The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 150

รายวชิ าเพมิ่ เติม โครงสร้างรายวชิ า
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 รหสั วิชา ว30203 ฟิสกิ ส์เพ่ิมเติม3 / Physics 3

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์
จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ

ลำดับ ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู/้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ท่ี การ ผลการเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน
เรียนรู้

1 คลืน่ 1, 2, 3, 4 - การเคลือ่ นท่ีแบบฮารม์ อ 16 15

นกิ

อย่างง่าย

- การเกดิ การสนั่ พอ้ ง

- องคประกอบและการ

เคลือ่ นที่ของคลน่ื

- สมบตั ิของคลืน่

2 เสยี ง 5, 6, 7 - ธรรมชาตขิ องเสยี ง 14 15

- สมบัตขิ องคล่นื เสยี ง

- ความเขม้ ของเสยี งและ

มลพษิ ทางเสียง

- การสนั่ พองของเสียง

บีตส ปรากฏการณดอป

เพลอร

- คลนื่ กระแทกของเสยี ง

สอบกลางภาค 20

3 แสง 8, 9, 10, 11, 12, 13 - สมบตั ิการเล้ียวเบนและ 30 30

การแทรกสอดของแสง

- การสะท้อนของแสง

- ภาพทเ่ี กิดกระจกเงาราบ

และกระจกเงาทรงกลม

- การหกั เหของแสง

- ความลกึ จริงและความลกึ

ปรากฏ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 151

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
เรียนรู้
20
- มมุ วกิ ฤตและการสะท้อน 60 100
กลับหมดของแสง
- ภาพทเ่ี กิดจากเลนสบ์ าง
- ปรากฏการณ์ธรรมชาตทิ ่ี
เกี่ยวกบั แสง
- การมองเห็นแสงสี
- การผสมสารสี และการ
ผสมแสงสี

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรยี น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 152

แบบวิเคราะหต์ ัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ของหลักสตู ร
รหสั วชิ า ว30204 รายวชิ า ฟิสกิ ส์เพ่มิ เติม4 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ภาคเรยี นที่ 2

สาระที่ 6 ฟสิ ิกส์
มาตรฐาน ว 6.3 เข้าใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้าและกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า การเปลี่ยนพลังงาน
ทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทำกับประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การ
เหนี่ยวนำ แม่เหล็กไฟฟ้าและกฎของฟาราเดย์ ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและการสื่อสาร
รวมทัง้ นำ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลักษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ ชั่วโมง

(A )

1. ทดลองและอธบิ าย 1. อธบิ ายการทำ 1. การสังเกต (การ 1. เข้าเรยี น 2
การทำวัตถุทเ่ี ป็น วัตถทุ ี่เปน็ กลาง
กลางทางไฟฟ้าให้มี ทางไฟฟ้าให้มี เปล่ยี นแปลงเมอื่ ปฏิบัตกิ จิ กรรม
ประจุไฟฟา้ โดยการ ประจไุ ฟฟ้าโดย
ขดั สีกันและการ การขัดสีกันและ นำวัตถทุ ่ีเปน็ กลาง และส่งงานตรง
เหนย่ี วนำไฟฟ้าสถติ การเหนยี่ วนำ
มาขัดสีกัน) เวลา (มวี นิ ยั )
ไฟฟ้าสถิต
2. การ 2. รว่ มมอื ในการ

ตคี วามหมายข้อมูล เรยี น แสวงหา

และลงข้อสรปุ ความรู้ ตอบ

(การทำวตั ถทุ เ่ี ปน็ คำถาม ยอมรบั

กลางทางไฟฟ้าให้มี ความคิดเหน็ ยก

ประจุไฟฟ้า) ย่องผูอ้ ื่น และ

แสดงความ

คิดเหน็ อยา่ งมี

เหตผุ ล (ใฝ่

เรียนร)ู้

3. ทำกจิ กรรม

และทำ

แบบฝึกหดั ด้วย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 153

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ทอ้ งถ่ิน จำนวน
ทักษะ/ คุณลักษณะอนั ชว่ั โมง
2. อธิบายและ 1. อธิบายและ
คำนวณแรงไฟฟา้ ตาม คำนวณแรงไฟฟ้า กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ 5
กฎของคูลอมบ์ ตามกฎของคู (A )
ลอมบ์
2. คำนวณ ความซ่อื สตั ย์
ปริมาณที่ (ซ่ือสตั ย์สจุ รติ )
เก่ยี วขอ้ งกบั กฎ 4. รกั ษาความ
ของคูลอมบ์ได้ สะอาดของ
ผลงาน ห้องเรียน
และสถานท่ี
ปฏบิ ัติกิจกรรม
(มีจติ สาธารณะ)
1. การใช้จำนวน 1. เข้าเรยี น
(แรงระหวา่ งประจุ ปฏิบตั ิกิจกรรม
ไฟฟ้า) และสง่ งานตรง
เวลา (มวี ินยั )
2. รว่ มมือในการ
เรยี น แสวงหา
ความรู้ ตอบ
คำถาม ยอมรับ
ความคดิ เห็น ยก
ย่องผ้อู น่ื และ
แสดงความ
คดิ เหน็ อยา่ งมี
เหตผุ ล (ใฝ่
เรยี นรู้)
3. ทำกจิ กรรม
และทำ
แบบฝึกหดั ดว้ ย
ความซือ่ สตั ย์
(ซอ่ื สตั ย์สุจริต)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 154

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลักษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ ช่ัวโมง

(A )

4. รกั ษาความ

สะอาดของ

ผลงาน หอ้ งเรยี น

และสถานท่ี

ปฏบิ ัติกจิ กรรม

(มีจติ สาธารณะ)

3. อธบิ ายและ 1. อธิบาย 1. การ 1. เข้าเรียน 8

คำนวณสนามไฟฟ้า ความหมายของ ตคี วามหมายข้อมลู ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม

และแรงไฟฟ้าท่ี สนามไฟฟ้าและ และลงข้อสรุป และสง่ งานตรง

กระทำกับอนภุ าคที่มี บอกความสัมพนั ธ์ (ความสมั พันธ์ เวลา (มวี นิ ยั )

ประจไุ ฟฟ้าทอ่ี ยู่ใน ระหวา่ งแรงไฟฟา้ ระหวา่ งแรงไฟฟ้าที่ 2. รว่ มมือในการ

สนามไฟฟ้า รวมทง้ั ทกี่ ระทำกับ กระทำกับอนภุ าค เรยี น แสวงหา

หาสนามไฟฟา้ ลัพธ์ อนุภาคทีม่ ีประจุ ท่มี ปี ระจุไฟฟา้ ที่อยู่ ความรู้ ตอบ

เนอื่ งจากระบบจุด ไฟฟา้ ที่อย่ใู น ในสนามไฟฟา้ ) คำถาม ยอมรบั

ประจุโดยรวมกนั แบบ สนามไฟฟ้า 2. การใชจ้ ำนวน ความคดิ เหน็ ยก

เวกเตอร์ 2. คำนวณ (แรงระหว่างประจุ ย่องผอู้ ื่น และ

สนามไฟฟา้ และ ไฟฟา้ ) แสดงความ

แรงไฟฟ้าท่ี คิดเห็นอยา่ งมี

กระทำกับอนภุ าค เหตุผล (ใฝ่

ทีม่ ีประจุไฟฟา้ ท่ี เรียนรู้)

อยู่ในสนามไฟฟา้ 3. ทำกิจกรรม

3. คำนวณ และทำ

สนามไฟฟ้าลัพธ์ แบบฝึกหัดดว้ ย

เนื่องจากระบบจดุ ความซอ่ื สตั ย์

ประจโุ ดยรวมกัน (ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต)

แบบเวกเตอร์ 4. รักษาความ

สะอาดของ

ผลงาน ห้องเรียน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 155

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลักษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ ชั่วโมง

(A )

และสถานท่ี

ปฏิบัติกจิ กรรม

(มจี ติ สาธารณะ)

4. อธบิ ายและ 1. อธิบาย 1. การใชจ้ ำนวน 1. เขา้ เรียน 5
คำนวณพลงั งาน ความหมายของ
ศักยไ์ ฟฟา้ ศักย์ไฟฟา้ พลังงาน (พลังงานศกั ย์ไฟฟา้ ปฏิบัตกิ ิจกรรม
และความตา่ งศักย์ ศักยไ์ ฟฟ้า และ
ระหว่างสองตำแหนง่ ความต่าง ศกั ยไ์ ฟฟ้า และ และสง่ งานตรง
ใด ๆ ศักย์ไฟฟา้
2. คำนวณ ความต่าง เวลา (มวี นิ ัย)
พลังงาน
ศักย์ไฟฟา้ ศักย์ไฟฟ้า) 2. ร่วมมือในการ
ศกั ยไ์ ฟฟา้ และ
ความต่างศักย์ เรยี น แสวงหา
ระหวา่ งสอง
ตำแหนง่ ใด ๆ ความรู้ ตอบ

คำถาม ยอมรบั

ความคดิ เห็น ยก

ยอ่ งผ้อู ืน่ และ

แสดงความ

คิดเห็นอย่างมี

เหตุผล (ใฝ่

เรียนร้)ู

3. ทำกจิ กรรม

และทำ

แบบฝกึ หัดด้วย

ความซือ่ สัตย์

(ซ่อื สตั ย์สุจริต)

4. รกั ษาความ

สะอาดของ

ผลงาน ห้องเรยี น

และสถานที่

ปฏบิ ัติกจิ กรรม

(มีจติ สาธารณะ)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 156

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลักษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ ชั่วโมง

(A )

5. อธบิ าย 1. อธิบาย 1. การ 1. เข้าเรียน 8

ส่วนประกอบของตัว ส่วนประกอบของ ตคี วามหมายข้อมลู ปฏิบัติกจิ กรรม

เกบ็ ประจุ ตัวเก็บประจุ และลงข้อสรปุ และส่งงานตรง

ความสัมพนั ธ์ระหว่าง 2. อธิบาย (ความสมั พนั ธ์ เวลา (มวี ินัย)

ประจุไฟฟา้ ความตา่ ง ความสัมพนั ธ์ ระหว่างประจุ 2. รว่ มมือในการ

ศกั ย์ และความจขุ อง ระหว่างประจุ ไฟฟา้ ความต่าง เรียน แสวงหา

ตวั เก็บประจุ และ ไฟฟ้า ความตา่ ง ศกั ย์ และความจุ ความรู้ ตอบ

อธิบายพลังงานสะสม ศกั ย์ และความจุ ของตวั เก็บประจ)ุ คำถาม ยอมรับ

ในตัวเก็บประจุ และ ของตัวเก็บประจุ 2. การใช้จำนวน ความคดิ เหน็ ยก

ความจุสมมลู รวมทงั้ 3. อธิบาย (ปริมาณต่าง ๆ ที่ ย่องผอู้ น่ื และ

คำนวณปริมาณต่าง ๆ พลงั งานสะสมใน เกย่ี วข้องกบั ความ แสดงความ

ที่เกีย่ วข้อง ตัวเกบ็ ประจุ และ จุไฟฟา้ ) คิดเหน็ อยา่ งมี

ความจุสมมลู เหตผุ ล (ใฝ่

4. คำนวณ เรียนรู้)

ปรมิ าณต่าง ๆ ที่ 3. ทำกิจกรรม

เกีย่ วขอ้ งกับความ และทำ

จุไฟฟา้ แบบฝึกหัดด้วย

ความซ่อื สตั ย์

(ซ่อื สัตย์สุจรติ )

4. รกั ษาความ

สะอาดของ

ผลงาน หอ้ งเรียน

และสถานท่ี

ปฏิบตั ิกจิ กรรม

(มจี ติ สาธารณะ)

6. นำความรู้เรอื่ ง 1. อธิบาย 1. การคดิ 1. เขา้ เรยี น 2

ไฟฟ้าสถติ ไปอธิบาย หลักการทำงาน วเิ คราะห์ และ ปฏิบตั ิกจิ กรรม

หลักการทำงานของ ของ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 157

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถิ่น

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ ชั่วโมง

(A )

เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าบาง เครือ่ งใช้ไฟฟ้า สังเคราะห์ความรู้ และสง่ งานตรง

ชนดิ และ บางชนดิ และ อยา่ งสรา้ งสรรค์ เวลา (มวี นิ ยั )

ปรากฏการณใ์ น ปรากฏการณใ์ น 2. ร่วมมือในการ

ชีวติ ประจำวัน ชวี ิตประจำวนั ที่ เรยี น แสวงหา

อาศัยหลักการ ความรู้ ตอบ

ไฟฟ้าสถิตได้ คำถาม ยอมรบั

ความคดิ เห็น ยก

ยอ่ งผอู้ ่นื และ

แสดงความ

คิดเหน็ อย่างมี

เหตผุ ล (ใฝ่

เรยี นรู้)

3. ทำกิจกรรม

และทำ

แบบฝกึ หัดด้วย

ความซอ่ื สตั ย์

(ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ )

4. รักษาความ

สะอาดของ

ผลงาน หอ้ งเรียน

และสถานที่

ปฏบิ ัติกจิ กรรม

(มีจิตสาธารณะ)

7. อธบิ ายการ 1. อธิบายการ 1. การ 1. เข้าเรียน 6

เคล่ือนท่ีของ เคลอ่ื นท่ีของ ตคี วามหมายข้อมลู ปฏิบตั ิกจิ กรรม

อเิ ลก็ ตรอน อิสระและ อิเล็กตรอน อิสระ และลงข้อสรุป และส่งงานตรง

กระแสไฟฟ้าในลวด และกระแสไฟฟ้า (ความสัมพันธ์ เวลา (มีวินยั )

