต์บนระบบ Cloud Computing ได้
4. ประยุกตใ์ ช้งานระบบ Cloud Computing กบั วิชาเรยี นได้
5. มแี นวทางในการใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ นำไปประกอบอาชีพได้

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 487

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวิชา ว33289 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและการประกอบอาชีพ

รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ลำดับ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคญั เวลา น้ำหนั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง ก
1 เร่อื งเรียนรู้ ขอ้ ที่ 1 ระบบ Cloud
ระบบ Cloud Computingคือบริการท่ี ) คะแน
Computing ครอบคลุมถึงการใหใ้ ช้ 2 น
กำลังประมวลผล หนว่ ย 5
2 เร่ืองเรียนรูก้ ู ข้อที่ 2 จัดเก็บข้อมลู และระบบ 2
เกลิ ไดรฟ์ ออนไลนต์ ่างๆจากผู้ 4 5
ใหบ้ รกิ าร เพ่ือลดความ 10
3 เรื่องการ ข้อท่ี 2 ยุ่งยากในการติดต้ัง ดูแล
จัดการ ระบบ ชว่ ยประหยัดเวลา
กูเกิลไดรฟ์ และลดตน้ ทนุ ในการสร้าง
ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละ
เครอื ข่ายเอง มีทั้งแบบ
บรกิ ารฟรแี ละแบบเกบ็
เงนิ
การสมคั รสมาชิก
การสรา้ งไดรฟ์
การสรา้ งโฟลเดอร์ และ
ไฟล์ การทำสำเนา ย้าย
ลบ เปลย่ี นช่อื การใหส้ ทิ ธ์ิ
ในการเข้าถงึ ข้อมูล

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 488

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่ัวโมง ก
การใช้งาน กเู กิลไซต์
4 เรื่องการสร้าง ขอ้ ท่ี 3 สรา้ งหนา้ สรา้ งลิงก์ ) คะแน
เว็บไซตด์ ้วยกู แทรกสือ่ มเี ดยี การ 8 น
เกิลไซต์ เผยแพร่เว็บไซต์ 15
การใช้เครื่องมือวาดภาพ 4
5 เรื่องการใช้ ขอ้ ท่ี 4 ของPhotoshop 8 5
โปรแกรม
ตกแตง่ ภาพ หัวขอ้ สำคัญในการสร้าง 6 15
แฟม้ สะสมงานและการใช้
6 เรอื่ งการสร้าง ขอ้ ที่ 4 โปรแกรมคอมพิวเตอร์ใน 6 15
แฟม้ สะสม การสรา้ งแฟ้มสะสมงาน
งาน คน้ หาและเลือกใช้ 40 10
โปรแกรมหรอื -
7 เรอ่ื งการเลือก ข้อท่ี 4 แอพพลเิ คชัน่ เสริมการ - 80
ใช้โปรแกรม เรยี นร้ใู นรายวิชาอนื่ ๆ 40 10
หรอื แอพพลิ 10
เคช่ันเสรมิ นำเสนอเอกสารรายงาน 100
การศึกษา การนำเทคโนโลยีไป
ประยุกตใ์ ช้กบั รายวชิ า
8 เรือ่ งนำเสนอ ข้อที่ 5 อ่นื ๆและนำเสนออาชีพที่
ผลงานการใช้ เกีย่ วขอ้ งกบั เทคโนโลยี
เทคโนโลยี คอมพิวเตอร์
เพอื่ การศึกษา
และการ
ประกอบ
อาชพี
รวม
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
รวมท้ังหมด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 489

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ของหลกั สูตร
รหัสวชิ า ว33291 รายวชิ า การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอรเ์ ชิงวทิ ยาการคำนวณ

เวลา 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต

นำไปสู่

ผลการ ความคดิ รวบยอด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ชิน้ งาน/
เรียนรู้ สำคญั อนั พงึ ภาระงาน

