The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 300

อยา่ งเหมาะสมและหลากหลายมากข้นึ การใช้และการกำจดั ผลิตภัณฑ์พอลเิ มอร์ อาจส่งผลกระทบต่อ
สง่ิ มชี ีวิตและสิง่ แวดลอ้ มจงึ ควรตระหนกั ถึงผลกระทบทีเ่ กดิ ขึ้น และแนวทางแก้ไข

โดยใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตดั สินใจ นำความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านยิ มท่เี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. คำนวณเลขออกซิเดชัน และระบปุ ฏกิ ิรยิ าท่เี ป็นปฏกิ ิริยาทเ่ี ปน็ ปฏกิ ิริยารีดอกซ์
2. วเิ คราะห์การเปล่ียนแปลงเลขออกซเิ ดชนั และระบุตวั รีดิวซ์และตวั ออกซิไดส์ รวมทั้งเขียนคร่ึง
ปฏกิ ริ ิยาออกซเิ ดชันและคร่ึงปฏิกิริยารดี กั ชันของปฏกิ ิริยารดี อกซ์
3. ทดลอง และเปรียบเทยี บความสามารถในการเปน็ ตัวรดี ิวซ์หรือตัวออกซิไดส์ และเขยี นแสดง
ปฏิกิริยารีดอกซ์
4. ดลุ สมการรีดอกซ์ดว้ ยการใชเ้ ลขออกซเิ ดชัน และวิธีครึง่ ปฏิกริ ยิ า
5. ระบอุ งค์ประกอบของเซลล์เคมีไฟฟา้ และเขียนสมการเคมีของปฏกิ ริ ิยาที่แอโนดและแคโทด
ปฏิกิริยารวม และแผนภาพเซลล์
6. คำนวณค่าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานของเซลลแ์ ละระบุประเภทของเซลล์เคมีไฟฟา้ ขัว้ ไฟฟ้าและ
ปฏิกริ ิยาเคมีทเ่ี กิดขน้ึ
7. อธิบายหลกั การทำงาน และเขียนสมการแสดงปฏิกริ ิยาของเซลลป์ ฐมภมู ิและเซลล์ทตุ ิยภูมิ
8. ทดลองชบุ โลหะและแยกสารเคมีด้วยกระแสไฟฟ้า และอธิบายหลักการทางเคมไี ฟฟ้าท่ีใชใ้ นการชุบ
โลหะ การแยกสารเคมดี ว้ ยกระแสไฟฟ้า การทำโลหะใหบ้ ริสทุ ธ์ิ และการป้องกัน การกัดกร่อนของ
โลหะ
9. สืบคน้ ข้อมลู และนำเสนอตวั อยา่ งความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยีทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับเซลลเ์ คมีไฟฟา้ ใน
ชวี ติ ประจำวนั
10. สืบค้นข้อมลู และนำเสนอตวั อย่างสารประกอบอินทรยี ์ทีม่ ีพันธะเดีย่ ว พนั ธะคู่ หรือพันธะสาม
ที่พบในชีวิตประจำวัน
11. เขียนสูตรโครงสร้างลวิ อิส สตู รโครงสร้างแบบยอ่ และสูตรโครงสรา้ งแบบเส้นของสารประกอบ
อนิ ทรีย์
12. วิเคราะหโ์ ครงสรา้ ง และระบปุ ระเภทของสารประกอบอนิ ทรีย์จากหมฟู่ ังกช์ นั
13. เขยี นสตู รโครงสรา้ งและเรียกช่ือสารประกอบอนิ ทรีย์ประเภทต่างๆ ที่มหี มู่ฟังกช์ ันไม่เกนิ 1 หมู่
ตามระบบ IUPAC
14. เขยี นไอโซเมอรโ์ ครงสรา้ งของสารประกอบอนิ ทรยี ์ประเภทต่างๆ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 301

15. วิเคราะห์และเปรียบเทยี บจดุ เดอื ดและการละลายในน้ำของสารประกอบอนิ ทรีย์ท่ีมีหม่ฟู งั กช์ ัน
ขนาดโมเลกุล หรือโครงสรา้ งตา่ งกัน
16. ระบปุ ระเภทของสารประกอบไฮโดรคาร์บอนและเขยี นผลิตภัณฑจ์ ากปฏิกิริยาการเผาไหม้
ปฏกิ ริ ยิ ากบั โบรมีน หรือปฏกิ ิริยากับโพแทสเซียมเปอรแ์ มงกาเนต
17. เขียนสมการเคมแี ละอธิบายการเกิดปฏิกริ ยิ าเอสเทอริฟิเคชัน ปฏกิ ิริยาการสังเคราะห์เอไมด์
ปฏกิ ิรยิ าไฮโดรลิซิส และปฏิกิรยิ าสะปอนนิฟเิ คชนั
18. ทดสอบปฏกิ ริ ิยาเอสเทอรฟิ ิเคชนั ปฏกิ ริ ิยาไฮโดรลิซสิ และปฏิกิริยาสะปอนนิฟเิ คชัน
19. สบื คน้ ขอ้ มูล และนำเสนอตวั อยา่ งการนำสารประกอบอินทรยี ์ไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจำวนั
และอตุ สาหกรรม
20. ระบปุ ระเภทของปฏิกิริยาการเกิดพอลเิ มอร์จากโครงสร้างของมอนอเมอร์หรือพอลเิ มอร์
21. วิเคราะหแ์ ละอธบิ ายความสมั พันธร์ ะหวา่ งโครงสรา้ งและสมบัตขิ องพอลิเมอร์ รวมทั้งการนำไปใช้
ประโยชน์
22. ทดสอบ และระบุประเภทของพลาสติกและผลิตภัณฑ์ยาง รวมทงั้ การนำไปใชป้ ระโยชน์
23. อธบิ ายผลของการปรบั เปล่ียนโครงสรา้ ง และการสงั เคราะหพ์ อลิเมอรท์ ่มี ีต่อสมบัติของพอลิเมอร์
24. สืบค้นขอ้ มูลและนำเสนอตวั อย่างผลกระทบจากการใช้และการกำจดั ผลิตภณั ฑ์พอลเิ มอร์ และ
แนวทางการแกไ้ ข

รวมทง้ั หมด 24 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 302

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวิชา ว30225 เคมเี พิ่มเติม 5 / Chemistry 5

รายวิชาเพมิ่ เติม กลุม่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 จำนวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกิต

ลำดั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
บ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน
ท่ี

1 เคมไี ฟฟ้า 1 - 9 -เลขออกซเิ ดชนั 30 30

-ปฏกิ ิริยารดี อกซ์

-องค์ประกอบของเซลล์

เคมไี ฟฟา้

-สมการเคมีของปฏิกริ ิยาท่ี

แอโนดและแคโทด

ปฏิกิรยิ ารวม

-แผนภาพเซลล์

-คา่ ศกั ย์ไฟฟา้ มาตรฐานของ

เซลล์

-เซลล์ปฐมภูมแิ ละเซลล์

ทุติยภูมิ

-การชบุ โลหะ การแยก

สารเคมดี ้วยกระแสไฟฟ้า

การทำโลหะใหบ้ ริสุทธ์ิ และ

การป้องกนั การกดั กร่อน

ของโลหะ

-ความก้าวหน้าทาง

เทคโนโลยีทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั

เซลลเ์ คมไี ฟฟ้าใน

ชวี ติ ประจำวนั

สอบกลางภาค 20

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 303

ลำดั ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
บ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน
ที่

2 สารประกอ 10 - 24 -สารประกอบอินทรีย์ท่ีมี 30 30

บอนิ ทรยี ์ พันธะเด่ียว พันธะคู่ หรอื

และพอลิ พันธะสาม

เมอร์ -สูตรโครงสรา้ งต่างๆ ของ

สารประกอบอนิ ทรยี ์

-ประเภทของสารประกอบ

อนิ ทรยี ์

-การเรียกชอ่ื สารประกอบ

อนิ ทรยี ์ประเภทต่างๆ

-ไอโซเมอรโ์ ครงสร้าง

-จุดเดือดและการละลายใน

นำ้ ของสารประกอบอินทรยี ์

-สารประกอบ

ไฮโดรคารบ์ อน

-ปฏกิ ริ ยิ าเอสเทอรฟิ เิ คชนั

ปฏิกิรยิ าการสังเคราะห์เอ

ไมด์ ปฏิกิรยิ าไฮโดรลซิ สิ

และปฏกิ ริ ยิ าสะปอนนิฟเิ ค

ชัน

-การนำสารประกอบ

อินทรียไ์ ปใช้ประโยชนใ์ น

วิตประจำวันและ

อุตสาหกรรม

-พอลเิ มอร์

-ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง

โครงสร้างและสมบตั ิของ

พอลิเมอร์

-ประเภทของพลาสติกและ

ผลิตภัณฑย์ าง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 304

ลำดั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
บ การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน
ท่ี

-การปรับเปลี่ยนโครงสรา้ ง

และการสังเคราะห์พอลิ

เมอรท์ ่ีมีต่อสมบตั ขิ องพอลิ

เมอร์

-ผลกระทบจากการใช้และ

การกำจัดผลิตภัณฑ์พอลิ

เมอร์ และแนวทางการ

แก้ไข

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 305

แบบวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลักสตู ร
รหสั วิชา ว30226 รายวชิ า เคมเี พิ่มเติม 6 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6 ภาคเรียนท่ี 2

สาระท่ี 3 เข้าใจหลักการทำปฏกิ ิริยาเคมี การวัดปริมาณสาร หนว่ ยวดั และการเปลย่ี นหนว่ ย การ
คำนวณปริมาณของสาร ความเขม้ ข้นของสารละลาย รวมทัง้ การบรู ณาการความร้แู ละทกั ษะในการ
อภิปรายปรากฏการณใ์ นชวี ติ ประจำวนั และการแก้ปัญหาทางเคมี
มาตรฐาน -

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ จำนวน
ช่ัวโมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
15
1. กำหนดปัญหาและ -การระบุปัญหา -การลงความเหน็ -ความซ่ือสัตยส์ ตุ
15
นำเสนอแนวทางการ การวางแผน จากข้อมูลและการ จริต

แกป้ ัญหา โดยใช้ กำหนดแนว ตีความหมาย -ความใฝ่เรียนรู้

ความรทู้ างเคมจี าก ทางการ ขอ้ มูลและลง -ความมุ่งมั่นในการ

สถานการณ์ ทเี่ กดิ ขึน้ แก้ปัญหาโดยใช้ ข้อสรปุ จากการ ทำงาน

ในชวี ิตประจำวัน การ ความรทู้ างเคมี ทำกจิ กรรม

ประกอบอาชีพ หรอื จากสถานการณ์ -การคดิ อย่างมี

อุตสาหกรรม ทเี่ กดิ ขนึ้ ใน วจิ ารณญาณและ

ชวี ติ ประจำวนั การแกป้ ัญหา

การประกอบ ความร่วมมือ การ

อาชีพ หรือ ทำงานเป็นทีมและ

อุตสาหกรรม ภาวะผนู้ ำ และ

จากการ การสอื่ สาร

อภปิ ราย การทำ สารสนเทศและ

กิจกรรม และ การรบั รเู้ ทา่ ทันส่ือ

งานท่ีนำเสนอ จากการทำ

กจิ กรรมและงานท่ี

นำเสนอ

2. แสดงหลักฐานถึง -การแก้ปญั หา -การสังเกต การ -ความซอ่ื สัตย์สุต

การบูรณาการความรู้ โดยการบรู ณา ลงความเหน็ จาก จริต

ทางเคมีรว่ มกับวิชา การความรูว้ ชิ า ข้อมูล การ -ความใฝเ่ รียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 306

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพึง จำนวน
ชวั่ โมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
10
อนื่ รวมทัง้ ทักษะ เคมรี ่วมกบั พยากรณแ์ ละการ -ความมงุ่ มน่ั ในการ

กระบวนการทาง สาขาวิชาอ่นื ตีความหมาย ทำงาน

วทิ ยาศาสตร์หรอื และการ ขอ้ มลู และลง

กระบวนการ ออกแบบตาม ข้อสรุป จากการ

ออกแบบเชิง กระบวนการเชิง ทำกิจกรรม

วิศวกรรม โดยเน้น วิศวกรรม จาก -การสร้าง

การคดิ วิเคราะห์ การ แบบร่างแนว แบบจำลอง จาก
แก้ปญั หา และ ทางการ ผลงานหรอื
ความคดิ สรา้ งสรรค์ แก้ปัญหาและ รายงาน
เพอื่ แก้ปญั หาใน รายงาน -การคิดอย่างมี
สถานการณห์ รือ วจิ ารณญาณและ
ประเด็นทีส่ นใจ การแก้ปัญหา
ความร่วมมอื การ

ทำงานเป็นทีมและ

ภาวะผนู้ ำ และ

การส่ือสาร

สารสนเทศและ

การรูเ้ ท่าทนั สื่อ

จากการทำ

กิจกรรมและ

ผลงาน

3. นำเสนอผลงาน -วธิ กี ารและ -การสังเกต การ -ความซือ่ สตั ยส์ ุต

หรอื ช้ินงานทไ่ี ด้จาก รปู แบบการ จัดกระทำและส่ือ จรติ

การแกป้ ัญหาใน นำเสนอผลงาน ความหมายข้อมูล -ความใฝ่เรยี นรู้

สถานการณ์หรือ หรอื ชิ้นงาน โดย และการสร้าง -ความม่งุ มัน่ ในการ

ประเดน็ ที่สนใจโดยใช้ ใช้เทคโนโลยี แบบจำลอง จาก ทำงาน

เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ จาก งานท่นี ำเสนอ

การนำเสนอ -การลงความเห็น

ผลงาน ซง่ึ อาจ จากข้อมลู จาก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 307