ตัวนำ ความสัมพนั ธ์ ในลวดตวั นำได้ ระหว่าง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 158

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ ช่ัวโมง

(A )

ระหว่างกระแสไฟฟา้ 2. อธบิ าย กระแสไฟฟ้าใน 2. รว่ มมือในการ

ในลวดตัวนำกับ ความสมั พันธ์ ลวดตัวนำกบั เรยี น แสวงหา

ความเร็วลอยเลื่อน ระหว่าง ความเรว็ ลอยเลอื่ น ความรู้ ตอบ

ของอเิ ลก็ ตรอนอสิ ระ กระแสไฟฟา้ ใน ของ คำถาม ยอมรบั

ความหนาแนน่ ของ ลวดตวั นำกับ อิเลก็ ตรอนอิสระ ความคิดเห็น ยก

อเิ ล็กตรอนในลวด ความเรว็ ลอย ความหนาแนน่ ของ ยอ่ งผอู้ นื่ และ

ตัวนำและ เล่อื นของ อิเลก็ ตรอนในลวด แสดงความ

พน้ื ทห่ี น้าตัดของลวด อิเลก็ ตรอนอสิ ระ ตวั นำและพื้นท่ี คดิ เหน็ อยา่ งมี

ตัวนำ และคำนวณ ความหนาแน่น หนา้ ตัดของลวด เหตผุ ล (ใฝ่

ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี ของอเิ ล็กตรอนใน ตวั นำ) เรยี นร)ู้

เก่ยี วขอ้ ง ลวดตวั นำและ 2. การใชจ้ ำนวน 3. ทำกจิ กรรม

พื้นที่หน้าตัดของ (ปรมิ าณต่าง ๆ ที่ และทำ

ลวดตัวนำ เกย่ี วข้องกบั การ แบบฝึกหัดดว้ ย

3. คำนวณ เคลื่อนที่ของ ความซื่อสัตย์

ปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่ อเิ ลก็ ตรอน อิสระ) (ซอื่ สตั ย์สจุ รติ )

เกย่ี วข้องกับการ 4. รกั ษาความ

เคล่อื นท่ีของ สะอาดของ

อิเล็กตรอน อิสระ ผลงาน ห้องเรียน

และสถานที่

ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

(มีจิตสาธารณะ)

8. อธบิ ายกฎของ 1. อธบิ ายกฎของ 1. การ 1. เข้าเรียน 9

โอห์ม ความสัมพันธ์ โอห์มได้ ตีความหมายข้อมูล ปฏบิ ัติกิจกรรม

ระหว่างความ 2. อธิบาย และลงข้อสรุป และส่งงานตรง

ตา้ นทานกับความยาว ความสมั พันธ์ (ความสมั พันธ์ เวลา (มวี นิ ัย)

พื้นทหี่ น้าตัด และ ระหว่างความ ระหวา่ งความ 2. ร่วมมอื ในการ

สภาพต้านทานของ ตา้ นทานกบั ความ ต้านทานกบั ความ เรยี น แสวงหา

ตวั นำโลหะท่ีอณุ หภมู ิ ยาว พน้ื ท่ีหน้าตัด ยาว พนื้ ที่หนา้ ตดั ความรู้ ตอบ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 159

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลกั ษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ ช่ัวโมง

(A )

คงตัว และคำนวณ และสภาพ และสภาพต้านทาน คำถาม ยอมรบั

ปริมาณตา่ ง ๆ ที่ ต้านทานของ ของตัวนำโลหะที่ ความคดิ เหน็ ยก

เก่ียวข้อง รวมทั้ง ตัวนำโลหะที่ อุณหภูมคิ งตัว) ยอ่ งผอู้ ่นื และ

อธิบายและคำนวณ อุณหภมู คิ งตวั 2. การใช้จำนวน แสดงความ

ความตา้ นทานสมมลู 3. อธิบายความ (ปริมาณต่าง ๆ ที่ คิดเห็นอย่างมี

เมื่อนำตวั ตา้ นทานมา ต้านทานสมมูล เก่ียวข้องกบั ความ เหตผุ ล (ใฝ่

ต่อกนั แบบอนุกรม เมื่อต่อตวั ตา้ นทานไฟฟ้า) เรยี นร้)ู

และแบบขนาน ตา้ นทานแบบ 3. ทำกจิ กรรม

อนุกรมและแบบ และทำ

ขนาน แบบฝกึ หัดด้วย

4. คำนวณ ความซ่อื สตั ย์

ปรมิ าณต่าง ๆ ที่ (ซ่อื สตั ยส์ ุจรติ )

เกี่ยวขอ้ ง ความ 4. รักษาความ

ตา้ นทานไฟฟ้า) สะอาดของ

ผลงาน ห้องเรยี น

และสถานที่

ปฏิบตั ิกจิ กรรม

(มจี ติ สาธารณะ)

9. ทดลอง อธบิ าย 1. อธบิ าย 1. การทดลอง 1. เขา้ เรยี น 6

และคำนวณอเี อม็ เอฟ ความหมายของ 2. การ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม

ของแหล่งกำเนดิ อีเอ็มเอฟของ ตีความหมายข้อมลู และส่งงานตรง

ไฟฟา้ กระแสตรง แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ และลงข้อสรุป เวลา (มีวนิ ัย)

รวมทั้งอธบิ ายและ กระแสตรง (การสรปุ ผลการ 2. รว่ มมอื ในการ

คำนวณพลงั งานไฟฟ้า 2. อธบิ าย ทดลอง) เรยี น แสวงหา

และกำลงั ไฟฟ้า ความหมายของ 3. การใช้จำนวน ความรู้ ตอบ

พลังงานไฟฟา้ (ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี คำถาม ยอมรบั

และกำลังไฟฟา้ เก่ียวข้องกบั อีเอ็ม ความคิดเหน็ ยก

เอฟของ ย่องผ้อู ื่น และ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 160

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ ช่วั โมง

(A )

3. คำนวณอีเอ็ม แหล่งกำเนิดไฟฟ้า แสดงความ

เอฟของ กระแสตรง คดิ เห็นอยา่ งมี

แหลง่ กำเนิดไฟฟา้ พลังงานไฟฟา้ และ เหตผุ ล (ใฝ่

กระแสตรง กำลงั ไฟฟ้า) เรียนรู้)

พลังงานไฟฟ้า 3. ทำกิจกรรม

และกำลังไฟฟ้า และทำ

แบบฝกึ หดั ดว้ ย

ความซือ่ สตั ย์

(ซอื่ สตั ย์สจุ รติ )

4. รักษาความ

สะอาดของ

ผลงาน หอ้ งเรยี น

และสถานที่

ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม

(มจี ติ สาธารณะ)

10. ทดลองและ 1. คำนวณอเี อ็ม 1. การทดลอง 1. เข้าเรียน 6

คำนวณอเี อม็ เอฟ เอฟสมมลู จาก 2. การ ปฏบิ ัติกจิ กรรม

สมมูลจากการต่อ การตอ่ แบตเตอรี่ ตคี วามหมายข้อมลู และส่งงานตรง

แบตเตอร่แี บบอนุกรม แบบอนุกรมและ และลงข้อสรปุ เวลา (มีวนิ ยั )

และแบบขนาน แบบขนาน (การสรุปผลการ 2. ร่วมมอื ในการ

รวมท้งั คำนวณ 2. คำนวณ ทดลอง) เรียน แสวงหา

ปริมาณตา่ ง ๆ ที่ ปริมาณต่าง ๆ ที่ 3. การใช้จำนวน ความรู้ ตอบ

เก่ยี วขอ้ งใน เกย่ี วขอ้ งใน (ปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี คำถาม ยอมรบั

วงจรไฟฟ้ากระแสตรง วงจรไฟฟ้า เกีย่ วข้องกับอีเอ็ม ความคดิ เห็น ยก

ซึง่ ประกอบด้วย กระแสตรงซงึ่ เอฟสมมูลจากการ ย่องผู้อ่ืน และ

แบตเตอร่แี ละตัว ประกอบด้วย ตอ่ แบตเตอรแี่ บบ แสดงความ

ต้านทาน แบตเตอรี่และตัว อนุกรมและแบบ คดิ เห็นอยา่ งมี

ตา้ นทาน ขนาน)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 161

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลกั ษณะอนั จำนวน
ชว่ั โมง
11. อธิบายการ 1. อธิบายการ กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์
เปลย่ี นพลงั งาน เปลีย่ นพลังงาน 3
ทดแทนเปน็ พลงั งาน ทดแทนเป็น (A )
ไฟฟ้า รวมทง้ั สบื ค้น พลงั งานไฟฟา้
และอภิปรายเกีย่ วกบั 2. สืบค้นขอ้ มลู เหตุผล (ใฝ่
เทคโนโลยอี น่ื ๆ ที่ และอภปิ ราย
นำมาแกป้ ัญหาหรอื เก่ียวกับ เรยี นร)ู้
ตอบสนองความ เทคโนโลยีทีน่ ำมา
ตอ้ งการทางด้าน แก้ปัญหาหรือ 3. ทำกจิ กรรม
พลงั งานไฟฟ้า ตอบสนองความ
ตอ้ งการทางด้าน และทำ
พลงั งานไฟฟ้า
แบบฝกึ หัดด้วย

ความซ่อื สัตย์

(ซื่อสตั ยส์ จุ ริต)

4. รกั ษาความ

สะอาดของ

ผลงาน ห้องเรียน

และสถานที่

ปฏบิ ัติกจิ กรรม

(มจี ิตสาธารณะ)

1. การคดิ 1. เขา้ เรียน

วิเคราะห์ และ ปฏิบตั ิกิจกรรม

สังเคราะห์ความรู้ และส่งงานตรง

อย่างสร้างสรรค์ เวลา (มีวินยั )

2. ร่วมมอื ในการ

เรียน แสวงหา

ความรู้ ตอบ

คำถาม ยอมรบั

ความคิดเห็น ยก

ยอ่ งผู้อ่นื และ

แสดงความ

คดิ เหน็ อยา่ งมี

เหตุผล (ใฝ่

เรยี นร)ู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 162

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถิ่น
ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ ชั่วโมง
(A )

3. ทำกจิ กรรม
และทำ
แบบฝึกหัดด้วย
ความซอ่ื สัตย์
(ซ่ือสตั ย์สุจรติ )
4. รักษาความ
สะอาดของ
ผลงาน หอ้ งเรียน
และสถานที่
ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
(มจี ิตสาธารณะ)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 163

รายวิชาเพิ่มเติม คำอธิบายรายวิชา
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 รหสั วิชา ว30204 ฟิสิกสเ์ พ่ิมเติม4 / Physics 4

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ

ศกึ ษาการเหนี่ยวนำไฟฟ้าสถิต แรงไฟฟ้าตามกฎของคูลอมบ์ สนามไฟฟา พลังงานศักย์ไฟฟา
ความจุและตัวเก็บประจุ กระแสไฟฟ้าและกฎของโอหม สภาพต้านทานไฟฟา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า การต่อแบตเตอรี่ และการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล
และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คุณธรรม และค่านิยมท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. ทดลองและอธิบายการทำวัตถุที่เป็นกลางทางไฟฟ้าให้มีประจุไฟฟ้าโดยการขัดสีกันและการ
เหน่ียวนำไฟฟ้าสถิต
2. อธบิ ายและคำนวณแรงไฟฟ้าตามกฎของคูลอมบ์
3. อธิบายและคำนวณสนามไฟฟ้าและแรงไฟฟ้าที่กระทำกับอนภุ าคท่มี ีประจุไฟฟ้าท่ีอยใู่ นสนามไฟฟ้า
รวมทัง้ หาสนามไฟฟา้ ลัพธ์เน่ืองจากระบบจุดประจโุ ดยรวมกันแบบเวกเตอร์
4. อธบิ ายและคำนวณพลงั งานศักย์ไฟฟา้ ศักยไ์ ฟฟ้า และความตา่ งศกั ย์ระหว่างสองตำแหนง่ ใด ๆ
5. อธิบายส่วนประกอบของตัวเกบ็ ประจุ ความสมั พันธร์ ะหว่างประจไุ ฟฟา้ ความต่างศกั ย์ และความจุ
ของตัวเกบ็ ประจุ และอธิบายพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ และความจุสมมูล รวมทั้งคำนวณปริมาณ
ตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ ง
6. นำความรเู้ รื่องไฟฟ้าสถิตไปอธบิ ายหลกั การทำงานของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าบางชนิด และปรากฏการณ์ใน
ชวี ิตประจำวัน
7. อธิบายการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน อิสระและกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำ ความสัมพันธ์ระหว่าง
กระแสไฟฟ้าในลวดตัวนำกับความเร็วลอยเลื่อนของอิเล็กตรอนอิสระ ความหนาแน่นของอิเล็กตรอน
ในลวดตวั นำและพน้ื ที่หน้าตดั ของลวดตัวนำ และคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี ก่ียวขอ้ ง
8. อธิบายกฎของโอห์ม ความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานกับความยาว พื้นที่หน้าตัด และสภาพ
ต้านทานของตัวนำโลหะที่อุณหภูมิคงตัว และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้ง อธิบายและ
คำนวณความต้านทานสมมลู เม่ือนำตวั ตา้ นทานมาตอ่ กนั แบบอนุกรมและแบบขนาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 164

