The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by KruJayPhysics, 2021-02-21 10:26:58

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

63-1-01หลักสูตรกลุ่มวิทยาศาสตร์ 62-64

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 100

โครงสร้างรายวชิ า

รหัสวชิ า ว32184 รายวิชา วิทยาการเทคโนโลยี 5

รายวชิ าพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 5 จำนวน 20 ชว่ั โมง 0.5 หน่วยกิต

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
(ชวั่ โมง) คะแนน
ที่ การเรยี นรู้ การเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ัด
4 10
1 รจู้ ักการสร้าง ว4.1 - การนำความรู้ด้านวทิ ยาการ

ผลติภัณฑ์ ม.5/1 คอมพวิ เตอร์ สื่อดิจทิ ลั และ

จากงานสือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ มาใช้

ดจิ ิทัล แก้ปญั หากับชวี ิตจริง

- การเพิ่มมูลค่าให้

บริการหรือผลติ ภณั ฑ์

2 วิธีการ ว4.1 - การเกบ็ ข้อมูลและการ 4 15

ประมวลผล ม.5/1 จดั เตรยี มข้อมลู ให้พรอ้ มกบั การ

ประมวลผล

- การวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถิติ

3 data ว4.1 - การประมวลผลข้อมูล และ 2 15
ม.5/1 เคร่อื งมอื 6 20
- การทำข้อมูลใหเ้ ป็นภาพ (data
4 Innovation ว4.2 visualization) 4 20
ม.5/1 - การทำโครงงาน เปน็ การ
ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้และทักษะ
5 Project of ว4.2 ม.5/1 จากศาสาตรต์ ่างๆ รว่ มทง่ั ทรัพยา
Technology การในการสรา้ งหรือพัฒนาช้นิ งาน
หรือวธิ ีการ เพอื่ แกป้ ัญหาหรอื
อำนวยความสะดวกในการทำงาน

-การทำโครงงานการออกแบบ
และเทคโนโลยสี ามารถดำเนนิ การ
ได้ โดยเริม่ จาก การสำรวจ
สถานการณ์ปัญหาทส่ี นใจ เพ่ือ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 101

ลำดับ ชื่อหน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
(ชว่ั โมง) คะแนน
ที่ การเรียนรู้ การเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด

กำหนดหัวขอ้ โครงงาน แล้ว

รวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ท่ี

เก่ียวข้องกับปญั หา ออกแบบ

แนวทางการแก้ปัญหา วางแผน

และดำเนนิ การแก้ปัญหา ทดสอบ

ประเมนิ ผลปรับปรงุ แก้ไขวิธีการ

แก้ปญั หาหรือช้ินงาน และ

นำเสนอวิธกี ารแก้ปัญหา

สอบกลางภาค 10

สอบปลายภาค 10

รวมตลอดภาคเรียน 20 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 102

แบบวิเคราะห์ตัวชว้ี ัดของหลักสูตร
รหัสวิชา ว33185 รายวิชา วทิ ยาการเทคโนโลยี 6 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 6

ภาคเรียนท่ี 2 เวลา 20 ชว่ั โมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

มาตรฐาน นำไปสู่
การเรียนรู้/
ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ชน้ิ งาน/
ตัวชวี้ ัด ยอด
ว4.2 ม.4/1 - ลักษณะการ สำคัญ อนั พึง ภาระงาน
ใชเ้ ทคโนโลยี กระทำความผิด
ว4.2 ม4/2 นำเสนอและ พรบ. ประสงค์
แบ่งปันข้อมลู คอมพวิ เตอร์
อย่างปลอดภัย - บทลงโทษของ ความสามารถ ใฝ่เรียนรู้ - ใบ
และมจี รยิ ธรรม การกระทำ
การสร้างชนิ้ งาน ความผดิ พรบ. ในการ ความรู้
และเผยแพร่ผา่ น คอมพวิ เตอร์
สอ่ื ตา่ ง ๆ ที่ แก้ปญั หา - ใบงาน
คำนงึ ถงึ - เทคโนโลยีใน
จริยธรรม อนาคต เชน่ ความสามารถ ใฝเ่ รียนรู้ - ใบ
ลขิ สทิ ธ์ิ ระบบคลาวด์ ในการใช้ ความรู้
ทรพั ย์สนิ ทาง - นวตั กรรมหรือ เทคโนโลยี - ใบงาน
ปัญญา และ เทคโนโลยที ่ี
กฎหมาย เกีย่ วข้องกบั
หลกั การของ ชีวติ ประจำวัน
ปัญญาประดิษฐ์ - อาชีพที่
และเทคโนโลยี เกยี่ วข้องกับงาน
ในอนาคต คอมพวิ เตอร์และ
กรณีศึกษา
เกี่ยวกบั
นวตั กรรมหรอื
เทคโนโลยที ่ี
เกี่ยวข้องกับ
ชีวติ ประจำวัน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 103

มาตรฐาน ความคิดรวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่
การเรยี นร/ู้ ยอด สมรรถนะ คณุ ลกั ษณะ ชนิ้ งาน/
สำคญั อันพงึ ภาระงาน
ตวั ชว้ี ัด
ประสงค์

อาชีพท่เี ก่ียวข้อง งานทางด้าน

กับงานทางดา้ น เทคโนโลยี

เทคโนโลยี สารสนเทศ

สารสนเทศ

ว4.2 ม4/2 ผลกระทบของ 1. ผลกระทบ ความสามารถ ใฝ่เรียนรู้ - ใบ

เทคโนโลยี ดา้ นบวก ในการใช้ ความรู้

สารสนเทศ - คณุ ภาพ เทคโนโลยี - ใบงาน

ชีวิต

- ความเสมอ

ภาคในสังคมและ

การกระจาย

โอกาส

- การเรยี น

การสอนและ

สง่ เสริมการวจิ ัย

- การรักษา

สิ่งแวดลอ้ ม

- การรกั ษา

ความปลอดภยั

- การผลติ ใน

อุตสาหกรรมและ

พานิชกรรม

- สรา้ งสรรค์

ผลงานและ

พฒั นาความคดิ

- การส่งเสริม

ประชาธปิ ไตย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 104

มาตรฐาน ความคดิ รวบ สาระการเรยี นรู้ นำไปสู่
การเรยี นร/ู้ ยอด สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ชน้ิ งาน/
2. ผลกระทบ สำคญั อนั พงึ ภาระงาน
ตวั ชวี้ ดั ดา้ นลบ
ประสงค์
- ทำให้เกดิ
อาชญากรรม

-
ความสัมพันธ์
ระหวา่ งบุคคล
เสอ่ื มถอย

- ทำให้เกิด
ความวติ กกังวล

- ทำให้เกดิ
ความเสี่ยงภยั ใน
การดำเนินงาน

- พัฒนา
อาวธุ ในทางที่ผดิ

- แพร่
ขา่ วสารท่ีไม่
เหมาะสม

- ปญั หาดา้ น
สุขภาพ

- ตดิ
คอมพิวเตอร์และ
อนิ เตอร์เน็ต

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 105

มาตรฐาน ความคดิ รวบ สาระการเรียนรู้ นำไปสู่
การเรียนร้/ู ยอด สมรรถนะ คณุ ลักษณะ ชิ้นงาน/
สำคัญ อนั พึง ภาระงาน
ตัวชี้วดั
ประสงค์

ว4.2 ม4/2 การนำเสนอและ - สรา้ งเว็บไซต์ ความสามารถ มงุ่ มั่นใน - ใบ

แบ่งปนั ข้อมูล หรือสรา้ ง Blog ในการใช้ การทำงาน ความรู้

อย่างปลอดภัย - การเผยแพร่ เทคโนโลยี - ใบงาน

และมีจริยธรรม งาน

การสรา้ งช้นิ งาน

และเผยแพรผ่ ่าน

ส่ือตา่ ง ๆ ที่

คำนึงถงึ

จริยธรรม

ลิขสทิ ธิ์

ทรัพยส์ ินทาง

ปญั ญา และ

กฎหมาย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 106

คำอธิบายรายวชิ า

รหสั วิชา ว33185 รายวิชา วทิ ยาการเทคโนโลยี 6

รายวิชาพน้ื ฐาน กลุม่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 จำนวน 20 ชัว่ โมง 0.5 หน่วยกิต

ศึกษาระบบคลาวด์คอมพิวเตอร์ พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เทคโลยีและการเปลี่ยนแปลง อาชีพที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการ
ดำเนนิ ชีวิต อาชพี สังคม และวฒั นธรรม

โดยใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ
และมีทกั ษะ

เพื่อใหผ้ เู้ รยี นมีความรคู้ วามสามารถในการใช้ระบบคลาวด์ อาชพี ท่เี กี่ยวกับเทคโนโลยี และ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศต่อการดำเนินชีวิต สังคม และวัฒนธรรม มีความรู้เรื่อง
พระราชบัญญัติที่ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ดำเนินชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล
รอบคอบ มคี ุณธรรม มีภูมิคมุ้ กนั ปรบั ตวั เพือ่ อยู่ในสงั คมได้อยา่ งมีความสุข

ตวั ชว้ี ัด

ว 4.2 ม.6/1 ม.6/2 ม.6/3 ม.6/4 ม.6/5 ม.6/6 ม.6/7

รวมทัง้ หมด 7 ตัวชว้ี ดั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 107

โครงสรา้ งรายวชิ า

รหัสวชิ า ว33185 รายวชิ า วทิ ยาการเทคโนโลยี 6

รายวิชาพืน้ ฐาน กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 จำนวน 20 ช่วั โมง 0.5 หนว่ ยกิต

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ที่ การเรยี นรู้ การเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด (ช่ัวโมง) คะแนน
1 การนำเสนอ ว4.2 การจัดการขอ้ มูลและการ
และแบ่งปัน ม.6/1 นำเสนอข้อมลู ผ่านระบบคลาวด์ 8 30
ขอ้ มลู คอมพิวเตอร์

2 พระราชบัญญัติ ว4.2 ขอ้ กำหนดและบทลงโทษตาม 4 20
4 20
ที่วา่ ดว้ ยการ ม.6/2 ม.6/3 พระราชบญั ญตั ิท่วี ่าด้วยการ 4 10

กระทำผิด กระทำผิดเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์

เก่ยี วกบั

คอมพวิ เตอร์

3 อนาคตของเทค ว4.2 ม.6/4 ม.6/5 -เทคโนโลยีเกดิ ใหม่ แนวโน้มใน

โลยี ม.6/7 อนาคตการเปล่ียนแปลงของเทค

โลยี

-นวัตกรรมหรอื เทคโนโลยดี ้าน

ต่างๆที่เกยี่ วขอ้ งกับชีวิตประจำวนั

-อาชีพเกยี่ วกับเทคโนโลยี

สารสนเทศ

4 ผลกระทบของ ว4.2 ม.6/6 ผลกระทบของเทคโนโลยี

เทคโนโลยี สารสนเทศต่อการดำเนินชวี ิต

สารสนเทศต่อ อาชีพ สังคม และวัฒนธรรม

การดำเนนิ ชีวติ

อาชพี สงั คม

และวัฒนธรรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 108

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐาน สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนัก
(ช่วั โมง) คะแนน
ที่ การเรยี นรู้ การเรียนรู/้ ตวั ชี้วัด
20 10
สอบกลางภาค 10
100
สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรยี น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 109

คำอธิบายรายวชิ า
รายวิชาเพิม่ เติม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 110

รายวชิ าท้องถ่นิ เพิ่มเตมิ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 111

แบบวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลักสูตร
รหัสวชิ า ว30284 รายวิชา ชีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอันพงึ จำนวน
กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ชัว่ โมง
1. วเิ คราะหส์ ภาพ
ปญั หา สาเหตุของ 1. อธิบายความหมาย 1. สืบค้นข้อมลู 1. มีวนิ ัย 6
ปญั หาสงิ่ แวดล้อม
และ ของรัพยากรธรรมชาติ และ อภปิ ราย 2. ใฝ่เรียนรู้ 6
ทรพั ยากรธรรมชาติ
ในระดบั ท้องถ่นิ และสิง่ แวดลอ้ ม สาเหตุของปัญหา 3. รกั ความเป็นไทย 8
ระดบั ประเทศ และ
ระดับโลก 2. อธิบายสภาพปญั หา สิ่งแวดล้อมท่ี 4. มจี ิตสาธารณะ

