The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

30 องค์ความรู้เพื่อนำไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Knowledge Management, 2023-07-25 00:08:59

30 องค์ความรู้เพื่อนำไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ

30 องค์ความรู้เพื่อนำไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ

๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๙๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ประเด็นปัญหำควำมเป็นอิสระของ อปท. อันเนื่องมำจำกหนังสือรำชกำร ก็คือ แม้ว่ำ หนังสือรำชกำรเหล่ำนี้จะอำศัยอ ำนำจตำมระเบียบข้อบังคับและประกำศกระทรวงมหำดไทยที่ตรำขึ้น ภำยใต้กฎหมำยระดับพระรำชบัญญัติก็ตำม แต่หนังสือเหล่ำนี้มักเป็นกำรก ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำร ปฏิบัติให้ อปท. ถือปฏิบัติตำม จึงเป็นเรื่องที่ต้องพิจำรณำว่ำอ ำนำจของหน่วยงำนที่ใช้ในกำรออกหนังสือ รำชกำรเหล่ำนี้ที่มีต่อ อปท. นั้นเป็นอ ำนำจกำรบังดับบัญชำกับ อปท. หรืออ ำนำจในเชิงก ำกับดูแลที่ ควบคู่กับหลักกำรให้ควำมเป็นอิสระแก่ อปท. ตำมหลักกำรกระจำยอ ำนำงและหลักแห่งกำรปกครอง ตนเอง ซึ่งองค์กรก ำกับดูแลน่ำจะไม่มีอ ำนำจสั่งกำรไห้องค์กรภำยใต้กำรก ำกับดูแลปฏิบัติตำมวิธีที่องค์กร ผู้ก ำกับดูแลเห็นเหมำะสมได้ ปัญหำด้ำนพฤติกรรมขององค์กรผู้ก ำกับดูแล และ อปท. บำงครั้งปัญหำควำมเป็นอิสระของ อปท. นั้นไม่ได้เกิดจำกกฎหมำย ระเบียบข้อบังคับ หรือประกำศกระทรวงขององค์กรผู้ก ำกับดูแลทั้งจำกส่วนกลำง และส่วนภูมิภำคซึ่งพฤติกรรมนี้อำจจะ เห็นได้จำกหนังสือรำชกำรซึ่งส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของกำรขอควำมร่วมมือและมีบำงส่วนที่อำจจะไม่มี หนังสือรำชกำร แต่เป็นเรื่องที่ขอควำมร่วมมือด้วยวำจำหรือทำงโทรศัพท์ ทั้งนี้ เมื่อพิจำรณำปัญหำควำม เป็นอิสระของ อปท. ที่เกิดจำกพฤติกรรมขององค์กรผู้ก ำกับดูแลและ อปท. จ ำแนกเป็น ๓ ดังนี้ ๑) ปัญหำที่เกี่ยวกับกำรก ำหนดนโยบำย กำรวำงแผนพัฒนำท้องอื่น - องค์กรผู้มีอ ำนำจก ำกับดูแลในส่วนกลำงมักจะมีหนังสือขอควำมร่วมมือให้ อปท. ด ำเนินโครงกำรต่ำงๆ ตำมมติ ครม. หรือตำมนโยบำยของรัฐมนตรีที่ผ่ำนทำงคณะรัฐมนตรี ซึ่งในหนังสือ ดังกล่ำวจะก ำหนดเป็นประเภทของโครงกำรมำชัดเจน มิใช่ก ำหนดมำเป็นแนวนโยบำยแล้วให้ อปท. วำง แนวปฏิบัติตำมนโยบำยได้เอง นอกจำกนั้น องค์กรผู้มีอ ำนำจก ำกับดูแลในส่วนภูมิภำคก็มักจะมีหนังสือ ขอควำมร่วมมือให้ อปท. บรรจุโครงกำรต่ำงๆ ของจังหวัดและอ ำเภอไว้ในแผนพัฒนำท้องถิ่น ซึ่ง อปท. มักจะมีควำมเกรงใจและต้องกำรควำมสะดวกในกำรปฏิบัติงำนรวมถึงกำรอนุมติร่ำงข้อบัญญัติ งบประมำณจึงให้ควำมร่วมมือ ในกรณีที่ไม่ให้ควำมร่วมมือด ำเนินกำร อปท. บำงแห่ง รู้สึกว่ำเป็น หน่วยงำนที่ไม่ให้กำรสนับสนุนต่อรัฐบำล และบำงครั้งก็จะโดนทวงถำมทั้งที่เป็นทำงกำร หรือในที่ประชุม ต่ำงๆ ท ำให้รู้สึกเป็นแกะด ำในจังหวัด วิธีกำรดังกล่ำวเกิดเป็นแนวทำงปฏิบัติระหว่ำงส่วนกลำงและส่วน ภูมิภำคกับท้องถิ่น - ในปัจจุบันมี อปท. หลำยแห่งได้เข้ำไปสนับสนุนโครงกำรต่ำงๆ ของหน่วยรำชกำร อื่นในพื้นที่ตำมที่มีกำรขอรับกำรสนับสนุน โดยเห็นว่ำกำรด ำเนินโครงกำรเหล่ำนั้นก็เป็นส่วนหนึ่งในกรอบ ภำรกิจของ อปท. และประโยชน์ของกำรจัดท ำโครงกำรหรือกิจกรรมต่ำงๆ ของหน่วยรำชกำรอื่นก็เกิดกับ ประชำชนในพื้นที่อย่ำงแท้จริง แต่หลำย อปท. ก็ประสบกับปัญหำกำรตรวจสอบกำรใช้เงินจำกส ำนักงำน คณะกรรมกำรตรวจเงินแผ่นดินว่ำเป็นกำรใช้เงินผิดไม่ตรงตำมที่กฎหมำยและระเบียบก ำหนดไว้บำงแห่งก็ ถูกเรียกเงินคืน แต่บำงครั้งก็ไม่มีปัญหำ ประเด็นนี้ เป็นเรื่องที่ขำดควำมแน่ชัดว่ำ อปท. มีควำมเป็นอิสระ ที่จะก ำหนดนโยบำยหรือแผนพัฒนำท้องถิ่นเพื่อด ำเนินกำรโครงกำรหรือกิจกรรมต่ำงๆ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์แก่ประชำชนในพื้นที่อย่ำงแท้จริง โดยไม่ต้องค ำนึงถึงว่ำกิจกรรมหรือกำรด ำเนินกำรเหล่ำนั้นมี หน่วยรำชกำรที่เป็นหน่วยรับงบประมำณอยู่แล้วได้หรือไม่ เพรำะบำงครั้งหน่วยรำชกำรเหล่ำนั้นก็ไม่ได้รับ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๙๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร กำรสนับสนุนงบประมำณหรือได้รับแต่ไม่เพียงพอ ขณะที่ อปท. บำงแห่งมีศักยภำพด้ำนกำรคลังเพียง พอที่จะร่วมสนับสนุนได้ถ้ำกิจกรรมหรือโครงกำรเหล่ำนั้นอ ำนวยประโยชน์แก่ประชำชนในท้องถิ่นโดยตรง ๒) ปัญหำที่เกี่ยวกับกำรคลังและงบประมำณ - รำยได้ที่ อปท. จัดหำได้เองมีฐำนภำษีที่แคบมำกคือมำจำกกำรจัดเก็บภำษีและ ค่ำธรรมเนียมไม่กี่ประเภท นอกจำกนั้น เป็นรำยได้จำกที่รัฐจัดเก็บให้และเงินที่รัฐจัดสรรให้ในรูปของเงิน อุดหนุน จึงดูเสมือนว่ำ อปท. ทุกแห่งทุกประเภทมีศักยภำพในกำรหำรำยได้ไม่เพียงพอต่อกำรบริหำร กิจกำรของ อปท. เอง ต้องพึ่งพิงจำกรัฐบำลอยู่ตลอด ดังนั้น กำรเข้ำมำแทรกแซงจึงมีโอกำสมำกขึ้นเพรำะ เห็นว่ำเป็นเงินจำกรัฐบำลกลำงมิใช่ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเอง - เนื่องจำกมีรำยได้ที่เป็นภำษีและค่ำธรรมเนียมหลำยประเภทที่หน่วยงำนอื่นของรัฐ จัดเก็บแล้วจัดสรรให้แก่ อปท. ซึ่งท ำให้หน่วยงำนต่ำงๆ เหล่ำนี้เห็นว่ำเป็นภำระหน้ำที่ที่เพิ่มขึ้นมำโดย หน่วยงำนของตนไม่ได้ประโยชน์ใดๆ จึงเริ่มมีกำรแทรกแซงควำมเป็นอิสระด้ำนงบประมำณโดยขอรับกำร สนับสนุนงบประมำณกำรจ้ำงลูกจ้ำงชั่วครำวให้แก่หน่วยงำนเหล่ำนี้มำกขึ้น - อปท. บำงแห่งไม่เห็นควำมส ำคัญของควำมพยำยำมในกำรบริหำรกำรจัดเก็บรำยได้ เพิ่มขึ้น เพรำะเห็นว่ำได้รับกำรจัดสรรเงินอุดหนุนมำกพอสมควรซึ่งในปัจจุบันมีอิสระในกำรใช้มำก จึงไม่ เห็นควำมจ ำเป็นที่จะต้องเพิ่มศักยภำพทำงกำรบริหำรกำรจัดเก็บรำยได้เองให้เพิ่มขึ้นเพรำะได้รับกำร สนับสนุนงบประมำณอยู่แล้ว และกำรจัดเก็บยังอำจส่งผลกระทบทำงลบต่อกำรเลือกตั้งอีกด้วย - มีกำรแทรกแซงควำมเป็นอิสระค้ำนงบประมำณของ อปท. จำกส่วนกลำงและส่วน ภูมิภำคในลักษณะของกำรขอควำมร่วมมือสนับสนุนโดยตั้งอยู่บนฐำนของควำมสัมพันธ์เชิงอ ำนำจระหว่ำง ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำคที่เป็นองค์กรก ำกับดูแลกับส่วนท้องถิ่นที่อยู่ภำยใต้กำรก ำกับดูแล ซึ่งโดยส่วนใหญ่ อปท. ก็ต้องให้ควำมร่วมมือเพื่อควำมสะดวกในกำรท ำงำนร่วมกันในพื้นที่และกำรอนุมัติข้อบัญญัติ งบประมำณรำยจ่ำย - กำรใช้อ ำนำจขององค์กรผู้ก ำกับดูแลในกำรก ำหนดวิธีกำรเบิกจ่ำยงบประมำณและ ยกเว้นกำรปฏิบัติตำมระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรรับเงิน กำรเบิกจ่ำยเงิน กำรฝำกเงิน กำรเก็บ รักษำเงิน และกำรตรวจเงินขององค์กรปกดรองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อสนับสนุนโครงกำรต่ำงๆ ขององค์กรผู้ก ำกับดูแล เท่ำกับเป็นกำรชี้ช่องทำงกำรหลีกเสี่ยงหรือ ใช้ช่องว่ำงของกฎ ระเบียบต่ำงๆ ให้แก่ท้องถิ่นและยังเป็นกำรเสริมสร้ำงพฤติกรรมกำรปฏิบัติรำชกำรที่ไม่ สมควรอีกด้วย ๓) ปัญหำที่เกี่ยวกับกำรบริหำรงำนบุคคล - ผู้บริหำร อปท. ฝ่ำยกำรเมืองมีอิสระในกำรบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่นมำกเกินไป จนท ำให้ระบบกำรบริหำรงำนบุคคลขำดหลักคุณธรรมเกิดระบบอุปถัมภ์ และไม่มีประสิทธิภำพในกำรพัฒนำ ท้องถิ่น อันเนื่องมำจำกพฤติกรรมของผู้บริหำร อปท. บำงคนทั้งในเรื่องของกำรสรรหำ กำรตัดเลือก กำร บรรจุแต่งตั้ง กำรย้ำย กำรโอน กำรรับโอน กำรเลื่อนระดับ กำรเลื่อนต ำแหน่ง - กำรมีองค์กรกลำงในกำรบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่นหลำยระดับและหลำยองค์กร คือมี ๓ ระดับ และแยกตำมประเภทของ อปท. ซึ่งท ำให้ระบบกำรบริหำรงำนบุคคลของท้องถิ่นบำงครั้ง ล่ำช้ำเพรำะมีขั้นตอนมำก และไม่เป็นมำตรฐำนหรือมีบรรทัดฐำนเดียวกันอย่ำงแท้จริงทั้งระหว่ำงประเภท


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๙๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร องค์กรและระหว่ำงจังหวัดในกำรวินิจฉัย ตีควำมกฎหมำย ระเบียบ ประกำศต่ำงๆ ท ำให้เกิดควำมเหลื่อม ล้ ำระหว่ำงประเภทองค์กรหรือเกิดกำรได้เปรียบเสียเปรียบกันขึ้นของข้ำรำชกำร/พนักงำนส่วนท้องถิ่น - อ ำนำจด้ำนกำรบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่นที่ผู้บริหำรฝ่ำยกำรเมืองมีอยู่นั้น บ่อยครั้งที่ก่อให้เกิดปัญหำจนผู้บริหำรฝ่ำยรำชกำรประจ ำไม่สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ใน อปท. นั้นได้และก็ไม่ สำมำรถย้ำยไปปฏิบัติหน้ำที่ที่อื่นได้ ท ำให้ผู้บริหำรเหล่ำนี้ต้องไปช่วยรำชกำรอยู่ที่ส ำนักงำนท้องถิ่น จังหวัดและอ ำเภอ ซึ่งเป็นกำรสูญเสียก ำลังคนในกำรปฏิบัติรำชกำรไปอย่ำงมำก และอำจท ำให้งำน รำชกำรเสียหำยได้ เพระ อปท. ก็ต้องให้ผู้อื่นมำรักษำกำรแทน - อ ำนำจในกำรโอน กำรรับโอน ซึ่งอยู่ที่ผู้บริหำรฝ่ำยกำรเมือง ท ำให้ อปท. หลำยแห่งมีข้ำรำชกำร/พนักงำนที่โอนเข้ำมำถูกมองว่ำเป็นคนของผู้บริหำร และเมื่อมีกำรเปลี่ยนแปลง ผู้บริหำรฝ่ำยกำรเมืองเมื่อมีกำรเลือกตั้งใหม่ ท ำให้ข้ำรำชกำร/พนักงำนส่วนท้องถิ่นเหล่ำนั้นถูกมองว่ำเป็น คนของผู้บริหำรคนเก่ำไม่สำมำรถปฏิบัติงำนอยู่ที่เดิมได้ ต้องหำทำงโอนไปอยู่ที่ อปท. อื่น สำเหตุพฤติกรรมในกำรก ำกับดูแลอันส่งผลให้เกิดปัญหำควำมเป็นอิสระในกำร บริหำรงำนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้ดังนี้ - เนื่องจำกปัจจุบันมีกำรกระจำยอ ำนำจให้แก่ท้องถิ่นมำกทั้งด้ำนภำรกิจด้ำนงบประมำณ และต้ำนกำรบริหำรบุคคล และลดบทบำทภำรกิจของรำชกำรส่วนกลำงและส่วนภูมิภำคลงไปตำมแนว ทำงกำรปฏิรูประบบรำชกำร ดังนั้น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะได้รับกำรจัดสรรงบประมำณส ำหรับ ปฏิบัติภำรกิจต่ำงๆ ที่มีกำรถ่ำยโยนมำจำกส่วนกลำงและส่วนภูมิภำคในรูปของเงินอุดหนุนมำกขึ้น และ ค่อนข้ำงมีอิสระมำกในกำรตั้งงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีขณะที่รำชกำรส่วนกลำงและส่วนภูมิภำคกลับ ได้รับกำรจัดสรรด้ำนงบประมำณและก ำลังคนลดน้อยลง ท ำให้หน่วยรำชกำรต่ำงๆ เห็นว่ำ อปท. เป็น หน่วยงำนที่มีงบประมำณพอที่จะสนับสนุนให้แก่หน่วยงำนอื่นได้ ประกอบกับหน่วยงำนต่ำง ๆ ที่ขอควำม ร่วมมือสนับสนุนจำก อปท. นั้น มักเป็นหน่วยงำนที่มีควำมเกี่ยวข้องเชื่อมโยงในเรื่องของกำรจัดเก็บรำยได้ ให้แก่ อปท. หรือเป็นหน่วยงำนในสังกัดกระทรวงเดียวกันที่เห็นช่องทำงในกำรปฏิบัติอยู่แล้ว - กำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่นของไทยเพิ่งมีกำรพัฒนำให้เป็นไปตำมหลักกำรกระจำย อ ำนำจและตำมหลักกำรปกครองตนเอง (Local-Self Government) หลังกำรประกำศใช้รัฐธรรมนูญฯ ซึ่งได้มีกำรบัญญัติถึงให้ควำมเป็นอิสระแก่ท้องถิ่นควบคู่กับกำรบัญญัติด้ำนกำรก ำกับดูแลท้องถิ่นเอำไว้ โดยองค์กรผู้มีอ ำนำจก ำกับดูแล อปท. คือ กระทรวงมหำดไทย (รวมถึงกรมส่งเสริมกำรปกรองส่วน ท้องถิ่น) และส่วนภูมิภำค (คือ จังหวัดและอ ำเภอ) ก็คือองค์กรเดิมที่เคยมีอ ำนำจในเชิงกำรบังคับบัญชำ อปท. ดังนั้น ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงองค์กรผู้ก ำกับดูแลกับ อปท. ยังคงมีควำมสัมพันธ์เชิงอ ำนำจแฝงอยู่ใน พฤติกรรมกำรก ำกับดูแล - ลักษณะของสังคมไทยเป็นสังคมแบบอุปถัมภ์ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในสังคมชนบท และ สังคมกึ่งเมืองกึ่งชนบท และตำมรัฐธรรมนูญฯ ได้ก ำหนดให้ผู้บริหำรท้องถิ่นจะต้องมำจำกกำรเลือกตั้งของ ประชำชน ซึ่งมีทั้งจุดแข็งและจุดอ่อน โดยมีจุดอ่อนที่ส ำคัญประกำรหนึ่ง คือ กำรบริหำรงำนแต่ละอย่ำงของ ผู้บริหำรท้องถิ่นต้องค ำนึงถึงผลทำงกำรเมืองตลอดเวลำ จึงท ำให้ไม่สมำรถปฏิเสธกำรขอควำมช่วยเหลือ กำรอุปถัมภ์ต่ำงๆ จำกประชำชนในพื้นที่ได้ เมื่อกฎหมำยให้อ ำนำจเต็มที่ในด้ำนกำรสรรหำ กำรคัดเลือก


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๙๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร กำรบรรจุแต่งตั้งคนเข้ำมำด ำรงต ำแหน่งในองค์กรตำมหลักควำมเป็นอิสระด้ำนกำรบริหำรงำนบุคคลจึงท ำ ให้เกิดระบบอุปถัมภ์ขึ้นในกำรบริหำรงำนบุคคลของ อปท. หลำยแห่ง ๔. บทสรุปและอภิปรายผล กำรศึกษำปัญหำควำมเป็นอิสระในกำรบริหำรงำนของภำครัฐกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น กำรศึกษำในเบื้องต้นว่ำกำรบริหำรงำนของภำครัฐส่วนกลำงเป็นไปตำมบทบัญญัติของกฎหมำย ที่บังคับใช้ใน ปัจจุบันหรือไม่ มีควำมเป็นมำ ข้อดี และข้อจ ำกัดอย่ำงไร เพื่อน ำไปสู่ข้อเสนอแนะกำรบริหำรงำนระหว่ำงรัฐ ส่วนกลำงกับท้องถิ่นอย่ำงมีประสิทธิภำพ อันจะส่งผลให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีศักยภำพในกำร จัดบริกำรสำธำรณะและแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนของประชำชนในพื้นที่ได้อย่ำงแท้จริง ทั้งนี้ กำรศึกษำจำก บทบัญญัติของกฎหมำย เอกสำร รำยงำนกำรศึกษำที่เกี่ยวข้องกับกำรบริหำรงำนภำครัฐและควำมสัมพันธ์กำร บริหำรรำชกำรส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค และส่วนท้องถิ่น พบว่ำจำกกำรบริหำรรำชกำรทั้ง ๓ ระดับ แบ่งเป็น รำชกำรส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค และส่วนท้องถิ่น อันจะส่งผลต่อกำรบริหำรงำนภำครัฐในปัจจุบันที่อำจไม่ตอบ โจทย์ควำมต้องกำรของ อปท. ดังนั้น จึงได้ท ำกำรศึกษำปัญหำควำมอิสระในกำรบริหำรงำนระหว่ำงรัฐ ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำคกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อหำแนวทำงแก้ไขให้สำมำรถเกิดกำรพัฒนำและ ปรับปรุงแก้ไขให้เกิดประสิทธิภำพและตอบสนองต่อประชำชนได้อย่ำงเต็มที่ โดยสำมำรถสรุปผลได้ดังนี้ ปัญหาด้านหลักการและกฎหมาย ควำมเป็นอิสระของ อปท. ถูกก ำหนดขึ้นภำยใต้หลักกำรและกรอบกฎหมำยต่ำงๆ ท ำให้เกิด ปัญหำเรื่องกำรท ำควำมเข้ำใจใน ค ำว่ำ "ควำมเป็นอิสระ" ว่ำเป็นควำมอิสระที่ปรำศจำกกำรก ำกับดูแล ท ำ ให้ต้องกำรควำมเป็นอิสระในหลำยๆ เรื่องที่มำกกว่ำที่เป็นอยู่ ทั้งนี้ จำกกำรบัญญัติเรื่องควำมเป็นอิสระ ของ อปท. ในกฎหมำยรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ ไว้ในมำตรำ ๗๘ และได้มี กำรขยำยควำมในมำตรำอื่นๆ แต่ในควำมเป็นจริงผู้ปฏิบัติยังเกิดควำมเข้ำใจไม่ตรงกัน ท ำให้เกิดข้อสังเกต ว่ำกำรกระท ำบำงอย่ำงอำจเป็นกำรลิดรอนควำมเป็นอิสระของท้องถิ่น โดยเฉพำะควำมเข้ำใจที่ไม่ตรงกัน ระหว่ำงองค์กรผู้ก ำกับดูแลกับผู้ถูกก ำกับดูแล อีกทั้ง เรื่องกำรก ำกับดูแลซึ่งถูกบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญฯ ยังขำดกรอบกำรใช้อ ำนำจที่ชัดเจนท ำให้ไม่กล้ำใช้อ ำนำจหรือในทำงตรงกันข้ำม ในประเด็นนี้ท ำให้เกิด กำรใช้อ ำนำจบิดเบือนหรือเกินขอบเขต หรือครอบง ำ อปท. ได้ กลำยเป็นเรื่องของกำรใช้ดุลพินิจของผู้ใช้ อ ำนำจก ำกับดูแล ส่งผลต่อควำมเป็นอิสระของท้องถิ่น รวมถึงประเด็นกฎหมำยกำรบริหำรงำนบุคคล ก ำหนดเรื่ององค์กรกลำงกำรบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่นให้มีถึง ๓ ระดับ และแยกประเภทชัดเจน โดย โครงสร้ำงของคณะกรรมกำรพนักงำนส่วนท้องถิ่นยังถูกบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญให้มีลักษณะเป็นไตรภำคี และก ำหนดให้มีตัวแทนของท้องถิ่นเป็นกรรมกำรเพียงแค่ส่วนเดียว แต่กลับมีตัวแทนของรำชกำรส่วน ภูมิภำคและกรรมกำรผู้ทรงคุณวุฒิจำกรัฐส่วนกลำงเข้ำมำเป็นคณะกรรมกำรด้วย ซึ่งจะท ำให้ อปท. เสีย ควำมเป็นอิสระในกำรบริหำรงำนบุคคล กำรปฏิบัติงำนในหลำยๆ ขั้นตอนจะต้องผ่ำนกำรเห็นชอบของ บุคลำกรจำกส่วนภูมิภำคที่ร่วมเป็นกรรมกำร ทั้งๆ ที่มิใช่ผู้ปฏิบัติงำนหรือรับทรำบปัญหำจำกประชำชน โดยตรง


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๙๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ ปัญหำของกำรออกกฎระเบียบกำรก ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อปฏิบัติ โดยมิได้ มีอ ำนำจและไม่ถูกต้องตำมบทบัญญัติของกฎหมำย ท ำให้เกิดควำมเสียหำยแก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ซึ่งเมื่อโดยเฉพำะ อปท. ระดับล่ำง ซึ่งในประเทศอังกฤษได้มีกำรก ำหนดให้มี “คณะกรรมกำร มำตรฐำนกลำง” ที่ท ำหน้ำที่ในกำรก ำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวทำงในกำรปฏิบัติของท้องถิ่น รวมถึงมี หน้ำที่ในกำรตรวจสอบกำรท ำงำนของท้องถิ่นว่ำปฏิบัติตำมแนวทำงที่ก ำหนดหรือไม่ และมีหน้ำที่แนะน ำ แนวทำงที่ก ำหนดให้กับฝ่ำยนิติบัญญัติออกเป็นกฎหมำยมำบังคับใช้กับองค์กรส่วนท้องถิ่นต่อไป ในส่วน ของประเทศไทยจะพบว่ำ กำรก ำหนดกำรออกกฎหมำยที่เป็นเรื่องมำตรฐำนกลำงยังคงเป็นปัญหำมำก เพรำะเรื่องดังกล่ำวยังคงไม่มีข้อก ำหนดหรือแนวทำงปฏิบัติที่ชัดเจน ส่งผลท ำให้มีกำรตีควำมอย่ำงกว้ำง และใช้อ ำนำจในกำรตีควำมให้ผู้มีหน้ำที่ก ำกับดูแลสำมำรถออกกฎหมำยมำบังคับใช้กับ อปท. โดยกำรอ้ำง เรื่องมำตรฐำนกลำงมำเป็นเหตุผล ท ำให้เกิดปัญหำหลำยอย่ำงติดตำมมำซึ่งข้อผิดพลำดที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยนั้นจะต้องน ำแนวคิดและวิธีปฏิบัติตำมแบบอย่ำงในต่ำงประเทศมำเป็นแนวทำงในกำรปฏิบัติ เพื่อให้ปัญหำกำรออกกฎหมำยที่ไม่มีอ ำนำจของผู้ที่หน้ำที่ก ำกับดูแล อปท. หมดไป กำรแก้ไขในกรณีดังกล่ำว นอกจำกกำรยกเลิกกฎหมำยแล้วควรให้มีกำรน ำแนวคิดและวิธีกำร ปฏิบัติของต่ำงประเทศมำใช้บังคับแทน เช่น กำรก ำหนดให้มีคณะกรรมกำรมำตรฐำนกลำงเป็นผู้มีหน้ำที่ ในกำรก ำหนด หลักเกณฑ์ วิธีกำรต่ำงๆ ในกำรที่จะน ำมำออกเป็นกฎหมำยเพื่อน ำมำบังคับใช้ในกำร ด ำเนินกำรในเรื่องต่ำงๆ ต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำมรูปแบบของประเทศอังกฤษ และ คณะกรรมกำรนี้ยังมีหน้ำที่ในกำรตรวจสอบประเมินผลกำรด ำเนินงำนตำมกรอบของกฎหมำย ซึ่งถือว่ำ เป็นกลไกที่เหมำะสมที่จะน ำมำปรับใช้ในประเทศไทย เพรำะในปัจจุบันประเทศไทยยังไม่สำมำรถก ำหนด กรอบและมำตรฐำนกลำงในกำรก ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ มีเพียงรัฐธรรมนูญที่ก ำหนดให้มี มำตรฐำนกลำงในกำรควบคุมก ำกับดูแลเท่ำนั้น ท ำให้หน่วยงำนรำชกำรบริหำรส่วนกลำง ได้อำศัย แนวทำงในกำรตีควำมเรื่องมำตรฐำนกลำงอย่ำงกว้ำงแต่เพียงฝ่ำยเดียวเพื่อออกกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับ เรื่องมำตรฐำนกลำงมำควบคุมองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ปฏิบัติตำม โดยไม่มีกฎหมำยให้อ ำนำจไว้ เป็นกำรขัดกับทฤษฎีกำรก ำกับดูแลอย่ำงชัดเจน กล่ำวโดยสรุป กระทรวงมหำดไทยได้ใช้อ ำนำจเกินขอบเขตกว่ำที่กฎหมำยก ำหนดท ำให้ ประเทศไทยควรมีกำรน ำแนวคิดเรื่อง คณะกรรมกำรมำตรฐำนกลำงมำปรับใช้ในประเทศไทย โดยเน้น คณะกรรมกำรดังกล่ำวเป็นหน่วยงำนกลำงที่มีหน้ำที่ในกำรก ำหนด หลักเกณฑ์ วิธีกำรและเงื่อนไขที่ ชัดเจน สอดคล้องและเหมำะสมกับรูปแบบของกำรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเรื่องต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้ตรำ เป็นกฎหมำยที่ผ่ำนกำรพิจำรณำโดยรัฐสภำ แล้วน ำมำบังคับใช้เป็นแนวทำงและมำตรฐำนกลำงให้ อปท. เพื่อปฏิบัติต่อไป อีกทั้งยังเป็นหน่วยงำนกลำงที่มีหน้ำที่ในกำรตรวจสอบและควบคุมกำรบังกับใช้กฎหมำย ในส่วนมำตรฐำนกลำงในกำรก ำกับดูแลแทนรำชกำรบริหำรส่วนกลำงอีกทำงหนึ่ง เพื่อให้ อปท. สำมำรถ ด ำเนินกำรตำมเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ต่อไป และป้องกัน ควำมเสียหำยจำกผลของกำรออกกฎที่ไม่มีกฎหมำยให้อ ำนำจ หรือกำรออกกฎที่ผิดขั้นตอนกำรตรำ กฎหมำยมำก ำกับดูแล อปท. ให้ด ำเนินงำนตำมแต่ที่รำชกลำงบริหำรส่วนกลำงต้องกำรเท่ำนั้น ซึ่งผิดต่อ หลักกำรก ำกับดูแลและหลักกำรตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยนั้นเอง


