The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่ง กรมที่ดิน ประจำปี 2556 (ปี 2556)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

บัญชีหมายเลข ๒

รายชอ่ื คณะอนุกรรมการท่มี ีสทิ ธไิ ดร ับเบีย้ ประชมุ เปน รายเดือนและอตั ราเบี้ยประชมุ
อตั ราไมเ กิน : (บาท : คน : เดอื น)

ลําดับท่ี รายช่ือคณะอนุกรรมการ ประธาน อนุกรรมการ

คณะอนุกรรมการในคณะกรรมการการแขง ขนั ทางการคา ๓,๗๕๐ ๓,๐๐๐
๑. คณะอนุกรรมการเชี่ยวชาญเฉพาะเร่อื งการกาํ หนดเกณฑ

ผูมอี ํานาจเหนอื ตลาด
๒. คณะอนกุ รรมการเชยี่ วชาญเฉพาะเรื่องธรุ กจิ ท่ีเกย่ี วกบั ลขิ สิทธิ์

๔๗

(สาํ เนา)

ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๔๘๐ กรมบญั ชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๕

เรื่อง พระราชกฤษฎกี าเบ้ียประชุมกรรมการ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕
เรยี น อธิบดีกรมที่ดิน

ดวยพระราชกฤษฎีกาเบ้ยี ประชมุ กรรมการ (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕ ไดป ระกาศ
ราชกิจจานเุ บกษา ฉบับกฤษฎกี า เลม ๑๒๙ ตอนที่ ๑๑๐ ก วันท่ี ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ แลว
โดยมีผลใชบ งั คบั ตัง้ แตวันที่ ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๕

กรมบัญชีกลางเห็นสมควรแจงเวียนใหสวนราชการไดทราบและถือปฏิบัติตอไป
โดยไดน ําลงเวบ็ ไซต www.cgd.go.th ในระบบสารสนเทศกฎหมาย เรยี บรอ ยแลว

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหเจาหนาที่ที่เก่ียวของเพ่ือทราบและ
ถอื ปฏิบตั ิตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชือ่ ) สทุ ธิรัตน รัตนโชติ

(นางสาวสุทธริ ตั น รตั นโชต)ิ
ท่ปี รึกษาดานพฒั นาระบบการเงนิ การคลงั
ปฏบิ ตั ริ าชการแทน อธิบดีกรมบญั ชีกลาง

สาํ นักกฎหมาย
กลมุ งานกฎหมายและระเบียบดา นคาใชจ า ยในการบรหิ าร
โทร. ๐–๒๑๒๗–๗๒๖๐
www.cgd.go.th

๔๘

(สําเนา)
พระราชกฤษฎกี า
เบี้ยประชุมกรรมการ (ฉบับท่ี ๓)
___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๕____
ภมู ิพลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วนั ที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๕
เปนปท ่ี ๖๗ ในรชั กาลปจจบุ ัน
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหป ระกาศวา
โดยทีเ่ ปนการสมควรแกไ ขเพม่ิ เติมพระราชกฤษฎีกาวาดวยเบย้ี ประชุมกรรมการ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๘๗ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
และมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติการกําหนดหลักเกณฑเกี่ยวกับการจายเงินบางประเภท
ตามงบประมาณรายจา ย พ.ศ.๒๕๑๘ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชกฤษฎกี าขน้ึ ไว
ดงั ตอ ไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชกฤษฎีกานี้เรียกวา “พระราชกฤษฎีกาเบี้ยประชุมกรรมการ
(ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๕”
มาตรา ๒ พระราชกฤษฎีกานี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานเุ บกษาเปน ตนไป
มาตรา ๓ ใหย กเลิกความในบทนยิ ามคาํ วา “คณะกรรมการ” ในมาตรา ๕ แหง
พระราชกฤษฎกี าเบีย้ ประชมุ กรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และใหใ ชค วามตอไปนี้แทน
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการซ่ึงไดรบั แตงตั้งและกาํ หนด
องคป ระกอบและอาํ นาจหนา ท่ีไวโดยบทบญั ญัตแิ หงกฎหมาย ประกาศพระบรมราชโองการหรือ
ระเบยี บสาํ นักนายกรัฐมนตรี ซ่งึ ออกตามกฎหมายวาดวยระเบยี บบริหารราชการแผนดนิ หรอื
โดยประธานรฐั สภา ประธานสภาผูแ ทนราษฎร ประธานวุฒิสภา คณะรฐั มนตรี นายกรฐั มนตรี
ในฐานะหวั หนารฐั บาล หรอื รัฐมนตรเี จา สงั กดั ซ่ึงไดรับอนมุ ัติจากคณะรฐั มนตรี”
มาตรา ๔ ใหยกเลกิ ความในบทนิยามคาํ วา “คณะอนุกรรมการ” ในมาตรา ๕
แหง พระราชกฤษฎีกาเบี้ยประชมุ กรรมการ พ.ศ.๒๕๔๗ และใหใ ชความตอไปน้ีแทน
“คณะอนุกรรมการ” หมายความวา คณะอนกุ รรมการซงึ่ ไดร บั แตงตั้งโดยบทบัญญัติ
แหง กฎหมาย ประกาศพระบรมราชโองการ หรอื ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรซี ง่ึ ออกตามกฎหมาย
วาดวยระเบียบบริหารราชการแผนดิน หรือโดยประธานรัฐสภา ประธานสภาผูแทนราษฎร

๔๙

ประธานวฒุ สิ ภา คณะรฐั มนตรี นายกรฐั มนตรใี นฐานะหัวหนารัฐบาล หรือรฐั มนตรเี จาสังกดั ซึง่
ไดรบั อนุมัติจากคณะรฐั มนตรี หรอื โดยคณะกรรมการท่ีมกี ารกาํ หนดอาํ นาจหนา ทีใ่ หแ ตงตง้ั คณะ
อนกุ รรมการได”

มาตรา ๕ ใหย กเลกิ ความใน (๑) ของมาตรา ๖ แหงพระราชกฤษฎกี าเบ้ียประชมุ
กรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗ และใหใชความตอ ไปนแี้ ทน

“(๑) เบยี้ ประชมุ เปนรายเดอื น สําหรบั กรรมการในคณะกรรมการซึง่ ไดร บั แตงตัง้
และกําหนดองคป ระกอบและอํานาจหนา ทไี่ วโดยบทบัญญตั แิ หงกฎหมาย ประกาศพระบรม
ราชโองการ หรือระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรีซ่งึ ออกตามกฎหมายวาดวยระเบยี บบรหิ ารราชการ
แผน ดิน ซึ่งมภี าระหนาทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบสงู ปฏิบตั งิ านในดานการกําหนดนโยบายอนั มีผล
กระทบตอการบรหิ าร เศรษฐกิจหรือสังคมในภาพรวมของประเทศ ท้งั น้ี ตามรายชื่อคณะกรรมการ
และอตั ราเบี้ยประชมุ ที่รฐั มนตรปี ระกาศกาํ หนด”

มาตรา ๖ ใหเ พิ่มความตอ ไปน้ีเปนมาตรา ๑๕/๑ แหงพระราชกฤษฎกี าเบีย้ ประชุม
กรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗

“มาตรา ๑๕/๑ การเบิกจายเบี้ยประชุมใหเปนไปตามวิธีการท่ีกระทรวงการคลัง
กําหนด”

มาตรา ๗ ใหกรรมการในคณะกรรมการตามมาตรา ๖ (๑) และอนกุ รรมการใน
คณะอนุกรรมการตามมาตรา ๗ (๑) แหง พระราชกฤษฎกี าเบ้ียประชุมกรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ได
รับเบี้ยประชุมเปนรายเดือนตามเดิมไปจนกวารัฐมนตรีจะประกาศกําหนดรายชื่อคณะกรรมการ
และอตั ราเบ้ียประชุมตามมาตรา ๖ (๑) แหง พระราชกฤษฎีกาเบ้ยี ประชมุ กรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗
ซึ่งแกไ ขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎกี าน้ี

มาตรา ๘ ใหรฐั มนตรวี า การกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชกฤษฎีกาน้ี
ผูรบั สนองพระบรมราชโองการ

ยิ่งลกั ษณ ชนิ วัตร
นายกรัฐมนตรี

______________________________________________________________________________
หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใชพระราชกฤษฎกี าฉบบั นี้ คอื เน่ืองจากพระราชกฤษฎกี า
เบย้ี ประชุมกรรมการ พ.ศ. ๒๕๔๗ ไดใชบ ังคบั มาเปนเวลานาน สมควรปรบั ปรุงหลกั เกณฑก าร
เบกิ จา ยเบย้ี ประชมุ กรรมการ เพอ่ื ใหก ารเบกิ จา ยเบย้ี ประชมุ กรรมการมปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสม
ยง่ิ ขึ้น จงึ จาํ เปน ตองตราพระราชกฤษฎกี าน้ี

๕๐

ดวนทส่ี ดุ (สําเนา)
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๑๔๙
กระทรวงการคลงั
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๔ ธนั วาคม ๒๕๕๕

เรอ่ื ง การเบกิ คายากลโู คซามีนซลั เฟต
เรยี น อธบิ ดีกรมที่ดนิ
อางถึง หนังสือกระทรวงการคลงั ดว นที่สุด ท่ี กค ๐๔๒๒.๒/ว ๑๒๙ ลงวันท่ี ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕

ตามหนงั สอื ทอ่ี า งถงึ กระทรวงการคลงั ไดช ะลอการหา มเบกิ จา ยคา ยากลโู คซามนี
ซัลเฟต และใหผูมีสิทธิเบิกคายากลูโคซามีนซัลเฟตตามแนวทางการใชยาของราชวิทยาลัย
แพทยออรโ ธปด กิ สแ หง ประเทศไทย โดยถือปฏบิ ัติตามหนงั สือกระทรวงการคลัง ดว นท่สี ุด ท่ี กค
๐๔๒๒.๒/ว ๖๒ ลงวนั ท่ี ๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๕๔ ไดต อไปจนถงึ วนั ท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๕ นน้ั

กระทรวงการคลังพิจารณาแลว ขอเรียนวา เนื่องจากปจจุบันคณะรัฐมนตรี
ไดแ ตงตัง้ คณะกรรมการกาํ หนดระบบบรหิ ารยา เวชภณั ฑ การเบกิ จายคา ตรวจวนิ จิ ฉัย และ
คาบริการทางการแพทยเพ่ือทําหนาท่ีจัดทําแนวทางการบริหารยาระบบประกันสุขภาพของ
ประเทศ กระทรวงการคลงั จึงไดเสนอเรอ่ื งการเบิกจา ยคา ยากลโู คซามนี ซัลเฟตใหคณะกรรมการ
ดงั กลา วพิจารณา ซ่งึ คณะกรรมการฯ ไดม มี ตวิ า การเบิกจา ยคายาดงั กลา วตองเปน ไปตามขอบง ชี้
ทางการแพทย และคณะกรรมการฯ ไดม อบหมายใหกรมการแพทยพ ิจารณาปรับปรงุ ขอ บงช้ี
การใชยากลูโคซามีนซลั เฟตใหเ หมาะสมยิ่งขึ้น แตโ ดยที่ระยะเวลาทีก่ ระทรวงการคลงั ขยายใหผู
มีสทิ ธิสามารถเบกิ คายากลูโคซามีนซัลเฟตใกลจ ะสิน้ สดุ ลง ดังนนั้ จึงเหน็ สมควรขยายระยะเวลา
การเบกิ คายาดงั กลา ว โดยใหผมู สี ทิ ธิเบกิ คายากลโู คซามีนซัลเฟตตอไปได จนกวาจะไดม ีการ
เวียนแจงหลักเกณฑใ หม

จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบ และแจงใหเ จาหนา ท่ีทเี่ ก่ยี วของทราบและถือปฏิบตั ิ
ตอ ไป

ขอแสดงความนบั ถือ
(ลงชอื่ ) สุภา ปยะจิตติ

(นางสาวสภุ า ปยะจิตติ)
รองปลดั กระทรวงการคลงั
หวั หนากลมุ ภารกิจดา นรายจา ยและหน้ีสิน
ปฏบิ ตั ิราชการแทน ปลดั กระทรวงการคลงั
กรมบญั ชีกลาง สํานกั มาตรฐานคาตอบแทนและสวัสดกิ าร
กลุม งานสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลขา ราชการ โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๐๐๐ ตอ ๔๔๔๑
๕๑

(สําเนา)

ดว นทสี่ ุด กรมบัญชีกลาง
ท่ี กค ๐๔๐๙.๓ / ว ๔๘๓ ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๔ ธนั วาคม ๒๕๕๕

เรื่อง แนวปฏบิ ตั กิ ารขอเบิกเงินกรณีโอนสทิ ธิการรบั เงินผาน GFMIS Web Online
เรียน อธบิ ดีกรมทด่ี นิ
อา งถึง หนงั สอื กรมบญั ชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๙.๓/ว ๒๑๓ ลงวนั ที่ ๒๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๔
สง่ิ ทีส่ ง มาดวย แนวปฏบิ ตั กิ ารขอเบิกเงินกรณโี อนสิทธิการรบั เงินผา น GFMIS Web Online

จํานวน ๑ ชดุ (สามารถดาวนโ หลดไดจ ากเวบ็ ไซตข องกรมบัญชีกลาง
www.cgd.go.th)

ตามหนังสอื ทีอ่ างถึง ไดจ ดั ทําคูม ือการปฏบิ ัติงานระบบเบิกจายเงนิ ผาน GFMIS
Web Online ใหส ว นราชการถอื ปฏิบัตเิ ปน แนวทางเดียวกนั นั้น

กรมบัญชีกลางขอเรียนวา คูมือดังกลาวยังมิไดรวมถึงการบันทึกรายการ
ขอเบิกเงินกรณีโอนสิทธิการรับเงิน ซ่ึงขณะนี้ กรมบัญชีกลางไดพัฒนาระบบงานใหสามารถ
ดําเนินการผา น GFMIS Web Online พรอ มกบั กาํ หนดแนวปฏบิ ตั ิการขอเบกิ เงินกรณีโอนสิทธิ
การรบั เงนิ ผาน GFMIS Web Online เรยี บรอ ยแลว รายละเอยี ดปรากฏตามส่ิงที่สง มาดว ย

จึงเรยี นมาเพื่อโปรดทราบ และแจง ใหเ จา หนา ทีท่ ่เี กย่ี วของถอื ปฏิบตั ิ ต้งั แตวันท่ี
๑ มกราคม ๒๕๕๖ เปนตน ไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงช่อื ) กิตตมิ า นวลทวี

(นางกิตติมา นวลทวี)
รองอธบิ ดี ปฏิบัติราชการแทน

อธิบดกี รมบัญชกี ลาง

สาํ นกั กาํ กบั และพฒั นาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครฐั แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส
กลุมงานกาํ กบั และพัฒนาระบบงาน
โทรศพั ท ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๖๕๒๖
โทรสาร ๐ ๒๒๗๑ ๒๑๔๕

๕๒

ดวนทส่ี ุด (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๐๖.๔ / ว ๕
กระทรวงการคลัง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๑๔ มกราคม ๒๕๕๖

เร่อื ง มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับอตั ราคาจางข้ันตํ่าป ๒๕๕๖
เรียน ปลัดกระทรวงมหาดไทย

ตามทค่ี ณะรัฐมนตรมี ีมติเม่อื วันท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ รบั ทราบประกาศ
คณะกรรมการคา จาง เรอื่ ง อัตราคา จางขนั้ ตา่ํ (ฉบบั ที่ ๗) ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๕๕ ซึ่งกาํ หนด
อตั ราคา จา งขัน้ ตา่ํ ทั่วประเทศเปน วันละสามรอยบาท โดยประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาใหม ผี ล
ใชบ งั คับตัง้ แตวนั ที่ ๑ มกราคม ๒๕๕๖ เปน ตนไป และคณะกรรมการรว มภาครัฐและเอกชน
เพ่ือพิจารณามาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรบั อตั ราคาจางขัน้ ตํา่ ป ๒๕๕๖ และเพ่มิ ขีด
ความสามารถของผูประกอบการธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม (SMEs) ซ่ึงมรี องนายกรัฐมนตรี
(นายกติ ตริ ตั น ณ ระนอง) เปน ประธานกรรมการไดม กี ารประชมุ และมมี ตมิ อบหมายใหส ว นราชการ
ตา งๆ ดาํ เนนิ การตามมาตรการดังกลา ว โดยหน่ึงในมาตรการทีเ่ กี่ยวของกับกระทรวงการคลงั
ไดแ ก มาตรการปรับเพิ่มอตั ราคาใชจ า ยในการจดั ประชมุ สมั มนาของสว นราชการ นนั้

