The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2021-11-05 09:49:54

คณิตศาสตร์ 4 ม.2

2_64_M2_term2

P a g e | 180

แผนการจดั การเรียนรู้

กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

รายวชิ า คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหสั วิชา ค 22102

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 เรอื่ ง ความเทา่ กันทกุ ประการ จำนวน 14 ช่ัวโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เร่อื ง รปู สามเหล่ยี มสองรปู ท่ีสัมพันธ์กนั แบบ ด้าน–ด้าน–ดา้ น(2)จำนวน 1 ช่วั โมง

.............................................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ัด

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรียนรู้

ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบตั ิของรปู เรขาคณิต ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งรูปเรขาคณติ

และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ตวั ช้ีวัด
ค 2.2 ม.2/4 เข้าใจและใช้สมบตั ขิ องรูปสามเหล่ียมทเ่ี ท่ากันทุกประการในการแกป้ ญั หา

คณติ ศาสตรแ์ ละปัญหาในชีวติ จริง

2. จดุ ประสงค์การเรียนร้สู ูต่ วั ชีว้ ัด

จุดประสงค์การเรยี นรสู้ ู่ตวั ชี้วดั
1. เขา้ ใจและใช้สมบัตขิ องรูปสามเหลย่ี มที่เทา่ กนั ทุกประการในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตร์และปญั หา

ในชีวิตจริง
จุดประสงค์การเรยี นรทู้ อ่ี ิงเน้อื หา
1. นักเรียนสามารถบอกได้ว่ารูปสามเหล่ียมสองรูปมีความสมั พันธแ์ บบ ดา้ น–ด้าน–ดา้ น (ด.ด.ด.)

3. สาระสำคญั
ถ้ารปู สามเหลีย่ มท่สี มั พันธก์ นั แบบ ด้าน–ด้าน–ด้าน (เขียนแทนด้วย ด.ด.ด.) กล่าวคอื มีด้านยาว

เทา่ กันสามคู่ แล้วรูปสามเหลี่ยมสองรูปนน้ั เทา่ กันทกุ ประการ

4. สาระการเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้ : นกั เรียนสามารถ
1. ระบไุ ด้ว่ารูปสามเหลีย่ มสองรูปที่สมั พันธ์กนั แบบ ดา้ น–ด้าน–ดา้ น เทา่ กันทุกประการ
2. นำสมบัติของความเท่ากนั ทุกประการของรปู สามเหล่ยี มสองรปู ที่สมั พันธก์ นั แบบ ด้าน–ดา้ น–ดา้ น

ไปใช้อา้ งอิงในการพสิ จู น์
4.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
1. การแกป้ ญั หา
2. การใหเ้ หตุผล
3. การสื่อสาร ส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ

P a g e | 181

4.3 ดา้ นเจตคติ/คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์/คณุ ธรรมจริยธรรมท่ีสอดแทรก
1. นักเรียนมีความซื่อสตั ย์ แกโ้ จทย์ปัญหาไดด้ ว้ ยตวั เอง
2. นกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบ ตรงตอ่ เวลา
3. นกั เรียนมีระเบียบวินยั รักการเรียนรู้

5. สมรรถนะของผเู้ รียน
5.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแก้ปญั หา
5.4 ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต
5.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
6. ชิน้ งานหรือภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้)
1. ใบงานที่ 9 เรอ่ื ง รปู สามเหลี่ยมสองรปู ทส่ี มั พันธก์ นั แบบ ดา้ น–ด้าน–ดา้ น (3)

7. คำถามสำคัญ
1. นกั เรยี นสามารถบอกได้ว่ารปู สามเหลี่ยมสองรูปท่กี ำหนดให้เทา่ กันทกุ ประการหรอื ไม่

8. กระบวนการจัดกจิ กรรมเรียนรู้
ขัน้ นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครสู อดแทรกความร้เู กย่ี วกบั คุณธรรม เรอ่ื ง ฆราวาสธรรม 4 (ขันต)ิ
2. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั สนทนาเพอื่ ทบทวนความรู้เกีย่ วกับ รปู สามเหลีย่ มสองรปู ที่สมั พนั ธก์ ันแบบ

ด้าน–มุม–ด้าน (ถา้ รูปสามเหลี่ยมท่ีสมั พนั ธ์กนั แบบ ด้าน–มุม–ดา้ น(เขียนแทนดว้ ย ด.ม.ด.) กล่าวคือ มดี ้านยาว
เทา่ กันสองคูแ่ ละมุมในระหว่างดา้ นค่ทู ่ยี าวเท่ากันมขี นาดเทา่ กัน แลว้ รูปสามเหล่ยี มสองรูปนนั้ เทา่ กันทกุ
ประการ) รปู สามเหล่ียมสองรปู ทส่ี ัมพันธ์กันแบบ มมุ –ด้าน–มุม (ถ้ารปู สามเหลี่ยมที่สัมพันธ์กันแบบ
มมุ –ดา้ น–มมุ (เขียนแทนดว้ ย ม.ด.ม.) กลา่ วคือ มีมุมท่ีมีขนาดเท่ากนั สองคู่ และดา้ นซึ่งเป็นแขนรว่ มของมุมทงั้
สองยาวเทา่ กนั แลว้ รูปสามเหล่ยี มสองรปู น้ันเท่ากันทุกประการ) และ รูปสามเหล่ยี มสองรูปท่ีสมั พันธ์กนั แบบ
ด้าน–ดา้ น–ดา้ น (ถา้ รูปสามเหลี่ยมท่ีสมั พนั ธ์กันแบบ ดา้ น–ด้าน–ด้าน (เขียนแทนด้วย ด.ด.ด.) กล่าวคือ
มดี า้ นยาวเท่ากนั สามคู่ แล้วรูปสามเหลย่ี มสองรูปน้นั เท่ากนั ทกุ ประการ)

ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ครยู กตวั อยา่ งโดยใช้การถามตอบประกอบการอธบิ าย เพ่ือพสิ จู น์รปู สามเหลีย่ มสองรปู เท่ากนั
ทกุ ประการ โดยใช้ความสัมพันธ์แบบ ด้าน–ด้าน–ด้าน ดังนี้

P a g e | 182

ตัวอย่างที่ 1 จากรูป จงพสิ จู น์ว่า Δ ABC ≅ Δ ADC

วิธีทำ จากรูป กำหนดให้ 1. AB = CD

2. BC = DA

ตอ้ งการพสิ ูจน์วา่ Δ ABC ≅ Δ ADC

พสิ จู น์ 1. AB = CD (กำหนดให)้
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
2. BC = DA (กำหนดให)้

3. AC = CA (เป็นดา้ นรว่ ม)

4 . Δ ABC ≅ Δ ADC (มคี วามสมั พนั ธ์แบบ ดา้ น–ด้าน–ดา้ น)

ตัวอย่างที่ 2 จากรูป จงแสดงวา่ ACB = BDA

วิธที ำ จากรปู กำหนดให้ 1. AC = BD

2. BC = AD

ต้องการพิสจู นว์ ่า ACB = BDA

พสิ ูจน์ 1. AC = BD (กำหนดให)้

2. BC = AD (กำหนดให)้

3. AB = BA (เป็นดา้ นรว่ ม)

4. Δ ABC ≅ Δ BAD (มีความสมั พนั ธแ์ บบ ด้าน–ด้าน–ด้าน)

5. ACB = BDA (Δ ABC ≅ Δ BAD)

2. ครูให้นักเรยี นศกึ ษาและทำกิจกรรมตามใบงานที่ 9
3. ครูใหค้ ำแนะนำนกั เรียนเป็นรายบุคคล รายกลุ่ม ตามสถานการณ์ในชน้ั เรยี น

P a g e | 183

ขัน้ สรปุ
1. ครใู ช้คำถามเพอ่ื นำไปสู่การสรปุ ดงั น้ี
- จากใบงานที่ 9 นักเรียนสามารถตรวจสอบได้อย่างไรว่า มุมท่โี จทย์ไมไ่ ดก้ ำหนดให้มคี วามเทา่ กนั

ทุกประการ (ต้องตรวจสอบให้ไดว้ ่ารูปสามเหลีย่ มสองรปู สมั พันธ์กันแบบ ดา้ น–ด้าน–ดา้ น)
- นักเรยี นสามารถตรวจสอบได้อย่างไรว่ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีความสัมพนั ธแ์ บบด้าน–ด้าน–ดา้ น
(รูปสามเหลีย่ มสองรูปตอ้ งมีดา้ นยาวเท่ากนั สามคู่)
- นกั เรยี นสรปุ เก่ยี วกบั รปู สามเหลยี่ มสองรปู ท่ีสัมพนั ธแ์ บบ ดา้ น–ดา้ น–ด้าน ได้อยา่ งไร
(ถ้ารูปสามเหล่ยี มทส่ี มั พันธ์กนั แบบ ด้าน–ด้าน–ด้าน (เขียนแทนดว้ ย ด.ด.ด.) กล่าวคือ มีมีดา้ นยาว

เทา่ กนั สามคู่ แล้วรูปสามเหล่ยี มสองรูปนน้ั เท่ากนั ทกุ ประการ)

9. การบรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 ห่วง 2 เงอื่ นไข)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
หลกั ความพอประมาณ การใชเ้ วลาในการศึกษาหาความรู้และทำงานเหมาะกับเวลา

หลกั มเี หตผุ ล อภปิ ราย เร่ืองกฎ ระเบียบ เงือ่ นไขในการเรียน ในช้นั เรยี นอยา่ งเหมาะสมและ

ถูกต้อง

หลักสร้างภูมิคุ้มกันใน มีหลักการปฏบิ ัตติ นท่ีถกู ต้องทั้งในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรยี น

ตวั ท่ีดี รว่ มกันวางแผนในการปฏบิ ตั ติ นและการทำงานเปน็ กลมุ่

เงอื่ นไขความรู้ การสรุปผลและสร้างความคิดรวบยอด เรื่องของกฎ ระเบียบ เงื่อนไขในการ

เรยี นในชน้ั เรยี น

เงื่อนไขคุณธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สตั ย์ มีวนิ ยั ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง

การบูรณาการตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 ห่วง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เงื่อนไข
พอประมาณ ความรู้
มเี หตุผล คุณธรรม
มีภูมคิ ้มุ กันในตัวท่ีดี

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 4 มิติ

เศรษฐกจิ สงั คม สง่ิ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม

10. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
1. หนังสือเรยี นคณติ ศาสตรพ์ ื้นฐาน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2 เล่ม 2 (สสวท.)
2. ใบงานท่ี 9 เรอื่ ง รปู สามเหล่ยี มสองรูปที่สัมพันธ์กนั แบบด้าน–ด้าน–ดา้ น (3)

P a g e | 184

11. หลักฐานและวธิ กี ารประเมนิ วธิ ีการประเมิน
ตรวจใบงาน
หลักฐาน
1.ใบงานท่ี 9 เรื่อง รูปสามเหลีย่ มสองรปู ท่สี ัมพันธ์กนั แบบดา้ น–ด้าน–ด้าน (3)

12. เกณฑ์การประเมิน คะแนน
ความสามารถในการทำใบงาน 4
3
ระดับคณุ ภาพ 2
1. นักเรยี นทำใบงานถกู ต้องมากกว่า 90% (4 รายการ) 1
2. นกั เรียนทำใบงานไดถ้ ูกตอ้ ง70 – 89% (3 รายการ)
3. นักเรียนทำใบงานได้ถกู ต้อง 50 – 69% (2 รายการ)
4. นักเรียนทำใบงานถกู ต้องนอ้ ยกวา่ 50% (0 – 1 รายการ)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ความสามารถในการตอบคำถามและการมสี ่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน คะแนน
3
ระดับคุณภาพ 2
นักเรียนมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในชัน้ เรียนบ่อยคร้ัง 1
นักเรียนมสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถามในชั้นเรียนบางครง้ั
นักเรียนมีส่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในช้ันเรยี นน้อยครง้ั

ลงชือ่ ..................................................ครูผู้สอน
(นางสาววิลาสนิ ี แทนทว)ี

.........../.............../..................

P a g e | 185

บนั ทกึ หลงั สอนแผนการสอนท่ี ...............

1. ผลการสอนระดบั ช้ัน ม.2
 สอนไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้
 สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้ เนื่องจาก ..........................................................................

