The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

30 องค์ความรู้เพื่อนำไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Knowledge Management, 2023-07-25 00:08:59

30 องค์ความรู้เพื่อนำไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ

30 องค์ความรู้เพื่อนำไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อรวบรวมองค์ความรู้และเผยแพร่องค์ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงานด้านวิชาการ ด้านกฎหมายและด้านอื่น ๆ ของข้าราชการรัฐสภาสามัญผู้ด ารงต าแหน่งสายงานนิติการ และสายงานวิทยาการสังกัดส านักกรรมาธิการ ๒ ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ๒. เพื่อเป็นเวทีหรือสื่อกลางในการศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้สู่แนวทางปฏิบัติ การวิเคราะห์ สังเคราะห์เรื่อง หรือประเด็นส าคัญจากการปฏิบัติงานเพื่อสนับสนุน ภารกิจของคณะกรรมาธิการและงานด้านนิติบัญญัติส าหรับบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงประชาชนผู้สนใจทั่วไป 3. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สามารถน าองค์ความรู้ ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน ตลอดจนเกิดประโยชน์แก่สังคมโดยรวม คณะผู้จัดท ำ คณะท างานบริหารจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรม ของส านักกรรมาธิการ ๒ ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร เลขที่ 1111 ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0 2242 5900 ที่ปรึกษำ นายชูพงศ์ นิลสกุล ผู้อ านวยการส านักกรรมาธิการ ๒ บรรณำธิกำร นายพงศ์พันธุ์ จิตรานุกิจ ว่าที่ร้อยตรี จีระศักดิ์ ปิติกะวงศ์ นางศิริรัตน์ นาโค นายธนกฤต ศรีสุวรรณ นางสาวธารทิพย์ ทองห้าว นางธนัตติยา ท าไธสง รำยนำมคณะผู้จัดท ำ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรม ของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ผู้อ ำนวยกำรส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ที่ปรึกษาคณะท างาน ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานคณะกรรมาธิการการทหาร ที่ปรึกษาคณะท างาน ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานคณะกรรมาธิการ กิจการสภาผู้แทนราษฎร ที่ปรึกษาคณะท างาน


ผู้บัญชาการกลุ่มงานคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศ ที่ปรึกษาคณะท างาน ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานคณะกรรมาธิการกีฬา ที่ปรึกษาคณะท างาน ผู้บังคับบัญชำกลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรกำรกฎหมำย กำรยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน ประธำนคณะท ำงำน นายอัครเดช คนซื่อ รองประธำนคณะท ำงำน คนที่หนึ่ง นายจาตุรงค์ นาสมใจ รองประธำนคณะท ำงำน คนที่สอง นายคณิต ค านวณผล รองประธำนคณะท ำงำน คนที่สำม นางสาวศุภกร ฮั่นตระกูล คณะท ำงำน นายภูวน อุ่นจันทร์ คณะท ำงำน นางอาริษา อรุณรัศมีโชติ คณะท ำงำน นางสาวกิตติมา คงส ารวย คณะท ำงำน นายชัยค์บุริศฐ์ นวลส่ง คณะท ำงำน นายสุรพงศ์ อุทัต คณะท ำงำน นายสุพจน์ ภูครองเพชร คณะท ำงำน นายเอนก ขันศรีทรง คณะท ำงำน นายเฉลิมศักดิ์ ใจช านิ คณะท ำงำน นางสาวณัฏฐกานต์ เวชพันธ์ คณะท ำงำน นายวัลลภ บัวโต คณะท ำงำน นางสาวลภัสรดา ปาณะสิทธิ์ คณะท ำงำน นายณัฏฐนันท์ ไพบูลย์ คณะท ำงำน นางสาวลัดดาวัลย์ ประเสริฐสาร คณะท ำงำน นางสาวปานฝัน กุลทอง คณะท ำงำน นายกฤชณัท ลีภาสุรพิสุทธิ์ คณะท ำงำน ว่ำที่ร้อยตรี จีระศักดิ์ ปิติกะวงศ์ คณะท ำงำนและเลขำนุกำร นำงศิริรัตน์ นำโค คณะท ำงำนและผู้ช่วยเลขำนุกำร นำยธนกฤต ศรีสุวรรณ คณะท ำงำนและผู้ช่วยเลขำนุกำร นำงสำวธำรทิพย์ ทองห้ำว คณะท ำงำนและผู้ช่วยเลขำนุกำร นางธนัตติยา ท าไธสง คณะท ำงำนและผู้ช่วยเลขำนุกำร รวบรวมข้อมูล ข้ำรำชกำรและบุคลำกร สังกัดส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร พิมพ์จัดรูปแบบ และออกแบบหน้ำปก ว่ำที่ร้อยตรี จีระศักดิ์ ปิติกะวงศ์ ตรวจทำน ครั้งที่ ๑ นำงศิริรัตน์ นำโค และนำยธนกฤต ศรีสุวรรณ ครั้งที่ ๒ นางธนัตติยา ท าไธสง และนำงสำวธำรทิพย์ ทองห้ำว ครั้งที่ ๓ นายพงศ์พันธุ์ จิตรานุกิจ


หนังสือ 30 องค์ความรู้เพื่อน ำไปสู่แนวปฏิบัติงำนในคณะกรรมำธิกำร จัดท ำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ควำมรู้ และเผยแพร่องค์ควำมรู้ที่ได้จำกกำรปฏิบัติงำน ด้ำนวิชำกำร ด้ำนกฎหมำย และด้ำนอื่น ๆ ของข้ำรำชกำรรัฐสภำสำมัญผู้ด ำรงต ำแหน่งสำยงำนนิติกำร และสำยงำนวิทยำกำร สังกัดส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร เกี่ยวกับ กระบวนกำรด ำเนินงำนด้ำนวิชำกำรและกฎหมำยเพื่อสนับสนุนกำรด ำเนินงำนตำมภำรกิจของ คณะกรรมำธิกำรสำมัญและคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญของสภำผู้แทนรำษฎร รวมทั้งเพื่อเป็นเวทีหรือ สื่อกลำงในกำรศึกษำค้นคว้ำองค์ควำมรู้สู่แนวทำงปฏิบัติกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์เรื่อง หรือประเด็น ส ำคัญจำกกำรปฏิบัติงำนเพื่อสนับสนุนภำรกิจของคณะกรรมำธิกำร และงำนด้ำนนิติบัญญัติ ซึ่งคณะกรรมำธิกำรนับเป็นกลไกส ำคัญในกำรปฏิบัติหน้ำที่ขององค์กรนิติบัญญัติในกำรท ำหน้ำที่ พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใด ๆ ที่อยู่ในอ ำนำจหน้ำที่ของสภำผู้แทนรำษฎร อันเป็นหน้ำที่ที่ครอบคลุมกิจกำรต่ำง ๆ ของรัฐเกือบทุกด้ำน บทบำทของกรรมำธิกำรจึงมีควำมส ำคัญ อย่ำงยิ่งต่อองค์กรนิติบัญญัติ บัดนี้กำรจัดท ำหนังสือ 30 องค์ความรู้เพื่อน ำไปสู่แนวปฏิบัติงำนในคณะกรรมำธิกำร ได้เสร็จสิ้นลงแล้วคณะท างานฯ หวังว่าหนังสือ 30 องค์ควำมรู้จำกกำรปฏิบัติงำนในคณะกรรมำธิกำรเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อบุคคลในวงงำนรัฐสภำ ข้ำรำชกำรและบุคลำกรสังกัดส ำนักงำนเลขำธิกำร สภำผู้แทนรำษฎร ตลอดจนประชำชนผู้สนใจทั่วไป ขอขอบพระคุณท่ำนชูพงศ์นิลสกุล ผู้อ ำนวยกำรส ำนักกรรมำธิกำร ๒ คณะท ำงำนฯ ผู้บังคับบัญชำกลุ่มงำน ข้ำรำชกำรและบุคลำกรสังกัดส ำนักกรรมำธิกำร ๒ รวมทั้งผู้ที่เกี่ยวข้องทุกท่ำน ที่ทุ่มเทเสียสละในกำรรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดท ำหนังสือ 30 องค์ความรู้เพื่อน ำไปสู่แนวปฏิบัติงำน ในคณะกรรมำธิกำรจนบรรลุวัตถุประสงค์ซึ่งเป็นประโยชน์อย่ำงยิ่งต่อกำรปฏิบัติหน้ำที่รำชกำร ของบุคลำกรสังกัดส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎรสืบไป คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ กรกฎำคม ๒๕๖๖


สารบัญ จัดท ำรำยงำนของคณะกรรมำธิกำรกำรกฎหมำย กำรยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน เรื่อง แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำกำรจัดกำรข้อมูลประวัติอำชญำกรรม นายธนกฤต ศรีสุวรรณ ๑ การศึกษาข้อจ ากัดในการสอบหาข้อเท็จจริงของคณะกรรมาธิการตามรัฐธรรมนูญ นายสุพจน์ ภูครองเพชร ๖ ข้อพิจารณาเกี่ยวกับกระบวนการที่เป็นสาระส าคัญในการประชุมสภาผู้แทนราษฎร การประชุมคณะกรรมาธิการผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ นางสาวศุภกร ฮั่นตระกูล ๒๘ ความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ กรณีมีผู้ร้องขอเอกสาร ที่บุคคลหรือหน่วยงานอื่นน ามามอบให้คณะกรรมาธิการเพื่อประกอบการพิจารณา คณะกรรมาธิการจะสามารถส่งมอบเอกสารให้แก่ผู้ร้องขอได้หรือไม่ นายเอนก ขันศรีทรง ๔๑ กองทุนเพื่อผู้เคยเป็นสมาชิกรัฐสภา กรณีการจ่ายเงินทุนเลี้ยงชีพ นางสาวเสาวลักษณ์ บุญทองเล็ก ๔๗ การควบคุมการลงมติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “กรณีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ลงมติแทนกัน” นางสาวกนกวรรณ เกตุปาน ๗๓ เครื่องแบบปกติกากีแกมเขียวของสมาชิกรัฐสภาตามข้อบังคับของรัฐสภา ว่าด้วยเครื่องแบบสมาชิกรัฐสภา (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๓ ว่าที่ร้อยตรี กันตภณ ไทยค า ๗๙ แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบการใช้จ่ายเงินนอกงบประมาณ ของทุนหมุนเวียน นางสาววารุณี แสนภักดี ๙๙


สารบัญ ศึกษำผลกำรด ำเนินงำนขององค์กำรมหำชนที่อยู่ภำยใต้กำรก ำกับดูแล ของกระทรวงศึกษำธิกำร นายนพพร มาระกะ ๑๑๑ ขอบเขตหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมาธิการกิจการศาล องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และกองทุน ในการกระท ากิจการ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง และศึกษาเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินงาน ของหน่วยงานของศาล นายดนุพล นันตาแสง ๑๒๓ ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการก าหนดสถานะความเป็นรัฐวิสาหกิจของไทย นางสาวลภัสรดา ปาณะสิทธิ์ ๑๓๓ ขอบเขตอ านาจของคณะกรรมาธิการในการพิจารณาสอบหาข้อเท็จจริง นายปิติภัทร อัจฉราวรรณ ๑๔๖ การเสนอเรื่องต่อศาลปกครองของผู้ตรวจการแผ่นดิน ตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ นางสาวดลยา ถนอม ๑๖๔ แนวทางการจัดให้มีกฎหมายเพื่อรองรับการด าเนินงานในการรับค าแปรญัตติ ร่างพระราชบัญญัติและรับเรื่องร้องเรียน/เรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อสนับสนุน การด าเนินงานให้แก่คณะกรรมาธิการผ่านวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ นายศุภวิชญ์ พิมลเอกอักษร ๑๗๕ แนวทางการปฏิบัติหน้าที่ของฝ่ายนิติบัญญัติตามกระแสพระราชด ารัส พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) นางสาวฐิติมา ทองสวัสดิ์ ๑๙๒


สารบัญ กำรจัดกำรควำมมั่นคงปลอดภัยทำงไซเบอร์เพื่อเป็นกำรเพิ่มประสิทธิภำพ ตำมพระรำชบัญญัติกำรรักษำควำมมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ. ๒๕๖๒ นางสาวณัฏฐกานต์ เวชพันธ์ ๒๐๔ แนวทางการจัดท าคลังข้อมูลงานด้านวิชาการเฉพาะกรณีโรงเรียนต ารวจ ตระเวนชายแดน เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานของคณะกรรมาธิการการต ารวจ สภาผู้แทนราษฎร ในรูปแบบคิวอาร์โค้ด (QR Code) นางสาวกีรติกาญจน์ สิริวัชรบวรกุล ๒๒๑ แนวทางการด าเนินการของคณะกรรมาธิการการทหาร ภายใต้บทบัญญัติของกฎหมายและแผนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง นางสาวรจนี ขยันงาน ๒๓๙ ประสิทธิภาพการด าเนินการของคณะอนุกรรมาธิการด้านการเสริมสร้างศักยภาพ ของกองทัพในคณะกรรมาธิการการทหารภายใต้บทบัญญัติของกฎหมาย และแผนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง นายสุวัฒน์ สุขวิบูลย์ ๒๕๐ ปัญหาและสภาพบังคับทางกฎหมายของระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ นายวัลลภ บัวโต ๒๖๐ ปัญหาความเป็นอิสระในการบริหารงานระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นางสาวชลธิชา ทิพย์วัฒน์ ๒๗๖ การปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการในการสนับสนุนด้านวิชาการโดยสรุปผล การด าเนินงานของคณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงิน เเละยาเสพติด สภาผู้เเทนราษฎร ระหว่าง พ.ศ. 2562 – 2566 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการด าเนินงานของคณะกรรมาธิการ นางสาวพรเพ็ญ จอมทอง ๓๐๔


สารบัญ กำรศึกษำกระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชนจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ นายสุคนธ์ พลบุบผา ๓๑๕ มาตรการทางกฎหมายของประเทศไทยในการแก้ไขปัญหาข่าวปลอม ที่เผยแพร่บนออนไลน์ นางสาวภีรดา ดิษฐากรณ์ ๓๒๗ แนวทางการวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินตามบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในชั้นการพิจารณา ของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร นายชัยค์บุริศฐ์ นวลส่ง ๓๓๕ การเลือกต าแหน่งต่าง ๆ ในคณะกรรมาธิการ นายเฉลิมศักดิ์ ใจช านิ ๓๕๕ การปฏิบัติหน้าที่ผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมาธิการในการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ที่จะตราขึ้นเพื่อด าเนินการตามรัฐธรรมนูญ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ นายนฤพนธ์ ธุลีจันทร์ ๓๖๓ การน าเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนากระบวนการรับค าแปรญัตติ นายอติรุจ เพ็ชรกูล ๓๗๗ แนวทางการพัฒนาการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการในส่วนของ บันทึกการประชุมของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ อยู่ในความครอบครองและควบคุมดูแลของกลุ่มงานบริการเอกสารอ้างอิง ส านักกรรมาธิการ ๒ นายสกนธ์ พรหมบุญตา ๓๘๒ การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการสืบค้นข้อมูลข่าวสารของราชการของส านักกรรมาธิการ นางสาวชญาทิดา ธนกรชวินทร์ ๓๙๔


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร จัดท ำรำยงำนของคณะกรรมำธิกำรกำรกฎหมำย กำรยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน เรื่อง แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำกำรจัดกำรข้อมูลประวัติอำชญำกรรม ๑. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ คณะกรรมาธิการการกฎหมาย การยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน ได้รับเรื่องร้องเรียน จากประชาชนผู้เคยตกเป็นผู้ต้องหา หรือจ าเลยในคดีอาญา และคดีได้มีการถอนค าร้องทุกข์ สั่งไม่ฟ้อง หรือคดีถึงที่สุดว่าไม่ได้เป็นผู้กระท าความผิด หรือยกฟ้อง แต่ปรากฏว่ายังมีข้อมูลดังกล่าวในฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศของส านักงานต ารวจแห่งชาติ ท าให้เป็นผู้มีประวัติอาชญากรรมติดตัวเป็นเสมือนผู้ที่ กระท าความผิดนั้นอยู่ ดังนั้น คณะกรรมาธิการได้เล็งเห็นถึงความส าคัญในประเด็นดังกล่าวและได้น า เรื่องดังกล่าวเข้าสู่การพิจารณาของคณะกรรมาธิการในประเด็นอัยการสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้อง คดีถึงที่สุด และคดีศาลยกฟ้อง ซึ่งหมายความว่าบุคคลนั้นเป็นผู้บริสุทธิ์ จึงไม่ควรมีความผิดดังกล่าวปรากฏอยู่ ในขณะเดียวกันการเก็บข้อมูลประวัติอาชญากรรมก็เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงาน ในกระบวนการยุติธรรม ซึ่งหลายหน่วยงานที่ยังคงมีความจ าเป็นต้องเก็บและใช้ข้อมูลดังกล่าวในการ ด าเนินการตามอ านาจหน้าที่ของตนทั้งในชั้นการสืบสวน สอบสวนและการพิจารณาคดี เพื่อน าตัว ผู้กระท าความผิดมาลงโทษ อันจะน ามาซึ่งการรักษาความสงบเรียบร้อยและปกป้องสังคมจาก อาชญากรรมร้ายแรง ฉะนั้นแล้ว การจัดการเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมทั้งในด้านการจัดเก็บ การเปิดเผย และไม่เปิดเผยข้อมูลประวัติอาชญากรรมจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทั้งหน่วยงานในกระบวนการ ยุติธรรมและประชาชนทั่วไป ซึ่งจ าเป็นต้องมีการก าหนดแนวทางการด าเนินงานเพื่อให้เกิดความสมดุล ระหว่างการคุ้มครองสังคมและการให้โอกาสผู้กระท าความผิดได้กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติอย่าง คนทั่วไป อย่างไรก็ตาม กองทะเบียนประวัติอาชญากร ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ได้มีการ ด าเนินการในเรื่องระบบที่ใช้ในการตรวจสอบประวัติเป็นระบบการพิมพ์นิ้วมือ โดยก าหนดให้บุคคล ที่จะตรวจสอบข้อมูลได้มี ๒ ประเภท คือ ๑) เจ้าพนักงานผู้มีอ านาจหน้าที่ตาม กฎหมายที่กฎหมายบัญญัติไว้ และ ๒) เจ้าของประวัติยินยอมให้กองทะเบียนประวัติตรวจสอบ ซึ่ง ระบบดังกล่าวเป็นระบบปิดทางเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเท่านั้นที่จะด าเนินการตรวจสอบได้ ผลการ ตรวจสอบประวัติ จะแจ้งว่าพบหรือไม่พบ และมีการแสดงผลว่าผลคดีถึงที่สุดแล้วข้อมูลดังกล่าวจะถูก ส่งมาจากหลายทาง ดังนี้ ๑. กรณีพนักงานสอบสวนยุติคดีโดยคู่ความยอมความกัน ๒. คดียุติกรณีอัยการสั่งไม่ฟ้อง ๓. กรณีศาลมีคดีถึงที่สุดกรณียอมความกัน กรณีดังกล่าวข้างต้น หากกองทะเบียนประวัติอาชญากร ส านักงานต ารวจแห่งชาติ พบว่า ผลคดีถึงที่สุด เช่น กรณีศาลพิพากษาว่ายกฟ้อง หรืออัยการสั่งไม่ฟ้องหรือโทษปรับสถานเดียว หรือผู้ต้องหาถึงแก่ความตาย หรือกรณีเป็นผู้เสพยาเสพติดแล้วศาลสั่งให้ไปรับการฟื้นฟูตามระเบียบ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ของส านักงานต ารวจแห่งชาติ กรณีดังกล่าวก าหนดให้สามารถด าเนินการคัดแยกประวัติออกได้ เมื่อได้ ด าเนินการแล้วก็จะไม่พบประวัติดังกล่าว ทั้งนี้ การใช้ระบบดังกล่าวเพื่อตรวจสอบข้อมูลของบุคคล ในกรณีที่บริษัทเอกชนและหน่วยงานราชการขอให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติ ตรวจสอบประวัติของบุคคลเพื่อประโยชน์ให้การคัดกรองคุณสมบัติของบุคคลเพื่อให้ได้บุคคล ที่มีความเหมาะสมให้การพิจารณาเข้ารับท างานทั้งนี้ คณะกรรมาธิการฯ ได้พิจารณาศึกษา เรื่อง “แนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดการข้อมูลประวัติอาชญากรรม” โดยได้ก าหนดกรอบและแนวทางใน การพิจารณาจากการศึกษาข้อมูลจากเอกสารวิชาการ กฎหมาย และการรับฟังความคิดเห็นจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประกอบกับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประวัติอาชญากรรม พ.ศ. .... ของ กระทรวงยุติธรรม และระเบียบส านักงานต ารวจแห่งชาติว่าด้วยประมวลระเบียบการต ารวจไม่ เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ ตามหลักการส าคัญเกี่ยวกับ การจัดเก็บข้อมูล การเปิดเผยและไม่เปิดเผยประวัติอาชญากรรม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขของการ เปิดเผยข้อมูลประวัติอาชญากรรมโดยอัตโนมัติและโดยการร้องขอ ระดับของความผิดร้ายแรงของการ กระท าความผิดที่ส่งผลต่อการเปิดเผยประวัติอาชญากรรมของต่างประเทศ รวมถึงผลของการไม่เปิดเผย ประวัติอาชญากรรมและบทก าหนดโทษ โดยค านึงถึงความสมดุลระหว่างการคุ้มครองสังคมและการให้ โอกาสผู้กระท าความผิดได้กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติอย่างคนทั่วไป ๒. กฎหมำย กฎ ระเบียบ และยุทธศำสตร์ที่เกี่ยวข้อง ระเบียบส ำนักงำนต ำรวจแห่งชำติว่ำด้วยประมวลระเบียบกำรต ำรวจ ไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ กำรพิมพ์ลำยนิ้วมือ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ ประเด็นการพัฒนา การตรากฎหมายว่าด้วยประวัติอาชญากรรม ปัญหาส าคัญประการหนึ่งที่ท าให้ผู้พ้นโทษไม่สามารถกลับมาใช้ชีวิตอย่าง เป็นปกติสุขในสังคม โดยเฉพาะการไม่สามารถเข้าถึงแหล่งงานหรือสถานประกอบการที่ตรงกับความรู้ ความสามารถของตนภายหลังการพ้นโทษมาแล้ว คือ การที่บุคคลเหล่านั้นมีประวัติอาชญากรรมติดตัว ที่ยากแก่การที่สังคมหรือผู้คนรอบข้างจะวางใจรับเข้าท างาน อันเป็นเหตุให้ผู้เคยต้องโทษไม่สามารถ กลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างเป็นปกติ และอาจหวนกลับไปกระท าความผิดซ้ าในท้ายที่สุด การเพิ่มขึ้นของจ านวนผู้ต้องโทษหรือผู้ต้องขังมิได้ส่งผลกระทบต่อระบบการบริหารจัดการเรือนจ า และกระบวนการยุติธรรมเท่านั้น แต่ยังลดขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในด้านต่าง ๆ เนื่องจากผู้กระท าความผิดที่อยู่ในวัยหนุ่มสาวล้วนเป็นทรัพยากรบุคคลส าคัญ (Human Capital) ใน การพัฒนาประเทศ จึงมีความจ าเป็นต้องก าหนดหลักเกณฑ์การจัดการประวัติการกระท าความผิด นับตั้งแต่การเปิดเผยและไม่เปิดเผยซึ่งประวัติอาชญากรรม หรือการเปิดเผยประวัติอาชญากรรมโดย ตลอดส าหรับคดีที่มีความส าคัญและกระทบต่อความสงบสุขของสังคมส่วนรวม เพื่อเป็นการสร้างความ สมดุลระหว่างการคุ้มครองสังคมและการให้โอกาสผู้กระท าความผิดในการกลับคืนสู่สังคมอย่างมี ประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกัน ประวัติอาชญากรรมก็เป็นข้อมูลส าคัญต่อการด าเนินงาน ในกระบวนการยุติธรรมทั้งในชั้นสืบสวน สอบสวน จับกุม ตลอดจนการพิจารณาพิพากษาคดี


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร เพื่อรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยและปกป้องสังคมจากอาชญากรรมร้ายแรง การบริหารจัดการงาน ทะเบียนประวัติอาชญากรรมในการเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นประวัติบุคคล ลายพิมพ์นิ้วมือ ต าหนิรูปพรรณของผู้กระท าความผิดและทรัพย์สินต่าง ๆ จึงเป็นเครื่องมือส าคัญ ประการหนึ่งที่จะช่วยให้การด าเนินงานเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมเป็นไปได้ง่าย และสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม การจัดเก็บ การใช้ หรือการเปิดเผยข้อมูลประวัติอาชญากรรม ก็มีความเกี่ยวข้องกับหลายหน่วยงาน การจะน าข้อมูลดังกล่าวมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริงดังที่กล่าวมานั้น จ าเป็นต้องมี การบริหารจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงถึงกันและมีความทันสมัย รวมถึงมีกฎหมายหรือ แนวทางการด าเนินงาน ๓. บทวิเครำะห์ หากจะพิจารณาถึงความส าคัญและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดท าประวัติอาชญากรรม ในทางสากล โดยส านักกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม ได้สรุปหลักการของการจัดการประวัติ อาชญากรรมไว้อย่างมีนัยยะส าคัญ ดังนี้ ๑. ความปลอดภัยของสังคม (Social Safety) การสร้างระบบและการจดบันทึก ข้อมูลประวัติอาชญากรรมเป็นไปเพื่อการสร้างความปลอดภัยของสังคมผ่านการตรวจสอบ ดูแลความประพฤติของบุคคลที่ต้องหาว่ากระท าความผิดหรือเคยกระท าความผิด รวมทั้งเป็นกลไก ส าคัญของการเฝ้าระวังการก่ออาชญากรรมของสังคมในอนาคต รวมตลอดทั้งการสืบหาตัวผู้กระท า ความผิดมาลงโทษ ๒. การใช้ประโยชน์ในกระบวนการยุติธรรม (Criminal Justice) ความส าคัญของ กฎหมายเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรม มิได้จ ากัดอยู่เฉพาะความรู้สึกปลอดภัยของสังคมเท่านั้น แต่ยัง ครอบคลุมถึงประโยชน์ที่กระบวนการยุติธรรมทางอาญาจะได้รับ กล่าวคือ ข้อมูลประวัติอาชญากรรม เป็นข้อมูลส าคัญที่ถูกน ามาใช้ตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระบวนการยุติธรรม โดยเริ่มจากพนักงานสอบสวน ในการสืบค้นข้อมูลของบุคคล รูปพรรณสัณฐานและลักษณะของผู้ต้องหากระท าความผิด ชั้นพนักงาน อัยการเพื่อใช้พิจารณาเกี่ยวกับการสั่งฟ้องคดี และบรรดาผู้พิพากษาในการพิจารณาตัดสินโทษที่จะลง แก่ผู้กระท าความผิดโดยค านึงถึงข้อมูลประวัติอาชญากรรมและสภาพแวดล้อมที่เกิดแก่ผู้กระท า ความผิด ๓. ประโยชน์ทางอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา (Criminology & Penology) นอกจากการใช้ประโยชน์ในกระบวนการยุติธรรม กฎหมายเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรม ยังมีความส าคัญในเชิงอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา กล่าวคือ การบันทึกข้อมูลประวัติอาชญากรรม อาจถูกมองว่าเป็นแนวทางการลงโทษในลักษณะหนึ่งแก่ผู้กระท าความผิด หรือเป็นการคาดโทษ เพื่อ ป้องปรามมิให้ผู้เคยกระท าความผิดกระท าความผิดซ้ าในลักษณะเดียว หรือกระท าความผิดในลักษณะ อื่นเกิดขึ้นใหม่อีก ยิ่งกว่านั้น การบันทึกประวัติอาชญากรรมยังมีความส าคัญในเชิงทัณฑวิทยา และการพัฒนากฎหมายเกี่ยวกับอาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา กล่าวคือ ข้อมูลประวัติอาชญากรรมถูก น าไปใช้ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของมาตรการทางกฎหมาย บทก าหนดโทษ และลักษณะโทษที่