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ/ คณุ ลักษณะอนั พงึ จำนวน
ชวั่ โมง
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
20
เป็นงานหรอื การซกั ถามและ

ชน้ิ งาน แลกเปล่ยี นความ

คิดเหน็ และการ

ประเมนิ การ

นำเสนอผลงาน

-การสร้างสรรค์

และนวตั กรรม

และการส่ือสาร

สารสนเทศและ

การรู้เท่าทันสื่อ

จากการนำเสนอ

ผลงาน

-ความรว่ มมือ การ

ทำงานเปน็ ทีมและ

ภาวะผู้นำ จาก

การสงั เกต

พฤติกรรมการ

ทำงานกล่มุ และ

การนำเสนอ

ผลงาน

4. แสดงหลักฐานการ -รูปแบบของ -การสงั เกต การ -ความซอ่ื สัตย์สุต

เข้าร่วมการสมั มนา งานวิขาการ ลงความเห็นจาก จริต

การเข้ารว่ มประชมุ ประเภทต่าง ๆ ขอ้ มูล และการ -ความใฝ่เรียนรู้

วชิ าการ หรอื การ และวิธีการท่ี ตีความหมาย -ความมุ่งมนั่ ในการ

แสดงผล งาน เหมาะสมในการ ข้อมลู และลง ทำงาน

ส่งิ ประดิษฐ์ในงาน แลกเปลยี่ นและ ขอ้ สรุป จาก

นทิ รรศการ แสดงความ บันทกึ หรือ
คดิ เหน็ จากการ รายงานการเข้า

อภิปราย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 308

ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถ่ิน
ความรู้ ทกั ษะ/ คณุ ลักษณะอันพึง จำนวน
(K) กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ช่วั โมง

ร่วมหรือนำเสนอ
ผลงาน
-การส่อื สาร
สารสนเทศและ
การรบั รเู้ ท่าทนั สื่อ
จากการอภิปราย
และบันทึกหรือ
รายงานการเข้า
ร่วมหรือนำเสนอ
ผลงาน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 309

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว30226 เคมเี พิ่มเตมิ 6 / Chemistry 6

รายวชิ าเพิม่ เติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ

เข้าใจสถานการณ์บางสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน การประกอบอาชีพ หรืออุตสาหกรรม
สามารถนำความรู้ทางเคมีไปใช้ประโยชน์หรือแก้ปัญหาได้ โดยการบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกับ
วิทยาศาสตร์แขนงอื่น รวมทั้งคณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือ
กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม โดยเนน้ การคิดวเิ คราะห์ แกป้ ญั หา และความคิดสร้างสรรค์ และ
นำเสนองานในการสมั มนา การประชุม หรือการร่วมแสดงผลงาน สิ่งประดิษฐ์ในงานนิทรรศการ เป็น
การเปดิ โอกาสใหผ้ ูม้ ีส่วนร่วมไดแ้ ลกเปล่ยี นแนวคิด ผลงาน รวมทั้งเพ่มิ โอกาสในการพัฒนางาน โดยใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือประกอบการนำเสนอจะทำให้การสื่อสารมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ซึ่งสามารถทำได้หลายระดับ โดยอาจเป็นระดับชั้นเรียน โรงเรียน กลุ่มโรงเรียน ชุมชน ระดับชาติ
หรอื นานาชาติ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสบื เสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตดั สินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวติ ประจำวนั มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านยิ มทเ่ี หมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. กำหนดปญั หาและนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา โดยใช้ความรทู้ างเคมีจากสถานการณ์ ทเ่ี กิดข้นึ
ในชีวิตประจำวนั การประกอบอาชีพ หรืออตุ สาหกรรม
2. แสดงหลกั ฐานถงึ การบูรณาการความรู้ทางเคมีร่วมกบั วิชาอน่ื รวมทั้งทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์หรอื กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม โดยเน้นการคดิ วิเคราะห์ การแก้ปญั หา และ
ความคิดสร้างสรรค์ เพอ่ื แกป้ ัญหาในสถานการณห์ รือประเด็นทีส่ นใจ
3. นำเสนอผลงานหรอื ช้ินงานท่ไี ดจ้ ากการแก้ปญั หาในสถานการณ์หรือประเดน็ ทส่ี นใจโดยใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
4. แสดงหลกั ฐานการเข้าร่วมการสมั มนา การเขา้ ร่วมประชมุ วชิ าการ หรอื การแสดงผล งาน
สิง่ ประดษิ ฐใ์ นงานนิทรรศการ

รวมท้ังหมด 4 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 310

โครงสร้างรายวิชา

รหสั วิชา ว30226 เคมเี พิ่มเติม 6 / Chemistry 6

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

1 การบูรณา 1 - 3 -กำหนดปญั หาและนำเสนอ 40 50

การความรู้ แนวทางการแกป้ ญั หา จาก

และทกั ษะ สถานการณห์ รือประเด็นที่

สนใจ

-การบูรณาการความรทู้ าง

เคมีรว่ มกับวิชาอนื่ เพื่อ

แกป้ ัญหาในสถานการณ์

หรือประเดน็ ท่สี นใจ

-นำเสนอการแกป้ ัญหาใน

สถานการณ์หรือประเดน็ ท่ี

สนใจโดยใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศ

สอบกลางภาค 20

2 สัมมนา 4 -การสัมมนา การเข้าร่วม 20 10

วิชาการ ประชุมวิชาการ หรือการ

แสดงผลงานสิ่งประดิษฐ์ใน

งานนทิ รรศการ

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรยี น 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 311

รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเตมิ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 312

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ของหลักสตู ร
รหสั วิชา ว30241 รายวิชา ชวี วิทยาเพ่ิมเตมิ 1 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นท่ี 1

สาระชวี วทิ ยา
ขอ้ ที่ 1 เข้าใจธรรมชาตขิ องสิง่ มชี วี ติ การศึกษาชวี วทิ ยาและวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ สารท่ี
เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและ
หนา้ ทขี่ องเซลล์ การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และการหายใจระดับเซลล์

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน
ชั่วโมง
1. อธบิ ายและสรุป (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
สมบตั ิท่ีสำคัญของ 2
สิ่งมชี วี ติ และ 1. อธบิ ายสมบตั ิที่ 1. ทดลองเกีย่ วกับ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน
ความสัมพนั ธข์ องการ 6
จดั ระบบในสง่ิ มชี ีวิตที่ทำ สำคัญของสิง่ มชี วี ติ ได้ การรักษาดุลยภาพ การศกึ ษา และมี
ใหส้ ิง่ มชี วี ิตดำรงชีวิตอยู่
ได้ 2. อธิบาย ของรา่ งกายสิง่ มชี วี ิต ความรบั ผิดชอบ
2. อภิปราย และบอก
ความสำคัญของการระบุ ความสัมพนั ธข์ องการ ได้
ปญั หา ความสัมพนั ธ์
ระหว่างปญั หา จัดระบบในสง่ิ มชี ีวติ ที่
สมมตฐิ าน และวิธีการ
ตรวจสอบสมมติฐาน ทำให้สงิ่ มชี ีวิต
รวมทง้ั ออกแบบการ
ทดลองเพอ่ื ตรวจสอบ ดำรงชวี ิตอยูไ่ ด้
สมมติฐาน
1. อธบิ ายเกยี่ วกับ 1. ออกแบบการ 1. สนใจใฝร่ ใู้ น

แขนงวชิ าตา่ งๆ ของ ทดลองเพือ่ การศึกษา และมี

ชวี วิทยาและสาขา ตรวจสอบสมมติฐาน ความรบั ผิดชอบ

อน่ื ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องได้ ได้ 2. ตระหนกั ถึง

2. อธบิ ายเกีย่ วกับ 2. ดำเนินการทดลอง ความสำคัญของ

ชีวจริยธรรมและ ตามวธิ ีการทาง พน้ื ฐานการศึกษา

จรรยาบรรณการใช้ วิทยาศาสตรไ์ ด้ ในงานวิทยาศาสตร์

สัตว์ทดลองได้

3. อธิบายความสำคญั

ของการระบุปัญหา

ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง

ปญั หา สมมตฐิ าน

และวธิ ีกรตรวจสอบ

สมมติฐานได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 313

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลักษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชัว่ โมง

3. สบื คน้ ข้อมลู อธิบาย 1. อธบิ ายเกย่ี วกับ 1. สบื เสาะหาความรู้ 1. สนใจใฝ่รใู้ น 1

เก่ียวกับสมบตั ิของน้ำ สมบัตขิ องน้ำได้ เก่ยี วกับความสำคญั การศึกษา และ

และบอกความสำคญั 2. บอกความสำคัญ ของสารอนนิ ทรียต์ ่อ สามารถทำงาน

ของน้ำท่ีมีต่อสงิ่ มชี วี ิต ของน้ำทมี่ ตี ่อสงิ่ มชี ีวิต รา่ งกายส่ิงมีชวี ติ ได้ รว่ มกับผู้อื่นไดอ้ ยา่ ง

และยกตวั อยา่ งธาตุชนิด ได้ สรา้ งสรรค์

ต่างๆ ท่ีมีความสำคัญต่อ 3. ยกตัวอย่างธาตุ

ร่างกายสิ่งมชี วี ติ ชนดิ ตา่ งๆ ท่มี ี

ความสำคัญต่อ

ร่างกายสิ่งมชี วี ติ ได้

4. สบื คน้ ขอ้ มูล อธิบาย 1. อธบิ ายโครงสร้าง 1. สบื คน้ ขอ้ มลู และ 1. สนใจใฝ่ร้ใู น 2
โครงสรา้ งของ ความสำคัญ และชนิด อภปิ รายเก่ียวกับ การศึกษา และมี 1
คาร์โบไฮเดรต ระบกุ ลุ่ม ของคาร์โบไฮเดรต ความสำคญั ของ ความรบั ผิดชอบ 1
ของคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี ลพิ ิด และกรด สารอนิ ทรยี ต์ อ่
รวมทัง้ ความสำคัญของ นิวคลีอกิ ได้ สงิ่ มชี วี ติ ได้ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน
คาร์โบไฮเดรตที่มตี ่อ การศึกษา และมี
สิง่ มีชีวติ 1. อธบิ ายโครงสร้าง 1. สืบค้นขอ้ มลู และ ความรับผดิ ชอบ
5. สบื ค้นขอ้ มูล อธิบาย ความสำคญั และชนดิ อภิปรายเกย่ี วกับ
โครงสร้างของโปรตีน ของคารโ์ บไฮเดรต ความสำคัญของ 1. สนใจใฝ่รใู้ น
และความสำคัญของ โปรตนี ลพิ ิด และกรด สารอนิ ทรยี ต์ ่อ การศึกษา และมี
โปรตีนท่ีมตี อ่ สิง่ มชี วี ิต นิวคลอี กิ ได้ สิง่ มีชีวิตได้ ความรับผดิ ชอบ
1. อธบิ ายโครงสรา้ ง 1. สบื คน้ ข้อมลู และ
6. สืบคน้ ขอ้ มูล อธิบาย ความสำคัญ และชนิด อภปิ รายเก่ียวกบั
โครงสร้างของลิพดิ และ ของคาร์โบไฮเดรต ความสำคญั ของ
ความสำคญั ของลิพิดที่มี โปรตีน ลิพดิ และกรด สารอนิ ทรีย์ต่อ
ต่อสิง่ มีชวี ติ นิวคลีอิกได้ ส่ิงมีชวี ติ ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 314

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถนิ่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน
ช่ัวโมง
7. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ าย (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
โครงสร้างของกรด 1
นิวคลอี กิ ระบุกลุ่มของ 1. อธิบายโครงสร้าง 1. สืบคน้ ข้อมูลและ 1. สนใจใฝ่รู้ใน
กรดนวิ คลอี ิก และ 2
ความสำคญั ของกรด ความสำคญั และชนดิ อภิปรายเกย่ี วกบั การศกึ ษา และมี
นิวคลอี กิ ท่ีมตี ่อสิง่ มีชีวติ
8. สืบค้นขอ้ มลู และ ของคาร์โบไฮเดรต ความสำคญั ของ ความรบั ผิดชอบ
อธบิ ายปฏกิ ิรยิ าเคมที ี่
เกดิ ขึน้ ในสิ่งมชี วี ิต โปรตีน ลิพิด และกรด สารอนิ ทรีย์ตอ่

นวิ คลอี กิ ได้ สง่ิ มชี ีวติ ได้

1. อธบิ ายการ 1. ทดลองเพื่อศึกษา 1. สนใจใฝ่รู้ใน
เกดิ ปฏิกิริยาดูด การทำงานของ การศึกษา
พลงั งานและปฏิกิรยิ า เอนไซมจ์ ากเนื้อเย่ือ
คายพลงั งานได้ ของสง่ิ มชี วี ิตได้
2. อธบิ ายการทำงาน
ของเอนไซม์ ตัวยังย้ัง
เอนไซม์ และปัจจัยที่
มผี ลต่อการทำงาน
ของเอนไซมไ์ ด้