2. ผลท่ีเกิดกบั ผู้เรียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลงั การเรียน โดยใช้………………………..................................พบว่านกั เรียน

ผา่ นการประเมนิ คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่ำท่กี ำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.......................
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการเรียน โดยใช…้ …………………….........................พบว่านักเรยี น
ผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ......................……. ไมผ่ ่านเกณฑข์ น้ั ต่ำทกี่ ำหนดไวค้ ดิ เป็นร้อยละ.......................
ไดแ้ ก่ ..........................................................................................................................................................

3.) การประเมนิ ด้านคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ เรียน โดยใช้………………………..................................
พบว่านกั เรียนผา่ นการประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไม่ผ่านเกณฑข์ ั้นต่ำท่กี ำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ...............
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
3. ปญั หาและอุปสรรค

 กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มนี ักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไม่ทนั ตามกำหนดเวลา
 มีนกั เรียนที่ไมส่ นใจเรียน
 อน่ื ๆ .............................................................................................................................................
4. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรือ่ ง ......................................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนทไ่ี ม่ผา่ นการประเมิน ..................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

ลงชือ่ ............................................................ ผ้สู อน
( นางสาววิลาสินี แทนทวี )

วันท่ี......../.................../.................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 186

ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
2.การจัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ 2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง  ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกันของผูเ้ รยี น เหมาะสมกับศกั ยภาพท่ีแตกตา่ งกันของผู้เรยี น
 ที่ยังไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนา  ทีย่ งั ไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา

ตอ่ ไป ตอ่ ไป
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4.ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 4.ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ
……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ลงช่ือ....................................................... ลงช่อื .......................................................

(นายศภุ ชัย เรอื งเดช) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 187

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

รายวิชา คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหสั วชิ า ค 22102

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง ความเท่ากนั ทุกประการ จำนวน 14 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 เรอ่ื ง รูปสามเหลี่ยมสองรปู ท่สี มั พันธก์ ันแบบ มุม–มมุ –ด้าน(1) จำนวน 1 ชว่ั โมง

.............................................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูปเรขาคณิต

และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ตวั ช้วี ัด
ค 2.2 ม.2/4 เข้าใจและใช้สมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมท่ีเทา่ กนั ทกุ ประการในการแก้ปญั หา

คณิตศาสตร์และปญั หาในชวี ติ จรงิ

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรูส้ ่ตู วั ชว้ี ัด

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวช้ีวัด
1. เข้าใจและใช้สมบัตขิ องรูปสามเหลยี่ มท่ีเท่ากันทุกประการในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์และปญั หา

ในชีวติ จริง
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ทีอ่ ิงเน้อื หา
1. นกั เรยี นสามารถบอกไดว้ ่ารปู สามเหลยี่ มสองรูปมีความสมั พันธแ์ บบ มุม–มุม–ดา้ น (ม.ม.ด.)

3. สาระสำคญั
ถ้ารปู สามเหล่ียมทส่ี มั พันธ์กนั แบบ มุม–มุม–ดา้ น (เขยี นแทนดว้ ย ม.ม.ด.) กล่าวคือ มีมุมที่มีขนาด

เทา่ กนั สองคแู่ ละด้านคูท่ ีอ่ ยตู่ รงข้ามกับมมุ คูท่ ี่มีขนาดเท่ากัน ยาวเทา่ กนั หนงึ่ คู่ แล้วรปู สามเหลย่ี มสองรูปน้ัน
เทา่ กนั ทกุ ประการ

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 ด้านความรู้ : นกั เรียนสามารถ
1. ระบไุ ดว้ า่ รปู สามเหลี่ยมสองรปู ท่ีสมั พนั ธก์ ันแบบ มมุ –มุม–ด้าน เทา่ กันทุกประการ
4.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
1. การแก้ปัญหา
2. การให้เหตผุ ล
3. การส่อื สาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ

P a g e | 188

4.3 ด้านเจตคติ/คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์/คุณธรรมจรยิ ธรรมทส่ี อดแทรก
1. นกั เรยี นมคี วามซื่อสตั ย์ แกโ้ จทย์ปัญหาได้ดว้ ยตวั เอง
2. นักเรียนมีความรบั ผดิ ชอบ ตรงตอ่ เวลา
3. นกั เรยี นมีระเบียบวนิ ยั รกั การเรยี นรู้

5. สมรรถนะของผู้เรียน
5.1 ความสามารถในการส่อื สาร
5.2 ความสามารถในการคดิ
5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
5.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
6. ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้)
1. ใบงานที่ 10.1 เรอ่ื ง รูปสามเหลยี่ มสองรูปทีส่ ัมพนั ธก์ ันแบบ มมุ –มุม–ด้าน (1)
2. ใบงานที่ 10.2 เรือ่ ง รปู สามเหลีย่ มสองรูปที่สมั พันธก์ นั แบบ มุม–มมุ –ด้าน (2)

7. คำถามสำคัญ
1. นักเรียนสามารถบอกได้ว่ารปู สามเหล่ียมสองรูปที่กำหนดให้เท่ากนั ทุกประการหรือไม่

8. กระบวนการจัดกิจกรรมเรยี นรู้
ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครูสอดแทรกความรู้เก่ยี วกบั คุณธรรม เรอ่ื ง ฆราวาสธรรม 4 (จาคะ)
2. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สนทนาเพอื่ ทบทวนความรู้เกย่ี วกบั รูปสามเหลี่ยมสองรูปท่ีสมั พนั ธ์กันแบบ

ดา้ น–มุม–ดา้ น (ถ้ารปู สามเหลย่ี มที่สัมพนั ธ์กันแบบ ดา้ น–มมุ –ดา้ น(เขยี นแทนดว้ ย ด.ม.ด.) กล่าวคือ มดี า้ นยาว
เทา่ กันสองคแู่ ละมุมในระหว่างดา้ นคทู่ ี่ยาวเท่ากันมขี นาดเท่ากัน แล้วรปู สามเหลยี่ มสองรูปน้ันเทา่ กนั ทกุ
ประการ) รปู สามเหลยี่ มสองรปู ทส่ี มั พันธ์กันแบบ มมุ –ด้าน–มุม (ถา้ รูปสามเหลีย่ มที่สัมพันธ์กันแบบ
มมุ –ดา้ น–มุม (เขยี นแทนด้วย ม.ด.ม.) กล่าวคือ มีมุมท่มี ขี นาดเท่ากนั สองค่แู ละดา้ นซ่งึ เปน็ แขนร่วมของมมุ
ทั้งสองยาวเทา่ กัน แลว้ รูปสามเหลย่ี มสองรปู นั้นเท่ากนั ทกุ ประการ) และ รูปสามเหลีย่ มสองรูปที่สัมพนั ธก์ ัน
แบบ ด้าน–ด้าน–ด้าน (ถา้ รูปสามเหล่ยี มท่ีสมั พันธก์ ันแบบ ด้าน–ด้าน–ดา้ น (เขียนแทนดว้ ย ด.ด.ด.) กลา่ วคือ
มดี า้ นยาวเทา่ กนั สามคู่ แลว้ รูปสามเหลี่ยมสองรูปนัน้ เทา่ กนั ทุกประการ)

ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. นักเรียนศกึ ษาและทำกจิ กรรมตามใบงานที่ 10.1
2. ครใู ห้คำแนะนำนักเรียนเปน็ รายบคุ คล รายกลุ่ม ตามสถานการณใ์ นช้นั เรียน

P a g e | 189

ขั้นสรุป

1. ครใู ช้คำถามเพือ่ นำไปสกู่ ารสรปุ ดงั นี้
- จากการทำใบงานท่ี 10.1 นักเรยี นสามารถสรุปความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูป

ทส่ี ัมพันธ์กนั แบบ มุม–มุม–ด้าน ได้อยา่ งไร
(ถา้ รปู สามเหลีย่ มทีส่ ัมพนั ธ์กนั แบบ มมุ –มุม–ด้าน (เขียนแทนดว้ ย ม.ม.ด.) กล่าวคือ มมี ุมที่มีขนาด

เทา่ กันสองคูแ่ ละด้านคู่ท่อี ยู่ตรงขา้ มกบั มมุ คทู่ ม่ี ขี นาดเท่ากนั ยาวเท่ากันหน่งึ คู่ แล้ว รูปสามเหล่ยี มสองรปู น้นั

เทา่ กนั ทกุ ประการ)
2. ครูใหน้ กั เรียนทำใบงานที่ 10.2 เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจ

9. การบูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 หว่ ง 2 เง่ือนไข)

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
หลกั ความพอประมาณ การใชเ้ วลาในการศึกษาหาความรู้และทำงานเหมาะกบั เวลา

หลกั มีเหตผุ ล อภปิ ราย เร่ืองกฎ ระเบียบ เงื่อนไขในการเรียน ในช้ันเรยี นอย่างเหมาะสมและ

ถกู ต้อง

หลักสร้างภูมิคุ้มกันใน มหี ลกั การปฏบิ ตั ิตนท่ีถกู ต้องทัง้ ในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรยี น

ตัวท่ีดี รว่ มกนั วางแผนในการปฏิบตั ิตนและการทำงานเปน็ กลุม่

เงือ่ นไขความรู้ การสรุปผลและสร้างความคิดรวบยอด เร่ืองของกฎ ระเบียบ เงื่อนไขในการ

เรยี นในชั้นเรยี น

เงอ่ื นไขคณุ ธรรม รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซอื่ สตั ย์ มีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ อย่อู ยา่ งพอเพียง

การบรู ณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 หว่ ง ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 2 เง่ือนไข
พอประมาณ ความรู้
มเี หตุผล คุณธรรม
มีภมู คิ ุ้มกันในตัวทีด่ ี

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 4 มิติ

เศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอ้ ม วัฒนธรรม

10. สือ่ /แหลง่ การเรียนรู้
1. หนังสอื เรยี นคณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 เลม่ 2 (สสวท.)
2. ใบงานที่ 10.1 เรอ่ื ง รูปสามเหลีย่ มสองรูปท่สี มั พนั ธก์ นั แบบ มุม–มมุ –ดา้ น (1)

3. ใบงานที่ 10.2 เร่อื ง รปู สามเหล่ยี มสองรปู ท่สี ัมพันธ์กันแบบ มุม–มุม–ด้าน (2)

P a g e | 190

11. หลักฐานและวธิ กี ารประเมิน

หลกั ฐาน วิธีการประเมิน

1. ใบงานที่ 10.1 เรอื่ ง รูปสามเหลีย่ มสองรปู ทสี่ ัมพันธ์กนั แบบ มุม–มุม–ด้าน (1) ตรวจใบงาน

2. ใบงานท่ี 10.2 เรอื่ ง รูปสามเหลยี่ มสองรูปที่สมั พนั ธก์ ันแบบ มุม–มุม–ด้าน (2) ตรวจใบงาน

12. เกณฑ์การประเมิน คะแนน
ความสามารถในการทำใบงานท่ี 10.1 4
3
ระดบั คุณภาพ 2
1. นักเรยี นทำใบงานถูกตอ้ งมากกวา่ 90% (5 ข้อ) 1
2. นักเรียนทำใบงานได้ถูกต้อง70 – 89% (4 ขอ้ )
3. นกั เรียนทำใบงานได้ถูกต้อง 50 – 69% (3 ขอ้ ) คะแนน
4. นักเรยี นทำใบงานถูกต้องนอ้ ยกว่า 50% (0 – 2 ข้อ) 4
3
ความสามารถในการทำใบงานที่ 10.2 2
1
ระดับคณุ ภาพ
1. นกั เรียนทำใบงานถกู ตอ้ งมากกว่า 90% (5 ขอ้ )
2. นักเรียนทำใบงานไดถ้ ูกตอ้ ง70 – 89% (4 ข้อ)
3. นกั เรยี นทำใบงานได้ถกู ต้อง 50 – 69% (3 ขอ้ )
4. นักเรียนทำใบงานถกู ต้องน้อยกว่า 50% (0 – 2 ขอ้ )
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ความสามารถในการตอบคำถามและการมีสว่ นร่วมในการจดั การเรียนการสอน คะแนน
3
ระดับคุณภาพ 2
นักเรียนมีสว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในช้นั เรยี นบ่อยครงั้ 1
นักเรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในช้นั เรยี นบางคร้งั
นักเรยี นมีสว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และตอบคำถามในชนั้ เรยี นนอ้ ยครงั้

ลงช่ือ ..................................................ครผู สู้ อน
(นางสาววิลาสินี แทนทวี)
.........../.............../..................