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ได้รับกับความผิดว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด มีความเหมาะสมในการป้องปรามความผิดที่ บัญญัติให้รับโทษ มากน้อยเพียงใด รวมทั้งการน าข้อมูลดังกล่าวไปศึกษาพฤติกรรมของผู้กระท า ความผิดในลักษณะเดียวกัน อาทิ การศึกษาภูมิหลังของนักโทษที่มีความผิดเดียวกัน การศึกษา พฤติกรรมของนักโทษที่กระท าความผิดซ้ าซ้อน เป็นต้น ๔. ความมั่นคงของรัฐ (National Security) ความส าคัญของกฎหมายเกี่ยวกับ ประวัติอาชญากรรมกับความมั่นคงภายในรัฐเป็นอีกประเด็นที่ส าคัญที่สมควรกล่าวถึง จากการศึกษา พบว่า ประวัติอาชญากรรมถูกใช้เป็นฐานแนวคิดในการค้นหาผู้ต้องหา ในคดีก่อการร้าย ข้อมูลประวัติอาชญากรรมยังชี้ให้เห็นว่าการกระท าความผิดบางประเภท เช่น คดี เกี่ยวกับการท าร้ายร่างกาย คดีเกี่ยวกับเพศ ไม่มีผลต่อการกระท าความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย ผู้ต้องหาที่มีผลอันเป็นภัยต่อความมั่นคงภายในรัฐ ส่วนใหญ่เป็นผู้ต้องหาในคดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ๕. การจ้างงาน (Prospective Employment) นอกเหนือจากความส าคัญดังกล่าว ข้างต้นแล้ว กฎหมายเกี่ยวกับประวัติอาชญากรรมยังมีความสัมพันธ์กับเรื่องการจ้างแรงงานกล่าวได้ว่า การประกอบอาชีพบางประเภทมีการก าหนดคุณสมบัติหรือคุณลักษณะห้ามผู้กระท าความผิดประกอบ อาชีพ เช่น การห้ามมิให้บุคคลซึ่งมีความผิดเกี่ยวกับเด็ก หรือเพศ ประกอบวิชาชีพครู หรือการห้าม ประกอบอาชีพเกี่ยวกับการเงินการธนาคาร หากบุคคลดังกล่าวเคยได้รับโทษคดีความผิดเกี่ยวกับ ทรัพย์ การก าหนดคุณลักษณะห้ามตามกฎหมายดังกล่าวเพื่อป้องปรามภัยที่อาจจะเกิดขึ้น หรือเป็น การป้องกันอาชญากรรมที่อาจจะเกิดขึ้นได้แนวทางที่หนึ่ง ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ตามที่มาตรา ๔ วรรคสอง ของพระราชบัญญัติการปฏิบัติราชการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๕ ก าหนดไว้ว่า เมื่อจะ ใช้พระราชบัญญัตินี้บางส่วนแก่หน่วยงานของรัฐในฝ่ายนิติบัญญัติซึ่งหมายถึงส านักงานเลขาธิการสภา ผู้แทนราษฎร ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา ซึ่งในพระราชกฤษฎีกาดังกล่าวจะก าหนดให้ใช้แก่องค์กร ดังกล่าวทั้งองค์กรหรือบางหน่วยงาน หรืองานบางประเภทก็ได้โดยน าพระราชบัญญัติไปใช้บังคับเฉพาะ มาตรา ๖ ซึ่งก าหนดวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ให้หน่วยงานของรัฐจะต้องใช้ระบบที่มีความมั่นคง ปลอดภัย และสามารถเข้าถึงได้โดยสะดวก มาตรา ๗ และมาตรา ๘ซึ่งก าหนดให้การยื่นค าขออนุญาต โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการชอบด้วยกฎหมาย รวมถึงให้หน่วยงานของรัฐก าหนดวิธีการ ยืนยันตัวตน ประกอบการยื่นค าขออนุญาต มาตรา ๑๐ ที่ก าหนดหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ในการรับค าขอ อนุญาต รวมถึงก าหนดวันที่ได้รับค าขออนุญาต มาตรา ๑๕ซึ่งก าหนดให้กระบวนการที่ได้มีการติดต่อ ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ทั้งหมด ให้ถือว่าเป็นการชอบด้วยกฎหมาย และมาตรา ๒๐ ซึ่ง ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐประกาศก าหนดช่องทางทางอิเล็กทรอนิกส์ส าหรับประชาชนเพื่อใช้ในการ ติดต่อราชการ ๔. บทสรุปและอภิปรำยผล จากการศึกษาเอกสารวิชาการ กฎหมาย และรับฟังความคิดเห็นจากหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องในทุกมิติแล้วทางคณะกรรมาธิการมีการสรุปข้อสังเกต ดังนี้


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๑. คณะกรรมาธิการเห็นควรให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติเร่งรัดด าเนินการลบประวัติ ตามเงื่อนไขในคดีที่อัยการสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้อง ศาลไม่ประทับรับฟ้อง และศาลยกฟ้อง ซึ่งมีจ านวน รายการที่แจ้งไว้ประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ รายการ โดยเร็ว ๒. คณะกรรมาธิการเห็นควรให้กระทรวงยุติธรรม กระทรวงมหาดไทยและส านักงาน ต ารวจแห่งชาติ บูรณาการข้อมูลที่ถูกบันทึกประวัติอาชญากรรม โดยให้มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน ๓. คณะกรรมาธิการเห็นควรให้กองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักรมีการปรับปรุงข้อมูลสถานะของบุคคลที่มีประวัติต้องสงสัยตามพระราชก าหนดการ บริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ให้เป็นปัจจุบัน ๔. คณะกรรมาธิการเห็นควรให้ส านักงานต ารวจแห่งชาติออกข้อปฏิบัติเพื่อเสนอ แนวทางเร่งด่วนในการด าเนินงานของส านักงานตรวจคนเข้าเมือง เกี่ยวกับการปรับปรุงฐานข้อมูล ประวัติอาชญากรรมในส่วนของประชาชน ซึ่งอยู่ในเงื่อนไขคดีที่อัยการสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้อง ศาล ไม่ประทับรับฟ้อง และศาลยกฟ้อง เพื่อให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องมีแนวทางในการปฏิบัติต่อประชาชน ที่ประสบปัญหาและอุปสรรคจากการตรวจพบข้อมูลประวัติอาชญากรรมที่ยังไม่ได้ถูกลบออกจาก ฐานข้อมูล ๕. ข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการฯ เห็นควรให้มีการเร่งรัดแนวทางการแก้ไขระเบียบส านักงานต ารวจ แห่งชาติตามขอบเขตโครงการลบประวัติล้างความผิด เพื่อคืนชีวิตให้แก่ประชาชน ดังนี้ ๑. แยกทะเบียนประวัติที่ใช้จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับผู้ต้องหาหรือจ าเลยออกเป็น ๒ ทะเบียน ได้แก่ ทะเบียนประวัติผู้ต้องหา และทะเบียนประวัติอาชญากร ๒. กระจายอ านาจการคัดแยกให้ต ารวจภูธรจังหวัด และกองบังคับการต ารวจ นครบาล ๑ - ๙ สามารถคัดแยกได้เองใน ๓ หัวข้อ คือ อัยการสั่งเด็ดขาดไม่ฟ้อง ศาลไม่ประทับรับฟ้อง และ ศาลสั่งยกฟ้อง นำยธนกฤต ศรีสุวรรณ นิติกรปฎิบัติกำร กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรกำรกฎหมำย กำรยุติธรรมและสิทธิมนุษยชน ส ำนักกรรมำธิกำร ๒


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร กำรศึกษำข้อจ ำกัดในกำรสอบหำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำรตำมรัฐธรรมนูญ ๑. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ กำรปกครองระบอบประชำธิปไตย รัฐสภำถือเป็นสถำบันทำงกำรเมืองที่มีบทบำท ส ำคัญในกำรปกครองประเทศ มีหน้ำที่หลักในกำรตรำกฎหมำย ซึ่งเป็นกำรท ำหน้ำที่ฝ่ำยนิติบัญญัติ นอกจำกนี้ยังมีบทบำทส ำคัญในกำรติดตำมตรวจสอบและควบคุมกำรบริหำรงำนของฝ่ำยบริหำร ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดกำรตรวจสอบและถ่วงดุลกำรใช้อ ำนำจ (Checks and Balances) ป้องกันไม่ให้มีกำรใช้ อ ำนำจตำมอ ำเภอใจ ซึ่งกำรตรวจสอบกำรบริหำรงำนของฝ่ำยบริหำร รัฐสภำได้ใช้กลไกของ คณะกรรมำธิกำรเป็นหลักในกำรท ำหน้ำที่ตรวจสอบและถ่วงดุลกำรใช้อ ำนำจดังกล่ำว ทั้งนี้ เพื่อเป็นกำ รแบ่งเบำภ ำ รกิจของสภ ำผู้แทนรำษฎ รที่มีจ ำนวนมำก ซึ่งคณะกรรมำธิกำรแต่ละคณะที่ตั้งขึ้นจะประกอบไปด้วยบุคคลที่มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญเฉพำะด้ำน ในด้ำนต่ำง ๆ ซึ่งสภำผู้แทนรำษฎร ชุด ๒๕ มีคณะกรรมำธิกำรสำมัญจ ำนวน ๓๕ คณะ โดยมีภำรกิจ ในกำรตรวจสอบกำรปฏิบัติหน้ำที่ของกระทรวง ทบวง กรม ต่ำง ๆ รวมทั้งพิจำรณำศึกษำ หรือ สอบหำข้อเท็จจริงเรื่องที่สภำผู้แทนรำษฎรมอบหมำยให้ด ำเนินกำร หรือเรื่องที่คณะกรรมำธิกำร เห็นว่ำเป็นประเด็นส ำคัญทำงสังคม รวมทั้งเรื่องที่ประชำชนได้ร้องเรียนต่อคณะกรรมำธิกำร ส ำหรับกำรตั้งคณะกรรมำธิกำรรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ วรรคหนึ่ง ได้บัญญัติว่ำ “สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีอ านาจเลือกสมาชิก ของแต่ละสภาตั้งเป็นคณะกรรมาธิการสามัญ และมีอ านาจเลือกบุคคลผู้เป็นสมาชิกหรือมิได้เป็น สมาชิกตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ หรือคณะกรรมาธิการร่วมกันตามมาตรา ๑๓๗ เพื่อกระท า กิจการพิจารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาเรื่องใด ๆ และรายงานให้สภาทราบตามระยะเวลาที่ สภาก าหนด” และในวรรคสำม ได้บัญญัติว่ำ “ในการสอบหาข้อเท็จจริง คณะกรรมาธิการจะ มอบอ านาจหรือมอบหมายให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท าการแทนมิได้” เมื่อพิจำรณำบทบัญญัติมำตรำ ๑๒๙ พบว่ำ ได้มีกำรเปลี่ยนแปลงถ้อยค ำในกรอบ หน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรให้มีควำมแตกต่ำงจำกรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่ำน ๆ มำ ไม่ว่ำจะ เป็นพระรำชบัญญัติธรรมนูญกำรปกครองแผ่นดินสยำมชั่วครำว พุทธศักรำช ๒๔๗๕ และรัฐธรรมนูญ ฉบับอื่น ๆ เรื่อยมำจนถึงรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ ซึ่งได้บัญญัติถ้อยค ำ ในลักษณะเดียวกัน กล่ำวคือ คณะกรรมำธิกำรมีอ ำนำจหน้ำที่พิจำรณำสอบสวน หรือศึกษำเรื่องใด ๆ แต่รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้มีกำรเปลี่ยนแปลงถ้อยค ำเป็น คณะกรรมำธิกำรมีหน้ำที่และอ ำนำจ พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใด ๆ กำรที่รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันกับรัฐธรรมนูญ ฉบับที่ผ่ำน ๆ มำ ได้มีกำรบัญญัติถ้อยค ำที่แตกต่ำงกัน จะมีผลท ำให้อ ำนำจในกำรพิจำรณำสอบสวน เรื่องร้องเรียนหรือเรื่องใด ๆ ของคณะกรรมำธิกำรถูกเปลี่ยนแปลงไปหรือถูกลดทอนอ ำนำจลงไป หรือไม่ตำมรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน จึงเป็นเรื่องควรศึกษำท ำควำมเข้ำใจ โดยเฉพำะผู้ปฏิบัติหน้ำที่ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับวงงำนของคณะกรรมำธิกำร จะต้องให้ควำมส ำคัญและศึกษำท ำควำมเข้ำใจ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร เกี่ยวกับเรื่องนี้ให้เป็นอย่ำงดี ทั้งนี้ เพื่อให้กำรด ำเนินงำนในกำรสอบหำข้อเท็จจริงของ คณะกรรมำธิกำรสอดคล้องและเป็นไปตำมเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญ และป้องกันไม่ให้ กำรด ำเนินกำรสอบหำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำรฝ่ำฝืนต่อรัฐธรรมนูญ นอกจำกนี้ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ยังก ำหนดห้ำมคณะกรรมำธิกำรมอบอ ำนำจหรือ มอบหมำยให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำร ซึ่งกำร บัญญัติห้ำมดังกล่ำวถือว่ำเป็นเรื่องใหม่ยังไม่เคยปรำกฏมำก่อนในรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่ำน ๆ มำ ตั้งแต่ พระรำชบัญญัติธรรมนูญกำรปกครองแผ่นดินสยำมชั่วครำว พุทธศักรำช ๒๔๗๕ และรัฐธรรมนูญ ฉบับอื่น ๆ เรื่อยมำจนถึงรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ กล่ำวคือ คณะกรรมำธิกำรจะมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรพิจำรณำ สอบสวน หรือศึกษำเรื่องใด ๆ แทนคณะกรรมำธิกำรก็ได้ แต่ในรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันได้บัญญัติ ห้ำมคณะกรรมำธิกำรกระท ำกำรดังกล่ำว ดังนั้น จึงเป็นเรื่องที่น่ำสนใจว่ำเป็นเพรำะเหตุใด รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จึงได้บัญญัติห้ำมไว้เช่นนี้ และหำก คณะกรรมำธิกำรได้มีกำรมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรสอบหำ ข้อเท็จจริงแทนแล้ว ผลจะเป็นประกำรใด จะเป็นผลให้กำรกระท ำของคณะกรรมำธิกำรฝ่ำฝืน ต่อรัฐธรรมนูญหรือไม่ หรือในกรณีที่คณะกรรมำธิกำรได้มอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้บุคคลหรือ คณะบุคคลใดกระท ำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดเพื่อเป็นกำรช่วยเหลือและสนับสนุนกำรด ำเนินงำนของ คณะกรรมำธิกำรในเรื่องดังกล่ำวแล้ว บุคคลหรือคณะบุคคลจะสำมำรถกระท ำกำรช่วยเหลือ คณะกรรมำธิกำรได้เพียงใด หรือไม่ ทั้งนี้เพื่อไม่ให้กำรกระท ำนั้นเข้ำข่ำยฝ่ำฝืนต่อรัฐธรรมนูญ ผู้เขียน จึงได้น ำเรื่องดังกล่ำวมำท ำกำรศึกษำค้นคว้ำเพื่อจะได้เป็นข้อมูลประกอบกำรปฏิบัติหน้ำที่ในกำร สนับสนุนงำนของคณะกรรมำธิกำรในกำรสอบหำข้อเท็จจริง ๒. กฎหมำย กฎ ระเบียบ และยุทธศำสตร์ที่เกี่ยวข้อง ๒.๑ ที่มำและแนวคิดของกำรตรวจสอบควบคุมฝ่ ำยบริหำรโดยองค์กร ฝ่ำยนิติบัญญัติ รัฐสภำเป็นสถำบันทำงกำรเมืองที่ส ำคัญในระบอบประชำธิปไตย บทบำท ควำมส ำคัญของรัฐสภำย่อมแตกต่ำงกันออกไปตำมระบอบกำรปกครองประชำธิปไตยในแต่ละระบบ กล่ำวคือ กำรปกครองระบอบประชำธิปไตยระบบรัฐสภำมีหลักกำรว่ำรัฐบำลเป็นสถำบันที่เป็น ตัวแทนของประชำชนคือสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรและเป็นที่มำของรัฐบำล รัฐสภำจึงมีบทบำทส ำคัญ ในกำรควบคุมกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินของรัฐบำลตั้งแต่ก่อนเข้ำบริหำรประเทศ คือ กำรแถลง นโยบำยของรัฐบำลต่อรัฐสภำโดยมีวิธีกำรควบคุมที่แตกต่ำงกันไป อำทิ กำรอภิปรำยไม่ไว้วำงใจ โดยกำรลงมติที่มีผลท ำให้รัฐบำลพ้นจำกต ำแหน่ง หรือกำรจัดตั้งคณะกรรมำธิกำรเพื่อตรวจสอบกำร ท ำงำนของฝ่ำยบริหำร แต่ทั้งนี้ รัฐบำลย่อมสำมำรถตอบโต้โดยกำรยุบสภำผู้แทนรำษฎร หำกเห็นว่ำ รัฐสภำใช้อ ำนำจตำมอ ำเภอใจได้ เหล่ำนี้เป็นกำรแสดงถึงควำมเกี่ยวพันและกำรยึดโยงซึ่งกันและกัน ระหว่ำงรัฐสภำกับรัฐบำลโดยแท้ ส ำหรับกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยในระบบประธำนำธิบดี


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร รัฐสภำและรัฐบำลมีที่มำจำกประชำชนเช่นเดียวกัน อันมีฐำนะที่เสมอกันเมื่อรัฐบำลไม่ได้มำจำก รัฐสภำกำรตรวจสอบกำรควบคุมกำรท ำงำนระหว่ำงสองสถำบันจึงเป็นกำรกระท ำตำมกระบวนกำร ตรวจสอบที่เด็ดขำดรัฐสภำไม่มีอ ำนำจในกำรตั้งกระทู้ถำมหรือเปิดอภิปรำยทั่วไป แต่มีกลไกกำรใช้ อ ำนำจควบคุมตรวจสอบโดยใช้ระบบคณะกรรมำธิกำรในกำรเรียกเจ้ำหน้ำที่ของรัฐมำสืบสวน สอบสวนได้ ขณะเดียวกันหำกประธำนำธิบดีท ำหน้ำที่ผิดพลำดมีผลเสียหำยร้ำยแรงกับประเทศ สมำชิกรัฐสภำสำมำรถด ำเนินกำรถอดถอนประธำนำธิบดีได้ กลไกกำรตรวจสอบของฝ่ำยบริหำร ในระบบประธำนำธิบดีจึงแตกต่ำงไปจำกระบบรัฐสภำ ส ำหรับกำรตรวจสอบกำรปฏิบัติหน้ำที่ของฝ่ำยบริหำรของไทยได้ใช้ระบบ ของคณะกรรมำธิกำรทั้งคณะกรรมำธิกำรสำมัญและคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญเป็นหลักในกำรท ำกำร ตรวจสอบกำรปฏิบัติหน้ำที่ของฝ่ำยบริหำร โดยรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช๒๕๖๐ ได้ก ำหนดหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรกำรจะใช้ หน้ำที่และอ ำนำจใดนั้นจะต้องเป็นเรื่องที่อยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจของสภำเท่ำนั้น ฉะนั้น กำรปฏิบัติหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรซึ่งเป็นองค์กรภำยในของสภำที่ท ำหน้ำที่เป็นกลไกลภำยในของ สภำ เพื่อช่วยแบ่งเบำภำรกิจของรัฐสภำในกำรตรวจสอบฝ่ำยบริหำร ดังนี้ (สถำบันพระปกเกล้ำ, ๒๕๖๒, น. ๑๖ – ๑๙) ๒.๑.๑ กำรควบคุมกำรท ำงำนของรัฐบำล หน้ำที่และอ ำนำจในกำรควบคุมกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน เป็นหน้ำที่และอ ำนำจหลักของรัฐสภำโดยรัฐสภำจะตรวจสอบกำรปฏิบัติงำนของฝ่ำยบริหำร ประกอบด้วยคณะรัฐมนตรีกระทรวง และกรมต่ำง ๆ ซึ่งองค์กรที่มีบทบำทมำกในเรื่องนี้ ได้แก่ คณะกรรมำธิกำรมีบทบำทในด้ำนกำรติดตำมตรวจสอบกำรด ำเนินกำรตำมนโยบำยที่ได้แถลงต่อ สภำและยังมีบทบำทในด้ำนกำรศึกษำสืบหำข้อเท็จจริงเรื่องใด ๆ ที่อยู่ในควำมสนใจของสำธำรณะ และอยู่ในอ ำนำจรัฐสภำ ๒.๑.๒ อ ำนำจในกำรสอบหำข้อเท็จจริงของคณ ะกรรมำธิก ำ ร ตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ กำรตั้งคณะกรรมำธิกำรของสภำเป็นวิธีกำรปกติที่มีกำรน ำมำใช้ เป็นกำรทั่วไป กำรใช้กำรตรวจสอบ ศึกษำ หรือติดตำมดูแลเรื่องใด ๆ ย่อมท ำให้องค์กรรัฐสภำได้ ข้อมูลที่แน่ชัดขึ้น เพื่อไว้ใช้ในกำรควบคุมฝ่ำยบริหำรอย่ำงกว้ำงขวำงตำมนโยบำยที่ฝ่ำยนิติบัญญัติ จัดวำงไว้ให้จึงจ ำเป็นที่รัฐสภำจะต้องเข้ำไปควบคุมดูแลกำรบริหำรงำนด้ำนกฎหมำยของฝ่ำยบริหำร แม้ว่ำกฎหมำยนั้นจะมีกำรยกร่ำงอย่ำงดีแล้ว แต่ไม่อำจให้หลักประกันได้ว่ำจะมีกำรปฏิบัติ ตำมเจตนำรมณ์ของกฎหมำยนั้นได้ ดังนั้น กฎหมำยที่รัฐสภำออกไปนั้นจึงเป็นเพียงข้อชี้แนะทั่ว ๆ ไป หรือหัวข้อของกำรสอบสวน ตรวจตรำ สอดส่อง กำรปฏิบัติงำนของฝ่ำยบริหำรอย่ำงต่อเนื่อง ดังนั้น คณะกรรมำธิกำรของรัฐสภำจึงมีควำมจ ำเป็นต้องมีอ ำนำจในกำรด ำเนินกำรสอบหำข้อเท็จจริงตรวจ ตรำ สอดส่อง กำรปฏิบัติงำนของฝ่ำยบริหำรได้อย่ำงต่อเนื่องแทนรัฐสภำ ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ ที่เป็นที่ยอมรับกันอย่ำงกว้ำงขวำง คือ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๑) เพื่อรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริง (Information) ที่จ ำเป็นเพื่อ ประกอบกำรพิจำรณำร่ำงกฎหมำย ๒) เพื่อตรวจสอบกำรบริหำรงำนตำมโครงกำรต่ำง ๆ ที่ได้รับอนุมัติ จำกรัฐสภำและเพื่อควบคุมให้เจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยบริหำรให้ปฏิบัติงำนด้วยควำมรับผิดชอบ ๓) เพื่อให้ควำมรู้ข่ำวสำร ให้กำรศึกษำต่อประชำชนและสร้ำง อิทธิพลต่อมติมหำชน โดยอ ำนำจสอบหำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำรตำมบทบัญญัติ มำตรำ ๑๒๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ได้บัญญัติไว้ว่ำ มำตรำ ๑๒๙ “สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภามีอ านาจเลือกสมาชิก ของแต่ละสภาตั้งเป็นคณะกรรมาธิการสามัญ และมีอ านาจเลือกบุคคลผู้เป็นสมาชิกหรือมิได้เป็น สมาชิก ตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ หรือคณะกรรมาธิการร่วมกันตามมาตรา ๑๓๗ เพื่อกระท า กิจการพิจารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาเรื่องใด ๆ และรายงานให้สภาทราบตามระยะเวลา ที่สภาก าหนด การกระท ากิจการ การสอบหาข้อเท็จจริง หรือการศึกษาตามวรรค หนึ่ง ต้องเป็นเรื่องที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจของสภา และหน้าที่และอ านาจตามที่ระบุไว้ในการตั้ง คณะกรรมาธิการก็ดี ในการด าเนินการของคณะกรรมาธิการก็ดี ต้องไม่เป็นเรื่องซ้ าซ้อนกัน ในกรณีการ กระท ากิจการ การสอบหาข้อเท็จจริง หรือการศึกษาในเรื่องใดมีความเกี่ยวข้องกัน ให้เป็นหน้าที่ของ ประธานรัฐสภาที่จะต้องด าเนินการให้คณะกรรมาธิการที่เกี่ยวข้องทุกชุดร่วมกันด าเนินการ ในการสอบหาข้อเท็จจริง คณะกรรมาธิการจะมอบอ านาจหรือ มอบหมายให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท าการแทนมิได้” คณะกรรมาธิการตามวรรคหนึ่งมีอ านาจเรียกเอกสารจากบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมาแถลงข้อเท็จจริง หรือแสดงความคิดเห็นในกิจการที่กระท าหรือเรื่องที่ พิจารณาสอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาอยู่นั้นได้ แต่การเรียกเช่นว่านั้นมิให้ใช้บังคับแก่ ผู้พิพากษาหรือตุลาการที่ปฏิบัติตามหน้าที่หรือใช้อ านาจในกระบวนวิธีพิจารณาพิพากษาอรรถคดี หรือการบริหารงานบุคคลของแต่ละศาล และมิให้ใช้บังคับแก่ผู้ด ารงต าแหน่งในองค์กรอิสระในส่วน ที่เ กี่ย ว ข้ องกับก า รปฏิบัติหน้ าที่แล ะ อ าน า จโ ด ยต รงในแต่ล ะ อง ค์ก รต ามบทบัญญัติ ในรัฐธรรมนูญหรือตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณี ให้เป็นหน้าที่ของรัฐมนตรีที่รับผิดชอบในกิจการที่คณะกรรมาธิการ สอบหาข้อเท็จจริงหรือศึกษาที่จะต้องสั่งการให้เจ้าหน้าที่ของรัฐในสังกัดหรือในก ากับ ให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสารหรือแสดงความเห็นตามที่คณะกรรมาธิการเรียก...” ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ (หน้ำที่ และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร) ส ำหรับหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรแต่ละคณะ จะถูกก ำหนดไว้ในข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ “ให้สภาตั้ง


