The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaimath2514, 2021-11-05 09:49:54

คณิตศาสตร์ 4 ม.2

2_64_M2_term2

แผนการจัดการเรียนร้คู รูวลิ าสนิ ี

แผนการจดั การเรียนรู้

รายวชิ าคณิตศาสตร์ 4 รหัสวิชา ค 22102

ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 จำนวน 60 ชวั่ โมง/ภาคเรียน

จำนวน 1.5 หน่วยการเรยี น ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2564

การกำหนดการใช้แผนจัดการเรยี นรู้

รายการตรวจสอบและกลน่ั กรองการใชแ้ ผนจัดการเรยี นรู้

ความคดิ เหน็ ความคดิ เหน็

................................................................................. .................................................................................
................................................................................. .................................................................................
................................................................................. .................................................................................

................................................................................. .................................................................................
................................................................................. .................................................................................
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ลงช่อื ................................................. ลงชือ่ .................................................
(นายศุภชยั เรอื งเดช) (นางสาวณฐั ญิ า คาโส)

หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ หัวหนา้ กลุ่มงานวิชาการ

.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................
.................................................................................

ลงชอื่ .................................................
(นางผกา สามาถ)

ผู้อำนวยการโรงเรียนพนมศกึ ษา

Page |ก

คำนำ
แผนการจัดการเรียนรเู้ ปน็ สง่ิ จำเปน็ อยา่ งยิ่งตอ่ การพัฒนาประสิทธิภาพการเรียนการสอน เพราะเปน็
เอกสารหลกั สตู ร ท่ีใชใ้ นการบรหิ ารงานของครผู สู้ อนใหต้ รงตามนโยบายในการปฏิรูปการศกึ ษา กำหนดไว้
ในแผน หลักคุณภาพการศึกษา สนองจดุ ประสงค์และคำอธบิ ายรายวิชาของหลักสูตร ในการบริหารงาน
วชิ าการถอื ว่า “แผนการจัดการเรียนรู้” เป็นเอกสารทางวชิ าการท่ีสำคัญที่สดุ ของครู เพราะในแผนการ
จดั การเรยี นรู้ ประกอบด้วย
1. การกำหนดเวลาเรยี น กำหนดการสอน กำหนดการสอบ
2. สาระสำคัญของเนอ้ื หาวิชาท่ีเรยี น
3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
4. กจิ กรรมการเรียนรู้
5. สอื่ และอุปกรณ์
6. การวดั ประเมินผล
การจดั ทำแผนการจดั การเรียนรู้ ถือว่าเป็นการสรา้ งผลงานทางวิชาการ เปน็ ผลงานที่แสดงถงึ ความ
ชำนาญในการสอนของครู เพราะครใู ช้ศาสตรท์ กุ สาขาอาชีพ เช่น การออกแบบการสอน การจัดการและ
ประเมนิ ผล
ในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรนู้ ้นั จะทำใหเ้ กิดความมัน่ ใจในการสอน สอนได้ตรงจุดประสงคก์ าร
เรียนรู้ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการเรียนการสอนในรายวชิ าทร่ี ับผิดชอบ ทัง้ ยงั เป็นขอ้ มูลในการนเิ ทศตดิ ตาม
ตรวจสอบและปรบั ปรุงการเรยี นการสอนได้อยา่ งมีระบบ และครบวงจร สง่ ผลใหค้ ุณภาพการศึกษา
โดยรวมพฒั นาไปอยา่ งมที ิศทางบรรลเุ ป้าหมายของหลกั สูตร

ลงชือ่ ...................................................
(นางสาววิลาสนิ ี แทนทวี)
ครู
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

สารบัญ Page |ข

เรอื่ ง หนา้

คำนำ 1
สารบัญ 2
วิเคราะห์หลักสตู ร 3
10
คำอธิบายรายวิชา 43
ตารางวิเคราะหร์ ายวิชา
วิเคราะห์ผู้เรียน 46
การวัดผลและประเมินผล
47
หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1 สถิติ (2) 54
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน 61
แผนจดั การเรียนร้ทู ี่ 1 67
แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 2 74
แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 3 80
แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 4 87
แผนจดั การเรียนรู้ท่ี 5 94
แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 6 100
แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 7 106
แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 8 112
แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 9 119
แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 10 127
แผนจดั การเรยี นรทู้ ี่ 11
แผนจดั การเรียนรทู้ ี่ 12 128
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 ความเทา่ กนั ทุกประการ 134
140
แผนจดั การเรียนรู้ที่ 1 146
แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 2 152
แผนจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 160
แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 4 166
แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 174
แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 6 180
แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 7 187
แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 8 193
แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 9 200
แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 10
แผนจดั การเรียนรทู้ ี่ 11
แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 12

เร่อื ง แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีนPage |ค

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 13 หนา้
แผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 14
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เส้นขนาน 208
215
แผนจัดการเรียนรูท้ ่ี 1 222
แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 2
แผนจัดการเรยี นร้ทู ่ี 3 223
แผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 230
แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 236
แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 6 242
แผนจดั การเรียนรทู้ ี่ 7 248
แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 8 254
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 9 260
แผนจัดการเรยี นรทู้ ี่ 10 266
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 การให้เหตุผลทางเรขาคณิต 272
278
แผนจัดการเรียนรทู้ ่ี 1 284
แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 2
แผนจดั การเรียนรทู้ ่ี 3 285
แผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 4 293
แผนจัดการเรยี นรู้ที่ 5 301
แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 308
แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 7 315
แผนจัดการเรยี นร้ทู ่ี 8 322
แผนจัดการเรยี นร้ทู ่ี 9 329
แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 10 336
แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 11 344
แผนจดั การเรียนรู้ที่ 12 351
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 5 การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รสี อง 358
365
แผนจัดการเรยี นร้ทู ี่ 1 372
แผนจัดการเรียนรทู้ ่ี 2
แผนจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 373
แผนจดั การเรยี นรู้ที่ 4 381
แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 5 388
แผนจัดการเรยี นรู้ท่ี 6 394
แผนจดั การเรยี นรู้ที่ 7 401
408
415

เรื่อง Page |ง

แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 8 หนา้
แผนจัดการเรียนรทู้ ี่ 9
แผนจัดการเรยี นรูท้ ่ี 10 422
แผนจดั การเรยี นรทู้ ่ี 11 429
แผนจดั การเรยี นรูท้ ่ี 12 435
442
449

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

แผนการจัดการเรียนร้คู รูวลิ าสนิ ี Page |1

วิเคราะห์หลักสตู ร

Page |2

คำอธิบายรายวชิ าพนื้ ฐาน

รายวชิ า คณติ ศาสตร์ 4 รหัสวชิ า ค22102 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลา 60 ชว่ั โมง จำนวน 1.5 หนว่ ยกิต