กระทรวงการคลังพิจารณาแลว ขอเรยี นวา เพื่อเปนการบรรเทาผลกระทบจาก
การปรบั อัตราคา จางข้นั ต่าํ เปน วันละสามรอยบาท และเพิ่มขดี ความสามารถของผูป ระกอบการ
ธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ ม (SMEs) ประกอบกบั เพอ่ื ใหสอดคลอ งกบั มตคิ ณะกรรมการรว ม
ภาครัฐและเอกชน ในการปรับเพิ่มอัตราคาใชจายในการจัดประชุมสัมมนาของสวนราชการ
จึงเหน็ สมควรปรบั เพิ่มอตั ราคา อาหารและคาเชา ทพี่ ักในการฝกอบรมภายในประเทศ ดังนี้

๑. คา อาหาร

ประเภทการฝกอบรม ฝก อบรมในสถานท่ขี องสว นราชการ/ ฝกอบรมในสถานท่ีเอกชน
รฐั วิสาหกิจ/หนวยงานอ่นื ของรฐั (บาท/วัน/คน)
๑. การฝก อบรมประเภท ก (บาท/วัน/คน)
๒. การฝกอบรมประเภท ข
จดั ครบทุกมื้อ จดั ไมครบทกุ มอ้ื จัดครบทุกม้ือ จัดไมครบทุกมือ้

ไมเกนิ ๘๕๐ ไมเ กนิ ๖๐๐ ไมเกิน ๑,๒๐๐ ไมเ กิน ๘๕๐

ไมเ กนิ ๖๐๐ ไมเกนิ ๔๐๐ ไมเ กนิ ๙๕๐ ไมเกนิ ๗๐๐

๕๓

๒. คาเชา ท่ีพัก คา เชาหอ งพักคนเดียว คาเชา หอ งพกั คู
(บาท/วนั /คน) (บาท/วัน/คน)
ประเภทการฝกอบรม
ไมเ กนิ ๒,๔๐๐ ไมเกิน ๑,๓๐๐
๑. การฝกอบรมประเภท ก ไมเกนิ ๑,๔๕๐ ไมเ กิน ๙๐๐
๒. การฝกอบรมประเภท ข

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงใหหนวยงานที่เกี่ยวของเพ่ือทราบและ
ถือปฏิบัติตอไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชอื่ ) สภุ า ปยะจติ ติ

(นางสาวสุภา ปย ะจิตติ)
รองปลดั กระทรวงการคลัง
หัวหนา กลุม ภารกจิ ดานรายจา ยและหนส้ี นิ
ปฏบิ ตั ิราชการแทน ปลดั กระทรวงการคลัง

กรมบัญชกี ลาง
สํานักกฎหมาย
กลุมงานกฎหมายและระเบยี บดานคา ใชจายในการบรหิ าร
โทร. ๐-๒๑๒๗-๗๒๖๐

๕๔

(สาํ เนา)

ดว นที่สดุ
สวนราชการ กระทรวงมหาดไทย สํานักงานปลัดกระทรวง สํานักนโยบายและแผน โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๕๒๔๗

ท่ี มท ๐๒๑๑.๒ / ว ๕๓๕ วันที่ ๕ กุมภาพันธ ๒๕๕๖

เรอ่ื ง มตคิ ณะรัฐมนตรีท่ีเก่ยี วของกบั กระทรวงมหาดไทยและจังหวดั

เรยี น ผบู ริหารสวนราชการระดับกรมในสงั กดั กระทรวงมหาดไทย

ตามทก่ี ระทรวงมหาดไทยไดแ จง แนวทางปฏบิ ตั ติ ามขอ สง่ั การของนายกรฐั มนตรี
จากการประชมุ คณะรัฐมนตรีและมตคิ ณะรัฐมนตรีใหส ว นราชการทราบ นนั้

กระทรวงมหาดไทยขอเรยี นวา ในการประชมุ คณะรฐั มนตรี วนั ท่ี ๕ กุมภาพันธ
๒๕๕๖ มีมติคณะรฐั มนตรที ่เี กย่ี วขอ งกับกระทรวงมหาดไทยและจังหวัดในเรื่องมาตรการบรรเทา
ผลกระทบจากการปรับอตั ราคาจา งข้นั ต่าํ และเพม่ิ ขดี ความสามารถของผปู ระกอบการธุรกิจ
ขนาดกลางและขนาดยอ ม (SMEs) รายละเอียดปรากฏตามส่งิ ท่ีสงมาดว ย

จงึ เรยี นมาเพ่อื ทราบ

(ลงชอ่ื ) จรินทร จักกะพาก
(นายจรินทร จักกะพาก)

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ัติราชการแทน
ปลัดกระทรวงมหาดไทย

๕๕

แบบสรุปมติคณะรัฐมนตรที ี่เกี่ยวขอ งกบั กระทรวงมหาดไทยและจงั หวัด

หนว ยงาน / ประเดน็ การปฏิบตั ิ

ที่ มติ ครม.วนั ท่ี หนวยงานท่เี สนอ ชือ่ เร่ือง / สาระสําคัญ สวนกลาง ประเด็น สวนภูมิภาค ประเด็น
การปฏบิ ัติ การปฏบิ ตั ิ

๑ ๕ ก.พ. ๕๖ กระทรวงการคลัง มาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับอตั รา กรมใน เพื่อทราบ จังหวัด เพื่อทราบ
คาจางข้ันตํ่า และเพ่ิมขีดความสามารถของ สังกัด มท. ทุกจังหวัด
ผูประกอบการธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดยอม
(SMEs) / มติ ครม. เห็นชอบการปรับปรุงมาตรการ
ประหยัดในการเบิกจายตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่
๕๖ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ ในสวนของคาอาหารวาง
และเครื่องดื่มในการฝกอบรมและการประชุม และ
คาอาหาร ในการประชุม โดยเห็นชอบปรับอัตราเพิ่มขึ้น
เพื่อใหสวนราชการถือปฏิบัติ ดังนี้
๑. คาอาหารวางและเครื่องดื่มการฝกอบรมและ
การประชุม
๑.๑ อบรม/ประชุมในสถานที่ราชการเบิกได
ไมเกิน ๓๕ บาทตอมื้อตอคน
๑.๒ อบรม/ประชุมในสถานที่เอกชนเบิกได
ไมเกิน ๕๐ บาทตอมื้อตอคน
๒. คาอาหารในการประชุมเบิกไดไมเกิน ๑๒๐บาท
ตอมื้อตอคน

ดว นท่ีสุด (สาํ เนา)
ที่ กค ๐๔๒๐.๗ / ว ๗๔
กรมบญั ชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๖

เร่ือง การสง เรื่องขอรับบําเหนจ็ บํานาญ บาํ เหน็จลกู จา ง สาํ หรบั ผูท พ่ี น จากราชการเพราะ
เกษยี ณอายุ

เรยี น อธบิ ดีกรมทด่ี นิ
อางถงึ ๑. ระเบยี บกระทรวงการคลังวา ดวยการขอรับและการจา ยบาํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ

พ.ศ. ๒๕๒๗ และท่ีแกไขเพิ่มเติม
๒. หนงั สอื กระทรวงการคลงั ดว นทีส่ ุด ที่ กค ๐๔๒๐.๙/ว ๕๓ ลงวนั ที่ ๒๙ มถิ ุนายน ๒๕๕๒

ตามระเบยี บกระทรวงการคลังทอี่ า งถึง ๑ ขอ ๖ กําหนดใหขา ราชการท่ีพน จาก
ราชการเพราะเกษียณอายุ ใหย นื่ คําขอรบั บําเหน็จ บาํ นาญ ตอ สวนราชการเจาสังกดั ลวงหนาได
เปนเวลา ๘ เดอื น กอ นวนั ครบเกษยี ณอายุ ตามหลักเกณฑท ่กี รมบญั ชีกลางกําหนด และขอ ๑๖
ใหเ จา หนาท่ผี ูรบั ผดิ ชอบกรอกขอ ความในแบบคําขอรบั บาํ เหน็จบาํ นาญใหค รบถวน และรวบรวม
หลกั ฐานเก่ยี วกบั การขอรบั บําเหนจ็ บํานาญ แลวเสนอหัวหนาสว นราชการ หรอื ผวู า ราชการ
จังหวัด แลวแตกรณี ลงนามในแบบคําขอแลวสงไปยังสํานักบริหารการรับ – จายเงินภาครัฐ
กรมบญั ชีกลาง หรือสํานกั งานคลงั เขตในกรณหี นวยงานท่ตี ง้ั อยใู นสว นภมู ภิ าคภายในสามสบิ วนั
นับแตวันรับเรื่อง พรอมท้ังสงขอมูลที่บันทึกและแบบคําขอรับเงินดังกลาวผานระบบบําเหน็จ
บํานาญ ตามหนังสอื ทอี่ า งถึง ๒ น้นั

กรมบัญชีกลางพจิ ารณาแลว ขอเรยี นวา การสงเรื่องการขอรบั เงินบาํ เหนจ็
บาํ นาญ บาํ เหนจ็ ลกู จาง ผทู ่เี กษยี ณอายขุ องสว นราชการ สว นใหญจ ะสงในชว งสน้ิ ปงบประมาณ
เน่อื งจากรอคําสง่ั เลอื่ นขัน้ เงินเดอื นหรอื เลือ่ นคา จาง ณ วันที่ ๑ เมษายน หรอื วนั ท่ี ๓๐ กนั ยายน
ของปที่พนจากราชการเพราะเกษียณอายุ สงผลใหผูรับบําเหน็จบํานาญและบําเหน็จลูกจาง
ไดรับความเดือดรอนจากการไมไดรับเงินตอเน่ืองหลังจากที่เกษียณอายุหรือออกจากราชการ
รวมทัง้ เกดิ ผลเสียตอสิทธิประโยชนต า งๆ เชน การไมสามารถใชสิทธเิ บิกเงนิ คา รักษาพยาบาล
ตอเนอ่ื งได เปนตน ดงั นัน้ เพอื่ มิใหเกิดความเดือดรอ นแกบคุ คลดงั กลาว จงึ ขอใหสวนราชการ
ดําเนินการ ดังนี้

๑. ใหนายทะเบียนบคุ ลากรภาครฐั หรือนายทะเบยี นบาํ เหน็จบํานาญ ตรวจสอบ
รายชือ่ ขาราชการและลูกจางประจําผทู ่จี ะพน จากราชการเพราะเกษียณอายุ ไดท่เี ว็บไซตของ
กรมบญั ชีกลาง ระบบงานนายทะเบยี นคารกั ษาพยาบาล หรือระบบงานบาํ เหนจ็ บํานาญ/บาํ เหน็จ

๕๗

คํา้ ประกัน > ระบบทะเบยี นประวตั ิ > รายงาน > พมิ พร ายงานรายละเอยี ดบุคคลทเ่ี กษยี ณอายุ

ราชการ โดยเลอื กปงบประมาณ และตรวจสอบรายชื่อผูทจี่ ะพนจากราชการเพราะเกษยี ณอายุ
ของหนว ยงานใหเ สรจ็ ภายในเดือนกมุ ภาพันธ พรอ มทงั้ แจง ใหผ ูท่ีจะพน จากราชการเพราะ
เกษียณอายขุ องหนว ยงาน ย่นื เรอ่ื งขอรับบําเหน็จ บาํ นาญ ตั้งแตเดอื นกุมภาพันธ แตอยางชา
ไมเ กนิ เดอื นกรกฎาคมของปท พ่ี น จากราชการเพราะเกษยี ณอายุ หากพบรายชอ่ื ของบคุ คลใด
ไมอ ยใู นความรบั ผดิ ชอบ ขอใหเ รง ดาํ เนนิ การโอนฐานขอ มลู ใหแ กห นว ยงานทร่ี บั ผดิ ชอบดาํ เนนิ การ
โดยดว น

๒. การสงเรอ่ื งขอรับเงิน
๒.๑ บําเหนจ็ บาํ นาญปกติ และบําเหน็จลูกจา ง ใหส วนราชการบนั ทกึ ขอมลู

และสง แบบคาํ ขอรับเงินดงั กลาว ผานระบบบาํ เหนจ็ บาํ นาญ พรอมหลกั ฐานท่เี ก่ียวขอ ง ตาม
หนังสอื ท่อี า งถึง ๒ ใหก รมบญั ชกี ลาง สาํ นกั บริหารการรบั – จา ยเงินภาครัฐ หรอื สาํ นักงานคลงั เขต
แลว แตก รณี ลว งหนาตั้งแตเ ดือนกุมภาพนั ธ แตอ ยา งชา ไมเ กนิ เดอื นกรกฎาคมของปท พ่ี น
จากราชการเพราะเกษียณอายุ

๒.๒ กรณีไมสามารถสงสําเนาคําส่ังเลื่อนขั้นเงินเดือนหรือเลื่อนเงินเดือน
หรอื เลื่อนคาจาง เพือ่ ประโยชนในการคํานวณบําเหน็จบํานาญ ตามที่ระบุในหนังสอื ที่อา งถึง ๒
ใหสวนราชการบันทึกขอมูลเกี่ยวกับเงินเดือนเดือนสุดทายหรือเงินเดือนเฉล่ียหกสิบเดือนสุดทาย
ตามอัตราเงนิ เดือนลา สุดที่สว นราชการบนั ทกึ ในสมดุ ประวัตหิ รือแฟม ประวตั ิ หรือคาจา งเดือน
สุดทาย ตามบัตรลูกจางประจํารายชื่อแลวแตกรณี เพื่อใหกรมบัญชีกลาง สํานักบริหาร
การรับ – จา ยเงินภาครัฐ หรือสํานักงานคลงั เขต สั่งจายตามอัตราเงินเดือน หรอื อตั ราคา จาง
ดังกลา วไปพลางกอน

ทัง้ น้ี เมอื่ สว นราชการออกคําส่งั เลอื่ นขน้ั เงนิ เดือนหรอื เลือ่ นคาจาง ณ วนั ท่ี ๑
เมษายน หรอื วันท่ี ๓๐ กันยายน ของปท ี่พน จากราชการเพราะเกษยี ณอายเุ สร็จเรยี บรอ ยแลว
ใหบันทกึ ขอ มูลและย่นื เรอื่ งขอรบั เงินเพมิ่ โดยแนบสาํ เนาคําสั่งเลื่อนข้ันเงินเดอื น หรือเลื่อนคา จา ง
ดงั กลาว พรอมแบบคําขอรบั เงิน (แบบ ๕๓๑๖) เพื่อกรมบัญชกี ลาง สํานกั บริหารการรับ – จา ยเงนิ
ภาครฐั หรือสาํ นักงานคลงั เขต จะไดส่งั จายเงนิ เพ่มิ ใหแ กผ มู สี ิทธริ ายนั้นตอไป

จึงเรียนมาเพ่อื โปรดทราบ และแจงใหเ จาหนา ทผ่ี รู บั ผดิ ชอบถอื ปฏิบตั ติ อไปดว ย

ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงชือ่ ) มนสั แจม เวหา
สํานกั บรหิ ารการรบั – จายเงินภาครฐั (นายมนสั แจมเวหา)
สว นบรหิ ารการจา ยเงนิ ๒ อธบิ ดีกรมบญั ชีกลาง
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๒๔๘ ๔๒๕๐ ๔๒๕๑
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๑๓๓

๕๘

(สําเนา)

ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๗๖ กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๕๖

เร่ือง การกาํ หนดใหสถาบนั พัฒนาการเดก็ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเปนสถานพยาบาลของ
ทางราชการ

เรียน อธิบดกี รมท่ดี ิน

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ แหง พระราชกฤษฎกี าเงนิ สวัสดกิ ารเกี่ยวกับ
การรักษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ และทีแ่ กไ ขเพิม่ เติม กาํ หนดให “สถาบันพัฒนาการเด็กภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ” เปนสถานพยาบาลของทางราชการตามท่ีกระทรวงการคลังกําหนด ซึง่ ผมู ี
สิทธิสามารถนําคาใชจายในการรักษาพยาบาลที่สถาบันพัฒนาการเด็กภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เรียกเก็บ ยน่ื ขอใชส ิทธิเบกิ เงินคารกั ษาพยาบาลจากทางราชการได

จงึ เรียนมาเพ่อื โปรดแจง ใหผ ูมสี ทิ ธิ และเจาหนาที่ทีเ่ กีย่ วของทราบและถือปฏบิ ตั ิ
ตอไปดวย จักขอบคณุ ยิง่

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชื่อ) มนัส แจม เวหา

(นายมนัส แจมเวหา)
อธบิ ดีกรมบญั ชีกลาง

สาํ นกั มาตรฐานคา ตอบแทนและสวัสดกิ าร
กลมุ งานสวสั ดิการรกั ษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๑๕๗

