The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mbakru1, 2022-06-29 14:17:53

วารสารวิทยาการจัดการปีที่8ฉบับที่2

Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University

Keywords: วารสารวิทยาการจัดการ

วารสารวทิ ยาการจดั การ

มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม

Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University

ปที ี่ 8 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564) ISSN 2392-5817

วัตถุประสงค์

1. เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ นักวิชาการ นักการศึกษา และผู้สนใจ ทั้งภายในและภายนอก

มหาวิทยาลัย ครอบคลุมศาสตร์ด้านบริหารธุรกิจ ประกอบด้วย สาขาการจัดการทั่วไป การตลาด การเงินการธนาคาร การบัญชี

การบริหารทรัพยากรมนุษย์ โลจิสติกส์ ธุรกิจระหว่างประเทศ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ธุรกิจศึกษา เศรษฐศาสตร์ นิเทศศาสตร์

รฐั ประศาสนศาสตร์ หรอื สาขาทมี่ คี วามเก่ียวขอ้ ง

2. เพ่ือส่งเสรมิ เผยแพรก่ ารศึกษา คน้ ควา้ วจิ ัยท่มี ปี ระโยชน์ มีคุณคา่ ตอ่ การพัฒนาองคค์ วามรู้วิชาการ ในสาขาวิชาต่าง ๆ

กำหนดออกตีพมิ พเ์ ผยแพร่

ปีละ 2 ครง้ั ฉบบั ที่ 1 เดือนมกราคม-มิถนุ ายน

ฉบบั ที่ 2 เดอื นกรกฎาคม-ธนั วาคม

เจ้าของ

คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม

สำนกั งานกองบรรณาธิการ

“วารสารวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม” คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครปฐม

85 หมู่ 3 ถนนมาลยั แมน ต.นครปฐม อ.เมอื ง จ.นครปฐม 73000

โทรศัพท์. 0-3426-1021-36 ตอ่ 3360 โทรสาร 0-3426-1068

เวบ็ ไซต์ https://www.tci-thaijo.org/index.php/JMSNPRU/index

E-mail address: [email protected]

การส่งต้นฉบบั

ผู้สนใจสามารส่งต้นฉบับเพื่อรับการพิจารณาลงตีพิมพ์ใน วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ได้

ตามท่อี ยูก่ องบรรณาธิการ โดยปฏิบตั ดิ ังน้ี

1. สง่ ต้นฉบับบทความวิจยั บทความวิชาการ บทความปรทิ ศั น์ และบทวิจารณ์หนังสือ โดยสามารถสง่ ไดท้ ง้ั ทางไปรษณยี ์

และอเี มล์

2. แบบเสนอตน้ ฉบับ ซึง่ download ได้ท่ี https://1th.me/7QEjS

3. ควรตรวจสอบตน้ ฉบับให้ถูกต้องตามคำแนะนำสำหรับผเู้ ขียน (manuscript) และรูปแบบการอ้างองิ ทีก่ ำหนดไว้

- บทความที่ตีพิมพ์ในวารสารน้ีทุกเรื่องต้องผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ในสาขาที่เกี่ยวข้อง อย่างน้อย

บทความละ 2 ท่าน แบบ double blinded review

- ทัศนะและข้อคิดเห็นของบทความที่ปรากฏในวารสารฉบับนี้เป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน ไม่ถือว่าเป็นทัศนะและความรับผิดชอบ

ของกองบรรณาธิการ

- กองบรรณาธิการวารสารวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม ไมส่ งวนสทิ ธ์ใิ นการคดั ลอก แต่ให้อา้ งองิ และแสดงท่มี า

พมิ พท์ ี่ AK COPY

สนามจันทร์ 20 ถนนยงิ เปา้ ตำบลพระปฐมเจดยี ์ อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม 73000 โทร 064 805 9518
ไดร้ ับการรบั รองคุณภาพวารสาร จากศนู ยด์ ัชนกี ารอ้างองิ วารสารไทย (Thai Journal Citation Index-TCI)
สาขามนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ กล่มุ ท่ี 2 (Approved by TCI during 2020-2024)

ผทู้ รงคณุ วฒุ ิประจำกองบรรณาธิการ ทปี่ รึกษาประจำกองบรรณาธิการ

ศาสตราจารย์ ดร.อทุ ยั ตันละมยั ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สมเดช นิลพันธ์ุ

ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ โสมประยูร ดร.วิรัตน์ ป่ินแก้ว

ศาสตราจารยเ์ กยี รติคณุ เสนาะ ตเิ ยาว์ บรรณาธกิ ารบริหาร

ศาสตราจารย์ ดร.ยบุ ล เบญ็ จรงคก์ ิจ รองศาสตราจารย์ ดร.จนั ทนา วัฒนกาญจนะ

ศาสตราจารย์ พเิ ศษ ดร.ยุวฒั น์ วุฒิเมธี รองบรรณาธกิ ารบรหิ าร

รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลยั วงศ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา แสงดวงดี

รองศาสตราจารย์ ดร. ธนวดี บุญลือ บรรณาธิการ

รองศาสตราจารย์ ดร.สญั ญา สญั ญาววิ ฒั น์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิศิษฐ์ ฤทธิบุญไชย

รองศาสตราจารย์ ดร.วลั ลภ รฐั ฉตั รานนท์ รองบรรณาธกิ าร
รองศาสตราจารย์ ดร.เทพวาณี หอมสนิท ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กนกพัชร กอประเสรฐิ
รองศาสตราจารย์ ดร.กมล บษุ บา ดร.ศานติ ดิฐสถาพรเจริญ
รองศาสตราจารย์ ดร.กิติมา ปรีดดี ลิ ก อาจารย์ขวัญยพุ า ศรีสวา่ ง
รองศาสตราจารยว์ รรณี โสมประยูร ฝ่ายจดั การและธรุ การ
รองศาสตราจารย์ ดร.นพพร จันทรนำชู อาจารยท์ วิ าพร ทราบเมืองปกั
รองศาสตราจารย์ ดร.นรินทร์ สงั ขร์ ักษา อาจารยว์ นิ ยั บญุ คง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รวภิ า ลาภศิริ นางสาวอทุ ยั วรรณ ร้งุ ทองนริ ันดร์

นางสาวลักขณา อนิ ทาปัจ

นายธรรมรัตน์ ธารีรกั ษ์

นางสาวสุวรรณี วชิ ยั คำจร

นางสาวปยิ ะวรรณ ชินตานนท์

กองบรรณาธิการจากหนว่ ยงานภายนอก

รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เสกข์ พงษ์หาญยุทธ คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวิทยาลยั รามคำแหง

รองศาสตราจารย์ ดร.แกว้ ตา ผู้พัฒนพงศ์ คณะบริหารธุรกจิ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รองศาสตราจารย์ ดร.พรชนก ทองลาด คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ลำปาง

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กรัณศุภมาส เอง่ ฉ้วน คณะมนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐณิชา ณ นคร คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยฤทธ์ิ ทองรอด คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวทิ ยาลยั เอเชียอาคเนย์

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เพชรรัตน์ วิริยะสบื พงศ์ คณะการจัดการและทอ่ งเที่ยว มหาวทิ ยาลัยบรู พา

ดร.ชยั พร ธนถาวรลาภ คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวิทยาลยั รามคำแหง

ดร.พชิ ญะ อุทัยรัตน์ คณะบรหิ ารธุรกิจ มหาวิทยาลยั เวสเทริ น์

ดร.ภัทรพล ชุ่มมี วิทยาลยั นวตั กรรมการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์

ในพระบรมราชูปถมั ภ์

ดร.กฤษดา เชยี รวัฒนสุข คณะบริหารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สรรค์ชยั กติ ยิ านันท์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏกาญจนบุรี

ดร.สมชาย เลศิ ภริ มย์สขุ คณะบญั ชี มหาวิทยาลยั ธนบุรี

ดร.วาสนา บตุ รโพธ์ิ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง

ดร.จรญู ชำนาญไพร ผูช้ ่วยกรรมการผูจ้ ัดการสายงานเครอื ข่ายเกษตรกร ตลาดสม่ี ุมเมอื ง

กองบรรณาธกิ าร คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เยาวภา บวั เวช ดร. จนั จิราภรณ์ ปานยินดี

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เดช ธรรมศิริ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กติ ติกร สุนทรานุรกั ษ์

อาจารย์วรี กจิ อุฑารสกุล ดร.ดวงใจ คงคาหลวง

รายนามคณะผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก พิจารณาบทความประจำ
“วารสารวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม”

ศาสตราจารย์ ดร.ปิยะฉัตร จารธุ ีรศานต์ คณะบริหารธรุ กิจ มหาวทิ ยาลยั รามคำแหง
ศาสตราจารย์ ดร.นรินทร์ สังขร์ กั ษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร
รองศาสตราจารย์ ดร.สรุ เสกข์ พงษห์ าญยทุ ธ คณะบรหิ ารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รองศาสตราจารย์ ดร.แกว้ ตา ผ้พู ัฒนพงศ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รองศาสตราจารย์ ดร.พรชนก ทองลาด คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏลำปาง
รองศาสตราจารย์ ดร.ศิษฐ์ธวัช มัน่ เศรษฐวิทย์ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา
รองศาสตราจารย์ ดร.ฤกษช์ ัย ฟปู ระทปี ศริ ิ คณะบริหารธรุ กจิ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก
รองศาสตราจารย์ ดร.พิทกั ษ์ ศิรวิ งศ์ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
รองศาสตราจารย์ ดร.มานพ ชนู ิล คณะศิลปศาสตรป์ ระยกุ ต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอม
เกลา้ พระนครเหนือ
รองศาสตราจารย์ ดร.สนุ ันทา เลาหนันทน์ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏบา้ นสมเด็จ
เจ้าพระยา
รองศาสตราจารย์ ดร.พยอม ธรรมบตุ ร วิทยาการจดั การ กรงุ เทพมหานคร มหาวทิ ยาลยั พะเยา
รองศาสตราจารย์ ดร.อภนิ นั ท์ จันตะนี คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณร์ าชวิทยาลยั
รองศาสตราจารย์ ดร.ชณทตั บญุ รัตนกิตติภูมิ คณะการบริหารและจดั การ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้
เจา้ คุณทหารลาดกระบงั
รองศาสตราจารย์ อัจฉรา ชีวะตระกูลกิจ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
รองศาสตราจารย์ ชวลยี ์ ณ ถลาง วิทยาการจัดการ กรงุ เทพมหานคร มหาวิทยาลัยพะเยา
รองศาสตราจารย์ ธโสธร ตูท้ องคำ คณะรฐั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
รองศาสตราจารย์ วรุณี เชาวน์สขุ มุ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ใน
พระบรมราชูปถมั ภ์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. พรรณี ดอนจอหอ ผูอ้ ำนวยการสำนกั สง่ เสริมวิชาการและงานทะเบียน
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบรุ ี
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สุมาลี รามนฏั คณะบรหิ ารธุรกจิ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประยงค์ มใี จซือ่ คณะบริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สริ ฉิ ันท์ สถริ กลุ เตชพาหพงษ์ คณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.จิดาภา ถิรศริ กิ ุล คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐณชิ า ณ นคร คณะบริหารธุรกิจ มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ
ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ ธำรงสินถาวร คณะการจดั การและการทอ่ งเท่ียว มหาวทิ ยาลัยบูรพา
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วโิ รจน์ เจษฎาลกั ษณ์ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เดชาพนั ธ์ รัฐศาสนศาสตร์ คณะวศิ วกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยศิลปากร
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนุวัฒน์ ชลไพศาล วิทยาลยั บรหิ ารธรุ กิจนวตั กรรมและการบญั ชี มหาวทิ ยาลัย
ธุรกจิ บณั ฑติ ย์

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วิษณุ วงศ์สินศริ ิกุล วทิ ยาลัยบรหิ ารธุรกจิ นวตั กรรมและการบญั ชี มหาวทิ ยาลยั
ธรุ กจิ บณั ฑติ ย์
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ จรญู บญุ สนอง คณะบริหาธุรกจิ มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ชลลดา พึงรำพรรณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ญาณญั ฎา ศิรภทั ร์ธาดา คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎสวนสุนนั ทา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สมศักดิ์ อมรศริ ิพงศ์ คณะสงั คมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหดิ ล
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ภทั ร์ พลอยแหวน คณะสังคมศาสตร์และมนษุ ยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พพิ รรธน์ พเิ ชฐศิรประภา คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั ราชนครนิ ทร์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชยั ฤทธ์ิ ทองรอด คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวิทยาลัยเอเชยี อาคเนย์
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ชูชนิ ปราการ คณะการจดั การและการทอ่ งเที่ยว มหาวทิ ยาลัยบรู พา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เพชรรัตน์ วริ ยิ ะสบื พงศ์ คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรรค์ชยั กิตยิ านนั ท์ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏกาญจนบรุ ี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วงศธ์ รี า สวุ รรณนิ คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง
ดร.สุทธิรัตน์ พลอยบุตร คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อตุ รดิตถ์
ดร.ธนากร มาเสถียร บรหิ ารธุรกิจมหาบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย์
ดร.ฉัตรรตั น์ โหรตะไวศยะ วิทยาลัยโลจิสติกสแ์ ละซพั พลายเชน มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนสนุ นั ทา
ดร.เรืองเดช เร่งเพยี ร วิทยาลยั นวตั กรรมการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั
วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์
ดร.ภทั รพล ช่มุ มี วทิ ยาลยั นวตั กรรมการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์
ดร.พิชญะ อทุ ัยรัตน์ คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวิทยาลัย เวสเทริ ์น
ดร. สุภาพร เพง่ พิศ วทิ ยาลัยนวตั กรรมการจดั การ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลรัตนโกสินทร์
ดร.กฤษดา เชยี รวฒั นสุข คณะบริหารธรุ กิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี
ดร.คฑาวฒุ ิ สงั ฆาศ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏพระนคร
ดร.พัทธพ์ สุตม์ สาธุนุวัฒน์ คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา
ดร.จีรนนั ท์ เขมพันธ์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรภาคพฒั นาการเกษตรและการ
จัดการทรพั ยากร สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจ้าคุณ
ดร.ละเอียด ศิลาน้อย ทหารลาดกระบัง
ดร.สมชาย เลศิ ภริ มยส์ ุข คณะการท่องเท่ียวและการโรงแรม มหาวิทยาลยั มหาสารคาม
ดร.วาสนา บุตรโพธ์ิ คณะบญั ชี มหาวทิ ยาลัยธนบุรี
ดร.จรูญ ชำนาญไพร คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง
ผูช้ ว่ ยกรรมการผู้จดั การสายงานเครอื ขา่ ยเกษตรกร
Professor Dr. Roh,Seong-Kyu ตลาดส่มี มุ เมอื ง
Professor Dr. Seung-jea Sungkyunkwan University South Korea
Korea National University of Education South Korea

นิเทศศาสตร์ คณะนเิ ทศศาสตร์นวตั กรรมการสอ่ื สาร สถาบนั บัณฑติ
ศาสตราจารย์ ดร.ยุบล เบ็ญจรงคก์ ิจ พฒั นบรหิ ารศาสตร์
คณะนเิ ทศศาสตรน์ วัตกรรมการสอ่ื สาร สถาบนั บณั ฑติ
รองศาสตราจารย์ ดร.อุษา บิก้ กน้ิ ส์ พัฒนบริหารศาสตร์
บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั สยาม
รองศาสตราจารย์ ดร.ธนวดี บุญลือ คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
รองศาสตราจารย์ ดร.ธิตพิ ัฒน์ เอยี่ มนิรนั ดร์ คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวิทยาลยั รังสติ
รองศาสตราจารย์ ดร.กฤษณ์ ทองเลิศ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ
รองศาสตราจารย์ ดร.บบุ ผา เมฆศรที องคำ คณะนเิ ทศศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
รองศาสตราจารย์ จนั ทนา ทองประยูร คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั พระนคร
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นษิ ฐา หรุ่นเกษม คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎเพชรบุรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.โสภาพร กลำ่ สกุล คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั เพชรบุรี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรณุ รัตน์ ชินวรณ์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั รำไพพรรณี
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.จำเริญ คังคะศรี คณะวารสารศาสตร์ และสือ่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อจั ฉรา ปณั ฑรานวุ งศ์ คณะวารสารศาสตร์ และสอื่ สารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ดร.โมนัยพล รณเวช

รายนามคณะผู้ทรงคุณวุฒภิ ายใน พจิ ารณาบทความประจำ

1. รองศาสตราจารย์ ดร.จันทนา วัฒนกาญจนะ 15 อาจารย์ ดร.หรรษา คล้ายจันทรพ์ งษ์
2. รองศาสตราจารย์ ดร. เกศนิ ี ประทุมสุวรรณ 16. อาจารย์ ดร.ชนพงษ์ อาภรณ์พศิ าล
3. รองศาสตราจารย์ ดร.สุวัฒน์ ฉิมะสงั คนันท์ 17 อาจารย์ ดร.จันจิราภรณ์ ปานยนิ ดี
4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย.์ ดร.เยาวภา บัวเวช 18. อาจารย์ ดร.ดวงใจ คงคาหลวง
5. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธงชยั พงศ์สิทธกิ าญจนา 19. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เดช ธรรมศริ ิ
6. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กฤตยิ า รจุ โิ ชค 20. อาจารย์ ดร.จรี วรรณ นกเอยี้ งทอง
7. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ณชั ชา ศิรินธนาธร 21. ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. ดารนิ ทร์ โพธิ์ตง้ั ธรรม
8. อาจารย์ ดร.ปารชิ าติ ขำเรอื ง 22. อาจารย์ ดร.ณัฐชามญฑ์ ศรีจำเริญรตั นา
9. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุชาดา แสงดวงดี 23. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.มารษิ า สุจิตวนชิ
10. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. วศิ ิษฐ์ ฤทธิบญุ ไชย 24. อาจารย์ ดร.พันธิการ์ วัฒนกลุ
11. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กนกพชั ร กอประเสริฐ 25. อาจารย์ ดร.ภธั รภร ปยุ สวุ รรณ
12. อาจารย์ ดร.ศานติ ดฐิ สถาพรเจรญิ 26. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. กติ ติกร สนุ ทรานุรักษ์
13. อาจารย์ ดร.พงศ์สฏา เฉลมิ กลน่ิ 27. อาจารย์ ดร.ธีรเดช ทิวถนอม
14. อาจารย์ ดร.พงษ์สนั ต์ิ ตนั หยง

สารจากคณบดี

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครปฐม ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2527 เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาการ
บริหารธุรกิจ การบัญชี และนิเทศศาสตร์ และต่อมาในปี พ.ศ. 2547 ได้เปิดการเรียนการสอนระดับ
บัณฑติ ศึกษา หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต สาขาการจัดการท่ัวไปขึน้ เป็นที่ทราบกนั ดวี ่านโยบายการผลิต
บัณฑิตระดับปริญญาโท และปริญญาเอก นักศึกษาต้องมีความรู้ และความสามารถในการทำวิจัยเพื่อพัฒนา
งาน และสร้างองค์ความรู้ใหม่ และต้องนำมาเผยแพร่สู่สาธารณชน ตามช่องทางต่าง ๆ วารสารวิทยาการ
จัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐมผลติ ข้นึ มีเปา้ ประสงค์เพอ่ื ทจี่ ะเป็นสื่อให้นักศึกษา คณาจารย์ นักวชิ าการ
และบคุ คลท่ัวไป สามารถนำผลงานวิจัย และงานวิชาการในสาขาการบริหารธุรกิจ การบญั ชี และนิเทศศาสตร์
หรือสาขาที่เกยี่ วข้องมาเผยแพร่