P a g e | 191

บนั ทกึ หลงั สอนแผนการสอนท่ี ...............

1. ผลการสอนระดบั ช้ัน ม.2
 สอนไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้
 สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้ เนื่องจาก ..........................................................................

2. ผลท่ีเกิดกบั ผู้เรียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลงั การเรียน โดยใช้………………………..................................พบว่านกั เรียน

ผา่ นการประเมนิ คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่ำท่กี ำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.......................
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการเรียน โดยใช…้ …………………….........................พบว่านักเรยี น
ผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ......................……. ไมผ่ ่านเกณฑข์ น้ั ต่ำทกี่ ำหนดไวค้ ดิ เป็นร้อยละ.......................
ไดแ้ ก่ ..........................................................................................................................................................

3.) การประเมนิ ด้านคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ เรียน โดยใช้………………………..................................
พบว่านกั เรียนผา่ นการประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไม่ผ่านเกณฑข์ ั้นต่ำท่กี ำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ...............
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
3. ปญั หาและอุปสรรค

 กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มนี ักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไม่ทนั ตามกำหนดเวลา
 มีนกั เรียนที่ไมส่ นใจเรียน
 อน่ื ๆ .............................................................................................................................................
4. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรือ่ ง ......................................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนทไ่ี ม่ผา่ นการประเมิน ..................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

ลงชือ่ ............................................................ ผ้สู อน
( นางสาววิลาสินี แทนทวี )

วันท่ี......../.................../.................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 192

ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
2.การจัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ 2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง  ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกันของผูเ้ รยี น เหมาะสมกับศกั ยภาพท่ีแตกตา่ งกันของผู้เรยี น
 ที่ยังไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนา  ทีย่ งั ไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา

ตอ่ ไป ตอ่ ไป
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4.ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 4.ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ
……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ลงช่ือ....................................................... ลงช่อื .......................................................

(นายศภุ ชัย เรอื งเดช) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 193

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2

รายวิชา คณิตศาสตร์พ้ืนฐาน รหสั วชิ า ค 22102

หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง ความเท่ากนั ทุกประการ จำนวน 14 ชั่วโมง

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 11 เรอ่ื ง รูปสามเหลี่ยมสองรปู ท่สี มั พันธก์ ันแบบ มุม–มมุ –ด้าน(2) จำนวน 1 ชว่ั โมง

.............................................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ัด

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูปเรขาคณิต

และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ตวั ช้วี ัด
ค 2.2 ม.2/4 เข้าใจและใช้สมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมท่ีเทา่ กนั ทกุ ประการในการแก้ปญั หา

คณิตศาสตร์และปญั หาในชวี ติ จรงิ

2. จดุ ประสงค์การเรยี นรูส้ ่ตู วั ชว้ี ัด

จุดประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวช้ีวัด
1. เข้าใจและใช้สมบัตขิ องรูปสามเหลยี่ มท่ีเท่ากันทุกประการในการแกป้ ญั หาคณติ ศาสตร์และปญั หา

ในชีวติ จริง
จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ทีอ่ ิงเน้อื หา
1. นกั เรยี นสามารถบอกไดว้ ่ารปู สามเหลยี่ มสองรูปมีความสมั พันธแ์ บบ มุม–มุม–ดา้ น (ม.ม.ด.)

3. สาระสำคญั
ถ้ารปู สามเหล่ียมทส่ี มั พันธ์กนั แบบ มุม–มุม–ดา้ น (เขยี นแทนดว้ ย ม.ม.ด.) กล่าวคือ มีมุมที่มีขนาด

เทา่ กนั สองคแู่ ละด้านคูท่ ีอ่ ยตู่ รงข้ามกับมมุ คูท่ ี่มีขนาดเท่ากัน ยาวเทา่ กนั หนงึ่ คู่ แล้วรปู สามเหลย่ี มสองรูปน้ัน
เทา่ กนั ทกุ ประการ

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 ด้านความรู้ : นกั เรียนสามารถ
1. ระบไุ ดว้ า่ รปู สามเหลี่ยมสองรปู ท่ีสมั พนั ธก์ ันแบบ มมุ –มุม–ด้าน เทา่ กันทุกประการ
4.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
1. การแก้ปัญหา
2. การให้เหตผุ ล
3. การส่อื สาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ

P a g e | 194

4.3 ด้านเจตคต/ิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์/คุณธรรมจรยิ ธรรมที่สอดแทรก
1. นกั เรยี นมีความซื่อสัตย์ แก้โจทย์ปัญหาไดด้ ว้ ยตัวเอง
2. นักเรียนมีความรับผดิ ชอบ ตรงตอ่ เวลา
3. นักเรยี นมีระเบยี บวินัย รกั การเรียนรู้

5. สมรรถนะของผเู้ รยี น
5.1 ความสามารถในการสอ่ื สาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
6. ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความร)ู้
1. ใบงานที่ 11 เร่ือง รปู สามเหลยี่ มสองรูปทส่ี มั พันธ์กันแบบ มุม–มุม–ด้าน (3)

7. คำถามสำคญั
1. นักเรยี นสามารถบอกไดว้ า่ รูปสามเหลย่ี มสองรูปท่กี ำหนดให้เท่ากันทกุ ประการหรือไม่

8. กระบวนการจัดกิจกรรมเรยี นรู้
ขั้นนำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครสู อดแทรกความรูเ้ ก่ียวกบั คุณธรรม เรื่อง หริ ิ โอตตัปปะ (หริ )ิ
2. ครูและนักเรียนร่วมกนั สนทนาเพื่อทบทวนความรเู้ กย่ี วกับ รูปสามเหลย่ี มสองรูปที่สัมพันธ์กันแบบ

ด้าน–มมุ –ด้าน (ถ้ารูปสามเหล่ียมทสี่ มั พนั ธ์กันแบบ ดา้ น–มุม–ด้าน(เขียนแทนด้วย ด.ม.ด.) กล่าวคือ มีดา้ นยาว
เทา่ กันสองคู่และมมุ ในระหว่างดา้ นค่ทู ่ียาวเท่ากันมขี นาดเทา่ กนั แลว้ รูปสามเหล่ียมสองรูปน้ันเท่ากันทกุ
ประการ) รูปสามเหลี่ยมสองรปู ที่สัมพนั ธ์กนั แบบ มุม–ด้าน–มมุ (ถ้ารปู สามเหลีย่ มทีส่ มั พนั ธ์กัน แบบ
มมุ –ดา้ น–มมุ (เขียนแทนดว้ ย ม.ด.ม.) กล่าวคือ มีมมุ ทีม่ ีขนาดเท่ากนั สองคแู่ ละดา้ นซ่ึงเปน็ แขนร่วมของมมุ ทง้ั
สองยาวเท่ากัน แลว้ รูปสามเหลีย่ มสองรูปนั้นเทา่ กันทกุ ประการ) รูปสามเหลี่ยมสองรปู ท่ีสมั พันธก์ นั แบบ
ด้าน–ด้าน–ดา้ น (ถา้ รูปสามเหลย่ี มที่สมั พนั ธ์กันแบบ ด้าน–ด้าน–ดา้ น (เขยี นแทนดว้ ย ด.ด.ด.) กล่าวคอื
มีด้านยาวเทา่ กนั สามคู่ แลว้ รปู สามเหลย่ี มสองรปู น้ันเทา่ กนั ทกุ ประการ) และ รปู สามเหล่ยี มสองรูปทส่ี ัมพันธ์
กันแบบมมุ –มมุ –ด้าน (ถ้ารูปสามเหล่ยี มท่สี มั พันธ์กันแบบ มมุ –มุม–ด้าน (เขยี นแทนด้วย ม.ม.ด.) กลา่ วคอื มี
มุมท่ีมีขนาดเท่ากันสองคแู่ ละด้านคู่ท่ีอยตู่ รงขา้ มกับมุมคู่ทีม่ ีขนาดเทา่ กนั ยาวเท่ากนั หนึง่ คู่ แลว้ รูปสามเหล่ียม
สองรูปนน้ั เท่ากันทกุ ประการ)

ขน้ั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ครูยกตัวอยา่ งโดยใช้การถามตอบประกอบการอธิบาย เพ่อื พสิ ูจน์รูปสามเหล่ยี มสองรปู เทา่ กนั
ทุกประการ โดยใช้ความสัมพันธ์แบบมมุ –มุม–ดา้ น ดังนี้

P a g e | 195

ตวั อย่างที่ 1 จากรูป จงพสิ ูจน์ว่า Δ ABC ≅ Δ DEF

วธิ ีทำ จากรปู กำหนดให้ 1. BAC = EDF

2. ABC = DEF
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
3. AC = DF

ต้องการพิสจู นว์ า่ Δ ABC ≅ Δ DEF

พิสูจน์ 1. BAC = EDF (กำหนดให)้

2. ABC = DEF (กำหนดให)้

3. AC = DF (กำหนดให)้

4. Δ ABC ≅ Δ DEF (มีความสัมพนั ธ์แบบ มุม–มุม–ด้าน)

ตวั อยา่ งท่ี 2 จากรปู จงแสดงวา่ ABO = CDO

วธิ ที ำ จากรูป กำหนดให้ 1. AB = CD

2. BAO = DCO

ตอ้ งการพสิ ูจนว์ า่ ABO = CDO

พสิ จู น์ 1. AOB = COD (เปน็ มุมตรงขา้ ม)

2. BAO = DCO (กำหนดให)้

3. AB = CD (กำหนดให)้

4. Δ ABO ≅ Δ CDO (มีความสมั พันธ์แบบ มมุ –มมุ –ดา้ น)

5. ABO = CDO (Δ ABO ≅ Δ CDO)

P a g e | 196

2. ครใู ห้นักเรยี นศกึ ษาและทำกจิ กรรมตามใบงานท่ี 11
3. ครูให้คำแนะนำนกั เรียนเปน็ รายบุคคล รายกลุ่ม ตามสถานการณใ์ นชนั้ เรยี น

ข้ันสรุป
1. ครใู ช้คำถามเพ่ือนำไปสู่การสรุป ดังนี้
- จากใบงานที่ 11 นักเรียนสามารถตรวจสอบไดอ้ ย่างไรวา่ รปู สามเหลยี่ มสองรูปเท่ากันทุกประการ

(รูปสามเหลีย่ มสองรปู สมั พันธ์กันแบบ มมุ –มุม–ด้าน)
- นักเรยี นสามารถตรวจสอบไดอ้ ยา่ งไรวา่ รูปสามเหลีย่ มสองรปู มคี วามสัมพันธแ์ บบมมุ –มมุ –ด้าน

(รปู สามเหลยี่ มสองรปู มีมมุ ที่มีขนาดเท่ากันสองคู่และดา้ นคู่ที่อยตู่ รงขา้ มกับมมุ คทู่ ีม่ ขี นาดเท่ากนั
ยาวเท่ากนั หน่ึงคู่)

- นกั เรยี นสามารถตรวจสอบได้อย่างไรว่า ด้านหรอื มุมท่โี จทยไ์ มไ่ ดก้ ำหนดให้ มีความเทา่ กนั

ทุกประการ
(ตอ้ งตรวจสอบใหไ้ ด้วา่ รปู สามเหลย่ี มสองรูป สัมพนั ธก์ ันแบบมุม–มุม–ด้าน)

- นกั เรยี นสรปุ เก่ยี วกบั รปู สามเหลยี่ มสองรูปที่สัมพนั ธแ์ บบ มุม–มมุ –ดา้ น ได้อยา่ งไร
(ถา้ รูปสามเหล่ยี มทส่ี มั พนั ธก์ ันแบบ มมุ –มมุ –ดา้ น (เขยี นแทนดว้ ย ม.ม.ด.) กลา่ วคอื
มมี ุมทีม่ ีขนาดเท่ากันสองคู่และดา้ นคู่ท่อี ยตู่ รงข้ามกบั มมุ ค่ทู ี่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนงึ่ คู่ แล้วรูปสามเหลย่ี ม

สองรปู น้ันเท่ากนั ทกุ ประการ)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
9. การบูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3 หว่ ง 2 เง่ือนไข)

หลักความพอประมาณ การใช้เวลาในการศึกษาหาความรู้และทำงานเหมาะกับเวลา

หลักมีเหตผุ ล อภปิ ราย เรอ่ื งกฎ ระเบียบ เงื่อนไขในการเรยี น ในชนั้ เรียนอยา่ งเหมาะสมและ

ถูกต้อง

หลักสร้างภูมิคุ้มกันใน มหี ลักการปฏบิ ัตติ นทถี่ กู ตอ้ งทัง้ ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น

ตัวท่ดี ี รว่ มกนั วางแผนในการปฏบิ ัตติ นและการทำงานเป็นกลมุ่

เงือ่ นไขความรู้ การสรุปผลและสร้างความคิดรวบยอด เรื่องของกฎ ระเบียบ เง่ือนไขในการ

เรียนในช้นั เรียน

เงื่อนไขคณุ ธรรม รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอื่ สัตย์ มีวนิ ยั ใฝเ่ รียนรู้ อย่อู ย่างพอเพียง

การบูรณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3 ห่วง ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2 เงอ่ื นไข
พอประมาณ ความรู้
มเี หตุผล คุณธรรม
มภี มู คิ มุ้ กันในตวั ที่ดี

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 4 มิติ

เศรษฐกิจ สงั คม สงิ่ แวดล้อม วฒั นธรรม

P a g e | 197

10. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้
1. หนังสอื เรียนคณติ ศาสตร์พื้นฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เล่ม 2 (สสวท.)