๕๙

ท่ี รง ๐๖๒๓ / ว ๑๑๒ (สําเนา)
สาํ นักงานประกนั สงั คมกรุงเทพมหานครพื้นท่ี ๒
ลาดยาว จตุจกั ร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐

๑๒ มีนาคม ๒๕๕๖

เรื่อง การลดอตั ราเงินสมทบกองทนุ ประกนั สังคม พ.ศ. ๒๕๕๖
เรียน นายจางที่อยูในขายบังคบั ตามพระราชบัญญัตปิ ระกันสงั คม

ดวยกฎกระทรวง กาํ หนดอตั ราเงนิ สมทบกองทุนประกันสงั คม พ.ศ. ๒๕๕๖
ฉบับลงวนั ท่ี ๒๗ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๖ ใชบังคับตัง้ แตว นั ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๖ กาํ หนดใหลดอัตรา
เงนิ สมทบนายจา งและผูประกนั ตนจากเดมิ ในอัตรารอ ยละ ๕ เปนดงั น้ี

งวดคา จางเดือนมกราคม – ธันวาคม ๒๕๕๖ ในอตั ราฝา ยละ รอ ยละ ๔ ของ
คาจา งดงั นี้

– เงนิ สมทบเพอ่ื การจา ยประโยชนท ดแทนกรณปี ระสบอนั ตรายหรอื เจบ็ ปว ย
กรณคี ลอดบตุ ร กรณีทพุ พลภาพ และกรณตี าย ใหจา ยฝา ยละ รอยละ ๐.๕ ของคาจาง

– เงินสมทบเพอ่ื การจา ยประโยชนทดแทนกรณีสงเคราะหบ ตุ ร และกรณี
ชราภาพใหจ า ยในอตั ราเดมิ คอื ฝา ยละ รอยละ ๓.๐ ของคาจา ง

– เงนิ สมทบเพอ่ื การจา ยประโยชนท ดแทนกรณวี า งงาน ใหจ า ยในอตั ราเดมิ
คือฝายละ รอยละ ๐.๕ ของคาจาง

ท้งั น้ี การนําสง เงนิ สมทบกองทุนประกนั สังคม ต้ังแตง วดคา จาง เดือนมกราคม
๒๕๕๗ เปน ตน ไป ใหน าํ สงในอตั ราฝา ยละ รอ ยละ ๕ ของคา จา ง ดังเดิม

จงึ เรยี นมาเพอื่ ทราบ

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชื่อ) อารมย พรหมสามพราน

(นางอารมย พรหมสามพราน)
ผอู ํานวยการสํานักงานประกนั สังคมกรุงเทพมหานครพน้ื ที่ ๒

สว นงานเงินสมทบและการตรวจสอบ
โทร. ๐ ๒๙๕๔ ๒๕๗๗ ตอ ๑๔๐ – ๑๕๙
โทรสาร ๐ ๒๙๕๔ ๒๕๗๗

๖๐

ดว นที่สดุ (สําเนา)
ท่ี กค ๐๔๐๖.๕ / ว ๑๖๒
กรมบญั ชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖

เรอื่ ง เพมิ่ เติมหลกั เกณฑแ ละวธิ ีปฏบิ ัตใิ นการขอรบั และการออกหนงั สอื รบั รองสทิ ธิในบําเหนจ็
ตกทอดเพ่อื ใชเปนหลกั ทรัพยประกนั การกูเงิน และการหกั เงินบํานาญเพ่ือชําระคนื เงินกู
ใหแกสถาบนั การเงนิ

เรียน อธิบดกี รมท่ดี นิ
อางถึง หนงั สอื กรมบัญชกี ลาง ดวนทส่ี ุด ที่ กค ๐๔๐๖.๕/ว ๑๙๔ ลงวันที่ ๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๕๔
สิ่งทสี่ งมาดว ย แบบคํารองขอรบั หนังสือรับรองสิทธิในบาํ เหน็จตกทอดเพ่อื ใชเ ปนหลักทรพั ย

ประกนั การกเู งิน

ตามทก่ี รมบญั ชกี ลางไดม หี นงั สอื แจง เวยี นสว นราชการตา งๆ ใหถ อื ปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั
หลักเกณฑการขอรับและการออกหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปนหลักทรัพย
ประกนั การกูเงินตามหนงั สอื กรมบัญชีกลาง ดว นทส่ี ดุ ท่ี กค ๐๔๐๖.๕/ว ๑๙๔ ลงวันท่ี ๑๕
มิถุนายน ๒๕๕๔ เร่ือง หลกั เกณฑและวธิ ปี ฏบิ ัติในการขอรบั และการออกหนังสือรบั รองสทิ ธิ
ในบาํ เหนจ็ ตกทอดเพอ่ื ใชเ ปน หลกั ทรพั ยป ระกนั การกเู งนิ และการหกั เงนิ บาํ นาญเพอ่ื ชาํ ระคนื เงนิ กู
ใหแกส ถาบันการเงินนั้น ในทางปฏิบตั ิปรากฏวา มผี ูรบั บาํ นาญซ่ึงไดก ลับเขารับราชการใหม
ไดขอหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปนหลักทรัพยประกันการกูเงินตามโครงการ
กูเงินกับสถาบันการเงิน โดยนําบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยประกันการกูเงิน (บําเหน็จ
คํ้าประกัน) ซงึ่ บคุ คลดังกลา วมใิ ชผูท มี่ สี ิทธิขอรบั หนงั สอื รับรองสทิ ธิในบําเหน็จตกทอด เนอ่ื งจาก
ขณะท่ีขอรับหนังสือรับรองสิทธิดังกลาวไมมีสถานะเปนผูรับบํานาญแตมีสถานะเปนขาราชการ
กรณจี งึ ไมเ ปน ไปตามบทบญั ญตั ขิ องมาตรา ๔๗/๒ แหง พระราชบญั ญตั บิ าํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ
พ.ศ. ๒๔๙๔ และมาตรา ๕๗/๒ แหงพระราชบัญญัติกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ
พ.ศ. ๒๕๓๙ ที่บัญญัติใหผูรับบํานาญปกติและผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพอาจนํา
สิทธิในบาํ เหนจ็ ตกทอดไปเปนหลักทรัพยใ นการประกันการกูเงนิ กับสถาบันการเงนิ ได

กรมบัญชกี ลาง ขอเรยี นวา เพอ่ื ใหก ารออกหนงั สอื รบั รองสิทธใิ นบาํ เหนจ็ ตกทอด
เพ่ือใชเปน หลกั ทรพั ยป ระกนั การกูเงนิ เปน ไปตามบทบญั ญัตแิ หงกฎหมาย กรมบัญชีกลาง จงึ ขอ
เพิ่มเติมหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติในการขอรับและการออกหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอด

๖๑

เพอื่ ใชเ ปนหลกั ทรัพยประกันการกูเ งนิ และการหักเงินบาํ นาญเพ่ือชําระคืนเงินกูใ หแ กส ถาบนั
การเงนิ ในแบบคาํ รองขอรับหนังสอื รบั รองสทิ ธใิ นบาํ เหน็จตกทอดเพ่ือใชเ ปนหลักทรพั ยป ระกนั
การกเู งนิ ขอ ๖ ใหผ ูร บั บํานาญที่จะใชสทิ ธขิ อรบั หนงั สือรบั รองสทิ ธิในบําเหน็จตกทอดเพ่อื ใชส ทิ ธิ
ในบาํ เหน็จค้ําประกันรับรองวา เปนผูรับบํานาญปกตหิ รือผรู ับบํานาญพิเศษ เพราะเหตุ
ทุพพลภาพในขณะที่ขอหนงั สือรับรองฯ และในขณะท่ีนําหนงั สอื รบั รองฯ ฉบับนไ้ี ปใชสิทธิกูเงิน
กับสถาบันการเงนิ ทัง้ น้ี กาํ หนดใหเริ่มใชแบบคํารอ งนต้ี ัง้ แตว นั ท่ี ๑ มิถนุ ายน ๒๕๕๖ เปน ตน ไป

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและแจงใหเจาหนาท่ีที่เก่ียวของทราบและถือปฏิบัติ
ตอไป

ขอแสดงความนับถอื
(ลงช่อื ) มนัส แจมเวหา

(นายมนสั แจมเวหา)
อธบิ ดีกรมบญั ชีกลาง

สํานกั กฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๒๖๔
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๒๖๗

๖๒

แบบคาํ รอ งขอรบั หนงั สอื รบั รองสทิ ธใิ นบาํ เหนจ็ ตกทอดเพอ่ื ใชเ ปน หลกั ทรพั ยป ระกนั การกเู งนิ

เขียนท.่ี .................................................
วันที.่ .....................................................
ขา พเจา .............................................................................................................ผูรับบํานาญ
เลขประจาํ ตัวประชาชน.............................................วัน เดือน ป เกิด.......................................อาย.ุ ..........ป
ท่อี ยตู ามบัตรประชาชน บา นเลขที่....................................ตําบล/แขวง.........................................................
อําเภอ/เขต......................................................................จังหวัด................................................................
รหัสไปรษณีย..................................................................โทรศพั ท..............................................................
มีความประสงคข อรบั หนังสอื รบั รองสิทธิในบําเหนจ็ ตกทอดเพอ่ื ใชเ ปน หลักทรพั ยป ระกนั การกูเ งิน
กรณี ■ ๑. ขอหนังสือรับรองครัง้ แรก
■ ๒. ขอหนงั สอื รบั รองฉบับใหมเ นื่องจาก
● ฉบับเดิมสูญหาย พรอมแนบหลักฐานการแจงความมาดว ยแลว
● ฉบับเดิมชํารุด พรอมแนบหนงั สอื รับรองฉบับเดิมมาดวยแลว
● สทิ ธใิ นบาํ เหนจ็ ตกทอดเพอ่ื ใชเ ปน หลกั ทรพั ยป ระกนั การกเู งนิ เพม่ิ ขน้ึ หรอื ลดลง
● ยกเลกิ การขอกหู รอื สถาบนั การเงนิ ไมอ นมุ ตั ใิ หก แู ละไมค นื หนงั สอื รบั รอง
ทอ่ี ยเู พอื่ จัดสงหนงั สอื รบั รอง บา นเลขที.่ ..............................ตําบล/แขวง.......................................................
อําเภอ/เขต.......................................................................จงั หวัด...............................................................
รหัสไปรษณีย....................................................................
ขาพเจาขอรับรองวา
๑. ขาพเจา ■ มีทายาทผูมีสิทธิรับบําเหน็จตกทอดตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ และไดแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดไวตอสวนราชการตนสังกัดตามแบบและวิธีการท่ี
กระทรวงการคลงั กําหนดแลว
■ ไมมีทายาทผูมีสิทธิรับบําเหน็จตกทอดตามกฎหมายวาดวยบําเหน็จบํานาญ
ขาราชการ แตไดแสดงเจตนาระบุตัวผูรับบําเหน็จตกทอดไวตอสวนราชการตนสังกัดตามแบบและวิธีการท่ี
กระทรวงการคลังกาํ หนดแลว
๒. ขาพเจา ไมมีกรณที ต่ี อ งทาํ ประกนั ในการขอรับบาํ นาญตามท่ีกระทรวงการคลงั กําหนด และ
ไมอยใู นระหวางถูกอายดั บาํ นาญตามคําพพิ ากษาหรือคําสั่งศาล
๓. ขาพเจาแจงใหบุคคลผูมีสิทธิจะไดรับบําเหน็จตกทอด ไดทราบถึงการนําสิทธิในบําเหน็จ
ตกทอดไปเปน หลกั ทรพั ยในการประกนั การกูเงินแลว
๔. ขาพเจายินยอมใหสวนราชการผูเบิกหักบํานาญรายเดือน เพื่อชําระคืนเงินกูใหแก
สถาบนั การเงินตามสญั ญากูเงนิ
๕. ขาพเจายินยอมใหเปดเผยขอมูลสวนบุคคลเพ่ือประโยชนในการนําสิทธิในบําเหน็จตกทอด
ไปเปนหลกั ทรพั ยในการประกันการกเู งนิ
๖. ขาพเจาเปนผูรับบํานาญปกติหรือผูรับบํานาญพิเศษเพราะเหตุทุพพลภาพในขณะที่ขอ
หนังสือรับรองฯ และขณะที่นําหนังสือรับรองฯ ฉบับนี้ไปใชสิทธิในบําเหน็จตกทอดไปเปนหลักทรัพยในการ
ประกันการกเู งนิ
ลงช่ือ ......................................................ผูย่นื คาํ รอ ง
( ......................................................)

๖๓

สาํ หรบั สว นราชการผเู บิก
ขา พเจา..........................................................................ตําแหนง........................................

ขอรับรองวา ขอมลู ในคาํ รอ งนีถ้ กู ตองและครบถว น
ลงชื่อ ............................................................
(..........................................................)

ตําแหนง ............................................................
วันที่ ............................................................

หมายเหตุ ทําเคร่ืองหมาย ✓ ในชอง ■ และชอ ง ● หนา ขอความทีใ่ ช

๖๔

ดว นทส่ี ดุ (สําเนา)
ท่ี กค ๐๔๒๗ / ว ๒๑๐
กรมบัญชกี ลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐
๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๖

เร่ือง ซอ มความเขา ใจแนวทางปฏิบตั ิในการจัดตง้ั ทุนหมนุ เวียน
เรยี น อธบิ ดกี รมทีด่ นิ
อา งถงึ หนังสือกรมบญั ชกี ลาง ดว นมาก ท่ี กค ๐๔๒๗/ว ๓๘๓ ลงวนั ท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๔

ตามหนงั สอื ท่ีอางถึง กรมบญั ชกี ลางไดเ วยี นแจง “กรอบคูมือการขอจดั ต้งั
ทนุ หมุนเวียนของทางราชการ” เพื่อใหหนวยงานของรัฐทป่ี ระสงคจะจดั ต้งั ทนุ หมุนเวียนไดศกึ ษา
และทําความเขาใจเกยี่ วกบั หลักการ กระบวนการ วิธปี ฏิบัติ การจดั เตรยี มขอมูล และขอ กําหนด
ท่เี กี่ยวของกับการจดั ตง้ั ทนุ หมุนเวียน รวมถงึ กฎหมาย ระเบียบท่เี กี่ยวของกับทนุ หมนุ เวยี น โดย
มสี าระสําคญั เก่ียวกบั มตคิ ณะรฐั มนตรเี มื่อวันท่ี ๒๖ สงิ หาคม ๒๕๕๑ ทเี่ หน็ ชอบรางแนวทางการ
จดั ต้งั ทนุ หมุนเวยี น เพื่อใหสวนราชการและหนว ยงานของรัฐท่ีประสงคจ ะขอจดั ตัง้ ทนุ หมุนเวียน
ตองเสนอเร่ืองใหคณะกรรมการกล่ันกรองการจัดต้ังทุนหมุนเวียนพิจารณากอนท่ีจะเสนอเรื่อง
ใหคณะรฐั มนตรีพจิ ารณา ความละเอียดแจง แลว นั้น

กรมบัญชีกลาง ขอเรียนวา หนวยงานของรัฐยังมีความเขาใจคลาดเคลื่อน
เก่ียวกับวิธปี ฏิบัติในการจดั ตั้งทนุ หมุนเวียน โดยมกี ารนาํ เสนอรา งกฎหมายท่ีมบี ทบัญญตั ิเรอื่ ง
การจัดต้ังทนุ หมนุ เวยี นเปน การเฉพาะ หรอื นาํ เสนอหลกั การในการขอจดั ตั้งทนุ หมุนเวยี นภายใต
พระราชบัญญัติงบประมาณรายจายประจําป โดยไมผานการพิจารณาจากคณะกรรมการ
กล่ันกรองการจัดต้ังทุนหมุนเวียนตามแนวทางที่กําหนด ซ่ึงสงผลตอกระบวนการพิจารณา
ของคณะรฐั มนตรี ดังนัน้ หากหนว ยงานของรัฐใดมีความประสงคจะขอจัดตัง้ ทนุ หมนุ เวยี น
โดยบัญญัติไวในรางกฎหมายหรือนําเสนอหลักการในการขอจัดตั้งทุนหมุนเวียนภายใตพระราช
บัญญตั งิ บประมาณรายจา ยประจาํ ป ตอ งเสนอเรื่องใหก รมบญั ชีกลางในฐานะฝายเลขานกุ าร
คณะกรรมการกลน่ั กรองการจดั ตง้ั ทนุ หมนุ เวยี นเพอ่ื นาํ เสนอคณะกรรมการฯ พจิ ารณาใหค วามเหน็
ในสวนท่ีเก่ียวของกอนนําความเห็นของคณะกรรมการฯ ประกอบการนําเสนอคณะรัฐมนตรี
พจิ ารณาตอ ไป ตามกรอบคมู ือการขอจดั ตง้ั ทนุ หมนุ เวยี นของทางราชการท่ีกําหนด