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร คณะกรรมาธิการสามัญขึ้นสามสิบห้าคณะ แต่ละคณะประกอบด้วยกรรมาธิการมีจ านวนสิบห้าคน โดยให้มีหน้าที่และอ านาจ...” ซึ่งแต่ละคณะกรรมำธิกำรจะมีหน้ำที่และอ ำนำจที่แตกต่ำงกัน ทั้งนี้ เพื่อให้ครอบคลุมกับภำรกิจที่หลำกหลำยของสภำผู้แทนรำษฎร ยกตัวอย่ำงเช่น หน้ำที่และอ ำนำจ ของคณะกรรมำธิกำรกิจกำรสภำผู้แทนรำษฎร ข้อ ๙๐ (๒) “คณะกรรมาธิการกิจการ สภาผู้แทนราษฎรมีหน้าที่และอ านาจกระท ากิจการ พิจารณาสอบหา ข้อเท็จจริง หรือศึกษาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับกิจการของสภา สมาชิกและผู้เคยเป็นสมาชิกการพัฒนาระบบ และปรับปรุงการด าเนิน กิจการของสภา ค าร้องเรียน ข้อเสนอแนะของสมาชิกและประชาชนในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกิจการของ สภา รวมทั้งเรื่องใด ๆ ที่อยู่ในหน้าที่และอ านาจของสภาและองค์กรรัฐสภาระหว่างประเทศ ตรวจสอบรายงานการประชุม พิจารณาให้ความเห็นเกี่ยวกับการเปิดเผยรายงานการประชุมลับ และติดตามผลการปฏิบัติตามมติของสภา” ส่วนหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรคณะอื่น ๆ ก็จะมีหน้ำที่และอ ำนำจที่แตกต่ำงกันไป ทั้งนี้ เพื่อปฏิบัติหน้ำที่ในด้ำนต่ำง ๆ อันเป็นภำรกิจ ที่สภำผู้แทนรำษฎรจะต้องด ำเนินกำร ทั้งพิจำรณำเรื่องร้องเรียน กำรติดตำมตรวจสอบกำรด ำเนินงำน ของกระทรวง ทบวง กรมต่ำง ๆ ส่งเสริมและสนับสนุน รวมทั้งกำรพัฒนำแนวคิดและวิธีกำร ในกำรด ำเนินงำนของกระทรวง ทบวง กรมต่ำง ๆ เป็นต้น ข้อ ๙๐ วรรคห้ำ “ในการสอบหาข้อเท็จจริง คณะกรรมาธิการ จะมอบอ านาจหรือมอบหมายให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท าการแทนมิได้” ข้อ ๙๕ “เพื่อประโยชน์ในการด าเนินงาน คณะกรรมาธิการสามัญ อาจตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษา ผู้ช านาญการ นักวิชาการ และเลขานุการ ประจ าคณะกรรมาธิการก็ ได้ ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบที่ประธานสภาก าหนด” ข้อ ๙๖ วรรคหนึ่ง “คณะกรรมาธิการมีอ านาจตั้งคณะอนุ กรรมาธิการเพื่อพิจารณาปัญหาอันอยู่ในหน้าที่และอ านาจของคณะกรรมาธิการ เว้นแต่หน้าที่ และอ านาจในการสอบหาข้อเท็จจริง แล้วรายงานคณะกรรมาธิการภายในเวลาที่คณะกรรมาธิการ ก าหนด” กล่ำวโดยสรุป คณะกรรมำธิกำรสำมำรถแต่งตั้งคณะอนุ กรรมำธิกำรขึ้นมำเพื่อท ำหน้ำที่พิจำรณำศึกษำปัญหำอันอยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร ได้ และสำมำรถแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นที่ปรึกษำ ผู้ช ำนำญกำร นักวิชำกำร และเลขำนุกำรประจ ำ คณะกรรมำธิกำรได้ เพื่อท ำหน้ำที่ช่วยเหลือและให้ค ำปรึกษำคณะกรรมำธิกำรในกำรด ำเนินงำนตำม หน้ำที่และอ ำนำจ แต่หำกคณะกรรมำธิกำรจะท ำกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง คณะกรรมำธิกำรจะต้องเป็นผู้พิจำรณำด ำเนินกำรสอบหำข้อเท็จจริงเอง ไม่สำมำรถมอบหมำยหรือ มอบอ ำนำจให้บุคคลหรือคณะบุคคล รวมทั้งคณะอนุกรรมำธิกำรที่คณะกรรมำธิกำรแต่งตั้งขึ้นท ำกำร สอบหำข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำรได้ ทั้งนี้ ตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๑ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ประกอบกับข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ วรรคห้ำ และข้อ ๙๖ วรรคหนึ่ง


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๒.๒.๒ หลักกำรสอบหำข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริง ได้แก่ ข้ออ้ำงที่บุคคลอ้ำงถึงซึ่งอำจเป็นควำมจริง หรือควำมเท็จ ข้อเท็จจริงนั้นเป็นศัพท์ของกฎหมำยแต่เข้ำใจง่ำยเพรำะมีควำมชัดเจนอยู่ในตัว โดยเอำค ำสำมัญ สองค ำมำรวมกัน คือ เท็จค ำหนึ่ง กับจริงค ำหนึ่ง ค ำสองค ำนี้ในทำงสำมัญไม่มีกำรใช้รวมกัน แยกกัน ใช้คนละที่เพรำะมีควำมหมำยตรงกันข้ำม คือค ำว่ำ เท็จมีควำมหมำยว่ำ เป็นของไม่แท้เป็นของโกหก แต่ค ำว่ำจริงมีควำมหมำยว่ำเป็นของแท้ไม่ใช่โกหก ถ้ำจะใช้ในลักษณะค ำถำมก็ต้องเติมค ำว่ำ “หรือ” ไว้กลำง เช่น เท็จหรือจริง (แต่ในทำงพิจำรณำด้ำนกฎหมำยมีควำมจ ำเป็นโดยแท้ที่จะต้องใช้อยู่เสมอ ในระหว่ำงพิจำรณำ เพรำะยังไม่ได้วินิจฉัยชี้ขำดว่ำเป็นจริงหรือเป็นเท็จ ยังหำข้อสรุปกันอยู่) เพรำะฉะนั้น จึงต้องมีศัพท์ใช้โดยเฉพำะให้เรียกรวมไปก่อนว่ำข้อเท็จจริง จนกว่ำจะถึงเวลำตัดสิ้นชี้ ขำดจึงจะแยกเท็จกับจริงออกจำกกันได้ ดังนั้น กำรสอบหำข้อเท็จจริงจึงมีควำมหมำยรวมกัน หมำยถึง กำรรวบรวม พยำนหลักฐำนทุกชนิด ทั้งพยำนบุคคล พยำนเอกสำร และพยำนวัตถุ เพื่อจะทรำบควำมจริงในเรื่อง นั้น ๆ และพิสูจน์ควำมจริงว่ำ เรื่องใดเป็นเรื่องจริงหรือเป็นเรื่องเท็จ และชี้มูลควำมจริงว่ำเป็น ประกำรใดซึ่งกำรจะพิจำรณำให้มีกำรสอบหำข้อเท็จจริงในเรื่องใดเป็นอ ำนำจของผู้แต่งตั้ง และกำร สอบหำข้อเท็จจริงต้องเป็นเรื่องที่อยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจตำมที่ระบุไว้ในค ำสั่ง (สุเทพ ยิ้มละมุล, ๒๕๕๒, น. ๑๓) โครงสร้ำงในกำรสอบหำข้อเท็จจริงมีลักษณะเช่นเดียวกับกำรเรียงควำม ซึ่งประกอบด้วยส่วนส ำคัญ ๓ ส่วน คือ ๑)ค ำน ำ โดยทั่วไปมักจะกล่ำวบทน ำถึงเหตุที่มีกำรสอบหำข้อเท็จจริง ที่มำของมูลกรณีที่เป็นเหตุให้เกิดกำรสอบหำข้อเท็จจริง โดยกล่ำวน ำเพื่อให้ผู้มีอ ำนำจแต่งตั้งทรำบ โดยย่อว่ำ ได้รับมอบหมำยให้ด ำเนินกำรสอบหำข้อเท็จจริงในเรื่องใด มูลกรณีปรำกฏขึ้นได้อย่ำงไร อันเป็นกำรก ำหนดโครงสร้ำงของกำรสอบหำข้อเท็จจริง ๒) เนื้อเรื่อง คณะกรรมกำรสอบหำข้อเท็จจริงต้องก ำหนดแนวควำมคิด ซึ่งเป็นกรอบโครงสร้ำงและเชื่อมโยง พยำนหลักฐำนที่เกี่ยวข้องในเรื่องนั้น ๆ ทั้งพยำนบุคคล พยำนเอกสำร และพยำนวัตถุ อันเกี่ยวข้องใกล้ชิดโดยวิเครำะห์ข้อเท็จจริงที่ได้รับพร้อมทั้ง พยำนหลักฐำนต่ำง ๆ ว่ำสอดคล้องต้องกันหรือไม่ อย่ำงไร แล้วเขียนรำยงำนกำรสอบหำข้อเท็จจริง ตำมล ำดับขั้นตอน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุด ซึ่งเนื้อเรื่องนี้เป็นหัวใจของกำรสอบหำข้อเท็จจริงเทื่อทรำบ ข้อเท็จจริงในเรื่องนั้น ๓)สรุป กำรสรุปควำมเห็นของคณะกรรมกำรสอบหำข้อเท็จจริง โดยวิเครำะห์ และข้อเสนอแนะแก่ผู้มีอ ำนำจแต่งตั้งเป็นจุดส ำคัญในกำรสอบหำข้อเท็จจริง เพื่อใช้ประกอบกำร พิจำรณำสั่งกำรต่อจำกกำรได้รับผลสรุปรำยงำนกำรสอบหำข้อเท็จจริง โดยเฉพำะข้อเท็จจริงนั้น มีข้อกฎหมำยก ำหนดไว้เป็นประกำรใด คณะกรรมกำรสอบหำข้อเท็จจริงควรระบุข้อกฎหมำยไว้ด้วย ผู้มีอ ำนำจแต่งตั้งจะได้ทรำบถึงขั้นตอนกำรด ำเนินกำร และอ ำนำจในกำรพิจำรณำสั่งกำรในเรื่องนั้น ๆ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๒.๒.๓ ควำมหมำยของคณะกรรมำธิกำร คณะกรรมำธิกำร หมำยถึง องค์กรภำยในสภำที่ประกอบด้วยบุคคลที่ได้รับ เลือกจำกสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรหรือสมำชิกวุฒิสภำ และหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ได้เป็นสมำชิกสภำ ที่สภำแต่งตั้งขึ้นเพื่อท ำหน้ำที่ในกำรพิจำรณำสอบสวนหรือศึกษำเรื่องใด ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย จำกสภำหรือในขอบเขตอ ำนำจหน้ำที่ของสภำ และเมื่อด ำเนินกำรเสร็จแล้วให้รำยงำนต่อสภำ (ปธำน สุวรรณมงคล, ๒๕๔๙, น. ๑ – ๒) ** หมายเหตุ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ มาตรา ๑๒๙ วรรคหนึ่ง ก าหนดให้คณะกรรมาธิการมีหน้าที่และอ านาจการกระท ากิจการ พิจารณา สอบหาข้อเท็จจริงหรือการศึกษาเรื่องใด ๆ และรายงานให้สภาทราบตามระยะเวลาที่สภาก าหนด ควำมส ำคัญของคณะกรรมำธิกำร คณะกรรมำธิกำรมีควำมส ำคัญและมีประโยชน์ต่อกำรปฏิบัติบทบำทหน้ำที่ ของรัฐสภำอย่ำงน้อย ๓ ประกำร ดังนี้ ๑) เป็นสถำนที่ที่รับฟังควำมคิดเห็นจำกสำธำรณะและน ำข้อมูล สภำพ ปัญหำ ควำมเห็นควำมต้องกำรของประชำชนเข้ำสู่กระบวนกำรพิจำรณำของสภำ ๒) เป็นสถำนที่กลั่นกรองข้อมูล ค้นหำข้อเท็จจริง ควำมคิดเห็นในแง่มุมต่ำง ๆ จำกฝ่ำยต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบกำรพิจำรณำของสมำชิกรัฐสภำในกำรท ำหน้ำที่บัญญัติ กฎหมำยและอื่น ๆ ๓) เป็นสถำนที่ที่มีกำรเจรจำต่อรอง ประนีประนอมและผสมผสำน ควำมคิดเห็นที่หลำกหลำยให้มีควำมแตกต่ำงให้น้อยที่สุด จำกควำมส ำคัญและประโยชน์ในกำรแสดงบทบำทหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำร ท ำให้มีกำรเรียกคณะกรรมำธิกำรว่ำ สภำเล็ก (Little Legislature) เพรำะท ำหน้ำที่เกือบทั้งหมดของรัฐสภำ บทบำทของคณะกรรมำธิกำร ในฐำนะที่คณะกรรมำธิกำรเป็นองค์กรที่ช่วยในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของรัฐสภำ จึงมีบทบำทส ำคัญ ๓ ด้ำน คือ ๑) บทบำทด้ำนกำรพิจำรณำร่ำงกฎหมำยที่เข้ำสู่กำรพิจำรณำของสภำ ๒) บทบำทด้ำนกำรติดตำมตรวจสอบกำรด ำเนินงำนตำมนโยบำยที่รัฐบำล แถลงต่อสภำ ๓) บทบำทด้ำนกำรศึกษำ สอบสวนเรื่องใด ๆ ที่อยู่ในอ ำนำจของสภำ ประเภทของคณะกรรมำธิกำร (สถำบันพระปกเกล้ำ, ๒๕๖๒, น. ๑๕ - ๑๖) คณะกรรมำธิกำรเป็นองค์กรที่ประกอบด้วยบุคคลทั้งที่เป็นสมำชิกรัฐสภำ และหรือผู้ทรงคุณวุฒิจำกภำยนอกขึ้นอยู่กับประเภทของคณะกรรมำธิกำรซึ่งแบ่งออกเป็น ๔ ประเภทคือ ๑) คณะกรรมำธิกำรสำมัญประจ ำสภำ ( Standing Committee ) เป็นกรรมำธิกำรที่สภำเลือกและแต่งตั้งจำกบุคคลผู้เป็นสมำชิกสภำเท่ำนั้น ประกอบเป็น คณะกรรมำธิกำรและตั้งไว้เป็นกำรถำวรตลอดอำยุของสภำตำมมำตรำ ๑๒๙ ของรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๒) คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ ( Ad hoc Committee ) เป็นกรรมำธิกำร ที่สภำเลือกและแต่งตั้งขึ้นจำกบุคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมำชิกแห่งสภำนั้น สภำจะตั้งคณะกรรมำธิกำร วิสำมัญขึ้นในกรณีที่สภำพิจำรณำเห็นว่ำเรื่องที่สภำได้พิจำรณำอยู่นั้นควรจะได้รับฟังควำมคิดเห็นจำก ผู้มีควำมรู้และผู้เชี่ยวชำญโดยเฉพำะหรือจำกบุคคลที่เกี่ยวข้อง และเมื่อคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญได้ ปฏิบัติหน้ำที่เสร็จสิ้นแล้วคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญก็จะสิ้นสภำพไป ตำมมำตรำ ๑๒๙ ของรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ๓) คณะกรรมำธิกำรเต็มสภำ ( Committee of the Whole House ) เป็นกรรมำธิกำรที่ประกอบด้วยสมำชิกทุกคนในที่ประชุมเป็นคณะกรรมำธิกำร โดยประธำนของที่ ประชุมมีฐำนะเป็นประธำนคณะกรรมำธิกำร ซึ่งกำรพิจำรณำโดยกรรมำธิกำรเต็มสภำเป็น กำรพิจำรณำชั้นคณะกรรมำธิกำรและกำรพิจำรณำของสภำในวำระที่สองเรียงตำมล ำดับมำตรำ รวมกันไปตำมข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๑๓๐ ซึ่งบัญญัติไว้ว่ำ “ในกรณีที่สภามีมติให้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยกรรมาธิการเต็มสภา ให้ถือว่าสมาชิกทุกคนในที่ประชุมประกอบกันเป็นคณะกรรมาธิการ และประธานมีฐานะเป็นประธาน คณะกรรมาธิการด้วย ก า รพิจ า รณ าโดยก ร รม า ธิก า รเต็มสภ าเป็นก า รพิจ า รณ าในชั้น คณะกรรมาธิการและการพิจารณาของสภาในวาระที่สองเรียงตามล าดับมาตรารวมกันไป” ๔) คณะกรรมำธิกำรร่วมกัน ( Joint Committee) เป็นกรรมำธิกำร ที่สภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำตั้งขึ้นเพื่อพิจำรณำปัญหำร่วมกัน ประกอบด้วย บุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้ เป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ โดยมีจ ำนวนเท่ำกันตำมที่สภำผู้แทนรำษฎรก ำหนด เพื่อพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติ โดยให้คณะกรรมำธิกำรร่วมกันรำยงำนและเสนอต่อสภำทั้งสอง เห็นชอบด ำเนินกำรโดยค ำแนะน ำและยินยอมของรัฐสภำ ตำมมำตรำ ๑๓๗ (๓) ของรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ซึ่งบัญญัติไว้ว่ำ “ถ้าแก้ไขเพิ่มเติม ให้ส่งร่างพระราชบัญญัติตามที่แก้ไขเพิ่มเติมนั้นไปยัง สภาผู้แทนราษฎร ถ้าสภาผู้แทนราษฎรเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมให้ด าเนินการต่อไป ตามมาตรา ๘๑ ถ้าเป็นกรณีอื่นให้แต่ละสภาตั้งบุคคลซึ่งเป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ มีจ านวนเท่ากันตามที่สภาผู้แทนราษฎรก าหนดประกอบเป็นคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณา ร่างพระราชบัญญัตินั้น และให้คณะกรรมาธิการร่วมกันรายงานและเสนอร่างพระราชบัญญัติ ที่คณะกรรมาธิการร่วมกันได้พิจารณาแล้วต่อสภาทั้งสอง ถ้าสภาทั้งสองต่างเห็นชอบด้วยกับ ร่างพระราชบัญญัติที่คณะกรรมาธิการร่วมกันพิจารณาแล้ว ให้ด าเนินการต่อไปตามมาตรา ๘๑ ถ้าสภาใดสภาหนึ่งไม่เห็นชอบด้วย ไม่ว่าอีกสภาหนึ่งจะได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นแล้วหรือไม่ ให้ยับยั้งร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้ก่อน” ๕) คณ ะก ร รม ำ ธิ ก ำ รขอ ง รั ฐสภ ำ (Committee of Parliament) อำจเกิดขึ้นจำกกำรแต่งตั้งของที่ประชุมของรัฐสภำ โดยเป็นกรรมำธิกำรที่ตั้งจำกผู้ที่เป็นสมำชิก ของแต่ละสภำเพื่อพิจำรณำเรื่องใด ๆ ตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๕๖ แล้ว รำยงำนผลกำรพิจำรณำต่อที่ประชุมรัฐสภำ ซึ่งบัญญัติไว้ว่ำ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร “ในกรณีต่อไปนี้ ให้รัฐสภาประชุมร่วมกัน (๑) การให้ความเห็นชอบในการแต่งตั้งผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ ตามมาตรา ๑๗ (๒) การปฏิญาณตนของผู้ส าเร็จราชการแทนพระองค์ต่อรัฐสภาตามมาตรา ๑๙ (๓) การรับทราบการแก้ไขเพิ่มเติมกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราช สันตติวงศ์พระพุทธศักราช ๒๔๖๗ ตามมาตรา ๒๐ (๔) การรับทราบหรือให้ความเห็นชอบในการสืบราชสมบัติตามมาตรา ๒๑ (๕) การให้ความเห็นชอบในการปิดสมัยประชุมตามมาตรา ๑๒๑ (๖) การเปิดประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๒๒ (๗) การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๑๓๒ (๘) ก า ร ป ร ึกษ า ร ่างพ ร ะ ร า ชบ ัญ ญ ัติป ร ะ ก อบ ร ัฐ ธ ร ร มนูญห ร ือ ร่างพระราชบัญญัติใหม่ตามมาตรา ๑๔๖ (๙) การพิจารณาให้ความเห็นชอบตามมาตรา ๑๔๗ (๑๐) การเปิดอภิปรายทั่วไปตามมาตรา ๑๕๕ และมาตรา ๑๖๕ (๑๑) การตราข้อบังคับการประชุมรัฐสภาตามมาตรา ๑๕๗ (๑๒) การแถลงนโยบายตามมาตรา ๑๖๒ (๑๓) การให้ความเห็นชอบในการประกาศสงครามตามมาตรา ๑๗๗ (๑๔) การรับฟังค าชี้แจงและการให้ความเห็นชอบหนังสือสัญญา ตามมาตรา ๑๗๘ (๑๕) การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญตามมาตรา ๒๕๖ (๑๖) กรณีอื่นตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ” นอกจำกนี้ คณะกรรมำธิกำรของรัฐสภำยังเกิดขึ้นได้ตำมข้อบังคับ กำรประชุมรัฐสภำ หมวด ๕ กำรเสนอและกำรพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติ ส่วนที่ ๑ กำรเสนอและ กำรพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติที่จะตรำขึ้นเพื่อด ำเนินกำรตำมหมวด ๑๖ กำรปฏิรูปประเทศ ตำมมำตรำ ๒๗๐ ของรัฐธรรมนูญอีกด้วย เพื่อท ำหน้ำที่พิจำรณำศึกษำประเด็นกำรปฏิรูปด้ำนต่ำง ๆ ตำมยุทธศำสตร์ชำติ ๒.๒.๔ ขั้นตอนกำรด ำเนินงำนของคณะกรรมำธิกำรเกี่ยวกับกำรสอบหำ ข้อเท็จจริง หรือกำรพิจำรณำศึกษำเรื่องใด ๆ สรุปได้ดังนี้(สถำบันพระปกเกล้ำ, ๒๕๖๒, น. ๒๗ – ๒๘) ๑. กำรรับเรื่องร้องเรียนมำจำก ๔ ช่องทำงคือ ๑) สภำผู้แทนรำษฎรมีมติ มอบหมำยให้ด ำเนินกำร ๒) คณะกรรมำธิกำรเห็นว่ำเป็นประเด็นทำงสังคมที่ควรศึกษำ ๓) กรรมำธิกำรเสนอเรื่องต่อคณะกรรมำธิกำร ๔) ประชำชนร้องเรียนต่อคณะกรรมำธิกำรโดยตรง ๒ . คณ ะ ก ร ร ม ำ ธิ ก ำ รพิ จ ำ รณ ำ ว่ ำเ รื่ อง ร้ องเ รี ยนที่เ สน อม ำ ยัง คณะกรรมำธิกำรอยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรหรือไม่ หำกอยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจ ต้องพิจำรณำเบื้องต้นว่ำเรื่องร้องเรียนเข้ำข่ำยควำมผิดตำมกฎหมำยใด มีบุคคล และหน่วยงำนใด ที่เกี่ยวข้องหรือไม่


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๓. ขั้นตอนกำรรวบรวมข้อเท็จจริง ๑) กระบวนกำรประชุม เชิญผู้ที่เกี่ยวข้องเข้ำร่วมประชุมไม่ว่ำจะเป็น ผู้ร้องเรียน ผู้ถูกร้องเรียน และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องทั้งภำครัฐและภำคเอกชน พร้อมทั้งส่งมอบ เอกสำรที่เกี่ยวข้องให้คณะกรรมำธิกำรพิจำรณำ ๒) คณะกรรมำธิกำรซักถำมข้อมูลข้อเท็จจริงจำกผู้ร้องเรียน ผู้ถูก ร้องเรียน และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องทั้งภำครัฐและภำคเอกชน เพื่อให้ทรำบข้อมูลข้อเท็จจริง พร้อมทั้ง พิจำรณำศึกษำว่ำที่เรื่องดังกล่ำวมีระเบียบและกฎหมำยใดที่เกี่ยวข้อง และให้ส่งเอกสำรเพิ่มเติม หำกเห็นว่ำข้อมูลที่ได้รับยังไม่เพียงพอต่อกำรพิจำรณำวินิจฉัย ๓) ในบำงกรณีอำจต้องลงพื้นที่เพื่อสอบหำข้อเท็จจริง ๔. สรุปผลกำรพิจำรณำข้อมูล ข้อเท็จจริง และเอกสำรประกอบกำร พิจำรณำรวมทั้งวิเครำะห์ว่ำในแต่ละข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นเข้ำข่ำยตำมประเด็นเรื่องร้องเรียนที่ได้รับ หรือไม่เพื่อน ำมำวิเครำะห์ก่อนน ำมำใช้ในกำรจัดท ำ (ร่ำง) รำยงำนกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง ที่คณะกรรมำธิกำรพิจำรณำเสร็จแล้ว ๕. จัดท ำ (ร่ำง) รำยงำนกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง ๖. กำรปรับปรุงแก้ไข (ร่ำง) รำยงำนกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงตำมมติ ของคณะกรรมำธิกำร ๗. จัดส่งรำยงำนกำรสอบหำข้อเท็จจริงฉบับสมบูรณ์ให้ผู้ร้องเรียน ผู้ถูกร้องเรียน และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องทั้งภำครัฐและภำคเอกชน และน ำกรำบเรียนประธำนสภำ ผู้แทนรำษฎรเพื่อทรำบ ๒.๒.๕ กระบวนกำรท ำงำนของคณะกรรมำธิกำรสำมัญในกำรพิจำรณำศึกษำเรื่องต่ำง ๆ หรือพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร, ๒๕๔๘, น. ๑๗๐ – ๑๗๑) เมื่อสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ ได้มีมติตั้งคณะกรรมำธิกำรคณะต่ำง ๆ ขึ้น เพื่อให้ ท ำหน้ำที่สนับสนุนกำรด ำเนินงำนในด้ำนต่ำง ๆ ของสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำแล้ว ในส่วน กระบวนกำรท ำงำนของคณะกรรมำธิกำร อำจจะแบ่งกระบวนกำรท ำงำนออกได้เป็น ๒ ส่วน ดังนี้ ๑. กระบวนกำรรับเรื่องเข้ำสู่กำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำร ซึ่งมีที่มำจำก ๓ ช่องทำง ดังนี้ ๑)สภำผู้แทนรำษฎรหรือวุฒิสภำ ได้มีมติมอบหมำยให้คณะกรรมำธิกำรคณะใด คณะหนึ่งท ำกำรพิจำรณำศึกษำ หรือสอบหำข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยเห็นว่ำเรื่องนั้นเป็น เรื่องที่อยู่ในกรอบหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรคณะนั้น ๒)คณะกรรมำธิกำรได้มีมติหยิบยกประเด็นปัญหำขึ้นมำเพื่อท ำกำรพิจำรณำ ศึกษำ หรือสอบหำข้อเท็จจริง เนื่องจำกเห็นว่ำเป็นเรื่องที่มีควำมส ำคัญและอยู่ในกรอบหน้ำที่และ อ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรที่จะพิจำรณำศึกษำได้