ศกึ ษาความรู้พื้นฐานเบือ้ งตน้ ฝึกทักษะการคดิ คำนวณการให้เหตุผลและฝึกการแกป้ ญั หาในเรื่อง

ตอ่ ไปนี้ สถติ ิ(2) แผนภาพจดุ แผนภาพต้น – ใบ ฮิสโทแกรม คา่ กลางของข้อมูล ความเท่ากันทุกประการ

ความเท่ากนั ทุกประการของรปู เรขาคณติ ความเท่ากนั ทุกประการของรูปสามเหล่ยี ม รปู สามเหล่ียมสองรูป

ที่สัมพันธก์ ันแบบ ด้าน – มมุ – ด้าน รูปสามเหล่ียมสองรูปท่ีสัมพันธ์กนั แบบ มมุ – ด้าน – มุม

รูปสามเหล่ยี มสองรปู ท่ีสมั พนั ธก์ ันแบบ ดา้ น – ด้าน – ดา้ น รูปสามเหลีย่ มสองรูปทีส่ ัมพันธก์ ันแบบ

มุม – มมุ – ด้าน รูปสามเหลีย่ มสองรูปท่ีสมั พนั ธ์กันแบบ ฉาก – ดา้ น – ด้าน การนำความรเู้ กย่ี วกับ
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ความเทา่ กนั ทุกประการไปใช้ในการแกป้ ญั หา เสน้ ขนาน เส้นขนานและมมุ ภายใน เสน้ ขนานและมุมแย้ง

เสน้ ขนานและมมุ ภายนอกกบั มุมภายใน เส้นขนานและรูปสามเหล่ียม การให้เหตผุ ลทางเรขาคณติ

ความรู้พืน้ ฐานเกยี่ วกับการใช้เหตุผลทางเรขาคณิต การสรา้ งและการให้เหตผุ ลเก่ยี วกับ การสรา้ ง

การให้เหตุผลเกยี่ วกบั รูปสามเหล่ยี มและรูปสี่เหลี่ยม การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดกี รสี อง

การแยกตัวประกอบของพหุนามโดยใช้สมบตั กิ ารแจกแจง การแยกตวั ประกอบของพหุนามตวั แปรเดยี ว

การแยกตัวประกอบของพหุนามดกี รสี องท่ีเป็นกำลงั สองสมบูรณ์ การแยกตัวประกอบของพหนุ ามดีกรีสอง

ทเี่ ปน็ ผลตา่ งของกำลงั สอง

โดยจัดประสบการณห์ รอื สร้างสถานการณ์ในชวี ติ ประจำวนั ทใ่ี กลต้ วั ให้ผู้เรียนได้ศกึ ษาคน้ คว้า
โดยปฏบิ ัติจริง ทดลอง สรุปรายงานเพอื่ พฒั นาทกั ษะกระบวนการในการคำนวณ การแก้ปัญหาโดยใช้
เหตุผล การสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และนำประสบการณ์ดา้ นความรู้ ความคดิ ทักษะกระบวนการ
ทไี่ ด้ไปใชใ้ นการเรยี นรู้ส่ิงต่าง ๆ และใช้ในชวี ิตประจำวันอยา่ งสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณคา่ และมีเจตคติ
ทด่ี ีตอ่ คณติ ศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเปน็ ระบบ ระเบยี บ มีความรอบคอบ รบั ผิดชอบ มวี ิจารณญาณ
และมีความเช่ือม่ันในตนเอง

เพอื่ ให้เห็นคุณคา่ และมีเจตคตทิ ่ีดีต่อคณติ ศาสตร์ สามารถทำงานไดอ้ ย่างเปน็ ระบบ มรี ะเบียบ
มีความรบั ผดิ ชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์และมีความเชื่อมั่นในตนเอง

ตัวช้วี ัด ค 2.2 ม.2/2 ค 2.2 ม.2/4
ค 1.2 ม.2/2
ค 2.2 ม.2/1
ค 3.1 ม.2/1

รวม 5 ตัวชี้วัด

Page |3

ตารางวเิ คราะห์รายวชิ า

กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์

รายวชิ าคณิตศาสตร์ 4 รหัสวชิ า ค 22102 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 2
จำนวน 60 ชั่วโมง / ภาคเรยี น จำนวน 1.5 หน่วยกติ

ท่ี ชอ่ื หนว่ ยการ ตวั ช้ีวัด สาระการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ เวลา นำ้ หนกั
เรยี นรู้ แกนกลาง ท้องถิน่ ชวั่ โมง คะแนน

1 สถิติ (2) ค 3.1 ม.2/1 ค3.1 - 12 20

2 ความเท่ากัน ค 2.2 ม.2/4 ค2.2 - 14 20
ทุกประการ
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
3 เส้นขนาน ค 2.2 ม.2/2 ค2.2 - 10 20

4 การให้เหตุผลทาง ค 2.2 ม.2/1 ค2.2 - 12 20
เรขาคณิต - 12 20

5 การแยกตวั ค 1.2 ม.2/2 ค1.2 60 100
ประกอบของ
พหนุ ามดีกรีสอง

รวมตลอด/ภาคเรยี น

Page |4

โครงสรา้ งรายวชิ า
โครงสร้างรายวิชา คณติ ศาสตร์ 4 ค22102 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 2 เวลารวม 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 2

หนว่ ย ชอ่ื หนว่ ย ตัวช้วี ัด สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) (คะแนน)

1 สถิติ (2) ค 3.1 ม.2/1 - การนำเสนอขอ้ มูลทางสถิตมิ ี 4 วิธี 12 20
1. การนำเสนอเปน็ รปู บทความ
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
2. การนำเสนอในลักษณะกง่ึ ตาราง
กึ่งบรรยาย

3. การนำเสนอเปน็ ตาราง
4. การนำเสนอโดยแผนภูมิ
- แผนภาพจุด (Dot Plot) เป็นรปู แบบ

หนง่ึ ของการนำเสนอขอ้ มลู เชิงปริมาณ
โดยจะเขียนจดุ แทนขอ้ มูลแต่ละตวั ไว้

เหนือเสน้ ในแนวนอนท่ีมสี เกลให้ตรงกบั
ตำแหน่งทีแ่ สดงค่าของข้อมลู น้ัน
- แผนภาพตน้ –ใบ (Stem-and-leaf plot

หรือ stem plot) ใช้เพื่อจดั ข้อมูลเปน็
กลุ่ม ๆ และขอ้ มูลทกุ ตัวจะถูกแสดงใน

แผนภาพ
- ฮิสโทแกรม (HISTOGRAM) เกิดจาก
รูปสเี่ หลย่ี มมมุ ฉากวางเรยี งตดิ ต่อกัน โดย