กองบรรณาธิการตระหนักถึงคุณภาพของผลงานที่นำมาลงตีพิมพ์ ดังนั้นผลงานทุกฉบับ จะต้องผ่าน
การตรวจสอบทางวิชาการจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer reviewers) ในสาขา ไม่น้อยกว่า 2 ท่าน จากผู้ทรงคุณวุฒิ
จำนวน 3 ท่าน ตามกระบวนการที่ได้มาตรฐาน วารสารวิทยาการจัดการ กำหนดให้มีการจัดทำปีละ 2 ฉบับ
คือ ฉบับประจำเดือน มกราคม-มิถุนายน และกรกฎาคม-ธันวาคม และเป็นที่น่ายินดีที่วารสารได้รับการ
ประเมนิ จาก ศูนย์ดัชนีการอ้างองิ วารสารไทย (Thai Journal Citation Index-TCI) ใหอ้ ยู่ วารสารกลมุ่ ท่ี 2 ใน
กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ต้องขอขอบคุณอาจารย์ทุกท่านที่มีส่วนร่วมแรงร่วมใจในความสำเร็จน้ี

ในโอกาสน้ีตอ้ งขอขอบคุณสำหรับความร่วมมือจากอาจารย์ในคณะวทิ ยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราช
ภัฏนครปฐม นักศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตวิทยาลัย รวมถึงนักวิจัยจากภายนอก ที่ให้
ความสนใจส่งบทความเข้ามาตีพิมพ์เพิ่มขึ้น สิ่งนี้เป็นแรงใจ ที่ทำให้กองบรรณาธิการเกิดความมุ่งมั่น เพ่ือ
พฒั นาวารสารใหม้ ีคณุ ภาพยิ่ง ขน้ึ โอกาสนจ้ี ึงขอเชิญชวน คณาจารย์ นักวชิ าการ นักศึกษา และบุคคลที่สนใจ
ในสาขาดงั กล่าว สง่ ผลงานเพ่อื ตีพมิ พใ์ นวารสารวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม เพ่อื พัฒนางาน
วิชาการ และผอู้ ่านสามารถนำผลงานทลี่ งตีพิมพใ์ นวารสารไปใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ นด้านตา่ งๆ ต่อไป

รองศาสตราจารย์ ดร.จันทนา วฒั นกาญจนะ
คณบดคี ณะวทิ ยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

บทบรรณาธกิ าร

" It is not the strongest of the species that survives, not the most intelligent, but the
one most responsive to change." (Charles Darwin, 1809) ช่วงเวลาดังกล่าว คำของ ชาร์ล ดาร์วิน ได้
พิสูจน์ขา้ มกาลเวลามาจนปจั จุบัน ว่าเป็นความจริงแท้ “ผู้ที่อยู่รอด มิใช่เปน็ สายพันธุ์ที่แข็งแรงทีส่ ุดหรอื ฉลาด
ท่ีสดุ หากแตว่ ่าเป็นผ้ทู ีส่ ามารถตอบสนองต่อการเปล่ียนแปลงได้ดีทสี่ ุด” ขณะนี้มนษุ ยชาติกำลังรับการท้าทาย
จากปญั หาจากเช้ือไวรัสโควิด 19 ทไ่ี ด้พฒั นาสายพันธ์ไปถงึ โอมคิ รอน (Omicron) ทัง้ นี้โควิดสายพันธ์ุดังกล่าว
แพร่เชอ้ื เร็ว เพราะมกี ารววิ ฒั น์ ตนเองเพ่ือใหอ้ ยูร่ อด กับภูมติ า้ นทานของมนุษยท์ ่ีได้วคั ซีน และในเวลาเดยี วกัน
จะพบว่ามนษุ ยชาตกิ ็พฒั นาวคั ซีนเพื่อความอยูร่ อดเชน่ กนั

ขณะนี้คนทั่วโลกกำลังถูกพิสูจน์ว่า เรายังเป็นสายพันธ์ุที่มีการปรับตัวเองได้ดีที่สุดในโลกอยู่หรือไม่
การเปลี่ยนแปลงของโลกเป็นเรื่องที่จีรัง ดังนั้นคนที่ไม่พยายามเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเองให้ก้าวทันต่อการ
เปลี่ยนแปลง ก็ย่อมจะลา้ หลงั และพ่ายแพไ้ ปในทีส่ ุด ทงั้ นีท้ ่มี นษุ ย์มีความเจรญิ ก็เพราะมนุษย์มีสมองท่ีดี ที่จะ
ไม่หยุด ยอมแพ้ ตอนการวิวัฒน์ของโลก และสรรสิ่ง ปัญหาโควิดดังกล่าวแม้จะผ่านไป 2 ปีแล้ว แต่ถ้ามนุษย์
ร่วมแรงร่วมใจกัน ใช้ศักยภาพในเชิงสร้างสรรค์ ส่งเสริมกัน และมีน้ำใจต่อกัน เชื่อว่าต่อให้ไวรัสมีวิวัฒนาการ
ไปเทา่ ใด กไ็ มอ่ าจเกนิ ความสามารถของมนษุ ย์ไปได้

ย้อนกับมาในแวดวงวิจัย ในฐานะอาจารย์ที่สอนวิจัยธุรกิจมา 15 ปี ทั้งในระดับปริญญาตรี และ
บัณฑิตศึกษา บรรณาธิการเองเห็นพัฒนาการของนักศึกษายุคใหม่ ที่เติบโตมากับแหล่งข้อมูลที่ท่วมท้น
พฒั นาการในการสบื ค้นของเด็กยุคใหม่ ไมเ่ ป็นทตี่ ้องสงสัย เพราะทกุ อยา่ งในวนั นเ้ี อ้ือให้กับกลุ่มคนเหลา่ น้นั สิง่
เดียวที่นักวิจัยรุ่นใหม่ควรทำคือ ผลิตผลงานดี ๆ และหาช่องทางการเผยแพร่ ทั้งน้ีวารสารวิทยาการจัดการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ขอเป็นส่วนหนึ่งที่จะเป็นช่องทางเล็ก ๆ ในการให้นักวิจัยรุ่นใหม่ และรุ่นเก่าได้
นำเสนอผลงาน ทั้งนี้ทุกบทความจะผ่านการกลั่นกรองจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน ไม่น้อยกว่า สองในสามท่าน
การกลั่นกรองด่านแรกจากผู้ทรงคุณวุฒิ จะพิสูจน์ผลงานเบื้องต้นของท่านว่าดีพอที่จะได้ลงในวารสารหรือไม่
แตอ่ กี สองด่านท่จี ะพิสจู นว์ ่างานของท่านดีจริง กค็ อื ด่านของผู้อ่านทีเ่ ป็นนกั วิชาการว่ายอมรับงานของท่าน มี
การอ้างอิงงานของท่านไปต่อยอด และด่านสุดท้ายที่สำคัญที่สุดคือ กาลเวลา งานเขียนที่ดีจริงต้องมีความ
ยั่งยืนในแงค่ วามจริง ดังที่บรรณาธิการ ได้ยกคำของ ชาร์ล ดาร์วิน ซึ่งแม้จะผ่านไปถึง 200 ปีแล้ว แต่ก็ยังเป็น
จรงิ ในสถานการณ์ปจั จุบนั ขอขอบพระคุณในความกรุณาของผทู้ รงคุณวุฒิ ทีใ่ ห้ความอนเุ คราะหอ์ า่ นบทความ
และให้คำแนะนำในการแก้ไขบทความให้มีความสมบูรณ์ ในโอกาสนี้กองบรรณาธิการมีความประสงค์แจ้งให้
นักวิจัยและคณาจารย์ที่สนใจ ส่งบทความเพื่อเผยแพร่สู่สาธารณะ โดยทางวารสารยินดีที่จะสืบสาน
เจตนารมณ์ของผู้วิจัยในโอกาสตอ่ ไป

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วศิ ิษฐ์ ฤทธิบุญไชย
บรรณาธิการ

สารบัญ

บทความท่ี คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา หนา้
อำเภอเมอื งสมทุ รสาคร จงั หวดั สมุทรสาคร
1 (อภสิ มัย พฒั น์ทอง) 1
15
2 Article history: 32
3 45
4 Received 23 March 2020 Revised 22 May 2020 64
81
5 Accepted 25 May 2020 SIMILARITY INDEX = 6.95 %............................
6
ประสิทธผิ ลการบริหารจดั การองคก์ ารบริหารส่วนตำบลในจงั หวดั นนทบรุ ี

(พภสั สรณ์ วรภทั รถ์ ิระกุล)

Article history:

Received 24 May 2021 Revised 10 August 2021

Accepted 19 August 2021 SIMILARITY INDEX = 1.32 %..........................

นวัตกรรมชุมชนเชือ่ มโยงเศรษฐกจิ ชุมชนสู่ความยง่ั ยนื

(ญาณิศา เผื่อนเพาะ และ ประสพชัย พสนุ นท์)
Article history:

Received 13 May 2020 Revised 5 June 2020

Accepted 8 June 2020 SIMILARITY INDEX = 0.90 %..........................

การพฒั นาโมเดลดา้ นอนามัยสง่ิ แวดลอ้ มในแหลง่ ท่องเทีย่ วเชงิ สุขภาพ ภูมภิ าคตะวันตกเพ่อื

การพฒั นาการทอ่ งเท่ียวเชงิ สขุ ภาพอย่างย่งั ยนื

(วจินี อารรี อบ ธนัชพร มลุ ิกะบุตร มสั ลิน บัวบาน และ ชลดิ า ตระกูลสุนทร)

Article history: Revised 10 August 2020
Received 9 May 2020 SIMILARITY INDEX = 2.97 %
Accepted 14 August 2020

ผลของการใช้โปรแกรมฝึกอบรมเพ่อื เสริมสร้างความรู้ ต่อพฤติกรรมการเปน็ ผู้สงู อายุท่ปี ระสบ

ความสำเร็จ

(จนั จริ าภรณ์ ปานยนิ ดี)

Received 12 June 2020 Revised 10 August 2020

Accepted 14 August 2020 SIMILARITY INDEX = 0.00 %..............

แนวทางการพฒั นากลยุทธ์การแขง่ ขนั ของธุรกจิ ส่งออกผกั และผลไม้ในจังหวดั นครปฐม

(วลั ลภา วิชะยะวงศ์)

Received 5 June 2020 Revised 10 October 2020
Accepted 12 October 2020 SIMILARITY INDEX = 0.00 %..............

สารบญั

บทความท่ี ภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลงยุค 4.0 ของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล ในเขตอำเภอ หนา้
98
7 บ้านแหลม จงั หวดั เพชรบุรี 111
125
(กฤตยา กำไลแก้ว) 138
152
Article history: 167

Received 3 August 2020 Revised 14 October 2020

Accepted 16 October 2020 SIMILARITY INDEX = 2.62 %.............................

8 การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนจากการผลิตหูหนูของกลุ่มเกษตรกรแปลงใหญ่เห็ดหูหนู
อำเภอบางแพ จังหวดั ราชบรุ ี
(พิมลวรรณ เกตพนั ธ์ รพี ดอกไมเ้ ทศ ธำรง เมฆโหรา และธัญญลักษณ์ สีทาวนั )
Article history:
Received 1 September 2020 Revised 1 November 2020
Accepted 6 November 2020 SIMILARITY INDEX = 1.14 %...........................

9 ความผูกพันต่อองคก์ รของบุคลากรสายสนับสนุนวชิ าการ มหาวิทยาลัยบรู พา จงั หวดั ชลบุรี
(ระชา เมืองสุวรรณ์)
Article history:
Received 31 August 2020 Revised 1 November 2020

Accepted 6 November 2020 SIMILARITY INDEX = 2.90 %...........................

10 การสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ ที่ส่งผลต่อการรับรู้คุณค่า และความภักดีในสินค้า หนึ่ง
ตำบลหนงึ่ ผลติ ภัณฑ์ ประเภทอาหารในจงั หวัดนครปฐม

(ศภุ ลักษณ์ อยยู่ งั )

Article history:

Received 30 March 2020 Revised 30 May 2020

Accepted 2 June 2020 SIMILARITY INDEX = 6.04 %.........................

11 การจัดการคนเกง่ ในธรุ กิจรา้ นอาหารเพ่อื สรา้ งความได้เปรียบทางการแขง่ ขนั
(จันทร์จิรา ฉตั ราวานชิ และ ประสพชยั พสนุ นท์)

Article history:

Received 27 October 2020 Revised 21 January 2021

Accepted 28 January 2021 SIMILARITY INDEX = 2.82 %.........................

12 พฤติกรรมการท่องเที่ยว ความพึงพอใจ และการตัดสินใจท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ สะพานรักษ์
แสม จงั หวดั ระยอง

(ศิริพร บตุ รสนม)

Article history:
Received 13 November 2020 Revised 18 December 2020

Accepted 28 January 2021 SIMILARITY INDEX = 5.43 %...........................

สารบัญ

บทความที่ ปัจจัยท่ีส่งผลต่อศักยภาพในการจดั ทำบญั ชีของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดนครปฐม หน้า
(สภุ าณี อินทน์จันทน์) 179
13 Article history: 194
14 Received 13 November 2020 Revised 21 January 2021 213
228
15 Accepted 28 January 2021 SIMILARITY INDEX = 0.00 %...........................
ความสามารถในการจัดการนวัตกรรมเพื่อผลการดำเนินงานขององค์กรของอุตสาหกรรม 242
16 การเกษตรในประเทศไทย
(สุดารัตน์ พมิ ลรัตนกานต์)
17 Article history:
Received 22 October 2020 Revised 8 December 2020
Accepted 20 January 2021 SIMILARITY INDEX = 0.56 %...........................
กลยุทธ์การบริหารงานอย่างมีดุลยภาพ ของวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์แปรรูป
จากมะพรา้ ว อำเภออมั พวา จังหวดั สมุทรสงคราม
(วรินทรธ์ ร ธรสาสรสมบตั ิ)
Article history:
Received 19 October 2020 Revised 28 January 2021

Accepted 1 February 2021 SIMILARITY INDEX = 2.80 %..........................
ปจั จัยในการทำงานทีส่ ่งผลตอ่ ประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ัตงิ านของพนกั งานองค์กรปกครองส่วน

ท้องถ่ินอำเภอคลองหลวง จังหวดั ปทมุ ธานี

(กรวิกา มีสามเสน และ กฤษดา เชยี รวฒั นสขุ )

Article history:

Received 20 February 2021 Revised 10 March 2021

Accepted 15 March 2021 SIMILARITY INDEX = 4.05 %..........................

การเพิ่มรายได้ของชุมชนด้วยความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในวิสาหกิจเพ่ือ

สังคม: กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนแปลงใหญ่ผักปลอดสารพิษ ตำบลบ้านโต้น อำเภอพระยืน

จังหวดั ขอนแกน่

(กนกวรรณ อ้ยุ วงค์)

Article history:

Received 27 February 2021 Revised 1 April 2021

Accepted 5 April 2021 SIMILARITY INDEX = 0.00 %..........................

สารบัญ

บทความท่ี โครงสร้างผู้ถือหุ้น ความสามารถในการทำกำไร และโครงสร้างเงินทุนที่มีผลต่อการวางแผน หนา้
257
18 ภาษีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : กลุ่มอุตสาหกรรม 270
288
19 อสงั หาริมทรพั ย์และก่อสร้าง 302
322
(จรรยา ครองบญุ และกุสมุ า ดำพทิ ักษ์)

Article history:

Received 18 February 2021 Revised 10 March 2021

Accepted 19 March 2021 SIMILARITY INDEX = 0.00 %...........................

ปจั จยั ในการพิจารณาขอสินเช่อื จากธรุ กจิ เงนิ ร่วมลงทุน สำหรับวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาด

ย่อมในประเทศไทย กรณีศกึ ษาภาคบริการธุรกิจทอ่ งเทย่ี ว

(มนสั นันท์ งามขำ และ ศริ พิ ร แพรศรี)

Article history:

Received 6 January 2021 Revised 18 March 2021

Accepted 22 March 2021 SIMILARITY INDEX = 2.86 %..........................

20 ปัจจยั ท่ีมผี ลต่อคณุ ภาพชวี ิตการทำงานของบคุ ลากรในกรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
(นิวัฒน์ รงั สร้อย)

Article history:

Received 9 March 2021 Revised 4 April 2021

Accepted 7 April 2021 SIMILARITY INDEX = 6.96 %......................

21 ผลกระทบของความพึงพอใจและบุพปัจจัยต่อการสนับสนุนอยา่ งเป็นทางการของผู้ใช้รถยนต์
โตโยตาและฮอนด้าในประเทศไทย เขตกรงุ เทพมหานคร

(อัจฉรา อุนรตั น์)

Article history:

Received 3 March 2021 Revised 14 April 2021

Accepted 26 April 2021 SIMILARITY INDEX = 0.70 %......................

22 ปจั จัยทสี่ ง่ ผลต่อความตั้งใจที่จะเปน็ ผู้ประกอบการของนักศกึ ษาปีท่ี 4 สาขาวชิ าการจดั การ
ทั่วไป มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม

(พงษส์ นั ติ์ ตนั หยง .ธงชัย พงศ์สิทธกิ าญจนา จนั ทนา พงศส์ ิทธกิ าญจนา และ

พัชรกนั ต์ นิมิตรศดกิ ลุ )

Article history:

Received 8 March 2021 Revised 18 April 2021

Accepted 28 April 2021 SIMILARITY INDEX = 2.82 %..........................

สารบัญ

บทความที่ หลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อการจัดการคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการภาครัฐแบบ หน้า
334
23 เบ็ดเสรจ็ จังหวดั นครปฐม 348
370
24 (สุกัญญา โพธิจาทุม และ สรุ วี ศนุ าลัย) 384
397
25 Article history:

26 Received 8 March 2021 Revised 15 April 2021

27 Accepted 29 April 2021 SIMILARITY INDEX = 6.93 %..........................

ปัจจยั ดา้ นกระบวนการของคณะกรรมการบรหิ ารที่เป็นบุพปจั จัยเชงิ สาเหตุของสมรรถนะของ

คณะกรรมการบรหิ าร

(กติ ตศิ กั ด์ิ เจมิ สทิ ธปิ ระเสริฐ และ โกวิท วงศ์สรุ วัฒน์)

Article history:

Received 18 March 2021 Revised 15 April 2021

Accepted 30 April 2021 SIMILARITY INDEX = 0.00 %..........................

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชัน ช้อปปี้ ของประชาชน

ในจังหวัดนครปฐม

(ภาวนา บำรุงสขุ )

Article history:

Received 3 March 2021 Revised 20 May 2021

Accepted 28 May 2021 SIMILARITY INDEX = 2.19 %..........................

อทิ ธิพลคุณค่าตราสินค้าในฐานะปจั จยั ตัวแปรคั่นกลางทีเ่ ชอื่ มโยงกลยทุ ธท์ างการตลาดสคู่ วาม

ตง้ั ใจซ้อื รถยนตโ์ ตโยตา้ ฝงั่ ธนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร

(ณฐั พล ไชยกสุ นิ ธ์ุ และ สมุ าลี รามนัฏ)

Article history:

Received 10 April 2021 Revised 5 June 2021

Accepted 7 June 2021 SIMILARITY INDEX = 0.00 %..........................

ผลกระทบในการดำเนนิ งานทางการเงินจากการใชเ้ ทคโนโลยคี วิ อารโ์ ค้ดเพอ่ื รบั ชำระค่าสินค้า

และบริการ : กรณศี กึ ษาผู้ประกอบการสม้ โอในอมั พวา

(วีรกิจ อุฑารสกลุ ก่งิ กาญจน์ จารกุ รุณา และกุสมุ า สังขะกลุ )

Article history:

Received 16 May 2021 Revised 1 August 2021

Accepted 4 August 2021 SIMILARITY INDEX = 0.00 %..........................

สารบัญ

บทความที่ การบริหารความเสี่ยงของผู้พกั อาศยั อาคารชดุ ไอ คอนโด กรนี สเปซ สุขมุ วิท 77 เฟส 1 หน้า
(ณัฐนนั ท์ ขำดี) 409
28 Article history: 422
Received 8 February 2021 Revised 25 June 2021 446
457
Accepted 1 July 2021 SIMILARITY INDEX = 6.55 %..........................