9. ทดลอง อธิบายและคำนวณอีเอ็มเอฟของแหลง่ กำเนิดไฟฟ้ากระแสตรง รวมทงั้ อธบิ ายและคำนวณ
พลังงานไฟฟ้า และกำลังไฟฟ้า
10. ทดลองและคำนวณอีเอ็มเอฟสมมูลจากการต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมและแบบขนาน รวมทั้ง
คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ที่เก่ยี วขอ้ งในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงซึ่งประกอบดว้ ยแบตเตอร่ีและตัวต้านทาน
11. อธิบายการเปลี่ยนพลังงานทดแทนเป็นพลังงานไฟฟ้า รวมทั้งสืบค้นและอภิปรายเกี่ยวกับ
เทคโนโลยอี ืน่ ๆ ท่ีนำมาแกป้ ัญหาหรือตอบสนองความต้องการทางดา้ นพลังงานไฟฟา้

รวมทัง้ หมด 11 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 165

รายวชิ าเพิม่ เติม โครงสรา้ งรายวชิ า
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5 รหัสวชิ า ว30204 ฟิสกิ ส์เพ่ิมเตมิ 4 / Physics 4

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์
จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ที่ การ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
เรยี นรู้

1 ไฟฟ้าสถิต 1, 2, 3, 4, 5, 6 - การเหน่ียวนำไฟฟา้ สถติ 30 30

- แรงไฟฟ้าตามกฎของ

คลู อมบ์

- สนามไฟฟา

- พลงั งานศักยไ์ ฟฟา

- ความจุไฟฟ้าและตัวเก็บ

ประจุ

สอบกลางภาค 20

2 ไฟฟ้า 7, 8, 9, 10, 11 - กระแสไฟฟ้าและกฎของ 30 30

กระแส โอหม

- สภาพตา้ นทานไฟฟา

- วงจรไฟฟา้ กระแสตรง

- พลงั งานไฟฟา้ และ

กำลังไฟฟา้

- การตอ่ แบตเตอร่ี

- การเปลย่ี นพลงั งาน

ทดแทนเป็นพลังงานไฟฟา้

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรยี น 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 166

แบบวิเคราะห์ผลการเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร
รหัสวิชา ว30205 รายวชิ าฟสิ ิกสเ์ พ่มิ เติม 5 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 ภาคเรยี นที่ 1

สาระฟิสิกส์
ข้อ 3. เข้าใจแรงไฟฟ้า และกฎของคลู อมบ์ สนามไฟฟ้า ศักย์ไฟฟ้า ความจุไฟฟ้า
กระแสไฟฟา้ และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟา้ กระแสตรง พลงั งานไฟฟ้า และกำลงั ไฟฟ้า การเปลีย่ น
พลังงานทดแทนเปน็ พลงั งานไฟฟ้า สนามแม่เหล็ก แรงแมเ่ หลก็ ที่กระทำกบั ประจไุ ฟฟ้าและ
กระแสไฟฟา้ การเหนยี่ วนำแม่เหล็กไฟฟา้ และกฎ ของฟาราเดย์ ไฟฟา้ กระแสสลับ คล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า
และการส่ือสาร รวมท้ัง นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
ข้อ 4. เขา้ ใจความสัมพันธข์ องความรอ้ นกับการเปล่ียนอณุ หภูมแิ ละสถานะของสสาร สภาพ
ยดื หยุ่นของวสั ดแุ ละมอดลุ ัสของยัง ความดนั ในของไหล แรงพยุง และหลัก ของอาร์คมิ ดี ิส ความตึง
ผวิ และแรงหนดื ของของเหลว ของไหลอดุ มคติ และ สมการแบรน์ ลู ลี กฎของแก๊ส ทฤษฎจี ลน์ของ
แกส๊ อุดมคตแิ ละพลงั งานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณโ์ ฟโตอเิ ลก็ ทริก ทวิภาวะของ
คลื่นและ อนุภาค กมั มันตภาพรงั สี แรงนวิ เคลยี ร์ ปฏิกริ ยิ านวิ เคลยี ร์ พลังงานนวิ เคลยี ร์ ฟสิ กิ ส์อนุภาค
รวมทั้งนำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ จำนวน
ชั่วโมง
(K) (P) ประสงค์ (A)
5
1. สงั เกต และอธบิ ายเส้น 1. อธบิ ายเสน้ 1. สงั เกตสนามแม่เหลก็ ที่ 1. สนใจใฝ่รู้ใน
5
สนามแมเ่ หล็ก และ สนามแมเ่ หล็กได้ เกิดจากกระแสไฟฟา้ ใน การศึกษา และ

คำนวณฟลักซแ์ ม่เหลก็ ใน 2. อธิบายสนามแมเ่ หลก็ ลวดตวั นำเสน้ ตรง และโซ สามารถทำงาน

บรเิ วณทกี่ ำหนด รวมท้งั ทเี่ กดิ จากกระแสไฟฟ้า เลนอยดไ์ ด้ รว่ มกบั ผูอ้ น่ื ได้อยา่ ง

สังเกต และอธบิ าย ในลวดตัวนำเสน้ ตรง 2. คำนวณฟลกั ซแ์ มเ่ หล็ก สรา้ งสรรค์

สนามแมเ่ หล็กทเี่ กิดจาก และโซเลนอยด์ได้ ในบริเวณที่กำหนด

กระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นำ 3. ใชก้ ระบวนการสบื

เส้นตรง และโซเลนอยด์ เสาะหาความรูใ้ น

การศึกษาได้

2. อธบิ าย และคำนวณแรง 1. อธิบายแรงแมเ่ หลก็ ที่ 1. คำนวณแรงแมเ่ หลก็ ที่ 1. สนใจใฝ่ร้ใู น

แมเ่ หล็กทก่ี ระทำต่อ อนุภาค กระทำตอ่ อนภุ าคทม่ี ี กระทำต่อ อนุภาคทม่ี ี การศึกษา และ

ท่มี ปี ระจไุ ฟฟ้าเคลอื่ นที่ใน ประจไุ ฟฟา้ เคลอ่ื นทใี่ น ประจไุ ฟฟา้ เคลื่อนท่ีใน สามารถทำงาน

สนามแมเ่ หล็ก แรงแม่เหล็ก สนามแมเ่ หลก็ แรง สนามแมเ่ หล็ก แรง รว่ มกับผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ ง

ทีก่ ระทำต่อเส้นลวดทม่ี ี แม่เหล็กท่กี ระทำตอ่ เส้น แม่เหล็กทกี่ ระทำต่อเส้น สร้างสรรค์

กระแสไฟฟา้ ผ่านและวางใน ลวดทมี่ กี ระแสไฟฟ้า ลวดทม่ี ีกระแสไฟฟา้ ผ่าน

สนามแมเ่ หล็ก รัศมคี วามโค้ง ผ่านและวางใน และวางในสนามแมเ่ หลก็

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 167

ผลการเรียนรู้ ความรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ทอ้ งถน่ิ จำนวน
ทักษะ / กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ ช่ัวโมง
(K)
(P) ประสงค์ (A) 5
ของ การเคลือ่ นทเี่ มื่อประจุ สนามแมเ่ หล็ก รัศมี รัศมีความโคง้ ของ การ
เคลอื่ นทเี่ มื่อประจเุ คล่ือน
เคลอื่ นท่ีตงั้ ฉากกับ ความโคง้ ของ การ ท่ตี ัง้ ฉากกบั สนามแมเ่ หล็ก
ได้
สนามแมเ่ หล็ก รวมท้งั เคลอ่ื นทเ่ี มื่อประจุ

อธบิ ายแรงระหว่างเส้นลวด เคล่อื นท่ีตงั้ ฉากกบั

ตัวนำคขู่ นานท่มี ี สนามแมเ่ หลก็ รวมทง้ั

กระแสไฟฟา้ ผ่าน อธิบายแรงระหวา่ งเสน้

ลวด ตวั นำคูข่ นานทมี่ ี

กระแสไฟฟ้าผา่ นได้

3. อธิบายหลกั การทำงาน 1. อธิบายหลกั การ 1. คำนวณ ปริมาณต่างๆ 1. สนใจใฝร่ ใู้ น
ที่เกยี่ วขอ้ งได้ การศึกษา และ
ของแกลแวนอมิเตอร์ และ ทำงานของแกลแวนอ 2. ใชก้ ระบวนการสบื สามารถทำงาน
เสาะหาความรใู้ น ร่วมกับผู้อนื่ ได้อยา่ ง
มอเตอรไ์ ฟฟ้ากระแสตรง มเิ ตอร์ และมอเตอร์ การศึกษาได้ สร้างสรรค์

รวมทง้ั คำนวณ ปรมิ าณต่างๆ ไฟฟ้ากระแสตรงได้

ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

4. สงั เกต และอธิบายการ 1. อธบิ ายการเกดิ อเี อ็ม 1. คำนวณปริมาณตา่ งๆ ที่ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 5
เกิดอเี อ็มเอฟเหนีย่ วนำ กฎ เอฟเหนีย่ วนำ กฎการ
การเหนยี่ วนำของฟาราเดย์ เหนี่ยวนำของฟาราเดย์ เก่ียวข้องได้ การศกึ ษา และ
และคำนวณปรมิ าณต่างๆ ที่ ได้
เกี่ยวข้อง รวมทัง้ นำความรู้ 2. นำความรูเ้ รือ่ งอีเอม็ 2. ใช้กระบวนการสืบ สามารถทำงาน
เรอื่ งอีเอ็มเอฟเหนีย่ วนำไป เอฟเหนีย่ วนำไปอธบิ าย
อธบิ ายการทำงาน ของ การทำงาน ของ เสาะหาความรใู้ น ร่วมกบั ผูอ้ ื่นได้อย่าง
เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ได้
การศกึ ษาได้ สรา้ งสรรค์

5. อธบิ าย และคำนวณความ 1. อธิบายความต่างศักย์ 1. คำนวณความตา่ งศกั ย์ 1. สนใจใฝร่ ใู้ น 5
ตา่ งศกั ย์อาร์เอม็ เอส และ อาร์เอ็มเอส และ อารเ์ อ็มเอส และ การศึกษา และ 5
กระแสไฟฟา้ อาร์เอม็ เอส กระแสไฟฟ้าอาร์เอม็ เอส กระแสไฟฟ้าอาร์เอม็ เอส สามารถทำงาน
ได้ ได้ ร่วมกับผู้อนื่ ไดอ้ ยา่ ง
สร้างสรรค์
6. อธบิ ายหลักการทำงาน 1. อธิบายหลกั การ 1. คำนวณ ปรมิ าณต่างๆ 1. สนใจใฝ่รูใ้ น
และประโยชนข์ องเคร่ือง ทำงานและประโยชน์ ทเี่ ก่ียวข้องกับไฟฟา้ การศกึ ษา และ
กำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 ของเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ กระแสสลบั 3 เฟส การ สามารถทำงาน
เฟส การแปลงอีเอม็ เอฟของ กระแสสลบั 3 เฟส การ แปลงอีเอ็มเอฟของหม้อ รว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ ง
แปลงได้ สร้างสรรค์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 168

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
ชั่วโมง
(K) (P) ประสงค์ (A)
5
หมอ้ แปลง และคำนวณ แปลงอีเอม็ เอฟของหม้อ
5
ปรมิ าณตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วข้อง แปลงได้ 5

7. อธบิ ายการเกิดและ 1. อธบิ ายการเกดิ และ 1. ใช้กระบวนการสืบ 1. สนใจใฝร่ ใู้ น 5

ลกั ษณะเฉพาะของ คลืน่ ลักษณะเฉพาะของ คล่นื เสาะหาความรู้ใน การศึกษา และ

แม่เหล็กไฟฟา้ แสงไม่โพลา แมเ่ หล็กไฟฟา้ แสงไม่โพ การศกึ ษาได้ สามารถทำงาน

ไรส์ แสงโพลาไรส์เชงิ เส้น ลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชงิ ร่วมกับผูอ้ น่ื ไดอ้ ยา่ ง

และแผน่ โพลารอยด์ รวมทง้ั เส้น และแผน่ โพลา สรา้ งสรรค์

อธบิ ายการนำคลื่น รอยด์ได้

แม่เหลก็ ไฟฟ้าในชว่ งความถี่ 2. อธิบายการนำคลน่ื

ตา่ งๆ ไปประยกุ ต์ใช้และ แม่เหลก็ ไฟฟ้าในช่วง

หลกั การทำงานของอุปกรณ์ ความถีต่ า่ งๆ ไป

ที่เกยี่ วขอ้ ง ประยกุ ต์ใช้และหลักการ

ทำงานของอุปกรณ์ท่ี

เกย่ี วขอ้ งได้

8. สืบค้น และอธิบายการ 1. อธบิ ายการส่อื สาร 1. สบื คน้ คลน่ื 1. สนใจใฝ่รู้ใน

สื่อสารโดยอาศัยคล่นื โดยอาศยั คลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าในการ การศกึ ษา และ

แม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผา่ น แม่เหล็กไฟฟา้ ในการ สง่ ผ่านสารสนเทศได้ สามารถทำงาน

สารสนเทศ และเปรยี บเทยี บ สง่ ผ่านสารสนเทศได้ 2. เปรยี บเทียบการสอ่ื สาร ร่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ ง