2. อภปิ รายแนวทาง สาเหตขุ องปัญหา เกิดข้นึ ในระดบั
ในการป้องกัน แกไ้ ข
ปัญหาสง่ิ แวดลอ้ ม สิ่งแวดลอ้ มและ ท้องถ่ิน
และ
ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติใน ระดบั ประเทศ และ

3. วางแผนและ ระดบั ท้องถิน่ ระดับโลก
ดำเนินการเฝา้ ระวงั
อนรุ กั ษ์ และพัฒนา ระดับประเทศ และ
ส่งิ แวดล้อมและ
ทรพั ยากรธรรมชาติ ระดบั โลก

1. วิเคราะหส์ าเหตุ 1. เขยี นแนวทางใน 1. เห็นความสำคัญ

ปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม และ การป้องกัน แก้ไข ของปัญหาด้าน

อภปิ รายแนวทางใน ปญั หาสิ่งแวดลอ้ ม ส่งิ แวดลอ้ มท่เี กิดข้ึน

การป้องกนั แก้ไข และ ในปจั จบุ นั

ปญั หาสงิ่ แวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ 2. มคี วาม

ทรพั ยากรธรรมชาติ 2. นำเสนอแนวทาง กะตือรือร้นทีจ่ ะ

2. ใหเ้ หตผุ ลสำหรับ ในการป้องกนั หาทางปอ้ งกนั แกไ้ ข

วิธีการในการปอ้ งกนั แกไ้ ขปญั หา ปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม

แก้ไขปญั หา สิง่ แวดลอ้ มและ และ

สิง่ แวดล้อมและ ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ

ทรัพยากรธรรมชาติ

1. อธบิ าย อภิปราย 1. เขยี นแผนการ 1. มที ัศนคติทีด่ ีต่อ

แผนการดำเนินการเฝา้ ดำเนินการเฝา้ ระวงั การอนุรักษ์ และ

ระวัง อนุรกั ษ์ และ อนุรกั ษ์ และพฒั นา พฒั นาส่ิงแวดล้อม

พฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มและ สิ่งแวดลอ้ มและ และ

ทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 112

สาระการเรยี นร้แู กนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลักษณะอนั พงึ จำนวน
กระบวนการ (P) ประสงค์ (A) ช่ัวโมง

2. วิเคราะหแ์ ผนการ 2. ประดษิ ฐ์ สร้าง 2. เหน็ ความสำคญั

ดำเนินการเฝา้ ระวัง ชน้ิ งานเพ่อื ช่วย ของการอนุรักษ์ และ

อนุรกั ษ์ และพัฒนา อนรุ ักษ์ และพัฒนา พฒั นาสิง่ แวดลอ้ ม

สง่ิ แวดลอ้ มและ ส่ิงแวดลอ้ มและ และ

ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ

3. เหน็ คุณคา่ ของ

ทรพั ยากรธรรมชาติ

และส่งิ แวดลอ้ มที่มี

ผลต่อชีวติ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 113

คำอธิบายรายวชิ า

รหัสวิชา ว30281 รายวชิ า ชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม / Life and environment

รายวิชาเพมิ่ เตมิ กล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 20 ชว่ั โมง 0.5 หนว่ ยกิต

ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์ ระบบนิเวศธรรมชาติ ระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น องค์ประกอบ
ของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่อาศัย
ร่วมกันในระบบนิเวศ ประชากรและการเปลี่ยนแปลงขนาดประชากร กระบวนการเปลี่ยนแปลง
แทนที่ ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในระดับท้องถิ่น , ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติในระดับประเทศ , ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติระดับโลก
ความหมาย หลักการ และแนวทางปฏิบตั ิที่นำไปส่กู ารพฒั นาที่ย่งั ยืน

โดยใช้กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา ค้นหา สำรวจ ตรวจสอบ สืบค้นข้อมลู วิเคราะห์
ตัดสนิ ใจ วางแผนการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มและนำเสนอสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้ มจี ติ สำนึกตระหนักใน
คุณค่า ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงานและเห็นความสำคัญของการมีส่วน ร่วมในการจัดการระบบ
นิเวศ และร่วมมือ กับชุมชนในการดูแลแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยยึดหลักตามแนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง นำ ไปสกู่ ารพฒั นาโรงเรียนและท้องถน่ิ อย่างยง่ั ยนื

ผลการเรยี นรู้
1. วเิ คราะห์สภาพปัญหา สาเหตขุ องปัญหาส่งิ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติในระดบั

ท้องถ่นิ ระดบั ประเทศ และระดบั โลก
2. อภิปรายแนวทางในการป้องกัน แก้ไขปญั หาส่ิงแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
3. วางแผนและดำเนนิ การเฝ้าระวัง อนุรักษ์ และพฒั นาสงิ่ แวดลอ้ มและทรพั ยากรธรรมชาติ

รวมท้ังหมด 3 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 114

โครงสรา้ งรายวิชา

รหัสวชิ า ว30284 รายวิชา ชวี ิตกบั ส่ิงแวดล้อม / Life and Environment

รายวิชาเพ่ิมเติม กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 จำนวน 20 ชั่วโมง 0.5 หน่วยกติ

ลำดับ ช่อื หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

1 สิ่งมชี วี ติ 1, 2, 3 -ระบบนเิ วศในธรรมชาติ 11 30

กับ -ระบบนิเวศบนดินและ

สิ่งแวดล้อม แหล่งนำ้

-ระบบนิเวศที่มนุษย์สร้าง

ข้นึ

- องค์ประกอบในระบบ

นิเวศ

- ความสัมพันธ์ในระบบ

นเิ วศ

- ประชากรและการ

เปล่ียนแปลงในระบบนิเวศ

สอบกลางภาค 20

2 ปญั หา 1, 2, 3 - ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ 9 30

สิ่งแวดล้อม ทรพั ยากรธรรมชาติ

-ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ

ทรัพยากรธรรมชาติใน

ระดับทอ้ งถ่ิน

-ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ

ทรัพยากรธรรมชาติใน

ระดับเทศ

ปัญหาสิ่งแวดล้อมและ

ทรัพยากรธรรมชาติใน

ระดบั โลก

-การพัฒนาที่ยงั ยนื

สอบปลายภาค 20

รวมตลอดภาคเรียน 20 100

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 115

รายวิชาฟิสิกส์เพ่มิ เติม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 116

แบบวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นรู้ของหลักสูตร
รหัสวิชา ว30201 รายวิชาฟสิ ิกสเ์ พ่ิมเติม 1 ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนท่ี 1

สาระฟิสิกส์
ข้อ 1. เข้าใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปริมาณและกระบวนการวัด การเคลื่อนที่แนวตรง แรง

และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎความโน้มถ่วงสากล แรงเสียดทาน สมดุลกลของวัตถุ งานและ
กฎการอนุรักษพ์ ลงั งานกล โมเมนตัมและกฎการอน รุ กั ษ์โมเมนตมั การเคลื่อนที่แนวโค้ง รวมทั้ง
นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คุณลกั ษณะอนั พึง จำนวน
ชว่ั โมง
1. สบื คน้ และอธบิ ายการ (K) (P) ประสงค์ (A)
ค้นหาความรทู้ างฟสิ กิ ส์ 5
ประวตั คิ วามเปน็ มา 1.กระบวนการทาง การลงความเห็นจาก 1.ความซอื่ สัตย์
รวมทง้ั พัฒนาการของ 5
หลกั การและแนวคดิ ทาง วทิ ยาศาสตรใ์ นการสืบ ขอ้ มลู การสือ่ สาร 2. ความรอบคอบ
ฟสิ กิ สท์ ่มี ผี ลต่อการ
แสวงหาความรู้ใหม่และ เสาะหาความรทู้ าง ฟิสิกส์ สารสนเทศและการรเู้ ท่า 3.ความอยากรอู้ ยาก
การพฒั นาเทคโนโลยี
จากการสรุปและการเขียน ทนั สื่อ ความ
2. วัด และรายงานผลการ
วัดปริมาณทางฟิสิกสไ์ ด้ ผังมโนทศั น์ ร่วมมอื การทำงานเปน็
ถูกต้องเหมาะสม โดยนำ
ความคลาดเคลือ่ นในการ 2.ประวตั ิความเป็นมาของ ทมี และภาวะผู้นำการ
วดั มาพิจารณาในการ
นำเสนอผล รวมท้งั พัฒนาการทางฟิสิกส์ฟิสิกส์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ
แสดงผลการทดลองในรูป
ของกราฟ วิเคราะห์และ กบั การพฒั นาวิทยาศาสตร์ และ การแก้ปญั หา
แปลความหมายจากกราฟ
เส้นตรง เทคโนโลยี และ จากการทำกจิ กรรม

การ แสวงหาความรใู้ หม่

จากการสรุปการทำ

แบบฝกึ หัด และ

แบบทดสอบ

1.เหตผุ ลความจำเป็นท่ีตอ้ ง 1.การวัดการใชจ้ ำนวน 1.ความซ่อื สตั ย์

วัดได้อยา่ งเหมาะสมและ การจดั กระทำและสื่อ 2. ความรอบคอบ

ถกู ต้อง ความเปน็ มาของ ความหมายเสนอขอ้ มลู 3.ความอยากร้อู ยาก

การวดั หน่วย การตีความหมายและลง

และสญั กรณว์ ิทยาศาสตร์ ข้อสรปุ จากการทำ

จากการ กจิ กรรมการทำ

อภปิ รายรว่ มกัน และ แบบฝึกหดั และ

การสรุป แบบทดสอบ

2.เครื่องมอื วัดการเลอื กใช้ 2.ความรว่ มมือ

เคร่อื งมือวัดและวิธีการวัด การทำงานเป็นทีมและ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 117

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พึง จำนวน
ช่วั โมง
3. ทดลอง และอธบิ าย (K) (P) ประสงค์ (A)
ความสมั พันธร์ ะหว่าง 5
ตำแหน่ง การกระจดั ใหเ้ หมาะสมกบั สิง่ ท่ี ภาวะผนู้ ำ และการ
ความเรว็ และความเรง่ ของ
การเคลอื่ นท่ขี องวัตถใุ น ตอ้ งการวดั จากการทำ สือ่ สารสารสนเทศและ
แนวตรงท่มี ีความเร่งคงตัว
จากกราฟและสมการ กิจกรรมการทำแบบฝึกหดั การรู้เท่าทนั สื่อจากการ
รวมท้ังทดลองหาคา่
ความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก และแบบทดสอบ อภปิ รายรว่ มกนั การทำ
และคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ
ท่ีเกีย่ วขอ้ ง 3.การนำเสนอผลการวดั ที่ กิจกรรมและการ

ถกู ต้องเหมาะสมโดย นำเสนอผลการวดั

คำนงึ ถงึ ความคลาด

เคล่อื นในการวัดเลข

นยั สำคญั หน่วยและ

สญั กรณ์

วิทยาศาสตร์ จาก

การทำแบบฝกึ หดั และ

แบบทดสอบ

4.การเขียนกราฟการ

วิเคราะห์และการแปล

ความหมาย จาก

กราฟเสน้ ตรงจากการทำ

แบบฝกึ หัดและ

แบบทดสอบ

1ตำแหน่งการกระจดั 1.การวดั (การวดั 1.ความซอ่ื สัตย์

ความเรว็ และความเรง่ ของ ระยะห่างระหว่างจดุ บน 2. ความรอบคอบ

การเคลอื่ นที่ของวตั ถุใน แถบกระดาษ) 3.ความอยากรู้อยาก

แนวตรงท่ีความเรง่ คงตัว 2.การใชจ้ ำนวน

รวมทงั้ ความสมั พนั ธ์ (ความเรว็ ความเรง่ จาก

ระหวา่ งในรปู แบบกราฟ ความชนั ของกราฟหรอื

และสมการ สมการ)

2.ความเรง่ โนม้ ถว่ งของโลก 3. การทดลอง

และผลตอ่ การ 4.การจดั กระทำและสื่อ

เคลอ่ื นที่ของวตั ถใุ นแนวดง่ิ ความหมาย(เขยี นกราฟ

จากข้อมูลการเคล่ือนท่ี

5.กาตีความหมายข้อมลู

และ(วเิ คราะห์กราฟ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 118

สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพงึ จำนวน
ชว่ั โมง
(K) (P) ประสงค์ (A)
5
ความ สมั พนั ธ์ความเร็ว
10
และเวลา)

