The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pramert.cgd, 2021-12-23 20:46:01

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานความพึงพอใจฯ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจ
ของผรูบับรกิารและผูมสีวนไดสวนเสยี
ท่มีีตอการใหบริการของสำนกังานคลังจงัหวัด

ประจำปงบประมาณพ.ศ.2564

สารบัญ

บทสรปุ ผบู้ ริหาร หนา้
บทนำ
ผลสำรวจ ก
1
1. ภาพรวมการให้บริการ
1.1 ความพึงพอใจเฉล่ยี ภาพรวมทม่ี ีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัด 6
1.2 ผลการเปรยี บเทยี บร้อยละของระดบั ความพงึ พอใจเฉลย่ี ภาพรวมท่มี ีตอ่ การใหบ้ รกิ าร 10
ของสำนักงานคลงั จังหวัด จำแนกตามประเด็นการสำรวจ
ตั้งแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 10
1.3 ผลการเปรยี บเทียบร้อยละของระดบั ความพงึ พอใจเฉลีย่ ภาพรวมท่ีมีตอ่ การใหบ้ รกิ าร
ของสำนักงานคลงั จงั หวดั ต้งั แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 11
1.4 ความต้องการกลับมาใช้บริการของสำนักงานคลงั จงั หวัด 11
1.5 การแนะนำให้มาใชบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จังหวดั 12
1.6 ขอ้ เสนอแนะการเพื่อปรบั ปรงุ 13

2.ผลการสำรวจความพงึ พอใจ 13
2.1 สำนักงานคลังจังหวัดในเขต 1 18
2.1.1 สำนกั งานคลงั จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 24
2.1.2 สำนกั งานคลงั จงั หวดั นนทบรุ ี 30
2.1.3 สำนักงานคลงั จงั หวดั ปทมุ ธานี 36
2.1.4 สำนักงานคลงั จงั หวัดลพบรุ ี 42
2.1.5 สำนกั งานคลงั จงั หวดั สระบุรี 48
2.1.6 สำนักงานคลงั จงั หวัดสงิ หบ์ ุรี 54
2.1.7 สำนักงานคลงั จงั หวัดชยั นาท
2.1.8 สำนักงานคลงั จงั หวัดอ่างทอง 60
2.2 สำนกั งานคลังจงั หวดั ในเขต 2 66
2.2.1 สำนกั งานคลงั จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา 72
2.2.2 สำนกั งานคลงั จงั หวัดจันทบรุ ี 78
2.2.3 สำนักงานคลงั จงั หวดั ชลบรุ ี 84
2.2.4 สำนกั งานคลงั จงั หวัดตราด 90
2.2.5 สำนักงานคลงั จงั หวดั นครนายก 96
2.2.6 สำนักงานคลงั จงั หวัดปราจนี บรุ ี 102
2.2.7 สำนกั งานคลงั จงั หวัดระยอง 108
2.2.8 สำนกั งานคลงั จงั หวดั สมทุ รปราการ
2.2.9 สำนักงานคลงั จงั หวัดสระแก้ว

2.3 สำนักงานคลังจงั หวดั ในเขต 3 หน้า

2.3.1 สำนกั งานคลงั จงั หวดั นครราชสีมา 114
2.3.2 สำนักงานคลงั จงั หวดั ชยั ภูมิ 120
2.3.3 สำนักงานคลงั จงั หวดั บรุ รี มั ย์ 127
133
2.3.4 สำนักงานคลงั จงั หวดั ยโสธร 139
2.3.5 สำนกั งานคลงั จงั หวดั ศรสี ะเกษ 145
2.3.6 สำนกั งานคลงั จงั หวัดสรุ นิ ทร์ 151
157
2.3.7 สำนักงานคลงั จงั หวัดอุบลราชธานี
2.3.8 สำนักงานคลงั จงั หวัดอำนาจเจริญ 163
2.4 สำนักงานคลังจังหวัดในเขต 4 169
175
2.4.1 สำนกั งานคลงั จงั หวัดอุดรธานี 181
2.4.2 สำนักงานคลงั จงั หวดั กาฬสินธ์ุ 187
2.4.3 สำนักงานคลงั จงั หวัดขอนแก่น 193
199
2.4.4 สำนกั งานคลงั จงั หวัดนครพนม 206
2.4.5 สำนักงานคลงั จงั หวดั มหาสารคาม 212
2.4.6 สำนักงานคลงั จงั หวัดมกุ ดาหาร 217
223
2.4.7 สำนกั งานคลงั จงั หวัดร้อยเอด็ 229
2.4.8 สำนักงานคลงั จงั หวัดเลย
2.4.9 สำนักงานคลงั จงั หวัดสกลนคร 234
240
2.4.10 สำนักงานคลังจงั หวัดหนองคาย 246
2.4.11 สำนกั งานคลังจงั หวัดหนองบวั ลำภู 252
2.4.12 สำนักงานคลงั จงั หวัดบึงกาฬ 258
264
2.5 สำนกั งานคลงั จงั หวัดในเขต 5 270
2.5.1 สำนักงานคลงั จงั หวดั เชยี งใหม่ 276
2.5.2 สำนักงานคลงั จงั หวัดเชียงราย

2.5.3 สำนกั งานคลงั จงั หวดั น่าน
2.5.4 สำนักงานคลงั จงั หวัดพะเยา
2.5.5 สำนักงานคลงั จงั หวดั แพร่

2.5.6 สำนักงานคลงั จงั หวดั แม่ฮอ่ งสอน
2.5.7 สำนักงานคลงั จงั หวัดลำพูน
2.5.8 สำนกั งานคลงั จงั หวัดลำปาง

2.6 สำนักงานคลังจังหวัดในเขต 6 หนา้

2.6.1 สำนักงานคลงั จงั หวัดพิษณโุ ลก 282
2.6.2 สำนกั งานคลงั จงั หวดั กำแพงเพชร 288
2.6.3 สำนกั งานคลงั จงั หวัดตาก 294
299
2.6.4 สำนกั งานคลงั จงั หวัดนครสวรรค์ 304
2.6.5 สำนกั งานคลงั จงั หวัดพจิ ิตร 310
2.6.6 สำนักงานคลงั จงั หวัดเพชรบรู ณ์ 315
321
2.6.7 สำนักงานคลงั จงั หวดั สุโขทัย 326
2.6.8 สำนกั งานคลงั จงั หวดั อทุ ยั ธานี
2.6.9 สำนกั งานคลงั จงั หวดั อตุ รดิตถ์ 332
338
2.7 สำนกั งานคลงั จงั หวัดในเขต 7 344
2.7.1 สำนักงานคลงั จงั หวัดนครปฐม 350
2.7.2 สำนกั งานคลงั จงั หวัดกาญจนบรุ ี 356
362
2.7.3 สำนกั งานคลงั จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ 368
2.7.4 สำนกั งานคลงั จงั หวดั เพชรบรุ ี 374
2.7.5 สำนักงานคลงั จงั หวัดราชบรุ ี
380
2.7.6 สำนักงานคลงั จงั หวัดสมุทรสงคราม 386
2.7.7 สำนกั งานคลงั จงั หวัดสมทุ รสาคร 392
2.7.8 สำนักงานคลงั จงั หวดั สพุ รรณบุรี 397
403
2.8 สำนักงานคลังจงั หวัดในเขต 8 408
2.8.1 สำนักงานคลงั จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี 414
2.8.2 สำนักงานคลงั จงั หวัดนครศรีธรรมราช
419
2.8.3 สำนักงานคลงั จงั หวัดกระบี่ 425
2.8.4 สำนกั งานคลงั จงั หวัดชุมพร 431
2.8.5 สำนกั งานคลงั จงั หวดั พังงา 436
442
2.8.6 สำนกั งานคลงั จงั หวัดภเู กต็ 447
2.8.7 สำนักงานคลงั จงั หวดั ระนอง 453
2.9 สำนักงานคลังจังหวดั ในเขต 9

2.9.1 สำนกั งานคลงั จงั หวัดสงขลา
2.9.2 สำนักงานคลงั จงั หวดั ตรงั
2.9.3 สำนกั งานคลงั จงั หวดั พทั ลงุ

2.9.4 สำนกั งานคลงั จงั หวัดนราธวิ าส
2.9.5 สำนกั งานคลงั จงั หวัดปตั ตานี
2.9.6 สำนกั งานคลงั จงั หวัดยะลา

2.9.7 สำนักงานคลงั จงั หวัดสตลู

ภาคผนวก หนา้

- ตารางแสดงการเปรยี บเทยี บรอ้ ยละของระดับความพงึ พอใจทีม่ ีตอ่ การให้บริการ 459
460
ของสำนักงานคลงั จังหวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 461
- ตารางแสดงลำดับสำนกั งานคลงั จังหวัดท่ีมผี ลสำรวจระดบั ความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวม 463
465
ที่มตี ่อการให้บริการ จากคะแนนมากท่ีสดุ ไปนอ้ ยทสี่ ุด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 466

- ตารางแสดงประเภทหนว่ ยงาน/สถานะของผใู้ ห้ขอ้ มลู จำแนกรายสำนักงานคลงั จงั หวดั
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

- ตารางแสดงช่องทางติดต่อสอื่ สารของผใู้ ห้ขอ้ มลู ของสำนกั งานคลังจังหวัด

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
- ตารางแสดงความต้องการกลบั มาใช้บริการของสำนกั งานคลงั จงั หวัด

ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

- ตารางแสดงการแนะนำใหม้ าใชบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จังหวดั
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

กรมบัญชกี ลางไดด้ ำเนนิ การสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ที่มตี ่อการใหบ้ ริการ
ของสำนักงานคลงั จังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระหวา่ งวนั ที่ 1 - 30 กรกฎาคม 2564 มกี ลมุ่ เปา้ หมาย
ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ซึ่งเป็นผู้รับบริการกับสำนกั งานคลังจังหวัด 76 จังหวดั
ของกรมบัญชีกลาง มแี บบสำรวจตอบกลับ จำนวน 6,090 ฉบับ แสดงผลการสำรวจได้ ดงั นี้

1. ความพงึ พอใจเฉลยี่ ภาพรวมทม่ี ตี อ่ การใหบ้ ริการของสำนกั งานคลังจังหวดั
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ

การให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน
ได้คะแนนเฉลี่ย 4.62 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.40 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ประกอบดว้ ยผลคะแนน
2 ส่วน ดังน้ี

1.1 การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.63 คะแนน คิดเป็น
ร้อยละ 92.60

1.2 การใหบ้ ริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉล่ีย 4.60
คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.00 แสดงตามภาพ ก

ภาพ ก : ระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยท่ีมีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัด
จำแนกตามประเดน็ การสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผูม้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียท่ีมีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ก

2. ผลสำรวจความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด จำแนกตาม
ประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 แสดงตามตาราง ก

ตาราง ก : ผลสำรวจความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการของสำนกั งานคลังจงั หวดั
จำแนกตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ การสำรวจ 5 ด้าน คะแนนความพงึ พอใจ

1. ดา้ นเจ้าหนา้ ท/ี่ ผู้ปฏบิ ัติงาน มากที่สดุ คะแนน นอ้ ยที่สุด คะแนน
2. ด้านกระบวนการ/ข้นั ตอนปฏิบัตงิ าน จังหวัดมหาสารคาม 4.32
3. ด้านชอ่ งทางตดิ ตอ่ สือ่ สาร จังหวดั อา่ งทอง 4.90 จงั หวัดพะเยา 4.31
4. ดา้ นสถานทแ่ี ละเคร่ืองมือในการให้บริการ จังหวดั สงิ หบ์ รุ ี 4.18
5. ดา้ นการให้บริการ จงั หวัดมหาสารคาม 4.88 จงั หวดั นราธวิ าส 4.28
จงั หวดั สงิ ห์บรุ ี 4.22
4.88 จงั หวดั ราชบุรี

4.90 จงั หวดั ราชบรุ ี

4.89 จังหวัดราชบรุ ี

• หนว่ ยงานทีม่ ผี ลคะแนนความพงึ พอใจระดบั มากทีส่ ุด

1) ด้านเจา้ หน้าท/่ี ผปู้ ฏิบตั งิ าน ได้แก่ สำนกั งานคลงั จังหวดั มหาสารคาม คะแนนเฉลย่ี 4.90 คะแนน
ประเด็นท่ีได้คะแนนมากทีส่ ุด คอื เจา้ หนา้ ท่ใี ช้คำพูด และกริ ยิ าที่สภุ าพ

2) ด้านกระบวนการ/ขน้ั ตอนปฏิบตั ิงาน ไดแ้ ก่ สำนักงานคลังจังหวดั อ่างทอง คะแนนเฉล่ีย 4.88
คะแนน ประเด็นที่ได้คะแนนมากท่สี ุด คือ ระยะเวลาในการใหบ้ ริการมีความเหมาะสม

3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ได้แก่ สำนักงานคลังจังหวัดสิงห์บุรี คะแนนเฉลี่ย 4.88 คะแนน

ประเด็นทไ่ี ดค้ ะแนนมากทส่ี ดุ คือ มีช่องทางในการใหบ้ ริการทห่ี ลากหลาย
4) ดา้ นสถานทแี่ ละเครือ่ งมอื ในการให้บรกิ าร ได้แก่ สำนักงานคลงั จังหวัดมหาสารคาม คะแนนเฉลย่ี

4.90 คะแนน ประเดน็ ท่ไี ดค้ ะแนนมากท่สี ุด คอื สถานทใี่ หบ้ ริการสะอาด เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย

5) ด้านการให้บริการ ได้แก่ สำนักงานคลังจงั หวัดสิงห์บุรี คะแนนเฉลี่ย 4.89 คะแนน ประเดน็
ทไ่ี ดค้ ะแนนมากท่สี ุด คือ การใหบ้ ริการด้านระบบจดั ซอ้ื จดั จ้างภาครัฐ (e-GP) สะดวก รวดเรว็ มีประสทิ ธิภาพ

• หน่วยงานที่มผี ลคะแนนความพึงพอใจระดบั น้อยท่สี ดุ

1) ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ได้แก่ สำนักงานคลังจังหวัดพะเยา คะแนนเฉลี่ย 4.32 คะแนน
ประเด็นทไ่ี ด้คะแนนน้อยที่สดุ คอื ความรวดเร็วของเจา้ หนา้ ทีผ่ ูใ้ หบ้ ริการ

2) ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน ได้แก่ สำนักงานคลังจังหวัดนราธิวาส คะแนนเฉลี่ย
4.31 คะแนน ประเด็นทไ่ี ดค้ ะแนนน้อยท่สี ดุ คือ ขั้นตอนการใหบ้ ริการยงุ่ ยาก ซบั ซอ้ น

3) ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ได้แก่ สำนักงานคลังจังหวัดราชบุรี คะแนนเฉลี่ย 4.18 คะแนน

ประเด็นทไ่ี ด้คะแนนนอ้ ยทสี่ ดุ คอื Website ของสำนักงานคลังจงั หวัด ขอ้ มลู ไม่เปน็ ปัจจุบนั และสบื ค้นได้ยาก
4) ด้านสถานทีแ่ ละเคร่ืองมือในการให้บริการ ได้แก่ สำนักงานคลังจงั หวัดราชบุรี คะแนนเฉลี่ย

4.28 คะแนน ประเด็นทไ่ี ดค้ ะแนนน้อยทสี่ ดุ คอื สิง่ อำนวยความสะดวกไม่เพยี งพอต่อการใหบ้ ริการ

5) ด้านการให้บริการ ได้แก่ สำนักงานคลังจังหวัดราชบุรี คะแนนเฉลี่ย 4.22 คะแนน ประเดน็
ทไ่ี ด้คะแนนน้อยทีส่ ุด รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จงั หวดั ไม่สามารถนำไปใช้ประโยชนไ์ ด้

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนักงานคลังจงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ข

3. ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนกั งานคลงั จังหวัด จำแนกตามประเด็นการสำรวจ ตั้งแตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 พบว่า
ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านสถานท่ี
และเครื่องมือในการให้บรกิ าร และด้านการให้บริการ มีผลระดบั ความพึงพอใจเฉลย่ี ลดลง คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.64
0.86 1.08 0.43 และ 0.87 ตามลำดับ แสดงตามภาพ ข

ภาพ ข : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมที่มีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวัด
จำแนกตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน ต้ังแตป่ ีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2564

4. ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนักงานคลังจังหวัด ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
และปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 ระดบั ความพงึ พอใจเฉลย่ี เพิ่มขึ้น คดิ เปน็ ร้อยละ 0.68 2.76 และ 4.25
ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน สำหรับปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยลดลง คิดเป็นร้อยละ 1.81 และ 0.86
ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านการให้บริการ อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาร้อยละ
ของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด ตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 - 2564 คาดวา่ มแี นวโนม้ การเปลีย่ นแปลงทเี่ พม่ิ ข้ึน แสดงตามภาพ ค

ภาพ ค : ร้อยละของระดบั ความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมท่มี ีต่อการใหบ้ รกิ ารสำนกั งานคลังจงั หวดั
ตง้ั แต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่ีมตี ่อการใหบ้ ริการของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ค

5. ความต้องการกลับมาใชบ้ ริการของสำนักงานคลงั จงั หวดั
ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 6,090 คน พบวา่ ความตอ้ งการกลบั มาใช้บรกิ าร จำนวน

6,079 คน คิดเป็นร้อยละ 99.82 และไม่ต้องการกลับมาใช้บริการ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 0.18
แสดงตามภาพ ง

ภาพ ง : จำนวนผตู้ ้องการกลับมาใช้บริการของสำนกั งานคลังจังหวดั

6. การแนะนำใหม้ าใชบ้ ริการของสำนกั งานคลังจงั หวดั
ผตู้ อบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 6,090 คน พบวา่ แนะนำใหม้ าใช้บรกิ าร จำนวน 5,144 คน

คดิ เปน็ ร้อยละ 84.47 และไม่แนะนำให้มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 946 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 15.53 แสดงตามภาพ จ

ภาพ จ : จำนวนการแนะนำให้มาใช้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจังหวดั

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ท่ีมีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ง

7. ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การปรบั ปรุง

แบบสำรวจความพึงพอใจที่ได้ตอบกลับ จำนวน 6,090 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 346 ฉบับ
สรปุ ประเดน็ การสำรวจ 5 ดา้ น ได้ดงั นี้

7.1 ดา้ นเจ้าหนา้ ที่/ผ้ปู ฏบิ ัตงิ าน (จำนวน 88 ฉบับ คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.43)

7.1.1 เจ้าหน้าทผี่ ้ปู ฏบิ ตั งิ านควรมจี ติ บรกิ าร (Service mind) ไมใ่ สอ่ ารมณ์ในการตอบคำถาม
ตอบคำถามดว้ ยอธั ยาศยั ไมตรที ดี่ ี มคี วามกระตือรอื ร้น และเต็มใจใหบ้ ริการ

7.1.2 เจา้ หน้าทคี่ วรมคี วามเชีย่ วชาญในงานทร่ี ับผิดชอบ และควรตอบคำถามแกผ่ ู้รับบริการ

ใหช้ ัดเจน รวดเร็ว และตรงความตอ้ งการ
7.1.3 เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ควรสามารถทำงานแทนกันได้ หรือมีเจ้าหน้าที่คอยรับเรื่อง

ตลอดเวลา

7.1.4 ควรเพ่มิ จำนวนบุคลากรในการใหบ้ รกิ ารให้เพียงพอ เนื่องจากเจา้ หน้าทบี่ างทา่ นติดต่อ
ประสานงานกบั ผู้รับบริการท่านอ่ืน ทำใหไ้ ม่สามารถให้บรกิ ารไดใ้ นทันที

7.2 ดา้ นกระบวนการ/ข้ันตอนปฏบิ ัติงาน (จำนวน 54 ฉบบั คิดเป็นรอ้ ยละ 15.61)

7.2.1 ควรลดข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงานใหม้ คี วามเหมาะสม
7.2.2 ควรมีกระบวนการ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไป
ในทิศทางเดยี วกัน

7.2.3 ระยะเวลาในการให้บรกิ ารควรมคี วามเหมาะสม
7.2.4 ควรจดั ทำคู่มอื สรปุ ข้นั ตอนปฏิบัตงิ าน เพ่อื เปน็ ประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
7.3 ด้านชอ่ งทางตดิ ตอ่ ส่อื สาร (จำนวน 132 ฉบบั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 38.15)

7.3.1 ควรเพิ่มช่องการติดต่อสื่อสารที่หลากหลายนอกจากการติดต่อทางโทรศัพท์ เช่น
Application Line Facebook และ e-mail

7.3.2 ควรเพ่ิมคสู่ ายโทรศพั ทใ์ นการแนะนำปรึกษาให้มากขน้ึ

7.3.3 ควรปรับปรงุ ฐานขอ้ มูล Website ใหค้ รบถ้วน และเป็นปัจจบุ ัน เพ่อื ให้สืบค้นได้ง่าย
7.4 ด้านสถานท่ีและเครอื่ งมือในการใหบ้ รกิ าร (จำนวน 40 ฉบับ คิดเปน็ รอ้ ยละ 11.56)

7.4.1 ควรปรับปรุงสถานท่ใี ห้บริการ เน่ืองจากคับแคบไมเ่ พยี งพอต่อผู้รบั บริการ

7.4.2 ควรมีคอมพิวเตอรส์ ่วนกลาง เพอื่ ความสะดวกแกผ่ ้มู าตดิ ตอ่ ทห่ี น่วยงาน
7.4.3 ควรมจี ดุ ทน่ี งั่ พัก ป้าย หรือแผนผังแสดงจดุ ใหบ้ ริการท่ชี ดั เจน
7.5 ด้านการใหบ้ รกิ าร (จำนวน 32 ฉบบั คดิ เป็นร้อยละ 9.25)

7.5.1 ควรจัดให้มีการฝึกอบรม ทบทวน ระเบียบ หนังสือสั่งการใหม่ ๆ หรือทบทวน
การปฏิบัติงานในระบบ e-GP เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกิดความมั่นใจในการทำงาน และส่งผลให้
การปฏบิ ตั ิงานมปี ระสทิ ธิภาพมากย่ิงขึ้น

7.5.2 ควรตอบคำถามหรอื แนะนำผรู้ ับบรกิ ารดว้ ยความรวดเรว็ ชัดเจน และเปน็ ไปในทิศทาง
เดียวกนั

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียท่ีมีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จ

1. หลักการและเหตผุ ล
กรมบัญชีกลางได้จัดทำคำรบั รองการปฏบิ ตั ิราชการตามเกณฑ์การประเมินผลการดำเนินงานภายใน

กรมบัญชีกลาง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 และกำหนดให้มีการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ด้านท่ี 2 : การประเมินคุณภาพ ตัวช้ีวดั : ร้อยละความพงึ พอใจของผู้รบั บรกิ ารที่มีตอ่ หน่วยงาน เปน็ การประเมินผล
การดำเนินงานด้านการให้บริการ พิจารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการของหน่วยงาน
ตามกลุ่มเป้าหมายผู้รับบริการของแต่ละหน่วยงาน โดยมีกลุ่มงานประเมินผล กองยุทธศาสตร์และแผนงาน
เป็นผู้ดำเนินการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายและกระจายแบบสำรวจความพึงพอใจ เพื่อเปิดโอกาสให้สำนักงาน
คลงั จงั หวัด ไดน้ ำข้อคิดเหน็ ความต้องการและขอ้ เสนอแนะของผ้รู ับบริการไปปรบั ปรุงการใหบ้ ริการให้ดีย่ิงขึ้น
ต่อไป

2. วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อใหส้ ำนักงานคลังจังหวัดนำผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รบั บริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มตี ่อ

การให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด ไปประกอบการพิจารณากำหนดมาตรการ และจัดทำแผนพัฒนา
ปรับปรงุ กระบวนการทำงานใหม้ คี วามเหมาะสมยง่ิ ข้นึ

2.2 เพื่อสร้างความพงึ พอใจใหแ้ กผ่ ูร้ บั บริการจากการปรับปรงุ กระบวนการทำงาน ทำให้เกิดภาพลกั ษณ์ทดี่ ี
ของกรมบญั ชีกลาง

3. ระยะเวลาดำเนินการ ระหวา่ งวนั ที่ 1 - 30 กรกฎาคม 2564

4. ตวั ชี้วดั และค่าเปา้ หมาย
ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผูร้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนไดส้ ่วนเสีย มากกว่ารอ้ ยละ 80 อยทู่ ี่ระดบั 5.00 คะแนน

(เป็นตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายในการดำเนินงานตามเกณฑ์ประเมินผลการดำเนินงานภายในกรมบัญชีกลาง
ประจำปงี บประมาณ พ .ศ.2564 ด้านการให้บริการ โดยพจิ ารณาจากผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ
ของหนว่ ยงานตามกลุ่มเป้าหมายผูร้ บั บริการของแต่ละหน่วยงาน)

5. ผลผลิต
รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ที่มีต่อการให้บริการของสำนักงาน

คลงั จังหวดั

6. ผลลพั ธ์
6.1 สำนักงานคลังจังหวัดนำผลสำรวจฯ ไปปรับปรุงกระบวนการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพ

และสามารถตอบสนองความต้องการของผรู้ ับบริการและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียไดม้ ากขน้ึ
6.2 ผรู้ บั บริการมคี วามพึงพอใจ ความประทบั ใจและทศั นคติทีด่ ตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของกรมบัญชกี ลาง

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียที่มตี ่อการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1

7. ขอบเขตการศึกษา

7.1 กลมุ่ เปา้ หมาย ประกอบด้วย
7.1.1 ผูร้ บั บริการ คอื หนว่ ยงานของรฐั 1/เจา้ หน้าทีข่ องรฐั 2 และหน่วยงาน/บคุ คลทีไ่ มใ่ ชห่ น่วยงานของรฐั
7.1.2 ผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี คือ ผคู้ ้ากบั หน่วยงานของรฐั สภาอตุ สาหกรรม สมาคมธนาคารไทย สถาบัน

การเงิน หอการค้าไทย สถานพยาบาลเอกชน ผู้รับเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ ผู้มีสิทธิรับเงินจากทางราชการ
ทีไ่ มใ่ ชเ่ จ้าหน้าทีข่ องรัฐ และประชาชนทว่ั ไปทตี่ ิดตอ่ ราชการกับสำนกั งานคลังจงั หวดั

7.2 ขอบเขตการสำรวจ โดยสำรวจการใหบ้ ริการของสำนกั งานคลังจังหวัด จำนวน 76 แหง่
7.3 ช่องทางการสำรวจ คือ หนังสือราชการ เว็บไซต์ ผู้มาติดต่อราชการ และผู้เข้ารับการอบรมสัมมนา

ในเขตพื้นทจ่ี ังหวัดน้นั ๆ

7.4 ประเดน็ หลกั ทท่ี ำการสำรวจ ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลกั ดงั น้ี

7.4.1 ความพงึ พอใจภาพรวมทีม่ ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวดั (คะแนนเต็ม 5 คะแนน)
7.4.2 ความพงึ พอใจท่ีมีต่อการให้บริการของสำนกั งานคลงั จังหวัด แยกตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน) ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน ด้านช่องทาง
ติดตอ่ สื่อสาร ด้านสถานทแ่ี ละเครอ่ื งมอื ในการใหบ้ รกิ าร และด้านการให้บริการ
7.4.3 ความต้องการกลับมาใช้บริการของสำนักงานคลงั จงั หวดั
7.4.4 การแนะนำให้มาใช้บรกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัด
7.4.5 ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรงุ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จังหวดั
7.5 กำหนดระยะเวลาของการสำรวจ : ระหวา่ งวันท่ี 1 - 30 กรกฎาคม 2564

8. ระเบยี บวิธีการสำรวจ

8.1 วิธีการสำรวจ ใช้การสำรวจเชิงปริมาณ (Quantitative Survey) โดยประมวลและวิเคราะห์
ความคิดเห็นของตวั อย่าง ณ ชว่ งเวลาหนงึ่ โดยเนน้ การวดั คร้ังเดียว (One-Shot Descriptive Study)

8.2 ประชากร ได้แก่ กลุ่มผู้รับบริการ คือ หน่วยงานของรัฐ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ หน่วยงาน/บคุ คลที่ไม่ใช่
หน่วยงานของรัฐ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คือ ผู้ค้ากับหน่วยงานของรัฐ สภาอุตสาหกรรม สมาคมธนาคารไทย
สถาบนั การเงิน หอการคา้ ไทย สถานพยาบาลเอกชน ผรู้ บั เบี้ยหวดั บำเหนจ็ บำนาญ ผมู้ สี ทิ ธิรับเงนิ จากทางราชการ
ท่ไี ม่ใชเ่ จา้ หน้าท่ขี องรัฐ และประชาชนทั่วไปทตี่ ดิ ตอ่ ราชการกบั สำนักงานคลังจังหวัด

8.3 การกำหนดขนาดตวั อยา่ ง : กลุ่มตวั อย่างไม่นอ้ ยกว่า 30 ราย
8.4 การสุ่มตัวอยา่ ง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบไมใ่ ช้ทฤษฎีความน่าจะเปน็ (Nonprobability Sampling)
โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ของผู้รับบริการตามที่ปฏิบัติงาน
ในหน่วยงานภาครัฐ เพอ่ื ใหไ้ ด้ตวั อยา่ งครอบคลมุ งานบริการมากทสี่ ุด

1 หน่วยงานของรัฐ ไดแ้ ก่ กระทรวง ทบวง กรม หรอื สว่ นราชการท่ีเรียกช่ืออย่างอ่ืนและมีฐานะเป็นกรม ราชการส่วนภมู ภิ าค ราชการส่วนท้องถิ่น

และรัฐวสิ าหกิจทต่ี ัง้ ขึน้ โดยพระราชบญั ญัตหิ รอื พระราชกฤษฎีกาและให้หมายความรวมถึงหน่วยงานอ่ืนของรัฐทมี่ ีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้เป็น
หนว่ ยงานของรฐั ตามพระราชบัญญตั ินดี้ ว้ ย
2 เจ้าหน้าที่ของรัฐ ได้แก่ ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำและลูกจ้างชั่วคราว และผู้ปฏิบตั ิงานประเภทอื่น ไม่ว่าจะเป็น การแต่งตั้ง
ในฐานะเปน็ กรรมการหรือฐานะอนื่ ใด รวมทั้งผู้ซงึ่ ไดร้ ับแต่งต้งั และถกู สงั่ ให้ปฏิบตั ิงานใหแ้ กห่ นว่ ยงานของรัฐ

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการและผูม้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี ที่มีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 2

9. เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการสำรวจ
แบบสำรวจแบบปลายเปิดและปลายปิด จำนวน 1 ฉบับ คือ แบบสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ

และผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ท่มี ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจังหวดั แบง่ เปน็ 3 ส่วน ดังนี้
สว่ นท่ี 1 : ขอ้ มลู ท่ัวไป
สว่ นท่ี 2 : ข้อมูลความพึงพอใจที่มีตอ่ การให้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวดั
สว่ นที่ 3 : ขอ้ เสนอแนะเพ่ือปรบั ปรงุ การให้บรกิ ารของสำนักงานคลงั จังหวัด

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยกระจาย
แบบสำรวจไปยังสำนักงานคลังจังหวัดทางหนังสือราชการ และการขอความร่วมมือจากส่วนราชการ
ในการตอบแบบสำรวจออนไลน์ผ่านทางเว็บไซต์ www.cgd.go.th หัวข้อ “สำรวจความพึงพอใจ
ของผูร้ บั บริการ” (ด้านบนของเว็บไซต์) หรอื ผา่ นทาง QR Code

