The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รวมระเบียบคำสั่ง กรมที่ดิน ประจำปี 2556 (ปี 2556)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

“ “ธรุ กรรมทม่ี เี หตุอันควรสงสยั ” หมายความวา ธุรกรรมทมี่ ีเหตุอนั ควรเช่อื ไดวา
กระทําขึ้นเพอื่ หลกี เลีย่ งมใิ หต องตกอยูภ ายใตบงั คบั แหงพระราชบัญญตั ิน้ี หรือธุรกรรมท่เี ก่ียวของ
หรืออาจเกี่ยวของกับการกระทําความผิดมูลฐานหรือการสนับสนุนทางการเงินแกการกอการราย
ทัง้ น้ี ไมวา จะเปน การทําธรุ กรรมเพยี งคร้ังเดียวหรือหลายครงั้ และใหห มายความรวมถงึ การ
พยายามกระทาํ ธรุ กรรมดังกลา วดว ย”

มาตรา ๖ ใหย กเลกิ ความใน (๑) ของบทนยิ ามคาํ วา “ทรพั ยส นิ ทเ่ี กย่ี วกบั การกระทาํ
ความผิด” ในมาตรา ๓ แหง พระราชบญั ญัตปิ องกันและปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒
ซ่ึงแกไ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั ิปองกันและปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑
และใหใ ชค วามตอ ไปนแี้ ทน

“(๑) เงินหรือทรัพยสินท่ีไดมาจากการกระทําซ่ึงเปนความผิดมูลฐานหรือความผิด
ฐานฟอกเงนิ หรือจากการสนับสนุนหรือชวยเหลือการกระทําซึ่งเปนความผิดมูลฐาน หรอื ความผดิ
ฐานฟอกเงิน และใหรวมถึงเงินหรือทรัพยสินท่ีไดใชหรือมีไวเพ่ือใชหรือสนับสนุนการกระทํา
ความผดิ มลู ฐานตาม (๘) ของบทนยิ ามคาํ วา “ความผดิ มูลฐาน” หรอื การกระทําความผิดฐาน
สนับสนุนทางการเงินแกการกอการรายตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการ
สนับสนนุ ทางการเงินแกก ารกอการรา ยดวย”

มาตรา ๗ ใหเ พมิ่ ความตอไปน้เี ปน (๑/๑) ของมาตรา ๒๕ แหงพระราชบญั ญัติ
ปองกันและปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ แกไขเพม่ิ เติมโดยพระราชบัญญตั ปิ อ งกนั
และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑

“(๑/๑) กาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารในการประเมนิ ความเสย่ี งทเ่ี กย่ี วกบั การฟอกเงนิ
ท่ีอาจเกิดจากการทําธุรกรรมของหนวยงานของรัฐหรือกิจการบางประเภทที่ไมตองรายงานการทํา
ธุรกรรมตามพระราชบญั ญัติน้ี และเสนอแนะแนวทางปฏิบัตเิ พื่อปอ งกันความเส่ยี งดงั กลาว”

มาตรา ๘ ใหเ พม่ิ ความตอ ไปนีเ้ ปน มาตรา ๓๗/๑ แหงพระราชบัญญัติปอ งกันและ
ปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒

“มาตรา ๓๗/๑ ในกรณที ค่ี ณะกรรมการธรุ กรรมเหน็ วา คดใี ดสมควรจดั ใหม มี าตรการ
คุมครองชวยเหลือแกผูใหถอยคํา หรือผูที่แจงเบาะแสหรือขอมูลใดอันเปนประโยชนตอการ
ดาํ เนนิ การตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ใหค ณะกรรมการธรุ กรรมแจง หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งเพอ่ื ดาํ เนนิ การ
ใหม มี าตรการในการคมุ ครองบคุ คลดงั กลา ว โดยใหถ อื วาบุคคลดังกลา วเปนพยานทม่ี สี ิทธไิ ดรับ
ความคุมครองตามกฎหมายวา ดว ยการคุมครองพยานในคดีอาญา ทัง้ นี้ ใหค ณะกรรมการธุรกรรม
เสนอความเห็นดวยวาสมควรใชมาตรการท่ัวไปหรือมาตรการพิเศษตามกฎหมายดังกลาวสําหรับ
บคุ คลเหลา นน้ั ดว ย

ในกรณีเกดิ ความเสียหายแกชวี ติ รางกาย อนามยั ชอ่ื เสยี ง ทรัพยสนิ หรอื สทิ ธิ
อยางหนง่ึ อยางใดของบุคคลตามวรรคหนึ่ง หรือสามี ภรยิ า ผบู ุพการี ผสู บื สันดาน หรือบุคคลอ่ืน

๙๗

ท่ีมีความสัมพันธใกลชิดกับบุคคลดังกลาว เพราะมีการกระทําผิดอาญาโดยเจตนาเนื่องจาก
การดําเนินการหรือการใหถอยคาํ หรอื แจง เบาะแสหรอื ขอ มลู ตอพนกั งานเจาหนา ท่ี ใหบ คุ คลน้ัน
มีสิทธิยื่นคํารองตอหนวยงานท่ีรับผิดชอบเพ่ือขอรับคาตอบแทนเทาที่จําเปนและสมควรตาม
กฎหมายวาดวยการคุมครองพยานในคดีอาญาดวย

สํานักงานอาจจัดใหม ีคาตอบแทนหรอื ประโยชนอ ืน่ ใดแกบคุ คลตามวรรคหนึง่ ทั้งนี้
ตามระเบยี บที่คณะกรรมการประกาศกําหนด”

มาตรา ๙ ใหย กเลกิ ความใน (๓) และ (๔) ของมาตรา ๔๐ แหง พระราชบญั ญัติ
ปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซงึ่ แกไขเพิม่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัติปอ งกนั
และปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และใหใชค วามตอไปนแ้ี ทน

“(๓) รบั หรอื สง รายงานหรอื ขอ มลู เพอ่ื ปฏบิ ตั กิ ารตามพระราชบญั ญตั นิ ห้ี รอื กฎหมายอน่ื
หรอื ตามขอ ตกลงทไี่ ดจ ัดทําขน้ึ ระหวา งหนว ยงานในประเทศหรือตา งประเทศ

(๔) เกบ็ รวบรวมขอ มูล สถติ ิ ตรวจสอบ และติดตามประเมนิ ผลการดําเนินการ
ตามพระราชบัญญตั ินี้ และวเิ คราะหร ายงานหรือขอ มูลตางๆ เกีย่ วกบั การทาํ ธุรกรรม และประเมิน
ความเสี่ยงที่เก่ียวกบั การฟอกเงินหรือการสนนั สนนุ ทางการเงนิ แกการกอ การรา ย”

มาตรา ๑๐ ใหเ พมิ่ ความตอ ไปน้ีเปน (๓/๑) ของมาตรา ๔๐ แหงพระราชบญั ญตั ิ
ปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซง่ึ แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญตั ิปอ งกนั
และปราบปรามการฟอกเงิน (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑

“(๓/๑) กาํ หนดแนวทางปฏบิ ตั ิ กํากับ ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการปฏิบตั ิตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ีของผมู ีหนาท่ีรายงานการทาํ ธุรกรรมตอ สํานักงานตามหลกั เกณฑ วธิ ีการ และ
แนวปฏบิ ัตติ ามระเบียบที่คณะกรรมการกาํ หนด”

มาตรา ๑๑ ใหเ พม่ิ ความตอไปนีเ้ ปนวรรคสามของมาตรา ๔๔ แหง พระราชบญั ญัติ
ปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึง่ แกไ ขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบัญญตั ปิ อ งกนั
และปราบปรามการฟอกเงนิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑

“ใหขาราชการของสํานักงานซึ่งไดรับแตงต้ังเปนพนักงานเจาหนาที่เปนตําแหนงที่
มเี หตุพิเศษตามกฎหมายวา ดวยระเบยี บขาราชการพลเรอื น และในการกําหนดใหไ ดรบั เงนิ เพิม่
สาํ หรับตําแหนง ท่ีมีเหตพุ เิ ศษตอ งคาํ นงึ ถงึ ภาระหนา ท่ี คุณภาพของงาน และการดาํ รงตนอยูใ น
ความยุติธรรมโดยเปรียบเทียบกับคาตอบแทนของผูปฏิบัติงานอื่นในกระบวนการยุติธรรมดวย
ทงั้ น้ี ใหเ ปน ไปตามระเบยี บคณะกรรมการ โดยไดรบั ความเหน็ ชอบจากกระทรวงการคลัง”

มาตรา ๑๒ใหเ พมิ่ ความตอไปน้เี ปน มาตรา ๔๖/๑ แหงพระราชบญั ญตั ปิ องกนั และ
ปราบปรามการฟอกเงนิ พ.ศ. ๒๕๔๒

“มาตรา ๔๖/๑ ในกรณีจําเปนเพื่อประโยชนในการรวบรวมพยานหลักฐานตาม
พระราชบญั ญตั ิน้ี เมอ่ื สํานกั งานรองขอใหกรมสอบสวนคดีพเิ ศษใชอํานาจสบื สวน สอบสวนและ

๙๘

รวบรวมพยานหลักฐานตามกฎหมายวาดวยการสอบสวนคดีพิเศษเพ่ือดําเนินคดีกับผูกระทํา
ความผิดตามพระราชบัญญัติน้ีหรือเพื่อดําเนินการกับทรัพยสินท่ีเก่ียวกับการกระทําความผิดให
กรมสวบสวนคดีพิเศษมีอํานาจดําเนินการตามอํานาจหนาท่ีเพ่ือสนับสนุนการดําเนินการของ
สํานักงาน

เพอ่ื ประโยชนในการปฏบิ ตั กิ ารตามวรรคหนึง่ อธบิ ดีกรมสอบสวนคดีพเิ ศษโดยการ
เสนอแนะของเลขาธิการอาจมีคําสั่งแตงต้ังผูปฏิบัติงานในสํานักงานผูหน่ึงผูใดเปนพนักงาน
สอบสวนคดพี ิเศษ เพอ่ื ปฏิบตั งิ านทเ่ี ก่ียวกบั การสบื สวน การสอบสวน และการรวบรวมพยาน
หลักฐานตามกฎหมายวาดวยการสอบสวนคดีพิเศษในสวนที่เกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ตาม
พระราชบญั ญตั ินี้ได

ในการปฏิบัติการตามวรรคหน่ึงและวรรคสอง ใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดี
กรมสอบสวนคดีพิเศษและเลขาธกิ ารรวมกนั กําหนด”

มาตรา ๑๓ ใหเ พ่ิมความตอ ไปนี้เปน มาตรา ๖๔/๑ และมาตรา ๖๔/๒ แหงพระราช
บญั ญตั ิปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒

“มาตรา ๖๔/๑ ความผิดตามมาตรา ๖๒ มาตรา ๖๓ และมาตรา ๖๔ ใหค ณะ
กรรมการเปรยี บเทยี บทีค่ ณะกรรมการแตง ต้งั มอี ํานาจเปรยี บเทียบได

คณะกรรมการเปรยี บเทยี บใหมีจํานวนหา คน ประกอบดว ยเลขาธิการเปน ประธาน
กรรมการ ผูแ ทนหนวยงานภาครฐั ท่ีเก่ียวขอ งสองคน พนกั งานสอบสวนตามประมวลกฎหมาย
วิธีพิจารณาความอาญาหนึ่งคน โดยมีขาราชการในสํานักงานท่ีเลขาธิการมอบหมายเปน
กรรมการและเลขานุการ

ใหเ ลขาธกิ ารแตง ตง้ั ขา ราชการในสาํ นกั งานจาํ นวนไมเ กนิ สองคนเปน ผชู ว ยเลขานกุ าร
เมือ่ คณะกรรมการเปรยี บเทียบไดทาํ การเปรยี บเทยี บ และผตู องหาไดช ําระคาปรบั
ตามจาํ นวนและภายในระยะเวลาทีค่ ณะกรรมการเปรียบเทียบกําหนดแลว ใหถ อื วา คดเี ลิกกัน
ตามประมวลกฎหมายวธิ พี จิ ารณาความอาญา
มาตรา ๖๔/๒ ความผิดท่เี ปรียบเทยี บไดตามมาตรา ๖๒ ถา มไิ ดฟ องตอ ศาลหรือ
มิไดม ีการเปรียบเทียบตามมาตรา ๖๔/๑ ภายในสองปนับแตว นั ท่ีพนักงานเจา หนา ทีต่ รวจพบ
การกระทาํ ความผดิ และรายงานใหเลขาธิการทราบ หรอื ภายในหา ปน ับแตว ันกระทาํ ความผิด
เปน อนั ขาดอายคุ วาม”
ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ
ยิ่งลกั ษณ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี

๙๙

หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัตฉิ บับน้ี คอื โดยที่พระราชบญั ญัติปองกัน
และปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ ไมไ ดกาํ หนดใหก ารกระทาํ ความผิดอาญารายแรงบาง
ฐานความผิดเปนความผดิ มลู ฐาน สงผลใหผ ูกระทาํ ความผิดสามารถนําเงินและทรพั ยส ินทไ่ี ด
จากการกระทําความผิดมาใชสนับสนนุ การกระทําความผดิ อาญาไดอ ีก จึงเห็นควรกาํ หนดความ
ผิดมลู ฐานเพิม่ เตมิ และกําหนดกรอบของความผดิ มูลฐานใหชัดเจน เพ่ือเปนการคุม ครองสิทธิ
และเสรีภาพของประชาชน นอกจากนี้ ไดกําหนดอาํ นาจหนา ท่ขี องคณะกรรมการปอ งกันและ
ปราบปรามการฟอกเงินและสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินที่จะกําหนดนโยบาย
ในการประเมินความเส่ียงเก่ียวกับการฟอกเงินและเสนอแนะแนวทางเพื่อปองกันความเสี่ยง
กําหนดเรือ่ งมาตรการคุมครองพยาน เรือ่ งตําแหนงทีม่ เี หตพุ ิเศษท่ีจะไดร ับเงินเพ่ิมตามกฎหมาย
วาดวยระเบียบขาราชการพลเรือน และใหกรมสอบสวนคดีพิเศษสนับสนุนการดําเนินคดีกับ
ผกู ระทําความผิดหรือการดาํ เนินการกับทรพั ยสนิ เกีย่ วกบั การกระทาํ ความผดิ รวมทัง้ กําหนด
ใหม ีคณะกรรมการเปรยี บเทียบปรับ ทงั้ น้ี เพ่อื ใหการปฏบิ ตั ิงานเปนไปอยางมีประสทิ ธภิ าพซงึ่
สอดคลอ งกบั มาตรฐานสากล จงึ จําเปนตอ งตราพระราชบญั ญตั ิน้ี

๑๐๐

(สําเนา)
พระราชบญั ญัติ
ปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงนิ แกก ารกอการรา ย
___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๖____
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วนั ท่ี ๑ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
เปน ปท่ี ๖๘ ในรชั กาลปจจบุ นั
พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช มพี ระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ
ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรใหมีกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการสนับสนุน
ทางการเงนิ แกก ารกอการรา ย
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของ
บุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓
ของรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัตใิ หกระทําไดโ ดยอาศัยอาํ นาจตามบทบญั ญตั ิแหง
กฎหมาย
จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบญั ญตั ขิ น้ึ ไวโ ดยคาํ แนะนาํ และยนิ ยอม
ของรฐั สภา ดงั ตอไปน้ี
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติปองกันและปราบปราม
การสนับสนุนทางการเงนิ แกการกอการราย พ.ศ. ๒๕๕๖”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีใหใชบังคับนับแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป
มาตรา ๓ ในพระราชบญั ญตั นิ ี้
“ทรพั ยสนิ ” หมายความวา เงนิ ทรพั ย หรือวตั ถไุ มมรี ปู รา งซึ่งอาจมีราคาและอาจ
ถอื เอาได รวมท้งั ดอกผลของเงิน ทรพั ย หรือวัตถดุ ังกลา ว เอกสารทางกฎหมาย หรือตราสารใน
รปู แบบใดๆ ทั้งทีป่ รากฏในสือ่ อื่นใด กระดาษ หรือรูปแบบอิเลก็ ทรอนิกส ท่ีเปน หลกั ฐานแสดง
กรรมสิทธ์ิ สิทธิครอบครอง สทิ ธิเรยี กรอง หรอื ประโยชนอ ืน่ ใดในทรัพยส นิ นน้ั
“การกอ การรา ย” หมายความวา การกระทาํ ท่เี ปนความผิดเก่ยี วกับการกอการราย
ตามประมวลกฎหมายอาญา หรอื การกระทาํ ทเี่ ปน ความผดิ ตามกฎหมายซง่ึ อยูภายใตข อบเขต
ของอนสุ ญั ญาและพธิ สี ารระหวา งประเทศเกย่ี วกบั การกอ การรา ยทป่ี ระเทศไทยเปน ภาคหี รอื รบั รอง
ทง้ั นี้ ไมวา การกระทําที่เปน ความผดิ นน้ั ไดกระทาํ ข้นึ ในราชอาณาจกั รหรือนอกราชอาณาจักร

๑๐๑

“บคุ คลทีถ่ กู กําหนด” หมายความวา บคุ คล คณะบุคคล นติ บิ คุ คล หรือองคกรตาม
รายช่ือซ่ึงมีมติของหรือประกาศภายใตคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติกําหนดใหเปน
ผูที่มีการกระทําอนั เปนการกอ การราย หรือบคุ คล คณะบคุ คล นติ บิ ุคคล หรอื องคกรตามรายชอ่ื ท่ี
ศาลไดพ จิ ารณาและมีคาํ ส่งั ใหเ ปนบุคคลท่ีถกู กาํ หนดตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี

“ผมู หี นา ท่ีรายงาน” หมายความวา ผมู หี นา ที่รายงานการทําธรุ กรรมตามกฎหมาย
วาดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ

“ระงบั การดําเนินการกบั ทรพั ยสิน” หมายความวา การหา มโอน ขาย ยักยอก หรือ
จาํ หนา ย ซง่ึ ทรัพยสนิ หรอื เปลีย่ นสภาพใชป ระโยชนห รอื การกระทาํ การใดๆ ตอ ทรัพยสินอันจะ
สง ผลเปลย่ี นแปลงตอ จํานวน มูลคา ปรมิ าณ ทําเลทต่ี ้งั หรือลักษณะของทรัพยสนิ น้นั