4. ทดลอง และอธิบายการ 1.แรงเป็นปรมิ าณเวกเตอร์ 1.การสือ่ สารสารสนเทศ 1.ความซื่อสัตย์

หาแรงลพั ธ์ของแรงสอง เม่ือมีแรงกระทำ และการรู้ (การเขียน 2.ความม่งุ มนั่ อดทน

แรงทที่ ำมมุ ตอ่ กัน ตอ่ วตั ถหุ ลายแรงหาแรง เวกเตอรแ์ ทนขนาดและ 3.ความรอบคอบ

ลพั ธท์ ีก่ ระทำต่อวตั ถโุ ดย ทิศทางการอภิปราย

การรวมเวกเตอร์ รว่ มกันและการนำเสนอ

2.เมือ่ แรงลพั ธท์ ่ีกระทำตอ่ ผล)

วตั ถุมคี ่าไม่เปน็ ศนู ย์วตั ถุจะ 2.ความรว่ มมอื การ

มีกาเปลย่ี นสภาพการ ทำงานเปน็ ทีมและภาวะ

ผู้นำ

5. เขียนแผนภาพของแรงท่ี 1.ความเฉ่ือยเปน็ สมบตั ขิ อง 1.การส่อื สารสารสนเทศ 1.ความซื่อสัตย์

กระทำตอ่ วตั ถอุ สิ ระ วตั ถเุ ปลีย่ นสภาพการ 2. ความร่วมมอื การ 2.ความมุง่ มนั่ อดทน

ทดลอง และอธบิ ายกฎการ เคลือ่ นท2่ี .สภาพการ ทำงานเปน็ ทมี และ 3.ความรอบคอบ

เคลือ่ นท่ีของนิวตันและการ เคล่ือนท่ขี องวัตถุ ภาวะนำ

ใชก้ ฎการเคลือ่ นทีข่ องนิว กฎการเคลอ่ื นที่ของนวิ ตนั

ตันกับสภาพการเคลอ่ื นท่ี 3.เมอ่ื มแี รงกระทำตอ่ วัตถุท่ี

ของวัตถุ รวมทง้ั คำนวณ จุด

ปรมิ าณต่าง ๆ ท่เี กย่ี วข้อง แนวเดยี วกนั โดยแรงลพั ธ์ท่ี

กระทำตอ่ วัตถุเป็นศนู ยว์ ตั ถุ

จะไมเ่ ปลย่ี นสภาพการ

เคลื่อน ซ่งึ เป็นไปตามกฎ

การเคลื่อนทีน่ วิ ตัน

4.เมื่อแรงลัพธ์ท่กี ระทำตอ่

วัตถุไมเ่ ปน็ ศนู ย์จะเปลย่ี น

สภาพการเคลอ่ื นทีซ่ ึง่

เปน็ ไปตามกฎการเคล่ือนท่ี

ขอ้ ทส่ี องของ

นิวตนั

5.เม่อื มีแรงกริ ิยากระทำตอ่

วตั ถุวัตถจุ ะมีปฏกิ ิริยา

กระทำโตต้ อบดว้ ยแรง

ขนาดเทแต่ทศิ ทางตรงกนั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 119

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถนิ่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คุณลักษณะอนั พึง จำนวน
ชัว่ โมง
6. อธบิ ายกฎความโน้มถ่วง (K) (P) ประสงค์ (A)
สากลและผลของสนามโนม้ 5
ถว่ งท่ีทำใหว้ ัตถุมีนำ้ หนกั ขา้ ม ซ่งึ เป็นไปตามกฎ 5
รวมท้งั คำนวณปริมาณต่าง
ๆ ท่เี กย่ี วข้อง การ เคลือ่ นท่ีข้อที่สามของ

7. วเิ คราะห์ อธิบาย และ นิวตนั
คำนวณแรงเสียดทาน
ระหวา่ งผวิ สมั ผสั ของวตั ถุคู่ 6.การแสดงแรงทกี่ ระทำตอ่
หน่ึง ๆ ในกรณที ี่วัตถุหยดุ
นงิ่ และวตั ถเุ คลอ่ื นที่ วัตถุทำได้โดยการ เขียน
รวมทั้งทดลองหา
สมั ประสิทธ์ิความเสยี ดทาน แผนภาพของแรงท่กี ระทำ
ระหว่างผวิ สมั ผสั ของวัตถุคู่
หนง่ึ ๆ และนำความร้เู ร่อื ง ตอ่ วตั ถแุ ละใช้หาแรงลพั ธ์ที่
แรงเสยี ดทานไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน กระทำต่อวตั ถไุ ด้

7.คำนวณหาปรมิ าณตา่ งๆ

ของการเคลือ่ นที่

เมือ่ แรงลัพธท์ ่กี ระทำตอ่

วัตถไุ มเ่ ปน็ ศนู ย์กฎการ

เคลอื่ นท่ีของนิวตนั

1.กฎความโน้มถว่ งสากล 1.การส่ือสาร สาระ การใชว้ ิจารณญาณ

กล่าวถึงแรงดระหว่างวตั ถุ สนเทศและการรเู้ ทา่ ทนั

สองช้นิ มคี า่ ระยะหา่ ง ส่ือ

ระหวา่ งวตั ถทุ ัง้ สอง 2.ความร่วมมอื การ

2.รอบๆวตั ถจุ ะมสี นามโน้ม ทำงานเปน็ ทมี และภาวะ

ถว่ งซ่งึ ทำให้วัตถุอ่นื ผา

ที่อย่ใู นสนาม

โนม้ ถ่วงนั้นมีนำ้ หนกั

1.เมือ่ วตั ถมุ ีแนวโน้มท่ีจะ 1. การสอ่ื สาร 1.ความอยากรู้อยาก

เคล่ือนทีบ่ นพน้ื ผวิ ใดๆ สารสนเทศและการรเู้ ท่า เหน็

จะมแี รงเสียด ทันสอื่ 2.ความซอ่ื สตั ย์

ทานระหว่างผวิ สัมผสั ตา้ น 2.ความรว่ มมอื การ 3.ความมงุ่ มั่นอดทน

การเคล่ือนท่ีของวตั ถุ ทำงานเปน็ ทมี และภาวะ 4. ความรอบคอบ

2.แรงเสยี ดทานระหวา่ ง ผา

ผวิ สัมผัสคหู่ นึ่งๆขณะวัตถุ

จะเคล่ือนท่ีขนึ้ กบั

สัมประสิทธิ์ความเสและ

แรงปฏิกริ ยิ าตง้ั ฉากระหว่าง

พ้ืนผวิ คนู่ ้ัน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 120

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพงึ จำนวน
ช่วั โมง
(K) (P) ประสงค์ (A)
5
3.การเพมิ่ และลดแรงเสียด
5
ทานสามารถนำมา ใช้

ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั

8. อธบิ ายสมดลุ กลของ 1.เมื่อแรงลพั ธ์ท่ีกระทำต่อ 1.การสอ่ื สารสารสนเทศ 1.ความซอื่ สตั ย์

วตั ถุ โมเมนต์ และผลรวม วัตถุเปน็ ศูนย์จะอยูใ่ นสมดุล และการรู้เท่าสื่อ 2.ความมุ่งมัน่ อดทน

ของโมเมนต์ท่ีมตี ่อการหมุน ต่อการเลือ่ นทีโ่ มเมนต์ที่ (การอภปิ รายร่วมกัน 3.ความรอบคอบ

แรงค่คู วบและผลของแรงคู่ กระทำตอ่ วตั ถุเปน็ ศูนยว์ ัตถุ และการนำเสนอผล)

ควบทีม่ ตี อ่ สมดลุ ของวัตถุ จะอย่ใู นสมดลุ ตอ่ การหมนุ 2.ความรว่ มมือการ

เขยี นแผนภาพของแรงที่ 2.การแสดงแรงทีก่ ระทำต่อ ทำงานเป็นทีมและภาวะ

กระทำต่อวัตถอุ สิ ระเม่อื วตั ถุทำไดโ้ ดยการเขียน ผู้นำ

วัตถอุ ย่ใู นสมดลุ กล และ แผนภาพของแรงท่กี ระทำ

คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี ตอ่ วตั ถอุ ืน่ และใชห้ าแรงที่

เก่ยี วขอ้ ง รวมทัง้ ทดลอง กระทำตอ่ วตั ถทุ อี่ ยู่

และอธบิ ายสมดลุ ของแรง 3.เมอื่ มแี รงคู่ควบกระทำต่อ

สามแรง วัตถุแรงลัพธแ์ รงคู่ควบนั้น

จะเปน็ ศนู ย์ ทำให้

วัตถสุ มดลุ ต่อ

การเลอ่ื นที่แตไ่ มส่ มดลุ ต่อ

การหมุน

4.เมื่อมีแรงคู่ควบหลายคู่

กระทาต่อวตั ถทุ ำใหว้ ตั ถุ

สมดลุ ตอ่ การหมุนผลรวม

โมเมนต์ ของแรงคคู่ วบเปน็

ศนู ย์

9. สังเกต และอธบิ าย 1.ศนู ย์กลางมวลเป็นจดุ ท่ี 1.การสงั เกต อยากรู้อยากเห็น

สภาพการเคลื่อนที่ของวตั ถุ เสมือนเป็นของวัตถทุ ้ังกอ้ น 2.การตคี วามหมาย

เม่อื แรงที่กระทำตอ่ วัตถุ อาจอย่ภู ายในหรอื ภายนอก ขอ้ มลู และลงข้อสรปุ

ผา่ นศูนย์กลางมวลของวัตถุ วตั ถุกไ็ ด้เม่อื ออกแรงกระทำ

และผลของศูนยถ์ ่วงที่มีตอ่ ผ่านศนู ยก์ ลางมวล

เสถียรภาพของวัตถุ ของวัตถทุ ำใหว้ ตั ถุมีการ

เลอ่ื นทแ่ี ต่ถ้าแนวแรงที่

กระทำต่อวตั ถไุ มผ่ า่ นศูนย์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 121

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ จำนวน
ช่ัวโมง
(K) (P) ประสงค์ (A)
-
มวลของวัตถุวัตถจุ ะเกดิ การ -

หมุน

2.ศนู ยถ์ ่วงของวตั ถเุ ป็นจุด

ทตี ำแหน่งทร่ี วมนำ้ หนัก

ของวัตถุถา้ สนามโนม้ ถว่ ง

สมำ่ เสมอศนู ยก์ ลางมวลกบั

ศูนยต์ ำแหน่งเดยี วกัน

3.ตำแหนง่ ของศูนย์ถ่วงมี

ผลตอ่ วตั ถุ

10. ผู้เรียนมีทักษะ ทกั ษะกระบวนการ 1.ความซ่ือสตั ย์
กระบวนการทาง
ว ิ ท ย า ศ า ส ต ร ์ สื บ ทางวิทยาศาสตร์ สบื 2.ความมุ่งม่นั อดทน
3.ความรอบคอบ
เสาะหาความรู้

เสาะหาความรู้ สำรวจ สำรวจตรวจสอบ

ตรวจสอบสืบค้นขอ้ มูล สืบค้นขอ้ มลู

11. อภิปราย บนั ทึก อภิปราย บันทกึ และ 1.ความซอ่ื สัตย์

และอธิบายผลการ อธิบายผลการสำรวจ 2.ความมุ่งมัน่ อดทน
สำรวจตรวจข้อมูล มี ตรวจข้อมูล มคี วามรู้ 3.ความรอบคอบ

ความรคู้ วามคิด ความ ความคิด ความเขา้ ใจ

เขา้ ใจ นำเสนอสิ่งท่ี นำเสนอส่งิ ทเี่ รียนรไู้ ด้

เรียนรูไ้ ด้อยา่ ง อยา่ งสรา้ งสรรค์ มี

สร้างสรรค์ มี ความสามารถในการ

ความสามารถในการ ตดั สนิ ใจ เหน็ คุณคา่

ตัดสินใจ เห็นคณุ ค่า ของการนำความรู้ไป

ของการนำความรู้ไปใช้ ใชใ้ น

ใน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 122

คำอธบิ ายรายวิชา

รหสั วิชา ว30201 รายวชิ าฟสิ กิ สเ์ พมิ่ เตมิ 1 / Physics 1

รายวชิ าเพม่ิ เติม กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน 60 ชัว่ โมง 1.5 หน่วยกิต