9. อธบิ ายการทำงาน 1. อธิบายการ 1. ทดลองเพ่ือศึกษา 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 4
ของเอนไซม์ในการเรง่ เกดิ ปฏิกริ ยิ าดดู การทำงานของ การศกึ ษา 4
ปฏกิ ริ ิยาเคมใี นสิ่งมีชวี ิต พลังงานและปฏิกิรยิ า เอนไซม์จากเน้ือเย่ือ
และระบปุ ัจจยั ท่ีมผี ลตอ่ คายพลงั งานได้ ของสง่ิ มชี วี ิตได้ 1. มีความสนใจใฝร่ ู้
การทำงานของเอนไซม์ 2. อธบิ ายการทำงาน ในการศึกษา และ
ของเอนไซม์ ตัวยงั ยงั้ 1. ทำกจิ กรรมเพ่ือ สามารถทำงาน
10. บอกวธิ ีการและ เอนไซม์ และปัจจยั ท่ี ศึกษาโครงสรา้ งและ
เตรยี มตวั อย่างสิ่งมชี ีวติ มีผลต่อการทำงาน ขนาดของเซลล์
เพ่อื ศกึ ษาภายใต้กล้อง ของเอนไซม์ได้
จลุ ทรรศน์ใช้แสง วดั 1. บอกวธิ กี ารและ
เตรียมตวั อย่าง
ส่งิ มีชีวติ เพอ่ื ศึกษา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 315

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลกั ษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ชว่ั โมง

ขนาดโดยประมาณและ ภายใตก้ ล้อง ภายใต้กลอ้ ง ร่วมกบั ผ้อู ื่นไดอ้ ยา่ ง

วาดภาพท่ีปรากฏภายใต้ จลุ ทรรศนใ์ ช้แสงได้ จลุ ทรรศนไ์ ด้ สร้างสรรค์

กลอ้ ง บอกวธิ ีการใชแ้ ละ 2. วดั ขนาด

การดูแลรกั ษากล้อง โดยประมาณและวาด

จุลทรรศนท์ ่ถี ูกต้อง ภาพท่ีปรากฏภายใต้

กลอ้ งจุลทรรศน์ได้

3. บอกวธิ ีการใช้และ

การดแู ลรักษากล้อง

จุลทรรศนท์ ่ีถูกตอ้ งได้

11. อธบิ ายโครงสร้าง 1. อธิบายโครงสรา้ ง 1. ใชก้ ระบวนการสบื 1. มีความสนใจใฝ่รู้ 3

และหน้าทีข่ องสว่ น และหนา้ ทข่ี องส่วน เสาะหาความรู้ใน ในการศึกษา และ

ห่อหมุ้ เซลล์พืชและเซลล์ ห่อหุ้มเซลล์พชื และ การศกึ ษาโครงสรา้ ง สามารถทำงาน

สัตว์ได้ เซลล์สตั วไ์ ด้ ของเซลล์ได้ รว่ มกบั ผู้อืน่ ไดอ้ ย่าง

สร้างสรรค์

12. สืบค้นข้อมูล อธิบาย 1. อธิบาย และสรุป 1. ใช้กระบวนการสืบ 1. มคี วามสนใจใฝ่รู้ 3

และสรุปชนิดและหนา้ ที่ ชนิดและหนา้ ท่ขี อง เสาะหาความรู้ใน ในการศึกษา และ

ของออร์แกเนลล์ได้ ออรแ์ กเนลล์ได้ การศึกษาโครงสร้าง สามารถทำงาน

ของเซลล์ได้ รว่ มกับผูอ้ ่ืนได้อยา่ ง

สร้างสรรค์

13. อธิบายโครงสร้าง 1. อธิบายโครงสร้าง 1. ใช้กระบวนการสบื 1. มคี วามสนใจใฝร่ ู้ 2

และหนา้ ทีข่ องนิวเคลียส และหนา้ ท่ขี อง เสาะหาความรู้ใน ในการศึกษา และ

ได้ นวิ เคลยี สได้ การศกึ ษาโครงสรา้ ง สามารถทำงาน

ของเซลล์ได้ รว่ มกับผอู้ ื่นได้อยา่ ง

สรา้ งสรรค์

14. อธิบายและ 1. อธบิ ายการแพร่ 1. ปฏบิ ัติกจิ กรรม 1. สนใจใฝ่รใู้ น 4

เปรยี บเทียบการแพร่ ออสโมซิส การแพร่ เพื่อศึกษา การศึกษา และ

ออสโมซิส การแพร่ แบบฟาซลิ ิเทต และ กระบวนการแพร่ สามารถทำงาน

แบบฟาซิลเิ ทต และแอก แอกทฟี ทรานสปอร์ต และออสโมซิสได้ ร่วมกับผู้อื่นได้อย่าง

ทฟี ทรานสปอร์ตได้ ได้ สร้างสรรค์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 316

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชั่วโมง

15. สืบค้นข้อมลู อธบิ าย 1. อธบิ าย และเขียน 1. ปฏิบัติกิจกรรม 1. สนใจใฝร่ ู้ใน 4

และเขยี นแผนภาพการ แผนภาพการลำเลียง เพอ่ื ศกึ ษา การศกึ ษา และ

ลำเลียงสารโมเลกลุ ใหญ่ สารโมเลกลุ ใหญอ่ อก กระบวนการเอกโซ สามารถทำงาน

ออกจากเซลลด์ ้วย จากเซลล์ดว้ ย ไซโทซิส และการ ร่วมกับผอู้ นื่ ได้อยา่ ง

กระบวนการเอกโซไซโท กระบวนการเอกโซไซ ลำเลยี งสารโมเลกุล สรา้ งสรรค์

ซสิ และการลำเลยี งสาร โทซสิ และการ ใหญ่เขา้ สู่เซลล์ดว้ ย

โมเลกุลใหญ่เข้าสเู่ ซลล์ ลำเลียงสารโมเลกุล กระบวนการเอนโด

ดว้ ยกระบวนการเอนโด ใหญเ่ ขา้ สเู่ ซลล์ด้วย ไซโทซสิ ได้

ไซโทซสิ ได้ กระบวนการเอนโดไซ 2. ใช้กระบวนการสบื

โทซิสได้ เสาะหาความรใู้ น

2. อธิบายวธิ ีการ การศึกษาได้

ส่ือสารของเซลล์ที่อยู่

ใกล้กนั และเซลล์ท่ีอยู่

ไกลกันได้

16. สังเกตการแบ่ง 1. สังเกตการแบง่ 1. ปฏิบตั กิ ิจกรรม 1. สนใจใฝร่ ้ใู น 8

นวิ เคลยี สแบบไมโทซิส นวิ เคลยี สแบบไมโท เพื่อศกึ ษาการแบ่ง การศึกษา และ

และแบบไมโอซสิ จาก ซสิ และแบบไมโอซสิ เซลล์ได้ สามารถทำงาน

ตัวอยา่ งภายใต้กล้อง จากตัวอยา่ งภายใต้ 2. ใช้กระบวนการสบื ร่วมกบั ผูอ้ นื่ ได้อยา่ ง

จุลทรรศน์ พร้อมทัง้ กลอ้ งจลุ ทรรศน์ได้ เสาะหาความรู้เพอื่ สร้างสรรค์

อธิบายและเปรียบเทยี บ 2. อธบิ ายและ ศกึ ษาการเปล่ยี น 2. สนใจใฝร่ ใู้ น

การแบง่ นิวเคลียสแบบ เปรียบเทียบการแบง่ สภาพของเซลลแ์ ละ การศกึ ษา และมี

ไมโทซสิ และแบบไมโอ นิวเคลียสแบบไมโท การชราภาพของ ความมุ่งมั่น

ซสิ ซสิ และแบบไมโอซิส เซลลไ์ ด้

ได้

3. อธิบายการเปลยี่ น

สภาพของเซลล์เพื่อไป

ทำหน้าท่ีเฉพาะอย่าง

ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 317

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชวั่ โมง

4. อธบิ ายสาเหตุของ

การชราภาพของเซลล์

ได้

17. อธิบาย เปรียบเทียบ 1. อธบิ ายและสรุป 1. ปฏิบัตกิ จิ กรรม 1. สนใจใฝร่ ใู้ น 10

และสรปุ ข้นั ตอนการ ขัน้ ตอนการหายใจ เพ่ือศึกษา การศกึ ษา และ

หายใจระดบั เซลลใ์ น ระดับเซลล์ได้ กระบวนการหมกั ได้ สามารถทำงาน

ภาวะท่ีมอี อกซเิ จน 2. เปรียบเทียบ ร่วมกับผู้อ่นื ได้อยา่ ง

เพยี งพอ และภาวะท่มี ี ขัน้ ตอนการหายใจ สร้างสรรค์

ออกซเิ จนไมเ่ พยี งพอได้ ระดบั เซลลใ์ นภาวะท่ี

มอี อกซเิ จนเพียงพอ

และภาวะทม่ี ี

ออกซิเจน

ไมเ่ พยี งพอได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 318

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหสั วชิ า ว30241 รายวิชา ชีววิทยาเพม่ิ เตมิ 1 / Biology 1

รายวชิ าเพิม่ เตมิ กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 60 ช่วั โมง 1.5 หนว่ ยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะที่สําคัญของสิ่งมีชีวิต การใชความรูและกระบวนการทางชีววิทยาท่ี
เปน ประโยชนตอมนุษยและสิ่งแวดลอม การศึกษาชีววิทยาโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตรและการ
นําความรูเกีย่ วกบั ชวี วิทยามาประยกุ ตใชในชวี ิตประจําวัน ศึกษาโครงสรางและหนาท่ีของสารเคมีท่ีเป
นองคประกอบในเซลลของสิ่งมีชีวิต โครงสรางและหนาที่ของสวนที่หอหุมเซลล ไซโทพลาซึม และ
นิวเคลียสที่ศึกษาดวยกลองจุลทรรศน การสื่อสารระหวางเซลล การแพร่ การออสโมซิส การแพร่
แบบฟาซลิ ิเทต และแอกทีฟทรานสปอร์ต การลำเลียงสารผ่านเซลล์ การเปลย่ี นแปลงสภาพของเซลล
และการชราภาพของเซลล การสลายสารอาหารระดับเซลลเพ่ือใหไดพลงั งานในรปู ของ ATP

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การ
สังเกต การวิเคราะหการทดลอง การอภิปราย การอธิบายและสรุป เพื่อใหเกิดความรูความคิด
ความเขาใจ มีความสามารถในการตดั สินใจ ส่อื สารสง่ิ ท่เี รยี นรูและนาํ ความรูไปใชในชวี ติ ของตนเอง มี
จติ วทิ ยาศาสตรจรยิ ธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. อธิบาย และสรุปสมบัติทีส่ ำคัญของสิ่งมชี ีวิต และความสัมพันธ์ของการจัดระบบในสิ่งมีชีวิตที่ทำให้
ส่ิงมีชีวิตดำรงชีวติ อยู่ได้
2. อภิปราย และบอกความสำคัญของการระบุ ปัญหา ความสัมพันธ์ระหว่างปัญหา สมมติฐานและ
วิธีการตรวจสอบสมมตฐิ าน รวมท้งั ออกแบบการทดลองเพือ่ ตรวจสอบสมมตฐิ าน
3. สืบค้นข้อมูล อธิบายเกี่ยวกับสมบัติของน้ำ และบอกความสำคัญของน้ำที่มีต่อสิ่งมีชีวิต และ
ยกตวั อย่างธาตชุ นดิ ตา่ งๆ ทมี่ ีความสำคัญตอ่ รา่ งกายส่งิ มชี ีวิต
4. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างของคาร์โบไฮเดรต ระบุกลุ่มของคาร์โบไฮเดรตรวมทั้งความสำคัญ
ของคาร์โบไฮเดรตท่ีมีตอ่ ส่งิ มีชวี ติ
5. สืบค้นขอ้ มลู อธิบายโครงสร้างของโปรตนี และความสำคญั ของโปรตีนท่ีมีต่อสงิ่ มชี ีวิต
6. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ ายโครงสรา้ งของลพิ ดิ และความสำคญั ของลพิ ิดทม่ี ตี ่อสงิ่ มชี ีวติ
7. อธิบายโครงสร้างของกรดนิวคลิอิก และระบุชนิดของกรดนิวคลิอิก และความสำคัญของกรด
นวิ คลอิ กิ ทีม่ ตี ่อสิ่งมีชวี ติ
8. สืบคน้ ข้อมูลและอธิบายปฏิกิริยาเคมที เี่ กิดขน้ึ ในสง่ิ มชี วี ติ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 319

9. อธบิ ายการทำงานของเอนไซม์ในการเร่งปฏิกริ ยิ าเคมีในส่ิงมชี วี ิต และระบุปัจจัยที่มีผลต่อการ
ทำงานของเอนไซม์
10. บอกวิธีการและเตรียมตัวอย่างสิ่งมีชีวิต เพื่อศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์ใช้แสง วัดขนาด
โดยประมาณ และวาดภาพท่ปี รากฏภายใต้กล้อง บอกวธิกีารใช้ และการดแู ลรักษากล้องจุลทรรศน์ใช้
แสงทถี่ ูกตอ้ ง
11. อธบิ ายโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของส่วนที่ห่อหมุ้ เซลล์ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
12. สบื คน้ ข้อมูล อธิบาย และระบุชนดิ และหนา้ ที่ของออรแ์ กเนลล์
13. อธิบายโครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องนิวเคลยี ส
14. อธิบาย และเปรยี บเทยี บการแพร่ ออสโมซิส การแพร่แบบฟาซิลเิ ทต และแอกทีฟทรานสปอรต์
15. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเขียนแผนภาพการลำเลียงสารโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ด้วย
กระบวนการเอกโซไซโทซิสและการลำเลียง สารโมเลกุลใหญ่เข้าสู่เซลล์ด้วยกระบวนการเอนโดไซโท
ซิส
16. สังเกตการแบ่งนิวเคลียสแบบไมโทซิสและ แบบไมโอซิสจากตัวอย่างภายใต้กล้องจุลทรรศน์
พร้อมท้ังอธิบายและเปรียบเทยี บการแบ่งนวิ เคลยี สแบบไมโทซสิ และแบบไมโอซิส
17. อธิบาย เปรียบเทียบ และสรุปขั้นตอนการหายใจระดับเซลลใ์ นภาวะทีม่ ีออกซิเจน เพียงพอ และ
ภาวะทม่ี อี อกซเิ จนไมเ่ พียงพอ