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๙๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ปัญหาด้านระเบียบข้อบังคับที่เป็นการก ากับดูแลทางอ้อม ปัญหำกำรก ำกับดูแลโดยอ้อมด้วยกำรวำงกฎ ระเบียบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติ กฎหมำยจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก ำหนดให้กระทรวงมหำดไทยมีอ ำนำจหน้ำที่ในกำรออกกฎ ระเบียบให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือปฏิบัติ โดยอำจก ำหนดในรูปของพระรำชกฤษฎีกำ กฎกระทรวง ประกำศกระทรวง ระเบียบ ข้อบังคับ และหนังสือก ำหนดแนวทำงปฏิบัติ ทั้งนี้ เพื่อก ำหนดรำยละเอียดใน กำรด ำเนินงำนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งไม่อำจก ำหนดไว้ในพระรำชบัญญัติได้ และเพื่อให้ สำมำรถปรับเปลี่ยนได้ตำมสภำพกำรณ์กระทรวงมหำดไทยได้ออกกฎ ระเบียบให้องค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเทศบำล อบจ. และ อบต. ถือปฏิบัติเป็นจ ำนวนมำก โดยส่วนใหญ่มักใช้ มำตรฐำนเดียวกับที่ใช้บังคับกับข้ำรำชกำรพลเรือน เช่น ระเบียบเกี่ยวกับกำรพัสดุ ระเบียบเกี่ยวสิทธิ ประโยชน์และสวัสดิกำร ระเบียบเกี่ยวกับเงินเดือน ค่ำจ้ำง และค่ำตอบแทน เป็นต้น จึงท ำให้เกิดปัญหำ ในกำรปฏิบัติงำน ได้แก่ กำรบริหำรรำชกำรส่วนท้องถิ่นมีควำมแตกต่ำงกับรำชกำรพลเรือนในหลำยๆ ประเด็นทั้งในเรื่องภำรกิจหน้ำที่ ลักษณะทำงกำยภำพของพื้นที่ ลักษณะขององค์กร แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ กำรแก้ไขในกรณีดังกล่ำว จำกกำรศึกษำแนวคิดของอนุชำ ฮุนสวัสดิกุล และคณะ จำกหนังสือ เรื่อง กำรศึกษำรูปแบบและวิธีกำรก ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้น ำเสนอแนวทำงในกำรแก้ไข ปัญหำดังนี้ ๑. ปัญหำส่วนหนึ่งเกิดจำกบทบัญญัติของกฎหมำยที่ไม่เหมำะสม ไม่สอดคล้องกับสภำพกำรณ์ ในปัจจุบันของ อปท. และข้ำรำชกำรส่วนท้องถิ่น ดังนั้น จึงควรแก้ไขเพิ่มเติมระเบียบให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งเทศบำล อบจ. และ อบต. ให้เป็นไปตำมเหมำะสม ๒. ควรเผยแพร่ควำมรู้เกี่ยวกับกฎหมำยพระรำชบัญญัติวิธีปฏิบัติรำชกำรทำงปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ให้กับผู้เกี่ยวช้องได้มีควำมรู้ควำมเข้ำใจมำกยิ่งขึ้น และสำมำรถน ำไปปฏิบัติได้อย่ำงถูกต้อง ซึ่งจะ ท ำให้ไม่เกิดข้อบกพร่องในกำรใช้อ ำนำจก ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ๓. ควรได้มีกำรรวบรวมแนวค ำวินิจฉัยชองศำลปกครองที่เกี่ยวข้องและเผยแพรให้ผู้เกี่ยวข้อง ได้ทรำบ เพื่อใช้เป็นบรรทัดฐำนหรือแนวทำงในกำรปฏิบัติงำน ซึ่งจะช่วยลดปัญหำกำรใช้ดุลพินิจโดยไม่ ชอบด้วยกฎหมำยได้ทำงหนึ่ง ๔. ควรได้มีกำรตรวจสอบกฎหรือระเบียบต่ำง ๆ ที่ก ำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปฏิบัติว่ำสอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ และกฎหมำยที่เกี่ยวข้องหรือไม่ รวมทั้งมีควำม เหมำะสมและเอื้อต่อกำรบริหำรงำนให้มีประสิทธิภำพและประสิทธิผลหรือไม่ด้วย รวมทั้งยกเลิกกำรออก หนังสือเวียนก ำหนดแนวทำงให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปฏิบัติที่เป็นกำรจ ำกัดกำรใช้ดุลพินิจเกินกว่ำ ที่กฎหมำยให้อ ำนำจไว้ นอกจำกนั้น ควรก ำหนดแนวทำงปฏิบัติเกี่ยวกับกำรยกเว้นหรือผ่อนผันกำรปฏิบัติ ตำมระเบียบให้ชัดเจนยิ่งขึ้น ๕. ควรก ำหนดแนวทำงเกี่ยวกับกำรยุบสภำท้องถิ่นโดยละเอียดส ำหรับเป็นคู่มือให้กับ ผู้เกี่ยวข้องได้ถือปฏิบัติ โดยอำจปรับปรุงจำกหนังสือเวียนเดิมโดยเพิ่มเติมในส่วนของกฎหมำยปกครอง ใหม่ๆ ให้ครบถ้วนสมบูรณ์ ซึ่งช่วยลดข้อบกพร่องที่อำจจะเกิดขึ้นได้


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๒๙๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ปัญหาการก าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติ ในกำรบริหำรรำชกำรเกี่ยวกับ อปท. จะมีหนังสือรำชกำรที่ออกจำกหน่วยรำชกำรส่วนกลำง และรำชกำรส่วนภูมิภำคที่ท ำหน้ำที่ก ำกับดูแลซึ่งเป็นกำรก ำหนดแนวทำงปฏิบัติให้แก่ อปท. ในหลำยๆ เรื่องที่เป็นกำรด ำเนินกำรในส ำนักงำนที่ต้องกระท ำเป็นประจ ำทุกปี แม้ว่ำหนังสือรำชกำรเหล่ำนี้จะอำศัย อ ำนำจตำมระเบียบข้อบังคับและประกำศกระทรวงมหำดไทยที่ตรำขึ้นภำยใต้กฎหมำยระดับ พระรำชบัญญัติก็ตำม แต่หนังสือเหล่ำนี้มักเป็นกำรก ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรปฏิบัติให้ อปท. ถือ ปฏิบัติตำม ซึ่งสังเกตได้ว่ำหน่วยงำนที่ออกหนังสือรำชกำรเหล่ำนี้ใช้อ ำนำจที่เหมำะสมหรือไม่ หรือเป็น กำรใช้อ ำนำจที่เกินขอบเขตขององค์กรผู้ก ำกับดูแล ทั้งนี้ อำจพิจำรณำได้ว่ำเป็นกำรใช้อ ำนำจกำรบังคับ บัญชำกับ อปท. หรืออ ำนำจในเชิงก ำกับดูแลที่ควบคู่กับหลักกำรให้ควำมเป็นอิสระแก่ อปท. ซึ่งองค์กร ก ำกับดูแลน่ำจะไม่มีอ ำนำจสั่งกำรไห้องค์กรภำยใต้กำรก ำกับดูแลปฏิบัติตำมวิธีที่องค์กรผู้ก ำกับดูแลเห็น เหมำะสมได้ แนวทำงกำรแก้ไขปัญหำ กรณีกำรออกหนังสือรำชกำรโดยอำศัยอ ำนำจตำมระเบียบข้อบังคับและประกำศ กระทรวงมหำดไทยเพื่อให้ อปท. ปฏิบัติตำมเกณฑ์ที่ก ำหนด ซึ่งองค์กรก ำกับดูแลจะไม่มีอ ำนำจสั่งกำรไห้ องค์กรภำยใต้กำรก ำกับดูแลปฏิบัติตำมวิธีที่องค์กรผู้ก ำกับดูแลเห็นเหมำะสมได้ อันจะที่ขัดต่อหลักกำร ทำงกฎหมำยและบทบัญญัติตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ เห็นควรให้มีกำร ยกเลิกมำตรำ ๕๐ วรรคสอง แห่งพระรำชบัญญัติเทศบำล พ.ศ. ๒๔๙๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่ก ำหนดให้ กระทรวงมหำดไทยมีอ ำนำจในกำรออกหลักเกณฑ์และวิธีกำรตำมที่กระทรวงมหำดไทยต้องกำรในกำร ตรำกฎหมำย เพื่อน ำมำบังคับใช้ในกำรก ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตลอดจนกำรยกเลิก ข้อบังคับในระเบียบที่ตรำโดยกระทรวงมหำดไทย เช่น ๑) ข้อ ๕ ของระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วย ค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดเก็บภำษีบ ำรุงท้องที่นอกเขตเทศบำล (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๑๖ ๒) ข้อ ๘๗ วรรค ๒ ของ ระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยกำรรับเงิน กำรเบิกจ่ำย กำรฝำกเงิน กำรเก็บรักษำเงิน และกำรตรวจ เงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๗ ๓) ระเบียบกระทรวงมหำดไทยว่ำด้วยหลักเกณฑ์ และ วิธีกำรน ำเงินรำยได้สถำนศึกษำไปจัดสรรเป็นค่ำใช้จ่ำยในกำรจัดกำรศึกษำในสถำนศึกษำสังกัดองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งกำรบังคับใช้จำกระเบียบดังกล่ำวส่งผลเสียหำยแก่ อปท. อย่ำงมำก และเป็นกำรบังคับใช้กฎหมำยที่ขัดต่อบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญอย่ำงชัดเจน จำกกำรศึกษำพบว่ำ ในหลำยประเทศมีกำรก ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศ ของตน โดยกำรวำงหลักเกณฑ์และองค์กรที่จะเข้ำมำก ำกับดูแลอย่ำงชัดเจน เช่น ในประเทศญี่ปุ่น มีกำร ตรำกฎหมำยว่ำด้วยกำรปกครองตนเองของท้องถิ่น พ.ศ. ๑๙๔๗ โดยกฎหมำยฉบับนี้เป็นกฎหมำยที่จัด ประเภท และโครงสร้ำงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งก ำหนดควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยยึดหลักควำมเป็นอิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นส ำคัญ ตลอดจน ก ำหนดบทบำทและหน้ำที่ในกำรก ำกับดูแลอย่ำงชัดเจน ซึ่งในกฎหมำยดังกล่ำวได้ก ำหนดให้มีกำรก ำหนด มำตรฐำนกลำงขึ้น เพื่อเป็นหลักเกณฑ์ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะปฏิบัติตำม โดยมำตรฐำนนี้จะต้อง เป็นมำตรฐำนขั้นต่ ำเท่ำที่จ ำเป็นต่อกำรด ำเนินงำนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้ด ำเนินงำน บรรลุผลเท่ำนั้น


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ประเทศอังกฤษเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีกำรก ำหนดแนวทำงกำรก ำกับดูแลอย่ำงชัดเจน คือ กำรจัดตั้งผู้ตรวจกำรท้องถิ่น เพื่อแยกอ ำนำจจำกรำชกำรบริหำรส่วนกลำงอย่ำงชัดเจน โดยองค์กร ผู้ตรวจกำรท้องถิ่นมีหน้ำที่ในกำรแนะน ำกำรด ำเนินงำนของท้องถิ่น และเสนอแนะแนวทำงที่เป็น ประโยชน์แก่ท้องถิ่น ในกำรด ำเนินงำนต่ำงๆ ตลอดจนมีหน้ำที่ประเมินกำรด ำเนินงำนว่ำมีประสิทธิภำพ หรือไม่ และตรวจสอบกำรด ำเนินงำนปฏิบัติงำนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่ำ มีกำรด ำเนินงำน ปฏิบัติงำนตำมที่กฎหมำยก ำหนดหรือไม่ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศไทย พบว่ำ กำรอำศัยอ ำนำจในกำรตรำระเบียบของกระทรวง มหำดไทยในกำรใช้ก ำกับดูแล อปท. ยังคงเป็นปัญหำเพรำะกำรตรำระเบียบข้อบังคับต่ำงๆ ของ กระทรวงมหำดไทยเป็นกำรตรำกฎที่อำศัยอ ำนำจจำกพระรำชบัญญัติจัดตั้งท้องถิ่น ที่มีกำรตรำโดยขัดต่อ หลักกำรปกครองตนเองและควำมเป็นอิสระ ตลอดจนมีกำรตรำกฎหมำยที่เพิ่มอ ำนำจให้กับตนเองใน หลำยกรณี ส่งผลท ำให้เกิดปัญหำต่ำงๆ ติดตำมมำซึ่งข้อผิดพลำดดังกล่ำว ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย จะต้อง น ำแนวควำมคิด และวิธีปฏิบัติตำมแบบอย่ำงของต่ำงประเทศมำแก้ไขปัญหำกำรตรำระเบียบข้อบังคับที่ ขัดต่อหลักทฤษฎีกำรก ำกับดูแลและบทบัญญัติที่รับรองไว้ในรัฐธรรมนูญของกระทรวงมหำดไทยให้หมดไป นอกจำกกำรยกเลิกกฎหมำยแล้ว ควรมีกำรน ำวิธีกำรปฏิบัติและแนวคิดตำมทฤษฎีมำบังคับ ใช้แทน เช่น กำรน ำหลักกำรของประเทศญี่ปุ่นในกำรออกกฎหมำยเพียง ๑ ฉบับ แต่ครอบคลุมกำร ด ำเนินงำนและก ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มำใช้เพื่อป้องกันกำรตรำกฎจ ำนวนมำกที่เป็นกำร เพิ่มอ ำนำจของผู้ออกกฎหมำย หรือในประเทศอังกฤษกำรก ำหนดองค์กรผู้ตรวจกำรท้องถิ่นเพื่อแยก อ ำนำจกำรก ำกับดูแลอย่ำงชัดเจน ระหว่ำงผู้ออกกฎหมำย และผู้ใช้อ ำนำจก ำกับดูแล อปท. เพรำะใน ปัจจุบันประเทศไทยได้ให้อ ำนำจกำรออกกฎ และอ ำนำจกำรก ำกับดูแลแก่ผู้ใช้อ ำนำจเพียงหน่วยงำนเดียว ส่งผลท ำให้เกิดกำรตรำกฎหมำยที่เอื้อประโยชน์ให้แก่ตนเอง ท ำให้หน่วยงำนบริหำรรำชกำรส่วนกลำงได้ อำศัยกำรตีควำมกฎหมำยและอ ำนำจหน้ำที่ของตน ตรำกฎหมำยที่มีช่องว่ำงเพื่อเพิ่มอ ำนำจของตนเอง และเพื่อให้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติตำมที่ตนเองต้องกำรเท่ำนั้น กำรกระท ำดังกล่ำวเป็น ควำมผิดอย่ำงร้ำยแรง และขัดต่อทฤษฎีกำรกระจำยอ ำนำจ หลักกำรควำมเป็นอิสระในกำรปกครอง ตนเองของท้องถิ่นอย่ำงร้ำยแรงนั่นเอง ทั้งนี้ ในกรณีปัญหำกำรออกหนังสือเวียนสั่งกำรของกระทรวงมหำดไทย เห็นควรให้มีกำร ยกเลิกหนังสือเวียนสั่งกำรของกระทรวงมหำดไทย เนื่องจำกกำรออกหนังสือเวียนสั่งกำรของ กระทรวงมหำดไทยนั้น เป็นกำรก ำกับดูแลโดยมิได้ใช้กฎหมำยที่มีสถำนะทำงกฎหมำยมำก ำหนดวิธีกำร หลักเกณฑ์ให้ อปท. ปฏิบัติ และในหนังสือสั่งกำรยังเป็นกำรจ ำกัดควำมเป็นอิสระของกำรบริหำรงำนของ ท้องถิ่น ซึ่งเป็นกำรกระท ำที่ขัดต่อหลักกำรที่บัญญัติรับรองไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ซึ่งผลของกำรใช้อ ำนำจโดยอำศัยวิธีกำรออกหนังสือสั่งกำรของกระทรวงมหำดไทยใน กำรก ำกับดูแลดังกล่ำว มิใช่กำรก ำกับดูแลตำมที่กฎหมำยบัญญัติและผิดจำกหลักกำรตำมทฤษฎีก ำกับ ดูแล กำรกระท ำดังกล่ำวจึงส่งผลท ำให้ อปท. ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ขำดควำม เป็นอิสระในกำรบริหำรงำนตำมที่กฎหมำยก ำหนดอย่ำงชัดเจน กำรแก้ไขในกรณีนี้ นอกจำกกำรยกเลิก หนังสือเวียนสั่งกำรแล้ว ควรมีกำรน ำแนวคิดที่ถูกต้องเกี่ยวกับกำรก ำกับดูแลมำปรับใช้ในกำรก ำกับดูแล กล่ำวคือ กำรก ำกับดูแลของกระทรวงมหำดไทยจะต้องก ำกับดูแลเท่ำที่จ ำเป็นและเป็นไปตำมที่กฎหมำย


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร บัญญัติ หำกกระทรวงมหำดไทยจะท ำกำรก ำกับดูแลเรื่องใดหรือกำรก ำหนดวิธีกำร หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และแนวทำงปฏิบัติให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปฏิบัติจะต้องก ำหนดอย่ำงชัดเจน และเหมำะสมกับ รูปแบบที่แตกต่ำงกันของท้องถิ่น โดยน ำเรื่องหรือหลักเกณฑ์ดังกล่ำว เสนอให้กับฝ่ำยนิติบัญญัติคือ รัฐสภำ ตรำขึ้นเป็นกฎหมำยและน ำบทบัญญัติของกฎหมำยขึ้นมำบังคับใช้หรือก ำกับดูแลองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ให้ถูกต้องตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที่ก ำหนดไว้ ดังนั้นประเทศไทย จึงควรมีกำรน ำแนวคิดและแนวทำงของประเทศต่ำงๆ ในเรื่องกำรออก กฎหมำยมำก ำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพียงฉบับเดียว หรือกำรแยกผู้ออกกฎหมำยกับผู้ ตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่ำงชัดเจน เพื่อให้กำรด ำเนินงำนของ อปท. สำมำรถด ำเนินงำน ตำมหลักกำรที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ และหลักกำรกระจำย อ ำนำจเป็นไปอย่ำงถูกต้อง และก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชำชนในท้องถิ่นที่จะได้รับจำกกำร ปฏิบัติงำนของท้องถิ่นนั่นเอง ปัญหาด้านพฤติกรรมขององค์กรผู้ก ากับดูแล และ อปท. ๑. ปัญหำที่เกี่ยวกับกำรก ำหนดนโยบำยและกำรวำงแผนพัฒนำท้องอื่น กล่ำวคือองค์กรผู้มี อ ำนำจก ำกับดูแลในส่วนกลำงมักจะมีหนังสือขอควำมร่วมมือให้ อปท. ด ำเนินโครงกำรต่ำงๆ ตำมมติ ครม. หรือตำมนโยบำยของรัฐมนตรีที่ผ่ำนทำงคณะรัฐมนตรี หรือบรรจุโครงกำรต่ำงๆ ของจังหวัดและ อ ำเภอไว้ในแผนพัฒนำท้องถิ่น ซึ่ง มิใช่ก ำหนดมำเป็นแนวนโยบำยแล้วให้ อปท. วำงแนวปฏิบัติตำม นโยบำยได้เอง นอกจำกนั้น กำรสนับสนุนโครงกำรต่ำงๆ ของหน่วยรำชกำรอื่นในพื้นที่ตำมที่มีกำรขอรับ กำรสนับสนุน ก็ประสบกับปัญหำกำรตรวจสอบกำรใช้เงินจำกส ำนักงำนคณะกรรมกำรตรวจเงินแผ่นดิน ว่ำเป็นกำรใช้เงินผิดไม่ตรงตำมที่กฎหมำยและระเบียบก ำหนดไว้บำงแห่งก็ถูกเรียกเงินคืน แต่บำงครั้งก็ไม่ มีปัญหำ ๒. ปัญหำที่เกี่ยวกับกำรคลังและงบประมำณ กล่ำวคือ อปท. มีรำยได้จำกกำรจัดเก็บภำษีซึ่งมี ฐำนกำรจัดเก็บแคบมำก คือมำจำกกำรจัดเก็บภำษีและค่ำธรรมเนียมไม่กี่ประเภท นอกจำกนั้น เป็นรำยได้ จำกที่รัฐจัดเก็บให้และเงินที่รัฐจัดสรรให้ในรูปของเงินอุดหนุน จึงดูเสมือนว่ำ อปท. ทุกแห่งทุกประเภทมี ศักยภำพในกำรหำรำยได้ไม่เพียงพอต่อกำรบริหำรกิจกำรของ อปท. เอง ต้องพึ่งพิงจำกรัฐบำลอยู่ตลอด ท ำให้มีช่องทำงกำรเข้ำมำแทรกแซงมำกขึ้นเพรำะมองว่ำเป็นเงินจำกรัฐบำลกลำงมิใช่ที่ท้องถิ่นจัดเก็บเอง อีกทั้ง เนื่องจำกมีรำยได้ที่มำจำกหน่วยงำนอื่นของรัฐจัดเก็บแล้วจัดสรรให้แก่ อปท. จึงท ำให้หน่วยงำน เหล่ำนี้เห็นว่ำเป็นภำระหน้ำที่ที่เพิ่มขึ้นมำโดยหน่วยงำนของตนไม่ได้ประโยชน์ใดๆ จึงเริ่มมีกำรแทรกแซง ควำมเป็นอิสระด้ำนงบประมำณโดยขอรับกำรสนับสนุนงบประมำณกำรจ้ำงลูกจ้ำงชั่วครำวให้แก่ หน่วยงำนเหล่ำนี้มำกขึ้น ๓. ปัญหำที่เกี่ยวกับกำรบริหำรงำนบุคคล กล่ำวคือ ผู้บริหำร อปท. ฝ่ำยกำรเมืองมีอิสระใน กำรบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่นมำกเกินไป จนท ำให้ระบบกำรบริหำรงำนบุคคลขำดหลักคุณธรรมเกิด ระบบอุปถัมภ์ และไม่มีประสิทธิภำพในกำรพัฒนำท้องถิ่น รวมถึงกำรใช้อ ำนำจเกินขอบเขตส่งผลกระทบ ต่อผู้บริหำรฝ่ำยรำชกำรประจ ำจนท ำให้ไม่สำมำรถปฏิบัติหน้ำที่ใน อปท. นั้นได้และก็ไม่สำมำรถย้ำยไป ปฏิบัติหน้ำที่ที่อื่นได้ ท ำให้ผู้บริหำรเหล่ำนี้ต้องไปช่วยรำชกำรอยู่ที่ส ำนักงำนท้องถิ่นจังหวัดและอ ำเภอ ซึ่ง เป็นกำรสูญเสียก ำลังคนในกำรปฏิบัติรำชกำรไปอย่ำงมำก และอำจท ำให้งำนรำชกำรเสียหำยได้ เพระ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร อปท. ก็ต้องให้ผู้อื่นมำรักษำกำรแทน และประเด็นกำรมีองค์กรกลำงในกำรบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่น หลำยระดับและหลำยองค์กร คือมี ๓ ระดับ และแยกตำมประเภทของ อปท. ซึ่งท ำให้ระบบกำรบริหำร งำนบุคคลของท้องถิ่นบำงครั้งล่ำช้ำเพรำะมีขั้นตอนมำก และไม่เป็นมำตรฐำนหรือมีบรรทัดฐำนเดียวกัน อย่ำงแท้จริง แนวทำงแก้ไขปัญหำ พระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ มีผลใช้บังคับมำกว่ำ ๒๐ ปี นับถึงปัจจุบัน ซึ่งพระรำชบัญญัติฉบับดังกล่ำว เป็นที่มำของปัญหำในกำรบริหำรงำนบุคคลขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในหลำย ๆ ประเด็น เช่น กำรก ำหนดให้มีองค์กรกำรบริหำรงำนบุคคลขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นหลำยระตับ ซึ่งก่อให้เกิดปัญหำในกำรปฏิบัติงำน ควำมซ้ ำช้อนของอ ำนำจหน้ำที่ รวมถึง กำรบัญญัติให้อ ำนำจกำรบริหำรงำนบุคคลแก่นำยกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมำกเกินไป ซึ่งเป็นที่มำของ ระบบอุปถัมภ์จึงสมควรที่จะมีกำรแก้ไขพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ หรือตรำขึ้นมำใหม่ เพื่อให้กำรบริหำรงำนบุคคลของพระรำชบัญญัติระเบียบบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. …. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีควำมเป็นเอกภำพ เกิดควำมคล่องตัว เป็นมำตรฐำนเดียวกัน และ สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ในปัจจุบันและอนำคต ส ำหรับปัญหำกำรคลังท้องถิ่นไทย กำรคลังท้องถิ่นไทยในสภำวกำรณ์ปัจจุบันสะท้อนให้เห็นถึง ทิศทำงของกำรปกครองตำมระบอบประชำธิปไตยที่มุ่งเน้นกำรกระจำยอ ำนำจและกำรเปิดโอกำสให้ ประชำชนเข้ำไปใช้สิทธิ หน้ำที่ และควำมรับผิดชอบในฐำนะพลเมืองเพื่อตัดสินใจร่วมกันได้แต่ในอดีตที่ ผ่ำนมำแสดงให้เห็นว่ำเจตนำรมณ์เหล่ำนี้หำยไปโดยเฉพำะกำรเผชิญหน้ำกับปัญหำของกำรคลังท้องถิ่นที่ ถูกครอบง ำด้วยโครงสร้ำงอ ำนำจทำงกำรเมืองแบบขั้วเดียวหรือหลำยขั้ว ซึ่งเป็นสิ่งที่คอยย้ ำเตือนถึง สถำนกำรณ์อันเลวร้ำยเกินกว่ำที่คนในท้องถิ่นจะแก้ไขได้เพียงล ำพัง ซ้ ำแล้วหำกมองในมุมของกำรถ่ำย โอนอ ำนำจกำรปกครองจำกรัฐบำลส่วนกลำงสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังถูกยึดโยงด้วยเงินอุดหนุน (Intergovernmental Transfer) ในสัตส่วนที่มำกถึง ๙๐% และสำมำรถจัดเก็บได้เองเพียง ๑๐% เท่ำนั้น ซึ่งสัตส่วนของแหล่งรำยได้นี้ชี้ชัดว่ำ อิสระทำงกำรคลังท้องถิ่นจะไม่สำมำรถเกิดขึ้นได้ หำกองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นยังไม่ตระหนักถึงภำระผูกพันทำงรำยได้และรำยจ่ำยที่ต้องสอดคล้องกับภำรกิจของส่วนกลำง ที่มอบให้ ซึ่งสิ่งแรกที่สมควรริเริ่มในบทบำทขององค์กรปกครองท้องถิ่น คือ กำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถใน กำรจัดหำรำยได้ด้วยกำรก ำหนดอัตรำภำษีที่ครอบคลุมเขตพื้นที่เชิงพำณิชย์หรืออุตสำหกรรมภำยใต้ บริบทในแต่ละสภำพพื้นที่ ประกอบกับกำรก ำหนดตัวชี้วัดที่เป็นธรรมเพื่อรักษำฐำนอ ำนำจของกำรคลัง ท้องถิ่น อีกหนึ่งสำเหตุส ำคัญของปัญหำที่เกิดขึ้น คือ กำรคลังท้องถิ่นเกิดจำกควำมลักลั่นขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นภำยใต้ช่องโหว่ของกฎหมำย แม้แต่ในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ฉบับปัจจุบันยังก ำหนดทำงออกของปัญหำของควำมเหลื่อมล้ ำไว้อย่ำงกว้ำงๆ และไม่ครอบคลุม ปัญหำในอดีต โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในกรณีของบุคลำกรท้องถิ่นที่พยำยำมปกปิดและบิตเบือนข้อเท็จจริง เพื่อให้ตนเองสำมำรถเข้ำถึงผลประโยชน์ของสำธำรณะ ซึ่งผิดต่อหลักกำรปฏิบัติงำนและจริยธรรม ดังนั้น ทำงออกในกำรแก้ปัญหำนี้ คือกำรปฏิรูปท้องถิ่นตั้งแต่ฐำนรำกของกำรพัฒนำหรือประชำชนในฐำนะที่ เป็นพลเมืองต้องเข้ำใจในบทบำทหน้ำที่ของกำรก่อร่ำงสร้ำงควำมเป็นประชำธิปไตยในท้องถิ่น โดยจะต้อง


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ค ำนึงถึงเจตนำรมณ์ของพลเมืองท้องถิ่นที่มีอิทธิพลต่อกำรขับเคลื่อนเสียงส่วนน้อยเพื่อให้ได้มำซึ่งเสียง ส่วนใหญ่ที่สำมำรถก ำหนดทิศทำงควำมเป็นอิสระของกำรคลังท้องถิ่นได้อย่ำงเป็นรูปธรรม ๕. ข้อเสนอแนะ กำรที่จะท ำให้กำรปกครองท้องถิ่นเป็นไปอย่ำงอิสระ เป็นที่เชื่อถือของบุคคลต่ำงๆ ทั้งภำยในและภำยนอกองค์กรเป็นหน้ำที่ของผู้บริหำรที่จะใช้แนวทำงโดยไม่ยึดหลักของกฎหมำยเพียง อย่ำงเดียว จะต้องน ำหลักธรรมำภิบำล (Good Governance) มำใช้เป็นแนวทำงในกำรบริหำรกิจกำร บ้ำนเมืองเพื่อให้ประชำชนเกิดควำมเชื่อมั่น ทั้งนี้ประชำชนผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งจ ำเป็นที่จะต้องเข้ำมำมีส่วน ร่วมในกำรแก้ปัญหำด้วยกำรให้ควำมสนใจและเลือกบุคคลที่จะเข้ำมำเป็นตัวแทนในทำงกำรเมือง ทั้ง กำรเมืองในระดับชำติและกำรเมืองในระดับท้องถิ่น โดยกำรเลือกบุคคลที่มีควำมรู้ มีควำมสำมำรถ เป็น คนดีมีคุณธรรม และซื่อสัตย์ เป็นที่ยอมรับเข้ำมำบริหำรรำชกำรแผ่นดิน บริหำรท้องถิ่น ก็จะเป็นแนวทำงที่ จะป้องกันกำรประพฤติมิชอบหรือกำรทุจริตคอรัปชั่นได้ ทั้งนี้ ควรมีกำรพิจำรณำแก้ไขประเด็นปัญหำ ต่ำง ๆ เพิ่มเติมดังนี้ ๑. ควรมีกำรก ำหนดให้มีองค์กรพิทักษ์คุณธรรมส ำหรับกำรบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่น โดยเป็นองค์กรอิสระแยกออกจำกองค์กรกลำงในกำรบริหำรงำนบุคคลส่วนท้องถิ่นเพื่อแก้ปัญหำกำร ปฏิบัติหน้ำที่ในหลำยฐำนะจนมีควำมขัดแย้งกันด้ำนอ ำนำจหน้ำที่และเกิดควำมไม่เป็นธรรมตำมหลัก คุณธรรมในกำรบริหำรงำนบุคคลภำครัฐ ทั้งนี้ จะน ำไปสู่กำรแก้ไขปัญหำด้ำนควำมอิสระของกำร บริหำรงำน กำรก ำกับดูแลจำกองค์กรผู้ใช้อ ำนำจ และลดควำมเหลื่อมล้ ำจำกกำรปฏิบัติหน้ำที่ ๒. ควรมีกำรปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยจัดตั้ง อปท. แต่ละประเภทและกฎหมำยว่ำด้วยแผน และขั้นตอนกำรกระจำยอ ำนำจให้แก่ อปท. เพื่อให้ อปท. มีอ ำนำจหน้ำที่ที่ชัดเจน ตอบโจทย์ และ คล่องตัว ๓. ควรมีกำรแก้ไขพระรำชบัญญัติก ำหนดแผนและขั้นตอนกำรกระจำยอ ำนำจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ส ำหรับส่วนรำชกำรที่ถ่ำยโอนภำรกิจให้ อปท. ด ำเนินกำรแล้ว ต้องมี กำรลดบทบำทลงโดยคงไว้เพียงท ำหน้ำที่ให้ค ำแนะน ำช่วยเหลือ และรัฐต้องสนับสนุนเกี่ยวกับกำรจัดท ำ บริกำรสำธำรณะต่ำงๆ ให้ตำมแผนกำรกระจำยอ ำนำจฯ อีกทั้งต้องส่งเสริมให้มีกำรบูรณำกำรร่วมกัน ระหว่ำงส่วนรำชกำรเจ้ำของภำรกิจเดิมและ อปท. ในเรื่องกำรเชื่อมโยงข้อมูล เช่น ข้อมูลด้ำน สำธำรณสุข ข้อมูลด้ำนประชำกร เป็นต้น ๔. ในอนำคตอำจมีกำรจัดตั้งองค์กรปกครองท้องถิ่นรูปแบบอื่น เช่น จังหวัดจัดกำรตนเอง ดังนั้น ในกำรศึกษำครั้งต่อไปควรศึกษำถึงปัจจัยและผลกระทบของปัญหำให้ครอบคลุมในส่วนนี้ด้วย นำงสำวชลธิชำ ทิพย์วัฒน์ วิทยำกรปฏิบัติกำร กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรกำรกระจำยอ ำนำจ กำรปกครองส่วนท้องถิ่น และกำรบริหำรรำชกำรรูปแบบพิเศษ ส ำนักกรรมำธิกำร ๒