29 ผลกระทบเชิงสาเหตุของความสามารถเชิงพลวตั และคุณภาพของระบบสารสนเทศต่อผลการ
ดำเนินงานของบรษิ ทั ผู้ประกอบการวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ มในยคุ ดจิ ทิ ัล: การศึกษา

ตวั แปรคัน่ กลางดา้ นนวตั กรรมผลิตภณั ฑ์ กระบวนการ และการตลาด

(บญุ ฑรกิ า วงษว์ านชิ และ กฤษดา เชียรวัฒนสขุ )

Article history:

Received 22 May 2021 Revised 10 August 2021

Accepted 16 August 2021 SIMILARITY INDEX = 2.59 %..........................

30 การตัดสินใจเลือกใช้บริการท่ีพักของนักท่องเที่ยวชาวไทยในจังหวัดสุพรรณบุรี
จากสว่ นประสมทางการตลาดบริการ

(จนิ ดา ทับทิมดี)

Article history:

Received 1 February 2021 Revised 1 September 2021

Accepted 9 September 2021 SIMILARITY INDEX = 1.49%.............................

31 อิทธิพลของความผูกพันที่ส่งผลต่อการเป็นสมาชิกที่ดีในองค์การของพนักงานเจนเนอเรช่ัน
วายในกรงุ เทพและปรมิ ณฑล

(ศริ นิ ันท์ ทิพยเ์ จรญิ และคณะ)

Article history:

Received 8 January 2021 Revised 15 February 2021

Accepted 28 February 2021 SIMILARITY INDEX = 2.56 %..........................

จรยิ ธรรมการตพี มิ พ์

บทบาทและหน้าที่ของผูน้ ิพนธ์
1. บทความที่เสนอตีพิมพ์ต้องไม่เคยตีพิมพ์เผยแพร่ที่ใดมาก่อน และต้องไม่อยู่ระหว่างการเสนอ เพ่ือ

พจิ ารณาตพี มิ พใ์ นวารสารฉบับอ่ืน
2. ไม่ละเมิดหรือคัดลอกผลงานของผู้อื่น หากนำผลงานของผู้อื่นมาใช้ จะต้องมีการจัดทำการอ้างอิงตาม

รูปแบบทวี่ ารสารกำหนด โดยระบุรายการอ้างอิงทา้ ยบทความ
3. ผูน้ พิ นธ์ต้องรายงานข้อมลู การวจิ ัยทเี่ กดิ ขึ้นจรงิ ไมบ่ ดิ เบือนขอ้ มลู และไมใ่ หข้ อ้ มูลท่เี ป็นเทจ็
4. ผู้นิพนธ์ตอ้ งมีความรู้ และเข้าใจเกี่ยวกบั มาตรฐานของบทความวิจัย และผลิตงานวิจัยท่ีมีคณุ ภาพ โดย

ตระหนกั วา่ รปู แบบ และมาตรฐานของต่างวารสารยอ่ มมมี วี ัตถปุ ระสงค์และมาตรฐานที่แตกตา่ งกนั
5. ผู้นิพนธ์ที่มีรายชื่อปรากฏในบทความ ต้องมีส่วนในการทำการวิจัยจริง นอกจากนี้ควรระบุแหล่งทุนที่

สนับสนุนในการทำผลงานทางวิชาการ ในกติ ติกรรมประกาศ
6 บทความทส่ี ง่ ตพี ิมพ์จะต้องเป็นไปตามรปู แบบที่กำหนด โดยจดั ทำรปู แบบบทความตามคำแนะนำในการ

เตรยี มบทความของวารสาร
7. ผู้นิพนธ์ต้องแก้ไขความถูกต้องของบทความตามข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) และ

ทางกองบรรณาธิกาวารสารวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครปฐมกำหนด
8. ผนู้ พิ นธ์ทมี่ ีการเผยแพร่ขอ้ มูลของหนว่ ยงานอืน่ จะตอ้ งไดร้ ับอนุญาตจากหนว่ ยงานนั้นๆ
9. งานวิจยั ใดทเ่ี กี่ยวข้องกบั การวจิ ัยในมนุษย์ ควรมหี นงั สือรับรองจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยใน

มนุษย์

บทบาทและหน้าทีข่ องบรรณาธิการ
1. บรรณาธิการมหี นา้ ท่ใี นการพิจารณารูปแบบ กลัน่ กรอง คดั สรรบทความทตี่ ีพมิ พใ์ นวารสารอย่างเข้มข้น

โดยมุ่งหวังให้เกิดคุณภาพและเกิดประโยชน์กับผู้อ่าน และจัดทำวารสารให้เป็นไปตามนโยบายและทิศทางท่ี
กำหนด

2. บรรณาธิการจะไม่เปิดเผยข้อมูลใดๆ ในระหว่างช่วงเวลาการประเมินบทความและการตีพิมพ์วารสาร
ฉบับนั้นๆ แก่บุคคลอื่นที่ไม่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลของผู้เขียนหรือผู้ทรงคุณวุฒิ รวมถึงไม่ปิดกั้นหรือ
แทรกแซงข้อมลู ท่ใี ช้แลกเปลย่ี นระหว่างผ้ทู รงคุณวุฒแิ ละผนู้ ิพนธ์บทความ

3. บรรณาธกิ ารตอ้ งไม่แก้ไขหรอื เปล่ียนแปลงเน้ือหาบทความและผลการประเมนิ ของผทู้ รงคณุ วฒุ ิ
4.บรรณาธิการต้อง ไม่นำบทความหรือวารสารไปใช้ประโยชน์ในด้านธุรกิจหรือนำไปเป็นผลงานทาง
วชิ าการ และผลงานวิจัยของตนเอง
5. บรรณาธิการต้องคัดเลือกบทความมาตีพิมพ์ หลังจากผ่านกระบวนการประเมินบทความแล้ว โดย
พิจารณาจากความสำคัญ องค์ความรู้ใหม่ ความชัดเจน และความสอดคล้อง สัมพันธ์ ของเนื้อหากับนโยบาย
ของวารสารเป็นสำคัญ

6. บรรณาธิการต้องปฏิบัติตามกระบวนการและขั้นตอนต่างๆ ของวารสารอย่างเคร่งครัด และตรวจสอบ
การคัดลอกบทความอย่างจริงจัง โดยใช้โปรแกรมที่น่าเชื่อถือ รวมถึง หยุดการประเมินบทความ หากพบว่า
บทความที่สง่ มาตพี ิมพ์คดั ลอกผลงานของผู้อน่ื และปฏเิ สธการรับบทความน้นั ๆ

7. บรรณาธิการจะไม่ตีพิมพ์บทความที่เคยตีพิมพ์เผยแพร่จากที่อื่นมาแล้วทั้งในรูปแบบของวารสาร หรือ
บทความหลงั การนำเสนอในท่ีประชมุ วิชาการ (Proceeding)

8. บรรณาธิการจะไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนใดๆ กับผู้นิพนธ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ทีมผู้บริหาร และกอง
บรรณาธิการฯ

9.หากมีหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีการคัดลอกผลงานของผู้อื่น บรรณาธิการจะติดต่อผู้เขียนหลักเพื่อขอคำ
ชแี้ จง และหากไมม่ ีข้อชี้แจงตามหลักทางวิชาการ บรรณาธกิ ารจะปฏเิ สธการตีพมิ พบ์ ทความนนั้

10.บรรณาธิการต้องรักษามาตรฐานของวารสาร รวมถึงพัฒนาวารสารให้มีคุณภาพ สะท้อนองค์ความรู้
ใหมๆ่ และมีความทันสมยั เสมอ

บทบาทและหน้าท่ขี องผู้ประเมนิ บทความ
1. ผู้ประเมินบทความจะต้องรักษาระยะเวลาประเมินตามกรอบเวลาประเมินที่กำหนด ในการประเมิน

บทความต้อง ไม่มีอคติ ให้ข้อคิดเห็นตรงไปตรงมา สร้างสรรค์ นำไปสู่การปรับปรุงบทความท่ีไดม้ าตรฐานทาง
วิชาการ

2.ผู้ประเมินบทความจะต้องไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อนกับผู้นิพนธ์ เช่น เป็นผู้นิพนธ์ร่วม ผู้ร่วมโครงงาน
ผู้ร่วมงาน หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เป็นอาจารย์ที่ปรึกษา ที่จะทำให้ผู้ประเมินไม่สามารถประเมินและให้
ขอ้ เสนอแนะได้อย่างอิสระได้

3. ผู้ประเมินบทความ จะต้องมีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญ โดยพิจารณาจากเนื้อหาของ
บทความ โดยประเมนิ บทความทีต่ นมคี วามเชี่ยวชาญ พิจารณาคณุ ภาพของบทความ ไมใ่ ช้ความคดิ เห็นส่วนตัว
ที่ไม่มีข้อมลู มารองรับในการใหข้ ้อเสนอแนะหรือตดั สนิ บทความ

4. ผู้ประเมินบทความ ควรให้ข้อเสนอแนะ และระบุตัวอย่างผลงานวิจัยที่สำคัญๆ และสอดคล้องกับ
บทความทป่ี ระเมนิ แตผ่ นู้ ิพนธ์บทความไมไ่ ด้อ้างถึง

5. หากผ้ปู ระเมินบทความพบว่า บทความมคี วามเหมือน หรือซำ้ ซ้อนกบั ผลงานของผู้อ่ืนโดยมีหลักฐานชัด
แจง้ ผปู้ ระเมนิ สามารถปฏิเสธการตพี ิมพ์และแจง้ แก่บรรณาธิการ เพ่อื ปฏเิ สธการประเมนิ บทความนั้น

6. ผู้ประเมินต้องไมเ่ ปิดเผยข้อมูลของบทความท่ีส่งมาตพี ิมพ์ แก่บุคคลอื่นท่ีไมเ่ กี่ยวขอ้ ง ในช่วงระยะเวลา
ของการประเมินบทความ

Publication Ethics

Duties of Authors
1. An article must not be published in any journal before or not under consideration for

publication elsewhere.
2. Authors should ensure that their manuscript is original works, and cited publications

must be listed in the references in accordance with the journal format.
3. Authors should avoid untrue statements or withhold information.
4. The listed authors should accurately participate in the article and all funding source

must be disclosed in the acknowledgments.
5. The published article must comply with the format determined by the journal.
6. Authors must respond to all the suggestions of the reviewers and the Editor-in-Chief.
7. Authors must obtain written permission to disseminate information from the source.
8. Studies on human and animals require the approval from the ethic committee.

Duties of Editors
1. The editor is responsible for considering and deciding which of the submitted articles

should be published to the journal and may be beneficial to the readers. The editors would
be guided by the policies of the journal.

2. The editor must protect the confidentiality of authors and reviewers throughout the
review process and all material or communications between authors and reviewers should
not be interfered.

3. The editor must not edit or change the content of the article nor the review from the
reviewers.

4. The editor must not use published or unpublished materials for personal interest or
personal advantage.

5. The editor must select the articles for publication based on their significance and
contribution to the body of knowledge, clarity and consistency of the content, and in
accordance with the editorial board policies.

6. The editor must follow the procedures of the journal and thoroughly check copyright
infringement and plagiarism. In case of violation, the editor must report and reject such article.

7. The editor must not accept published article or proceeding elsewhere.
8. The editor should not have a conflict of interest or personal stake with the author, the
reviewers, and the editorial board.

9. The editor shall contact the corresponding author for clarification in case of copyright
infringement and plagiarism. If there is no technical explanation, the article will be rejected.

10. The editor must maintain and develop the standards and quality, also reflect new
knowledge for the journal.

Duties of Reviewers
1. Reviewers should give comments and opinions in improving the quality of a submitted

article without personal bias and in a timely manner.
2. Reviewers must not have a conflict of interest or personal stake with the author – as a

co-author, collaborators, or advisor which make the reviewers unable to give comments or
suggestions independently.

3. Reviewers should be conducted objectively in the context of their expertise. Personal
opinions without backing evidence or biases should not be used when reviewing an article.

4. Reviewers should give suggestions and research papers which significant to an article,
but authors have not referred to.

5. Reviewers should inform the editor if they suspect that an article under review contains
duplicated works of other published articles or any suspected plagiarism.

6. Reviewers must treat any received articles for review as confidential documents and
must not share with anyone during the review process

(https://www.tci-thaijo.org/index.php/JMSNPRU/PublicationEthics)

คุณภาพการให้บรกิ ารของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา
อำเภอเมอื งสมุทรสาคร จังหวัดสมทุ รสาคร

Service quality of civil registration Bang Pla Subdistrict Municipality Local
Registration Office Mueang Samut Sakhon District Samut Sakhon Province

อภิสมัย พัฒนท์ อง*
(Aphisamai Patthong)

บทคดั ยอ่

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนัก
ทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร (2) ปัจจัยในการให้บริการของ
งานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร
(3) ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ที่ส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนัก
ทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ ประชาชนที่มาใช้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมือง
สมุทรสาคร จังหวดั สมุทรสาคร ชว่ งเดือนพฤศจกิ ายน-ธนั วาคม 2562 จำนวน 130 คน วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใชค้ ่าสถิติ
เชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน โดยใช้สถิติการวิเคราะห์การ
ถดถอยพหุคูณ

ผลการวิจัยพบว่า
1. คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา
อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวม มีคุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับปานกลาง โดย
พบว่า ด้านที่มีคุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อผู้รับบริการ ด้านการ
ตอบสนองต่อผู้รับบริการ ส่วนด้านที่มีคุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านการรู้จักและ
เขา้ ใจตอ่ ผูร้ บั บรกิ าร ด้านความน่าเชอ่ื ถอื ในการใหบ้ ริการ และด้านความเป็นรปู ธรรมในการใหบ้ รกิ าร

* วิทยานิพนธห์ ลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ คณะรฐั ประศาสนศาสตร์และสังคมศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั นานาชาติแสตม
ฟอรด์ วิทยาเขตหัวหิน 76120 ภายใต้การควบคมุ ของอาจารย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พเิ ศษ ชัยดิเรก
Thesis Master of Public Administration Program Thesis Faculty of Public Administration and Social Studies
Stamford International University Hua Hin Campus 76120

Corresponding author: [email protected]

1 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

2. ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา
อำเภอเมอื งสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ในภาพรวม มีการให้บรกิ ารอยูใ่ นระดับมาก โดยพบว่า ด้าน
ที่มีการให้บริการอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดบั ดังนี้ ด้านความต้องการสว่ นบุคคล ด้านประสบการณ์ในอดตี
ด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ ส่วนด้านที่มีการให้บริการอยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านการบอกเล่าจาก
บุคคลอ่ืน

3. ปจั จยั ในการใหบ้ ริการของงานทะเบยี นราษฎร มีอทิ ธพิ ลกบั คณุ ภาพการให้บริการของงานทะเบียน
ราษฎร สำนกั ทะเบยี นท้องถิน่ เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จงั หวดั สมุทรสาคร ประกอบดว้ ย
ดา้ นประสบการณ์ในอดีต (b=0.396) ด้านความตอ้ งการสว่ นบุคคล (b=0.217) ด้านการบอกเลา่ จากบุคคลอ่ืน
(b=0.197) และ ด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ (b=0.101) ตามลำดับ สมการมีอำนาจการพยากรณ์ร้อยละ
73.50 สามารถเขียนสมการการวเิ คราะหถ์ ดถอยพหุคณู ได้ดังน้ี คอื

Ŷ = 0.197 (x1) + 0.217 (x2) + 0.396 (x3) + 0.101 (x4)

คำสำคัญ: คุณภาพการใหบ้ ริการ, งานทะเบยี นราษฎร, สำนักทะเบียนทอ้ งถน่ิ

ABSTRACT

This research aimed to study: (1) level of service quality of the civil registration Bang Pla
Subdistrict Municipality Local Registration Office Mueang Samut Sakhon District (2) factors of service
of the civil registration Bang Pla Subdistrict Municipality Local Registration Office Mueang Samut
Sakhon District (3) Service factors of the civil registration That affects the service quality of the civil
registration Bang Pla Subdistrict Municipality Local Registration Office Mueang Samut Sakhon District
Samut Sakhon Province . The sample group used in the research is the people who come to use
the civil registration service. Bang Pla Subdistrict Municipality Local Registration Office Mueang Samut
Sakhon District Samut Sakhon Province Between November - December 2019, 130 people. Data
were treated and analyzed by using descriptive and Inferential Statistics methods, which were
percentage, mean, standard deviation and Multiple Regression Analysis.

Findings:
1 . Service quality of civil registration work Bang Pla Subdistrict Municipality Local
Registration Office Mueang Samut Sakhon District Samut Sakhon province, in general, the
service quality is moderate. When considering each aspect, it was found that the service
quality was at a high level, such as providing trust to clients. Responding to service recipients

2 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

The aspect of service quality was at a medium level, including knowing and understanding of
clients. Reliability in the service and concrete aspects of the service

2. Service factors of the civil registration Bang Pla Subdistrict Municipality Local
Registration Office Mueang Samut Sakhon District Samut Sakhon province found that in
general, the practice is in a high level. When considered in each aspect, it was found that the
aspect that was practiced at a high level In the following order Personal needs Past experience
Advertising As for the aspect that was practiced at a moderate level, such as the telling of
others

3. The factors of service of the civil registration In telling stories from other people Past
experience There is a rational relationship with the quality of service of the civil registration.
Bang Pla Subdistrict Municipality Local Registration Office Mueang Samut Sakhon District Samut
Sakhon Province Statistical significance at the level of 0.001 for personal needs. There is a
rational relationship with the quality of service of the civil registration. Bang Pla Subdistrict
Municipality Local Registration Office Mueang Samut Sakhon District Samut Sakhon Province
With statistical significance at the level of 0.01 and in advertising and public relations There is
a rational relationship with the quality of service of the civil registration. Bang Pla Subdistrict
Municipality Local Registration Office Mueang Samut Sakhon District Samut Sakhon Province
With statistical significance at the level of 0.05. Show that Service quality of civil registration work
Bang Pla Subdistrict Municipality Local Registration Office Mueang Samut Sakhon District Samut
Sakhon Province Which is a result of various factors, including past experience In telling stories from
other people Personal needs And public relations advertising.