10. การวเิ คราะหแ์ ละประมวลผลขอ้ มลู

10.1 นำข้อมูลจากแบบสำรวจมาลงรหัส (Coding) และประมวลผลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
SPSS For Windows คำนวณสถิตติ า่ ง ๆ ได้แก่ คา่ ความถี่ (Frequency) คา่ ร้อยละ (Percentage) คา่ เฉลี่ย (Mean)

10.2 วิธีการประเมินผลความพึงพอใจ ได้กำหนดเกณฑ์การวัดตามระบบ Likert Scales 3 แบ่งเป็น

5 ระดับ ดงั น้ี

ช่วงคะแนน ระดับความพึงพอใจ
4.21 - 5.00 พอใจมากทีส่ ดุ
3.41 - 4.20 พอใจมาก
2.61 - 3.40 พอใจปานกลาง
1.81 - 2.60 พอใจน้อย
0.00 - 1.80 ควรปรบั ปรุง

หมายเหตุ : กรณไี ม่เคยใช้บริการ จะไม่นำมาคิดคา่ คะแนน

3 เครื่องมอื วดั ทัศนคตหิ รอื ความคิดเหน็ ที่กำหนดคะแนนของคำตอบในแบบสำรวจ สว่ นใหญ่นิยมกำหนดน้ำหนักความเห็นตอ่ คำถามแต่ละข้อเป็น
5 ระดบั ซงึ่ คำตอบเก่ยี วกับทศั นคตหิ รือความคดิ เหน็ แต่ละชุด จะนำมาสรา้ งเป็นมาตรวดั ระดบั ของทัศนคติหรอื ความคิดเห็นในเรื่องนั

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียที่มตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 3

11. สูตรการคำนวณ 20

11.1 ร้อยละความพึงพอใจการใหบ้ รกิ าร 5 ดา้ น ของแต่ละสำนักงานคลงั จังหวัด =

(คะแนนเฉลี่ยด้านเจา้ หน้าท่ี/ผปู้ ฏิบตั ิงาน + คะแนนเฉล่ยี ดา้ นกระบวนการ/ข้นั ตอนปฏบิ ัติงาน +
คะแนนเฉลี่ยด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร + คะแนนเฉล่ียด้านสถานท่ีและเครื่องมอื ในการใหบ้ รกิ าร +

คะแนนเฉลี่ยดา้ นการให้บริการ)
5

11.2 ร้อยละความพงึ พอใจการใหบ้ ริการ 5 ดา้ น ของสำนกั งานคลังจงั หวัด =

ผลรวมความพึงพอใจการใหบ้ ริการ 5 ดา้ น ของแต่ละสำนักงานคลังจังหวดั

76 20

11.3 รอ้ ยละความพึงพอใจเฉลย่ี ภาพรวมของแตล่ ะสำนักงานคลังจงั หวดั = 20

(คะแนนเฉลยี่ ความพงึ พอใจการใหบ้ รกิ ารภาพรวม 5 คะแนนเต็ม + คะแนนความพงึ พอใจการให้บรกิ าร 5 ดา้ น)
2

11.4 ร้อยละความพึงพอใจการใหบ้ ริการภาพรวม 5 คะแนน ของสำนกั งานคลังจงั หวดั =
ผลรวมคะแนนเฉลีย่ ความพึงพอใจการใหบ้ ริการภาพรวม 5 คะแนนเตม็ 5

76

11.5 ร้อยละความพึงพอใจเฉลยี่ ภาพรวมของสำนักงานคลงั จงั หวดั
ผลรวมความพึงพอใจเฉล่ยี ภาพรวมของแตล่ ะสำนักงานคลังจังหวัด 20

76

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสียท่ีมีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 4

12. ข้อจำกัดของการสำรวจ

12.1 วิธีการกระจายแบบสำรวจจะผ่านทางหน่วยงานเป็นหลักมากกว่าการกระจายให้แก่เจ้าหน้าท่ี
ของหน่วยงานภาครฐั

12.2 หน่วยงานภาครัฐมีโอกาสกระจายแบบสำรวจไม่ครบถ้วนหรือตรงตามกลุ่มเป้าหมายที่
กรมบัญชีกลางกำหนด ทำให้การเก็บรวบรวมจำนวนกลุ่มตัวอย่างในงานแต่ละด้านมจี ำนวนแตกตา่ งกันมาก
และการกระจายกลุ่มตวั อยา่ งยงั ไม่ครอบคลุม

12.3 กลุ่มตัวอยา่ งในงานแต่ละดา้ นมคี วามแตกตา่ งกัน มีขนาดไม่เทา่ กัน และเปน็ ผู้รบั บรกิ ารเฉพาะกลุ่ม
ดังน้ัน งานแต่ละดา้ นจึงเป็นอิสระต่อกัน ส่งผลใหก้ ารวเิ คราะห์ขอ้ มลู คร้ังนใ้ี หค้ วามสำคญั กบั งานทุกด้านเทา่ กัน

13. คำนิยาม
การพจิ ารณาผลการสำรวจแบง่ ประเด็นที่พจิ ารณาออกเป็น 5 ด้าน แตล่ ะด้านมคี วามหมาย ดงั น้ี
13.1 ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน หมายถึง การปฏิบัติงานของบุคลากรสำนักงานคลังจังหวัด ได้แก่

ขา้ ราชการ ลูกจ้างประจำ พนกั งานราชการ และลูกจา้ งชัว่ คราว
13.2 ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน หมายถึง รูปแบบ กระบวนการ ขั้นตอน หรือวิธีการ

ดำเนินงานของสำนักงานคลังจังหวัด เช่น การวางแผน การบริหารจัดการ การพัฒนาหรือปรับปรุงการทำงาน
ความยืดหยนุ่ การรับฟงั ความคิดเหน็ เป็นต้น

13.3 ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร หมายถึง วิธีการทีผ่ ู้รับบริการติดต่องานกับสำนักงานคลงั จังหวัด เช่น
ตดิ ตอ่ ด้วยตนเอง Call Center หนงั สอื ราชการ โทรศพั ท์ จดหมาย/โทรสาร Line E-mail และ Facebook
เป็นตน้

13.4 ด้านสถานที่และเคร่ืองมือในการใหบ้ ริการ หมายถึง การจัดสถานที่ ภูมิทัศน์ เครื่องมือ อุปกรณ์
และสิง่ อำนวยความสะดวก

13.5 ด้านการให้บริการ หมายถึง สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง โปร่งใส และความน่าเชื่อถือ โดยนิยาม
คำว่า “บริการ” หมายถึง การตอบข้อหารือ/การให้คำปรึกษา แนะนำการฝึกอบรม การเผยแพร่ความรู้
หรือข้อมูล การให้บริการผา่ นระบบเทคโนโลยี เปน็ ตน้

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนักงานคลงั จงั หวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 5

กรมบัญชกี ลางได้ดำเนนิ การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ที่มีต่อการให้บรกิ ารของ
สำนักงานคลังจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระหว่างวันที่ 1 - 30 กรกฎาคม 2564 มีกลุ่มเป้าหมาย
ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนทั่วไป ซึ่งเป็นผู้รับบริการกับสำนักงานคลังจังหวัด 76 จังหวัด
ของกรมบญั ชีกลาง มแี บบสำรวจตอบกลับ จำนวน 6,090 ฉบับ แสดงผลการสำรวจได้ ดังนี้
1. ภาพรวมการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวดั

1.1 ความพงึ พอใจเฉลี่ยภาพรวมท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนักงานคลงั จงั หวดั
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ

การให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน
ได้คะแนนเฉลี่ย 4.62 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.40 อยู่ในระดับพึงพอใจมากทีส่ ุด ประกอบดว้ ย ผลคะแนน
ใน 2 ส่วน ดงั น้ี

1.1.1 การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.63 คะแนน คิดเป็นร้อยละ
92.60

1.1.2 การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉล่ีย
4.60 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 92.00 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าท่ี/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ
ด้านกระบวนการ/ขัน้ ตอนปฏิบตั ิงาน ด้านการให้บริการ และด้านช่องทางตดิ ต่อสื่อสาร คะแนนเฉลี่ย 4.66
4.62 4.59 4.56 และ 4.56 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 93.20 92.40 91.80 91.20 และ 91.20 ตามลำดบั

ผลคะแนนทั้ง 2 ส่วน แสดงตามภาพที่ 1 และตารางที่ 1 - 2

ภาพท่ี 1 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บรกิ ารของสำนักงานคลงั จังหวัด
จำแนกตามประเด็นการสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี ที่มีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 6

ตารางท่ี 1 : สรุปคะแนนและรอ้ ยละของคะแนนความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมท่มี ีตอ่ การให้บริการของสำนกั งานคลังจงั หวัด
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ท่ีมตี ่อการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 7

ตารางที่ 2 : สรุปคะแนนและรอ้ ยละของคะแนนความพึงพอใจที่มีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนักงานคลังจังหวัด
จำแนกตามประเดน็ การสำรวจ 5 ด้าน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ สารวจความพงึ พอใจ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน)

จังหวัด ภาพรวมเฉลี่ย คะแนนเตม็ 5 รวม 5 ดา้ น ดา้ นเจ้าหนา้ ท/่ี ดา้ น ดา้ นช่องทาง ดา้ นสถานท่แี ละ
ผู้ปฏบิ ตั งิ าน กระบวนการ/ ตดิ ตอ่ สื่อสาร เคร่ืองมือในการ ดา้ นการใหบ้ ริการ
ข้ันตอนปฏบิ ตั งิ าน
ใหบ้ ริการ

คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ

ภาพรวม 4.62 92.40 4.63 92.60 4.60 92.00 4.66 93.20 4.59 91.80 4.56 91.20 4.62 92.40 4.56 91.20
สานกั งานคลังจงั หวัด

เขต 1

1. อยุธยา 4.35 87.00 4.35 87.00 4.34 86.80 4.41 88.20 4.36 87.20 4.28 85.60 4.36 87.20 4.31 86.20

2. นนทบรุ ี 4.42 88.40 4.47 89.40 4.37 87.40 4.48 89.60 4.37 87.40 4.28 85.60 4.43 88.60 4.31 86.20

3. ปทมุ ธานี 4.38 87.60 4.39 87.80 4.36 87.20 4.44 88.80 4.34 86.80 4.32 86.40 4.34 86.80 4.35 87.00

4. ลพบุรี 4.76 95.20 4.82 96.40 4.70 94.00 4.75 95.00 4.77 95.40 4.64 92.80 4.69 93.80 4.67 93.40

5. สระบุรี 4.72 94.40 4.71 94.20 4.73 94.60 4.78 95.60 4.74 94.80 4.69 93.80 4.76 95.20 4.68 93.60

6. สิงห์บรุ ี 4.91 98.20 4.92 98.40 4.90 98.00 4.94 98.80 4.90 98.00 4.88 97.60 4.88 97.60 4.89 97.80

7. ชัยนาท 4.71 94.20 4.74 94.80 4.68 93.60 4.73 94.60 4.69 93.80 4.66 93.20 4.69 93.80 4.65 93.00

8. อา่ งทอง 4.89 97.80 4.91 98.20 4.86 97.20 4.89 97.80 4.88 97.60 4.85 97.00 4.87 97.40 4.82 96.40

เขต 2

9. ฉะเชิงเทรา 4.43 88.60 4.44 88.80 4.41 88.20 4.52 90.40 4.40 88.00 4.34 86.80 4.43 88.60 4.35 87.00

10. จันทบุรี 4.46 89.20 4.47 89.40 4.44 88.80 4.49 89.80 4.43 88.60 4.38 87.60 4.48 89.60 4.43 88.60

11. ชลบุรี 4.42 88.40 4.44 88.80 4.40 88.00 4.47 89.40 4.42 88.40 4.41 88.20 4.35 87.00 4.36 87.20

12. ตราด 4.79 95.80 4.80 96.00 4.77 95.40 4.78 95.60 4.79 95.80 4.76 95.20 4.78 95.60 4.74 94.80

13. นครนายก 4.70 94.00 4.72 94.40 4.68 93.60 4.83 96.60 4.69 93.80 4.60 92.00 4.68 93.60 4.60 92.00

14. ปราจีนบุรี 4.82 96.40 4.82 96.40 4.81 96.20 4.86 97.20 4.78 95.60 4.82 96.40 4.85 97.00 4.76 95.20

15. ระยอง 4.64 92.80 4.66 93.20 4.62 92.40 4.69 93.80 4.62 92.40 4.56 91.20 4.63 92.60 4.59 91.80

16. สมุทรปราการ 4.59 91.80 4.61 92.20 4.57 91.40 4.65 93.00 4.58 91.60 4.53 90.60 4.56 91.20 4.53 90.60

17. สระแกว้ 4.61 92.20 4.65 93.00 4.57 91.40 4.61 92.20 4.55 91.00 4.54 90.80 4.62 92.40 4.55 91.00

เขต 3

18. นครราชสีมา 4.49 89.80 4.54 90.80 4.43 88.60 4.51 90.20 4.40 88.00 4.41 88.20 4.43 88.60 4.39 87.80

19. ชัยภูมิ 4.80 96.00 4.78 95.60 4.81 96.20 4.84 96.80 4.79 95.80 4.78 95.60 4.82 96.40 4.83 96.60

20. บุรีรัมย์ 4.75 95.00 4.76 95.20 4.73 94.60 4.76 95.20 4.68 93.60 4.70 94.00 4.73 94.60 4.76 95.20

21. ยโสธร 4.79 95.80 4.81 96.20 4.76 95.20 4.81 96.20 4.71 94.20 4.72 94.40 4.80 96.00 4.75 95.00

22. ศรีสะเกษ 4.72 94.40 4.74 94.80 4.70 94.00 4.77 95.40 4.69 93.80 4.65 93.00 4.70 94.00 4.69 93.80

23. สรุ ินทร์ 4.53 90.60 4.56 91.20 4.49 89.80 4.62 92.40 4.47 89.40 4.53 90.60 4.37 87.40 4.45 89.00

24. อบุ ลราชธานี 4.51 90.20 4.55 91.00 4.47 89.40 4.57 91.40 4.47 89.40 4.38 87.60 4.52 90.40 4.39 87.80

25. อานาจเจริญ 4.79 95.80 4.78 95.60 4.80 96.00 4.80 96.00 4.78 95.60 4.78 95.60 4.85 97.00 4.81 96.20

เขต 4

26. อุดรธานี 4.84 96.80 4.85 97.00 4.82 96.40 4.86 97.20 4.82 96.40 4.81 96.20 4.82 96.40 4.79 95.80

27. กาฬสินธุ์ 4.51 90.20 4.54 90.80 4.48 89.60 4.57 91.40 4.39 87.80 4.39 87.80 4.57 91.40 4.47 89.40

28. ขอนแก่น 4.57 91.40 4.60 92.00 4.53 90.60 4.64 92.80 4.52 90.40 4.48 89.60 4.54 90.80 4.47 89.40

29. นครพนม 4.84 96.80 4.83 96.60 4.84 96.80 4.87 97.40 4.84 96.80 4.84 96.80 4.83 96.60 4.81 96.20

30. มหาสารคาม 4.87 97.40 4.86 97.20 4.87 97.40 4.90 98.00 4.86 97.20 4.86 97.20 4.90 98.00 4.83 96.60

31. มุกดาหาร 4.47 89.40 4.44 88.80 4.50 90.00 4.58 91.60 4.49 89.80 4.45 89.00 4.49 89.80 4.48 89.60

32. ร้อยเอ็ด 4.84 96.80 4.83 96.60 4.84 96.80 4.86 97.20 4.84 96.80 4.84 96.80 4.84 96.80 4.83 96.60

33. เลย 4.78 95.60 4.78 95.60 4.77 95.40 4.80 96.00 4.77 95.40 4.75 95.00 4.79 95.80 4.75 95.00

34. สกลนคร 4.68 93.60 4.69 93.80 4.67 93.40 4.73 94.60 4.63 92.60 4.63 92.60 4.72 94.40 4.66 93.20