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๓) มีผู้ร้องเรียนมำยังคณะกรรมำธิกำรเพื่อให้ท ำกำรพิจำรณำศึกษำ หรือสอบหำ ข้อเท็จจริง และคณะกรรมำธิกำรเห็นว่ำเรื่องดังกล่ำวเป็นเรื่องที่อยู่ในกรอบหน้ำที่และอ ำนำจของ คณะกรรมำธิกำรที่จะพิจำรณำศึกษำได้ ๒. กระบวนกำรพิจำรณำศึกษำ หรือสอบหำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำร ภำยหลังจำกที่คณะกรรมำธิกำรได้รับเรื่องที่จะท ำกำรพิจำรณำศึกษำ หรือสอบหำ ข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแล้ว ส ำหรับขั้นตอนต่อไปก็จะเข้ำสู่กระบวนกำรพิจำรณำ ของคณะกรรมำธิกำร โดยคณะกรรมำธิกำรอำจจะด ำเนินกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดใน ๓ กรณี ดังนี้ ๑)คณะกรรมำธิกำรทั้งคณะร่วมกันพิจำรณำศึกษำ หรือสอบหำข้อเท็จจริงเอง โดยไม่ได้มีกำรมอบหมำยให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรพิจำรณำศึกษำ หรือสอบหำ ข้อเท็จจริงแทน ๒)ตั้งคณะอนุกรรมำธิกำรขึ้นมำเพื่อท ำหน้ำที่พิจำรณำศึกษำ หรือสอบหำ ข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำร เมื่อคณะอนุกรรมำธิกำรได้ท ำกำรพิจำรณำศึกษำ หรือสอบหำ ข้อเท็จจริงเสร็จแล้วให้รำยงำนสรุปผลกำรพิจำรณำศึกษำหรือสอบหำข้อเท็จจริงนั้น เสนอต่อ คณะกรรมำธิกำรเพื่อพิจำรณำต่อไป ๓)ตั้งคณะท ำงำนขึ้นมำเพื่อท ำกำรศึกษำและประมวลข้อเท็จจริงในแง่มุมต่ำง ๆ เสนอต่อคณะกรรมำธิกำร ๓. บทวิเครำะห์ ประเด็น ๑ เหตุใดรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ วรรคหนึ่ง จึงได้ก ำหนดให้คณะกรรมำธิกำรมีหน้ำที่และอ ำนำจในกำร “พิจำรณำสอบหำ ข้อเท็จจริง” ไม่ใช้ค ำว่ำ“พิจำรณำสอบสวน” เหมือนเช่นรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยฉบับ ที่ผ่ำน ๆ มำ ผู้เขียนวิเครำะห์ว่ำ แม้รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จะใช้ ค ำว่ำ “พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง” ไม่ใช้ค ำว่ำ “พิจำรณำสอบสวน” เหมือนเช่นรัฐธรรมนูญฉบับ ที่ผ่ำน ๆ มำ ไม่ว่ำจะเป็นพระรำชบัญญัติธรรมนูญกำรปกครองแผ่นดินสยำมชั่วครำว พุทธศักรำช ๒๔๗๕ และรัฐธรรมนูญฉบับอื่น ๆ เรื่อยมำจนถึงรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ ก็ตำม แต่ผู้เขียนเห็นว่ำ ผู้ร่ำงรัฐธรรมนูญคงไม่ได้มีเจตนำที่จะไปเปลี่ยนแปลงหรือลดทอนอ ำนำจ ในกำรด ำเนินกำรตำมกระบวนพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรไม่ว่ำจะเป็น กำรเรียกเอกสำรจำก บุคคลใด หรือกำรเรียกบุคคลใดมำชี้แจงแถลงข้อเท็จจริงต่อคณะกรรมำธิกำร รวมทั้งกำรพิจำรณำ วินิจฉัยข้อมูลข้อเท็จจริง และพยำนหลักฐำนต่ำง ๆ ของคณะกรรมำธิกำรแต่อย่ำงใด กำรใช้ค ำว่ำ “กำรสอบหำข้อเท็จจริง” เป็นเพียงกำรใช้ถ้อยค ำที่ให้มีควำมเหมำะสมกับหน้ำที่และอ ำนำจ ของคณะกรรมำธิกำรมำกยิ่งขึ้นเท่ำนั้น (ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร, ๒๕๕๘, น. ๘๔) และอีกประกำรหนึ่งเพื่อไม่ให้ผู้ถูกกล่ำวหำหรือผู้ถูกร้องเรียนในกรณีที่เป็นเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับ พฤติกรรมหรือกำรกระท ำของบุคคล มีควำมรู้สึกว่ำตนเองก ำลังถูกคณะกรรมำธิกำรเรียกมำสอบสวน


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร โดยใช้กระบวนกำรสอบสวนตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ ซึ่งค ำว่ำ “สอบสวน” ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ และตำมพจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๕๔ มีควำมหมำยในท ำนองเดียวกันคือ “สอบสวน หมายความถึงการรวบรวมพยานหลักฐาน และด าเนินการอย่างอื่นซึ่งพนักงานสอบสวนได้ท าไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหา เพื่อที่จะทราบ ข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิด และเพื่อจะเอาตัวผู้กระท าผิดมาฟ้องลงโทษ ” ซึ่งในที่นี้ คณะกรรมำธิกำรไม่ได้เป็นพนักงำนสอบสวน และไม่ได้มีอ ำนำจในกำรพิจำรณำสอบสวนตำมประมวล กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำด้วย อีกทั้งแม้ในทำงพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรจะสำมำรถพิสูจน์ ทรำบได้ว่ำผู้ถูกกล่ำวหำหรือผู้ถูกร้องเรียนได้มีพฤติกรรมหรือกำรกระท ำตำมที่ถูกกล่ำวหำจริง คณะกรรมำธิกำรก็ไม่ได้มีอ ำนำจที่จะไปพิจำรณำลงโทษหรือก ำหนดบทลงโทษแก่ผู้ถูกกล่ำวหำหรือ ผู้ถูกร้องเรียนได้แต่อย่ำงใด คณะกรรมำธิกำรกระท ำได้แต่เพียงรำยงำนผลกำรพิจำรณำศึกษำนั้น ให้กับสภำได้รับทรำบเท่ำนั้น ดังนั้น ด้วยเหตุผลที่กล่ำวมำจึงไม่ได้มีกำรน ำถ้อยค ำ ค ำว่ำ “สอบสวน” ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำมำระบุไว้ในหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร อย่ำงไรก็ตำม แม้หน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรในกำรสอบหำ ข้อเท็จจริงหรือศึกษำเรื่องใด ๆ จะไม่มีผลบังคับทำงปกครองที่รัฐมนตรีหรือหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องต้อง น ำไปปฏิบัติแต่อ ำนำจดังกล่ำวก็เป็นอ ำนำจของฝ่ำยนิติบัญญัติในกำรตรวจสอบฝ่ำยบริหำร นอกเหนือจำกกำรตั้งญัตติ หรือกำรตั้งกระทู้ถำม ซึ่งอำจส่งผลต่อกำรปฏิบัติหน้ำที่ของรัฐบำลเช่นกัน หน้ำที่และอ ำนำจดังกล่ำวจึงมีควำมส ำคัญในระบบรัฐสภำในกำรตรวจสอบ ถ่วงดุลฝ่ำยบริหำรในกำร ท ำงำน เพื่อประโยชน์ต่อประชำชนยิ่งกว่ำสิ่งอื่นใด (สถำบันพระปกเกล้ำ, ๒๕๖๒, น. ๓๗) ส ำหรับอ ำนำจในกำรเรียกเอกสำร หรือเรียกให้บุคคลใดมำแถลงข้อเท็จจริง ต่อคณะกรรมำธิกำร รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสี่ ใช้ถ้อยค ำว่ำ “คณะกรรมำธิกำรมีอ ำนำจเรียก” ซึ่งมีลักษณะเป็นกำรเชิญหรือขอควำมร่วมมือไม่มี ลักษณะเป็นกำรบังคับ ทั้งนี้ เป็นไปตำมเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ ที่ต้องกำรให้คณะกรรมำธิกำรปฏิบัติอย่ำงฉันมิตร มิได้มีบทลงโทษ ทำงอำญำเพรำะถือว่ำเป็นกำรลิดรอนสิทธิ์มำกเกินควำมจ ำเป็น และกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง เป็นอ ำนำจหน้ำที่โดยทั่วไปของรัฐสภำที่จะด ำเนินกำรเพื่อให้ได้มำซึ่งข้อเท็จจริงในเรื่องพิจำรณำ แต่ไม่ใช่กำรใช้อ ำนำจสอบสวนตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ (คณะกรรมกำรยกร่ำง รัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๘, น. ๑๙) ในขณะที่รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ และ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยพุทธศักรำช ๒๕๕๐ มำตรำ ๑๓๕ ใช้ค ำว่ำ “คณะกรรมำธิกำรมีอ ำนำจ ออกค ำสั่งเรียก”ซึ่งมีลักษณะเป็นกำรออกค ำสั่งที่ประสงค์ให้มีผลบังคับทำงกฎหมำย ซึ่งต่อมำจึงได้มี กำรตรำพระรำชบัญญัติค ำสั่งเรียกของคณะกรรมำธิกำรของสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ ขึ้นมำใช้บังคับเพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ แต่ต่อมำเมื่อได้มีกำรยกเลิกใช้บังคับรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ แต่พระรำชบัญญัติค ำสั่งเรียกของคณะกรรมำธิกำรของสภำผู้แทนรำษฎรและ วุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งออกตำมควำมในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ยังไม่ได้มีกำรยกเลิกหรือแก้ไขเพิ่มเติมให้มีเนื้อหำสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จึงท ำให้เกิดเป็นประเด็นปัญหำว่ำพระรำชบัญญัติค ำสั่งเรียกของ คณะกรรมำธิกำรของสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ หรือไม่ ซึ่งประเด็นดังกล่ำวศำลรัฐธรรมนูญได้มีค ำวินิจฉัย ที่ ๑๗/๒๕๖๓ วินิจฉัยว่ำ พระรำชบัญญัติค ำสั่งเรียกของคณะกรรมำธิกำรของสภำผู้แทนรำษฎร และวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ มำตรำ ๕ มำตรำ ๘ และมำตรำ ๑๓ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ เนื่องจำกพระรำชบัญญัติค ำสั่งเรียกของคณะกรรมำธิกำร ของสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซึ่งออกตำมควำมในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ ได้บัญญัติเรื่องกรรมำธิกำรและกำรออกค ำสั่งเรียกมีหลักกำรและสำระส ำคัญ แตกต่ำงจำกที่ปรำกฏในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ กล่ำวคือ รัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ มำตรำ ๑๓๕ ใช้ค ำว่ำ “คณะกรรมำธิกำรมีอ ำนำจออก ค ำสั่งเรียก” ซึ่งมีผลบังคับทำงกฎหมำยและมีโทษทำงอำญำ แต่รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสี่ ใช้ถ้อยค ำว่ำ “คณะกรรมำธิกำรมีอ ำนำจเรียก” ซึ่งมีลักษณะเป็นกำรเชิญหรือขอควำมร่วมมือไม่มีลักษณะเป็นกำรบังคับ นอกจำกนี้ ศำลยังเห็นว่ำกำรด ำเนินกำรของคณะกรรมำธิกำรเป็นกำร แสวงหำข้อเท็จจริง ไม่ใช่กำรสืบสวนหรือสอบสวนตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ จึงไม่ควรมีโทษทำงอำญำอันเป็นกำรไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของกำรลงโทษทำงอำญำแก่บุคคล และควำมร้ำยแรงของกำรกระท ำควำมผิด เนื่องจำกกำรฝ่ำฝืนค ำสั่งเรียกหรือไม่แถลงข้อเท็จจริงหรือ ส่งเอกสำรต่อคณะกรรมำธิกำรนั้น ไม่ได้มีสภำพร้ำยแรงหรือท ำให้เกิดควำมเสียหำยที่จะกระทบต่อผล ในเรื่องที่สอบหำข้อเท็จจริงดังเช่นกำรด ำเนินคดีอำญำ อีกทั้งกำรฝ่ำฝืนกำรใช้อ ำนำจของ คณะกรรมำธิกำรดังกล่ำวมิได้กระทบต่อควำมสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชำชนโดยรวม ดังนั้น พระรำชบัญญัติค ำสั่งเรียกของคณะกรรมำธิกำรของสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ มำตรำ ๕ มำตรำ ๘ และมำตรำ ๑๓ จึงกระทบต่อสิทธิและเสรีภำพของบุคคล เป็นภำระหรือจ ำกัด สิทธิหรือเสรีภำพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุและเป็นบทบัญญัติที่ไม่สอดคล้องกับหลักกำรของ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จึงส่งผลให้พระรำชบัญญัติค ำสั่งเรียก ของคณะกรรมำธิกำรของสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำ พ.ศ. ๒๕๕๔ ขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๒๙ (สถำบันพระปกเกล้ำ, ๒๕๖๒, น. ๖๓ - ๖๕) ประเด็น ๒ ศึกษำวิเครำะห์ควำมมุ่งหมำยของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ที่บัญญัติห้ำมคณะกรรมำธิกำรมอบอ ำนำจหรือมอบหมำยให้บุคคล หรือคณะบุคคลใดสอบหำข้อเท็จจริงแทน และวิเครำะห์ควำมหมำยของค ำว่ำ “บุคคล หรือคณะบุคคล” ที่รัฐธรรมนูญบัญญัติห้ำมมิให้สอบหำข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำร บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ได้บัญญัติห้ำมคณะกรรมำธิกำรมอบอ ำนำจหรือมอบหมำยให้บุคคลหรือ คณะบุคคลใดกระท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำร ซึ่งเรื่องดังกล่ำวถือว่ำเป็นเรื่องใหม่


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๑๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ที่ยังไม่เคยปรำกฏมำก่อนในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยฉบับที่ผ่ำน ๆ มำ ดังนั้น จึงเป็นเรื่องที่ น่ำสนใจว่ำเป็นเพรำะเหตุใดกำรสอบหำข้อเท็จจริง คณะกรรมำธิกำรจึงไม่สำมำรถมอบอ ำนำจ หรือมอบหมำยให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรแทนได้ จำกกำรศึกษำค้นคว้ำควำมมุ่งหมำยของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ พบว่ำ รัฐธรรมนูญได้วำงหลักกำรใหม่เกี่ยวกับกำรท ำหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำร ในกำรสอบหำข้อเท็จจริง โดยประสงค์ให้คณะกรรมำธิกำรสำมัญและคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญของ สภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำเป็นผู้ใช้อ ำนำจนั้นโดยตรง และเพื่อให้เกิดควำมชัดเจนในเรื่องภำรกิจของ คณะกรรมำธิกำร ในมำตรำ ๑๒๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จึงได้ใช้ ค ำว่ำ “กำรสอบหำข้อเท็จจริง” แทนค ำว่ำ “กำรสอบสวน” ซึ่งต่ำงจำกรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ มำตรำ ๑๓๕ ที่ให้อ ำนำจเลือกผู้ที่มิได้เป็นสมำชิกของสภำมำเป็นคณะกรรมำธิกำร วิสำมัญพิจำรณำสอบสวนได้ด้วย(คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๖๒, น. ๒๒๔) นอกจำกนี้ ผู้เขียน เห็นว่ำ เรื่องกำรสอบหำข้อเท็จจริงเป็นเรื่องที่มีควำมส ำคัญที่คณะกรรมำธิกำรจะต้องพิจำรณำสอบหำ ข้อเท็จจริงเองไม่ควรมอบหมำยให้บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทน เพรำะกำรสอบหำข้อเท็จจริงมีผลกระทบต่อบุคคลผู้ถูกกล่ำวหำหรือถูกร้องเรียนโดยตรง และอำจจะ กระทบสิทธิบำงประกำรของผู้ถูกกล่ำวหำหรือถูกร้องเรียนด้วย อีกประกำรหนึ่งจะได้ไม่ท ำให้ผู้กล่ำวหำ ผู้ถูกกล่ำวหำ รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ ต้องถูกเชิญมำให้ข้อมูลข้อเท็จจริง รวมทั้งต้อง แสดงพยำนหลักฐำนในเรื่องเดียวกันต่อบุคคลหรือคณะบุคคลหลำยครั้ง เช่น หำกคณะกรรมำธิกำร ได้มอบหมำยให้คณะอนุกรรมำธิกำรด ำเนินกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทน ในกำรพิจำรณำสอบหำ ข้อเท็จจริงของคณะอนุกรรมำธิกำร จะต้องมีกำรเชิญผู้กล่ำวหำ ผู้ถูกกล่ำวหำ รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง กับเรื่องนั้น ๆ มำให้ข้อมูลข้อเท็จจริง รวมทั้งต้องแสดงพยำนหลักฐำนต่อคณะอนุกรรมำธิกำรด้วย เมื่อคณะอนุกรรมำธิกำรได้ท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแล้วเสร็จก็จะต้องสรุปผลกำรสอบหำข้อเท็จจริงนั้น เสนอต่อคณะกรรมำธิกำรเพื่อพิจำรณำต่อไป ซึ่งในกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำร หำกคณะกรรมำธิกำรยังมีข้อสงสัยในข้อเท็จจริงหรือพยำนหลักฐำนบำงประกำรที่คณะอนุกรรมำธิกำร ได้สรุปมำคณะกรรมำธิกำรก็จะเชิญผู้กล่ำวหำ ผู้ถูกกล่ำวหำ รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ มำให้ข้อมูลข้อเท็จจริง รวมทั้งต้องแสดงพยำนหลักฐำนต่อคณะกรรมำธิกำรซ้ ำอีกซึ่งในกรณีนี้จะท ำให้เสีย ทั้งเวลำและค่ำใช้จ่ำยต่ำง ๆ โดยใช่เหตุ ทั้งจะท ำให้ผู้ถูกกล่ำวหำหรือผู้ถูกร้องเรียนรู้สึกว่ำตนเองต้องถูก สอบสวนหลำยครั้ง เพรำะเรื่องดังกล่ำวเป็นเรื่องที่ได้ผ่ำนกำรพิจำรณำของคณะอนุกรรมำธิกำรมำแล้ว สำเหตุอีกประกำรหนึ่งที่ไม่ควรมอบให้คณะอนุกรรมำธิกำรพิจำรณำสอบ หำข้อเท็จจริงแทน คือ คณะอนุกรรมำธิกำรนอกจำกจะประกอบไปด้วยสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรร่วม เป็นอนุกรรมำธิกำรแล้วยังประกอบไปด้วยบุคคลภำยนอก ที่ไม่ได้เป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรร่วมเป็น คณะอนุกรรมำธิกำรด้วย ซึ่งบุคคลภำยนอกอำจจะน ำข้อมูลข้อเท็จจริงที่ได้จำกกำรสอบหำข้อเท็จจริง ไปแสวงหำประโยชน์ที่มิชอบด้วยกฎหมำยเหมือนเช่นที่เคยเกิดขึ้นมำแล้วในอดีต ฉะนั้น เพื่อป้องกัน ปัญหำที่อำจจะเกิดขึ้นคณะกรรมำธิกำรจึงควรสอบหำข้อเท็จจริงเอง ไม่ควรมอบหมำยให้คณะอนุ กรรมำธิกำรซึ่งประกอบด้วยบุคคลภำยนอกได้มีส่วนร่วมในกำรสอบหำข้อเท็จจริงด้วย


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ส่วนค ำว่ำ “บุคคล” หรือ “คณะบุคคล” ตำมควำมในมำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ที่ห้ำมสอบหำข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำร ถือเป็นหลักกำรที่คณะกรรมกำร ร่ำงรัฐธรรมนูญได้เพิ่มขึ้นใหม่ ซึ่งยังไม่เคยปรำกฏมำก่อนในรัฐธรรมนูญทุกฉบับที่ผ่ำนมำ แต่อย่ำงไรก็ตำม ในส่วนกำรมอบหมำยให้กระท ำกำรพิจำรณำศึกษำเรื่องใด ๆ ที่อยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจของ คณะกรรมำธิกำรยังสำมำรถมอบหมำยให้คณะอนุกรรมำธิกำร บุคคล หรือคณะบุคคลใดกระท ำกำร แทนได้(คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๙, น. ๑๔) ผู้เขียนเห็นว่ำ ค ำว่ำ “บุคคล” หรือ “คณะบุคคล” ตำมควำมใน มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม เป็นค ำที่มีควำมหมำยที่กว้ำงมำก เพรำะในรัฐธรรมนูญไม่ได้มีกำรระบุ เฉพำะเจำะจงหรือมีบทนิยำมของค ำว่ำบุคคลหรือคณะบุคคลว่ำหมำยถึงใครบ้ำง ดังนั้น ผู้เขียนจึงได้ ศึกษำค้นคว้ำควำมมุ่งหมำยหรือเจตนำรมณ์ของคณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญที่ได้ระบุถ้อยค ำดังกล่ำว จำกบันทึกกำรประชุมของคณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ ประกอบกับหนังสือควำมมุ่งหมำยและ ค ำอธิบำยประกอบมำตรำของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ซึ่งจำกกำรศึกษำ พบว่ำ คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญมีควำมประสงค์ให้คณะกรรมำธิกำรเท่ำนั้นเป็นผู้พิจำรณำสอบหำ ข้อเท็จจริงไม่ประสงค์ให้คณะกรรมำธิกำรมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้บุคคล หรือคณะบุคคลใดกระท ำ กำรสอบหำข้อเท็จจริงแทน (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๙, น. ๑๔) แม้ว่ำบุคคล หรือ คณะบุคคลนั้นจะปฏิบัติหน้ำที่อยู่ในวงงำนรัฐสภำ เช่น คณะอนุกรรมำธิกำร คณะท ำงำน ที่ปรึกษำ ผู้ช ำนำญกำร นักวิชำกำร เลขำนุกำรประจ ำคณะกรรมำธิกำร และเจ้ำหน้ำที่ประจ ำกลุ่มงำน คณะกรรมำธิกำร เป็นต้น รวมทั้งบุคคล หรือคณะบุคคลจำกภำยนอกที่ไม่ได้อยู่ในวงงำนรัฐสภำ เช่น ทนำยควำม พนักงำนสอบสวน บุคคลหรือคณะบุคคลที่มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญด้ำนกำรสอบหำ ข้อเท็จจริง เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อเป็นกำรป้องกันมิให้เกิดกำรแสวงหำประโยชน์ที่มิชอบจำกบุคคลอื่นซึ่งมิใช่ คณะกรรมำธิกำร (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๙, น. ๑๔) เนื่องจำกหำกกรรมำธิกำรกระท ำผิด กฎหมำย เช่น ข่มขู่ หรือเรียกรับผลประโยชน์จำกผู้ร้องเรียน หรือผู้ถูกร้องเรียน จะต้องถูกตรวจสอบ จำกคณะกรรมกำรจริยธรรมสภำผู้แทนรำษฎร ตำมข้อบังคับว่ำด้วยประมวลจริยธรรมของ สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรและกรรมำธิกำร พ.ศ. ๒๕๖๓ ในขณะเดียวกันกำรตรวจสอบและกำรรับผิดทำง กฎหมำยอำญำก็จะมีประมวลกฎหมำยอำญำและพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่ำด้วย คณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรทุจริตแห่งชำติพ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อก ำหนดบทลงโทษ กรรมำธิกำรที่กระท ำผิดด้วย นอกจำกนี้ จำกกำรศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติมในประเด็นควำมหมำยของค ำว่ำ “บุคคล” หรือ “คณะบุคคล” ตำมควำมในมำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม พบว่ำ ประธำนกรรมกำร ร่ำงรัฐธรรมนูญ (นำยมีชัย ฤชุพันธ์) ได้ตอบข้อหำรือไว้ในเว็บไซต์ www.meechaithailand.com ว่ำ “ค าว่า "บุคคลหรือคณะบุคคล" หมายความรวมถึงคน ๆ เดียว คณะอนุกรรมการ คณะท างาน หรือ คณะอื่นใด อ านาจนี้เป็นอ านาจของสมาชิกสภาเป็นการเฉพาะจึงไม่พึงมอบให้คนอื่นไปใช้หรือไปท าแทน แต่ไม่ได้ห้ามที่จะมีคนหรือคณะบุคคลช่วยหาข้อมูล หรือช่วยศึกษา อ านาจในการแต่งตั้งคณะอนุ กรรมาธิการยังมีอยู่แต่จะตั้งเพื่อให้ไปท าแทนไม่ได้” จำกข้อควำมที่กล่ำวมำข้ำงต้นจึงสรุปได้ว่ำในกำร