มีความกว้างของแตล่ ะรูปเทา่ กบั ความ
กว้างของอันตรภาคชัน้ และความยาวของ

แตล่ ะแท่งเท่ากับความถี่ของแตล่ ะ
อนั ตรภาคชัน้ จำนวนรูปสี่เหลยี่ มเท่ากบั
จำนวนอันตรภาคช้นั จดุ บนแกนนอนจะ

กำหนดด้วยขอบล่าง–ขอบบน ของอันตร
ภาคช้นั

- ค่ากลางของข้อมลู ท่ใี ช้โดยทั่ว ๆ ไป
ไดแ้ ก่
1. คา่ เฉล่ยี เลขคณิต (Arithmetic mean)

หรอื เรียกส้ัน ๆ ว่า คา่ เฉล่ยี (mean) คอื
จำนวนท่ีได้จากการหารผลบวกของข้อมูล

ทั้งหมดดว้ ยจำนวนข้อมลู

Page |5

หนว่ ย ชือ่ หนว่ ย ตัวช้วี ัด สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรยี นรู้ (ชั่วโมง) (คะแนน)

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน2 ความเท่ากัน ค 2.2 ม.2/4ค่าเฉลี่ยเลขคณิต = ผลรวมของข้อมลู1420
ทกุ ประการ ทงั้ หมด/จำนวนขอ้ มูลทงั้ หมด

2. มัธยฐาน (Median) คือ ค่าก่ึงกลางของ
ข้อมลู ชุดนั้น หรอื คา่ ที่อยูใ่ นตำแหน่ง
กลางของขอ้ มลู
3. ฐานนิยม (Mode) คือ ข้อมูลทม่ี คี วามถ่ี
สงู สุดในข้อมลู ชุดนั้น

- รูปเรขาคณิตสองรูปเท่ากันทุกประการ
ก็ตอ่ เม่ือ เคล่อื นท่รี ปู หน่ึงไปทับอีกรูปหนง่ึ
ได้สนทิ
- ส่วนของเส้นตรงสองเสน้ เท่ากันทกุ
ประการ ก็ตอ่ เมือ่ สว่ นของเส้นตรงทง้ั เสน้
นั้นยาวเท่ากัน
- มุมสองมมุ เท่ากนั ทุกประการ ก็ต่อเมอ่ื
มุมทั้งสองนั้นมีขนาดเทา่ กนั
- รูปสามเหลย่ี มสองรูปเทา่ กนั ทกุ ประการ
กต็ อ่ เมื่อ ดา้ นคู่ทส่ี มนัยกันและมุมคูท่ ่ี
สมนยั กนั ของรูปสามเหลย่ี มทั้งสองรูปน้นั
มีขนาดเทา่ กนั เปน็ คู่ ๆ
- รูปสามเหล่ียมสองรูปทสี่ ัมพันธ์กนั แบบ
ดา้ น–มุม–ด้าน (ด.ม.ด.) กลา่ วคอื มีด้าน
ยาวเท่ากันสองคู่ และมมุ ในระหวา่ งดา้ นคู่
ทยี่ าวเทา่ กนั มขี นาดเทา่ กนั แล้วรูป
สามเหลยี่ มสองรปู นนั้ เท่ากันทกุ ประการ
- รปู สามเหลี่ยมสองรูปทส่ี ัมพนั ธก์ นั แบบ
มมุ –ด้าน–มุม (ม.ด.ม.) กล่าวคือ มมี มุ ท่ีมี
ขนาดเทา่ กันสองคู่ และด้านซึ่งเปน็
แขนร่วมของมมุ ทั้งสองยาวเท่ากัน แลว้
รูปสามเหลยี่ มสองรปู นัน้ เทา่ กันทกุ
ประการ
- รปู สามเหลย่ี มสองรปู ที่สัมพนั ธก์ นั แบบ
ด้าน–ดา้ น–ด้าน (ด.ด.ด.) กล่าวคอื มดี า้ น
ยาวเท่ากันสามคู่ แลว้ รูปสามเหล่ียม
สองรูปน้ันเทา่ กนั ทุกประการ

Page |6

หนว่ ย ชอื่ หน่วย ตัวชีว้ ัด สาระสำคญั /ความคดิ รวบยอด เวลา นำ้ หนัก
ท่ี การเรียนรู้ (ชั่วโมง) (คะแนน)

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน- รปู สามเหลย่ี มสองรปู ทส่ี มั พันธก์ ันแบบ

มมุ –มมุ –ด้าน (ม.ม.ด.) กล่าวคอื มมี ุมทม่ี ี
ขนาดเทา่ กันสองคู่และด้านคู่ทอ่ี ยู่ตรงข้าม

กับมุมค่ทู ม่ี ขี นาดเทา่ กัน ยาวเทา่ กันหน่งึ คู่
แลว้ รปู สามเหล่ียมสองรปู น้นั เทา่ กนั
ทุกประการ

- รปู สามเหลยี่ มสองรปู ท่ีสมั พนั ธก์ ันแบบ
ฉาก–ด้าน–ดา้ น (ฉ.ด.ด.) กล่าวคอื

สามเหล่ียมท้ังสองเปน็ สามเหลยี่ มมุมฉาก
ซง่ึ มดี า้ นประกอบมมุ ฉากยาวเทา่ กัน และ
ด้านตรงข้ามมุมฉากยาวเท่ากนั หนึง่ คู่ แลว้

รูปสามเหลี่ยมสองรูปนน้ั เท่ากัน
ทุกประการ

- สมบัตขิ องรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
1) เส้นแบง่ คร่ึงมมุ ยอดของรูปสามเหลี่ยม
หนา้ จ่วั จะแบ่งรูปสามเหล่ียมหน้าจ่ัว

ออกเป็นรปู สามเหลย่ี มสองรปู ท่เี ท่ากัน
ทุกประการ

2) มุมทีฐ่ านของรูปสามเหลี่ยมหน้าจ่ัว
มขี นาดเท่ากัน
3) เสน้ แบง่ ครงึ่ มมุ ยอดของรูปสามเหล่ยี ม

หนา้ จว่ั จะแบง่ ครึง่ ฐานของรูปสามเหลย่ี ม
หน้าจวั่

4) เส้นแบ่งคร่ึงมุมยอดของรูปสามเหลีย่ ม
หน้าจั่ว จะตัง้ ฉากกบั ฐานของ
รปู สามเหล่ยี มหนา้ จ่วั

5) เสน้ ที่ลากจากมมุ ยอดของรูป
สามเหล่ยี มหนา้ จ่ัวมาแบง่ คร่งึ ฐานจะแบ่ง

ครงึ่ มุมยอดของรปู สามเหลี่ยมหนา้ จว่ั
6) เสน้ ท่ีลากจากมุมยอดของ
รปู สามเหลยี่ มหน้าจัว่ มาแบง่ ครึ่งฐาน