Keywords: Service quality, Civil registration work, Local registration office

Article history: Received 23 March 2020
Revised 22 May 2020
Accepted 25 May 2020
SIMILARITY INDEX = 6.95 %

3 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

1. บทนำ

การบริการประชาชนเป็นภารกิจหลักของข้าราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม โดยยึดหลักที่ว่า
ประชาชนทุกคนพึงได้รับการบริการขั้นพื้นฐานจากภาครัฐโดยเท่าเทียม เสมอภาคและทั่วถึง สภาพเศรษฐกจิ
สังคม และการเมือง การปกครองตลอดจนสภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกาภิวัตน์ที่มี การ
แข่งขันสูง ทำให้ประชาชนมีความต้องการการบริการของภาครัฐและเอกชนที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนอยา่ งแทจ้ ริง “งานทะเบยี นราษฎร์” ถือเปน็ งานทีต่ ้องบริการประชาชน
ตั้งแต่เกิดจนตาย โดยมีหน่วยงานรัฐคือ สำนักงานทะเบียนอำเภอเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ ด้วยวิวัฒนาการ
ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์กรจำเป็นต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ (นดิ า โฆวงศป์ ระเสริฐ, 2556: 3)

แตเ่ ดมิ นน้ั งานทะเบยี นราษฎรเปน็ ภารกจิ ที่กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยเปน็ หนว่ ยงานหลักท่ี
รบั ผิดชอบตอ่ มาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการถา่ ยโอนจากกระทรวงมหาดไทย ตอ่ มามพี ระราชบัญญัติ
กำหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอำนาจใหแ้ ก่ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 ได้จัดแบ่งกรอบการ
ให้บริการสาธารณะออกเปน็ 6 ด้าน รวมมกี ารถา่ ยโอนทงั้ สน้ิ 244 เรอื่ ง ซึ่งในด้านที่ 3 คอื ดา้ นการจัดระเบียบ
ชุมชน สังคมและการรักษาความสงบเรียบร้อยนั้น มีภารกิจคือการรักษาความสงบเรียบร้อยและความ
ปลอดภัยในชวี ิตและทรัพย์สิน อาทิ การทะเบยี นราษฎรและบตั รประจำตัวประชาชน งานด้านทะเบียนราษฎร
(ประยุทธ จันทร์พิทักษ์กุล, 2558: 2) ซึ่งงานทะเบียนราษฎร อยู่ในความควบคุมของสำนักปลัดเทศบาล เดิม
สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา ได้ทำการอยู่ที่อำเภอเมืองสมุทรสาคร ต่อมาได้ย้ายสำนัก
ทะเบียนทอ้ งถ่ินเทศบาลตำบลบางปลา มาทำการทีส่ ำนักงานเทศบาลตำบลบางปลา เมอื่ ปี พ.ศ. 2547 มีพ้ืนท่ี
รับผดิ ชอบ 1 หมู่ คอื หมู่ที่ 4 ตำบลบ้านเกาะ มี 6 ชุมชน มปี ระชากร 6,707 คน แยกเป็นชาย 3,254 คน หญิง
3,453 คน จำนวนครัวเรอื น 4,251 หลงั คาเรอื น (ข้อมูล ณ เดอื น มิถนุ ายน 2562) มกี ระบวนการใหบ้ ริการ 6
กระบวนการ ประกอบด้วย (1) การแจ้งเกิด/แจ้งเกิดเกินกำหนด (2) การแจ้งตาย (3) การย้ายที่อยู่ (4) บ้าน
และทะเบียนบ้าน (5) การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน และ (6) การเพิ่มชื่อและ
รายการบุคคลเข้าในทะเบียนบ้าน (เทศบาลตำบลบางปลา, 2562) และในส่วนของการให้บริการยังพบปัญหา
อยู่หลายประการ เช่น มีการให้บริการที่ไม่ตรงกับความต้องการของผู้รับบริการ ซึ่งอาจสืบเนื่องมาจาก
ผใู้ ชบ้ ริการมาตดิ ตอ่ เปน็ จำนวนมาก แต่บุคลากรมีไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการของประชาชน จึงทำใหเ้ กดิ ความ
ล่าช้าในการปฏิบัติงาน อีกทั้งบุคลากรบางหน่วยงานยังขาดความสามารถในภาระงานนั้น ๆ นอกจากนี้
บุคลากรบางคนยงั ปฏบิ ัติตัวไม่เหมาะสม ไม่มีมนษุ ยสัมพนั ธ์และไม่เต็มใจในการให้บริการ ทำให้ความพึงพอใจ
ของประชาชนลดนอ้ ยลงไป (ลชั ชมณต์ กระจ่าง, 2561: 2)

จากปญั หาดังกล่าวจะเห็นไดว้ ่า คณุ ภาพการใหบ้ ริการของงานทะเบียนราษฎร สำนกั ทะเบียนท้องถ่ิน
เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ยังประสบปัญหาต่าง ๆ หลายด้าน ผู้วิจัย
จึงเลง็ เห็นความสำคัญและต้องการศึกษาคุณภาพการให้บริการของงานทะเบยี นราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่น
เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวดั สมุทรสาคร เพื่อพัฒนาศักยภาพคุณภาพการให้บริการ

4 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

ของงานทะเบียนราษฎร ใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ ประสิทธผิ ล สนองตอบตอ่ ปัญหา และความตอ้ งการของประชาชน
ผู้มาใช้บริการอย่างแท้จริง แล้วนำผลการวิจัยที่ได้มาเป็นแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุง พัฒนา และส่งเสริม
คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมือง
สมทุ รสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ทจี่ ะส่งผลให้เกิดประโยชนส์ ขุ แก่ประชาชนในทอ้ งถิ่นต่อไป

วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
1. เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาล

ตำบลบางปลา อำเภอเมอื งสมทุ รสาคร จังหวัดสมุทรสาคร
2. เพื่อศึกษาปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบยี นราษฎร สำนักทะเบียนทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลบาง

ปลา อำเภอเมืองสมทุ รสาคร จงั หวดั สมทุ รสาคร
3. เพื่อศึกษาปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ที่ส่งผลต่อคุณภาพการให้บริการของงาน

ทะเบียนราษฎร สำนกั ทะเบยี นท้องถ่ินเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมอื งสมุทรสาคร จังหวัดสมทุ รสาคร

สมมติฐานการวจิ ัย
ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร มีอิทธิพลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียน

ราษฎร สำนกั ทะเบยี นท้องถนิ่ เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมอื งสมุทรสาคร จังหวดั สมทุ รสาคร

2. เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

2.1 แนวคดิ และทฤษฎีเกย่ี วกับคณุ ภาพการใหบ้ ริการ
Parasuraman, Zeithaml and Berry (1988: 12-40) ได้ทำการวิจัยให้มีและได้สรุปรวมปัจจัยในการ
ประเมนิ จัดเป็นหมวดหมู่ไดป้ ัจจัยในการวัดคุณภาพบริการเหลือ 5หมวด ทง้ั นี้เพอ่ื ลดความซ้ำซ้อนกันในบางด้าน
และมีรายละเอียดมากเกินไปทำให้ยากในการประเมินเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพบริการเรียกว่า SERVQUAL
โดยสรุปรวมมิตสิ ำคัญของการวดั คุณภาพบริการได้ 5 ขอ้ สำหรับผู้รบั บรกิ ารประเมินคุณภาพบริการ 5 ด้าน ดังน้ี

1) ความเป็นรูปธรรมของบริการ (tangibility) หมายถึง ลักษณะทางกายภาพที่ปรากฏให้เห็นถึงสิ่ง
อำนวยความสะดวกต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ เครื่องมืออุปกรณ์ บุคลากรและการใช้ลักษณ์หรือเอกสารที่ใช้ในการ
ตดิ ต่อส่อื สารให้กบั ผรู้ บั บริการไดส้ ัมผัส และการบรกิ ารน้ันมีความเป็นรูปธรรมสามารถรบั รู้ได้

2) ความเชื่อถือไว้วางใจ (reliability) หมายถึง ความสามารถในการให้บริการนั้นตรงกับสัญญาที่ให้
ไว้กบั ผู้รับบรกิ าร บริการท่ที ุกครั้งมีความถูกต้อง เหมาะสมและมีความสม่ำเสมอในทุกครั้งของการบริการ ท่ีจะทำ
ให้ผู้รับบรกิ ารรสู้ กึ วา่ บรกิ ารที่ไดร้ ับน้นั มีความน่าเชื่อถือ สามารถ ใหค้ วามไว้วางใจได้

3) การตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ (responsiveness) หมายถึงความพร้อมและ เต็มใจ
จะให้บริการโดยสามารถตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการได้อย่างทันท่วงที ผู้รับบริการสามารถเข้ารับ

5 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

บริการได้ง่ายและรับความสะดวกจากการมาใช้บริการรวมทั้งจะต้องกระจายการให้บริการไปอย่างทั่วถึง รวดเร็ว
ไมต่ อ้ งรอนาน

4) การใหค้ วามมน่ั ใจแก่ผู้รับบริการ (assurance) หมายถึง ผู้ใหบ้ รกิ ารมีทักษะความรู้ ความสามารถ
ในการให้บริการ และตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการด้วยความสุภาพ มีกิริยาท่าทางและมารยาทที่ดีใน
การให้บริการ สามารถท่จี ะทำใหผ้ รู้ บั บรกิ ารเกิดความไว้วางใจและเกิดความเช่อื มัน่ วา่ จะได้บริการทดี่ ีทส่ี ุด

5) ความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจผู้รับบริการ (empathy) หมายถึง ความสามารถในการดูแล ความ
เออ้ื อาทร เอาใจใสผ่ รู้ ับบรกิ ารตามความต้องการท่ีแตกต่างของผรู้ บั บริการในแตล่ ะคน

จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีจากนักวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในเชิงของเนื้อหาสาระ เกี่ยวกับ คุณภาพ
การบริการสามารถวัดได้โดยใช้เกณฑ์การวัดคุณภาพการบริการที่เรียกว่า SERVQUAL ผู้วิจัยได้กำหนดรูปแบบ
คุณภาพการให้บริการ ออกเป็น 5 ด้าน ในการวิจัยคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียน
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร คือ ความเป็นรูปธรรมของบริการ
ความเชือ่ ถือไวว้ างใจได้ การตอบสนอง การใหค้ วามเชอ่ื ม่ัน การรู้จักและเข้าใจ

2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกยี่ วกับความคาดหวงั
Turner (1982: 349-351 อ้างถึงใน นัตติยา ภู่สละ, 2559: 29) กล่าวถึง แหล่งที่มาของความ

คาดหวังของผู้บริโภคว่า ผลของการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริโภคเกี่ยวกับคุณภาพของการบริการช่วยทำให้
ทราบวา่ ความคาดหวังของผู้บริโภคเก่ียวกับการบริการไดร้ ับอิทธิพลมาจาก 4 แหลง่ สำคญั คอื

1) ความต้องการส่วนบุคคล (Personal Needs) ความต้องการส่วนบุคคลของผู้บริโภคจะมีความ
แตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับลักษณะของตัวบุคคลและสภาพแวดล้อมของผู้บริโภคแต่ละกลุ่ม ผู้บริโภคอาจจะ
คาดหวังจากการบริการชนิดเดียวกนั หรือแตกต่างกนั ออกไปตามความต้องการของแต่ละตัวบุคคล

2) การบอกเล่าแบบปากต่อปากเกี่ยวกับการบริการ (Word-of-Mount Communication) คือ
ขอ้ มลู ท่ีผูบ้ รโิ ภคได้รบั รู้จากปากผู้บริโภคคนอ่ืน ๆ ที่เคยไดร้ ับการได้ยินหรือการบริการจากสนิ ค้าทผี่ บู้ รโิ ภคใช้แล้ว
หรืออาจจะเป็นการให้คำแนะนำชักชวนมาใช้บริการกับสินค้า ไม่ว่าจะเป็นข้อตำหนิหรือคำบอกเล่าต่าง ๆ
เกยี่ วกับการบริการนั้น

3) ประสบการณ์ในอดีตของผู้บริโภค (Past Experience) การที่ผู้บริโภคเคยได้รับประสบการณ์ท้ัง
ตรงและทางอ้อมที่เกี่ยวกับการบริการมีอิทธิพลต่อระดับของความคาดหวังของผู้บริโภคเช่นกัน เพราะ
ประสบการณ์ในอดีตทำให้เกิดการเรียนรู้และการจดจำประสบการณ์เหล่าน้ไี ว้

4) การโฆษณาประชาสัมพันธท์ มี่ ีต่อผู้บรโิ ภค (External Communication Customer) การโฆษณา
ประชาสัมพันธ์จากองค์การผู้ให้บริการที่มีต่อผู้บรโิ ภคในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อให้เกิดภาพพจน์ที่ดี หรือเพื่อส่งเสริม
การขายล้วนมีบทบาทสำคัญต่อการสร้างความคาดหวงั ของผบู้ รโิ ภคเกี่ยวกับการบริการที่จะได้รับ

จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีจากนักวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในเชิงของเนื้อหาสาระ เกี่ยวกับ ความ
คาดหวัง ผวู้ จิ ยั ไดก้ ำหนดปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ออกเป็น 4 ด้าน ตามแนวคิดของ Turner

6 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

(1982: 349-351 อ้างถึงใน นัตติยา ภู่สละ, 2559: 29) ในการวิจัยคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร
สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร คือ ความต้องการส่วน
บุคคล การบอกเล่าแบบปากต่อปากเกี่ยวกับการบริการ ประสบการณ์ในอดีตของผู้บริโภค และการโฆษณา
ประชาสัมพนั ธท์ ม่ี ีตอ่ ผูบ้ รโิ ภค

2.3 งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง
ประยุทธ จนั ทร์พทิ ักษ์กลุ (2558: 51) วจิ ัยเรื่องระบบและกระบวนการให้บริการทะเบยี นราษฎรขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลเกาะขวาง อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี ผลการวิจัยพบว่า
ความพงึ พอใจท่ีมีต่อระบบและกระบวนการให้บริการทะเบียนราษฎรขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นเทศบาล ตำบล
เกาะขวาง อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี เรียงลำดับจากมากไปหาน้อยตามประเด็น ดังนี้ ด้านขั้นตอนการ
ให้บริการ ด้านเจ้าหนา้ ท่ี/บคุ ลากรท่ีใหบ้ รกิ าร ดา้ นคณุ ภาพของการให้บริการ ดา้ นสิง่ อำนวยความสะดวก
รัชนู ภู่วัด (2558: 58) วิจัยเรื่องคุณภาพการให้บริการงานทะเบียน ด้านทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียน
อำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพการบริการและการรับรู้ต่อคุณภาพการบริการของ
ผู้รบั บรกิ าร ดา้ นไดร้ บั บรกิ ารท่ถี กู ตอ้ ง ครบถ้วน ตามความต้องการ มนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ คี่ วามเชื่อมนั่ รอ้ ยละ 95
พรลภัส แก้ววันดี (2557: 111) วิจัยเรื่องการประเมินคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎร ตาม
มาตรฐานภาครัฐ โดยใช้ระบบการบริการประชาชนและภาคเอกชน (Services System) P.S.O.1107 ของสำนัก
ทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการประชาชนของ
สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาล ตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง ตามมาตรฐานภาครัฐ P.S.O.1107 ผู้ตอบ
แบบสอบถามเหน็ ว่าคณุ ภาพการให้บริการของสำนักงานทะเบยี นทอ้ งถิ่นเทศบาลตำบลนาแก้วตามมาตรฐานภาครัฐ
โดยใช้ระบบการบริการประชาชนและภาคเอกชน (P.S.O.1107) ในภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับมาก และเม่ือ
พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบว่า ดา้ นประสทิ ธิภาพ ผตู้ อบแบบสอบถามเห็นวา่ การให้บริการประชาชนของสำนกั ทะเบียน
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลนาแก้ว มีคุณภาพการให้บริการระดับมากที่สุด ส่วนด้านคุณภาพความทั่วถึง ความเสมอภาค
ความเปน็ ธรรม สนองตอบความต้องการ สนองตอบความพงึ พอใจ ความต่อเนอื่ ง ความสะดวกสบาย และความพร้อม
ให้บริการมกี ารประเมนิ คุณภาพการใหบ้ รกิ ารมคี ณุ ภาพอยู่ในระดับมาก
กาญจนามาส ชำนาญกิจ (2555) วิจัยเรื่องทัศนคติของผู้ใช้บริการที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและการ
สอ่ื สารแบบปากต่อปากของการให้บริการองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลหลักชา้ ง อำเภอชา้ งกลางจงั หวัดนครศรีธรรมราช
ผลการวิจัยพบว่า ์ระดับการสื่อสารแบบปากต่อปาก (การพูดเชิงบวกและการบอกต่อ) ของ ผู้ใช้บริการท่ีมีต่อการ
ให้บริการองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลหลักชา้ ง อย่างมนี ัยสำคัญทางสถติ ทิ ่รี ะดับ 0.05
ปราณี ศรเี มอื ง (2550: 78) วจิ ัยเรอ่ื งปัจจัยทม่ี อี ิทธิพลต่อประสิทธิผลของการให้บริการดา้ นทะเบียนราษฎร
ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยคุณลักษณะของผู้รับบริการ ด้าน
ประชาชนมีประสบการณ์ในการติดต่องานทะเบียนราษฎร มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของการให้บริการด้าน
ทะเบียนราษฎรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ในเขตจงั หวดั ภาคเหนือตอนล่าง อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.05

7 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

ธนภัทร สุทธินุ่น (2550: 119) วิจัยเรื่องการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาการบริการของบุคลากรใน
หน่วยงานทะเบียนราษฎร และบัตรประจำตัวประชาชนเทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการวิจยั
พบว่า การบริหารจัดการในหน่วยงานทะเบียนราษฎรและ บัตรประจำตัวประชาชน ด้านการประชาสัมพันธ์จะทำให้
การบรกิ าร ประชาชนมปี ระสิทธภิ าพ มีความแตกต่างกันอย่างมนี ยั สำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ 0.05

การวจิ ัยเร่ือง คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถ่ินเทศบาลตำบลบางปลา
อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ผู้วิจัยได้กำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยโดยใช้แนวคิดและทฤษฎีที่
เกี่ยวข้องมาประยุกต์ ได้แก่ ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ประกอบด้วย (1) การบอกเล่าจาก
บุคคลอื่น (2) ความต้องการส่วนบุคคล (3) ประสบการณ์ในอดีต (4) การโฆษณาประชาสัมพันธ์ ประยุกต์ และ
คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมือง
สมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ประกอบด้วย (1) ความเป็นรูปธรรมในการให้บริการ (2) การตอบสนองต่อ
ผู้รับบริการ (3) ความน่าเชื่อถือในการให้บรกิ าร (4) การรู้จักและเข้าใจต่อผูร้ บั บริการ (5) การให้ความเชื่อมั่นต่อ
ผรู้ ับบรกิ าร
กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

แผนภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

8 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

3. วิธีดำเนนิ การวจิ ัย

การวจิ ัยเร่ือง คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนกั ทะเบียนท้องถ่ินเทศบาลตำบลบางปลา
อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมทุ รสาคร เป็นการวจิ ยั เชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใชว้ ธิ ีการสำรวจ
(Survey Research) มีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย
ได้แก่ ประชาชนที่มาใช้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมือง
สมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม 2562 รวมทั้งสิ้นจำนวน 164 คน (เทศบาลตำบล
บางปลา., 2562)

กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรคำนวณของ Green (1991: 499-510) จำนวน 130 คน โดยใช้หลักความ
ไม่น่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) และใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Random
Sampling) โดยให้ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนของประชาชนที่มาใช้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนัก
ทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ
แบบสอบถาม แบ่งออกเป็น 4 ตอน การทดสอบคุณภาพของเครื่องมือ โดยนำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยวชาญทำการ
ตรวจสอบความเที่ยงตรงตามเนื้อหา (Content Validity) จำนวน 3 ท่าน มาหาค่าดัชนีความสอดคล้องตาม
วัตถุประสงค์แต่ละข้อ (Index of Item Objective Congruence : IOC) จากการคำนวณหาค่า IOC ครั้งนี้ ได้
เท่ากับ 1.00 และนำแบบสอบถามไปทดสอบ (Try-Out) กับบุคคลที่มีลักษณะเช่นเดียวกันกับประชากรและไม่ใช่
กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้โปรแกรม
สำเรจ็ รปู ในการคำนวณหาสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค (Cronbach’s Alpha Coefficient) ไดค้ ่าความเชื่อม่ัน
สัมประสิทธิ์แอลฟ่าของปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎรในภาพรวมทั้งฉบับมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ
0.923 และค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียน
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาครในภาพรวมทั้งฉบับมีค่าความเชื่อม่ัน
เท่ากับ 0.922

สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้ค่าร้อยละ
(Percentage) การแจกแจงความถี่ (Frequency) วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียน
ราษฎร และคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอ
เมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) วิเคราะห์
ความสัมพันธ์ของลักษณะส่วนบุคคลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่น
เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้สถิติไคสแควร์ (Chi-square test) โดย
กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และวิเคราะห์ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร มี
ความสัมพันธ์เชิงเหตุ–ผลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบล
บางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multi linear
Regression Analysis) และทดสอบความเป็นอิสระกันของความคลาดเคลื่อน คือ Durbin-Watson ซึ่งมีค่าเท่ากับ
1.5 ≤ Durbin–Watson≤2.5

9 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

4. ผลการวิจัย

1. คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา
อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวม มีคุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อ
พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีคุณภาพการใหบ้ รกิ ารอยูใ่ นระดับมาก ได้แก่ ด้านการให้ความเชื่อมัน่ ตอ่
ผู้รับบริการ ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ส่วนด้านที่มีคุณภาพการให้บริการอยูใ่ นระดับปานกลาง ได้แก่
ด้านการรู้จักและเข้าใจต่อผู้รบั บริการ ด้านความน่าเชื่อถือในการให้บริการ และด้านความเป็นรปู ธรรมในการ
ใหบ้ ริการ

2. ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมือง
สมทุ รสาคร จงั หวัดสมทุ รสาคร พบว่า ในภาพรวม มีการให้บรกิ ารอยู่ในระดับมาก เม่อื พจิ ารณาเปน็ รายด้าน พบวา่ ด้าน
ที่มีการให้บริการอยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับดังนี้ ด้านความต้องการส่วนบุคคล ด้านประสบการณ์ในอดีต ด้านการ
โฆษณาประชาสมั พนั ธ์ ส่วนด้านทมี่ ีการให้บริการอย่ใู นระดับปานกลาง ได้แก่ ดา้ นการบอกเลา่ จากบุคคลอน่ื

3. ปจั จัยในการให้บรกิ ารของงานทะเบียนราษฎร มีอิทธพิ ลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร
สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ประกอบด้วย ด้าน
ประสบการณ์ในอดีต (b=0.396) ด้านความต้องการส่วนบุคคล (b=0.217) ด้านการบอกเล่าจากบุคคลอื่น (b=0.197)
และ ดา้ นการโฆษณาประชาสมั พันธ์ (b=0.101) ตามลำดับ

ตารางที่ 1 การวเิ คราะหก์ ารถดถอยเชิงพหขุ องปจั จยั ในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร กับคุณภาพการ

ให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร

จงั หวัดสมุทรสาคร

B S.E. Beta t Sig.