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร สอบหำข้อเท็จจริงคณะกรรมำธิกำรจะต้องเป็นผู้พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงเอง ไม่สำมำรถมอบหมำย หรือมอบอ ำนำจให้บุคคล คณะบุคคล รวมทั้งคณะอนุกรรมำธิกำร กระท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทนได้ อ ำนำจนี้เป็นอ ำนำจของสมำชิกสภำเป็นกำรเฉพำะ จึงไม่พึงมอบให้บุคคลอื่นไปกระท ำแทน (พรสันต์ เลี้ยงบุญเลิศชัย, ม.ป.ป, น. ๑๑๗) กำรที่เจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ก ำหนด ห้ำมมิให้มอบหมำยคณะอนุกรรมำธิกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงแทน เนื่องจำกที่ผ่ำนมำเกิดปัญหำ กรณีที่อนุกรรมำธิกำรที่เป็นบุคคลภำยนอกน ำเอกสำรที่ได้มำจำกกำรเรียกเอกสำร และเรียกบุคคล มำชี้แจงไปแสวงหำประโยชน์ที่ไม่ชอบ ซึ่งก่อให้เกิดควำมเสียหำยกับคณะกรรมำธิกำร ดังนั้น จึงควรให้ คณะกรรมำธิกำรต้องเป็นผู้ด ำเนินกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงเอง (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๘, น. ๑๙) แต่อย่ำงไรก็ตำมหำกจะมอบหมำยให้ช่วยหำข้อมูล หรือช่วยศึกษำในเบื้องต้น ซึ่งไม่ใช่ กำรพิจำรณำวินิจฉัยเนื้อหำว่ำมีควำมถูกผิดอย่ำงไรก็สำมำรถมอบหมำยให้กระท ำกำรแทนได้ และหำก เป็นกำรพิจำรณำศึกษำเรื่องใด ๆ ที่อยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร ที่ไม่มีเนื้อเป็นกำรสอบ หำข้อเท็จจริงก็สำมำรถมอบหมำยให้บุคคล คณะบุคคล รวมทั้งคณะอนุกรรมำธิกำรกระท ำกำรพิจำรณำ ศึกษำแทนคณะกรรมำธิกำรได้ (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๙, น. ๓๘) ดังนั้น จึงสรุปได้ว่ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำร คณะกรรมำธิกำรจะต้องเป็นผู้พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงเอง ไม่สำมำรถมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้ บุคคล คณะบุคคล รวมทั้งคณะอนุกรรมำธิกำร กระท ำกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงแทน คณะกรรมำธิกำรได้ นอกจำกนี้ยังรวมถึงบุคคล หรือคณะบุคคลอื่นที่อยู่ภำยนอกวงงำนรัฐสภำด้วย ที่ไม่สำมำรถกระท ำแทนคณะกรรมำธิกำรได้ ประเด็น ๓ เรื่องลักษณะใดที่คณะกรรมำธิกำรจะต้องพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง ผู้เขียนวิเค ร ำ ะห์ว่ ำ ต้องเป็นเ รื่องที่มีลักษณ ะห รือเข้ ำข่ ำยที่ คณะกรรมำธิกำรจะต้องมีกำรพิจำรณำวินิจฉัยข้อมูลข้อเท็จจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นกำรเฉพำะ เช่น กำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจของรัฐ กำรด ำเนินงำนตำมนโยบำยของรัฐบำล กำรด ำเนินโครงกำร ต่ำง ๆ ของรัฐ หรือเรื่องร้องเรียนจำกประชำชน โดยรัฐธรรมนูญก ำหนดให้คณะกรรมำธิกำรมีอ ำนำจ เรียกเอกสำรจำกบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมำแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงควำมเห็นในกิจกำร ที่กระท ำหรือในเรื่องที่พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงหรือศึกษำอยู่นั้นได้ ตำมรัฐธรรมนูญแห่ง รำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช มำตรำ ๑๒๙ วรรคสี่ แต่อ ำนำจดังกล่ำวมิใช่อ ำนำจสอบสวน ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ คณะกรรมำธิกำรจึงไม่มีอ ำนำจเรียกวัตถุอื่นที่ไม่ใช่ เอกสำร (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๘, น. ๒๐) ได้แก่ วัตถุพยำนที่ใช้ในกำรพิสูจน์ ควำมถูกผิด หรือสนับสนุนข้อมูลข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น เช่น เทปบันทึกเสียง เนื่องจำกกำรสอบหำ ข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำรไม่ใช่กำรสอบสวนคดีอำญำ จึงไม่มีควำมจ ำเป็นต้องเรียกวัตถุอื่น มำเป็นพยำน (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๘, น. ๒๐) ดังนั้น หำกเรื่องใดที่ไม่มีลักษณะหรือเข้ำข่ำยที่คณะกรรมำธิกำรจะต้อง มีกำรพิจำรณำวินิจฉัยข้อมูลข้อเท็จจริง และเรียกเอกสำรจำกบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมำแถลง ข้อเท็จจริงหรือแสดงควำมเห็นในกิจกำรที่กระท ำหรือในเรื่องที่พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง เพื่อที่จะ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร พิสูจน์ทรำบข้อเท็จจริงของเรื่องนั้นว่ำมีควำมถูกผิดอย่ำงไร คณะกรรมำธิกำรจะมอบหมำยหรือมอบ อ ำนำจให้คณะอนุกรรมำธิกำร บุคคลหรือคณะบุคคลใด กระท ำกำรพิจำรณำศึกษำแทน คณะกรรมำธิกำรก็ได้ เพรำะรัฐธรรมนูญไม่ได้บัญญัติห้ำมไว้แต่หำกเป็นเรื่องที่มีลักษณะจะต้อง พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงโดยมีกำรเรียกเอกสำรจำกบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใดมำแถลงข้อเท็จจริง เพื่อที่จะพิสูจน์ทรำบควำมถูกผิดของเรื่องนั้น คณะกรรมำธิกำรจะมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้ คณะอนุกรรมำธิกำร บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรแทนมิได้ เพรำะอำจจะเข้ำข่ำยฝ่ำฝืน รัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ประกอบกับข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ วรรคห้ำและข้อ ๙๖ วรรคหนึ่ง เพรำะเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญประสงค์ให้คณะกรรมำธิกำร สำมัญและคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญของสภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำเป็นผู้ใช้อ ำนำจนั้นโดยตรง ทั้งนี้ ผลกระทบต่อกำรปฏิบัติหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำร หำกคณะกรรมำธิกำร ไม่สำมำรถมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้คณะอนุกรรมำธิกำร บุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำร สอบหำข้อเท็จจริงแทนได้ จะมีผลกระทบใน ๒ ประเด็น ดังนี้ ๑. หำกมีเรื่องกำรสอบหำข้อเท็จจริงเข้ำสู่กำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำร เป็นจ ำนวนมำก โดยที่คณะกรรมำธิกำรไม่สำมำรถมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้คณะอนุกรรมำธิกำร บุคคล หรือคณะบุคคลใด กระท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทนได้อำจจะส่งผลให้จ ำนวนเรื่องที่จะต้อง สอบหำข้อเท็จจริงค้ำงกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรเป็นจ ำนวนมำก และนอกจำกนี้ ในกำรสอบหำ ข้อเท็จจริงบำงเรื่องอำจจะต้องกระท ำให้แล้วเสร็จภำยในเวลำระยะเวลำอันจ ำกัด อำจจะส่งผลให้ กำรสอบหำข้อเท็จจริงในเรื่องนั้น ไม่มีประสิทธิภำพ หรือขำดควำมละเอียดรอบคอบในกำรสอบหำ ข้อเท็จจริง ๒. กำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงในบำงเรื่อง จ ำเป็นต้องใช้ผู้ที่มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนในกำรสอบหำข้อเท็จจริง ซึ่งแต่เดิมหำกคณะกรรมำธิกำรเห็นว่ำ คณะกรรมำธิกำรไม่มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนเกี่ยวกับเรื่องนั้น คณะกรรมำธิกำรก็จะตั้ง คณะอนุกรรมำธิกำรขึ้นมำเพื่อท ำหน้ำที่สอบหำข้อเท็จจริงแทน ซึ่งจะประกอบไปด้วยบุคคลที่มี ควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนมำท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องนั้น ๆ ดังนั้น เมื่อคณะกรรมำธิกำรไม่มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญเฉพำะด้ำนในเรื่องที่ตนเองก ำลังท ำกำรสอบหำ ข้อเท็จจริง จึงอำจจะส่งผลให้กำรสอบหำข้อเท็จจริงในเรื่องนั้นไม่มีประสิทธิภำพ รวมทั้งอำจจะท ำให้ กำรพิจำรณำวินิจฉัยเรื่องนั้นไม่ถูกต้องด้วย ๔. บทสรุปและอภิปรำยผล แม้รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ วรรคหนึ่ง จะได้เปลี่ยนแปลงถ้อยค ำในหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร จำกเดิมที่รัฐธรรมนูญแห่ง รำชอำณำจักรไทยฉบับที่ผ่ำน ๆ มำ ก ำหนดให้คณะกรรมำธิกำรมีหน้ำที่และอ ำนำจในกำร “พิจำรณำ สอบสวน” แต่รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ วรรคหนึ่ง ก ำหนดให้คณะกรรมำธิกำรมีหน้ำที่และอ ำนำจในกำร “พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง” ไม่ใช้ค ำว่ำ “พิจำรณำสอบสวน” เหมือนเช่นรัฐธรรมนูญฉบับที่ผ่ำน ๆ มำก็ตำม แต่กำรเปลี่ยนแปลงถ้อยค ำ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ดังกล่ำวไม่ได้มีผลกระทบต่อกำรปฏิบัติหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรในกำรแสวงหำข้อเท็จจริงในเรื่อง ต่ำง ๆ ตำมหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรแต่อย่ำงใด โดยจำกกำรศึกษำพบว่ำ ผู้ร่ำง รัฐธรรมนูญไม่ได้มีเจตนำที่จะไปเปลี่ยนแปลงหรือลดทอนอ ำนำจในกำรด ำเนินกำรตำมกระบวน พิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรในกำรแสวงหำข้อมูลข้อเท็จจริงในเรื่องต่ำง ๆ ไม่ว่ำจะเป็น กำรเรียก เอกสำรจำกบุคคลใด หรือกำรเรียกบุคคลใดมำชี้แจงแถลงข้อเท็จจริงต่อคณะกรรมำธิกำร รวมทั้งกำร พิจำรณำวินิจฉัยข้อมูลข้อเท็จจริง และพยำนหลักฐำนต่ำง ๆ ของคณะกรรมำธิกำรแต่อย่ำงใด กำรใช้ ค ำว่ำ “พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง” เป็นเพียงกำรใช้ถ้อยค ำที่ให้มีควำมเหมำะสมกับหน้ำที่และ อ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรมำกยิ่งขึ้นเท่ำนั้น (ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร, ๒๕๕๘, น. ๘๔) และอีกประกำรหนึ่ง เพื่อไม่ให้ผู้ถูกกล่ำวหำหรือผู้ถูกร้องเรียนในกรณีที่เป็นเรื่องร้องเรียน เกี่ยวกับพฤติกรรมหรือกำรกระท ำของบุคคล มีควำมรู้สึกว่ำตนเองก ำลังถูกคณะกรรมำธิกำรเรียกมำ สอบสวนโดยใช้กระบวนกำรสอบสวนตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ เนื่องจำก คณะกรรมำธิกำรไม่ได้เป็นพนักงำนสอบสวน และไม่ได้มีอ ำนำจในกำรพิจำรณำสอบสวนตำมประมวล กฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำ อีกทั้งแม้ในทำงพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรจะสำมำรถพิสูจน์ ทรำบได้ว่ำผู้ถูกกล่ำวหำหรือผู้ถูกร้องเรียนได้มีพฤติกรรมหรือกำรกระท ำตำมที่ถูกกล่ำวหำจริง คณะกรรมำธิกำรก็ไม่ได้มีอ ำนำจที่จะไปพิจำรณำลงโทษหรือก ำหนดบทลงโทษแก่ผู้ถูกกล่ำวหำหรือ ผู้ถูกร้องเรียนได้แต่อย่ำงใด คณะกรรมำธิกำรกระท ำได้แต่เพียงรำยงำนผลกำรพิจำรณำศึกษำนั้น ให้กับประธำนสภำผู้แทนรำษฎรได้รับทรำบเท่ำนั้น ดังนั้น ด้วยเหตุผลที่กล่ำวมำจึงไม่ได้มีกำรน ำ ถ้อยค ำ ค ำว่ำ “พิจำรณำสอบสวน” ตำมประมวลกฎหมำยวิธีพิจำรณำควำมอำญำมำระบุไว้ในหน้ำที่ และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร ส่วนกรณีที่รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ประกอบกับข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ วรรคห้ำ และข้อ ๙๖ วรรคหนึ่ง ได้ก ำหนดห้ำมคณะกรรมำธิกำรมอบอ ำนำจหรือมอบหมำยให้บุคคลหรือ คณะบุคคลใด รวมทั้งคณะอนุกรรมำธิกำรกระท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำร ซึ่งเรื่องดังกล่ำวถือว่ำเป็นเรื่องใหม่ที่ยังไม่เคยปรำกฏมำก่อนในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย ฉบับที่ผ่ำน ๆ มำ ซึ่งจำกกำรศึกษำควำมมุ่งหมำยของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ พบว่ำ คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญมีควำมประสงค์ให้คณะกรรมำธิกำรเท่ำนั้น เป็นผู้พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงไม่ประสงค์ให้คณะกรรมำธิกำรมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้บุคคล หรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทน (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๙, น. ๑๔) แม้ว่ำบุคคล หรือคณะบุคคลนั้นจะปฏิบัติหน้ำที่อยู่ในวงงำนรัฐสภำ เช่น คณะอนุกรรมำธิกำร คณะท ำงำน ที่ปรึกษำ ผู้ช ำนำญกำร นักวิชำกำร เลขำนุกำรประจ ำคณะกรรมำธิกำร และเจ้ำหน้ำที่ ประจ ำกลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำร เป็นต้น รวมทั้งบุคคล หรือคณะบุคคลจำกภำยนอกที่ไม่ได้อยู่ในวงงำน รัฐสภำ เช่น ทนำยควำม พนักงำนสอบสวน บุคคลหรือคณะบุคคลที่มีควำมรู้ควำมเชี่ยวชำญด้ำนกำร สอบหำข้อเท็จจริง เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อเป็นกำรป้องกันมิให้เกิดกำรแสวงหำประโยชน์ที่มิชอบจำกบุคคล อื่นซึ่งมิใช่คณะกรรมำธิกำร (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๕๙, น. ๑๔)


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ดังนั้น เพื่อให้เกิดควำมชัดเจนในเรื่องภำรกิจของคณะกรรมำธิกำร ในมำตรำ ๑๒๙ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จึงได้ใช้ค ำว่ำ “กำรสอบหำข้อเท็จจริง” แทนค ำว่ำ “กำรสอบสวน” ซึ่งต่ำงจำกรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ มำตรำ ๑๓๕ ที่ให้อ ำนำจเลือกผู้ที่มิได้เป็นสมำชิกของสภำมำเป็นคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำสอบสวนได้ด้วย (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๖๒, น. ๒๒๔) นอกจำกนี้ ผู้เขียนวิเครำะห์ว่ำ เรื่องกำรสอบหำ ข้อเท็จจริงเป็นเรื่องที่มีควำมส ำคัญที่คณะกรรมำธิกำรจะต้องพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงเองไม่ควร มอบอ ำนำจ หรือมอบหมำยให้คณะอนุกรรมำธิกำร บุคคลหรือคณะบุคคลใด กระท ำกำรสอบหำ ข้อเท็จจริงแทน เพรำะกำรสอบหำข้อเท็จจริงมีผลกระทบต่อบุคคลผู้ถูกกล่ำวหำหรือผู้ถูกร้องเรียน โดยตรง และอำจจะกระทบสิทธิบำงประกำรของผู้ถูกกล่ำวหำหรือผู้ถูกร้องเรียนด้วย อีกประกำรหนึ่ง จะได้ไม่ท ำให้ผู้กล่ำวหำ ผู้ถูกกล่ำวหำ รวมทั้งผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ ต้องถูกเชิญมำให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง รวมทั้งต้องแสดงพยำนหลักฐำนในเรื่องเดียวกันต่อบุคคลหรือคณะบุคคลหลำยครั้ง เช่น หำกคณะกรรมำธิกำรได้มอบหมำยให้คณะอนุกรรมำธิกำรด ำเนินกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทน ในกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงของคณะอนุกรรมำธิกำร จะต้องมีกำรเชิญผู้กล่ำวหำ ผู้ถูกกล่ำวหำ รวมทั้ง ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ มำให้ข้อมูลข้อเท็จจริง รวมทั้งต้องแสดงพยำนหลักฐำนต่อคณะอนุ กรรมำธิกำรด้วย เมื่อคณะอนุกรรมำธิกำรได้ท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริงแล้วเสร็จก็จะต้องสรุปผลกำร สอบหำข้อเท็จจริงนั้นเสนอต่อคณะกรรมำธิกำรเพื่อพิจำรณำต่อไป ซึ่งในกำรพิจำรณำของ คณะกรรมำธิกำร หำกคณะกรรมำธิกำรยังมีข้อสงสัยในข้อเท็จจริงหรือพยำนหลักฐำนบำงประกำร ที่คณะอนุกรรมำธิกำรได้สรุปมำคณะกรรมำธิกำรก็จะเชิญผู้กล่ำวหำ ผู้ถูกกล่ำวหำ รวมทั้งผู้ที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับเรื่องนั้น ๆ มำให้ข้อมูลข้อเท็จจริง รวมทั้งต้องแสดงพยำนหลักฐำนต่อคณะกรรมำธิกำร ซ้ ำอีก ซึ่งในกรณีนี้จะท ำให้เสียทั้งเวลำและค่ำใช้จ่ำยต่ำง ๆ โดยใช่เหตุ ทั้งจะท ำให้ผู้ถูกกล่ำวหำหรือ ผู้ถูกร้องเรียนรู้สึกว่ำตนเองต้องถูกสอบสวนหลำยครั้ง เพรำะเรื่องดังกล่ำวเป็นเรื่องที่ได้ผ่ำน กำรพิจำรณำของคณะอนุกรรมำธิกำรมำแล้ว และสำเหตุอีกประกำรหนึ่งที่ไม่ควรมอบให้คณะอนุ กรรมำธิกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงแทน กล่ำวคือ คณะอนุกรรมำธิกำรนอกจำกจะประกอบ ไปด้วยสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรร่วมเป็นอนุกรรมำธิกำรแล้วยังประกอบไปด้วยบุคคลภำยนอก ที่ไม่ได้เป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรร่วมเป็นคณะอนุกรรมำธิกำรด้วย ซึ่งบุคคลภำยนอกอำจจะน ำ ข้อมูลข้อเท็จจริงที่ได้จำกกำรสอบหำข้อเท็จจริงไปแสวงหำประโยชน์ที่มิชอบด้วยกฎหมำยเหมือนเช่น ที่เคยเกิดขึ้นมำแล้วในอดีต ฉะนั้น เพื่อป้องกันปัญหำที่อำจจะเกิดขึ้นคณะกรรมำธิกำรจึงควรสอบหำ ข้อเท็จจริงเอง ไม่ควรมอบให้คณะอนุกรรมำธิกำรซึ่งประกอบด้วยบุคคลภำยนอกได้มีส่วนร่วมในกำร สอบหำข้อเท็จจริงด้วย อย่ำงไรก็ตำม ผู้เขียนเห็นว่ำ หำกคณะกรรมำธิกำรมีควำมประสงค์จะมอบหมำย หรือมอบอ ำนำจให้บุคคล คณะบุคคล หรือคณะอนุกรรมำธิกำรกระท ำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดเพื่อเป็น กำรสนับสนุนในกำรสอบหำข้อเท็จจริงให้กับคณะกรรมำธิกำร คณะกรรมำธิกำรอำจจะมีมติ มอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้บุคคลดังกล่ำวช่วยรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงเบื้องต้นเพื่อประโยชน์ ในกำรปฏิบัติหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรก่อนกำรสอบหำข้อเท็จจริง อำทิ กำรรวบรวมข้อกฎหมำย


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร กำรรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงอันเป็นมูลเหตุหรือที่มำของเรื่องในเบื้องต้นว่ำเรื่องที่เกิดขึ้นมีที่มำ อย่ำงไร มีมูลเหตุอะไรบ้ำงที่ท ำให้เกิดเรื่องดังกล่ำว ใครบ้ำงที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่ำว รวมทั้ง กำรรวบรวมพยำนหลักฐำนในเบื้องต้น และล ำดับเหตุกำรณ์ของเรื่องในเบื้องต้น เพื่อจะได้เป็นข้อมูล ประกอบกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำร โดยที่กำรกระท ำดังกล่ำวจะต้องไม่ใช่ กำรพิจำรณำวินิจฉัยเนื้อหำของเรื่องที่ท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริง เพียงแต่ช่วยรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ก่อนกำรสอบหำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำรเท่ำนั้น ทั้งนี้ เรื่องกำรมอบให้คณะอนุกรรมำธิกำรช่วยรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ผู้เขียน มีข้อสังเกตว่ำ ในทำงปฏิบัติอำจเกิดกรณีที่คณะอนุกรรมำธิกำรได้มีกำรกระท ำอย่ำงหนึ่งอย่ำงใด ซึ่งแม้คณะอนุกรรมำธิกำรจะอ้ำงว่ำกำรกระท ำนั้นเป็นช่วยกำรรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นให้กับ คณะกรรมำธิกำรเท่ำนั้น แต่มีผู้ตีควำมว่ำกำรกระท ำนั้นไม่ใช่เป็นกำรช่วยรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นให้กับ คณะกรรมำธิกำร แต่เป็นกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำร จนกระทั่งเป็นเหตุให้มีกำรร้อง ว่ำกำรกระท ำนั้นเข้ำข่ำยฝ่ำฝืนต่อรัฐธรรมนูญเรื่องดังกล่ำวอำจจะเกิดขึ้นได้ในอนำคต ดังนั้น ผู้ที่ปฏิบัติหน้ำที่อยู่ในวงงำนของคณะกรรมำธิกำรจะต้องใช้ควำมระมัดระวังและมีควำมละเอียด รอบคอบในกำรด ำเนินงำนในเรื่องดังกล่ำว เพื่อไม่ให้คณะกรรมำธิกำรและคณะอนุกรรมำธิกำรเกิด กระท ำกำรที่เข้ำข่ำยฝ่ำฝืนต่อรัฐธรรมนูญ ๕. ข้อเสนอแนะ ๕.๑ ข้อเสนอแนะด้ำนวิชำกำร ๕.๑.๑ หำกคณะกรรมำธิกำรประสงค์จะมอบหมำยหรือมอบอ ำนำจให้บุคคล คณะบุคคล หรือคณะอนุกรรมำธิกำรกระท ำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดเพื่อเป็นกำรสนับสนุนกำรสอบหำ ข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำร คณะกรรมำธิกำรจะสำมำรถกระท ำกำรได้เพียงใด ผู้เขียนเห็นว่ำ หำกคณะกรรมำธิกำรมีควำมประสงค์จะมอบหมำยหรือ มอบอ ำนำจให้บุคคล คณะบุคคล หรือคณะอนุกรรมำธิกำรกระท ำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดเพื่อเป็นกำร สนับสนุนในกำรสอบหำข้อเท็จจริงให้กับคณะกรรมำธิกำร คณะกรรมำธิกำรอำจจะมีมติมอบหมำย หรือมอบอ ำนำจให้บุคคลดังกล่ำวช่วยรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงเบื้องต้น เพื่อประโยชน์ในกำรปฏิบัติ หน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรก่อนกำรสอบหำข้อเท็จจริง อำทิ กำรรวบรวมข้อกฎหมำย กำรรวบรวม ข้อมูลข้อเท็จจริงอันเป็นมูลเหตุหรือที่มำของเรื่องในเบื้องต้นว่ำเรื่องที่เกิดขึ้นมีที่มำอย่ำงไร มีมูลเหตุ อะไรบ้ำงที่ท ำให้เกิดเรื่องดังกล่ำว ใครบ้ำงที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องดังกล่ำว รวมทั้งกำรรวบรวม พยำนหลักฐำนในเบื้องต้น และล ำดับเหตุกำรณ์ของเรื่องในเบื้องต้น เพื่อจะได้เป็นข้อมูลประกอบกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำร โดยที่กำรกระท ำดังกล่ำวจะต้องไม่ใช่กำรพิจำรณำ วินิจฉัยเนื้อหำของเรื่องที่ท ำกำรสอบหำข้อเท็จจริง เพียงแต่ช่วยรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นก่อนกำรสอบ หำข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำรเท่ำนั้น โดยผู้เขียนขอสรุป ดังนี้