2. ใบงานท่ี 11 เรอ่ื ง รปู สามเหลี่ยมสองรูปท่ีสัมพันธก์ นั แบบ มมุ –มมุ –ด้าน (3)

11. หลักฐานและวธิ ีการประเมนิ วธิ ีการประเมิน
ตรวจใบงาน
หลกั ฐาน
1. ใบงานที่ 11 เรอื่ ง รูปสามเหลยี่ มสองรปู ท่สี ัมพันธก์ นั แบบ มุม–มุม–ดา้ น (3)

12. เกณฑ์การประเมนิ
ความสามารถในการทำใบงาน
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ระดับคุณภาพ คะแนน
1. นกั เรยี นทำใบงานถูกตอ้ งมากกว่า 90% (4 รายการ) 4
2. นกั เรยี นทำใบงานไดถ้ ูกตอ้ ง70 – 89% (3 รายการ) 3
3. นักเรียนทำใบงานได้ถกู ต้อง 50 – 69% (2 รายการ) 2
4. นักเรยี นทำใบงานถกู ตอ้ งนอ้ ยกวา่ 50% (0 – 1 รายการ) 1

ความสามารถในการตอบคำถามและการมีส่วนรว่ มในการจดั การเรียนการสอน คะแนน
3
ระดับคุณภาพ 2
นกั เรียนมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในชนั้ เรยี นบอ่ ยคร้งั 1
นักเรยี นมีส่วนรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ และตอบคำถามในชั้นเรียนบางครั้ง
นกั เรยี นมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในชั้นเรยี นน้อยครงั้

ลงชอื่ ..................................................ครูผู้สอน

(นางสาววิลาสนิ ี แทนทว)ี
.........../.............../..................

P a g e | 198

บนั ทกึ หลงั สอนแผนการสอนท่ี ...............

1. ผลการสอนระดบั ช้ัน ม.2
 สอนไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้
 สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้ เนื่องจาก ..........................................................................

2. ผลท่ีเกิดกบั ผู้เรียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลงั การเรียน โดยใช้………………………..................................พบว่านกั เรียน

ผา่ นการประเมนิ คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ขนั้ ต่ำท่กี ำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.......................
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการเรียน โดยใช…้ …………………….........................พบว่านักเรยี น
ผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ......................……. ไมผ่ ่านเกณฑข์ น้ั ต่ำทกี่ ำหนดไวค้ ดิ เป็นร้อยละ.......................
ไดแ้ ก่ ..........................................................................................................................................................

3.) การประเมนิ ด้านคุณลักษณะที่พงึ ประสงค์ เรียน โดยใช้………………………..................................
พบว่านกั เรียนผา่ นการประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไม่ผ่านเกณฑข์ ั้นต่ำท่กี ำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ...............
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
3. ปญั หาและอุปสรรค

 กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มนี ักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไม่ทนั ตามกำหนดเวลา
 มีนกั เรียนที่ไมส่ นใจเรียน
 อน่ื ๆ .............................................................................................................................................
4. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรือ่ ง ......................................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนทไ่ี ม่ผา่ นการประเมิน ..................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

ลงชือ่ ............................................................ ผ้สู อน
( นางสาววิลาสินี แทนทวี )

วันท่ี......../.................../.................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 199

ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
2.การจัดกิจกรรมการเรียนรไู้ ด้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ 2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง  ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกันของผูเ้ รยี น เหมาะสมกับศกั ยภาพท่ีแตกตา่ งกันของผู้เรยี น
 ที่ยังไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนา  ทีย่ งั ไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา

ตอ่ ไป ตอ่ ไป
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ กอ่ นนำไปใช้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4.ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 4.ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ
……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ลงช่ือ....................................................... ลงช่อื .......................................................

(นายศภุ ชัย เรอื งเดช) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 200

แผนการจดั การเรียนรู้

กลุม่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2

รายวิชา คณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน รหสั วชิ า ค 22102

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง ความเทา่ กนั ทกุ ประการ จำนวน 14 ชว่ั โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 12 เร่อื ง รูปสามเหลยี่ มสองรปู ทสี่ ัมพันธ์กันแบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน จำนวน 1 ชว่ั โมง

.............................................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตัวชว้ี ัด

สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบตั ขิ องรปู เรขาคณิต ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งรปู เรขาคณติ

และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ตวั ชี้วัด
ค 2.2 ม.2/4 เข้าใจและใช้สมบตั ิของรูปสามเหลี่ยมที่เทา่ กันทุกประการในการแก้ปัญหา

คณติ ศาสตร์และปญั หาในชีวิตจริง

2. จดุ ประสงค์การเรยี นร้สู ู่ตวั ช้ีวัด

จุดประสงค์การเรียนร้สู ตู่ ัวช้ีวัด
1. เขา้ ใจและใช้สมบัติของรปู สามเหล่ียมท่ีเท่ากันทุกประการในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตรแ์ ละปญั หา

ในชวี ติ จรงิ
จดุ ประสงค์การเรียนรทู้ ่อี ิงเนอื้ หา
1. นกั เรยี นสามารถบอกได้ว่ารปู สามเหลยี่ มสองรูปมคี วามสมั พนั ธ์แบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน (ฉ.ด.ด.)

3. สาระสำคัญ
ถ้ารปู สามเหลีย่ มทสี่ มั พนั ธ์กันแบบ ฉาก–ดา้ น–ด้าน (เขียนแทนด้วย ฉ.ด.ด.) กล่าวคือ สามเหล่ียม

ทั้งสองเปน็ สามเหล่ยี มมมุ ฉากซ่งึ มดี ้านประกอบมมุ ฉากยาวเท่ากนั และด้านตรงข้ามมมุ ฉากยาวเทา่ กันหนึง่ คู่
แลว้ รูปสามเหล่ียมสองรปู นนั้ เท่ากนั ทกุ ประการ

4. สาระการเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้ : นกั เรยี นสามารถ
1. ระบุไดว้ ่ารปู สามเหลย่ี มสองรูปทสี่ ัมพนั ธ์กนั แบบ ฉาก–ดา้ น–ดา้ น เทา่ กันทกุ ประการ
4.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ
1. นำสมบัติของความเท่ากันทุกประการของรูปสามเหลีย่ มสองรปู ทส่ี มั พนั ธ์กนั แบบ ฉาก–ดา้ น–ดา้ น

ไปใช้อ้างองิ ในการพสิ ูจน์
2. การให้เหตผุ ล
3. การส่ือสาร ส่อื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน P a g e | 201

4.3 ดา้ นเจตคติ/คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์/คุณธรรมจริยธรรมทีส่ อดแทรก
1. นักเรยี นมีความซ่อื สัตย์ แกโ้ จทย์ปัญหาไดด้ ว้ ยตวั เอง
2. นักเรยี นมีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา
3. นักเรยี นมรี ะเบียบวินัย รกั การเรียนรู้

5. สมรรถนะของผเู้ รียน
5.1 ความสามารถในการส่อื สาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา
5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

6. ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความร้)ู
1. ใบงานท่ี 12.1 เร่ือง รปู สามเหลยี่ มสองรปู ท่ีสัมพนั ธ์กนั แบบ ฉาก–ด้าน–ดา้ น (1)
2. ใบงานที่ 12.2 เรอ่ื ง รูปสามเหล่ยี มสองรูปที่สมั พนั ธ์กนั แบบ ฉาก–ดา้ น–ดา้ น (2)
3. ใบงานที่ 12.3 เร่อื ง รูปสามเหล่ียมสองรูปท่สี ัมพันธ์กันแบบ ฉาก–ด้าน–ดา้ น (3)

7. คำถามสำคญั
1. นกั เรยี นสามารถบอกไดว้ า่ รปู สามเหล่ียมสองรูปท่กี ำหนดให้เทา่ กันทกุ ประการหรือไม่

8. กระบวนการจัดกจิ กรรมเรยี นรู้
ข้นั นำเขา้ สบู่ ทเรยี น
1. ครูสอดแทรกความร้เู ก่ยี วกับคุณธรรม เรื่อง หิริ โอตตปั ปะ (โอตตัปปะ)
2. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสนทนาเพอ่ื ทบทวนความร้เู ก่ยี วกบั รูปสามเหล่ยี มสองรูปที่สัมพันธ์กนั แบบ

ดา้ น–มมุ –ดา้ น (ถา้ รปู สามเหลีย่ มทีส่ มั พันธก์ ันแบบ ด้าน–มมุ –ด้าน(เขยี นแทนดว้ ย ด.ม.ด.) กล่าวคือ มีด้านยาว
เทา่ กนั สองคแู่ ละมมุ ในระหว่างด้านคทู่ ย่ี าวเทา่ กันมีขนาดเทา่ กัน แล้วรปู สามเหลีย่ มสองรปู นนั้ เท่ากนั
ทกุ ประการ) รูปสามเหล่ยี มสองรปู ท่ีสมั พันธก์ นั แบบ มมุ –ด้าน–มุม (ถ้ารูปสามเหลย่ี มทส่ี ัมพนั ธ์กันแบบ
มมุ –ดา้ น–มมุ (เขียนแทนดว้ ย ม.ด.ม.) กล่าวคอื มีมุมท่ีมีขนาดเท่ากนั สองคู่ และดา้ นซึง่ เป็นแขนรว่ มของ
มมุ ท้งั สองยาวเท่ากนั แลว้ รูปสามเหล่ียมสองรปู นั้นเทา่ กันทกุ ประการ) รปู สามเหลี่ยมสองรปู ที่สมั พันธก์ นั แบบ
ดา้ น–ด้าน–ดา้ น (ถา้ รปู สามเหลยี่ มที่สัมพันธก์ นั แบบ ด้าน–ดา้ น–ดา้ น (เขยี นแทนด้วย ด.ด.ด.) กล่าวคอื มดี า้ น
ยาวเทา่ กันสามคู่ แลว้ รูปสามเหลีย่ มสองรูปนนั้ เทา่ กันทกุ ประการ) และรูปสามเหลยี่ มสองรูปท่ีสัมพันธ์กนั แบบ
มุม–มมุ –ดา้ น (ถ้ารูปสามเหลยี่ มท่ีสัมพนั ธก์ ันแบบ มมุ –มมุ –ด้าน (เขยี นแทนดว้ ย ม.ม.ด.) กลา่ วคอื มมี มุ ทมี่ ี
ขนาดเทา่ กนั สองคแู่ ละด้านคู่ทีอ่ ยู่ตรงขา้ มกับมุมคู่ทมี่ ขี นาดเท่ากนั ยาวเท่ากันหนึง่ คูแ่ ล้วรปู สามเหล่ียมสองรปู
น้นั เทา่ กันทกุ ประการ)