รวมท้งั หมด 17 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 320

โครงสรา้ งรายวิชา

รหสั วชิ า ว30241 รายวิชา ชีววทิ ยาเพิม่ เตมิ 1 / Biology 1

รายวิชาเพม่ิ เตมิ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 จำนวน 60 ชว่ั โมง 1.5 หนว่ ยกติ

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน

1 การศึกษา 1, 2 - ธรรมชาติของชีววทิ ยา 8 10

ชวี วทิ ยา - การศกึ ษาชวี วทิ ยาและวิธี

ทางการวทิ ยาศาสตร์

- กจิ กรรมสเตม็ ศึกษา

2 เคมีท่เี ปน็ 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 - อะตอม ธาตุและ 12 15

พื้นฐานของ สารประกอบ

สิง่ มีชีวติ - นำ้

- สารประกอบคาร์บอนใน

สิ่งมชี วี ิต

- ปฏิกริ ยิ าเคมีในเซลล์ของ

ส่ิงมชี วี ิต

สอบกลางภาค 20

3 เซลลแ์ ละ 10, 11, 12, 13, 14, - กล้องจลุ ทรรศน์ 40 35

การทำงาน 15, 16, 17 - โครงสร้างและหน้าที่ของ

ของเซลล์ เซลล์

- การลำเลยี งสารเข้า-ออก

เซลล์

- การหายใจระดบั เซลล์

- การแบ่งเซลล์

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 321

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหสั วิชา ว30242 รายวชิ า ชวี วิทยาเพ่ิมเตมิ 2 ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 2

สาระชีววิทยา
ขอ้ ที่ 2. เขา้ ใจการถ่ายทอดลักษณะทางพนั ธกุ รรม การถา่ ยทอดยีนบนโครโมโซม สมบัติและ
หนา้ ท่ีของสารพนั ธุกรรม การเกิดมิวเทชนั เทคโนโลยที างดเี อน็ เอ หลกั ฐานข้อมูลและแนวคิดเก่ียวกับ
ววิ ัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ภาวะสมดลุของฮาร์ดี-ไวน์เบิรก์ การเกิดสปชี ีย์ใหม่ ความหลากหลายทางชวี
ภาพ กำเนิดของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวิธาน รวมทั้งนำความรู้ไปใช้
ประโยชน์

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน
ช่วั โมง
(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
3
1. สืบค้นข้อมูล อธบิ าย 1. อธิบาย และสรุป 1. เขยี นการถา่ ยทอด 1. สนใจใฝร่ ู้ใน
5
และสรุปผลการทดลอง การทดลองการ ลักษณะพันธุกรรม การศกึ ษา

ของเมนเดล ถา่ ยทอดลักษณะของ ของถ่วั ลนั เตาตาม

ถวั่ ลันเตาได้ การทดลองของเมน

2. อธิบายความหมาย เดลได้

และยกตัวอย่างของ

ลักษณะเดน่ ลกั ษณะ

ด้อย ยีนเด่น ยีนด้อย

แอลลีล โลคัส

ฮอมอโลกัสโครโมโซม

ฟีโนไทป์ จโี นไทป์

ฮอมอไซกสั จโี นไทป์

เฮเทอโรไซกัสจีโนไทป์

ความเด่นแท้ ความ

ด้อยแท้

2. อธิบายและสรุปกฎ 1. อธบิ ายกฎการแยก 1. เขียนการถา่ ยทอด 1. สนใจใฝร่ ใู้ น

แหง่ การแยกและกฎแหง่ และกฎการรวมกลุม่ ลกั ษณะพันธุกรรม การศกึ ษา

การรวมกล่มุ อยา่ งอิสระ อยา่ งอิสระของเมน ตามกฎการแยกและ

และนำกฎของเมนเดลน้ี เดลได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 322

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ทอ้ งถนิ่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน
ไปอธิบายการถ่ายทอด ชัว่ โมง
ลักษณะทาง พันธกุ รรม (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
และใช้ในการคำนวณ 4
โอกาสในการเกดิ ฟีโน 2. คำนวณโอกาสใน กฎการรวมกลมุ่ อยา่ ง
ไทปแ์ ละจโี นไทปแ์ บบ
ตา่ งๆ ของรุ่น F1 และ การเกดิ ฟโี นไทป์และจี อสิ ระของเมนเดลได้
F2
โนไทป์แบบตา่ ง ๆ
3. สืบค้นข้อมลู
วเิ คราะห์ อธิบาย และ ของรุ่น F1 และ F2 ได้
สรปุ เก่ยี วกบั การ 3. ใชก้ ฎการแยกไป
ถ่ายทอดลกั ษณะทาง
พนั ธุกรรมท่เี ป็นส่วน หาโอกาสของการ
ขยายของพันธศุ าสตร์
เมนเดล เกิดฟีโนไทปแ์ ละจีโน

ไทปแ์ บบต่าง ๆ ของ

รุน่ F1 และ F2 ของ

การผสมพิจาณา

ลักษณะเดยี วได้

4. ใช้กฎการรวมกล่มุ

อย่างอสิ ระไปหา

โอกาสของการเกิดฟี

โนไทป์และจโี นไทป์

แบบต่าง ๆ ของรุน่

F1 และ F2 ของการ

ผสมพิจาณาสอง

ลักษณะได้

1. อธิบายการ 1. เขียนการถ่ายทอด 1. สนใจใฝร่ ้ใู น

ถ่ายทอดลกั ษณะ ลกั ษณะพนั ธกุ รรม การศกึ ษา

พันธกุ รรมทเ่ี ปน็ สว่ น ลักษณะต่าง ๆ เป็น

ขยายของพนั ธุศาสตร์ ส่วนขยายของพันธุ

เมนเดลได้ ศาสตรเ์ มนเดลได้

2. ยกตวั อยา่ งลักษณะ

พนั ธุกรรมทีเ่ ป็นสว่ น

ขยายของพันธุศาสตร์

เมนเดลได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 323

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอัน จำนวน
ชั่วโมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
2
3. ประยุกต์ใช้ความรู้ 2

จากการถ่ายทอด 7

ลกั ษณะพนั ธกุ รรมท่ี

เปน็ ส่วนขยายของ

พนั ธศุ าสตร์เมน

เดลมาหาโอกาสการ

เกิดลักษณะทาง

พนั ธุกรรมต่าง ๆ ได้

4. สืบคน้ ข้อมลู 1. เปรยี บเทยี บ 1. เขียนพนั ธปุ ระวตั ิ 1. สนใจใฝ่รู้ใน

วเิ คราะห์ และ ลักษณะทาง แสดงการถา่ ยทอด การศึกษา

เปรียบเทยี บลกั ษณะทาง พันธุกรรมท่ีมีการแปร ลกั ษณะพนั ธกุ รรม

พันธกุ รรมที่มีการแปร ผันไม่ตอ่ เน่ืองและ ภายในครอบครัวได้

ผันไมต่ ่อเนื่องและ ลักษณะทาง

ลักษณะทางพันธกุ รรมท่ี พนั ธกุ รรมท่ีมกี ารแปร

มีการแปรผันต่อเนื่อง ผนั ต่อเนื่อง

5. อธบิ ายการถา่ ยทอด 1. อธิบายและ 1. เขยี นพนั ธุประวัติ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน

ยีนบนโครโมโซม และ เปรียบเทียบการ แสดงการถา่ ยทอด การศกึ ษา

ยกตวั อยา่ งลกั ษณะทาง ถ่ายทอดยนี บน ลกั ษณะพนั ธกุ รรม

พนั ธุกรรมท่ีถูกควบคุม โครโมโซม และ ภายในครอบครวั ได้

ด้วยยนี บนออโตโซมและ ยกตวั อยา่ งลักษณะ

ยีนบนโครโมโซมเพศ ทางพันธุกรรมทถี่ ูก

ควบคุมด้วยยีนบนออ

โตโซมและยนี บน

โครโมโซมเพศ

6. สบื คน้ ขอ้ มลู อธิบาย 1. อธบิ ายและสรุปผล 1. ตรวจสอบ 1. สนใจใฝร่ ้ใู น

สมบตั ิและหนา้ ที่ของ การทดลองของ สมมุตฐิ านและผล การศกึ ษา

สารพนั ธุกรรม นักวทิ ยาศาสตรท์ ี่ การทดลองของ

โครงสร้างและ เกยี่ วกับการค้นพบ นักวิทยาศาสตร์ที่

องค์ประกอบทางเคมี สารพนั ธุกรรมได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 324

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน
ของ DNA และสรุปการ ช่ัวโมง
จาลอง DNA (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
6
7. อธิบายและระบุ 2. อธบิ ายรูปร่าง เก่ียวกบั การคน้ พบ
ขนั้ ตอนในกระบวนการ
สงั เคราะหโ์ ปรตนี และ ลักษณะ และ สารพนั ธกุ รรมได้
หนา้ ที่ของ DNA และ
RNA แตล่ ะชนดิ ใน สว่ นประกอบของ 2. เขยี น/วาดภาพ
กระบวนการสงั เคราะห์
โปรตีน โครโมโซมได้ รปู ร่าง ลักษณะ และ

3. อธบิ าย สว่ นประกอบของ

องค์ประกอบทางเคมี โครโมโซมได้

และโครงสรา้ งของดี 3. สรา้ งแบบจำลอง

เอ็นเอได้ โมเลกุลของดีเอน็ เอ

4. อธบิ ายแบบจำลอง ได้

โครงสร้างโมเลกุลของ

ดเี อน็ เอได้

1. อธบิ ายสมบตั ิของ 1. เขยี นลำดบั 1. สนใจใฝร่ ู้ใน

สารพันธุกรรม กรดอะมโิ นทีเ่ ป็น การศกึ ษา

2. อธิบายเกย่ี วกับการ ส่วนประกอบของพอ

สงั เคราะหด์ เี อ็นเอ ลิเพปไทด์ทไ่ี ด้จาก

3. อธิบายการ การแปลรหสั ได้

สังเคราะห์ mRNA

จาก DNA แม่แบบได้

4. อธิบาย

กระบวนการ

สงั เคราะห์สายพอลิ

เพปไทดไ์ ด้

5. สาธติ การถอดรหัส

และแปลรหสั ได้

8. สรุปความสัมพันธ์ 1. อธบิ ายสมบตั ขิ อง 1. เขียนลำดบั 1. สนใจใฝร่ ใู้ น 2

ระหว่างสารพันธุกรรม สารพันธกุ รรม กรดอะมิโนทีเ่ ป็น การศกึ ษา

แอลลลี โปรตีน ลักษณะ ส่วนประกอบของพอ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 325

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน
ชัว่ โมง
ทางพนั ธุกรรม และ (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
เช่อื มโยงกับความรเู้ รื่อง
พนั ธุศาสตรเ์ มนเดล 2. อธิบายเก่ียวกับการ ลิเพปไทดท์ ไ่ี ดจ้ าก

สังเคราะห์ดีเอน็ เอ การแปลรหสั ได้

3. อธบิ ายการ

สงั เคราะห์ mRNA

จาก DNA แม่แบบได้

4. อธบิ าย

กระบวนการ

สังเคราะห์สายพอลิ

เพปไทดไ์ ด้

5. สาธติ การถอดรหัส

และแปลรหัสได้

9. สืบคน้ ข้อมลู และ 1. อธิบายการกลาย 1. เขยี นลำดบั 1. สนใจใฝ่รูใ้ น 5
อธิบายการเกิดมวิ เทชนั การศึกษา 5
ระดับยนี และระดับ ของส่ิงมชี วี ิตได้ กรดอะมิโนใหมใ่ น
โครโมโซม สาเหตกุ าร 1. สนใจใฝร่ ู้ใน
เกดิ มิวเทชัน รวมท้งั 2. ยกตวั อย่างการ สายพอลิเพปไทดท์ ่ี การศกึ ษา
ยกตัวอย่างโรคและกลมุ่
อาการท่ีเปน็ ผลของการ กลายที่พบในมนษุ ย์ได้ เกดิ การกลายของ
เกิดมวิ เทชนั
10. อธบิ ายหลกั การ 3. อธบิ ายสาเหตุและ รหสั พนั ธุกรรมได้
สร้างส่งิ มีชวี ิตดดั แปร
พันธุกรรมโดยใชด้ ีเอน็ เอ ผลของการกลาย
รคี อมบิแนนท์
ประเภทตา่ ง ๆ ได้

1. อธิบายหลักการ 1. เขียนข้นั ตอนการ
สร้างดเี อน็ เอรีคอม สร้างดีเอ็นเอรีคอม
บแิ นนทไ์ ด้ บิแนนท์ได้
2. อธบิ ายหลกั การ 2. เขยี นขั้นตอนการ
โคลนยนี หรือโคลนดี โคลนยีนหรือโคลนดี
เอ็นเอได้ เอน็ เอได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 326