“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ
ตามกฎหมายวาดว ยการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ

“คณะกรรมการธรุ กรรม” หมายความวา คณะกรรมการธรุ กรรมตามกฎหมายวาดว ย
การปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน

“สาํ นกั งาน” หมายความวา สํานกั งานปองกนั และปราบปรามการฟอกเงิน
มาตรา ๔ ในกรณีที่มีมติของหรือประกาศภายใตคณะมนตรีความมั่นคงแหง
สหประชาชาติ กาํ หนดรายชอื่ บคุ คล คณะบุคคล นิติบคุ คล หรอื องคก รใดเปน ผูท ี่มีการกระทาํ
อันเปนการกอการรายใหสํานักงานเสนอรายช่ือดังกลาวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม
เพื่อมีคาํ สั่งประกาศรายช่ือเปน บคุ คลทีถ่ กู กาํ หนดโดยไมช ักชา ทงั้ นี้ ตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารที่
กาํ หนดในกฎกระทรวง
การเพิกถอนรายช่ือของบุคคลทถี่ ูกกําหนดตามวรรคหน่งึ ใหกระทําไดเ มอ่ื มีมตขิ อง
หรือประกาศภายใตคณะมนตรีความมั่นคงแหงสหประชาชาติอันเปนผลใหตองเพิกถอนรายช่ือ
ผนู นั้ ออกจากรายชอ่ื บุคคลท่ถี ูกกาํ หนดแลว
มาตรา ๕ ในกรณีท่ีมีเหตุอันควรสงสัยวาผูใดมีพฤติการณเก่ียวของกับการกอ
การรา ยหรือการสนับสนุนทางการเงนิ แกก ารกอการราย หรือดําเนินการแทนหรอื ตามคําส่งั หรอื
ภายใตการควบคุมของบุคคลนั้น ใหสํานักงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการธุรกรรม
พิจารณาสงรายช่ือผูนั้นใหพนักงานอัยการพิจารณายื่นคํารองฝายเดียวขอใหศาลมีคําสั่งเปน
บคุ คลท่ีถกู กําหนด และถา ปรากฏแกศ าลวา มีพยานหลกั ฐานอนั ควรเชือ่ ไดดังตอไปน้ี ใหศ าลมี
คาํ สัง่ ตามทีข่ อ
(๑) ผูนั้นมีพฤติการณเก่ียวของกับการกอการรายหรือการสนับสนุนทางการเงินแก
การกอการรา ย หรอื
(๒) ผูน้ันดําเนินการแทนหรือตามคําส่ังหรือภายใตการควบคุมของบุคคลท่ีถูก
กาํ หนดตาม (๑) หรือ ตามมาตรา ๔

๑๐๒

ท้ังนี้ พฤติการณเกี่ยวของกับการกอการรายหรือการสนับสนุนทางการเงินแก
การกอการราย หรือการดําเนินการแทนหรือตามคําส่ังหรือภายใตการควบคุมดังกลาวตาม
วรรคหน่งึ ตองมอี ยใู นวนั ทศี่ าลมีคําสัง่ เปน บคุ คลทถ่ี ูกกาํ หนด

ใหสํานกั งานทบทวนรายช่อื บุคคลทถ่ี ูกกาํ หนดตามวรรคหนงึ่ ถา เหน็ วามพี ฤติการณ
เปลี่ยนแปลงไป ใหสํานักงานโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการธุรกรรมพิจารณาสงเร่ือง
ใหพนักงานอัยการพิจารณาย่ืนคํารองฝายเดียวขอใหศาลมีคําสั่งเพิกถอนรายช่ือผูน้ันออกจาก
รายชอ่ื บคุ คลทถ่ี ูกกาํ หนด

หลักเกณฑและวิธีการพิจารณาของสํานักงานและคณะกรรมการธุรกรรมตาม
วรรคหนง่ึ และวรรคสาม ใหเปน ไปตามที่กาํ หนดในกฎกระทรวง โดยในกฎกระทรวงดงั กลาว
ท่ีเกี่ยวกับการพิจารณาของสํานักงาน ใหสํานักงานแตงต้ังคณะกรรมการขึ้นมาคณะหน่ึงเพ่ือ
พจิ ารณารายช่ือกอ นสงเร่อื งใหคณะกรรมการธรุ กรรมพิจารณาใหค วามเหน็ ชอบ

ใหส าํ นกั งาน คณะกรรมการธรุ กรรม พนักงานอยั การ และศาล ดําเนินการตาม
มาตรานโ้ี ดยไมช กั ชา

มาตรา ๖ ใหสํานักงานประกาศรายช่ือบุคคลที่ถูกกําหนดตามมาตรา ๔ และ
มาตรา ๕ พรอมทั้งแจงใหบุคคลท่ีถูกกําหนดและผูมีหนาที่รายงานหรือบุคคลท่ีครอบครอง
ทรัพยส นิ ของบุคคลท่ีถูกกาํ หนดดําเนนิ การดังตอ ไปนโ้ี ดยไมชักชา

(๑) ระงับการดําเนินการกับทรัพยสินของบุคคลที่ถูกกําหนด หรือของผูกระทํา
การแทนหรอื ตามคาํ สัง่ ของผนู ้นั หรือของกิจการภายใตการควบคุมของผนู ้นั

(๒) แจง ขอมลู เก่ยี วกับทรัพยส ินท่ถี ูกระงบั การดาํ เนินการใหส าํ นกั งานทราบ
(๓) แจงใหสํานักงานทราบเกี่ยวกับผูที่เปนหรือเคยเปนลูกคาซึ่งอยูในรายชื่อบุคคล
ทถ่ี กู กําหนด หรือผทู ่ีมหี รอื เคยมกี ารทาํ ธุรกรรมกับผนู น้ั
หลักเกณฑและวิธีการประกาศและแจงรายชื่อไปยังบุคคลตามวรรคหน่ึง รวมทั้ง
การดาํ เนินการตาม (๑) (๒) และ (๓) ใหเ ปนไปตามระเบียบท่คี ณะกรรมการประกาศกําหนด
ใหผ มู หี นา ทร่ี ายงานกาํ หนดนโยบายในการประเมนิ ความเสย่ี งหรอื แนวทางปฏบิ ตั ใิ ดๆ
เพอื่ ปอ งกนั มใิ หมกี ารสนับสนนุ ทางการเงินแกก ารกอการรา ย หรือกําหนดมาตรการอน่ื ใดที่จาํ เปน
เพ่อื ปฏบิ ัติใหเปน ไปตามพระราชบญั ญตั นิ ี้ ทงั้ น้ี ตามหลักเกณฑแ ละวิธีการท่คี ณะกรรมการ
ประกาศกาํ หนด
มาตรา ๗ การเก็บรักษาและการบริหารจัดการทรัพยสินที่ถูกระงับการดําเนินการ
กับทรัพยสินใหเ ปนไปตามระเบียบทีค่ ณะกรรมการประกาศกาํ หนด
มาตรา ๘ ผูซ่ึงไดดําเนินการตามมาตรา ๖ โดยสุจริตไมตองรับผิดแมกอใหเกิด
ความเสยี หายแกบุคคลใด เวนแตจะพสิ ูจนไ ดวาเปนการกระทําโดยประมาทเลนิ เลออยา งรา ยแรง

๑๐๓

มาตรา ๙ บุคคลที่ถกู กําหนดตามมาตรา ๕ หรอื ผซู ่ึงถกู ระงบั การดาํ เนนิ การกับ
ทรพั ยส ินตามมาตรา ๖ อันเนื่องมาจากมกี ารกาํ หนดการเปนบุคคลที่ถูกกาํ หนดตามมาตรา ๕
อาจย่ืนคาํ รอ งตอ ศาลเพื่อใหพ จิ ารณาในเร่ืองดงั ตอไปนี้

(๑) ขอใหดําเนนิ การเพิกถอนรายชอ่ื ออกจากรายช่อื บุคคลทถี่ กู กาํ หนด
(๒) ขอใหเพิกถอนการระงบั การดําเนนิ การกับทรัพยส นิ
(๓) ขอใหม ีคาํ ส่ังอนุญาตใหด าํ เนินการใดๆ กับทรพั ยสนิ ทถี่ ูกระงับการดําเนินการ
กบั ทรพั ยสิน
กรณมี ีคําสงั่ อนุญาตตาม (๓) ศาลอาจกาํ หนดเงอ่ื นไขใดๆ ท่ีจาํ เปน เพอ่ื ปองกนั มิให
มีการนาํ ทรพั ยสินไปใชใ นการสนับสนนุ ทางการเงินแกก ารกอ การรา ยดว ยก็ได และหากปรากฏ
ขอ เทจ็ จรงิ วา การอนญุ าตดงั กลา วอาจเปน ชอ งทางใหน าํ ทรพั ยส นิ ไปใชใ นการสนบั สนนุ ทางการเงนิ
แกก ารกอการราย ศาลจะกาํ หนดเงอ่ื นไขใดๆ เพิ่มเตมิ หรือจะเพกิ ถอนการอนญุ าตนัน้ เสยี กไ็ ด
มาตรา ๑๐ บุคคลอื่นนอกจากบุคคลที่ถูกกาํ หนดตามมาตรา ๔ หรอื มาตรา ๕
อาจยืน่ คาํ รองตอศาลเพ่อื ใหมคี ําสง่ั อนุญาต ดงั ตอ ไปนี้
(๑) เปนการชําระหน้ีท่ีถึงกําหนดชําระแกผูท่ีถูกระงับการดําเนินการกับทรัพยสิน
ตามมาตรา ๖ ซึ่งสัญญาหรือขอผูกพันน้ันไดทําขึ้นหรือเกิดข้ึนกอนวันท่ีบัญชีนั้นถูกระงับ
การดาํ เนินการกบั ทรพั ยสิน
(๒) เปนการชําระดอกเบ้ียหรือดอกผลและเปนกรณีจําเปนที่ตองชําระเงินเขาบัญชี
ของผูท่ถี ูกระงบั การดาํ เนนิ การกบั ทรัพยสินตามมาตรา ๖
(๓) เปนการชําระหนี้ซ่ึงศาลมีคําพิพากษาถึงที่สุดใหผูที่ถูกระงับการดําเนินการกับ
ทรัพยส ินอันเน่อื งมาจากเปนบุคคลที่ถกู กาํ หนดตามมาตรา ๕ เปน ผูทตี่ อ งชาํ ระหนี้
(๔) ใหดําเนินการใดๆ กบั ทรัพยส นิ ท่ถี กู ระงับการดําเนนิ การกบั ทรัพยส ินอันเนื่อง
มาจากเปน บุคคลทถี่ กู กําหนดตามมาตรา ๕
กรณมี ีคําสั่งอนญุ าตตามวรรคหน่งึ ถาตองมกี ารชําระหนห้ี รือโอนเงนิ เขา หรือออก
จากบัญชขี องผูท ีถ่ กู ระงบั การดาํ เนนิ การกับทรพั ยสนิ ตามมาตรา ๖ ศาลอาจกาํ หนดเงอื่ นไขตามท่ี
เห็นสมควรเพือ่ ปองกนั มใิ หน ําทรัพยสินไปใชในการสนบั สนุนทางการเงนิ แกก ารกอการรา ยกไ็ ด
มาตรา ๑๑ การดาํ เนนิ การทางศาลตามมาตรา ๕ มาตรา ๙ และมาตรา ๑๐ ใหย ่ืน
ตอศาลแพง และใหนําประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพง มาใชบังคับโดยอนโุ ลม
มาตรา ๑๒ เพ่ือประโยชนใ นการปฏิบตั ิตามพระราชบัญญตั ิน้ี ใหค ณะกรรมการมี
อาํ นาจหนา ทดี่ ังตอ ไปน้ี
(๑) กาํ หนดหลกั เกณฑ ระเบยี บ และประกาศตามพระราชบญั ญัตินี้
(๒) กาํ หนดแนวทางในการกาํ กบั ดแู ล ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ใหเ ปนไป
ตามพระราชบญั ญัตินี้

๑๐๔

(๓) กําหนดแนวทางปฏิบัติท่ีจําเปนเพ่ือใหผูมีหนาที่ทํารายงานหรือบุคคลอ่ืนใด
ดาํ เนินการใหเ ปน ไปตามพระราชบญั ญัตนิ ี้

(๔) ติดตามและประเมินผลการปฏบิ ัติตามพระราชบญั ญัตินี้
มาตรา ๑๓ เพอ่ื ประโยชนใ นการปฏบิ ตั ติ ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี ใหส าํ นกั งานมอี าํ นาจ
หนา ที่ดงั ตอไปนี้
(๑) ใหคําแนะนําหรือชี้แจงแนวทางการปฏิบัติแกผูมีหนาที่ตองปฏิบัติใหเปนไป
ตามพระราชบญั ญัตินี้
(๒) ตดิ ตาม ประเมนิ ผล ตรวจสอบ และกํากบั ดแู ลใหเปน ไปตามพระราชบัญญตั ิน้ี
รวมถงึ การดาํ เนนิ คดีกบั ผูที่ฝา ฝน หรอื ไมป ฏบิ ัตติ ามบทบัญญตั ิแหงพระราชบญั ญตั นิ ี้
(๓) รับหรือสงรายงานหรือขอมูลท่ีจะเปนประโยชนในการปฏิบัติการตามพระราช
บัญญัตินี้ หรอื ตามกฎหมายอน่ื
(๔) เก็บรวบรวมขอมูลและพยานหลักฐานเพ่ือดําเนินการเก่ียวกับการยึด อายัด
หรอื รบิ ทรัพยส ินตามพระราชบัญญตั ินห้ี รือตามกฎหมายอืน่
มาตรา ๑๔ ผูใดฝาฝนหรือไมป ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๖ (๑) หรือ (๒) ตอ งระวางโทษ
จาํ คุกไมเ กินสามป หรือปรับไมเ กนิ สามแสนบาท หรือท้ังจําทง้ั ปรับ
ผูมีหนาที่รายงานผใู ดฝาฝน หรือไมป ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๖ (๑) หรอื (๒) ตอ งระวางโทษ
ปรับไมเกนิ หนึ่งลานบาท และปรับอกี วนั ละหน่ึงหม่ืนบาทตลอดเวลาท่ยี งั ฝาฝน อยู หรอื จนกวา
จะไดป ฏิบตั ิใหถกู ตอง
ในกรณีท่ีการกระทําความผิดตามวรรคสองเกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของ
บุคคลใด หรือไมส ่ังการ หรือไมก ระทาํ การอนั เปนหนาทีท่ ีต่ องกระทําของกรรมการ ผูจดั การ หรอื
บุคคลใดซง่ึ รบั ผดิ ชอบในการดาํ เนนิ งานของนติ ิบุคคลนั้น บุคคลดังกลา วตองระวางโทษจาํ คุก
ไมเ กนิ สามป หรอื ปรบั ไมเ กินสามแสนบาท หรือทั้งจาํ ทั้งปรบั
มาตรา ๑๕ ผมู หี นา ทร่ี ายงานผใู ดฝาฝน หรือไมปฏิบัตติ ามมาตรา ๖ (๓) ตอ งระวาง
โทษปรบั ไมเกนิ หาแสนบาท และปรับอกี วนั ละหา พนั บาทตลอดเวลาทยี่ งั ฝา ฝนอยู หรอื จนกวา
จะไดปฏิบัติใหถกู ตอง
ในกรณีท่ีการกระทําความผิดตามวรรคหนึ่งเกิดจากการสั่งการหรือการกระทําของ
บคุ คลใด หรือไมส่งั การ หรือไมกระทาํ การอันเปนหนาทที่ ต่ี องกระทําของกรรมการ ผูจดั การ หรือ
บุคคลใด ซงึ่ รบั ผดิ ชอบในการดาํ เนนิ งานของนติ บิ ุคคลนัน้ บคุ คลดงั กลาวตอ งระวางโทษจําคุก
ไมเ กนิ หนง่ึ ปหรือปรับไมเ กินหน่ึงแสนบาท หรอื ทัง้ จาํ ทัง้ ปรับ
มาตรา ๑๖ ผใู ดจดั หา รวบรวม หรอื ดาํ เนินการทางการเงนิ หรอื ทรพั ยส ินหรือ
ดําเนินการดวยประการใดๆ โดยรูอยูแลววาผูไดรับประโยชนทางการเงินหรือทรัพยสินหรือ
จากการดาํ เนนิ การนน้ั เปน บคุ คลทถ่ี กู กาํ หนด หรอื โดยเจตนาใหเ งนิ หรอื ทรพั ยส นิ หรอื การดาํ เนนิ การนน้ั

๑๐๕

ถูกนําไปใชเพื่อสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมใดๆ ของบุคคลที่ถูกกําหนดหรือของบุคคลหรือ
องคกรที่เกี่ยวของกับการกอการราย ผูนั้นกระทําความผิดฐานสนับสนุนทางการเงินแกการกอ
การราย ตอ งระวางโทษจําคุกตง้ั แตสองปถงึ สิบป และปรบั ตัง้ แตสีห่ ม่ืนบาทถงึ สองแสนบาท หรือ
ทง้ั จาํ ท้งั ปรบั

ผูใ ดเปนผใู ชห รอื ผูสนบั สนนุ หรือสมคบกันในการกระทําความผิดตามวรรคหนง่ึ
ตอ งระวางโทษเชน เดยี วกบั ตัวการในการกระทาํ ความผดิ น้นั

ผูใดพยายามกระทําความผดิ ตามวรรคหนง่ึ ผูนน้ั ตองระวางโทษสองในสามสวนของ
โทษทีไ่ ดกาํ หนดไวส ําหรบั ความผดิ น้นั

นติ ิบุคคลใดกระทําความผดิ ตามวรรคหน่ึง วรรคสอง หรอื วรรคสามตองระวางโทษ
ปรับตง้ั แตหา แสนบาทถึงสองลานบาท

ในกรณีที่การกระทําความผิดของนิติบุคคลตามวรรคสี่เกิดจากการส่ังการหรือ
การกระทาํ ของบุคคลใด หรอื ไมสงั่ การ หรือไมก ระทําการอันเปน หนา ทที่ ่ีตองกระทําของกรรมการ
ผจู ัดการ หรือบุคคลใดซึ่งมีอาํ นาจตามกฎหมายในการดาํ เนนิ งานของนติ ิบุคคลนน้ั บุคคล
ดงั กลาวตอ งระวางโทษจาํ คกุ ตั้งแตสองปถ งึ สิบป หรอื ปรบั ตง้ั แตส ีห่ มนื่ บาทถึงสองแสนบาท หรอื
ทง้ั จําทงั้ ปรับ