ประสงค์

ขอ้ ที่ 1 มคี วามรคู้ วาม ภาษาคอมพิวเตอร์ - ใฝ่เรียนรู้ - ความ -ใบความรู้

เขา้ ใจเก่ียวกับ คือชุดคำสัง่ ทีส่ ั่งให้ สามารถใน -ใบงาน

ภาษาคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ การสื่อสาร

ทำงาน

ภาษาคอมพวิ เตอร์

แบง่ ออกเป็น 3

ระดับคือ

ภาษาเครอ่ื ง

ภาษาระดับต่ำ

และภาษา

ระดับสงู

ขอ้ ที่ 2 มคี วามรคู้ วาม 1. ทำความเขา้ ใจ - ใฝเ่ รยี นรู้ - ความ -ใบความรู้
เขา้ ใจเกีย่ วกับ และวเิ คราะห์ สามารถใน -ใบงาน
หลักการเขยี น ปัญหา การคดิ
โปรแกรม 2. กำหนดแผนใน

การแก้ปัญหา

3. เขยี นโปรแกรม

ตามแผนท่ีกำหนด

4. ทดสอบและ

ตรวจสอบความ

ถกู ต้องของ

โปรแกรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 490

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ชน้ิ งาน/
เรียนรู้ สำคญั อนั พึง ภาระงาน

ประสงค์

5. จัดทำคู่มือและ

เอกสารการใช้

โปรแกรม

ข้อที่ 3 มคี วามรูค้ วาม Variables, - ใฝ่เรยี นรู้ - ความ -ใบความรู้

เขา้ ใจเก่ยี วกับ String, Loop, สามารถใน -ใบงาน

Variables, Data structures, การคดิ

String, Loop, Condition

Data structures, expressions,

Condition Functions,

expressions, Classes and

Functions, objects,

Classes and Modules and

objects, packages, File

Modules and input/output

packages, File

input/output

ขอ้ ท่ี 4 มีทกั ษะในการ -การติดตั้ง - มุ่งมน่ั ใน - ความ -ใบความรู้

เขียนโปรแกรม โปรแกรมสำหรบั การทำงาน สามารถใน -ใบงาน

ภาษาคอมพวิ เตอร์ การเขยี น การใช้

เชงิ วทิ ยาการ โปรแกรม เทคโนโลยี

คำนวณ ภาษาคอมพิวเตอร์

-การเขียน

โปรแกรม

-การทดสอบ

โปรแกรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 491

นำไปสู่

ผลการ ความคดิ รวบยอด สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะ คุณลกั ษณะ ชน้ิ งาน/
เรยี นรู้ สำคัญ อันพึง ภาระงาน

ประสงค์

ขอ้ ที่ 5 มคี ณุ ธรรม -พระราชบญั -มีจิต - ความ -ใบความรู้

จริยธรรมในการใช้ ญัตวิ า่ ดว้ ยการ สาธารณะ สามารถใน -ใบงาน

คอมพวิ เตอร์ กระทำความผิด การคดิ

เกี่ยวกบั

คอมพวิ เตอร์คอื

อะไร

-ทำอยา่ งไรผดิ

-บทลงโทษ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 492

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว33291 การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์เชิงวิทยาการคำนวณ

รายวชิ าเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม Variables, String, Loop, Data
structures, Condition expressions, Functions, Classes and objects, Modules and
packages และ File input/output

เพื่อให้ผู้เรียนใช้ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะในการใช้เทคโนโลยี และ
ประสบการณ์ในการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เชิงวิทยาการคำนวณ มีทักษะในการทำงานร่วมกับ
ผ้อู ่นื สามารถตดั สนิ ใจและแก้ปญั หาในการทำงาน

เห็นคุณค่าและสร้างโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นได้ มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้
คอมพิวเตอร์ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการ
ทำงาน รักความเปน็ ไทยและ มีจติ สาธารณะ

ผลการเรียนรู้
1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกับภาษาคอมพวิ เตอร์
2. มีความรคู้ วามเข้าใจเกีย่ วกับหลกั การเขียนโปรแกรม
3. มีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับ Variables, String, Loop, Data structures, Condition

expressions, Functions, Classes and objects, Modules and packages, File input/output
4. มีทักษะในการเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพวิ เตอร์เชิงวิทยาการคำนวณ
5. มีคุณธรรม จรยิ ธรรมในการใชค้ อมพวิ เตอร์

รวมท้ังหมด 5 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 493

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวชิ า ว33291 การเขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์เชิงวทิ ยาการคำนวณ