การสื่อสารด้วยสญั ญาณแอ ด้วยสญั ญาณแอนะลอ็ ก สร้างสรรค์

นะล็อกกับสญั ญาณดจิ ทิ ลั กับสัญญาณดจิ ิทัลได้

9. อธิบาย และคำนวณความ 1. อธบิ ายความรอ้ นที่ 1. คำนวณความรอ้ นทท่ี ำ 1. สนใจใฝร่ ใู้ น

ร้อนทีท่ ำให้สสารเปลี่ยน ทำใหส้ สารเปลยี่ น ใหส้ สารเปลีย่ นอณุ หภูมิ การศกึ ษา และ

อุณหภูมิ ความรอ้ นท่ที ำให้ อณุ หภูมิ ความร้อนทท่ี ำ ความร้อนท่ีทำให้สสาร สามารถทำงาน

สสารเปลี่ยนสถานะ และ ใหส้ สารเปล่ียนสถานะ เปลยี่ นสถานะ และความ รว่ มกับผอู้ ื่นได้อย่าง

ความรอ้ นทีเ่ กิดจากการถ่าย ได้ ร้อนทเี่ กิดจากการถา่ ยโอน สรา้ งสรรค์

โอนตามกฎการอนุรกั ษ์ 2. อธิบายความรอ้ นที่ ตามกฎการอนรุ ักษ์

พลงั งาน เกิดจากการถ่ายโอนตาม พลังงานได้

กฎการอนุรกั ษพ์ ลงั งาน

ได้

10. อธิบายกฎของแก๊สอุดม 1. อธบิ ายกฎของแกส๊ 1. คำนวณปรมิ าณตา่ งๆ ท่ี 1. สนใจใฝ่รู้ใน

คตแิ ละคำนวณปรมิ าณต่างๆ อดุ มคตไิ ด้ เกี่ยวขอ้ งกบั กฎของแก๊ส การศกึ ษา และ

ท่ีเกยี่ วขอ้ ง อุดมคตไิ ด้ สามารถทำงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 169

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
(K) ชั่วโมง
(P) ประสงค์ (A)
4
รว่ มกบั ผู้อ่นื ได้อย่าง

สร้างสรรค์

11. อธบิ ายแบบจำลองของ 1. อธบิ ายแบบจำลอง 1. คำนวณปริมาณตา่ งๆ ท่ี 1. สนใจใฝร่ ู้ใน
แกส๊ อดุ มคติ ทฤษฎีจลน์ ของ ของแก๊สอดุ มคติ ทฤษฎี
แก๊ส และอัตราเรว็ อารเ์ อม็ จลน์ ของแกส๊ และ เก่ียวขอ้ งได้ การศึกษา และ
เอสของโมเลกุล ของแกส๊ อัตราเรว็ อาร์เอม็ เอสข
รวมท้งั คำนวณปริมาณต่างๆ องโมเลกลุ ของแกส๊ ได้ สามารถทำงาน
ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
ร่วมกับผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ ง

สร้างสรรค์

12. อธิบาย และคำนวณงาน 1. อธบิ ายงานทที่ ำโดย 1. คำนวณงานทีท่ ำโดย 1. สนใจใฝ่ร้ใู น 3
3
ทท่ี ำโดยแก๊สในภาชนะปดิ แกส๊ ในภาชนะปดิ โดย แกส๊ ในภาชนะปดิ โดย การศึกษา และ

โดยความดันคงตัว และ ความดันคงตัว ความดนั คงตัว และ สามารถทำงาน

อธิบายความสมั พันธ์ 2. อธบิ ายความสัมพนั ธ์ อธิบายความสมั พนั ธ์ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง

ระหว่างความร้อน พลงั งาน ระหวา่ งความร้อน ระหวา่ งความร้อน สร้างสรรค์

ภายในระบบ และงาน พลังงานภายในระบบ พลงั งานภายในระบบ และ

รวมท้งั คำนวณปรมิ าณตา่ งๆ และงานได้ งานได้

ที่เกี่ยวข้อง และนำความรู้ 2. นำความรู้เร่อื งพลงั งาน

เรื่องพลังงานภายในระบบไป ภายในระบบไปอธิบาย

อธิบายหลักการทำงานของ หลกั การทำงานของ

เครือ่ งใช้ในชีวติ ประจำวนั เครอื่ งใช้ในชีวิตประจำวัน

ได้

13. อธิบายสภาพยดื หยุ่น 1. อธิบายสภาพยืดหยุ่น 1. ทดลองความเค้น 1. สนใจใฝร่ ูใ้ น

และลักษณะการยดื และหด และลักษณะการยดื และ ตามยาว ความเครยี ด การศึกษา และ

ตัวของวัสดุท่ีเปน็ แท่ง เมอ่ื ถกู หดตวั ของวสั ดทุ ี่เปน็ แท่ง ตามยาว และมอดลุ ัสของ สามารถทำงาน

กระทำด้วยแรงคา่ ตา่ งๆ เมือ่ ถกู กระทำด้วยแรง ยัง รว่ มกับผอู้ ่นื ได้อย่าง

รวมทงั้ ทดลอง อธิบายและ คา่ ตา่ งๆได้ 2. คำนวณความเค้น สรา้ งสรรค์

คำนวณความเค้นตามยาว ตามยาว ความเครยี ด

ความเครยี ดตามยาว และมอ ตามยาว และมอดลุ สั ของ

ดุลัสของยัง และนำความรู้ ยงั

เรอ่ื ง สภาพยดื หยุน่ ไปใช้ใน

ชวี ิตประจำวนั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 170

รายวิชาเพมิ่ เติม คำอธิบายรายวิชา
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 รหสั วชิ า ว30205 ฟิสิกส์เพ่ิมเติม 5 / Physics 5

กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์
จำนวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หนว่ ยกติ

ศกึ ษาแม่เหล็กและสนามแม่เหล็ก กระแสไฟฟ้าทำใหเ้ กิดสนามแมเ่ หล็ก แรงกระทำต่อลวด
ตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและอยู่ในสนามแม่เหล็ก แรงระหว่างลวดตัวนำสองเส้นที่ขนานกันและมี
กระแสไฟฟ้าผ่าน แรงกระทำต่อขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและอยู่ในสนามแม่เหล็ก การประยุกต์
ผลของสนามแม่เหล็กต่อตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำและแรงเคลื่อนไฟฟ้า
เหนี่ยวนำ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนีย่ วนำในมอเตอร์และเครื่องกำเนิดไฟฟ้า หม้อแปลง ค่าของปริมาณ
ที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้ากระแสสลับ การนำความรู้ทางแม่เหล็กไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์ ค่าของปริมาณท่ี
เกี่ยวข้องกับไฟฟ้ากระแสสลับ การนำความรู้ทางแม่เหล็กไฟฟ้าไปใช้ประโยชน์ ทฤษฎีคล่ืน
แม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการทดลองของเฮิรตซ์ การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
สเปกตัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ความร้อน แก๊สอุดมคติ ทฤษฎี
จลน์ของแก๊ส พลังงานภายในระบบ การประยุกต์ สภาพสมดุล สมดุลต่อการเคลื่อนที่ สมดุลต่อ
การหมุน ศูนย์กลางมวลและศูนย์ถ่วง สมดุลของวัตถุ เสถียรภาพของสมดุล การนำหลักสมดุลไป
ประยกุ ต์ และสภาพยดื หยุน่

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารสิ่งท่เี รยี นรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และค่านยิ มที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. สังเกต และอธิบายเสน้ สนามแมเ่ หล็ก อธิบาย และคำนวณฟลกั ซแ์ มเ่ หล็กในบรเิ วณ
ทีก่ ำหนด รวมทง้ั สังเกต และอธิบายสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟา้ ในลวดตวั นำเส้นตรง และโซ
เลนอยด์
2. อธบิ าย และคำนวณแรงแม่เหลก็ ที่กระทำต่อ อนภุ าคท่ีมีประจุไฟฟา้ เคลื่อนที่
ในสนามแม่เหล็ก แรงแม่เหล็กที่กระทำต่อเส้นลวดที่มีกระแสไฟฟ้า ผ่านและวางในสนามแม่เหล็ก
รศั มคี วามโค้งของ การเคลอ่ื นทีเ่ มอ่ื ประจเุ คลื่อนท่ีตั้งฉากกับสนามแม่เหล็ก รวมท้ังอธบิ ายแรงระหว่าง
เส้นลวด ตัวนำคูข่ นานท่ีมกี ระแสไฟฟา้ ผ่าน
3. อธบิ ายหลักการทำงานของแกลแวนอมเิ ตอร์ และมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง รวมท้งั คำนวณ ปริมาณ
ต่างๆ ที่เกย่ี วข้อง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 171

4. สังเกต และอธิบายการเกิดอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำ กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์ และ คำนวณ
ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งนำความรู้เรื่องอีเอ็มเอฟเหนี่ยวนำไปอธิบายการทำงาน ของ
เครือ่ งใช้ไฟฟา้
5. อธิบาย และคำนวณความต่างศักยอ์ ารเ์ อ็มเอส และกระแสไฟฟา้ อารเ์ อม็ เอส
6. อธิบายหลักการทำงานและประโยชน์ของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 3 เฟส การแปลงอีเอ็ม
เอฟของหมอ้ แปลง และคำนวณ ปรมิ าณตา่ งๆ ท่เี ก่ยี วขอ้ ง
7. อธิบายการเกิดและลักษณะเฉพาะของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แสงไม่โพลาไรส์ แสงโพลาไรส์เชิงเส้น
และแผ่นโพลารอยด์ รวมทั้งอธบิ ายการนำคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟ้า ในช่วงความถี่ต่างๆ ไปประยุกต์ใช้และ
หลักการทำงานของอุปกรณ์ทเ่ี ก่ียวข้อง
8. สืบค้น และอธิบายการสื่อสารโดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งผ่านสารสนเทศ และ
เปรียบเทียบการสื่อสารด้วยสญั ญาณแอนะล็อกกับสัญญาณดิจิทลั
9. อธบิ าย และคำนวณความรอ้ นทที่ ำให้สสารเปล่ียนอณุ หภูมิ ความร้อนทที่ ำใหส้ สาร เปลยี่ นสถานะ
และความร้อนท่เี กดิ จากการถา่ ยโอนตามกฎการอนุรักษ์พลังงาน
10. อธิบายกฎของแกส๊ อดุ มคติและคำนวณปรมิ าณตา่ งๆ ทเี่ ก่ยี วข้อง
11. อธิบายแบบจำลองของแก๊สอุดมคติ ทฤษฎีจลน์ ของแก๊ส และอัตราเร็วอาร์เอ็มเอสของโมเลกุล
ของแกส๊ รวมทั้งคำนวณปรมิ าณต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
12. อธบิ าย และคำนวณงานที่ทำโดยแก๊สในภาชนะปิด โดยความดันคงตวั และ อธบิ ายความสมั พันธ์
ระหว่างความร้อน พลังงานภายในระบบ และงาน รวมทั้งคำนวณ ปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และนำ
ความรเู้ รอื่ งพลังงานภายในระบบ ไป อธิบายหลกั การทำงานของเคร่อื งใช้ในชวี ิต ประจำวนั
13. อธิบายสภาพยดื หยุ่นและลักษณะการยืดและหดตัวของวัสดุที่เปน็ แทง่ เมื่อถู กระทำด้วยแรงค่า
ต่างๆ รวมทั้งทดลอง อธิบายและคำนวณความเค้น ตามยาว ความเครียดตามยาว และมอดลุ ัสของยัง
และนำความรเู้ รอื่ ง สภาพยดื หย่นุ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

รวมท้ังหมด 13 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 172

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวิชา ว30205 ฟิสิกส์เพิ่มเติม 5 / Physics 5

รายวชิ าเพม่ิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกิต

ลำดับ ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

1 ไฟฟา้ และ 1, 2, 3, 4, 5, 6 - แม่เหล็กและ 15 15

แม่เหล็กไฟฟา้ สนามแม่เหลก็

- กระแสไฟฟ้าทำให้เกดิ

สนามแมเ่ หล็ก

- แรงกระทำต่อลวดตวั นำ

ท่มี กี ระแสไฟฟ้าผ่านและ

อยู่ในสนามแม่เหลก็

- แรงระหวา่ งลวดตวั นำ

สองเสน้ ทข่ี นานกนั และมี

กระแสไฟฟา้ ผ่าน

- แรงกระทำต่อขดลวดท่ี

มีกระแสไฟฟ้าผา่ นและ

อยใู่ นสนามแม่เหล็ก

- การประยกุ ต์ผลของ

สนามแม่เหล็กต่อตัวนำท่ี

มีกระแสไฟฟ้าผ่าน

- กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

และแรงเคล่ือนไฟฟา้

เหนย่ี วนำ

- แรงเคล่ือนไฟฟ้า

เหน่ยี วนำในมอเตอร์และ

เครือ่ งกำเนดิ ไฟฟ้า

- หม้อแปลง

- ค่าของปริมาณท่ี

เก่ยี วข้องกบั ไฟฟา้

กระแสสลบั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 173

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

- การนำความรูท้ าง 15 15

แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ ไปใช้ 20
15 15
ประโยชน์ 15 15