(คา่ คงที่) 0.192 0.180 1.070 0.287

1. การบอกเล่าจากบุคคลอน่ื 0.197 0.057 0.227 3.455*** 0.001

2. ความตอ้ งการสว่ นบุคคล 0.217 0.072 0.241 3.018** 0.003

3. ประสบการณ์ในอดตี 0.396 0.066 0.436 6.037*** 0.000

4. การโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ 0.101 0.049 0.114 2.059* 0.042

หมายเหตุ * P  0.05 R = 0.858

** P  0.01 R2 = 0.735

*** P  0.001 R2ปรับ = 0.727

F = 86.893

ระดบั นัยสำคัญ = 0.000

Durbin-Watson = 1.912

10 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

จากตารางที่ 1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร มี
อิทธิพลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา อำเภอ
เมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ประกอบด้วย ด้านประสบการณ์ในอดีต (b=0.396) ด้านความต้องการส่วน
บุคคล (b=0.217) ด้านการบอกเล่าจากบุคคลอื่น (b=0.197) และ ด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ (b=0.101)
ตามลำดบั

จากตาราง 1 สมการมีอำนาจการพยากรณร์ ้อยละ 73.50 สามารถเขยี นสมการพยากรณไ์ ด้ดังนี้
Ŷ= b1x1 + b2x2 + b3x3 + b4x4
= 0.197 (ด้านการบอกเล่าจากบุคคลอื่น) + 0.217 (ด้านความต้องการส่วนบุคคล)
+ 0.396 (ดา้ นประสบการณใ์ นอดีต) + 0.101 (ดา้ นการโฆษณาประชาสมั พนั ธ)์
Ŷ หมายถึง คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบล
บางปลา อำเภอเมอื งสมุทรสาคร จงั หวัดสมุทรสาคร

5. สรุป อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

5.1. สรุปและอภิปรายผล
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ด้านการบอกเล่าจากบุคคลอ่ืน

ด้านประสบการณ์ในอดีต มีอิทธิพลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถ่ิน
เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 ด้าน
ความต้องการส่วนบุคคล มีอิทธิพลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถ่ิน
เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ
ดา้ นการโฆษณาประชาสัมพนั ธ์ มีอิทธิพลกบั คุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนกั ทะเบียนท้องถ่ิน
เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
สามารถอภิปรายเป็นรายด้านเรียงตามลำดับ ดังน้ี

1. การบอกเล่าจากบุคคลอื่น พบว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ด้านการบอกเล่า
จากบุคคลอื่น มอี ทิ ธิพลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถ่นิ เทศบาลตำบลบาง
ปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จงั หวัดสมุทรสาคร ดา้ นความเป็นรูปธรรมในการใหบ้ ริการ และด้านความน่าเชื่อถือใน
การให้บริการ อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ อย่างมีนัยสำคัญทาง
สถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ด้านการบอกเล่าจากบุคคลอ่ืน
เป็นสง่ิ ที่ส่งผลต่อการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร และเป็นปัจจัยท่สี ามารถนำมาสนับสนุนและส่งเสริมให้การ
ให้บริการของงานทะเบียนราษฎรมีคุณภาพตามความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี สอดคล้องกับงานวิจัย
ของ กาญจนามาส ชำนาญกิจ (2555) วจิ ัยเรื่องทศั นคติของผู้ใช้บริการทม่ี ีอิทธิพลต่อความพงึ พอใจและการ สื่อสาร
แบบปากต่อปากของการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลหลักช้าง อำเภอช้างกลางจังหวัดนครศรีธรรมราช

11 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

ผลการวิจัยพบว่า ์ระดับการสื่อสารแบบปากต่อปาก (การพูดเชิงบวกและการบอกต่อ) ของ ผู้ใช้บริการที่มีต่อการ
ใหบ้ รกิ ารองค์การบรหิ ารส่วนตำบลหลักช้าง อย่างมนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ี่ระดับ 0.05

2. ความต้องการส่วนบุคคล พบว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ด้านความ
ต้องการส่วนบุคคล มีอิทธิพลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาล
ตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ด้านการรู้จักและเข้าใจต่อผู้รับบริการ อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.01 ด้านความเป็นรูปธรรมในการให้บริการ และด้านความน่าเชื่อถือในการให้บริการ อย่างมี
นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ด้านความต้องการ
ส่วนบุคคล เป็นสิ่งที่ส่งผลต่อการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร และเป็นปัจจัยที่สามารถนำมาสนับสนุนและ
สง่ เสรมิ ใหก้ ารให้บริการของงานทะเบียนราษฎรมีคุณภาพตามความต้องการของประชาชนได้เปน็ อย่างดี สอดคล้อง
กับงานวิจัยของ รัชนู ภู่วัด (2558: 58) วิจัยเรื่องคุณภาพการให้บริการงานทะเบียน ด้านทะเบียนราษฎร สำนัก
ทะเบียนอำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพการบริการและการรับรู้ต่อคุณภาพการ
บริการของผู้รับบริการ ด้านได้รับบริการที่ถูกต้อง ครบถ้วน ตามความต้องการ มีนัยสำคัญทางสถิติที่ความเชื่อม่ัน
รอ้ ยละ 95

3. ประสบการณ์ในอดีต พบวา่ ปจั จัยในการให้บริการของงานทะเบยี นราษฎร ด้านประสบการณ์
ในอดีต มีอิทธิพลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาลตำบลบางปลา
อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร ด้านการตอบสนองต่อผู้รับบริการ ด้านความน่าเชื่อถือในการให้บริการ
ด้านการรูจ้ ักและเข้าใจต่อผูร้ ับบริการ และดา้ นการให้ความเชื่อมั่นต่อผรู้ บั บริการ อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติท่ีระดับ
0.001 แสดงให้เห็นว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ด้านประสบการณ์ในอดีต เป็นสิ่งที่ส่งผลต่อ
การให้บริการของงานทะเบียนราษฎร และเปน็ ปัจจัยที่สามารถนำมาสนับสนุนและส่งเสริมให้การให้บริการของงาน
ทะเบยี นราษฎรมีคุณภาพตามความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี สอดคล้องกับงานวิจัยของ ปราณี ศรีเมือง
(2550: 78) วจิ ยั เรอื่ งปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการให้บริการด้านทะเบียนราษฎรดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์
ในเขตจงั หวัดภาคเหนือตอนล่าง ผลการวจิ ยั พบว่า ปจั จยั คณุ ลกั ษณะของผู้รับบริการ ด้านประชาชนมีประสบการณ์
ในการติดต่องานทะเบียนราษฎร มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของการให้บริการด้านทะเบียนราษฎรด้วยระบบ
คอมพวิ เตอร์ในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง อย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ิท่ีระดับ 0.05

4. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ พบว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ด้านการ
โฆษณาประชาสัมพันธ์ มีอิทธิพลกับคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาล
ตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จงั หวดั สมทุ รสาคร ดา้ นความเป็นรูปธรรมในการให้บริการ อย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ 0.001 และด้านความน่าเชื่อถือในการให้บริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้
เห็นว่า ปัจจัยในการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร ด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ เป็นสิ่งที่ส่งผลต่อการ
ให้บริการของงานทะเบียนราษฎร และเป็นปัจจัยที่สามารถนำมาสนับสนุนและส่งเสริมให้การให้บริการของงาน
ทะเบียนราษฎรมีคุณภาพตามความต้องการของประชาชนได้เป็นอย่างดี สอดคล้องกับงานวิจัยของ ธนภัทร สุทธิ
นุ่น (2550: 119) วิจัยเรอ่ื งการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมพัฒนาการบริการของบุคลากรในหน่วยงานทะเบียนราษฎร

12 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

และบัตรประจำตัวประชาชนเทศบาลเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการวิจัยพบว่า การบริหารจัดการ
ในหนว่ ยงานทะเบียนราษฎรและ บตั รประจำตัวประชาชน ด้านการประชาสัมพันธ์จะทำให้การบริการ ประชาชนมี
ประสทิ ธภิ าพ มีความแตกต่างกันอย่างมีนยั สำคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05

5.2 ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
1. ควรมีการแจ้งเกี่ยวกับเอกสารหลักฐานต่างๆ ที่ใช้ในการติดต่องานทะเบียนราษฎร เช่น การ

ย้ายที่อยู่ มีกี่วิธีและต้องใช้เอกสารอะไรบ้าง ใครเป็นผู้มีสิทธิ์มาดำเนินการ เป็นต้น โดยแจ้งข้อมูลข่าวสาร
ต่าง ๆ ผ่านสือ่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เชน่ เว็บไซต์ของเทศบาลฯ การสง่ ขอ้ ความผา่ นกลมุ่ ไลน์ เปน็ ตน้

2. ควรมีการกำหนดนโยบายการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถ่ิน
เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาครให้ชัดเจน โดยเน้นที่ผลลัพธ์การบริการ
สร้างความพึงพอใจแก่ผู้รับบริการ และทำการสอบถามประชาชนที่มารับบริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อนำผลท่ี
ไดม้ าปรบั ปรุงแกไ้ ขให้ดขี ึน้

5.3 ข้อเสนอแนะเพ่อื การวจิ ัยในครงั้ ตอ่ ไป
1. ควรทำการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถ่ิน

เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยวัดความพึงพอใจก่อนและหลังบริการของ
ผ้ใู ช้บริการ

2. ควรทำการศึกษาการพัฒนาคุณภาพการให้บริการของงานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่น
เทศบาลตำบลบางปลา อำเภอเมืองสมุทรสาคร จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้ปัจจัยอื่น ๆ ที่คาดว่าจะทำให้การ
ให้บริการของงานทะเบียนราษฎรมีประสิทธิภาพ เช่น การนำนวัตกรรม เทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และการ
สนับสนุน จากภาครัฐ ตามแนวทางของนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มาเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการให้บริการของงาน
ทะเบยี นราษฎรในการวิจัยครั้งต่อไป

เอกสารอ้างองิ

กาญจนามาส ชำนาญกจิ (2555). ทศั นคติของผ้ใู ช้บรกิ ารท่มี ีอทิ ธพิ ลตอ่ ความพึงพอใจและการสื่อสารแบบปาก
ต่อปากของการใหบ้ รกิ ารองค์การบริหารส่วนตำบลหลักช้าง อำเภอช้างกลาง จังหวัดนครศรีธรรมราช.
วารสารการจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน, 19(1), 1-35.

เทศบาลตำบลบางปลา. (2562). งานทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนท้องถิ่น เทศบาลตำบลบางปลา.
เทศบาลตำบลบางปลา.

13 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

ธนภัทร สทุ ธนิ ุ่น. (2550). การพฒั นาหลกั สตู รฝกึ อบรมพัฒนาการบริการของบุคลากรในหนว่ ยงานทะเบียน
ราษฎร และบตั รประจำตัวประชาชนเทศบาลเมืองสรุ าษฎร์ธานี จงั หวดั สุราษฎร์ธาน.ี วทิ ยานิพนธ์
ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

นัตติยา ภู่สละ. (2559). ความคาดหวังในการส่งมอบที่รวดเร็ว ประสบการณ์การใช้บริการ ความคาดหวัง
ในประสิทธิภาพ ความกังวลต่อเทคโนโลยี การใช้งานจริง และความน่าเชื่อถือที่มีผลต่อการ
ตัดสินใจใช้บริการเครื่องรับชำระเงินอัตโนมัติของผู้บริโภคในจังหวัดสระบุรี. การค้นคว้าอิสระ
บริหารธุรกิจมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั กรงุ เทพ.

นิดา โฆวงศ์ประเสริฐ. (2556). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการเข้ารับบริการงานทะเบียนราษฎร
กรณีศึกษา:ที่ว่าการอำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร
มหาบณั ฑติ . มหาวิทยาลัยนอรท์ กรงุ เทพ.

ประยุทธ จันทร์พิทักษ์กุล. (2558). ระบบและกระบวนการให้บริการทะเบียนราษฎรขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถนิ่ : กรณศี ึกษาเทศบาลตำบลเกาะขวาง อำเภอเมืองจันทบรุ ี จังหวดั จนั ทบรุ ี. ภาคนิพนธ์
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏรำไพพรรณ.ี

ปราณี ศรีเมือง. (2550). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลของการใหบ้ ริการด้านทะเบียนราษฎรด้วยระบบ
คอมพิวเตอร์ในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต.
มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช.

พรลภัส แก้ววันดี. (2557). การประเมินคุณภาพการให้บริการงานทะเบียนราษฎร ตามมาตรฐานภาครัฐ โดย
ใช้ระบบการบริการประชาชนและภาคเอกชน (Services System) P.S.O.1107 ของสำนักทะเบียน
ท้องถิ่นเทศบาลตำบลนาแก้ว อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
2(2), 105-113.

รัชนู ภู่วัด. (2558). คุณภาพการให้บริการงานทะเบียน ด้านทะเบียนราษฎร สำนักทะเบียนอำเภอเมือง
ชยั นาท จงั หวัดชยั นาท. การศึกษาคน้ คว้าบริหารธุรกจิ มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยสโุ ขทยัธรรมาธริ าช.

ลัชชมณต์ กระจ่าง. (2561). การพัฒนาคุณภาพการบริการงานทะเบียนราษฎรของเทศบาลนครภูเก็ต.
วทิ ยานิพนธร์ ฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู ก็ต.

Parasurama, A., Zeithaml, V. A. & Berry. L. L. (1988). SERVQUAL: A multiple item scale for
measuring consumer perceptions of service quality. Journal of Marketing 64 (15),
12-40.

Green, S. B. (1991). How Many Subjects Dose It Take to Do a Regression Analysis? .Multivariate
Behavioral Research, 26(3), 499-510.

Turner, J. C. (1982). Towards a cognitive redefinition of the social group. Cambridge,
England: Cambridge University.

14 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

ประสิทธิผลการบริหารจดั การองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี
Effective Management of Subdistrict Administrative Organization (SAO)

in Nonthaburi Province

พภัสสรณ์ วรภัทรถ์ ริ ะกุล*
(Paphatsorn Woraphatthirakul)

บทคัดย่อ

บทความวิจัยฉบับน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันในการบริหารจัดการองค์การบริหาร
ส่วนตำบลในจังหวัดนนทบรุ ี 2) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคทีม่ ีต่อประสทิ ธิผลการบริหารจัดการองค์การบรหิ าร
ส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี และ3)เพื่อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลใน
จังหวัดนนทบุรี ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ประกอบด้วย
นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วน
ตำบล ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน ผู้นำชุมชนและประชาชน รวมทั้งสิ้น 36 คน แล้ว
พรรณนาหาข้อสรปุ อยา่ งเปน็ ระบบมีเหตุผลอา้ งอิงทฤษฎดี ำเนนิ การจดั ระเบยี บข้อมูล

ผลการวิจยั พบว่า
1) สภาพปัจจุบันในการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบล มีผลมาจากสภาพทางสังคม
เศรษฐกจิ กจิ การเมอื ง และเทคโนโลยี เป็นบทสะท้อนประสิทธิผลการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบล
ในจังหวัดนนทบุรี
2) ปัญหาและอุปสรรคในเรื่องกฎระเบียบ ขอ้ บงั คบั กลุม่ ผลประโยชน์ สภาพแวดลอ้ มทางการเมืองใน
ระดับท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นปัญหาที่คงอยู่ในระดับท้องถิ่นที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการ
บริหารจดั การองคก์ ารบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบรุ ี

*อาจารยป์ ระจำหลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลยั เวสเทริ ์น 12150
Lecturer of Master of Public Administration Graduate School, Western University 12150
Corresponding author: [email protected]

15 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

3) แนวทางการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี โดยอิงสิ่งที่ค้นพบจากการ
วิจัยดังต่อไปนี้ 3.1) การกำหนดขนาดที่เหมาะสมกับสภาพพื้นท่ี 3.2) การจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมกับ
ขนาดและภารกิจ 3.3) การส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมที่เหมาะสมกับการบริหารงานขององค์การ
บริหารส่วนตำบล และ 3.4) การกำหนดแนวทางการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการดำเนินงานอย่างมี
ผลสัมฤทธิ์เชิงประจักษ์ภายใต้แนวนโยบายและแผนยุทธศาสตร์ที่ได้วางไว้อย่างชัดเจนตามแนวทางหลักการ
บรหิ ารกจิ การบ้านเมืองที่ดี

คำสำคญั : ประสทิ ธผิ ล การบริหารจดั การองคก์ าร องค์การบริหารส่วนตำบล

ABSTRACT

The objectives of this article aimed to: 1) study the current situation in the effective
management of the SAO in Nonthaburi province; 2) study problems and obstacles affecting
the effective of the administration of the SAO in Nonthaburi province; and 3) suggest guidelines
for the management of the SAO in Nonthaburi province. Qualitative research were used by in-
depth interview from 36 key informants consisting of the chief executive of the SAO, chairman
of the SAO council, secretary of the SAO council, chief administrator of the SAO, officers,
community leaders and people; then describe and draw conclusions systematically, rationally,
refer to the theory of data organization.

The results indicated that:
1) the current state in the management of the SAO is a result of social, economic,
political and technological conditions, which reflect the effective of the SAO in Nonthaburi
province;
2) problems and obstacles in rules, regulations, interest groups, the local political
environment and public participation are persistent problems at the local level that affect the
effective of the SAO in the Nonthaburi province.
3) guidelines for the management of the SAO in Nonthaburi province based on the
findings from the following research. There are; 3.1) determining the right size for the space
conditions; 3.2) budget allocation to be appropriate for size and mission; 3.3) encouraging
people to participate appropriately in the administration of the SAO; and 3.4) determining
guidelines for monitoring, auditing and evaluating performance with empirical results under

16 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

the policies and strategic plans that have been clearly laid out in accordance with the Good
Governance principles.