ใหค วามผดิ ตามมาตราน้ี เปน ความผดิ มูลฐานตามกฎหมายวาดวยการปองกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน

มาตรา ๑๗ ใหนายกรฐั มนตรรี ักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี และใหม ีอาํ นาจออก
กฎกระทรวงเพ่ือปฏบิ ตั ิการตามพระราชบัญญัตนิ ้ี

กฎกระทรวงน้ัน เมื่อประกาศในราชกจิ จานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ

ย่ิงลักษณ ชินวตั ร
นายกรฐั มนตรี

๑๐๖

หมายเหตุ :– เหตผุ ลในการประกาศใชพ ระราชบญั ญัตนิ ี้ คือ โดยที่ปจ จบุ นั ความผดิ เกี่ยวกับ
การกอการรายไดสงผลกระทบตอ ความมน่ั คงของประเทศตางๆ เปน อยา งมาก ถึงแมประเทศไทย
จะมกี ารกาํ หนดความผดิ ฐานกอ การรา ยไวใ นประมวลกฎหมายอาญา และกาํ หนดใหเ ปน ความผดิ
มูลฐานตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินแลวก็ตาม แตยังคงไมมี
มาตรการปอ งกนั และปราบปรามการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก ารกอ การรา ยและการเขา ถงึ เงนิ ทนุ
ของผูกอการราย ดังนั้น จึงมีความจําเปนตองกําหนดมาตรการในการปองกันและปราบปราม
เรือ่ งดังกลา ว โดยใหม กี ารจดั ทํารายชอื่ บคุ คลท่ถี ูกกาํ หนด การระงับการดําเนนิ การกับทรัพยสนิ
ของผมู ีช่ืออยใู นรายชื่อบุคคลที่ถูกกําหนด การกําหนดใหผูมีหนา ทรี่ ายงานการทําธรุ กรรมตาม
กฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินระงับการดําเนินการกับทรัพยสินของ
ผูมชี ือ่ อยใู นรายช่ือบคุ คลที่ถกู กาํ หนด การกําหนดอาํ นาจหนา ที่ของคณะกรรมการปอ งกันและ
ปราบปรามการฟอกเงินและสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินใหสอดคลองกับการ
ปฏิบัติหนาท่ีในเรื่องดังกลาวขางตน ตลอดจนการกําหนดโทษสําหรับการฝาฝนหรือไมปฏิบัติ
ตามพระราชบญั ญัตินี้ ท้งั นี้ เพอ่ื ใหการปฏิบัติงานเปน ไปอยา งมีประสิทธิภาพ ซึ่งสอดคลองกับ
มาตรฐานสากลในการรวมมือกันเพื่อปองกันและปราบรามการกระทําใดที่เปนการกอการราย
ซงึ่ รวมถึงการสนับสนนุ ทางการเงิน ทรพั ยสิน หรอื กรณอี น่ื ใดทีม่ ีวัตถุประสงคจ ะนาํ ไปใชในการ
กอการราย จงึ จาํ เปนตองตราพระราชบัญญตั ินี้

๑๐๗

(สาํ เนา)

กฎกระทรวง
การกาํ หนดใหผ ูที่มกี ารกระทาํ อันเปน การกอ การรา ยตามมตขิ องหรือประกาศภายใต

คณะมนตรคี วามมนั่ คงแหง สหประชาชาติเปนบุคคลทถี่ กู กาํ หนด
___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๖____

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔ และมาตรา ๑๗ วรรคหนึ่ง แหงพระราชบัญญัติ
ปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงนิ แกการกอการรา ย พ.ศ.๒๕๕๖ อันเปน กฎหมาย
ที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจาํ กดั สทิ ธิและเสรภี าพของบุคคล ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบ
กับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรฐั ธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย บญั ญัติใหกระทําไดโ ดยอาศยั อํานาจตามบทบัญญัตแิ หงกฎหมาย นายก
รัฐมนตรอี อกกฎกระทรวงไว ดงั ตอ ไปนี้

ขอ ๑ ในกฎกระทรวงน้ี
“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การฟอกเงนิ
“พนักงานเจาหนาท่ี” หมายความวา พนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายวาดวย
การปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ขอ ๒ เม่อื กระทรวงการตางประเทศไดรบั รายช่อื บุคคล คณะบุคคล นิติบุคคล หรอื
องคกรซึ่งเปนผูที่มีการกระทําอันเปนการกอการรายตามมติของหรือประกาศภายใตคณะมนตรี
ความมั่นคงแหง สหประชาชาติ ใหกระทรวงการตางประเทศตรวจสอบความถูกตอ งของขอมูลหรือ
หลักฐานท่ไี ดร ับจากสหประชาชาติแลวดําเนินการสงรายชื่อดงั กลาวไปยังสาํ นกั งานโดยไมช กั ชา
ขอ ๓ เม่ือสํานักงานไดรับรายชื่อจากกระทรวงการตางประเทศ ใหสํานักงาน
ตรวจสอบความถูกตองแลวเสนอรายชื่อดังกลาวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมเพ่ือใหมี
คําส่งั ประกาศเปนบุคคลทถ่ี ูกกาํ หนดโดยไมช ักชา
ขอ ๔ ในกรณีที่ไดรับแจงจากกระทรวงการตางประเทศหรือจากบุคคลที่ถูกกําหนด
ซึง่ ไดมีการประกาศตามขอ ๓ หรือปรากฏขอเทจ็ จรงิ จากการตรวจสอบของสาํ นกั งานวา ไดมีมติ
ของหรือประกาศภายใตคณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติใหเพิกถอนรายช่ือผูใดออก
จากรายชือ่ ผูทม่ี กี ารกระทาํ อนั เปน การกอ การราย ใหส ํานกั งานตรวจสอบความถกู ตอ งแลว เสนอ
เรื่องไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมเพ่ือมีคําสั่งเพิกถอนรายช่ือผูนั้นออกจากรายช่ือบุคคล
ทถี่ ูกกาํ หนดโดยไมชักชา

ใหไว ณ วนั ท่ี ๕ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ย่ิงลกั ษณ ชินวตั ร
นายกรัฐมนตรี

๑๐๘

หมายเหตุ :– เหตผุ ลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบบั นี้ คอื โดยท่ีมาตรา ๔ แหงพระราช
บัญญัตปิ องกันและปราบปรามการสนับสนนุ ทางการเงินแกการกอ การราย พ.ศ.๒๕๕๖ บัญญัติ
ใหในกรณีท่ีมีมติของหรือประกาศภายใตคณะมนตรีความม่ันคงแหงสหประชาชาติกําหนด
รายชือ่ บคุ คล คณะบคุ คล นิติบุคคล หรือองคกรใดเปนผูท่มี กี ารกระทาํ อันเปนการกอการราย
ใหสํานักงานปองกันและปราบปรามการฟอกเงินเสนอรายชื่อดังกลาวไปยังรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงยตุ ธิ รรมเพอ่ื มคี าํ สง่ั ประกาศรายชอ่ื เปน บคุ คลทถ่ี กู กาํ หนด ทง้ั นใ้ี หเ ปน ไปตามหลกั เกณฑ
และวธิ กี ารท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง นอกจากนี้ การเพิกถอนรายชอ่ื ดงั กลา วใหกระทําไดเ มื่อมี
มติของหรือประกาศภายใตคณะมนตรีความม่ันคงแหง สหประชาชาตดิ ว ย จึงจาํ เปน ตอ งออก
กฎกระทรวงนี้

๑๐๙

(สําเนา)
กฎกระทรวง
การพจิ ารณารายช่ือและการทบทวนรายชื่อบคุ คลท่ถี ูกกําหนด
ของสํานักงานปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ และคณะกรรมการธรุ กรรม
___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๖____
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคสี่ และมาตรา ๑๗ วรรคหนึ่ง
แหง พระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก ารกอ การรา ย พ.ศ. ๒๕๕๖
อันเปนกฎหมายที่มีบทบัญญัติบางประการเก่ียวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล
ซ่ึงมาตรา ๒๙ ประกอบกบั มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓
ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติ
แหง กฎหมาย นายกรฐั มนตรีออกกฎกระทรวงไว ดังตอไปน้ี
ขอ ๑ ในกฎกระทรวงนี้
“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การฟอกเงิน
“พนักงานเจาหนาท่ี” หมายความวา พนักงานเจาหนาที่ตามกฎหมายวาดวย
การปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ
ขอ ๒ เมื่อสํานักงานไดรับคํารองขอหรือจากการตรวจสอบของสํานักงานแลวมีเหตุ
อันควรสงสัยวาผูใดมีพฤติการณเกี่ยวของกับการกอการราย หรือการสนับสนุนทางการเงิน
แกก ารกอการราย หรอื ดําเนนิ การแทนหรอื ตามคําสัง่ หรอื ภายใตการควบคุมของบคุ คลดงั กลา ว
ใหสํานักงานเสนอเร่ืองใหคณะกรรมการตามขอ ๓ พิจารณารายชื่อผูนั้นกอนเสนอตอคณะ
กรรมการธุรกรรมเพ่ือพิจารณาใหความเห็นชอบใหสํานักงานสงรายชื่อผูน้ันใหพนักงานอัยการ
พิจารณายืน่ คาํ รองฝา ยเดยี วขอใหศาลมีคาํ สั่งเปนบคุ คลท่ถี ูกกาํ หนดโดยไมช กั ชา
การเสนอเร่ืองของสาํ นกั งานตามวรรคหนึ่ง ควรตองมีขอ มูลหรือหลกั ฐาน ดังตอ ไปนี้
(๑) กรณีเปน บุคคลธรรมดา
(ก) ชื่อและนามสกุล (ใหร ะบุชือ่ อนื่ ดวยทุกชอ่ื (ถามี)) และถา มชี ่อื เปน ภาษา
ตา งประเทศใหร ะบดุ ว ย
(ข) คํานาํ หนาช่อื ยศหรือตําแหนง
(ค) อาชพี
(ง) เพศ
(จ) วนั เดือน ปเกดิ
(ฉ) สถานทีเ่ กิด

๑๑๐

(ช) สัญชาติ (ใหร ะบุสญั ชาติเดิม (ถาม)ี และสญั ชาติปจ จบุ ัน)
(ซ) เลขประจําตัวประชาชน และในกรณีท่ีเปนคนตางดาว ใหแสดงเลข
หนังสือเดนิ ทาง หรอื เลขใบสําคญั ประจําตวั คนตางดา ว หรอื เลขเอกสารหลักฐานแสดงตนอนื่
ท่อี อกหรือรับรองโดยหนวยงานหรอื องคกรทนี่ า เช่อื ถือ
(ฌ)ทีอ่ ยูตามทะเบียนบาน หรอื ที่อยูท ่ตี ิดตอ ได
(๒) กรณีเปน นติ บิ คุ คลหรือคณะบคุ คล
(ก) ช่ือเต็ม (ใหระบชุ ื่ออื่นดว ยทกุ ช่อื (ถามี)) และถา มีชื่อเปน ภาษาตางประเทศ
ใหระบดุ ว ย
(ข) เลขทะเบยี นนิตบิ ุคคล
(ค) เลขประจําตัวผูเสียภาษี
(ง) สถานท่ตี ัง้ หรือสาขา หรอื สถานที่ตดิ ตอ
(๓) ขอมูลหรอื พยานหลักฐานใดๆ ท่ที าํ ใหมีเหตุอันควรสงสยั วา ผนู ้นั มีพฤติการณ
เกี่ยวขอ งกบั การกอการราย หรือการสนับสนุนทางการเงนิ แกการกอ การราย หรอื ดาํ เนินการแทน
หรือตามคาํ สง่ั หรอื ภายใตการควบคุมของบุคคลนั้น เชน ขอมลู การสบื สวนสอบสวน หมายจับ
หรือคําพพิ ากษาของศาล
(๔) ขอมูลอ่ืนใดที่เห็นวาจะเปนประโยชนในการพิจารณากําหนดรายชื่อผูนั้นเปน
บคุ คลทถ่ี ูกกําหนด
ขอ ๓ ใหม ีคณะกรรมการพิจารณากาํ หนดรายชอื่ คณะหน่งึ ประกอบดว ยเลขาธกิ าร
เปน ประธานกรรมการ ผูแ ทนสาํ นกั ขาวกรองแหงชาติ ผแู ทนสภาความมั่นคงแหงชาติ ผแู ทน
กรมองคการระหวา งประเทศ ผแู ทนกรมการปกครอง ผแู ทนกรมสอบสวนคดีพิเศษ ผแู ทน
สํานกั งานตาํ รวจแหง ชาติ ผูแทนสาํ นกั งาน ปปง. และผูแทนกองอาํ นวยการรกั ษาความมน่ั คง
ภายในราชอาณาจักรเปนกรรมการ
ใหเลขาธิการแตงต้ังขาราชการในสํานักงานเปนกรรมการและเลขานุการจํานวน
หนงึ่ คน และผชู วยเลขานกุ ารอกี ไมเกนิ สองคน
ขอ ๔ การประชุมของคณะกรรมการตามขอ ๓ ตอ งมีกรรมการมาประชมุ ไมนอย
กวา กงึ่ หนง่ึ ของจํานวนกรรมการทั้งหมดจึงจะเปนองคป ระชุม ถา ประธานกรรมการไมอ าจรว ม
ประชุมได ใหท ่ปี ระชมุ เลือกกรรมการคนหน่ึงเปนประธานทป่ี ระชมุ
การวนิ จิ ฉยั ช้ขี าดของทีป่ ระชมุ ใหถอื เสยี งขางมาก กรรมการคนหนง่ึ ใหม เี สยี งหน่งึ ใน
การลงคะแนน ถา คะแนนเสยี งเทา กัน ใหป ระธานที่ประชุมออกเสียงเพ่มิ ขน้ึ อกี เสียงหนงึ่ เปนเสยี ง
ชีข้ าด
ขอ ๕ ในการพิจารณาของคณะกรรมการตามขอ ๓ หรอื คณะกรรมการธุรกรรม
แลว แตก รณี ถา เหน็ วา รายชอ่ื บคุ คลทส่ี าํ นกั งานเสนอใหพ จิ ารณายงั มขี อ มลู หรอื หลกั ฐานไมเ พยี งพอ

๑๑๑

ใหควรเช่ือไดวาผูใดมีพฤติการณเกี่ยวของกับการกอการราย หรือการสนับสนุนทางการเงิน
แกการกอการราย หรือดําเนินการแทนหรือตามคําสั่งหรือภายใตการควบคุมของบุคคลน้ัน
ใหค ณะกรรมการตามขอ ๓ หรือคณะกรรมการธุรกรรม แลวแตก รณี แจงใหส าํ นกั งานดาํ เนนิ การ
เพื่อใหไ ดมาซึง่ ขอมูลหรอื หลักฐานดังกลาว

ในการดําเนินการของสํานักงานเพ่ือใหไดมาซ่ึงขอมูลหรือหลักฐานตามวรรคหน่ึง
เลขาธิการอาจมอบหมายพนักงานเจา หนา ที่เพ่ือใหด ําเนินการดังกลาวก็ได

ขอ ๖ เม่ือปรากฏพยานหลักฐานอันควรเชื่อไดวาผูใดมีพฤติการณเก่ียวของกับ
การกอ การรา ย หรือการสนับสนนุ ทางการเงินแกการกอ การรา ย หรอื ดาํ เนนิ การแทนหรือตาม
คาํ สัง่ หรือภายใตการควบคมุ ของบุคคลนน้ั ใหคณะกรรมการธุรกรรมมมี ติเหน็ ชอบใหสํานกั งาน
ดาํ เนนิ การใหเ ปนไปตามขอ ๒ โดยไมช ักชาตอไป

ขอ ๗ เม่ือศาลมีคําสั่งใหผูใดเปนบุคคลท่ีถูกกําหนดแลว ใหสํานักงานทบทวน
รายชือ่ ดังกลา ว ถา เหน็ วา มีพฤตกิ ารณเปลยี่ นแปลงไป ใหส าํ นกั งานเสนอเร่อื งใหค ณะกรรมการ
ตามขอ ๓ พจิ ารณารายชอ่ื ผนู น้ั กอ นเสนอตอ คณะกรรมการธรุ กรรมเพอ่ื พจิ ารณาใหค วามเหน็ ชอบ
ใหสํานักงานสงรายช่ือผูนั้นใหพนักงานอัยการพิจารณาย่ืนคํารองใหศาลมีคําส่ังเพิกถอนรายช่ือ
ผูน ้ันออกจากรายชอ่ื บุคคลที่ถูกกาํ หนดโดยไมชกั ชา

ใหไ ว ณ วันท่ี ๕ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ยง่ิ ลักษณ ชนิ วัตร
นายกรฐั มนตรี

๑๑๒

หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใชกฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยที่มาตรา ๕ วรรคสี่
แหง พระราชบญั ญตั ปิ อ งกนั และปราบปรามการสนบั สนนุ ทางการเงนิ แกก ารกอ การรา ย พ.ศ. ๒๕๕๖
บญั ญตั ใิ หก ารพจิ ารณารายชอ่ื ของสาํ นกั งานปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ และคณะกรรมการ
ธุรกรรมเพ่ือดําเนินการเสนอใหศาลมีคําส่ังใหเปนบุคคลท่ีถูกกําหนดใหเปนไปตามหลักเกณฑ
และวธิ ีการท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง จึงจาํ เปน ตอ งออกกฎกระทรวงน้ี

๑๑๓

(สาํ เนา)
ระเบยี บคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงนิ
วา ดวยการประกาศและการแจง รายชอ่ื บคุ คลที่ถกู กําหนด

และการดําเนินการตามมาตรา ๖ (๑) (๒) และ (๓)
___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๖____

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคสอง และมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราช
บัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกการกอ การรา ย พ.ศ. ๒๕๕๖ อันเปน
กฎหมายทมี่ ีบทบัญญตั บิ างประการเกย่ี วกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙
ประกอบกบั มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนญู
แหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ จึงออกระเบยี บไว ดงั ตอไปนี้

ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบยี บคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ
วา ดวยประกาศและการแจง รายชื่อบคุ คลทถ่ี ูกกําหนด และการดาํ เนนิ การตามมาตรา ๖ (๑) (๒)
และ (๓) พ.ศ. ๒๕๕๖”

ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

ขอ ๓ ในระเบยี บนี้
“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปราม
การฟอกเงนิ
“พนักงานเจาหนาท่ี” หมายความวา พนักงานเจาหนาท่ีตามกฎหมายวาดวย
การปอ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ขอ ๔ เมื่อมีคําสั่งของรัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรมหรือศาลใหผูใดเปนบุคคล
ที่ถูกกําหนดใหสํานักงานประกาศรายชื่อบุคคลท่ีถูกกําหนดดังกลาวในระบบสารสนเทศของ
สาํ นักงานเพือ่ เผยแพรรายชอ่ื สูส าธารณะ พรอมท้งั แจงรายชอ่ื ดงั กลา วไปยังบคุ คลที่ถกู กาํ หนด
และผูมีหนาที่รายงานหรือบุคคลท่ีครอบครองทรัพยสินของบุคคลท่ีถูกกําหนดเพื่อใหทราบถึงการ
กาํ หนดรายช่อื น้ันโดยไมช กั ชา
การแจง รายชอื่ บุคคลท่ถี ูกกําหนดตามวรรคหนึ่ง ใหด ําเนนิ การดังตอไปน้ี
(๑) ในกรณีแจง ผูม ีหนาทีร่ ายงาน ใหส าํ นักงานแจงเปนขอ มลู อเิ ลก็ ทรอนกิ สตาม
กฎหมายวาดวยธรุ กรรมทางอิเลก็ ทรอนิกส
(๒) ในกรณีแจงบุคคลที่ถูกกําหนดและบุคคลที่ครอบครองทรัพยสินของบุคคลที่ถูก
กําหนด ใหสาํ นกั งานแจง เปน หนงั สอื หรือเปนขอมูลอเิ ล็กทรอนกิ ส โดยตอ งระบุขอ เทจ็ จริงท่ีเปน
มลู เหตุของการกาํ หนดรายชอื่ รวมทงั้ สิทธิของบคุ คลดังกลา วดวย

๑๑๔

ท้งั น้ี การแจง ไปยังผมู ีหนา ท่ีรายงานตาม (๑) ที่มสี ถานประกอบกิจการหลายแหง
หากสํานักงานไดแจงรายช่ือดังกลาวไปยังสํานักงานใหญ หรือกรณีที่ไมมีสํานักงานใหญ
หากสํานักงานไดแจงรายช่ือไปยังสถานท่ีท่ีผูมีหนาที่รายงานเลือกเปนสถานประกอบกิจการ
ประจําแลว กใ็ หถ ือวา มีผลเปน การแจงรายชื่อดังกลา วใหทราบแลว

ขอ ๕ วธิ ีการแจงตามขอ ๔ หากแจงเปนหนงั สือ ใหสํานกั งานดําเนนิ การ ดงั ตอไปน้ี
(๑) กรณบี คุ คลซึง่ มภี มู ิลําเนาอยใู นราชอาณาจักร

(ก) กรณีแจง เปนหนังสือใหส ง หนังสอื แจง ไปยังภมู ลิ ําเนาของผูน ัน้ โดยใหถอื วา
บุคคลดงั กลา วไดร บั แจง ตั้งแตในขณะท่หี นงั สือไปถงึ หรือ

(ข) กรณแี จง โดยวิธีสง ทางไปรษณยี ตอบรบั ใหถอื วา ผนู ้ันไดร ับแจงเม่ือครบ
กาํ หนดสิบหา วันนบั แตวนั สง

(๒) กรณบี ุคคลซง่ึ มีภูมิลาํ เนาอยูนอกราชอาณาจักร
(ก) การแจง บคุ คลทถ่ี กู กาํ หนดตามคาํ สง่ั ของศาลซง่ึ มคี าํ รอ งขอจากตา งประเทศ

ใหส ง หนงั สือแจงไปยงั หนว ยงานตา งประเทศทไ่ี ดส งคํารองขอนน้ั เพ่ือใหด ําเนินการแจง ใหท ราบ
ถงึ การถกู กาํ หนดรายช่อื

(ข) การแจงบุคคลที่ถูกกําหนดตามคําสั่งศาลซึ่งมิไดมีคํารองขอจากหนวยงาน
ตางประเทศ หรอื บุคคลท่ถี ูกกาํ หนดตามคําส่ังของรัฐมนตรวี าการกระทรวงยตุ ิธรรม ใหสง เรือ่ ง
ไปยังกระทรวงการตางประเทศเพ่ือประสานไปยังรัฐบาลตางประเทศท่ีผูน้ันถือสัญชาติ หรือ
ทนี่ า เชอ่ื วาผูน้ันมีถิน่ ที่อยเู พ่อื แจง ใหท ราบถงึ การถูกกาํ หนดรายชือ่

การแจงบคุ คลที่ถกู กาํ หนดตาม (๑) หากไมส ามารถกระทาํ ไดเ นื่องจากไมม ีผรู ับ
การแจงจะกระทําโดยการปดประกาศคําส่ังการเปนบุคคลทีถ่ กู กําหนดไว ณ สถานีตาํ รวจแหง
ทองท่ที ีผ่ ูนัน้ มีภูมลิ ําเนา หรือในกรณีทไ่ี มรภู ูมิลําเนาของบุคคลที่ถกู กําหนด การแจง จะกระทาํ
โดยการประกาศในหนงั สือพมิ พรายวันท่ีแพรห ลาย ในกรณนี ีใ้ หถ ือวา บุคคลที่ถูกกาํ หนดไดร ับ
แจง เมอ่ื ลว งพนระยะเวลาสิบหา วนั นบั แตวนั ท่ีไดแ จงโดยวิธดี งั กลาว

ขอ ๖ เมือ่ ไดท ราบขอ มูลรายชอื่ บคุ คลทีถ่ ูกกําหนดแลว ใหบคุ คลท่ถี ูกกาํ หนด ผูมี
หนาท่ีรายงาน หรือบุคคลทค่ี รอบครองทรพั ยสินของบุคคลท่ีถูกกาํ หนดดําเนินการดงั ตอ ไปนโี้ ดย
ไมชักชา

(๑) ระงับการดาํ เนนิ การกบั ทรพั ยส ินของบุคคลทีถ่ กู กําหนด รวมทง้ั ของผูก ระทาํ
การแทน หรือตามคําส่ังของผนู น้ั หรือของกจิ การภายใตก ารควบคุมของผูน น้ั

(๒) แจง ขอ มลู เกย่ี วกบั ทรพั ยส นิ ทถ่ี กู ระงบั การดาํ เนนิ การตาม (๑) ใหส าํ นกั งานทราบ
ภายในสามวันทําการนบั แตว ันทีไ่ ดร ะงบั การดําเนนิ การกบั ทรัพยส นิ น้ัน

(๓) แจงใหสํานักงานทราบเกี่ยวกับผูท่ีเปนหรือเคยเปนลูกคาซึ่งอยูในรายชื่อบุคคล
ท่ีถูกกําหนดหรือผทู ่มี หี รอื เคยมีการทําธรุ กรรมกบั ผูนนั้ ทัง้ น้ี ภายในสามวันทาํ การนบั แตวันทไี่ ด
พบขอมลู นั้น

๑๑๕

การตรวจสอบขอ มลู ตาม (๓) ใหตรวจสอบยอ นหลังภายในกําหนดหา ปก อนวันที่ได
มคี ําสั่งใหผูใดเปน บุคคลท่ถี ูกกําหนด

ขอ ๗ หลกั เกณฑแ ละวิธีการแจง ขอ มลู ตามขอ ๖ ใหเ ปนไปตามแบบทีส่ ํานกั งาน
ประกาศกาํ หนด

ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ กมุ ภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖
รอ ยตํารวจเอก เฉลมิ อยูบ าํ รงุ

ประธานกรรมการปองกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ

๑๑๖

(สาํ เนา)
ระเบยี บคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงิน
วาดว ยการกาํ หนดนโยบายในการประเมนิ ความเสย่ี ง การกําหนดแนวทางปฏบิ ัติ
หรอื มาตรการอืน่ ใด เพือ่ ปองกนั มิใหมีการสนับสนนุ ทางการเงินแกก ารกอ การรา ย

___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๖____
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๖ วรรคสาม และมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราช
บัญญัติปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงินแกก ารกอการรา ย พ.ศ. ๒๕๕๖ อันเปน
กฎหมายที่มีบทบัญญัตบิ างประการเกย่ี วกบั การจาํ กดั สทิ ธิและเสรีภาพของบุคคล ซงึ่ มาตรา ๒๙
ประกอบกบั มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
คณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ จงึ ออกระเบยี บไว ดังตอไปน้ี
ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบยี บคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ
วา ดว ยการกาํ หนดนโยบายในการประเมินความเส่ียง การกาํ หนดแนวทางปฏิบัตหิ รอื มาตรการ
อ่ืนใดเพอ่ื ปอ งกนั มิใหมีการสนับสนนุ ทางการเงินแกการกอการราย พ.ศ. ๒๕๕๖”
ขอ ๒ ระเบียบน้ีใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
ขอ ๓ ใหผูมีหนาท่ีรายงานกําหนดนโยบายในการประเมินความเส่ียงหรือแนวทาง
ปฏิบตั ใิ ดๆ เก่ียวกับการปองกันมิใหม ีการสนับสนนุ ทางการเงินแกการกอ การรา ยเปนลายลักษณ
อักษรโดยอยางนอยใหม สี าระสาํ คญั ดังตอ ไปนี้
(๑) กรณผี ลิตภณั ฑห รือบริการตางๆ ของผูมีหนาท่ีรายงาน ใหผมู หี นา ทรี่ ายงาน
กาํ หนดนโยบายหรอื แนวทางปฏบิ ัติ เพือ่ มั่นใจไดว า ผลติ ภัณฑหรอื บรกิ ารดงั กลาวจะไมถ ูกใชเ ปน
ชองทางในการสนับสนุนทางการเงินแกก ารกอ การรา ย และหากเกดิ กรณีดงั กลาวขนึ้ ผมู ีหนา ท่ี
รายงานตองกําหนดมาตรการที่จะทําใหตรวจพบไดอยางรวดเร็วและมาตรการในการดําเนินการ
เพอ่ื บรรเทาความเสียหายใหไ ดมากทีส่ ดุ
(๒) กรณลี ูกคาของผูมีหนา ทีร่ ายงาน

(ก) ใหผูมีหนาที่รายงานกําหนดมาตรการเกี่ยวกับขั้นตอนในการอนุมัติการรับ
ลกู คา อยา งเครง ครดั และใหน าํ หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารตามกฎกระทรวงวา ดว ยการกาํ หนดหลกั เกณฑ
และวธิ กี ารในการตรวจสอบเพ่อื ทราบขอเทจ็ จริงเกี่ยวกบั ลูกคามากาํ หนดดวยโดยอนุโลม

(ข) ใหผ มู หี นา ทร่ี ายงานกาํ หนดมาตรการเกย่ี วกบั การดาํ เนนิ การใหข อ มลู รายชอ่ื
บคุ คลทีถ่ ูกกําหนดทไี่ ดร บั จากสํานกั งานใหเ ปนปจจบุ นั อยเู สมอ และการใชขอ มลู ดงั กลาวเพ่ือ
ตรวจสอบลกู คา ท้ังหมดอยางสมาํ่ เสมอจนกวา จะยุติความสมั พันธกับลกู คา รวมถึงตรวจสอบกบั

๑๑๗

บุคคลที่ขอทําธุรกรรมแบบคร้ังคราว และใหนําหลักเกณฑและวิธีการตามกฎกระทรวงวาดวย
การกาํ หนดหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารในการตรวจสอบเพอ่ื ทราบขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั ลกู คา มากาํ หนดดว ย
โดยอนุโลม

(ค) ใหผูมีหนาท่ีรายงานกําหนดมาตรการเกี่ยวกับการปฏิเสธการสราง
ความสมั พันธทางธรุ กจิ การไมทําธุรกรรม รวมทัง้ การระงับการดําเนนิ การกับทรัพยสนิ ตาม
กฎหมายวาดว ยการปองกนั และปราบปรามการสนับสนนุ ทางการเงินแกการกอการรา ย

(๓) กรณีธุรกรรมทุกประเภท ใหผูมีหนาที่รายงานกําหนดมาตรการเก่ียวกับ
การตรวจสอบธุรกรรมทั้งหมดของลูกคาและบุคคลท่ีขอทําธุรกรรมแบบครั้งคราววาเก่ียวของหรือ
อาจเกยี่ วของกับการสนับสนนุ ทางการเงนิ แกก ารกอการรา ยหรือไม แมวาลูกคา หรอื บุคคลท่ขี อ
ทาํ ธุรกรรมแบบครั้งคราว แตล ะรายจะมขี อมลู ไมต รงกบั ขอ มลู รายช่ือบุคคลทถี่ ูกกาํ หนดกต็ าม
และมาตรการในการรายงานธุรกรรมท่ีมเี หตอุ นั ควรสงสัยตอสํานักงาน ในกรณที ่ีพบวาธรุ กรรมใด
อาจเกี่ยวของหรือมีเหตุอันควรเชื่อไดวามีความเกี่ยวของกับการสนับสนุนทางการเงินแกการกอ
การรายหรอื เปนธุรกรรมทกี่ ระทาํ กับหรือเพ่อื ประโยชนของบคุ คลทถี่ ูกกําหนด

ใหผูมหี นา ท่ีรายงานจดั ใหนโยบายหรอื แนวทางปฏบิ ัติตามขอนี้ เปนสวนหนึง่ ใน
กระบวนการตรวจสอบเพื่อทราบขอเท็จจริงเกี่ยวกับลูกคาตามกฎกระทรวงวาดวยการกําหนด
หลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารในการตรวจสอบเพอื่ ทราบขอ เท็จจรงิ เกี่ยวกับลูกคา

ขอ ๔ ใหผูมีหนาที่รายงานกําหนดมาตรการอ่ืนใดที่จําเปนนอกจากที่กําหนดไวใน
ขอ ๓ เพ่ือปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทาง
การเงินแกการกอการราย

ขอ ๕ ใหผ ูมหี นาทีร่ ายงานกําหนดใหนโยบาย แนวทางปฏบิ ตั ิ หรือมาตรการอื่นใด
ตามขอ ๓ และขอ ๔ เปน เรอื่ งทีม่ ีความสาํ คัญในระดับสูงสุด และตองไดร ับการปฏบิ ัตอิ ยา ง
เครงครัด โดยตอ งไดร บั การอนุมตั จิ ากคณะกรรมการหรือผูบริหารซงึ่ มีอํานาจระดบั สูงสดุ ของผมู ี
หนาที่รายงาน

ขอ ๖ ใหผ มู ีหนา ทีร่ ายงานจัดทําแนวทางปฏิบตั ิ วิธปี ฏิบตั ิ หรือคูมือปฏิบัติ เพือ่ ให
บคุ ลากรสามารถปฏบิ ตั ใิ หบ รรลุผลไดอ ยา งมีประสทิ ธภิ าพ

ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
รอ ยตาํ รวจเอก เฉลิม อยูบํารงุ

ประธานกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ

๑๑๘

(สําเนา)
ระเบยี บคณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการฟอกเงิน
วาดวยการเกบ็ รักษาและการบริหารจัดการทรพั ยส นิ ทถ่ี ูกระงบั การดาํ เนินการกบั ทรัพยสิน

___พ__.ศ__. ๒__๕_๕_๖____
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗ และมาตรา ๑๒ (๑) แหงพระราชบัญญัติ
ปองกันและปราบปรามการสนับสนุนทางการเงนิ แกการกอ การราย พ.ศ. ๒๕๕๖ อันเปน กฎหมาย
ที่มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๙
ประกอบกับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๕ มาตรา ๓๖ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
คณะกรรมการปองกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ จงึ ออกระเบยี บไว ดังตอ ไปน้ี
ขอ ๑ ระเบยี บนเ้ี รยี กวา “ระเบยี บคณะกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ
วาดวยการเก็บรักษาและการบริหารจัดการทรัพยสินท่ีถูกระงับการดําเนินการกับทรัพยสิน
พ.ศ. ๒๕๕๖”
ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปน ตนไป
ขอ ๓ ในระเบียบน้ี
“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การฟอกเงิน
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา พนักงานเจาหนาท่ีตามกฎหมายวาดวย
การปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน
ขอ ๔ เม่ือสํานักงานไดรับแจงขอมูลการระงับการดําเนินการกับทรัพยสินตาม
มาตรา ๖ (๒) ใหพ นักงานเจาหนา ท่ีซ่ึงไดรบั มอบหมายจากเลขาธิการแจง ขอ มูลดงั กลา วพรอ มทัง้
สงมอบเอกสารที่เก่ียวของเทาท่ีมีอยูใหผูอํานวยการกองบริหารจัดการทรัพยสินทราบโดยเร็วเพื่อ
ดําเนินการตามขอ ๕
ขอ ๕ การเก็บรักษาและการบริหารจัดการทรัพยสินท่ีถูกระงับการดําเนินการกับ
ทรัพยส ิน ใหน ําระเบยี บคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการฟอกเงินเกยี่ วกบั การเก็บรักษา
และการบรหิ ารจดั การทรพั ยส นิ ทถ่ี กู ยดึ หรอื อายดั ตามกฎหมายวา ดว ยการปอ งกนั และปราบปราม
การฟอกเงนิ มาใชบังคับโดยอนุโลม

ประกาศ ณ วันที่ ๑๒ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
รอยตํารวจเอก เฉลมิ อยูบ ํารุง

ประธานกรรมการปอ งกนั และปราบปรามการฟอกเงนิ
๑๑๙

(สาํ เนา)

บันทึกขอ ความ
สว นราชการ สํานักกฎหมาย โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๙ โทรสาร. ๐ ๒๑๔๑ ๙๐๖๒

ที่ มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๓๒๗ วันท่ี ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖

เรื่อง การเขียนสวนลงทายในหนังสือราชการถึงจังหวัด

เรยี น อธิบดี

๑. เร่อื งเดิม
ในการประชุมกรมที่ดิน ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๖

ที่ประชุมมีมติ/ขอสั่งการในประเด็นที่ ๙ การเขียนสวนลงทายในหนังสือราชการถึงจังหวัด
ใหสํานักงานเลขานุการกรมประสานกับสํานักกฎหมายพิจารณา กรณี การทําหนังสือเวียน
แนวทางการเขียนสวนลงทายในหนังสือราชการถึงจังหวัดวาจะใชรูปแบบใด เพื่อใหสํานัก/กอง
ถือปฏิบัติใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน

๒. ขอ เทจ็ จรงิ
สํานักงานเลขานุการกรมมีบันทึก ที่ มท ๐๕๐๑.๒ (๒)/๑๗๖๖ ลงวันที่ ๑๔

มีนาคม ๒๕๕๖ แจงสํานักกฎหมายวา มติที่ประชุมกรมที่ดิน ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ ใหสํานักงาน
เลขานุการกรมประสานกับสํานักกฎหมายในการทําหนังสือเวียนแนวทางการเขียนสวนลงทาย
ในหนังสือราชการถึงจังหวัดวาจะใชรูปแบบใด เพื่อใหสํานัก/กอง ถือเปนแนวทางปฏิบัติ
โดยสํานักงานเลขานุการกรมเห็นวา ควรวางรูปแบบการเขียนสวนลงทายใหเปนไปในทิศทาง
เดียวกัน ดังนี้

(๑) หนังสือแจงเพื่อทราบ ใชคําวา จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจง
ใหเจาหนาที่ในสังกัดกรมที่ดิน ทราบดวย

(๒) หนังสือแจงเพื่อดําเนินการ ใชคําวา จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจง
ใหเจาหนาที่ในสังกัดกรมที่ดิน ทราบและดําเนินการในสวนที่เกี่ยวของตอไป

(๓) หนังสือแจงเพื่อใหถือปฏิบัติ ใชคําวา จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ และแจง
ใหเจาหนาที่ในสังกัดกรมที่ดินทราบ และถือปฏิบัติตอไป

๓. ขอกฎหมาย
๓.๑ ประมวลกฎหมายที่ดิน
๓.๒ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
๓.๓ พระราชบัญญัติวาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย พ.ศ.๒๔๙๗
๓.๔ คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๒๗๗/๒๔๙๘ ลงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม

๒๔๙๘
๓.๕ คําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๖๖/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๒

๑๒๐

๔. ความเหน็
สํานักกฎหมายพิจารณาแลวมีความเห็นดังนี้
๔.๑ ตามมาตรา ๑ แหงประมวลกฎหมายที่ดินไดบัญญัตินิยามคําวา

“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา “เจาพนักงานซึ่งเปนผูปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายนี้
และพนักงานอื่นซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายนี้” พนักงานเจาหนาที่จึงมี
๒ ประเภท คือ ๑. เจาพนักงานซึ่งเปนผูปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายที่ดิน เชน ตามมาตรา
๗๑ บัญญัติวา “ใหเจาพนักงานที่ดินเปนพนักงานเจาหนาที่จดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับ
อสังหาริมทรัพยตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย สําหรับอสังหาริมทรัพยที่อยูในเขตทองที่
สํานักงานที่ดินจังหวัดหรือสํานักงานที่ดินสาขานั้น” เจาพนักงานที่ดินซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวง
มหาดไทยไดแตงตั้งตามมาตรา ๑๕ แหงพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.๒๔๙๗
จึงเปนพนักงานเจาหนาที่ตามคํานิยามดังกลาว ๒. พนักงานอื่นซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวง
มหาดไทยแตงตั้งใหปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายที่ดิน เชน คําสั่งกระทรวงมหาดไทย
ที่ ๔๗๗/๒๔๙๘ ลงวันที่ ๑๓ พฤษภาคม ๒๔๙๘ เรื่อง แตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ตามความใน
มาตรา ๓๐ และมาตรา ๓๓ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕
แหงพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ.๒๔๙๗ รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
แตงตั้งนายอําเภอหรือปลัดอําเภอผูเปนหัวหนาประจํากิ่งอําเภอทองที่ซึ่งที่ดินนั้นตั้งอยูเปน
พนักงานเจาหนาที่ออกใบจองตามความในมาตรา ๓๐ และมาตรา ๓๓ แหงประมวลกฎหมาย
ที่ดิน ดังนั้น พนักงานเจาหนาที่ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยแตงตั้งฯ ยอมเปนพนักงาน
เจาหนาที่ตามคํานิยามในมาตรา ๑ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน แตคําวา “พนักงานเจาหนาที่
ที่ดิน” นั้น ประมวลกฎหมายที่ดินไมไดบัญญัติคํานิยามไวแตอยางใด จึงไมควรใชคําวา “พนักงาน
เจาหนาที่ที่ดิน”

๔.๒ สําหรับ “เจาพนักงานท่ีดิน” นั้น ตามมาตรา ๑๕ แหงพระราชบัญญัติ
ใหใชประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ บัญญัติวา “ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และตามประมวลกฎหมายที่ดินและใหมีอํานาจแตงตั้ง
เจา พนกั งานที่ดนิ และพนักงานเจาหนา ท่ีกบั ออกกฎกระทรวงเพ่ือปฏิบตั ิการใหเปน ไปตามพระราช
บัญญัตินี้และประมวลกฎหมายที่ดิน” เจาพนักงานที่ดินจึงเปนตําแหนงที่รัฐมนตรีวาการกระทรวง
มหาดไทยมีอํานาจแตงตั้งขึ้น เพื่อปฏิบัติการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติใหใชประมวลกฎหมาย
ที่ดิน พ.ศ.๒๔๙๗ และประมวลกฎหมายที่ดิน เชน ตามมาตรา ๖๐ ประมวลกฎหมายที่ดิน
ใหเจาพนักงานที่ดินมีอํานาจทําการสอบสวนเปรียบเทียบในการออกโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรอง
การทําประโยชน ถามีผูโตแยงสิทธิกัน หรือตามมาตรา ๖๙ ทวิ ผูมีสิทธิในที่ดินประสงคจะขอ
สอบเขตโฉนดที่ดินเฉพาะรายของตน ใหยื่นคําขอพรอมดวยโฉนดที่ดินนั้นตอเจาพนักงานที่ดิน
และคําสั่งกระทรวงมหาดไทย ที่ ๖๖/๒๕๕๒ ลงวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ ๒๕๕๒ เรื่อง แตงตั้ง
เจาพนักงานที่ดิน ขอ ๒ แตงตั้งใหผูดํารงตําแหนงดังตอไปนี้ในสํานักงานที่ดินจังหวัด และ
สํานักงานที่ดินสาขาเปนเจาพนกั งานที่ดินตามประมวลกฎหมายที่ดิน ในสํานักงานที่ดินจังหวัด

๑๒๑

และสํานักงานที่ดินสาขานั้นๆ คือ (๑) เจาพนักงานที่ดินจังหวัด หรือเจาพนักงานที่ดินจังหวัดสาขา
(๒) นักวิชาการที่ดินตั้งแตระดับปฏิบัติการขึ้นไปในฝายทะเบียน (๓) เจาพนักงานที่ดิน ตั้งแตระดับ
ปฏิบัติงานขึ้นไปในฝายทะเบียน (๔) นายชางรังวัด ตั้งแตระดับชํานาญงานขึ้นไปในฝายรังวัด (๕)
ขาราชการพลเรือนสามัญประเภทวิชาการตั้งแตระดับปฏิบัติการขึ้นไป หรือประเภททั่วไปตั้งแต
ระดับปฏิบัติงานขึ้นไป ซึ่งอธิบดีกรมที่ดินแตงตั้งใหทําหนาที่ในตําแหนงตาม (๒) (๓) และ (๔)
เปนการชั่วคราว

๔.๓ คําวา “เจาหนาที่” ประมวลกฎหมายที่ดินไมไดบัญญัติคํานิยามไว
จึงตองอาศัยการตีความตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔ วรรคหนึ่ง บัญญัติ
วา “กฎหมายนั้นตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติใดๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร
หรือตามความมุงหมายของบทบัญญัตินั้นๆ” วรรคสอง บัญญัติวา “เมื่อไมมีบทกฎหมายที่จะ
ยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น
ใหวินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถาบทกฎหมายเชนนั้นก็ไมมีดวย
ใหวินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป” ในกรณีนี้จึงตองวินิจฉัยเทียบเคียงบทกฎหมายที่ใกลเคียง
อยางยิ่ง ซึ่งไดแกพระราชบัญญัติวาดวยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย พ.ศ.๒๔๙๗ ที่ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑๖ กุมภาพันธ ๒๔๙๗ มีผลใชบังคับในวันที่ ๑๗ กุมภาพันธ ๒๔๙๗
ไดบัญญัติใหนิยามคําวา “เจาหนา ท”ี่ ไวหมายความวา “กระทรวง ทบวง กรมในรัฐบาล หรือ
ทบวงการเมืองอื่น หรือบุคคลผูกระทําการเพื่อประโยชนของรัฐ ซึ่งมีอํานาจที่จะกระทําการใดๆ
ที่ไดรับอํานาจใหกระทําหรือควบคุมการเวนคืนอสังหาริมทรัพยได” เมื่อเทียบเคียงตามกฎหมาย
ใกลเคียงอยางยิ่งแลวคําวา “เจา หนาท”่ี ตามประมวลกฎหมายที่ดินจึงมีความหมายวา บุคคล
ผูกระทําการเพื่อประโยชนของกรมที่ดิน ซึ่งมีอํานาจที่จะกระทําการใดๆ ที่ไดรับอํานาจใหกระทํา
หรือควบคุมตามประมวลกฎหมายที่ดินหรือกฎหมายอื่นที่อยูในอํานาจหนาที่ของกรมที่ดินได
สวนคําวา “เจาหนาที่ที่ดิน” ก็มีความหมายเชนเดียวกับคําวา “เจาหนาที่” แตเปนเจาหนาที่ใน
สังกัดหนวยงานของกรมที่ดิน

โดยสรุป การเขียนสวนลงทายในหนังสือราชการถึงจังหวัดสามารถใชคําวา
“เจาหนาที่” “พนักงานเจาหนาที่” หรือ “เจาพนักงานที่ดิน” โดยพิจารณาตามวัตถุประสงคของ
หนังสือนั้นวาจะใหครอบคลุมถึงบุคคลใดใหไดทราบและถือปฏิบัติตามหนังสือนั้นบาง สําหรับ
ความเห็นของสํานักงานเลขานุการกรม ตาม ๒. เปนการกําหนดแนวทางปฏิบัติซึ่งสามารถนําผล
การพิจารณาของสํานักกฎหมายตาม ๔. ไปประกอบการพิจารณากําหนดแนวทางปฏิบัติใหเปน
ไปในแนวทางเดียวกันได

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา หากเห็นชอบ จะไดแจงใหสํานักงานเลขานุการ
กรมดําเนินการตอไป

(ลงชื่อ) ประภสั สร สบื เหลารบ
(นายประภัสสร สืบเหลารบ)
ผูอํานวยการสํานักกฎหมาย

๑๒๒

ดวนทสี่ ุด (สาํ เนา)
ที่ มท ๐๕๐๕.๒ / ว ๗๒๐๙ กรมทีด่ นิ
ศนู ยร าชการเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภกั ดี ถนนแจงวฒั นะ
แขวงทุง สองหอง เขตหลกั ส่ี กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๘ มีนาคม ๒๕๕๖

เร่อื ง ซักซอ มความเขาใจเกยี่ วกบั แนวทางในการดาํ เนินคดปี กครอง
เรียน ผูว าราชการจังหวดั ทกุ จังหวดั

อางถึง หนงั สอื กรมทด่ี นิ ที่ มท ๐๗๑๒/ว ๑๑๘๗๘ ลงวันท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๔๕
สง่ิ ท่สี ง มาดวย สําเนาหนังสอื กรมทดี่ ิน ที่ มท ๐๗๑๒/ว ๑๑๘๗๘ ลงวนั ท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๔๕

ตามท่ีกรมท่ีดินไดวางแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการดําเนินคดีปกครอง กรณี
มอบอํานาจใหพนักงานอัยการเปนผูที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะในทางคดี แตเน่ืองจากวา
มีบางจังหวัดยังเขาใจผิด หรือมีความสับสนในการมอบอํานาจใหพนักงานอัยการดําเนินคดี
ปกครองแทน ความแจง แลว นั้น

กรมทด่ี นิ พิจารณาแลวเหน็ วา แนวทางในการดําเนินคดปี กครองสําหรบั กรณี
ดังกลา วเปน เรอื่ งสาํ คญั เพอื่ ประโยชนข องทางราชการ ซง่ึ สว นราชการจะตอ งถอื ปฏบิ ัตเิ ปน ไป
แนวทางเดยี วกัน จึงขอกาํ ชับและทาํ ความเขา ใจ ดังตอไปนี้

กรณตี ามขอ ๑ ในคดีพพิ าทเก่ยี วกับการทําละเมดิ หรอื ความรับผิดอยา งอ่ืนตาม
มาตรา ๙ (๓) แหง พระราชบัญญัตจิ ัดต้งั ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒
ซ่ึงมูลคดีเกิดจากเจาหนาที่ปฏิบัติหนาท่ีราชการและผูฟองคดีขอใหชดใชคาเสียหาย
ใหมอบอาํ นาจใหพ นกั งานอัยการเปน ผูท ม่ี คี วามเชี่ยวชาญเฉพาะในทางคดี โดยใหจ งั หวัดช้แี จง
ขอเท็จจริงและขอกฎหมาย พรอมจัดสงเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวของ และแตงต้ังเจาหนาที่
ผูรูเ ร่อื งดี สามารถอธิบายเรื่องราวของมูลเหตแุ หง ขอ พิพาท ขอกฎหมาย และระเบยี บท่ีเกี่ยวของ
เปนผูติดตอประสานงานกับพนักงานอัยการ ในการดําเนินคดีปกครองดวย ตองเปนกรณีที่มี
ขอพิพาทเกีย่ วกับการทําละเมดิ หรอื ความรบั ผิดอยา งอ่ืนตามมาตรา ๙ (๓) แหงพระราชบญั ญตั ิ
ดังกลาว ซ่ึงมูลคดีเกิดจากเจาหนาท่ีปฏิบัติหนาท่ีราชการและผูฟองคดีขอใหชดใชคาเสียหาย
เทาน้นั

๑๒๓

สวนกรณตี ามขอ ๒ เปนกรณที ี่มีขอ พพิ าทเก่ียวกบั คดีปกครองอ่ืน อนั มขี อ พพิ าท
นอกเหนอื จาก มาตรา ๙ (๓) แหง พระราชบญั ญัตจิ ัดต้ังศาลปกครองและวิธพี จิ ารณาคดี
ปกครอง พ.ศ.๒๕๔๒ ใหเ จา หนาที่ทําคาํ ใหการเอง โดยไมตอ งขอใหพ นักงานอัยการดําเนนิ
คดีปกครองแทน

จึงเรียนมาเพ่ือโปรดทราบและแจงใหเจาหนาท่ีที่เกี่ยวของและหนวยงานใน
สังกดั ทราบ และถอื ปฏบิ ตั โิ ดยเครง ครดั ตอไป

ขอแสดงความนับถอื
(ลงชอ่ื ) สจุ ติ จงประเสริฐ

(นายสจุ ิต จงประเสริฐ)
รองอธบิ ดีกรมทด่ี นิ ปฏิบตั ริ าชการแทน

อธบิ ดกี รมท่ดี ิน

สํานกั กฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๙๔
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๓

๑๒๔

ที่ มท ๐๗๑๒ / ว ๑๑๘๗๘ (สาํ เนา) กรมท่ดี นิ
ถนนพระพพิ ธิ กทม. ๑๐๒๐๐

๑๑ เมษายน ๒๕๔๕

เร่ือง แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการดําเนนิ คดีปกครอง
เรยี น ผวู าราชการจังหวัดทุกจงั หวดั
ส่ิงท่ีสงมาดวย ตวั อยา งแบบคําใหการ

ดวยปจจุบนั มีคดีปกครองข้ึนสูศาลปกครองทีก่ รมทด่ี ิน เจา หนา ทแี่ ละหนว ยงาน
ในสังกัดกรมท่ดี นิ เปน ผถู ูกฟอ งคดเี ปนจํานวนมาก กรมทีด่ นิ จงึ ไดก ําหนดแนวทางในการดําเนิน
คดปี กครองดังกลา ว ดังนี้

๑. ในคดีพพิ าทเกีย่ วกับการทาํ ละเมิดหรอื ความรับผดิ อยางอ่นื ตามมาตรา ๙
(๓) แหงพระราชบญั ญตั จิ ดั ตงั้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ.๒๕๔๒ ซึ่งมูลคดี
เกิดจากเจาหนา ท่ีปฏิบตั ิหนา ทรี่ าชการ และผูฟองคดีขอใหช ดใชค าเสยี หายใหม อบอาํ นาจให
พนกั งานอัยการดําเนินคดีปกครองแทน เน่ืองจากพนักงานอยั การเปน ผูทม่ี ีความเช่ียวชาญเฉพาะ
ในทางคดี

การสงเร่ืองและเอกสารท่ีเก่ียวของกับคดีใหพนักงานอัยการดังกลาว ขอให
จังหวัดชี้แจงขอเท็จจริง ขอกฎหมายและระเบียบปฏิบัติของกรมที่ดินหรือสวนราชการอื่นท่ี
เก่ียวของกับคดีใหพนักงานอัยการทราบพรอมท้ังแตงตั้งเจาหนาที่ผูรูเร่ืองดี สามารถอธิบาย
เร่ืองราวของมูลเหตุแหงขอพิพาท ขอกฎหมาย และระเบียบท่ีเก่ียวของ เปนผูประสานงาน
เกย่ี วกับคดีดว ย

๒. คดีนอกจากขอ ๑ ใหเจาหนาทท่ี ําคําใหการแกคําฟอ งเอง โดยไมตองขอให
พนกั งานอัยการดําเนนิ คดปี กครองแทน การทําคําใหก ารใหพ ิจารณาดําเนนิ การดงั น้ี

๒.๑ ตรวจคําฟองและพิจารณาทําความเขาใจใหถองแทเกี่ยวกับประเด็น
ขอ พพิ าทหรอื ขอ โตแยงแหง คดี

๒.๒ จัดทําคําใหการหรือคําช้ีแจงเปนหนังสือราชการหรือหนังสือตามแบบ
ของศาล โดยทําคําใหการใหชัดแจง แสดงการปฏเิ สธ หรอื การยอมรบั ขอ หาที่ปรากฏในคําฟอง
และคาํ ขอทา ยฟอง ช้ีแจงขอ เท็จจรงิ ขอกฎหมาย ระเบียบปฏิบัตหิ รือคําสั่งของทางราชการ
พรอมแสดงหลกั ฐานประกอบ กรณีทศี่ าลใหไ ปชี้แจงดวยวาจาตอหนาศาลไมตองทาํ คําช้แี จงเปน
หนังสือ