จงึ เรยี นมาเพ่อื โปรดทราบและถือปฏบิ ตั โิ ดยเครงครดั ตอไป
ขอแสดงความนับถอื

(ลงชอ่ื ) มนสั แจมเวหา
(นายมนัส แจม เวหา)
อธิบดกี รมบัญชีกลาง

สํานักกํากับและพฒั นาระบบเงนิ นอกงบประมาณ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๐๐๐ ตอ ๔๙๓๑ โทรสาร ๐๖๒๕๑๒๗ ๗๔๓๕

(สําเนา)
กองทนุ บาํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ
ท่ี กบข. ๖๐๒๐ / ๓๕๕๖ / ๓๘ / ๒๕๕๖

๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๖

เรอ่ื ง ซักซอ มความเขาใจเร่ืองหลกั เกณฑและวธิ ีการคนื เงนิ ขาราชการท่ีกลบั เขารับราชการใหม
เรยี น อธบิ ดีกรมท่ีดนิ
สิ่งทีส่ งมาดว ย ๑. ประกาศคณะกรรมการ กบข. เร่ืองหลักเกณฑและวธิ กี ารคืนเงนิ เขากองทนุ

บาํ เหนจ็ บํานาญขาราชการของขา ราชการท่กี ลบั เขา รบั ราชการใหม พ.ศ. ๒๕๕๑
๒. ตวั อยา งการกรอกแบบ กบข. จก ๐๐๑/๒๕๕๑

ดว ยกองทนุ บําเหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ (กบข.) ไดอ อกประกาศคณะกรรมการ
กบข. เรอื่ ง หลักเกณฑแ ละวธิ กี ารคนื เงนิ เขา กองทนุ บาํ เหน็จบํานาญขา ราชการของขา ราชการท่ี
กลบั เขา รับราชการใหม ซง่ึ มผี ลใชบงั คับแลว ต้ังแตวนั ที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๕๑ (ส่ิงท่ีสง มาดว ย ๑)
และ กบข. ไดอ อกหนังสือแจง เวียนไปยังสว นราชการทัว่ ประเทศไปแลว น้นั

โดยสาระสําคัญของประกาศฯ ดังกลา ว กําหนดใหส มาชกิ ซงึ่ ออกจากราชการ
เม่ือกลับเขารบั ราชการใหม หรือ ผูท่ีเคยโอนยายไปเปนขาราชการสวนทอ งถิน่ เมือ่ โอนกลบั
เขา รบั ราชการใหม ใหแ จงความประสงคเกี่ยวกับการนับหรอื ไมนับเวลาราชการ การคนื หรอื
ไมคืนเงินสะสม เงนิ สมทบและผลประโยชนของเงนิ ดังกลา ว ใหก องทนุ ฯ ทราบ โดยตอ งยื่นแบบ
แจงขอมูลการกลับเขารับราชการใหมผานสวนราชการเจาสังกัดเพื่อลงนามและนําสงกองทุน
ท้ังน้ี สมาชิกซ่ึงไดรบั บาํ นาญและไดรบั เงินประเดมิ เงินชดเชยและผลประโยชนต อบแทนเงิน
ดงั กลา วจากกองทนุ ไปแลว หากประสงคน บั เวลาตอ เน่อื งจะตองคืนงินดงั กลาวทั้งจํานวนแก
กองทนุ นอกจากนี้ สมาชิกท่ปี ระสงคจะสง เงนิ สะสม เงินสมทบ และผลประโยชนต อบแทนเงนิ
ดังกลาวท้งั จาํ นวนท่ีเคยไดรบั ไปแลวแกก องทุน เพ่ือใหก องทุนนําไปลงทนุ ตอ ใหสามารถคืนเงิน
ไดภายใน ๑๘๐ วนั นบั ตั้งแตวันทีก่ ลับเขา รับราชการใหม

ดังน้ัน เพื่อใหสมาชิกที่บรรจุกลับเขารับราชการใหมไดรับสิทธิประโยชนตาม
กฎหมายและเพ่อื ใหบญั ชีรายบุคคลของสมาชิกมคี วามถูกตอง กบข. ขอซกั ซอมความเขาใจใน
ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ การทส่ี ําคัญของผูเกย่ี วขอ งตา งๆ ดังนี้

๑. ใหส ว นราชการแจง ใหส มาชกิ กรอกแบบแจง ขอ มลู การกลบั เขา รบั ราชการใหม
(แบบ จก ๐๐๑/๒๕๕๑) ซงึ่ สามารถดาวนโหลดแบบแจงฯ จากเว็บไซต กบข. www.gpf.or.th
พรอมแนบเอกสารหลักฐานประกอบการแจง ฯ (ตามท่ีระบดุ า นหลังแบบแจงฯ) โดยนาํ สง ให

๖๖

สวนราชการตรวจสอบและลงนาม กอ นจดั สง มายัง กบข. ภายใน ๓๐ วัน นบั แตวนั ทบ่ี รรจกุ ลบั
เขารบั ราชการใหม (ตวั อยา งการกรอกขอ มูลแบบแจงฯ ตามสิ่งทีส่ งมาดวย ๒)

การแจงขอมูลการกลับเขา รบั ราชการใหมล าชา หรอื ไมถกู ตอ งจะทาํ ใหสมาชกิ
เสียสิทธิในการนับเวลาราชการ และไมไดรบั สิทธิในการนาํ เงนิ ไปลงทุน จึงขอความรวมมือให
สว นราชการตรวจสอบแบบแจง ฯ และเอกสารหลักฐานประกอบใหค รบถวน พรอมนําสงภายใน
เวลาทป่ี ระกาศฯ กาํ หนด

๒. ในกรณที สี่ มาชกิ ประสงคน บั เวลาราชการตอเนอื่ ง หรือ ประสงคค นื เงินสะสม
สมทบ ซ่งึ เคยรับจาก กบข. ไปแลว กบข. จะออกจดหมายแจงยอดเงินทต่ี องนาํ สงและวธิ ีการ
คืนเงินแจง ไปยงั สวนราชการเจาสังกดั และสาํ เนาเรยี นใหส มาชกิ ทราบภายใน ๕ วันทําการ
นบั แตวันที่ไดรับแบบแจงฯ

๓. เมอ่ื สมาชิกไดร ับจดหมายแจงยอดเงนิ ทต่ี องนาํ สง ใหด ําเนนิ การคืนเงิน กบข.
ภายใน ๑๘๐ วัน นบั แตว นั ทีก่ ลับเขารบั ราชการใหม

๔. เมื่อ กบข. ไดรับชําระเงินจากสมาชิกแลว กบข. จะดําเนินการ
บันทึกเงินรับเขาบัญชีรายบุคคลของสมาชิกผูนั้น และจัดสงหลักฐานการรับเงินใหสมาชิก
โดยสําเนาแจงสวนราชการเพื่อจัดเก็บเปนหลักฐานและบันทึกไวในสมุดประวัติของขาราชการ
รายนนั้ เพอื่ ประโยชนใ นการคาํ นวณบําเหนจ็ บาํ นาญตอนออกจากราชการตอ ไป

จึงเรียนมาเพ่ือซักซอมความเขาใจ และกรุณาแจงใหผูที่เก่ียวของทราบและ
ถือปฏิบตั ติ อไปดวย จกั ขอบพระคณุ ย่งิ

ขอแสดงความนับถอื
(ลงชอ่ื ) วรยิ า วองปรชี า

(นางสาววริยา วองปรชี า)
รองเลขาธกิ ารสายบรหิ ารงานสมาชกิ รักษาการในตําแหนง

เลขาธิการคณะกรรมการ กบข.

ฝายทะเบยี นสมาชิกดา นจาย
โทรศพั ท ๐ ๒๖๓๖ ๑๐๐๐ ตอ ๑๘๘ , ๒๔๑ – ๒๔๖
โทรสาร ๐ ๒๖๓๖ ๑๒๑๓
หรอื ตดิ ตอศนู ยบ ริการขอ มูลสมาชิก ๑๑๗๙ กด ๖

๖๗

(สาํ เนา)
ประกาศคณะกรรมการกองทนุ บาํ เหนจ็ บาํ นาญขาราชการ
เรอื่ ง หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารคืนเงินเขากองทนุ บําเหนจ็ บาํ นาญขาราชการ

ของขา ราชการ_ท_่กี__ล_ับ_เ_ข_า_ร_บั _ร_า_ช_ก_า_ร_ใ_ห_ม พ.ศ. ๒๕๕๑
อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๓๘ แหง พระราชบัญญตั ิกองทนุ บาํ เหน็จบํานาญ
ขาราชการ พ.ศ. ๒๕๓๙ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญัติกองทนุ บาํ เหนจ็ บาํ นาญขา ราชการ
(ฉบบั ที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๕๑ และมาตรา ๓๘/๑ แหงพระราชบัญญตั กิ องทนุ บําเหน็จบาํ นาญขาราชการ
(ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๕๑ คณะกรรมการกองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการออกประกาศไว
ดงั ตอไปน้ี
ขอ ๑ ในประกาศนี้

“กองทนุ ” หมายความวา กองทุนบําเหนจ็ บํานาญขาราชการ
“ขาราชการ” หมายความวา ผทู ่เี คยเปน สมาชิกซง่ึ ออกจากราชการและกลบั
เขารับราชการใหม และผูท่ีเคยเปนสมาชกิ ซึ่งโอนไปเปน ขาราชการสวนทองถนิ่ และโอนกลับเขา
รบั ราชการใหม
ขอ ๒ ขาราชการทกี่ ลบั เขา รบั ราชการใหมตามมาตรา ๓๘ ตง้ั แตวนั ท่ีประกาศนี้
ใชบังคบั ใหแ จงความประสงคตามแบบท่เี ลขาธิการกําหนด เพอ่ื สวนราชการเจา สงั กดั ลงนาม
และนําสง กองทุน ภายในสามสิบวันนับแตว นั ทก่ี ลับเขารบั ราชการใหม
ขอ ๓ ขา ราชการซง่ึ ไดร ับหรอื มีสิทธิไดร ับบํานาญ และไดร ับเงนิ ประเดิม เงนิ ชดเชย
และผลประโยชนต อบแทนเงนิ ดงั กลา วจากกองทนุ ไปแลว หากประสงคจ ะนบั เวลาราชการตอ เนอ่ื ง
ใหค นื เงนิ ท่ีไดร บั ไปทั้งจํานวนแกก องทุนตามจาํ นวนทกี่ องทุนแจง ภายในหน่งึ รอยแปดสิบวนั
นับแตว ันกลับเขารบั ราชการใหม เวน แตขณะออกจากราชการยังไมไ ดย่นื คําขอรับเงนิ จากกองทุน
ใหถอื วากองทุนไดรบั เงนิ จาํ นวนดงั กลาวแลว
ขอ ๔ ขาราชการซึ่งกลบั เขา รบั ราชการใหมท ่ปี ระสงคจ ะสง เงินสะสม เงนิ สมทบ
และผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลาวที่ไดรับไปแลวแกกองทุนเพื่อใหกองทุนนําไปลงทุน
หาผลประโยชนต อไป ใหสงคืนเงนิ ดงั กลาวแกกองทนุ ตามจํานวนทกี่ องทนุ แจง ภายในหนึ่งรอ ย
แปดสิบวันนับแตวันกลับเขา รบั ราชการใหม เวน แตข ณะออกจากราชการยังไมไดย ่ืนคําขอรับเงิน
จากกองทุน ใหถ ือวา กองทนุ ไดร ับเงนิ จาํ นวนดังกลา วแลว
ขอ ๕ ใหกองทุนแจงรายละเอียดยอดเงินท่ีตองนําสงและวิธีการคืนเงินให
สวนราชการเจาสังกัดและสมาชิกทราบภายในหาวันทําการนับแตวันที่ไดรับแบบตามขอ ๒
ถกู ตอ งครบถวน

๖๘

เมือ่ กองทนุ ไดรบั ชาํ ระเงินดังกลาวจากสมาชกิ แลว ใหก องทนุ จัดสงเอกสาร
หลักฐานการรับเงินใหแกสมาชิกผูนั้น พรอมสําเนาใหสวนราชการเจาสังกัดเพื่อจัดเก็บเปน
หลักฐานและบันทึกไวในสมุดหรือแฟม ประวัติของขาราชการรายนั้น

ขอ ๖ การคาํ นวณผลประโยชนจ ากการคนื เงนิ ประเดิม เงินชดเชยและผลประโยชน
ตอบแทนเงินดังกลาว หรอื การสงเงนิ สะสม เงนิ สมทบและผลประโยชนตอบแทนเงินดังกลา ว
ท่ีไดร บั ไปแลว จะเร่มิ คํานวณนับแตวันทีก่ องทุนไดรบั เงินเขา บญั ชแี ลว

ขอ ๗ ขาราชการซ่ึงออกจากราชการและกลับเขารับราชการใหมต้ังแตวันท่ี ๑๔
กมุ ภาพันธ ๒๕๕๑ แตก อ นวันทีป่ ระกาศนี้ใชบ ังคบั ใหแ จงความประสงคต ามขอ ๒ ภายใน
สามสิบวันนับแตวันที่ประกาศนี้ใชบังคับ และใหคืนเงินตามขอ ๓ และขอ ๔ ภายใน
หนึ่งรอ ยแปดสิบวันนับแตว นั ทป่ี ระกาศน้ีใชบ ังคบั

ทง้ั นี้ ตั้งแตวนั ท่ี ๑ สงิ หาคม ๒๕๕๑ เปน ตนไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๙ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๑
(ลงชอ่ื ) สถิตย ลิ่มพงศพ ันธุ
(นายสถิตย ลิม่ พงศพ ันธุ)
รองปลัดกระทรวงการคลัง รักษาราชการแทน
ปลดั กระทรวงการคลัง
ประธานกรรมการกองทุนบาํ เหน็จบาํ นาญขาราชการ

๖๙

(สาํ เนา)
ประกาศกองทุนบาํ เหน็จบํานาญขา ราชการ

ท่ี ๑๒/๒๕๕๑
เร่ือง แบบแจงความประสงคเม่ือกลบั เขารับราชการใหม

___________________
อาศัยอํานาจตามความในขอ ๒ ของประกาศคณะกรรมการกองทุนบําเหน็จ
บํานาญขาราชการ เร่ือง หลักเกณฑและวิธีการคืนเงนิ เขา กองทุนบาํ เหนจ็ บํานาญขาราชการของ
ขา ราชการทก่ี ลบั เขา รบั ราชการใหม พ.ศ.๒๕๕๑ เลขาธกิ ารคณะกรรมการ กบข. จงึ ออกประกาศไว
ดงั น้ี
ขา ราชการทกี่ ลับเขารับราชการใหม ใหแจง ความประสงคตามแบบ กบข. จก ๐๐๑ /
๒๕๕๑ ทายประกาศน้ี

ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๑
(ลงช่ือ) วสิ ฐิ ตนั ตสิ ุนทร
(นายวิสิฐ ตันตสิ ุนทร)
เลขาธิการคณะกรรมการ กบข.