Keywords: effective, management, subdistrict administrative organization

Article history: Received 24 May 2021
Revised 10 August 2021
Accepted 19 August 2021
SIMILARITY INDEX = 1.32 %

1. บทนำ

จากสภาพสังคมปัจจุบนั เปน็ ยุคเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารสนเทศ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ทั้งทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันเป็นผลมาจากการพัฒนาเทคโนโลยี
สารสนเทศ และการปรบั เปล่ยี นโครงสร้างทางเศรษฐกจิ การเมอื งมีผลทาํ ให้ประเทศต่างๆ ในโลกตอ้ งพึ่งพาซ่ึง
กันและกันมีความเชอื่ มโยงระหว่างกนั มากขึน้ ดังนั้นบุคคลหรอื คณะบุคคลจะรับตำแหน่งเป็นผปู้ กครองจะต้อง
ได้รับความเห็นชอบจากประชาชน นโยบายในการปกครองประเทศจะต้องสอดคล้องกับความต้องการของ
ประชาชนส่วนใหญ่การที่จะเปน็ ประชาธิปไตยท่ีแท้จริงนัน้ ต้องเป็นการปกครองแบบนี้จึงเป็นการปกครองของ
ประชาชนโดยประชาชน และเพ่อื ประชาชน (ปัณณธร เธียรชัยพฤกษ์, 2561)

การบริหารราชการแผน่ ดินของประเทศไทยตามพระราชบัญญัตริ ะเบียบบรหิ าร ราชการแผ่นดิน พ.ศ.
2534 แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2553 กำหนดให้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินออกเป็น 3 ส่วน
ไดแ้ ก่ บรหิ ารราชการสว่ นกลาง สว่ นภูมิภาค และสว่ นทอ้ งถิ่น โดยการบริหารราชการส่วนท้องถ่ินในปัจจุบันมี
4 รูปแบบประกอบไปด้วย (1)องค์การบริหารส่วนจังหวัด (2)เทศบาล (3)องค์การบริหารส่วนตำบล และ
(4)ราชการบริหารส่วนท้องถิ่นอื่นตามที่กฎหมายกำหนดประกอบด้วยกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา
(ธนศิ ร ยนื ยง, 2561) ซง่ึ จากสภาพปญั หาสถานการณป์ ัจจุบันในการบริหารงานองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ มกั
ปรากฏข่าวในทางลบถูกจับตามองและถูกวิพากษ์วิจารณ์จากสังคมภายนอกเป็นอย่างมากว่ามีการทุจริต
คอร์รัปช่ันเกิดความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างระบบการตรวจสอบไม่ท่ัวถึง การขาดการประชาสัมพันธ์
ข้อมูลข่าวสารขาดคุณธรรมและจริยธรรม ซ่ึงไม่เป็นผลดีอีกท้ังยังมีผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถนิ่ และการกระจายอำนาจสู่ทอ้ งถิ่นทั้งในแง่ของภารกิจงบประมาณและบุคลากรของท้องถิ่น
อยู่ไม่นอ้ ยน่ันหมายความว่าการถ่ายโอนภารกจิ และงบประมาณให้กับองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นเพือ่ ให้ดำเนิน
ภารกิจกำลังถกู ทา้ ทายความสามารถในเชิงการบรหิ ารจัดการให้มคี วามน่าเชื่อถือและความโปร่งใส รวมทั้งเป็น
บทสะท้อนสภาพการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (กิตต์ระวี เลขากุล, 2561) โดยมีปัญหาหลายๆ
ปัจจัยหลายด้านอันสืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงบริบทหรือสภาพแวดล้อมขององค์การทั้งปัญหาภายใน

17 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

องค์การและปัญหาภายนอกองค์การที่มีความซับซ้อนซึ่งองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นหลายประการ เช่น
ผู้บริหารและพนกั งาน ขาดความรู้ความสามารถ การมรี ายไดไ้ มเ่ พียงพอใน การบรหิ ารงานตลอดจนประชาชน
ขาดความเข้าใจ ขาดการมีสว่ นรว่ มตลอดจนการใชร้ ะบบอุปถัมภ์ในการสรรหาลูกจ้างเขา้ มาปฏิบัติงานเป็นต้น
(วุฒิสาร ตันไชย, 2557) โดยปัญหาเหล่านี้พบมากในองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีพื้นที่ในสังคมเมืองหรือ
สังคมชนบทกึ่งสังคมเมือง เนือ่ งจากประชาชนเองก็ไมส่ นใจและไม่มคี วามชัดเจนในอำนาจหน้าท่ีทางกฎหมาย
ส่วนใหญ่จึงเพิกเฉยและละเลยต่อการตรวจสอบและเฝ้าระวังการบริหารจัดการขององค์การปกครองส่วน
ท้องถิ่นที่จะมีผลกระทบทางตรงและทางอ้อมต่อความเป็นอยู่ของคนในชุมชนนั้นเอง ดังนั้นการสร้างการ
บรหิ ารกจิ การบ้านเมืองที่ดีและความโปร่งใสในองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จงึ เป็นเป้าหมายสำคญั เพ่ือส่งเสริม
ให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินมีการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองที่ดีโดยเฉพาะการมุ่งให้ประชาชน และภาคประชา
สังคมเข้ามามีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังตรวจสอบการทุจริตคอร์รัปช่ันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างมี
ประสิทธิภาพ (โกวิทย์ พวงงาม, 2558) ซึ่งจากภารกิจต่างๆ จำนวนมากที่กฎหมายกำหนดซึ่งในปัจจุบันมี
ปญั หาในหลายๆ ด้าน เช่น ปัญหาการบรหิ ารงานบุคคล ปญั หาการขาดแคลนบุคลากร สำหรบั ปัญหาใหญ่เป็น
อันดับหนึ่งคือปัญหาด้านความโปร่งใสในการบริหารจัดการหรือการเกิดการทุจริตในการใช้งบประมาณในการ
พัฒนาทอ้ งถ่ินโดยปัญหาการคอรร์ ัปชนั่ โดยปัญหาบางส่วนเกิดจากระบบอุปถัมภซ์ ึ่งเปน็ เรื่องท่ยี ากแก่การแก้ไข
ซึ่งจากให้อิสระในการบริหารงานบุคคลดังกล่าวทำให้มีผู้บริหารท้องถิ่นหรือข้าราชการพนักงานขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นมีการใช้อำนาจในการดำเนินการสั่งการออกคำสั่งเกี่ยวข้องกับการบริหารงานบุคคลของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามดุลยพินิจซึ่งเป็นการเปิดช่องทางแสวงหาประโยชน์จากกระบวนการต่างๆ ใน
การบริหารงานบุคคลตั้งแต่กระบวนการวางแผนกาหนดอัตรากำลังการกำหนดตำแหน่งการสรรหาและการ
คัดเลือก การบรรจุแต่งตั้ง การประเมินผลการปฏิบัติงาน การให้คุณให้โทษซึ่งในกระบวนการดังกล่าวยากต่อ
การตรวจสอบการกระทำการทุจริตของผู้บริหารท้องถิ่นเนื่องจากเป็นการกระทำในลักษณะการแลกเปลี่ยน
ผลประโยชน์หรอื ประโยชน์ตอบแทน (ศุภวฒั นากร วงศ์ธนวสุ และคณะ 2557)

ดงั น้ันจากความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา ผวู้ ิจัยจงึ มีความสนใจในการวจิ ยั เรอ่ื ง “ประสทิ ธิผล
การบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี” โดยเป็นการศึกษาในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1)
ด้านปัจจัยภายในองค์กร ได้แก่ โครงสร้างองค์กร คือตัวกำหนดพฤติกรรมของคนในองค์กร 2) ด้านปัจจัย
ภายนอกองค์กร ได้แก่ สภาวะการเปลี่ยนแปลงในยุคไทยแลนด์ 4.0 ที่ประเทศไทยต้องเผชิญกับการ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วด้วยเทคโนโลยี และนวัตกรรม ในการดำเนินงานขององค์กรมีการนำหลักธรรมาภิ
บาลหรือหลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีมาใช้ในการบริหารจัดการการบริหารงานองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นในจังหวัดนนทบุรี เพื่อไปสู่การบริหารจดัการที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุดสู่ความยั่งยืน
ต่อไป

18 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพอ่ื ศกึ ษาสภาพปจั จบุ ันในการบริหารจดั การองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบรุ ี
2. เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลใน

จงั หวัดนนทบุรี
3. เพอื่ เสนอแนะแนวทางการบรหิ ารจัดการองค์การบรหิ ารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบรุ ี

2. เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

1. การบริหารจัดการท้องถ่ินของประเทศไทย
การบริหารจัดการท้องถิ่นเป็นแนวคิดทางการบริหารจัดการที่ประกอบด้วยแนวคิดความเป็น
ประชาธปิ ไตยการกระจายอำนาจและการบรหิ ารจดั การ (SNV Netherlands Development Organization,
SNV East and Southern Africa, 2004; นันธิดา จันทร์ศิริ, 2558) โดยแนวคิดความเป็นประชาธิปไตยเป็น
แนวคิดที่มุ่งสร้างและพัฒนากระบวนการเปลี่ยนแปลงระบอบการปกครองที่ไม่มีความเป็นประชาธิปไตยไปสู่
การปกครองแบบประชาธิปไตยอย่างเป็นกระบวนการ (Powell, Jr. & Powell, 2005) ทำให้เกิดความเป็น
อิสระมากกว่าการมีส่วนร่วมแต่จะมีความเป็นอิสระน้อยกว่าการเป็นสังคมของผู้มีอำนาจโดยชอบธรรม และ
เป็นกระบวนการเปล่ียนแปลงทางการเมอื งทีน่ ำไปสูร่ ะบบการเมือง ซงึ่ ทำให้แตล่ ะสังคมเปน็ ระบบการปกครอง
ที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมทางการเมือง (Samarasinghe, 1994) ซึ่งแตกต่างจากหลักประชาธิปไตยที่ของ
ประชาชนเสรภี าพเสยี งข้างมากและนิติธรรม (บูฆอรี ยหี มะ, 2552; วศิ าล ศรีมหาวโร, 2556)
ส่วนแนวคิดการกระจายอำนาจ คือ แนวคิดการโอนหรือขยายการบริการสาธารณะบางเรื่องจากรัฐ
หรือองค์กรภาครัฐสว่ นกลางไปให้ชุมชนในทอ้ งถิน่ ตา่ ง ๆ ซึ่งอาจเป็นการกระจายอำนาจทางพื้นที่การกระจาย
อำนาจทางหน้าที่ (Cramer & Persaud, 2004; นันธิดา จันทร์ศิริ, 2558 ; บูฆอรี ยีหมะ, 2555; ติน ปรัชญ
พฤทธิ์, 2535; วุฒิสาร ตันไชย, 2557) การกระจายอำนาจการเมืองการกระจายอำนาจการบริหารหรือการ
กระจายอำนาจการคลัง (Schneider, 2003; White, 2011)
ขณะที่แนวคิดการบริหารจัดการเป็นแนวคิดทางการบริหารที่รวมแนวคิด การจัดการภาครัฐและ
นโยบายสาธารณะเข้าดว้ ยกนั (รชั ยา ภักดจี ติ ต์, 2557; ประโยชน์ สง่ กลิน่ , 2556; นันธดิ า จนั ทรศ์ ริ ิ, 2558)

2. ปัญหาการปกครองทอ้ งถนิ่ ของประเทศไทย
ผลการศึกษาของวุฒิสาร ตันไชย (2557) แสดงให้เห็นปัญหาการบริการสาธารณะระดับท้องถิ่นของ
ประเทศไทยที่เกดิ จากการปกครองท้องถ่นิ หลายประเดน็ ซ่ึงสามารถสรุปได้ ดังน้ี
2.1) ปัญหาการมีส่วนร่วมในภาคประชาชน มีสาเหตุมาจากการขาดความรู้ความเข้าใจ และความ
สนใจของประชาชนต่อการปกครองท้องถนิ่ แม้วา่ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยฉบบั ปี พ.ศ. 2540 (2540)
ฉบับปี พ.ศ. 2550 (2550) และฉบับปี พ.ศ. 2560 (2560) จะมีบทบัญญัติเรื่องสิทธิการมีส่วนร่วมของภาค
ประชาชนและภาคส่วนอนื่ ๆ

19 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

2.2) ปัญหาการถ่ายโอนอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเรื่องแผนการกระจายอำนาจให้แก่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (2544) เรื่องแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น (2548) และเรื่องการบังคับใช้แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจใหแ้ ก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ฉบับที่ 2) (2551) ซึ่งถูกกำหนดโดยอำนาจของพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจ
ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 (2542) และฉบับที่ 2 (2550) เป็นการกระจายอำนาจที่ล่าช้า
และไม่สอดคล้องกับศักยภาพและความพรอ้ มทางการบริหารจดั การบริการสาธารณะขององค์กรปกครองสว่ น
ทอ้ งถ่นิ

2.3) ปญั หาการร่วมมือจัดบริการสาธารณะระหว่างองค์กรภาครฐั สว่ นกลางองค์กรภาครฐั ส่วนภูมิภาค
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งพบว่า การร่วมมือจัดบริการสาธารณะระหว่างองค์กรภาครัฐส่วนกลางกบั
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังขาดการบูรณาการระหว่างแผนการกระจายอำนาจกับทิศทางการปฏิรูประบบ
บรหิ ารราชการแผ่นดินทั้งระบบมีการจัดต้ังองค์กรเพื่อความรว่ มมือระหวา่ งองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการ
ออกข้อบัญญัติท้องถิ่น การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น การบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น การเงินการคลังและ
การให้เงินอุดหนนุ รวมถึงการควบคมุ องค์กร ความร่วมมือระหวา่ งองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน จากการศึกษา
ทบทวนวรรณกรรมและผลงานวจิ ัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง โดยสามารถเขียนเป็นระบบได้ดังต่อไปนี้

20 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

กรอบแนวคิดในการวจิ ัย หลักธรรมาภิบาลหรือหลักการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดีในการบริหารงานองค์กรปกครองส่วน
การบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลใน ทอ้ งถน่ิ ไดแ้ ก่
จงั หวัดนนทบุรี ไดแ้ ก่
1) หลกั ประสทิ ธิภาพ
- กลยุทธ์องคก์ าร 2) หลักประสทิ ธิผล
3) หลกั การตอบสนอง
- โครงสรา้ งองคก์ าร 4) หลกั ภาระรับผิดชอบ
5) หลักความโปรง่ ใส
- กระบวนการและเทคโนโลยี 6) หลักนิติธรรม
- บคุ ลากร/ทรพั ยากรมนุษย์ 7) หลักความเสมอภาค
- สมรรถนะ/ความสามารถทางการบริหาร 8) หลักการมีสว่ นร่วม
- ภาวะผ้นู ำ 9) หลกั การกระจายอำนาจ
- วฒั นธรรมองค์การ 10) หลักคุณธรรม
- ทรพั ยากรการบรหิ าร
- การมีสว่ นรว่ ม
- การจัดหาและการจัดสรรทรัพยากร
- การจัดหาทรัพยากร
- การจัดสรรทรพั ยากร
- กระบวนการภายใน
- ความสามารถในการสรา้ งความพงึ พอใจ

ปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อประสิทธิผลการ ประสิทธิผลการบริหารจัดการ
บริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัด
นนทบุรี ได้แก่ นนทบุรี ได้แก่

- กฎ ระเบยี บ ข้อบงั คับ 1) ด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐาน
2) ด้านการสง่ เสริมคณุ ภาพชวี ิต
- กลุ่มผลประโยชน์ 3) ด้านการจัดระเบียบสงั คม
4) ด้านการสงเสรมิ การคาและการท่องเท่ียว
- สภาพแวดล้อมทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง 5) ด้านการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และเทคโนโลยี 6) ด้านศิลปวฒั นธรรม
7) ด้านการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์
- อทิ ธทิ างการเมอื งในระดับทอ้ งถิ่นแทรกแซง

แผนภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย
21 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

3. วธิ ดี ำเนนิ การวจิ ัย

การวจิ ยั ครั้งนี้เป็นการวิจยั เชงิ คณุ ภาพ (Qualitative Research) โดยมีวิธีดำเนินการวิจยั ดังน้ี
1. ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบล
เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล เจ้าหน้าทีป่ ฏิบัติงาน และผู้นำชุมชน
และประชาชนในพ้ืนที่องค์การบริหารส่วนตำบล โดยกำหนดพื้นที่ศึกษา (purposive sampling) เป็นตัวแทน
ในการศึกษา จำนวน 6 แห่งโดยเลือกตัวแทนแห่งละ 2 คนจากกลุ่มตัวอย่าง 3 กลุ่ม รวมท้ังสิ้น 36 คน โดย
วธิ กี ารคดั เลือกแบบเจาะจง (purposive random sampling)

2. เครื่องมอื ในการวิจัยและการสรา้ งเคร่อื งมือในการวิจยั ดงั น้ี
2.1 เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (in-depth interview) โดยผู้วิจัยได้ทำการศึกษา
ค้นคว้า ตำรา เอกสาร บทความและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง และวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อใช้เป็นแนวทางใน
การสรา้ งแบบสมั ภาษณ์
2.2 พัฒนาเคร่ืองมือการวิจัยจากวรรณกรรมทเี่ ก่ยี วข้องเพื่อใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
2.3 นำแบบสัมภาษณ์ที่สรา้ งเสรจ็ แล้ว เสนอผู้ทรงคุณวุฒินำข้อเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไข แล้วนำมา
ปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหส้ มบูรณแ์ ลว้ จึงนำไปจดั พมิ พเ์ ปน็ เคร่ืองมือเพอื่ ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูลตอ่ ไป

3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล ผ้วู จิ ัยได้ติดตอ่ กลุม่ ผู้ใหข้ ้อสำคัญทใี่ ช้ในการศึกษาใช้วิธกี ารสมั ภาษณ์แบบมี
โครงสรา้ งทวี่ ิจยั ได้เตรียมคำถามไว้ โดยดำเนินการตามข้ันตอนสำคัญ ดงั ตอ่ ไปน้ี

3.1 การนัดหมายและกำหนดวันสัมภาษณ์ ผู้วิจัยทำการประสานกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก (key
informants) โดยชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงคข์ องการวจิ ยั และกำหนดสมั ภาษณ์

3.2 การแนะนำตัวและการสรา้ งความสัมพันธ์ ก่อนการสัมภาษณ์ผู้วิจัยแนะนำตัว ชี้แจงวัตถุประสงค์
ของการสัมภาษณ์ และชี้แจงก่อนสัมภาษณ์ถึงข้อมูลที่ได้จากผู้ให้สัมภาษณ์จะเป็นความลับไม่เปิดเผยรายช่ือ
ผใู้ หส้ มั ภาษณ์ โดยจะใช้เวลาในการสมั ภาษณ์ประมาณ 30-60 นาที

3.3 การสัมภาษณ์ ผวู้ จิ ยั จะถามคำถามทลี ะข้อตามแบบสัมภาษณ์ครบทุกด้าน และผวู้ ิจัยจะใช้คำถาม
เพม่ิ เตมิ ในประเดน็ ทยี่ ังขาดอยู่

3.4 การยุติสัมภาษณ์ ผู้วิจัยกล่าวขอบคุณผู้ให้สัมภาษณ์ และอาจนัดหมายสัมภาษณ์เพิ่มเติมทาง
โทรศัพท์เพื่อให้ครอบคลมุ ตามประเด็นทศ่ี ึกษา

4. การพิทักษ์สิทธิผู้ให้ข้อมูล การพิทักษ์สิทธิผู้ให้ข้อมูลในการวิจัยเชิงคุณภาพนั้น เพื่อให้ผู้ให้ข้อมูล
เกิดความไว้วางใจทำให้ได้ข้อมูลที่มีความน่าเชื่อถือมากที่สุด เพื่อเป็นการเก็บรักษาความลับความปลอดภัย
คำถามที่ใช้ต้องไม่คุกคามอารมณ์ ความรู้สึก และ เคารพสิทธิของผู้ให้ ผู้วิจัยจึงทำการพิทักษ์สิทธิของผู้ให้
ข้อมลู

22 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

5. การตรวจสอบข้อมูล สำหรับการตรวจสอบความเที่ยงตรงของข้อมูล ใช้วิธีการตรวจสอบข้อมูล
แบบสามเสา้ (Data Triangulation) คอื การแสวงหาความเชอื่ ถือไดข้ องข้อมูลจากแหล่งทีแ่ ตกตา่ งกนั (สุภางค์
จนั ทวานิช, 2556) ซึ่งผวู้ ิจัยได้ใชว้ ิธีการตรวจสอบสามเสา้ (Triangulation)

6. วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผู้วิจัยได้ขออนุญาต
ผู้ให้ข้อมูลในการบันทึกเสียงขณะสัมภาษณ์เมื่อเสร็จสิ้นแล้ว ได้นำมาถอดความแบบคำต่อคำ และจัดกลุ่ม
ประเด็นเนื้อหาให้สอดคล้องกับคำถามตาม วัตถุประสงค์การวิจัย แล้วนำมาวิเคราะห์เนื้อหาให้สอดคล้องกับ
แนวคิดทฤษฎีที่เลือกใช้เพื่อ นำเสนอข้อมูลในรูปแบบพรรณนา (บุษกร เชี่ยวจินดากานต์, 2561) ในขั้นตอน
การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูว้ จิ ยั มีกระบวนการดำเนินดังน้ี