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๑)ต้องเป็นกำรรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงอันเป็นมูลเหตุหรือที่มำของเรื่อง ในเบื้องต้นเท่ำนั้น เช่น เรื่องมีที่มำที่ไปอย่ำงไร มีข้อมูลข้อเท็จจริงประกอบด้วยอะไรบ้ำง บุคคล ใดบ้ำงที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ส่วนกำรพิจำรณำวินิจฉัยข้อมูลข้อเท็จจริงเป็นอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร ที่จะเป็นผู้พิจำรณำวินิจฉัย ๒) รวบรวมพยำนหลักฐำนที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่ำจะเป็นพยำนบุคคล และพยำน เอกสำร เสนอต่อคณะกรรมำธิกำรเพื่อพิจำรณำวินิจฉัย ไม่สำมำรถที่จะพิจำรณำวินิจฉัย พยำนหลักฐำนที่ได้มำ กระท ำได้แต่เพียงรวบรวมและเสนอต่อคณะกรรมำธิกำรเท่ำนั้น ๓) รวบรวมข้อกฎหมำย หรือระเบียบที่เกี่ยวข้อง เสนอต่อคณะกรรมำธิกำร ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้เกิดกำรฝ่ำฝืนรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ม ำต ร ำ ๑๒๙ ว ร รคส ำม ป ระกอบกับข้อบังคับกำ รประชุมสภ ำผู้แทน รำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ วรรคห้ำ และข้อ ๙๖ วรรคหนึ่ง เพรำะเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญประสงค์ ให้คณะกรรมำธิกำรเป็นผู้ใช้อ ำนำจนั้นโดยตรง ๕.๑.๒. กำรกระท ำอะไรบ้ำงของบุคคล คณะบุคคล หรือคณะอนุกรรมำธิกำร ที่ไม่ถือว่ำเป็นกำรช่วยรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นให้กับคณะกรรมำธิกำร ผู้เขียนมีควำมเห็น ดังนี้ ๑) พิจำรณำวินิจฉัยข้อมูลข้อเท็จจริงที่ได้มำ กระท ำได้แต่เพียงช่วยรวบรวมข้อมูล ข้อเท็จจริงในเบื้องต้นเท่ำนั้น ๒) พิจำรณำวินิจฉัยพยำนหลักฐำนต่ำง ๆ ที่ได้มำ กระท ำได้แต่เพียงช่วยรวบรวม พยำนหลักฐำนในเบื้องต้นเสนอต่อคณะกรรมำธิกำรเท่ำนั้น ๓) เสนอควำมเห็นต่อคณะกรรมำธิกำรว่ำเรื่องนั้นมีกำรกระท ำผิดหรือถูก จริงหรือเท็จ โดยประมวลจำกข้อมูลข้อเท็จจริงและพยำนหลักฐำนทุกชนิด เพรำะกำรกระท ำลักษณะนี้ไม่ใช่กำร รวบรวมข้อมูลเบื้องต้น แต่เป็นกำรพิจำรณำวินิจฉัย ซึ่งถือว่ำเป็นกำรสอบหำข้อเท็จจริงแทน คณะกรรมำธิกำร อันเป็นกำรกระท ำที่ฝ่ำฝืนต่อรัฐธรรมนูญ และข้อบังคับกำรประชุม สภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ อย่ำงไรก็ตำม ในทำงปฏิบัติอำจเกิดข้อเท็จจริงขึ้นว่ำคณะอนุกรรมำธิกำรไม่ได้ กระท ำแต่เพียงช่วยรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นตำมที่คณะกรรมำธิกำรได้มอบหมำยให้ท ำเท่ำนั้น แต่คณะอนุกรรมำธิกำรได้มีกำรพิจำรณำศึกษำข้อมูลข้อเท็จจริงในเชิงลึก หรือพิจำรณำศึกษำ พยำนหลักฐำนทุกชนิด จนกระทั่งมีผู้ร้องว่ำกำรกระท ำของคณะอนุกรรมำธิกำรเข้ำข่ำยฝ่ำฝืนต่อ รัฐธรรมนูญและข้อบังคับกำรประชุมสภำ เรื่องห้ำมบุคคลหรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรสอบหำ ข้อเท็จจริงแทนคณะกรรมำธิกำร ซึ่งเรื่องท ำนองนี้ผู้เขียนเห็นว่ำอำจจะเกิดขึ้นได้ในอนำคต ฉะนั้น ผู้ที่ปฏิบัติหน้ำเกี่ยวข้องกับวงงำนของคณะกรรมำธิกำรโดยเฉพำะเจ้ำหน้ำที่ประจ ำกลุ่มงำน คณะกรรมำธิกำรซึ่งปฏิบัติหน้ำที่ในกำรสนับสนุนกำรด ำเนินงำนของคณะกรรมำธิกำรจะต้องศึกษำ เรื่องดังกล่ำวให้เป็นอย่ำงดี รวมทั้งจะต้องมีแนวปฏิบัติหรือตัวอย่ำงที่ชัดเจนว่ำกำรกระท ำอะไรบ้ำงที่ คณะอนุกรรมำธิกำรสำมำรถกระท ำได้ หรือกำรกระท ำอะไรบ้ำงที่คณะอนุกรรมำธิกำรไม่สำมำรถ กระท ำได้ทั้งนี้ เพื่อจะได้เป็นข้อมูลให้กับคณะกรรมำธิกำรและคณะอนุกรรมำธิกำรได้พิจำรณำศึกษำ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ก่อนที่จะกระท ำกำรอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดเกี่ยวกับกำรสอบหำข้อเท็จจริง เพื่อไม่ให้เข้ำข่ำยเป็นกำร กระท ำที่ฝ่ำฝืนต่อรัฐธรรมนูญ และข้อบังคับกำรประชุมสภำซึ่งในประเด็นนี้ผู้เขียนได้เสนอควำมเห็น เกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้แล้วตำมที่ได้กล่ำวมำข้ำงต้น ๕.๒ ข้อเสนอแนะด้ำนนโยบำย ๑) ควรจัดท ำคู่มือกำรสอบหำข้อเท็จจริง เพื่อเป็นแนวปฏิบัติในกำรพิจำรณำสอบหำ ข้อเท็จจริงของคณะกรรมำธิกำร เพื่อให้เป็นไปตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ทั้งนี้ เพื่อไม่ให้เกิดกำรฝ่ำฝืนรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ประกอบกับข้อบังคับกำร ประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ วรรคห้ำ และข้อ ๙๖ วรรคหนึ่ง ๒) ควรเผยแพร่ข้อมูลและองค์ควำมรู้เกี่ยวกับกำรสอบหำข้อเท็จจริงตำมที่รัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๒๙ วรรคสำม ประกอบกับข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ วรรคห้ำ และข้อ ๙๖ วรรคหนึ่ง ก ำหนดไว้ ให้แก่คณะกรรมำธิกำร บุคลำกรในวงงำนรัฐสภำ เจ้ำหน้ำที่ประจ ำกลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรได้รับทรำบ และถือปฏิบัติอย่ำงเคร่งครัด นำยสุพจน์ ภูครองเพชร นิติกรช ำนำญกำรพิเศษ กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรกิจกำรสภำผู้แทนรำษฎร ส ำนักกรรมำธิกำร ๒


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ข้อพิจำรณำเกี่ยวกับกระบวนกำรที่เป็นสำระส ำคัญในกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร กำรประชุมคณะกรรมำธิกำรผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๑. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ก ำหนดให้สภำผู้แทนรำษฎร สำมำรถประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ภำยใต้เงื่อนไขที่ก ำหนด และก ำหนดให้คณะกรรมำธิกำร สำมำรถจัดกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติหรือร่ำงข้อบังคับ รวมทั้งกำรพิจำรณำเรื่องที่รัฐธรรมนูญ กฎหมำย หรือข้อบังคับก ำหนด หรือที่คณะกรรมำธิกำรมีมติ ให้กระท ำเป็นกำรลับ รวมถึงกำรก ำหนดให้สภำผู้แทนรำษฎร สำมำรถพิจำรณำกระทู้ถำมแยกเฉพำะ ผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ ทั้งนี้ เพื่อเป็นกำรแก้ไขปัญหำของกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร กำรประชุม คณะกรรมำธิกำร และกำรพิจำรณำกระทู้ถำมแยกเฉพำะ ให้สำมำรถด ำเนินกำรได้อย่ำงต่อเนื่องแม้จะ มีเหตุสุดวิสัยหรือเหตุจ ำเป็นใดที่ท ำให้ผู้เข้ำร่วมประชุมไม่สำมำรถมำประชุมในสถำนที่เดียวกันได้ เพื่อให้กำรประชุมสำมำรถมีผลทำงกฎหมำย โดยกำรน ำเทคโนโลยีสำรสนเทศมำใช้กับกำรท ำงำนของ ฝ่ำยนิติบัญญัติให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งเพื่อให้เกิดกำรพัฒนำนวัตกรรมใหม่ ๆ อีกทั้งยังเป็นกำร ประหยัดระยะเวลำและค่ำใช้จ่ำยในกำรเดินทำงไปเข้ำร่วมประชุม ช่วยลดควำมหนำแน่นของ กำรจรำจร และลดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม อย่ำงไรก็ตำม เนื่องจำกกำรประชุมของสภำผู้แทนรำษฎรและกำรประชุม คณะกรรมำธิกำร เป็นกำรด ำเนินกำรที่เป็นไปตำมรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีข้อบังคับกำรประชุมก ำหนดวิธีกำร กำรด ำเนินกำรในกรณีต่ำง ๆ เอำไว้อย่ำงเคร่งครัด แตกต่ำงจำกกำรประชุมของเอกชนหรือของ ภ ำค รัฐอื่น เนื่องจ ำก รัฐธ รรมนูญและข้อบังคับกำรประชุมได้ก ำหนดสำ ระส ำคัญของ กำรประชุมในกรณีต่ำง ๆ ไว้ เช่น กำรแสดงตน กำรลงมติ กำรอภิปรำย กำรประท้วง เป็นต้น ซึ่งแต่ ละกรณีจะต้องด ำเนินกำรตำมข้อบังคับกำรประชุมโดยเคร่งครัด ดังนั้น กำรจัดประชุม ผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์จ ำเป็นต้องพิจำรณำในเรื่องระบบกำรประชุมที่จะรองรับกรณีต่ำง ๆ ดังกล่ำวได้ อย่ำงมีประสิทธิภำพ ประกอบกับพิจำรณำถึงควำมคุ้มค่ำด้ำนงบประมำณด้วย กระบวนกำรที่เป็นสำระส ำคัญในกำรประชุมของสภำผู้แทนรำษฎรผ่ำนสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ และกำรประชุมคณะกรรมำธิกำรผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จ ำเป็นต้องพิจำรณำ เทียบเคียงกับหลักกำรประชุมในรูปแบบปกติ ทั้งในเรื่องกำรควบคุมกำรประชุม กำรพิสูจน์ตัวตนของ ผู้เข้ำร่วมประชุม กำรอภิปรำยและกำรก ำหนดระยะเวลำกำรอภิปรำย กำรออกเสียงลงคะแนน กำร ประชุมลับ โดยต้องเป็นไปตำมที่รัฐธรรมนูญและข้อบังคับฯ ก ำหนดอย่ำงเคร่งครัด ไม่เช่นนั้นอำจเป็น เหตุให้มีผู้ยื่นค ำร้องต่อศำลรัฐธรรมนูญเพื่อมีค ำวินิจฉัยในกรณีต่ำง ๆ อำทิ กำรตรวจสอบควำมชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมำย ทั้งในแง่ของกระบวนกำรตรำและในแง่ของเนื้อหำว่ำขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญหรือไม่


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๒. กฎหมำย กฎ ระเบียบ และยุทธศำสตร์ที่เกี่ยวข้อง ๑) รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ๒) ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ๓) หลักกำรตีควำมกฎหมำย กำรตีคว ำมในกฎหมำย หมำยถึง กำรค้นห ำคว ำมหมำยของกฎหมำย ที่มีถ้อยค ำไม่ชัดเจนแน่นอน คือก ำกวมหรือมีควำมหมำยได้หลำยทำง เพื่อหยั่งทรำบว่ำถ้อยค ำ ของบทบัญญัติของกฎหมำยว่ำมีควำมหมำยว่ำอย่ำงไร ซึ่งหลักกำรตีควำมกฎหมำยทั่วไป มีอยู่ สองประกำร คือ กำรตีควำมตำมตัวอักษร และกำรตีควำมตำมเจตนำรมณ์ ทั้งนี้ จะเห็นได้จำก บทบัญญัติมำตรำ ๔ วรรคหนึ่ง แห่งประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ ซึ่งบัญญัติไว้ว่ำ “กฎหมำยนั้น ต้องใช้ในบรรดำกรณีซึ่งต้องด้วยบทบัญญัติใด ๆ แห่งกฎหมำยตำมตัวอักษรหรือตำมควำมมุ่งหมำย (คือ Spirit หรือเจตนำรมณ์) ของบทบัญญัตินั้น ๆ” ซึ่งแสดงว่ำ กำรตีควำมมีหลักเกณฑ์สองประกำร คือ กำรตีควำมตำมตัวอักษรและกำรตีควำมตำมเจตนำรมณ์ กำรตีควำมตำมตัวอักษร (ต ำรำบำงเล่ม เรียกว่ำ กำรตีควำมตำมไวยำกรณ์) หลักเกณฑ์กำรตีควำมตำมตัวอักษรมีว่ำ ให้หยั่งทรำบควำมหมำย จำกตัวอักษรของกฎหมำยนั้น และยังแยกออกได้เป็น ๓ ประกำร คือ (๑) ในกรณีที่บทกฎหมำยใช้ ภำษำธรรมดำ ก็ต้องเข้ำใจว่ำมีควำมหมำยที่เข้ำใจอยู่ตำมธรรมดำของถ้อยค ำนั้น ๆ (๒) ในกรณีที่บท กฎหมำยใช้ภำษำทำงเทคนิคหรือภำษำทำงวิชำกำรก็ต้องเข้ำใจควำมหมำยตำมที่เข้ำใจกันในทำง เทคนิคหรือในทำงวิชำกำรนั้น ๆ และ (๓) ในกรณีที่บทกฎหมำยประสงค์จะใช้ถ้อยค ำบำงค ำมี ควำมหมำยพิเศษไปกว่ำที่เข้ำใจกันอยู่ในภำษำธรรมดำหรือภำษำเทคนิค หรือในทำงวิชำกำร กฎหมำยจะได้ก ำหนดบทวิเครำะห์ศัพท์หรือบทนิยำม (Definition) ไว้ทั้งนี้ บทวิเครำะห์ศัพท์หรือ บทนิยำมของกฎหมำยฉบับใดก็ใช้ได้เฉพำะกฎหมำยนั้นเท่ำนั้น เพรำะกฎหมำยนั้นเท่ำนั้นประสงค์จะ ให้มีควำมหมำยเป็นพิเศษกว่ำถ้อยค ำธรรมดำจึงบัญญัติบทนิยำมไว้เป็นพิเศษ จะเอำไปใช้กับกฎหมำย อื่นซึ่งมิได้มีควำมประสงค์เช่นนั้นย่อมท ำมิได้ส่วนหลักกำรตีควำมตำมเจตนำรมณ์ (ต ำรำบำงเล่ม เรียกว่ำกำรตีควำมตำมหลักตรรกวิทยำ) กำรตีควำมตำมเจตนำรมณ์หมำยถึง กำรหยั่งทรำบ ควำมหมำยของถ้อยค ำในบทกฎหมำยจำกเจตนำรมณ์หรือควำมมุ่งหมำยของกฎหมำยนั้น ๆ และ เหตุผลที่มีหลักกำรตีควำมตำมเจตนำรมณ์ก็เนื่องจำกหลักที่ว่ำ กฎหมำยที่ได้บัญญัติขึ้นนั้นก็เพื่อจะให้ เป็นไปตำมเจตนำรมณ์หรือควำมมุ่งหมำยอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งแล้วพยำยำมเลือกเฟ้นถ้อยค ำมำใช้เพื่อให้ เป็นไปตำมเจตนำรมณ์หรือควำมมุ่งหมำยดังกล่ำว โดยเหตุนี้เมื่อสำมำรถหยั่งทรำบเจตนำรมณ์หรือ ควำมมุ่งหมำยได้แล้วก็สำมำรถทรำบควำมหมำยของถ้อยค ำที่เขียนไว้ในกฎหมำยนั้นได้ กำรตีควำม ตำมเจตนำรมณ์นี้ส ำคัญมำก เพรำะกฎหมำยต่ำง ๆ มีควำมมุ่งหมำยหรือเจตนำรมณ์ไม่เหมือนกัน๑ ดังนั้น จึงสรุปได้ว่ำกำรตีควำมกฎหมำยเป็นกระบวนกำรค้นหำควำมหมำยของ กฎหมำยจำกกำรอ่ำนพิเครำะห์ถ้อยค ำตัวอักษรของกฎหมำยโดยค ำนึงถึงเหตุผลและเจตนำรมณ์ของ กฎหมำยเรื่องนั้น และกำรที่ต้องมีกำรตีควำมกฎหมำยก็เพรำะเหตุว่ำกฎหมำยที่บัญญัติไว้มีถ้อยค ำ ไม่ชัดเจน ก ำกวม หรือมีควำมหมำยได้หลำยทำง จึงมีควำมจ ำเป็นต้องทรำบว่ำถ้อยค ำของบทบัญญัติ ๑ หยุด แสงอุทัย, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป, (กรุงเทพมหำนคร : ส ำนักพิมพ์มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์, ๒๕๖๒), น. ๑๒๒ – ๑๒๖.


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร กฎหมำยมีควำมหมำยอย่ำงไร นอกจำกนี้ บำงกรณีถ้อยค ำบำงค ำอำจมีควำมหมำยได้หลำยนัย หรือ บำงถ้อยค ำอำจมีควำมหมำยเปลี่ยนไปตำมบริบท นอกจำกกำรพิจำรณำจำกตัวบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ข้อควำมในค ำปรำรภ ข้อควำม ในมำตรำใกล้เคียงกันแล้ว ยังมีสิ่งอื่นที่อำจใช้เป็นเครื่องมือค้นหำควำมหมำยเพื่อช่วยในกำรตีควำม รัฐธรรมนูญ เช่น ค ำวินิจฉัยของศำล หรือของคณะตุลำกำรรัฐธรรมนูญ และกำรตีควำมของรัฐสภำใน เรื่องนั้น ๆ ทั้งในอดีตและปัจจุบัน พจนำนุกรม ตัวบทกฎหมำยซึ่งพอเทียบเคียงได้กับบทบัญญัติใน รัฐธรรมนูญที่จะต้องตีควำม ธรรมเนียมปฏิบัติทำงกำรเมืองตลอดจนค ำวินิจฉัยของประธำนรัฐสภำ ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร หรือประธำนวุฒิสภำในกรณีต่ำงๆ ที่เคยมีมำแล้ว ต ำรำกฎหมำย รัฐธรรมนูญ ตลอดจนควำมเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ ที่เคยพิมพ์เผยแพร่แล้ว ๓. บทวิเครำะห์ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยข้อบังคับกำร ประชุมสภำผู้แทนรำษฎร (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๓ และข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร (ฉบับ ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ ก ำหนดให้สภำผู้แทนรำษฎรสำมำรถประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ได้ภำยใต้เงื่อนไขที่ ก ำหนด ก ำหนดให้คณะกรรมำธิกำรสำมำรถจัดกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อพิจำรณำร่ำง พระรำชบัญญัติหรือร่ำงข้อบังคับ รวมทั้งกำรพิจำรณำเรื่องที่รัฐธรรมนูญ กฎหมำย หรือข้อบังคับ ก ำหนด หรือที่คณะกรรมำธิกำรมีมติ ให้กระท ำเป็นกำรลับ รวมถึงกำรก ำหนดให้ก ำหนดให้สภำ ผู้แทนรำษฎร สำมำรถพิจำรณำกระทู้ถำมแยกเฉพำะผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และโดยที่รัฐธรรมนูญ เป็นบทบัญญัติที่ให้อ ำนำจสภำผู้แทนรำษฎรออกข้อบังคับกำรประชุม เพื่อก ำหนดวิธีกำรประชุม และ เรื่องต่ำง ๆ แต่เนื่องจำกกำรประชุมของสภำผู้แทนรำษฎรและกำรประชุมคณะกรรมำธิกำร เป็นกำร ด ำเนินกำรที่เป็นไปตำมรัฐธรรมนูญ ซึ่งมีข้อบังคับกำรประชุมก ำหนดวิธีกำร กำรด ำเนินกำรในกรณี ต่ำง ๆ เอำไว้อย่ำงเคร่งครัด แตกต่ำงจำกกำรประชุมของเอกชนหรือของภำครัฐอื่น เนื่องจำก รัฐธรรมนูญและข้อบังคับกำรประชุมได้ก ำหนดสำระส ำคัญของกำรประชุมในกรณีต่ำง ๆ ไว้ เช่น กำร แสดงตน กำรลงมติกำรอภิปรำย กำรประท้วง เป็นต้น ซึ่งแต่ละกรณีจะต้องด ำเนินกำรตำมข้อบังคับ กำรประชุมโดยเคร่งครัด ดังนั้น กำรจัดประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์จ ำเป็นต้องพิจำรณำในเรื่อง ระบบกำรประชุมที่จะรองรับกรณีต่ำง ๆ ดังกล่ำวได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ ประกอบกับพิจำรณำถึง ควำมคุ้มค่ำด้ำนงบประมำณด้วย ซึ่งในส่วนนี้เป็นเรื่องของข้อจ ำกัดที่เป็นข้อพิจำรณำในส่วน กระบวนกำรสำระส ำคัญของกำรประชุมที่จะต้องพิจำรณำประกอบข้อกฎหมำยและข้อเท็จจริงในทำง ปฏิบัติ โดยจะขอยกกรณีข้อพิจำรณำและวิเครำะห์ในประเด็นส ำคัญ ดังนี้ (๑) ข้อพิจำรณำเรื่ององค์ประชุม เ รื่ อง อง ค์ป ร ะ ชุ ม จ ะ ต้ องพิ จ ำ รณ ำ ค ว ำม มุ่งห ม ำ ย ข อง รั ฐ ธ ร ร มนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ซึ่งก ำหนดหลักกำรเกี่ยวกับองค์ประชุมของสภำ ผู้แทนรำษฎรและคณะกรรมำธิกำรในกรณีต่ำง ๆ ด้วย โดยใน มำตรำ ๑๒๐ มำตรำ ๑๒๘ และมำตรำ ๑๓๘


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ประกอบกับข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๒๕ ข้อ ๒๖ ข้อ ๓๒ ข้อ ๗๘ และข้อ ๙๒ มำตรำ ๑๒๐ วรรคหนึ่ง บัญญัติว่ำ “กำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรและกำร ประชุมวุฒิสภำต้องมีสมำชิกมำประชุมไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึ่งของจ ำนวนสมำชิกทั้งหมดเท่ำที่มีอยู่ของแต่ ละสภำ จึงจะเป็นองค์ประชุม เว้นแต่ในกรณีกำรพิจำรณำระเบียบวำระกระทู้ สภำผู้แทนรำษฎรหรือ วุฒิสภำจะก ำหนดองค์ประชุมไว้ในข้อบังคับเป็นอย่ำงอื่นก็ได้ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ ข้อ ๓ ให้ยกเลิก ควำมในบทนิยำมค ำว่ำ “ที่ประชุม”ในข้อ ๓ แห่งข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้แทน ““ที่ประชุม” หมำยควำมว่ำ ที่ประชุมสภำผู้แทนรำษฎร และให้หมำยควำมรวมถึง ที่ประชุมสภำผู้แทนรำษฎรผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และห้องกระทู้ถำมด้วย” เนื่องจำกบทบัญญัติมำตรำ ๑๒๐ ก ำหนดให้ “...ต้องมีสมำชิกมำประชุม ไม่น้อยกว่ำกึ่งหนึ่งของจ ำนวนสมำชิกทั้งหมดเท่ำที่มีอยู่ของแต่ละสภำ จึงจะเป็นองค์ประชุม...” ค ำว่ำ “มำประชุม” ในกำรพิจำรณำร่ำงข้อบังคับกำรกำรประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... กำรพิจำรณำวำระที่หนึ่ง ขั้นรับหลักกำร ได้มีสมำชิกอภิปรำยตั้ง ข้อสังเกต รวมทั้งกำรพิจำรณำของกรรมำธิกำรของสภำผู้แทนรำษฎร และวุฒิสภำ ซึ่งได้มีกำรยกร่ำง เพื่อพิจำรณำข้อบังคับเพื่อก ำหนดหลักกำรกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์เช่นเดียวกัน โดยมี สมำชิกให้ควำมเห็นและตั้งข้อสังเกตสองแนวทำง โดยแนวทำงที่หนึ่ง ตีควำมค ำว่ำ “มำประชุม” ให้มี ควำมหมำยอย่ำงแคบ กล่ำวคือ สมำชิกฯ ต้องเดินทำงมำเข้ำร่วมประชุมในห้องประชุมสภำเท่ำนั้น และแนวทำงที่สอง ตีควำมค ำว่ำ “มำประชุม” ให้มีควำมหมำยอย่ำงกว้ำง กล่ำวคือ กำรมำประชุม หมำยถึง กำรเข้ำร่วมประชุมซึ่งผู้เข้ำร่วมประชุมไม่จ ำเป็นต้องอยู่สถำนที่เดียวกัน ประเด็นนี้มีควำมเห็นว่ำ กำรตรวจสอบองค์ประชุมในกำรประชุมผ่ำนสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ จะต้องให้ควำมส ำคัญกับกำรแสดงตนของผู้ร่วมประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และกำร พิ สู จ น์ ตั ว ต น ข อง ผู้ ร่ ว ม ป ร ะ ชุ ม ต ล อ ด ร ะ ย ะ เ ว ล ำ ที่ มี ก ำ ร ป ร ะ ชุ ม เ พื่ อ ยื น ยั น ว่ ำ มี องค์ประชุมครบถ้วนอยู่จริงตำมที่รัฐธรรมนูญและข้อบังคับฯ ก ำหนด อย่ำงไรก็ตำม บทบัญญัติ ในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้ก ำหนดรูปแบบหรือวิธีกำรในกำรประชุมสภำไว้เป็นกำรเฉพำะ เพียงแต่ก ำหนดให้ ในกำรประชุมสภำจะต้องมีสมำชิกมำประชุมตำมที่บัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๒๐ เท่ำนั้น ซึ่งเป็นกรณีที่ จะต้องไปก ำหนดในข้อบังคับกำรประชุม กรณีที่ไม่อำจท ำให้มำประชุมสภำผู้แทนรำษฎรร่วมกันใน ห้องประชุมสภำผู้แทนรำษฎรตำมปกติได้ และมีควำมจ ำเป็น โดยที่สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรสำมำรถ ปรึกษำหำรือและแสดงควำมคิดเห็นระหว่ำงกันได้ผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเวลำเดียวกัน กำรประชุม สภำผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นย่อมถือว่ำเป็นกรณีที่สมำชิกมำประชุมสภำตำมบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนูญดังกล่ำว ในส่วนของถ้อยค ำว่ำ “มำประชุม” จะหมำยควำมรวมถึง กำรมำประชุมของ ผู้เข้ำร่วมประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่ได้อยู่ในสถำนที่เดียวกันด้วยหรือไม่นั้น เห็นว่ำ ในกำร ตีควำมตำมรัฐธรรมนูญต้องตีควำมให้ตอบสนองต่อเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ให้มำกที่สุดและใช้กำรได้ดีที่สุด ด้วยทัศนคติที่กว้ำงขวำงกว่ำกำรตีควำมกฎหมำยธรรมดำ เนื่องจำกรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมำยมหำชนที่