2 คลื่น 7, 8 - ทฤษฎีคล่ืน

แม่เหล็กไฟฟา้ แม่เหลก็ ไฟฟ้าของแมกซ์

เวลล์และการทดลองของ

เฮิรตซ์

- การแผค่ ลนื่

แม่เหล็กไฟฟา้ จาก

สายอากาศ

- สเปกตัมคล่นื

แม่เหล็กไฟฟา้

- โพลาไรเซชันของคล่ืน

แมเ่ หลก็ ไฟฟา้

สอบกลางภาค

3 ความร้อน 9, 10, 11, 12 - ความร้อน

- แกส๊ อดุ มคติ

- ทฤษฎจี ลนข์ องแก๊ส

- พลังงานภายในระบบ

- การประยกุ ต์

4 สภาพยดื หยนุ่ 13 - สภาพสมดลุ

- สมดลุ ตอ่ การเคล่ือนท่ี

- สมดลุ ต่อการหมุน

- ศนู ยก์ ลางมวลและศูนย์

ถ่วง

- สมดลุ ของวัตถุ

- เสถยี รภาพของสมดลุ

- การนำหลกั สมดลุ ไป

ประยุกต์

- สภาพยืดหยุน่

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 174

ลำดบั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู/้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน
สอบปลายภาค
รวมตลอดภาคเรียน 20
60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 175

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหัสวชิ า ว30206 รายวิชาฟิสกิ ส์เพ่ิมเติม 6 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 ภาคเรียนท่ี 2

สาระฟิสกิ ส์
ข้อ 4. เข้าใจความสัมพันธข์ องความร้อนกับการเปลี่ยนอุณหภูมแิ ละสถานะของสสาร สภาพ
ยืดหยนุ่ ของวสั ดแุ ละมอดลุ สั ของยัง ความดนั ในของไหล แรงพยงุ และหลกั ของอารค์ ิมีดสิ ความตึงผิว
และแรงหนืดของของเหลว ของไหลอุดมคติ และ สมการแบร์นูลลี กฎของแก๊ส ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
อุดมคติและพลังงานในระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กทริก ทวิภาวะของคล่ืน
และ อนุภาค กัมมันตภาพรังสี แรงนิวเคลียร์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลังงานนิวเคลียร์ ฟิสิกส์อนุภาค
รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลกั ษณะอัน จำนวน

1. อธบิ าย และคำนวณ (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชวั่ โมง
ความดันเกจ ความดัน
สัมบูรณ์ และความดัน 1. อธบิ ายความดัน 1. ใชก้ ระบวนการสบื 1. สนใจใฝ่ร้ใู น 5
บรรยากาศ รวมทง้ั
อธบิ ายหลกั การทำงาน เกจ ความดนั สัมบูรณ์ เสาะหาความรู้ใน การศึกษา และ
ของแมนอมเิ ตอร์
บารอมเิ ตอร์ และเครื่อง และความดัน การศกึ ษาได้ สามารถทำงาน
อัดไฮดรอลิก
บรรยากาศได้ 2. คำนวณความดนั ร่วมกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ ง
2. ทดลอง อธิบาย และ
คำนวณขนาดแรงพยุง 2. อธิบายหลกั การ เกจ ความดัน สรา้ งสรรค์
จากของไหล
ทำงานของแมนอ สมั บรู ณ์ และความ
3. ทดลอง อธบิ าย และ
คำนวณความตงึ ผิวของ มเิ ตอร์ บารอมเิ ตอร์ ดันบรรยากาศได้
ของเหลว รวมทง้ั สงั เกต
และเครื่องอัดไฮดรอ

ลิกได้

1. อธิบายแรงพยุง 1. ทดลองแรงพยงุ 1. สนใจใฝ่ร้ใู น 5

จากของไหลได้ จากของไหลได้ การศึกษา และ

2. คำนวณขนาดแรง สามารถทำงาน

พยงุ จากของไหลได้ รว่ มกับผู้อื่นไดอ้ ย่าง

สรา้ งสรรค์

1. อธบิ ายความตงึ ผิว 1. ทดลองเก่ยี วกับ 1. สนใจใฝร่ ้ใู น 5

ของ ของเหลว รวมทั้ง ความตงึ ผวิ ของ การศึกษา และ

สังเกตได้ ของเหลวได้ สามารถทำงาน

2. คำนวณความตึง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 176

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลักษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชว่ั โมง

และอธบิ ายแรงหนดื ของ 2. อธิบายแรงหนดื ผิวของ ของเหลวได้ รว่ มกบั ผอู้ น่ื ได้อย่าง

ของเหลว ของของเหลวได้ สร้างสรรค์

4. อธบิ ายสมบัติของของ 1. อธบิ ายสมบตั ิของ 1. คำนวณปรมิ าณ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 5

ไหลอดุ มคติ สมการ ของไหลอดุ มคติ ตา่ ง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง การศึกษา และ

ความต่อเน่ือง และ สมการความต่อเนื่อง 2. นำความรู้ สามารถทำงาน

สมการแบรน์ ูลลี รวมทงั้ และสมการแบรน์ ูลลี เก่ยี วกับสมการความ ร่วมกับผอู้ ืน่ ไดอ้ ยา่ ง

คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ท่ี ได้ ต่อเนอื่ งและสมการ สรา้ งสรรค์

เกยี่ วขอ้ ง และนำความรู้ แบรน์ ลู ลี ไปอธบิ าย

เกยี่ วกบั สมการความ หลักการทำงานของ

ต่อเนอ่ื งและสมการแบร์ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ได้

นลู ลี ไปอธิบายหลักการ

ทำงานของอปุ กรณต์ า่ ง



5. อธิบายสมมติฐานของ 1. อธบิ ายสมมตฐิ าน 1. คำนวณปรมิ าณ 1. สนใจใฝ่รใู้ น 5

พลงั ค์ ทฤษฎีอะตอม ของพลงั ค์ ทฤษฎี ตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวข้องได้ การศึกษา และ

ของโบร์ และการเกิด อะตอม ของโบร์ และ สามารถทำงาน

เส้นสเปกตรัมของ การเกดิ เสน้ สเปกตรัม รว่ มกบั ผู้อนื่ ไดอ้ ย่าง

อะตอมไฮโดรเจน ของอะตอมไฮโดรเจน สร้างสรรค์

รวมท้ังคำนวณปริมาณ ได้

ตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง

6. อธิบาย 1. อธิบาย 1. คำนวณ 1. สนใจใฝร่ ้ใู น 5

ปรากฏการณโ์ ฟโตอิ ปรากฏการณโ์ ฟโตอิ พลงั งานโฟตอน การศึกษา และ

เลก็ ทรกิ และ คำนวณ เล็กทรกิ ได้ พลังงานจลน์ของ โฟ สามารถทำงาน

พลงั งานโฟตอน โตอิเล็กตรอนและ รว่ มกับผู้อน่ื ได้อย่าง

พลังงานจลน์ของ โฟโต ฟังกช์ ันงานของโลหะ สร้างสรรค์

อเิ ลก็ ตรอนและฟงั กช์ นั ได้

งานของโลหะ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 177

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชวั่ โมง

7. อธิบายทวภิ าวะของ 1. อธบิ ายทวภิ าวะ 1. คำนวณความยาว 1. สนใจใฝร่ ูใ้ น 5

คลื่นและอนุภาค รวมท้ัง ของคลนื่ และอนุภาค คลน่ื เดอบรอยล์ได้ การศึกษา และ

อธบิ าย และคำนวณ ได้ สามารถทำงาน

ความยาวคลื่นเดอบ ร่วมกับผู้อื่นไดอ้ ยา่ ง

รอยล์ สร้างสรรค์

8. อธิบาย 1. อธิบาย 1. ใช้กระบวนการสืบ 1. สนใจใฝร่ ใู้ น 5
กมั มนั ตภาพรงั สแี ละ
ความแตกตา่ งของรังสี กัมมันตภาพรงั สแี ละ เสาะหาความรู้ใน การศึกษา และ
แอลฟา บตี า และ
แกมมา ความแตกต่างของรงั สี การศึกษาได้ สามารถทำงาน

แอลฟา บีตา และ รว่ มกบั ผู้อื่นได้อยา่ ง

แกมมาได้ สรา้ งสรรค์

9. อธิบาย และ 1. อธิบายนิวเคลียส 1. คำนวณจำนวน 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 5
คำนวณกัมมันตภาพของ กัมมนั ตรงั สีได้ นิวเคลียส การศกึ ษา และ 4
นิวเคลียสกัมมนั ตรงั สี 2. อธิบายการสลาย กัมมนั ตภาพรงั สี ท่ี สามารถทำงาน
รวมทั้งทดลอง อธบิ าย ของนิสเคลียส และ เหลือจากการสลาย ร่วมกับผอู้ น่ื ได้อยา่ ง
และคำนวณจำนวน ครึ่งชีวิตได้ และครง่ึ ชีวิตได้ สร้างสรรค์
นิวเคลยี ส
กมั มนั ตภาพรังสี ท่เี หลอื 1. อธิบายแรง 1. คำนวณปรมิ าณ 1. สนใจใฝ่รู้ใน
จากการสลาย และคร่งึ นิวเคลียร์ เสถียรภาพ ตา่ ง ๆ ทเี่ กย่ี วข้องกับ การศกึ ษา และ
ชวี ติ ของนิวเคลยี ส และ แรงนิวเคลยี ร์ได้ สามารถทำงาน
10. อธิบายแรง พลงั งานยึดเหน่ียวได้
นิวเคลียร์ เสถียรภาพ รว่ มกับผอู้ น่ื ไดอ้ ย่าง
ของนิวเคลียส และ สรา้ งสรรค์
พลงั งานยึดเหนยี่ ว
รวมทง้ั คำนวณปริมาณ
ตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วข้อง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 178

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชั่วโมง

11. อธิบายปฏิกริ ิยา 1. อธบิ ายปฏิกิรยิ า 1. คำนวณพลังงาน 1. สนใจใฝ่ร้ใู น 4

นิวเคลยี ร์ ฟิชชนั และฟวิ นวิ เคลยี ร์ ฟชิ ชนั นิวเคลียร์ได้ การศึกษา และ

ชนั รวมทัง้ คำนวณ และฟิวชนั ได้ สามารถทำงาน

พลังงานนิวเคลียร์ ร่วมกบั ผู้อน่ื ได้อย่าง

สรา้ งสรรค์

12. อธิบายประโยชน์ 1. อธบิ ายประโยชน์ 1. ใชก้ ระบวนการสบื 1. สนใจใฝร่ ใู้ น 4

ของพลังงานนิวเคลียร์ ของพลงั งานนิวเคลียร์ เสาะหาความรู้ใน การศกึ ษา และ

และ รงั สี รวมทั้ง และรังสี ได้ การศึกษาได้ สามารถทำงาน

อนั ตรายและการป้องกัน 2. บอกอันตรายและ รว่ มกับผู้อน่ื ไดอ้ ย่าง

รังสใี นดา้ นต่าง ๆ การปอ้ งกนั รงั สีใน สรา้ งสรรค์

ด้านตา่ ง ๆ ได้

13. อธบิ ายการ 1. อธบิ ายการ 1. ใช้กระบวนการสืบ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 3
ค้นควา้ วิจยั ด้านฟิสิกส์
อนภุ าค แบบจำลอง คน้ คว้าวิจัยด้านฟิสิกส์ เสาะหาความรูใ้ น การศกึ ษา และ
มาตรฐาน และการใช้
ประโยชน์ จากการ อนภุ าค แบบจำลอง การศกึ ษาได้ สามารถทำงาน
ค้นควา้ วจิ ยั ดา้ นฟิสิกส์
อนุภาคในด้านต่าง ๆ มาตรฐานได้ รว่ มกับผ้อู ่ืนได้อย่าง

2. อธบิ ายการใช้ สรา้ งสรรค์

ประโยชนจ์ ากการ

คน้ คว้าวิจยั ด้านฟิสกิ ส์

อนภุ าคในด้านต่าง ๆ

ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 179

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30206 ฟิสกิ สเ์ พิ่มเตมิ 6 / Physics 6

รายวิชาเพ่ิมเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกิต

ศึกษาความหนาแน่น ความดันในของเหลว กฎของพาสคัล ความตึงผิว ความหนืด
พลศาสตร์ของไหล อะตอมและการค้นพบอิเล็กตรอน แบบจำลองอะตอม สเปกตัมของอะตอม
ทฤษฎีอะตอมของโบร์ ทวิภาวะของคลื่น กลสาสตร์ควอนตัม การค้นพบกัมมันตภาพรังสี การ
เปลี่ยนแปลงสภาพนิวเคลียส การสลายตัวของนิวเคลียสกัมมันตรังสี ไอโซโทป เสถียรภาพของ
นิวเคลียส ปฏิกิริยานิวเคลียร์ ประโยชน์ของกัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์ และรังสีใน
ธรรมชาติ อนั ตรายจากรังสีและการป้องกัน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ
สืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกดิ ความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่เี รยี นรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิต-วิทยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และค่านิยมทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1.อธิบาย และคำนวณความดันเกจ ความดนั สัมบรู ณ์ และความดันบรรยากาศ รวมทง้ั อธบิ าย
หลักการทำงานของแมนอมเิ ตอร์ บารอมิเตอร์ และเคร่ืองอัดไฮดรอลิก
2. ทดลอง อธิบาย และคำนวณขนาดแรงพยงุ จากของไหล
3. ทดลอง อธบิ าย และคำนวณความตึงผิวของ ของเหลว รวมทัง้ สงั เกตและอธิบาย แรงหนดื ของ
ของเหลว
4. อธิบายสมบัตขิ องของไหลอุดมคติ สมการความต่อเนื่อง และสมการแบรน์ ูลลี รวมทั้ง คำนวณ
ปรมิ าณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง และนำความรู้ เก่ียวกบั สมการความต่อเน่ือง และสมการแบร์นลู ลี ไป
อธิบายหลกั การทำงานของอุปกรณต์ า่ ง ๆ
5. อธิบายสมมติฐานของพลังค์ ทฤษฎีอะตอม ของโบร์ และการเกิดเส้นสเปกตรัม ของอะตอม
ไฮโดรเจน รวมท้ังคำนวณปริมาณ ตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง
6. อธบิ ายปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทริกและ คำนวณพลงั งานโฟตอน พลังงานจลนข์ องโฟโตอิเลก็ ตรอน
และฟังกช์ นั งานของโลหะ
7. อธบิ ายทวภิ าวะของคลืน่ และอนภุ าค รวมทัง้ อธิบาย และคำนวณความยาวคลืน่ เดอบรอยล์
8. อธิบายกัมมันตภาพรังสแี ละความแตกต่างของรังสแี อลฟา บตี า และแกมมา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 180