๑๒๕

๒.๓ หากมกี รณไี มสามารถยน่ื คําใหการหรอื ชแี้ จงขอเทจ็ จริงตอ ศาล ภายใน
เวลาท่ีศาลกําหนดได ใหย่ืนคําขอตอศาลเพ่ือขอขยายระยะเวลาตามความจําเปนกอนครบ
กําหนดเวลาตามคําสง่ั ศาล

๒.๔ การยืน่ คาํ ใหการ คําช้แี จงขอ เท็จจริง หรือพยานหลกั ฐานตางๆ จะยนื่
ดวยตนเองหรือมอบฉันทะใหผูอ่ืนไปย่ืนตอศาลหรือตอพนักงานเจาหนาที่ของศาลหรือจะทํา
โดยวิธสี งทางไปรษณยี ล งทะเบยี นกไ็ ด ในกรณีท่ีสงทางไปรษณียลงทะเบยี นใหถือวนั ที่ยื่นสง แก
เจา พนักงานไปรษณยี เ ปนวนั ท่ยี ่ืนตอศาล

๒.๕ ในกรณีท่ีศาลสงสําเนาคําคัดคานคําใหการของผูฟองคดีมาเพ่ือใหจัด
ทาํ คําใหการเพิม่ เติมแกคาํ คดั คานคาํ ใหการ ขอใหจ ัดทาํ คาํ ใหการเพ่มิ เตมิ ตามประเด็นทผี่ ฟู อ งคดี
คดั คา น โดยจดั ทําลักษณะเดยี วกนั กบั การจดั ทาํ คําใหก ารครง้ั แรก หากไมมีประเด็นท่ตี องทํา
คาํ ใหก ารเพม่ิ เตมิ ใหแจง ใหศ าลทราบ

๓. ในกรณีที่กรมท่ีดินเปนผูถูกฟองคดี หรือศาลปกครองมีคําส่ังใหกรมที่ดิน
จดั ทาํ คาํ ใหก ารแกค าํ ฟอ งหรอื ชแ้ี จงขอ เทจ็ จรงิ และกรมทด่ี นิ มคี วามจาํ เปน ตอ งขอทราบขอ เทจ็ จรงิ
และหลกั ฐานตางๆ จากจังหวดั ซึ่งเปน มลู เหตุแหง ขอพพิ าท ขอใหจ ังหวดั สรุปขอเทจ็ จริงพรอมท้งั
รวบรวมพยานหลกั ฐานตา งๆ ทีเ่ กีย่ วขอ งกับคดี จัดสง ใหก รมท่ีดินภายในเวลาทกี่ ําหนดโดยดวน
หากเจา พนกั งานทีด่ นิ จงั หวัดหรือสาขา เปนผูถกู ฟอ งคดีรวม ขอใหจัดสงสาํ เนาคําใหการของ
เจา พนกั งานที่ดนิ จังหวดั หรือสาขาไปใหก รมท่ีดินดวย

๔. ในการดําเนินคดีปกครองขอใหเจาหนาที่รีบดําเนินการภายในกําหนดระยะ
เวลาท่ีศาลกาํ หนด การประวงิ คดีใหลาชา อาจถกู ลงโทษทางวนิ ัยหรอื มคี วามผดิ ฐานละเมดิ
อาํ นาจศาลได

๕. เม่ือเจาหนาที่หรือหนวยงานในสังกัดกรมที่ดินเปนผูถูกฟองในคดีปกครอง
หรือศาลปกครองมีคําพิพากษาเกี่ยวกับคดีประการใด ขอใหจังหวัดรายงานและจัดสงสําเนา
คาํ ฟองหรือคาํ พิพากษาของศาลไปใหกรมทีด่ ินทราบดว ย

จึงเรียนมาเพอื่ โปรดทราบและแจง ใหเจา หนา ที่ถอื เปน แนวทางปฏิบตั ิตอไป
ขอแสดงความนบั ถอื

(ลงชื่อ) อรรถพร ทองประไพ
(นายอรรถพร ทองประไพ)
รองอธบิ ดี รักษาราชการแทน
อธิบดกี รมท่ีดนิ

กองนติ กิ าร
โทร. ๐ ๒๒๒๓ ๒๔๐๒ โทรสาร ๐ ๒๒๒๒ ๓๘๑๗

๑๒๖

(สาํ เนา)

ดวนมาก
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๘๐๓๖

ถึง จังหวดั ทกุ จงั หวัด

กรมทีด่ ินขอสงสําเนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื ง ต้งั สํานกั งานท่ดี ินสาขา
ในจังหวดั นครราชสมี า จงั หวดั นครศรีธรรมราช จงั หวดั นครสวรรค จังหวัดนาน จงั หวัดยโสธร
จังหวดั ราชบรุ ี และจงั หวัดสมทุ รปราการ สําเนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอื่ ง ยกเลกิ อํานาจ
หนา ทข่ี องนายอาํ เภอเกยี่ วกับการปฏิบัติการตามประมวลกฎหมายท่ดี ิน (ฉบบั ที่ ๕๑) และสาํ เนา
ประกาศกรมทีด่ ิน เร่ือง ตัง้ สํานักงานทด่ี ินสว นแยก (ฉบับที่ ๒๕) ซงึ่ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา
ฉบับประกาศท่ัวไป เลม ๑๓๐ ตอนพิเศษ ๓๗ ง ลงวนั ที่ ๒๒ มนี าคม ๒๕๕๖ มาเพือ่ โปรดทราบ

กรมท่ีดนิ
๒๕ มนี าคม ๒๕๕๖

สาํ นักกฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗
โทรสาร. ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๒

๑๒๗

(สาํ เนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ตัง้ สาํ นกั งา_น_ท__ีด่ _นิ _ส_า_ข__า_ใน__จ_งั _หวัดนครราชสีมา
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตั้งสํานักงานท่ีดินสาขาในจังหวัดนครราชสีมา
ลงวันท่ี ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ ต้งั สาํ นักงานที่ดินจังหวัดนครราชสมี า สาขาโนนสูง และสาขา
ขามสะแกแสง นัน้
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรจัดตั้งสํานักงานท่ีดินสาขาในจังหวัด
นครราชสีมา เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสํานักงานที่ดินจังหวัด
นครราชสมี า สาขาสงู เนนิ เสียใหม เพ่ือดาํ เนนิ การออกโฉนดท่ีดนิ การรงั วัดท่ดี นิ การจดทะเบยี น
สทิ ธแิ ละนติ ิกรรม การทาํ ธุระอื่นๆ ตลอดจนการดําเนนิ การใดเกย่ี วกับอสังหาริมทรัพยต าม
บทบัญญตั แิ หงประมวลกฎหมายทดี่ ิน
อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา ๑๓ แหงประมวลกฎหมายที่ดนิ จึงใหต ง้ั สํานกั งาน
ที่ดินสาขาขึ้นและเปลี่ยนแปลงเขตพ้ืนที่ความรับผิดชอบของสํานักงานที่ดินจังหวัดนครราชสีมา
สาขาสูงเนนิ ใหม ีเขตดําเนนิ การ ดงั น้ี
๑. สาํ นักงานที่ดนิ จังหวัดนครราชสมี า สาขาขามทะเลสอ มีเขตดาํ เนินการในทองท่ี
อําเภอขามทะเลสอ
๒. สาํ นักงานทด่ี ินจงั หวัดนครราชสีมา สาขาสงู เนิน มีเขตดําเนนิ การในทอ งทีอ่ าํ เภอ
สูงเนิน
ทงั้ น้ี ตัง้ แตว ันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน ตน ไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรชี ว ยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั ริ าชการแทน
รัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย

๑๒๘

(สาํ เนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรอ่ื ง ต้ังสํานักงาน_ท_่ดี _นิ__ส_า_ข_า_ใ_น_จ_ัง_ห__วดั นครศรธี รรมราช
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตั้งสาํ นกั งานท่ดี ินสาขาในจงั หวดั นครศรีธรรมราช
ลงวนั ที่ ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๕ ตงั้ สํานกั งานทดี่ ินจังหวัดนครศรธี รรมราช สาขาทาศาลา นัน้
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรจัดต้ังสํานักงานที่ดินสาขาในจังหวัด
นครศรีธรรมราช เพิ่มเติม และเปล่ียนแปลงเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสํานักงานที่ดิน
จังหวัดนครศรีธรรมราช สาขาทุงสง เสียใหม เพอื่ ดําเนินการออกโฉนดท่ดี นิ การรังวัดทด่ี นิ
การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม การทําธุระอ่ืนๆ ตลอดจนการดําเนินการใดเกี่ยวกับ
อสังหาริมทรพั ยต ามบทบัญญตั ิแหง ประมวลกฎหมายทด่ี นิ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน จึงใหตั้ง
สํานักงานท่ีดินสาขาขึ้นและเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสํานักงานที่ดินจังหวัด
นครศรธี รรมราช สาขาทงุ สง ใหม เี ขตดําเนนิ การ ดงั นี้
๑. สํานักงานที่ดนิ จงั หวัดนครศรีธรรมราช สาขาทุงใหญ มีเขตดาํ เนินการในทองท่ี
อาํ เภอทงุ ใหญ
๒. สาํ นักงานที่ดนิ จงั หวัดนครศรีธรรมราช สาขาทุงสง มีเขตดาํ เนนิ การในทอ งท่ี
อําเภอทงุ สง อําเภอรอ นพบิ ลู ย อําเภอนาบอน อําเภอบางขนั และอาํ เภอจฬุ าภรณ
ทง้ั น้ี ตัง้ แตวันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปนตน ไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรีชว ยวา การกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั ิราชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

๑๒๙

(สําเนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เร่อื ง ตัง้ สาํ นักง_า_น_ท_่ีด__ิน_ส_า_ข_า_ใ_น_จ_ัง_หวดั นครสวรรค
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตั้งสํานักงานที่ดินสาขาในจังหวัดนครสวรรค
ลงวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ ตง้ั สาํ นกั งานท่ดี นิ จงั หวัดนครสวรรค สาขาหนองบัว และ
เปลีย่ นแปลงเขตพน้ื ที่ความรับผิดชอบของสาํ นักงานท่ดี นิ จังหวดั นครสวรรค สาขาชุมแสง นั้น
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรจัดตั้งสํานักงานท่ีดินสาขาในจังหวัด
นครสวรรค เพ่ิมเติม และเปล่ียนแปลงเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสํานักงานที่ดินจังหวัด
นครสวรรค สาขาตาคลี เสียใหม เพอ่ื ดาํ เนินการออกโฉนดที่ดิน การรงั วัดทีด่ นิ การจดทะเบยี น
สิทธิและนิติกรรม การทําธุระอื่นๆ ตลอดจนการดําเนินการใดเก่ียวกับอสังหาริมทรัพยตาม
บทบญั ญัติแหงประมวลกฎหมายที่ดิน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน จึงใหตั้ง
สํานักงานที่ดินสาขาขึ้นและเปลี่ยนแปลงเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสํานักงานท่ีดินจังหวัด
นครสวรรค สาขาตาคลี ใหมเี ขตดาํ เนนิ การ ดังน้ี
๑. สาํ นักงานที่ดนิ จงั หวดั นครสวรรค สาขาตากฟา มเี ขตดาํ เนินการในทอ งทอี่ ําเภอ
ตากฟา
๒. สาํ นักงานท่ดี นิ จงั หวดั นครสวรรค สาขาตาคลี มีเขตดําเนนิ การในทอ งทีอ่ ําเภอ
ตาคลี
ทัง้ นี้ ตงั้ แตวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน ตน ไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รฐั มนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัตริ าชการแทน
รฐั มนตรวี า การกระทรวงมหาดไทย

๑๓๐

(สําเนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ต้งั สําน_ัก_ง_า_น__ท_่ดี _นิ __ส_า_ข_า_ใ_นจังหวดั นา น
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันท่ี ๑๒ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๗ เปลย่ี นแปลง
เขตพ้นื ที่ความรบั ผิดชอบของสาํ นักงานท่ดี ินจังหวัดนา น สาขาทาวงั ผา นัน้
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรจัดตั้งสํานักงานที่ดินสาขาในจังหวัดนาน
เพิ่มเตมิ และเปลย่ี นแปลงเขตพื้นทคี่ วามรบั ผิดชอบของสํานักงานทด่ี ินจงั หวดั นาน สาขาปว
เสียใหม เพือ่ ดาํ เนนิ การออกโฉนดทด่ี นิ การรังวดั ทีด่ ิน การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม การทาํ
ธุระอื่นๆ ตลอดจนการดําเนินการใดเก่ียวกับอสังหาริมทรัพยตามบทบัญญัติแหงประมวล
กฎหมายที่ดนิ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ แหงประมวลกฎหมายท่ีดิน จึงใหตั้ง
สํานักงานที่ดินสาขาขึ้นและเปล่ียนแปลงเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสํานักงานท่ีดินจังหวัดนาน
สาขาปว ใหม เี ขตดําเนินการ ดงั นี้
๑. สาํ นกั งานท่ดี นิ จงั หวัดนาน สาขาเชยี งกลาง มเี ขตดําเนนิ การในทอ งท่ีอาํ เภอ
เชียงกลาง อาํ เภอทุงชา ง และอาํ เภอเฉลมิ พระเกียรติ
๒. สาํ นักงานที่ดินจงั หวัดนา น สาขาปว มีเขตดาํ เนนิ การในทองทีอ่ ําเภอปว และ
อาํ เภอบอเกลือ
ทง้ั นี้ ต้ังแตวนั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน ตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รฐั มนตรชี วยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัติราชการแทน
รฐั มนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

๑๓๑

(สําเนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรอ่ื ง ตั้งสําน_ัก_ง_าน__ท_ด่ี _นิ__ส_า_ข_า_ใ_น_จงั หวดั ยโสธร
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ต้ังสํานกั งานที่ดนิ สาขาในจังหวดั ยโสธร ลงวันที่
๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๖ ตง้ั สาํ นกั งานท่ีดนิ จงั หวดั ยโสธร สาขาคําเขอื่ นแกว สาขา
มหาชนะชัย และสาขาเลงิ นกทา น้ัน
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรจัดตั้งสํานักงานที่ดินสาขาในจังหวัดยโสธร
เพิ่มเติม และเปล่ียนแปลงเขตพ้ืนท่ีความรับผิดชอบของสํานักงานที่ดินจังหวัดยโสธร สาขา
เลงิ นกทา เสยี ใหม เพือ่ ดําเนนิ การออกโฉนดท่ดี ิน การรังวัดทดี่ นิ การจดทะเบียนสทิ ธิและ
นิติกรรม การทําธุระอ่ืนๆ ตลอดจนการดําเนินการใดเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยตามบทบัญญัติ
แหงประมวลกฎหมายทีด่ นิ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน จึงใหต้ัง
สํานักงานที่ดินสาขาขึ้นและเปล่ียนแปลงเขตพ้ืนที่ความรับผิดชอบของสํานักงานท่ีดินจังหวัด
ยโสธร สาขาเลิงนกทา ใหมีเขตดําเนนิ การ ดังน้ี
๑. สาํ นกั งานท่ดี นิ จงั หวดั ยโสธร สาขากดุ ชมุ มีเขตดาํ เนินการในทองท่อี าํ เภอกดุ ชุม
และอําเภอไทยเจริญ
๒. สาํ นักงานท่ดี ินจังหวัดยโสธร สาขาเลงิ นกทา มเี ขตดําเนนิ การในทองทอ่ี ําเภอ
เลงิ นกทา
ทั้งน้ี ต้ังแตว นั ท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน ตน ไป

ประกาศ ณ วันท่ี ๑๙ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รฐั มนตรีชวยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ัตริ าชการแทน
รัฐมนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย

๑๓๒

(สาํ เนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง ตงั้ สํานกั_ง_า_น__ท_่ดี _ิน__ส_า_ข_า_ใ_น_จังหวดั ราชบรุ ี
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตงั้ สาํ นกั งานท่ดี ินสาขาในจงั หวัดราชบรุ ี ลงวนั ที่
๑๕ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๔๕ ตงั้ สํานักงานทด่ี ินจงั หวัดราชบุรี สาขาจอมบงึ และสาขาโพธาราม
นน้ั
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรจัดตั้งสํานักงานที่ดินสาขาในจังหวัดราชบุรี
เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสํานักงานที่ดินจังหวัดราชบุรี สาขา
จอมบึง เสียใหม เพอื่ ดําเนินการออกโฉนดทีด่ ิน การรงั วดั ที่ดิน การจดทะเบยี นสิทธิและนิตกิ รรม
การทําธุระอื่นๆ ตลอดจนการดําเนินการใดเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยตามบทบัญญัติแหง
ประมวลกฎหมายทด่ี ิน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ แหงประมวลกฎหมายที่ดิน จึงใหตั้ง
สํานักงานท่ีดินสาขาขึ้นและเปลี่ยนแปลงเขตพ้ืนที่ความรับผิดชอบของสํานักงานท่ีดินจังหวัด
ราชบุรี สาขาจอมบึง ใหม เี ขตดาํ เนนิ การ ดังน้ี
๑. สาํ นักงานทดี่ ินจงั หวัดราชบรุ ี สาขาสวนผ้งึ มีเขตดําเนินการในทอ งที่อาํ เภอ
สวนผึง้ และอําเภอบานคา
๒. สํานักงานทดี่ นิ จงั หวดั ราชบรุ ี สาขาจอมบึง มีเขตดําเนนิ การในทอ งท่อี าํ เภอ
จอมบึง
ทั้งน้ี ตง้ั แตวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปนตนไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรีชว ยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั ริ าชการแทน
รฐั มนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย