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร มีลักษณะและควำมมุ่งหมำยต่ำงจำกกฎหมำยอื่นและมีควำมเป็นกฎหมำยสูงสุดอยู่ตลอดไป และเพื่อ เป็นหลักประกันควำมเป็นกฎหมำยสูงสุดของรัฐธรรมนูญและเป็นกลไกในกำรป้องกันไม่ให้ รัฐธรรมนูญถูกท ำลำย จึงเห็นได้ว่ำ กฎเกณฑ์ที่ก ำหนดลงไว้ในรัฐธรรมนูญก็จะเขียนไว้กว้ำง ๆ โดยให้ ไปออกกฎหมำยล ำดับรองมำรองรับหรือขยำยควำม ลักษณะของรัฐธรรมนูญแสดงให้เห็นว่ำกำร ตีควำมรัฐธรรมนูญ จะต้องตีควำมด้วยทัศนะที่เปิดกว้ำงเพื่อตอบสนองสภำพกำรเมือง เศรษฐกิจ สังคม ควำมเจริญก้ำวหน้ำทำงเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป เนื่องจำกควำมเป็นพลวัตของรัฐธรรมนูญ คือกำรท ำให้รัฐธรรมนูญสำมำรถปรับตัวให้สอดคล้องกับกำรเปลี่ยนแปลงของสังคมได้ โดยไม่ จ ำเป็นต้องแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ แต่สำมำรถกระท ำโดยวิธีกำรตีควำมรัฐธรรมนูญ แต่กำรตีควำม เช่นว่ำนี้ต้องกระท ำเท่ำที่เป็นไปได้ภำยในกรอบแห่งถ้อยค ำและเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญเท่ำนั้น ประกอบกับเมื่อเกิดสถำนกำรณ์แพร่ระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนำ ๒๐๑๙ ท ำให้กำรประชุมซึ่งมี ลักษณะที่เป็นกำรมำอยู่ร่วมกัน ณ เวลำและสถำนที่เดียวกันนั้น ไม่สอดคล้องกับมำตรกำรป้องกันกำร แพร่ระบำดของโรคดังกล่ำว อันส่งผลกระทบต่อประสิทธิภำพและควำมต่อเนื่องในกำรบริหำรรำชกำร แผ่นดิน ตลอดจนกำรประกอบกิจกรรมทำงเศรษฐกิจของภำคเอกชนอย่ำงรุนแรง ในส่วนของฝ่ำย บริหำรจึงได้มีกำรตรำพระรำชก ำหนดว่ำด้วยกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๓ เพื่อ แก้ไขปัญหำดังกล่ำว โดยเป็นกำรก ำหนดเกี่ยวกับกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่ำ เป็นกำร ประชุมที่ผู้ร่วมประชุมมิได้อยู่ในสถำนที่เดียวกันและสำมำรถประชุมปรึกษำหำรือและแสดงควำม คิดเห็นระหว่ำงกันได้ผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังนั้น จึงกล่ำวได้ว่ำสำระส ำคัญของกำรประชุมจึง หมำยถึง กำรปรึกษำหำรือและแสดงควำมคิดเห็นระหว่ำงกันได้ในเวลำเดียวกันโดยมิได้จ ำกัดว่ำ จะต้องกระท ำในสถำนที่เดียวกัน ส่วนกำรก ำหนดองค์ประชุมตำมเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญ มิได้หมำยควำม เพียงว่ำมีสมำชิกมำลงชื่อประชุมครบและเปิดกำรประชุมเท่ำนั้น แต่มุ่งหมำยให้ต้องมีสมำชิกมำ ประชุมจริง หำกปรำกฏว่ำในขณะประชุมเพื่อลงมตินั้น มีจ ำนวนสมำชิกเข้ำร่วมประชุมไม่ครบองค์ ประชุม จะถือว่ำเป็นกำรออกเสียงลงคะแนนที่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญไม่ได้ หำกเป็นกำร พิจำรณำร่ำงกฎหมำยก็ย่อมมีผลให้ร่ำงกฎหมำยนั้นตกไป กำรออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมสภำจึง ต้องเป็นกำรออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมที่ครบองค์ประชุม จึงจะถือว่ำเป็นกำรออกเสียงลงคะแนน ที่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ป ระเด็นนี้มีข้อสังเกต ว่ำ ก ำ รต ร วจสอบองค์ป ระชุมและก ำ รลงคะแนน ในกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จะตรวจสอบได้แม่นย ำหรือไม่ว่ำสมำชิกผู้นั้นลงมติด้วยตนเอง จริง เนื่องจำกข้อ ๘๐ วรรคสำม ก ำหนดให้ กำรออกเสียงลงคะแนนแทนกันจะกระท ำมิได้ ซึ่งประเด็น นี้ศำลรัฐธรรมนูญมีค ำวินิจฉัย โดยได้ให้ควำมเห็นไว้ว่ำ กำรที่สมำชิกรัฐสภำใช้บัตรแสดงตนและออก เสียงลงคะแนนในระบบบัตรอิเล็กทรอนิกส์หลำยใบ เป็นกำรกระท ำที่มีลักษณะผิดปกติวิสัย นอกจำก จะเป็นกำรละเมิดหลักกำรพื้นฐำนของกำรเป็นสมำชิกรัฐสภำซึ่งถือได้ว่ำเป็นผู้แทนปวงชนชำวไทย ซึ่งจะต้องปฏิบัติหน้ำที่โดยควำมผูกมัดแห่งอำณัติมอบหมำยหรือกำรครอบง ำใด ๆ และต้องปฏิบัติ ด้วยควำมซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของปวงชนชำวไทย โดยปรำศจำกกำรขัดกันแห่ง ผลประโยชน์ตำมบัญญัติมำตรำ ๑๒๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ยังขัดต่อข้อบังคับกำรประชุมของรัฐสภำ ขัดต่อหลักควำมซื่อสัตย์สุจริตที่สมำชิกรัฐสภำได้ปฏิญำณตน ไว้ตำมมำตรำ ๑๒๓ ของรัฐธรรมนูญ และยังขัดต่อหลักกำรออกเสียงลงคะแนนตำมมำตรำ ๑๒๖ วรรคสำม ของรัฐธรรมนูญ ที่ให้สมำชิกคนหนึ่งมีเพียงหนึ่งเสียงในกำรออกเสียงลงคะแนน มีผลท ำให้ กำรออกเสียงลงคะแนนของรัฐสภำในกำรประชุมนั้น ๆ เป็นกำรออกเสียงลงคะแนนที่ทุจริต ไม่เป็นไป ตำมเจตนำรมณ์ที่แท้จริงของผู้แทนปวงชนชำวไทย ดังนั้น วิธีกำรดังกล่ำวข้ำงต้นจึงมิอำจถือว่ำเป็นมติ กำรประชุมที่ชอบของรัฐสภำ (สรุปย่อค ำวินิจฉัยศำลรัฐธรรมนูญที่ ๑๕ - ๑๘/๒๕๕๖ วันที่ ๒๐ พฤศจิกำยน ๒๕๕๖ เรื่อง ค ำร้องขอให้ศำลรัฐธรรมนูญพิจำรณำวินิจฉัยตำมรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๖๘, หน้ำ ๓ -๔) ดังนั้น ระบบกำรตรวจนับองค์ประชุมและกำรตรวจนับคะแนนของที่ประชุมจะต้องมี ควำมถูกต้อง แม่นย ำ มีประสิทธิภำพเพียงพอในรองรับกำรยืนยันตัวตนและกำรพิสูจน์ยืนยันตัวตน ของผู้ร่วมประชุม เพื่อไม่ให้เกิดกำรร้องเรียนว่ำสมำชิกมีกำรออกเสียงลงคะแนนแทนกัน ซึ่งจะท ำให้ กำรประชุมดังกล่ำวเสียไปด้วย (๒) ข้อพิจำรณำเรื่องเอกสิทธิ์และควำมคุ้มกัน รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ก ำหนดหลักกำรเกี่ยวกับ เรื่องเอกสิทธิ์ของสมำชิกผู้แทนรำษฎร กรรมำธิกำร ตลอดจนผู้กระท ำหน้ำที่และผู้ปฏิบัติตำมค ำเรียก ของคณะกรรมำธิกำรไว้ใน มำตรำ ๑๒๔ และมำตรำ ๑๒๙ โดยสถำนที่ที่ได้รับเอกสิทธิ์ ได้แก่ ที่ ประชุมสภำผู้แทนรำษฎร ที่ประชุมวุฒิสภำ ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภำ และที่ประชุม คณะกรรมำธิกำร โดยจะให้ควำมคุ้มครองเฉพำะกำรกล่ำวถ้อยค ำในที่ประชุมเท่ำนั้น หำกเป็นกำร กล่ำวในสถำนที่ซึ่งไม่ใช่ห้องประชุม แม้อยู่ในบริเวณรัฐสภำ เช่น ห้องแถลงข่ำว ห้องอำหำร ห้องโถง ของอำคำรรัฐสภำ ย่อมไม่ได้รับเอกสิทธิ์ดังกล่ำวแต่อย่ำงใด ทั้งนี้ ข้อบังคับกำรประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๓ ก ำหนดบทนิยำมค ำว่ำ “ที่ประชุม” หมำยควำมว่ำ ที่ประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎร และให้หมำยควำมรวมถึงห้องกระทู้ถำมด้วย แต่กรณีดังกล่ำวมีข้อพิจำรณำว่ำ เอกสิทธิ์ ที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญมีควำมคุ้มครองเฉพำะแต่กำรประชุมในสถำนที่ ซึ่งเป็นที่ประชุมสภำและที่ ประชุมคณะกรรมำธิกำรเท่ำนั้น อย่ำงไรก็ตำม ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ ข้อ ๓ ให้ยกเลิกควำมในบทนิยำมค ำว่ำ “ที่ประชุม” ในข้อ ๓ แห่งข้อบังคับกำรประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และให้ใช้ควำมต่อไปนี้ ““ที่ประชุม” หมำยควำมว่ำ ที่ประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎร และให้หมำยควำมรวมถึงที่ประชุมสภำผู้แทนรำษฎรผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และห้อง ก ระทู้ถ ำมด้วย” เพื่อให้ค ำ ว่ำที่ประชุมสภ ำผู้แทนรำษฎ ร มีค ว ำมหมำยค รอบคลุมถึง ที่ประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย ดังนั้น สมำชิกที่เข้ำร่วมประชุมประชุมทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์จึง ถือว่ำได้รับเอกสิทธิ์ตำมกฎหมำย ม ำ ต ร ำ ๑๒๕ ข อง รั ฐ ธ ร ร มนูญ แ ห่ง ร ำ ช อ ำณ ำ จั ก รไท ย บั ญญั ติ ว่ ำ “ในระหว่ำงสมัยประชุมห้ำมมิให้จับ คุมขัง หรือหมำยเรียกตัวสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรหรือสมำชิก วุฒิสภำไปท ำกำรสอบสวนในฐำนะที่สมำชิกผู้นั้นเป็นผู้ต้องหำในคดีอำญำ เว้นแต่จะได้รับอนุญำตจำก สภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิก หรือเป็นกำรจับในขณะท ำควำมผิด


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ในกรณีที่มีกำรจับสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรหรือสมำชิกวุฒิสภำในขณะกระท ำ ควำมผิด ให้รำยงำนไปยังประธำนแห่งสภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิกโดยพลัน และเพื่อประโยชน์ในกำร ประชุมสภำ ประธำนแห่งสภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิกอำจสั่งให้ปล่อยผู้ถูกจับเพื่อให้มำประชุมสภำได้ ถ้ำสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรหรือสมำชิกวุฒิสภำถูกคุมขังในระหว่ำงสอบสวนหรือ พิจำรณำอยู่ ก่อนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงำนสอบสวนหรือศำล แล้วแต่กรณี ต้องสั่ง ปล่อยทันที ถ้ำประธำนแห่งสภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิกได้ร้องขอ โดยศำลจะสั่งให้มีประกันหรือมีประกัน และหลักประกันด้วยหรือไม่ก็ได้ ใน ก รณีที่มี ก ำ รฟ้ อง สม ำ ชิ ก สภ ำ ผู้ แทน ร ำษฎ รห รื อ สม ำ ชิ ก วุฒิ ส ภ ำ ในคดีอำญำ ไม่ว่ำจะได้ฟ้องนอก หรือในสมัยประชุม ศำลจะพิจำรณำคดีนั้นในระหว่ำงสมัยประชุมก็ ได้ แต่ต้องไม่เป็นกำรขัดขวำงต่อกำรที่สมำชิกผู้นั้นจะมำประชุมสภำ” เมื่อพิจำรณำบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๒๕ มีสำระส ำคัญว่ำ ในสมัยประชุม ห้ำมมิให้จับ คุม ขัง หรือหมำยเรียกสมำชิกไปท ำกำรสอบสวนในคดีอำญำ (ตำมวรรค หนึ่ง) หำกจับในขณะกระท ำควำมผิด ให้รำยงำนไปยังประธำนแห่งสภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิกโดยพลัน และเพื่อประโยชน์ในกำรประชุมสภำ ประธำนแห่งสภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิกอำจสั่งให้ปล่อยผู้ถูกจับ เพื่อให้มำประชุมสภำได้ (ตำมวรรคสอง) และหำกถูกคุมขังในระหว่ำงสอบสวนหรือพิจำรณำอยู่ก่อน สมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงำนสอบสวนหรือศำล แล้วแต่กรณี ต้องสั่งปล่อยทันทีถ้ำ ประธำนแห่งสภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิกได้ร้องขอ (ตำมวรรคสำม) และหำกถูกฟ้องในคดีอำญำ ไม่ว่ำจะได้ ฟ้องนอกหรือในสมัยประชุม ศำลจะพิจำรณำคดีนั้นในระหว่ำงสมัยประชุมก็ได้ แต่ต้องไม่เป็นกำรชัด ขวำงต่อกำรที่สมำชิกผู้นั้นจะมำประชุมสภำ (ตำมวรรคสี่) ฉะนั้น หำกกำรประชุมมีขึ้นในระหว่ำงสมัย ประชุม สมำชิกย่อมได้รับควำมคุ้มกัน ทั้งกำรประชุมปกติและกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตำม รัฐธรรมนูญ (๓) ข้อพิจำรณำเรื่องกำรอภิปรำย รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ก ำหนดหลักกำรเกี่ยวกับ กำรอภิปรำยโดยทั่วไปของสภำผู้แทนรำษฎรและคณะกรรมำธิกำรไว้ใน มำตรำ ๑๒๘ ประกอบกับ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๖๖ – ๗๗ ข้อ ๑๓๑ ข้อ ๙๒ และข้อ ๙๓ กำรอภิปรำยแสดงควำมคิดเห็นเป็นสิทธิขั้นพื้นฐำนของสมำชิกรัฐสภำ โดยเฉพำะ ผู้ที่ได้ขอแปรญัตติ สงวนค ำแปรญัตติ หรือกรรมำธิกำรที่สงวนควำมเห็นไว ยอมมีสิทธิที่จะอภิปรำย แสดงควำมเห็นและให้เหตุผลในประเด็นที่ได้แปรญัตติ สงวนค ำแปรญัตติ หรือได้สงวนควำมเห็นไว้ โดยศำลรัฐธรรมนูญได้เคยมีค ำวินิจฉัยในกรณีดังกล่ำวว่ำ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ มำตรำ ๑๒๒ ได้บัญญัติไวอย่ำงชัดแจ้งว่ำ สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรและสมำชิก วุฒิสภำย่อมเป็นผู้แทนปวงชนชำวไทย โดยไม่อยู่ในควำมผูกมัดแห่งอำณัติ มอบหมำย หรือควำม ครอบง ำใด ๆ และต้องปฏิบัติหน้ำที่ด้วยควำมซื่อสัตย์สุจริต เพื่อประโยชน์สวนรวมของปวงชนชำว ไทย โดยปรำศจำกกำรขัดกันแห่งผลประโยชน อีกทั้งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตำมหลักนิติธรรม ตำมที่ บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๓ วรรคสอง ที่ว่ำ กำรปฏิบัติหน้ำที่ของรัฐสภำ คณะรัฐมนตรี ศำล รวมทั้งองค์กรตำมรัฐธรรมนูญ และหน่วยงำนของรัฐ ต้องเป็นไปตำมหลักนิติธรรม


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร จะเห็นได้จำกแนวค ำวินิจฉัยของศำลรัฐธรรมนูญ ที่ ๑๔/๒๕๕๖ เกี่ยวกับกำร อภิปรำยในที่ประชุมคณะกรรมำธิกำรไว้ว่ำ แม้รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติให้คณะกรรมำธิกำรต้องรับฟัง ค ำชี้แจง ข้อเท็จจริง หรือควำมเห็นของรัฐสภำ ศำล และองค์กรในชั้นกำรแปรญัตติ แต่บทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๖๘ วรรคแปด มีวัตถุประสงค์ให้คณะกรรมำธิกำรต้องให้ควำมเป็นธรรมแก หน่วยงำนตำมที่รัฐธรรมนูญก ำหนด โดยให้รัฐต้องจัดสรรงบประมำณให้เพียงพอกับกำรบริหำรงำน โดยอิสระของรัฐสภำ ศำลรัฐธรรมนูญ ศำลยุติธรรม ศำลปกครองและองค์กรตำมรัฐธรรมนูญ ดังนั้น คณะกรรมำธิกำรจึงควรให้หน่วยงำนดังกล่ำวมีโอกำสแสดงเหตุผลและควำมจ ำเป็นต่อ คณะกรรมำธิกำรได้โดยตรง เพื่อให้สอดคลองกับหลักนิติธรรมและหลักธรรมำภิบำล อันจะท ำให้เกิด ควำมเป็นธรรมแก่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ำย ทั้งนี้ ในกำรประชุมพิจำรณำของสภำผู้แทนรำษฎรในเรื่องต่ำง ๆ เช่น เรื่องที่ คณะกรรมำธิกำรพิจำรณำเสร็จแล้ว เรื่องที่ค้ำงพิจำรณำ เรื่องที่เสนอใหม่ เรื่องด่วน หรือเรื่อง รับทรำบรำยงำน เป็นต้น จะมีสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรอภิปรำยซักถำมหรือแสดงควำมคิดเห็นเพื่อ สนับสนุนหรือคัดค้ำนเป็นจ ำนวนมำก ซึ่งค่อนข้ำงใช้เวลำในกำรประชุมและมีโอกำสท ำให้ระเบียบ วำระกำรพิจำรณำเรื่องอื่น ๆ ล่ำช้ำออกไป แม้กำรปิดกำรอภิปรำยจะเป็นดุลพินิจของประธำน และแม้ เสียงข้ำงมำกมีสิทธิที่จะลงมติให้ปิดกำรอภิปรำยได้ก็ตำม แต่กำรใช้ดุลพินิจและกำรใช้เสียงข้ำงมำก ดังกล่ำว จะต้องไม่ตัดสิทธิกำรท ำหน้ำที่ของสมำชิกหรือละเลยไมฟังควำมเห็นของฝ่ำยข้ำงน้อย ดังนั้น กำรออกแบบระบบควบคุมกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรควรจะสำมำรถรองรับกำรประชุมที่มีควำม ต่อเนื่องและมีประสิทธิภำพเพียงพอ รวมทั้งต้องมีระบบบริหำรจัดกำรกำรอภิปรำยเพื่อควบคุมเวลำ กำรอภิปรำยของสมำชิก กำรตรวจสอบล ำดับกำรอภิปรำย กำรแจ้งเตือนกำรแสดงตนและออกเสียง ลงคะแนนด้วย ส่วนกำรปฏิบัติของสมำชิกในกำรอภิปรำยตำมข้อบังคับก ำหนดว่ำ ในกรณี สมำชิกผู้ใดต้องกำรอภิปรำยหรือกล่ำวถ้อยค ำต่อที่ประชุม ให้ยกมือขึ้นพ้นศีรษะ เมื่อประธำนอนุญำต แล้ว สมำชิกจึงยืนขึ้นและอภิปรำยหรือกล่ำวถ้อยค ำต่อที่ประชุมได้ (ข้อบังคับฯ ข้อ ๒๙) หรือในกรณี สมำชิกที่ต้องกำรประท้วงหรือถูกพำดพิง หำกต้องกำรประท้วงหรือชี้แจงต่อที่ประชุมในกรณีที่ถูก พำดพิงจะต้องยืนและยกมือขึ้นพ้นศีรษะก่อน ประธำนถึงจะให้โอกำสสมำชิกผู้นั้นชี้แจง (ข้อบังคับฯ ข้อ ๗๑) ดังนั้น กรณีกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะต้องค ำนึงถึงวิธีกำรปฏิบัติของสมำชิกที่ ต้องกำรอภิปรำยหรือกล่ำวถ้อยค ำต่อที่ประชุม หรือต้องกำรประท้วงหรือถูกพำดพิงไว้ด้วย (๔) ข้อพิจำรณำเรื่องกำรประชุมลับ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ก ำหนดหลักกำรเกี่ยวกับ กำรประชุมลับไว้ในมำตรำ ๑๒๐ มำตรำ ๑๒๗ และมำตรำ ๑๕๕ ประกอบกับข้อบังคับกำรประชุม สภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๑๘ ข้อ ๔๖ และข้อ ๙๘ เนื่องจำกเรื่องที่พิจำรณำบำงกรณี คณะรัฐมนตรีหรือสมำชิกอำจร้องขอให้ประชุมลับได้ โดยที่ข้อบังคับฯ ข้อ ๑๘ วรรคสี่ ก ำหนดว่ำ ในกำรประชุมลับ ห้ำมบุคคลภำยนอก เข้ำฟังกำรประชุม เว้นแต่ผู้ที่ได้รับอนุญำตจำกประธำนเท่ำนั้น และให้ประธำนด ำเนินกำรเพื่อมิให้มี กำรบันทึกภำพ บันทึกเสียง หรือกระท ำกำรใด ๆ ที่เป็นกำรถ่ำยทอดกำรประชุมสู่บุคคลภำยนอก


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร โดยมิได้รับอนุญำต ดังนั้น โดยข้อกฎหมำยแล้วกำรประชุมลับจึงไม่สำมำรถด ำเนินกำรผ่ำนทำงสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ได้ นอกจำกนี้ ในกำรประชุมเรื่องลับมีข้อพิจำรณำด้ำนปัญหำควำมปลอดภัยของข้อมูล และปัญหำเรื่องกำรยืนยันตัวตน กำรลงมติ กำรรักษำควำมลับของข้อมูล ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีระบบ ควบคุมกำรประชุมที่สำมำรถรองรับได้อย่ำงสมบูรณ์ดังนั้น ในส่วนของกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร จึงยังก ำหนดห้ำมมิให้มีกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อพิจำรณำเรื่องที่รัฐธรรมนูญ กฎหมำย ข้อบังคับก ำหนด หรือที่สภำผู้แทนรำษฎรมีมติ ให้กระท ำเป็นกำรลับ ส่วนข้อพิจำรณำกำรประชุม เรื่องลับของคณะกรรมำธิกำร เนื่องจำกเป็นกำรประชุมที่มีองค์ประกอบขนำดเล็ก และรูปแบบกำร ปฏิบัติเกี่ยวกับกำรประชุมมีควำมเคร่งครัดน้อยกว่ำกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร แต่ก็จ ำเป็นต้องมี มำตรฐำนควำมมั่นคงปลอดภัยเพียงพอโดยเฉพำะกำรรักษำควำมลับของข้อมูล ดังนั้น จึงก ำหนดเงื่อนไขว่ำจะประชุมได้ก็ต่อเมื่อประธำนสภำได้ประกำศก ำหนดให้ใช้ระบบควบคุมกำร ประชุมที่มีควำมมั่นคงปลอดภัยเพียงพอก่อน ซึ่งระบบดังกล่ำวควรมีมำตรฐำนไม่ต่ ำกว่ำระบบที่ ส ำนักงำนพัฒนำธุรกรรมทำงอิเล็กทรอนิกส์ประกำศรับรองให้จัดกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ใน เรื่องที่มีชั้นควำมลับได้ กล่ำวคือ ตองใช้ระบบควบคุมกำรประชุมที่ติดตั้งและให้บริกำรใน รำชอำณำจักร และห้ำมมิให้มีกำรบันทึกเสียงหรือทั้งเสียงและภำพของผู้ประชุมทุกคนตลอด ระยะเวลำที่มีกำรประชุมในเรื่องลับ รวมทั้งต้องไม่จัดเก็บข้อมูลหรือหลักฐำนส่วนหนึ่งส่วนใดไว้นอก รำชอำณำจักร อย่ำงไรก็ตำม มีข้อสังเกตในส่วนของกำรประชุมลับผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของ คณะกรรมำธิกำร โดยเห็นว่ำกำรห้ำมมิให้มีกำรบันทึกเสียงหรือทั้งเสียงและภำพของผู้ประชุมทุกคน ตลอดระยะเวลำที่มีกำรประชุมในเรื่องลับ ข้อก ำหนดดังกล่ำวเป็นกำรน ำแนวทำงมำจำกกำร มำตรฐำนกำรจัดประชุมลับของฝ่ำยบริหำร โดยประกำศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง มำตรฐำนกำรรักษำควำมมั่นคงปลอดภัยของกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๓ คือ ห้ำมมิให้มีกำรบันทึกเสียงหรือทั้งเสียงและภำพของผู้ร่วมประชุมทุกคนตลอดระยะเวลำที่มีกำร ประชุมในเรื่องลับ จึงมีข้อแตกต่ำงจำกกำรประชุมของคณะกรรมำธิกำร โดยข้อบังคับกำรประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ในส่วนของวิธีกำรประชุม ซึ่งน ำมำใช้กับกำรประชุมของคณะกรรมำธิกำร ด้วย โดยข้อ ๑๘ ก ำหนดว่ำ ในกำรประชุมลับห้ำมบุคคลภำยนอกเข้ำฟังกำรประชุม เว้นแต่ผู้ที่ได้รับ อนุญำตจำกประธำนเท่ำนั้น และให้ประธำนด ำเนินกำรเพื่อมิให้มีกำรบันทึกภำพ บันทึกเสียง หรือ กระท ำกำรใด ๆ ที่เป็นกำรถ่ำยทอดกำรประชุมสู่บุคคลภำยนอกโดยมิได้รับอนุญำต ซึ่งหมำยถึงเป็น กำรห้ำมเพื่อมิให้มีกำรบันทึกภำพ บันทึกเสียง หรือกระท ำกำรใด ๆ ที่เป็นกำรถ่ำยทอดกำรประชุมสู่ บุคคลภำยนอกเท่ำนั้น เนื่องจำกโดยปกติกำรประชุมจะต้องเป็นกำรเปิดเผย แต่ผู้จัดกำรประชุม เช่น ฝ่ำยเลขำนุกำร ที่เกี่ยวข้อง ยังสำมำรถบันทึกภำพและเสียงได้ และจดบันทึกกำรประชุมหรือบันทึก เหตุกำรณ์ได้ (๕) ข้อพิจำรณำเรื่องกำรออกเสียงลงคะแนน รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ก ำหนดหลักกำรเกี่ยวกับ กำรออกเสียงลงคะแนนของสภำผู้แทนรำษฎรไว้ใน มำตรำ ๑๒๐ ประกอบกับข้อบังคับกำรประชุม