9. อธิย และบาคำนวณกัมมันตภาพของ นิวเคลียสกัมมันตรังสี รวมทั้งทดลอง อธิบาย และคำนวณ
จำนวนนวิ เคลยี สกมั มันตภาพรังสี ทีเ่ หลือจากการสลาย และครง่ึ ชีวิต
10. อธิบายแรงนิวเคลียร์ เสถียรภาพของนิวเคลียส และพลังงานยึดเหนี่ยว รวมทั้ง คำนวณปริมาณ
ตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ียวข้อง
11. อธบิ ายปฏิกริ ยิ านิวเคลยี ร์ ฟชิ ชันและฟวิ ชัน รวมทั้งคำนวณพลงั งานนวิ เคลยี ร์
12. อธิบายประโยชน์ของพลังงานนิวเคลียร์ และ รงั สี รวมท้ังอันตรายและการป้องกันรังสี
ในดา้ นต่าง ๆ
13. อธิบายการค้นคว้าวิจัยด้านฟิสิกส์อนุภาค แบบจำลองมาตรฐาน และการใช้ประโยชน์ จากการ
คน้ คว้าวจิ ยั ด้านฟิสกิ ส์อนุภาคในด้านตา่ ง ๆ

รวมทัง้ หมด 13 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 181

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวชิ า ว30206 ฟิสิกส์เพิ่มเติม 6 / Physics 6

รายวิชาเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกิต

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
1 ของไหล
1, 2, 3, 4 - ความหนาแน่น 15 20
2 ฟิสกิ ส์
อะตอม - ความดนั ในของเหลว 15 20

3 ฟิสกิ ส์ - กฎของพาสคัล 30 20
นวิ เคลียร์ 20
- ความตงึ ผวิ

- ความหนดื

- พลศาสตรข์ องไหล

5, 6, 7 - อะตอมและการค้นพบ

อเิ ลก็ ตรอน

- แบบจำลองอะตอม

- สเปกตัมของอะตอม

- ทฤษฎีอะตอมของโบร์

- ทวิภาวะของคล่นื

- กลสาสตร์ควอนตัม

สอบกลางภาค

8, 9, 10, 11, 12, 13 - การคน้ พบ

กมั มันตภาพรงั สี

- การเปลยี่ นแปลงสภาพ

นิวเคลยี ส

- การสลายตวั ของ

นิวเคลยี สกัมมันตรังสี

- ไอโซโทป

- เสถยี รภาพของนิวเคลียส

- ปฏิกริ ิยานิวเคลียร์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 182

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นร้/ู สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

- ประโยชน์ของ

กัมมันตภาพรงั สแี ละ

พลังงานนิวเคลยี ร์

- รังสใี นธรรมชาติ อันตราย

จากรงั สแี ละการป้องกนั

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 183

รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศเพ่มิ เติม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 184

แบบวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหัสวิชา ว30261 รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ขอ้ 1. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณพี ิบัติภัย และผลต่อสิง่ มชี วี ติ และ
สง่ิ แวดล้อม รวมทั้งการศึกษาลำดับชัน้ หิน ทรพั ยากรธรณี แผนท่ี การนำไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชว่ั โมง

1. อธบิ ายการแบง่ ชัน้ 1. อธิบายการแบ่งชน้ั 1. สบื คน้ ขอ้ มูล 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 3

และสมบตั ิของโครงสรา้ ง โครงสรา้ งโลกโดยใช้ เกย่ี วกบั การศึกษา การศกึ ษา และ

โลก พรอ้ มยกตวั อย่าง ข้อมลู องคป์ ระกอบ โครงสร้างโลก สามารถทำงาน

ขอ้ มูลท่สี นับสนนุ ทางเคมี 2. สร้างแบบจำลอง รว่ มกบั ผู้อน่ื ไดอ้ ย่าง

2. อธบิ ายการแบ่งชั้น โครงสร้างโลกแบ่ง สร้างสรรค์

โครงสร้างโลกโดยใช้ ตามองค์ประกอบ

ขอ้ มูลคล่นื ไหว ทางเคมี

สะเทือน 3. สร้างแบบจำลอง

โครงสรา้ งโลกแบ่ง

ตามสมบตั ิเชิงกล

2. อธบิ ายหลกั ฐานทาง 1. อธิบายหลักการ 1. สืบค้นข้อมลู 1. สนใจใฝ่รใู้ น 3

ธรณีวิทยาทสี่ นบั สนุน และแนวคิด ของ เกี่ยวกบั การศกึ ษา การศึกษา และ

การเคล่ือนทีข่ องแผ่น ทฤษฎีทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั การเคล่อื นที่ของ สามารถทำงาน

ธรณี การเคลอื่ นของแผ่น แผน่ ธรณีได้ ร่วมกบั ผูอ้ นื่ ได้อยา่ ง

ธรณไี ด้ สร้างสรรค์

2. อธบิ ายหลักฐาน

ทางธรณีวิทยาทีแ่ สดง

วา่ แผ่นธรณีมีการ

เคล่อื นท่ีได้

3. ระบสุ าเหตแุ ละ 1. อธบิ ายรปู แบบการ 1. สบื คน้ ขอ้ มูล 1. สนใจใฝ่รใู้ น 3

อธบิ ายแนวรอยต่อของ เคล่ือนที่ของแผ่นธรณี เกี่ยวกบั ผลท่เี กิดจาก การศึกษา และ

แผ่นธรณีที่สมั พนั ธ์กับ สามารถทำงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 185

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน

การเคล่ือนทขี่ องแผ่น (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชัว่ โมง
ธรณี พร้อมยกตัวอยา่ ง
หลักฐานทางธรณวี ิทยา ทที่ ำใหเ้ กดิ ธรณี การเคล่ือนท่ีของ ร่วมกับผูอ้ ่ืนไดอ้ ยา่ ง
ที่พบ
สัณฐานแบบต่าง ๆ แผ่นธรณี สร้างสรรค์
4. วเิ คราะห์หลักฐาน
ทางธรณีวทิ ยาที่พบใน 2. อธบิ ายหลักฐาน
ปัจจุบัน และอธิบาย
ลาํ ดบั เหตุการณ์ทาง ทางธรณีวิทยาท่เี ป็น
ธรณวี ทิ ยาในอดีต
ผลมาจากการ

เคลื่อนที่ของแผ่นธรณี

1. อธิบายความหมาย 1. สืบคน้ ขอ้ มลู 1. สนใจใฝร่ ้ใู น 3

และหลักการลำดับชน้ั เกย่ี วกับการจำแนก การศกึ ษา และ

หิน หนว่ ยหนิ ในประเทศ สามารถทำงาน

2. อธิบายหลักการ ไทย ร่วมกับผู้อื่นไดอ้ ย่าง

และวธิ กี ารหาอายุทาง 2. สืบคน้ ขอ้ มลู สร้างสรรค์

ธรณีวทิ ยา เกย่ี วกบั ซากดึกดำ

3. อธบิ ายการนำ บรรพ์ และการหา

หลกั การลำดบั ชั้นหิน อายสุ ัมบรู ณ์

มาใช้ในการหาอายุ 3. สืบค้นข้อมลู

เปรียบเทียบ เก่ียวกบั เหตุการณ์

4. อธิบายหลักการ ทางธรณีวทิ ยาท่ี

และวธิ กี ารจดั ทำ สำคัญในชว่ งเวลา

มาตราธรณกี าล ทางธรณีวทิ ยา

5. อธิบายสาเหตุ 1. อธบิ ายสาเหตุ และ 1. สบื ค้นข้อมูลพน้ื ท่ี 1. สนใจใฝ่รูใ้ น 3

กระบวนการเกิดภูเขาไฟ กระบวนการเกดิ ภูเขา เสี่ยงภัยภูเขาไฟ การศึกษา และ

ระเบดิ และปัจจัยที่ทาํ ให้ ไฟระเบิดได้ ระเบดิ ได้ สามารถทำงาน

ความรุนแรงของการ 2. อธบิ ายปัจจัยท่ีทำ 2. ออกแบบและ รว่ มกับผอู้ ืน่ ได้อย่าง

ปะทุและรูปรา่ งของ ให้ความรนุ แรงของ นำเสนอแนวทางการ สร้างสรรค์

ภูเขาไฟต่างกันรวมท้งั การปะทแุ ละรูปรา่ ง เฝา้ ระวงั และการ

สืบค้นขอ้ มลู พ้ืนท่ีเสย่ี ง ของภเู ขาไฟแตกตา่ ง ปฏบิ ัติตนให้

ภยั ออกแบบและ กันได้ ปลอดภยั จากภูเขา

นําเสนอแนวทางการเฝา้ ไฟระเบิดได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 186

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถนิ่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชวั่ โมง

ระวังและการปฏิบัตติ น

ให้ปลอดภยั

6. อธิบายสาเหตุ 1. อธบิ ายสาเหตุ 1. สืบค้นข้อมลู พ้ืนที่ 1. สนใจใฝร่ ้ใู น 3

กระบวนการเกิด ขนาด กระบวนการเกิด เสี่ยงภยั แผ่นดนิ ไหว การศกึ ษา และ

และความรนุ แรง และ ขนาดและความ ได้ สามารถทำงาน

ผลจากแผน่ ดินไหว รุนแรง และผลจาก 2. ออกแบบและ รว่ มกบั ผู้อน่ื ได้อยา่ ง

รวมทั้งสืบค้นข้อมลู พ้ืนท่ี แผน่ ดินไหวได้ นำเสนอแนวทางการ สร้างสรรค์

เสี่ยงภัย ออกแบบและ เฝา้ ระวัง และการ

นําเสนอแนวทางการเฝา้ ปฏิบัติตนให้

ระวังและการปฏบิ ัตติ น ปลอดภยั จาก

ให้ปลอดภัย แผ่นดนิ ไหวได้

7. อธิบายสาเหตุ 1. อธบิ ายสาเหตุ 1. สืบค้นข้อมลู พืน้ ที่ 1. สนใจใฝ่ร้ใู น 2

กระบวนการเกิด และผล กระบวนการเกิดและ เสีย่ งภัยสึนามิได้ การศึกษา และ

จากสนึ ามิ รวมทงั้ สบื คน้ ผลจากสึนามิได้ 2. ออกแบบและ สามารถทำงาน

ข้อมูลพน้ื ท่ีเส่ยี งภยั นำเสนอแนวทางการ รว่ มกับผอู้ ืน่ ได้อยา่ ง

ออกแบบและนาํ เสนอ เฝา้ ระวงั และการ สรา้ งสรรค์

แนวทางการเฝา้ ระวงั ปฏบิ ตั ติ นให้

และการปฏิบตั ิตนให้ ปลอดภยั จากสนึ า

ปลอดภัย มิได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 187

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ว30261 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 / Earth Astronomy and Space 1

รายวิชาเพิม่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 20 ชัว่ โมง 0.5 หน่วยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับการแบ่งชั้นและสมบัติของโครงสร้างโลก หลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนับสนุน
การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณี ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณตี ามทฤษฎีธรณีแปรสัณฐาน การลําดับ
ชั้นหินและธรณีประวัติ หลักฐานทางธรณีวิทยา การหา อายุเปรียบเทียบ อายุสัมบูรณ์ มาตราธรณี
กาล สาเหตุและกระบวนการเกิดภูเขาไฟระเบดิ แผ่นดินไหว สนึ ามิ การทาํ ความเข้าใจ ธรรมชาติของ
ธรณพี บิ ัติภยั เพอื่ เตรยี มพรอ้ มรบั สถานการณ์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สงั เกต การวิเคราะห์ การ อภิปราย การอธิบายและการสรปุ ผลเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคดิ และความ
เข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนําความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง
ตลอดจนมจี ติ วิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธบิ ายการแบ่งชนั้ และสมบตั ิของโครงสรา้ งโลก พร้อมยกตวั อย่างขอ้ มลู ท่ีสนับสนุน
2. อธบิ ายหลักฐานทางธรณีวิทยาที่สนบั สนนุ การเคล่อื นท่ีของแผน่ ธรณี
3. ระบุสาเหตุและอธบิ ายแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณที ่ีสมั พันธก์ บั การเคล่ือนทีข่ องแผ่นธรณี

พรอ้ มยกตวั อย่างหลักฐานทางธรณีวิทยาทพี่ บ
4. วิเคราะห์หลกั ฐานทางธรณีวิทยาท่พี บในปจั จุบนั และอธิบายลาํ ดับเหตุการณ์ทาง