จะต้ังฉากกับฐานของรปู สามเหลย่ี ม
หน้าจั่ว

- เราใชส้ ญั ลักษณ์ ≅ แทนคำวา่
"เทา่ กนั ทกุ ประการ"

Page |7

หน่วย ชอื่ หนว่ ย ตวั ชีว้ ัด สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา น้ำหนกั
ท่ี การเรียนรู้ (ชั่วโมง) (คะแนน)

3 เสน้ ขนาน ค 2.2 ม.2/2 สมบัตขิ องเสน้ ขนาน 10 20

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน- ถา้ เส้นตรงสองเส้นขนานกนั และมี
เส้นตดั แลว้ ขนาดของมุมภายในที่อยู่บน

ข้างเดียวกนั ของเส้นตดั รวมกนั ได้ 180
องศา
- ถา้ เส้นตรงเส้นหนงึ่ ตัดเสน้ ตรงคู่หน่งึ

ทำให้ขนาดของมมุ ภายในท่อี ยู่บนขา้ ง
เดียวกนั ของเสน้ ตดั รวมกันเท่ากับ 180

องศา แล้วเสน้ ตรงคนู่ ั้นจะขนานกัน
ทฤษฎบี ท
- ถ้าเส้นตรงสองเสน้ ขนานกันและมี

เส้นตัดแล้วมุมแย้งมีขนาดเท่ากนั
- ถา้ เส้นตรงเสน้ หนึ่งตัดเสน้ ตรงคูห่ น่งึ

เสน้ ตรงคู่น้ันขนานกนั ก็ต่อเมอื่ มมุ แย้ง
มีขนาดเท่ากนั

- ถา้ เส้นตรงเสน้ หนึ่งตัดเสน้ ตรงคู่หนึง่

เส้นตรงคูน่ น้ั ขนานกัน กต็ อ่ เม่ือ มมุ แย้ง
มีขนาดเท่ากนั

- ถ้าเสน้ ตรงสองเส้นขนานกนั และมี

เส้นตดั แลว้ มมุ ภายนอกและมุมภายในที่
อยู่ตรงขา้ มบนขา้ งเดยี วกันของเส้นตดั

มขี นาดเท่ากัน

- เมือ่ เสน้ ตรงเส้นหน่ึงตดั เสน้ ตรงค่หู น่ึง

เส้นตรงคู่น้ันขนานกัน ก็ต่อเม่ือ
มมุ ภายนอกและมมุ ภายในท่อี ยูต่ รงขา้ ม

บนข้างเดียวกันของเสน้ ตัดมขี นาดเท่ากนั
- ขนาดของมุมภายในทัง้ สามมมุ ของ

รปู สามเหลย่ี มรวมกนั เทา่ กับ 180 องศา
- ถา้ ต่อดา้ นใดด้านหน่ึงของรูปสามเหลี่ยม
ออกไปมุมภายนอกทเ่ี กิดขึ้นจะมีขนาด

เท่ากับผลบวกของขนาดมมุ ภายในทไี่ ม่ใช่
มมุ ประชิดของมมุ ภายนอกนน้ั

Page |8

หนว่ ย ช่ือหนว่ ย ตัวชี้วัด สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด เวลา นำ้ หนกั
ท่ี การเรียนรู้ (ชวั่ โมง) (คะแนน)

4 การให้ ค 2.2 ม.2/1 - ประโยคทม่ี ีคำเชอื่ มว่า ถา้ ... แลว้ ... 12 20
เหตุผล 12 20
เราจะเรยี กประโยคน้ันว่า ประโยคเงอ่ื นไข
ทาง โดยประโยคหลงั คำวา่ “ถ้า” เป็นเหตุ
เรขาคณติ
และประโยคหลงั คำว่า “แลว้ ” เป็นผล
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน- การเขียนประโยคเง่ือนไขโดยนำผลของ
5 การแยก ค 1.2 ม.2/2 ประโยคมาเขยี นเปน็ เหตุ และนำเหตุของ
ตัวประกอบ
ของพหุนาม ประโยคมาเขียนเป็นผล เพื่อทำให้เข้าใจได้
ดีกรสี อง งา่ ยข้นึ จึงกำหนดให้ P เป็นเหตุ และ Q

เปน็ ผล ดงั นัน้ จากประโยคเงอื่ นไข “ถ้า P
แล้ว Q” ถ้าสลับท่ี P และ Q จะได้ว่า
“ถา้ Q แลว้ P” เราจะเรยี กประโยค

“ถา้ Q แล้ว P” วา่ บทกลับของประโยค
เง่ือนไข ของ “ถา้ P แลว้ Q”

- บทกลับของประโยคเงอ่ื นไขบางประโยค
เม่อื เป็นบทกลับของประโยคเง่ือนไขแล้ว
ผลอาจไมเ่ ปน็ จริง แตใ่ นกรณีที่บทกลบั

ของประโยคเงอ่ื นไขเปน็ จรงิ สามารถเขยี น
ประโยคโดยใชค้ ำเช่ือม “...ก็ตอ่ เมอ่ื ...” ได้

- การสรา้ งทางเรขาคณติ โดยใชว้ งเวยี น
และสนั ตรง รวมทง้ั โปรแกรม The
Geometer’s Sketchpad หรอื โปรแกรม
เรขาคณิตพลวตั อืน่ ๆ เพื่อสร้างรปู
เรขาคณิต

- การใหเ้ หตุผลเก่ยี วกับรปู สามเหล่ียมและ
รูปส่เี หลยี่ ม

- การแยกตัวประกอบของพหุนาม คือ
การเขียนพหนุ ามนนั้ ในรปู การคูณกันของ

พหุนามทม่ี ดี กี รตี ่ำกว่าพหุนามเดมิ ต้ังแต่
สองพหนุ ามขน้ึ ไป
- พหุนามดีกรสี องตัวแปรเดียว คอื พหุนาม
ที่เขียนในรูป ax2 + bx + c เมอื่ a, b, c
เป็นค่าคงตวั และ a ≠ 0 มี x เปน็ ตัวแปร
- การแยกตวั ประกอบของพหนุ าม

ดกี รสี อง แลว้ ได้ตวั ประกอบเปน็ พหนุ าม
ดีกรหี นงึ่ ซำ้ กนั เราเรยี กลักษณะเชน่ นวี้ ่า

Page |9

หนว่ ย ชอื่ หน่วย ตัวชว้ี ัด สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด เวลา นำ้ หนกั
ท่ี การเรียนรู้ (ช่ัวโมง) (คะแนน)

พหุนามดีกรีสองทอี่ ยู่ในรปู กำลงั สอง

สมบรู ณ์
- การแยกตวั ประกอบของพหุนาม

ดกี รีสอง ถา้ ตวั ประกอบเป็นพหุนาม
ดีกรีหน่งึ ท่ีมีพจน์เหมือนกนั แต่มี
เคร่อื งหมายระหวา่ งพจนต์ ่างกนั จะเรียก