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร การปฏิบัติหน้าที่ฝ่ายเลขานุการในการสนับสนุนงานด้านวิชาการโดยการสรุปผลการด าเนินงาน ของคณะกรรมาธิการการป้องกันปราบปรามการฟอกเงินและยาเสพติด สภาผู้แทนราษฎร ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๖๒ - พ.ศ. ๒๕๖๖ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการด าเนินงาน ของคณะกรรมาธิการ ๑. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา คณะกรรมำธิกำรนับเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรนิติบัญญัติ โดยที่รัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ และข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ มำตรำ ๙๐ ได้ก ำหนดบทบำทหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรกำรป้องกัน ปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติดว่ำเป็นคณะที่ได้รับมอบอ ำนำจจำกสภำผู้แทนรำษฎร เพื่อช่วย กระท ำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใดๆ ที่เกี่ยวกับกำรป้องกันและปรำบปรำม กำรฟอกเงินและยำเสพติด แนวทำงกำรด ำเนินงำนของคณะกรรมำธิกำร จะใช้วิธีกำรประชุมเพื่อ พิจำรณำเรื่องต่ำง ๆ ตำมข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ ก ำหนดให้สภำ ตั้งคณะกรรมำธิกำรสำมัญขึ้นสำมสิบห้ำคณะ แต่ละคณะประกอบด้วยกรรมำธิกำรจ ำนวนสิบห้ำคน คณะกรรมำธิกำรกำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด สภำผู้แทนรำษฎรซึ่งมี หน้ำที่และอ ำนำจกระท ำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับกำรป้องกัน และปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด ได้ให้ควำมส ำคัญกับสภำพปัญหำยำเสพติดที่มีกำรแพร่ ระบำดจ ำนวนมำก จึงได้บรรจุเรื่องเกี่ยวกับกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดเข้ำสู่กำรพิจำรณำของที่ประชุม คณะกรรมำธิกำร เพื่อร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องหำมำตรกำรหรือแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำ ยำเสพติด จัดโครงกำรสัมมนำและจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด ในรูปแบบต่ำง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้ำหมำยได้รับรู้และตระหนักถึงโทษและพิษภัยของ ยำเสพติด ตลอดจนเดินทำงไปศึกษำดูงำนในสถำนที่ที่เกี่ยวข้องกับกำรป้องกัน ปรำบปรำบ และฟื้นฟู สมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดในพื้นที่ต่ำง ๆ ทั่วประเทศ ปัจจุบันผู้รับมอบหมำยงำน ปฏิบัติหน้ำที่ต ำแหน่งวิทยำกร กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำร กำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด ส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ได้รับมอบหมำยงำนจำก ผู้บังคับบัญชำให้ปฏิบัติหน้ำที่ฝ่ำยเลขำนุกำรในกำรสนับสนุนงำนด้ำนวิชำกำรให้แก่คณะกรรมำธิกำร ซึ่งได้จัดท ำเอกสำรทำงวิชำกำรสรุปสำระส ำคัญกำรด ำเนินงำนของคณะกรรมำธิกำร โดยด ำเนิน กำรศึกษำ ค้นคว้ำ รวบรวมข้อมูล และเอกสำรอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องมำกลั่นกรองข้อมูลและวิเครำะห์ รวมทั้ง งำนด้ำนกำรจัดโครงกำรสัมมนำ โดยได้ด ำเนินกำรขออนุมัติบุคคลและกำรเบิกจ่ำยงบประมำณในกำร เดินทำงไปจัดสัมมนำของคณะกรรมำธิกำร ด ำเนินกำรจัดท ำรำยงำนและหลักฐำนค่ำใช้จ่ำยในกำร จัดสัมมนำของคณะกรรมำธิกำร งำนด้ำนกำรประชุม ด ำเนินกำรจัดท ำระเบียบวำระกำรประชุม หนังสือ นัดประชุม กำรจัดท ำเอกสำรประกอบกำรพิจำรณำ กำรจัดท ำบันทึกกำรประชุม กำรติดต่อประสำนงำน งำนที่เกี่ยวข้องกับกำรประชุมของคณะกรรมำธิกำร เพื่อให้เป็นกำรสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ด้ำนควำมมั่นคงและด้ำนกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำร ภำครัฐ อีกทั้งเป็นกำรสนับสนุนให้กำรด ำเนินงำนด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงินให้มี


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ประสิทธิภำพเท่ำทันต่อสถำนกำรณ์ในปัจจุบันทั้งภำยในประเทศและระหว่ำงประเทศ ทั้งนี้ ในกำร ปฏิบัติหน้ำที่ดังกล่ำว ผู้รับมอบหมำยงำนได้ด ำเนินงำนด้ำนวิชำกำรด้วยควำมละเอียดอย่ำงมีประสิทธิภำพ ถูกต้อง ตำมหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ และข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ มำตำ ๙๐ ที่ก ำหนดไว้ ๒. กฎหมาย กฎ ระเบียบ และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง บทบัญญัติของข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ที่เกี่ยวกับ อ ำนำจหน้ำที่ในกำรด ำเนินงำนของคณะกรรมำธิกำรกำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและ ยำเสพติด ดังนี้ ข้อ ๙๐ ให้สภำตั้งคณะกรรมำธิกำรสำมัญขึ้นสำมสิบห้ำคณะ แต ่ละคณะ ประกอบด้วยกรรมำธิกำรมีจ ำนวนสิบห้ำคน โดยให้มีหน้ำที่และอ ำนำจ ดังนี้ (๒๐) คณะกรรมำธิกำรกำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติดมีหน้ำที่ และอ ำนำจกระท ำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใดๆ ที่เกี่ยวกับกำรป้องกันและ ปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด ข้อ ๙๖ คณะกรรมำธิกำรมีอ ำนำจตั้งคณะอนุกรรมำธิกำรเพื่อพิจำรณำปัญหำ อันอยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร เว้นแต่หน้ำที่และอ ำนำจในกำรสอบหำข้อเท็จจริง แล้วรำยงำนคณะกรรมำธิกำรภำยในเวลำที่คณะกรรมำธิกำรก ำหนด ๓. บทวิเคราะห์ คณะกรรมำธิกำรกำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด สภำผู้แทนรำษฎร มีหน้ำที่และอ ำนำจตำมข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ (๒๐) ในกำรกระท ำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับกำรป้องกันและ ปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด คณะกรรมำธิกำรได้มีกำรประชุม จ ำนวน ๘๙ ครั้ง โดยประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ ๑๒ กันยำยน ๒๕๖๒ ถึงปัจจุบัน โดยเชิญผู้แทนหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องและผู้ร้องเรียนเข้ำร่วมประชุมเพื่อให้ ข้อมูลข้อเท็จจริงประกอบกำรพิจำรณำ จ ำนวน ๗๗ หน่วยงำน และเดินทำงไปศึกษำดูงำน ทั้งในกรุงเทพมหำนครและต่ำงจังหวัด จ ำนวน ๑๗ ครั้ง รวมทั้งจัดสัมมนำและจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับ กำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด จ ำนวน ๘๗ ครั้ง ผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการ ๑. ผลการพิจารณาศึกษาด้านการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ยำเสพติดในประเทศไทยมีกำรระบำดอยู่ทั่วไป หำง่ำย รำคำถูก เนื่องจำกปริมำณกำร ผลิตยำเสพติดในบริเวณสำมเหลี่ยมทองค ำมีปริมำณสูง ซึ่งเป็นผลจำกกลุ่มผู้ผลิตในสำมเหลี่ยมทองค ำ ได้เพิ่มปริมำณกำรผลิตมำกขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งยำเสพติดสังเครำะห์ ได้แก่ ยำบ้ำ ไอซ์ เนื่องจำกยัง มีกำรล ำเลียงเคมีภัณฑ์และสำรตั้งต้นเข้ำสู่แหล่งผลิตยำเสพติด นอกจำกกลุ่มกำรผลิตหลักเดิมที่เป็น ผู้มีพฤติกำรณ์ในกลุ่มเดิมแล้ว ยังมีกลุ่มกำรผลิตใหม่ที่เกิดขึ้นโดยท ำกำรผลิตเฉพำะในขั้นอัดเม็ดยำบ้ำ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ท ำให้ชำยแดนภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือถูกใช้เป็นพื้นที่หลักในกำรลักลอบน ำเข้ำยำเสพ ติดอย่ำงต่อเนื่อง พื้นที่ภำคเหนือ ยังมีกำรน ำเข้ำยำเสพติดตำมแนวชำยแดนในสัดส่วนที่สูงที่สุด พื้นที่ ภำคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดส่วนรองลงมำ โดยผ่ำนโครงสร้ำงเครือข่ำยกำรค้ำตำมแนวชำยแดนและ พื้นที่ตอนใน ท ำให้เกิดกำรล ำเลียงและซุกซ่อนยำเสพติดในรูปแบบต่ำง ๆ เพื่อน ำยำเสพติดมำยัง แหล่งแพร่ระบำดในจังหวัดต่ำง ๆ ท ำให้พื้นที่กรุงเทพมหำนครและปริมณฑลเป็นแหล่งซุกซ่อนและ เก็บพักยำเสพติด ก่อนกระจำยไปยังพื้นที่ต่ำง ๆ นอกจำกนี้ ขบวนกำรค้ำยำเสพติดยังคงท ำกำรค้ำ เชื่อมโยงเป็นเครือข่ำยทั้งในและนอกประเทศ และมีกำรปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีกำรค้ำ เช่น กำรลักลอบล ำเลียงยำเสพติดต่อครั้งในจ ำนวนที่มำก กำรใช้ผู้ล ำเลียงซึ่งเป็นคนขนไปสู่ผู้ซื้อปลำยทำง กำรชดเชยยำเสพติดที่เสียหำยจำกกำรถูกจับยึดก่อนถึงมือผู้รับ และกำรน ำยำเสพติดจ ำนวนมำกเข้ำ มำพักเก็บเพื่อกระจำยและรอกำรสั่งซื้อ กำรตัดตอนกำรรับรู้ของผู้ที่เกี่ยวข้องโดยไม่ผ่ำนคนกลำง และ กำรสร้ำงตัวตำยตัวแทนในระดับล่ำง นอกจำกนี้ยังมีชำวต่ำงชำติที่เข้ำมำท ำกำรค้ำยำเสพติดในไทย ซึ่ง เป็นผู้จ ำหน่ำยและผู้รับจ้ำงล ำเลียงยำเสพติด โดยชำวต่ำงชำติที่เกี่ยวข้อง คือ เมียนมำ สปป.ลำว กัมพูชำ รวมทั้งออสเตรเลีย เป็นจุดเชื่อมของกำรซื้อขำยยำเสพติดไปยังประเทศอื่น นอกจำกนี้ ชำวแอฟริกันตะวันตกที่มีเครือข่ำยกำรค้ำยำเสพติดเชื่อมโยงไปทั่วโลกเป็นผู้อยู่เบื้องหลังกำรค้ำยำ เสพติดข้ำมชำติด้วยกำรจัดหำผู้หญิงไทยหรือผู้หญิงในกลุ่มประเทศอำเซียนเพื่อล ำเลียงยำเสพติดออก นอกประเทศ บำงส่วนยังท ำกำรค้ำในระดับขำยปลีกให้กับผู้เสพทั้งชำวไทยและชำวต่ำงประเทศ กำรท ำกำรค้ำยำเสพติดด้วยกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) เป็นช่องทำงท ำกำรค้ำยำเสพ ติด ทั้งเสนอขำยและสั่งซื้อ โดยเฉพำะในระดับขำยส่งรำยย่อยและขำยปลีกให้ผู้เสพ ควบคู่กับกำรใช้ บริกำรรับส่งพัสดุภัณฑ์เป็นช่องทำงล ำเลียงยำเสพติดตรงถึงมือผู้เสพ และกำรใช้บริกำรธุรกรรมทำง กำรเงินผ่ำนเครือข่ำยอินเตอร์เน็ต (E-Banking) เป็นช่องทำงจ่ำยค่ำยำเสพติดตรงถึงมือผู้ค้ำซึ่งถูก ตรวจพบมำกขึ้น และพบว่ำบำงเครือข่ำยไปถึงขั้นกำรใช้สกุลเงินดิจิตอล (Bitcoin) ในกำรค้ำ จึงมีผลให้ เครือข่ำยกำรค้ำยำเสพติดรำยย่อยเกิดขึ้นและเพิ่มขึ้นได้ง่ำย กำรแพร่ระบำดยำเสพติดผ่ำนช่องทำง กำรค้ำเหล่ำนี้เป็นไปอย่ำงรวดเร็ว ท ำให้กำรสืบสวนปรำบปรำมท ำได้ยำกขึ้น กำรแพร่ระบำดของยำเสพติด ยังเป็นปัญหำที่สร้ำงควำมเดือดร้อน และส่งผลกระทบต่อ สังคมและชุมชนอย่ำงมำก โดยเฉพำะในเขตเทศบำลและกรุงเทพมหำนครเป็นแหล่งแพร่ระบำดยำเสพติด ที่จ ำเป็นต้องแก้ไขโดยเร่งด่วน ในขณะเดียวกันยังมีตัวยำใหม่ ๆ ที่กลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับยำเสพติดน ำมำ เผยแพร่ ซึ่งจะต้องมีมำตรกำรป้องกันอย่ำงจริงจัง โดยเฉพำะชุมชนในเขตเทศบำลและ กรุงเทพมหำนครเป็นแหล่งแพร่ระบำดที่ส ำคัญ ที่มีทั้งผู้เสพและผู้ค้ำระดับขำยปลีกให้กับผู้เสพที่เป็น ประชำกรที่เข้ำไปเกี่ยวข้องกับยำเสพติด ทั้งในมิติของกำรเสพและกำรกระท ำควำมผิด มีสัดส่วนของผู้ที่ มีอำยุไม่เกิน ๒๔ ปี หรือเด็กและเยำวชน คิดเป็นร้อยละ ๔๐ โดยส่วนใหญ่ยังอยู่ในกลุ่มอำยุ ๑๕ - ๑๙ ปี นอกจำกนี้ ร้อยละ ๗๐ ของผู้เข้ำไปเกี่ยวข้องส่วนใหญ่ มีอำชีพและรำยได้น้อยคือ อำชีพรับจ้ำง แรงงำน และเกษตรกร ยำเสพติดที่เป็นปัญหำแพร่ระบำดหลักคือ ยำบ้ำ รองลงมำคือกัญชำ พืชกระท่อม ไอซ์ และเฮโรอีน และที่ต้องเฝ้ำระวังอย่ำงใกล้ชิด คือ คีตำมีน ที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจำกในอดีต นอกจำกนี้ ยังพบกำรใช้ยำควบคุมและยำอันตรำยในทำงที่ผิดในกลุ่มเด็กและเยำวชน


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร แม้รัฐบำลที่ผ่ำนมำจะมีนโยบำยให้เร่งด ำเนินกำรป้องกันและแก้ปัญหำยำเสพติด โดยต้องกำรลดระดับควำมรุนแรงของสถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของยำเสพติด ภำยใต้หลักกำร “กำรอ ำนวยควำมยุติธรรม ลดควำมเหลื่อมล้ ำ ขจัดควำมทุกข์ยำก สร้ำงประชำสำมัคคี และส่งเสริม คนดีสู่สังคม” มีกำรเร่งรัดงำนด้ำนควำมร่วมมือกับนำนำประเทศในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดโดยเฉพำะ ลดทอนศักยภำพกำรผลิตของแหล่งผลิตนอกประเทศ ปรับกฎหมำยยำเสพติดให้เอื้อต่อกำรป้องกันและ แก้ไขปัญหำยำเสพติด ตำมหำแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดแนวใหม่ สร้ำงกำรรับรู้และควำม เข้ำใจในนโยบำยกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำยำเสพติดของรัฐบำลให้กับประชำชน พัฒนำงำนด้ำน ป้องกันและสร้ำงภูมิคุ้มกันยำเสพติดในเด็กและเยำวชนให้ครอบคลุมทุกช่วงวัยให้มีคุณภำพมำกขึ้น และเน้นกำรติดตำมและประเมินผลอย่ำงต่อเนื่องก็ตำม แต่ประเทศไทยยังคงเผชิญกับปัญหำยำเสพ ติดที่ผลิตมำจำกแหล่งผลิตในพื้นที่สำมเหลี่ยมทองค ำ โดยพื้นที่ภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียง เหนือยังคงถูกใช้เป็นช่องทำงในกำรลักลอบน ำเข้ำยำเสพติด และยำบ้ำยังเป็นตัวยำหลักที่มีกำรแพร่ ระบำดในประเทศไทย ในขณะเดียวกันประเทศไทยถูกใช้เป็นแหล่งพักยำเสพติดและเส้นทำงล ำเลียง เพื่อส่งไอซ์ เฮโรอีน และกัญชำไปยังประเทศที่สำม โดยเฮโรอีนมีแนวโน้มกำรแพร่ระบำดเพิ่มสูงขึ้นใน กลุ่มเด็กและเยำวชน และกลุ่มผู้ใช้ยำเสพติดมีแนวโน้มใช้คีตำมีนมำกขึ้น เห็นได้จำกสถิติกำรจับกุม และผู้เข้ำบ ำบัดรักษำที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่ำสถำนกำรณ์ยำเสพติดใน ประเทศไทยนับวันจะทวีควำมรุนแรงมำกยิ่งขึ้น ต่อมำรัฐบำลชุด พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชำ เป็นนำยกรัฐมนตรี ได้มีค ำสั่งส ำนัก นำยกรัฐมนตรี ที่ ๒๖๘/๒๕๖๕ ลงวันที่ ๒๐ ตุลำคม ๒๕๖๕ เรื่อง “แต่งตั้งคณะกรรมกำรขับเคลื่อน วำระแห่งชำติด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติดและอำวุธปืน” โดยคณะกรรมกำรดังกล่ำว ประกอบด้วย นำยกรัฐมนตรีเป็นประธำนกรรมกำร รองนำยกรัฐมนตรีทุกท่ำนเป็นกรรมกำร รัฐมนตรีและ ผู้แทนหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องเป็นกรรมกำร และเลขำธิกำรคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด และรองปลัดกระทรวงมหำดไทยที่ปลัดกระทรวงมหำดไทยมอบหมำย จ ำนวน ๑ คน เป็นกรรมกำรและ เลขำนุกำรร่วม โดยให้คณะกรรมกำรดังกล่ำวมีหน้ำที่และอ ำนำจในกำรก ำหนดมำตรำด้ำนกำร ป้องกันและปรำบปรำมกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับยำเสพติด เช่น กำรควบคุมสำรเคมีที่น ำไปใช้ผลิต ยำเสพติด กำรท ำลำยเครือข่ำยนักค้ำยำเสพติด และยึดอำยัดทรัพย์สิน กำรติดตำมจับกุมผู้มีหมำยจับ คดียำเสพติด กำรค้นหำผู้เสพยำเสพติดทั่วประเทศ กำรตรวจสอบและติดตำมข้อร้องเรียนของ ประชำชน กำรศึกษำและทบทวนกรณีผู้เสพเป็นผู้ป่วย กำรก ำหนดมำตรกำรติดตำมกำรบ ำบัดฟื้นฟูที่ มีประสิทธิภำพ กำรใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตำมตัว (EM) รวมทั้งก ำหนดมำตรกำรและกรอบเวลำ ด้ำนกำรบ ำบัดฟื้นฟูผู้ติดยำเสพติด และก ำหนดมำตรกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำสุขภำพจิตเพื่อให้ ผู้ป่วยจิตเวชสำมำรถเข้ำถึงบริกำรทำงกำรแพทย์ได้อย่ำงรวดเร็วและมีประสิทธิภำพ เป็นต้น ในกำรนี้ คณะกรรมำธิกำรกำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด สภำผู้แทนรำษฎร ซึ่งมีหน้ำที่และอ ำนำจกระท ำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่อง ใด ๆ ที่เกี่ยวกับกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด ได้ให้ควำมส ำคัญกับสภำพ ปัญหำยำเสพติดที่มีกำรแพร่ระบำดจ ำนวนมำก จึงได้บรรจุเรื่องเกี่ยวกับกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดเข้ำสู่ กำรพิจำรณำของที่ประชุมคณะกรรมำธิกำร เพื่อร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องหำมำตรกำรหรือ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร แนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติด จัดโครงกำรสัมมนำและจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับกำรป้องกัน และปรำบปรำมยำเสพติดในรูปแบบต่ำง ๆ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้ำหมำยได้รับรู้และตระหนัก ถึงโทษและพิษภัยของยำเสพติด ตลอดจนเดินทำงไปศึกษำดูงำนในสถำนที่ที่เกี่ยวข้องกับกำรป้องกัน ปรำบปรำบ และฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดในพื้นที่ต่ำง ๆ ทั่วประเทศ โดยคณะกรรมำธิกำรมี ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ และแนวทำงกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติด โดยแบ่งออกเป็น ๓ ด้ำน คือ ด้ำนกำร ป้องกันยำเสพติด ด้ำนกำรปรำบปรำมยำเสพติด และด้ำนกำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติด ยำเสพติด ดังรำยละเอียดต่อไปนี้ ๓.๑.๑ ด้านการป้องกันยาเสพติด ๑)ควรสร้ำงกำรรับรู้ให้เกิดควำมตระหนักรู้ถึงโทษพิษภัยของยำเสพติด โดย ยกกรณีศึกษำ (Case study) เป็นตัวอย่ำง เช่น กำรเสพยำไอซ์หำกเสพเป็นเวลำนำนอำจท ำให้ เสียชีวิตได้เนื่องจำกผลของยำไอซ์ท ำให้เป็นอันตรำยต่อปอด เป็นต้น ๒) ให้ควำมส ำคัญในกำรควบคุมสำรตั้งต้นส ำหรับกำรผลิตยำเสพติดที่ สำมำรถผลิตได้ในประเทศ เช่น โซเดียมไซยำไนด์ (Sodium cyanide) และกรดอำเซติก (Acetic acid) เป็นต้น ๓) เพิ่มงบประมำณในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดโดยรวม เพื่อยกระดับกำร จัดกำรกับปัญหำยำเสพติดให้มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น ๔)สร้ำงกำรสื่อสำรและกำรรับรู้ผ่ำนสื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) ถึงผลกระทบและผลเสียของยำเสพติด และใช้สื่อประชำสัมพันธ์โดยผู้มีชื่อเสียงหรือดำรำเพื่อกระตุ้น ไม่ให้เด็กและเยำวชนเข้ำไปเกี่ยวข้องกับยำเสพติดโดยผ่ำน IG, Facebook และ Twitter เป็นต้น ๕) พัฒนำนวัตกรรมและปรับปรุงตัวยำที่ท ำให้ร่ำงกำยไม่ต้องกำรยำเสพติด ซึ่งอำจใช้งบประมำณสูง โดยหำรือกับศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชำติ (MTEC) เกี่ยวกับนวัตกรรม ใหม่ที่ช่วยคิดค้นยำดังกล่ำว และควรให้บุคลำกรทำงวิทยำศำสตร์เข้ำมำช่วย ๖) ประชำสัมพันธ์ให้กลุ่มผู้ติดยำเสพติดรำยใหม่ที่ต้องกำรบ ำบัดรักษำ ให้สำมำรถเข้ำถึงกำรบ ำบัดรักษำได้ง่ำยและรวดเร็ว เพื่อไม่ให้เป็นผู้ติดยำเสพติดขั้นรุนแรง ๗) ส่งเสริมให้มีกำรน ำโครงกำรชุมชนเข้มแข็งกลับมำอีกครั้ง เพรำะจะท ำให้ สำมำรถเข้ำถึงประชำชนได้มำกขึ้น โดยมีกำรจัดกิจกรรมและให้ประชำชนในหมู่บ้ำน/ชุมชนเข้ำมำมีส่วน ร่วม และอำจทดลองจัดโครงกำรน ำร่องชุมชนปลอดภัยยำเสพติดในกรุงเทพมหำนครเพื่อเป็นต้นแบบ เป็นต้น ๘)ควรมีกำรศึกษำเปรียบเทียบกำรป้องกันปัญหำยำเสพติดในเด็กและ เยำวชนของต่ำงประเทศ เพื่อแสวงหำแนวทำงแก้ไขปัญหำที่มีประสิทธิภำพมำกยิ่งขึ้น ๙)ส ำรวจหมู่บ้ำน/ชุมชนทั่วประเทศว่ำมีมำตรกำรป้องกันผู้เสพยำเสพติด หรือไม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน และควรส่งเสริมให้ประชำชนเข้ำมำมีส่วนร่วมให้มำกขึ้น มีกำร สร้ำงภูมิคุ้มกันที่ดีในกำรแก้ไขปัญหำยำเสพติดโดยผ่ำนครอบครัว โรงเรียน และชุมชน ๑๐)ควรเพิ่มกำรป้องกันที่เป็นกำรสร้ำงภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยำวชน ไม่ใช่ ให้ข้อมูลแต่เพียงอย่ำงเดียว


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๐๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๑๑)ขยำยเครือข่ำยด้ำนกำรป้องกันให้มำกขึ้น โดยเฉพำะในกลุ่มเยำวชน โดยผ่ำนโครงกำรต่ำง ๆ เช่น โครงกำร TO BE NUMBER ONE และโครงกำรครู D.A.R.E. เป็นต้น ๑๒)ควรก ำหนดมำตรกำรหรือหลักเกณฑ์ที่เข้มงวดในกำรควบคุมและ ตรวจสอบยำนพำหนะที่ใช้ในกำรขนส่งสินค้ำหรือขนส่งสำธำรณะภำยในประเทศและระหว่ำงประเทศ รวมทั้งจัดซื้อเครื่องเอกซเรย์ยำเสพติดหรืออุโมงค์เอกซเรย์ยำเสพติดขนำดใหญ่ติดตั้งในด่ำนสกัดกั้น/ ด่ำนตรวจยำเสพติด เพื่อสกัดกั้นกำรล ำเลียงยำเสพติดเข้ำมำในประเทศหรือสกัดกั้นและควบคุมสำรตั้ง ต้นในกำรผลิตยำเสพติดเข้ำมำในประเทศหรือออกนอกประเทศ ๑๓)ควรมีกำรตรวจค้นพัสดุที่มีเหตุอันควรสงสัยในสถำนประกอบกำรขนส่ง โลจิสติกส์อย่ำงเคร่งครัดและต่อเนื่อง เพื่อควบคุมกำรแพร่ระบำดของยำเสพติด ๓.๑.๒ ด้านการปราบปรามยาเสพติด ๑)ควรมีกำรบูรณำกำรกำรท ำงำนของเจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติงำนด้ำนยำเสพติด ในกำรด ำเนินกำรกับผู้ค้ำยำเสพติดอย่ำงจริงจัง ๒) น ำกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับภำษีอำกร มำใช้ในกำรตรวจสอบกำรโอนเงิน หรือกำรท ำธุรกรรมทำงกำรเงินของกลุ่มผู้มีอิทธิพลหรือข้ำรำชกำรที่เข้ำข่ำยเป็นผู้ค้ำยำเสพติด ๓) สนับสนุนให้มีหน่วยงำนหรือบุคลำกรในกำรเจำะข้อมูล (hacker) ที่เกี่ยวข้อง กับกำรซื้อ-ขำยยำเสพติดทำงออนไลน์หรือแอปพลิเคชัน โดยประสำนงำนกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อ เศรษฐกิจและสังคมเพื่อด ำเนินกำรเข้ำถึงข้อมูลผู้ค้ำยำเสพติด ๔) เพิ่มช่องทำงในกำรร้องเรียนหรือแจ้งเบำะแสยำเสพติดให้มำกขึ้น โดยเฉพำะผ่ำนระบบสังคมออนไลน์ (Social Media) โดยไม่ต้องระบุตัวตน และมีกำรก ำหนดแนวทำง ให้ผู้แจ้งเบำะแสยำเสพติดได้รับควำมมั่นใจและมีควำมปลอดภัย ๕) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับยำเสพติดที่เป็นของกลำงอย่ำงเป็นระบบและเคร่งครัด เพื่อไม่ให้เกิดกำรสูญหำยระหว่ำงกำรส่งท ำลำย หรือไม่ให้น ำไปใช้ในทำงอื่นได้ ๖) มีนโยบำยที่ชัดเจนเพื่อไม่ให้เจ้ำหน้ำของรัฐที่ปฏิบัติงำนด้ำนยำเสพติดเข้ำ ไปเกี่ยวข้องกับยำเสพติด เพื่อไม่ให้มีส่วนได้เสียทั้งทำงตรงและทำงอ้อม ๗)กำรพิจำรณำบ ำเหน็จควำมดีควำมชอบของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐที่ปฏิบัติ หน้ำที่ในกำรป้องกันปรำบปรำมยำเสพติด ควรมีมำตรกำร หลักเกณฑ์ และค่ำตอบแทนกำร ปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่รัฐอย่ำงชัดเจน เพื่อเป็นขวัญและก ำลังใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงำน ๘) ปรับเปลี่ยนวิธีกำรท ำงำนด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด โดยเน้นพิจำรณำสภำพปัญหำและอุปสรรค ก ำหนดยุทธศำสตร์ แนวทำง หรือวิธีกำร (How To) เพื่อให้บรรลุเป้ำหมำย ๙) ใช้มำตรกำรสืบสวนทำงกำรเงินมำใช้ในกำรขยำยผลหำผู้ร่วมกระท ำผิด ๑๐) ใช้กำรสืบสวนทำงกำรเงินโดยขยำยผลจำกล่ำงขึ้นบน จำกรำยย่อย สู่รำย กลำงและรำยใหญ่