ศกึ ษาหลกั การ วิเคราะห์ แนวคดิ เก่ยี วกับความหมายของฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา ปริมาณ
ทางฟิสิกส์ ความไม่แน่นอนในการวัด เลขนัยสำคัญ การบันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ผลการทดลอง
ความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด ระยะทาง เวลา ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร่ง และการตกแบบเสรี
การหาแรงลัพธ์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ในแนวตรง แรง มวล
และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎแรงดึงดูดระหว่างมวลของวัตถุ น้ำหนัก แรงเสียดทาน สมดุลกล
โมเมนต์ และเสถยี รภาพของวตั ถุ

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล การอภิปราย การสร้างสถานการณ์ การวางแผน การลงมือปฏิบัติ คิดวิจารณญาณ การสร้าง
ความคิดรวบยอด และการเสริมสรา้ งคณุ ลกั ษณะท่ีพึงประสงค์

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมท่ี
เหมาะสม มจี ิตสำนกึ ในการใช้พลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งค้มุ คา่ และถูกวธิ ี และ
นำความรู้ไปใชโ้ ดยยดึ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรียนรู้
1. สืบค้น และอธิบายการค้นหาความรู้ทางฟิสิกส์ ประวัติความเป็นมา รวมทั้งพัฒนาการของ

หลกั การและแนวคดิ ทางฟสิ ิกส์ทีม่ ีผลตอ่ การแสวงหาความรูใ้ หมแ่ ละการพฒั นาเทคโนโลยี
2. วัด และรายงานผลการวัดปริมาณทางฟิสิกส์ได้ถูกต้องเหมาะสม โดยนำความคลาดเคลื่อนใน

การวัดมาพิจารณาในการนำเสนอผล รวมทั้งแสดงผลการทดลองในรูปของกราฟ วิเคราะห์และแปล
ความหมายจากกราฟเส้นตรง

3. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่ง การกระจัด ความเร็ว และความเร่งของการ
เคลอ่ื นท่ีของวัตถใุ นแนวตรงทีม่ ีความเร่งคงตวั จากกราฟและสมการ รวมท้ังทดลองหาค่าความเร่งโน้ม
ถ่วงของโลก และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง

4. ทดลอง และอธบิ ายการหาแรงลัพธข์ องแรงสองแรงทีท่ ำมุมต่อกนั
5. เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถุอิสระ ทดลอง และอธิบายกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
และการใช้กฎการเคลื่อนที่ของนิวตนั กับสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุ รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี
เกย่ี วข้อง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 123

6. อธิบายกฎความโน้มถ่วงสากลและผลของสนามโน้มถ่วงที่ทำให้วัตถุมีน้ำหนัก รวมทั้งคำนวณ
ปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง

7. วิเคราะห์ อธิบาย และคำนวณแรงเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่หนึ่ง ๆ ในกรณีที่วัตถุ
หยุดนิ่งและวัตถุเคลื่อนที่ รวมทั้งทดลองหาสัมประสิทธิ์ความเสียดทานระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุคู่
หน่งึ ๆ และนำความรเู้ รอ่ื งแรงเสียดทานไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน

8. อธิบายสมดุลกลของวัตถุ โมเมนต์ และผลรวมของโมเมนต์ที่มีต่อการหมุน แรงคู่ควบและผล
ของแรงคู่ควบที่มตี ่อสมดลุ ของวัตถุ เขียนแผนภาพของแรงที่กระทำต่อวัตถอุ ิสระเม่ือวัตถุอยู่ในสมดุล
กล และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง รวมทัง้ ทดลองและอธบิ ายสมดุลของแรงสามแรง

9. สังเกต และอธิบายสภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุเมื่อแรงที่กระทำต่อวัตถุผ่านศูนย์กลางมวลของ
วตั ถุ และผลของศูนย์ถว่ งที่มตี ่อเสถยี รภาพของวตั ถุ

10. ผู้เรียนมีทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ สำรวจตรวจสอบสบื คน้ ขอ้ มลู
11. อภปิ ราย บนั ทกึ และอธิบายผลการสำรวจตรวจข้อมูล มีความร้คู วามคิด ความเขา้ ใจ นำเสนอ
ส่งิ ทเ่ี รยี นร้ไู ดอ้ ย่างสรา้ งสรรค์ มคี วามสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรไู้ ปใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ มีคุณธรรม จรยิ ธรรมที่เหมาะสม

รวมท้ังหมด 11 ผลการเรยี นรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 124

โครงสร้างรายวิชา

รหสั วชิ า ว30201 รายวชิ าฟสิ กิ ส์เพิ่มเติม 1 / Physics 1

รายวชิ าเพมิ่ เตมิ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4 จำนวน 60 ช่ัวโมง 1.5 หน่วยกิต

ลำดบั ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรยี นร/ู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชัว่ โมง) คะแนน
1 การศึกษา
วิชาฟสิ ิกส์ 1 - 2, - วชิ าฟสิ กิ ส์ 10 10

2 การ 10 - 11 - ประวตั ิความเป็นมาของ 20 20
เคลือ่ นทใี่ น
แนวตรง ฟิสกิ ส์

- ปริมาณทางฟสิ ิกสแ์ ละ

หนว่ ย

- เลขนัยสำคัญ

- การทดลองในวชิ าฟิสิกส์

- ความไมแ่ น่นอนในการ

วดั

- การเลือกเครอื่ งมือในการ

วัด

- คณติ ศาสตรท์ ี่เกี่ยวข้อง

กับฟิสิกส์

3 - 4, - ตำแหนง่ และการกระจัด

10 - 11 - ความเรว็ เฉล่ียและ

อตั ราเรว็ เฉลีย่

- ความเรว็ และอัตราเร็ว

ขณะใดขณะหนึ่ง

- ความเรง่

- การเคลื่อนที่กรณี

ความเรง่ เป็นค่าคงตัว

- กราฟตำแหน่งกบั เวลา

ความเรว็ กับเวลา ความเร่ง

กับเวลา

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 125

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรียนรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนกั
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

- วตั ถตุ กอยา่ งเสรีมี

ความเรง่

สม่ำเสมอ

- การหาเวกเตอร์ของแรง

ลพั ธ์

สอบกลางภาค 20

3 แรง และ 5 - 7, - ความเฉ่ือย 20 20

กฎการ 10 - 11 - การหาแรงลัพธ์

เคลือ่ นท่ี - กฎการเคล่ือนท่ีข้อที่

หน่งึ ของนวิ ตัน

- กฎการเคลื่อนท่ีข้อทีส่ อง

ของนิวตัน

- กฎการเคลอื่ นท่ีขอ้ ทสี่ าม

ของนวิ ตัน

- นำ้ หนกั

- กฎแรงดึงดดู ระหวา่ งมวล

ของนิวตัน

- จดุ ศูนยก์ ลางมวล และ

จดุ ศนู ยก์ ลาง

ของความโนม้ ถว่ ง

- แรงเสียดทาน

- การนำกฎการเคลื่อนท่ี

ของนิวตนั ไปใช้

4 สมดลุ กล 8 – 9, - สภาพสมดุล 10 10

10 - 11 - สมดุลต่อการเลอ่ื นท่ี

- สมดุลต่อการหมุน

- ศูนย์กลางมวลและศูนย์

ถ่วง

- เสถยี รภาพของวัตถุ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 126

ลำดบั ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

- การนำหลกั สมดุลไป 20
60 100
ประยุกต์ใช้

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรียน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 127

แบบวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ของหลกั สูตร
รหสั วชิ า ว30202 รายวชิ าฟิสิกส์เพม่ิ เติม 2 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 2

สาระฟสิ ิกส์
ขอ้ 1. เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิสิกส์ ปรมิ าณและกระบวนการวัด การเคล่อื นท่ีแนวตรง แรง

และกฎการเคลือ่ นทีข่ องนวิ ตัน กฎความโน้มถว่ งสากล แรงเสยี ดทาน สมดุลกลของวตั ถุ งานและ
กฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล โมเมนตัมและกฎการอน ุรกั ษโ์ มเมนตมั การเคลอื่ นท่ีแนวโคง้ รวมท้ัง
นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถนิ่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / กระบวนการ คุณลักษณะอันพงึ จำนวน
ชว่ั โมง
(K) (P) ประสงค์ (A)
10
1. วเิ คราะห์และคำนวณ 1.เม่ือมีแรงคงตัวกระทำต่อวัตถุ 1.การตีความหมาย อยากรอู้ ยากเหน็
10
งานของแรงคงตัว จาก แล้วทำให้วตั ถุเคลื่อนทจ่ี ะเกิด ขอ้ มูลและลงขอ้ สรปุ

สมการและพ้นื ทใ่ี ตก้ ราฟ งานโดยหางานไดจ้ าก

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งแรง ความสัมพนั ธร์ ะหว่างขนาดของ 2.การใช้จำนวน

กบั ตำแหนง่ รวมท้งั อธบิ าย แรงและขนาดของการกระจดั

และคำนวณกำลังเฉล่ยี ในแนวเดียวกนั หรอื พืน้ ท่ีใต้

กราฟระหวา่ งแรงและการ

กระจดั

2.งานทท่ี ำในหนงึ่ หน่วยเวลา

เป็นปริมาณทบี่ ่งบอกกำลงั

2. อธบิ ายและคำนวณ 1.พลงั งานจลนเ์ ปน็ พลงั งานของ 1.การวัด (ระยะหา่ ง 1.ความซือ่ สตั ย์

พลงั งานจลน์ หลังงานศกั ย์ วัตถุทก่ี ำลังลังเคลอื่ นที่พลังงาน ระหวา่ งจุดบนแถบ 2.ความม่งุ มนั่ อดทน

และพลงั งานกล ทดลองหา ศกั ยเ์ ปน็ พลงั งานทีเ่ กี่ยว กระดาษและคา่ ที่อ่านได้ 3.ความรอบคอบ

ความสมั พันธร์ ะหว่างงาน กบั ตำแหน่งหรือรูปรา่ งของวัตถุ จากเครื่องชั่งสปรงิ )

กบั พลงั งานจลน์ ผลรวมของ พลงั งานจลนแ์ ละ 2.การใชจ้ ำนวน(ปริมาณ

ความสัมพันธร์ ะหว่างงาน พลงั งานศกั ยเ์ รียกวา่ พลงั งานกล ตา่ งๆทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

กับพลงั งานศักย์โน้มถ่วง 2.งานและพลงั งานมี พลังงานจลน์ พลังงาน

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งขนาด ความสมั พันธ์กนั โดยงาน ศักยโ์ นม้ ถ่วง

ของแรงทีใ่ ชด้ งึ สปรงิ กบั ทีท่ ำมผี ลทำให้วัตถมุ ีการ พลังงานศกั ย์ยืดหยุ่น)

ระยะทส่ี ปริงยดื ออกและ เปลย่ี นแปลงพลังจลนพ์ ลงั งาน 3.การทดลอง

ความสมั พนั ธร์ ะหว่างงาน ศักย์โนม้ ถว่ งหรอื พลงั งานศักย์ 4.การจดั กระทำและสอ่ื

กบั พลังงานศกั ยย์ ดื หยุน่ ยืดหยุ่น ความหมาย

รวมท้งั อธิบายความสมั พนั ธ์

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 128

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ ทกั ษะ / กระบวนการ คณุ ลักษณะอันพงึ จำนวน
ชัว่ โมง
(K) (P) ประสงค์ (A)
10
ระหวา่ งงานของแรงลพั ธ์
5
และพลงั งานจลน์ และ
5
คำนวณงานทเ่ี กดิ ขนึ้ จาก

แรงลัพธ์

3. อธิบายกฎการอนุรกั ษ์ 1.เมื่อแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถเุ ป็น 1.การวดั อยากรอู้ ยากเห็น

พลังงานกล รวมทัง้ แรงอนุรักษ์ผลรวมของพลังงาน 2.การใช้จำนวน

วิเคราะห์ และคำนวณ ศกั ย์และพลังของวัตถทุ ่ี 3.การตคี วามหมาย

ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่เี กี่ยวขอ้ ง ตำแหนง่ ใดๆมีคา่ คงตวั เปน็ ไป ขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ

กบั การ ตามกฎการอนุรักษ์พลงั งานกล

2.การใชก้ ฎการอนรุ ักษพ์ ลังงาน

เคล่ือนที่ของวัตถุใน กลอธิบายปรมิ าณทเ่ี กยี่ วขอ้ ง

สถานการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ กบั กาในสถานการณ์ต่างๆ