พหนุ ามดกี รสี องทม่ี ลี ักษณะนวี้ ่า พหุนาม
ดีกรีสองทอี่ ย่ใู นรูปผลต่างของกำลงั สอง
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน

แผนการจัดการเรียนร้คู รูวลิ าสนิ ี P a g e | 10

วเิ คราะห์ผูเ้ รียน

P a g e | 11

โรงเรียนพนมศกึ ษา

ตารางวิเคราะห์ผู้เรยี นดา้ นผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน

วัตถุประสงค์ 1. เพอื่ นำไปออกแบบการเรยี นรู้ ใหส้ อดคลอ้ งกับความสามารถของนกั เรยี น

2. เพอื่ เปน็ แนวทางในการแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาผูเ้ รียนดา้ นผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น

กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ รายวชิ า คณติ ศาสตร์ 4 รหสั วชิ า ค 22102

ภาคเรียนที่ 2/2564 ชอ่ื ผู้สอน นางสาววลิ าสินี แทนทวี

สรุปผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นพน้ื ฐานทใ่ี ช้ในการเรียนวชิ าน้ี

ระดบั คุณภาพของ GPA ของกลุ่ม จำนวนคน ร้อยละ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
ตำ่ กวา่ 2.00 55 39.86
ปรบั ปรงุ 2.00 – 2.50 26 18.84
พอใช้ สงู กว่า 2.50 57 41.30

ดี
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
แนวทางการจัดกจิ กรรม

ผลสมั ฤทธ์ิ ร้อยละ กิจกรรมแกไ้ ขหรือพฒั นา จำนวน เครื่องมอื /วิธีการ
ทางการ เดมิ เป้าหมาย ในแผนการเรยี นรู้ ประเมิน
เรียน
16.43 20.00  กจิ กรรมการเรยี นการสอน  แบบฝกึ หัด
ดี ดำเนนิ เช่นเดยี วกับนกั เรียนกล่มุ อืน่ เพิ่มเติมชดุ ท่ี 1
ๆ ในชน้ั เรียน และ2
ปรบั ปรุง  ให้นักเรียนกลมุ่ นี้เป็น  แบบบันทกึ
ผูด้ ำเนินการเฉลยแบบฝึกหัดตาม การเก็บคะแนน
สมควร  แบบบนั ทกึ
 ใหน้ กั เรยี นกลุม่ น้ีเป็นผชู้ ่วยเหลอื หลงั การสอน
เพ่ือนในการแก้ปญั หาโจทย์ แบบฝึก  แผนการ
ต่าง ๆ เปน็ ผูอ้ ธบิ าย (ผู้ช่วยคร)ู สอน จัดการเรียนรู้
เพือ่ นกลุ่มอ่อนท่ยี งั ไม่เขา้ ใจ
 ให้แบบฝกึ พเิ ศษเพมิ่ เติม  แบบฝกึ
คูข่ นาน
36.43 32.00  กจิ กรรมการเรียนการสอน  แบบบนั ทึก
ดำเนนิ เชน่ เดยี วกบั นกั เรยี นกลุม่ อน่ื การเก็บคะแนน
ๆ เพม่ิ เติมแบบฝกึ คขู่ นาน  แบบบันทกึ
 ใหน้ ักเรียนกลุ่มนจี้ ับคู่ประกบตวั หลังการสอน
ต่อตัวกบั นกั เรียนกลุม่ เกง่ และปาน  แผนการ
กลาง จดั การเรียนรู้
 จดั สอนซ่อมเสรมิ ในเนอ้ื หาทีไ่ ม่
ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ หรอื ยังไม่
เข้าใจแกน่ ักเรยี นกลมุ่ น้ี

แผนการจัดการเรียนร้คู รูวลิ าสนิ ี P a g e | 12

แบบวิเคราะห์นักเรียนเปน็ รายบ
ระดบั ชน้ั มธั ยม

พนื้ ฐาน 8 กลมุ่ สาระ

ชือ่ – สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เดก็ ชายเกริกเกียรติ บัวแกว้ วิทยาศาสตร์
เดก็ ชายคชภัค แช่มไล่ ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ ชายจตุรวิทย์ อำมณี ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กชายจักรพงศ์ ผุดบ่อนอ้ ย ิศลปะ
เด็กชายจณิ ณพฒั น์ กองกุล
เด็กชายณัฐกฤต วชิ ิต แผนการ ัจดการ
เดก็ ชายณฐั กติ ต์ิ ชอ่ สม
เดก็ ชายณัฐวฒุ ิ ทิพย์สวุ รรณ
เด็กชายณธั พงษ์ เพชรชู
เดก็ ชายธนพล เผอื กภมู ิ
เดก็ ชายนครินทร์ วานชิ
เดก็ ชายนทั ธพงศ์ เจรญิ รปู
เด็กชายปัญญาวฒุ ิ รตั นะ

P a g e | 13

บคุ คล ( ขอ้ มูลพนื้ ฐานผ้เู รยี น )
มศกึ ษาปีท่ี 2/1

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครวั พฤติกรรม จดุ เดน่ /จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แข็งแรง เรียนรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง

แบบวเิ คราะหน์ ักเรยี นเปน็ รายบ
ระดบั ชั้นมัธยม

พื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ

ชอ่ื - สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เดก็ ชายพงศภัศ บาคาล วิทยาศาสตร์
เด็กชายเมธวิน สโมสร ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ ชายรชั ชานนท์ ประเสรฐิ ศลิ ป์ ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เดก็ ชายวรากรณ์ นวลขาว ิศลปะ
เด็กชายวีรภทั ร หนำคอก
เด็กชายศวิ วงศ์ ทิพย์เดช แผนการ ัจดการ
เด็กชายสราวฒุ ิ นาคเกษม
เดก็ ชายอนุวฒั น์ ซา้ ยสุข
เดก็ ชายอรรถพร แตง่ นวล
เด็กชายอ่อง -
เด็กหญิงขวัญภิรมย์ ชินโคตร
เด็กหญงิ จันทร์มณี อินแสง
เด็กหญงิ ชนิษฐา ประกอบแก้ว

P a g e | 14

บุคคล ( ข้อมลู พนื้ ฐานผู้เรยี น )
มศึกษาปที ่ี 2/1

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครวั พฤติกรรม จดุ เด่น/จุดควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แข็งแรง เรยี นรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง

แบบวเิ คราะห์นกั เรยี นเป็นรายบ
ระดบั ช้นั มธั ยม

พน้ื ฐาน 8 กล่มุ สาระ

ชอ่ื - สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เด็กหญงิ ณฐั ริยา สุวรรณวเิ ชยี ร วิทยาศาสตร์
เดก็ หญิงตรีชฎา สมบัตแิ กว้ ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ หญิงธนพร ดา่ นเจริญชัย ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กหญงิ ธนพร นวลขาว ิศลปะ
เดก็ หญิงปริยาภัทร คงคุม้
เดก็ หญงิ ปวรศิ า คมุ้ เอียด แผนการ ัจดการ
เด็กหญงิ สลินทพิ ย์ ทองเนื้อขาว
เดก็ หญิงสุรัญชนา ชพู รหม
เดก็ หญงิ อภณิ ห์พร นุ่นทิพย์

P a g e | 15

บคุ คล ( ข้อมลู พน้ื ฐานผ้เู รียน )
มศึกษาปีท่ี 2/1

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครัว พฤตกิ รรม จดุ เดน่ /จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แขง็ แรง เรยี นรู้
แขง็ แรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง

แบบวิเคราะห์นกั เรียนเป็นรายบ
ระดับชั้นมธั ยม

พน้ื ฐาน 8 กลมุ่ สาระ

ชือ่ – สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เดก็ ชายกฤตเมธ พรหมศรีแก้ว วิทยาศาสตร์
เดก็ ชายกฤตเมธ ศภุ ลกั ษณ์ ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ ชายกฤษฎา แสงตาขุน ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เดก็ ชายกติ ตินนั ท์ พงษ์สมทุ ร์ ิศลปะ
เด็กชายจตุรพร หีดจนิ ดา
เด็กชายจริ ายุ สขุ ขี แผนการ ัจดการ
เดก็ ชายฐาปณพงศ์ เวชศาสตร์
เด็กชายณฐั พงศ์ ศรีรักษา
เด็กชายณัฐวุฒิ ทองยวน
เดก็ ชายทัชวฤทธิ์ ทองเสน
เด็กชายธนภัทร โพธา
เดก็ ชายธนวฒั น์ สภุ ลักษณ์
เดก็ ชายปณั ณธร บวั แก้ว

P a g e | 16

บคุ คล ( ขอ้ มูลพนื้ ฐานผ้เู รยี น )
มศกึ ษาปีท่ี 2/2

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครวั พฤติกรรม จดุ เดน่ /จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แข็งแรง เรียนรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง

แบบวิเคราะหน์ ักเรียนเปน็ รายบ
ระดบั ชัน้ มธั ยม

พืน้ ฐาน 8 กลุ่มสาระ

ชอื่ - สกลุ ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เดก็ ชายพริ สนั ต์ รามสวุ รรณ์ วิทยาศาสตร์
เด็กชายภาณุพงค์ โกละกะ ัสงคม ึศกษาฯ
เด็กชายวราดร บรสิ ทุ ธิ์ ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กชายสริ ิกร เผือกภูมิ ิศลปะ
เด็กชายอนพุ งศ์ สทิ ธิแดง
เดก็ หญงิ ขนิษฐา ปาละคเชนทร์ แผนการ ัจดการ
เด็กหญิงจันทกานต์ ประจิน
เด็กหญงิ ฉตั รชฎาพร ศรรี ักษา
เด็กหญิงณฐั ธิดา วิชิต
เดก็ หญงิ ณชิ นนั ทน์ พนั ธเ์ จรญิ
เดก็ หญิงนัฐชา สงทอง
เดก็ หญงิ นันทวัน สุราวธุ
เด็กหญิงปวริศา นวลขาว

P a g e | 17

บุคคล ( ข้อมลู พนื้ ฐานผู้เรยี น )
มศึกษาปที ่ี 2/2

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครวั พฤติกรรม จดุ เด่น/จุดควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แข็งแรง เรยี นรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง

แบบวเิ คราะห์นกั เรยี นเปน็ รายบ
ระดับชั้นมธั ยม

พื้นฐาน 8 กลมุ่ สาระ

ช่ือ - สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เด็กหญิงพิชช์สินี ปรีชา วิทยาศาสตร์
เดก็ หญงิ เพชรรดา โภคา ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ หญงิ ภัทรวดี ศรที พั ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กหญงิ รวิสรา คงเรือง ิศลปะ
เดก็ หญิงสโรชนิ ี ทองเน้ือขาว
เด็กหญงิ สิรภทั ร หนเู ยาว์ แผนการ ัจดการ
เดก็ หญิงสุเกสร ไทยแกว้

P a g e | 18

บุคคล ( ข้อมูลพนื้ ฐานผเู้ รียน )
มศกึ ษาปที ่ี 2/2

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครวั พฤติกรรม จดุ เด่น/จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แข็งแรง เรียนรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แขง็ แรง

แบบวเิ คราะห์นักเรียนเปน็ รายบ
ระดับชัน้ มธั ยม

พน้ื ฐาน 8 กลุม่ สาระ

ชอื่ – สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เดก็ ชายกฤษฎา สดุ เส้ง วิทยาศาสตร์
นายกฤษฎา อะโน ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ ชายขจรเกียรติ บรู พงค์ ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เดก็ ชายณฐั กรณ์ ชว่ ยฤกษ์ ิศลปะ
เด็กชายณฐั พงศ์ ศรีอ่อน
เดก็ ชายธนโชติ รองเมอื ง แผนการ ัจดการ
เดก็ ชายธรรมรตั น์ แสงตาขุน
เดก็ ชายธีรภทั ร เถยี รวชิ ติ
เด็กชายนเรนทรฤ์ ทธ์ิ อดุ มศรี
เด็กชายพศวัต หีตทิม
เด็กชายพีรวัฒน์ นพรัตน์
เด็กชายภูมนิ ันท์ สวนแก้ว
เด็กชายภูมริ พี เมอื งพร้อม

P a g e | 19

บคุ คล ( ข้อมูลพน้ื ฐานผเู้ รยี น )
มศกึ ษาปีท่ี 2/3

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครัว พฤติกรรม จดุ เดน่ /จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แขง็ แรง เรียนรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง

แบบวเิ คราะหน์ ักเรยี นเปน็ รายบ
ระดบั ช้ันมัธยม

พื้นฐาน 8 กลุม่ สาระ

ช่อื - สกลุ ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เดก็ ชายรงั สมิ ันต์ คงประเสริฐ วิทยาศาสตร์
เด็กชายรตั ภมู ิ ช่วยสง่ ัสงคม ึศกษาฯ
เด็กชายวริทธ์ ธนโชติพฒุ พิ งษ์ ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กชายวลั ชนะ แสงศรี ิศลปะ
เดก็ ชายศุภกิจ ซุยจินา
เดก็ ชายศุภโชค ศรรี อดภยั แผนการ ัจดการ
เด็กชายศุภสณั ฑ์ ทิพวรี
เด็กชายสุภเวช ตน้ ปกั ษ์
เดก็ ชายอนวทั ย์ ทองจันทร์
เด็กชายอมรวิชช์ ชะบากาญจน์
เด็กหญงิ กนกพร สุดเส้ง
เดก็ หญิงธัญวรรณ ประเสริฐ
เด็กหญงิ พัชรา แก้วขาว