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๑๑) ใช้มำตรกำรตรวจสอบทรัพย์สินตำมประมวลกฎหมำยยำเสพติด โดยเฉพำะ “มำตรกำรตรวจทรัพย์สินตำมมูลค่ำ” ซึ่งเป็นกำรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรปรำบปรำม ยำเสพติด ๓.๑.๓ ด้านการบ าบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด ๑) กำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติด ควรมีกำรบูรณำกำร ร่วมกันระหว่ำงหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง เพื่อสนับสนุนกำรด ำเนินงำนของกระทรวงสำธำรณสุข ที่รับผิดชอบโดยตรงในกำรบ ำบัดรักษำผู้ติดยำเสพติด ๒)กระทรวงสำธำรณสุขควรก ำหนดหลักเกณฑ์และวิธีกำรที่ชัดเจนในกำร บ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดตำมประมวลกฎหมำยยำเสพติด เพื่ออ ำนวยควำม สะดวกให้เจ้ำพนักงำนป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด หรือพนักงำนฝ่ำยปกครอง หรือต ำรวจ สำมำรถ ส่งตัวผู้ที่มีพฤติกำรณ์อันควรสงสัยว่ำกระท ำควำมผิดฐำนเสพยำเสพติดหรือมียำเสพติดไว้ในครอบครอง เพื่อเสพ ไปยังสถำนพยำบำลยำเสพติดหรือศูนย์คัดกรอง เพื่อเข้ำสู่กำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟู สมรรถภำพผู้ติดยำเสพติด ๓) ก ำหนดแนวทำงในกำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดให้มี คุณภำพ เพื่อไม่ให้ผู้เสพกลับไปเสพซ้ ำ และมีมำตรกำรในกำรติดตำมผู้เข้ำรับกำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟู สมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดอย่ำงใกล้ชิด เพื่อไม่ให้ขยำยเครือข่ำยค้ำยำเสพติดหรือผันตัวมำเป็นผู้ค้ำ รวมทั้งเฝ้ำระวังและหำมำตรกำรป้องกันกำรสร้ำงเครือข่ำยกำรค้ำยำเสพติดใน “สถำนฟื้นฟู สมรรถภำพผู้ติดยำเสพติด” และ “ศูนย์ฟื้นฟูสภำพทำงสังคม” ๔) เพิ่มจ ำนวน “สถำนฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติด” ให้ครอบคลุมมำกขึ้น โดยเน้นให้มีคุณภำพและมีมำตรฐำนเดียวกันทั้งประเทศ และในอนำคตควรจัดตั้งสถำนฟื้นฟู สมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดให้ครบทุกจังหวัด ๕)ควรปรับปรุงกำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดให้มี ประสิทธิภำพมำกขึ้น เพื่อให้เกิดควำมคล่องตัวในกำรควบคุมตัวเพื่อรอตรวจพิสูจน์ มีกำรใช้ เทคโนโลยีในกำรติดตำมผู้เข้ำรับกำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติด ๖)สนับสนุนงบประมำณ สถำนที่ และบุคลำกร เพื่อให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง กับกำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดด ำเนินกำรอย่ำงครบวงจรให้เพียงพอต่อ ปริมำณปัญหำผู้ป่วยยำเสพติดที่มีจ ำนวนมำก โดยเน้นเพิ่มงบประมำณให้เพียงพอ เนื่องจำก งบประมำณที่หน่วยงำนหลักได้รับไม่เพียงพอต่อกำรด ำเนินกำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติด ยำเสพติด ๗)ควรเร่งรัดให้กระทรวงมหำดไทยและกรุงเทพมหำนครด ำเนินกำรจัดตั้ง “ศูนย์ฟื้นฟูสภำพทำงสังคม” ตำมประมวลกฎหมำยยำเสพติด ให้ทั่วถึงทั้งในกรุงเทพมหำนครและ จังหวัดต่ำง ๆ เพื่อเป็นกำรสงเครำะห์ สนับสนุนให้ผู้ติดยำเสพติดหรือผู้ผ่ำนกำรบ ำบัดรักษำได้รับกำร พัฒนำคุณภำพชีวิตทำงด้ำนที่อยู่อำศัย กำรศึกษำ อำชีพ ตลอดจนกำรติดตำมดูแลช่วยเหลือจน สำมำรถกลับมำด ำรงชีวิตในสังคมได้อย่ำงปกติสุข


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๘)ควรเพิ่มประสิทธิภำพในกำรด ำเนินงำนของศูนย์คัดกรองซึ่งเป็นสถำนที่ คัดกรองกำรใช้ยำเสพติด ที่มีหน้ำที่และอ ำนำจที่ส ำคัญตำมประมวลกฎหมำยยำเสพติด เพื่อป้องกัน ผู้ค้ำยำเสพติดที่จะใช้ประโยชน์จำกมำตรกำรในกำรบ ำบัดรักษำและฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติด ๙)ควรเร่งรัดให้มีมำตรกำรในกำรสนับสนุนและส่งเสริมให้มีกำรจ้ำงงำนหรือ กำรประกอบอำชีพแก่ผู้ผ่ำนกำรบ ำบัดรักษำหรือฟื้นฟูสมรรถภำพผู้ติดยำเสพติดตำมประมวล กฎหมำยยำเสพติด ๒. ผลการพิจารณาศึกษาด้านการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน คณะกรรมำธิกำรกำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด ได้พิจำรณำ ศึกษำเรื่องส ำคัญที่เกี่ยวกับกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน สรุปได้ดังนี้ ๑) พิจำรณำเรื่องร้องเรียนกรณีกำรแจ้งเบำะแสกำรทุจริตในบริษัท ปตท. จ ำกัด (มหำชน) โดยเชิญ กรมสอบสวนคดีพิเศษ เข้ำร่วมประชุม ๒) พิจำรณำเรื่องร้องเรียนปัญหำกำรทุจริตของผู้บริหำร ธนำคำรกรุงไทย จ ำกัด (มหำชน) โดยเชิญ ผู้บริหำรธนำคำร กรุงไทย จ ำกัด (มหำชน) ธนำคำรแห่งประเทศไทย และ กระทรวงกำรคลัง เข้ำร่วมประชุม ๓) พิจำรณำเรื่องร้องเรียนกำรทุจริตในโครงกำรบ้ำนมั่นคงของสถำบันพัฒนำองค์กร ชุมชน (องค์กำรมหำชน) (พอช) โดยเชิญ ผู้แทนสถำบันพัฒนำองค์กรชุมชน (องค์กำรมหำชน) กระทรวงกำรพัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ เข้ำร่วมประชุม ๔) พิจำรณำเรื่องกำรทุจริตจัดซื้อถุงมือยำงขององค์กรคลังสินค้ำ โดยเชิญ ผู้แทน กระทรวงพำณิชย์ องค์กรคลังสินค้ำ และกรมสอบสวนคดีพิเศษ เข้ำร่วมประชุม ๕) พิจำรณำศึกษำกรณีขั้นตอนกำรด ำเนินกำรตรวจสอบรำยงำนธุรกรรมหรือกำร สืบสวนเส้นทำงกำรเงินของ พันต ำรวจเอก ธิติสรรค์ อุทธนผล อดีตผู้ก ำกับกำรสถำนีต ำรวจภูธรเมือง นครสวรรค์ ๖) พิจำรณำศึกษำกำรเข้ำตรวจค้นบริษัทผู้ให้บริกำรขำยสลำกกินแบ่งรัฐบำล ออนไลน์ อันอำจเข้ำข่ำยเป็นควำมผิดมูลฐำนตำมกฎหมำยว่ำด้วยกำรฟอกเงิน โดยเชิญ ผู้แทน ส ำนักงำนสลำกกินแบ่งรัฐบำล กระทรวงมหำดไทย และกรมสอบสวนคดีพิเศษ เข้ำร่วมประชุม ๗) พิจำรณำเรื่องร้องเรียนขอควำมเป็นธรรมกรณีประชำชนถูกบริษัท SMART PLUS SHOP หลอกลวงให้เข้ำร่วมลงทุนโดยสัญญำว่ำจะให้ผลประโยชน์ตอบแทนสูง ท ำให้ประชำชน หลงเชื่อและร่วมลงทุนโดยไม่ได้รับผลตอบแทน โดยเชิญ ผู้แทนกรมสอบสวนคดีพิเศษ และส ำนักงำน ต ำรวจแห่งชำติ เข้ำร่วมประชุม ๘) พิจำรณำติดตำมควำมคืบหน้ำกรณีเครือข่ำยกลุ่มธุรกิจทุนจีนสีเทำที่เข้ำข่ำย กระท ำควำมผิดมูลฐำนว่ำด้วยยำเสพติดและควำมผิดมูลฐำนว่ำด้วยกำรฟอกเงิน โดยเชิญ นำยชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ และผู้บัญชำกำรต ำรวจนครบำล ผู้บัญชำกำรต ำรวจคนเข้ำเมือง เลขำธิกำรคณะกรรมกำร ป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน และเลขำธิกำรคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด เข้ำร่วมประชุม


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ผลกำรพิจำรณำ คณะกรรมำธิกำรได้รับทรำบข้อมูลข้อเท็จที่เป็นประโยชนต่อกำร พิจำรณำโดยคณะกรรมำธิกำรได้ให้ข้อเสนอแนะให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ประชำสัมพันธ์ให้ประชำชน ได้รับทรำบและรู้เท่ำทันกลหลอกลวงในรูปแบบต่ำง ๆ อันเป็นกำรป้องปรำมเพื่อมิให้ตกเป็นเหยื่อจำก กำรหลอกลวง และก ำชับให้หน่วยงำนที่มีหน้ำที่ในกำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินด ำเนินกำรตำม อ ำนำจหน้ำที่อย่ำงจริงจังในกำรปรำบปรำม ยึดอำยัดทรัพย์ของผู้กระท ำควำมผิด นอกจำกนี้คณะกรรมำธิกำรได้มีกำรตั้งคณะอนุกรรมำธิกำรด้ำนกำรป้องกันและ ปรำบปรำมกำรฟอกเงิน โดยคณะอนุกรรมำธิกำรมีหน้ำที่และอ ำนำจในกำรกระท ำกิจกำร หรือ พิจำรณำศึกษำเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน และด ำเนินกำรอื่นใด ตำมที่ได้รับมอบหมำยจำกคณะกรรมำธิกำร โดยมีนำงศิริวรรณ ปรำศจำกศัตรู เป็นประธำนคณะอนุ กรรมำธิกำร ซึ่งคณะอนุกรรมำธิกำรได้มีพิจำรณำศึกษำสถำนกำรณ์กำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับกำร ฟอกเงินในปัจจุบัน ตลอดจนปัญหำอุปสรรคในกำรปฏิบัติงำนของส ำนักงำนป้องกันและปรำบปรำม กำรฟอกเงิน โดยเชิญ เลขำธิกำรคณะกรรมำกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงิน เข้ำร่วมประชุม ท ำให้คณะอนุกรรมำธิกำรฯ ได้รับทรำบข้อมูลเกี่ยวกับภำรกิจ อ ำนำจหน้ำที่ ผลกำรด ำเนินงำนที่ ส ำคัญ สถำนกำรณ์แนวโน้มกำรฟอกเงินและกำรสนับสนุนกำรเงินแก่กำรก่อกำรร้ำย ตลอดจน งบประมำณประจ ำปีปัญหำและอุปสรรคในกำรปฏิบัติงำนของส ำนักงำนป้องกันและปรำบปรำมกำร ฟอกเงิน ดังนั้น เพื่อให้เป็นกำรสอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) ด้ำน ควำมมั่นคงและด้ำนกำรปรับสมดุลและพัฒนำระบบกำรบริหำรจัดกำรภำครัฐ อีกทั้งเป็นกำร สนับสนุนให้กำรด ำเนินงำนด้ำนกำรป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงินให้มีประสิทธิภำพเท่ำทันต่อ สถำนกำรณ์ในปัจจุบันทั้งภำยในประเทศและระหว่ำงประเทศ คณะอนุกรรมำธิกำรฯ จึงมี ข้อเสนอแนะในประเด็นดังกล่ำว ดังนี้ ๑)ควรสนับสนุนให้ส ำนักงำนป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงินเพิ่มอัตรำก ำลังของ เจ้ำหน้ำที่ให้เพียงพอต่อกำรปฏิบัติงำน ๒)ส ำนักงำนป้องกันและปรำบปรำมกำรฟอกเงินควรได้รับกำรสนับสนุนงบประมำณ ให้เพียงพอ ตัวอย่ำงเช่น งบประมำณด้ำนระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศและฐำนข้อมูล (โปรแกรม ประมวลผลวิเครำะห์ข้อมูล) ตลอดจนกำรเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง อำทิ กรมที่ดิน ส ำนักงำนต ำรวจแห่งชำติ กระทรวงมหำดไทย กรมกำรขนส่งทำงบก เป็นต้น มำเพื่อใช้ในกำร ปฏิบัติงำน ๓)ส่งเสริมและผลักดันให้มีกำรปรับปรุงแก้ไขกฎหมำยให้สอดคล้องกับสถำนกำรณ์ ปัจจุบันและเป็นไปตำมมำตรฐำนสำกล ๔)ส่งเสริมให้มีกำรบูรณำกำรกำรท ำงำนร่วมกันระหว่ำงหน่วยงำนของรัฐ เช่น ส ำนักงำนต ำรวจแห่งชำติ และส ำนักงำนคณะกรรมกำรป้องกันและปรำบปรำมยำเสพติด เป็นต้น ๒.๔ บทสรุป/อภิปรำยผล คณะกรรมำธิกำรนับเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรนิติบัญญัติ โดยที่รัฐธรรมนูญแห่ง รำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ และข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ มำตรำ ๙๐ ได้ก ำหนดบทบำทหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรกำรป้องกัน


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติดว่ำเป็นคณะที่ได้รับมอบอ ำนำจจำกสภำผู้แทนรำษฎร เพื่อช่วย กระท ำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับกำรป้องกันและปรำบปรำม กำรฟอกเงินและยำเสพติด แนวทำงกำรด ำเนินงำนของคณะกรรมำธิกำร จะใช้วิธีกำรประชุมเพื่อ พิจำรณำเรื่องต่ำง ๆ โดยที่มำของเรื่องที่จะพิจำรณำนั้น มำจำกเรื่องที่สภำผู้แทนรำษฎรมีมติมอบหมำย ให้พิจำรณำ หรือเป็นเรื่องที่มีประชำชนมำร้องเรียนโดยเฉพำะกรณีเรื่องที่ประชำชนร้องเรียนนี้ จะเห็น ได้ว่ำเป็นบทบำทที่คณะกรรมำธิกำรต้องท ำหน้ำที่ช่วยเหลือประชำชน แม้จะไม่มีรัฐธรรมนูญหรือ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรก ำหนดให้คณะกรรมำธิกำรต้องรับหน้ำที่พิจำรณำเรื่องดังกล่ำวนี้ จึงจ ำเป็นที่จะต้องมีกำรศึกษำเรื่องสิทธิร้องเรียนของประชำชนตำมที่รัฐธรรมนูญก ำหนดและรับรองไว้ โดยควำมมุ่งหมำยของมำตรำ ๔๑ (๒) ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย นอกจำกนี้ อ ำนำจบำงประกำรของคณะกรรมำธิกำรเปลี่ยนแปลงไป คือ อ ำนำจในกำร สอบหำข้อเท็จจริง ซึ่งแต่เดิมตำมรัฐธรรมนูญในฉบับก่อน ๆ รวมถึงข้อบังคับกำรประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎรที่ได้ยกเลิกใช้ไปแล้ว ก ำหนดว่ำให้คณะกรรมำธิกำรมี “อ ำนำจในกำรพิจำรณำสอบสวน” แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงถ้อยค ำเป็น “อ ำนำจในกำรสอบหำข้อเท็จจริง” ผลกำรศึกษำถึงควำมมุ่ง หมำยของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ พบว่ำได้มีกำรวำงหลักกำรใหม่ เกี่ยวกับกำรท ำหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรในกรณีกำรสอบหำข้อเท็จจริง โดยถ้อยค ำที่เปลี่ยนไปนั้น มี ควำมมุ่งหมำยไม่อยำกให้ใช้ชื่อเดียวกับกับกำรท ำหน้ำที่ของเจ้ำพนักงำนในกระบวนกำรยุติธรรมที่มี อ ำนำจในกำรสืบสวนสอบสวนและไม่อยำกให้กำรท ำหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรในฐำนะฝ่ำยนิติบัญญัติ ท ำหน้ำที่เหมือนเจ้ำพนักงำนในกระบวนกำรยุติธรรม ๔. บทสรุปและอภิปรายผล คณะกรรมำธิกำรนับเป็นส่วนหนึ่งขององค์กรนิติบัญญัติ โดยที่รัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๒๙ และข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ มำตรำ ๙๐ ได้ก ำหนดบทบำทหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำรกำรป้องกัน ปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติดว่ำเป็นคณะที่ได้รับมอบอ ำนำจจำกสภำผู้แทนรำษฎร เพื่อช่วย กระท ำกิจกำร พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับกำรป้องกันและปรำบปรำม กำรฟอกเงินและยำเสพติด แนวทำงกำรด ำเนินงำนของคณะกรรมำธิกำร จะใช้วิธีกำรประชุมเพื่อ พิจำรณำเรื่องต่ำง ๆ โดยที่มำของเรื่องที่จะพิจำรณำนั้น มำจำกเรื่องที่สภำผู้แทนรำษฎรมีมติมอบหมำย ให้พิจำรณำ หรือเป็นเรื่องที่มีประชำชนมำร้องเรียนโดยเฉพำะกรณีเรื่องที่ประชำชนร้องเรียนนี้ จะเห็น ได้ว่ำเป็นบทบำทที่คณะกรรมำธิกำรต้องท ำหน้ำที่ช่วยเหลือประชำชน แม้จะไม่มีรัฐธรรมนูญหรือ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรก ำหนดให้คณะกรรมำธิกำรต้องรับหน้ำที่พิจำรณำเรื่องดังกล่ำวนี้ จึงจ ำเป็นที่จะต้องมีกำรศึกษำเรื่องสิทธิร้องเรียนของประชำชนตำมที่รัฐธรรมนูญก ำหนดและรับรองไว้ โดยควำมมุ่งหมำยของมำตรำ ๔๑ (๒) ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย นอกจำกนี้ อ ำนำจบำงประกำรของคณะกรรมำธิกำรเปลี่ยนแปลงไป คือ อ ำนำจในกำร สอบหำข้อเท็จจริง ซึ่งแต่เดิมตำมรัฐธรรมนูญในฉบับก่อน ๆ รวมถึงข้อบังคับกำรประชุมสภำ ผู้แทนรำษฎรที่ได้ยกเลิกใช้ไปแล้ว ก ำหนดว่ำให้คณะกรรมำธิกำรมี “อ ำนำจในกำรพิจำรณำสอบสวน”


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนแปลงถ้อยค ำเป็น “อ ำนำจในกำรสอบหำข้อเท็จจริง” ผลกำรศึกษำถึงควำม มุ่งหมำยของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ พบว่ำได้มีกำรวำงหลักกำรใหม่ เกี่ยวกับกำรท ำหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรในกรณีกำรสอบหำข้อเท็จจริง โดยถ้อยค ำที่เปลี่ยนไปนั้น มีควำมมุ่งหมำยไม่อยำกให้ใช้ชื่อเดียวกับกับกำรท ำหน้ำที่ของเจ้ำพนักงำนในกระบวนกำรยุติธรรมที่มี อ ำนำจในกำรสืบสวนสอบสวนและไม่อยำกให้กำรท ำหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรในฐำนะฝ่ำยนิติบัญญัติ ท ำหน้ำที่เหมือนเจ้ำพนักงำนในกระบวนกำรยุติธรรม ๕. ข้อเสนอแนะ คณะกรรมำธิกำรคือองค์คณะที่ประกอบด้วยบุคลำกรที่เป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรจ ำนวน ๑๕ คน ม ำเข้ ำ ร วมกันเป็นองค์คณะ และแต่ละคนมีค ว ำม รู้ค ว ำมส ำม ำ รถและค ว ำม รู้ ทำงกำรศึกษำในด้ำนต่ำง ๆ แตกต่ำงกันไป กำรประชุมพิจำรณำในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง กรรมำธิกำรอำจจะ มีควำมถนัดที่ไม่เท่ำกัน ท ำให้กำรประชุมของคณะกรรมำธิกำรโดยเฉพำะเรื่องร้องเรียน หรือกำรสอบหำข้อเท็จจริงอำจขำดเทคนิคขั้นตอนกำรพิจำรณำที่อำจท ำให้กำรด ำเนินกำรไม่สำมำรถหำ ข้อสรุปและลงควำมเห็นได้ นำงสำวพรเพ็ญ จอมทอง วิทยำกรปฏิบัติกำร กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรกำรป้องกันปรำบปรำมกำรฟอกเงินและยำเสพติด ส ำนักกรรมำธิกำร ๒


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร การศึกษากระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนจากการด าเนินโครงการของรัฐ ๑. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา ผู้จัดท ำได้รับมอบหมำยให้รับผิดชอบปฏิบัติหน้ำที่ฝ่ำยเลขำนุกำรในคณะอนุ กรรมำธิกำรติดตำมกระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชนจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ โดยที่ ประชุมคณะกรรมำธิกำรกำรพัฒนำกำรเมือง กำรสื่อสำรมวลชน และกำรมีส่วนร่วมของประชำชน สภำผู้แทนรำษฎร ครั้งที่ ๖๘ เมื่อวันพุธที่ ๒๗ ตุลำคม ๒๕๖๔ ได้พิจำรณำตั้งคณะอนุกรรมำธิกำรและ ก ำหนดกรอบกำรด ำเนินงำนของคณะอนุกรรมำธิกำร เพื่อพิจำรณำศึกษำติดตำมกระบวนกำรมีส่วนร่วม ของประชำชนจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ เนื่องจำกรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย มำตรำ ๗๘ บัญญัติให้ รัฐพึงส่งเสริมให้ประชำชนและชุมชนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับกำรปกครอง ระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในกำรพัฒนำประเทศด้ำนต่ำง ๆ กำรจัดท ำบริกำรสำธำรณะ ทั้งในระดับชำติและระดับท้องถิ่น กำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐ กำร ต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดทั้งกำรตัดสินใจทำงกำรเมือง และกำรอื่นใดบรรดำที่ อำจมีผลกระทบต่อประชำชนหรือชุมชน มีกำรปฏิบัติหน้ำที่ตำมที่ได้รับมอบหมำย ด ำเนินกำรระหว่ำง วันที่ ๒๗ ตุลำคม ๒๕๖๔ – ๒๐ มีนำคม ๒๕๖๖ โดยได้จัดท ำรำยงำนผลกำรศึกษำ เรื่อง “กำรศึกษำ กระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชนจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ” สรุปสำระส ำคัญได้ ดังนี้ เมื่อประชำชนได้รับปัญหำควำมเดือดร้อนจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ จำกกรณีที่ ไม่สำมำรถเสนอเรื่องไปยังหน่วยงำนของรัฐหรือฝ่ำยบริหำรเพื่อให้มีกำรแก้ไขปัญหำได้โดยตรง เนื่องจำกประชำชนมีข้อจ ำกัดบำงประกำร เช่น ไม่ทรำบช่องทำงกำรสื่อสำร ไม่ทรำบว่ำเรื่องร้องเรียน อยู่ในควำมรับผิดชอบของหน่วยงำนใด นอกจำกนี้บำงกรณีประชำชนเสนอเรื่องร้องเรียนต่อ หน่วยงำนผู้รับผิดชอบแล้วแต่ยังไม่มีควำมคืบหน้ำ อันเกิดจำกภำครัฐอำจไม่ให้ควำมส ำคัญ กำรพิจำรณำด ำเนินกำรล่ำช้ำ หรือกำรชี้แจงไม่มีควำมชัดเจน ประชำชนจึงได้เสนอเรื่องมำยัง คณะกรรมำธิกำรของสภำผู้แทนรำษฎร เนื่องจำกมีควำมเชื่อมั่นในกระบวนกำรพิจำรณำศึกษำของ คณะกรรมำธิกำร ในกำรติดตำมตรวจสอบกำรท ำหน้ำที่ของฝ่ำยบริหำร ซึ่งคณะกรรมำธิกำร ประกอบด้วยกรรมำธิกำรซึ่งมำจำกกำรแต่งตั้งของสภำผู้แทนรำษฎรตำมสัดส่วนของพรรคกำรเมือง ต่ำง ๆ ทุกพรรค กำรท ำหน้ำที่ของคณะกรรมำธิกำรได้ด ำเนินกำรภำยใต้หน้ำที่และอ ำนำจ ตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทยพุทธศักรำช ๒๕๖๐ และข้อบังคับกำรประชุม สภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ กำรท ำหน้ำที่ของฝ่ำยนิติบัญญัติผ่ำนกลไกของคณะกรรมำธิกำร ส่วนหนึ่งคือกำรติดตำมตรวจสอบกำรด ำเนินงำนของหน่วยงำนของรัฐซึ่งเป็นฝ่ำยบริหำรตำมโครงกำร หรือกำรด ำเนินงำนตำมนโยบำยของรัฐบำลที่ได้แถลงต่อรัฐสภำ และกำรด ำเนินงำนตำมแผนงำน โครงกำรที่ได้รับอนุมัติจำกงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีที่แต่ละหน่วยงำนของฝ่ำยบริหำรแต่ละ กระทรวงรวมถึงหน่วยงำนต่ำง ๆ ที่มีกำรใช้จ่ำยงบประมำณแผ่นดินที่ได้เสนอต่อสภำผู้แทนรำษฎร ซึ่งประชำชนถือว่ำเป็นเจ้ำของอ ำนำจอธิปไตย สำมำรถเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรติดตำมตรวจสอบ ฝ่ำยบริหำรผ่ำนกลไกกำรท ำงำนของฝ่ำยนิติบัญญัติ โดยผ่ำนกระบวนกำรขับเคลื่อนกำรมีส่วนร่วม ของประชำชนตำมที่กฎหมำยบัญญัติซึ่งมีหลำยช่องทำง ทั้งนี้ กำรพิจำรณำศึกษำของคณะอนุ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร กรรมำธิกำร จึงเป็นกำรส่งเสริมให้ประชำชนมีส่วนร่วมในกำรติดตำมกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ ตำมระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข ให้มีประสิทธิภำพและประสิทธิผล ให้สมดังเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญอย่ำงแท้จริง แนวทำงกำรพิจำรณำศึกษำ พิจำรณำศึกษำปัญหำและอุปสรรคกระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชน จำกกำรด ำเนิน โครงกำรและกำรจัดท ำบริกำรสำธำรณะของรัฐ ทั้งในระดับชำติและระดับท้องถิ่น ตำมที่ คณะกรรมำธิกำรได้มอบหมำย ดังนี้ ๑) พิจำรณำเรื่องร้องเรียนของประชำชนที่ร้องเรียนมำยังคณะกรรมำธิกำร หรือตำมมติที่ ประชุมได้มอบหมำยให้คณะอนุกรรมำธิกำรด ำเนินกำรพิจำรณำศึกษำ ๒) พิจำรณำปัญหำและอุปสรรคกระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชน เพื่อติดตำม กระบวนกำรด ำเนินกำรตำมโครงกำร โดยน ำเสนอแนวทำงกำรและวิธีกำรแก้ไขเพื่อให้ คณะกรรมำธิกำรพิจำรณำ และด ำเนินกำรภำยใต้กรอบหน้ำที่และอ ำนำจของคณะกรรมำธิกำร เช่น กำรจัดประชุมโดยเชิญผู้ร้องเรียน ผู้แทนหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องเข้ำร่วมประชุม มีกำรลงพื้นที่เพื่อรับฟัง สภำพปัญหำ ตลอดจนกำรจัดหำแนวทำงเพื่อจัดท ำข้อเสนอแนะในกำรแก้ไขปัญหำไปยังผู้ที่เกี่ยวข้อง ๓) จัดท ำควำมเห็นและข้อเสนอแนะรำยงำนต่อคณะกรรมำธิกำร เพื่อส่งต่อแนวทำง กำรแก้ไขปัญหำควำมเดือดร้อนของประชำชนจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ ไปยังบุคคลหรือ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง และแจ้งผลกำรพิจำรณำไปยังผู้ร้องเรียน ๒. กฎหมาย กฎ ระเบียบ และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ๒.๑ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุธศักรำช ๒๕๖๐ ดังนี้ มำตรำ ๓ อ ำนำจอธิปไตยเป็นของปวงชนชำวไทย พระมหำกษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุข ทรงใช้อ ำนำจนั้นทำงรัฐสภำ คณะรัฐมนตรี และศำล ตำมบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ รัฐสภำ คณะรัฐมนตรี ศำล องค์กรอิสระ และหน่วยงำนของรัฐ ต้องปฏิบัติหน้ำที่ให้ เป็นไปตำมรัฐธรรมนูญ กฎหมำย และหลักนิติธรรม เพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชำติและควำม ผำสุกของประชำชนโดยรวม มำตรำ ๔๑ บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ (๑) ได้รับทรำบและเข้ำถึงข้อมูลหรือข่ำวสำรสำธำรณะในครอบครองของหน่วยงำน ของรัฐตำมที่กฎหมำยบัญญัติ (๒) เสนอเรื่องรำวร้องทุกข์ต่อหน่วยงำนของรัฐและได้รับแจ้งผลกำรพิจำรณำโดยรวดเร็ว (๓) ฟ้องหน่วยงำนของรัฐให้รับผิดเนื่องจำกกำรกระท ำหรือกำรละเว้นกำรกระท ำ ของข้ำรำชกำร พนักงำน หรือลูกจ้ำงของหน่วยงำนของรัฐ มำตรำ ๔๓ บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิ (๑) อนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญำ ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และ จำรีตประเพณีอันดีงำมทั้งของท้องถิ่นและของชำติ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร (๒) จัดกำร บ ำรุงรักษำ และใช้ประโยชน์จำกทรัพยำกรธรรมชำติ สิ่งแวดล้อม และ ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพอย่ำงสมดุลและยั่งยืนตำมวิธีกำรที่กฎหมำยบัญญัติ (๓) เข้ำชื่อกันเพื่อเสนอแนะต่อหน่วยงำนของรัฐให้ด ำเนินกำรใดอันจะเป็นประโยชน์ ต่อประชำชนหรือชุมชน หรืองดเว้นกำรด ำเนินกำรใดอันจะกระทบต่อควำมเป็นอยู่อย่ำงสงบสุข ของประชำชนหรือชุมชนและได้รับแจ้งผลกำรพิจำรณำโดยรวดเร็ว ทั้งนี้ หน่วยงำนของรัฐต้อง พิจำรณำข้อเสนอแนะนั้นโดยให้ประชำชนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในกำรพิจำรณำด้วยตำมวิธีกำรที่ กฎหมำยบัญญัติ (๔) จัดให้มีระบบสวัสดิกำรของชุมชน สิทธิของบุคคลและชุมชนตำมวรรคหนึ่ง หมำยควำมรวมถึงสิทธิที่จะร่วมกับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นหรือรัฐในกำรด ำเนินกำรดังกล่ำวด้วย มำตรำ ๗๘ รัฐพึงส่งเสริมให้ประชำชนและชุมชนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข และมีส่วนร่วมในกำร พัฒนำประเทศด้ำนต่ำง ๆ กำรจัดท ำบริกำรสำธำรณะทั้งในระดับชำติและระดับท้องถิ่น กำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐ กำรต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ รวมตลอดทั้งกำรตัดสินใจ ทำงกำรเมือง และกำรอื่นใดบรรดำที่อำจมีผลกระทบต่อประชำชนหรือชุมชน มำตรำ ๑๒๙ สภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำมีอ ำนำจเลือกสมำชิกของแต่ละสภำ ตั้งเป็นคณะกรรมำธิกำรสำมัญ และมีอ ำนำจเลือกบุคคลผู้เป็นสมำชิกหรือมิได้เป็นสมำชิก ตั้งเป็น คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ หรือคณะกรรมำธิกำรร่วมกันตำมมำตรำ ๑๓๗ เพื่อกระท ำกิจกำร พิจำรณำ สอบหำข้อเท็จจริงหรือศึกษำเรื่องใด ๆ และรำยงำนให้สภำทรำบตำมระยะเวลำที่สภำก ำหนด กำรกระท ำกิจกำร กำรสอบหำข้อเท็จจริง หรือกำรศึกษำตำมวรรคหนึ่ง ต้องเป็นเรื่อง ที่อยู่ในหน้ำที่และอ ำนำจของสภำ และหน้ำที่และอ ำนำจตำมที่ระบุไว้ในกำรตั้งคณะกรรมำธิกำรก็ดี ในกำรด ำเนินกำรของคณะกรรมำธิกำรก็ดี ต้องไม่เป็นเรื่องซ้ ำซ้อนกัน ในกรณีที่กำรกระท ำกิจกำร กำรสอบหำข้อเท็จจริง หรือกำรศึกษำในเรื่องใดมีควำมเกี่ยวข้องกัน ให้เป็นหน้ำที่ของประธำนสภำ ที่จะต้องด ำเนินกำรให้คณะกรรมำธิกำรที่เกี่ยวข้องทุกชุดร่วมกันด ำเนินกำร ในกำรสอบหำข้อเท็จจริง คณะกรรมำธิกำรจะมอบอ ำนำจหรือมอบหมำยให้บุคคล หรือคณะบุคคลใดกระท ำกำรแทนมิได้ คณะกรรมำธิกำรตำมวรรคหนึ่งมีอ ำนำจเรียกเอกสำรจำกบุคคลใด หรือเรียกบุคคลใด มำแถลงข้อเท็จจริงหรือแสดงควำมเห็นในกิจกำรที่กระท ำหรือในเรื่องที่พิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำอยู่นั้นได้ แต่กำรเรียกเช่นว่ำนั้นมิให้ใช้บังคับแก่ผู้พิพำกษำหรือตุลำกำรที่ปฏิบัติตำมหน้ำที่ หรือใช้อ ำนำจในกระบวนวิธีพิจำรณำพิพำกษำอรรถคดี หรือกำรบริหำรงำนบุคคลของแต่ละศำล และ มิให้ใช้บังคับแก่ผู้ด ำรงต ำแหน่งในองค์กรอิสระในส่วนที่เกี่ยวกับกำรปฏิบัติตำมหน้ำที่และอ ำนำจ โดยตรงในแต่ละองค์กรตำมบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญหรือตำมพระรำชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ แล้วแต่กรณี