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน
ช่ัวโมง
11. สบื คน้ ขอ้ มลู (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
ยกตัวอย่าง และ 5
อภิปรายการนำ 3. อธิบายหลักการ 3. เขยี นขน้ั ตอนการ
เทคโนโลยีทางดเี อ็นเอ 5
ไปประยุกต์ ทั้งในดา้ น สร้างสงิ่ มีชีวิตดดั แปร สรา้ งสงิ่ มีชีวิตดดั แปร
สิง่ แวดลอ้ ม นิติ
วิทยาศาสตร์ การแพทย์ พนั ธุกรรมได้ พันธกุ รรมได้
การเกษตร และ
อตุ สาหกรรม และข้อ 4. เปรยี บเทียบการ
ควรคำนึงถงึ ด้านชีวจรยิ
ธรรม โคลนยีนโดยอาศยั พ

12. สบื ค้นข้อมลู และ ลาสมิดของแบคmu
อธบิ ายเก่ียวกบั หลกั ฐาน
ที่สนับสนนุ และข้อมูลท่ี เรยี กบั เทคนิคพอลิ
ใชอ้ ธิบายการเกิด
เมอเรสเชนรแี อกชัน

ได้

1. อธบิ ายการนำ 1. ตรวจสอบ 1. สนใจใฝ่รู้ใน

เทคโนโลยีทางดเี อน็ เอ ความสัมพนั ธ์ของ การศึกษา

มาใชป้ ระโยชน์ ลายพมิ พ์ดเี อน็ เอกับ

ทางดา้ นต่าง ๆ ได้ ตวั บคุ คลในกรณตี า่ ง

2. อธบิ ายเกี่ยวกับ ๆ ได้

ข้อด/ี ขอ้ เสยี ของการ

ใช้เทคโนโลยที างดี

เอ็นเอได้

3. อธิบายขอ้ ควร

คำนงึ ถงึ ความ

ปลอดภัยทางชวี ภาพ

ชีวจริยธรรม และ

ผลกระทบทางดา้ น

สงั คมในการใช้

เทคโนโลยีทางดเี อ็น

1. อธิบายหลักฐาน 1. เขยี นลำดบั ขน้ั การ 1. สนใจใฝ่ร้ใู น

ตา่ ง ๆ ท่สี นบั สนนุ เกิดวิวฒั นาการของ การศกึ ษา

การเกิดววิ ฒั นาการ มนุษยไ์ ด้ (P) 2. รับผิดชอบตอ่

ของสิ่งมีชีวติ ได้ ภาระที่ได้รับ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 327

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน
ชั่วโมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
2
วิวฒั นาการของ 2. อธบิ ายการเกิด 2. นำเสนอผลงาน มอบหมายในการ
5
ส่งิ มชี วี ติ วิวฒั นาการของมนุษย์ และจดั ทำป้ายนิเทศ ทำกจิ กรรมกลุ่ม

ได้ อยา่ งได้ถกู ตอ้ ง (P)

13. อธบิ ายและ 1. อธิบายแนวคิด 1. ตรวจสอบแนวคดิ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน

เปรียบเทยี บแนวคิด เกย่ี วกับวิวฒั นาการ เกย่ี วกับววิ ัฒนาการ การศกึ ษา

เก่ยี วกบั วิวฒั นาการของ ของลามารก์ ได้ ของลามาร์ก และ

สิ่งมชี ีวติ ของฌอง ลา 2. อธบิ ายแนวคดิ ดารว์ ินได้ (P)

มารก์ และทฤษฎี เกี่ยวกบั ววิ ัฒนาการ

เกี่ยวกบั ววิ ัฒนาการของ ของดาร์วินได้

สง่ิ มีชีวิตของชาลส์ ดาร์ 3. เปรียบเทยี บ

วนิ แนวคิดเกี่ยวกับ

ววิ ัฒนาการของลา

มารก์ และดารว์ นิ ได้

14. ระบสุ าระสำคัญและ 1. อธิบายทฤษฎีของ 1. ทำตามข้ันตอน 1. สนใจใฝร่ ้ใู น

อธบิ ายเงือ่ นไขของภาวะ ฮารด์ ี-ไวน์เบริ ก์ และ การหาความถขี่ อง การศึกษา

สมดลุ ของฮารด์ ี-ไวน์ ภาวะดุลของฮารด์ ี- แอลลีล และความถ่ี

เบิรก์ ปัจจัยทท่ี ำให้เกดิ ไวน์เบริ ก์ ได้ ของจีโนไทป์ในกลุ่ม

การ เปล่ยี นแปลงความถ่ี 2. คำนวณความถี่ของ ประชากรที่อยูภ่ ายใต้

ของแอลลีลในประชากร แอลลีล และความถี่ ภาวะดลุ ของฮารด์ ี-

พรอ้ มทัง้ คำนวณหา ของจโี นไทปใ์ นกลุ่ม ไวนเ์ บริ ก์ ได้

ความถี่ของแอลลีลและจี ประชากรที่อย่ภู ายใต้

โนไทป์ของประชากรโดย ภาวะดุลของฮารด์ ี-

ใชห้ ลักของฮารด์ ี-ไวน์ ไวนเ์ บริ ก์ ได้

เบิร์ก 3. ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้

จากภาวะสมดลุ ของ

ฮารด์ ี-ไวนเ์ บิรก์ ในการ

หาความถ่ขี องแอลลี

ลของโรคทาง

พันธุกรรมได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 328

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ทอ้ งถนิ่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน
ชั่วโมง
15. สืบค้นขอ้ มูล (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
อภปิ ราย และอธิบาย 2
กระบวนการเกิดสปีชีส์ 4. อธบิ ายปจั จยั ทที่ ำ
ใหม่ของสง่ิ มชี วี ติ
ให้เกดิ การ

เปล่ียนแปลงความถ่ี

ของแอลลีลใน

ประชากรในประชากร

ได้

1. อธิบายความหมาย 1. นำเสนอผลงาน 1. สนใจใฝ่รู้ใน

ของสปชี สี ไ์ ด้ และจดั ทำปา้ ยนิเทศ การศกึ ษา

2. อธิบายหลักการ อยา่ งได้ถกู ต้อง

เกิดสปีชสี ใ์ หมข่ อง

สิ่งมชี วี ติ ได้

3. ยกตัวอยา่ ง

สิ่งมชี ีวิตทเ่ี กิดสปชี สี ์

ใหมไ่ ด้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 329

คำอธบิ ายรายวิชา

รหัสวิชา ว30242 รายวชิ า ชวี วทิ ยาเพมิ่ เตม่ิ 2 / Biology 2

รายวชิ าเพิม่ เตมิ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 60 ช่วั โมง 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาเกี่ยวกับการถ่ายทอดทางพันธุกรรม การศึกษาพันธุศาสตร์ของเมนเดล กฎแห่งการ
แยกและกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ ลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมน
เดล ศึกษาเกี่ยวกับยีนและโครโมโซม การค้นพบสารพันธุกรรม โครโมโซม องค์ประกอบทางเคมีของ
DNA พันธุวิศวกรรม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีทาง DNA ความปลอดภัยของเทคโนโลยีทาง DNA
และมุมมองทางสังคมและจริยธรรม ศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการ หลักฐานที่บงบอกถึงวิวัฒนาการของ
สง่ิ มีชีวิต แนวคดิ เกี่ยวกบั วิวฒั นาการของสง่ิ มชี ีวติ พันธศุ าสตรป์ ระชากร กำเนดิ ของสปชี สี ์

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ
การสังเกต การสืบค้นข้อมูล การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สื่อสาร สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตของ
ตนเอง มีจิตวิทยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และคา่ นยิ มท่ีเหมาะสม

ผลการเรียนรู้
1. สบื ค้นขอ้ มลู อธบิ าย และสรุปผลการทดลองของเมนเดล
2. อธิบายและสรุปกฎแห่งการแยกและกฎแห่งการรวมกลุ่มอย่างอิสระ และนำกฎของเมนเดลนี้ไป
อธิบายการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมและใช้ในการคำนวณโอกาสในการเกิดฟีโนไทป์และจีโน
ไทป์แบบตา่ งๆ ของรุน่ F1 และ F2
3. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ อธิบาย และสรุปเกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมที่เป็นส่วน
ขยายของพันธศุ าสตร์เมนเดล
4. สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ และเปรียบเทียบลักษณะ ทางพันธุกรรมที่มีการแปรผันไม่ต่อเนื่อง และ
ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทีม่ กี ารแปรผนั ต่อเน่ือง
5. อธิบายการถ่ายทอดยนี บนโครโมโซม และยกตัวอย่างลักษณะทางพันธุกรรมที่ถูกควบคุมด้วย
ยีนบนออโตโซมและยีนบนโครโมโซมเพศ
6. สืบคน้ ข้อมลู อธบิ ายสมบัติและหนา้ ท่ขี องสารพนั ธกุ รรม โครงสร้างและองค์ประกอบทางเคมีของ
DNA และสรุปการจำลอง DNA
7. อธิบาย และระบขุ ้นั ตอนในกระบวนการ สงั เคราะหโ์ ปรตีนและหนา้ ทข่ี อง DNA และRNA แต่ละ
ชนิดในกระบวนการสงั เคราะหโ์ ปรตีน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 330

8. สรุปความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสารพันธกุ รรม แอลลลี โปรตนี ลักษณะทางพันธุกรรม และเชื่อมโยง
กบั ความรูเ้ ร่ืองพนั ธุศาสตรเ์ มนเดล
9. สบื ค้นข้อมูลและอธิบายการเกิดมิวเทชันระดับยีนและระดับโครโมโซม สาเหตุการเกิดมิวเทชัน
รวมทั้งยกตวั อยา่ งโรคและกลุม่ อาการ ท่เี ปน็ ผลของการเกดิ มิวเทชัน
10. อธิบายหลกั การสร้างสงิ่ มชี ีวิตดดั แปลงพันธกุ รรม โดยใช้ดเี อ็นเอรีคอมบิแนนท์
11. สืบค้นข้อมูล ยกตัวอย่างและอภิปรายการนำเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอไปประยุกต์ใช้ทั้งในด้าน
ส่ิงแวดล้อม นิติวิทยาศาสตร์ การแพทย์การเกษตรและอุตสาหกรรมและข้อควรคำนึงถึงด้านชีวจริย
ธรรม
12. สืบค้นข้อมูล และอธิบายเกี่ยวกับหลักฐานที่สนับสนุนและข้อมูลที่ใช้อธิบายการเกิด วิวัฒนาการ
ของส่งิ มีชีวิต
13. อธิบาย และเปรียบเทียบแนวคิดเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตของฌองลามาร์กและทฤษฎี
เกี่ยวกับวิวฒั นาการของสงิ่ มีชวี ิตของชาลสด์ าร์วิน
14. ระบุสาระสำคัญ และอธิบายเงือ่ นไขของภาวะ สมดลุ ของฮารด์ ี-ไวน์เบริ ์ก ปัจจัยที่ทำใหเ้ กิด การ
เปล่ยี นแปลงความถ่ีของแอลลลี ในประชากรพร้อมทั้งคำนวณหาความถี่ของแอลลีลและจีโนไทป์ของ
ประชากรโดยใช้หลกั ของฮารด์ ี-ไวนเ์ บิรก์
15. สบื คน้ ข้อมลู อภิปราย และอธบิ ายกระบวนการเกดิ สปชี สี ใ์ หมข่ องส่งิ มีชวี ิต

รวมทั้งหมด 15 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 331

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30242 รายวชิ า ชวี วิทยาเพ่ิมเติ่ม 2 / Biology 2

รายวิชาเพิม่ เตมิ กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หน่วยกิต

ลำดับ ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

1 โครโมโซม 5, 6, 7, 8, 9 - โครงสรา้ งและสมบตั ิของ 20 15

2 และสาร โครโมโซม 16 15

พนั ธุกรรม - สารพันธุกรรม คือสาร 20

ชีวโมเลกุลที่ทำหน้าที่เก็บ

ข้อมูลรหัสสำหรับการ

ทำงานของสงิ่ มีชีวติ ตา่ งๆ

- มิวเทชัน การกลายพันธ์ุ

การเปลี่ยนแปลงทาง

พนั ธกุ รรม

การ 1, 2, 3, 4 - การถ่ายทอดลักษณ

ถา่ ยทอด ธทางพันธุกรรมของเมน

ลักษณะ เดล สรุปเปน็ กฎ 2 ขอ้ คือ

ทาง กฎแห่งการแยก และกฎ

พันธุกรรม แห่งการรวมกลุ่มอย่าง

อิสระ

- การถ่ายทอดลักษณะ

ทางพันธุกรรมบาง

ลักษณะไม่ป็นไปตามหลัก

พันธุศาสตร์ของเมนเดล

ดังนี้ การข่มไม่สมบูรณ์

การขม่ รว่ มกัน

- ยีนบนโครโมโซมเดยี วกนั

สอบกลางภาค

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 332

ลำดบั ชอื่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชวั่ โมง) คะแนน

3 เทคโนโลยี 10, 11 - การใช้เทคโนโลยีทางดี 10 15

ทางดีเอน็ เอ็นเอในการสร้างรีคอม

เอ บิแนนท์โดยอาศัยเอนไซม์

ตัดจำเพาะและเอนไซม์ดี

เอน็ เอไลเกส

- การหาขนาดของ DNA

และหาลำดับนิวคลีโอไทด์

- การประยุกต์ใช้

เทคโนโลยีทางดีเอน็ เอ

เชน่ การบำบดั ด้วยยีน

การผลติ ยา การตรวจสอบ

ความ

สัมพนั ธ์ทางสายเลือด การ

สรา้ งพชื และสตั วท์ ่ี

ดดั แปลงพนั ธุกรรม

- เทคโนโลยีทางดีเอ็นเอที่

มีต่อมนุษย์และ

สิ่งแวดล้อม

4 วิวฒั นากา 12, 13, 14, 15 - หลักฐานและขอ้ มูลท่ใี ช้ 14 15

ร ในการศึกษาวิวฒั นาการ

ของส่งิ มชี วี ิต เชน่ ซากดกึ

ดำบรรพ์ กายวิภาคเปรียบ

เทียบวิทยาเอ็มบรโิ อ

- แนวคิดเกีย่ วกบั ววิ ัฒนา

การของฌอง ลามาร์ก วา่

สิ่งมชี ีวติ มกี าร

เปลีย่ นแปลงโครงสรา้ งให้

เขา้ กบั สภาพ

แวดลอ้ ม โดยอาศัยกฎ

การใชแ้ ละการไมใ่ ช้ และ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 333