P a g e | 202

ข้ันจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
1. ครแู บง่ กลมุ่ นกั เรยี นออกเปน็ กลุม่ ๆ ละ 4 คน โดยคละความสามารถ เกง่ ปานกลาง อ่อน
และแจกใบงานที่ 12.1 โดยให้นักเรียนในแตล่ ะกลุ่มรว่ มกนั อภิปรายและตอบคำถาม (ให้เวลาประมาณ
10 นาที)
2. แตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนออกมาอภิปรายแนวคดิ ท่ีได้จากการทำใบงาน โดยครแู ละนักเรยี นกลมุ่ ทีไ่ มใ่ ช่
กล่มุ นำเสนอรว่ มอภปิ รายเพม่ิ เตมิ เพือ่ แลกเปล่ยี นแนวคิด
(ในแต่ละข้อสามารถแสดงแนวคดิ ไดห้ ลายวิธี ครูสามารถชี้นำแนวคิดเพมิ่ เตมิ จากแนวคิดของนกั เรียน
ไดต้ ามศกั ยภาพของนกั เรยี น)
3. ครูใหน้ กั เรยี นศึกษาและทำกจิ กรรมตามใบงานท่ี 12.2 (ใหเ้ วลาประมาณ 5 นาที)
4. ครใู หค้ ำแนะนำนักเรียนเปน็ รายบคุ คล รายกลุ่ม ตามสถานการณใ์ นชั้นเรยี น
5. ครูยกตวั อย่างโดยใช้การถามตอบประกอบการอธบิ าย เพือ่ พสิ ูจน์รูปสามเหลี่ยมสองรูปเทา่ กนั
ทกุ ประการ โดยใชค้ วามสมั พันธ์แบบฉาก–ด้าน–ด้าน ดงั นี้

ตัวอยา่ งท่ี 1 จากรูป จงพสิ ูจนว์ ่า Δ ABC ≅ Δ MNO
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
วิธที ำ จากรปู กำหนดให้ 1. ABC = MNO

2. AB = MN

3. AC = MO

ตอ้ งการพสิ จู น์ว่า Δ ABC ≅ Δ MNO

พิสจู น์ 1. ABC = MNO (กำหนดให)้

2. AB = MN (กำหนดให)้

3. AC = MO (กำหนดให)้

4. Δ ABC ≅ Δ MNO (มคี วามสัมพันธ์แบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน)

P a g e | 203

ตัวอย่างท่ี 2 จากรูป จงแสดงวา่ GH = ST

วธิ ีทำ จากรูป กำหนดให้ 1. FGH = RST

2. FG = RS

3. FH = RT
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ตอ้ งการพสิ ูจน์วา่ Δ FGH ≅ Δ RST

พิสูจน์ 1. FGH = RST (กำหนดให)้

2. FG = RS (กำหนดให)้

3. FH = RT (กำหนดให)้

4. Δ FGH ≅ Δ RST (มคี วามสมั พันธแ์ บบ ฉาก–ด้าน–ด้าน)

5. GH = ST (Δ FGH ≅ Δ RST)

ข้ันสรุป
1. ครูใช้คำถามเพ่อื นำไปสู่การสรปุ ดงั น้ี

- นักเรยี นคิดวา่ รปู สามเหล่ียมสองรปู ทสี่ มั พันธ์กันแบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน เท่ากันทุกประการหรอื ไม่
(เท่ากนั ทกุ ประการ)

- นักเรยี นสามารถสรปุ ความร้ทู เี่ กดิ จากการสร้างรูปสามเหลีย่ มสองรูปท่ีสมั พันธก์ ันแบบ
ฉาก–ด้าน–ดา้ น ไดอ้ ยา่ งไร

(ถ้ารูปสามเหล่ียมทสี่ ัมพันธ์กนั แบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน (เขยี นแทนด้วย ฉ.ด.ด.) กล่าวคือ สามเหล่ยี ม

ท้ังสองเป็นสามเหล่ยี มมุมฉากซง่ึ มดี า้ นประกอบมมุ ฉากยาวเทา่ กัน และดา้ นตรงขา้ มมุมฉากยาวเทา่ กนั หน่งึ คู่
แลว้ รปู สามเหลย่ี มสองรูปนั้นเท่ากนั ทุกประการ)

2. ให้นกั เรียนทำใบงานที่ 12.3 เพอื่ ตรวจสอบความเข้าใจ

9. การบูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3 ห่วง 2 เง่อื นไข)

หลักความพอประมาณ การใชเ้ วลาในการศึกษาหาความรูแ้ ละทำงานเหมาะกบั เวลา

หลกั มเี หตุผล อภิปราย เรื่องกฎ ระเบียบ เงื่อนไขในการเรยี น ในช้ันเรยี นอยา่ งเหมาะสมและ

ถูกตอ้ ง

หลักสร้างภูมิคุ้มกันใน มหี ลักการปฏิบัตติ นทถี่ กู ตอ้ งท้ังในห้องเรียนและนอกห้องเรยี น

ตวั ท่ดี ี รว่ มกนั วางแผนในการปฏบิ ัติตนและการทำงานเปน็ กลุ่ม

เงื่อนไขความรู้ การสรุปผลและสร้างความคิดรวบยอด เรื่องของกฎ ระเบียบ เง่ือนไขในการ

เรยี นในชัน้ เรียน

เงื่อนไขคุณธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซ่อื สัตย์ มวี ินยั ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง

P a g e | 204

การบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 3 ห่วง ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2 เงื่อนไข
พอประมาณ ความรู้
มเี หตุผล คุณธรรม
มภี มู คิ มุ้ กนั ในตัวที่ดี

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4 มิติ

เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม วฒั นธรรม

10. สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้

1. หนังสอื เรยี นคณิตศาสตร์พนื้ ฐาน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 เล่ม 2 (สสวท.)
2. ใบงานท่ี 12.1 เร่อื ง รปู สามเหล่ียมสองรูปที่สมั พนั ธ์กนั แบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน (1)

3. ใบงานที่ 12.2 เรือ่ ง รปู สามเหลีย่ มสองรปู ที่สัมพนั ธ์กนั แบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน (2)
4. ใบงานที่ 12.3 เรอ่ื ง รปู สามเหลี่ยมสองรปู ที่สมั พนั ธ์กันแบบ ฉาก–ด้าน–ดา้ น (3)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
11. หลักฐานและวิธกี ารประเมิน

หลักฐาน วธิ กี ารประเมิน
1. ใบงานท่ี 12.1 เร่ือง รูปสามเหลยี่ มสองรูปทส่ี ัมพนั ธก์ ันแบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน (1) ตรวจใบงาน
2. ใบงานที่ 12.2 เรอ่ื ง รูปสามเหลยี่ มสองรปู ท่ีสมั พนั ธก์ นั แบบ ฉาก–ดา้ น–ดา้ น (2) ตรวจใบงาน
3. ใบงานท่ี 12.3 เรอ่ื ง รปู สามเหลี่ยมสองรูปท่สี ัมพนั ธ์กนั แบบ ฉาก–ด้าน–ด้าน (3) ตรวจใบงาน

12. เกณฑก์ ารประเมิน
ความสามารถในการทำใบงานท่ี 12.1

ระดบั คณุ ภาพ คะแนน
1. นกั เรียนทำใบงานถูกต้องมากกว่า 90% (4 ขอ้ ) 4
2. นักเรยี นทำใบงานได้ถูกตอ้ ง70 – 89% (3 ข้อ) 3
3. นกั เรียนทำใบงานได้ถูกตอ้ ง 50 – 69% (2 ข้อ) 2
4. นกั เรยี นทำใบงานถูกตอ้ งนอ้ ยกวา่ 50% (0 – 1 ข้อ) 1

ความสามารถในการทำใบงานที่ 12.2 คะแนน
4
ระดบั คุณภาพ 3
1. นกั เรยี นทำใบงานถูกตอ้ งมากกว่า 90% (5 ข้อ) 2
2. นักเรยี นทำใบงานได้ถกู ต้อง70 – 89% (4 ขอ้ ) 1
3. นักเรยี นทำใบงานไดถ้ กู ตอ้ ง 50 – 69% (3 ขอ้ )
4. นักเรียนทำใบงานถกู ตอ้ งนอ้ ยกวา่ 50% (0 – 2 ขอ้ )

P a g e | 205

ความสามารถในการทำใบงานท่ี 12.3

ระดับคณุ ภาพ คะแนน
1. นกั เรียนทำใบงานถูกต้องมากกวา่ 90% (4 รายการ) 4
2. นกั เรยี นทำใบงานได้ถกู ตอ้ ง70 – 89% (3 รายการ) 3
3. นักเรยี นทำใบงานได้ถกู ตอ้ ง 50 – 69% (2 รายการ) 2
4. นกั เรยี นทำใบงานถูกต้องน้อยกว่า 50% (0 – 1 รายการ) 1

ความสามารถในการตอบคำถามและการมสี ว่ นร่วมในการจัดการเรยี นการสอน

ระดับคุณภาพ คะแนน
นักเรียนมีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็นและตอบคำถามในชน้ั เรียนบอ่ ยคร้งั 3
นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถามในช้ันเรยี นบางคร้งั 2
นักเรยี นมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถามในชนั้ เรยี นนอ้ ยคร้งั 1
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ลงชอื่ ..................................................ครูผู้สอน
(นางสาววิลาสินี แทนทวี)

.........../.............../..................

P a g e | 206

บนั ทกึ หลงั สอนแผนการสอนที่ ...............

1. ผลการสอนระดบั ช้ัน ม.2
 สอนไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้
 สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ เน่อื งจาก ..........................................................................

2. ผลท่ีเกิดกบั ผู้เรียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลงั การเรียน โดยใช้………………………..................................พบว่านกั เรียน

ผา่ นการประเมนิ คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑข์ น้ั ต่ำทีก่ ำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.......................
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการเรียน โดยใช…้ …………………….........................พบว่านักเรยี น
ผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ข้นั ตำ่ ที่กำหนดไวค้ ดิ เป็นร้อยละ.......................
ไดแ้ ก่ ..........................................................................................................................................................

3.) การประเมนิ ด้านคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ เรียน โดยใช…้ ……………………..................................
พบว่านกั เรียนผา่ นการประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไมผ่ ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่กี ำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ...............
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
3. ปญั หาและอุปสรรค

 กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกบั เวลา
 มนี ักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
 มีนกั เรียนที่ไมส่ นใจเรียน
 อน่ื ๆ .............................................................................................................................................
4. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรอ่ื ง ......................................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนทไ่ี มผ่ า่ นการประเมนิ ..................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

ลงช่อื ............................................................ ผ้สู อน
( นางสาววิลาสนิ ี แทนทวี )

วันท.่ี ......./.................../.................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 207

ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
2.การจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ 2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง  ทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกันของผูเ้ รยี น เหมาะสมกับศกั ยภาพท่ีแตกตา่ งกันของผู้เรยี น
 ที่ยังไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนา  ทยี่ งั ไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา

ตอ่ ไป ต่อไป
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4.ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 4.ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ
……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ลงช่ือ....................................................... ลงช่อื .......................................................