๑๓๓

(สาํ เนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เร่อื ง ต้งั สาํ นกั งา_น_ท_ด่ี _นิ__ส_า_ข_า_ใ_น_จ_งั_ห_วัดสมุทรปราการ
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ตง้ั สาํ นกั งานที่ดนิ สาขาในจังหวัดสมุทรปราการ
ลงวันท่ี ๒๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๓๖ ตง้ั สาํ นกั งานที่ดนิ จังหวัดสมทุ รปราการ สาขาพระประแดง นนั้
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรจัดตั้งสํานักงานท่ีดินสาขาในจังหวัด
สมทุ รปราการ เพิ่มเตมิ เพื่อดาํ เนนิ การออกโฉนดทด่ี นิ การรังวัดที่ดิน การจดทะเบียนสทิ ธิ
และนิติกรรม การทําธุระอื่นๆ ตลอดจนการดําเนินการใดเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยตาม
บทบญั ญตั แิ หง ประมวลกฎหมายที่ดนิ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๓ แหงประมวลกฎหมายท่ีดิน จึงใหตั้ง
สํานักงานที่ดนิ จงั หวัดสมุทรปราการ สาขาพระสมทุ รเจดีย มีเขตดําเนนิ การในทองท่อี ําเภอ
พระสมุทรเจดยี 
ท้ังน้ี ตง้ั แตวนั ที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน ตน ไป

ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรชี ว ยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏิบตั ิราชการแทน
รฐั มนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย

๑๓๔

(สําเนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรอื่ ง ยกเลกิ อํานาจหนาท่ีของนายอาํ เภอเกยี่ วกบั การปฏบิ ัตกิ าร
ตามประมว_ล__ก_ฎ_ห_ม__า_ย_ท_ด่ี _นิ__(_ฉบบั ที่ ๕๑)
โดยที่มาตรา ๑๙ แหงพระราชบัญญัติแกไขเพ่ิมเติมประมวลกฎหมายท่ีดิน
(ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๒๘ บญั ญตั ใิ หก ารปฏิบตั กิ ารตามประมวลกฎหมายทีด่ นิ ซ่ึงเปน อํานาจ
หนาทข่ี องหัวหนา เขต นายอําเภอ หรอื ปลดั อาํ เภอผูเปนหวั หนาประจํากิง่ อาํ เภออยกู อนวันท่ี
พระราชบญั ญตั นิ ้ีใชบังคับ ใหผดู ํารงตาํ แหนงดงั กลา วปฏิบัตติ อไปพลางกอ น จนกวารฐั มนตรี
จะไดประกาศยกเลิกในราชกิจจานุเบกษาเปนทองที่ไป บัดน้ี กระทรวงมหาดไทยพิจารณา
เห็นควรใหพ นักงานเจา หนาทีต่ ามประมวลกฎหมายท่ดี ินเปน ผูป ฏบิ ตั ิตอไป
อาศัยอาํ นาจตามความในมาตรา ๑๙ แหง พระราชบญั ญัตแิ กไขเพิม่ เติมประมวล
กฎหมายท่ดี ิน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๒๘ จึงใหยกเลกิ อํานาจหนา ท่ขี องนายอาํ เภอเกยี่ วกบั
การปฏิบัตกิ ารตามประมวลกฎหมายท่ีดนิ ในทองทีด่ ังตอ ไปน้ี
๑. อําเภอสิเกา จังหวดั ตรงั
๒. อาํ เภอคูเมอื ง จังหวัดบุรรี ัมย
๓. อําเภอกสุ มุ าลย จงั หวัดสกลนคร
๔. อาํ เภอสําโรงทาบ จังหวัดสุรนิ ทร
๕. อาํ เภอพระสมุทรเจดีย จงั หวัดสมุทรปราการ
ทัง้ นี้ ตั้งแตวันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน ตน ไป

ประกาศ ณ วันที่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรชี ว ยวา การกระทรวงมหาดไทย ปฏิบตั ริ าชการแทน
รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย

(ราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั ประกาศทั่วไป เลม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๓๗ ง วันที่ ๒๒ มีนาคม ๒๕๕๖)
๑๓๕

(สําเนา)
ประกาศกรมท่ดี นิ
เรอื่ ง ตัง้ สาํ น_ัก_ง_า_น_ท_ี่ด_นิ__ส_ว _น_แ__ย_ก (ฉบบั ท่ี ๒๕)
ตามประกาศกรมทดี่ ิน เร่อื ง เปลย่ี นแปลงเขตทองที่ความรบั ผดิ ชอบของสํานักงาน
ทีด่ นิ จงั หวัดเชยี งใหม สาขาจอมทอง สว นแยกแมแ จม และสํานักงานที่ดนิ จังหวัดเชียงใหม สาขา
แมร ิม สวนแยกสะเมิง (ฉบับที่ ๒๔) ลงวนั ท่ี ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๕ นน้ั
กรมทดี่ นิ พิจารณาเห็นสมควรจัดตั้งสํานกั งานทดี่ นิ สวนแยกเพม่ิ เติม เพ่อื ดาํ เนนิ การ
ออกโฉนดทดี่ นิ การรังวดั ทด่ี ิน การจดทะเบยี นสิทธแิ ละนิติกรรม การทําธรุ ะอ่นื ๆ ตลอดจน
การดาํ เนินการใดเกยี่ วกบั อสังหาริมทรพั ย ตามบทบญั ญัติแหง ประมวลกฎหมายทด่ี ิน ดงั น้ี
๑. สํานักงานทีด่ นิ จังหวดั ตรงั สวนแยกสิเกา มีเขตดาํ เนนิ การในทองท่ีอําเภอสเิ กา
และอาํ เภอวงั วิเศษ
๒. สํานักงานท่ดี นิ จังหวดั บุรรี ัมย สาขาสตกึ สวนแยกคเู มอื ง มีเขตดําเนนิ การใน
ทอ งทอ่ี าํ เภอคูเมอื ง
๓. สาํ นกั งานทดี่ นิ จังหวดั สกลนคร สวนแยกกสุ มุ าลย มีเขตดําเนินการในทองท่ี
อําเภอกุสุมาลย
๔. สาํ นักงานทดี่ ินจงั หวัดสรุ ินทร สาขาศีขรภูมิ สวนแยกสําโรงทาบ มเี ขตดําเนินการ
ในทอ งทอ่ี าํ เภอสาํ โรงทาบ
ท้งั น้ี ต้ังแตว ันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปน ตน ไป
ประกาศ ณ วนั ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖

บุญเชิด คดิ เหน็
อธิบดกี รมท่ดี ิน

๑๓๖

ดว นท่สี ุด (สําเนา)
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๙๔๕๖ กรมทีด่ นิ
ศูนยร าชการเฉลมิ พระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรัฐประศาสนภักดี ถนนแจง วฒั นะ
แขวงทุง สองหอ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๙ เมษายน ๒๕๕๖

เร่ือง กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๕๖) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิใหใ ชป ระมวล
กฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ (มาตรการภาษีและคา ธรรมเนยี มของกองทนุ รวมโครงสรา ง
พ้นื ฐาน (Infrastructure Fund))

เรียน ผวู า ราชการจงั หวัดทกุ จงั หวดั

สิ่งท่สี ง มาดวย กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๕๖) ออกตามความในพระราชบญั ญัติใหใ ช
ประมวลกฎหมายที่ดิน พ.ศ. ๒๔๙๗ (มาตรการภาษีและคาธรรมเนียมของ
กองทุนรวมโครงสรา งพ้นื ฐาน (Infrastructure Fund))

ดว ยกระทรวงมหาดไทยไดออกกฎกระทรวง ฉบับที่ ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๕๖) ออกตาม
ความในพระราชบัญญัตใิ หใชป ระมวลกฎหมายทีด่ ิน พ.ศ. ๒๔๙๗ เพ่ือกาํ หนดคา ธรรมเนียม
การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพยของกองทุนรวมโครงสรางพ้ืนฐาน
(Infrastructure Fund) ในกรณที ี่กองทนุ รวมโครงสรา งพื้นฐานเปนผูข อจดทะเบียนเปนผโู อนหรอื
ผูร บั โอน การจดทะเบยี นการจาํ นอง และการจดทะเบยี นการเชาในกรณีกองทนุ รวมโครงสรา ง
พื้นฐานเปนผูเชา ผูเชาชวง ผูใหเชา หรือผูใหเชาชวง โดยใหเรียกเก็บคาธรรมเนียมในอัตรา
รอยละ ๐.๐๑ แตอ ยา งสูงไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท ทั้งน้ี เพ่อื ใหส อดคลองกบั การพัฒนากิจการ
โครงสรางพ้ืนฐานและเพื่อใหเปนไปตามแผนพัฒนาตลาดทุนไทย (๒๕๕๓ – ๒๕๕๗) และ
การพัฒนาผลติ ภณั ฑท างการเงิน ซ่ึงไดป ระกาศในราชกิจจานเุ บกษา ฉบับกฤษฎีกา เลม ๑๓๐
ตอนท่ี ๓๐ ก วันที่ ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๖ แลว

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและแจง ใหพ นกั งานเจา หนา ทท่ี ราบและถอื ปฏบิ ตั ติ อ ไป

ขอแสดงความนับถอื

(ลงช่อื ) บญุ เชดิ คดิ เหน็
(นายบุญเชดิ คิดเหน็ )
อธบิ ดีกรมทดี่ นิ

สาํ นกั กฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗ โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๒

๑๓๗

(สําเนา)

กฎกระทรวง
ฉบบั ที่ ๕๕ (พ.ศ. ๒๕๕๖)
ออกตามความในพระราชบัญ__ญ__ตั _ิใ_ห_ใ_ช_ป__ร_ะ_ม_ว_ลกฎหมายทดี่ ิน พ.ศ. ๒๔๙๗

อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๕ แหง พระราชบญั ญตั ิใหใชป ระมวลกฎหมาย
ท่ดี ิน พ.ศ. ๒๔๙๗ และมาตรา ๑๐๓ วรรคหนง่ึ แหง ประมวลกฎหมายท่ีดิน ซงึ่ แกไ ขเพิ่มเตมิ โดย
พระราชบัญญตั แิ กไขเพ่ิมเตมิ ประมวลกฎหมายทดี่ นิ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๒๑ อันเปน กฎหมาย
ท่มี บี ทบญั ญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสทิ ธิและเสรีภาพของบคุ คล ซึง่ มาตรา ๒๙ ประกอบ
กับมาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๔๑ และมาตรา ๔๓ ของรฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย
บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย รัฐมนตรีวาการกระทรวง
มหาดไทยออกฎกระทรวงไว ดงั ตอ ไปนี้
ขอ ๑ ใหเ พม่ิ ความตอ ไปนเ้ี ปน (ข/๑) ของ (๗) ในขอ ๒ แหง กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๗
(พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิใหใชป ระมวลกฎหมายทดี่ นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
“(ข/๑) คา จดทะเบียนโอนอสังหารมิ ทรพั ย เฉพาะในกรณีที่
กองทนุ รวมโครงสรา งพื้นฐานทจี่ ดั ตงั้ ข้นึ
ตามกฎหมายวาดวยหลกั ทรัพยและตลาดหลกั ทรพั ย
เปน ผูรับโอนหรือผโู อนอสังหาริมทรัพย ท้งั นี้
โดยมสี ญั ญาการรบั โอนอสงั หารมิ ทรัพยนัน้
กลบั คืนจากกองทุนรวมโครงสรางพืน้ ฐาน
หรือมีสญั ญาการโอนอสังหาริมทรัพยน ัน้
ตอใหส วนราชการหรอื องคก ารของรฐั บาล
ตามประมวลรษั ฎากร ใหเ รยี กตามราคา
ประเมินทุนทรพั ยต ามทีค่ ณะกรรมการ
กาํ หนดราคาประเมินทุนทรพั ยกาํ หนด รอยละ ๐.๐๑
แตอ ยางสูงไมเกนิ ๑๐๐,๐๐๐ บาท”
ขอ ๒ ใหเ พม่ิ ความตอ ไปนเ้ี ปน (ช/๑) ของ (๗) ในขอ ๒ แหง กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๗
(พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบญั ญัติใหใชประมวลกฎหมายที่ดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗
“(ช/๑) คาจดทะเบียนการจาํ นอง เฉพาะในกรณีที่
กองทุนรวมโครงสรา งพ้นื ฐานท่จี ัดต้งั ขน้ึ
ตามกฎหมายวาดวยหลักทรพั ยและตลาดหลักทรัพย
เปนผูข อจดทะเบยี น รอยละ ๐.๐๑
แตอ ยา งสงู ไมเ กิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท”

๑๓๘

ขอ ๓ ใหย กเลกิ ความใน (ฏ) ของ (๗) ในขอ ๒ แหง กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๗
(พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบัญญัตใิ หใชป ระมวลกฎหมายท่ีดนิ พ.ศ. ๒๔๙๗
ซ่งึ แกไ ขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบบั ที่ ๕๑ (พ.ศ. ๒๕๔๙) ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ใหใ ชประมวลกฎหมายทีด่ ิน พ.ศ. ๒๔๙๗ และใหใชความตอไปนีแ้ ทน
“(ฏ) คา จดทะเบียนทรพั ยสทิ ธิท่ีมคี าตอบแทน
ยกเวน การจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ทม่ี ที ุนทรพั ยตาม
(ก) (ข) (ข/๑) (ค) (ง) (จ) (ฎ) และ (ฎ/๑) รอยละ ๑”
ขอ ๔ ใหเ พม่ิ ความตอ ไปนเ้ี ปน (ฐ/๑) ของ (๗) ในขอ ๒ แหง กฎกระทรวง ฉบบั ท่ี ๔๗
(พ.ศ. ๒๕๔๑) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิใหใชป ระมวลกฎหมายท่ดี นิ พ.ศ. ๒๔๙๗
“(ฐ/๑) คาจดทะเบียนการเชา เฉพาะในกรณที ่ี
กองทุนรวมโครงสรางพนื้ ฐานที่จัดตงั้ ข้นึ
ตามกฎหมายวาดว ยหลักทรัพยและตลาดหลักทรพั ย
เปนผูเชา ผูเ ชา ชวง ผใู หเชา หรือผใู หเชาชว ง รอยละ ๐.๐๑
แตอ ยา งสูงไมเกิน ๑๐๐,๐๐๐ บาท”

ใหไว ณ วนั ท่ี ๒๐ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรชี ว ยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั ิราชการแทน
รฐั มนตรีวา การกระทรวงมหาดไทย

______________________________________________________________________________
หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใชก ฎกระทรวงฉบบั นี้ คอื โดยทีร่ ฐั บาลมนี โยบายสนับสนนุ
ใหมีการจัดต้ังกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
เพื่อเปนชองทางระดมทุนสําหรับกิจการโครงสรางพื้นฐานที่มีความจําเปนตอการพัฒนาประเทศ
สมควรกําหนดคาธรรมเนียมการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยท่ีกองทุน
รวมโครงสรางพื้นฐานเปนผูขอจดทะเบียนเปนกรณีพิเศษเพ่ือลดภาระคาใชจายในการดําเนินการ
ของกองทนุ รวมโครงสรางพนื้ ฐาน อันเปนการสรา งแรงจงู ใจใหมีการจดั ตง้ั กองทุนรวมดังกลา ว
ในประเทศไทย จงึ จาํ เปนตอ งออกกฎกระทรวงน้ี

๑๓๙

(สาํ เนา)

ดวนมาก
ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๑๗๗๓๐

ถงึ จงั หวัดทุกจงั หวดั

กรมท่ดี ินขอสง สําเนาประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่อื ง เปลย่ี นแปลงเขตพน้ื ที่
ความรบั ผดิ ชอบของสํานักงานท่ีดนิ จังหวัดบุรีรมั ย สาขานางรอง ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรอื่ ง เปลี่ยนแปลงเขตพน้ื ที่ความรบั ผดิ ชอบของสํานกั งานท่ดี ินจังหวัดนครศรีธรรมราช สาขา
ทุงสง ซึง่ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา ฉบบั ประกาศทวั่ ไป เลม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๗๔ ง ลงวนั ที่
๒๑ มถิ ุนายน ๒๕๕๖ และสําเนาประกาศกรมที่ดนิ เร่ือง เปลยี่ นแปลงเขตทองที่ความรับผิดชอบ
ของสํานกั งานท่ดี ินจงั หวัดบุรรี ัมย สาขานางรอง สวนแยกละหานทราย (ฉบับที่ ๒๖) ซง่ึ ประกาศ
ในราชกิจจานเุ บกษา ฉบับประกาศทั่วไป เลม ๑๓๐ ตอนพเิ ศษ ๘๒ ง ลงวนั ท่ี ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๖
มาเพ่ือโปรดทราบ

กรมท่ีดิน
๑๐ กรกฎาคม ๒๕๕๖

สํานักกฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗
โทรสาร. ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๒