๗๐

๗๑

๗๒

ที่ มท ๐๕๐๓.๓ / ว ๒๑๐๕๓ (สาํ เนา)
กรมทด่ี นิ
ศนู ยร าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจงวฒั นะ
แขวงทุงสองหอ ง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๖

เรอ่ื ง การตรวจสอบพบเจา หนา ทป่ี ฏบิ ตั งิ านดานการเงินและบญั ชียักยอกเงินงบประมาณ

เรยี น ผวู า ราชการจังหวัดทุกจงั หวดั

ดวยกระทรวงมหาดไทย แจงวาไดรับรายงานจากหนวยงานในสังกัดกรณี
ตรวจพบเจา หนาท่ที ่ไี ดร ับมอบหมายใหปฏบิ ตั งิ านการเงินและบัญชี ไดอาศยั โอกาสหรอื ชองทาง
ในการปฏิบัตหิ นาที่และการไดรบั ความไวว างใจจากผบู ังคบั บัญชา ผูมีหนา ทก่ี าํ กบั ดแู ลการ
ปฏิบัตงิ านและเจา หนา ที่ผรู ว มรับผิดชอบงานการเงนิ และบญั ชี กระทําการยักยอกหรือเบียดบัง
เงินงบประมาณและเงนิ นอกงบประมาณท่อี ยูใ นความดูแลของจังหวดั ไปโดยทจุ รติ ในลักษณะ
เปนการกระทาํ ตอเน่อื งกนั หลายครงั้ เปนเวลานาน เม่อื ตรวจพบการกระทาํ ทจุ ริตปรากฏวา ไดก อ
ใหเกดิ ความเสียหายแกทางราชการเปน จํานวนมาก จึงขอใหก ําชับเจา หนา ทผ่ี ูมอี าํ นาจหนา ท่ที ่ี
เกี่ยวขอ งในดา นการเงินและบญั ชีใหพึงระมัดระวังในการปฏบิ ัติหนาท่ีดว ยความรอบคอบ รดั กมุ
และถือปฏิบัติตามระเบียบแบบธรรมเนียม และแนวทางปฏิบัติของทางราชการโดยเครงครัด
รวมทงั้ การกํากบั ดูแลการปฏบิ ตั ิหนา ท่ขี องเจาหนา ท่ที ไ่ี ดรบั มอบหมายใหป ฏบิ ัติงานการเงินและ
บญั ชีอยา งใกลชิด เพ่อื ปองกันมใิ หเจา หนาที่อาศัยชองทางหรอื โอกาสในการปฏิบัตหิ นาท่กี ระทาํ
การทุจริตตอหนาที่ หากพบมีพฤติการณที่นาสงสัยหรือเปนที่ผิดสังเกตใหพิจารณาดําเนินการ
ปอ งกนั และแกไ ขปญหาตามควรแกก รณีตามอํานาจหนาที่

กรมที่ดินพิจารณาแลวเพื่อใหเปนไปตามขอส่ังการของกระทรวงมหาดไทย
จึงขอใหผูบงั คับบญั ชาสอดสอ ง กาํ กบั ดแู ลการปฏิบัตหิ นาทข่ี องเจาหนา ที่ผปู ฏบิ ตั งิ านการเงิน
และบัญชีอยางใกลชิด หากพบเจาหนาท่ีดังกลาวมีพฤติการณที่นาสงสัยหรือเปนที่ผิดสังเกต
ใหพิจารณาดําเนินการปองกันแกไขปญหาตามควรแกกรณีตามอํานาจหนาท่ี และรายงานให
กรมท่ดี นิ ทราบ นอกจากนหี้ ากตรวจพบวา เจาหนาทไ่ี ดอ าศัยชอ งทางหรอื โอกาสในการปฏบิ ัตงิ าน
กระทาํ การทุจรติ ตอหนาที่ กรมทด่ี นิ จะพิจารณาโทษเจา หนา ทแี่ ละผบู งั คับบญั ชาตามควรแกกรณี

จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจงใหเจาหนาท่ีในสังกัดกรมท่ีดินทราบและ
ถือปฏิบัตโิ ดยเครงครัดตอ ไป

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชอื่ ) บุญเชิด คดิ เห็น

(นายบญุ เชิด คดิ เหน็ )
อธิบดีกรมท่ีดิน

กองคลัง โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๙๗๐ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๙๕

๗๓

(สาํ เนา)

ดวนท่สี ดุ กรมบัญชีกลาง
ท่ี กค ๐๔๒๒.๒ / ว ๒๘๔ ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๑๖ สงิ หาคม ๒๕๕๖

เรือ่ ง หลักเกณฑก ารเบิกจา ยเงนิ สวัสดิการเกยี่ วกบั การรักษาพยาบาลผปู ว ยโรคไตเรอ้ื รังดวย
วิธีการฟอกเลือดดว ยเคร่ืองไตเทียม

เรียน อธบิ ดกี รมทดี่ นิ
อางถงึ หนังสอื กรมบญั ชกี ลาง ดว นท่สี ดุ ที่ กค ๐๔๒๒.๒/ว ๒๗๗ ลงวันท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๒
สง่ิ ทีส่ ง มาดว ย ประกาศกระทรวงการคลัง เรอ่ื ง หลกั เกณฑแ ละอัตราคารักษาพยาบาลสาํ หรับ

ผูป วยโรคไตเรอ้ื รงั ดว ยวิธีการฟอกเลอื ดดวยเคร่อื งไตเทยี ม

ดวยรัฐบาลมนี โยบายบูรณาการระบบบริการการรักษาพยาบาล ๓ หนวยงาน คอื
กรมบัญชีกลาง สํานกั งานประกันสังคม และสาํ นักงานหลกั ประกนั สขุ ภาพแหง ชาติ ใหผ ปู ว ยโรค
ไตเรอ้ื รงั สามารถเขาถึงบริการทางการแพทยท ่ีจําเปนอยางมีมาตรฐาน และเกดิ ความเทาเทยี มกัน
โดยใหปรบั เกณฑการวินิจฉัยใหเ ปน มาตรฐานเดียวกนั โดยอา งอิงสมาคมวิชาชพี และปรับปรงุ
ระเบียบวิธีปฏิบัติกรณีผูปวยเปล่ียนแปลงสิทธิการรักษาพยาบาล ใหสามารถไดรับการรักษา
พยาบาลแบบเดิมอยางตอเนือ่ ง

กรมบญั ชีกลางพิจารณาแลว ขอเรยี นวา กระทรวงการคลงั ไดก าํ หนดหลักเกณฑ
เพือ่ ใหส อดคลอ งกับนโยบายดังกลาว ปรากฏตามส่งิ ทสี่ งมาดว ย อาศยั อาํ นาจตามความขอ ๑๙
ขอ ๒๒ ขอ ๒๓ และขอ ๒๗ ของหลักเกณฑกระทรวงการคลังวา ดวยวธิ กี ารเบกิ จายเงนิ สวสั ดิการ
เกี่ยวกับการรักษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๓ กรมบัญชีกลางเหน็ สมควรกําหนดแนวทางปฏบิ ตั กิ าร
เบิกเงินคารักษาพยาบาลใหสอดคลองนโยบายรัฐบาลและหลักเกณฑที่กระทรวงการคลังกําหนด
โดยใหผมู ีสิทธิ สวนราชการ สถานพยาบาลของทางราชการ และสถานพยาบาลของเอกชน
ถือปฏบิ ตั ิ ดงั นี้

๑. การเบกิ คา ฟอกเลอื ดดว ยเครือ่ งไตเทยี ม ใหถ ือปฏิบตั ิตามประกาศกระทรวง
การคลงั เรอ่ื ง หลักเกณฑแ ละอัตราคา รักษาพยาบาลสาํ หรับผูป วยโรคไตเร้ือรงั ดว ยวธิ กี ารฟอก
เลือดดวยเคร่อื งไตเทียม

๒. การเบกิ คาฟอกเลอื ดดวยเครื่องไตเทียมในขอ ๑ ใหหนวยไตเทียมเปน ผเู บิก
คา รักษาพยาบาลแทนผมู สี ทิ ธใิ นระบบเบกิ จา ยตรงเทา นั้น เวน แต ผูปว ยซง่ึ ยังไมไ ดเขาสรู ะบบ
เบกิ จา ยตรงใหสามารถเบกิ คา ฟอกเลือดดวยเครอ่ื งไตเทียมทสี่ วนราชการได ตามหนงั สอื ท่ีอางถงึ

๗๔

๓. หนว ยไตเทยี มผเู บกิ คา รักษาพยาบาลแทนผมู ีสิทธิ ใหจัดสง ขอ มลู ในระบบ
เบกิ จายตรงการรกั ษาทดแทนโรคไตเรื้อรังประเภทฟอกเลอื ด (HD) โดยจัดทาํ ขอ มลู เปนรายบุคคล
ใหค รบถว นสมบรู ณ หากไมส มบูรณ สํานกั งานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.) จะสง
ขอมูลกลบั คนื ใหสถานพยาบาลดําเนนิ การจดั ทาํ ขอมลู ใหม โดยแจงรหัส C

๔. หลักเกณฑหรอื แนวปฏิบตั ิอื่นใดทีอ่ า งถึง ประกาศกระทรวงการคลัง เร่ือง
อัตราคารักษาพยาบาลสําหรับการรักษาทดแทนไตในผูปวยไตวายเรอื้ รัง ลงวันท่ี ๓๑ สิงหาคม
๒๕๔๘ ใหห มายถงึ ประกาศกระทรวงการคลงั เร่อื ง หลักเกณฑและอตั ราคารกั ษาพยาบาล
สําหรบั ผูปวยโรคไตเรอ้ื รังดวยวิธกี ารฟอกเลือดดวยเครือ่ งไตเทียม ลงวันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖

ทงั้ น้ี ใหถ ือปฏิบัตนิ ับตัง้ แตวนั ท่ี ๑ กันยายน ๒๕๕๖ เปนตนไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และโปรดแจงใหเจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของทราบและ
ถือปฏบิ ัตติ อไปดวย

ขอแสดงความนับถือ
(ลงชอ่ื ) มนัส แจม เวหา

(นายมนัส แจมเวหา)
อธิบดกี รมบัญชีกลาง

กรมบญั ชกี ลาง
สํานกั มาตรฐานคา ตอบแทนและสวัสดิการ
กลมุ งานสวัสดกิ ารรักษาพยาบาลขาราชการ
โทร. ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๙๘
โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๑๕๗

๗๕

(สาํ เนา)
ประกาศกระทรวงการคลัง
เรอ่ื ง หลักเกณฑและอัตราคารกั ษาพยาบาลสําหรับผปู ว ยโรคไตเรือ้ รัง
ดวยวิธีการ_ฟ__อ_ก_เ_ล_อื _ด_ด__ว_ย_เค__ร_ื่องไตเทียม
โดยท่ีเปนการสมควรกําหนดหลักเกณฑและอัตราคารักษาพยาบาลสําหรับ
การรักษาทดแทนไตในผปู วยโรคไตเรือ้ รัง
อาศัยอาํ นาจตามมาตรา ๘ (๑) (๔) และวรรคสอง แหงพระราชกฤษฎีกา
เงินสวสั ดกิ ารเกีย่ วกบั การรักษาพยาบาล พ.ศ.๒๕๕๓ กระทรวงการคลังจงึ กําหนดหลักเกณฑแ ละ
อตั ราคา รกั ษาพยาบาลสาํ หรบั ผูปว ยโรคไตเรื้อรังดวยวิธกี ารฟอกเลือดดวยเครือ่ งไตเทียม ดังน้ี
ขอ ๑ ประกาศนี้เรยี กวา “ประกาศกระทรวงการคลัง เรือ่ ง หลักเกณฑแ ละอัตรา
คา รักษาพยาบาลสาํ หรับผปู วยโรคไตเรอื้ รังดวยวิธกี ารฟอกเลือดดว ยเครอ่ื งไตเทยี ม
ขอ ๒ ประกาศนใ้ี หใ ชบงั คับต้งั แตวนั ท่ี ๑ กนั ยายน ๒๕๕๖ เปน ตน ไป
ขอ ๓ ใหย กเลิกประกาศกระทรวงการคลัง เร่อื ง อัตราคารักษาพยาบาลสําหรับ
การรกั ษาทดแทนไตในผปู วยไตวายเรื้อรัง ลงวันท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๔๘
ขอ ๔ คํานยิ าม
การฟอกเลอื ดดว ยเครื่องไตเทยี มกรณีเรอ้ื รงั หมายถงึ การฟอกเลือดทีท่ าํ
ในผูปวยโรคไต ซ่งึ มกี าํ หนดเวลาและจํานวนครงั้ การฟอกเลือดตอ สัปดาหทส่ี มา่ํ เสมอ
หนว ยไตเทยี มหมายถงึ สถานพยาบาลตามพระราชกฤษฎกี าเงนิ สวสั ดกิ าร
เกย่ี วกับการรกั ษาพยาบาล พ.ศ. ๒๕๕๓ ท่ผี า นการรับรองมาตรฐานการรักษาทดแทนไตจาก
สมาคมโรคไตแหงประเทศไทย
ขอ ๕ ผมู สี ิทธหิ รอื บุคคลในครอบครวั ซึ่งไดร บั การวนิ ิจฉัยจากแพทยผรู ักษาวา
มีความจาํ เปน ตอ งลา งไต (Dialysis) ตามแนวทางของสมาคมโรคไตแหงประเทศไทยทีแ่ นบทา ย
ประกาศนี้ หากเขา รับการฟอกเลอื ดดวยเครอื่ งไตเทียม ใหมสี ิทธไิ ดร บั คารักษาพยาบาลตาม
รายการท่แี นบทายประกาศนี้ในอัตราดังตอ ไปน้ี
(๑) คาฟอกเลอื ดดว ยเครอื่ งไตเทียม คร้ังละ ๒,๐๐๐ บาท
(๒) คายา คาเวชภัณฑ คา ชันสูตร ใหเ ปนไปตามอัตราทกี่ ําหนดไวใ น
ประกาศกระทรวงการคลงั เร่อื ง อตั ราคาบรกิ ารสาธารณสขุ เพอ่ื ใชสําหรับการเบิกจายคา รักษา
พยาบาลในสถานพยาบาลของทางราชการ
ขอ ๖ ในกรณีที่ผูมีสิทธิหรือบุคคลในครอบครัวเขารับการฟอกเลือดดวยเครื่อง
ไตเทียมกรณีเร้อื รงั ที่หนว ยไตเทยี มซ่ึงเปนสถานพยาบาลของทางราชการ ใหมีสทิ ธไิ ดร บั คารักษา

๗๖

พยาบาลตามขอ ๕ (๑) และ (๒) กรณที เ่ี ขารับการฟอกเลือดดว ยเคร่ืองไตเทยี มกรณีเรอ้ื รังท่หี นว ย
ไตเทียมซึ่งเปน สถานพยาบาลของเอกชน เน่ืองจากสถานพยาบาลของทางราชการไมมีเครอ่ื ง
ไตเทยี ม หรือมแี ตไ มเ พียงพอในการใหบ ริการใหม สี ิทธิไดรบั คา รกั ษาพยาบาลตามขอ ๕ (๑)

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
(ลงชื่อ) มนัส แจม เวหา
(นายมนสั แจม เวหา)
อธิบดกี รมบัญชีกลาง ปฏบิ ัตริ าชการแทน
รฐั มนตรีวาการกระทรวงการคลัง

๗๗

แนวทางการวินิจฉัยขอบงช้ีของการเร่ิมตนการทําไดอะไลสิสในผูปวยโรคไต
เรื้อรัง (Chronic Kidney Disease) จากสมาคมโรคไตแหงประเทศไทย ควรเปน ดังนี้

๑. เมอ่ื ผปู ว ยมรี ะดบั อตั ราการกรองของไตโดยประมาณ (Estimated Glomerular
Filtration Rate, eGFR) นอยกวา หรอื เทากบั ๖ มล./นาท/ี ๑.๗๓ ตารางเมตร และไมพ บเหตุท่ีทําให
ไตเสื่อมการทาํ งานช่วั คราว โดยอาจมีหรอื ไมมภี าวะแทรกซอนจากโรคไตเร้อื รงั กไ็ ด หรอื

๒. เมื่อผูปวยมรี ะดับ eGFR มากกวา ๖ มล./นาที/๑.๗๓ ตารางเมตร รว มกบั มี
ภาวะแทรกซอนท่ีเกิดโดยตรงจากโรคไตเรื้อรังซ่ึงไมตอบสนองตอการรักษาแบบประคับประคอง
อยางใดอยา งหนงึ่ ดังตอไปน้ี

๒.๑ ภาวะน้ําและเกลือเกนิ ในรางกาย จนเกดิ ภาวะหวั ใจวายหรือความดัน
โลหิตสงู ควบคมุ ไมไ ด

๒.๒ ระดบั โปตัสเซยี มในเลอื ดสูง เลือดเปน กรด หรือฟอสเฟตในเลือดสงู
๒.๓ ความรูสึกตัวลดลง หรืออาการชกั กระตกุ จากภาวะยรู ีเมีย
๒.๔ เยอ่ื หุมปอดหรอื เยื่อหมุ หัวใจอกั เสบจากภาวะยรู ีเมีย
๒.๕ คล่ืนไสอาเจยี นเบือ่ อาหาร นา้ํ หนกั ลดลง หรือมีภาวะทพุ โภชนาการ
คําแนะนาํ ในการรายงานผลคา eGFR
๑. ใชว ธิ คี าํ นวณคา eGFR โดยแทนคาตัวแปรในสมการ The Chronic Kidney
Disease Epidemiology Collaboration (CKD–EPI) equation สาํ หรบั ผใู หญ และ Schwartz
Equation สาํ หรับเดก็ (<๑๘ ป)
๒. ใชวิธีการวัดคาครีเอตินินในเลือดโดยวิธี Enzymatic และใหใชคาระดับ
ครเี อตนิ นิ โดยใชคาทศนยิ ม ๒ ตําแหนง เพ่อื ความแมน ยาํ ในการคํานวณมากขึน้

สมการ The Chronic Kidney Disease Epidemiology Collaboration (CKD–EPI) equation
สําหรับผปู วยผใู หญ