กฎการอนรุ ักษ์พลังงานกล

4. อธิบายการทำงาน 1.หลกั การทำงานของเคร่อื งกล การใช้จำนวน 1.ความซื่อสัตย์

ประสิทธภิ าพและการ อยา่ งง่ายบางชนิด อาศัยความรู้ 2.ความมุง่ ม่ันอดทน

ไดเ้ ปรียบเชิงกลของ เกี่ยวกบั งานและสมดลุ กล 3.ความรอบคอบ

เครอื่ งกลอย่างงา่ ยบางชนิด 2.ร้อยละของอัตราสว่ นระหวา่ ง

โดยใช้ความรเู้ ร่ืองงานและ งานที่ได้ต่องาน

สมดลุ กล รวมท้ังคำนวณ ท่ีใหแ้ ก่เคร่ืองกลเรยี กวา่

ประสทิ ธภิ าพและการ ประสิทธภิ าพของเคร่ืองกล

ไดเ้ ปรยี บเชิงกล อย่างงา่ ย

3.อัตราสว่ นระหวา่ งแรงท่ีได้กับ

แรงทีใ่ หเ้ รียกวา่ การไดเ้ ปรียบ

เชิงกลของเครือ่ งกล ซง่ึ เปน็

ปรมิ าณท่บี ง่ บอกถงึ การผ่อน

แรงหรอื การ อำนวยความ

สะดวกของเครือ่ งกล

5. อธบิ าย และคำนวณ 1.โมเมนตัมเปน็ ปรมิ าณท่ี 1.การตคี วามหมาย 1.ความอยากรู้

โมเมนตมั ของวตั ถุ และการ อธบิ ายของวัตถสุ ำหรับวตั ถหุ นึง่ ข้อมูลและลงข้อสร อยากเหน็

ดลจากสมการและพ้นื ท่ใี ต้ โมเมนตตัมขน้ึ กบั มวลและ 2.การใชจ้ ำนวน 2.ความรอบคอบ

กราฟ ความสมั พนั ธ์ ความเรว็

ระหวา่ งแรงลพั ธ์กบั เวลา 2.แรงลัพธท์ ก่ี ระทำต่อวัตถจุ ะ

รวมท้งั อธบิ ายความสมั พันธ์ ทำให้โมเมนตัมของวัตถุ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 129

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทกั ษะ / กระบวนการ คณุ ลักษณะอนั พงึ จำนวน
ช่ัวโมง
ระหว่างแรงดลกบั (K) (P) ประสงค์ (A)
โมเมนตมั 5
เปล่ียนแปลงโดยแรงลัพธท์ ่มี ผี ล
6. ทดลอง อธบิ าย และ 5
คำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี ต่อวัตถุในเวลาสั้นๆเรียกวา่ แรง
เก่ยี วกบั การชนของวัตถุใน
หน่งึ มิติ ทัง้ แบบยดื หยนุ่ ไม่ ดลซ่งึ หาได้
ยดื หยนุ่ และการดดี ตัวแยก
จากกนั ในหนึ่งมิติซึ่งเปน็ ไป จากอตั ราการเปลีย่ น
ตามกฎการอนรุ ักษ์
โมเมนตัม โมเมนตมั ของวัตถุ

7. อธบิ าย วเิ คราะห์ และ 3.การดลเปน็ ปรมิ าณทีบ่ ่งบอก
คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ท่ี
เก่ยี วขอ้ งกับการเคลื่อนท่ี การโมเมนตมั ของวตั ถุมี
แบบโพรเจกไทล์ และ
ทดลองการเคลื่อนท่ีแบบ ความสัมพนั ธแ์ ละเวลาและหา
โพรเจกไทล์
ไดจ้ ากพืน้ ทใ่ี ตก้ ราฟระหว่าง

แรงลัพธ์กบั เวลา

1.การชนกันของวัตถแุ ละการ 1.การวัด 1.ความซ่ือสตั ย์

ดีดตวั แยกจากกันของวตั ถใุ น 2.การใชจ้ ำนวน 2.ความมงุ่ มน่ั อดทน

แนวตรงเมื่อไม่มแี รงภายนอก (ผลรวมโมเมนตมั กอ่ น 3.ความรอบคอบ

กระทำโมเมนตมั รวมของระบบ และ 4.ความอยากรูอ้ ยาก

ซึ่งเปน็ ไปตามกฎการอนรุ กั ษ์ หลังชนและผลรวมของ เหน็

โมเมนตมั พลงั งานจลน์และหลงั

2.การชนที่พลงั งานจลนร์ วม ชน)

ของระบบคงตัวเปน็ การชนแบบ 3.การทดลอง

ยดื หยุ่นสว่ นการชนท่ีพลัง 4.การตคี วามหมาย

จลนร์ วมของระบบไมค่ งตัวเป็น ขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ

การชนแบบไม่ยดื หยนุ่ (จากผลการทดลอง)

1.การเคลอื่ นทแี่ บบโพรเจกไทล์ 1.การวดั (ระยะใน 1.ความซื่อสตั ย์

เปน็ ของวัตถใุ นสองมติ ิโดยแนว แนวด่ิงที่วตั ถุเคล่อื นที่ 2.ความมุง่ มนั่ อดทน

การเคล่ือนทวี่ ิถีโค้งพาราโบลา ได)้ 3.ความรอบคอบ

และการเคลื่อนที่ในมคี วามเรว็ 2.การทดลอง 4.ความอยากรู้อยาก

คงตัวส่วนการเคลอื่ นท่ใี น 3.การจัดกระทำและสอื่ เห็น

แนวดงิ่ เป็นการเคลอ่ื นที่ดว้ ย ความหมาย

ความเร่งคงตวั 2.ในกรณี 4.การตคี วามหมาย

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ข้อมลู และลงขอ้ สรปุ

สนามโนม้ ถ่วงของโลกการ

เคล่ือนทดี่ ิง่ เป็นการเคล่ือนที่ 5.การใช้จำนวน

แบบเสรี

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 130

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ ทักษะ / กระบวนการ คณุ ลกั ษณะอันพึง จำนวน
ชว่ั โมง
8. ทดลอง และอธบิ าย (K) (P) ประสงค์ (A)
ความสัมพันธร์ ะหว่างแรงสู่ 10
ศูนย์กลาง รศั มีของการ 1.วัตถุท่เี คล่อื นทแ่ี บบวงกลม 1.การวดั (คาบการ 1.ความซื่อสตั ย์
เคล่อื นท่ี อตั ราเร็วเชิงเสน้ -
อัตราเร็วเชงิ มมุ และมวล จะมแี รงกระทำในทิศทางเข้า สู่ แกวง่ ของวตั ถุ) 2.ความมงุ่ มัน่ อดทน
ของวัตถุ ในการเคลอ่ื นที่
แบบวงกลมในระนาบระดบั ศูนย์กลางซ่ึงมีความสัมพนั ธ์ กบั 2.การทดลอง 3.ความรอบคอบ
รวมทัง้ คำนวณปรมิ าณตา่ ง
ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง และ มวลอัตราเร็วและรศั มีการ 4.ความอยากรู้อยาก
ประยุกต์ใชค้ วามรกู้ าร
เคล่อื นทแ่ี บบวงกลม ใน เคล่อื นท่ขี องวัตถุ เหน็
การอธิบายการโคจรของ
ดาวเทยี ม 2.การโคจรของดาวเทียม

9. ผู้เรียนมีทักษะ อธบิ ายได้โดยใชค้ วามรู้
กระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ สืบ เกี่ยวกบั การเคลือ่ นท่แี บบ
เสาะหาความรู้ สำรวจ
ตรวจสอบ สบื คน้ ข้อมูล วงกลม
อภิปราย บนั ทึกและ
อธิบายผลการสำรวจ - ทกั ษะกระบวนการ มีจติ วทิ ยาศาสตร์
ตรวจขอ้ มูล มีความรู้ ทางวิทยาศาสตร์ สืบ มีคุณธรรม
ความคิด ความเข้าใจ เสาะหาความรู้ จรยิ ธรรมที่
นำเสนอสิ่งท่เี รียนรไู้ ด้ สำรวจตรวจสอบ เหมาะสม
อยา่ งสรา้ งสรรค์ มี สืบคน้ ขอ้ มูล
ความสามารถในการ อภิปราย บันทึกและ
ตดั สนิ ใจ เห็นคุณคา่ ของ อธิบายผลการสำรวจ
การนำความรู้ไปใชใ้ น ตรวจขอ้ มลู
ชีวติ ประจำวัน มีจติ - เสนอส่ิงทเี่ รยี นรไู้ ด้
วิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม อยา่ งสรา้ งสรรค์ มี
จริยธรรมทีเ่ หมาะสม ความสามารถในการ
ตดั สนิ ใจ เห็นคณุ ค่า
ของการนำความรู้ไป
ใช้ในชวี ิตประจำวัน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 131

คำอธบิ ายรายวชิ า

รหัสวชิ า ว30202 รายวิชา ฟิสกิ ส์เพม่ิ เตมิ 2 / Physics 2

รายวิชาเพ่ิมเตมิ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 จำนวน 60 ชวั่ โมง 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาหลักการ วิเคราะห์ ฝึกปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องคำนวณ เกี่ยวกับงาน กำลัง พลังงาน กฎ
การอนุรักษ์พลังงานกล การทำงานของเครื่องกลอย่างง่าย โมเมนตัม การชน และกฎอนุรักษ์โมเมนต์
ตัม การเคล่ือนท่ีแบบโพรเจกไทล์ การเคล่ือนที่แบบวงกลม

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล การอภิปราย การสร้างสถานการณ์ การวางแผน การลงมือปฏิบัติ คิดวิจารณญาณ การสร้าง
ความคดิ รวบยอด และการเสริมสรา้ งคุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์

เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ นำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม มจี ติ สำนกึ ในการใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งคุ้มค่าและถูกวธิ ี และ
นำความรูไ้ ปใชโ้ ดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลการเรียนรู้
1. วเิ คราะห์และคำนวณงานของแรงคงตัว จากสมการและพ้นื ท่ีใต้กราฟ ความสัมพันธ์ระหว่างแรง

กับตำแหนง่ รวมทัง้ อธิบายและคำนวณกำลงั เฉล่ีย
2. อธิบายและคำนวณพลังงานจลน์ หลังงานศักย์ และพลังงานกล ทดลองหาความสัมพนั ธร์ ะหว่าง

งานกับพลังงานจลน์ ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง ความสัมพันธ์ระหว่างขนาด
ของแรงที่ใช้ดึงสปริงกับระยะที่สปริงยืดออกและความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์ยืดหยุ่น
รวมทงั้ อธิบายความสมั พันธ์ ระหว่างงานของแรงลัพธแ์ ละพลังงานจลน์ และคำนวณงานที่เกิดข้ึนจาก
แรงลพั ธ์

3. อธิบายกฎการอนุรักษ์พลังงานกล รวมทั้งวิเคราะห์ และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ
การเคลื่อนทขี่ องวตั ถุในสถานการณ์ตา่ ง ๆ โดยใชก้ ฎการอนุรักษ์พลงั งานกล

4. อธบิ ายการทำงาน ประสิทธิภาพและการได้เปรียบเชงิ กลของเครื่องกลอยา่ งง่ายบางชนิด โดยใช้
ความรู้เร่ืองงานและสมดุลกล รวมทัง้ คำนวณประสทิ ธิภาพและการได้เปรยี บเชิงกล

5. อธิบาย และคำนวณโมเมนตัมของวัตถุ และการดลจากสมการและพืน้ ทีใ่ ตก้ ราฟ ความสัมพันธ์
ระหว่างแรงลพั ธก์ บั เวลา รวมทั้งอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหว่างแรงดลกบั โมเมนตัม

6. ทดลอง อธิบาย และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการชนของวัตถุในหนึ่งมิติ ทั้งแบบ
ยดื หยนุ่ ไม่ยืดหยนุ่ และการดดี ตวั แยกจากกนั ในหนึ่งมติ ซิ ึง่ เปน็ ไปตามกฎการอนรุ ักษโ์ มเมนตมั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 132

7. อธิบาย วิเคราะห์ และคำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ งกับการเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์ และ
ทดลองการเคลือ่ นที่แบบโพรเจกไทล์