ลำดบั ช่ือหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน

กฎแหง่ การถ่ายทอด

ลกั ษณะท่ีเกดิ ข้ึนใหม่

- พันธุศาสตรป์ ระชากร

ปจั จยั ทท่ี ำใหเ้ กิดการ

เปลยี่ นแปลงความถี่ของ

แอลลลี

- กำเนดิ สปีชสี ์

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรยี น 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 334

แบบวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร
รหสั วชิ า ว30243 รายวิชา ชวี วิทยาเพ่ิมเตมิ 3 ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 1

สาระชวี วทิ ยา
ข้อ 3. เข้าใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแก๊ส และคายน้ำของพืชการลำเลียงของ
พืชการสังเคราะห์ด้วยแสง การสืบพันธุ์ของพืชดอกและการเจริญเติบโต และการตอบสนองของพืช
รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอัน จำนวน
ชว่ั โมง
(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
3
1. อธบิ ายเก่ยี วกับชนิด 1. อธิบายเก่ยี วกบั 1. จำแนกประเภท 1. รับผดิ ชอบตอ่
5
และลกั ษณะของเนือ้ เย่ือ ชนิดและลกั ษณะของ และเขยี นแผนผงั หนา้ ที่และงานท่ี

พชื และเขยี นแผนผังเพ่ือ เนื้อเย่อื พชื ได้ สรปุ ชนดิ ของเน้ือเย่อื ไดร้ บั มอบหมาย

สรปุ ชนิดของเนื้อเยอ่ื พืช พืชได้

2. สงั เกต อธิบายและ 1. อธบิ าย และสรุป 1. เขยี นสรุป 1. ใฝ่เรยี นรู้

เปรียบเทียบโครงสรา้ ง โครงสร้างของราก โครงสร้างภายในและ 2. มีจติ

ภายในของรากพืชใบ องค์ประกอบและสว่ น ภายนอกของราก ใน วิทยาศาสตร์

เลีย้ งเด่ียวและรากพืช ตา่ งๆ ของราก รปู ของ Mind 3. ตระหนักถึง

ใบเล้ยี งคจู่ ากการตัดตาม 2. บอกโครงสรา้ ง mapping ได้ ความสำคญั ของ

ขวาง ภายในและภายนอก 2. แสดงการ โครงสรา้ งและ

ของรากได้ เปรียบเทียบแตกตา่ ง หนา้ ท่ีของรากต่อ

3. เปรียบเทียบความ ระหว่างรากของพืช การดำรงชีวิตของ

แตกตา่ งระหวา่ งราก ใบเลี้ยงเดี่ยวและราก พืช

ของพืชใบเลย้ี งเดี่ยว ของพชื ใบเลยี้ งคู่

และรากของพชื ใบ 3. ยกตวั อย่างพืชใน

เล้ียงคู่ได้ แต่ละชนดิ ท่มี รี ากท่ี

4. อธิบาย และสรุป ทำหนา้ ที่แตกต่างกัน

หน้าที่การทำงานของ

ราก

5. บอกชนิดของราก

แตล่ ะชนดิ ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 335

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลักษณะอนั จำนวน
ชั่วโมง
(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
5
3. สงั เกต อธบิ ายและ 1. อธบิ ายความหมาย 1. เขยี นสรปุ 1. ใฝเ่ รยี นรู้
4
เปรยี บเทียบโครงสร้าง และสรุปโครงสร้าง โครงสรา้ งภายในและ 2. มีจติ

ภายในของลำต้นพชื ใบ ของใบ องค์ประกอบ ภายนอกของใบ ใน วิทยาศาสตร์

เล้ียงเดยี่ วและลำตน้ พืช และสว่ นตา่ ง ๆ ของ รูปของ Mind 3 ตระหนักถึง

ใบเลี้ยงคจู่ ากการตัดตาม ใบ mapping ได้ ความสำคัญของ

ขวาง 2. บอกโครงสร้าง 2. วาดภาพแสดงการ โครงสร้างและ

ภายในและภายนอก เปรยี บเทียบแตกต่าง หน้าท่ีของใบต่อ

ของใบได้ ระหวา่ งใบของพืชใบ การดำรงชวี ติ ของ

3. เปรยี บเทยี บความ เลยี้ งเด่ียวและใบของ พชื

แตกต่างระหวา่ งใบ พืชใบเลี้ยงคู่ได้

ของพชื ใบเล้ียงเด่ียว 3. ยกตัวอยา่ งพชื ใน

และใบของพชื ใบเล้ยี ง แต่ละชนิดท่ีมลี ำต้นที่

คไู่ ด้ ทำหนา้ ท่แี ตกต่างกัน

4. อธิบาย และสรปุ

หนา้ ที่การทำงานของ

ลำต้น

5. บอกชนดิ ของลำตน้

แตล่ ะชนดิ ได้

4. สังเกตและอธิบาย 1. อธบิ ายความหมาย 1. เขียนสรปุ 1. ใฝ่เรยี นรู้

โครงสร้างภายในของใบ และสรุปโครงสร้าง โครงสร้างภายในและ 2. มีจิต
พชื จากการตัดตามขวาง ของใบ องคป์ ระกอบ
ภายนอกของใบ ใน วทิ ยาศาสตร์
และสว่ นตา่ ง ๆ ของ 3. ตระหนักถงึ
รูปของ Mind ความสำคญั ของ
ใบ mapping ได้ โครงสร้างและ

2. บอกโครงสรา้ ง 2. วาดภาพแสดงการ หน้าที่ของใบต่อ

ภายในและภายนอก เปรยี บเทยี บแตกต่าง การดำรงชีวิตของ

ของใบได้ ระหว่างใบของพืชใบ พืช

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 336

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน
ชั่วโมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
3
3. เปรยี บเทียบความ เลี้ยงเดี่ยวและใบของ 2
2
แตกต่างระหว่างใบ พชื ใบ

ของพืชใบเลย้ี งเดี่ยว เล้ียงคไู่ ด้

5. สืบค้นข้อมลู สังเกต และใบของพืชใบเลี้ยง 3. ยกตวั อย่างพืชใน 1. ใฝ่เรยี นรู้
และอธิบายการ คูไ่ ด้ แต่ละชนดิ ท่มี ีใบที่ทำ 2. มีจิต
แลกเปลี่ยน แก๊สและ 4. อธิบาย และสรปุ หน้าทีแ่ ตกต่างกนั วทิ ยาศาสตร์
การคายน้ำของพชื หน้าทกี่ ารทำงานของ
ใบ 1. เขียนสรปุ หน้าท่ี 1. รบั ผดิ ชอบต่อ
6. สืบคน้ ข้อมูลและ 5. บอกชนดิ ของใบแต่ และโครงสรา้ งของ หนา้ ทแี่ ละงานที่
อธบิ ายกลไกการลำเลยี ง ละชนดิ ได้ การคายน้ำของพชื ได้ ได้รบั มอบหมาย
น้ำและธาตอุ าหารของ 1. อธิบายความหมาย อย่างถูกต้อง
พชื องค์ประกอบและ 1. ตระหนักถึง
ความสำคญั ของการ 1. เปรยี บเทียบ ความสำคัญของ
7. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย คายน้ำของพชื ได้อย่าง รปู แบบการลำเลยี ง ธาตอุ าหารท่ีมตี ่อ
ความสำคัญของธาตุ ถูกต้อง นำ้ แบบอโพ พชื
อาหารและยกตัวอยา่ ง 1. อธบิ ายกลไกการ พลาสตแ์ ละแบบ
ธาตอุ าหารทส่ี ำคัญท่มี ี ลำเลียงนำ้ ของพชื ได้ ซิมพลาสต์ได้
ผลต่อการเจรญิ เติบโต 1. เปรียบเทยี บ
ของพชื 1. อธบิ ายความสำคัญ ลกั ษณะของพืชท่ี
ของธาตุอาหารที่มตี อ่ ขาดธาตอุ าหารชนิด
พชื ได้ ตา่ ง ๆ ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 337

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ท้องถ่ิน

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชั่วโมง

8. อธิบายกลไกการ 1. อธบิ ายกลไกการ 1. วเิ คราะห์กลไก 1. ตระหนกั ถงึ 2

ลำเลยี งอาหารในพชื ลำเลยี งอาหารของพชื การลำเลียงอาหาร ความสำคัญของพืช

ได้ ของพชื ได้

9. สบื ค้นข้อมูล และ 1. สามารถสรปุ ผล 1. เปรยี บเทียบผล 1. รับผิดชอบต่อ 2

สรุปการศกึ ษาท่ีไดจ้ าก การค้นคว้าของ การทดลอง หน้าท่ีและงานที่

การ ทดลองของ นกั วิทยาศาสตรใ์ น กระบวนการ ได้รับมอบหมาย

นกั วทิ ยาศาสตร์ในอดตี อดตี เกี่ยวกับการ สังเคราะหด์ ว้ ยแสง

เกี่ยวกบั กระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง ของนักวทิ ยาศาสตร์

สงั เคราะห์ด้วยแสง 2. อธบิ ายและสรปุ ในอดตี ได้

ขน้ั ตอนทส่ี ำคัญ ของ

กระบวนการ

สงั เคราะห์ด้วยแสง

10. อธบิ ายขั้นตอนที่ 1. อธบิ ายข้ันตอนที่ 1. เปรยี บเทยี บกลไก 1. ตระหนักถงึ 5

เกิดขนึ้ ในกระบวนการ เกิดขึน้ ในกระบวนการ การตรงึ แกส๊ คุณค่าของการใช้

สังเคราะห์ด้วยแสงของ สังเคราะห์ดว้ ยแสง คารบ์ อนไดออกไซด์ จากลำตน้ ของพชื

พืช C3 ของพืช C3 ได้

11. เปรียบเทยี บกลไก 1. อธบิ าย 1. เขียนสรุปลำดับ 1. ตระหนักถึง 5

การตรึง ความหมายและ ขนั้ ตอนท่สี ำคญั ของ ความสำคัญของ

คารบ์ อนไดออกไซด์ ใน ความสำคัญ ของ กลไกการเพิ่มความ ของกลไกการเพ่ิม

พืช C3 พชื C4 และ พืช กลไกการเพ่ิมความ เข้มขน้ ของ ความเขม้ ข้นของ

CAM เข้มขน้ ของ คารบ์ อนไดออกไซด์ คาร์บอนไดออกไซด์

คารบ์ อนไดออกไซด์ ในพชื C4 ได้ ในพชื

ในพืช C4 ได้ 2. เขียนสรุปลำดบั C4 ตอ่ การดำรงชีวติ

2. อธิบาย ขั้นตอนทสี่ ำคญั ของ ของพืชได้อยา่ ง

ความหมายและ กลไกการเพ่ิมความ ถกู ต้อง

ความสำคัญ ของ เข้มข้นของ 2. ตระหนกั ถึง

กลไกการเพ่ิมความ คารบ์ อนไดออกไซด์ ความสำคญั ของพชื

เข้มข้นของ ในพืช CAM ได้ 3. การเพิ่มความ

คาร์บอนไดออกไซด์ เขม้ ขน้ ของคาร

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 338

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ท้องถนิ่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ช่วั โมง

ในพชื CAM ได้

12. สืบคน้ ขอ้ มลู 1. อธบิ าย 1. เขยี นสรุปปจั จัยท่ี 1. ตระหนักถงึ 2

อภิปราย และสรุปปจั จัย ความหมายและ มผี ลต่อการ ความสำคัญของ

ความเขม้ ของแสง ความสำคญั ของ สังเคราะหด์ ว้ ยแสง ปัจจยั ทีม่ ผี ลต่อการ

ความเขม้ ข้นของ ปัจจยั บางประการที่มี ได้ สงั เคราะห์ดว้ ยแสง

คารบ์ อนไดออกไซด์ ผลต่ออตั ราการ ตอ่ การดำรงชวี ติ

และอุณหภมู ทิ ีม่ ผี ลต่อ สงั เคราะห์ดว้ ยแสงได้ ของพืชได้อยา่ ง

การสังเคราะห์ด้วยแสง ถูกต้อง

ของพืช

13. อธิบายวัฏจักรชีวิต 1. สืบคน้ ข้อมูลและ 1. วเิ คราะหแ์ ละสรปุ 1. รับผิดชอบต่อ 4

แบบสลับของพชื ดอก อธิบายวัฏจักรชีวิต เก่ยี วกบั วัฎจกั รชวี ติ หน้าที่และงานท่ี

ของพชื ดอกได้ ของพืชได้ ได้รับมอบหมาย

14. อธิบาย และ 1. อธบิ าย 1. เปรียบเทียบ 1. รบั ผิดชอบต่อ 5
2
เปรียบเทยี บ กระบวนการสร้าง กระบวนการสร้าง หน้าท่แี ละงานที่