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกติ

ลำดบั ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา คะแนน
ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) (100)
ภาษาคอมพิวเตอร์คือชุดคำส่ังที่ 10
1 ภาษาคอมพิ 1.มีความรูค้ วามเขา้ ใจ ส่ังใหค้ อมพิวเตอรท์ ำงาน 4
ภาษาคอมพวิ เตอร์ แบง่ ออกเปน็ 10
วเตอร์ เกีย่ วกับ 3 ระดบั คือ ภาษาเคร่ือง 4
ภาษาคอมพวิ เตอร์ ภาษาระดับตำ่ และภาษา
ระดับสูง
2 หลกั การ 2.มีความรู้ความเข้าใจ ในการเขียนโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์นักเขียนโปรแกรม
เขียน เกย่ี วกับหลักการเขยี น จะตอ้ งเขา้ ใจหลกั เกณฑข์ อง
โปรแกรม โปรแกรม ภาษาโปรแกรมและระบบการ
ทำงานของคอมพวิ เตอร์ วา่ มี
โครงสร้างและวิธกี ารใช้คำสั่ง
อยา่ งไรซ่ึงในการเขียนโปรแกรม
คอมพวิ เตอร์ มีหลักเกณฑ์การ
เขียนโปรแกรม ประกอบด้วย 5
ขน้ั ตอนดงั น้ีคือ
1. ทำความเขา้ ใจและวเิ คราะห์
ปญั หา
2. กำหนดแผนในการแกป้ ญั หา
3. เขยี นโปรแกรมตามแผนท่ี
กำหนด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 494

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั เวลา คะแนน
ผลการเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) (100)
3 รปู แบบการ
ใชค้ ำสงั่ การ 4. ทดสอบและตรวจสอบความ 12 20
โปรแกรม
ภาษาคอมพิ ถูกต้องของโปรแกรม 2 10
วเตอร์ 12 30
5. จัดทำคมู่ ือและเอกสารการใช้
4 4 10
5 การเขยี น โปรแกรม
2 10
โปรแกรม 3.มีความรูค้ วามเขา้ ใจ ความหมายและการใช้งาน 40 100
ภาษาคอมพิ
วเตอร์เชงิ เก่ียวกบั Variables, Variables, String, Loop, Data
วทิ ยาการ
คำนวณ String, Loop, Data structures, Condition
6 พระราชบญั
ญตั วิ ่าดว้ ย structures, Condition expressions, Functions,
การกระทำ
ความผิด expressions, Classes and objects, Modules
เก่ยี วกบั
คอมพิวเตอร์ Functions, Classes and and packages, File

objects, Modules and input/output

packages, File

input/output

สอบกลางภาค

4. มีทกั ษะในการเขยี น การติดต้งั โปรแกรมสำหรับการ
โปรแกรม เขยี นโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพวิ เตอรเ์ ชงิ การเขยี นโปรแกรม การทดสอบ
วทิ ยาการคำนวณ โปรแกรม

5.มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมใน พระราชบญั
การใช้คอมพิวเตอร์ ญตั ิวา่ ด้วยการกระทำความผิด
เก่ียวกับคอมพิวเตอรค์ ืออะไร ทำ
อยา่ งไรผิด และบทลงโทษ

สอบปลายภาค
รวมท้ังหมด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 495

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลกั สตู ร
รหัสวิชา ว33292 รายวิชา วทิ ยาการคำนวนประยกุ ต์

เวลา 40 ช่ัวโมง จำนวน 1.0 หน่วยกติ

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรียนรู้ สมรรถนะ คุณลักษณะ ชน้ิ งาน/
เรียนรู้ ยอด สำคัญ อนั พึง ภาระงาน