P a g e | 20

บุคคล ( ข้อมลู พนื้ ฐานผู้เรยี น )
มศึกษาปที ่ี 2/3

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครวั พฤติกรรม จดุ เด่น/จุดควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แข็งแรง เรยี นรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง

แบบวเิ คราะหน์ กั เรียนเปน็ รายบ
ระดับช้ันมธั ยม

พ้นื ฐาน 8 กลมุ่ สาระ

ช่อื - สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เดก็ หญงิ พมิ พ์ชนก สุวรรณรตั น์ วิทยาศาสตร์
เดก็ หญงิ มณีวรรณ สารพิ ัฒน์ ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ หญิงรัชนี หนูจันทร์ ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เดก็ หญงิ ศิรกิ ญั ญา นวลละออง ิศลปะ
เด็กหญิงศิริมา -
เดก็ หญิงศริ ิวมิ ล วิชติ แผนการ ัจดการ
เดก็ หญิงสุพชิ ชา จรูญรกั ษ์
เด็กหญงิ สุพิชญา ทองแกว้
เดก็ หญงิ หนง่ึ ฤทยั บัวทอง

P a g e | 21

บคุ คล ( ข้อมลู พน้ื ฐานผ้เู รียน )
มศึกษาปีท่ี 2/3

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครัว พฤตกิ รรม จดุ เดน่ /จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แขง็ แรง เรยี นรู้
แขง็ แรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง

แบบวิเคราะหน์ ักเรยี นเป็นรายบ
ระดบั ชั้นมัธยม

พื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ

ชือ่ – สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เด็กชายเกียรตกิ ำพล ปรีชา วิทยาศาสตร์
เดก็ ชายขวัญชยั ทา่ ชี ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ ชายชนมพ์ รรษ์ เรืองไชย ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กชายชุมพล ไชยวรรโณ ิศลปะ
เด็กชายณพมงคล ทองมสุ ทิ ธิ์
เด็กชายณัฏฐบดนิ ทร์ ทิพย์เดช แผนการ ัจดการ
เดก็ ชายณฐั วฒุ ิ เขม็ ทอง
เด็กชายนนทพัทธ์ สง่ มา
เด็กชายนัฐชัย ศรสี วสั ดิ์
เดก็ ชายนฐั ธวฒุ ิ วงศส์ กุล
เด็กชายปกรณเ์ กียรติ ล้มิ เจริญ
เดก็ ชายพีรภทั ร จนั ทร์พรกึ
เด็กชายภทั ราวุธ บัวเพ็ง

P a g e | 22

บคุ คล ( ข้อมูลพน้ื ฐานผ้เู รยี น )
มศกึ ษาปีท่ี 2/4

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครัว พฤติกรรม จดุ เดน่ /จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แขง็ แรง เรียนรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง

แบบวิเคราะหน์ กั เรียนเป็นรายบ
ระดับช้ันมัธยม

พื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ

ช่อื - สกลุ ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เด็กชายวรชิต อินคง วิทยาศาสตร์
เดก็ ชายวรวฒั น์ เวชรินทร์ ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ ชายวฒุ ชิ ยั สองพนี่ ้อง ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กชายอรรถพล อนุภกั ดิ์ ิศลปะ
เดก็ หญิงกชกร ช่วยหนู
เดก็ หญงิ กญั ญ์วรา แก้วมีศรี แผนการ ัจดการ
เด็กหญงิ กัญญาพัชร ทรัพยป์ ระเทอื ง
เดก็ หญิงกานต์ธิดา จนั ทร์เพง็
เด็กหญิงณชิ นนั ทน์ สุวรรณ์สอาด
เด็กหญงิ ณิชาภรณ์ เกตขุ าว
เดก็ หญงิ ธญั ชนก ทวีรัตน์
เดก็ หญิงนภเกตน์ สายควนเกย
เด็กหญงิ ปนุ ยาพร ล่องแปน้

P a g e | 23

บคุ คล ( ข้อมูลพน้ื ฐานผเู้ รียน )
มศกึ ษาปีท่ี 2/4

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครัว พฤตกิ รรม จดุ เด่น/จุดควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แขง็ แรง เรยี นรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง

แบบวิเคราะห์นกั เรยี นเปน็ รายบ
ระดับช้ันมัธยม

พ้ืนฐาน 8 กล่มุ สาระ

ช่ือ - สกลุ ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เด็กหญิงพรพิมล พัฒน์ชู ิวทยาศาสตร์
เด็กหญงิ พิมพกานต์ แดงเน่อื ง ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ หญงิ พิมพิศา แพ้วมว่ ง ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เดก็ หญงิ มณีนาจ ทองญวน ิศลปะ
เด็กหญงิ มณรี ัตน์ บวั มณี
เด็กหญงิ มัฐตมิ า สวุ รรณวิเชยี ร แผนการ ัจดการ
เดก็ หญิงวรพชิ ชา ศรีชัย
เด็กหญิงวราภรณ์ จนั ทร์ทอง
เด็กหญิงสติ านนั ท์ มสุ ิก
เด็กหญิงสิริวิมล เมฆใหม่

P a g e | 24

บุคคล ( ขอ้ มลู พนื้ ฐานผ้เู รียน )
มศึกษาปที ี่ 2/4

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพครอบครัวพฤติกรรมจดุ เด่น/จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แกไ้ ขในการ
แข็งแรง
แข็งแรง เรียนรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง

แบบวเิ คราะหน์ กั เรยี นเปน็ รายบ
ระดบั ช้นั มธั ยม

พื้นฐาน 8 กล่มุ สาระ

ชอ่ื – สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เด็กชายกฤษฎ์ิ กลับชัย วิทยาศาสตร์
เด็กชายกิตติพงษ์ ชูทุ่งยอ ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ ชายคฑาวุธ บรสิ ุทธิ์ ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กชายคณาพงษ์ มูสิแดง ิศลปะ
เด็กชายจรัญ คงชว่ ย
เดก็ ชายชนะพล หลอ่ พันธ์ แผนการ ัจดการ
เดก็ ชายไชยวัฒน์ ปาละกลุ
เด็กชายฐริ วัฒณ์ รัตนชัย
เด็กชายธนกฤต จันทรเ์ มฆ
เด็กชายธนภูมิ จนั ทวงศ์
เดก็ ชายธาวิน เพชรเจรญิ
เดก็ ชายบญั ญวตั มะโร
เด็กชายพีรพัฒน์ แกว้ เพชร