เพศ ระดบั serum creatinine (mg/dL) สมการ

หญงิ < ๐.๗ GFR=๑๔๔ x (Scr/๐.๗)–๐.๓๒๙ (๐.๙๙๓)Age
> ๐.๗ GFR=๑๔๔ x (Scr/๐.๗)–๑.๒๐๙ (๐.๙๙๓)Age
ชาย < ๐.๙ GFR=๑๔๑ x (Scr/๐.๙)–๐.๔๑๑ (๐.๙๙๓)Age
> ๐.๙ GFR=๑๔๑ x (Scr/๐.๙)–๑.๒๐๙ (๐.๙๙๓)Age

สมการ Schwartz Equation สาํ หรบั เดก็ (< ๑๘ ป)
GFR (mL/min/๑.๗๓ m๒) = (๐.๔๑๓ x Height in cm) / Creatinine ln mg/dL

๗๘

เอกสารแนบทายประกาศ
คา ใชจายในการรักษาดวยการฟอกเลือด
๑. รายการคารักษาพยาบาลในการฟอกเลอื ดรวมเบิกในอัตราเหมาจาย
– ตวั กรองทง้ั แบบธรรมดาและแบบประสทิ ธภิ าพสูง
– คา สายสง เลอื ด
– คา Reprocessing ตัวกรองและสายสง เลือด
– ยาและอปุ กรณก ารใชย าระหวา งการทาํ Hemodialysis เชน Glucose, Hypertonic
NaCl solution
– อปุ กรณสิ้นเปลอื งใน Set Hemodialysis ไดแ ก ผา กอ ซ สาํ ลี เขม็ ฉีดยา กระบอกฉดี ยา
– Antiseptic เชน Betadine
– Fistula Needle
– Xylocaine, Heparin , Low molecular weight heparin
– Surgical glove , Surgical mask
– Set IV fluid
– Elastic adhesive bandage
– ๐.๙ % NaCl
– Hemodialysis solution A + B
– คา Water treatment for Hemodialysis
– คา ตรวจทางหอ งปฏบิ ตั กิ ารสาํ หรับตรวจสุขภาพระบบ Water treatment
– คาแพทย คาพยาบาล และคา แรงบุคลากรอน่ื
– คาสถานท่ีระหวางการฟอกเลือด
– คาใชบ ริการและคาซอ มบาํ รุงเครอื่ งไตเทยี ม
– คาบริหารจัดการหนว ยไตเทียม
๒. รายการเบกิ ตามอตั ราที่กระทรวงการคลังกาํ หนด
– คา เลอื ดและอุปกรณก ารใหเ ลอื ด
– คาสายและการสวนสาย double lumen catheter
– คา ตรวจทางหองปฏิบตั กิ ารทจี่ ําเปนสาํ หรับผปู ว ย*
– คา ตรวจ X–ray*
*เฉพาะรายการทใี่ ชเปนประจํากบั ผูปวยฟอกเลอื ด เพือ่ อํานวยความสะดวกแกผปู ว ยไมต อ งไปใชบริการผปู ว ยนอก
๓. รายการเบกิ ตามที่สถานพยาบาลเรยี กเก็บ
– Erythropoietin
– Parenteral Nutrition
– Human Albumin
– IV iron
คารักษาตามรายการนี้ ใหสถานพยาบาลแจง ราคาท่ีใชเ รียกเก็บแกห นว ยงานที่กรมบัญชีกลางมอบหมาย
เมือ่ เร่ิมระบบ และใหแจง ทกุ คร้งั ทม่ี กี ารเปลี่ยนแปลงราคาในรายการ
๔. รายการคา รกั ษาอื่นๆ ทเี่ กีย่ วกบั การฟอกเลือด อาทิเชน คา รกั ษาผูป ว ยนอกจากโรคประจําตวั ของผปู ว ย
คา รกั ษาเพื่อชวยฟน คืนชีพ คา ผา ตดั เสน เลือดหรอื เสนเลือดเทยี ม ใหเบกิ จา ยจากระบบการเบิกจายผปู ว ยใน
หรือผปู ว ยนอกทีต่ อ งรกั ษาตอ เนอ่ื งตามแตกรณี

หมายเหตุ
๑. รายการเบกิ ตามขอ ๒ จะตองมกี ารบนั ทึกการใชตามจริง เพ่ือประกอบการเบิกจา ยทกุ ครงั้
๒. การใชยาตามขอ ๓ จะตองมกี ารกาํ หนดอตั ราการจัดเก็บลวงหนา โดยแจงกบั หนว ยงานที่กรมบัญชีกลางมอบหมาย
๓. คาเวชภณั ฑแ ละคาบริการท่ีไมไดระบุไว ใหถอื วาเปนรายการท่ีเบกิ ตามอัตราเหมาจา ยตามประกาศกระทรวงการคลงั

เรอ่ื ง หลักเกณฑและอตั ราคารกั ษาพยาบาลสาํ หรบั ผูปว ยโรคไตเรอ้ื รังดว ยวธิ กี ารฟอกเลือดดว ยเคร่ืองไตเทียม

๗๙

ท่ี กค ๐๔๒๐.๑ / ว ๐๐๔๐๐ (สาํ เนา) กรมบัญชีกลาง
ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐

๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๖

เรื่อง วิธีปฏิบัติในการตรวจสอบขอมูลบุคคลท่ศี าลมีคําสั่งพทิ กั ษทรพั ยและพิพากษาลมละลาย
ในระบบบําเหนจ็ บํานาญ (e–Pension) และระบบบาํ เหน็จคา้ํ ประกนั

เรียน อธบิ ดีกรมทีด่ ิน

ตามท่ีกรมบัญชีกลางและกรมบังคับคดีไดจัดทําบันทึกความเขาใจวาดวยการ
เช่ือมโยงขอมูลบุคคลท่ีศาลมีคําส่ังพิทักษทรัพยและพิพากษาลมละลายเพ่ือใชงานในระบบ
บําเหนจ็ บาํ นาญ (e – Pension) และระบบบําเหน็จคํ้าประกันเพื่อตรวจสอบเกย่ี วกบั การเบิกจา ย
เงินเบ้ียหวัด บําเหน็จบํานาญและเงินอื่นในลักษณะเดียวกันรวมท้ังเก่ียวกับการนําสิทธิใน
บาํ เหน็จตกทอดไปเปน หลกั ทรพั ยป ระกนั การกูเงนิ กับสถาบนั การเงนิ นัน้

กรมบญั ชกี ลาง ขอเรยี นวา ปจ จบุ นั ไดพ ฒั นาระบบบาํ เหนจ็ บาํ นาญ (e – Pension)
และระบบบําเหน็จค้ําประกันรองรับการเชื่อมโยงขอมูลบุคคลท่ีศาลมีคําส่ังพิทักษทรัพยและ
พพิ ากษาลม ละลายของกรมบังคบั คดีเรียบรอยแลวและเรมิ่ ใชป ฏบิ ัตงิ านในระบบดังกลา ว ตั้งแต
วันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๕๖ เปน ตนไป ดงั นน้ั กรมบญั ชกี ลางจึงไดก าํ หนดแนวปฏบิ ตั ิเก่ียวกบั เรื่อง
ดังกลาว ดงั นี้

๑. สว นราชการที่ยน่ื ขอรับเงนิ เบยี้ หวดั บําเหน็จบํานาญและเงินอืน่ ในลกั ษณะ
เดียวกนั ในระบบบาํ เหนจ็ บํานาญ (e – Pension) คร้งั แรกของขา ราชการและลูกจางประจาํ ที่พน
จากราชการแลว พบวา เปน บคุ คลทศ่ี าลมคี าํ สง่ั พทิ กั ษท รพั ยแ ละพพิ ากษาลม ละลาย ใหส ว นราชการ
มีหนังสือประสานงานกับกรมบังคับคดีเรื่องการอายัดเงินเบ้ียหวัด บําเหน็จบํานาญและเงินอื่น
ในลกั ษณะเดยี วกนั แลว ดาํ เนินการขัน้ ตอนอายดั เงินตอ ไป

๒. กรณีผูรับบํานาญยื่นขอหนังสือรับรองสิทธิในบําเหน็จตกทอดเพื่อใชเปน
หลกั ทรัพยประกนั การกูเงินในระบบบําเหน็จคํา้ ประกัน แลว พบวา เปน บคุ คลท่ีศาลมีคําสง่ั พทิ กั ษ
ทรพั ยแ ละพพิ ากษาลม ละลาย จึงเปน บคุ คลท่ีไมมีสทิ ธขิ อหนงั สือรับรองสิทธิในบําเหนจ็ ตกทอด
เพือ่ ใชเ ปน หลักทรพั ยป ระกันการกูเงิน สาํ หรบั วิธปี ฏบิ ตั ิกรณีขางตนสามารถ Download ทาง
เวบ็ ไซตก รมบญั ชกี ลาง www.cgd.go.th หวั ขอ “บาํ เหนจ็ บาํ นาญ/บาํ เหนจ็ คา้ํ ประกนั ” “หลกั เกณฑ
และวธิ ปี ฏบิ ตั ริ ะบบบําเหน็จบํานาญ (e – Pension) หรือระบบบาํ เหน็จค้าํ ประกนั ”

จงึ เรียนมาเพื่อโปรดทราบและแจงเจา หนา ทีท่ ี่เก่ยี วของถือปฏิบตั ิตอไป
ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงช่อื ) ณพงศ ศิริขันตยกุล
(นายณพงศ ศิรขิ นั ตยกลุ )
รองอธิบดี ปฏิบตั ริ าชการแทน
อธิบดกี รมบญั ชีกลาง

สํานกั บริหารการรบั – จา ยเงนิ ภาครฐั
โทรศพั ท ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๐๘ โทรสาร ๐ ๒๑๒๗ ๗๓๘๐

๘๐

บญั ชรี ายช่ือหนังสือเวยี น ระเบยี บ และคําส่ังตา งๆ
กองพัสดุ

ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๖

๑. เลขที่หนังสือเวยี น ชือ่ เรอื่ ง หนา
ลาํ ดับท่ี ระเบยี บ คําสั่ง ๘๓

๒. ลงวนั เดือน ป

๑. ที่ มท ๐๕๐๘.๓/ว ๑๕๒๑๗ การใชแ บบพิมพห นังสือแสดงสิทธใิ นทีด่ ิน
ลว. ๑๒ ม.ิ ย. ๕๖ หนงั สือกรรมสทิ ธิห์ องชุด และแบบพิมพ
ใบแทน

๒. ที่ นร ๐๑๐๖ / ว ๕๗๙๒ ซอมความเขา ใจเกี่ยวกบั การปฏบิ ัติตาม ๘๖
ลว. ๒๗ ก.ย. ๕๖ ระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรวี าดว ยรถราชการ
พ.ศ.๒๕๒๓ และทีแ่ กไขเพม่ิ เตมิ

๘๑

๘๒

ท่ี มท ๐๕๐๘.๓ / ว ๑๕๒๑๗ (สําเนา)
กรมท่ีดิน
ศูนยราชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภกั ดี ถนนแจงวฒั นะ
แขวงทุงสองหอ ง เขตหลักสี่ กรงุ เทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๒ มถิ ุนายน ๒๕๕๖

เรอ่ื ง การใชแ บบพมิ พห นังสอื แสดงสิทธิในท่ดี นิ หนงั สือกรรมสทิ ธห์ิ องชุด และแบบพิมพใบแทน
เรียน ผวู า ราชการจงั หวัดทุกจังหวัด
อางถงึ หนงั สือกรมที่ดนิ ท่ี กค ๐๕๐๘/ว ๐๓๔๐๖ ลงวนั ท่ี ๑ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๔๘
สิง่ ทส่ี ง มาดว ย แบบฟอรม รายงานการแจง ทาํ ลายแบบพมิ พหนงั สือแสดงสทิ ธิในทด่ี ิน

จาํ นวน ๑ ฉบบั

ตามหนังสือที่อางถึง กรมที่ดินขอใหจังหวัดควบคุมการใชแบบพิมพหนังสือ
แสดงสิทธิในท่ีดินอยางประหยัดคุมคา โดยกําชับเจาหนาท่ีใชความระมัดระวังในการกรอก
ขอ ความไมว า จะเปน การเขยี นหรอื พมิ พใ นหนงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทด่ี นิ หรอื หนงั สอื กรรมสทิ ธห์ิ อ งชดุ
หากเปน การกระทาํ ผดิ ของเจา หนา ท่ี ใหผ บู งั คบั บญั ชาดาํ เนนิ การวา กลา วตกั เตอื น หรอื ดาํ เนนิ การ
ทางวินยั และกําชับใหเจา หนาทถี่ ือปฏิบัตติ ามระเบยี บโดยเครง ครัดดวย น้นั

กรมทดี่ ินไดต รวจสอบรายงานการทาํ ลายแบบพิมพโฉนดท่ีดิน หนังสอื รับรอง
การทําประโยชน หนงั สือกรรมสิทธิ์หอ งชุด และแบบพมิ พใ บแทน ของสาํ นักงานทีด่ นิ จงั หวดั /
สาขา/สวนแยก ปรากฏวาในปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ (๑ ต.ค. ๒๕๕๕ – ๓๐ เม.ย. ๒๕๕๖)
มีแบบพมิ พฯ ท่ีถกู ทําลาย จาํ นวน ๗,๗๔๙ ฉบบั /คูฉบบั สาเหตเุ กดิ จากการปฏบิ ตั งิ านโดยขาด
ความระมัดระวงั และไมคํานงึ ถงึ การประหยัดงบประมาณของเจา หนา ที่ ไดแ ก เขยี นผดิ พลาด
ทาํ นํา้ หมกึ หกใสแบบพมิ พ ดาํ เนนิ การไมต รงตามความประสงคข องผขู อ ขาดการตรวจสอบ
เคร่ืองพมิ พทาํ ใหเคร่ืองขัดของแบบพิมพเสยี หาย จัดสรางโฉนดทดี่ ินและ น.ส.๓ ก. โดยเรื่องยังไม
เปน ที่ยตุ ิวาสามารถออกหนังสือแสดงสิทธใิ นทดี่ ินได หรอื มขี อ ขัดของโตแยง กันอยู เชน การออก
ในทด่ี ินตอ งหามมิใหออกหนงั สือแสดงสิทธใิ นทีด่ นิ หรอื ทบั ท่ดี ินของบคุ คลอนื่ เปน ตน ซ่ึงมีจํานวน
รวม ๔,๒๖๑ ฉบับ/คฉู บับ คิดเปนรอยละ ๕๕ ของการทําลายแบบพิมพท เี่ กดิ ขนึ้ ดังกลาว

ดังนั้น เพื่อเปนมาตรการลดการทําลายแบบพิมพโฉนดที่ดิน หนังสือรับรอง
การทาํ ประโยชน หนงั สอื กรรมสิทธิห์ อ งชดุ แบบพิมพใ บแทน และเปน การปอ งกนั การทจุ รติ
รวมทง้ั เปน การควบคมุ การใชแ บบพมิ พห นงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทด่ี นิ อยา งคมุ คา ประหยดั งบประมาณ

๘๓

ภาครฐั จึงขอใหจ ังหวัดกาํ ชับเจาพนักงานทดี่ ินจังหวดั และสาขา ตลอดจนเจาพนักงานท่ดี นิ
หวั หนา สว นแยกและเจา พนกั งานทด่ี นิ อาํ เภอไดค วบคมุ และเขม งวดใหเ จา หนา ทใ่ี นสงั กดั กรมทด่ี นิ
ใชค วามระมัดระวงั และความละเอียดรอบคอบในการพิมพห รอื เขียนหนงั สือแสดงสทิ ธิในท่ดี นิ
หนังสอื กรรมสิทธิห์ อ งชุด และใบแทน การดําเนนิ การออกหนังสอื แสดงสิทธิในที่ดนิ หนงั สือ
กรรมสิทธหิ์ อ งชุด ใบแทน และการแบง แยก ใหถ ือปฏิบัตติ ามขั้นตอนของระเบยี บ กฎหมายโดย
เครง ครัด และหากมีกรณีจาํ เปน จะตองทาํ ลายแบบพิมพ ใหดําเนินการตามระเบยี บกรมทีด่ ิน
วา ดว ยการพมิ พ การควบคุมรักษาและการเบิกจายแบบพมิ พโ ฉนดทดี่ นิ หนงั สือรบั รองการทาํ
ประโยชน และหนงั สอื กรรมสิทธห์ิ องชุด พ.ศ. ๒๕๔๗ ขอ ๑๗ (๔) พรอมท้งั ใหรายงานการแจง
การทาํ ลายแบบพมิ พห นงั สอื แสดงสทิ ธใิ นทด่ี นิ ตามแบบฟอรม รายงานเพม่ิ เตมิ ตามสง่ิ ทส่ี ง มาดว ย
สงใหกรมทีด่ ิน ทั้งน้ี ขอใหจ ังหวดั รายงานสาเหตุการทําลายตามขอเทจ็ จรงิ อยา งเครงครัด และ
ใหใชขอมูลนี้เปนสวนหนึ่งในการพิจารณาประเมินผลการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีเพื่อพิจารณา
ความดคี วามชอบประจาํ ป สําหรบั กรณีทเี่ ปนความผิดท่เี ขา เงื่อนไขซ่งึ จะตองชดใชคาเสียหาย
ตามพระราชบัญญตั ิความรบั ผิดทางละเมิดของเจา หนา ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ จะตองใหเจาหนาทที่ ีเ่ ปน
สาเหตุแหง การทําลายแบบพมิ พนน้ั ชดใชคา เสยี หายทเ่ี กิดข้นึ ตามระเบียบราชการดวย

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและแจงใหเจาหนาท่ีในสังกัดกรมที่ดินทราบและ
ถอื ปฏิบตั ติ อไป

ขอแสดงความนบั ถอื
(ลงชื่อ) บุญเชดิ คิดเห็น

(นายบุญเชิด คดิ เหน็ )
อธบิ ดีกรมท่ดี ิน

กองพสั ดุ
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๗๒๒
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๑๗๓

๘๔

แบบรายงานการแจงทําลายแบบพมิ พหนงั สือแสดงสทิ ธิในทด่ี ิน
จังหวัด................................................