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ให้เป็นหน้ำที่ของรัฐมนตรีที่รับผิดชอบในกิจกำรที่คณะกรรมำธิกำรสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำที่จะต้องสั่งกำรให้เจ้ำหน้ำที่ของรัฐในสังกัดหรือในก ำกับ ให้ข้อเท็จจริง ส่งเอกสำร หรือ แสดงควำมเห็นตำมที่คณะกรรมำธิกำรเรียก ให้สภำผู้แทนรำษฎรและวุฒิสภำเปิดเผยบันทึกกำรประชุม รำยงำนกำรด ำเนินกำร รำยงำนกำรสอบหำข้อเท็จจริง หรือรำยงำนกำรศึกษำ แล้วแต่กรณี ของคณะกรรมำธิกำรให้ ประชำชนทรำบเว้นแต่สภำผู้แทนรำษฎรหรือวุฒิสภำ แล้วแต่กรณี มีมติมิให้เปิดเผย เอกสิทธิ์ที่บัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๒๔ ให้คุ้มครองถึงบุคคลผู้กระท ำหน้ำที่และผู้ปฏิบัติ ตำมค ำเรียกตำมมำตรำนี้ด้วย กรรมำธิกำรสำมัญซึ่งตั้งจำกผู้ซึ่งเป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรทั้งหมด ต้องมีจ ำนวน ตำมหรือใกล้เคียงกับอัตรำส่วนของจ ำนวนสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรของแต่ละพรรคกำรเมืองที่มีอยู่ใน สภำผู้แทนรำษฎร ในระหว่ำงที่ยังไม่มีข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎรตำมมำตรำ ๑๒๘ ให้ประธำนสภำผู้แทนรำษฎรเป็นผู้ก ำหนดอัตรำส่วนตำมวรรคแปด ๒.๒ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ดังนี้ ข้อ ๙๐ (๒๔) คณะกรรมำธิกำรกำรพัฒนำกำรเมือง กำรสื่อสำรมวลชน และกำรมี ส่วนร่วมของประชำชน มีหน้ำที่และอ ำนำจกระท ำกิจกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำ เรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับกำรพัฒนำกำรเมืองกำรสื่อสำรมวลชน และกำรมีส่วนร่วมของประชำชน กำรส่งเสริมและเผยแพร่กำรเมือง กำรปกครองในระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็น ประมุข วิถีคิดและวิถีปฏิบัติที่เป็นประชำธิปไตย รวมทั้ง ปัญหำและอุปสรรคเกี่ยวกับกำรบังคับใช้ รัฐธรรมนูญ กฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญ ส่งเสริมกำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำรของประชำชน เสรีภำพและ ควำมรับผิดชอบในกำรแสดงควำมคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน กำรคุ้มครองผู้เสียหำยจำกกำร เผยแพร่ข้อมูลข่ำวสำร ตลอดจนส่งเสริมให้ประชำชนและชุมชนมีส่วนร่วมในกำรตัดสินใจทำง กำรเมือง และกำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐทุกระดับ” ๒.๓ ระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชน พ.ศ. ๒๕๔๘ กรณีหน่วยงำนของรัฐจะต้องปฏิบัติตำมระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรรับฟัง ควำมคิดเห็นของประชำชน พ.ศ. ๒๕๔๘ จะต้องเป็นกำรด ำเนินกำร "โครงกำรของรัฐ" (ตำมระเบียบฯ ข้อ ๔) ดังนี้ (๑) เป็นกำรด ำเนินกำรโดยหน่วยงำนของรัฐ เช่น องค์กำรบริหำรส่วนต ำบล เป็นต้น (๒) เป็นโครงกำรเกี่ยวกับกำรพัฒนำเศรษฐกิจหรือสังคม เช่น กำรสร้ำงเขื่อน กำรสร้ำงถนน เป็นต้น (๓) หน่วยงำนของรัฐเป็นผู้ด ำเนินกำรเอง/ให้สัมปทำน/อนุญำต ให้บุคคลอื่นท ำ เช่น บริษัท B ได้รับสัมปทำนกำรก่อสร้ำงสะพำนจำกองค์กรปกครองท้องถิ่นซึ่งเป็นเจ้ำของโครงกำร เป็นต้น (๔) เกิดผลกระทบอย่ำงกว้ำงขวำงต่อคุณภำพสิ่งแวดล้อม สุขภำพอนำมัย วิถีชีวิต หรือส่วนได้เสียเกี่ยวกับชุมชนท้องถิ่น


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๑๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร กำรมีส่วนร่วม หมำยถึง กำรเปิดโอกำสให้ประชำชนได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน กำรพัฒนำทั้งในกำรแก้ไขปัญหำและป้องกันปัญหำโดยเปิดโอกำสให้มีส่วนร่วมในกำรคิดริเริ่ม ร่วมก ำหนดนโยบำย ร่วมวำงแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตำมแผน ร่วมตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐ ทุกระดับ ร่วมติดตำมประเมินผลและรับผิดชอบในเรื่องต่ำง ๆ อันมีผลกระทบถึงประชำชน ชุมชน และเครือข่ำยทุกรูปแบบในพื้นที่ กำรมีส่วนร่วมของประชำชน กำรที่กลุ่มประชำชน หรือขบวนกำรที่สมำชิกของชุมชนที่กระท ำกำรออกมำ ในลักษณะของกำรท ำงำนร่วมกัน ที่จะแสดงให้เห็นถึงควำมต้องกำรร่วม ควำมสนใจร่วม มีควำม ต้องกำรที่จะบรรลุถึงเป้ำหมำยร่วมทำงเศรษฐกิจและสังคมหรือกำรเมือง หรือกำรด ำเนินกำรร่วมกัน เพื่อให้เกิดอิทธิพลต่อรองอ ำนำจ มติชน ไม่ว่ำจะเป็นทำงตรงหรือทำงอ้อม หรือกำรด ำเนินกำรเพื่อให้ เกิดอิทธิพลต่อรองอ ำนำจทำงกำรเมือง เศรษฐกิจ กำรปรับปรุงสถำนภำพทำงสังคมในกลุ่มชุมชน นอกจำกนี้ ยังมีนักวิชำกำรอีกหลำยท่ำนที่ได้ให้นิยำมค ำว่ำ “กำรมีส่วนร่วมของประชำชน” ไว้ เช่น เจมส์ แอล เครยัน ได้ก ำหนดควำมหมำยของกำรมีส่วนร่วมของประชำชนว่ำ เป็นกระบวนกำร ที่รวบรวมเอำควำมห่วงกังวล ควำมต้องกำรและค่ำนิยมต่ำง ๆ ของสำธำรณชนไว้อยู่ในกระบวนกำร ตัดสินใจของรัฐและเอกชน เป็นกำรสื่อสำรสองทำง และเป็นกำรมีปฏิสัมพันธ์ที่มีเป้ำหมำยเพื่อกำร ตัดสินใจที่ดีกว่ำและที่ได้รับกำรสนับสนุนจำกสำธำรณชน ศำสตรำจำรย์บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และ นำงถวิลวดี บุรีกุล กล่ำวถึง กำรมีส่วนร่วมในระบอบประชำธิปไตยแบบมีส่วนร่วมว่ำ หมำยถึง กำรที่ อ ำนำจในกำรตัดสินใจไม่ควรเป็นของกลุ่มคนจ ำนวนน้อย แต่อ ำนำจควรได้รับกำรจัดสรรในระหว่ำง ประชำชน เพื่อทุก ๆ คนได้มีโอกำสที่จะมีอิทธิพลต่อกิจกรรมส่วนรวม รองศำสตรำจำรย์คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ ให้ควำมหมำยกำรมีส่วนร่วมของประชำชน (Public Participation) หมำยถึง กำรกระจำยโอกำสให้ประชำชนมีส่วนร่วมทำงกำรเมือง และกำรบริหำรเกี่ยวกับกำรตัดสินใจในเรื่อง ต่ำง ๆ ร่วมทั้ง กำรจัดสรรทรัพยำกรของชุมชนและของชำติ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตและควำม เป็นอยู่ของประชำชน โดยกำรให้ข้อมูล แสดงควำมคิดเห็นให้ค ำแนะน ำปรึกษำ ร่วมวำงแผน ร่วมปฏิบัติ รวมตลอดจนกำรควบคุมโดยตรงจำกประชำชน นำงสำวปัทมำ สูบก ำปัง ได้สรุป ควำมหมำยของกำรมีส่วนร่วมของประชำชนไว้ในรำยงำนกำรศึกษำ เรื่อง กำรมีส่วนร่วมของ ประชำชนในกระบวนกำรนโยบำยสำธำรณะ ว่ำหมำยถึง กำรเปิดโอกำสให้ประชำชนมีสิทธิ ในกระบวนกำรนโยบำยสำธำรณะทั้งในด้ำนกำรให้และรับรู้ข้อมูลข่ำวสำร กำรให้ควำมคิดเห็นหรือ ข้อเสนอแนะ กำรร่วมตัดสินใจ ทั้งในขั้นตอนกำรริเริ่มนโยบำย กำรจัดท ำแผนงำน โครงกำรหรือ กิจกรรมที่อำจมีผลกระทบต่อคุณภำพชีวิตและสิ่งแวดล้อม กำรวำงแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคม กำรจัดกำรสิ่งแวดล้อมและทรัพยำกรธรรมชำติ รวมทั้งกำรปฏิบัติ กำรติดตำม และประเมินผลตำม นโยบำยแผนงำนโครงกำรหรือกิจกรรมนั้น


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร หลักกำรมีส่วนร่วม ๑. หน่วยงำนมีกำรให้ข้อมูลข่ำวสำร ๒. หน่วยงำนมีกำรรับฟังควำมคิดเห็นจำกประชำชน ๓. หน่วยงำนมีกำรให้กำรตัดสินใจ ๔. หน่วยงำนมีกำรพัฒนำควำมสำมำรถในกำรมีส่วนร่วมของประชำชน ระดับของกำรมีส่วนร่วม กำรแบ่งระดับขั้นกำรมีส่วนร่วมของประชำชนอำจแบ่งได้หลำยวิธี ขึ้นอยู่กับ วัตถุประสงค์และควำมละเอียดของกำรแบ่งเป็นส ำคัญ โดยมีข้อพึงสังเกตคือ ถ้ำระดับกำรมีส่วนร่วมต่ ำ จ ำนวนประชำชนที่เข้ำมีส่วนร่วมจะมำก และยิ่งระดับกำรมีส่วนร่วมสูงขึ้นเพียงใด จ ำนวนประชำชนที่ เข้ำมีส่วนร่วมก็จะลดลงตำมล ำดับ ระดับกำรมีส่วนร่วมของประชำชนเรียงตำมล ำดับจำกต่ ำสุด ไปหำสูงสุด ได้แก่ ๑) ระดับกำรให้ข้อมูล เป็นระดับต่ ำสุด และเป็นวิธีกำรที่ง่ำยที่สุดของกำร ติดต่อสื่อสำรระหว่ำงผู้วำงแผนโครงกำรกับประชำชน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ข้อมูลแก่ประชำชน โดยวิธีกำรต่ำง ๆ เช่น กำรแถลงข่ำว กำรแจกข่ำวสำร และกำรแสดงนิทรรศกำร เป็นต้น แต่ไม่เปิด โอกำสให้แสดงควำมคิดเห็นหรือเข้ำมำเกี่ยวข้องใด ๆ ๒) ระดับกำรเปิดรับควำมคิดเห็นจำกประชำชน เป็นระดับขั้นที่สูงกว่ำระดับแรก กล่ำวคือ ผู้วำงแผนโครงกำรจะเชิญชวนให้ประชำชนแสดงควำมคิดเห็น เพื่อเป็นข้อมูลในกำรประเมิน ข้อดีข้อเสียของโครงกำรอย่ำงชัดเจนมำกขึ้น เช่น กำรจัดท ำแบบสอบถำมก่อนริเริ่มโครงกำรต่ำง ๆ หรือกำรบรรยำยและเปิดโอกำสให้ผู้ฟังแสดงควำมคิดเห็นเกี่ยวกับโครงกำรนั้น ๆ เป็นต้น ๓) ระดับกำรปรึกษำหำรือ เป็นกำรเจรจำอย่ำงเป็นทำงกำรระหว่ำงผู้วำงแผน โครงกำรและประชำชน เพื่อประเมินควำมก้ำวหน้ำหรือระบุประเด็นข้อสงสัยต่ำง ๆ เช่น กำรจัด ประชุม กำรจัดสัมมนำเชิงปฏิบัติกำร และกำรเปิดกว้ำงรับฟังควำมคิดเห็น เป็นต้น ๔) ระดับกำรวำงแผนร่วมกัน เป็นระดับกำรมีส่วนร่วมที่ผู้วำงแผนโครงกำรกับ ประชำชนมีควำมรับผิดชอบร่วมกันในกำรวำงแผนเตรียมโครงกำร และผลที่จะเกิดขึ้นจำกกำร ด ำเนินกำรโครงกำร เหมำะที่จะใช้ส ำหรับกำรพิจำรณำประเด็นที่มีควำมยุ่งยำกซับซ้อนและมีข้อ โต้แย้งมำก เช่น กำรใช้กลุ่มที่ปรึกษำซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิในสำขำต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กำรใช้ อนุญำโตตุลำกำรเพื่อแก้ปัญหำข้อขัดแย้ง และกำรเจรจำเพื่อหำทำงประนีประนอมกัน เป็นต้น ๕) ระดับกำรร่วมปฏิบัติ เป็นระดับที่ผู้รับผิดชอบโครงกำรกับประชำชนร่วมกันด ำเนิน โครงกำร เป็นขั้นกำรน ำโครงกำรไปปฏิบัติร่วมกันเพื่อให้บรรลุผลตำมวัตถุประสงค์ที่วำงไว้ ๖) ระดับกำรควบคุมโดยประชำชน เป็นระดับสูงสุดของกำรมีส่วนร่วมโดยประชำชน เพื่อแก้ปัญหำ ข้อขัดแย้งที่มีอยู่ทั้งหมด เช่น กำรลงประชำมติ แต่กำรลงประชำมติจะสะท้อนถึงควำม ต้องกำรของประชำชนได้ดีเพียงใด ขึ้นอยู่กับควำมชัดเจนของประเด็นที่จะลงประชำมติและกำร กระจำยข่ำวสำรเกี่ยวกับข้อดีข้อเสียของประเด็นดังกล่ำวให้ประชำชนเข้ำใจอย่ำงสมบูรณ์และทั่วถึง เพียงใด โดยในประเทศที่มีกำรพัฒนำทำงกำรเมืองแล้ว ผลของกำรลงประชำมติจะมีผลบังคับให้ รัฐบำลต้องปฏิบัติตำม แต่ส ำหรับประเทศไทยนั้น รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันบัญญัติให้ ผลของกำร


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ประชำมติมีทั้งแบบที่มีข้อยุติโดยเสียงข้ำงมำก และแบบที่เป็นเพียงกำรให้ค ำปรึกษำแก่คณะรัฐมนตรี ซึ่งไม่มีผลบังคับให้รัฐบำลต้องปฏิบัติตำมแต่อย่ำงใด ๓. บทวิเคราะห์ ๓.๑ กระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชน คือ กำรให้ประชำชนซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้เสียต่อ กำรด ำเนินงำนภำครัฐได้มีโอกำสรับทรำบและเข้ำถึงข้อมูลภำครัฐ และมีโอกำสในกำรแสดงควำมคิดเห็น และควำมคิดเห็นของประชำชนที่หลำกหลำยจะเป็นส่วนหนึ่งในกำรประกอบกำรตัดสินใจของภำครัฐ ซึ่งกำรมีส่วนร่วมของประชำชนล้วนถูกบัญญัติไว้ให้เป็นสิทธิของประชำชน และได้รับกำรรับรองและ คุ้มครองไว้ตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ หลำยมำตรำ กำรมีส่วนร่วมของประชำชนมีประโยชน์ต่อภำครัฐในหลำยด้ำน ทั้งกำรเพิ่มประสิทธิภำพและ ศักยภำพในกำรบริหำรงำนของภำครัฐ เพรำะจะท ำให้ภำครัฐมีข้อมูลควำมคิดเห็นและควำมต้องกำร จำกประชำชนโดยตรง ท ำให้กำรตัดสินใจตอบโจทย์ปัญหำควำมต้องกำรของประชำชนได้มีประสิทธิภำพมำก ยิ่งขึ้น และกำรรับฟังควำมคิดเห็นจำกผู้เชี่ยวชำญในหลำยด้ำนจะเป็นประโยชน์ต่อภำครัฐ ที่ได้มีข้อมูล ข้อเท็จจริงในเชิงลึกและกว้ำงขวำงมำกขึ้น เพื่อท ำให้ผู้มีอ ำนำจตัดสินใจของภำครัฐมีข้อมูลที่ครบถ้วน อย่ำงรอบด้ำนมำกขึ้น และเพื่อลดกำรใช้ทรัพยำกรภำครัฐ ทั้งบุคลำกรและงบประมำณในกำร พิจำรณำศึกษำข้อมูลรำยละเอียดต่ำง ๆ ทั้งนี้ กำรมีส่วนร่วมของประชำชนและภำคส่วนต่ำง ๆ จะช่วยลด ปัญหำควำมขัดแย้งระหว่ำงรัฐและประชำชน อันเป็นกำรส่งเสริมควำมรู้ควำมเข้ำใจ เชื่อใจ และกำร ยอมรับมำกขึ้นในหมู่ประชำชนและส่งเสริมสิทธิเสรีภำพของประชำชน ให้ประชำชนรู้สึกว่ำกำรเมือง เป็นเรื่องใกล้ตัว สนใจที่จะเข้ำมำมีส่วนร่วมและตรวจสอบกำรท ำงำนของภำครัฐและท ำให้ ประชำธิปไตยในประเทศเข้มแข็งขึ้น ๓.๒ กำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐ ถือว่ำเป็นกลไก ส ำคัญประกำรหนึ่งเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปตำมระบบกำรปกครองในระบอบประชำธิปไตยว่ำ มีบทบำท ส ำคัญต่อกระบวนกำรพัฒนำประเทศ กล่ำวคือ เป็นกระบวนกำรทำงสังคมที่เปิดโอกำสให้ผู้มีส่วน เกี่ยวข้องในฐำนะที่เป็นผู้มีส่วนได้เสียเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรติดตำมตรวจสอบกำรท ำหน้ำที่ของ เจ้ำหน้ำที่ของรัฐ ติดตำมกำรปฏิบัติหน้ำที่ของหน่วยงำนของรัฐ กำรวิเครำะห์ปัญหำ กำรแสดงควำม คิดเห็น กำรด ำเนินกำร กำรประสำนควำมร่วมมือ กำรติดตำมตรวจสอบผลกระทบของกำรด ำเนินกำร กำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำร ตลอดจนกำรมีส่วนร่วมในกำรด ำเนินกำรในเรื่องหนึ่งเรื่องใด อันเป็นกำร ด ำเนินโครงกำรหรือกำรแก้ไขปัญหำของชุมชนหรือท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ของประชำชน สังคม ส่วนรวม และสอดคล้องกับนโยบำยของรัฐ เพื่อให้เกิดกำรป้องกัน แก้ไข และจัดกำรได้อย่ำงถูกต้อง และมีประสิทธิภำพ ป้องกันกำรทุจริตและประพฤติมิชอบ กำรมีส่วนร่วมของประชำชนในกำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐ เป็นกระบวนกำรทำง สังคมที่เปิดโอกำสให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในฐำนะที่เป็นผู้มีส่วนได้เสียเข้ำมำมีส่วนในกำรติดตำม ตรวจสอบกำรท ำหน้ำที่ของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐ กำรติดตำมตรวจสอบกำรทุจริตหรือประพฤติมิชอบ ซึ่งจะมีประโยชน์ต่อกำรวิเครำะห์ปัญหำ กำรตัดสินใจ กำรด ำเนินกำร กำรประสำนควำมร่วมมือ กำรติดตำมตรวจสอบผลกระทบของกำรด ำเนินกำร ตลอดจนกำรมีส่วนร่วมในกำรด ำเนินกำรในเรื่อง


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร หนึ่งเรื่องใดของรัฐ อันเป็นกำรด ำเนินโครงกำร หรือกำรแก้ไขปัญหำของชุมชนหรือท้องถิ่น เพื่อประโยชน์ของประชำชน สังคมส่วนรวม และสอดคล้องกับนโยบำยของรัฐ เพื่อให้เกิดกำรป้องกัน แก้ไข และจัดกำรได้อย่ำงถูกต้องรวมทั้งมีประสิทธิภำพ ๓.๓ กำรรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชนจะท ำให้องค์กรของรัฐได้รับข้อมูล หรือ ควำมคิดเห็นจำกประชำชนเกี่ยวกับเรื่องที่น ำออกไปรับฟังเพื่อน ำข้อมูลที่ได้มำประกอบกำรตัดสินใจ ว่ำสมควรด ำเนินกำรอย่ำงไรกับเรื่องที่น ำออกไปรับฟังนั้น รวมทั้งก ำหนดแนวทำงที่เหมำะสมและ เพียงพอในกำรป้องกันหรือเยียวยำผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นจำกกำรตัดสินใจนั้น นอกจำกกำรรับฟัง ควำมคิดเห็นของประชำชนแล้ว ตำมสภำพปัญหำที่สะสมมำอย่ำงยำวนำนในสังคมไทยยังมีควำม จ ำเป็นต้องมีกำรตรวจสอบอ ำนำจรัฐโดยประชำชนในรูปแบบต่ำง ๆ เช่น ประชำชนมีสิทธิที่จะ ตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐของเจ้ำหน้ำที่ของรัฐซึ่งมีหน้ำที่ดูแลจัดกำรและรักษำประโยชน์สำธำรณะ ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรตำมพระรำชบัญญัติข้อมูลข่ำวสำรของทำง รำชกำร พ.ศ. ๒๕๔๐ และมีสิทธิใช้กลไกต่ำง ๆ ในกำรควบคุมตรวจสอบกำรปฏิบัติงำนของเจ้ำหน้ำที่ ของรัฐ โดยร้องเรียนต่อผู้บังคับบัญชำผู้มีอ ำนำจก ำกับดูแลโดยตรง ร้องเรียนต่อคณะกรรมกำร ป.ป.ช. หรือร้องเรียนต่อหน่วยงำน เช่น ส ำนักงำนต ำรวจแห่งชำติ กรมสอบสวนคดีพิเศษ ส ำนักงำนป้องกัน และปรำบปรำมกำรฟอกเงิน ส ำนักงำนกำรตรวจเงินแผ่นดิน ศำลปกครอง เป็นต้น กำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมืองของประชำชนที่ส ำคัญคือ ประชำชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งยัง สำมำรถใช้สิทธิโดยตรงในกำรที่จะเข้ำชื่อเสนอกฎหมำยตำมรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ซึ่งก ำหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจ ำนวนไม่น้อยกว่ำหนึ่งหมื่นคนเข้ำชื่อเสนอกฎหมำย ได้ ทั้งนี้ ตำมที่กฎหมำยว่ำด้วยกำรเข้ำชื่อเสนอกฎหมำยได้ก ำหนด และสำมำรถเข้ำชื่อเสนอ ข้อบัญญัติท้องถิ่น ตำมพระรำชบัญญัติกำรเข้ำชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๖๕ หรือเข้ำชื่อ ถอดถอนสมำชิกสภำท้องถิ่นหรือผู้บริหำรท้องถิ่น ซึ่งเป็นผู้แทนของตนได้ตำมพระรำชบัญญัติว่ำด้วย กำรลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมำชิกสภำท้องถิ่นหรือผู้บริหำรท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๒ ๓.๔ กำรส่งเสริมประชำชนให้มีควำมรู้ โดยกำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำร ใช้สิทธิหน้ำที่ตำมกฎหมำยของประชำชน โดยมีบทบัญญัติของกฎหมำยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย หมวด ๖ แนวนโยบำยแห่งรัฐ มำตรำ ๗๘ ก ำหนดให้รัฐส่งเสริมให้ประชำชนและชุมชน ดังนี้ ๑. มีควำมรู้ควำมเข้ำใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับกำรปกครองระบอบประชำธิปไตยอันมี พระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข ๒. มีส่วนร่วมในกำรพัฒนำประเทศด้ำนต่ำงๆ และกำรจัดบริกำรสำธำรณะทั้งใน ระดับชำติและระดับท้องถิ่น ๓. มีส่วนร่วมในในกำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐ กำรต่อต้ำนกำรทุจริตและประพฤติ มิชอบ รวมตลอดทั้งกำรตัดสินใจทำงกำรเมืองและกำร อื่นใดที่อำจมีผลกระทบต่อประชำชนและชุมชน ๓.๕ กำรสร้ำงเสริมวัฒนธรรมทำงกำรเมือง ประเทศไทยอยู่ภำยใต้อิทธิพลแนวคิดระบบอ ำนำจนิยม ที่มีระบบอุปถัมภ์ค้ ำจุน อันมี ผลที่ท ำให้วัฒนธรรมทำงกำรเมืองของคนไทยและส่งผลกระทบกำรปกครองระบอบประชำธิปไตย