P a g e | 25

บุคคล ( ข้อมูลพน้ื ฐานผเู้ รียน )
มศึกษาปีที่ 2/5

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครัว พฤตกิ รรม จดุ เดน่ /จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แขง็ แรง เรียนรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง

แบบวิเคราะหน์ กั เรยี นเปน็ รายบ
ระดับชั้นมธั ยม

พนื้ ฐาน 8 กลุ่มสาระ

ช่อื - สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เดก็ ชายภษู ติ ย์ ชัยเจรญิ วิทยาศาสตร์
เดก็ ชายรฐั ศาสตร์ เพชรโชติ ัสงคม ึศกษาฯ
เด็กชายสรรเพชร โสขะ ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กหญงิ กชกร คงไล่ ิศลปะ
เด็กหญงิ จฑุ ารัตน์ แพทย์รัตน์
เดก็ หญิงญาดา อนิ ทร์เนอื่ ง แผนการ ัจดการ
เดก็ หญิงฐานิตา ศรีคงแกว้
เด็กหญิงณัฎฐณชิ า เภรี
เด็กหญิงณัฐรดี ศรภี ักด์ิ
เดก็ หญิงทศวรรณ คุณวิจิตร
เด็กหญงิ ธนนนั ท์ แสงทองย้อย
เด็กหญงิ ธนัญชนก สาคร
เด็กหญงิ ธัญวรัตม์ วงศพ์ ัฒนเ์ สวก

P a g e | 26

บคุ คล ( ข้อมูลพน้ื ฐานผเู้ รยี น )
มศึกษาปีท่ี 2/5

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสุขภาพ ครอบครวั พฤติกรรม จดุ เด่น/จุดควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แขง็ แรง เรยี นรู้
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง
แขง็ แรง

แบบวเิ คราะห์นักเรียนเปน็ รายบ
ระดับชนั้ มธั ยม

พน้ื ฐาน 8 กลุ่มสาระ

ช่อื - สกุล ภาษาไทย
ค ิณตศาสตร์
เด็กหญงิ นภัสนนั ท์ แก้วนวล วิทยาศาสตร์
เด็กหญิงนารีรตั น์ ม่งั มี ัสงคม ึศกษาฯ
เดก็ หญิงฟา้ ใส คงเนยี ม ุสข ึศกษาพล ึศกษา
เด็กหญิงมินทร์ธาดา ประจวบบญุ ิศลปะ
เดก็ หญงิ รงั ศณิ ี นา่ นโพธศิ์ รี
เดก็ หญงิ สชุ านาถ รอดเจริญ แผนการ ัจดการ
เด็กหญงิ อมรรัตน์ สังขท์ อง
เดก็ หญงิ อจั ฉรา แซ่หลี

P a g e | 27

บคุ คล ( ข้อมูลพนื้ ฐานผูเ้ รียน )
มศกึ ษาปีท่ี 2/5

การงานอา ีชพฯรเ ีรยน ู้รค ูรวิลา ิส ีนสขุ ภาพ ครอบครวั พฤติกรรม จดุ เด่น/จดุ ควร
ภาษา ัองกฤษ แก้ไขในการ
แขง็ แรง
แขง็ แรง เรียนรู้
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แข็งแรง
แขง็ แรง

แบบวิเคราะหน์ กั เรยี นเป็นรายบุคคล P a g e | 28
หมายเหตุ
เก่ียวกบั ความถนดั / ความสนใจ รายวิชา คณติ ศาสตรพ์ น้ื ฐาน

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี ี่ 2 ห้อง 1

เลขท่ี ช่ือ – สกุล ระดับความถนดั / ความสนใจ
3210

1 เด็กชายเกรกิ เกยี รติ บัวแกว้ 

2 เดก็ ชายคชภคั แช่มไล่ 

3 เดก็ ชายจตรุ วทิ ย์ อำมณี 

4 เด็กชายจักรพงศ์ ผดุ บ่อน้อย 

5 เดก็ ชายจิณณพัฒน์ กองกลุ 

แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน6 เด็กชายณฐั กฤต วิชติ

7 เด็กชายณฐั กติ ต์ิ ชอ่ สม 

8 เด็กชายณัฐวฒุ ิ ทพิ ยส์ วุ รรณ 

9 เด็กชายณัธพงษ์ เพชรชู 

10 เด็กชายธนพล เผือกภมู ิ 

11 เด็กชายนครนิ ทร์ วานชิ 

12 เด็กชายนทั ธพงศ์ เจรญิ รปู 

13 เดก็ ชายปญั ญาวุฒิ รตั นะ 

14 เดก็ ชายพงศภศั บาคาล 

15 เดก็ ชายเมธวนิ สโมสร 

16 เดก็ ชายรชั ชานนท์ ประเสริฐศิลป์ 

17 เด็กชายวรากรณ์ นวลขาว 

18 เด็กชายวีรภทั ร หนำคอก 

19 เด็กชายศวิ วงศ์ ทิพยเ์ ดช 

20 เด็กชายสราวฒุ ิ นาคเกษม 

21 เดก็ ชายอนุวัฒน์ ซ้ายสุข 

22 เดก็ ชายอรรถพร แตง่ นวล 

23 เด็กชายอ่อง - 

24 เด็กหญงิ ขวัญภิรมย์ ชนิ โคตร 

25 เด็กหญงิ จนั ทรม์ ณี อินแสง 

26 เดก็ หญิงชนิษฐา ประกอบแกว้ 

27 เด็กหญิงณฐั รยิ า สวุ รรณวิเชียร 

28 เดก็ หญิงตรชี ฎา สมบัติแก้ว 

29 เด็กหญิงธนพร ด่านเจริญชยั 

30 เดก็ หญงิ ธนพร นวลขาว 

P a g e | 29

เลขท่ี ชอื่ – สกุล ระดบั ความถนัด / ความสนใจ หมายเหตุ
3210
31 เดก็ หญิงปรยิ าภัทร คงคุ้ม
32 เดก็ หญงิ ปวรศิ า คุม้ เอยี ด 
33 เดก็ หญิงสลนิ ทิพย์ ทองเนอ้ื ขาว 
34 เด็กหญงิ สรุ ญั ชนา ชพู รหม 
35 เด็กหญงิ อภณิ ห์พร น่นุ ทพิ ย์



หมายเหตุ*** ประเมินจากระดับผลการเรยี นรรู้ ายวชิ า คณิตศาสตรพ์ ้นื ฐาน
แผนการ ัจดการเ ีรยน ู้รค ูรวิลาสิ ีน
ระดบั 3 มคี วามถนดั / ความสนใจมากท่สี ุด

ระดับ 2 มคี วามถนดั / ความสนใจมาก

ระดบั 1 มคี วามถนัด / ความสนใจน้อย
ระดบั 0 ไมม่ คี วามถนัด / ความสนใจเลย


Click to View FlipBook Version