ลาํ ดบั สาํ นักงานทีด่ ิน/ศนู ยเดนิ สาํ รวจฯ ชนิดแบบพมิ พ หมายเลขแบบพิมพ จาํ นวน สาเหตุท่ีทําลาย ช่ือ – สกุล ตําแหนง หมายเหตุ
ที่ หนงั สอื แสดงสิทธิ เจาหนา ทที่ เ่ี ปน สาเหตุ
ในที่ดนิ การทาํ ลาย

๘๕

หมายเหตุ ๑. ใหก รอกรายละเอยี ดในตารางใหถ ูกตอ งครบถวนตามความเปนจรงิ เรียงตามลาํ ดับสาํ นกั งานท่ีดินเพอื่ ความสะดวกของเจาหนา ที่ในการบนั ทกึ ขอมูลในโปรแกรมระบบพัสดุ
๒. ในการตดั หมายเลขแบบพมิ พท ที่ ําลายใหรายงานตามแบบฟอรมเดมิ

ลงชือ่ ......................................................
(....................................................)

ตาํ แหนง เจาพนักงานท่ดี ินจงั หวัด.........................

ท่ี นร ๐๑๐๖ / ว ๕๗๙๒ (สําเนา)
สํานกั นายกรฐั มนตรี
ทําเนยี บรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๐

๒๗ กนั ยายน ๒๕๕๖

เร่ือง ซอ มความเขา ใจเกย่ี วกบั การปฏิบตั ติ ามระเบยี บสํานกั นายกรัฐมนตรีวา ดวยรถราชการ
พ.ศ.๒๕๒๓ และท่แี กไขเพิ่มเติม

เรียน กระทรวง กรม และจังหวดั

ดว ยปรากฏวาสํานักนายกรฐั มนตรไี ดร ับรายงานจากสว นราชการตางๆ เกยี่ วกับ
การยกเวน การมีตราเครื่องหมายและอักษรช่ือแสดงสังกัดของสวนราชการไวดานขางนอก
รถสวนกลาง และการท่ีสว นราชการอนุญาตใหนํารถสว นกลางไปเก็บไวทีอ่ น่ื เปน การชว่ั คราวหรือ
เปน คร้ังคราว ตามที่กําหนดไวในระเบียบสํานักนายกรฐั มนตรีวาดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓
และทแ่ี กไ ขเพม่ิ เตมิ ขอ ๗ ขอ ๑๖ และขอ ๑๖ ทวิ ตามลําดับ ประกอบกบั สภาผูแทนราษฎร
ไดจัดสงขอปรึกษาหารือเกย่ี วกบั การเสนอขอใหร ฐั บาลไดช ว ยกาํ ชบั หนว ยงานทางราชการในการใช
รถยนตซ ง่ึ เปน ของราชการผิดวัตถปุ ระสงค โดยเฉพาะหลังเลิกงานแลว ควรเกบ็ รถไวใ นสถานที่
ราชการเทา นนั้ ไมควรนําไปใชเปน การสวนตวั ซึง่ อาจจะเกดิ ภาพพจนทเ่ี สยี หายไดดวย ไปเพ่อื
สาํ นกั นายกรัฐมนตรีพจิ ารณาดาํ เนนิ การตอไป

สํานักนายกรฐั มนตรขี อเรยี นวา สาํ นกั นายกรฐั มนตรี โดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการรถราชการ ไดพ ิจารณารายงานและขอปรึกษาหารือดงั กลา วขา งตนแลว ปรากฏผล
สรุปไดด งั นี้

๑. ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรวี าดว ยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และทแ่ี กไ ข
เพิม่ เติม ขอ ๗ วรรคสี่ กําหนดใหส ว นราชการใดมีเหตุผลและความจําเปน ซึ่งเห็นวา การมีตรา
เคร่อื งหมายและอกั ษรชื่อแสดงสังกดั ของสว นราชการไวด านขางนอกรถ อาจไมป ลอดภัยแกผูใช
หรือไมเ หมาะสมแกก ารปฏบิ ตั งิ าน ใหขออนมุ ตั ปิ ลดั กระทรวงเพ่ือขอยกเวนการมีตราเครอ่ื งหมาย
และอกั ษรช่อื แสดงสงั กดั ได และวรรคหา กําหนดใหส ําหรับสว นราชการซ่ึงมไิ ดอยูในบงั คบั บญั ชา
ของปลัดกระทรวง หรอื มิไดส ังกัดสํานักนายกรัฐมนตรี กระทรวง หรอื ทบวง ใหหัวหนาสว นราชการ
ขออนมุ ัติตอผบู ังคับบัญชาเหนือข้นึ ไป และจากการตรวจสอบบัญชีแสดงจํานวนรถยนตแ ละ
รถจักรยานยนตที่ไดรับการยกเวนการมีตราเคร่ืองหมายและอักษรชื่อแสดงสังกัดของสวนราชการ
ไวดา นขา งนอกรถสวนกลางของสว นราชการตางๆ ประจําปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ระหวาง
วันที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๕๔ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๕๕ มีจํานวนรวมทง้ั ส้ิน ๗๕ คนั โดยแบง เปนรถยนต
จํานวน ๖๕ คนั และรถจกั รยานยนต ๑๐ คัน แลวพบวา สวนราชการโดยรวมไดรายงานเหตุผล

๘๖

และความจําเปนในการขอยกเวนการมีตราเครื่องหมายและอักษรชื่อแสดงสังกัดของสวนราชการ
ไวดา นขา งนอกรถสว นกลาง ซึ่งเหตุผลและความจาํ เปนดงั กลา วมีความสอดคลอ งกบั หลกั การ
และเจตนารมณของระเบยี บฯ แลว แตอยา งไรก็ดี ยงั มสี ว นราชการบางแหงไดใชดุลพินิจอนุมัติ
เก่ียวกับเรื่องดังกลา วโดยมเี หตผุ ลและความจาํ เปนอยางกวา งขวางเกนิ สมควร ซึ่งไมส อดคลอ ง
กับหลกั การและเจตนารมณของระเบียบฯ

๒. ระเบยี บสาํ นกั นายกรฐั มนตรีวา ดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และทแี่ กไข
เพ่มิ เติม ขอ ๑๖ วรรคสอง กําหนดใหการเกบ็ รักษารถสวนกลาง รถรบั รอง และรถรบั รองประจาํ
จังหวัด ใหอยูในความรบั ผิดชอบของสวนราชการ โดยเกบ็ รกั ษาในสถานที่เกบ็ หรอื บริเวณของ
สว นราชการ และวรรคสาม กําหนดใหส ําหรับรถสวนกลาง หัวหนา สว นราชการหรือผทู ี่ไดร ับมอบ
อํานาจจากหัวหนาสวนราชการจะพิจารณาอนุญาตใหนํารถไปเก็บรักษาท่ีอ่ืนเปนการช่ัวคราว
หรือเปน ครั้งคราวไดใ นกรณที ่รี ะบไุ วใ น (๑) และ (๒) ซึง่ ไดแก กรณสี ว นราชการไมม สี ถานทเี่ ก็บ
รกั ษาปลอดภัยเพียงพอ หรอื กรณีมรี าชการจาํ เปน และเรง ดว นหรือการปฏบิ ตั ิราชการลับ และ
จากการตรวจสอบบัญชแี สดงจาํ นวนรถยนตแ ละรถจักรยานยนตท ่ีสว นราชการตางๆ อนุญาตให
นํารถสว นกลางไปเก็บรกั ษาท่ีอืน่ เปน การชั่วคราวหรือเปนคร้งั คราว ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๕๕ ระหวางวันท่ี ๑ ตุลาคม ๒๕๕๔ – ๓๐ กันยายน ๒๕๕๕ มีจาํ นวนรวมทัง้ ส้ิน ๑๑๗ คัน โดย
แบง เปน รถยนต จาํ นวน ๑๐๗ คัน และรถจกั รยานยนต ๑๐ คัน แลวพบวา มกี ารดาํ เนนิ การทอี่ ยู
ในหลักเกณฑต ามท่รี ะเบียบฯ ขอ ๑๖ กําหนด แตเน่อื งจากระเบียบฯ มิไดกําหนดใหสวนราชการ
จะตองรายงานความสูญหายหรือเสียหายที่เกิดข้ึนกับรถสวนกลางที่นําไปเก็บรักษาท่ีอื่นเปนการ
ชวั่ คราวหรือเปนครัง้ คราวอันเนอ่ื งมาจากสวนราชการไมม ีสถานทเ่ี ก็บรกั ษาปลอดภัยเพยี งพอ ซ่งึ
สงผลทาํ ใหส ํานักนายกรฐั มนตรี โดยคณะกรรมการรถราชการ ไมอาจทราบขอเทจ็ จรงิ เกีย่ วกับ
การสญู หายหรอื เสยี หายทเี่ กดิ ขน้ึ กบั รถสว นกลางทนี่ าํ ไปเก็บรักษาท่อี ื่นดังกลาวได

๓. สําหรับขอปรึกษาหารือของสภาผูแทนราษฎรเกี่ยวกับการเสนอขอใหรัฐบาล
ไดช ว ยกาํ ชับหนว ยงานทางราชการใชร ถยนตซึง่ เปนของราชการผิดวัตถุประสงค โดยเฉพาะหลงั
เลกิ งานแลว ควรเกบ็ รถไวในสถานทีร่ าชการเทาน้นั ไมควรนําไปใชเ ปนการสว นตวั ซึง่ อาจจะ
เกิดภาพพจนที่เสียหายไดดวย นั้น เนื่องจากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยรถราชการ
พ.ศ. ๒๕๒๓ และที่แกไ ขเพิ่มเติม ไดกาํ หนดหลักเกณฑและวิธกี ารปฏิบตั เิ ก่ียวกบั การเก็บรักษา
รถยนตของทางราชการไวในหมวด ๔ การเก็บรกั ษาและซอ มบํารงุ ขอ ๑๖ และขอ ๑๖ ทวิ อยา ง
ชัดเจนแลว อยางไรกด็ ี เพือ่ ใหก ารเกบ็ รกั ษารถสวนกลางของสว นราชการเปนไปอยา งถูกตอ ง
ตามระเบยี บฯ สมควรแจง เวยี นซอ มความเขา ใจเก่ียวกับการปฏิบตั ิในเรอื่ งดงั กลาวใหเ ปน ไปตาม
ระเบียบฯ อยางเครง ครดั แกสวนราชการท่อี ยใู นบงั คบั ของระเบยี บฯ ตอ ไปดว ย

สาํ นักนายกรัฐมนตรพี ิจารณาแลวเหน็ วา เพอื่ ใหการพจิ ารณาอนุมตั ิยกเวน
การมตี ราเคร่อื งหมายและอกั ษรชือ่ แสดงสงั กดั ของสวนราชการไวท ีด่ า นขา งนอกรถ และการใช

๘๗

และเกบ็ รักษารถสว นกลางของสวนราชการตางๆ เปนไปอยางถกู ตอ งตามระเบียบสํานักนายก
รฐั มนตรวี าดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และทแี่ กไ ขเพม่ิ เติม จึงเห็นสมควรซอ มความเขาใจให
แกสว นราชการทีอ่ ยใู นบังคับของระเบยี บฯ พจิ ารณาดําเนินการเรอื่ งดังกลา ว โดยถอื ปฏบิ ตั ิอยา ง
เครง ครัด ดงั นี้

๑. การที่สวนราชการจะพิจารณาอนุมัติใหรถสวนกลางคันใดไดรับยกเวนการ
มีตราเคร่อื งหมายและอกั ษรชอ่ื แสดงสงั กัดของสวนราชการไวทด่ี านขา งนอกรถ นน้ั สวนราชการ
จะตอ งมเี หตผุ ลและความจําเปนซ่งึ เหน็ วา การมีตราเครอื่ งหมายและอกั ษรชอ่ื แสดงสังกัดของ
สว นราชการไวท ีด่ านขางนอกรถ อาจไมปลอดภัยแกผ ใู ชห รือไมเ หมาะสมแกก ารปฏบิ ัติงานตาม
นัยระเบียบสาํ นักนายกรัฐมนตรวี าดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และทแ่ี กไขเพม่ิ เติม ขอ ๗ วรรคส่ี
และวรรคหา ดงั นัน้ จึงขอใหส วนราชการพึงระมัดระวงั ในการใชดลุ พนิ ิจอนุมตั ิใหรถสวนกลางได
รับยกเวนการมีตราเคร่ืองหมายและอักษรชื่อแสดงสังกัดของสวนราชการไวท่ีดานขางนอกรถตาม
เหตผุ ลและความจาํ เปน ตามความเหมาะสมอนั สมควร

๒. เม่ือรถสวนกลางคันใดไดรับยกเวนการมีตราเครื่องหมายและอักษรช่ือแสดง
สังกัดของสวนราชการไวท ี่ดานขางนอกรถแลว ใหส ว นราชการรายงานผรู ักษาการตามระเบยี บฯ
และสาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผนดนิ ทราบ และใหมกี ารพจิ ารณาทบทวนเหตผุ ลและความจําเปน
ของการยกเวนการมีตราเคร่ืองหมายและอักษรช่ือแสดงสังกัดของสวนราชการดังกลาวในชวง
เวลาอันเหมาะสมอยเู สมอ เชน อยางนอ ยปล ะหนึ่งคร้งั ตามนัยระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรีวา
ดวยรถราชการ พ.ศ. ๒๕๒๓ และทแี่ กไ ขเพม่ิ เติม ขอ ๗ วรรคหก

๓. การใชร ถสว นกลางของสวนราชการตา งๆ จะตองเปน การใชเ พือ่ กจิ การอนั
เปน สวนรวมของสว นราชการ หรอื เพือ่ ประโยชนข องทางราชการอยางจาํ เปน และเหมาะสม ตาม
หลักเกณฑท่สี วนราชการเจาของรถน้ันกําหนดข้นึ ตามนัยระเบียบฯ ขอ ๑๓ วรรคสอง ดังน้ัน จึงขอ
ความรว มมอื ใหส ว นราชการตรวจสอบการใชร ถสว นกลางทกุ กรณี เพ่ือมิใหมกี ารนํารถสวนกลาง
ไปใชในลักษณะที่มิใชเปนการใชเพ่ือกิจการอันเปนสวนรวมของสวนราชการหรือเพื่อประโยชน
ของทางราชการ

๔. การเกบ็ รกั ษารถสว นกลางใหอ ยใู นความควบคมุ และรบั ผดิ ชอบของสว นราชการ
โดยใหเ ก็บรกั ษาในสถานทเี่ ก็บหรือบรเิ วณของสว นราชการ เวน แตหัวหนา สว นราชการหรือผทู ่ี
ไดรับมอบหมายจากหัวหนาสวนราชการจะพิจารณาอนุญาตใหนํารถไปเก็บรักษาที่อื่นเปนการ
ชว่ั คราวหรือเปน ครว้ั คราวไดเฉพาะในกรณดี ังตอ ไปนี้

๔.๑ สวนราชการไมมสี ถานท่ีเกบ็ รกั ษาปลอดภัยเพยี งพอ หรือ
๔.๒ มรี าชการจาํ เปน และเรง ดว น หรอื การปฏบิ ตั ริ าชการลบั ตามนยั ระเบยี บฯ
ขอ ๑๖ วรรคสอง และวรรคสาม (๑) และ (๒) ตามลาํ ดบั