กระบวนการสร้าง เซลล์ เซลล์สบื พันธแุ์ ละการ เซลลส์ ืบพนั ธเ์ุ พศผู้ ไดร้ บั มอบหมาย

สืบพันธ์ุเพศผแู้ ละเพศ ปฏิสนธิของพืชดอกได้ และเพศเมยี ของพชื

เมียของพชื ดอก และ 1. อธบิ ายการเกดิ ดอกได้

อธบิ ายการปฏสิ นธิของ เมล็ดและผลของพชื 2. สร้างแบบจำลอง

พืชดอก ดอกได้ โครงสร้างของผลได้

3. ประยุกต์

โครงสรา้ งต่าง ๆ ของ

เมล็ดและผลไปใช้

ประโยชนไ์ ด้

15. อธิบายการเกิดเมล็ด 1. อธิบายการ 1. เปรยี บเทยี บ 1. รับผิดชอบต่อ

และการเกดิ ผลของพืช สว่ นประกอบและช้ี ส่วนประกอบของผล หน้าที่และงานท่ี

ดอก โครงสรา้ งของ ส่วนประกอบของ ทีเ่ ปน็ ผลของสารเสพ ได้รับมอบหมาย

เมล็ดและผล และ เมลด็ ตดิ

ยกตัวอยา่ ง การใช้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 339

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลกั ษณะอนั จำนวน
ช่ัวโมง
(K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
3
ประโยชนจ์ ากโครงสรา้ ง 2. จำแนกประเภท 2. เปรียบเทียบ
4
ต่างๆของเมลด็ และผล ของผลและเมล็ด โครงสร้างเมล็ดของ
2
3. อธบิ ายเชื่อมโยง ใบเล้ียงเดยี่ วและ

ส่วนของผล และเมล็ด โครงสร้างเมล็ดของ

ท่ีมสี ว่ นเกี่ยวขอ้ งกบั ใบเลย้ี งคู่

สารเสพตดิ ได้

16. ทดลอง และอธิบาย 1. อธบิ ายการงอก 1. เปรียบเทยี บการ 1. รบั ผดิ ชอบตอ่

เกยี่ วกบั ปัจจัยต่าง ๆ ที่มี ของเมล็ด งอกของเมลด็ พชื ใบ หน้าทแี่ ละงานที่

ผลตอ่ การงอกของเมล็ด 2. บอกปจั จยั ทมี่ ีผล เลี้ยงเดยี่ วและพืชใบ ได้รบั มอบหมาย

สภาพพกั ตวั ของเมล็ด ตอ่ การงอกของเมล็ด เล้ยี งคู่

และบอกแนวทางในการ

แก้สภาพพักตัว ของ

เมล็ด

17. สืบค้นข้อมูล อธิบาย 1. อธบิ ายบทบาท 1. สามารถ 1. รบั ผดิ ชอบต่อ

บทบาทและหน้าท่ขี อง หนา้ ที่ของออกซิน ไซ ประยุกต์ใช้สารเคมที ี่ หน้าทแี่ ละงานที่

ออกซนิ ไซโทไคนนิ จิบ โทไคนนิ จบิ เบอ มโี ครงสร้างคลา้ ย ได้รบั มอบหมาย

เบอเรลลิน เอทิลนี และ เรลลิน เอทลิ ีน และ ฮอรโ์ มนพชื กบั พชื

กรดแอบไซซิก และ กรดแอบไซซิกได้ เพอ่ื ประโยชนท์ าง

อภปิ รายเกี่ยวกบั การ การเกษตรได้

นำไปใชป้ ระโยชน์ทาง

การเกษตร

18. สืบค้นขอ้ มูล 1. สืบค้นขอ้ มูล 1. เปรยี บเทยี บผล 1. รับผิดชอบตอ่

ทดลอง และอภิปราย ทดลอง และอภิปราย การทดลอง หน้าทีแ่ ละงานท่ี

เก่ยี วกับ สิง่ เรา้ ภายนอก เกย่ี วกับสิง่ เร้า กระบวนการ ไดร้ บั มอบหมาย

ที่มผี ลตอ่ การ ภายนอกที่มผี ลตอ่ การ สังเคราะหด์ ้วยแสง

เจริญเตบิ โต ของพืช เจรญิ เติบโตของ ของนักวทิ ยาศาสตร์

ในอดตี ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 340

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วชิ า ว30243 ชีววิทยาเพม่ิ เตมิ 3 / Biology 3

รายวชิ าเพมิ่ เติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์

ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 60 ชั่วโมง 1.5 หน่วยกติ

ศกึ ษาโครงสรา้ งของพืชดอกและชนิดของผล เปรยี บเทยี บกระบวนการสร้างเซลล์สืบพันธ์ุเพศ
ผู้และเพศเมียของพืชดอก อธิบายวัฎจักรชีวิตแบบสลับของพืชดอก การปฏิสนธิของพืชดอก การ
สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอก และโครงสร้างของผลและเมลด็ การเกิดผลและการเกิดเมลด็ ของ
พืชดอก ศึกษาเกี่ยวกับการดำรงชีวิตของพืช เนื้อเยื่อพืช โครงสร้างและการเจริญเติบโตของราก ลำ
ต้นและ ใบ การลำเลียงของพืช การลำเลียงน้ำ การแลกเปลี่ยนแก๊สและ การคายน้ำของพืช การ
ลำเลียงธาตุอาหารและ การลำเลียงอาหารของพืช ศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช การศึกษาท่ี
เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์ด้วยแสง กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช โฟโตเรสไพเรชัน การ
เพิ่มความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซด์ ปัจจัยบางประการที่มีผลต่ออัตราการสังเคราะห์ด้วยแสง
รวมทั้งการศึกษาการควบคุมการเจริญเตบิ โตและ การตอบสนองของพืช ฮอร์โมนพืช ปัจจัยที่มีผลต่อ
การงอกของเมลด็ การตอบสนองของพชื ในลักษณะการเคลื่อนไหว และการตอบสนองตอ่ ภาวะเครียด

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้การสืบค้นข้อมูล การ
สังเกต การวิเคราะห์ การทดลอง การอภิปราย การอธิบาย และสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเขา้ ใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนำความรู้ไปใช้ในชีวิตของตนเอง ดูแลรักษา
สิ่งมีชีวิตอื่นเฝ้าระวัง และพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และ
คา่ นิยมที่เหมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. อธิบายวฏั จักรชวี ิตแบบสลบั ของพืชดอก
2. อธบิ าย และเปรยี บเทยี บกระบวนการสร้าง เซลล์สบื พนั ธุ์เพศผแู้ ละเพศเมยี ของพืชดอก และ
อธิบายการปฏิสนธขิ องพืชดอก
3. อธบิ ายการเกดิ เมล็ดและการเกดิ ผลของพชื ดอก โครงสร้างของเมลด็ และผล และยกตัวอยา่ ง การ
ใช้ประโยชนจ์ ากโครงสร้างตา่ งๆของเมลด็ และผล
4. ทดลอง และอธิบายเกยี่ วกับปัจจัยตา่ ง ๆ ที่มี ผลตอ่ การงอกของเมล็ด สภาพพักตัวของเมล็ด และ
บอกแนวทางในการแกส้ ภาพพกั ตัว ของเมลด็
5. อธบิ ายเกี่ยวกบั ชนดิ และลักษณะของเนื้อเยือ่ พชื และเขยี นแผนผงั เพ่อื สรุปชนิดของเน้ือเยอ่ื พชื

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 341

6. สงั เกต อธบิ ายและเปรยี บเทียบโครงสร้าง ภายในของรากพชื ใบเลี้ยงเด่ียวและรากพืชใบเลี้ยงคู่
จากการตดั ตามขวาง
7. สังเกต อธิบายและเปรียบเทยี บโครงสร้าง ภายในของลำต้นพชื ใบเลีย้ งเด่ียวและลำตน้ พชื ใบเลย้ี งคู่
จากการตัดตามขวาง
8. สงั เกต อธบิ ายและเปรยี บเทียบโครงสรา้ ง ภายในของใบพชื ใบเลี้ยงเด่ยี วและลำตน้ พืชใบเล้ียงคู่
จากการตัดตามขวาง
9 สืบค้นข้อมูล สังเกตและอธิบายการแลกเปลี่ยน แก๊สและการคายนำ้ ของพชื
10. สบื ค้นข้อมลู และอธบิ ายกลไกการลำเลยี งน้ำและธาตุอาหารของพืช
11. สบื ค้นข้อมูล อธบิ ายความสำคญั ของธาตุอาหารและยกตวั อย่างธาตุอาหารทสี่ ำคัญที่มผี ลตอ่ การ
เจริญเตบิ โตของพืช
12. อธิบายกลไกการลำเลยี งอาหารในพชื
13. สบื ค้นขอ้ มูล และสรปุ การศึกษาทีไ่ ดจ้ ากการ ทดลองของนกั วิทยาศาสตรใ์ นอดตี เก่ยี วกับ
กระบวนการสงั เคราะห์ด้วยแสง
14. อธิบายขน้ั ตอนทเี่ กิดข้นึ ในกระบวนการ สงั เคราะหด์ ้วยแสงของพืช C3
15. เปรยี บเทยี บกลไกการตรึงคารบ์ อนไดออกไซด์ ในพืช C3 พชื C4 และ พชื CAM
16. สืบค้นขอ้ มูล อภปิ ราย และสรปุ ปจั จัยความเข้ม ของแสง ความเข้มขน้ ของคาร์บอนไดออกไซด์
และอุณหภูมทิ มี่ ผี ลต่อการสงั เคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื
17. สืบค้นข้อมูล อธบิ ายบทบาทและหน้าท่ขี อง ออกซิน ไซโทไคนิน จิบเบอเรลลนิ เอทลิ ีน และกรด
แอบไซซิก และอภปิ รายเกี่ยวกบั การนำไปใชป้ ระโยชนท์ างการเกษตร
18. สืบค้นขอ้ มูล ทดลอง และอภิปรายเก่ียวกับ สงิ่ เรา้ ภายนอกที่มผี ลต่อการเจริญเตบิ โต ของพชื

รวมท้ังหมด 18 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 342

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหสั วชิ า ว30243 รายวิชา ชีววทิ ยาเพ่ิมเติม่ 3 / Biology 3

รายวิชาเพ่มิ เติม กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หนว่ ยกติ

ลำดับ ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน
1 การสืบพนั ธ์ุ
ของพืชดอก 1,2,3,4 - โครงสรา้ งของดอกและ 10 10

2 โครงสร้าง ชนิดของผล 15 15
และการ
เจรญิ เติบโต - วัฏจกั รชีวิตแบบสลับของ 10 10
ของ
พืชดอก พชื ดอก 20

3 การลำเลยี ง - การสบื พนั ธุแ์ บบอาศัย
พชื
เพศของพชื ดอก

- การใชป้ ระโยชน์จาก

โครงสร้างต่างๆของผลและ

เมลด็

5,6,7,8, - เน้ือเย่ือพืช

- โครงสร้างและการ

เจรญิ เตบิ โตของราก

- โครงสรา้ งและการ

เจรญิ เติบโตของลำตน้

- โครงสร้างและการ

เจรญิ เติบโตของใบ

9,10,11, - การลำเลียงของพชื

12 - การลำเลียงนำ้

- การแลกเปล่ียนแก๊ส และ

การคายนำ้

- การลำเลยี งธาตอุ าหาร

- การลำเลยี งอาหาร

สอบกลางภาค

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 343

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

4 การ 13,14,15,16 - การศกึ ษาท่ีเกยี่ วกับการ 15 15

สงั เคราะห์ สังเคราะหด์ ว้ ยแสง

ด้วยแสง - กระบวนการสงั เคราะห์

ดว้ ยแสงของพืช

- โฟโตเรสไพเรชัน

- การเพิ่มความเข้มขน้ ของ

คารบ์ อนไดออกไซด์ -

ปจั จยั บางประการทมี่ ผี ลต่อ

การสงั เคราะห์แสง

5 การควบคมุ 17,18 - ฮอร์โมนพชื 10 10

การ - ปจั จัยท่ีมีผลตอ่ การงอก

เจริญเตบิ โต ของเมล็ด

และการ - การตอบสนองของพืชใน

ตอบสนอง ลกั ษณะการเคลื่อนไหว

ของพชื - การตอบสนองต่อภาวะ

เครียด

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 60 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 344

แบบวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ของหลกั สูตร
รหสั วิชา ว30244 รายวชิ า ชวี วิทยาเพ่ิมเติม 4 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 ภาคเรียนท่ี 2

สาระชวี วิทยา
ขอ้ 4. เขา้ ใจการยอ่ ยอาหารของสตั ว์และมนษุ ย์ รวมท้งั การหายใจและการแลกเปล่ยี นแกส๊
การลำเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภูมิคุ้มกันของร่างกาย การขับถ่าย การรับรู้และการ
ตอบสนอง การเคลื่อนที่ การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกับการรักษาดุลยภาพ และ
พฤตกิ รรมของสัตว์ รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน
ชวั่ โมง
1. สืบค้นข้อมลู อธิบาย (K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
และเปรยี บเทยี บ 2
โครงสร้างและ 1. อธิบายการยอ่ ย 1. ใชเ้ ครือ่ งมือและ 1. สนใจใฝ่รู้ใน
กระบวนการย่อย 4
อาหารของสตั วท์ ่ีไม่มี อาหารของจลุ ินทรีย์ อปุ กรณ์ทาง การศึกษา
ทางเดนิ อาหาร สตั ว์ทม่ี ี
ทางเดินอาหารแบบไม่ และของส่งิ มีชวี ติ เซลล์ วทิ ยาศาสตร์ได้อย่าง
สมบรู ณ์ และสตั ว์ท่มี ี
ทางเดนิ อาหารแบบ เดยี วได้ ถูกต้อง
สมบรู ณ์
2. สงั เกต อธิบาย การ 2. สงั เกตและอธิบาย
กินอาหารของไฮดรา
และพลานาเรีย การกินอาหารของพารา