8. ทดลอง และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงสู่ศูนย์กลาง รัศมีของการเคลื่อนที่ อัตราเร็วเชิง
เส้น อัตราเร็วเชิงมุม และมวลของวัตถุ ในการเคลื่อนที่แบบวงกลมในระนาบระดับ รวมทั้งคำนวณ
ปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และประยุกต์ใช้ความรู้การเคลื่อนที่แบบวงกลม ในการอธิบายการโคจร
ของดาวเทียม

9. ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สืบเสาะหาความรู้ สำรวจตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล
อภิปราย บันทึกและอธิบายผลการสำรวจตรวจข้อมูล มีความรู้ความคิด ความเข้าใจ นำเสนอสิ่งที่
เรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ ใน
ชีวติ ประจำวนั มีจติ วิทยาศาสตร์ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรมท่เี หมาะสม

รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู้

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 133

โครงสรา้ งรายวิชา

รหสั วิชา ว30202 รายวชิ าฟิสกิ สเ์ พม่ิ เติม 2 / Physics 2

รายวชิ าเพ่มิ เติม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 4 จำนวน 60 ช่วั โมง 1.5 หน่วยกติ

ลำดบั ชือ่ หน่วย มาตรฐานการเรียนร/ู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชั่วโมง) คะแนน

1 งานและ 1 - 4 , 9 - งาน 20 20

พลงั งาน - กำลงั

- พลังงาน พลงั งานจลน์

พลังงานศักย์

- กฎการอนุรักษ์พลังงานกล

- การประยุกต์กฎการ

อนรุ กั ษ์พลงั งานกล

- เครือ่ งกลอยา่ งง่าย

2 โมเมนตัม 5 – 6 , 9 - โมเมนตัม 10 10

และการ - แรงและการเปล่ยี น

ชน โมเมนตัม

- การดลและแรงดล

- การชน

- กฏอนรุ กั ษโ์ มเมนต์ตัม

สอบกลางภาค 20

3 การ 7 , 9 - กาเงอื่ นไขการเคลือ่ นท่ี 10 10

เคลอื่ นท่ี แบบโพรเจกไทล์

แบบ - สมการของการเคลื่อนที่

โพรเจก แบบโพรเจกไทล์

ไทล์

4 การ 8 , 9 - การเคลอื่ นที่แบบวงกลม 20 20

เคลื่อนท่ี สมำ่ เสมอ

แบบ - การเคล่ือนท่ีแบบวงกลม

วงกลม อยา่ งไมส่ ม่ำเสมอ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 134

ลำดับ ชอ่ื หน่วย มาตรฐานการเรยี นรู้/ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
ที่ การเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

- การเคลอ่ื นที่ของรถบน 20
60 100
ทางโค้ง

- การเคล่อื นที่ของ

ดาวเทยี ม

สอบปลายภาค

รวมตลอดภาคเรียน

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 135

แบบวิเคราะหผ์ ลการเรียนรู้ของหลกั สตู ร
รหสั วิชา ว30203 รายวชิ า ฟสิ กิ สเ์ พิ่มเติม3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนท่ี 1

สาระท่ี 6 ฟสิ กิ ส์
มาตรฐาน ว 6.2 เข้าใจการเคลือ่ นทแ่ี บบฮาร์มอนิกส์อย่างง่าย ธรรมชาตขิ องคลนื่ เสียงและการ
ได้ยิน ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับแสง รวมทั้งนำา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลักษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) ชว่ั โมง

1. ทดลองและอธบิ าย 1. อธิบาย 1. การสงั เกต (การ 1. เขา้ เรียน 3

การเคล่ือนทแ่ี บบฮาร์ เกย่ี วกับการ เคลื่อนที่ของวตั ถุ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม

มอนิกอย่างง่ายของ เคล่ือนท่แี บบฮาร์ ติดปลายสปริงและ และส่งงานตรง

วัตถุติดปลายสปริง มอนิกอยา่ งง่าย ลกู ตุ้มอย่างง่าย) เวลา (มวี นิ ัย)

และลกู ตุ้มอย่างงา่ ย ปรมิ าณท่ี 2. การ 2. รว่ มมอื ในการ

รวมทง้ั คำนวณ เก่ียวข้อง และ ตีความหมาย เรยี น แสวงหา

ปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่ การนำไปใช้ ข้อมลู และลง ความรู้ ตอบ

เก่ียวข้อง ประโยชนไ์ ด้ ข้อสรปุ (การ คำถาม ยอมรับ

เคลือ่ นท่ีของวตั ถุ ความคดิ เห็น ยก

ตดิ ปลายสปรงิ และ ย่องผอู้ ่ืน และ

ลูกตุ้มอย่างงา่ ย) แสดงความคดิ เห็น

อย่างมเี หตผุ ล (ใฝ่

เรยี นรู้)

3. ทำกิจกรรม

และทำแบบฝึกหดั

ดว้ ยความซ่ือสตั ย์

(ซือ่ สัตย์สจุ รติ )

4. รักษาความ

สะอาดของผลงาน

ห้องเรียน และ

สถานทป่ี ฏิบตั ิ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 136

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลักษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A ) ชัว่ โมง

กจิ กรรม (มจี ิต

สาธารณะ)

2. อ ธ ิ บ า ย ค ว า ม ถี่ 1. อธิบายการ 1. การสงั เกต 1. เขา้ เรยี น 3

ธรรมชาติของวัตถุ เกิดคล่ืนนง่ิ ของ (คลนื่ ในเส้นเชอื ก) ปฏิบตั กิ จิ กรรม

และการเกิดการส่ัน คลน่ื ผวิ น้ำและ 2. การ และสง่ งานตรง

พอ้ ง คลนื่ นงิ่ ในเสน้ ตีความหมาย เวลา (มวี ินยั )

เชอื ก ขอ้ มูลและลง 2. ร่วมมือในการ

2. อธิบายการสั่น ข้อสรุป (ปรมิ าณ เรียน แสวงหา

พ้องของคลน่ื ต่างๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง ความรู้ ตอบ

กบั คล่นื ) คำถาม ยอมรบั

ความคิดเหน็ ยก

ยอ่ งผอู้ ื่น และ

แสดงความคดิ เห็น

อย่างมีเหตุผล (ใฝ่

เรยี นร)ู้

3. ทำกิจกรรม

และทำแบบฝึกหัด

ด้วยความซอ่ื สตั ย์

(ซอ่ื สัตย์สจุ ริต)

4. รักษาความ

สะอาดของผลงาน

หอ้ งเรียน และ

สถานทปี่ ฏิบตั ิ

กิจกรรม (มจี ิต

สาธารณะ)

3.อธบิ าย 1. อธิบาย 1. การสังเกต 1. เขา้ เรยี น 4

ปรากฏการณ์คล่ืน ปรากฏการณ์ (คลื่นในเส้นเชอื ก ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม

ชนิดของคล่ืน คลื่น ชนิดของ คล่ืนในขดลวด และส่งงานตรง

ส่วนประกอบของ คล่นื สปรงิ คล่ืนผิวนำ้ เวลา (มวี ินัย)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 137

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ทอ้ งถิน่

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลกั ษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A ) ชั่วโมง

คล่นื การแผข่ องหนา้ สว่ นประกอบของ และการซ้อนทบั 2. รว่ มมือในการ

คล่นื ดว้ ยหลกั การของ คล่ืน การแผ่ของ ของคล่ืนในขดลวด เรยี น แสวงหา

ฮอยเกนส์ และการ หนา้ คลน่ื ดว้ ย สปรงิ ) ความรู้ ตอบ

รวมกนั ของคลน่ื ตาม หลกั การของฮอย 2. การ คำถาม ยอมรบั

หลักการซ้อนทบั เกนส์ และการ ตคี วามหมาย ความคดิ เหน็ ยก

พร้อมทง้ั คำนวณ รวมกันของคล่นื ข้อมูลและลง ย่องผู้อน่ื และ

อตั ราเร็ว ความถี่ และ ตามหลักการ ขอ้ สรปุ (ปรมิ าณ แสดงความคดิ เห็น

ความยาวคลน่ื ซอ้ นทบั ได้ ตา่ งๆ ทเี่ กี่ยวข้อง อยา่ งมเี หตุผล (ใฝ่

2. คำนวณ กบั คลน่ื ) เรียนรู้)

อตั ราเรว็ ความถี่ 3. การใช้จำนวน 3. ทำกิจกรรม

และความยาว (อตั ราเรว็ ความ และทำแบบฝึกหดั

คล่ืนได้ ยาวคลนื่ และ ด้วยความซ่ือสัตย์

ความถ่ีจากสมการ) (ซื่อสัตย์สุจริต)

4. รกั ษาความ

สะอาดของผลงาน

ห้องเรียน และ

สถานท่ีปฏิบัติ

กจิ กรรม (มจี ติ

สาธารณะ)

4. สงั เกตและอธบิ าย 1. อธิบายการ 1. การสงั เกต 1. เข้าเรียน 6

การสะท้อน การหัก สะทอ้ นของคลนื่ (ลักษณะการ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม

เห การแทรกสอด ได้ เคลือ่ นท่ีของคลืน่ และสง่ งานตรง

และการเลย้ี วเบนของ 2. ทำการทดลอง ผวิ น้ำ เมื่อเกดิ การ เวลา (มวี ินัย)

คลน่ื ผวิ น้ำ รวมท้งั เพอ่ื สรุปเกย่ี วกบั สะท้อน/การหัก 2. รว่ มมือในการ

คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ กฎการสะท้อน เห/การเลย้ี วเบน/ เรียน แสวงหา

ทีเ่ ก่ียวข้อง ของคลืน่ ได้ การแทรกสอด ความรู้ ตอบ

3. ทำการทดลอง ของคลื่นผิวน้ำ) คำถาม ยอมรับ

เพอื่ สังเกต 2. การทดลอง ความคิดเห็น ยก

ปรากฏการณ์การ ยอ่ งผู้อ่นื และ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 138

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน

5. อธิบายการเกดิ กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) ช่วั โมง
เสียง การเคลือ่ นท่ี
หักเหของคลื่นน้ำ 3. การ แสดงความคดิ เห็น

ได้ ตีความหมาย อยา่ งมเี หตผุ ล (ใฝ่

4. คำนวณ ข้อมลู และลง เรียนรู้)

ปริมาณต่าง ๆ ท่ี ข้อสรุป (เกยี่ วกับ 3. ทำกิจกรรม

เกี่ยวขอ้ งกบั การ สมบัติของคล่ืน) และทำแบบฝกึ หดั

หักเหของคลื่นน้ำ ดว้ ยความซือ่ สตั ย์

ได้ (ซ่อื สัตยส์ จุ รติ )

5. ทำการทดลอง 4. รกั ษาความ

เพ่ือสงั เกต สะอาดของผลงาน

ปรากฏการณ์การ หอ้ งเรยี น และ

เลี้ยวเบนของ สถานที่ปฏบิ ตั ิ

คลน่ื น้ำได้ กจิ กรรม (มจี ิต

6. คำนวณ สาธารณะ)

ปรมิ าณต่าง ๆ ที่

เกย่ี วขอ้ งกับการ

เล้ยี วเบนของ

คลน่ื นำ้ ได้

7. ทำการทดลอง

เพื่อสังเกต

ปรากฏการณ์การ

แทรกสอดของ

คลน่ื น้ำได้

8. คำนวณ

ปรมิ าณตา่ ง ๆ ที่

เกย่ี วข้องกับการ

แทรกสอดของ

คลืน่ นำ้ ได้

1. อธิบายการ 1. การ 1. เขา้ เรยี น 3

เกิดของเสยี ง การ ตคี วามหมาย ปฏิบัติกิจกรรม

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 139

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลักษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A ) ช่วั โมง

ของเสยี ง เคลื่อนท่ีของเสยี ง ขอ้ มลู และลง และส่งงานตรง

ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง ความสมั พนั ธ์ ข้อสรปุ เวลา (มีวินัย)