6.1 อ่านทำความเข้าใจและจับประเด็นหลัก จากการจดบันทึกข้อมูลภาคสนาม ที่มาจากการสังเกต
การสนทนาอย่างไม่เป็นทางการ การลงภาคสนามในแต่ละคร้ัง เพื่อนำประเดน็ ที่ได้จากท้ังสองวิธีมาเป็นข้อมูล
ประกอบในการเขียนวิเคราะห์ขอ้ มลู

6.2 ถอดเทปการสมั ภาษณ์เชิงลกึ จากเคร่ืองบันทกึ เสยี ง ผู้ศึกษาทำการถอดเทป อย่างละเอียดแบบคำ
ต่อคำ หลังจากถอดเทปเสร็จ จำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้ศึกษาจะต้องใช้เวลาในการ นั่งอ่านบทสนทนาจากการ
สัมภาษณเ์ ชิงลึก เพอื่ ทบทวนประเด็นการสนทนาและทำความเข้าใจ เรื่องราวของผ้ใู หข้ ้อมลู แตล่ ะบคุ คล

6.3 มองหาข้อมูลที่มีความหมายเหมือนกันของข้อมูลแต่ละชุด แยกแยะข้อมูล ของแต่ละบุคคล
จากนน้ั จัดกลุม่ ขอ้ มูลตามประเด็นหลกั ทตี่ ้งั ไว้

6.4 นำข้อมูลที่ได้จากการการสังเกต การสนทนาอย่างไม่เป็นทางการมาประกอบ กับข้อมูลที่ได้จาก
การสัมภาษณ์เชิงลึก ที่ผ่านการจัดกลุ่มข้อมูลเรียบร้อยแล้ว เพื่อนำมาวิเคราะห์ ตีความให้มีความเชื่อมโยงกับ
แนวคิด ทฤษฎีที่นำมาใช้ในบททบทวนวรรณกรรมพร้อมทั้งให้มี ความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์คำถามการ
วจิ ยั ในการศกึ ษา

4. ผลการวิจยั

1. สภาพปัจจุบันในการบรหิ ารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบรุ ี โดยสรปุ วา่
1.1) ขนาดขององค์การบริหารส่วนตำบล มีผลกระทบกับเรื่องรายได้และการพัฒนา ซึ่งพบว่าขนาด
เล็กจะมรี ายได้น้อยจึงมีงบประมาณและบุคลากรตามกรอบอัตรากำลังก็น้อยไมเ่ พยี งพอต่อการบริหารงานและ
พัฒนาพ้ืนที่ได้ไม่ท่ัว ถึง ซึ่งขณะที่ขนาดใหญ่เกินไปก็มีผลให้การปกครองยากและการบริการไม่ท่ัวถึง โดยมี
สาเหตุมาจากจำนวนประชากรมาก พรอ้ มทง้ั มีประชากรแฝงโดยเฉพาะชมุ ชนเมืองหรือใหญเ่ พราะมีพื้นที่มากก็
อาจมีรายได้ไม่เพียงพอต่อการพัฒนาหรือกระจายการพัฒนาไม่ทั่วถึง จึงควรกำหนดโครงสร้างของขนาดและ
หนว่ ยงาน รวมถึงบุคลากรให้มคี วามเหมาะสมกับสภาพพ้ืนท่ีและจัดสรรงบประมาณให้เหมาะสมกับขนาดและ
ภารกิจ โดยต้องคำนึงถึงความเป็นตัวแทนของประชาชนในทุกพ้ืนที่โดยเฉพาะพ้ืนที่ห่างไกลในชนบท โดย
สอดคล้องกับการสัมภาษณ์ส่วนบุคคลนายกองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี, ตุลาคม 2564 ได้

23 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

แสดงความคิดเห็นว่า “จากขนาดขององค์การบริหารส่วนตำบล ผมมองว่าถ้ามีการรวมแล้วความเป็นตัวแทน
ของประชาชนที่อยู่ในชนบทอาจจะหมดไป เช่น พื้นที่ที่อยู่ห่างไกลอยู่บนเขา มีหลายชาติพันธ์ุหมู่บ้านเหล่าน้ี
เมื่อมีการรวมแล้วขนาดโตขึ้น ความเป็นตัวแทนท่ีถูกคัดเลอื กมา ตัวแทนอยู่บนพื้นราบหมด ความเป็นตวั แทน
ของหมู่บ้านคนที่อยู่บนยอดเขาอาจจะไม่มีเลยเรอื่ งความมนั่ คงของประเทศอาจต้องพิจารณาใหม่”

1.2) รายได้ของท้องถิ่นในปัจจุบันการจัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลเองยังได้ไม่มาก
เพราะสภาพพื้นที่เศรษฐกิจและสังคม และอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติให้สามารถจัดเก็บได้มีไม่มาก
โดยเฉพาะองค์การบริหารส่วนตำบลในชนบทหรือกรณีพื้นที่ยังเป็นพื้นที่การเกษตรจะมีฐานรายได้จากการ
จัดเก็บภาษีน้อย เมื่อรายได้น้อยงบประมาณก็จะน้อยและยังต้องใช้จ่ายในด้านบุคลากร โดยสอดคล้องกับการ
สัมภาษณ์ส่วนบุคคลปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี, ตุลาคม 2564 ได้แสดงความคิดเห็นว่า
“ในประเด็นนี้ ผมมองว่าอบต. หลายแห่งมีการจ้างพนักงานมากเกินความจำเป็น จึงเหลืองบประมาณในการ
พัฒนาน้อยไมส่ ามารถนำงบประมาณมาพัฒนาหรือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนได้ตรงตามความ
ต้องการของประชาชนอย่างเต็มที่ตอ้ งได้รบั จดั สรรจากรัฐบาลมากกว่า มีผลต่อความเป็นอิสระ จึงควรกำหนด
อำนาจหน้าที่ให้องค์การบริหารส่วนตำบลสามารถจัดเก็บภาษีได้มากข้ึนมี “จริงๆ ไม่ต้องใหญ่มากไม่ต้องสร้าง
ตึกสูงๆ ความเข้มแข็งไม่เกี่ยวกับองค์กรที่ใหญ่แม้ว่ารายได้น้อยก็ทำให้เข้มแข็งได้ขึ้นอยู่กับการบริหารเก็บได้
น้อยถา้ การบรหิ ารดีก็เขม้ แขง็ ได”้

1.3)ความเป็นอิสระองค์การบริหารส่วนตำบล ปัจจุบันยังถูกควบคุมกำกับดูแลเรื่องกฎ ระเบียบ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องถูกตรวจสอบจากสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ทำให้รู้สึกว่าขาดความเป็นอิสระไม่
สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างแท้จริง การถ่ายโอนอำนาจของส่วนราชการให้ท้องถิน่
ยังเป็นอำนาจซ้ำซ้อนระหว่างภูมิภาค และท้องถิ่นไม่มีระเบียบที่จะไปบริหารจัดการทำให้เกิดปัญหาในการ
ปฏิบัติงาน โดยสอดคล้องกับการสมั ภาษณ์ส่วนบคุ คลเจา้ หน้าทีป่ ฏิบัติงานองค์การบริหารสว่ นตำบลในจังหวัด
นนทบุรี, ตุลาคม 2564 ได้แสดงความคิดเห็นว่า “อบต. หลายแห่งถูกนักการเมืองเข้ามาแทรกแซงมากดดัน
หรือมาบีบให้ทำนอกเหนือระเบียบต่างๆ ทำให้เกิดปัญหาอย่างมากอย่างไรก็ตามมีบางคนเห็นว่าความเป็น
อิสระขององค์การบริหารส่วนตำบลมีมากเกินไป ควรมีการตรวจสอบมากกว่านี้เพราะนักการเมืองต่างคนตา่ ง
คิด คดิ เอาเอง เข้าข้างตวั เอง ไมค่ อ่ ยยดึ ถือระเบียบคิดว่ามีอสิ ระไม่ฟังคนอ่ืน คิดว่าเป็นเงินของตนเอง และเกิด
การคอร์รัปชั่น ซึ่งเป็นผลเสียต่อประชาชนและงบประมาณ จึงควรให้มีการกำหนดอำนาจหน้าที่ตามความ
เหมาะสมถา้ ให้อสิ ระมากเกนิ ไปจะมเี รอื่ งผลประโยชนเ์ ข้ามาก่อใหเ้ กิดผลเสยี เพราะมีทั้งคนดีและคนไม่ดี พร้อม
ทั้งควรมีมาตรการป้องกันไม่ให้นักการเมืองระดับชาติหรือระดับท้องถิ่นใช้อิทธิพลมากดดันหรือมาบีบให้ทำ
นอกเหนือระเบียบตา่ งๆ”

24 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

2. ปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี
โดยสรุปวา่

2.1) ปัญหางบประมาณ มปี ัญหาการจดั เกบ็ เองได้น้อยประกอบกับงบประมาณที่ได้รบั จัดสรรก็ไม่สอด
คลัองกับภารกิจที่ส่วนราชการถ่ายโอน รวมถึงการบริหารงานของผู้บริหารที่ยังขาดประสิทธิภาพไม่ประหยัด
คุ้มค่า ยังมีการจ้างพนักงานจำนวนมากเกินไป รวมทั้งมีการกันงบประมาณไว้ก่อสร้างอาคารสำนักงานที่เกิน
ความจำเปน็ ในทางตรงกันข้าม ถ้าองค์การบริหารสว่ นตำบลมีงบประมาณมากจะทำให้ผู้บริหารเกิดความโลภ
มีการแย่งชิงเข้ามาบริหารในการเลือกต้ังก็จะย่ิงมีการแข่งขันสูงเกิดการซ้ือเสียงในการเลือกต้ัง โดยสอดคล้อง
กับการสัมภาษณ์ส่วนบุคคลผู้นำชุมชนในจังหวัดนนทบุรี, ตุลาคม 2564 ได้แสดงความคิดเห็นว่า “ผมมองว่า
ท้องถ่นิ ไหนย่ิงมงี บประมาณมาก การเลือกต้งั ยิ่งมีการแข่งขันสูง ทำใหป้ ระชาชนอ่อนแอได้เงินแป๊บเดียวแล้วก็
หมด รวมทั้งควรกำหนดอำนาจหน้าที่ให้ท้องถิ่นสามารถจัดเก็บภาษีได้มากขั้น โดยพิจารณาในมิติของขนาด
จำนวนประชากรภูมิศาสตร์ของตำบลด้วย นอกจากนั้นควรป้องกันปราบปรามการซื้อสิทธ์ิ ขายเสียงเลือกต้ัง
อย่างจริงจังเพอ่ื ให้ไดค้ นดเี ข้ามาบรหิ ารงบประมาณอย่างแทจ้ ริง”

2.2) ปัญหาจากการสื่อสารท่ีไม่ชัดเจนหรือเกิดจากการปิดกันการเข้าถึงของประชาชน รวมท้ังยังขาด
ข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการบริหารงานให้เกิดประโยชน์กับประชาชน จึงควรส่งเสริมให้นำ
เทคโนโลยีเขา้ มาช่วยในการปฏิบัตงิ านและเปน็ ช่องทางในการติดต่อส่ือสารกับประชาชน หรอื ถ้าทอ้ งถิ่นมีเรื่อง
ทุจรติ ไมช่ อบมาพากล ไม่โปรง่ ใส ชาวบ้านก็จะใช้ช่องทางสื่อสารได้ค่อนข้างรวดเรว็ ทนั ทันที โดยสอดคล้องกับ
การสัมภาษณ์ส่วนบุคคลประชาชนในท้องถิ่นจังหวัดนนทบุรี, ตุลาคม 2564 ได้แสดงความคดิ เห็นว่า “ผมมอง
วา่ เม่อื ประชาชนไม่รับทราบวา่ ท้องถ่ินทำอะไรอยู่ก็จะคอยจ้องจบั ผิด ซง่ึ เม่ือกอ่ นเมื่อกอ่ นปิดกน้ั กันทำอะไรไม่มี
การตรวจสอบ ปจั จุบนั ชาวบ้านมโี ทรศัพท์พอมีอะไรไมเ่ ข้าใจจะโทรศัพท์มาสอบถามเจ้าหน้าที่หรือมีเร่ืองอะไร
ส่อไปในทางทุจริต ก็จะเพิ่มช่องทางโทรศัพท์ไปร้องเรียนในเรื่องที่ไม่โปร่งใสต่อการบริหารจัดการองค์การ
บรหิ ารสว่ นตำบล”

2.3) ปัญหาความขัดแย้งทางด้านผลประโยชน์เกิดจากฝ่ายบริหารและสมาชิกสภา ซึ่งเป็นตัวแทน
ประชาชน มักจะเกิดความขัดแย้งและแย่งชิงผลประโยชน์จากการแข่งขันทางการเมืองในการเลือกต้ังเพื่อเข้า
มาบริหารงบประมาณ ยิ่งงบประมาณมากความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ยิ่งมากประชาชนก็จะไม่ได้รับ
ผลประโยชน์เท่าที่ควร โดยสอดคล้องกับการสัมภาษณ์ส่วนบุคคลเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในท้องถิ่นจังหวัด
นนทบุรี, ตุลาคม 2564 ได้แสดงความคิดเห็นว่า “ผู้บริหารท้องถิ่นบางแห่งมักจะใช้เรื่องเงินเข้ามานำหน้าทุก
อยา่ งต้องใช้เงนิ ซ้ือท้ังหมด ถา้ มกี ารลงทุนซ้ือเสยี งก็ต้องหาผลประโยชนค์ นื และต้องการกำไรเกดิ การขดั แย้งกัน
บางครั้งขัดกันถึงขั้นยิงกัน นอกจากนั้นนักการเมืองระดับชาติมักจะเข้ามายุ่งเกี่ยวกับท้องถิ่นทำให้เกิดการ
แตกแยกขัดแย้งกัน บางครั้งฝ่ายการเมืองบางคนเข้ามาเพื่อแสวงหาผลประโยชน์อยากอยู่ในตำแหน่งนานๆ
พยายามสร้างบารมีสรา้ งอิทธิพลทำให้มีปัญหากับข้าราชการ นายกอบต. ส่วนใหญ่อยากไดค้ ะแนนเสียงเป็นที่

25 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

รักของประชาชน จึงบริหารงานเอาใจประชาชนโดยไม่คำนึงถึงกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์ต่างๆ บางเรื่องทำ
ไม่ได้ก็จะทำให้ได้เพราะมีสว่ นไดส้ ว่ นเสียในการบริหารงาน”

2.4) ปัญหาด้านทรัพยากรบุคคลในองค์การบริหารส่วนตำบลเกี่ยวกับ 1)ระดับการศึกษา ในปัจจุบัน
การบรหิ ารงานจึงต้องพึ่งข้าราชการประจำ มผี ลใหข้ า้ ราชการประจำมีอำนาจช้ีนำเช่นเดียวกับสมาชิกสภาการ
ตดิ ตามข่าวสารการวินิจฉัยตีความไม่สามารถเข้าใจบทบาทหน้าท่แี ละระบบการทำงาน 2) ประสบการณใ์ นการ
ทำงาน มคี วามสำคัญอยา่ งย่ิง อาจทำใหก้ ารทำงานไมป่ ระสบความสำเร็จหรือผิดพลาดได้ 3)ความรู้ความเข้าใจ
ในการปฏิบตั งิ านสมาชิกสภาท่เี ข้ามาใหม่ไม่มีความรู้ความเข้าใจในบาทบาทหน้าที่ และ4)ความรบั ผิดชอบขาด
จิตสำนึกการให้บริการและมีการเลือกปฏิบัติ โดยสอดคล้องกับการสัมภาษณ์ส่วนบุคคลปลัดองค์การบริหาร
ส่วนตำบลในท้องถิน่ จังหวัดนนทบรุ ี, ตลุ าคม 2564 ไดแ้ สดงความคิดเห็นว่า “ผู้บริหารรบั คนเขา้ มาทำงานโดย
ใช้ระบบอุปถัมภ์ เห็นแก่พวกพ้องเครือญาติมักใช้ระบบเส้นสายรับคนที่ไม่มีความรู้เข้ามาเป็นพนักงานของ
อบต. มีผลมาจากการเลือกตั้งอาจได้คนใหม่เข้ามาและไม่มีประสบการณ์การพัฒนาท้องถิ่น ก็จะทำอะไร
แบบเดิมๆ ไปก่อนและทำงานไม่คล่องตัว ส่วนสมาชกิ สภาท่เี ข้ามาใหม่ไม่มีความรู้ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่
สมาชิกสภา มักปฏิบัติผิดข้อบังคับ และไม่ใฝ่รู้ไม่ศึกษากฎระเบียบ มักทำตามความเคยชินหรือทำตามแบบที่
เคยทำกนั มากอ่ นโดยไม่รู้วา่ ผิดกฎระเบียบหรือไม่อยา่ งไร”

3. ข้อเสนอแนะแนวทางการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี โดย
สรุปว่า

3.1) ความซอ่ื สัตย์สุจริต การทำงานในองค์การบริหารส่วนตำบล ผลประโยชน์นบั ว่าเป็นปัญหาสำคัญ
อยา่ งยง่ิ ดงั น้ันบคุ ลากรทปี่ ฏิบตั ิหนา้ ที่ในองค์การบริหารสว่ นตำบลต้องมคี วามซื่อสัตย์เหน็ แก่ผลประโยชน์ส่วน
ตนมากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม

3.2) ความเสียสละ ซึ่งควรสร้างทัศนคติให้บคุ ลากรมีจติ อาสา เสียสละ และอุทิศตนเข้ามาทำงานเพอ่ื
ประชาชน ขณะเดียวกันผู้บริหารต้องปฏบิ ัตติ นเปน็ แบบอย่างทีด่ ที ุ่มเททำงาน

3.3) การมีส่วนร่วม ผู้บริหารจะต้องบริหารโดยใช้ระบบคุณธรรมให้ความ เสมอภาค ไม่สร้างความ
แตกแยก ไมเ่ ลอื กปฏิบัติเพราะจะทำให้พนักงานเกิดขวัญ และกำลังใจรว่ มมือร่วมใจทำงาน

3.4) ความสามัคคี ผู้บริหารจะต้องมีความยุติธรรมในการบริหารงาน การทำโครงการพัฒนาท้องถิ่น
ต้องจัดสรรงบประมาณอย่างเป็นธรรม การบริหารงานต้องมีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน และจัดกิจกรรมสร้างความ
ปรองดองระหว่างบคุ ลากรขององค์การบริหารส่วนตำบลอย่างตอ่ เน่ือง

3.5) ความรับผิดชอบ มคี วามรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ทีแ่ ละต่อประชาชนหากตนเองหรือผู้ใต้บงั คบั บัญชาได้
กระทำสิง่ ไมด่ หี รอื ทำผิดพลาด ตอ้ งออกมารบั ผิดชอบกจ็ ะเป็นท่ียอมรบั ของประชาชนทำให้องค์กรเข้มแข็งได้

26 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

3.6) ความเป็นประชาธิปไตย ผู้บรหิ ารต้องเน้นการให้อิสระในการแสดงความคิดเห็นและมีการรับฟัง
ความคิดเห็น โดยเฉพาะอย่างย่ิงต้องรบั ฟังเสียงประชาชน และควรมกี ารสง่ เสริมความเป็นประชาธิปไตยตั้งแต่
ระดบั เดก็ นกั เรยี น เชน่ จัดให้มสี ภานักเรียนเพือ่ เรยี นร้วู ิถีประชาธปิ ไตย เปน็ ตน้