(นายศภุ ชัย เรืองเดช) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 208

แผนการจดั การเรยี นรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

รายวิชา คณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน รหัสวชิ า ค 22102

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง ความเทา่ กนั ทุกประการ จำนวน 14 ชวั่ โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 13 เรือ่ ง การนำไปใช้ (1) จำนวน 1 ช่วั โมง

.............................................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบตั ขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พนั ธร์ ะหว่างรูปเรขาคณติ

และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ตวั ชีว้ ัด
ค 2.2 ม.2/4 เข้าใจและใช้สมบัตขิ องรปู สามเหลี่ยมทเ่ี ท่ากนั ทุกประการในการแก้ปัญหา

คณติ ศาสตร์และปญั หาในชวี ิตจริง

2. จุดประสงค์การเรียนรสู้ ตู่ ัวชว้ี ัด

จุดประสงค์การเรียนรสู้ ูต่ วั ช้ีวดั
1. เข้าใจและใชส้ มบัติของรปู สามเหล่ียมท่ีเทา่ กันทุกประการในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตร์และปัญหา

ในชวี ติ จริง
จดุ ประสงค์การเรียนรทู้ อี่ ิงเนื้อหา
1. นักเรยี นสามารถบอกสมบตั ิของรปู สามเหลี่ยมหน้าจว่ั ได้

3. สาระสำคญั
สมบัติของรูปสามเหล่ยี มหน้าจว่ั

– เสน้ แบง่ คร่งึ มมุ ยอดของรูปสามเหลย่ี มหน้าจัว่ จะแบง่ รูปสามเหลย่ี มหน้าจ่ัวออกเปน็ รปู สามเหลีย่ ม
สองรูปทเ่ี ทา่ กันทกุ ประการ

– มุมทฐ่ี านของรปู สามเหลยี่ มหน้าจวั่ มีขนาดเท่ากัน
– เสน้ ท่ลี ากจากมุมยอดของรปู สามเหลีย่ มมาแบ่งครึ่งฐาน จะแบง่ ครงึ่ มมุ ยอดของรูปสามเหลีย่ ม
หนา้ จ่ัว

– เส้นทลี่ ากจากมุมยอดของรูปสามเหลี่ยมมาแบ่งครึง่ ฐาน จะตงั้ ฉากกับฐานของรูปสามเหลย่ี มหนา้ จ่ัว

P a g e | 209

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 ด้านความรู้ : นักเรียนสามารถ
1. บอกสมบตั ิของรปู สามเหล่ียมหนา้ จัว่ ได้
4.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
1. ใช้สมบัติของการเทา่ กันทกุ ประการของรปู สามเหล่ียมในการให้เหตผุ ลและแกป้ ัญหาได้
2. การใหเ้ หตุผล
3. การสอ่ื สาร สือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ
4.3 ด้านเจตคต/ิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์/คุณธรรมจริยธรรมทส่ี อดแทรก
1. นกั เรียนมีความซ่อื สตั ย์ แก้โจทย์ปัญหาได้ดว้ ยตวั เอง
2. นกั เรยี นมีความรับผิดชอบ ตรงตอ่ เวลา
3. นกั เรียนมีระเบียบวินยั รักการเรยี นรู้

5. สมรรถนะของผเู้ รียน
5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแกป้ ญั หา
5.4 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต
5.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. ชิ้นงานหรือภาระงาน (หลกั ฐาน ร่องรอยแสดงความรู้)
1. ใบงานท่ี 13.1 เรอ่ื ง สามเหลย่ี มหน้าจั่ว
2. ใบงานที่ 13.2 เรื่อง ความเทา่ กนั ทกุ ประการ (1)

7. คำถามสำคญั
1. นักเรยี นสามารถบอกได้วา่ รูปสามเหล่ยี มทกี่ ำหนดใหเ้ ป็นรปู สามเหล่ยี มหนา้ จั่วหรือไม่

8. กระบวนการจัดกจิ กรรมเรยี นรู้
ขน้ั นำเขา้ สูบ่ ทเรยี น
1. ครูสอดแทรกความรเู้ ก่ียวกบั คุณธรรม เรอื่ ง พหสู ตู 5 (ฟังมาก)
2. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสนทนาเพือ่ ทบทวนความร้เู กี่ยวกับ การเท่ากนั ทกุ ประการทมี่ คี วามสมั พนั ธ์

กันแบบตา่ งๆ (สมั พันธก์ ันแบบด้าน–มุม–ด้าน, สัมพนั ธก์ ันแบบมุม–ดา้ น–มุม, สมั พนั ธก์ นั แบบดา้ น–ดา้ น–ดา้ น,
สัมพนั ธ์กันแบบมมุ –มุม–ด้าน และ สัมพนั ธ์กันแบบ ฉาก–ดา้ น–ดา้ น)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 210

ข้นั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้

1. ใหน้ ักเรียนจับคู่ แลว้ ครแู จกใบงานที่ 13.1 โดยให้นักเรียนสำรวจรูปสามเหลยี่ มหน้าจว่ั ท่ีได้รับแล้ว
เขียนข้อคน้ พบให้ได้มากท่ีสุด

2. ถามทีละคู่ เพอ่ื ใหไ้ ด้สมบัติของรปู สามเหลย่ี มหนา้ จ่วั มากที่สุด (ถา้ ไม่ครบ ครูควรใชค้ ำถามในการ
กระตุ้นหาคำตอบ) แลว้ ครอู ธบิ ายเพิม่ เตมิ เกย่ี วกับสมบัติของรูปสามเหล่ยี มหน้าจ่ัวที่สามารถนำไปใช้อา้ งองิ ใน
การพสิ ูจน์การเท่ากนั ทุกประการของรปู สามเหลย่ี ม ดงั น้ี

– เสน้ แบ่งครึ่งมมุ ยอดของรูปสามเหล่ียมหนา้ จวั่ จะแบง่ รปู สามเหลย่ี มหนา้ จั่วออกเปน็ รูปสามเหลย่ี ม
สองรปู ทีเ่ ท่ากนั ทุกประการ

– มมุ ที่ฐานของรปู สามเหลยี่ มหน้าจั่วมขี นาดเท่ากัน
– เสน้ ที่ลากจากมมุ ยอดของรปู สามเหลี่ยมหนา้ จัว่ มาแบ่งครึ่งฐาน จะแบ่งคร่งึ มุมยอด
ของรปู สามเหลยี่ มหนา้ จ่วั

– เส้นทีล่ ากจากมุมยอดของรูปสามเหลีย่ มหนา้ จวั่ มาแบง่ คร่ึงฐาน จะตั้งฉากกบั ฐานของรปู สามเหล่ียม
หน้าจวั่

3. ครูใหน้ กั เรยี นศึกษาและทำใบงานท่ี 13.2
4. ครูให้คำแนะนำนกั เรยี นเปน็ รายบคุ คล รายกลุ่ม ตามสถานการณใ์ นชั้นเรยี น
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ขน้ั สรปุ
1. ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรุป บทนยิ าม และ สมบตั ิของรูปสามเหล่ยี มหนา้ จว่ั ท่ีสามารถนำมาอ้างองิ

การเทา่ กนั ทุกประการของรูปสามเหลยี่ ม
(– เสน้ แบง่ ครึง่ มมุ ยอดของรูปสามเหล่ียมหนา้ จั่วจะแบง่ รปู สามเหลีย่ มหน้าจ่วั ออกเป็นรูปสามเหล่ยี ม

สองรูปทเ่ี ทา่ กนั ทกุ ประการ

– มุมทีฐ่ านของรปู สามเหลีย่ มหน้าจ่ัวมีขนาดเท่ากัน
– เสน้ ทล่ี ากจากมุมยอดของรูปสามเหลย่ี มมาแบ่งคร่งึ ฐาน จะแบ่งคร่ึงมมุ ยอดของรูปสามเหลี่ยม

หน้าจ่ัว
– เส้นท่ีลากจากมมุ ยอดของรปู สามเหลีย่ มมาแบ่งครึ่งฐาน จะตงั้ ฉากกับฐานของรูปสามเหลยี่ มหนา้ จ่วั

9. การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (3 หว่ ง 2 เงอื่ นไข)

หลักความพอประมาณ การใช้เวลาในการศกึ ษาหาความร้แู ละทำงานเหมาะกับเวลา

หลกั มีเหตุผล อภปิ ราย เรอื่ งกฎ ระเบียบ เงอ่ื นไขในการเรียน ในชัน้ เรียนอย่างเหมาะสมและ

ถกู ตอ้ ง

หลักสร้างภูมิคุ้มกันใน มีหลักการปฏิบัตติ นทถ่ี กู ต้องทงั้ ในหอ้ งเรยี นและนอกห้องเรยี น

ตวั ท่ีดี รว่ มกนั วางแผนในการปฏบิ ตั ิตนและการทำงานเป็นกล่มุ

เง่ือนไขความรู้ การสรุปผลและสร้างความคิดรวบยอด เร่ืองของกฎ ระเบียบ เงื่อนไขในการ

เรยี นในชนั้ เรยี น

เงอ่ื นไขคณุ ธรรม รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซ่ือสัตย์ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง

P a g e | 211

การบรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 หว่ ง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2 เงอื่ นไข
พอประมาณ ความรู้
มเี หตุผล คุณธรรม
มภี ูมคิ ุ้มกันในตวั ท่ีดี

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4 มติ ิ

เศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม

10. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้
1. หนังสือเรียนคณติ ศาสตร์พน้ื ฐาน ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 เลม่ 2 (สสวท.)

2. ใบงานท่ี 13.1 เรือ่ ง สามเหลย่ี มหนา้ จ่วั
3. ใบงานที่ 13.2 เร่ือง ความเทา่ กันทุกประการ (1)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
11. หลักฐานและวิธกี ารประเมิน วิธกี ารประเมิน
ตรวจใบงาน
หลักฐาน ตรวจใบงาน
1. ใบงานที่ 13.1 เร่อื ง สามเหล่ยี มหน้าจ่วั
2. ใบงานที่ 13.2 เร่ือง ความเทา่ กันทุกประการ (1)

12. เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน
ความสามารถในการทำใบงานท่ี 13.1 4
3
ระดับคณุ ภาพ 2
1. นักเรียนทำใบงานถกู ตอ้ งมากกวา่ 90% (5 ข้อ) 1
2. นักเรยี นทำใบงานไดถ้ กู ต้อง70 – 89% (4 ข้อ)
3. นกั เรียนทำใบงานได้ถูกตอ้ ง 50 – 69% (3 ขอ้ )
4. นักเรยี นทำใบงานถกู ต้องน้อยกวา่ 50% (0 – 2 ขอ้ )

ความสามารถในการทำใบงานที่ 13.2 คะแนน
4
ระดบั คุณภาพ 3
1. นักเรียนทำใบงานถูกตอ้ งมากกวา่ 90% (3 ขอ้ ) 2
2. นกั เรียนทำใบงานได้ถูกต้อง70 – 89% (2 ข้อ) 1
3. นกั เรยี นทำใบงานได้ถกู ต้อง 50 – 69% (1 ข้อ)
4. นักเรียนทำใบงานถูกต้องน้อยกว่า 50% (0 ข้อ)

ความสามารถในการตอบคำถามและการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอน P a g e | 212

ระดับคุณภาพ คะแนน
นกั เรียนมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในชัน้ เรียนบอ่ ยครง้ั 3
นักเรียนมีส่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เห็นและตอบคำถามในชนั้ เรยี นบางคร้ัง 2
นกั เรยี นมสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถามในชน้ั เรยี นน้อยคร้งั 1

ลงช่อื ..................................................ครูผู้สอน
(นางสาววลิ าสนิ ี แทนทว)ี
.........../.............../..................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 213

บนั ทกึ หลงั สอนแผนการสอนที่ ...............

1. ผลการสอนระดบั ช้ัน ม.2
 สอนไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้
 สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ เน่อื งจาก ..........................................................................

2. ผลท่ีเกิดกบั ผู้เรียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลงั การเรียน โดยใช้………………………..................................พบว่านกั เรียน

ผา่ นการประเมนิ คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑข์ น้ั ต่ำทีก่ ำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.......................
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการเรียน โดยใช…้ …………………….........................พบว่านักเรยี น
ผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ข้นั ตำ่ ที่กำหนดไวค้ ดิ เป็นร้อยละ.......................
ไดแ้ ก่ ..........................................................................................................................................................

3.) การประเมนิ ด้านคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ เรียน โดยใช…้ ……………………..................................
พบว่านกั เรียนผา่ นการประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไมผ่ ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่กี ำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ...............
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
3. ปญั หาและอุปสรรค

 กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกบั เวลา
 มนี ักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
 มีนกั เรียนที่ไมส่ นใจเรียน
 อน่ื ๆ .............................................................................................................................................
4. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรอ่ื ง ......................................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนทไ่ี มผ่ า่ นการประเมนิ ..................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

ลงช่อื ............................................................ ผ้สู อน
( นางสาววิลาสนิ ี แทนทวี )

วันท.่ี ......./.................../.................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 214

ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
2.การจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ 2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง  ทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกันของผูเ้ รยี น เหมาะสมกับศกั ยภาพท่ีแตกตา่ งกันของผู้เรยี น
 ที่ยังไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนา  ทยี่ งั ไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา

ตอ่ ไป ต่อไป
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4.ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 4.ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ
……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ลงช่ือ....................................................... ลงช่อื .......................................................