มเี ซียมได้

1. อธบิ ายโครงสร้าง 2. เขียนลำดบั การ 1. สนใจใฝร่ ใู้ น
และกระบวนการย่อย เคลื่อนท่ีของอาหาร การศกึ ษา
อาหารของสัตวท์ ไ่ี มม่ ี ผ่านทางเดนิ อาหาร
ทางเดินอาหาร สัตว์ที่ ในสัตว์ที่มีทางเดิน
มีทางเดนิ อาหาร ไม่ อาหารสมบูรณ์
สมบรู ณ์ และสัตว์ทมี่ ี 2. ใช้เคร่อื งมือและ
ทางเดนิ อาหาร อุปกรณ์ทาง
สมบูรณ์ได้ วิทยาศาสตร์ได้อย่าง
2. เปรยี บเทียบ ถกู ต้อง
โครงสร้างและ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 345

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน

(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A) ช่ัวโมง

กระบวนการย่อย

อาหารของสตั ว์ที่ไมม่ ี

ทางเดินอาหาร สัตวท์ มี่ ี

ทางเดนิ อาหารไม่

สมบรู ณ์ และสตั วท์ มี่ ี

ทางเดนิ อาหารสมบูรณ์

ได้

3. สงั เกตและอธิบาย

การกินอาหารของ

ไฮดราและพลานาเรยี

ได้

3. อธบิ ายเก่ียวกับ 1. อธบิ ายโครงสรา้ ง 1. สำรวจอวยั วะ 1. เห็นประโยชน์ 10

โครงสร้าง หน้าที่ และ และหน้าท่ีของปาก คอ ภายในช่องปากที่ และดแู ลรกั ษา

กระบวนการย่อย หอย และหลอดอาหาร เก่ยี วข้องกบั การย่อย อวยั วะในชอ่ งปาก

อาหาร และการดดู ซึม ได้ อาหาร ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

สารอาหารภายในระบบ 2. อธบิ ายการย่อย 2. เขียนแผงผงั สรปุ 2. ตระหนกั ถึง

ยอ่ ยอาหารของมนุษย์ อาหารบรเิ วณปากได้ การย่อยอาหาร ความสำคญั การ

3. อธบิ ายการเคลื่อนที่ บริเวณกระเพาะ ดูแลรักษา และการ

ของอาหารผา่ นหลอด อาหาร ปอ้ งกนั โรคใน

อาหารได้ 3. ทดสอบสมบัติ ระบบยอ่ ยอาหาร

4. อธบิ ายโครงสร้าง ของนำ้ ดีต่อการยอ่ ย 3 . สนใจใฝร่ ู้ใน

และหนา้ ท่ขี อง สารกลุ่มไขมัน การศกึ ษา

กระเพาะอาหารได้ 4. เขยี นแผนผงั การ

5. อธบิ ายการย่อย ยอ่ ยอาหารและการ

อาหารและการดดู ซึม ดูดซึมสารอาหาร

สารอาหารบริเวณปาก บรเิ วณลำไส้เลก็

ได้ 5. เขยี นแผนผังมโน

6. อธบิ ายโครงสร้าง ทศั นแ์ สดงการยอ่ ย

และหนา้ ทขี่ องลำไส้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 346

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอนั จำนวน
ชวั่ โมง
4. สบื คน้ ข้อมูล อธบิ าย (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
และเปรยี บเทียบ 2
โครงสรา้ งท่ีทำหน้าที่ เล็กได้ อาหารของมนุษยไ์ ด้ 1
แลกเปลยี่ นแก๊สของ
ฟองน้ำ ไฮดรา พลานา 7. อธิบายการย่อย อยา่ งถูกต้อง
เรีย ไส้เดือนดิน แมลง
ปลา กบ และนก อาหารและการดูดซึม 6. จัดทำแผน่ พบั
5. สังเกตและอธบิ าย
โครงสร้างของปอดใน สารอาหารบริเวณ นำเสนอเกย่ี วกับโรค
สตั ว์เลีย้ งลกู ด้วยนำ้ นม
ลำไส้เลก็ ได้ ระบบยอ่ ยอาหาร

8. อธิบายโครงสรา้ ง

และหนา้ ทีข่ องลำไส้

ใหญ่ได้

9. อธบิ ายการดดู ซึม

สารอาหารบรเิ วณลำไส้

ใหญ่

10. อธบิ ายความ

ผิดปกตขิ องทางเดนิ

อาหารในมนุษย์

1. อธิบายโครงสรา้ งที่ 1. ใช้เครอื่ งมือผ่าตดั 1. สนใจใฝร่ ู้ในการ

ทำหนา้ ทแ่ี ลกเปลยี่ น ในกิจกรรมได้อยา่ ง เรยี น

แก๊สของสิ่งมชี ีวิตเซลล์ ถกู ต้องและปลอดภยั

เดียวและของสัตวไ์ ด้

1. อธิบายโครงสรา้ ง 1. ใช้เครอ่ื งมือผ่าตดั 1. สนใจใฝ่รู้ในการ

ของปอดในสัตว์เลยี้ งลูก ในกจิ กรรมได้อย่าง เรยี น

ดว้ ยนำ้ นมได้ ถูกต้องและปลอดภยั

2. เปรียบเทยี บ

โครงสรา้ งท่ที ำหน้าท่ี

แลกเปลย่ี นแกส๊ ของ

สัตวต์ า่ ง ๆ ได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 347

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / คณุ ลักษณะอัน จำนวน

6. สืบคน้ ข้อมูล อธิบาย (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A) ชั่วโมง
โครงสรา้ งท่ีใชใ้ นการ
แลกเปลย่ี นแกส๊ และ 1. อธิบายโครงสร้างท่ี 1. เขยี นการเคล่ือนท่ี 1. สนใจใฝร่ ูใ้ น 2
กระบวนการ
แลกเปลยี่ นแกส๊ ของ ใชใ้ นการแลกเปลยี่ น ของอากาศเข้าและ การศึกษา
มนุษย์
แก๊สของมนุษย์ได้ ออกจากร่างกายได้
7. อธิบายการทำงาน
ของปอด และทดลอง 2. อธบิ ายการ 2. เขยี นปฏิกิรยิ าที่
วดั ปรมิ าตรของอากาศ
ในการหายใจออกของ แลกเปลย่ี นแก๊สบรเิ วณ เกิดขน้ึ เม่ือแก๊สออก
มนุษย์
ปอดและบรเิ วณเซลล์ ซิ

ตา่ ง ๆ ได้ เจนและแกส๊ คาร์

บอนไดออกไซดแ์ พร่

เข้าส่หู ลอดเลือดฝอย

1. อธบิ ายกลไกการ 1. วัดปริมาตรของ 1. ตระหนกั ถงึ 6

หายใจเขา้ และหายใจ อากาศในการหายใจ ความปอดภัยของ

ออกได้ ของมนุษยไ์ ด้ สัตว์ทดลองที่

2. เปรียบเทียบการ 2. จำลองการทำงาน นำมาใช้ในกจิ กรรม

เปลย่ี นแปลงของกะบงั ของกลา้ มเน้ือกะบงั 2. ตระหนกั ถึง

ลมและกระดกู ซโ่ี ครงใน ลม ความสำคญั การ

การหายใจเขา้ และ 3. คำนวณอัตรา ดูแลรกั ษา และการ

หายใจออกได้ การใช้แก๊สออกซเิ จน ป้องกันโรคใน

3. อธบิ ายกลไกการ ของส่งิ มีชีวติ ต่าง ๆ ระบบทางเดนิ

ควบคุมการหายใจได้ ได้ หายใจ

4. อธบิ ายและ 4. วัดอัตราการ 3. สนใจใฝร่ ูใ้ น

เปรียบเทยี บอัตราการ หายใจได้อยา่ ง การศกึ ษา

หายใจของสัตว์ต่าง ๆ ถูกต้อง

ได้ 5. สร้างแผน่ พบั

5. อธบิ ายความผดิ ปกติ นำเสนอเก่ียวกบั

ที่เกี่ยวข้องกบั ปอดและ อนั ตรายจากบหุ ร่ีได้

โรคระบบทางเดิน อย่างเหมาะสม

หายใจได้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 348

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ท้องถนิ่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน
ชว่ั โมง
8. สืบคน้ ข้อมลู อธิบาย (K) กระบวนการ (P) พงึ ประสงค์ (A)
และเปรียบเทียบระบบ 2
หมุนเวยี นเลือดแบบ 1. อธบิ ายระบบ 1. เขยี นแผนผังการ 1. สนใจใฝ่ร้ใู น
เปดิ และระบบ 1
หมนุ เวยี นเลือดแบบปิด หมุนเวียนเลือดแบบ หมนุ เวียนเลือดของ การศกึ ษา

9. สงั เกต และอธบิ าย เปดิ และระบบ สัตวต์ า่ ง ๆ ได้
ทิศทางการไหลของ
เลือดและการเคล่ือนท่ี หมุนเวยี นเลอื ดแบบปิด 2. ใช้เครื่องมือและ
ของเซลลเ์ ม็ดเลอื ดใน
หางปลา และสรุป ได้ อุปกรณ์ทาง
ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง
ขนาดของหลอดเลือด 2. เปรยี บเทียบความ วทิ ยาศาสตร์ได้อย่าง
กับความเร็วในการไหล
ของเลือด แตกตา่ งของระบบ ถกู ต้อง

หมุนเวยี นเลอื ดแบบ

เปดิ และระบบ

หมนุ เวยี นเลอื ดแบบปดิ

ได้

3. อธบิ ายทศิ ทางการ

ไหลของเลือดและการ

เคล่อื นที่ของเซลล์เม็ด

เลอื ดในหางปลาได้

1. อธบิ ายระบบ 1. เขียนแผนผงั การ 1. สนใจใฝ่รใู้ น

หมนุ เวยี นเลือดแบบ หมุนเวียนเลอื ดของ การศกึ ษา

เปดิ และระบบ สัตวต์ า่ ง ๆ ได้

หมนุ เวยี นเลือดแบบปดิ 2. ใช้เครือ่ งมือและ

ได้ อปุ กรณ์ทาง

2. เปรียบเทียบความ วทิ ยาศาสตร์ได้อย่าง

แตกต่างของระบบ ถกู ต้อง

หมุนเวยี นเลือดแบบ

เปดิ และระบบ

หมุนเวียนเลือดแบบปิด

ได้

3. อธิบายทิศทางการ

ไหลของเลือดและการ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 349

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / คุณลักษณะอัน จำนวน
ชั่วโมง
(K) กระบวนการ (P) พึงประสงค์ (A)
4
เคลอื่ นที่ของเซลลเ์ มด็
3
เลอื ดในหางปลาได้

4. สรปุ ความสัมพันธ์

ระหวา่ งขนาดของ

หลอดเลอื ดกบั ความเร็ว

ในการไหลของเลือดใน

หางปลาได้

10. อธิบายโครงสรา้ ง 1. อธบิ ายโครงสรา้ ง 1. เขียนแผนผังสรุป 1. สนใจใฝร่ ูใ้ น

และการทำงานของ และการทำงานของ การหมุนเวยี นเลือด การศกึ ษา

หัวใจและหลอดเลอื ดใน หัวใจได้ ของมนษุ ย์ได้

มนษุ ย์ 2. อธบิ ายทิศทางการ 2. วดั อตั ราการเตน้

ไหลของเลือดผา่ นหวั ใจ ของหวั ใจหรอื ชีพจร

ของมนุษยไ์ ด้ ได้อย่างถกู ต้อง

3. อธิบายโครงสร้าง 3. ใชเ้ ครื่องมือผ่าตัด

และการทำงานของ ในกจิ กรรมได้อยา่ ง

หลอดเลือดได้ ถกู ต้องและปลอดภยั

4. สงั เกตการ 4. ตรวจสอบทศิ

เปล่ียนแปลงของหลอด ทางการไหลของ

เลือดดำขณะปกตแิ ละ เลือดในหลอดเลือด

ขณะท่ถี ูกกดได้ ดำได้

11. สังเกตและอธบิ าย 1. อธบิ ายโครงสรา้ ง 1. เขยี นแผนผงั สรปุ 1. สนใจใฝร่ ู้ใน

โครงสร้างหวั ใจของสตั ว์ และการทำงานของ การหมุนเวียนเลือด การศึกษา

เล้ยี งลูกดว้ ยนำ้ นม ทิศ หัวใจได้ ของมนษุ ย์ได้

ทางการไหลของเลือด 2. อธิบายทิศทางการ 2. วดั อัตราการเตน้

ผา่ นหวั ใจของมนุษย์ ไหลของเลือดผ่านหัวใจ ของหวั ใจหรือชีพจร

และเขยี นแผนผังสรุป ของมนุษยไ์ ด้ ได้อยา่ งถูกต้อง

การหมนุ เวียนเลอื ดของ 3. ใชเ้ ครือ่ งมือผ่าตัด

มนุษย์ ในกจิ กรรมได้อยา่ ง

ถกู ต้องและปลอดภยั


Click to View FlipBook Version