35. หนองคาย 4.59 91.80 4.63 92.60 4.55 91.00 4.61 92.20 4.53 90.60 4.53 90.60 4.58 91.60 4.50 90.00

36. หนองบวั ลาภู 4.62 92.40 4.66 93.20 4.57 91.40 4.59 91.80 4.56 91.20 4.55 91.00 4.62 92.40 4.52 90.40

37. บึงกาฬ 4.50 90.00 4.48 89.60 4.51 90.20 4.55 91.00 4.54 90.80 4.46 89.20 4.54 90.80 4.48 89.60

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ท่ีมตี ่อการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 8

ตารางที่ 2 : สรุปคะแนนและรอ้ ยละของคะแนนความพึงพอใจทมี่ ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัด
จำแนกตามประเดน็ การสำรวจ 5 ด้าน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ต่อ)

ประเดน็ สารวจความพงึ พอใจ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน)

จังหวัด ภาพรวมเฉลี่ย คะแนนเตม็ 5 รวม 5 ดา้ น ดา้ นเจา้ หนา้ ท/ี่ ดา้ น ดา้ นช่องทาง ดา้ นสถานทแี่ ละ
ผู้ปฏิบตั งิ าน กระบวนการ/ ตดิ ตอ่ ส่ือสาร เครื่องมือในการ ดา้ นการใหบ้ ริการ
ภาพรวม คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ ขั้นตอนปฏบิ ตั งิ าน
สานกั งานคลังจังหวัด ใหบ้ ริการ
เขต 5 4.62 92.40 4.63 92.60 4.60 92.00 คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ
38. เชียงใหม่
39. เชียงราย 4.70 94.00 4.72 94.40 4.67 93.40 4.66 93.20 4.59 91.80 4.56 91.20 4.62 92.40 4.56 91.20
40. น่าน 4.64 92.80 4.67 93.40 4.61 92.20
41. พะเยา 4.60 92.00 4.62 92.40 4.58 91.60 4.72 94.40 4.63 92.60 4.64 92.80 4.69 93.80 4.69 93.80
42. แพร่ 4.28 85.60 4.28 85.60 4.27 85.40 4.71 94.20 4.61 92.20 4.60 92.00 4.55 91.00 4.57 91.40
43. แม่ฮ่องสอน 4.49 89.80 4.48 89.60 4.49 89.80 4.61 92.20 4.60 92.00 4.56 91.20 4.58 91.60 4.55 91.00
44. ลาพูน 4.55 91.00 4.55 91.00 4.55 91.00 4.32 86.40 4.22 84.40 4.25 85.00 4.29 85.80 4.25 85.00
45. ลาปาง 4.67 93.40 4.70 94.00 4.63 92.60 4.49 89.80 4.42 88.40 4.45 89.00 4.59 91.80 4.48 89.60
เขต 6 4.67 93.40 4.69 93.80 4.65 93.00 4.57 91.40 4.52 90.40 4.55 91.00 4.55 91.00 4.54 90.80
46. พิษณุโลก 4.75 95.00 4.60 92.00 4.65 93.00 4.55 91.00 4.60 92.00
47. กาแพงเพชร 4.49 89.80 4.50 90.00 4.47 89.40 4.68 93.60 4.63 92.60 4.63 92.60 4.67 93.40 4.63 92.60
48. ตาก 4.65 93.00 4.69 93.80 4.61 92.20
49. นครสวรรค์ 4.77 95.40 4.79 95.80 4.74 94.80 4.57 91.40 4.49 89.80 4.43 88.60 4.46 89.20 4.39 87.80
50. พิจิตร 4.74 94.80 4.76 95.20 4.71 94.20 4.65 93.00 4.54 90.80 4.53 90.60 4.67 93.40 4.64 92.80
51. เพชรบรู ณ์ 4.49 89.80 4.50 90.00 4.47 89.40 4.82 96.40 4.70 94.00 4.73 94.60 4.75 95.00 4.68 93.60
52. สโุ ขทยั 4.66 93.20 4.68 93.60 4.64 92.80 4.76 95.20 4.72 94.40 4.67 93.40 4.73 94.60 4.69 93.80
53. อุทัยธานี 4.75 95.00 4.77 95.40 4.73 94.60 4.54 90.80 4.46 89.20 4.44 88.80 4.52 90.40 4.41 88.20
54. อตุ รดติ ถ์ 4.39 87.80 4.40 88.00 4.38 87.60 4.76 95.20 4.64 92.80 4.57 91.40 4.66 93.20 4.58 91.60
เขต 7 4.49 89.80 4.52 90.40 4.46 89.20 4.83 96.60 4.66 93.20 4.72 94.40 4.76 95.20 4.69 93.80
55. นครปฐม 4.45 89.00 4.32 86.40 4.37 87.40 4.45 89.00 4.33 86.60
56. กาญจนบุรี 4.86 97.20 4.88 97.60 4.83 96.60 4.54 90.80 4.42 88.40 4.41 88.20 4.51 90.20 4.42 88.40
57. ประจวบครี ีขันธ์ 4.42 88.40 4.38 87.60 4.45 89.00
58. เพชรบุรี 4.68 93.60 4.69 93.80 4.66 93.20 4.88 97.60 4.86 97.20 4.79 95.80 4.80 96.00 4.83 96.60
59. ราชบรุ ี 4.72 94.40 4.73 94.60 4.70 94.00 4.51 90.20 4.46 89.20 4.40 88.00 4.52 90.40 4.36 87.20
60. สมุทรสงคราม 4.30 86.00 4.33 86.60 4.26 85.20 4.70 94.00 4.64 92.80 4.62 92.40 4.70 94.00 4.62 92.40
61. สมุทรสาคร 4.45 89.00 4.46 89.20 4.44 88.80 4.74 94.80 4.71 94.20 4.68 93.60 4.72 94.40 4.67 93.40
62. สพุ รรณบุรี 4.50 90.00 4.55 91.00 4.45 89.00 4.33 86.60 4.29 85.80 4.18 83.60 4.28 85.60 4.22 84.40
เขต 8 4.61 92.20 4.63 92.60 4.58 91.60 4.52 90.40 4.41 88.20 4.38 87.60 4.51 90.20 4.38 87.60
63. สรุ าษฎร์ธานี 4.52 90.40 4.42 88.40 4.49 89.80 4.42 88.40 4.40 88.00
64. นครศรีธรรมราช 4.77 95.40 4.79 95.80 4.75 95.00 4.65 93.00 4.59 91.80 4.53 90.60 4.59 91.80 4.52 90.40
65. กระบี่ 4.44 88.80 4.47 89.40 4.40 88.00
66. ชุมพร 4.86 97.20 4.86 97.20 4.85 97.00 4.87 97.40 4.75 95.00 4.70 94.00 4.77 95.40 4.66 93.20
67. พังงา 4.65 93.00 4.72 94.40 4.58 91.60 4.49 89.80 4.39 87.80 4.34 86.80 4.43 88.60 4.37 87.40
68. ภเู กต็ 4.56 91.20 4.57 91.40 4.54 90.80 4.89 97.80 4.84 96.80 4.84 96.80 4.85 97.00 4.85 97.00
69. ระนอง 4.65 93.00 4.63 92.60 4.66 93.20 4.68 93.60 4.55 91.00 4.55 91.00 4.60 92.00 4.53 90.60
เขต 9 4.76 95.20 4.76 95.20 4.76 95.20 4.64 92.80 4.50 90.00 4.51 90.20 4.60 92.00 4.46 89.20
70. สงขลา 4.75 95.00 4.69 93.80 4.63 92.60 4.61 92.20 4.62 92.40
71. ตรัง 4.53 90.60 4.54 90.80 4.52 90.40 4.78 95.60 4.76 95.20 4.75 95.00 4.82 96.40 4.70 94.00
72. พัทลงุ 4.48 89.60 4.51 90.20 4.45 89.00
73. นราธิวาส 4.53 90.60 4.53 90.60 4.52 90.40 4.58 91.60 4.50 90.00 4.48 89.60 4.57 91.40 4.45 89.00
74. ปัตตานี 4.33 86.60 4.32 86.40 4.33 86.60 4.53 90.60 4.47 89.40 4.40 88.00 4.48 89.60 4.37 87.40
75. ยะลา 4.56 91.20 4.60 92.00 4.52 90.40 4.53 90.60 4.49 89.80 4.50 90.00 4.60 92.00 4.47 89.40
76. สตลู 4.57 91.40 4.61 92.20 4.53 90.60 4.44 88.80 4.31 86.20 4.33 86.60 4.36 87.20 4.23 84.60
4.69 93.80 4.70 94.00 4.68 93.60 4.63 92.60 4.57 91.40 4.44 88.80 4.54 90.80 4.41 88.20
4.61 92.20 4.55 91.00 4.41 88.20 4.59 91.80 4.50 90.00
4.72 94.40 4.67 93.40 4.66 93.20 4.71 94.20 4.65 93.00

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสียท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนกั งานคลังจงั หวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 9

1.2 ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนกั งานคลงั จังหวัด จำแนกตามประเดน็ การสำรวจ ตงั้ แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 พบว่า
ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ลดลงจากปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร ด้านสถานที่
และเคร่อื งมือในการใหบ้ ริการ และดา้ นการใหบ้ ริการ มีผลระดบั ความพงึ พอใจเฉลย่ี ลดลง คิดเปน็ ร้อยละ 0.64
0.86 1.08 0.43 และ 0.87 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 2

ภาพท่ี 2 : รอ้ ยละของระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมท่ีมีต่อการให้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัด
จำแนกตามประเดน็ การสำรวจ 5 ด้าน ต้ังแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564

1.3 ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนักงานคลังจังหวัด ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
และปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 ระดับความพึงพอใจเฉล่ยี เพิ่มขึน้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.68 2.76 และ 4.25
ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน สำหรับปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยลดลง คิดเป็นร้อยละ 1.81 และ 0.86
ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านการให้บริการ อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาร้อยละ
ของระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัด ตั้งแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 - 2564 คาดว่ามีแนวโนม้ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ พม่ิ ขึ้น แสดงตามภาพที่ 3

ภาพที่ 3 : รอ้ ยละของระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีตอ่ การใหบ้ ริการ
ของสำนักงานคลังจังหวัด ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียที่มตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 10

1.4 ความต้องการกลบั มาใช้บริการของสำนกั งานคลังจังหวัด
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 6,090 คน พบว่า ความต้องการกลับมาใช้บริการ จำนวน

6,079 คน คิดเป็นร้อยละ 99.82 และไม่ต้องการกลับมาใช้บริการ จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 0.18
แสดงตามภาพที่ 4

ภาพท่ี 4 : จำนวนผตู้ ้องการกลับมาใช้บริการของสำนกั งานคลงั จังหวัด

1.5 การแนะนำใหม้ าใชบ้ ริการของสำนักงานคลังจงั หวดั
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 6,090 คน พบว่า แนะนำให้มาใช้บริการ จำนวน 5,144 คน

คดิ เปน็ ร้อยละ 84.47 และไมแ่ นะนำให้มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 946 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 15.53 แสดงตามภาพท่ี 5

ภาพที่ 5 : จำนวนการแนะนำให้มาใช้บรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวดั

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผูม้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ท่ีมีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 11

1.6 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ
แบบสำรวจความพึงพอใจที่ได้ตอบกลับ จำนวน 6,090 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 346 ฉบับ

สรปุ ประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน ได้ดงั นี้
1.6.1 ด้านเจา้ หนา้ ท่ี/ผู้ปฏบิ ตั งิ าน (จำนวน 88 ฉบับ คิดเปน็ รอ้ ยละ 25.43)
1) เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานควรมีจิตบริการ (Service mind) ไม่ใส่อารมณ์ในการตอบคำถาม

ตอบคำถามด้วยอธั ยาศัยไมตรีท่ดี ี มีความกระตอื รอื รน้ และเต็มใจใหบ้ ริการ
2) เจ้าหน้าที่ควรมีความเชี่ยวชาญในงานที่รับผิดชอบ และควรตอบคำถามแก่ผู้รับบริการให้

ชดั เจน รวดเร็ว และตรงความตอ้ งการ

3) เจ้าหนา้ ทผ่ี ้ปู ฏิบัตงิ าน ควรสามารถทำงานแทนกนั ได้ หรือมเี จ้าหนา้ ทีค่ อยรบั เรื่องตลอดเวลา
4) ควรเพิ่มจำนวนบุคลากรในการให้บริการให้เพียงพอ เนื่องจากเจ้าหน้าที่บางท่านติดต่อ
ประสานงานกบั ผูร้ บั บริการทา่ นอื่น ทำให้ไม่สามารถให้บรกิ ารไดใ้ นทันที

1.6.2 ด้านกระบวนการ/ขน้ั ตอนปฏิบัติงาน (จำนวน 54 ฉบับ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 15.61)
1) ควรลดข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ านใหม้ คี วามเหมาะสม
2) ควรมีกระบวนการ และขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจน เพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไป

ในทิศทางเดยี วกัน
3) ระยะเวลาในการใหบ้ รกิ ารควรมีความเหมาะสม
4) ควรจัดทำค่มู อื สรปุ ขนั้ ตอนปฏิบัตงิ าน เพอ่ื เปน็ ประโยชน์ตอ่ การนำไปใช้ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง

1.6.3 ด้านชอ่ งทางตดิ ต่อสือ่ สาร (จำนวน 132 ฉบับ คิดเป็นรอ้ ยละ 38.15)
1) ควรเพิ่มช่องการติดต่อสื่อสารที่หลากหลายนอกจากการติดต่อทางโทรศัพท์ เช่น Application

Line Facebook และ e-mail

2) ควรเพิ่มคสู่ ายโทรศพั ทใ์ นการแนะนำปรึกษาให้มากขน้ึ
3) ควรปรบั ปรงุ ฐานข้อมูล Website ใหค้ รบถว้ น และเป็นปัจจบุ ัน เพือ่ ใหส้ ืบคน้ ได้งา่ ย
1.6.4 ดา้ นสถานทแ่ี ละเครอ่ื งมอื ในการให้บริการ (จำนวน 40 ฉบบั คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.56)

1) ควรปรบั ปรงุ สถานทใ่ี ห้บริการ เน่ืองจากคบั แคบไมเ่ พยี งพอตอ่ ผรู้ บั บริการ
2) ควรมคี อมพวิ เตอร์ส่วนกลาง เพอ่ื ความสะดวกแกผ่ ู้มาติดตอ่ ทหี่ นว่ ยงาน
3) ควรมจี ดุ ที่นั่งพัก ปา้ ย หรอื แผนผงั แสดงจุดให้บริการท่ชี ดั เจน

1.6.5 ด้านการใหบ้ ริการ (จำนวน 32 ฉบบั คดิ เป็นร้อยละ 9.25)
1) ควรจัดให้มีการฝึกอบรม ทบทวน ระเบียบ หนังสือสั่งการใหม่ ๆ หรือทบทวนการปฏิบัติงาน

ในระบบ e-GP เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกิดความมั่นใจในการทำงาน และส่งผลให้การปฏิบัติงาน

มปี ระสทิ ธภิ าพมากย่ิงขน้ึ
2) ควรตอบคำถามหรือแนะนำผู้รับบริการด้วยความรวดเร็ว ชัดเจน และเป็นไปในทิศทาง

เดยี วกนั

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผ้มู ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนักงานคลังจงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 12

2. ผลสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนกั งานคลงั จงั หวดั

2.1 สำนักงานคลังจังหวดั ในเขต 1
2.1.1 สำนักงานคลงั จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา
1) ความพึงพอใจเฉลีย่ ภาพรวม
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีตอ่

การใหบ้ ริการของสำนกั งานคลังจังหวดั พระนครศรีอยุธยา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเต็ม
5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.35 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.00 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ประกอบดว้ ย
ผลคะแนน 2 ส่วน ดังน้ี

1.1 การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย 4.35 คะแนน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.00