(นายศภุ ชัย เรืองเดช) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 215

แผนการจดั การเรยี นรู้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2

รายวิชา คณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน รหัสวชิ า ค 22102

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรือ่ ง ความเทา่ กนั ทุกประการ จำนวน 14 ชวั่ โมง

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 14 เรือ่ ง การนำไปใช้ (2) จำนวน 1 ช่วั โมง

.............................................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบตั ขิ องรปู เรขาคณิต ความสมั พนั ธร์ ะหว่างรูปเรขาคณติ

และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ตวั ชีว้ ัด
ค 2.2 ม.2/4 เข้าใจและใช้สมบัตขิ องรปู สามเหลี่ยมทเ่ี ท่ากนั ทุกประการในการแก้ปัญหา

คณติ ศาสตร์และปญั หาในชวี ิตจริง

2. จุดประสงค์การเรียนรสู้ ตู่ ัวชว้ี ัด

จุดประสงค์การเรียนรสู้ ูต่ วั ช้ีวดั
1. เข้าใจและใชส้ มบัติของรปู สามเหล่ียมท่ีเทา่ กันทุกประการในการแก้ปัญหาคณติ ศาสตร์และปัญหา

ในชวี ติ จริง
จดุ ประสงค์การเรียนรทู้ อี่ ิงเนื้อหา
1. นักเรยี นสามารถบอกสมบตั ิของรปู สามเหลี่ยมหน้าจว่ั ได้

3. สาระสำคญั
สมบัติของรูปสามเหล่ยี มหน้าจว่ั

– เสน้ แบง่ คร่งึ มมุ ยอดของรูปสามเหลย่ี มหน้าจัว่ จะแบง่ รูปสามเหลย่ี มหน้าจ่ัวออกเปน็ รปู สามเหลีย่ ม
สองรูปทเ่ี ทา่ กันทกุ ประการ

– มุมทฐ่ี านของรปู สามเหลยี่ มหน้าจวั่ มีขนาดเท่ากัน
– เสน้ ท่ลี ากจากมุมยอดของรปู สามเหลีย่ มมาแบ่งครึ่งฐาน จะแบง่ ครงึ่ มมุ ยอดของรูปสามเหลีย่ ม
หนา้ จ่ัว

– เส้นทลี่ ากจากมุมยอดของรูปสามเหลี่ยมมาแบ่งครึง่ ฐาน จะตงั้ ฉากกับฐานของรูปสามเหลย่ี มหนา้ จ่ัว

P a g e | 216

4. สาระการเรียนรู้
4.1 ดา้ นความรู้ : นกั เรยี นสามารถ
1. บอกสมบัติของรูปสามเหล่ยี มหน้าจัว่ ได้
4.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ
1. ใช้สมบตั ขิ องการเท่ากนั ทุกประการของรูปสามเหล่ยี มในการให้เหตุผลและแกป้ ญั หาได้
2. ใช้สมบัติของสามเหลี่ยมหนา้ จว่ั ในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
3. การส่อื สาร สอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ
4.3 ด้านเจตคติ/คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์/คุณธรรมจรยิ ธรรมท่ีสอดแทรก
1. นักเรียนมคี วามซ่อื สตั ย์ แก้โจทย์ปญั หาได้ดว้ ยตวั เอง
2. นกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบ ตรงต่อเวลา
3. นักเรยี นมรี ะเบยี บวนิ ัย รักการเรยี นรู้

5. สมรรถนะของผเู้ รียน
5.1 ความสามารถในการสือ่ สาร
5.2 ความสามารถในการคิด
5.3 ความสามารถในการแกป้ ัญหา
5.4 ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวิต
5.5 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

6. ช้นิ งานหรอื ภาระงาน (หลักฐาน รอ่ งรอยแสดงความร)ู้
1. ใบงานที่ 14 เร่ือง ความเท่ากนั ทกุ ประการ (2)

7. คำถามสำคัญ
1. นักเรียนสามารถบอกไดว้ า่ รปู สามเหล่ยี มที่กำหนดใหเ้ ปน็ รูปสามเหล่ยี มหน้าจ่วั หรือไม่

8. กระบวนการจัดกิจกรรมเรียนรู้
ขัน้ นำเขา้ สู่บทเรยี น
1. ครสู อดแทรกความรูเ้ ก่ยี วกบั คุณธรรม เรอื่ ง พหูสตู 5 (จำมาก)
2. ครแู ละนักเรียนร่วมกนั สนทนาเพอ่ื ทบทวนความรู้เก่ยี วกบั การเทา่ กนั ทุกประการท่ีมีความสัมพนั ธ์

กนั แบบตา่ งๆ (สมั พนั ธ์กนั แบบดา้ น–มมุ –ด้าน, สัมพนั ธ์กนั แบบมุม–ดา้ น–มุม, สัมพันธก์ นั แบบด้าน–ดา้ น–ดา้ น,
สมั พันธก์ นั แบบมุม–มมุ –ดา้ น และ สมั พนั ธ์กนั แบบ ฉาก–ดา้ น–ดา้ น)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน P a g e | 217

ขน้ั จดั กิจกรรมการเรยี นรู้
1. ครยู กตวั อยา่ งการพสิ ูจน์โดยใชร้ ูปสามเหลย่ี มหน้าจ่ัว เช่น
กำหนดให้ AC ตดั กับ BD ทจี่ ุด O ทำให้ AO = DO และ CO = BO จงพสิ จู น์ว่า ABC =DCB

วธิ ที ำ จากรปู กำหนดให้ 1. AC ตัดกบั BD ที่จดุ O
2. AO = DO
3. CO = BO

ตอ้ งการพสิ จู น์วา่ ABC =DCB
พิสูจน์ 1. CO = BO (กำหนดให้)

2. AOB = DOC (เป็นมมุ ตรงข้าม)
3. AO = DO (กำหนดให้)
4. ΔABO ≅ Δ DCO (มคี วามสมั พันธ์แบบ ด้าน–มมุ –ดา้ น)
5. ABO =DCO (จากข้อ 4 และมมุ คู่ท่ีสมนยั กันของรปู สามเหลี่ยมที่เทา่ กนั ทกุ

ประการจะมีขนาดเท่ากัน)
6. ΔBOC เปน็ สามเหล่ยี มหนา้ จ่ัว (จากขอ้ 1)
7. CBO =BCO (สมบัติของรูปสามเหลย่ี มหนา้ จัว่ มุมท่ีฐานมีขนาดเท่ากัน)
8. ABO + CBO = DCO + BCO (สมบตั กิ ารเทา่ กัน)
9. ABC =DCB (จากข้อ 8)
2. นักเรยี นทำใบงานท่ี 14
3. ให้คำแนะนำนักเรียนเปน็ รายบุคคล รายกลมุ่ ตามสถานการณใ์ นห้องเรยี น

ข้ันสรปุ
1. ครูใช้คำถามเพอื่ นำส่กู ารสรุป ดังน้ี
- ในการให้เหตผุ ลเกยี่ วกับความเทา่ กันทกุ ประการ นกั เรียนสามารถใชค้ วามรเู้ ร่ืองใดบา้ งมาชว่ ยใน
การให้เหตุผล
(รูปสามเหลยี่ มหน้าจว่ั , ความเท่ากนั ทกุ ประการของรูปสามเหล่ียมสองรปู ใด ๆ ท่สี ัมพันธ์กันแบบ
ด้าน–มุม–ด้าน, มุม–ดา้ น–มมุ , ดา้ น–ด้าน–ด้าน, มมุ –มมุ –ดา้ น และ ฉาก–ดา้ น–ดา้ น)

P a g e | 218

9. การบรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 ห่วง 2 เง่อื นไข)

หลกั ความพอประมาณ การใช้เวลาในการศึกษาหาความรแู้ ละทำงานเหมาะกบั เวลา

หลกั มีเหตผุ ล อภปิ ราย เรือ่ งกฎ ระเบียบ เงอื่ นไขในการเรียน ในชนั้ เรยี นอย่างเหมาะสมและ

ถูกตอ้ ง

หลักสร้างภูมิคุ้มกันใน มีหลกั การปฏบิ ตั ติ นท่ีถูกตอ้ งท้งั ในหอ้ งเรียนและนอกหอ้ งเรียน

ตัวทดี่ ี รว่ มกันวางแผนในการปฏิบตั ิตนและการทำงานเปน็ กล่มุ

เงื่อนไขความรู้ การสรุปผลและสร้างความคิดรวบยอด เร่ืองของกฎ ระเบียบ เง่ือนไขในการ

เรยี นในช้นั เรยี น

เงอื่ นไขคุณธรรม รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ซือ่ สตั ย์ มีวนิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีนการบรู ณาการตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 หว่ ง ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 2 เง่อื นไข
พอประมาณ ความรู้
มเี หตุผล คุณธรรม
มภี มู คิ ุ้มกนั ในตวั ทด่ี ี

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 4 มติ ิ

เศรษฐกจิ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม วัฒนธรรม

10. ส่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้
1. หนงั สือเรยี นคณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 2 เลม่ 2 (สสวท.)
2. ใบงานที่ 14 เรอ่ื ง ความเท่ากันทุกประการ (2)

11. หลักฐานและวิธกี ารประเมิน วิธีการประเมนิ
ตรวจใบงาน
หลกั ฐาน
1. ใบงานที่ 14 เร่อื ง ความเท่ากนั ทุกประการ (4)

12. เกณฑ์การประเมนิ คะแนน
ความสามารถในการทำใบงาน 4
3
ระดบั คุณภาพ 2
1. นกั เรยี นทำใบงานถกู ต้องมากกว่า 90% (4 รายการ) 1
2. นักเรยี นทำใบงานได้ถูกต้อง70 – 89% (3 รายการ)
3. นักเรียนทำใบงานไดถ้ ูกตอ้ ง 50 – 69% (2 รายการ)
4. นกั เรียนทำใบงานถูกต้องน้อยกวา่ 50% (0 – 1 รายการ)

P a g e | 219

ความสามารถในการตอบคำถามและการมสี ่วนรว่ มในการจดั การเรยี นการสอน

ระดบั คุณภาพ คะแนน
นักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในชน้ั เรียนบอ่ ยคร้งั 3
นักเรียนมสี ว่ นร่วมในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในชัน้ เรยี นบางครัง้ 2
นักเรยี นมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเหน็ และตอบคำถามในช้ันเรยี นนอ้ ยครงั้ 1

ลงช่ือ ..................................................ครูผู้สอน

(นางสาววลิ าสนิ ี แทนทว)ี
.........../.............../..................

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 220

บนั ทกึ หลงั สอนแผนการสอนที่ ...............

1. ผลการสอนระดบั ช้ัน ม.2
 สอนไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้
 สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ เน่อื งจาก ..........................................................................

2. ผลท่ีเกิดกบั ผู้เรียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลงั การเรียน โดยใช้………………………..................................พบว่านกั เรียน

ผา่ นการประเมนิ คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑข์ น้ั ต่ำทีก่ ำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.......................
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการเรียน โดยใช…้ …………………….........................พบว่านักเรยี น
ผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ข้นั ตำ่ ที่กำหนดไวค้ ดิ เป็นร้อยละ.......................
ไดแ้ ก่ ..........................................................................................................................................................

3.) การประเมนิ ด้านคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ เรียน โดยใช…้ ……………………..................................
พบว่านกั เรียนผา่ นการประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไมผ่ ่านเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่กี ำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ...............
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
3. ปญั หาและอุปสรรค

 กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกบั เวลา
 มนี ักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
 มีนกั เรียนที่ไมส่ นใจเรียน
 อน่ื ๆ .............................................................................................................................................
4. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรอ่ื ง ......................................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนทไ่ี มผ่ า่ นการประเมนิ ..................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

ลงช่อื ............................................................ ผ้สู อน
( นางสาววิลาสนิ ี แทนทวี )

วันท.่ี ......./.................../.................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 221

ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
2.การจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ 2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง  ทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกันของผูเ้ รยี น เหมาะสมกับศกั ยภาพท่ีแตกตา่ งกันของผู้เรยี น
 ที่ยังไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนา  ทยี่ งั ไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา

ตอ่ ไป ต่อไป
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4.ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 4.ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ
……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ลงช่ือ....................................................... ลงช่อื .......................................................

(นายศภุ ชัย เรืองเดช) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 222

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เสน้ ขนาน
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 223

แผนการจัดการเรยี นรู้

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 2

รายวิชา คณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน รหัสวชิ า ค 22102

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรอื่ ง เสน้ ขนาน จำนวน 10 ช่วั โมง

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่อง เสน้ ขนานและมุมภายใน (1) จำนวน 1 ชว่ั โมง

.............................................................................................................................................................................................