3.7) การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร บุคลากรต้องให้ความสนใจใฝ่รู้เพี่อรับรูข้ ่าวสารและทันต่อเรื่องกฎหมาย
และระเบียบ เพือ่ จะทำให้สามารถปฏิบัติงานได้ถูกต้อง และองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลจะต้องมีช่องทางส่ือสาร
ให้เกิดการรับรู้ข่าวสารความต้องการหรือความเดือดร้อนของประชาชน เพื่อจะได้แก้ไขปัญหาหรือตอบสนอง
ความตอ้ งการได้ถูกตอ้ งและทันการณ์ตามลำดบั

5. สรปุ อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

5.1. สรปุ และอภิปรายผล
1. สภาพปัจจุบันในการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี มีผลมา

จากขนาดขององค์การบริหารส่วนตำบล มีผลกระทบกับเรื่องรายได้และการพัฒนา ซึ่งรายได้ของท้องถิ่นใน
ปัจจุบันการจัดเก็บรายได้ขององค์การบริหารส่วนตำบลเองยังได้ไม่มาก เพราะสภาพพ้ืนที่เศรษฐกิจและสงั คม
และอำนาจหน้าท่ีท่ีกฎหมายบัญญัตใิ ห้สามารถจัดเก็บได้มีไม่มาก พร้อมทั้งความเป็นอิสระองค์การบริหารส่วน
ตำบล ปัจจุบันยังถกู ควบคมุ กำกับดูแลเร่ืองกฎ ระเบียบ กฎหมายที่เกี่ยวข้องถกู ตรวจสอบจากสำนกั งานตรวจ
เงินแผ่นดิน (สตง.) ทำให้รู้สกึ ว่าขาดความเป็นอิสระไม่สามารถตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อยา่ ง
แทจ้ ริง สอดคล้องกับผลงานวิจัยของดวงฤทธ์ิ เบญ็ จาธกิ ลุ ชยั รุง่ เรือง (2564). ศึกษาวิจัยเร่อื งการมีส่วนรว่ มของ
ประชาชนในการพัฒนาทอ้ งถิ่นอย่างยัง่ ยืนของกรงุ เทพมหานคร ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนรว่ มที่สำคญั ท่สี ดุ
นั่นก็คือจะต้องให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการวางแผนงานพัฒนาท้องถิ่น ในการติดตามและประเมินผลการ
ดำเนนิ งานงานพัฒนาท้องถิน่ โดยหามาตรการ สร้างแรงจูงใจปลกู ฝงั คา่ นิยมท่ดี ีเพื่อเชิญชวนประชาชนให้มีส่วน
รว่ ม และผลงานวจิ ยั ของพีระพงษ์ วรภทั ร์ถิระกลุ (2564) ในเร่ือง ภาวะผู้นำ และวฒั นธรรมองค์การที่มีผลต่อ
คุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และ
กจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.). ผลการวจิ ัยพบวา่ พฤตกิ รรมด้านภาวะผนู้ ำท่ีม่งุ เน้นในการทำงาน และ
การปลูกฝังสร้างค่านิยม จะส่งผลต่อบุคลากรซึ่งสามารถรับรู้วิธีการทำงาน ที่เป็นประโยชน์ต่อองค์การอย่าง
ย่งั ยนื ตอ่ ไปในอนาคตตามลำดบั

2. ปัญหาและอุปสรรคที่มีต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลใน
จังหวัดนนทบุรี มีผลมาจาก 1) ปัญหางบประมาณ ในการจัดเก็บเองได้น้อยประกอบกับงบประมาณที่ได้รับ
จดั สรรก็ไมส่ อดคลัองกับภารกจิ ทส่ี ่วนราชการถ่ายโอน 2)ปัญหาจากการส่ือสารท่ีไม่ชัดเจนหรอื เกิดจากการปิด
กันการเข้าถึงของประชาชน 3) ปัญหาความขัดแย้งทางด้านผลประโยชน์เกิดจากการแข่งขันทางการเมืองใน
การเลือกตั้งเพื่อเข้ามาบริหารงบประมาณยิ่งงบประมาณมาก 4) ปัญหาด้านทรัพยากรบุคคล โดยใช้ระบบ
อุปถัมภ์เห็นแก่พวกพ้องเครือญาติคนที่ไม่มีความรู้เข้ามาเป็นพนักงานท้องถิ่น สอดคล้องกับผลงานวิจัยของพี
รพงศ์ กนกเลศิ วงศ์ และธนสุวทิ ย์ ทับหิรัญรักษ์ (2563) ศกึ ษาวจิ ยั เรื่องปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ การบรหิ ารการปกครอง

27 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

สว่ นท้องถ่ินในจังหวัดนนทบุรี ผลการวิจยั พบว่าทศิ ทางและแนวโน้มในการบริหารปกครองท้องถิ่นในอนาคต มี
ผลมาจากด้านกลยุทธ์ และรองลงมาตามลำดับ คือ ด้านบุคลากร ด้านทักษะ ด้านโครงสร้าง ด้านรูปแบบการ
บริหารด้านระบบ และด้านค่านิยมร่วมตามลำดับ พร้อมทั้งผลงานวิจัยของนฤมล เพ็ญสิริวรรณ (2562).
ศึกษาวิจัยเรื่องปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารเทศบาลตำบลในจังหวัดนนทบุรี ผลการวิจัยพบว่า
ปัจจัยภายในองค์กร ประกอบด้วย ด้านโครงสร้างองค์กร ด้านมาตรฐานในการทำงาน ด้านความรับผิดชอบ
และด้านความรู้สึกผูกพันต่อองค์กร ปัจจัยภายนอกองค์กร ประกอบด้วย ด้านสภาวะการเปลี่ยนแปลงในยุค
ไทย แลนด์ 4.0 ด้านความคาดหวังของคนในพื้นที่ ด้านการร่วมมือกันทำงานระหว่างเทศบาลกับ ประชาชน
และด้านการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินโครงการ และสอดคล้องกับผลงานวิจัยของ
วลินเนศวร์ ธีรการุณวงค์ (2562) ศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของ
เทศบาลตำบลในจังหวัดนนทบุรี ผลการวิจัยพบว่า ด้านความสามารถในการสร้างความพึงพอใจ ด้านการ
พัฒนาองค์การ ด้านกระบวนการภายในด้านผลลัพธ์การดำเนินการ และด้านการจัดหาและการจัดสรร
ทรัพยากร ทีส่ ง่ ผลตอ่ ประสิทธิผลของเทศบาลตำบลในจงั หวดั นนทบรุ ี

3. แนวทางการบริหารจัดการองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี ท่ีจะต้องนำไปปฏบิ ัติให้
เกิดประสิทธิผลในการทำงานดังนี้ 1) ความซื่อสัตย์สุจริต ต้องมีความซื่อสัตย์เห็นแก่ผลประโยชน์ส่วนตน
มากกว่าผลประโยชน์ส่วนรวม 2) ความเสียสละมีจิตอาสา เสียสละ และอุทิศตนเข้ามาทำงานเพื่อประชาชน
และขณะเดียวกนั ผู้บริหารต้องปฏิบัตติ นเป็นแบบอย่างท่ีดีทุ่มเททำงาน 3)การมสี ว่ นร่วมให้ความ เสมอภาค ไม่
สร้างความแตกแยก ไม่เลือกปฏิบัติเพราะจะทำให้พนกั งานเกิดขวัญและกำลังใจร่วมมอื ร่วมใจทำงาน 4)ความ
สามัคคี จะต้องมีความยุติธรรมในการบริหารงานมีหลักเกณฑ์ที่แน่นอน 5)มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และตอ่
ประชาชน 6) ความเป็นประชาธิปไตย ต้องรับฟังเสียงประชาชน และ7)การรับรู้ข้อมูลข่าวสาร โดยจะต้องมี
ช่องทางสื่อสารความต้องการหรือความเดือดร้อนของประชาชน เพื่อจะได้แก้ไขปัญหาหรือตอบสนองความ
ต้องการได้ถูกต้องและทันการณ์ตามลำดับ โดยสอดคล้องกับผลงานวิจัยของอภิษฎาข์ ศรีเครือดง นภัทร์ แก้ว
นาค ธนู ทดแทนคุณ และลัดดา แพรภัทรพิศุทธ (2563) ศึกษาวิจัยเรื่องรูปแบบการเสริมสร้างการมีส่วนร่วม
ในการส่งเสริมความโปร่งใส ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในทศวรรษหน้า ผลการวิจัยพบว่า การ
เสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมความโปร่งใสขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในทศวรรษหน้า มี
องค์ประกอบสำคัญ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการสื่อสาร ด้านการประสานงาน ด้านการสร้างความร่วมมือ ด้านการ
กำกับดแู ล และดา้ นการโนม้ น้าวใจตามลำดับ

5.2 ขอ้ เสนอแนะเชงิ นโยบาย
1. ควรกำหนดโครงสร้างของขนาดและหน่วยงานรวมถึงบุคลากรให้มีความเหมาะสมกับ

สภาพพื้นท่ี พรอ้ มทัง้ จดั สรรงบประมาณให้เหมาะสมโดยเฉพาะภารกจิ ที่ราชการสว่ นกลางถ่าย โอนให้องค์การ
บริหารส่วนตำบลควรจะต้องโอนงบประมาณให้สอดคล้อง อีกทงั้ ควรมีมาตรการป้องกันนักการเมอื งระดับชาติ
เข้ามาแทรกแซงหรือใช้อิทธิพลกับท้องถิ่นเพื่อให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีความเป็นอิสระในการบริหาร

28 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

จดั การทอ้ งถน่ิ มากขึ้น
2. ข้อเสนอแนะในการบริหารงานของผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลจำนวนมากยังขาด

ประสิทธิภาพ ไม่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน จึงควรส่งเสริมให้นำหลักการบริหารกิจการ
บ้านเมืองที่ดี (Good Governance) มาใช้ในการบริหารบจัดการท้องถิ่น เพื่อป้องกันและปราบปรามการ
แสวงหาผลประโยชน์ที่ส่งผลต่อการซื้อสิทธิ์ขายเสียงเลือกตั้ง และส่งเสริมให้เห็นประโยชน์ของการมีส่วนร่วม
ประชาชนว่าจะเกิดประโยชนแ์ กต่ นเองและทอ้ งถ่ินอย่างแท้จรงิ

3. ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถนำ
ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้ เพื่อวางแผนกำหนด นโยบายการพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การบริหารทั่วไป การบริหารการคลัง และการพัฒนาบุคลากร รวมทั้งเสนอ
ยุทธศาสตรก์ ารเสริมสรา้ งความโปรง่ ใสในการบริหารงานเพ่อื เป็นแบบอยา่ งในการบริหารจัดการที่ สู่การปฏบิ ัติ
อยา่ งเป็นรูปธรรม

5.3 ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การวจิ ัยในครง้ั ตอ่ ไป
1. ควรมีการศึกษาวิจัยเรื่องนี้ทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อหาข้อเปรียบเทียบผล

การศกึ ษาในอนาคตต่อไป
2. ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยในประเด็นอื่นอาจมีผลต่อประสทิ ธิผลการบริหารจัดการองค์การ

บรหิ ารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี เพ่ือนำผลมาเปรยี บเทียบต่อไปในอนาคต
3. ควรศกึ ษาวิจยั ในเร่ืองนี้ โดยจัดกล่มุ ตัวแปรใหม่ ๆ ที่สามารถนำมาวิเคราะห์เพื่อให้เกิดผล

ที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งการเพิ่มกลุ่มประชากรที่ใช้ในการสัมภาษณ์ให้ครอบคลุมหลากหลายกว่าเดิม
เพอ่ื ให้ทราบข้อมลู รวมท้งั มุมมองต่าง ๆ มากย่ิงขึน้ ต่อไป

เอกสารอา้ งอิง

กิตต์ระวี เลขากุล. (2561). ธรรมาภิบาลวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อประสิทธิผลองค์การของเทศบาลใน
เขตภาคใตข้ องประเทศไทย. ดษุ ฎีนิพนธ์รฐั ประศาสนศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การภาครัฐ
และภาคเอกชน. มหาวทิ ยาลัยหาดใหญ่.

ดวงฤทธ์ิ เบ็ญจาธิกุลชัยรุ่งเรือง. (2564). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนของ
กรงุ เทพมหานคร. วารสารสังคมศาสตรแ์ ละมานษุ ยวิทยาเชิงพุทธ, 6(3), 76-91.

ติน ปรัชญพฤทธิ์. (2535). ศัพท์รัฐประศาสนศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.

นฤมล เพ็ญสิริวรรณ. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารเทศบาลตำบลในจังหวัดนนทบุรี.
วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 6(10), 2641-5658.

29 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

นันธิดา จันทร์ศิริ. (2558). ธรรมาภิบาลระดับท้องถิ่น: มุมมองด้านการมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหาร
จัดการทอ้ งถนิ่ . วารสารมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตรม์ หาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธ์ านี, 7(2), 95-
117.

บูฆอรี ยีหมะ. (2552). ความรู้เบ้ืองต้นทางรัฐศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). สงขลา: สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา.

บษุ กร เช่ียวจินดากานต.์ (2561). เทคนิคการวิจยั เชงิ คณุ ภาพแบบกรณีศึกษา. วารสารศิลปศาสตร์ปรทิ ัศน์
คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลยั หวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 13(25), 103-118.

ประโยชน์ ส่งกลิ่น. (2556). การบริหารรัฐกิจยุคหลังสมัยใหม่: แนวคิด ทฤษฎีและการน้าไปปฏิบัติ.
มหาสารคาม: อภชิ าตกิ ารพิมพ์.

ปัณณธร เธียรชัยพฤกษ์. (2561). ทิศทางองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในอนาคต. วารสาร มจร พุทธ
ปัญญาปริทรรศน์, 3(2), 183-196.

ธนิศร ยืนยง. (2561). การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนทส่ี ่งผลต่อการพฒั นาท้องถ่นิ ในจังหวัดนครนายก. วารสาร
มหาจุฬานาครทรรศน์, 5(2), 119 - 135.

พีระพงษ์ วรภัทร์ถิระกุล. (2564). ภาวะผู้นำ และวัฒนธรรมองค์การที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตในการทำงานของ
บุคลากรสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคม
แห่งชาติ (กสทช.). วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 7(2), 60-
71.

พรี พงศ์ กนกเลิศวงศ์ และธนสุวิทย์ ทับหิรญั รกั ษ์. (2563). ปัจจยั ทมี่ ผี ลต่อการบริหารการปกครองส่วนท้องถิ่น
ในจังหวดั นนทบุรี. วารสารวิชาการ มจร บรุ ีรัมย์, 5(1), 109-121.

รัชยา ภักดีจิตต์. (2557). ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหารภาครัฐและภาคเอกชน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ:
สำนักพิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

วุฒิสาร ตันไชย. (2557). การกระจายอ้านาจและประชาธิปไตยในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบัน
พระปกเกล้า.

วิศาล ศรมี หาวโร. (2556). สงั คมวิทยาการเมืองการปกครอง (พิมพ์ครงั้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ของวลินเนศวร์ ธีรการณุ วงค์. (2562). การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลที่ส่งผลต่อประสิทธผิ ลของเทศบาล

ตำบลในจังหวดั นนทบรุ ี. รฐั ประศาสนศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต, มหาวทิ ยาลัยปทุมธานี.
ศุภวัฒนากร วงศ์ธนวสุ, ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์, พีรสิทธิ์ คำนวณศิลป์, ลิลี่ โกศัยยานนท์, หควณ ชูเพ็ญ, และธัช

เฉลิม สุทธิพงษ์ประชา. (2557). การปฏิรูปการปกครองท้องถิ่นตาม กระบวนทัศน์แห่งการบริหาร
กิจการสาธารณะแนวใหม.่ ขอนแก่น: วิทยาลยั การปกครองท้องถิ่น มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
อภิษฎาข์ ศรีเครือดง นภัทร์ แก้วนาค ธนู ทดแทนคุณ และลัดดา แพรภัทรพิศุทธ. (2563). รูปแบบการ
เสริมสร้างการมีส่วนรว่ มในการส่งเสรมิ ความโปร่งใส ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยในทศวรรษ
หนา้ . วารสารศลิ ปะศาสตรร์ าชมงคลสุวรรณภมู ิ, 2(1),341-356.

30 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

Cramer, W., & Persaud, P. (2004). Decentralization and local government in the Caribbean.
n.p.: National Democratic Institute for International Affairs (NDI).

Powell, Jr., G. B., & Powell, E. N. (2005). Democratization briefing paper. n.p.: College Board.
SNV East and Southern Africa. SNV Netherlands development organization. (2004).

Strengthening local governance: Finding quality advisory approaches. Nairobi,
Kenya: Organization.
Samarasinghe, S. W. R. de A. (1994). Democracy and democratization in developing
countries. Boston, Massachusetts: Department of Population and International Health,
Harvard School of Public Health.
Schneider, A. (2003). Decentralization: Conceptualization and measurement. Studies in
Comparative International Development, 38(3), 32-56
White, S. (2011). Government decentralization in the 21st century: A literature review.
Washington, D. C.: Center for Strategic and international Studies (CSIS).

31 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021

นวัตกรรมชุมชนเช่ือมโยงเศรษฐกิจชุมชนสูค่ วามย่ังยืน
Community Innovation Linking Community Economy to Sustainability

ญาณิศา เผ่ือนเพาะ1 และ ประสพชัย พสุนนท์2
(Yanisa Phuanpoh and Prasopchai Pasunon)

บทคัดยอ่

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาทบทวนพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัยของ
นวัตกรรมเชื่อมโยงเศรษฐกิจชุมชน การอภิปรายปรากฏการณ์จากผลลัพธ์ของงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในประเด็น
ดังต่อไปนี้ ความหมายของนวตั กรรมและนวตั กรรมชุมชน องค์ประกอบของนวัตกรรมชมุ ชน การเชื่อมโยงเศรษฐกิจ
ชุน และความยั่งยืนของชุมชน โดยในบทความนี้ ความหมายนวัตกรรมชุมชน คือการสร้างความแตกต่างอย่าง
สร้างสรรค์เพื่อการแก้ไขปัญหาในชุมชน ต่อยอดความรู้หรือภูมิปัญญาชาวบ้าน รวมถึงการสร้างความเข้มแข็งของ
ชุมชน ทางด้าน เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การศึกษาและการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างสมดุล องค์ประกอบ
ของนวัตกรรมชุมชน 3 ประการ คอื 1.นวัตกรรมเกดิ ข้นึ เพื่อแก้ปัญหาหรอื ส่งเสริมชุมชน 2. การบริหารแบบมีส่วน
ร่วมโดยคนในชุมชน และ 3.ความสัมพันธ์ทีด่ ีกับเครือข่ายภายในและภายนอกชุมชน โดยการเช่ือมโยงของเศรษฐกิจ
ชุมชนนั้นเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจหมุนเวียนในชุมชน สวัสดิการของชุมชน และความเข้มแข็งของชุมชน การวางแผน
เพื่อความยั่งยืนของชุมชนในประเทศไทย ควรมองความสมดุลกันระหว่าง เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม การศึกษา
โดยไมล่ ืมวฒั นธรรมรากฐานของชมุ ชน โดยมีการรกั ษาภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ และวถิ ีชวี ิต ผลการศึกษานี้ ชว่ ยใหผ้ ูม้ ีสว่ น
เกี่ยวข้องกับการพัฒนาชุมชนได้แนวทางการสร้างและพัฒนานวัตกรรมชุมชนเพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจชุมชนสู่ความ
ย่งั ยืนตอ่ ไป

คำสำคญั : นวตั กรรม นวตั กรรมชมุ ชน การเชื่อมโยงเศรษฐกิจชุมชน ความยง่ั ยืน การบริหารแบบมีสว่ นรว่ ม

1* คณะวิทยาการจดั การ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรีอยุธยา 13000
Faculty of Management Science Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University 13000
2สาขาวิชาการจัดการธุรกิจทัว่ ไป คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร วทิ ยาเขตสารสนเทศเพชรบรุ ี 76120
General Business Management Faculty of Management Science Silpakorn University, Petchaburi IT Campus
76120
Corresponding author: [email protected]

32 Journal of Management Science Nakhon Pathom Rajabhat University Vol.8 No.2 July- December 2021


Click to View FlipBook Version