1.2 การให้บรกิ ารตามประเด็นการสำรวจ 5 ดา้ น จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ไดค้ ะแนนเฉลย่ี
4.34 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 86.80 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน
ด้านสถานที่และเครื่องมอื ในการให้บริการ ด้านการให้บริการ และด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร คะแนนเฉลย่ี
4.41 4.36 4.36 4.31 และ 4.28 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.20 87.20 87.20 86.20 และ 85.60 ตามลำดบั
แสดงตามภาพท่ี 6 และตารางท่ี 3

ภาพที่ 6 : ระดบั ความพงึ พอใจเฉลย่ี ท่มี ีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา
จำแนกตามประเด็นการสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสียที่มตี ่อการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จงั หวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 13

ตารางที่ 3 : รายละเอยี ดผลสำรวจระดับความพงึ พอใจเฉล่ียภาพรวมท่ีมีต่อการให้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ ระดบั ความพงึ พอใจ
คะแนน ร้อยละ
ระดบั ความพงึ พอใจเฉล่ียภาพรวมฯ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.35 87.00
ความพงึ พอใจท่มี ีตอ่ การใหบ้ ริการภาพรวม (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.35 87.00
ความพงึ พอใจทมี่ ีตอ่ การใหบ้ ริการ 5 ดา้ น (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.34 86.80
ดา้ นเจา้ หนา้ ท/ี่ ผู้ปฏิบตั งิ าน 4.41 88.20
1) เจ้าหน้าท่มี ีความร/ู้ ความเช่ียวชาญในงานที่รับผดิ ชอบ 4.41 88.20
2) เจ้าหนา้ ทบี่ ริการดว้ ยความรวดเร็ว และตรงความตอ้ งการ 4.38 87.60
3) เจ้าหน้าทใ่ี ชค้ าพูด และกิริยาทส่ี ุภาพ 4.43 88.60
4) เจ้าหน้าทป่ี ฏิบตั งิ านดว้ ยความเตม็ ใจ ไม่เลือกปฏิบัติ 4.43 88.60
ดา้ นกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบตั งิ าน 4.36 87.20
1) ขั้นตอนการให้บริการไม่ยุ่งยาก ซบั ซอ้ น 4.35 87.00
2) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม 4.36 87.20
ดา้ นช่องทางตดิ ตอ่ ส่ือสาร 4.28 85.60
1) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิ ตอ่ กลับภายในกาหนดเวลา 4.35 87.00
2) Website ของสานกั งานคลงั จังหวัด ข้อมูลเป็นปจั จุบนั และสบื คน้ ไดง้ ่าย 4.26 85.20
3) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ ง รวดเร็ว และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ 4.28 85.60
4) มีชอ่ งทางในการใหบ้ ริการทหี่ ลากหลาย เชน่ Facebook Line เป็นตน้ 4.23 84.60
ดา้ นสถานที่และเครื่องมือในการใหบ้ ริการ 4.36 87.20
1) มีจุดตอ้ นรับ/ประชาสมั พันธ์ จุดรอ ป้ายข้อความบอกจุดใหบ้ ริการชดั เจน 4.32 86.40
2) มีสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพอตอ่ การให้บริการ เช่น มีทีน่ ่ังคอยรับบริการ เปน็ ตน้ 4.32 86.40
3) สถานทีใ่ หบ้ ริการสะอาด เป็นระเบยี บเรียบร้อย 4.45 89.00
ดา้ นการใหบ้ ริการ 4.31 86.20
1) การตอบข้อหารือ/การใหค้ าปรึกษา/ข้อเสนอแนะชดั เจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเชื่อมั่นที่จะนาไปปฏิบตั งิ าน 4.39 87.80
2) การให้บริการดา้ นระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ 4.38 87.60
3) การใหบ้ ริการดา้ นระบบจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) สะดวก รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ 4.39 87.80
4) การขอรับหนงั สือรับรองสิทธิบาเหน็จคา้ ประกนั เพ่ือนาไปขอสนิ เชื่อธนาคาร สะดวก รวดเร็ว 4.30 86.00
5) รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จังหวัด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 4.22 84.40
6) รายงานประมาณการเศรษฐกจิ จังหวัดสะทอ้ นทศิ ทางเศรษฐกจิ จังหวัด สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 4.27 85.40
7) การประชาสมั พันธ/์ ให้คาปรึกษาแนะนา การจ่ายเงิน การรับเงิน และการนาเงินส่งคลงั ของส่วนราชการ 4.30 86.00
ผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ (KTB Corporate Online) ไดอ้ ย่างชดั เจน ถูกตอ้ ง และครบถ้วน
4.22 84.40
8) การประชาสมั พันธ/์ ให้คาปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและสว่ นภูมิภาค เชน่ บัตรสวัสดกิ ารแห่งรัฐ
กอช. ชิมช้อปใช้ และภารกจิ เงินเยียวยา 5,000 บาท คนละครึ่ง เราชนะ เป็นตน้ 4.30 86.00
4.35 87.00
9) มีการประชุม/อบรมหรือใหค้ วามรู้อย่างทวั่ ถึง และสามารถนาไปปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และมีประสทิ ธิภาพ
10) วิทยากรมีความเช่ียวชาญในการถ่ายทอดความรู้ไดอ้ ย่างชัดเจน

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียท่ีมีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 14

จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของ สำนักงาน
คลังจังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยพิจารณาเป็นรายด้าน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรุป
ผลการสำรวจ ดังนี้

• ผลคะแนนการสำรวจสูงสดุ 3 อนั ดบั แรก
1) สถานทีใ่ หบ้ รกิ ารสะอาด เปน็ ระเบียบเรียบร้อย คะแนนเฉล่ีย 4.45 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89.00
2) เจา้ หน้าท่ีใช้คำพูด และกริ ิยาที่สุภาพ และเจ้าหนา้ ที่ปฏบิ ตั งิ านดว้ ยความเต็มใจ ไม่เลือกปฏิบตั ิ

คะแนนเฉลย่ี 4.43 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 88.60
3) เจ้าหนา้ ทมี่ คี วามรู้/ความเชี่ยวชาญในงานทร่ี ับผิดชอบ คะแนนเฉลีย่ 4.41 คะแนน คิดเป็น

ร้อยละ 88.20

• ผลคะแนนการสำรวจตำ่ สดุ 3 อันดับแรก
1) รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ และการประชาสัมพนั ธ/์

ให้คำปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและส่วนภูมิภาค คะแนนเฉลี่ย 4.22 คะแนน คิดเป็น
ร้อยละ 84.40

2) มีชอ่ งทางในการให้บริการทห่ี ลากหลาย คะแนนเฉลีย่ 4.23 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 84.60
3) Website ของสำนักงานคลังจังหวัด ข้อมูลเป็นปัจจุบัน และสืบค้นได้ง่าย คะแนนเฉลี่ย
4.26 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 85.20

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดบั ความพึงพอใจเฉลีย่ ภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนักงานคลังจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา ตัง้ แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 - 2561 และปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ระดบั ความพึงพอใจเฉลย่ี ลดลง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.26 3.15
และ 11.94 ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร สำหรับ
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 3.25 และ 11.01 ตามลำดับ
พบวา่ ดา้ นทมี่ ีระดบั ความพึงพอใจสงู สดุ คือ ดา้ นเจา้ หนา้ ท่ี/ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และคาดวา่ ระดบั ความพึงพอใจเฉล่ีย
ภาพรวมที่มีตอ่ การให้บริการของสำนกั งานคลังจังหวัดพระนครศรีอยุธยามีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่ลดลง
แสดงตามภาพที่ 7

ภาพที่ 7 : ร้อยละของระดบั ความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมที่มีต่อการให้บรกิ าร
ของสำนักงานคลังจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา ตง้ั แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี ที่มตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 15

3) ข้อมลู ท่วั ไปของผรู้ บั บรกิ ารของสำนักงานคลงั จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา
จากแบบสำรวจความพงึ พอใจทไี่ ด้ตอบกลับ จำนวน 69 ฉบับ มขี อ้ มูลทั่วไปของผู้รบั บรกิ าร ดงั นี้
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 69 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป

มากท่สี ุด จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 50.73 รองลงมาคอื อยู่ในชว่ งอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 24 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 34.78 และอยใู่ นชว่ งอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 14.49 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 8

ภาพท่ี 8 : อายุผูร้ ับบรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัดพระนครศรีอยธุ ยา

3.2 เพศ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 69 คน พบว่า เป็นเพศชาย จำนวน 10 คน

คดิ เป็นร้อยละ 14.49 และเปน็ เพศหญงิ จำนวน 59 คน คิดเปน็ ร้อยละ 85.51 แสดงตามภาพที่ 9

ภาพที่ 9 : เพศผู้รบั บริการของสำนักงานคลังจังหวดั พระนครศรอี ยุธยา

3.3 จำนวนครัง้ ในการเขา้ รับบริการ
. ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 69 คน พบว่า เป็นผู้ท่ีเข้ารับบริการมากกว่า
2 ครั้งขึน้ ไป มากที่สดุ จำนวน 40 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 57.97 รองลงมาคือ เข้ารบั บรกิ าร 1 คร้ัง จำนวน 21 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 30.44 และเขา้ รับบริการ 2 ครง้ั จำนวน 8 คน คิดเปน็ ร้อยละ 11.59 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 10

ภาพท่ี 10 : จำนวนครั้งในการเข้ารบั บรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียท่ีมตี ่อการใหบ้ ริการของสำนักงานคลังจงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 16

4) ความตอ้ งการกลับมาใชบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 69 คน พบว่า มีความต้องการกลับมาใช้บรกิ าร

จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 แสดงตามภาพที่ 11

ภาพที่ 11 : จำนวนผทู้ ี่ตอ้ งการกลบั มาใช้บรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดพระนครศรอี ยุธยา

5) การแนะนำให้มาใช้บริการของสำนักงานคลังจงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา
ผตู้ อบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 69 คน พบว่า แนะนำให้มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 57 คน

คดิ เป็นรอ้ ยละ 82.61 และไมแ่ นะนำให้มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 12 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 17.39 แสดงตามภาพท่ี 12

ภาพที่ 12 : การแนะนำให้มาใช้บริการของสำนักงานคลังจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

6) ข้อเสนอแนะเพอ่ื ปรับปรงุ การให้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา
แบบสำรวจความพงึ พอใจท่ไี ดต้ อบกลับ จำนวน 69 ฉบบั พบว่า ไม่มีขอ้ เสนอแนะ

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการและผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ท่ีมีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 17

2.1.2 สำนักงานคลงั จงั หวัดนนทบรุ ี
1) ความพึงพอใจเฉลยี่ ภาพรวม
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ที่มีต่อ

การให้บริการของสำนักงานคลังจงั หวัดนนทบรุ ี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน
ได้คะแนนเฉลี่ย 4.42 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 88.40 อยู่ในระดับพงึ พอใจมากที่สดุ ประกอบดว้ ย ผลคะแนน
2 ส่วน ดังน้ี

1.1 การให้บรกิ ารภาพรวม จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ไดค้ ะแนนเฉล่ีย 4.47 คะแนน คิดเป็น
รอ้ ยละ 89.40

1.2 การให้บริการตามประเด็นการสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ไดค้ ะแนนเฉลี่ย
4.37 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.40 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ
ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน ด้านการให้บริการ และด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร คะแนนเฉลี่ย 4.48
4.43 4.37 4.31 และ 4.28 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 89.60 88.60 87.40 86.20 และ 85.60 ตามลำดับ
แสดงตามภาพที่ 13 และตารางที่ 4

ภาพท่ี 13 : ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยท่ีมีตอ่ การให้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจังหวัดนนทบุรี........
จำแนกตามประเด็นการสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มสี ว่ นได้ส่วนเสยี ที่มีต่อการใหบ้ ริการของสำนักงานคลังจงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 18

ตารางที่ 4 : รายละเอียดผลสำรวจระดับความพงึ พอใจเฉลย่ี ภาพรวมทีม่ ีต่อการให้บริการของสำนกั งานคลังจงั หวัดนนทบุรี
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ ระดบั ความพงึ พอใจ
คะแนน ร้อยละ
ระดบั ความพงึ พอใจเฉล่ียภาพรวมฯ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.42 88.40
ความพงึ พอใจทมี่ ีตอ่ การใหบ้ ริการภาพรวม (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.47 89.40
ความพงึ พอใจทีม่ ีตอ่ การใหบ้ ริการ 5 ดา้ น (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.37 87.40
ดา้ นเจา้ หนา้ ท/่ี ผู้ปฏบิ ตั งิ าน 4.48 89.60
1) เจ้าหน้าท่มี ีความร/ู้ ความเช่ียวชาญในงานท่ีรับผิดชอบ 4.44 88.80
2) เจ้าหน้าท่ีบริการดว้ ยความรวดเร็ว และตรงความตอ้ งการ 4.46 89.20
3) เจ้าหน้าที่ใช้คาพูด และกิริยาที่สุภาพ 4.49 89.80
4) เจ้าหน้าท่ปี ฏิบตั งิ านดว้ ยความเตม็ ใจ ไม่เลือกปฏิบัติ 4.52 90.40
ดา้ นกระบวนการ/ข้ันตอนปฏบิ ตั งิ าน 4.37 87.40
1) ขั้นตอนการใหบ้ ริการไม่ยุ่งยาก ซับซอ้ น 4.38 87.60
2) ระยะเวลาในการใหบ้ ริการมีความเหมาะสม 4.35 87.00
ดา้ นช่องทางตดิ ตอ่ ส่ือสาร 4.28 85.60
1) การรับเร่ือง ประสานงาน และตดิ ตอ่ กลับภายในกาหนดเวลา 4.38 87.60
2) Website ของสานักงานคลังจังหวัด ข้อมูลเป็นปจั จุบนั และสืบคน้ ไดง้ ่าย 4.19 83.80
3) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ ง รวดเร็ว และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ 4.26 85.20
4) มีช่องทางในการใหบ้ ริการที่หลากหลาย เชน่ Facebook Line เปน็ ตน้ 4.30 86.00
ดา้ นสถานทแ่ี ละเครื่องมือในการใหบ้ ริการ 4.43 88.60
1) มีจุดตอ้ นรับ/ประชาสัมพันธ์ จุดรอ ปา้ ยข้อความบอกจุดใหบ้ ริการชัดเจน 4.42 88.40
2) มีสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพอตอ่ การให้บริการ เช่น มีที่นั่งคอยรับบริการ เปน็ ตน้ 4.40 88.00
3) สถานท่ใี หบ้ ริการสะอาด เปน็ ระเบยี บเรียบร้อย 4.47 89.40
ดา้ นการใหบ้ ริการ 4.31 86.20
1) การตอบข้อหารือ/การให้คาปรึกษา/ข้อเสนอแนะชดั เจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเชื่อมั่นท่จี ะนาไปปฏบิ ัตงิ าน 4.44 88.80
2) การใหบ้ ริการดา้ นระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (GFMIS) สะดวก รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ 4.44 88.80
3) การใหบ้ ริการดา้ นระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) สะดวก รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ 4.41 88.20
4) การขอรับหนงั สอื รับรองสิทธิบาเหน็จคา้ ประกันเพื่อนาไปขอสินเชื่อธนาคาร สะดวก รวดเร็ว 4.29 85.80
5) รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัด สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 4.23 84.60
6) รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสะทอ้ นทศิ ทางเศรษฐกิจจังหวัด สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 4.20 84.00
7) การประชาสมั พันธ/์ ใหค้ าปรึกษาแนะนา การจ่ายเงิน การรับเงิน และการนาเงินส่งคลงั ของส่วนราชการ 4.28 85.60
ผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (KTB Corporate Online) ไดอ้ ย่างชดั เจน ถูกตอ้ ง และครบถ้วน
4.18 83.60
8) การประชาสมั พันธ/์ ใหค้ าปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและส่วนภมู ิภาค เชน่ บตั รสวัสดกิ ารแห่งรัฐ
กอช. ชมิ ช้อปใช้ และภารกจิ เงินเยียวยา 5,000 บาท คนละครึ่ง เราชนะ เป็นตน้ 4.29 85.80
4.29 85.80
9) มีการประชุม/อบรมหรือใหค้ วามรู้อย่างท่ัวถึง และสามารถนาไปปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และมีประสิทธิภาพ
10) วิทยากรมีความเช่ียวชาญในการถ่ายทอดความรู้ไดอ้ ย่างชัดเจน