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ไม่มีกำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง ท ำให้เกิดควำมแตกต่ำงทำงสังคม กำรไม่ได้รับควำมเป็นธรรม ท ำให้ ระบบรำชกำรและทหำรมีโอกำสเข้ำมำมีบทบำททำงกำรเมืองเพื่อแก้ไขปัญหำวิกฤตกำรณ์ทำง กำรเมืองต่ำง ๆ น ำไปสู่กำรใช้เหตุผลของกำรยึดอ ำนำจรัฐที่ไปเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของนักกำรเมือง ที่มีกำรทุจริตคอร์รัปชัน รวมถึงกำรที่ประชำชนมีพฤติกรรมซื้อสิทธิขำยเสียงและเกิดควำมแตกแยก ทำงควำมเชื่อและอุดมกำรณ์ของประชำชนแต่ละฝ่ำย ที่ส ำคัญ คือ วัฒนธรรมทำงกำรเมืองในระบอบ ประชำธิปไตย อันได้แก่ แบบแผน ทัศนคติ ควำมเชื่อ และค่ำนิยมของคนไทยยังไม่เอื้อต่อกำร ปกครองระบอบประชำธิปไตย อันสมควรที่จะต้องมีกำรพัฒนำและเสริมสร้ำงให้มีควำมเหมำะสมกับ สภำพสังคมไทยในระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข เนื่องจำกประชำชน ส่วนหนึ่งยังขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรปกครองในระบอบประชำธิปไตย ขำดกำรมีส่วนร่วมทำงกำร เมือง สังคมเห็นว่ำเมื่อเกิดวิกฤติควำมมั่นคง กลไกของระบอบประชำธิปไตยไม่อำจแก้ไขปัญหำได้ด้วย ตัวเอง กำรกล่ำวเท็จและให้ร้ำยในสังคมกำรเมืองเป็นเรื่องที่ ส่งผลกระทบต่อควำมเชื่อและอุดมกำรณ์ และยังไม่มีบทลงโทษที่เกิดผลในทำงปฏิบัติ กำรมีทัศนคติที่เห็นว่ำกำรซื้อสิทธิขำยเสียงและกำรรับ ผลประโยชน์เป็นเรื่องปกติ ท ำให้เกิดวัฒนธรรมทำงกำรเมืองในเชิงลบ เพื่อให้เกิดกำรเสริมสร้ำงวัฒนธรรมทำงกำรเมืองควรภำครัฐและผู้ที่เกี่ยวข้องควร ด ำเนินกำรร่วมกัน ดังนี้ ๑. กำรให้ควำมรู้และปลูกฝังค่ำนิยม และทัศนคติที่ดี ในกำรปกครองระบอบ ประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดย ให้สถำนศึกษำและองค์กรต่ำง ๆ ทั้งภำครัฐ และภำคเอกชน ที่ท ำหน้ำที่ส่งเสริมกระบวนกำรเรียนรู้เรื่องประชำธิปไตย กำรให้ควำมรู้กับประชำชน อย่ำงจริงจังและทั่วถึงโดยหน่วยงำนของรัฐ เช่น กำรมีหลักสูตรเรียนรู้ในหลักสูตรต่ำง ๆ ของ กระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงกำรอุดมศึกษำ วิทยำศำสตร์ วิจัย และนวัตกรรม สถำบันพระปกเกล้ำ คณะกรรมกำรกำรเลือกตั้ง ส ำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือน (ก.พ.) และส ำนักงำน คณะกรรมกำรพัฒนำระบบรำชกำร (ก.พ.ร.) และผ่ำนสถำบันภำคเอกชน เช่น พรรคกำรเมือง เป็นต้น ทั้งนี้ รัฐต้องสนับสนุนงบประมำณให้อย่ำงเพียงพอ ๒. กำรปลูกฝังเด็กและเยำวชนให้มีควำมเข้ำใจในสิทธิหน้ำที่ และควำมรับผิดชอบ ต่อบ้ำนเมือง กำรเคำรพกฎหมำย โดยให้มีหลักสูตรกำรศึกษำเป็นบทเรียนเรื่องประชำธิปไตย และก ำหนดหลักสูตรไว้ในระบบกำรศึกษำด้ำนวัฒนธรรมทำงกำรเมือง ทั้งในระบบและนอกระบบ ๓. กำรเข้ำถึงข้อมูลข่ำวสำรสำธำรณะของประชำชน ให้สำมำรถเข้ำถึงข้อมูลที่เชื่อถือได้ โดยมีกระบวนกำรที่ง่ำย สะดวก และรวดเร็ว ๔. กำรส่งเสริมกระบวนกำรมีส่วนร่วมทำงกำรเมืองของประชำชนทุกระดับ ๕. กำรมีนักกำรเมือง ผู้ด ำรงต ำแหน่งทำงกำรเมือง และมีผู้บริหำรที่ดีมีคุณธรรม มีควำมรับผิดชอบต่อบ้ำนเมือง และรักษำผลประโยชน์ของประชำชนและประเทศ กำรรณรงค์ ให้ประชำชนได้รับทรำบถึงควำมเสียหำยและปัญหำของประเทศที่เกิดจำกกำรทุจริต เพื่อสร้ำงค่ำนิยม และทัศนคติใหม่ให้กับประชำชน และต้องสร้ำงเครือข่ำยจำกภำคประชำชน ผู้น ำชุมชน และผู้น ำทำง ปรัชญำในชุมชน ให้เข้ำมำมีส่วนร่วมกับรัฐในกำรตรวจสอบและสอดส่องกำรทุจริตทุกประเภท ทั้งนี้ กำรรณรงค์ดังกล่ำวต้องท ำอย่ำงจริงจังและกว้ำงขวำง


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร แนวทำงด ำเนินกำร ให้มีกำรปรับปรุงกฎหมำยที่เกี่ยวข้องในกำรเสริมสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจให้กับ ประชำชนทั่วไป เพื่อสร้ำงขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงำมในทำงกำรเมือง โดยกำรใช้มำตรกำรให้ ควำมรู้ และให้กำรศึกษำตั้งแต่เยำว์วัย ๔. บทสรุปและอภิปรายผล จำกกำรที่ได้รับมอบหมำยให้รับผิดชอบปฏิบัติหน้ำที่ฝ่ำยเลขำนุกำรในคณะอนุ กรรมำธิกำรติดตำมกระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชนจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ โดยได้จัดท ำ รำยงำนผลกำรศึกษำ เรื่อง “กำรศึกษำกระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชนจำกกำรด ำเนินโครงกำร ของรัฐ” ได้ด ำเนินกำรภำยใต้กลไกลของคณะกรรมำธิกำรตำมหน้ำที่และอ ำนำจ โดยมีที่มำของกำรตั้ง คณะอนุกรรมำธิกำรเพื่อพิจำรณำศึกษำดังกล่ำว เนื่องจำกประชำชนได้รับปัญหำควำมเดือดร้อนจำก กำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ ไม่สำมำรถเสนอเรื่องไปยังหน่วยงำนของรัฐหรือฝ่ำยบริหำรเพื่อให้มีกำร แก้ไขปัญหำได้โดยตรง เนื่องจำกประชำชนมีข้อจ ำกัดบำงประกำร เช่น ไม่ทรำบช่องทำงกำรสื่อสำร ไม่ทรำบว่ำเรื่องร้องเรียนอยู่ในควำมรับผิดชอบของหน่วยงำนใด นอกจำกนี้ บำงกรณีประชำชนเสนอ เรื่องร้องเรียนต่อหน่วยงำนผู้รับผิดชอบแล้วแต่ยังไม่มีควำมคืบหน้ำ อันเกิดจำกปัญหำกำรสื่อสำรทำง กำรเมือง หรือกำรประสำนงำนระหว่ำงภำคส่วนต่ำง ๆ ไม่มีควำมคืบหน้ำ ภำครัฐอำจไม่ให้ ควำมส ำคัญในเรื่องที่ประชำชนได้รับควำมเดือดร้อน กำรพิจำรณำด ำเนินกำรล่ำช้ำ หรือกำรชี้แจงไม่มี ค ว ำมชัดเจน ป ระช ำชนจึงได้เสนอเรื่องม ำยังคณะกร รมำ ธิกำ รก ำรพัฒน ำกำรเมือง กำรสื่อสำรมวลชน และกำรมีส่วนร่วมของประชำชนสภำผู้แทนรำษฎร เนื่องจำกมีควำมเชื่อมั่น ในกระบวนกำรพิจำรณำศึกษำของคณะกรรมำธิกำรในกำรติดตำมตรวจสอบกำรท ำหน้ำที่ของ ฝ่ำยบริหำร รวมถึงกำรตรวจสอบอ ำนำจรัฐ ซึ่งคณะกรรมำธิกำรประกอบด้วยกรรมำธิกำรซึ่งมำจำก กำรแต่งตั้งของสภำผู้แทนรำษฎรตำมสัดส่วนของพรรคกำรเมืองต่ำง ๆ ทุกพรรค กำรท ำหน้ำที่ของ คณะกรรมำธิกำรด ำเนินกำรภำยใต้หน้ำที่และอ ำนำจตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ และข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ (ข้อ ๒๔) ซึ่งกำรท ำ หน้ำที่ของฝ่ำยนิติบัญญัติผ่ำนกลไกของคณะกรรมำธิกำรส่วนหนึ่งคือ กำรติดตำมตรวจสอบกำร ด ำเนินงำนของหน่วยงำนของรัฐ ซึ่งเป็นฝ่ำยบริหำรตำมโครงกำร หรือกำรติดตำมตรวจสอบกำร ด ำเนินงำนตำมนโยบำยของรัฐบำลที่ได้แถลงต่อรัฐสภำ และติดตำมกำรด ำเนินงำนของหน่วยงำนของ รัฐตำมแผนงำน โครงกำรที่ได้รับอนุมัติจำกงบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีที่แต่ละหน่วยงำนของแต่ละ กระทรวงรวมถึงหน่วยงำนต่ำง ๆ ที่มีกำรใช้จ่ำยงบประมำณแผ่นดินที่ได้เสนอต่อสภำผู้แทนรำษฎร ซึ่งประชำชนถือว่ำเป็นเจ้ำของอ ำนำจอธิปไตย สำมำรถเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรติดตำมตรวจสอบผ่ำน กลไกกำรท ำงำนของฝ่ำยนิติบัญญัติ โดยที่กระบวนกำรขับเคลื่อนกำรมีส่วนร่วมของประชำชนตำมที่ กฎหมำยบัญญัติมีหลำยช่องทำง จำกกำรด ำเนินงำนนับแต่มีกำรตั้งคณะอนุกรรมำธิกำรกำรติดตำมกระบวนกำรมีส่วนร่วม ของประชำชนจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ มีผลสัมฤทธิ์ โดยมีผลพิจำรณำศึกษำปัญหำและ อุปสรรคกระบวนกำรมีส่วนร่วมของประชำชน จำกกำรด ำเนินโครงกำร และกำรจัดท ำบริกำร


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร สำธำรณะของรัฐ ทั้งในระดับชำติและระดับท้องถิ่นหลำยเรื่องที่ช่วยเหลือเยี่ยวยำประชำชนได้ตำม วัตถุประสงค์ มีตัวอย่ำงกรณีศึกษำที่ส ำคัญ เช่น ๑) กำรมีส่วนร่วมจำกกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐได้แก่ โครงกำรก่อสร้ำงเขื่อนบ้ำนจันเดย์ ต ำบลท่ำขนุน อ ำเภอทองผำภูมิ จังหวัดกำญจนบุรี คณะกรรมำธิกำรได้เดินทำงไปศึกษำดูงำนในพื้นที่ แม้โครงกำรนี้จะยังไม่สำมำรถด ำเนินกำรได้ เนื่องจำก กำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตมีควำมจ ำเป็นต้องยุติ โครงกำร เนื่องจำกกำรจัดซื้อที่ดินมีรำคำสูง ไม่คุ้มค่ำตำมวัตถุประสงค์กำรจัดท ำโครงกำรก่อสร้ำง เขื่อนเพื่อกำรผลิตไฟฟ้ำ คณะอนุกรรมำธิกำรได้มีข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วยกำรไฟฟ้ำฝ่ำยผลิตแห่งประเทศไทย ส ำนักงำนทรัพยำกรน้ ำแห่งชำติ และกรม ชลประทำน ได้ทบทวนควำมเป็นไปได้ของโครงกำรร่วมกัน เพื่อประโยชน์ของประชำชน โดยไม่มอง เพียงมิติกำรผลิตกระแสไฟฟ้ำเพียงอย่ำงเดียว ๒) กำรขอใช้พื้นที่แปลงว่ำงเปล่ำของกำรเคหะแห่งชำติ (ชุมชนเคหะฉลองกรุงโซน ๔) คณะอนุกรรมำธิกำร ได้จัดท ำข้อเสนอแนะเชิงนโยบำยต่อกำรเคหะแห่งชำติ กระทรวงกำรพัฒนำ สังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์ ในกำรพิจำรณำจัดสรรพื้นที่ให้กับภำคประชำชนในกำรด ำเนิน กิจกรรมของชุมชน ซึ่งเป็นกำรส่งเสริมกำรมีส่วนร่วมของประชำชนในพื้นที่ และจะเป็นประโยชน์ต่อ ส่วนร่วม ทั้งนี้ เพื่อให้หน่วยงำนผู้รับผิดชอบได้ด ำเนินกำรตำมที่ระเบียบ และกฎหมำยต่ำง ๆ ให้ อ ำนำจไว้ถูกต้องต่อไป ๓) กำรด ำเนินโครงกำรของรัฐ กรณีโครงกำรจัดตั้งเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์วิจัยเครื่อง ใหม่ เพื่อกำรแพทย์ เกษตรกรรม และอุตสำหกรรม คณะกรรมำธิกำรได้เดินทำงไปศึกษำดูงำนใน พื้นที่ อ ำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนำยก โดยมีผู้เกี่ยวข้องมำให้ข้อมูลข้อเท็จจริง และศึกษำดูงำน สถำบันนิวเคลียร์แห่งชำติ (องค์กำรมหำชน) เกี่ยวกับกำรจัดเก็บกำกกัมมันตรังสีและพื้นที่ก่อสร้ำง โครงกำรและได้มีควำมเห็นว่ำควรมีกำรสร้ำงกำรรับรู้ร่วมกันเกี่ยวกับโครงกำรฯ จำกที่ได้มีกำร ตรวจสอบและประสำนงำนกับสถำบันนิวเคลียร์แห่งชำติถึงควำมคืบหน้ำในกำรด ำเนินกำร สถำบันได้ มีกำรจัดรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชนและมีกำรสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจให้กับประชำชนเพื่อให้ โครงกำรสำมำรถด ำเนินกำร ต่อไปได้โดยที่ได้รับกำรยอมรับจำกทุกฝ่ำย ๔) เรื่องร้องเรียนของประชำชนกรณีได้รับควำมเสียหำยจำกกำรสร้ำงเขื่อนคลองแสน แสบและนครเนื่องเขต เขตหนองจอก กรุงเทพมหำนคร คณะอนุกรรมำธิกำรได้เป็นสื่อกลำงในกำร ช่วยเหลือเยียวยำและกำรชดใช้ค่ำเสียหำยจำกผู้รับจ้ำง จำกผลกำรด ำเนินกำรได้มีกำรเจรจำระหว่ำง ภำครัฐ ภำคประชำชน และผู้รับจ้ำงได้มีกำรตกลงกันและสร้ำงกำรรับรู้ร่วมกันเพื่อให้โครงกำรต่ำง ๆ ด ำเนินกำรโดยให้ทุกฝ่ำยยอมรับได้ ๕. ข้อเสนอแนะ ๑) กำรด ำเนินโครงกำรของรัฐต่ำง ๆ หน่วยงำนเจ้ำของโครงกำร ควรมีกำรให้ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่อประชำชน เช่น กำรท ำป้ำยประชำสัมพันธ์เพื่อแจงรำยละเอียดโครงกำร กำรก ำหนด ระยะเวลำด ำเนินโครงกำร ชื่อบริษัทผู้รับจ้ำง ผู้รับผิดชอบโครงกำร วงเงินงบประมำณ และช่องทำง กำรติดต่อ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ๒) ควรมีกระบวนกำรและขั้นตอนเพื่อให้ประชำชนสำมำรถเข้ำถึงข้อมูลได้ โดยสะดวก พร้อมทั้งกำรอ ำนวยควำมสะดวก กำรแก้ไขเยียวยำปัญหำควำมเดือดร้อนและผลกระทบ ต่ำง ๆ ทั้งนี้ หน่วยงำนของรัฐต่ำงต้องปฏิบัติตำมระเบียบกฎหมำยที่มีควำมละเอียดอย่ำงระมัดระวัง ควรมีกำรหำรือหรือชี้แจงระหว่ำงประชำชน ผู้รับจ้ำง และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง เพื่อหำแนวทำงใน กำรแก้ไขปัญหำโดยใช้กระบวนกำรมีส่วนร่วมและกำรรับฟังควำมคิดเห็นต่ำง ๆ ตั้งแต่คิดริเริ่มที่จะ ด ำเนินโครงกำร หน่วยงำนของรัฐจะต้องเผยแพร่ข้อมูลโครงกำรให้กับประชำชนทรำบและรับฟัง ควำมคิดเห็นของประชำชนโดยวิธีใดวิธีหนึ่งหรือหลำยวิธีก็ได้ เช่น กำรส ำรวจควำมคิดเห็นหรือกำร ประชุมปรึกษำหำรือกับคนในชุมชนก่อนด ำเนินโครงกำร ระหว่ำงกำรด ำเนินกำร หำกมีกำร เปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขสัญญำควรจะมีกำรชี้แจงให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง ต่อประชำชนในส่วนที่เป็น สำระส ำคัญที่มีผลกระทบต่อประชำชน พร้อมทั้งก ำหนดมำตรกำรในกำรช่วยเหลือเยียวยำที่เกิดขึ้น จำกกรณีที่มีกำรแก้ไขเพิ่มเติมสัญญำนั้น ภำยหลังโครงกำรควรมีกำรเข้ำไปส ำรวจควำมเรียบร้อยและ ติดตำมผลกระทบควำมเดือดร้อนภำยในอำยุสัญญำที่มีกำรรับประกัน ๓) กำรช่วยเหลือเยียวยำประชำชน ควรมีกำรติดตำมและประสำนงำนระหว่ำง หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องพร้อมทั้งกำรชี้แจงให้เหตุผล ชี้แนะแนวทำงในกำรแก้ไขปัญหำให้ประชำชนทรำบ มีช่องทำงในกำรร้องเรียนของประชำชนต่อหน่วยงำนของรัฐ นอกจำกนี้ประชำชนสำมำรถใช้กลไก ของคณะกรรมำธิกำรเพื่อติดตำมตรวจสอบกำรท ำหน้ำที่ของฝ่ำยบริหำรภำยใต้กรอบหน้ำที่และ อ ำนำจของฝ่ำยนิติบัญญัติ ๔) โครงกำรของรัฐที่ต้องด ำเนินกำรตำมระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรีว่ำด้วยกำรรับ ฟังควำมคิดเห็นของประชำชน พ.ศ. ๒๕๔๘ มีดังนี้ (๑) โครงกำรที่มีลักษณะเป็นรูปธรรมและมีผลกระทบอย่ำงกว้ำงขวำง เช่น โครงกำรก่อสร้ำงสถำนที่ก ำจัดขยะ โครงกำรก่อสร้ำงถนน โครงกำรก่อสร้ำงคันกั้นน้ ำ โครงกำรสร้ำง ระบบรวบรวมและบ ำบัดน้ ำเสีย เป็นต้น (๒) โครงกำรของรัฐตำมระเบียบส ำนักนำยกรัฐมนตรีฯ ที่ไม่ต้องจัดท ำ รำยงำนกำรวิเครำะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) เช่น เขื่อนกักเก็บน้ ำหรืออ่ำงน้ ำที่มีปริมำตร เก็บกักน้ ำน้อยกว่ำ ๑๐๐ ล้ำนลูกบำศก์เมตร หรือมีพื้นที่เก็บกักน้ ำน้อยกว่ำ ๑๕ ตำรำงกิโลเมตร กำรชลประทำนที่มีพื้นที่กำรชลประทำนน้อยกว่ำ ๘๐,๐๐๐ ไร่ เป็นต้น ทั้งนี้ กำรพิจำรณำศึกษำของคณะอนุกรรมำธิกำร เป็นกำรส่งเสริมให้ประชำชนมีส่วนร่วม ในกำรติดตำมตรวจสอบกำรด ำเนินโครงกำรของรัฐตำมระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ให้มีประสิทธิภำพและประสิทธิผล ให้สมดังเจตนำรมณ์ของรัฐธรรมนูญอย่ำงแท้จริง นำยสุคนธ์ พลบุบผำ นิติกรช ำนำญกำรพิเศษ กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรกำรพัฒนำกำรเมือง กำรสื่อสำรมวลชน และกำรมีส่วนร่วมของประชำชน ส ำนักกรรมำธิกำร ๒


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร มาตรการทางกฎหมายของประเทศไทยในการแก้ไขปัญหาข่าวปลอมที่เผยแพร่บนออนไลน์ ๑. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา คณะกรรมำธิกำรกำรพัฒนำกำรเมือง กำรสื่อสำรมวลชน และกำรมีส่วนร่วมของประชำชน สภำผู้แทนรำษฎร มีหน้ำที่และอ ำนำจตำมข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๐ (๒๔) คณะกรรมำธิกำรกำรพัฒนำกำรเมือง กำรสื่อสำรมวลชน และกำรมีส่วนร่วมของประชำชน มีหน้ำที่และ อ ำนำจกระท ำกิจกำรพิจำรณำสอบหำข้อเท็จจริง หรือศึกษำเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวกับกำรพัฒนำกำรเมือง กำรสื่อสำรมวลชน และกำรมีส่วนร่วมของประชำชน กำรส่งเสริมและเผยแพร่กำรเมือง กำรปกครอง ในระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข วิถีคิดและวิถีปฏิบัติที่เป็นประชำธิปไตย รวมทั้ง ปัญหำและอุปสรรคเกี่ยวกับกำรบังคับใช้รัฐธรรมนูญ กฎหมำยประกอบรัฐธรรมนูญ ส่งเสริม กำรรับรู้ข้อมูลข่ำวสำรของประชำชน เสรีภำพและควำมรับผิดชอบในกำรแสดงควำมคิดเห็นของบุคคล และสื่อมวลชน กำรคุ้มครองผู้เสียหำยจำกกำรเผยแพร่ข้อมูลข่ำวสำร ตลอดจนส่งเสริมให้ประชำชนและ ชุมชนมีส่วนร่วมในกำรตัดสินใจทำงกำรเมือง และกำรตรวจสอบกำรใช้อ ำนำจรัฐทุกระดับ ทั้งนี้ ส ำหรับ ด้ำนกำรสื่อสำรมวลชนและกำรพัฒนำกำรเมืองนั้น คณะกรรมำธิกำรกำรพัฒนำกำรเมืองฯ ได้มีกำร พิจำรณำศึกษำประเด็นต่ำง ๆ รวมถึงประเด็นปัญหำข่ำวปลอม (Fake News) ซึ่งคณะกรรมำธิกำรได้ให้ ควำมส ำคัญต่อกำรพิจำรณำศึกษำประเด็นดังกล่ำว โดยตั้งคณะอนุกรรมำธิกำรขึ้นมำคณะหนึ่งเพื่อ พิจำรณำศึกษำประเด็นปัญหำข่ำวปลอม (Fake News) ที่ยังไม่ได้รับกำรแก้ไขอย่ำงจริงจัง ซึ่งส่งผล กระทบและสร้ำงควำมเสียหำยต่อกำรเมืองและกำรสื่อสำรมวลชน กำรพิจำรณำศึกษำควำมเป็นอิสระ ในกำรด ำเนินกำรตรวจสอบปัญหำข่ำวปลอมขององค์กรต่ำงๆ ตลอดจนพิจำรณำแนวทำงและวิธีกำร แก้ปัญหำข่ำวปลอมต่อกำรพัฒนำกำรเมืองและกำรสื่อสำรมวลชน เพื่อจะได้เสนอข้อเสนอแนะต่ำง ๆ ไปสู่กำรแก้ไขปัญหำอย่ำงเป็นรูปธรรม ข่ ำวปลอมบนออนไลน์ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยนั้น จำกข้อมูลผลกำรด ำเนินงำน ของศูนย์ต่อต้ำนข่ำวปลอม (Anti-Fake News Center Thailand) ได้น ำเสนอข้อมูลจำกกำรรับแจ้งเบำะแส และติดตำมกำรสนทนำบนโลกออนไลน์เกี่ยวกับข่ำวปลอม ตั้งแต่วันที่ ๑ – ๒๘ กุมภำพันธ์ ๒๕๖๖ โดยพบว่ำ มีข้อควำมข่ำวที่ต้องคัดกรองทั้งหมด ๑๐,๑๖๗,๓๔๘ ข้อควำม ข้อควำมข่ำวที่เข้ำเกณฑ์ กำรตรวจสอบทั้งหมด ๘๗๙ ข้อควำม โดยหลังจำกคัดกรองแล้วพบเรื่องที่เข้ำเกณฑ์กำรตรวจสอบ ทั้งหมด ๔๗๗ เรื่อง ทั้งนี้ จำกจ ำนวนข้อควำมทั้งหมด ๑๐,๑๖๗,๓๔๘ ข้อควำม ช่องทำงที่มีกำรพบ เบำะแสมำกที่สุดอันดับ ๑ คือ Social Listening Tools ๑๐,๑๕๖,๓๕๕ ข้อควำม หรือคิดเป็น ๙๙.๙๓ เปอร์เซ็นต์ อันดับ ๒ คือ Line Official ๑๐,๔๕๔ ข้อควำม หรือคิดเป็น ๐.๐๗ เปอร์เซ็นต์ รองลงมำ คือ Twitter Facebook และ Official Website ตำมล ำดับ นอกจำกนี้ยังพบว่ำ หมวดนโยบำยรัฐฯ มีจ ำนวน ข่ำวที่เข้ำข่ำยกำรตรวจสอบมำกที่สุด ซึ่งข่ำวปลอมนั้นได้สร้ำงผลกระทบต่ำง ๆ เป็นวงกว้ำง จำกควำมก้ำวหน้ำของเทคโนโลยีกำรสื่อสำร ซึ่งจะท ำให้ประชำชนได้รับข้อมูลต่ำง ๆ ที่ไม่ถูกต้อง ส่งผลให้ กำรวิเครำะห์และตัดสินใจผิดพลำดเนื่องจำกกำรวิเครำะห์นั้นอยู่บนข้อมูลเท็จ นอกจำกนี้ ยังมีผลกระทบ ต่ำง ๆ เช่น กำรท ำให้เกิดควำมขัดแย้งทำงควำมคิดของคนในสังคม โดยเฉพำะข้อมูลเท็จที่เป็นประเด็น ทำงกำรเมือง หรือกำรท ำให้บุคคลที่ถูกแอบอ้ำงได้รับควำมเสียหำยรวมถึงข่ำวปลอมเกี่ยวกับภัยพิบัติหรือ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร โรคระบำดต่ำง ๆ ซึ่งสร้ำงควำมตกใจให้กับประชำชน ดังนั้น เพื่อเป็นกำรแก้ไขปัญหำข่ำวปลอม ที่เกิดขึ้นจึงควรมีมำตรกำรทำงกฎหมำยเพื่อให้เกิดกำรแก้ไขปัญหำดังกล่ำวอย่ำงเป็นรูปธรรม ๒. กฎหมาย กฎ ระเบียบ และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง สิทธิขั้นพื้นฐานประการหนึ่งของประชาชน คือ การมีสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งเป็นส่วนส าคัญของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยในการให้ประชาชนได้แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร วิเคราะห์ข้อมูลข้อเท็จจริงเพื่อน าไปสู่การตัดสินใจและแสดงความคิดเห็นต่าง ๆ อันเป็นกลไก ส าคัญในการมีส่วนร่วมของประชาชนในการด าเนินนโยบาย โครงการของภาครัฐ และการบริหาร ประเทศ โดยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้วางหลักการและก าหนด ขอบเขตในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนไว้โดยสิทธิหรือเสรีภาพนั้นจะต้องไม่ กระทบกระเทือนหรือเกิดผลเสียหายต่อผู้อื่นหรือประเทศชาติ นอกจากนี้ พัฒนาการของสังคมปัจจุบันที่มีความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการสื่อสารและ ระบบอินเตอร์เน็ต ท าให้ข่าวปลอมที่มีการเผยแพร่จากเดิมในรูปแบบของการบอกเล่าแบบปากต่อปาก เป็นรูปแบบการเผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์ที่สามารถแพร่กระจายไปยังผู้ใช้อินเตอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว และกระจายเป็นวงกว้าง โดยประเทศไทยมีมาตรการในการควบคุมการเผยแพร่ข่าวปลอมบนสื่อ ออนไลน์โดยการบังคับใช้พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และเพื่อให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและการแสดงความคิดเห็นของประชาชน อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลที่ถูกต้อง เพื่อให้การวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นดังกล่าวเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ ตลอดจนเพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจสอบข้อมูลข่าวสารจ านวนมากที่อยู่บนสื่อ ออนไลน์ได้ ทั้งนี้ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ๑. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ได้วางหลักการรับรองสิทธิ เสรีภาพของประชาชนไว้โดยกว้าง ตามบทบัญญัติมาตรา ๒๕ ซึ่งก าหนดว่า สิทธิและเสรีภาพของ ปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้เป็นการเฉพาะในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้าม หรือจ ากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในกฎหมายอื่น บุคคลย่อมมีสิทธิและเสรีภาพที่จะท าการนั้นได้และได้รับ ความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าที่การใช้สิทธิหรือเสรีภาพเช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือน หรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และ ไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น ประกอบกับ มาตรา ๒๖ ก าหนดว่า การตรากฎหมายที่มีผล เป็นการจ ากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลต้องเป็นไปตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่ รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไขไว้ กฎหมายดังกล่าวต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ไม่เพิ่มภาระหรือจ ากัด สิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุและจะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้ รวมทั้งต้องระบุเหตุผลความจ าเป็นในการจ ากัดสิทธิและเสรีภาพไว้ด้วย ส าหรับเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ได้วางหลักไว้ตามมาตรา ๓๔ ก าหนดว่า บุคคล ย่อมมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ์ การโฆษณา และการสื่อ ความหมายโดยวิธีอื่น การจ ากัดเสรีภาพดังกล่าวจะกระท ามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอ านาจตามบทบัญญัติ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๒๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร แห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันสุขภาพของประชาชน ๒. พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้วาง มาตรการควบคุมและก าหนดบทลงโทษการกระท าเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากปัจจุบันคอมพิวเตอร์ ได้ถูกน ามาใช้เป็นส่วนส าคัญในการประกอบกิจการและการด ารงชีวิตของมนุษย์ในทุกด้าน ดังนั้น หากมี ผู้กระท าด้วยประการใด ๆ ให้ระบบคอมพิวเตอร์ไม่สามารถท างานตามค าสั่งที่ก าหนดไว้หรือท าให้การ ท างานผิดพลาดไปจากค าสั่งที่ก าหนดไว้ หรือใช้วิธีการใด ๆ เข้าล่วงรู้ข้อมูล แก้ไข หรือท าลายข้อมูล ของบุคคลอื่นในระบบคอมพิวเตอร์โดยมิชอบ หรือใช้ระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลคอมพิวเตอร์ อันเป็นเท็จหรือมีลักษณะอันลามกอนาจาร ย่อมก่อให้เกิดความเสียหาย กระทบกระเทือนต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของรัฐ รวมทั้งความสงบสุขและศีลธรรมอันดีของประชาชน ดังนั้น จึงควร ก าหนดมาตรการเพื่อป้องกันและปราบปรามการกระท าดังกล่าว ส าหรับกรณีที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข่าวปลอม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท า ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ได้มีการก าหนดลักษณะการกระท าความผิดและบทลงโทษ ไว้ ตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ และมาตรา ๑๖ มาตรา ๑๔ ผู้ใดกระท าความผิดที่ระบุไว้ดังต่อไปนี้ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน ห้าปีหรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ (๑) โดยทุจริต หรือโดยหลอกลวง น าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ บิดเบือนหรือปลอมไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะ เกิดความเสียหายแก่ประชาชน อันมิใช่การกระท าความผิดฐานหมิ่นประมาทตามประมวล กฎหมาย อาญา (๒) น าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่ น่าจะเกิดความเสียหายต่อการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของประเทศ ความปลอดภัยสาธารณะ ความ มั่นคงในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรือโครงสร้างพื้นฐานอันเป็นประโยชน์สาธารณะของ ประเทศ หรือ ก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน (๓) น าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ อันเป็นความผิดเกี่ยวกับ ความมั่นคงแห่งราชอาณาจักรหรือความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้ายตามประมวลกฎหมายอาญา (๔) น าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ใด ๆ ที่มีลักษณะอันลามกและ ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ (๕) เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยรู้อยู่แล้วว่าเป็นข้อมูลคอมพิวเตอร์ ตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) ถ้าการกระท าความผิดตามวรรคหนึ่ง (๑) มิได้กระท าต่อประชาชน แต่เป็นการ กระท า ต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ผู้กระท า ผู้เผยแพร่หรือส่งต่อซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ดังกล่าวต้องระวางโทษจ าคุก ไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ และให้เป็นความผิดอันยอม ความได้