ธรณีวทิ ยาในอดตี
5. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกดิ ภูเขาไฟระเบิดและปัจจยั ทีท่ าํ ใหค้ วามรนุ แรงของการปะทุ

และรูปรา่ งของภูเขาไฟตา่ งกันรวมท้ังสบื คน้ ข้อมูลพนื้ ท่ีเส่ยี งภยั ออกแบบและนําเสนอแนวทางการเฝ้า
ระวงั และการปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัย

6. อธิบายสาเหตุ กระบวนการเกิด ขนาดและความรุนแรง และผลจากแผ่นดินไหว รวมท้งั
สืบคน้ ขอ้ มลู พ้นื ทเี่ สี่ยงภัย ออกแบบและนําเสนอแนวทางการเฝ้าระวังและการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภัย

7. อธบิ ายสาเหตุ กระบวนการเกิด และผลจากสนึ ามิ รวมทัง้ สบื ค้นข้อมูลพ้ืนที่เส่ียงภยั
ออกแบบและนําเสนอแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบตั ิตนให้ปลอดภัย

รวม 7 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 188

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวิชา ว30261 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 1 / Earth Astronomy and Space 1

รายวิชาเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน 20 ชัว่ โมง 0.5 หนว่ ยกติ

ลำดับ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การ เรยี นร้/ู (ชว่ั โมง) คะแนน
เรยี นรู้ ปัจจบุ นั สามารถแบง่
ผลการเรยี นรู้ โครงสรา้ งโลกได้เปน็ 2 แบบ 5 15
1 โครงสร้าง 1. อธบิ ายการ คอื โครงสรา้ งโลกตาม
แบ่งชนั้ และสมบตั ิ องค์ประกอบทางเคมี แบง่ 5 15
โลก ของโครงสรา้ งโลก ออก 3 ช้ัน ไดแ้ ก่ เปลือกโลก
พรอ้ มยกตัวอย่าง เน้ือโลก และแก่นโลก และ
2 ธรณแี ปร ขอ้ มลู ทสี่ นบั สนนุ โครงสร้างโลกตามสมบตั ิ
สณั ฐาน เชงิ กล แบ่งได้เปน็ 5 ช้ัน
2. อธิบาย ได้แก่ ธรณภี าค ฐานธรณี
หลักฐานทาง ภาค มัชฌิมภาค แก่น โลก
ธรณีวิทยาทีส่ นบั สนนุ ชนั้ นอก และแก่นโลกชัน้ ใน
การเคลือ่ นท่ีของ นอกจากนยี้ ังมีการ ค้นพบ
แผน่ ธรณี รอยต่อระหว่างช้ันโครงสรา้ ง
โลก เช่น แนว แบ่งเขตโมโฮ
3. ระบสุ าเหตุ โรวิชกิ แนวแบ่งเขตกเท
และอธบิ ายแนว นเบิร์ก แนว แบ่งเขตเลห์
แมน

แผ่นธรณีตา่ งๆ เป็น
สว่ นประกอบของธรณีภาค
ซงึ่ มกี ารเปลย่ี นแปลงขนาด
และตาํ แหนง่ ตั้งแต่อดีต
จนถงึ ปจั จบุ ัน

การเคลอ่ื นทขี่ องแผน่
ธรณีอธบิ ายไดต้ ามทฤษฎี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 189

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การ เรยี นรู/้ (ชว่ั โมง) คะแนน
เรียนรู้
ผลการเรยี นรู้

รอยตอ่ ของแผน่ ธรณี ธรณีแปรสัณฐาน ซึง่ มี
รากฐานมาจากทฤษฎที วปี
ทส่ี มั พันธ์กับการ เลือ่ น และทฤษฎีการแผ่
ขยายพน้ื สมุทร โดยมี
เคลอื่ นท่ีของแผ่น หลักฐานสนับสนนุ ไดแ้ ก่
รูปร่างของขอบทวีปท่ี
ธรณี พร้อม สามารถเชือ่ มต่อกนั ได้ ความ
คล้ายคลงึ กันของกลมุ่ หิน
ยกตัวอย่างหลกั ฐาน และแนวเทือกเขา ซากดึกดาํ
บรรพ์ ร่องรอยการ เคล่ือนท่ี
ทางธรณีวิทยาท่ีพบ ของตะกอน ธารนํ้าแข็ง
ภาวะแมเ่ หล็กโลก บรรพกาล
อายหุ นิ ของพน้ื มหาสมุทร
รวมทง้ั การ คน้ พบสันเขา
กลางมหาสมุทร และรอ่ งลกึ
กัน มหาสมทุ ร

การเคลอ่ื นทขี่ องแผน่ ธรณี
ตามทฤษฎธี รณีแปร สณั ฐาน
เกิดข้ึนจากการพาความร้อน
ของหินหนดื ภายในโลก
ลกั ษณะการเคลอื่ นท่ีของ
แผน่ ธรณมี ี 3 รูปแบบ ไดแ้ ก่
แผ่นธรณีเคลื่อนทเ่ี ข้าหากัน
แผ่น ธรณเี คล่อื นท่ีแยกออก
จากกัน แผ่นธรณีเคล่ือนท่ี
ผ่านกนั ซึง่ ทําให้เกิดลกั ษณะ
ธรณีสณั ฐาน ได้แก่ ร่องลึก
กน้ มหาสมทุ ร หมเู่ กาะภเู ขา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 190

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐานการ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
ที่ การ เรียนรู้/ (ชั่วโมง) คะแนน
เรียนรู้
ผลการเรียนรู้

ไฟรปู โค้ง แนว ภเู ขาไฟ แนว

เทือกเขา หบุ เขาทรุดและ

เทือกเขา ใต้สมุทร และธรณี

โครงสรา้ งตา่ งๆ นอกจากน้ี

ยังเป็น สาเหตุทาํ ให้เกิดธรณี

พบิ ัติภยั เชน่ แผ่นดนิ ไหว

ภเู ขาไฟระเบิด สึนามิ

สอบกลางภาค 20

3 ธรณพี ิบตั ิ 4. อธบิ ายสาเหตุ ภเู ขาไฟระเบิดเกดิ ข้นึ 5 15

กระบวนการเกิดภเู ขา จากการแทรกดันตวั ของ |

ไฟระเบิดและปัจจยั ที่ หนิ หนดื ขึ้นมาตามส่วน

ทาํ ให้ความรุนแรง เปราะบาง หรือรอยแตกบน

ของการปะทุและ เปลอื กโลก มักพบหนาแน่น

รูปร่างของภเู ขาไฟ บรเิ วณรอยต่อระหว่าง แผน่

ต่างกัน รวมท้ังสืบคน้ ธรณี ทําให้บริเวณดังกล่าว

ขอ้ มูล พืน้ ทีเ่ สี่ยงภยั เปน็ พื้นทเ่ี สีย่ งภัย ผลจากการ

ออกแบบและนาํ เสนอ ระเบิดของภเู ขาไฟมีทงั้

แนวทางการเฝา้ ระวงั ประโยชน์และ โทษ จงึ ตอ้ ง

และการปฏบิ ตั ิตนให้ ศกึ ษาแนวทางในการเฝา้

ปลอดภัย ระวัง และการ ปฏิบตั ิตนให้

5. อธิบายสาเหตุ ปลอดภัย

กระบวนการเกิด แผน่ ดนิ ไหวเกิดจากการ

ขนาดและความ ปลดปล่อยพลังงานที่ สะสม

รุนแรง และผลจาก ไว้ของเปลอื กโลกในรูปของ

แผ่นดนิ ไหว รวมท้ัง คล่นื ไหวสะเทือน

สบื ค้น ขอ้ มูลพื้นที่ แผ่นดินไหวมีขนาดและความ

เส่ยี งภยั ออกแบบ รนุ แรงแตกต่างกัน ซง่ึ สง่ ผล

และนําเสนอแนว ให้ส่งิ กอ่ สร้างเสยี หาย เกิด

ทางการเฝา้ ระวงั และ อนั ตรายต่อชวี ติ และ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 191

ลำดับ ชอื่ หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ที่ การ เรียนร้/ู (ชว่ั โมง) คะแนน
เรียนรู้
ผลการเรยี นรู้

การปฏิบตั ิตนให้ ทรัพยส์ ิน จึงต้องศึกษา

ปลอดภยั แนวทางในการเฝ้าระวงั และ

6. อธิบายสาเหตุ การปฏิบัตติ นให้ปลอดภยั

กระบวนการเกดิ ผล สนามิ คือ คล่ืนน้ําที่เกิด

จากสนึ ามริ วมทง้ั จากการแทนทีม่ วลนา้ํ ใน

สืบคน้ ขอ้ มลู พนื้ ที่ ปรมิ าณมหาศาล สว่ นมากมัก

เสี่ยงภัย ออกแบบ เกิดในทะเลหรอื มหาสมทุ ร

และ นาํ เสนอแนวทาง โดยคลื่นจะมลี ักษณะเฉพาะ

การเฝ้าระวงั และการ คอื ความ ยาวคลนื่ มากและ

ปฏบิ ัติตน ให้ เคลอ่ื นทด่ี ว้ ยความเร็วสูง เมอื่

ปลอดภยั อยู่ กลางมหาสมุทรจะมี

ความสูงคลน่ื น้อย และอาจ

เพ่ิม ความสูงขึ้นอย่างรวดเรว็

เม่อื คล่นื เคลอ่ื นทีผ่ า่ น

บรเิ วณนํา้ ตน้ื จึงทําให้พ้ืนท่ี

บรเิ วณชายฝง่ั บางบรเิ วณ

เปน็ พื้นทเี่ ส่ยี งภัย สนามิ

กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายแก่ มนษุ ย์

และสง่ิ ก่อสร้างในบริเวณ

ชายหาด ดงั นัน้ จึง ตอ้ ง

ศึกษาแนวทางในการเฝา้

ระวัง และการปฏิบตั ิ ตนให้

ปลอดภัย

4 ลำดับชั้น 7. วิเคราะห์ การลาํ ดับช้นั หนิ และ 5 15

หนิ หลกั ฐานทาง ธรณีประวัตเิ ปน็ การศกึ ษา

ธรณวี ิทยาทพี่ บใน เกีย่ วกบั การวางตวั การแผ่

ปจั จุบนั และอธิบาย กระจาย ลําดับอายุ

ลําดับเหตกุ ารณ์ทาง ความสัมพันธ์ของชั้นหนิ รอย

ธรณวี ิทยา ในอดีต ชนั้ ไม่ต่อเน่ือง และหลักฐาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 192

ลำดบั ช่อื หน่วย มาตรฐานการ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ท่ี การ เรยี นรู้/ (ชัว่ โมง) คะแนน
เรยี นรู้
ผลการเรยี นรู้

ทางธรณวี ิทยาอ่ืนๆ ท่ีปรากฏ

ทําให้ทราบ ประวตั ิ

เหตกุ ารณ์ทางธรณวี ิทยา

การเปลย่ี นแปลง

สภาพแวดลอ้ ม วิวฒั นาการ

ของสิ่งมชี ีวิตที่เกดิ ข้นึ บนโลก

ต้งั แตก่ ําเนิดโลกจนถึง

ปจั จบุ นั

หลกั ฐานทางธรณีวทิ ยา

ไดแ้ ก่ ซากดึกดาํ บรรพ์ หิน

และโครงสร้างทางธรณี ซ่งึ

นาํ มาหาอายุได้ 2 แบบ

ได้แก่ อายุเปรียบเทยี บ และ

อายสุ มั บรู ณ์

ขอ้ มูลจากอายุ

เปรียบเทยี บและอายุสมั บรู ณ์

สามารถนาํ มาจัดทาํ มาตรา

ธรณีกาล คอื การลาํ ดับ

ช่วงเวลาของโลกต้ังแต่เกิด

จนถงึ ปัจจบุ ัน ซึ่งแบ่ง เป็น

บรมยคุ มหายคุ ยศ และสมัย

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 20 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 193

แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของหลกั สูตร
รหสั วชิ า ว30262 รายวิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 2 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นที่ 2

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ขอ้ 1. เข้าใจกระบวนการเปล่ียนแปลงภายในโลก ธรณพี บิ ัติภัย และผลตอ่ ส่ิงมชี วี ติ และ
สิง่ แวดลอ้ ม รวมท้งั การศึกษาลำดบั ชั้นหนิ ทรัพยากรธรณี แผนท่ี การนำไปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถิ่น

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลักษณะอนั จำนวน
ชั่วโมง
1. ตรวจสอบ และระบชุ นดิ (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
แร่ รวมทง้ั วเิ คราะห์สมบตั ิ 3
และนําเสนอการใช้ 1. ตรวจสอบและระบุ 1. ใช้กระบวนการสบื 1. สนใจใฝ่รูใ้ น
ประโยชนจ์ ากทรัพยากรแร่ 3
ทีเ่ หมาะสม ชนิดแร่ได้ เสาะหาความรู้ใน การศึกษา และ

2. ตรวจสอบ จาํ แนก 2. วิเคราะหส์ มบตั แิ ละ การศึกษาได้ สามารถทำงานรว่ มกับ
ประเภท และระบชุ ่ือหนิ
รวมทง้ั วิเคราะหส์ มบตั ิและ นำเสนอการใชป้ ระโยชน์ ผอู้ น่ื ได้อยา่ ง
นาเสนอการใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรหินท่ี จากทรพั ยากรแร่ท่ี สร้างสรรค์
เหมาะสม
เหมาะสมได้