๘๘

๕. ในการขออนุญาตใหนํารถสวนกลางไปเก็บรักษาที่อื่นเปนการชั่วคราวอัน
เน่อื งมาจากสว นราชการไมมีสถานที่เกบ็ รักษาปลอดภยั เพียงพอ ใหเจา หนาทีผ่ รู ับผิดชอบในการ
เก็บรกั ษารถสว นกลางจดั ทาํ รายงานขออนุญาต พรอ มดว ยเหตุผลความจาํ เปนและรายละเอียด
ของสถานท่ที จี่ ะนาํ รถสวนกลางไปเกบ็ รักษาซง่ึ แสดงใหเ ห็นไดอ ยางชัดเจนวา มีความปลอดภยั
เพยี งพอ เสนอประกอบการพิจารณาของผมู อี ํานาจอนุญาตดว ยทกุ คร้ัง และเมือ่ ไดร ับอนุญาต
ดงั กลา วแลว ใหส ว นราชการรายงานผรู กั ษาการตามระเบยี บฯ และสาํ นกั งานการตรวจเงนิ แผน ดนิ
ทราบดว ยตามนัยระเบยี บฯ ขอ ๑๖ ทวิ

๖. ในกรณีท่ีเกิดการสูญหายหรือเสียหายข้ึนกับรถสวนกลางในระหวางการเก็บ
รักษาที่อ่ืนเปนการชั่วคราวหรือเปนครั้งคราวอันเนื่องมาจากสวนไมมีสถานที่เก็บรักษาปลอดภัย
เพียงพอ นอกจากสว นราชการจะตองรายงานผบู ังคับบญั ชาตามลาํ ดบั ชน้ั ทราบแลว ขอความ
รวมมือใหสวนราชการดังกลาวรายงานใหคณะกรรมการรถราชการทราบเพื่อเปนขอมูลประกอบ
การพิจารณาวา ในโอกาสตอ ไป สมควรจะกวดขนั ดูแลในเรอ่ื งนใ้ี หรอบคอบและรัดกมุ มากยงิ่ ข้ึน
หรอื ไม เพียงใด

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบ และถอื ปฏบิ ตั ิโดยเครง ครดั ตอ ไปดวย
ขอแสดงความนบั ถือ

(ลงชอ่ื ) กมล สุขสมบูรณ
(นายกมล สขุ สมบรู ณ)

รองปลัดสํานักนายกรฐั มนตรี ปฏิบัตริ าชการแทน
ปลดั สาํ นกั นายกรฐั มนตรี

สาํ นักงานปลัดสาํ นักนายกรัฐมนตรี
สํานักกฎหมายและระเบียบกลาง
โทร. ๐ ๒๒๘๒ ๒๖๙๔
โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๗๘๙๖

(เวียนตามหนงั สอื ที่ มท ๐๕๐๘.๓/ว ๘๘๔๓ ลว. ๑๘ ต.ค. ๕๖)
๘๙

๙๐

บัญชีรายชื่อหนงั สือเวียน ระเบียบ และคําส่งั ตา งๆ
สํานกั กฎหมาย

ประจาํ ป พ.ศ. ๒๕๕๖

๑. เลขท่ีหนังสือเวยี น ช่อื เร่อื ง หนา
ลําดบั ที่ ระเบยี บ คําสั่ง ๙๓

๒. ลงวนั เดือน ป

๑. ที่ ปง ๐๐๐๕.๒ / ว ๓๕๖ การปฏิบัตติ ามกฎหมายวา ดว ยการปองกนั
ลว. ๑๘ ก.พ. ๕๖ และปราบปรามการฟอกเงนิ และกฎหมาย
วา ดวยการปองกันและปราบปราม
การสนับสนุนทางการเงนิ แกก ารกอการรา ย

๒. ท่ี มท ๐๕๐๕.๔/๓๒๗ การเขยี นสว นลงทา ยในหนงั สือราชการ ๑๒๐
ลว. ๒๐ มี.ค. ๒๕๕๖ ถงึ จังหวดั

๓. ดว นทสี่ ดุ
ท่ี มท ๐๕๐๕.๒ / ว ๗๒๐๙ ซอมความเขาใจเก่ยี วกบั แนวทางในการ ๑๒๓
ลว. ๑๘ ม.ี ค. ๕๖ ดาํ เนนิ คดปี กครอง

๔. ดว นมาก
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๘๐๓๖ การจัดต้ังสาํ นักงานที่ดนิ สาขาและสว นแยก ๑๒๗
ลว. ๒๕ มี.ค. ๕๖

๕. ดว นที่สุด ๑๓๗
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๙๔๕๖ กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๕๖)
ลว. ๙ เม.ย. ๕๖ ออกตามความในพระราชบญั ญัตใิ หใช
ประมวลกฎหมายท่ีดิน พ.ศ. ๒๔๙๗
(มาตรการภาษีและคาธรรมเนยี มของ
กองทุนรวมโครงสรางพ้ืนฐาน (Infrastructure
Fund)

๙๑

บญั ชีรายช่ือหนงั สอื เวียน ระเบยี บ และคําส่งั ตางๆ
สํานกั กฎหมาย

ประจําป พ.ศ. ๒๕๕๖

๑. เลขท่ีหนังสือเวียน ชือ่ เรอ่ื ง หนา
ลาํ ดับที่ ระเบียบ คาํ สง่ั

๒. ลงวนั เดอื น ป

๖. ดวนมาก
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๑๗๗๓๐ การเปล่ียนแปลงเขตพนื้ ที่ความรบั ผิดชอบ ๑๔๐
ลว. ๑๐ ก.ค. ๕๖ ของสาํ นักงานทดี่ ิน

๗. ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๒๑๐๔๙ การเตรียมความพรอมของหนวยงานใน ๑๔๔
ลว. ๑๔ ส.ค. ๕๖ การรองรับการประกาศกฎหมายเกีย่ วกบั
ส่ิงแวดลอ มภายใตระเบยี บสํานกั นายก
รัฐมนตรีวาดวยการประสานงานเพื่อบงั คบั ใช
กฎหมายเกี่ยวกบั ส่ิงแวดลอม พ.ศ. ๒๕๕๐

๘. ดวนท่สี ดุ รา งพระราชบัญญตั แิ กไขเพ่มิ เตมิ ประมวล ๑๖๓
ที่ มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๒๙๘๑๔ กฎหมายท่ดี ิน (ฉบบั ที่ ..) พ.ศ. .... (กําหนด
ลว. ๒๐ พ.ย. ๕๖ หลกั เกณฑก ารจดทะเบียนสิทธแิ ละนิตกิ รรม
เกย่ี วกบั อสงั หารมิ ทรพั ยในเรอ่ื งไถถ อนและ
มรดกฯ)

๙. ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๓๒๐๘๐ พระราชบัญญัตแิ กไขเพ่มิ เติมประมวล ๑๗๑
ลว. ๒๔ ธ.ค. ๕๖ กฎหมายทด่ี ิน (ฉบบั ที่ ๑๓) พ.ศ. ๒๕๕๖

๙๒

ท่ี ปง ๐๐๐๕.๒ / ว ๓๕๖ (สาํ เนา)
สาํ นักงานปองกนั และปราบปรามการฟอกเงิน
๔๒๒ ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทมุ วนั
กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐

๑๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๕๖

เร่อื ง การปฏิบตั ติ ามกฎหมายวา ดว ยการปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงินและกฎหมาย
วา ดว ยการปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกก ารกอการราย

เรยี น อธิบดกี รมท่ดี นิ
สิ่งท่สี งมาดวย ๑. พระราชบัญญัติปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖

๒. พระราชบัญญตั ิปองกันและปราบปรามการสนบั สนนุ ทางการเงินแกการ
กอ การราย พ.ศ. ๒๕๕๖

๓. กฎกระทรวงการกําหนดใหผ ทู ่มี ีการกระทําอนั เปนการกอการรายตามมติของ
หรอื ประกาศภายใตค ณะมนตรคี วามมัน่ คงแหง สหประชาชาติเปนบุคคลที่
ถกู กาํ หนด พ.ศ. ๒๕๕๖

๔. กฎกระทรวงการพจิ ารณารายชอ่ื และการทบทวนรายช่ือบคุ คลที่ถกู กาํ หนด
ของสํานักงานปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงินและคณะกรรมการธุรกรรม
พ.ศ. ๒๕๕๖

๕. ระเบียบคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการฟอกเงินวาดว ยประกาศ
และการแจงรายชือ่ บคุ คลที่ถกู กาํ หนด และการดําเนนิ การตามมาตรา ๖ (๑)
(๒) และ (๓) พ.ศ. ๒๕๕๖

๖. ระเบยี บคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินวาดวยการกาํ หนด
นโยบายในการประเมินความเสี่ยง การกําหนดแนวทางปฏิบตั ิหรือมาตรการ
อนื่ ใดเพ่อื ปองกันมิใหมีการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกการกอ การรา ย พ.ศ. ๒๕๕๖

๗. ระเบยี บคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงนิ วา ดว ยการเก็บ
รักษาและการบริหารจดั การทรพั ยสนิ ทถี่ ูกระงับการดําเนนิ การกับทรัพยสิน
พ.ศ. ๒๕๕๖

ตามที่สํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สํานักงาน ปปง.)
ไดดําเนินการเก่ียวกับการตรากฎหมายและอนุบัญญัติใหสอดคลองกับมาตรฐานสากลดาน
การปอ งกนั ปราบปรามการฟอกเงนิ และการตอ ตา นการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก ารกอ การรา ย นน้ั

๙๓

บดั น้ี พระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบบั ท่ี ๔) พ.ศ.๒๕๕๖
และพระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก ารกอ การรา ย พ.ศ.๒๕๕๖
รวมถึงอนุบัญญัติทเี่ ก่ียวขอ งไดม ผี ลบังคบั ใชแ ลว โดยมีรายละเอียดตามสิ่งที่สง มาดวย ดงั นนั้
สํานกั งาน ปปง. จึงขอแจง ใหทา นทราบเก่ยี วกบั กฎหมายทง้ั สองฉบับและอนบุ ัญญัตทิ ่ีเกย่ี วของ
และขอแจง ใหท ราบวา ตอ งมกี ารปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายวา ดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ
และกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย
อยา งเครง ครดั มฉิ ะนัน้ อาจมคี วามผิดตามที่กฎหมายกาํ หนด ท้ังนข้ี อความอนเุ คราะหท านแจง
เวียนใหผเู ก่ยี วขอ งทราบตอ ไป โดยเอกสารรายละเอียดในเร่อื งดงั กลา วไดเ ผยแพรบ นเว็บไซตข อง
สํานกั งาน ปปง. (www.amlo.go.th) อีกทางหน่ึง

จึงเรียนมาเพ่ือทราบ
ขอแสดงความนับถอื

พนั ตาํ รวจเอก สีหนาท ประยูรรตั น
(สหี นาท ประยรู รตั น)

เลขาธกิ ารคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน

สาํ นักกาํ กบั ตรวจสอบและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
โทร. ๐–๒๒๑๙–๓๖๐๐ ตอ ๕๐๗๐
โทรสาร ๐–๒๒๑๙–๓๖๔๓

๙๔

(สาํ เนา)
พระราชบัญญัติ
ปองกนั และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๔)
___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๖____
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ ๑ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖
เปนปที่ ๖๘ ในรัชกาลปจ จบุ นั
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหป ระกาศวา
โดยที่เปนการสมควรแกไขเพ่ิมเติมกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการ
ฟอกเงิน
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของ
บุคคล ซง่ึ มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓
ของรัฐธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรไทย บญั ญัติใหก ระทาํ ไดโดยอาศยั อํานาจตามบทบญั ญัติแหง
กฎหมาย
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ขิ น้ึ ไวโ ดยคาํ แนะนาํ และยนิ ยอม
ของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกวา “พระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม
การฟอกเงิน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๖”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับนับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตน ไป
มาตรา ๓ ใหเ พ่ิมความตอไปนเี้ ปน (๑๐) (๑๑) (๑๒) (๑๓) (๑๔) (๑๕) (๑๖) (๑๗)
(๑๘) (๑๙) (๒๐) และ (๒๑) ของบทนิยามคําวา “ความผดิ มลู ฐาน” ในมาตรา ๓ แหงพระราช
บัญญัตปิ อ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิ
ปองกนั และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
“(๑๐) ความผิดเกีย่ วกบั การเปนสมาชิกอง้ั ยี่ตามประมวลกฎหมายอาญา หรอื การมี
สวนรวมในองคกรอาชญากรรมท่มี กี ฎหมายกาํ หนดเปนความผิด
(๑๑) ความผดิ เกย่ี วกบั การรบั ของโจรตามประมวลกฎหมายอาญา เฉพาะทเ่ี กย่ี วกบั
การชวยจาํ หนาย ซอื้ รบั จํานํา หรือรบั ไวด วยประการใดซึ่งทรพั ยท่ไี ดม าโดยการกระทําความผิด
อนั มลี ักษณะเปนการคา

๙๕

(๑๒) ความผิดเกี่ยวกับการปลอมหรือการแปลงเงนิ ตรา ดวงตรา แสตมป และตั๋ว
ตามประมวลกฎหมายอาญาอันมีลักษณะเปนการคา

(๑๓) ความผิดเกี่ยวกับการคาตามประมวลกฎหมายอาญาเฉพาะท่ีเก่ียวกับ
การปลอม หรือการละเมิดทรัพยสนิ ทางปญญาของสนิ คา หรือความผิดตามกฎหมายท่ีเก่ียวกับ
การคุมครองทรพั ยส นิ ทางปญ ญาอันมลี ักษณะเปนการคา

(๑๔) ความผดิ เก่ยี วกับการปลอมเอกสารสทิ ธิ บตั รอเิ ล็กทรอนิกส หรือหนงั สอื
เดินทางตามประมวลกฎหมายอาญาอนั มีลกั ษณะเปน ปกตธิ ุระหรอื เพือ่ การคา

(๑๕) ความผิดเกี่ยวกบั ทรพั ยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอ ม โดยการใช ยึดถือ หรือ
ครอบครองทรัพยากรธรรมชาติหรือกระบวนการแสวงหาประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติโดย
มิชอบดว ยกฎหมายอนั มีลักษณะเปน การคา

(๑๖) ความผิดเก่ียวกับการประทุษรายตอชีวิตหรือรางกายจนเปนเหตุใหเกิด
อันตรายสาหัสตามประมวลกฎหมายอาญา เพ่อื ใหไ ดประโยชนซง่ึ ทรัพยสนิ

(๑๗) ความผิดเกี่ยวกับการหนวงเหนี่ยวหรือกักขังผูอ่ืนตามประมวลกฎหมาย
อาญาเฉพาะกรณีเพ่ือเรียกหรือรับผลประโยชนหรือเพ่ือตอรองใหไดรับผลประโยชนอยางใด
อยา งหนง่ึ

(๑๘) ความผดิ เก่ยี วกับการลกั ทรัพย กรรโชก รีดเอาทรัพย ชิงทรพั ย ปลน ทรพั ย
ฉอโกง หรือยกั ยอก ตามประมวลกฎหมายอาญาอันมลี กั ษณะเปนปกตธิ รุ ะ

(๑๙) ความผิดเก่ียวกับการกระทําอันเปนโจรสลัดตามกฎหมายวาดวยการปองกัน
และปราบปรามการกระทาํ อันเปน โจรสลัด

(๒๐) ความผิดเก่ียวกับการกระทําอันไมเปนธรรมเกี่ยวกับการซ้ือขายหลักทรัพย
ตามกฎหมายวา ดวยหลกั ทรพั ยแ ละตลาดหลกั ทรพั ย

(๒๑) ความผิดเกี่ยวกับอาวุธหรือเครื่องมืออุปกรณของอาวุธท่ีใชหรืออาจนําไปใช
ในการรบหรือการสงครามตามกฎหมายวาดว ยการควบคุมยุทธภณั ฑ”

มาตรา ๔ ใหเ พม่ิ ความตอไปนเี้ ปนวรรคสองของบทนยิ ามคาํ วา “ความผดิ มลู ฐาน”
ในมาตรา ๓ แหง พระราชบัญญตั ปิ องกนั และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ แกไข
เพ่มิ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑

“ความผิดมูลฐานตามวรรคหนงึ่ ใหห มายความรวมถึงการกระทําความผิดอาญา
นอกราชอาณาจกั ร ซึ่งหากการกระทาํ ความผดิ นัน้ ไดกระทาํ ลงในราชอาณาจกั รจะเปน ความผดิ
มลู ฐานดวย”

มาตรา ๕ ใหย กเลิกบทนิยามคําวา “ธรุ กรรมท่มี เี หตอุ นั ควรสงสยั ” ในมาตรา ๓
แหง พระราชบญั ญตั ิปองกันและปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใชค วามตอ ไปน้ี
แทน

๙๖


Click to View FlipBook Version