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร มาตรา ๑๕ ผู้ให้บริการผู้ใดให้ความร่วมมือ ยินยอม หรือรู้เห็นเป็นใจให้มีการ กระท าความผิดตามมาตรา ๑๔ ในระบบคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในความควบคุมของตน ต้องระวางโทษ เช่นเดียวกับผู้กระท าความผิดตามมาตรา ๑๔ ให้รัฐมนตรีออกประกาศก าหนดขั้นตอนการแจ้งเตือน การระงับการท าให้แพร่หลาย ของข้อมูลคอมพิวเตอร์และการน าข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ ถ้าผู้ให้บริการพิสูจน์ได้ว่าตนได้ปฏิบัติตามประกาศของรัฐมนตรีที่ออกตามวรรคสอง ผู้ นั้นไม่ต้องรับโทษ มาตรา ๑๖ ผู้ใดน าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ที่ประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงได้ซึ่ง ข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏเป็นภาพของผู้อื่น และภาพนั้นเป็นภาพที่เกิดจากการสร้างขึ้น ตัดต่อ เติม หรือดัดแปลงด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์หรือวิธีการอื่นใด โดยประการที่น่าจะท าให้ผู้อื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นถูกเกลียดชัง หรือได้รับความอับอาย ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสามปีและ ปรับไม่เกินสองแสนบาท ถ้าการกระท าตามวรรคหนึ่งเป็นการกระท าต่อภาพของผู้ตาย และการกระท านั้น น่าจะ ท าให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้ตายเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง หรือได้รับ ความ อับอายผู้กระท าต้องระวางโทษดังที่บัญญัติไว้ในวรรคหนึ่ง ถ้าการกระท าตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง เป็นการน าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์โดย สุจริต อันเป็นการติชมด้วยความเป็นธรรม ซึ่งบุคคลหรือสิ่งใดอันเป็นวิสัยของประชาชนย่อมกระท าผู้กระท าไม่ มีความผิด ความผิดตามวรรคหนึ่งและวรรคสองเป็นความผิดอันยอมความได้ ถ้าผู้เสียหายในความผิดตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองตายเสียก่อนร้องทุกข์ ให้บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรของผู้เสียหายร้องทุกข์ได้และให้ถือว่าเป็นผู้เสียหาย มาตรา ๑๖/๑ ในคดีความผิดตามมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๖ ซึ่งมีค าพิพากษาว่า จ าเลยมีความผิด ศาลอาจสั่ง (๑) ให้ท าลายข้อมูลตามมาตราดังกล่าว (๒) ให้โฆษณาหรือเผยแพร่ค าพิพากษาทั้งหมดหรือแต่บางส่วนในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์หรือสื่ออื่นใด ตามที่ศาลเห็นสมควร โดยให้จ าเลยเป็น ผู้ช าระค่าโฆษณา หรือเผยแพร่ (๓) ให้ด าเนินการอื่นตามที่ศาลเห็นสมควรเพื่อบรรเทาความเสียหายที่เกิดขึ้นจาก การ กระท าความผิดนั้น มาตรา ๑๖/๒ ผู้ใดรู้ว่าข้อมูลคอมพิวเตอร์ในความครอบครองของตนเป็นข้อมูลที่ ศาล สั่งให้ท าลายตามมาตรา ๑๖/๑ ผู้นั้นต้องท าลายข้อมูลดังกล่าว หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษกึ่งหนึ่ง ของโทษที่บัญญัติไว้ในมาตรา ๑๔ หรือมาตรา ๑๖ แล้วแต่กรณี ๓. ประมวลกฎหมายอาญาว่าด้วยความผิดฐานหมิ่นประมาท


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร มาตรา ๓๒๖ ผู้ใดใส่ความผู้อื่นต่อบุคคลที่สาม โดยประการที่น่าจะท าให้ผู้อื่นนั้นเสีย ชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น หรือถูกเกลียดชัง ผู้นั้นกระท าความผิดฐานหมิ่นประมาท ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน หนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจ าทั้งปรับ มาตรา ๓๒๘ ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาทได้กระท าโดยการโฆษณาด้วยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพหรือตัวอักษรที่ท าให้ปรากฏไม่ว่าด้วยวิธีใด ๆ แผ่นเสียง หรือ สิ่งบันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระท าโดยการกระจายเสียง หรือการกระจายภาพ หรือ โดยกระท าการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระท าต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสองแสนบาท ๓. บทวิเคราะห์ จำกกำรศึกษำข้อมูลเกี่ยวกับมำตรกำรทำงกฎหมำยในกำรแก้ไขปัญหำข่ำวปลอมของ ประเทศไทย พบว่ำ ประเทศไทยยังไม่มีกำรออกกฎหมำยเฉพำะในกำรควบคุมหรือด ำเนินกำรกับข่ำวปลอม บนสื่อออนไลน์ โดยประเทศไทยมีกำรด ำเนินกำรกับข่ำวปลอมที่มีกำรน ำเสนอข้อมูลเท็จ ตำมบทบัญญัติ มำตรำ ๑๔ ของพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ ส ำหรับ ในส่วนของมำตรกำรทำงกฎหมำยของต่ำงประเทศ มีหลำยประเทศที่มีกำรออกกฎหมำยเฉพำะเพื่อ ด ำเนินกำรเกี่ยวกับข่ำวปลอม โดยมีทั้งกฎหมำยที่ด ำเนินกำรต่อผู้กระท ำควำมผิดและบริษัทสื่อออนไลน์ หรือผู้ให้บริกำรแพลตฟอร์ม โดยอำจมีบทบัญญัติที่มีทิศทำงเดียวกันและแตกต่ำงกันกับกฎหมำยของ ประเทศไทย มาตรการทางกฎหมายในการแก้ไขปัญหาข่าวปลอมในประเทศไทย จำกกำรศึกษำกฎหมำยและข้อมูลเผยแพร่ของศูนย์ต่อต้ำนข่ำวปลอม พบว่ำ บทบัญญัติ ของพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้ก ำหนดมำตรกำรควบคุมและก ำหนดบทลงโทษ โดยกำรน ำข้อมูลปลอม ข่ำวปลอม ไม่ว่ำจะเป็นกำร ปลอมทั้งหมด หรือแค่บำงส่วน หรือข้อมูลอันเป็นเท็จเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ หรือแม้แต่กำรแชร์ หรือ ส่งต่อข้อมูลอันเป็นเท็จเหล่ำนั้น ล้วนมีควำมผิดตำมพระรำชบัญญัติฉบับดังกล่ำว ซึ่งกำรกระท ำที่เข้ำข่ำย ควำมผิดในมำตรำ ๑๔ ของพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ได้แก่ กำรโพสต์ข้อมูลปลอม ทุจริต หลอกลวง เช่น ข่ำวปลอม โฆษณำธุรกิจลูกโซ่ ที่หลอกลวงเอำเงินลูกค้ำ และไม่มีกำรส่งมอบของจริง เป็นต้น กำรโพสต์ข้อมูลควำมผิดเกี่ยวกับ ควำมมั่นคงปลอดภัย กำรโพสต์ข้อมูลควำมผิดเกี่ยวกับควำมมั่นคง รวมถึงกำรเผยแพร่ ส่งต่อข้อมูลที่รู้ แล้วว่ำผิด โดยกำรกดแชร์ข้อมูลที่มีเนื้อหำเข้ำข่ำยควำมผิดตำมกฎหมำยดังกล่ำว ซึ่งหำกกำรกระท ำ ดังกล่ำวส่งผลกระทบต่อประชำชนทั่วไป ผู้กระท ำต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกิน ๕ ปี หรือปรับไม่เกิน ๑ แสนบำท หรือทั้งจ ำทั้งปรับ และส ำหรับผู้ส่งต่อข้อมูลเท็จนั้นโดยรู้อยู่แล้วว่ำเป็นข้อมูลเท็จจะถือว่ำมี ควำมผิดเท่ำกับผู้กระท ำผิดข้ำงต้นและมีอัตรำโทษเช่นเดียวกัน นอกจำกนี้ หำกกระท ำในลักษณะดังกล่ำว ข้ำงต้นแต่ส่งผลต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ในลักษณะที่เป็นกำรหมิ่นประมำท กรณีดังกล่ำวนี้ไม่ถือว่ำเป็น ควำมผิดตำมพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ แต่จะเป็น ควำมผิดฐำนหมิ่นประมำท หรือ หมิ่นประมำทด้วยกำรโฆษณำ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ มำตรำ ๓๒๖


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร และมำตรำ ๓๒๘ ซึ่งผู้กระท ำควำมผิดต้องระวำงโทษจ ำคุกไม่เกิน ๒ ปี ปรับไม่เกิน ๒ แสนบำท หรือทั้ง จ ำทั้งปรับ มาตรการทางกฎหมายในการแก้ไขปัญหาข่าวปลอมในต่างประเทศ จำกกำรศึกษำข้อมูล พบว่ำ บำงประเทศได้ใช้กฎหมำยเดิมที่มีอยู่ในกำรด ำเนินกำรเกี่ยวกับ ข่ำวปลอม และในบำงประเทศได้มีกำรออกกฎหมำยใหม่ซึ่งเป็นกฎหมำยเฉพำะเพื่อด ำเนินกำรเกี่ยวกับ เรื่องดังกล่ำว รวมถึงกำรก ำหนดบทลงโทษของผู้กระท ำควำมผิด โดยประเทศต่ำง ๆ มีกำรด ำเนินกำรและ บทลงโทษ ดังนี้ ๑. ประเทศฟิลิปปินส์ ได้ผ่ำนกฎหมำยเฉพำะลงโทษบุคคลที่สร้ำงหรือเผยแพร่ข่ำวปลอม ต้องระวำงโทษปรับ ตั้งแต่ ๑๐๐,๐๐๐ เปโซ ถึง ๕,๐๐๐,๐๐๐ เปโซ และอำจถูกลงโทษจ ำคุก ๑ ถึง ๕ ปี หรือทั้งจ ำคุกและปรับ นอกจำกนี้ ผู้ที่ถูกตัดสินว่ำมีควำมผิดดังกล่ำวนี้จะถือว่ำขำดคุณสมบัติในกำร ด ำรงต ำแหน่งทำงกำรเมืองด้วย ๒. ประเทศมำเลเซีย รัฐสภำผ่ำนกฎหมำยต่อต้ำนข่ำวปลอม (Anti – Fake News Bill) ประกำศใช้ในวันที่ ๒ เมษำยน ๒๕๖๑ โดยก ำหนดโทษต่อผู้เผยแพร่ข่ำวปลอมทั้งในและนอกดินแดน มำเลเซีย รวมทั้งชำวต่ำงชำติ หำกท ำให้ประเทศหรือพลเมืองมำเลเซียได้รับผลกระทบจำกข่ำวปลอม ซึ่งก ำหนดโทษจ ำคุกสูงสุด ๖ ปี และปรับ ๕๐๐,๐๐๐ ริงกิต ทั้งนี้ กฎหมำยดังกล่ำวมีผลครอบคลุม ทั้งส ำนักข่ำว สื่อดิจิทัล และสื่อสังคม ๓. สำธำรณรัฐสิงคโปร์ เริ่มบังคับใช้กฎหมำยข่ำวปลอม (Protection from Online Falsehoods and Manipulation Act) เมื่อวันที่ ๓ ตุลำคม ๒๕๖๒ โดยก ำหนดโทษแก่ผู้ที่ถูกตัดสินว่ำ เผยแพร่ข่ำวปลอมผ่ำนบัญชีออนไลน์โดยผู้กระท ำผิดประเภทรำยบุคคลจะต้องเสียค่ำปรับ ๑๐๐,๐๐๐ ดอลลำร์สิงคโปร์ หรือ ๗๒,๑๐๘ ดอลลำร์สหรัฐฯ หรือจ ำคุกสูงสุด ๑๐ ปี หรือทั้งจ ำคุกและปรับ ขณะที่ ผู้กระท ำผิดที่เป็นองค์กรจะต้องจ่ำยค่ำปรับขั้นสูงสุดถึง ๑ ล้ำนดอลลำร์สิงคโปร์ โดยกฎหมำยให้อ ำนำจ แก่รัฐบำลในกำรก ำหนดทิศทำงกำรแก้ไข เพื่อบังคับให้ผู้โพสต์ข่ำวปลอมบนช่องทำงออนไลน์ต้องแก้ไข และหยุดเผยแพร่ข้อมูลข่ำวปลอมนั้น ๆ นอกจำกนี้ รัฐบำลยังสำมำรถสั่งให้ผู้ให้บริกำรอินเทอร์เน็ตหรือคนกลำงผู้ให้บริกำร อินเทอร์เน็ตระงับกำรเข้ำถึงเว็บไซต์ที่ฝ่ำฝืนหรือปรับสูงถึงวันละ ๒๐,๐๐๐ ดอลลำร์สหรัฐฯ รวมสูงสุด ไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ ดอลลำร์สหรัฐฯ โดยในขั้นต้นจะให้กำรยกเว้นเป็นกำรชั่วครำวให้กับคนกลำง ที่ให้บริกำรอินเทอร์เน็ตหรือผู้ให้บริกำรสื่อออนไลน์ เช่น Google Facebook และ Twitter โดยในขณะนี้ กลุ่มผู้ให้บริกำรดังกล่ำวจะยังไม่ถูกลงโทษในทันทีหำกไม่สำมำรถแก้ไขหรือระงับกำรเข้ำถึงเว็บไซต์ที่ฝ่ำฝืน เมื่อมีกำรเผยแพร่ข่ำวปลอมบนแพลตฟอร์มของกลุ่มผู้ให้บริกำรดังกล่ำว โดยรัฐบำลสิงคโปร์ให้เหตุผล กำรยกเว้นชั่วครำวนี้ว่ำ เพื่อเปิดโอกำสให้ผู้บริกำรมีเวลำในกำรจัดเตรียมมำตรกำรและเทคโนโลยีที่จ ำเป็น เพื่อให้สำมำรถปฏิบัติตำมกฎหมำยดังกล่ำวได้ ทั้งนี้ ได้มีข้อกังวลว่ำกฎหมำยดังกล่ำวนี้จะถูกรัฐบำลใช้เป็นเครื่องมือในกำรลิดรอนสิทธิ เสรีภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็นของประชำชน ซึ่งมีกำรวิพำกษ์วิจำรณ์จำกหลำยฝ่ำย เช่น องค์กร Human Rights Watch ประจ ำภูมิภำคเอเชีย ให้ควำมเห็นว่ำ กฎหมำยฉบับนี้จะเป็นผลร้ำยต่อสิทธิ มนุษยชนของประชำชนสิงคโปร์ ส่วน Facebook ได้ให้ควำมเห็นว่ำ กฎหมำยดังกล่ำวจะเป็นกำรลิดรอน


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๓ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร เสรีภำพในกำรแสดงควำมคิดเห็นของประชำชนและถูกใช้เป็นเครื่องมือโจมตีผู้ที่วิพำกษ์วิจำรณ์รัฐบำล เพรำะกฎหมำยเป็นกำรมอบอ ำนำจให้สิงคโปร์สำมำรถบังคับผู้ให้บริกำรแพลตฟอร์มลบเนื้อหำที่ ทำงรัฐบำลคิดว่ำเป็นข้อมูลเท็จหรือข่ำวปลอม รวมไปถึงจะต้องท ำกำรส่งค ำเตือนจำกรัฐบำลไปถึง ผู้ใช้งำนด้วย ซึ่งจะท ำให้ผู้ใช้บริกำรอินเทอร์เน็ตต้องมีกำรเซนเซอร์เนื้อหำของตนเองก่อนโพสต์ลงสื่อ ออนไลน์มำกยิ่งขึ้น เป็นต้น ๔. สหพันธ์สำธำรณรัฐเยอรมนีออกกฎหมำยกำรบังคับใช้เครือข่ำย (Network Enforcement Act) โดยก ำหนดให้บริษัทสื่อออนไลน์ เช่น Facebook Youtube Twitter และเว็บไซต์ต่ำง ๆ เป็นต้น ที่ปฏิเสธหรือไม่ยอมน ำเนื้อหำผิดกฎหมำยอย่ำงชัดเจนออกไปภำยใน ๒๔ ชั่วโมงหลังจำกได้รับค ำ ร้องเรียน จะมีโทษปรับสูงสุดถึง ๕๐ ล้ำนเหรียญยูโร นอกจำกนี้ กฎหมำยยังก ำหนดให้บริษัทสื่อสังคม ต้องปิดกั้นเนื้อหำที่ผิดกฎหมำยบนอินเทอร์เน็ตภำยใน ๗ วัน หำกไม่ด ำเนินกำรจะต้องถูกปรับ จำกข้อมูลข้ำงต้น จะเห็นได้ว่ำ มำตรกำรทำงกฎหมำยในกำรแก้ไขปัญหำข่ำวปลอม ของประเทศไทยและต่ำงประเทศ ได้มีกำรออกกฎหมำยที่ก ำหนดโทษแก่ผู้กระท ำควำมผิด และกฎหมำย ในกำรก ำกับดูแลบริษัทสื่อออนไลน์หรือผู้ให้บริกำรแพลตฟอร์ม ซึ่งกฎหมำยบำงฉบับก็มีข้อกังวลว่ำจะ เป็นกำรจ ำกัดสิทธิเสรีภำพของประชำชนในกำรแสดงควำมคิดเห็น หรือถูกมองว่ำเป็นกำรควบคุมเนื้อหำ ที่รัฐบำลต้องกำรปิดกั้นข้อมูลไม่ให้เผยแพร่ต่อสำธำรณะ ดังนั้น กำรใช้กฎหมำยหรือกำรออกกฎหมำยใหม่ เพื่อควบคุมข่ำวสำรจะต้องมีกำรพิจำรณำในหลำยมิติ เช่น กำรไม่ลิดรอนสิทธิเสรีภำพของประชำชนใน กำรแสดงควำมเห็น กำรด ำเนินกำรที่ไม่เป็นกำรควบคุมข้อมูลข่ำวสำรของรัฐที่ประชำชนพึงรู้ หรือกำร ป้องกันเพื่อไม่ให้ถูกน ำมำใช้อย่ำงไม่เป็นกลำงทำงกำรเมืองหรือเพื่อผลประโยชน์ทำงกำรเมือง ตลอดจน กำรต้องค ำนึงถึงเจตนำของผู้กระท ำผิดเนื่องจำกผู้กระท ำผิดบำงคนอำจส่งต่อข้อมูลโดยควำมไม่รู้ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือกำรไม่สำมำรถเข้ำถึงข้อมูลที่ถูกต้องได้ เป็นต้น ๔. บทสรุปและอภิปรายผล ประเทศไทยและต่างประเทศล้วนมีกฎหมายในการก าหนดความผิดและบทลงโทษ แก่ผู้กระท าความผิดที่เผยแพร่ข่าวปลอมบนออนไลน์ ซึ่งมีทั้งบทลงโทษโดยการจ าคุกและการปรับ โดยเมื่อพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องของประเทศไทย พบว่า รัฐได้มีการน าบทบัญญัติของ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท าความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม มาใช้ ในการด าเนินการเอาผิดแก่ผู้กระท าความผิดเกี่ยวกับข่าวปลอม ตามบทบัญญัติมาตรา ๑๔ แต่ทั้งนี้ หาก เป็นการกระท าความผิดบนออนไลน์ ที่ส่งผลต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งไม่เข้าข่ายการกระท าความผิด ตามมาตราดังกล่าว ก็สามารถใช้กฎหมายอื่นบังคับใช้และด าเนินการได้ ได้แก่ ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๒๖ และมาตรา ๓๒๘ โดยเป็นความผิดฐานหมิ่นประมาท หรือหากเป็นการเผยแพร่ข่าวปลอม หรือข้อมูลเท็จ ที่ไม่ใช่การมุ่งโจมตีบุคคลใดบุคคลหนึ่ง และไม่ได้กระทบต่อความมั่นคงของรัฐ แต่ท าให้ เกิดความตกใจ ถือเป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๓๘๔ ดังนั้น จะเห็นว่าแม้ประเทศไทย ไม่มีกฎหมายเฉพาะที่ด าเนินการเกี่ยวกับข่าวปลอม แต่ก็สามารถน าบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องมาใช้เอาผิดต่อ ผู้กระท าความผิดได้ ส าหรับในส่วนมาตรการป้องกันข่าวปลอมนั้น ยังไม่มีกฎหมายใดในการป้องกัน การสร้างข่าวปลอมที่จะเกิดขึ้น


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๔ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร นอกจากนี้ จากรายงานของคณะกรรมาธิการการพัฒนาการเมืองฯ เรื่องผลกระทบและวิธี แก้ปัญหาข่าวปลอม (Fake News) ที่มีผลต่อการพัฒนาการเมืองและกรสื่อสารมวลชน ซึ่งได้พิจารณาศึกษา และสรุปเกี่ยวกับนิยามของข่าวปลอมว่า นักวิชาการได้มีการจ าแนกข่าวปลอมออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ๑) Misinformation คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ความจริง หรือข้อมูลที่คลาดเคลื่อนกับข้อเท็จจริง และถูกเผยแพร่ออกไป โดยผู้เผยแพร่อาจมีเจตนาหรือไม่มีเจตนาที่จะให้ผู้อื่นเกิดความเข้าใจผิด ๒) Disinformation คือ ข้อมูลที่ตั้งใจกุหรือปลอมขึ้น โดยผู้เผยแพร่ข้อมูลนั้นรู้อยู่แล้วว่า เป็นข้อมูลไม่จริง แต่ตั้งใจจะเผยแพร่ให้เกิดความเสียหาย ๓) Malinformation คือ ข้อมูลจริง แต่ผู้เผยแพร่เจตนาเผยแพร่เพื่อก่อให้เกิดความ เสียหายอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนั้น จึงพบว่า กฎหมายเกี่ยวกับข่าวปลอมของไทยไม่มีการจ าแนกข่าวปลอมอย่างชัดเจน ตามการจ าแนกประเภทของข่าวปลอมข้างต้น ซึ่งหากมีการจ าแนกความผิดที่น าเข้าระบบคอมพิวเตอร์ อย่างชัดเจน จะมีความสอดคล้องกับเจตนาของผู้กระท าความผิดและสามารถก าหนดบทลงโทษที่ได้ อย่างเหมาะสม ๕. ข้อเสนอแนะ กรณีหากจะมีการแก้ไขเพิ่มเติมพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระท ำควำมผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐ มีควำมเห็นว่ำ ควรมีก ำหนดนิยำมควำมหมำยของข่ำวปลอมให้ชัดเจน และก ำหนดควำมผิด ตำมกำรจ าแนกประเภทของข่าวปลอม เช่น ข้อมูลข่าวสารที่คลาดเคลื่อน ข้อมูลข่าวสารที่บิดเบือน และ ข้อมูลข่าวสารที่แฝงเจตนาร้ายชัดเจน เพื่อให้มีความสอดคล้องกับเจตนาของผู้กระท าความผิดและ บทลงโทษ ทั้งนี้ นอกจากมาตรการทางกฎหมายแล้ว รัฐควรมีการด าเนินการอื่น ๆ ด้วย เช่น การด าเนินการ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ของภาครัฐได้อย่างครบถ้วนและง่ายต่อการเข้าถึง เพื่อให้ประชาชนสามารถตรวจสอบข้อมูลข้อเท็จจริงได้ก่อนการน าข้อมูลไปโพสต์หรือส่งต่อ รวมถึง เพื่อให้ประชาชนได้มีข้อมูลที่ถูกต้องน ามาใช้ประกอบการพิจารณาและตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ โดยรัฐ อาจด าเนินการเพื่อให้ประชาชนมีช่องทางในการส่งข้อซักถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับประเด็นต่าง ๆ ซึ่งหากประเด็นดังกล่าวมีประชาชนสงสัยจ านวนมากถึงเกณฑ์จ านวนที่ภาครัฐก าหนดหรือมีการลงชื่อ เพื่อซักถามในประเด็นนั้น ๆ หน่วยงานของรัฐควรน ามาพิจารณาและชี้แจงข้อมูลดังกล่าวเพื่อเป็นการ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องแก่ประชาชน นอกจากนี้ รัฐควรมีการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับผู้ ให้บริการแพลตฟอร์ม และการสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ประชาชนเพื่อให้สามารถตรวจสอบข้อมูลต่าง ๆ เบื้องต้นได้ด้วยตนเอง เป็นต้น นำงสำวภีรดำ ดิษฐำกรณ์ วิทยำกรช ำนำญกำร กลุ่มงำนคณะกรรมำธิกำรกำรพัฒนำกำรเมือง กำรสื่อสำรมวลชน และกำรมีส่วนร่วมของประชำชน ส ำนักกรรมำธิกำร ๒