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร สภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๘๐ โดยก ำหนดให้สมำชิกคนหนึ่งย่อมมีเสียงหนึ่งในกำรออกเสียง ลงคะแนน และกำรออกเสียงลงคะแนนจะกระท ำแทนกันมิได้ ข้อ ๘๓ ก ำหนดว่ำ กำรออกเสียงลงคะแนนเปิดเผยมีวิธีปฏิบัติ ดังต่อไปนี้(๑) ใช้ เครื่องออกเสียงลงคะแนนตำมที่ประธำนก ำหนด (๒) เรียกชื่อสมำชิกตำมหมำยเลขประจ ำตัวสมำชิก ให้ออกเสียงลงคะแนนเป็นรำยคนตำมวิธีที่ประธำนก ำหนด(๓) วิธีอื่นใดซึ่งที่ประชุมเห็นสมควรเฉพำะ กรณี ซึ่งโดยกำรประชุมในรูปแบบปกติกำรออกเสียงคะแนนจะใช้เครื่องออกเสียงลงคะแนน จึงมี ข้อพิจำรณำว่ำ กำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรที่จ ำเป็นต้องประชุมเพื่อพิจำรณำโดยมีกำรลงมติ เช่น เรื่องที่กรรมำธิกำรพิจำรณำแล้วเสร็จ แม้จะไม่เป็นร่ำงกฎหมำย หรือกำรขออนุญำตด ำเนินคดีอำญำ กับสมำชิก เป็นต้น หรือกำรประชุมเพื่อพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติ ร่ำงข้อบังคับ พระรำชก ำหนด ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องมีกำรลงมติในแต่ละวำระ โดยเฉพำะกำรลงมติเป็นรำยมำตรำในวำระที่สองและ ลงมติในวำระที่สำม จึงอำจจะเป็นข้อจ ำกัดในทำงปฏิบัติของระบบ โดยเฉพำะกำรออกเสียงลงคะแนน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์อำจเกิดปัญหำขัดข้องทำงเทคนิค หรือเกิดประเด็นว่ำหำกมีกำรประชุมผ่ำนสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ วิธีกำรกำรออกเสียงลงคะแนนของสมำชิกที่ประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์จะใช้วิธีใด รวมทั้งกำรยืนยันตัวตนและกำรลงมติของสมำชิกพร้อมกันจ ำนวนมำกจะท ำอย่ำงไร ดังนั้น เพื่อให้กำรด ำเนินกำรเป็นไปอย่ำงโปร่งใสและตรวจสอบได้ ตลอดจนป้องกันข้อ โต้แย้งว่ำ มีกำรลงมติที่ไม่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญโดยมีกำรลงมติแทนกัน และไม่เป็นไป ตำมข้อบังคับ ข้อ ๔๓/๕ (เพิ่มโดยข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ ข้อ ๕) ที่ก ำหนดให้อย่ำงน้อยต้องมีหลักเกณฑ์หรือวิธีกำรที่สำมำรถตรวจสอบหรือยืนยันได้เกี่ยวกับกำร เข้ำร่วมประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กำรตรวจสอบองค์ประชุม รวมทั้งระบบกำรออกเสียงลงคะแนน ของสมำชิกด้วย ซึ่งเป็นกำรยืนยันกำรให้ควำมส ำคัญกับกำรแสดงตนของผู้ร่วมประชุมผ่ำนสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ และกำรพิสูจน์ตัวตนของผู้ร่วมประชุมตลอดระยะเวลำที่มีกำรประชุม เพื่อยืนยันว่ำมีองค์ ประชุมครบถ้วนอยู่จริงตำมที่รัฐธรรมนูญก ำหนดตลอดจนสำมำรถรองรับกำรพิจำรณำและกำรลงมติ ของสมำชิกจ ำนวนมำกพร้อมกันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อป้องกันกำรโต้แย้งว่ำกำรออกเสียง ลงคะแนนไม่ชอบด้วยกฎหมำย หำกเป็นกำรพิจำรณำร่ำงกฎหมำย ก็ย่อมเป็นเหตุให้ร่ำงกฎหมำยตรำ ขึ้นโดยไม่ถูกต้องตำมบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ นอกจำกนี้ ปัจจุบันระเบียบสภำผู้แทนรำษฎร ข้อ ๔ วรรคหนึ่ง ก ำหนดให้กำรลงชื่อ มำประชุมสภำผู้แทนรำษฎรให้สมำชิกปฏิบัติ ดังนี้ (๑) ก่อนเข้ำประชุมทุกครั้ง ให้สมำชิกผู้มำประชุม ลงชื่อในเอกสำรที่จัดไว้บริเวณหน้ำห้องประชุม และ (๒) ใช้บัตรที่ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำ ผู้แทนรำษฎรออกให้เพื่อแสดงตน บันทึกลงในเครื่องอ่ำนบัตร ดังนั้น เมื่อมีกำรก ำหนดวิธีกำรประชุม ผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ควรจะต้องมีกำรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสภำผู้แทนรำษฎรว่ำด้วยกำรลงชื่อมำ ประชุมและกำรลำกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยก ำหนดเพิ่มเติมช่องทำง อิเล็กทรอนิกส์เพื่อรองรับกับกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้สอดคล้องกับวิธีกำรประชุมด้วย อีกทั้ง เพื่อให้สอดคล้องกับกำรออกเสียงลงคะแนนในกำรประชุมคณะกรรมำธิกำรผ่ำนสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ตำมข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึ่งก ำหนดให้


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ยกเลิกวิธีกำรออกเสียงลงคะแนนเปิดเผย โดยวิธีกำรเรียกชื่อสมำชิกตำมหมำยเลขประจ ำตัวสมำชิก ให้ออกเสียงลงคะแนนเป็นรำยคน ตำมข้อ ๘๓ (๒) ของข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ และให้ใช้หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีกำรเช่นเดียวกับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรผ่ำนสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะเป็นไปตำมที่ประธำนสภำก ำหนด ๔. บทสรุปและอภิปรำยผล กำรพิจำรณำศึกษำระบบควบคุมกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นเรื่องที่มี ควำมส ำคัญ นอกจำกจะต้องค ำนึงถึงรูปแบบกำรประชุมและระเบียบวำระกำรประชุม และขนำดของ องค์ประชุมที่มีจ ำนวนมำกซึ่งเป็นลักษณะเฉพำะของกำรประชุมของสภำผู้แทนรำษฎร จะต้อง ค ำนึงถึงทั้งพื้นฐำนของกำรรักษำควำมลับ กำรรักษำควำมถูกต้อง ครบถ้วน และกำรคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล ซึ่งเป็นหลักกำรส ำคัญของกำรรักษำควำมมั่นคงปลอดภัยด้ำนสำรสนเทศ ตลอดจนต้อง ค ำนึงถึงกำรควบคุมกำรประชุมให้ถูกต้องและเป็นไปตำมรัฐธรรมนูญ ข้อบังคับ และกฎหมำยต่ำง ๆ ที่ เกี่ยวข้องอย่ำงเคร่งครัด เนื่องจำกทุกกระบวนกำรเป็นกำรด ำเนินงำนของฝ่ำยนิติบัญญัติในกำร พิจำรณำกฎหมำย รวมทั้งกำรควบคุมตรวจสอบกำรท ำงำนของรัฐบำล ไม่เช่นนั้นอำจเป็นเหตุให้มีผู้ ยื่นค ำร้องต่อศำลรัฐธรรมนูญเพื่อมีค ำวินิจฉัยให้กำรด ำเนินกำรบำงประกำรเสียไปได้ซึ่งในกำร ด ำเนินกำรศึกษำเนื้อหำนอกจำกประเด็นด้ำนกฎหมำยแล้ว ยังต้องพิจำรณำพร้อมประเด็นด้ำน เทคนิค โดยเฉพำะมำตรฐำนด้ำนเทคโนโลยีสำรสนเทศ ควำมเชื่อมโยงของระบบกำรจัดประชุมว่ำ สำมำรถรองรับกำรจัดประชุมสภำผู้แทนรำษฎรหรือไม่ ควำมเป็นไปได้ของระบบควบคุมกำรประชุม และควำมสำมำรถในกำรพัฒนำระบบกำรประชุมทำงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ของหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งมำตรฐำนกำรประชุมที่มีควำมมั่นคงปลอดภัยเพียงพอ ที่สำมำรถตอบโจทย์รูปแบบกำรประชุม สภำผู้แทนรำษฎร กำรรักษำควำมลับด้ำนสำรสนเทศ กำรคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคล เป็นต้น ซึ่งเป็น ข้อมูลเฉพำะทำงเทคนิคตำมหลักวิชำกำรด้ำนกำรพัฒนำระบบสำรสนเทศที่จะต้องมีควำมสอดคล้อง กับเจตนำรมณ์ของกฎหมำยหรือข้อบังคับกำรประชุมด้วย ทั้งนี้ เพื่อให้กำรด ำเนินกำรเป็นไปตำม กฎหมำย คุ้มค่ำ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อกำรท ำงำนของฝ่ำยนิติบัญญัติ กระบวนกำรที่เป็นสำระส ำคัญในกำรประชุมของสภำผู้แทนรำษฎรผ่ำนสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ ทั้งในกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรและกำรประชุมคณะกรรมำธิกำร ต้องพิจำรณำ เทียบเคียงกับหลักกำรประชุมในรูปแบบปกติ ทั้งในเรื่องกำรควบคุมกำรประชุม กำรพิสูจน์ตัวตนของ ผู้เข้ำร่วมประชุม กำรอภิปรำยและกำรก ำหนดระยะเวลำกำรอภิปรำย กำรออกเสียงลงคะแนน กำร ประชุมลับ โดยต้องเป็นไปตำมรัฐธรรมนูญและข้อบังคับฯ ก ำหนดอย่ำงเคร่งครัด ไม่เช่นนั้นอำจเป็น เหตุให้มีผู้ยื่นค ำร้องต่อศำลรัฐธรรมนูญเพื่อมีค ำวินิจฉัยในกรณีต่ำง ๆ อำทิ กำรตรวจสอบควำมชอบ ด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมำย ทั้งในแง่ของกระบวนกำรตรำและในแง่ของเนื้อหำว่ำขัดหรือแย้งต่อ รัฐธรรมนูญหรือไม่ซึ่งข้อพิจำรณำในส่วนกระบวนกำรสำระส ำคัญของกำรประชุมที่จะต้องพิจำรณำ ประกอบข้อกฎหมำยและข้อเท็จจริงในทำงปฏิบัติดังนี้ ข้อพิจำรณำเรื่ององค์ประชุม กำรตรวจสอบองค์ประชุมในกำรประชุมผ่ำนสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ จะต้องให้ควำมส ำคัญกับกำรแสดงตนของผู้ร่วมประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และกำร


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร พิสูจน์ตัวตนของผู้ร่วมประชุมตลอดระยะเวลำที่มีกำรประชุม เพื่อยืนยันว่ำมีองค์ประชุมครบถ้วนอยู่ จริงตำมที่รัฐธรรมนูญและข้อบังคับฯ ก ำหนด อย่ำงไรก็ตำม เนื่องจำกบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ ไม่ได้ ก ำหนดรูปแบบหรือวิธีกำรในกำรประชุมสภำไว้เป็นกำรเฉพำะ เพียงแต่ก ำหนดให้ในกำรประชุมสภำ จะต้องมีสมำชิกมำประชุมตำมที่บัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๒๐ เท่ำนั้น ซึ่งเป็นกรณีที่จะต้องไปก ำหนดใน ข้อบังคับกำรประชุม ดังนั้น ระบบกำรตรวจนับองค์ประชุมและกำรตรวจนับคะแนนของที่ประชุม จะต้องมีควำมถูกต้อง แม่นย ำ มีประสิทธิภำพเพียงพอในรองรับกำรยืนยันตัวตนและกำรพิสูจน์ยืนยัน ตัวตนของผู้ร่วมประชุม เพื่อไม่ให้เกิดกำรร้องเรียนว่ำสมำชิกมีกำรออกเสียงลงคะแนนแทนกัน ซึ่งจะ ท ำให้กำรประชุมดังกล่ำวเสียไปด้วย ข้อพิจำรณำเรื่องเอกสิทธิ์และควำมคุ้มกัน บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ มำตรำ ๑๒๕ มี สำระส ำคัญว่ำในสมัยประชุม ห้ำมมิให้จับ คุม ขัง หรือหมำยเรียกสมำชิกไปท ำกำรสอบสวนใน คดีอำญำ หำกจับในขณะกระท ำควำมผิด ให้รำยงำนไปยังประธำนแห่งสภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิกโดย พลัน และเพื่อประโยชน์ในกำรประชุมสภำ ประธำนแห่งสภำที่ผู้นั้นเป็นสมำชิกอำจสั่งให้ปล่อยผู้ถูก จับเพื่อให้มำประชุมสภำได้ และหำกถูกคุมขังในระหว่ำงสอบสวนหรือพิจำรณำอยู่ก่อนสมัยประชุม เมื่อถึงสมัยประชุม พนักงำนสอบสวนหรือศำล แล้วแต่กรณี ต้องสั่งปล่อยทันทีถ้ำประธำนแห่งสภำที่ผู้ นั้นเป็นสมำชิกได้ร้องขอ และหำกถูกฟ้องในคดีอำญำ ไม่ว่ำจะได้ฟ้องนอกหรือในสมัยประชุม ศำลจะ พิจำรณำคดีนั้นในระหว่ำงสมัยประชุมก็ได้ แต่ต้องไม่เป็นกำรชัดขวำงต่อกำรที่สมำชิกผู้นั้นจะมำ ประชุมสภำ ฉะนั้น หำกกำรประชุมมีขึ้นในระหว่ำงสมัยประชุม สมำชิกย่อมได้รับควำมคุ้มกัน ทั้งกำร ประชุมปกติและกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตำมรัฐธรรมนูญ ข้อพิจ ำ รณ ำเรื่องกำ รอภิปรำย ก ำ รอภิปร ำยแสดงคว ำมคิดเห็นเป็นสิทธิ ขั้นพื้นฐำนของสมำชิกรัฐสภำ โดยเฉพำะผู้ที่ได้ขอแปรญัตติ สงวนค ำแปรญัตติ หรือกรรมำธิกำรที่ สงวนควำมเห็นไว ยอมมีสิทธิที่จะอภิปรำยแสดงควำมเห็นและให้เหตุผลในประเด็นที่ได้ แปรญัตติ สงวนค ำแปรญัตติ หรือได้สงวนควำมเห็นไว้ดังนั้น กำรออกแบบระบบควบคุม กำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรควรจะสำมำรถรองรับกำรประชุมที่มีควำมต่อเนื่องและมีประสิทธิภำพ เพียงพอ รวมทั้งต้องมีระบบบริหำรจัดกำรกำรอภิปรำยเพื่อควบคุมเวลำกำรอภิปรำยของสมำชิก กำร ตรวจสอบล ำดับกำรอภิปรำย กำรแจ้งเตือนกำรแสดงตนและออกเสียงลงคะแนนด้วย ข้อพิจำรณำเรื่องกำรประชุมลับ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๔๓/๕ (เพิ่มโดยข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๕ ข้อ ๕) ก ำหนดให้อย่ำงน้อยต้องมีหลักเกณฑ์หรือวิธีกำรที่สำมำรถตรวจสอบหรือยืนยันได้เกี่ยวกับกำร เข้ำร่วมประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ กำรตรวจสอบองค์ประชุม รวมทั้งระบบกำรออกเสียงลงคะแนน ของสมำชิก ดังนั้น เพื่อให้กำรด ำเนินกำรเป็นไปอย่ำงโปร่งใสและตรวจสอบได้ ตลอดจนป้องกันข้อ โต้แย้งว่ำ มีกำรลงมติที่ไม่ชอบด้วยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญโดยมีกำรลงมติแทนกัน เมื่อมีกำร ก ำหนดวิธีกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์แล้ว ควรจะต้องมีกำรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสภำ ผู้แทนรำษฎรว่ำด้วยกำรลงชื่อมำประชุมและกำรลำกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ โดย ก ำหนดเพิ่มเติมช่องทำงอิเล็กทรอนิกส์เพื่อรองรับกับกำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ สอดคล้องกับวิธีกำรประชุมด้วย ทั้งนี้ เพื่อกำรให้ควำมส ำคัญกับกำรแสดงตนของผู้ร่วมประชุมผ่ำนสื่อ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๔๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร อิเล็กทรอนิกส์ และกำรพิสูจน์ตัวตนของผู้ร่วมประชุมตลอดระยะเวลำที่มีกำรประชุม เพื่อยืนยันว่ำมีองค์ ประชุมครบถ้วนอยู่จริงตำมที่รัฐธรรมนูญก ำหนดตลอดจนสำมำรถรองรับกำรพิจำรณำและกำรลงมติ ของสมำชิกจ ำนวนมำกพร้อมกันได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ เพื่อป้องกันกำรโต้แย้งว่ำกำรออกเสียง ลงคะแนนไม่ชอบด้วยกฎหมำย ๕. ข้อเสนอแนะ ๑) ควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบสภำผู้แทนรำษฎรว่ำด้วยกำรลงชื่อมำประชุมและกำรลำ กำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยก ำหนดเพิ่มช่องทำงอิเล็กทรอนิกส์เพื่อรองรับกับ กำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วย ๒) ควรมีกำรพิจำรณำศึกษำระบบกำรยืนยันตัวตน และระบบกำรออกเสียงลงคะแนน ผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรำยละเอียดเชิงเทคนิค ส ำหรับใช้ในกำรประชุมคณะกรรมำธิกำร เพื่อให้ใช้ งำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพตำมมำตรฐำนและเป็นที่ยอมรับ ๓) ควรมีกำรพิจำรณำศึกษำระบบควบคุมกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร ระบบบริหำร จัดกำรกำรอภิปรำยเพื่อควบคุมเวลำกำรอภิปรำยของสมำชิก กำรตรวจสอบล ำดับกำรอภิปรำย กำรแจ้งเตือนกำรแสดงตนและออกเสียงลงคะแนน เพื่อให้สำมำรถรองรับกำรประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎรให้มีควำมต่อเนื่องและมีประสิทธิภำพ นำงสำวศุภกร ฮั่นตระกูล นิติกรช ำนำญกำรพิเศษ กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรกิจกำรสภำผู้แทนรำษฎร ส ำนักกรรมำธิกำร ๒


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๔๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ควำมเห็นประกอบกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำร กรณีมีผู้ร้องขอเอกสำรที่บุคคล หรือหน่วยงำนอื่นน ำมำมอบให้คณะกรรมำธิกำรเพื่อประกอบกำรพิจำรณำ คณะกรรมำธิกำรจะสำมำรถส่งมอบเอกสำรให้แก่ผู้ร้องขอได้หรือไม่ ๑. ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ คณะกรรมำธิกำรเป็นองค์กรนิติบัญญัติที่จัดตั้งขึ้นตำมรัฐธรรมนูญที่มีบทบำทส ำคัญ ในกำรตรำกฎหมำย ตรวจสอบถ่วงดุล และควบคุมกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดินของประเทศ ด้วยบทบำทหน้ำที่ดังกล่ำวจึงท ำให้คณะกรรมำธิกำรครอบครองข้อมูลส ำคัญ ๆ ในกระบวนกำร นิติบัญญัติมำอย่ำงต่อเนื่องและยำวนำน โดยส่วนหนึ่งของข้อมูลที่ส ำคัญคือเอกสำรหรือข้อมูลที่บุคคล หรือหน่วยงำนอื่นน ำมำมอบให้คณะกรรมำธิกำรเพื่อประกอบกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำร ซึ่งมีเป็นจ ำนวนมำกและเป็นข้อมูลที่มีกำรก ำหนดชั้นควำมลับจำกหน่วยงำนเจ้ำของข้อมูลไว้แตกต่ำง กันออกไป ดังนั้น เมื่อมีผู้ร้องขอเอกสำรดังกล่ำว คณะกรรมำธิกำรจะพิจำรณำว่ำสำมำรถส่งมอบ เอกสำรที่บุคคลหรือหน่วยงำนอื่นน ำมำมอบให้เพื่อประกอบกำรพิจำรณำแก่ผู้ร้องขอได้หรือไม่นั้น ต้องพิจำรณำจำกข้อกฎหมำยที่เกี่ยวข้องเป็นหลักและต้องเป็นข้อกฎหมำยที่ยังคงบังคับใช้ อยู่ในปัจจุบัน นั่นคือ พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๐ และระเบียบว่ำด้วย กำรรักษำควำมลับของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๔ ซึ่งระเบียบดังกล่ำวเป็นระเบียบที่ออกตำมควำม แห่งพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๐ อันเป็นกฎหมำยที่มีบทบัญญัติ บำงประกำรเกี่ยวกับกำรจ ำกัดสิทธิและเสรีภำพของบุคคลในกำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร ทั้งนี้ เนื่องจำกเอกสำรที่บุคคลหรือหน่วยงำนอื่นน ำมำมอบให้คณะกรรมำธิกำรเพื่อประกอบกำรพิจำรณำ ของคณะกรรมำธิกำรนั้น อำจเข้ำข่ำยที่จะต้องจ ำกัดสิทธิในกำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรของส่วนรำชกำร หรือเป็นข้อยกเว้นในกำรเปิดเผยตำมที่กฎหมำยบัญญัติไว้ อย่ำงไรก็ตำมในปัจจุบันยังไม่มีกำรก ำหนด แนวปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องดังกล่ำวอย่ำงชัดเจน ดังนั้น ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎรจึงควร ก ำหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับเรื่องดังกล่ำวให้ชัดเจน และเป็นไปตำมหลักกฎหมำย หรือระเบียบ ที่รองรับกำรปฏิบัติหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรและเจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำน เพื่อให้กำรส่งมอบเอกสำร แก่ผู้ร้องขอเป็นไปด้วยควำมถูกต้อง รอบคอบ และมีประสิทธิภำพ ๒. กฎหมำย กฎ ระเบียบ และยุทธศำสตร์ที่เกี่ยวข้อง ๒.๑ พระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๐ มำตรำ ๑๒ “ในกรณีที่มีผู้ยื่นค ำขอข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรตำมมำตรำ ๑๑ แม้ว่ำข้อมูลข่ำวสำรที่ขอจะอยู่ในควำมควบคุมดูแลของหน่วยงำนส่วนกลำงหรือส่วนสำขำ ของหน่วยงำนแห่งนั้น หรือจะอยู่ในควำมควบคุมดูแลของหน่วยงำนของรัฐแห่งอื่นก็ตำม ให้หน่วยงำน ของรัฐที่รับค ำขอให้ค ำแนะน ำ เพื่อไปยื่นค ำขอต่อหน่วยงำนของรัฐที่ควบคุมดูแลข้อมูลข่ำวสำรนั้น โดยไม่ชักช้ำ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๔๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ถ้ำหน่วยงำนของรัฐผู้รับค ำขอเห็นว่ำข้อมูลข่ำวสำรที่มีค ำขอเป็นข้อมูลข่ำวสำร ที่จัดท ำโดยหน่วยงำนของรัฐแห่งอื่น และได้ระบุห้ำมกำรเปิดเผยไว้ตำมระเบียบที่ก ำหนด ตำมมำตรำ ๑๖ ให้ส่งค ำขอนั้นให้หน่วยงำนของรัฐผู้จัดท ำข้อมูลข่ำวสำรนั้นพิจำรณำเพื่อมีค ำสั่งต่อไป” มำตรำ ๑๕ “ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรที่มีลักษณะอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดดังต่อไปนี้ หน่วยงำนของรัฐหรือเจ้ำหน้ำที่ของรัฐอำจมีค ำสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้โดยค ำนึงถึงกำรปฏิบัติหน้ำที่ ตำมกฎหมำยของหน่วยงำนของรัฐ ประโยชน์สำธำรณะ และประโยชน์ของเอกชนที่เกี่ยวข้องประกอบกัน (๖) ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรที่มีกฎหมำยคุ้มครองมิให้เปิดเผย หรือข้อมูลข่ำวสำร ที่มีผู้ให้มำโดยไม่ประสงค์ให้ทำงรำชกำรน ำไปเปิดเผยต่อผู้อื่น” มำตรำ ๑๗ “ในกรณีที่เจ้ำหน้ำที่ของรัฐเห็นว่ำ กำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ของรำชกำรใดอำจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของผู้ใด ให้เจ้ำหน้ำที่ของรัฐแจ้งให้ผู้นั้นเสนอค ำคัดค้ำน ภำยในเวลำที่ก ำหนด แต่ต้องให้เวลำอันสมควรที่ผู้นั้นอำจเสนอค ำคัดค้ำนได้ซึ่งต้องไม่น้อยกว่ำ ๑๕ วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้ง ผู้ที่ได้รับแจ้งตำมวรรคหนึ่ง หรือผู้ที่ทรำบว่ำกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร ของรำชกำรใดอำจกระทบถึงประโยชน์ได้เสียของตน มีสิทธิคัดค้ำนกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรนั้นได้ โดยท ำเป็นหนังสือถึงเจ้ำหน้ำที่ของรัฐผู้รับผิดชอบ ในกรณีที่มีกำรคัดค้ำน เจ้ำหน้ำที่ของรัฐผู้รับผิดชอบต้องพิจำรณำค ำคัดค้ำน และแจ้งผลกำรพิจำรณำให้ผู้คัดค้ำนทรำบโดยไม่ชักช้ำ ในกรณีที่มีค ำสั่งไม่รับฟังค ำคัดค้ำน เจ้ำหน้ำที่ ของรัฐจะเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรนั้นมิได้จนกว่ำจะล่วงพ้นก ำหนดเวลำอุทธรณ์ตำมมำตรำ ๑๘ หรือจนกว่ำคณะกรรมกำรวินิจฉัยกำรเปิดเผยข้อมูลข่ำวสำรได้มีค ำวินิจฉัยให้เปิดเผยข้อมูลข่ำวสำร นั้นได้แล้วแต่กรณี” ๒.๒ ระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๔ ระเบียบว่ำด้วยกำรรักษำควำมลับของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นกำรก ำหนด เพื่อจ ำกัดสิทธิในกำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำรหรืออำจจะเรียกว่ำเป็นข้อยกเว้นหรือเงื่อนไข ในกำรเปิดเผยก็ได้ โดยอำศัยอ ำนำจตำมควำมในมำตรำ ๑๖ และมำตรำ ๒๖ แห่งพระรำชบัญญัติข้อมูล ข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๐ กล่ำวคือเป็นกำรขยำยควำมเกี่ยวกับรำยละเอียดในกำรด ำเนินกำร เกี่ยวกับข้อมูลข่ำวสำรรำชกำรที่เปิดเผยมิได้หรือได้พิจำรณำแล้วว่ำไม่ต้องเปิดเผย แต่ก็ต้องอยู่ภำยใต้ กรอบของพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๐ เพื่อใช้เป็นแนวทำงส ำหรับ หน่วยงำนรำชกำรในกำรน ำไปปฏิบัติ ข้อมูลข่ำวสำรที่หน่วยงำนรัฐอำจไม่ต้องเปิดเผยแก่ประชำชนตำมระเบียบว่ำด้วย กำรรักษำควำมลับของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๔ ได้ก ำหนดให้ “ข้อมูลข่ำวสำรลับ” หมำยควำมว่ำ ข้อมูลข่ำวสำร ตำมควำมในมำตรำ ๑๔ หรือมำตรำ ๑๕ แห่งพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของรำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๐ ที่มีค ำสั่งไม่ให้เปิดเผยและอยู่ในควำมครอบครองหรือควบคุมดูแลของหน่วยงำนของรัฐ ไม่ว่ำจะเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับกำรด ำเนินงำนของรัฐหรือที่เกี่ยวกับเอกชน ซึ่งมีกำรก ำหนดให้มี ชั้นควำมลับเป็น ๓ ชั้น คือ ชั้นลับ ชั้นลับมำก หรือชั้นลับที่สุด ตำมระเบียบนี้โดยค ำนึงถึงกำรปฏิบัติ หน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐและประโยชน์แห่งรัฐประกอบกัน และก ำหนดให้ “ประโยชน์แห่งรัฐ”


Click to View FlipBook Version