ประสงค์

ขอ้ ท่ี 1 มีความรู้ความ - หลักการพัฒนา - ใฝเ่ รยี นรู้ - ความ -ใบความรู้ -

เข้าใจเกี่ยวกับ โปรแกรมเพื่อใชใ้ น สามารถใน ใบงาน

หลกั การและ การแก้ปัญหา การสอื่ สาร -แบบฝึกหัด

ขัน้ ตอนการ - ข้ันตอนการ -ทดสอบ

พัฒนา พัฒนารโปรแกรม ท้ายบท

โปรแกรมเพื่อ เพือ่ ใช้ในการ

ใช้ในการ แก้ปญั หา

แกป้ ญั หา

ข้อที่ 2 มีความรู้ความ - ความรู้เพมิ่ เติม - ใฝเ่ รียนรู้ - ความ -ใบความรู้ -

เข้าใจเกย่ี วกับ เพื่อใช้ในการ - มงุ่ มั่นใน สามารถใน ใบงาน

ความรู้อ่ืน แกป้ ญั หารว่ มกับ การทำงาน การคิด -แบบฝึกหัด

เพม่ิ เติมเพื่อใช้ การพัฒนา - ความ -ทดสอบ

ในการ โปรแกรม เช่น สามารถใน ท้ายบท

แกป้ ัญหา การตอ่ วงจรไฟฟ้า การสอ่ื สาร

ร่วมกบั การ เบือ้ งต้น การใช้

เขยี นโปรแกรม บอรด์

ไมโครคอมพิวเตอร์

การใช้เพืองหรอื

เกียร์เพื่อช่วยใน

การทดหรอื ส่ง

กำลังเคร่ืองกล

การเชื่อมต่อกับ

ฐานขอ้ มูล เป็นตน้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 496

นำไปสู่

ผลการ ความคดิ รวบ สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ช้ินงาน/
เรยี นรู้ ยอด สำคัญ อนั พงึ ภาระงาน

ประสงค์

ขอ้ ท่ี 3 มที กั ษะในการ - ภาษาท่ีใช้ในการ - ใฝเ่ รยี นรู้ - ความ -ใบความรู้

เขยี นโปรแกรม พฒั นาโปรแกรม - มงุ่ มั่นใน สามารถใน ใบงาน

ในการ - โครงสร้างการ การทำงาน การแกป้ ัญหา -แบบฝกึ หัด

แกป้ ัญหา เขียนโปรแกรม -ทดสอบ

- การนำความรู้ ท้ายบท

ด้านอนื่ ๆ มาใช้

ร่วมกับการพฒั นา

โปรแกรมเพื่อใช้ใน

การแก้ปัญหาด้วย

ภาษาคอมพวิ เตอร์

- การเขียน

โปรแกรมเพื่อ

แก้ปัญหา

ข้อท่ี 4 มที กั ษะในการ - แนวทางการใน - รักชาติ - ความ -จติ พสิ ยั

เขยี นโปรแกรม พฒั นาโปรแกรม ศาสน์ สามารถใน -การเข้า

เพอ่ื นำไป เพ่อื นำไป กษัตรยิ ์ การคิด เรยี น

ประยกุ ตใ์ ช้ใน ประยุกตใ์ ช้ในด้าน - ซื่อสตั ย์ - ความ -การส่งงาน

ชวี ติ ประจำวัน ต่าง ๆ สจุ รติ สามารถใน

และการ - การพัฒนา - มวี นิ ยั การใช้

ประกอบอาชีพ โปรแกรมเพื่อเพอ่ื - อย่อู ย่าง เทคโนโลยี

นำไปใช้ใน พอเพยี ง - ความ

ชวี ิตประจำวันและ - มงุ่ มัน่ ใน สามารถใน

การประกอบอาชีพ การทำงาน การใช้ทกั ษะ

- รกั ความ ชีวิต

เป็นไทย

- มจี ิต

สาธารณะ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 497

นำไปสู่

ผลการ ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ชน้ิ งาน/
เรยี นรู้ ยอด สำคัญ อันพงึ ภาระงาน

ประสงค์

ขอ้ ท่ี 5 มคี ุณธรรม - มคี ุณธรรม - รกั ชาติ - ความ -จิตพสิ ัย

จริยธรรม และ จริยธรรมที่ดีตอ่ ศาสน์ สามารถใน -การเข้า

เจตคตทิ ด่ี ใี น การเรยี นรู้ กษัตรยิ ์ การใช้ เรียน

การใชแ้ ละ - มีภาวะผ้นู ำใน - ซือ่ สตั ย์ เทคโนโลยี -การส่งงาน

พฒั นา การประพฤติ สุจรติ - ความ

โปรแกรม ปฏบิ ตั ิ ตามหลัก - มวี นิ ัย สามารถใน

คอมพิวเตอร์ คุณธรรมจรยิ ธรรม - อยอู่ ย่าง การใช้ทกั ษะ

- การเขา้ เรียน พอเพียง ชีวติ

การมีนำ้ ใจ ความ - มงุ่ ม่นั ใน

เอาใจใสใ่ นการ การทำงาน

เรียน - รักความ

- การสง่ งาน และ เป็นไทย

ความซื่อตรงต่อ - มจี ิต

เวลา สาธารณะ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 498

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวิชา ว33292 รายวชิ า วทิ ยาการคำนวนประยุกต์