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการและผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสยี ท่ีมีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 19

จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บรกิ ารของสำนักงาน
คลงั จงั หวดั นนทบุรี โดยพจิ ารณาเปน็ รายด้าน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรปุ ผลการสำรวจ ดังนี้

• ผลคะแนนการสำรวจสูงสดุ 3 อนั ดบั แรก
1) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ไม่เลือกปฏิบัติ คะแนนเฉลี่ย 4.52 คะแนน คิดเปน็

ร้อยละ 90.40
2) เจ้าหนา้ ท่ใี ชค้ ำพดู และกิรยิ าที่สุภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.49 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 89.80
3) สถานทใี่ ห้บรกิ ารสะอาด เปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย คะแนนเฉลยี่ 4.47 คะแนน คดิ เปน็ ร้อยละ

89.40

• ผลคะแนนการสำรวจตำ่ สุด 3 อันดับแรก
1) การประชาสัมพันธ์/ให้คำปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและส่วนภูมิภาค

คะแนนเฉลีย่ 4.18 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 83.60
2) Website ของสำนักงานคลังจังหวัด ข้อมูลเป็นปัจจุบัน และสืบค้นได้ง่าย คะแนนเฉล่ีย

4.19 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 83.80
3) รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจงั หวัด สามารถนำไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ คะแนนเฉลยี่ 4.20 คะแนน

คดิ เปน็ ร้อยละ 84.00

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลีย่ ภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนักงานคลังจังหวัดนนทบุรี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2560 - 2561 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยลดลง คิดเป็นร้อยละ
1.42 5.28 2.11 และ 4.95 ตามลำดับ พบว่าด้านทมี่ รี ะดบั ความพงึ พอใจต่ำสดุ คอื ด้านช่องทางติดตอ่ ส่ือสาร
ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านการให้บริการ สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
ระดับความพงึ พอใจเฉล่ียเพิ่มขน้ึ คดิ เป็นร้อยละ 20.25 พบว่าด้านที่มรี ะดับความพึงพอใจสูงสุด คือ กระบวนการ/
ขั้นตอนปฏิบัติงาน และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของสำนักงานคลัง
จังหวดั นนทบรุ ีมแี นวโนม้ การเปลี่ยนแปลงท่ีเพิม่ ขนึ้ แสดงตามภาพท่ี 14

ภาพที่ 14 : ร้อยละของระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมทีม่ ีต่อการใหบ้ รกิ าร
ของสำนกั งานคลงั จังหวัดนนทบรุ ี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ ีส่วนได้สว่ นเสยี ท่ีมีต่อการใหบ้ ริการของสำนักงานคลงั จงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 20

3) ข้อมูลทั่วไปของผรู้ ับบรกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวดั นนทบุรี
จากแบบสำรวจความพงึ พอใจที่ได้ตอบกลบั จำนวน 81 ฉบบั มีขอ้ มลู ท่วั ไปของผรู้ บั บรกิ าร ดงั นี้
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 81 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป

มากทีส่ ุด จำนวน 51 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 62.96 รองลงมาคือ อยใู่ นช่วงอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 25 คน คิดเปน็
ร้อยละ 30.87 และอยู่ในช่วงอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 5 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 6.17 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 15

ภาพท่ี 15 : แสดงอายผุ ู้รับบริการของสำนกั งานคลังจงั หวดั นนทบุรี

3.2 เพศ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 81 คน พบว่า เป็นเพศชาย จำนวน 12 คน

คดิ เปน็ ร้อยละ 14.81 และเปน็ เพศหญงิ จำนวน 69 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 85.19 แสดงตามภาพท่ี 16

ภาพท่ี 16 : เพศผรู้ บั บริการของสำนักงานคลังจงั หวดั นนทบุรี

3.3 จำนวนคร้ังในการเข้ารบั บรกิ าร
. ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 81 คน พบว่า เป็นผู้ที่เข้ารับบริการมากกว่า
2 คร้งั ขึ้นไป มากทสี่ ุด จำนวน 51 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 62.96 รองลงมาคอื เข้ารับบรกิ าร 2 คร้งั จำนวน 25 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 30.87 และเข้ารบั บรกิ าร 1 ครงั้ จำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.17 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 17

ภาพท่ี 17 : จำนวนคร้ังในการเขา้ รบั บรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดนนทบุรี

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี ที่มีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 21

4) ความต้องการกลบั มาใชบ้ ริการของสำนกั งานคลงั จังหวดั นนทบุรี
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 81 คน พบว่า มีความต้องการกลับมาใช้บรกิ าร

จำนวน 81 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 แสดงตามภาพท่ี 18

ภาพท่ี 18 : จำนวนผูท้ ่ีตอ้ งการกลบั มาใช้บริการของสำนักงานคลังจงั หวัดนนทบุรี

5) การแนะนำให้มาใช้บริการของสำนกั งานคลังจังหวดั นนทบรุ ี
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 81 คน พบว่า มีผู้แนะนำใหม้ าใชบ้ รกิ าร จำนวน

65 คน คิดเป็นร้อยละ 80.25 และไม่แนะนำให้มาใช้บริการ จำนวน 16 คน คิดเปน็ ร้อยละ 19.75 แสดงตาม
ภาพที่ 19

ภาพที่ 19 : จำนวนการแนะนำให้มาใชบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดนนทบรุ ี

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผู้มสี ว่ นไดส้ ว่ นเสียท่ีมีต่อการใหบ้ ริการของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 22

6) ข้อเสนอแนะเพอ่ื ปรบั ปรงุ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดนนทบรุ ี

แบบสำรวจความพงึ พอใจท่ีได้ตอบกลบั จำนวน 81 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 5 ฉบับ
ซง่ึ สามารถสรปุ ตามประเดน็ การสำรวจ ได้ดังน้ี

1. ด้านเจา้ หน้าท/ี่ ผูป้ ฏบิ ัติงาน (จำนวน 2 ฉบับ คดิ เป็นรอ้ ยละ 40.00)
1.1 เจา้ หนา้ ที่ผปู้ ฏิบตั ิงานบางท่านควรมจี ติ บรกิ าร (Service mind) ไมใ่ ส่อารมณใ์ นการ

ตอบคำถาม
1.2 ควรเพ่ิมเจ้าหน้าท่ใี นการตอบข้อหารอื /ให้คำปรกึ ษา เพ่อื ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีมคี วามเช่ยี วชาญ

ในงานที่รับผดิ ชอบ และตอบคำถามแก่ผู้รับบริการใหช้ ดั เจน รวดเร็ว และตรงความตอ้ งการ
2. ด้านกระบวนการ/ขัน้ ตอนปฏิบตั งิ าน (จำนวน 1 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 20.00)
ควรมีการใช้นวัตกรรมในการติดตามความคืบหน้าในการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ

ผ่านระบบสารสนเทศ
3. ดา้ นช่องทางตดิ ต่อสือ่ สาร (จำนวน 1 ฉบับ คิดเปน็ รอ้ ยละ 20.00)
ควรเพิ่มช่องการติดต่อสื่อสารที่หลากหลายนอกจากการติดต่อทางโทรศัพท์ เช่น

Application Line Facebook และ e-mail
4. ด้านสถานทแ่ี ละเครอื่ งมอื ในการใหบ้ ริการ
ไมม่ ขี ้อเสนอแนะ
5. ด้านการใหบ้ รกิ าร (จำนวน 1 ฉบบั คิดเป็นรอ้ ยละ 20.00)
เจ้าหนา้ ท่ผี รู้ ับผดิ ชอบด้าน GFMIS ควรใหบ้ รกิ ารดว้ ยความรวดเรว็ และมปี ระสิทธภิ าพ

แสดงตามภาพที่ 20

ภาพท่ี 20 : รอ้ ยละของขอ้ เสนอแนะเพือ่ ปรับปรุงการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวัดนนทบุรี

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ท่ีมตี ่อการใหบ้ ริการของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 23

2.1.3 สำนักงานคลงั จงั หวดั ปทมุ ธานี
1) ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวม
ผลสำรวจระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีตอ่

การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จังหวัดปทมุ ธานี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน
ได้คะแนนเฉลี่ย 4.38 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.60 อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ประกอบดว้ ย ผลคะแนน
2 ส่วน ดงั น้ี

1.1 การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ไดค้ ะแนนเฉลยี่ 4.39 คะแนน คิดเป็น
รอ้ ยละ 87.80

1.2 การให้บริการตามประเดน็ การสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ได้คะแนนเฉล่ีย
4.36 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 87.20 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดบั จากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเจ้าหนา้ ที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการให้บริการ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอน
ปฏิบัติงาน ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ และด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร คะแนนเฉลี่ย 4.44
4.35 4.34 4.34 และ 4.32 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 88.80 87.00 86.80 86.80 และ 86.40 ตามลำดับ
แสดงตามภาพที่ 21 และตารางท่ี 5

ภาพท่ี 21 : ระดับความพงึ พอใจเฉล่ียท่มี ีต่อการให้บรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดปทุมธานี
จำแนกตามประเด็นการสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการและผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสียที่มตี อ่ การใหบ้ ริการของสำนกั งานคลงั จงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 24

ตารางท่ี 5 : รายละเอยี ดผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมท่ีมตี ่อการให้บรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดปทุมธานี
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ ระดบั ความพงึ พอใจ
คะแนน ร้อยละ
ระดบั ความพงึ พอใจเฉลี่ยภาพรวมฯ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.38 87.60
ความพงึ พอใจท่มี ีตอ่ การใหบ้ ริการภาพรวม (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.39 87.80
ความพงึ พอใจทม่ี ีตอ่ การใหบ้ ริการ 5 ดา้ น (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.36 87.20
ดา้ นเจา้ หนา้ ท/ี่ ผู้ปฏิบตั งิ าน 4.44 88.80
1) เจ้าหน้าทม่ี ีความร/ู้ ความเชี่ยวชาญในงานที่รับผิดชอบ 4.45 89.00
2) เจ้าหน้าทบี่ ริการดว้ ยความรวดเร็ว และตรงความตอ้ งการ 4.41 88.20
3) เจ้าหนา้ ทีใ่ ช้คาพูด และกริ ิยาทส่ี ภุ าพ 4.45 89.00
4) เจ้าหน้าท่ีปฏิบตั งิ านดว้ ยความเตม็ ใจ ไม่เลือกปฏิบตั ิ 4.45 89.00
ดา้ นกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบตั งิ าน 4.34 86.80
1) ข้ันตอนการใหบ้ ริการไม่ยุ่งยาก ซบั ซอ้ น 4.31 86.20
2) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม 4.36 87.20
ดา้ นช่องทางตดิ ตอ่ สื่อสาร 4.32 86.40
1) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิ ตอ่ กลบั ภายในกาหนดเวลา 4.44 88.80
2) Website ของสานักงานคลงั จังหวัด ข้อมูลเปน็ ปัจจุบัน และสบื คน้ ไดง้ ่าย 4.20 84.00
3) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ ง รวดเร็ว และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ 4.30 86.00
4) มีช่องทางในการใหบ้ ริการที่หลากหลาย เชน่ Facebook Line เป็นตน้ 4.34 86.80
ดา้ นสถานทแี่ ละเคร่ืองมือในการใหบ้ ริการ 4.34 86.80
1) มีจุดตอ้ นรับ/ประชาสมั พันธ์ จุดรอ ป้ายข้อความบอกจุดให้บริการชดั เจน 4.34 86.80
2) มีสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพอตอ่ การให้บริการ เชน่ มีที่นั่งคอยรับบริการ เปน็ ตน้ 4.28 85.60
3) สถานทีใ่ หบ้ ริการสะอาด เป็นระเบยี บเรียบร้อย 4.39 87.80
ดา้ นการใหบ้ ริการ 4.35 87.00
1) การตอบข้อหารือ/การให้คาปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเช่ือม่ันที่จะนาไปปฏิบัตงิ าน 4.48 89.60
2) การใหบ้ ริการดา้ นระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สะดวก รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ 4.52 90.40
3) การให้บริการดา้ นระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) สะดวก รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ 4.50 90.00
4) การขอรับหนงั สือรับรองสิทธิบาเหน็จค้าประกนั เพื่อนาไปขอสินเช่ือธนาคาร สะดวก รวดเร็ว 4.30 86.00
5) รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจังหวัดสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 4.23 84.60
6) รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสะทอ้ นทศิ ทางเศรษฐกจิ จังหวัด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 4.28 85.60
7) การประชาสมั พันธ/์ ให้คาปรึกษาแนะนา การจ่ายเงิน การรับเงิน และการนาเงินสง่ คลังของสว่ นราชการ 4.27 85.40
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (KTB Corporate Online) ไดอ้ ย่างชดั เจน ถูกตอ้ ง และครบถ้วน
4.22 84.40
8) การประชาสมั พันธ/์ ใหค้ าปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและส่วนภูมิภาค เชน่ บัตรสวัสดกิ ารแหง่ รัฐ
กอช. ชมิ ชอ้ ปใช้ และภารกจิ เงินเยียวยา 5,000 บาท คนละครึ่ง เราชนะ เป็นตน้ 4.27 85.40
4.42 88.40
9) มีการประชมุ /อบรมหรือให้ความรู้อย่างทั่วถึง และสามารถนาไปปฏบิ ัตงิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และมีประสทิ ธิภาพ
10) วิทยากรมีความเชี่ยวชาญในการถ่ายทอดความรู้ไดอ้ ย่างชดั เจน

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ที่มตี ่อการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวดั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 25

จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของ สำนักงาน
คลังจังหวัดปทุมธานี โดยพิจารณาเป็นรายดา้ น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรุปผลการสำรวจ
ดังนี้

• ผลคะแนนการสำรวจสงู สุด 3 อนั ดับแรก
1) การใหบ้ รกิ ารด้านระบบบรหิ ารการเงนิ การคลังภาครฐั แบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) สะดวก

รวดเร็ว มปี ระสิทธิภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.52 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 90.40
2) การให้บริการด้านระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ

คะแนนเฉล่ยี 4.50 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 90.00
3) การตอบขอ้ หารือ/การให้คำปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มมี าตรฐาน เขา้ ใจงา่ ย และเช่ือมนั่

ท่ีจะนำไปปฏบิ ตั งิ าน คะแนนเฉลยี่ 4.48 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 89.60

• ผลคะแนนการสำรวจต่ำสดุ 3 อันดบั แรก
1) Website ของสำนักงานคลังจงั หวัด ข้อมูลเป็นปัจจุบนั และสืบค้นได้ง่าย คะแนนเฉลี่ย 4.20

คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 84.00
2) การประชาสัมพันธ์/ให้คำปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและส่วนภูมิภาค

คะแนนเฉลย่ี 4.22 คะแนน คดิ เป็นร้อยละ 84.40
3) รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ คะแนนเฉลี่ย 4.23

คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 84.60

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนกั งานคลังจงั หวัดปทมุ ธานี ตง้ั แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยลดลง คิดเป็นร้อยละ 2.82 และ 8.94 ตามลำดับ
พบวา่ ดา้ นที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ดา้ นชอ่ งทางติดตอ่ สอ่ื สาร สำหรบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2561 - 2563
ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00 5.33 และ 10.57 ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับ
ความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าท่ี/ผู้ปฏิบัติงาน และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อ
การใหบ้ ริการของสำนกั งานคลงั จังหวัดปทมุ ธานมี ีแนวโนม้ การเปลี่ยนแปลงทเ่ี พ่มิ ขน้ึ แสดงตามภาพที่ 22