คลนื่ การกระจดั ของ ระหวา่ งคลน่ื การ (ความสัมพนั ธ์ 2. ร่วมมือในการ

อนุภาคกบั คลืน่ ความ กระจดั ของ ระหว่างความดนั เรียน แสวงหา

ดนั ความสัมพนั ธ์ อนุภาคกบั คลื่น และการกระจัด ความรู้ ตอบ

ระหวา่ งอตั ราเร็วของ ความดัน ของคล่ืนเสยี ง) คำถาม ยอมรบั

เสียงในอากาศที่ 2. คำนวณหา 2. การใช้จำนวน ความคดิ เห็น ยก

ขึ้นกบั อุณหภมู ิใน อตั ราเรว็ ของ (อตั ราเรว็ เสียงใน ย่องผู้อื่น และ

หน่วยองศาเซลเซียส เสียงได้ อากาศที่ขึน้ กับ แสดงความคิดเหน็

สมบตั ขิ องคลน่ื เสียง 3. อธบิ ายสมบัติ อุณหภมู )ิ อย่างมเี หตุผล (ใฝ่

ไดแ้ ก่ การสะท้อน ของเสียง 3. การ เรยี นร)ู้

การหักเห การแทรก 4. คำนวณหา ตีความหมาย 3. ทำกจิ กรรม

สอด การเลยี้ วเบน ปรมิ าณที่ ข้อมูลและลง และทำแบบฝึกหดั

รวมทัง้ คำนวณ เก่ยี วข้องกบั ขอ้ สรปุ (สมบตั ิ ดว้ ยความซ่อื สตั ย์

ปริมาณต่าง ๆ ที่ สมบัติของเสียงได้ ของเสยี ง) (ซ่ือสตั ยส์ ุจรติ )

เกี่ยวข้อง 4. การใช้จำนวน 4. รักษาความ

(ปริมาณท่ี สะอาดของผลงาน

เก่ียวข้องกบั สมบตั ิ ห้องเรยี น และ

ของเสยี ง) สถานที่ปฏิบัติ

กิจกรรม (มีจติ

สาธารณะ)

6.อธิบายความเข้ม 1. อธบิ าย 1. การใชจ้ ำนวน 1. เข้าเรยี น 5

เสียง ระดับเสียง ความหมายของ (ปริมาณท่ี ปฏิบัติกจิ กรรม

องค์ประกอบของการ กำลังเสียงและ เกย่ี วข้องกบั ความ และส่งงานตรง

ได้ยิน คุณภาพเสียง ความเขม้ เสยี ง เขม้ เสยี ง/ระดบั เวลา (มีวินัย)

และมลพิษทางเสียง 2. คำนวณหา เสียง) 2. ร่วมมือในการ

ร ว ม ท ั ้ ง ค ำ น ว ณ ปรมิ าณที่ เรยี น แสวงหา

ปริมาณต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกบั ความรู้ ตอบ

เกี่ยวขอ้ ง ความเข้มเสยี ง คำถาม ยอมรบั

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 140

สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง / ทอ้ งถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลกั ษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) ชวั่ โมง

3. อธิบาย ความคิดเหน็ ยก

ความหมายของ ยอ่ งผ้อู ื่น และ

ระดบั เสยี ง แสดงความคิดเหน็

4. คำนวณหา อยา่ งมีเหตุผล (ใฝ่

ปริมาณท่ี เรียนรู้)

เกย่ี วขอ้ งกบั 3. ทำกจิ กรรม

ระดบั เสียง และทำแบบฝึกหัด

5. อธบิ าย ด้วยความซื่อสัตย์

ความหมายของ (ซือ่ สัตย์สุจรติ )

คณุ ภาพเสียง 4. รักษาความ

และมลพิษทาง สะอาดของผลงาน

เสียง ห้องเรยี น และ

6. อธิบายวิธกี าร สถานท่ีปฏิบตั ิ

แกป้ ัญหา กจิ กรรม (มีจิต

มลภาวะทางเสียง สาธารณะ)

ในท้องถิ่น และได้

แนวทางการ

ป้องกันการเกิด

มลภาวะทางเสียง

ได้

7. ทดลองและอธิบาย 1. ทดลองและ 1. การทดลอง 1. เข้าเรียน 6

การเกดิ การส่นั พ้อง อธิบายการเกดิ 2. การ ปฏิบตั กิ ิจกรรม

ของอากาศในท่อ การสนั่ พ้องของ ตคี วามหมาย และส่งงานตรง

ปลายเปิดหน่งึ ด้าน เสยี งสำหรับท่อ ขอ้ มูลและลง เวลา (มวี ินัย)

รวมทั้งสงั เกตและ ปลายเปิดด้าน ขอ้ สรปุ (การ 2. รว่ มมอื ในการ

อธิบายการเกดิ บีต หนง่ึ ได้ สรปุ ผลการ เรยี น แสวงหา

คลน่ื น่ิง 2. คำนวณหาคา่ ทดลอง) ความรู้ ตอบ

ปรากฏการณ์ดอป ตา่ งๆ ท่ีเกี่ยวข้อง 3. การใชจ้ ำนวน คำถาม ยอมรบั

เพลอร์ คล่นื กระแทก (ปรมิ าณท่ี ความคิดเหน็ ยก

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 141

สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คุณลักษณะอัน จำนวน
ของเสียง คำนวณ ชว่ั โมง
ปรมิ าณตา่ ง ๆ ท่ี กบั การสน่ั พ้อง กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A )
เกี่ยวขอ้ ง และนำ ของเสยี งได้ 3
ความรเู้ รอ่ื งเสียงไปใช้ 3. อธิบายการ เก่ยี วข้องกับการ ย่องผู้อืน่ และ
ในชวี ติ ประจำวัน เกดิ
ปรากฏการณ์ด ส่ันพ้องของเสยี ง/ แสดงความคดิ เหน็
8. ทดลองและอธิบาย อปเพลอร์
สมบัติการแทรกสอด 4. คำนวณ ปรากฏการณ์ดอป อยา่ งมเี หตผุ ล (ใฝ่
ของแสงผา่ นสลติ คู่ ปริมาณท่ี
เกีย่ วขอ้ งกบั เพลอร์/ เรียนรู้)
ปรากฏการณ์ด
อปเพลอร์ ปรากฏการณ์บีต/ 3. ทำกิจกรรม
5. อธิบายการ
เกดิ ปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์คล่ืน และทำแบบฝึกหดั
บีต
6. คำนวณ กระแทก) ดว้ ยความซอื่ สตั ย์
ปริมาณท่ี
เกีย่ วขอ้ งกบั (ซอ่ื สตั ย์สุจริต)
ปรากฏการณ์บตี
7. อธบิ ายการ 4. รักษาความ
เกดิ ปรากฏการณ์
คลน่ื กระแทก สะอาดของผลงาน
8. คำนวณ
ปริมาณที่ ห้องเรียน และ
เกย่ี วข้องกบั
ปรากฏการณ์ สถานที่ปฏบิ ตั ิ
คลื่นกระแทก
1. ทดลองและ กิจกรรม (มีจติ
อธบิ ายการ
สาธารณะ)

1. การทดลอง 1. เขา้ เรยี น
2. การ ปฏบิ ัตกิ ิจกรรม
ตีความหมาย

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 142

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถิน่

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คุณลักษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A ) ช่ัวโมง

และเกรตติง สมบัติ เลย้ี วเบนของแสง ข้อมลู และลง และสง่ งานตรง

การเล้ยี วเบนและการ ผ่านสลติ ขอ้ สรุป (การ เวลา (มวี นิ ัย)

แทรกสอดของแสง 2. คำนวณหาค่า สรปุ ผลการ 2. รว่ มมอื ในการ

ผ่านสลติ เดีย่ ว รวมทั้ง ต่างๆ ที่เกีย่ วข้อง ทดลอง) เรยี น แสวงหา

คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ กับการเลยี้ วเบน 3. การใชจ้ ำนวน ความรู้ ตอบ

ทเ่ี กยี่ วข้อง ของแสงได้ (ปริมาณที่ คำถาม ยอมรบั

3. ทดลองและ เกี่ยวขอ้ งกับการ ความคิดเห็น ยก

อธิบายการแทรก เล้ียวเบนของแสง/ ย่องผูอ้ นื่ และ

สอดของแสง การแทรกสอดของ แสดงความคดิ เห็น

4. คำนวณหาคา่ แสง) อยา่ งมีเหตผุ ล (ใฝ่

ต่าง ๆ ที่ เรียนร้)ู

เกย่ี วขอ้ งกับการ 3. ทำกจิ กรรม

แทรกสอดของ และทำแบบฝกึ หัด

แสงได้ ด้วยความซือ่ สตั ย์

(ซอ่ื สัตยส์ จุ รติ )

4. รักษาความ

สะอาดของผลงาน

ห้องเรยี น และ

สถานทป่ี ฏบิ ัติ

กิจกรรม (มีจิต

สาธารณะ)

9. ทดลองและอธิบาย 1. ทดลองและ 1. การทดลอง 1. เขา้ เรียน 5

การสะท้อนของแสงท่ี สรุปเป็นกฎการ 2. การ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม

ผิววตั ถตุ ามกฎการ สะท้อนของแสง ตีความหมาย และสง่ งานตรง

สะท้อน เขยี นรงั สขี อง ได้ ข้อมูลและลง เวลา (มีวนิ ยั )

แสงและคำนวณ 2. บอกตำแหน่ง ข้อสรปุ (การ 2. ร่วมมือในการ

ตำแหน่งและขนาด และชนิดของ สรปุ ผลการ เรยี น แสวงหา

ภาพของวัตถเุ มื่อแสง ภาพท่ีเกดิ ขึน้ จาก ทดลอง) ความรู้ ตอบ

ตกกระทบกระจกเงา กระจกเงาราบ คำถาม ยอมรับ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 143

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง / ทอ้ งถ่นิ จำนวน
ทกั ษะ/ คุณลักษณะอัน ช่ัวโมง
ราบและกระจกเงา 3. บอก
ทรงกลม รวมทั้ง ความสัมพนั ธ์ กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) 4
อธิบายการนำความรู้ ระหวา่ งระยะ ความคดิ เหน็ ยก
เรอื่ งการสะท้อนของ วตั ถแุ ละระยะ ย่องผู้อืน่ และ
แสงจากกระจกเงา ภาพ แสดงความคดิ เห็น
ราบและกระจกเงา 4. นำแนวคดิ อยา่ งมเี หตผุ ล (ใฝ่
ทรงกลมไปใช้ เรอ่ื งภาพทีเ่ กิด เรยี นรู้)
ประโยชน์ใน จากกระจกเงา 3. ทำกจิ กรรม
ชีวิตประจำวนั ราบไปใชใ้ ชีวติ ป และทำแบบฝึกหดั
ระจำวันได้ ดว้ ยความซือ่ สัตย์
10. ทดลองและ 5. อธิบาย (ซ่อื สตั ยส์ จุ ริต)
อธิบายความสัมพนั ธ์ ความสมั พันธ์ 4. รกั ษาความ
ระหวา่ งดรรชนหี ักเห ระหว่างระยะ สะอาดของผลงาน
มมุ ตกกระทบ และมุม วัตถุ ระยะภาพ ห้องเรียน และ
หักเห รวมทง้ั อธบิ าย และความยาว สถานทีป่ ฏบิ ัติ
ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง โฟกสั ของกระจก กิจกรรม (มีจติ
ความลึกจริงและ เงาโค้ง สาธารณะ)
ความลึกปรากฏ มุม 1. อธิบายการหกั
วิกฤตและการสะท้อน เหของแสงที่ 1. การทดลอง 1. เข้าเรียน
กลบั หมดของแสง รอยตอ่ ของ 2. การ ปฏิบตั กิ จิ กรรม
และคำนวณปริมาณ ตวั กลางคหู่ น่ึงๆ ตคี วามหมาย และส่งงานตรง
ตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง 2. อธบิ าย ข้อมูลและลง เวลา (มวี ินัย)
ความสมั พันธ์ ขอ้ สรปุ (การ 2. รว่ มมอื ในการ
ระหว่างดรรชนี สรปุ ผลการ เรียน แสวงหา
หักเหและกฎ ทดลอง) ความรู้ ตอบ
ของสเนลล์ คำถาม ยอมรับ
3. คำนวณ ความคดิ เห็น ยก
ปริมาณท่ี ยอ่ งผอู้ นื่ และ
แสดงความคิดเห็น