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หนว่ ยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับหลักการและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมเพื่อใช้ในการแก้ปัญหา ได้แก่ การ
วิเคราะห์ปัญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียนโปรแกรม การทำสอบและแก้ไขโปรแกรม การ
จดั ทำคู่มือเอกสารการใช้งาน การใช้งานจริง การปรบั ปรุงและพัฒนาโปรแกรม ความรู้เพิ่มเติมเพื่อใช้
ในการแก้ปัญหาร่วมกับการเขียนโปรแกรม การเขียนโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา แนวทางการนำ
โปรแกรมไปประยกุ ตใช้

เพื่อให้ผู้เรียนใช้ทักษะการสื่อสาร ทักษะการคิด ทักษะการแก้ปัญหา ทักษะการใช้ชีวิต
ทักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี และประสบการณ์ในการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ มที ักษะในการทำงาน
รว่ มกบั ผอู้ ่ืน สามารถตัดสนิ ใจและแก้ปญั หาในการทำงาน

เห็นคุณค่าในการใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล การเรียนรู้ การ
สอ่ื สาร รักและภาคภูมใิ จในถิ่นของตนเอง รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สัตยส์ ุจรติ มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่
อย่างพอเพียง มุ่งมน่ั ในการทำงาน รักความเป็นไทยและ มจี ิตสาธารณะ

ผลการเรยี นรู้
1. มคี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลกั การและขน้ั ตอนการพัฒนาโปรแกรมเพ่ือใช้ในการแกป้ ัญหา
2. มคี วามร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับความรู้อ่นื เพิ่มเติมเพ่ือใช้ในการแกป้ ัญหารว่ มกับการเขียนโปรแกรม
3. มีทกั ษะในการเขยี นโปรแกรมในการแก้ปัญหา
4. มีทักษะในการเขียนโปรแกรมเพื่อนำไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั และการประกอบอาชีพ
5. มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และเจตคติท่ดี ีในการใช้และพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์

รวมทั้งหมด 5 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 499

โครงสร้างรายวิชา

รหัสวชิ า ว33292 รายวชิ า วทิ ยาการคำนวนประยุกต์

รายวชิ าเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 จำนวน 40 ชั่วโมง 1.0 หน่วยกิต

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา คะแนน
ผลการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) (100)
15
1 หลกั การ 1. มีความรคู้ วามเขา้ ใจ หลักการและขั้นตอนในการ 6

และขั้นตอน เกี่ยวกับหลกั การและ พัฒนาโปรแกรมเพื่อแก้ปัญหา

การพัฒนา ขัน้ ตอนการพฒั นา ตา่ ง ๆ จำเป็นต้องมีการ
โปรแกรมเพ่ือใช้ในการ
โปรแกรม แก้ปัญหา วางแผนไวล้ ่วงหนา้ โดย

เพ่ือใชใ้ น กำหนดการทำงานให้ชดั เจน

การ ซง่ึ กระบวนการวิเคราะห์ และ

แก้ปญั หา ออกแบบโปรแกรมเรยี กว่า

วัฏจกั รการพัฒนาระบบงาน

ซึ่งมีกระบวนการทำงาน

เริม่ ต้นจากการวเิ คราะห์

ปัญหาไปจนถึงการนำ

โปรแกรมไปใชง้ าน และ

ปรับปรงุ พัฒนาระบบใหด้ ขี ้ึน

มขี ั้นตอนของ วัฏจักรการ

พัฒนาระบบงาน ดงั ต่อไปน้ี

การวิเคราะห์ปัญหา การ

ออกแบบโปรแกรม การเขยี น

โปรแกรม การทำสอบและ

แก้ไขโปรแกรม การจดั ทำ

คูม่ ือเอกสารการใชง้ าน การใช้

งานจริง การปรบั ปรงุ และ

พัฒนาโปรแกรม


Click to View FlipBook Version