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวช้ีวัด

สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต

มาตรฐานการเรยี นรู้

ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบตั ขิ องรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูปเรขาคณิต

และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ตัวช้ีวัด
ค 2.2 ม.2/2 นำความร้เู กย่ี วกับสมบตั ขิ องเส้นขนานและรปู สามเหล่ียมไปใช้ในการแก้ปัญหา

คณติ ศาสตร์

2. จุดประสงค์การเรียนรสู้ ตู่ ัวช้วี ดั
จุดประสงค์การเรียนร้สู ู่ตวั ช้ีวัด
1. นำความรู้เกี่ยวกบั สมบตั ิของเสน้ ขนานและรปู สามเหลี่ยมไปใช้ในการแกป้ ัญหาคณิตศาสตร์
จุดประสงค์การเรียนรทู้ ่อี ิงเนอ้ื หา
1. ใชส้ มบตั ขิ องเส้นขนานและรปู สามเหลี่ยมในการให้เหตุผลและแก้ปญั หาคณิตศาสตร์

3. สาระสำคัญ
บทนยิ าม
- เสน้ ตรงสองเสน้ ทอี่ ยู่บนระนาบเดยี วกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เสน้ ตรงสองเสน้ นนั้ ไมต่ ดั กัน
สมบตั ิของเสน้ ขนาน
- ถา้ เสน้ ตรงสองเส้นขนานกันและมเี ส้นตดั แลว้ ขนาดของมมุ ภายในที่อย่บู นข้างเดียวกันของเสน้ ตดั

รวมกันได้ 180 องศา
- ถ้าเส้นตรงเสน้ หน่งึ ตดั เส้นตรงคูห่ น่ึง ทำให้ขนาดนของมมุ ภายในที่อยบู่ นข้างเดยี วกนั ของเส้นตัด

รวมกันเท่ากับ 180 องศา แล้ว เสน้ ตรงคู่น้นั จะขนานกนั

4. สาระการเรยี นรู้
4.1 ดา้ นความรู้ : นักเรียนสามารถ
1. ระบมุ มุ ภายในบนขา้ งเดียวกันของเส้นตดั มุมภายนอก และมมุ แย้ง เม่ือกำหนดเส้นตรงเสน้ หน่ึงตดั

เสน้ ตรงค่หู น่งึ

P a g e | 224

4.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ
1. การแกป้ ญั หา
2. การใหเ้ หตผุ ล
3. การสอ่ื สาร สือ่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ

4.3 ดา้ นเจตคติ/คุณลักษณะอนั พึงประสงค์/คณุ ธรรมจรยิ ธรรมท่สี อดแทรก
1. นักเรยี นมคี วามซ่อื สัตย์ แก้โจทย์ปญั หาไดด้ ว้ ยตัวเอง
2. นกั เรียนมีความรบั ผิดชอบ ตรงต่อเวลา
3. นักเรียนมีระเบยี บวนิ ัย รักการเรยี นรู้

5. สมรรถนะของผเู้ รียน
5.1 ความสามารถในการส่ือสาร
5.2 ความสามารถในการคดิ
5.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.4 ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
5.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
6. ชิ้นงานหรอื ภาระงาน (หลกั ฐาน รอ่ งรอยแสดงความรู้)
1. ใบงานท่ี 1 เรือ่ ง มมุ ภายในบนขา้ งเดยี วกนั ของเสน้ ตดั มมุ ภายนอก และมุมแย้ง

7. คำถามสำคัญ
1. นักเรยี นสามารถระบมุ ุมภายในบนข้างเดียวกนั ของเส้นตัดได้หรือไม่

8. กระบวนการจัดกิจกรรมเรยี นรู้
ข้ันนำเขา้ สู่บทเรียน
1. ครูสอดแทรกความร้เู กย่ี วกับคุณธรรม เร่อื ง พหูสตู 5 (ทอ่ งจนคล่องขึน้ ใจ)
2. ให้นกั เรยี นบอกลักษณะของรางรถไฟ วา่ มีลักษณะอยา่ งไร (เสน้ ขนาน) แลว้ ให้ยกตวั อยา่ ง

ส่งิ รอบตัวท่ีมลี ักษณะเปน็ เส้นขนานตามความเข้าใจของนกั เรยี น (ถนน ตึกแฝด ราวบนั ได)

ข้นั จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้
1. นักเรียนทำใบงานที่ 1 ขอ้ ที่ 1 โดยให้เวลานักเรียนค้นคว้า 10 นาที โดยครูคอยใหค้ ำแนะนำ
เพิม่ เตมิ รายบคุ คลตามสถานการณใ์ นช้นั เรยี น และครูอธบิ ายเพิม่ เตมิ โดยใชโ้ ปรแกรม GSP เร่ือง เส้นขนาน
มุมต่าง ๆ แลว้ ใหน้ กั เรยี นสรปุ ลงในสมดุ ตนเอง

P a g e | 225

2. ใหน้ ักเรียนทำใบงานที่ 1 ขอ้ ที่ 2 ใหเ้ วลานกั เรยี น 10 นาที โดยมีครูคอยให้คำแนะนำรายบุคคล
ตามสถานการณ์ในชนั้ เรียน

ขั้นสรปุ
1. ครูวาดรูปบนกระดาน ดงั น้ี

2. ใชค้ ำถามเพือ่ นำสกู่ ารสรปุ ดังน้ี
- มมุ ภายในคู่ใดบ้างท่อี ยู่บนขา้ งเดียวกนั ของเส้นตดั (มุม 3 กบั มุม 6 และ มุม 4 กบั มมุ 5)
- มมุ ใดบ้างทีเ่ ปน็ มุมภายนอก (มมุ 1 มุม 2 มมุ 7 และ มมุ 8)
- มมุ คใู่ ดบ้างทีเ่ ป็นมุมแยง้ ภายใน (มุม 4 กับ มุม 6 และ มุม 3 กับ มุม 5)
- มุมคใู่ ดบ้างที่เปน็ มมุ แย้งภายนอก (มมุ 1 กับ มุม 7 และ มุม 2 กบั มมุ 8)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 226

9. การบรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (3 ห่วง 2 เงื่อนไข)

หลักความพอประมาณ การใช้เวลาในการศกึ ษาหาความรู้และทำงานเหมาะกับเวลา

หลักมีเหตผุ ล อภปิ ราย เร่ืองกฎ ระเบียบ เง่อื นไขในการเรียน ในชน้ั เรยี นอย่างเหมาะสมและ

ถูกต้อง

หลักสร้างภูมิคุ้มกันใน มีหลักการปฏบิ ัติตนทถ่ี ูกต้องทงั้ ในหอ้ งเรยี นและนอกหอ้ งเรยี น

ตัวที่ดี รว่ มกันวางแผนในการปฏิบัติตนและการทำงานเปน็ กลุ่ม

เงื่อนไขความรู้ การสรุปผลและสร้างความคิดรวบยอด เรื่องของกฎ ระเบียบ เงื่อนไขในการ

เรียนในช้ันเรยี น

เง่ือนไขคุณธรรม รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอื่ สตั ย์ มวี นิ ยั ใฝ่เรยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง

การบูรณาการตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งแผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 หว่ ง ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 2 เงือ่ นไข
พอประมาณ ความรู้
มีเหตุผล คุณธรรม
มภี มู คิ มุ้ กันในตวั ท่ีดี

ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง 4 มติ ิ

เศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม

10. ส่ือ/แหลง่ การเรียนรู้
1. หนังสอื เรียนคณิตศาสตรพ์ น้ื ฐาน ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2 เล่ม 2 (สสวท.)
2. ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง มุมภายในบนข้างเดยี วกนั ของเส้นตัด มมุ ภายนอก และมุมแย้ง

11. หลักฐานและวิธีการประเมิน

หลกั ฐาน วิธกี ารประเมนิ

1. ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง มุมภายในบนขา้ งเดยี วกันของเสน้ ตัด มุมภายนอก และมุมแย้ง ตรวจใบงาน

12. เกณฑก์ ารประเมิน คะแนน
ความสามารถในการทำใบงาน 4
3
ระดบั คุณภาพ 2
1. นักเรียนทำใบงานถกู ตอ้ งมากกว่า 90% (5 รายการ) 1
2. นกั เรียนทำใบงานไดถ้ กู ตอ้ ง70 – 89% (4 รายการ)
3. นกั เรียนทำใบงานได้ถกู ต้อง 50 – 69% (3 รายการ)
4. นกั เรียนทำใบงานถูกต้องนอ้ ยกว่า 50% (0 – 2 รายการ)

P a g e | 227

ความสามารถในการตอบคำถามและการมสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นการสอน

ระดบั คุณภาพ คะแนน
นักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เห็นและตอบคำถามในช้นั เรยี นบอ่ ยครง้ั 3
นักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ และตอบคำถามในช้ันเรียนบางครัง้ 2
นักเรยี นมีสว่ นร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตอบคำถามในชั้นเรยี นนอ้ ยครง้ั 1

ลงช่ือ ..................................................ครูผู้สอน

(นางสาววลิ าสนิ ี แทนทว)ี
.........../.............../..................

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 228

บนั ทกึ หลงั สอนแผนการสอนที่ ...............

1. ผลการสอนระดบั ช้ัน ม.2
 สอนไดต้ ามแผนการจัดการเรยี นรู้
 สอนไม่ไดต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้ เน่อื งจาก ..........................................................................

2. ผลท่ีเกิดกบั ผู้เรียน
1.) การประเมินผลความรหู้ ลงั การเรียน โดยใช้………………………..................................พบว่านกั เรียน

ผา่ นการประเมนิ คดิ เปน็ ร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑข์ น้ั ต่ำทีก่ ำหนดไว้คดิ เป็นร้อยละ.......................
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................

2.) การประเมินด้านทกั ษะกระบวนการเรียน โดยใช้……………………….........................พบว่านักเรยี น
ผา่ นการประเมินคิดเปน็ รอ้ ยละ......................……. ไม่ผา่ นเกณฑข์ ้นั ตำ่ ที่กำหนดไวค้ ดิ เป็นร้อยละ.......................
ไดแ้ ก่ ..........................................................................................................................................................

3.) การประเมนิ ด้านคุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ เรียน โดยใช…้ ……………………..................................
พบว่านกั เรียนผา่ นการประเมินคดิ เป็นร้อยละ.......……. ไม่ผา่ นเกณฑ์ขัน้ ต่ำท่กี ำหนดไว้คิดเปน็ รอ้ ยละ...............
ได้แก่ ..........................................................................................................................................................
3. ปญั หาและอุปสรรค

 กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ ไม่เหมาะสมกบั เวลา
 มนี ักเรยี นทำใบงาน/ใบกจิ กรรมไมท่ ันตามกำหนดเวลา
 มีนกั เรียนที่ไมส่ นใจเรียน
 อน่ื ๆ .............................................................................................................................................
4. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรงุ เรอ่ื ง ......................................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนทไ่ี มผ่ า่ นการประเมนิ ..................................................................................
 .......................................................................................................................................................
 ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

ลงช่อื ............................................................ ผ้สู อน
( นางสาววิลาสนิ ี แทนทวี )

วันท่ี......../.................../.................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

P a g e | 229

ความคิดเหน็ ของหวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ ความคิดเหน็ ของหวั หน้างานวิชาการ
1.เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1.เป็นแผนการจดั การเรียนรู้ท่ี

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรบั ปรุง
2.การจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้นำเอากระบวนการเรยี นรู้ 2.การจัดกจิ กรรมการเรยี นร้ไู ดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้
 ที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสำคัญมาใชใ้ นการสอนไดอ้ ยา่ ง  ทเี่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญมาใช้ในการสอนไดอ้ ยา่ ง

เหมาะสมกับศกั ยภาพทแี่ ตกตา่ งกันของผูเ้ รยี น เหมาะสมกับศกั ยภาพท่ีแตกตา่ งกันของผู้เรยี น
 ที่ยังไม่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนา  ทยี่ งั ไม่เน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพัฒนา

ตอ่ ไป ต่อไป
3.เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ 3.เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้
นำไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรงุ ก่อนนำไปใช้ นำไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้
4.ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 4.ขอ้ เสนอแนะอืน่ ๆ
……………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………….

ลงช่ือ....................................................... ลงช่อื .......................................................

(นายศภุ ชัย เรอื งเดช) (นางสาวณัฐญิ า คาโส)
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน


Click to View FlipBook Version