ภาพท่ี 22 : ร้อยละของระดบั ความพึงพอใจเฉล่ยี ภาพรวมท่มี ีตอ่ การใหบ้ รกิ าร
ของสำนกั งานคลังจงั หวัดปทุมธานี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อการใหบ้ ริการของสำนกั งานคลังจงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 26

3) ข้อมูลทวั่ ไปของผรู้ ับบรกิ ารของสำนกั งานคลงั จังหวดั ปทุมธานี
จากแบบสำรวจความพงึ พอใจทไี่ ดต้ อบกลับ จำนวน 64 ฉบับ มีขอ้ มูลทว่ั ไปของผรู้ ับบรกิ าร ดังนี้
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 64 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป

มากทสี่ ุด จำนวน 36 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 56.25 รองลงมาคือ อยู่ในชว่ งอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 21 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 32.81 และอยใู่ นชว่ งอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 10.94 ตามลำดับ แสดงตามภาพที่ 23

ภาพที่ 23 : อายผุ ู้รบั บรกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัดปทุมธานี

3.2 เพศ
ผตู้ อบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 64 คน พบวา่ เปน็ เพศชาย จำนวน 5 คน คิดเปน็

รอ้ ยละ 7.81 และเป็นเพศหญิง จำนวน 59 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 92.19 แสดงตามภาพท่ี 24

ภาพที่ 24 : เพศผ้รู บั บริการของสำนักงานคลังจังหวัดปทุมธานี

3.3 จำนวนครั้งในการเขา้ รบั บริการ
. ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 64 คน พบวา่ เป็นผทู้ ่ีเข้ารบั บรกิ ารมากกว่า
2ครัง้ ขน้ึ ไป มากท่ีสุด จำนวน 51 คน คิดเปน็ ร้อยละ 79.69 รองลงมาคือ เข้ารบั บรกิ าร 1 ครง้ั จำนวน 9 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 14.06 และเข้ารบั บริการ 2 ครงั้ จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.25 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 25

ภาพท่ี 25 : จำนวนครงั้ ในการเข้ารบั บริการของสำนกั งานคลังจงั หวดั ปทุมธานี

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสียท่ีมตี ่อการใหบ้ ริการของสำนักงานคลงั จงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 27

4) ความตอ้ งการกลับมาใชบ้ ริการของสำนกั งานคลงั จงั หวัดปทมุ ธานี
ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 64 คน พบว่า มีความต้องการกลับมาใช้บริการ

จำนวน 64 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 แสดงตามภาพที่ 26

ภาพท่ี 26 : จำนวนผทู้ ี่ตอ้ งการกลบั มาใชบ้ ริการของสำนักงานคลังจงั หวัดปทุมธานี

5) การแนะนำใหม้ าใช้บรกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวัดปทุมธานี
ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 64 คน พบวา่ มผี แู้ นะนำใหม้ าใช้บรกิ าร จำนวน

52 คน คิดเป็นร้อยละ 81.25 และไมแ่ นะนำใหม้ าใช้บรกิ าร จำนวน 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 18.75 แสดงตาม
ภาพที่ 27

ภาพที่ 27 : จำนวนการแนะนำให้มาใชบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจังหวัดปทุมธานี

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ท่ีมตี ่อการใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 28

6) ขอ้ เสนอแนะเพื่อปรับปรงุ การให้บรกิ ารของสำนักงานคลงั จงั หวัดปทุมธานี
แบบสำรวจความพึงพอใจที่ไดต้ อบกลับ จำนวน 64 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 8 ฉบับ

ซ่งึ สามารถสรปุ ตามประเดน็ การสำรวจ ได้ดังนี้

1. ดา้ นเจา้ หน้าท/่ี ผู้ปฏบิ ัติงาน (จำนวน 2 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 25.00)
1.1 เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานควรมีจิตบริการ (Service mind) มีความกระตือรือร้น

และเตม็ ใจให้บริการ
1.2 เจา้ หนา้ ท่ีควรตอบคำถามแกผ่ ู้รบั บริการใหช้ ดั เจน รวดเรว็ และตรงความต้องการ

2. ดา้ นกระบวนการ/ขัน้ ตอนปฏิบัตงิ าน (จำนวน 2 ฉบับ คดิ เป็นรอ้ ยละ 25.00)
ควรลดขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิงานใหม้ ีความเหมาะสม

3. ด้านชอ่ งทางติดตอ่ สอ่ื สาร (จำนวน 4 ฉบับ คดิ เป็นร้อยละ 50.00)
การติดต่อทางโทรศัพท์คอ่ นข้างยาก ควรเพม่ิ คสู่ ายโทรศพั ท์ และมีชอ่ งทางตดิ ต่อส่อื สาร

ท่หี ลากหลาย เชน่ Application Line Facebook และ e-mail
4. ดา้ นสถานทแ่ี ละเครอื่ งมือในการใหบ้ รกิ าร
ไม่มขี อ้ เสนอแนะ
5. ด้านการใหบ้ ริการ
ไม่มีข้อเสนอแนะ

แสดงตามภาพที่ 28

ภาพที่ 28 : รอ้ ยละของข้อเสนอแนะเพ่อื ปรบั ปรุงการให้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัดปทุมธานี

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียท่ีมตี อ่ การใหบ้ ริการของสำนกั งานคลังจงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 29

2.1.4 สำนักงานคลังจังหวดั ลพบุรี
1) ความพึงพอใจเฉลีย่ ภาพรวม
ผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีต่อ

การให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน
ได้คะแนนเฉลีย่ 4.76 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.20 อยู่ในระดับพงึ พอใจมากที่สุด ประกอบด้วย ผลคะแนน
2 ส่วน ดงั น้ี

1.1 การให้บริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลีย่ 4.82 คะแนน คิดเป็น
ร้อยละ 96.40

1.2 การใหบ้ ริการตามประเดน็ การสำรวจ 5 ด้าน จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ไดค้ ะแนนเฉล่ีย
4.70 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 94.00 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน
ด้านสถานที่และเครื่องมอื ในการให้บรกิ าร ด้านการให้บริการ และด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร คะแนนเฉลี่ย
4.77 4.75 4.69 4.67 และ 4.64 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.40 95.00 93.80 93.40 และ 92.80 ตามลำดบั
แสดงตามภาพท่ี 29 และตารางที่ 6

ภาพที่ 29 : ระดับความพึงพอใจเฉล่ียที่มีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจังหวดั ลพบุรี
จำแนกตามประเด็นการสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบริการและผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสียที่มีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 30

ตารางที่ 6 : รายละเอยี ดผลสำรวจระดบั ความพึงพอใจเฉลยี่ ภาพรวมท่ีมีต่อการให้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจังหวัดลพบุรี
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ ระดบั ความพงึ พอใจ
คะแนน ร้อยละ
ระดบั ความพงึ พอใจเฉลี่ยภาพรวมฯ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.76 95.20
ความพงึ พอใจท่มี ีตอ่ การใหบ้ ริการภาพรวม (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.82 96.40
ความพงึ พอใจที่มีตอ่ การใหบ้ ริการ 5 ดา้ น (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.70 94.00
ดา้ นเจา้ หนา้ ท/ี่ ผู้ปฏบิ ตั งิ าน 4.75 95.00
1) เจ้าหนา้ ที่มีความร/ู้ ความเช่ียวชาญในงานท่ีรับผิดชอบ 4.76 95.20
2) เจ้าหนา้ ที่บริการดว้ ยความรวดเร็ว และตรงความตอ้ งการ 4.70 94.00
3) เจ้าหนา้ ท่ใี ชค้ าพูด และกิริยาทส่ี ุภาพ 4.74 94.80
4) เจ้าหน้าทปี่ ฏบิ ัตงิ านดว้ ยความเตม็ ใจ ไม่เลอื กปฏบิ ัติ 4.80 96.00
ดา้ นกระบวนการ/ข้ันตอนปฏิบตั งิ าน 4.77 95.40
1) ข้ันตอนการใหบ้ ริการไม่ยุ่งยาก ซบั ซ้อน 4.82 96.40
2) ระยะเวลาในการให้บริการมีความเหมาะสม 4.72 94.40
ดา้ นช่องทางตดิ ตอ่ ส่ือสาร 4.64 92.80
1) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิ ตอ่ กลบั ภายในกาหนดเวลา 4.68 93.60
2) Website ของสานักงานคลงั จังหวัด ข้อมูลเปน็ ปัจจุบัน และสบื คน้ ไดง้ ่าย 4.56 91.20
3) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ ง รวดเร็ว และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ 4.68 93.60
4) มีชอ่ งทางในการให้บริการทห่ี ลากหลาย เช่น Facebook Line เป็นตน้ 4.62 92.40
ดา้ นสถานท่ีและเคร่ืองมือในการใหบ้ ริการ 4.69 93.80
1) มีจุดตอ้ นรับ/ประชาสมั พันธ์ จุดรอ ปา้ ยข้อความบอกจุดใหบ้ ริการชดั เจน 4.68 93.60
2) มีส่ิงอานวยความสะดวกเพียงพอตอ่ การใหบ้ ริการ เชน่ มีท่นี ั่งคอยรับบริการ เปน็ ตน้ 4.68 93.60
3) สถานทีใ่ หบ้ ริการสะอาด เปน็ ระเบยี บเรียบร้อย 4.72 94.40
ดา้ นการใหบ้ ริการ 4.67 93.40
1) การตอบข้อหารือ/การให้คาปรึกษา/ข้อเสนอแนะชดั เจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเชื่อมั่นทจ่ี ะนาไปปฏิบตั งิ าน 4.80 96.00
2) การให้บริการดา้ นระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ 4.82 96.40
3) การใหบ้ ริการดา้ นระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ 4.78 95.60
4) การขอรับหนังสือรับรองสทิ ธิบาเหน็จค้าประกันเพื่อนาไปขอสนิ เช่ือธนาคาร สะดวก รวดเร็ว 4.65 93.00
5) รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลังจังหวัด สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 4.60 92.00
6) รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสะทอ้ นทศิ ทางเศรษฐกิจจังหวัด สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ 4.56 91.20
7) การประชาสมั พันธ/์ ใหค้ าปรึกษาแนะนา การจ่ายเงิน การรับเงิน และการนาเงินส่งคลงั ของส่วนราชการ 4.64 92.80
ผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (KTB Corporate Online) ไดอ้ ย่างชัดเจน ถูกตอ้ ง และครบถ้วน
4.56 91.20
8) การประชาสมั พันธ/์ ใหค้ าปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและสว่ นภมู ิภาค เชน่ บัตรสวัสดกิ ารแห่งรัฐ
กอช. ชมิ ชอ้ ปใช้ และภารกิจเงินเยียวยา 5,000 บาท คนละครึ่ง เราชนะ เปน็ ตน้ 4.60 92.00
4.64 92.80
9) มีการประชมุ /อบรมหรือใหค้ วามรู้อย่างท่วั ถึง และสามารถนาไปปฏบิ ตั งิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และมีประสิทธิภาพ
10) วิทยากรมีความเชี่ยวชาญในการถ่ายทอดความรู้ไดอ้ ย่างชดั เจน

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียที่มีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 31

จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของ สำนักงาน
คลังจังหวัดลพบรุ ี โดยพิจารณาเปน็ รายด้าน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรปุ ผลการสำรวจ ดังน้ี

• ผลคะแนนการสำรวจสงู สุด 3 อันดบั แรก
1) ขัน้ ตอนการใหบ้ ริการไมย่ ุ่งยาก ซบั ซอ้ น และการให้บริการด้านระบบบรหิ ารการเงนิ การคลงั

ภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) สะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ คะแนนเฉลี่ย 4.82 คะแนน คิดเป็น
รอ้ ยละ 96.40

2) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ไม่เลือกปฏิบัติ และการตอบข้อหารือ/การให้
คำปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเชื่อมั่นท่ีจะนำไปปฏิบตั ิงาน คะแนนเฉลี่ย 4.80
คะแนน คิดเป็นร้อยละ 96.00

3) การให้บรกิ ารด้านระบบจัดซื้อจดั จา้ งภาครัฐ (e-GP) สะดวก รวดเรว็ มีประสทิ ธภิ าพ คะแนนเฉลีย่
4.78 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.60

• ผลคะแนนการสำรวจต่ำสุด 3 อนั ดบั แรก
1) Website ของสำนักงานคลังจังหวัด ข้อมูลเป็นปัจจุบัน และสืบค้นได้ง่าย รายงานประมาณ

การเศรษฐกิจจังหวัดสะท้อนทศิ ทางเศรษฐกจิ จงั หวดั สามารถนำไปใชป้ ระโยชน์ได้ และการประชาสมั พันธ/์
ให้คำปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและส่วนภูมิภาค คะแนนเฉลี่ย 4.56 คะแนน คิดเป็น
ร้อยละ 91.20

2) รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ และมีการประชุม/
อบรมหรือใหค้ วามรอู้ ย่างทวั่ ถงึ และสามารถนำไปปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และมปี ระสิทธภิ าพ คะแนนเฉล่ีย
4.60 คะแนน คดิ เป็นรอ้ ยละ 92.20

3) มีชอ่ งทางในการให้บรกิ ารที่หลากหลาย คะแนนเฉลย่ี 4.62 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 92.40

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดบั ความพึงพอใจเฉล่ียภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยลดลง คิดเป็นร้อยละ 6.65 และ 3.84 ตามลำดับ
พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน และด้านช่องทางติดต่อสื่อสาร
สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 - 2563 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 11.30 0.66 และ 8.55
ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน และด้านกระบวนการ/
ขน้ั ตอนปฏิบตั งิ าน และคาดวา่ ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมทม่ี ตี อ่ การใหบ้ ริการของสำนักงานคลังจงั หวัดลพบุรี
มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงที่เพมิ่ ขึ้น แสดงตามภาพท่ี 30

ภาพที่ 30 : ร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลยี่ ภาพรวมท่มี ีต่อการให้บรกิ าร
ของสำนักงานคลังจงั หวดั ลพบุรี ตงั้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ ีส่วนไดส้ ว่ นเสยี ที่มตี ่อการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 32

3) ข้อมูลทวั่ ไปของผูร้ ับบริการของสำนักงานคลงั จังหวดั ลพบุรี
จากแบบสำรวจความพงึ พอใจท่ไี ด้ตอบกลบั จำนวน 50 ฉบบั มขี อ้ มลู ท่วั ไปของผรู้ ับบริการ ดงั น้ี
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 50 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป

มากที่สุด จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาคือ อยู่ในช่วงอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 21 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 42.00 และอยูใ่ นช่วงอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.00 ตามลำดบั แสดงตามภาพที่ 31

ภาพที่ 31 : อายุผู้รับบรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี

3.2 เพศ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 50 คน พบว่า เป็นเพศชาย จำนวน 10 คน

คดิ เป็นร้อยละ 20.00 และเปน็ เพศหญงิ จำนวน 40 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80.00 แสดงตามภาพที่ 32

ภาพท่ี 32 : เพศผูร้ ับบริการของสำนักงานคลังจังหวดั ลพบุรี

3.3 จำนวนครงั้ ในการเข้ารบั บรกิ าร
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 50 คน พบว่า เป็นผู้ท่ีเข้ารับบริการมากกว่า

2 คร้งั ขึ้นไป มากท่ีสุด จำนวน 43 คน คดิ เป็นร้อยละ 86.00 รองลงมาคือ เข้ารบั บริการ 1 ครั้ง จำนวน 6 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 12.00 และเขา้ รับบรกิ าร 2 ครั้ง จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.00 ตามลำดบั แสดงตามภาพท่ี 33

ภาพท่ี 33 : จำนวนคร้ังในการเขา้ รบั บรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัดลพบุรี

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ที่มีต่อการใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 33

4) ความต้องการกลบั มาใชบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัดลพบรุ ี
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 50 คน พบว่า มีความต้องการกลับมาใช้บรกิ าร