๑๔๐

(สาํ เนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง เปล่ียนแปลงเขตพนื้ ท่คี วามรบั ผิดชอบของ
สาํ นกั งานที่ดนิ จ_ัง_ห_ว_ัด_น__ค_ร_ศ_ร_ธี _ร_ร_ม_ราช สาขาทงุ สง
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖ ตัง้ สํานักงาน
ทด่ี ินสาขาในจังหวดั นครศรีธรรมราช และเปลย่ี นแปลงเขตพนื้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบของสาํ นกั งาน
ทดี่ นิ จังหวดั นครศรีธรรมราช สาขาทงุ สง นนั้
กระทรวงมหาดไทยพจิ ารณาเห็นวา ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง ตง้ั สาํ นกั งาน
ท่ดี นิ สาขาในจังหวัดนครศรีธรรมราช ลงวันที่ ๑๙ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖ ทีใ่ หเ ปลย่ี นแปลงเขต
พืน้ ทค่ี วามรับผิดชอบของสาํ นกั งานทีด่ นิ จังหวัดนครศรธี รรมราช สาขาทงุ สง ใหม เี ขตดาํ เนนิ การ
ในทองที่อาํ เภอทงุ สง อาํ เภอรอนพิบลู ย อาํ เภอนาบอน อาํ เภอบางขนั และอาํ เภอจุฬาภรณ
แตเนอื่ งจากอาํ เภอรอ นพบิ ูลย และอําเภอจุฬาภรณ ไดมกี ารแยกออกไปจัดตง้ั เปน สาํ นกั งาน
ทดี่ ินจงั หวัดนครศรีธรรมราช สาขารอนพิบลู ย มเี ขตดําเนนิ การในทองท่ีอําเภอรอ นพบิ ลู ย และ
อาํ เภอจฬุ าภรณ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง ต้ังสํานกั งานที่ดินสาขาในจังหวัด
นครศรธี รรมราช ลงวนั ท่ี ๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ แลว ดงั นัน้ เพอ่ื ใหเ ขตทองทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ
ของสาํ นกั งานที่ดินจังหวัดนครศรธี รรมราช สาขาทงุ สง มีเขตดําเนนิ การในทองทส่ี อดคลองกบั
ทอ งท่ีความรบั ผิดชอบในปจ จุบนั ควรเปลย่ี นแปลงเขตพืน้ ท่ีความรับผิดชอบของสาํ นกั งานทด่ี ิน
จังหวดั นครศรธี รรมราช สาขาทุงสง โดยใหต ัดอําเภอรอ นพบิ ูลย และอาํ เภอจฬุ าภรณอ อกจาก
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เร่ือง ต้ังสาํ นกั งานที่ดินสาขาในจงั หวดั นครศรีธรรมราช ลงวนั ท่ี
๑๙ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๖ เพือ่ ดําเนนิ การออกโฉนดท่ีดนิ การรังวัดทด่ี นิ การจดทะเบียนสิทธิ
และนิติกรรม การทําธุระอื่นๆ ตลอดจนการดําเนินการใดเกย่ี วกับอสงั หารมิ ทรพั ยต ามบทบัญญัติ
แหง ประมวลกฎหมายทดี่ นิ
อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๓ แหง ประมวลกฎหมายทด่ี นิ จงึ ใหเ ปลย่ี นแปลง
เขตพื้นท่คี วามรบั ผดิ ชอบของสํานักงานท่ดี นิ จังหวัดนครศรีธรรมราช สาขาทงุ สง ตามประกาศ
กระทรวงมหาดไทย เร่อื ง ตั้งสาํ นักงานทดี่ ินสาขาในจังหวัดนครศรีธรรมราช ลงวนั ท่ี ๑๙
กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๕๖ โดยใหตัดอาํ เภอรอ นพบิ ูลย และอาํ เภอจุฬาภรณ ออกจากเขตพนื้ ที่
ความรับผิดชอบ
ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๖ เปนตน ไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรีชวยวา การกระทรวงมหาดไทย ปฏิบัตริ าชการแทน
รัฐมนตรวี าการกระทรวงมหาดไทย
๑๔๑

(สาํ เนา)
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง เปล่ยี นแปลงเขตพื้นท่ีความรบั ผิดชอบของ
สํานักงานท่ดี _นิ _จ__งั _ห_ว_ัด_บ_รุ_รี_ัม__ย_ _สาขานางรอง
ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวนั ท่ี ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เปล่ยี นแปลง
เขตพน้ื ทค่ี วามรับผิดชอบของสาํ นักงานทดี่ ินจงั หวัดบรุ ีรมั ย สํานกั งานทีด่ นิ จังหวัดบุรรี มั ย สาขา
สตึก สํานกั งานทด่ี ินจังหวัดบุรีรัมย สาขานางรอง และสํานกั งานที่ดินจงั หวัดบรุ รี มั ย สาขา
ลําปลายมาศ น้ัน
กระทรวงมหาดไทยพิจารณาเห็นสมควรเปลี่ยนแปลงเขตพ้ืนที่ความรับผิดชอบของ
สํานักงานท่ีดนิ จงั หวดั บรุ รี มั ย สาขานางรอง เสียใหม เนือ่ งจากระเบียบกรมทีด่ ินวา ดว ยการจดั ตงั้
และปฏบิ ตั ิงานในสาํ นกั งานทดี่ นิ จงั หวดั หรือสาํ นักงานที่ดนิ สาขาสว นแยก พ.ศ.๒๕๔๖ กําหนด
ใหส าํ นักงานท่ดี ินสวนแยก หมายความถึง สวนหน่งึ ของสาํ นักงานทด่ี ินจังหวัดหรอื สาํ นักงานทด่ี ิน
สาขา ซึ่งกรมทดี่ นิ ไดประกาศใหแยกสว นออกไปใหม สี ถานทต่ี ้ังและเขตดาํ เนนิ การในพนื้ ที่ตามที่
กรมท่ดี ินกําหนด ดังนัน้ สาํ นักงานท่ีดนิ จังหวัดบรุ รี ัมย สาขานางรอง จงึ ตอ งมเี ขตพนื้ ทีด่ าํ เนนิ การ
ใหมคี วามครอบคลมุ ในทองท่ีของสํานกั งานที่ดนิ สวนแยก จึงตอ งประกาศเปลย่ี นแปลงเขตทองท่ี
ความรบั ผดิ ชอบของสาํ นักงานท่ีดินจงั หวดั บุรีรัมย สาขานางรอง โดยใหม ีเขตทองทร่ี ับผิดชอบ
ในอําเภอนางรอง อําเภอหนองกี่ อําเภอโนนสุวรรณ อําเภอเฉลิมพระเกียรติ อําเภอปะคํา
อาํ เภอละหานทราย และอาํ เภอโนนดนิ แดง เพอ่ื ใหส อดคลอ งกบั ความหมายของสาํ นกั งานทด่ี นิ
สวนแยกเสียกอน แลวกรมที่ดินจะประกาศแยกสวนออกไป เพื่อดําเนินการออกโฉนดที่ดิน
การรังวัดที่ดนิ การจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนติ ิกรรม การทาํ ธรุ ะอน่ื ๆ ตลอดจนการดาํ เนินการใด
เก่ยี วกับอสังหาริมทรัพยต ามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายที่ดิน
อาศยั อาํ นาจตามความในมาตรา ๑๓ แหง ประมวลกฎหมายทด่ี นิ จงึ ใหเ ปลย่ี นแปลง
เขตทอ งที่ความรับผิดชอบของสาํ นกั งานทีด่ ินจังหวดั บรุ รี ัมย สาขานางรอง มีเขตดําเนนิ การ
ในทอ งท่ีอาํ เภอนางรอง อาํ เภอเฉลมิ พระเกยี รติ อําเภอโนนสวุ รรณ อําเภอหนองก่ี อาํ เภอปะคาํ
อําเภอละหานทราย และอาํ เภอโนนดนิ แดง
ท้ังนี้ ตงั้ แตว ันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เปนตนไป

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
ประชา ประสพดี

รัฐมนตรชี วยวาการกระทรวงมหาดไทย ปฏบิ ตั ิราชการแทน
รัฐมนตรวี าการกระทรวงมหาดไทย
๑๔๒

(สาํ เนา)
ประกาศกรมทดี่ นิ
เร่ือง เปลยี่ นแปลงเขตทองทค่ี วามรับผิดชอบของสาํ นกั งานท่ดี ิน
จงั หวดั บรุ ีรัมย สาขานางรอง สวนแยกละหานทราย
___(_ฉ_บ_บั__ท_่ี _๒_๖_)___
ตามประกาศกรมท่ดี นิ เรือ่ ง ตัง้ สาํ นักงานทีด่ นิ สวนแยก (ฉบับที่ ๒๕) ลงวนั ที่
๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ต้งั สํานักงานท่ดี ินสวนแยก จํานวน ๔ แหง น้นั
กรมที่ดินพิจารณาแลวเห็นควรประกาศเปลี่ยนแปลงเขตทองท่ีความรับผิดชอบของ
สํานักงานที่ดินจังหวัดบุรีรัมย สาขานางรอง สวนแยกละหานทราย ในการออกโฉนดที่ดิน
การรังวดั ทด่ี นิ การจดทะเบียนสทิ ธแิ ละนติ กิ รรม การทาํ ธุระอื่นๆ ตลอดจนการดาํ เนินการใด
เก่ียวกบั อสังหารมิ ทรพั ยต ามบทบญั ญตั แิ หงประมวลกฎหมายท่ีดนิ เพื่ออํานวยความสะดวกให
แกประชาชนในการติดตอทําธรุ ะกรรมเกีย่ วกบั ทด่ี ิน และสามารถรองรับการใหบ ริการประชาชน
ไดอยางสะดวก รวดเรว็ จงึ เปลีย่ นแปลงเขตทอ งทีค่ วามรับผิดชอบของสาํ นกั งานทดี่ ินจังหวดั
บรุ ีรัมย สาขานางรอง สว นแยกละหานทราย ใหมเี ขตดาํ เนนิ การในทอ งท่อี าํ เภอละหานทราย
อาํ เภอโนนดนิ แดง และอําเภอปะคาํ
ทัง้ นี้ ตง้ั แตวันที่ ๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เปนตน ไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖

บญุ เชิด คดิ เห็น
อธิบดกี รมท่ีดิน

๑๔๓

ท่ี มท ๐๕๐๕.๔ / ว ๒๑๐๔๙ (สําเนา)
กรมที่ดิน
ศูนยร าชการเฉลิมพระเกยี รติ ๘๐ พรรษาฯ
อาคารรฐั ประศาสนภักดี ถนนแจงวัฒนะ
แขวงทงุ สองหอ ง เขตหลกั สี่ กรุงเทพฯ ๑๐๒๑๐

๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๖

เร่ือง การเตรียมความพรอมของหนว ยงานในการรองรับการประกาศกฎหมายเกี่ยวกบั
สง่ิ แวดลอมภายใตร ะเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรีวา ดวยการประสานงานเพอ่ื บังคบั ใช
กฎหมายเกี่ยวกบั สิง่ แวดลอ ม พ.ศ. ๒๕๕๐

เรยี น ผวู าราชการจังหวัดทุกจังหวดั
สง่ิ ที่สง มาดวย ๑. สาํ เนาระเบยี บสํานักนายกรัฐมนตรีวาดว ยการประสานงานเพอ่ื บงั คับใช

กฎหมายเกีย่ วกับสิ่งแวดลอ ม พ.ศ. ๒๕๕๐
๒. สําเนาคําสัง่ กรมควบคุมมลพิษที่ ๑๘๗/๒๕๕๕ ลงวันท่ี ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕

เร่ือง จดั ตัง้ ศูนยขอ มูลประสานงานเพื่อบงั คับใชกฎหมายเกย่ี วกบั สิง่ แวดลอม
๓. สําเนารางประกาศคณะกรรมการวาดว ยการประสานงานเพื่อบงั คบั ใช

กฎหมายเกย่ี วกับส่ิงแวดลอม เรื่อง กาํ หนดกฎหมายเกีย่ วกับการสง เสริม
และรกั ษาคุณภาพสง่ิ แวดลอ ม

ดวยกรมควบคุมมลพิษไดประชุมเตรียมความพรอมของหนวยงานในการรองรับ
การประกาศกฎหมายเก่ียวกับสิ่งแวดลอม ตามท่ีคณะกรรมการวาดวยการประสานงานเพ่ือ
บังคับใชกฎหมายเกี่ยวกบั ส่ิงแวดลอ ม (กป.วล.) ไดมีมติเห็นชอบในหลักการของรา งประกาศ
คณะกรรมการวา ดวยการประสานงานเพอื่ บงั คับใชก ฎหมายเก่ยี วกับสงิ่ แวดลอ ม เร่ือง กาํ หนด
กฎหมายเก่ียวกับการสงเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดลอม โดยกําหนดกฎหมายเกี่ยวกับ
การสง เสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม จํานวน ๖ ฉบับ ไดแก (๑) พระราชบญั ญัตสิ งเสริม
และรกั ษาคุณภาพสงิ่ แวดลอมแหงชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ (๒) พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ.๒๕๓๕
(๓) พระราชบัญญัตวิ ตั ถุอนั ตราย พ.ศ.๒๕๓๕ (๔) พระราชบัญญัติการนิคมอตุ สาหกรรม
แหง ประเทศไทย พ.ศ.๒๕๒๒ (๕) พระราชบญั ญัตกิ ารสาธารณสขุ พ.ศ.๒๕๓๕ และ (๖) พระราช
บญั ญตั ิการจดั สรรทีด่ นิ พ.ศ.๒๕๔๓ เพื่อใหเ ปน ไปตามคาํ จํากดั ความของ “กฎหมายเก่ยี วกบั
ส่ิงแวดลอม” ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการประสานงานเพ่ือบังคับใชกฎหมาย
เกีย่ วกับส่งิ แวดลอม พ.ศ.๒๕๕๐ ขอ ๔

๑๔๔

กรมท่ดี นิ พิจารณาแลว เหน็ วา กฎหมายเกย่ี วกับการสงเสริมและรกั ษาคณุ ภาพ
ส่ิงแวดลอม จาํ นวน ๖ ฉบับท่ี กป.วล. กําหนดน้นั มีกฎหมายท่ีอยใู นความรบั ผดิ ชอบของ
กรมทด่ี นิ ไดแ ก พระราชบัญญัติการจดั สรรท่ีดนิ พ.ศ. ๒๕๔๓ ซง่ึ จะตองมกี ารเตรยี มการ
ดําเนินงาน เชน ประชาสมั พันธใหผ ทู ่เี กี่ยวขอ งทราบ ตลอดจนรวบรวมเรอ่ื งรอ งทกุ ข รองเรยี น
ดานส่ิงแวดลอ ม และผลการดาํ เนนิ การ เปน ตน โดยถอื ปฏบิ ัตติ ามกรอบแนวปฏบิ ัติเพือ่ รองรบั
การดาํ เนนิ การตามระเบียบสาํ นักนายกรฐั มนตรฯี ขอ ๑๐ (๒) (๔) (๕) และ (๖) ซึง่ ขณะน้อี ยู
ระหวางนําเสนอทีป่ ระชมุ กป.วล. เพอ่ื ใหความเหน็ ชอบและกําหนดวันใชบังคับ ดังนั้น เพื่อให
การดําเนินการตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการประสานงานเพ่ือบังคับใชกฎหมาย
เก่ียวกับสิ่งแวดลอม พ.ศ. ๒๕๕๐ ในสวนของกรมท่ีดินโดยเฉพาะเพื่อใหพนักงานเจาหนาที่
สามารถดําเนินการไดอยางรวดเร็วและทันกําหนดระยะเวลาตามที่ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ
กาํ หนดไว จงึ ขอสงสาํ เนาระเบยี บสํานกั นายกรฐั มนตรีฯ และเอกสารทเ่ี ก่ียวของมาเพ่ือให
พนักงานเจาหนาทศ่ี ึกษาทาํ ความเขาใจระเบยี บสาํ นกั นายกรัฐมนตรีฯ ดังกลาว และกฎหมายที่
เก่ียวขอ งเปน การลว งหนา เพ่ือเปนการเตรียมความพรอมของกรมท่ดี ินในการรองรับการประกาศ
กฎหมายเกยี่ วกบั ส่งิ แวดลอ มไดอ ยา งทันทว งทีเมือ่ กฎหมายมผี ลบงั คับใช

จงึ เรยี นมาเพอ่ื โปรดทราบและแจง ใหพ นกั งานเจา หนา ทท่ี ราบและถอื ปฏบิ ตั ติ อ ไป
ขอแสดงความนับถือ

(ลงชอื่ ) บญุ เชิด คิดเห็น
(นายบุญเชดิ คิดเหน็ )
อธิบดกี รมทดี่ ิน

สาํ นกั กฎหมาย
โทร. ๐ ๒๑๔๑ ๕๖๘๗
โทรสาร ๐ ๒๑๔๓ ๙๐๖๒

๑๔๕

(สําเนา)
ระเบยี บสาํ นักนายกรฐั มนตรี
วา ดว ยการประสานงานเพอ่ื บงั คบั ใชกฎหมายเก่ียวกับส่ิงแวดลอ ม

____พ_.ศ__. _๒_๕_๕_๐____
โดยที่สมควรใหมีระเบียบกําหนดมาตรการและวิธีการประสานงานระหวาง
หนวยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนท่ีเก่ียวของโดยตรงกับการบังคับใชกฎหมายเกี่ยวกับ
สิ่งแวดลอม เพื่อใหการปองกันและปราบปรามการละเมิดกฎหมายและการแกไขเยียวยา
ความเสยี หายเกดิ ประสทิ ธภิ าพยิง่ ขึ้น
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๑ (๘) แหง พระราชบญั ญัตริ ะเบียบบริหาร
ราชการแผน ดนิ พ.ศ.๒๕๓๔ นายกรฐั มนตรโี ดยความเหน็ ชอบของคณะรฐั มนตรี จงึ วางระเบยี บไว
ดังตอไปน้ี
ขอ ๑ ระเบยี บน้ีเรียกวา “ระเบียบสาํ นกั นายกรัฐมนตรี วาดวยการประสานงานเพอื่
บังคับใชก ฎหมายเกี่ยวกบั ส่งิ แวดลอ ม พ.ศ.๒๕๕๐”
ขอ ๒ ระเบียบนี้ใหใชบังคับต้ังแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตน ไป
ขอ ๓ ใหน ายกรฐั มนตรเี ปน ผูร ักษาการตามระเบยี บน้ี

หมวด ๑
_ข_อ__ค_ว_า_ม_ท__ว่ั _ไป__
ขอ ๔ ในระเบียบน้ี
“สิง่ แวดลอม” หมายความวา ส่ิงตา งๆ ทม่ี ลี ักษณะทางกายภาพและชวี ภาพท่ีอยู
รอบตวั มนุษย ซึ่งเกดิ ข้ึนโดยธรรมชาติและสงิ่ ทมี่ นุษยไ ดทาํ ขน้ึ
“มลพษิ ” หมายความวา ของเสยี วตั ถอุ ันตราย และมลสารอนื่ ๆ รวมทัง้ กาก ตะกอน
หรือสิ่งตกคางจากส่ิงเหลานั้นท่ีถูกปลอยท้ิงจากแหลงกําเนิดมลพิษ หรือท่ีมีอยูในสิ่งแวดลอม
ตามธรรมชาติ ซงึ่ กอใหเกิด หรอื อาจกอใหเกดิ ผลกระทบตอ คณุ ภาพส่ิงแวดลอมหรือภาวะทเี่ ปน
พษิ ภยั อนั ตรายตอ สขุ ภาพอนามยั ของประชาชนได และใหหมายความรวมถึง รงั สี ความรอน
แสง เสียง กลนิ่ ความสน่ั สะเทือน หรอื เหตรุ าํ คาญอื่นๆ ทเี่ กิดหรอื ถกู ปลอยออกจากแหลงกาํ เนิด
มลพษิ ดวย
“แหลง กําเนิดมลพษิ ” หมายความวา ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรม อาคาร สง่ิ กอ สรา ง
ยานพาหนะ สถานที่ประกอบกิจการใดๆ หรือสง่ิ อ่ืนใด ซงึ่ เปน แหลง ทมี่ าของมลพษิ

๑๔๖


Click to View FlipBook Version