1. ตรวจสอบ จำแนก 1. ใช้กระบวนการสบื 1. สนใจใฝร่ ใู้ น

ประเภท และระบุชอ่ื หิน เสาะหาความรใู้ น การศกึ ษา และ

ได้ การศกึ ษาได้ สามารถทำงานรว่ มกับ

2. วเิ คราะหส์ มบตั แิ ละ ผอู้ ่ืนได้อยา่ ง

การนำเสนอการใช้ สรา้ งสรรค์

ประโยชนข์ องทรพั ยากร

หนิ ท่ีเหมาะสมได้

3. อธบิ ายกระบวนการเกดิ 1. อธบิ ายกระบวนการ 1. ปฏบิ ตั กิ ิจกรรมเพอื่ 1. สนใจใฝ่รใู้ น 3
และการสํารวจแหล่ง เกิด และสำรวจแหล่ง ศึกษาการเกดิ การศกึ ษา และ
ปิโตรเลียมและถา่ นหนิ โดย ปโิ ตรเลยี ม โดยใชข้ ้อมูล ปิโตรเลยี มได้ สามารถทำงานรว่ มกบั
ใชข้ ้อมลู ทางธรณวี ิทยา ทางธรณีวิทยาได้ ผู้อ่ืนไดอ้ ยา่ ง
2. อธบิ ายสมบตั ิของ สร้างสรรค์
ผลติ ภณั ฑท์ ไี่ ดจ้ าก
ปิโตรเลียมได้
3. นำเสนอการใช้
ประโยชน์จากผลติ ภณั ฑ์
ท่ไี ด้จากปโิ ตรเลียมได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 194

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน
ชัว่ โมง
4. อธิบายสมบัตขิ อง (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
ผลติ ภณั ฑ์ทไี่ ดจ้ าก 3
ปโิ ตรเลียมและถ่านหิน 1. อธิบายกระบวนการ 1. ใชก้ ระบวนการสบื 1. สนใจใฝร่ ู้ใน
พร้อมนําเสนอการใช้ 8
ประโยชนอ์ ย่างเหมาะสม เกดิ และสำรวจแหล่ง เสาะหาความรเู้ พ่อื การศึกษา และ

5. อา่ นและแปลความหมาย ถ่านหิน โดยใชข้ อ้ มลู ทาง ศกึ ษาเกย่ี วกบั ถ่านหินได้ สามารถทำงานรว่ มกับ
จากแผนท่ีภมู ปิ ระเทศและ
แผนทธี่ รณวี ทิ ยาของพืน้ ทที่ ี่ ธรณีวิทยาได้ ผู้อืน่ ได้อยา่ ง
กาํ หนด พรอ้ มทง้ั อธบิ าย
และยกตัวอย่างการนําไปใช้ 2. อธบิ ายสมบตั ิของ สร้างสรรค์
ประโยชน์
ผลติ ภณั ฑ์ที่ไดจ้ ากถ่าน

หินได้

3. นำเสนอการใช้

ประโยชน์จากผลติ ภณั ฑ์

ท่ไี ด้จากถ่านหนิ ได้

1. อ่านและแปล 1. ปฏิบตั ิกิจกรรมเพื่อ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน

ความหมายจากแผนทภ่ี มู ิ ศึกษาการใช้แผนที่ภมู ิ การศึกษา และ

ประเทศของพ้นื ทที่ ี่ ประเทศได้ สามารถทำงานร่วมกบั

กำหนดได้ 2. ปฏบิ ตั ิกจิ กรรมเพือ่ ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ ง

2. อธบิ ายและ ศึกษาการใชแ้ ผนท่ี สรา้ งสรรค์

ยกตวั อย่างการนำแผนที่ ธรณวี ทิ ยาได้

ภูมปิ ระเทศไปใช้

ประโยชนไ์ ด้

3. อา่ นและแปล

ความหมายจากแผนท่ี

ธรณีวิทยาของพื้นท่ีที่

กำหนดได้

4. อธิบายและ

ยกตัวอย่างการนำแผนท่ี

ธรณีวทิ ยาไปใช้ประโยชน์

ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 195

คำอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา ว30262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 2 / Earth Astronomy and Space 2

รายวชิ าเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 20 ชัว่ โมง 0.5 หน่วยกติ

ศึกษาเก่ียวกบั การตรวจสอบ การระบชุ นดิ ของแร่และสมบัตขิ องแร่ การใชป้ ระโยชนจ์ าก
ทรพั ยากรแรอ่ ยา่ งเหมาะสม การตรวจสอบและจาํ แนกประเภทของหนิ การระบชุ อ่ื หนิ วเิ คราะห์
สมบัติของหนิ การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรหนิ อยา่ ง เหมาะสม กระบวนการเกิดและการสาํ รวจ
แหลง่ ปิโตรเลียมและถ่านหิน ผลิตภัณฑท์ ีไ่ ดจ้ ากปิโตรเลียมและถ่านหนิ การอา่ นและ แปลความหมาย
จากแผนท่ภี ูมปิ ระเทศและแผนทธ่ี รณีวทิ ยา กาประยกุ ต์ความรเู้ กย่ี วกบั แผนที่ในชีวติ ประจําวัน

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต การวิเคราะห์ การ อภปิ ราย การอธบิ ายและการสรุปผลเพือ่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความคดิ และความ
เข้าใจ มีความสามารถในการตัดสินใจ สือ่ สารสงิ่ ที่เรียนรู้ และนาํ ความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง
ตลอดจนมจี ิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และคา่ นิยมท่ีถูกต้องเหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. ตรวจสอบ และระบุชนดิ แร่ รวมทัง้ วเิ คราะหส์ มบตั ิและนาํ เสนอการใช้ประโยชนจ์ าก

ทรัพยากรแรท่ เี่ หมาะสม
2. ตรวจสอบ จาํ แนกประเภท และระบุชื่อหิน รวมทั้งวเิ คราะหส์ มบัตแิ ละนาเสนอการใช้

ประโยชนจ์ ากทรัพยากรหนิ ทเี่ หมาะสม
3. อธบิ ายกระบวนการเกดิ และการสํารวจแหล่งปโิ ตรเลยี มและถ่านหิน โดยใชข้ ้อมลู ทาง

ธรณีวิทยา
4. อธิบายสมบตั ิของผลิตภัณฑ์ทไ่ี ดจ้ ากปโิ ตรเลยี มและถา่ นหนิ พร้อมนาํ เสนอการใช้

ประโยชน์อยา่ งเหมาะสม
5. อ่านและแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนทธ่ี รณีวทิ ยาของพน้ื ที่ท่ีกําหนด

พรอ้ มทงั้ อธิบายและยกตัวอย่างการนําไปใช้ประโยชน์

รวม 5 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 196

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวิชา ว30262 โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 2 / Earth Astronomy and Space 2

รายวิชาเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์

ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 จำนวน 20 ชว่ั โมง 0.5 หน่วยกติ

ลำดับ ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชัว่ โมง คะแนน

1 ทรัพยากร 1. ตรวจสอบ และ แร่ คอื ธาตหุ รือ ) 30
ธรณี 12

ระบชุ นิดของแร่ สารประกอบ

รวมท้งั วเิ คราะห์สมบัติ อนนิ ทรยี ์ทเ่ี กิดขึ้น เองตาม

และนําเสนอการใช้ ธรรมชาติ มีโครงสรา้ งภายในท่ี

ประโยชน์จาก เป็นระเบยี บ | มีสมบัตทิ ่ี

ทรัพยากรแรท่ ี่ แน่นอน หรอื อาจเปลย่ี นแปลง

เหมาะสม ไปได้บา้ งใน ขอบเขตจํากัด จึง

2. ตรวจสอบ สามารถนํามาใชต้ รวจสอบชนดิ

จําแนกประเภท และ ของแร่ได้

ระบุชือ่ หินรวมทั้ง หิน เป็นมวลของแข็งที่

วเิ คราะหส์ มบัตแิ ละ ประกอบดว้ ยแร่ตงั้ แต่ 1 ชนิด

นาเสนอการใช้ ขึ้นไป สามารถจําแนกตาม

ประโยชนจ์ าก ลกั ษณะการเกดิ และ เน้อื หนิ ได้

ทรพั ยากรหินที่ 3 ประเภท ไดแ้ ก่ หินอัคนี หิน

เหมาะสม ตะกอน และหินแปร

3. อธิบาย ทรัพยากรปิโตรเลียมและ

กระบวนการเกิด และ ถา่ นหินเปน็ ทรัพยากร

การสาํ รวจแหล่ง สิ้นเปลือง ที่มีอยู่อย่างจํากัด ใช้

ปโิ ตรเลียมและถา่ น แล้วหมดไปไม่ สามารถเกิดขึ้น

หนิ โดยใช้ขอ้ มูลทาง ทดแทนไดใ้ นเวลาอนั รวดเร็ว

ธรณวี ทิ ยา ทรัพยากรปิโตรเลยี มและถ่าน

4. อธิบายสมบัติ หินถูกนาํ มาใชใ้ น อุตสาหกรรม

ของผลติ ภณั ฑ์ทีไ่ ดจ้ าก ที่สําคญั ของประเทศ เช่น การ

ปิโตรเลียมและถา่ น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 197

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนร้/ู สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชวั่ โมง คะแนน

)

หนิ พรอ้ มนาํ เสนอการ คมนาคม การผลติ ไฟฟ้า
ใชป้ ระโยชน์ อยา่ ง เช้ือเพลงิ ในอุตสาหกรรม
เหมาะสม

สอบกลางภาค 20
30
2 แผนที่ 5. อา่ นและแปล แผนที่ภมู ิประเทศ เป็น 8

ความหมายจากแผนที่ แผนทท่ี สี่ ร้างเพ่ือจําลอง

ภูมปิ ระเทศและแผนท่ี ลักษณะของผิวโลกหรือ

ธรณีวทิ ยาของพื้นที่ที่ บางส่วนของพืน้ ที่บนผวิ โลก

กําหนด พร้อม ทัง้ โดยมีทศิ ทางท่ีชัดเจน และ

อธิบายและ มาตราสว่ นขนาดต่าง ๆ ตาม

ยกตวั อยา่ ง การ ความเหมาะสมกบั การใช้ แผน

นาํ ไปใช้ประโยชน์ ทภ่ี มู ิประเทศมัก แสดงเสน้ ชั้น

ความสงู และคาํ อธบิ าย

สัญลักษณต์ ่างๆ ท่ีปรากฏใน

แผนที่

แผนทธี่ รณีวทิ ยา เปน็ แผน

ทแ่ี สดงการกระจายตวั ของหิน

กลมุ่ ต่างๆ ท่โี ผลใ่ ห้เหน็ บน

พน้ื ผวิ โลก ทาํ ให้ ทราบถึง

ขอบเขตของหนิ ในพน้ื ที่

นอกจากน้ยี งั แสดง ลกั ษณะ

การวางตวั ของช้ันหิน ซากดกึ

ดาํ บรรพ์ และ ธรณโี ครงสร้าง

สอบปลายภาค 20
รวมตลอดภาคเรยี น 20 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 198

แบบวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหสั วิชา ว 30263 รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ 3 ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ 1

สาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
ข้อ 2. เขา้ ใจสมดุลพลังงานของโลก การหมุนเวียนของอากาศบนโลก การหมุนเวียนของนำ้
ใน มหาสมทุ ร การเกิดเมฆ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกและผลต่อสิง่ มีชวี ิตและสิง่ แวดล้อมรวมทั้ง
การพยากรณ์อากาศ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลักษณะอันพงึ จำนวน

กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) ชว่ั โมง

1. อธบิ ายปจั จัย 1. สามารถอภิ 1. การ 1. มวี นิ ยั 3

สาํ คัญทีม่ ผี ลต่อการ ปลาย วเิ คราะห์ ตีความหมายข้อมูล 2. ใฝ่เรียนรู้

รบั และคายพลังงาน และอธิบายการ 2. การลงความเห็น 3. มงุ่ มั่นในการ

จากดวงอาทิตย์ โคจรของโลก จากข้อมูล ทำงาน

แตกต่างกันและผลท่ี รอบดวงอาทติ ย์ 3. การจัดกระทำ

มตี ่ออุณหภูมิอากาศ และความเอยี ง และสื่อความหมาย

ในแต่ละบริเวณของ ของโลกที่เป็น ข้อมูล

โลก สาเหตใุ หก้ าร

รบั พลงั งาน

ตา่ งกันได้

2. สามารถอภิ

ปลาย วิเคราะห์

และอธิบายผลที่

เกิดจากการรับ

และคาย

พลังงานจาก

ดวงอาทิตย์

แตกต่างกนั

เชน่ ฤดกู าล ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 199

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลกั ษณะอันพึง จำนวน

2. อธบิ าย 1. สามารถอภิ กระบวนการ (P ) ประสงค์ (A ) ชว่ั โมง
กระบวนการท่ที าํ ให้ ปลาย วเิ คราะห์
เกดิ สมดุลพลังงาน และอธิบาย 1. การ 1. มวี นิ ยั 3
ของโลก กระบวนการ
ปรบั พลังงาน ตคี วามหมายข้อมูล 2. ใฝเ่ รียนรู้
เพ่อื ใหโ้ ลกเกดิ
สมดุลพลงั งาน และลงข้อสรุป 3. มุ่งมนั่ ในการ
ได้
2. การจัดกระทำ ทำงาน

และส่อื ความหมาย

ของขอ้ มลู

3. การลงความเห็น

จากข้อมลู


Click to View FlipBook Version