จำนวน 50 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 แสดงตามภาพที่ 34

ภาพท่ี 34 : จำนวนผู้ที่ตอ้ งการกลบั มาใช้บรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดลพบุรี

5) การแนะนำให้มาใช้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวดั ลพบุรี
ผตู้ อบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 50 คน พบว่า มีผู้แนะนำใหม้ าใช้บริการ จำนวน 41 คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 82.00 และไม่แนะนำให้มาใชบ้ รกิ าร จำนวน 9 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 18.00 แสดงตามภาพที่ 35

ภาพที่ 35 : จำนวนการแนะนำให้มาใช้บริการของสำนกั งานคลงั จังหวัดลพบรุ ี

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสียท่ีมีต่อการใหบ้ ริการของสำนักงานคลังจงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 34

6) ข้อเสนอแนะเพื่อปรบั ปรงุ การให้บรกิ ารของสำนักงานคลงั จังหวดั ลพบรุ ี
แบบสำรวจความพงึ พอใจท่ีได้ตอบกลบั จำนวน 50 ฉบับ มีข้อเสนอแนะ จำนวน 2 ฉบบั

ซึ่งสามารถสรุปตามประเดน็ การสำรวจ ได้ดังนี้
1. ด้านเจา้ หน้าท/่ี ผปู้ ฏิบัติงาน (จำนวน 1 ฉบบั คิดเป็นร้อยละ 50.00)
เจ้าหนา้ ทผ่ี ู้ปฏบิ ัติงานควรมจี ติ บริการ (Service mind) ไมใ่ สอ่ ารมณใ์ นการตอบคำถาม

ตอบคำถามดว้ ยอธั ยาศยั ไมตรีทดี่ ี มีความกระตือรือร้น และเต็มใจใหบ้ ริการ
2. ดา้ นกระบวนการ/ข้ันตอนปฏบิ ัติงาน
ไมม่ ีขอ้ เสนอแนะ
3. ดา้ นช่องทางตดิ ต่อส่อื สาร (จำนวน 1 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 50.00)
การติดตอ่ ทางโทรศัพทค์ อ่ นขา้ งยาก ควรเพม่ิ คสู่ ายโทรศัพท์ และมชี ่องทางติดตอ่ ส่อื สาร

ทห่ี ลากหลาย เช่น Application Line Facebook และ e-mail
4. ด้านสถานทแี่ ละเครอ่ื งมอื ในการให้บรกิ าร
ไมม่ ีขอ้ เสนอแนะ
5. ดา้ นการให้บริการ
ไมม่ ขี ้อเสนอแนะ

แสดงตามภาพท่ี 36

ภาพที่ 36 : รอ้ ยละของขอ้ เสนอแนะเพื่อปรบั ปรุงการให้บรกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัดลพบุรี

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการและผมู้ สี ่วนไดส้ ว่ นเสียท่ีมตี ่อการใหบ้ ริการของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 35

2.1.5 สำนกั งานคลงั จงั หวัดสระบรุ ี
1) ความพงึ พอใจเฉลย่ี ภาพรวม
ผลสำรวจระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ที่มีต่อ

การให้บริการของสำนักงานคลังจังหวัดสระบุรี ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน
ได้คะแนนเฉลี่ย 4.72 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 94.40 อยู่ในระดับพึงพอใจมากท่ีสุด ประกอบด้วย ผลคะแนน
2 สว่ น ดงั น้ี

1.1 การใหบ้ ริการภาพรวม จากคะแนนเต็ม 5 คะแนน ไดค้ ะแนนเฉลยี่ 4.71 คะแนน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 94.20

1.2 การให้บรกิ ารตามประเด็นการสำรวจ 5 ดา้ น จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน ได้คะแนนเฉลี่ย
4.73 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 94.60 เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเฉลี่ยที่มีต่อการให้บริการเป็นรายด้าน
เรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ
ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนปฏิบัติงาน ด้านช่องทางติดต่อสือ่ สาร และด้านการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.78
4.76 4.74 4.69 และ 4.68 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 95.60 95.20 94.80 93.80 และ 93.60 ตามลำดับ
แสดงตามภาพท่ี 37 และตารางที่ 7

ภาพที่ 37 : ระดับความพงึ พอใจเฉลี่ยทม่ี ีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนกั งานคลังจังหวดั สระบรุ ี
จำแนกตามประเด็นการสำรวจ

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ท่ีมตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลงั จงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 36

ตารางท่ี 7 : รายละเอียดผลสำรวจระดบั ความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนักงานคลงั จังหวัดสระบุรี
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564

ประเดน็ ระดบั ความพงึ พอใจ
คะแนน ร้อยละ
ระดบั ความพงึ พอใจเฉลี่ยภาพรวมฯ (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.72 94.40
ความพงึ พอใจทมี่ ีตอ่ การใหบ้ ริการภาพรวม (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.71 94.20
ความพงึ พอใจท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการ 5 ดา้ น (คะแนนเตม็ 5 คะแนน) 4.73 94.60
ดา้ นเจา้ หนา้ ท/ี่ ผู้ปฏบิ ตั งิ าน 4.78 95.60
1) เจ้าหนา้ ทม่ี ีความร/ู้ ความเช่ียวชาญในงานทร่ี ับผดิ ชอบ 4.79 95.80
2) เจ้าหนา้ ที่บริการดว้ ยความรวดเร็ว และตรงความตอ้ งการ 4.76 95.20
3) เจ้าหน้าท่ใี ชค้ าพูด และกิริยาที่สุภาพ 4.76 95.20
4) เจ้าหน้าทีป่ ฏบิ ัตงิ านดว้ ยความเตม็ ใจ ไม่เลอื กปฏิบตั ิ 4.80 96.00
ดา้ นกระบวนการ/ข้ันตอนปฏิบตั งิ าน 4.74 94.80
1) ขั้นตอนการให้บริการไม่ยุ่งยาก ซบั ซอ้ น 4.74 94.80
2) ระยะเวลาในการใหบ้ ริการมีความเหมาะสม 4.74 94.80
ดา้ นช่องทางตดิ ตอ่ สื่อสาร 4.69 93.80
1) การรับเรื่อง ประสานงาน และตดิ ตอ่ กลับภายในกาหนดเวลา 4.73 94.60
2) Website ของสานักงานคลงั จังหวัด ข้อมูลเปน็ ปัจจุบนั และสบื คน้ ไดง้ ่าย 4.65 93.00
3) การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารครบถ้วน ถูกตอ้ ง รวดเร็ว และทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ 4.67 93.40
4) มีชอ่ งทางในการใหบ้ ริการท่หี ลากหลาย เชน่ Facebook Line เปน็ ตน้ 4.70 94.00
ดา้ นสถานทีแ่ ละเครื่องมือในการใหบ้ ริการ 4.76 95.20
1) มีจุดตอ้ นรับ/ประชาสัมพันธ์ จุดรอ ป้ายข้อความบอกจุดใหบ้ ริการชดั เจน 4.74 94.80
2) มีสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพอตอ่ การใหบ้ ริการ เชน่ มีทนี่ ั่งคอยรับบริการ เป็นตน้ 4.77 95.40
3) สถานทใ่ี ห้บริการสะอาด เปน็ ระเบียบเรียบร้อย 4.76 95.20
ดา้ นการใหบ้ ริการ 4.68 93.60
1) การตอบข้อหารือ/การให้คาปรึกษา/ข้อเสนอแนะชัดเจน มีมาตรฐาน เข้าใจง่าย และเช่ือม่ันท่ีจะนาไปปฏิบตั งิ าน 4.74 94.80
2) การใหบ้ ริการดา้ นระบบบริหารการเงินการคลงั ภาครัฐแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (GFMIS) สะดวก รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ 4.75 95.00
3) การใหบ้ ริการดา้ นระบบจัดซ้ือจัดจ้างภาครัฐ (e-GP) สะดวก รวดเร็ว มีประสทิ ธิภาพ 4.72 94.40
4) การขอรับหนงั สอื รับรองสิทธิบาเหน็จคา้ ประกนั เพื่อนาไปขอสนิ เช่ือธนาคาร สะดวก รวดเร็ว 4.64 92.80
5) รายงานภาวะเศรษฐกจิ การคลงั จังหวัดสามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ได้ 4.59 91.80
6) รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสะทอ้ นทศิ ทางเศรษฐกจิ จังหวัด สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ 4.55 91.00
7) การประชาสัมพันธ/์ ใหค้ าปรึกษาแนะนา การจ่ายเงิน การรับเงิน และการนาเงินส่งคลังของส่วนราชการ 4.72 94.40
ผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (KTB Corporate Online) ไดอ้ ย่างชัดเจน ถูกตอ้ ง และครบถ้วน
4.62 92.40
8) การประชาสมั พันธ/์ ใหค้ าปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและส่วนภมู ิภาค เชน่ บัตรสวัสดกิ ารแห่งรัฐ
กอช. ชิมช้อปใช้ และภารกิจเงินเยียวยา 5,000 บาท คนละคร่ึง เราชนะ เป็นตน้ 4.73 94.60
4.71 94.20
9) มีการประชุม/อบรมหรือให้ความรู้อย่างทัว่ ถึง และสามารถนาไปปฏิบัตงิ านไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง และมีประสทิ ธิภาพ
10) วิทยากรมีความเชี่ยวชาญในการถ่ายทอดความรู้ไดอ้ ย่างชัดเจน

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบรกิ ารและผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียท่ีมีตอ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 37

จากตารางแสดงผลสำรวจระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของ สำนักงาน
คลังจงั หวดั สระบรุ ี โดยพิจารณาเปน็ รายดา้ น ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สามารถสรปุ ผลการสำรวจ ดังน้ี

• ผลคะแนนการสำรวจสูงสดุ 3 อนั ดับแรก
1) เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจ ไม่เลือกปฏิบัติ คะแนนเฉลี่ย 4.80 คะแนน คิดเป็น

รอ้ ยละ 96.00
2) เจ้าหน้าที่มีความรู้/ความเชี่ยวชาญในงานที่รับผิดชอบ คะแนนเฉลี่ย 4.79 คะแนน คิดเปน็

ร้อยละ 95.80
3) มีสิ่งอำนวยความสะดวกเพียงพอต่อการให้บริการ คะแนนเฉลี่ย 4.77 คะแนน คิดเป็น

ร้อยละ 95.40

• ผลคะแนนการสำรวจต่ำสดุ 3 อันดับแรก
1) รายงานประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดสะท้อนทิศทางเศรษฐกิจจังหวัด สามารถนำไปใช้

ประโยชนไ์ ด้ คะแนนเฉลยี่ 4.55 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 91.00
2) รายงานภาวะเศรษฐกิจการคลังจังหวัด สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ คะแนนเฉลี่ย 4.59

คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 91.80
3) การประชาสัมพันธ์/ให้คำปรึกษาและนโยบายรัฐบาล/กระทรวงการคลังและส่วนภูมิภาค

คะแนนเฉลี่ย 4.62 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 92.40

2) ผลการเปรียบเทียบร้อยละของระดับความพึงพอใจเฉลีย่ ภาพรวมที่มีต่อการให้บริการ
ของสำนักงานคลังจงั หวดั สระบุรี ตง้ั แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564 พบวา่ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560
และปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2563 ระดับความพงึ พอใจเฉลย่ี เพ่มิ ขึน้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 5.52 1.97 และ 2.14
ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด คือ ด้านเจ้าหน้าท่ี/ผู้ปฏิบัติงาน สำหรับปีงบประมาณ
พ.ศ. 2561 และปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ระดับความพึงพอใจเฉลี่ยลดลง คิดเป็นร้อยละ 4.18 และ 1.05
ตามลำดับ พบว่าด้านที่มีระดับความพึงพอใจต่ำสุด คือ ด้านสถานที่และเครื่องมือในการให้บริการ
และด้านการให้บริการ และคาดว่าระดับความพึงพอใจเฉลี่ยภาพรวมที่มีต่อการให้บริการของสำนักงาน
คลงั จังหวัดสระบุรีมีแนวโนม้ การเปล่ียนแปลงที่เพ่ิมขน้ึ แสดงตามภาพที่ 38

ภาพท่ี 38 : รอ้ ยละของระดับความพึงพอใจเฉล่ยี ภาพรวมที่มีต่อการใหบ้ รกิ าร
ของสำนักงานคลังจงั หวดั สระบุรี ตัง้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2560 - 2564

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ ับบริการและผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสยี ท่ีมีตอ่ การใหบ้ ริการของสำนักงานคลงั จงั หวัด ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 38

3) ขอ้ มูลทว่ั ไปของผรู้ บั บริการของสำนกั งานคลงั จังหวดั สระบรุ ี
จากแบบสำรวจความพงึ พอใจทีไ่ ด้ตอบกลบั จำนวน 66 ฉบับ มีข้อมูลท่ัวไปของผู้รับบรกิ าร ดังนี้
3.1 อายุ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 66 คน พบว่า อยู่ในช่วงอายุ 40 ปีขึ้นไป

มากทส่ี ดุ จำนวน 36 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 54.55 รองลงมาคอื อยู่ในช่วงอายุ 31 - 40 ปี จำนวน 22 คน คิดเปน็
รอ้ ยละ 33.33 และอยู่ในชว่ งอายุ 20 - 30 ปี จำนวน 8 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 12.12 ตามลำดับ แสดงตามภาพท่ี 39

ภาพที่ 39 : อายุผูร้ บั บรกิ ารของสำนักงานคลังจังหวัดสระบรุ ี

3.2 เพศ
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 66 คน พบว่า เป็นเพศชาย จำนวน 3 คน

คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.55 และเปน็ เพศหญิง จำนวน 63 คน คดิ เป็นร้อยละ 95.45 แสดงตามภาพที่ 40

ภาพท่ี 40 : เพศผรู้ ับบริการของสำนักงานคลังจงั หวดั สระบุรี

3.3 จำนวนครัง้ ในการเขา้ รบั บริการ
. ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 66 คน พบว่า เป็นผู้ที่เข้ารับบริการมากกว่า
2 ครั้งขึ้นไป มากทส่ี ดุ จำนวน 50 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 75.76 รองลงมาคอื เขา้ รับบรกิ าร 1 ครั้ง จำนวน 13 คน
คดิ เปน็ รอ้ ยละ 19.70 และเขา้ รับบรกิ าร 2 ครง้ั จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 4.54 ตามลำดบั แสดงตามภาพท่ี 41

ภาพท่ี 41 : จำนวนครั้งในการเขา้ รบั บรกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวดั สระบุรี

รายงานผลสำรวจความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารและผู้มีส่วนได้สว่ นเสียที่มตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนกั งานคลงั จงั หวดั ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 39

4) ความตอ้ งการกลบั มาใชบ้ ริการของสำนักงานคลังจังหวัดสระบุรี
ผู้ตอบแบบสำรวจความพงึ พอใจ จำนวน 66 คน พบว่า มีความต้องการกลับมาใช้บรกิ าร

จำนวน 66 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100.00 แสดงตามภาพที่ 42

ภาพท่ี 42 : จำนวนผู้ที่ต้องการกลับมาใช้บรกิ ารของสำนกั งานคลังจงั หวัดสระบุรี

5) การแนะนำให้มาใช้บริการของสำนักงานคลงั จงั หวัดสระบุรี
ผู้ตอบแบบสำรวจความพึงพอใจ จำนวน 66 คน พบว่า มีผู้แนะนำให้มาใช้บริการ จำนวน

56 คน คิดเป็นร้อยละ 84.85 และไม่แนะนำใหม้ าใช้บริการ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 15.15 แสดงตาม
ภาพที่ 43

ภาพที่ 43 : จำนวนการแนะนำให้มาใช้บรกิ ารของสำนกั งานคลงั จังหวัดสระบุรี

รายงานผลสำรวจความพึงพอใจของผรู้ บั บริการและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียที่มตี อ่ การใหบ้ รกิ ารของสำนักงานคลังจงั หวัด ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 40


Click to View FlipBook Version