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 144

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) สาระการเรียนรแู้ กนกลาง / ท้องถนิ่ จำนวน
ทักษะ/ คุณลกั ษณะอัน ชัว่ โมง
11. ทดลองและเขียน เกี่ยวข้องกบั การ
รังสขี องแสงเพ่ือแสดง หักเหของแสงได้ กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) 13
ภาพทเ่ี กิดจากเลนส์ 4. อธิบาย อยา่ งมีเหตุผล (ใฝ่
บาง หาตำแหนง่ ความสมั พันธ์ เรียนร)ู้
ขนาด ชนิดของภาพ ระหว่างความลกึ 3. ทำกิจกรรม
และความสมั พนั ธ์ จรงิ ความลึก และทำแบบฝึกหดั
ระหวา่ งระยะวตั ถุ ปรากฏ และ ด้วยความซ่อื สตั ย์
ระยะภาพและความ ดรรชนหี ักเห (ซ่ือสตั ยส์ จุ ริต)
5. คำนวณ 4. รกั ษาความ
ปรมิ าณท่ี สะอาดของผลงาน
เกี่ยวขอ้ งกบั ห้องเรยี น และ
ความลึกจริง สถานท่ีปฏบิ ตั ิ
ความลึกปรากฏ กิจกรรม (มีจิต
ได้ สาธารณะ)
6.อธิบาย
ความหมายของ 1. การทดลอง 1. เข้าเรยี น
มมุ วิกฤต 2. การ ปฏิบัติกิจกรรม
7.อธิบาย ตคี วามหมาย และส่งงานตรง
ความหมายของ ขอ้ มลู และลง เวลา (มีวินัย)
การสะท้อนกลับ ขอ้ สรปุ (การ 2. รว่ มมอื ในการ
หมด สรปุ ผลการ เรียน แสวงหา
1. ทำการทดลอง ทดลอง) ความรู้ ตอบ
เพอ่ื หา คำถาม ยอมรบั
ความสัมพันธ์
ระหว่างระยะ
วัตถุ ระยะภาพ
และความยาว
โฟกัส

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 145

สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง / ท้องถน่ิ

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน

กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A ) ช่ัวโมง

ยาวโฟกสั รวมทง้ั 2. คำนวณ 3. การปฏิบตั ิ ความคิดเห็น ยก

คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ปริมาณที่ กิจกรรมเป็นกลุม่ ยอ่ งผู้อื่น และ

ที่เก่ียวข้อง และ เกี่ยวขอ้ งกบั ภาพ 4. การคดิ แสดงความคดิ เหน็

อธิบายการนำความรู้ ทเ่ี กิดจากเลนส์ได้ วิเคราะห์ และ อยา่ งมเี หตุผล (ใฝ่

เรื่องการหักเหของ 3. นำแนวคิด สังเคราะหค์ วามรู้ เรียนรู้)

แสงผา่ นเลนส์บางไป เรื่องภาพทเ่ี กดิ อย่างสร้างสรรค์ 3. ทำกจิ กรรม

ใช้ประโยชน์ใน จากเลนส์นูนไป และทำแบบฝึกหดั

ชวี ติ ประจำวัน ใช้ใน ด้วยความซ่ือสัตย์

ชีวิตประจำวนั ได้ (ซื่อสัตย์สจุ ริต)

4. อธบิ าย 4. รักษาความ

เก่ยี วกับความ สะอาดของผลงาน

ผิดปกติของคนที่ ห้องเรยี น และ

มสี ายตาสน้ั และ สถานทปี่ ฏิบัติ

สายตายาว กจิ กรรม (มีจติ

5. นำแนวคดิ สาธารณะ)

เรอ่ื งเลนส์ ไป

แก้ปัญหาสายตา

สนั้ และสายตา

ยาวได้

6. อธบิ าย

สว่ นประกอบ

และหลกั การ

ทำงานของทัศ

อปุ กรณ์ได้

12. อธิบาย 1. อธิบาย 1. การคดิ 1. เข้าเรียน 3

ปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ วิเคราะห์ และ ปฏิบตั ิกิจกรรม

ธรรมชาตทิ ี่เกี่ยวกับ ธรรมชาตทิ ี่ สังเคราะหค์ วามรู้ และส่งงานตรง

แสง เช่น รุ้ง การทรง เก่ียวกบั แสง อย่างสร้างสรรค์ เวลา (มวี นิ ยั )

กลด

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 146

สาระการเรยี นรู้แกนกลาง / ท้องถ่นิ

ผลการเรียนรู้ ความรู้ (K) ทกั ษะ/ คณุ ลกั ษณะอัน จำนวน

กระบวนการ (P ) พงึ ประสงค์ (A ) ชัว่ โมง

มิราจ และการเห็น 2. รว่ มมอื ในการ

ท้องฟา้ เปน็ สตี า่ ง ๆ เรยี น แสวงหา

ในช่วงเวลาตา่ งกัน ความรู้ ตอบ

คำถาม ยอมรบั

ความคดิ เหน็ ยก

ยอ่ งผ้อู ่ืน และ

แสดงความคดิ เห็น

อยา่ งมเี หตุผล (ใฝ่

เรียนรู)้

3. ทำกิจกรรม

และทำแบบฝึกหัด

ด้วยความซ่อื สตั ย์

(ซื่อสัตยส์ ุจรติ )

4. รักษาความ

สะอาดของผลงาน

ห้องเรียน และ

สถานทป่ี ฏิบตั ิ

กิจกรรม (มจี ิต

สาธารณะ)

13. ส ั ง เ ก ต แ ล ะ 1. อธบิ ายการ 1. การปฏบิ ัติ 1. เขา้ เรยี น 2

อธิบายการมองเห็น มองเหน็ สีตา่ งๆ กจิ กรรมเปน็ กลุ่ม ปฏิบตั กิ ิจกรรม

แสงสี สีของวัตถุ การ ของตา 2. การคิด และส่งงานตรง

ผสมสารสี และการ 2. อธิบายสารสี วเิ คราะห์ และ เวลา (มวี ินยั )

ผสมแสงสี รวมทั้ง ปฐมภมู ิ สังเคราะหค์ วามรู้ 2. รว่ มมอื ในการ

อธิบายสาเหตขุ องการ 3. นำความรู้เรื่อง อยา่ งสร้างสรรค์ เรียน แสวงหา

บอดสี ตาและการ 3. การประยกุ ต์ใช้ ความรู้ ตอบ

มองเห็นสไี ป ความรู้ในการ คำถาม ยอมรบั

อธิบายลกั ษณะ แกป้ ัญหาตาม ความคดิ เหน็ ยก

ความผิดปกติ ยอ่ งผอู้ ่ืน และ

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 147

สาระการเรียนร้แู กนกลาง / ทอ้ งถิ่น

ผลการเรยี นรู้ ความรู้ (K) ทักษะ/ คณุ ลกั ษณะอนั จำนวน

ตา่ งๆ ที่เก่ียวกับ กระบวนการ (P ) พึงประสงค์ (A ) ชวั่ โมง
ตา
สถานการณ์ที่ แสดงความคดิ เห็น

กำหนดได้ อย่างมเี หตผุ ล (ใฝ่

เรยี นรู)้

3. ทำกจิ กรรม

และทำแบบฝึกหัด

ดว้ ยความซ่อื สัตย์

(ซ่ือสัตย์สุจรติ )

4. รกั ษาความ

สะอาดของผลงาน

ห้องเรียน และ

สถานท่ปี ฏิบัติ

กิจกรรม (มีจิต

สาธารณะ)

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 148

รายวิชาเพมิ่ เติม คำอธบิ ายรายวิชา
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 5 รหัสวิชา ว30203 ฟิสกิ สเ์ พิ่มเตมิ 3 / Physics 3

กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์
จำนวน 60 ช่วั โมง 1.5 หน่วยกิต

ศึกษาการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวัตถุติดปลายสปริงและลูกตุ้มอย่างง่าย
ความถีธ่ รรมชาตขิ องวตั ถแุ ละการเกิดการสัน่ พ้อง องคประกอบและการเคล่ือนที่ของคล่ืน สมบัติของ
คลื่น ธรรมชาติของเสียง สมบัติของคลื่นเสียง ความเข้มของเสียงและมลพิษทางเสียง การสั่นพ อง
ของเสียง บีต ปรากฏการณดอปเพลอร คลื่นกระแทกของเสียง สมบัติการเล้ียวเบนและการแทรก
สอดของแสง การสะท้อนของแสง ภาพที่เกิดกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม การหักเหของ
แสง ความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง ภาพที่เกิดจาก
เลนส์บาง ปรากฏการณ์ธรรมชาติท่ีเก่ียวกับแสง การมองเห็นแสงสี สีของวตั ถุ การผสมสารสี และ
การผสมแสงสี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ
การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งท่ี
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสนิ ใจ นำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวนั มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จริยธรรม
คณุ ธรรม และค่านยิ มทเี่ หมาะสม

ผลการเรยี นรู้
1. ทดลองและอธิบายการเคล่ือนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของวตั ถตุ ดิ ปลายสปรงิ และลูกตมุ้ อย่างง่าย
รวมทั้งคำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
2. อธิบายความถี่ธรรมชาตขิ องวตั ถแุ ละการเกดิ การสน่ั พ้อง
3. อธิบายปรากฏการณ์คลื่น ชนิดของคล่ืน ส่วนประกอบของคลื่น การแผ่ของหน้าคลื่นด้วยหลักการ
ของฮอยเกนส์ และการรวมกันของคลื่นตามหลักการซ้อนทับ พร้อมทั้งคำนวณอัตราเร็ว ความถี่ และ
ความยาวคลื่น
4. สังเกตและอธิบายการสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และการเลี้ยวเบนของคลื่นผิวน้ำ รวมท้ัง
คำนวณปริมาณตา่ ง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง
5. อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นการกระจัดของอนุภาคกับ
คลื่นความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็วของเสียงในอากาศที่ขึ้นกับอุณหภูมิในหน่วยองศา
เซลเซียส สมบัติของคลื่นเสียง ได้แก่ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลี้ยวเบน รวมทั้ง
คำนวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กีย่ วข้อง
6. อธิบายความเข้มเสียง ระดับเสียง องค์ประกอบของการได้ยิน คุณภาพเสียง และมลพิษทางเสียง
รวมทงั้ คำนวณปรมิ าณต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วข้อง

ห ลั ก สู ต ร ก ลุ่ ม ส า ร ะ ก า ร เ รี ย น รู้ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ม . ป ล า ย | 149

7. ทดลองและอธิบายการเกิดการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายเปิดหนึ่งด้าน รวมทั้งสังเกตและ
อธิบายการเกดิ บีต คล่ืนน่ิง ปรากฏการณด์ อปเพลอร์ คลืน่ กระแทกของเสียง คำนวณปริมาณต่าง ๆ ท่ี
เกย่ี วข้อง และนำความรเู้ ร่อื งเสยี งไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน
8. ทดลองและอธิบายสมบัติการแทรกสอดของแสงผ่านสลิตคู่และเกรตติง สมบัติการเลี้ยวเบนและ
การแทรกสอดของแสงผา่ นสลิตเด่ยี ว รวมท้ังคำนวณปรมิ าณตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง
9. ทดลองและอธิบายการสะท้อนของแสงท่ีผิววัตถตุ ามกฎการสะท้อน เขียนรงั สขี องแสงและคำนวณ
ตำแหน่งและขนาดภาพของวัตถุเมื่อแสงตกกระทบกระจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม รวมทั้ง
อธิบายการนำความรู้เรื่องการสะท้อนของแสงจากกร ะจกเงาราบและกระจกเงาทรงกลม ไปใช้
ประโยชน์ในชีวติ ประจำวนั
10. ทดลองและอธบิ ายความสัมพันธร์ ะหวา่ งดรรชนีหักเห มมุ ตกกระทบ และมมุ หกั เห รวมทงั้ อธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความลึกจริงและความลึกปรากฏ มุมวิกฤตและการสะท้อนกลับหมดของแสง
และคำนวณปริมาณต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
11. ทดลองและเขียนรังสขี องแสงเพื่อแสดงภาพท่ีเกิดจากเลนส์บาง หาตำแหน่ง ขนาด ชนิดของภาพ
และความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพและความยาวโฟกัส รวมทั้งคำนวณปริมาณต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้อง และอธิบายการนำความรู้เรื่องการหักเหของแสงผ่านเลนส์บางไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจำวนั
12. อธบิ ายปรากฏการณธ์ รรมชาตทิ ี่เกย่ี วกับแสง เช่น รุง้ การทรงกลด มิราจ และการเห็นทอ้ งฟ้าเป็น
สีต่าง ๆ ในชว่ งเวลาต่างกนั
13. สงั เกตและอธิบายการมองเห็นแสงสี สีของวัตถุ การผสมสารสี และการผสมแสงสี รวมท้ังอธิบาย
สาเหตุของการบอดสี

รวมทง้ั หมด 13 ผลการเรียนรู้


Click to View FlipBook Version