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๕ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร แนวทางการวิเคราะห์ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในชั้นการพิจารณาของคณะกรรมาธิการ วิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร ๑. ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๓๓ ได้บัญญัติ ให้อ ำนำจเกี่ยวกับผู้ริเริ่มในกำรเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติ โดยรัฐธรรมนูญบัญญัติให้เป็นอ ำนำจของ คณะรัฐมนตรี สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรไม่น้อยกว่ำยี่สิบคน หรือผู้มีสิทธิเลือกตั้งจ ำนวนไม่น้อยกว่ำ หนึ่งหมื่นคนเข้ำชื่อเสนอกฎหมำย และหำกร่ำงพระรำชบัญญัติฉบับใดเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติ เกี่ยวด้วยกำรเงินจะต้องมีขั้นตอนและกระบวนกำร รวมถึงระยะเวลำในกำรตรำพระรำชบัญญัติ ที่แตกต่ำงไปจำกร่ำงพระรำชบัญญัติทั่วไป โดยเฉพำะร่ำงพระรำชบัญญัติที่สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร เป็นผู้เสนอ หรือร่ำงพระรำชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเป็นผู้เสนอ ซึ่งในชั้นกำรพิจำรณำในวำระที่ ๒ จะต้องมีกำรพิจำรณำให้รอบคอบว่ำร่ำงพระรำชบัญญัติดังกล่ำว คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญได้มีกำร แก้ไขเพิ่มเติมให้มีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินหรือไม่ หำกพิจำรณำแล้วเห็นว่ำ เป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน จะต้องด ำเนินกำรตำมมำตรำ ๑๓๕ ของรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ โดยเฉพำะเจ้ำหน้ำที่ผู้ที่ได้รับกำรแต่งตั้งให้ปฏิบัติหน้ำที่ เป็นผู้ช่วยเลขำนุกำรประจ ำคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ จะต้องจัดท ำบันทึกเสนอควำมเห็นทำงกฎหมำย เสนอต่อคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ เพื่อให้คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญใช้ประกอบกำรพิจำรณำว่ำ ร่ำงพระรำชบัญญัตินั้น ๆ มีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินหรือไม่ ก่อนเสนอ ควำมเห็นดังกล่ำวเป็นข้อสังเกตไว้ในรำยงำนกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ เพื่อเสนอให้ สภำผู้แทนรำษฎรพิจำรณำต่อไป หำกเป็นกรณีที่เป็นที่สงสัยว่ำเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วย กำรเงินหรือไม่ ให้ด ำเนินกำรเสนอให้ที่ประชุมร่วมกันของประธำนสภำผู้แทนรำษฎรและประธำน คณะกรรมำธิกำรสำมัญของสภำผู้แทนรำษฎรทุกคณะเป็นผู้วินิจฉัยต่อไป หำกมติของที่ประชุม ร่วมกันเห็นว่ำเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินจะต้องด ำเนินกำรตำมบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญ เนื่องจำกร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินนั้น ย่อมส่งผลกระทบต่อรัฐบำลในกำร จัดสรรและควบคุมงบประมำณของแผ่นดิน รัฐธรรมนูญจึงบัญญัติให้ผู้เสนอร่ำงพระรำชบัญญัติ เกี่ยวด้วยกำรเงินตำมมำตรำ ๑๓๓ (๒) และ (๓) จะเสนอได้ก็แต่โดยมีค ำรับรองของนำยกรัฐมนตรี ปัจจ ุบันกำรวิเครำะห์ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน จะกระท ำก่อน กำรพิจำรณำในชั้นรับหลักกำรในวำระที่ ๑ ซึ่งจะต้องวิเครำะห์จำกร่ำงพระรำชบัญญัติ ที่สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรเป็นผู้เสนอ หรือร่ำงพระรำชบัญญัติที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งเป็นผู้เสนอ โดยเจ้ำหน้ำที่ส ำนักกำรประชุมจะเป็นผู้ท ำหน้ำที่ในกำรวิเครำะห์ว่ำร่ำงพระรำชบัญญัติที่เสนอมำนั้น ว่ำมีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินหรือไม่ โดยท ำควำมเห็นทำงกฎหมำยเสนอต่อ ผู้บังคับบัญชำตำมล ำดับชั้น ก่อนเสนอควำมเห็นให้ประธำนสภำผู้แทนรำษฎรเป็นผู้วินิจฉัยต่อไป อย่ำงไรก็ดี กำรวิเครำะห์ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินนั้น มิได้มีแต่เฉพำะในชั้นก่อนรับ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๖ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร หลักกำร ในวำระที่ ๑ เท่ำนั้น โดยพิจำรณำจำกบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ มำตรำ ๑๓๕ ที่บัญญัติว่ำ “มาตรา ๑๓๕ ร่างพระราชบัญญัติใดที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือผู้มีสิทธิเลือกตั้ง เป็นผู้เสนอ และในชั้นรับหลักการไม่เป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน แต่สภาผู้แทนราษฎร ได้แก้ไขเพิ่มเติม และประธานสภาผู้แทนราษฎรเห็นเองหรือมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรทักท้วงต่อ ประธานสภาผู้แทนราษฎรว่าการแก้ไขเพิ่มเติมนั้นท าให้มีลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วย การเงิน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรสั่งระงับการพิจารณาไว้ก่อน เพื่อด าเนินการต่อไปตามมาตรา ๑๓๔ วรรคสอง วรรคสาม วรรคสี่ ในกรณีที่ที่ประชุมร่วมกันตามวรรคหนึ่งวินิจฉัยว่า การแก้ไขเพิ่มเติมท าให้ ร่างพระราชบัญญัตินั้นมีลักษณะเป็นร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน ให้ประธาน สภาผู้แทนราษฎรส่งร่างพระราชบัญญัตินั้นไปให้นายกรัฐมนตรีรับรอง ถ้านายกรัฐมนตรีไม่ให้ ค า รับ รอง ให้สภ าผู้แทน ร าษฎ รด าเนินก า รแก้ไขเพื่อมิให้ ร่างพระ ราชบัญญัตินั้นเป็น ร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน” (รำชกิจจำนุเบกษำ, ๒๕๖๐, น. ๓๙) ก ำ รบัญญัติถ้อยค ำในลักษณ ะดังกล่ ำ วย่อมแสดงให้เห็น ว่ ำ รัฐ ธ ร รมนูญ ได้ให้ควำมส ำคัญกับกำรพิจำรณำร่ำงกฎหมำยในวำระที่ ๒ ของสภำผู้แทนรำษฎรเป็นอย่ำงมำก ซึ่งในทำงปฏิบัติเมื่อสภำผู้แทนรำษฎรมีมติรับหลักกำรแห่งร่ำงพระรำชบัญญัติฉบับใดแล้ว สภำผู้แทนรำษฎรจะตั้งคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญขึ้นมำคณะหนึ่ง เพื่อพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติ ฉบับดังกล่ำว โดยคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญมีอ ำนำจในกำรแก้ไขเพิ่มเติมได้ทุกมำตรำ ตรำบใดที่ไม่เป็น กำรแก้ไขเพิ่มเติมเกินหลักกำรแห่งร่ำงพระรำชบัญญัติที่สภำผู้แทนรำษฎรได้รับหลักกำรไว้ ซึ่งกำรแก้ไขเพิ่มเติมร่ำงพระรำชบัญญัติของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญอำจท ำให้ร่ำงพระรำชบัญญัตินั้น ๆ มีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยเงินก็อำจมีได้ ประกอบกับปัจจุบันเจ้ำหน้ำที่ที่ปฏิบัติหน้ำที่ เป็นฝ่ำยเลขำนุกำรคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญยังขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับลักษณะของ ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน ดังนั้น จึงจ ำเป็นที่ต้องสร้ำงควำมรู้ควำมเข้ำใจให้แก่บุคลำกร ในสำยงำนนิติกำรภำยในส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎรให้มีควำมรู้ ควำมเชี่ยวชำญในกำร วิเครำะห์ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน ในชั้นกำรพิจำรณำเรียงล ำดับมำตรำ ในวำระที่ ๒ ของ คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ ด้วยควำมส ำคัญของกำรวิเครำะห์ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินในวำระที่ ๒ ในชั้นกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ เจ้ำหน้ำที่ฝ่ำยเลขำนุกำรคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ จึงมีหน้ำที่ในกำรวิเครำะห์ลักษณะของร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน เพื่อเสนอควำมเห็น ทำงกฎหมำยต่อคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ กล่ำวคือ เมื่อสภำผู้แทนรำษฎรมีมติรับหลักกำรแห่งร่ำง พระรำชบัญญัติฉบับใดแล้ว หำกไม่มีประเด็นกำรพิจำรณำเกี่ยวกับลักษณะของร่ำงพระรำชบัญญัติ เกี่ยวด้วยกำรเงินในวำระที่ ๑ ต่อมำในชั้นกำรพิจำรณำในวำระที่ ๒ ของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ หำกเกิดกรณีที่จะต้องมีกำรวิเครำะห์เกี่ยวกับลักษณะของร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินเกิดขึ้น ก็ด้วยเหตุที่คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญได้มีกำรแก้ไขเพิ่มเติมให้มีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติ เกี่ยวด้วยกำรเงิน ทั้งนี้ กำรวิเครำะห์ว่ำร่ำงพระรำชบัญญัติฉบับใดเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วย


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๗ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร กำรเงินหรือไม่นั้น ย่อมมีควำมส ำคัญเป็นอย่ำงยิ่ง เนื่องจำกร่ำงพระรำชบัญญัติฉบับใดที่มีลักษณะเป็น ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินแล้ว จะต้องมีหลักเกณฑ์ ขั้นตอนและวิธีกำร รวมถึงระยะเวลำใน กำรตรำกฎหมำยที่แตกต่ำงออกไปจำกกำรพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติทั่วไป ดังนั้น จึงต้องสร้ำงองค์ควำมรู้ให้แก่เจ้ำหน้ำที่ผู้ปฏิบัติหน้ำที่เป็นฝ่ำยเลขำนุกำรคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ พิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติ โดยเฉพำะเจ้ำหน้ำที่ที่ด ำรงต ำแหน่งนิติกรที่ได้รับแต่งตั้ง เป็นผู้ช่วยเลขำนุกำรประจ ำคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติจะต้องมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับกำรวิเครำะห์ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินเป็นอย่ำงดี เพื่อใช้เป็นหลัก ในกำรปฏิบัติงำนและสำมำรถเสนอควำมเห็นทำงกฎหมำยต่อคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญได้อย่ำงมี ประสิทธิภำพ ๒. กฎหมาย กฎ ระเบียบ และยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง กำรศึกษำแนวทำงกำรวิเครำะห์ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินตำมบทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ในชั้นกำรพิจำรณำของคณะกรรมำธิกำร วิสำมัญ สภำผู้แทนรำษฎร นั้น ได้น ำหลักกำร แนวคิด ทฤษฎี และกฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำร วิเครำะห์ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน มำเป็นแนวทำงในกำรศึกษำ ดังนี้ ๒.๑ แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินในรูปแบ บ กำรปกครองแบบรัฐสภำ (Parliament Model) ของประเทศอังกฤษ แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินในรูปแบบ กำรปกครองแบบรัฐสภำ (Parliament Model) ซึ่งเป็นที่นิยมมำใช้แพร่หลำยในกลุ่มประเทศ คอมมอนลอว์หลำยประเทศ เช่น อังกฤษ, แคนนำดำ, ออสเตรเลีย และประเทศไทย รูปแบบนี้รัฐสภำ จะมีอ ำนำจสูงสุด กล่ำวคือรัฐสภำเป็นองค์กรนิติบัญญัติที่มีอ ำนำจสูงสุดไม่มีองค์กรใดที่จะสำมำรถ ออกกฎเกณฑ์หรือระเบียบต่ำง ๆ ได้โดยไม่อิงรัฐสภำ รัฐสภำสำมำรถแก้ไขกฎหมำยหรือขยำยอำยุ ของรัฐสภำออกไปได้ กับไม่ตกอยู่ภำยใต้บทบัญญัติใด ๆ เมื่อรัฐสภำผิดพลำดรัฐสภำเท่ำนั้นที่จะแก้ไข ข้อผิดพลำดนั้น ๆ แต่ถึงอย่ำงไรก็ตำมอ ำนำจของรัฐสภำก็อำจถูกจ ำกัดโดยค่ำนิยมของรัฐสภำเอง เช่น ค่ำนิยมจำกควำมสัมพันธ์ระหว่ำงรัฐบำลและพรรคกำรเมืองที่สมำชิกรัฐสภำสังกัดและอำจโดย บทบำทของกลุ่มอิทธิพลกับมติมหำชน เป็นต้น ตำมทฤษฎีรัฐสภำประกอบด้วยสถำบันต่ำง ๆ ซึ่งต่ำงก็มีบทบำทส ำคัญ อันได้แก่สถำบันพระมหำกษัตริย์, สภำขุนนำง และสภำสำมัญก็ตำม แต่ในทำงปฏิบัติสภำสำมัญ กลับมีบทบำทส ำคัญที่สูงสุดในระบบรัฐสภำ จนบำงครั้งถึงกับใช้ค ำว่ำ House of Common และ Parliament แทนกันได้ ทั้งนี้ทั้งนั้นก็เนื่องจำกพระรำชอ ำนำจของพระมหำกษัตริย์ถูกจ ำกัด โดยธรรมเนียมปฏิบัติของรัฐสภำ ดังนั้น บทบำทจึงมีเพียงด้ำนพิธีกำรต่ำง ๆ เท่ำนั้น ส่วนอ ำนำจ สภำขุนนำงก็ถูกจ ำกัดโดยทั้งบทกฎหมำยและธรรมเนียมปฏิบัติของรัฐสภำเช่นกัน (Statute and Convention) ดังนั้น อำจกล่ำวได้ว่ำใครก็ตำมที่สำมำรถควบคุมสภำสำมัญได้จะมีอ ำนำจในทำง นิติบัญญัติอย่ำงไม่มีขอบจ ำกัด นอกเสียแต่พระมหำกษัตริย์และสภำขุนนำงจะลุกขึ้นมำใช้อ ำนำจ คัดค้ำน แต่ก็เกิดขึ้นน้อยครั้งมำก


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๘ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร ส ำหรับจำรีตนิยมที่สภำสำมัญมักใช้ควบคุมกำรบริหำรงำนของรัฐบำล ได้แก่ กำรควบคุมกำรเงิน ตำมกฎและระเบียบปฏิบัติ ฝ่ำยบริหำร คือ คณะรัฐบำลเป็นผู้เสนอร่ำง พระรำชบัญญัติงบประมำณเพรำะเป็นฝ่ำยที่ทรำบดีที่สุดว่ำในกำรบริหำรประเทศให้เป็นไปตำม นโยบำยของรัฐบำลนั้นจะต้องใช้จ่ำยเงินเท่ำไหร่ และจะหำเงินมำได้อย่ำงไร ส่วนสภำสำมัญในฐำนะ เป็นตัวแทนของประชำชนผู้เสียภำษีย่อมมีหน้ำที่ส ำคัญในกำรพิจำรณำว่ำ รัฐบำลขอใช้จ่ำยเงิน ไปในทำงที่เหมำะสมและเป็นผลดีแก่ประชำชนเพียงใด สมควรจะเรียกเก็บภำษี หรือจัดหำรำยจำก ทรัพยำกรของธรรมชำติหรือไม่ ด้วยเหตุนี้ หน้ำที่ตำมจำรีตนิยมของสภำสำมัญในส่วนที่เกี่ยวกับ กำรเงินก็คือ กำรอนุมัติให้ควำมเห็นชอบ และคอยตรวจสอบกำรใช้จ่ำยงบประมำณของรัฐบำล จำกกำรได้กล่ำวไว้แล้วว่ำในรูปแบบนี้สภำสำมัญมีบทบำทส ำคัญที่สุดในรัฐสภำ ประกอบกับกำรศึกษำถึงประวัติกำรต่อสู้ช่วงชิงอ ำนำจหรือเอกสิทธิ์ โดยเฉพำะเรื่องกำรควบคุมเงิน ของรัฐบำลระหว่ำงสภำสำมัญและสภำขุนนำง ซึ่งในที่สุดสภำสำมัญเป็นฝ่ำยได้รับชัยชนะ จึงได้มีกำร ตรำพระรำชบัญญัติรัฐสภำ (Parliament Act ๑๙๑๑) โดยมีจุดประสงค์เพื่อตัดทอนอ ำนำจ และจ ำกัดขอบเขตในกระบวนกำรพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินของสภำขุนนำง โดยบัญญัติไว้มีสำระส ำคัญดังนี้ คือ (๑) ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินให้ฝ่ำยบริหำรหรือรัฐบำลเป็นผู้เสนอ โดยตรงเสนอต่อรัฐสภำและต้องยื่นต่อสภำสำมัญเสมอ เมื่อสภำสำมัญได้พิจำรณำตำมกระบวนกำร นิติบัญญัติแล้วหำกเห็นชอบ ก็จะอนุมัติให้ผ่ำนไปยังสภำขุนนำงภำยในเวลำไม่ช้ำกว่ำหนึ่งเดือน ก่อนสิ้นสมัยประชุมนั้นเพื่อให้สภำขุนนำงได้พิจำรณำ และภำยในหนึ่งเดือนหลังจำกที่สภำสำมัญ ได้ส่งร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินนั้นมำยังสภำขุนนำง ถ้ำสภำขุนนำงมิได้พิจำรณำให้แล้วเสร็จ ไม่ว่ำจะมีกำรแก้ไขเพิ่มเติมหรือไม่ และถ้ำสภำสำมัญมิได้สั่งเป็นอย่ำงอื่น ก็ให้ส่งร่ำงพระรำชบัญญัตินั้น ขึ้นทูลเกล้ำถวำยพระมหำกษัตริย์ทรงลงพระปรมำภิไธย ประกำศใช้เป็นกฎหมำยแม้สภำขุนนำง จะไม่ยินยอมด้วยก็ตำม (๒) กำรให้ควำมหมำยของร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน หมำยถึง ร่ำงพระรำชบัญญัติประเภทใดบ้ำงและค ำจ ำกัดควำมของร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินว่ำ ได้แก่ ร่ำงพระรำชบัญญัติที่มีข้อควำมว่ำด้วยเรื่องต่อไปนี้ทั้งหมดหรือแต่เรื่องใดเรื่องหนึ่ง กล่ำวคือ กำรตั้งขึ้นหรือยกเลิกหรือผ่อน หรือเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือวำงระเบียบกำรบังคับอันเกี่ยวกับกำรภำษี กำรตั้งขึ้นเพื่อช ำระหนี้ หรือเพื่อกำรเงินอื่น ๆ ซึ่งภำระติดพันเหนือเงินทุนรัฐบำลหรือเหนือเงิน ซึ่งรัฐบำลจัดให้ หรือกำรเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภำระติดพันอย่ำงหนึ่งอย่ำงใดเหล่ำนั้น กำรจ ำหน่ำย (Supply) กำรจัดสรร หรือรับหรือรักษำหรือออก (Issue) หรือตรวจบัญชีเงินแผ่นดิน หรือกำรกู้เงิน รำยหนึ่ง หรือกำรค้ ำประกันหรือกำรช ำระเงินกู้นั้น หรือเรื่องรองลงมำซึ่งเกี่ยวกับเรื่องเหล่ำนั้น หรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งของเรื่องเหล่ำนั้น ในอนุมำตรำนี้ค ำว่ำภำษี “เงินแผ่นดิน” และ “เงินกู้” ไม่รวมถึงภำษี เงิน และเงินกู้ตำมล ำดับ ซึ่งเจ้ำหน้ำที่องค์กำรท้องถิ่นจัดขึ้นเพื่อกิจกำรของท้องถิ่น และในกรณีเป็นที่สงสัยว่ำร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินหรือไม่ ให้เป็นอ ำนำจวินิจฉัยของ ประธำนสภำสำมัญ


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๓๙ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร (๓) ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินทุก ๆ ฉบับ ให้เริ่มต้นที่สภำสำมัญ และเมื่อได้รับควำมเห็นชอบแล้วจะส่งต่อไปยังสภำขุนนำงเพื่อพิจำรณำ และเมื่อส่งไปทูลเกล้ำฯ ถวำย พระมหำกษัตริย์เพื่อพระบรมรำชำอนุมัติให้มีบันทึกเป็นใบรับรอง (Certificate) ซึ่งประธำนสภำ สำมัญลงนำม ว่ำร่ำงพระรำชบัญญัตินั้นเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินก่อนที่จะให้ใบรับรองนี้ ถ้ำท ำได้ให้ประธำนสภำสำมัญหรือสมำชิกสองนำย ซึ่งได้รับแต่งตั้ง โดยเฉพำะกรรมำธิกำรวิสำมัญ (Committee of Selection) จำกพวกที่มีชื่อในบัญชีของประธำนกรรมำธิกำร (Chairmen’s panel) เมื่อเริ่มประชุมแต่ละสมัย ประชุมนั้น ดังนั้น อำจกล่ำวได้ว่ำแนวควำมคิดเกี่ยวกับร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วย กำรเงินในรูปแบบของรัฐสภำ ส่วนใหญ่จะจ ำกัดอยู่แต่เฉพำะสภำสำมัญซึ่งเป็นผู้ก ำหนดควำมหมำย บทวิเครำะห์ศัพท์ ตลอดจนวิธีกำรเสนอและกำรพิจำรณำ และก ำหนดให้ประธำนสภำสำมัญเป็นผู้มี อ ำนำจสูงสุดในกำรวินิจฉัยกรณีเกิดปัญหำตีควำม ทั้งนี้ทั้งนั้นเนื่องมำจำกชัยชนะในกำรต่อสู้ ทำงกำรเมืองของสภำสำมัญในเรื่องอ ำนำจและเอกสิทธิ์ดังกล่ำว และคงถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ มำจนปัจจุบันนี้ (กมล สุปรียสุนทร, ๒๕๓๔, น. ๗ - ๑๔) ทั้งนี้ กำรน ำแนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินมำใช้ ในกำรศึกษำเพื่อให้ทรำบถึงที่มำ และควำมส ำคัญของหลักคิดในกำรร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วย กำรเงิน รวมไปถึงระบบกำรถ่วงดุลอ ำนำจระหว่ำงฝ่ำยบริหำรและฝ่ำยนิติบัญญัติเพื่อควบคุมกำรใช้ งบประมำณแผ่นดินในแง่มุมของกำรตรำพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน ซึ่งเป็นหลักกำรส ำคัญ ที่ต้องให้ผู้น ำของฝ่ำยบริหำรรับรู้รับทรำบถึงเพื่อประเมินถึงควำมสำมำรถทำงกำรเงินกำรคลังของ รัฐบำล โดยน ำหลักกำรดังกล่ำวมำใช้เป็นแนวทำงกำรศึกษำกำรวิเครำะห์ลักษณะของ ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินตำมบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ ๒.๒ ควำมมุ่งหมำยและค ำอธิบำยประกอบรำยมำตรำของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญได้จัดท ำหนังสือควำมมุ่งหมำยและค ำอธิบำย ประกอบรำยมำตรำของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ หลังจำกที่ รัฐธรรมนูญได้ประกำศใช้บังคับแล้ว เพื่อเป็นแนวทำงในกำรตีควำมตำมเจตนำรมณ์ของผู้ยกร่ำง รัฐธรรมนูญ โดยผู้ศึกษำได้น ำเอำหลักกำรแห่งควำมมุ่งหมำยและค ำอธิบำยประกอบมำใช้เป็น แนวทำงในกำรศึกษำ ดังนี้ (๑) ควำมมุ่งหมำยและค ำอธิบำยประกอบมำตรำ ๑๓๓ เป็นบทบัญญัติ ที่ก ำหนดผู้มีอ ำนำจเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติ และก ำหนดหลักเกณฑ์กำรเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติ เกี่ยวด้วยกำรเงิน ทั้งนี้ บทบัญญัติลักษณะนี้ได้มีกำรบัญญัติไว้เป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญ แห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๔๘๙ (มำตรำ ๒๒ และมำตรำ ๕๓) และได้บัญญัติท ำนอง เดียวกันต่อมำในรัฐธรรมนูญหลำยฉบับ จนกระทั่งในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๔๐ (มำตรำ ๑๗๐) ได้บัญญัติเพิ่มให้ประชำชนมีสิทธิเข้ำชื่อเสนอกฎหมำยได้เป็นครั้งแรก โดยก ำหนดให้ผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่ำห้ำหมื่นคน สำมำรถเข้ำชื่อร้องขอต่อประธำนรัฐสภำในกำร


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๔๐ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร เสนอกฎหมำย และต่อมำในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ (มำตรำ ๑๖๓) ได้ลดจ ำนวนประชำชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในกำรเข้ำชื่อเสนอกฎหมำยจำกห้ำหมื่นคนเป็นไม่น้อยกว่ำ หนึ่งหมื่นคน ดังนั้น รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๖๐ จึงคงหลักกำรตำม รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐ เพื่อเป็นกำรเปิดโอกำสให้ประชำชน มีส่วนร่วมทำงกำรเมืองได้ง่ำย โดยก ำหนดให้กำรเข้ำชื่อเสนอกฎหมำยได้เฉพำะในหมวดสิทธิและ เสรีภำพของปวงชนชำวไทยและหมวดหน้ำที่ของรัฐเท่ำนั้น และให้เป็นไปตำมกฎหมำยว่ำด้วย กำรเข้ำชื่อเสนอกฎหมำย ส ำหรับบทบัญญัติในวรรคสอง เป็นบทบัญญัติก ำหนดให้ร่ำงพระรำชบัญญัติ เกี่ยวด้วยกำรเงินที่เสนอโดยสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร และผู้มีสิทธิเลือกตั้งตำมควำมในอนุมำตรำ (๒) และ (๓) จะเสนอได้ก็ต่อเมื่อมีค ำรับรองของนำยกรัฐมนตรีนั้น เนื่องจำกฝ่ำยบริหำรเป็นผู้มีหน้ำที่ ในกำรหำรำยได้ให้แก่ประเทศและบริหำรจัดกำรงบประมำณของประเทศ และเพื่อให้ฝ่ำยบริหำร ได้ตรวจสอบถึงควำมจ ำเป็น ควำมเหมำะสมและควำมพร้อมด้ำนงบประมำณก่อนที่จะมีกำรเสนอร่ำง พระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินต่อรัฐสภำ โดยฝ่ำยนิติบัญญัติเป็นผู้พิจำรณำให้ควำมเห็นชอบ และประกำศใช้เป็นกฎหมำย นอกจำกนี้ เมื่อกฎหมำยมีผลใช้บังคับแล้วจะกระทบต่องบประมำณของ แผ่นดินหรือสร้ำงภำระผูกพันต่องบประมำณของแผ่นดิน ฝ่ำยบริหำรจะต้องเป็นผู้รับผิดชอบในกำร จัดสรรงบประมำณเพื่อด ำเนินกำรให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยก ำหนด (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๖๒, น. ๒๓๐ - ๒๓๑) จำกแนวควำมคิดของคณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญดังกล่ำว ผู้ศึกษำ จึงขอสรุปว่ำหลักกำรที่บัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๓๓ วรรคหนึ่ง (๑) (๒) และ (๓) ว่ำ เป็นหลักกำร ที่บัญญัติเกี่ยวกับผู้มีสิทธิเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน กล่ำวคือ รัฐธรรมนูญได้บัญญัติ วำงหลักเกี่ยวกับผู้มีสิทธิในกำรเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๓๓ โดยบัญญัติไว้ทั้งหมด ๓ อนุมำตรำ คือ ๑) คณะรัฐมนตรี๒) สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร และ ๓) ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง ในที่นี้ ผู้ศึกษำได้น ำหลักกำรเฉพำะกรณีผู้มีสิทธิเสนอร่ำงพระรำชบัญญัติตำมมำตรำ ๑๓๓ (๑) และ (๒) ที่จะต้องมีกำรวิเครำะห์ว่ำมีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินหรือไม่ ซึ่งจะเสนอ ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินได้ก็ต่อเมื่อมีค ำรับรองของนำยกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นไปตำมควำม ที่บัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๓๓ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ (๒) ควำมมุ่งหมำยและค ำอธิบำยประกอบมำตรำ ๑๓๔ เป็นบทบัญญัติ ที่ก ำหนดลักษณะของร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน กล่ำวคือ บทบัญญัติลักษณะนี้ได้มีกำร บัญญัติไว้เป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๔๘๙ (มำตรำ ๕๓ วรรคสอง) และได้บัญญัติท ำนองเดียวกันไว้ในรัฐธรรมนูญทุกฉบับ เพื่อก ำหนดควำมหมำยหรือ ลักษณะที่ส ำคัญของร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน “ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน” ได้แก่ร่ำงพระรำชบัญญัติ ที่มีลักษณะดังต่อไปนี้


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๔๑ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร (๒.๑) มีสำระเกี่ยวกับกำรตั้งขึ้น ยกเลิก ลด เปลี่ยนแปลง แก้ไข ผ่อน หรือวำงระเบียบกำรบังคับอันเกี่ยวกับภำษีหรืออำกร ยกตัวอย่ำงเช่น ร่ำงพระรำชบัญญัติแก้ไข เพิ่มเติมประมวลรัษฎำกร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... มีกำรแก้ไขในส่วนที่เกี่ยวกับ ค่ำลดหย่อนกำรค ำนวณ ภำษีเงินได้ส ำหรับบุคคลธรรมดำ โดยก ำหนดให้ผู้มีเงินได้ที่อุปกำระเลี้ยงดู บิดำ มำรดำมีสิทธิ หักค่ำลดหย่อนภำษีได้เพิ่มขึ้น ซึ่งถือว่ำเป็นกำรเปลี่ยนแปลงอัตรำภำษีหรืออำกร หรือตัวอย่ำงกรณี กำรเพิ่มประเภทที่จัดเก็บภำษีหรืออำกรขึ้นใหม่ เช่น ร่ำงพระรำชบัญญัติกำรยำงแห่งประเทศไทย พ.ศ. .... ที่ก ำหนดให้กำรส่งยำงออกนอกรำชอำณำจักรต้องเสียอำกร จำกเดิมที่ไม่ต้องเสียอำกร เป็นต้น (๒.๒) มีสำระส ำคัญเกี่ยวกับกำรจัดสรร รับ รักษำ หรือจ่ำยเงินแผ่นดิน หรือกำรโอนงบประมำณรำยจ่ำยของแผ่นดิน เช่น กรณีกำรจัดตั้งหน่วยงำนของรัฐขึ้นใหม่ เช่น ร่ำงพระรำชบัญญัติองค์กรกระจำยเสียงและแพร่ภำพของรัฐสภำ พ.ศ. .... ก ำหนดให้มีกำรจัดตั้ง องค์กรกระจำยเสียงและแพร่ภำพของรัฐสภำมีฐำนะเป็นนิติบุคคลที่ไม่ใช่ส่วนรำชกำรและรัฐวิสำหกิจ เป็นต้น (๒.๓) มีสำระส ำคัญเกี่ยวกับกำรกู้ กำรค้ ำประกัน กำรใช้เงินกู้ หรือ กำรด ำเนินกำรที่ผูกพันทรัพย์สินของรัฐ เช่น ร่ำงพระรำชบัญญัติบริหำรหนี้สำธำรณะ พ.ศ. .... ก ำหนดให้กระทรวงกำรคลังค้ ำประกันกำรช ำระหนี้เพิ่มขึ้นจำกเดิมร้อยละสิบเป็นร้อยละยี่สิบของ งบประมำณรำยจ่ำยประจ ำปีที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น โดยเป็นกำรค้ ำประกันเงินกู้ในนำมของรัฐบำล เป็นต้น (๒.๔) ร่ำงพระรำชบัญญัติที่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับเงินตรำ เช่น พระรำชบัญญัติเงินตรำ ในภำวะฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๔๘๔ พระรำชบัญญัติควบคุมกำรแลกเปลี่ยนเงิน พ.ศ. ๒๔๘๕ พระรำชบัญญัติระบบเงินตรำชั่วครำว พ.ศ. ๒๔๘๙ เป็นต้น นอกจำกนี้ ควำมในมำตรำนี้ยังได้ก ำหนดหลักเกณฑ์กำรด ำเนินกำร ในกรณีที่เป็นที่สงสัยว่ำร่ำงพระรำชบัญญัติใดเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน โดยก ำหนด ให้เป็นอ ำนำจของที่ประชุมร่วมกันของประธำนสภำผู้แทนรำษฎร และประธำนคณะกรรมำธิกำรสำมัญ ของสภำผู้แทนรำษฎรทุกคณะเป็นผู้วินิจฉัย เนื่องจำกร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินเป็นเรื่อง ส ำคัญที่ควรใช้ดุลยพินิจจำกหลำยฝ่ำยร่วมกัน จึงจ ำเป็นที่ต้องก ำหนดให้มีกำรประชุมร่วมกัน และ ก ำหนดระยะเวลำสิบห้ำวันเพื่อมิให้เกิดควำมล่ำช้ำและอยู่ในวิสัยที่จะกระท ำได้ (คณะกรรมกำร ร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๖๒, น. ๒๓๒ - ๒๓๓) ผู้ศึกษำจึงขอให้ควำมหมำยลักษณะของร่ำงพระรำชบัญญัติ เกี่ยวด้วยกำรเงิน หมำยถึง ร่ำงพระรำชบัญญัติที่มีลักษณะสำระส ำคัญที่มีควำมเกี่ยวข้องกับเรื่องเงิน ภำษีอำกร เงินตรำ หรืองบประมำณแผ่นดินอย่ำงใดอย่ำงหนึ่ง จึงจะถือว่ำเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติ เกี่ยวด้วยกำรเงินตำมที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๓๔ วรรคหนึ่ง (๑) ถึง (๔) (๓) ควำมมุ่งหมำยและค ำอธิบำยประกอบ มำตรำ ๑๓๕ เป็นบทบัญญัติ ที่ก ำหนดขั้นตอนในกำรพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติที่มีกำรแก้ไขเพิ่มเติมที่ท ำให้ร่ำงพระรำชบัญญัติ นั้นมีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน ทั้งนี้ บทบัญญัติลักษณะนี้ได้มีกำรบัญญัติไว้ เป็นครั้งแรกในรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๕) พุทธศักรำช ๒๕๓๘


๓๐ องค์ความรู้เพื่อน าไปสู่แนวปฏิบัติงานในคณะกรรมาธิการ ๓๔๒ คณะท ำงำนบริหำรจัดกำรควำมรู้ (Knowledge Management : KM) และนวัตกรรมของส ำนักกรรมำธิกำร ๒ ส ำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร (มำตรำ ๑๑๔) และได้บัญญัติท ำนองเดียวกันไว้ในรัฐธรรมนูญทุกฉบับ เพื่อก ำหนดขั้นตอนในกำร พิจำรณำกรณีร่ำงพระรำชบัญญัติที่สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรหรือผู้มีสิทธิเลือกตั้งเสนอ และในชั้น รับหลักกำรไม่เป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน แต่มีกำรแก้ไขเปลี่ยนแปลงจนเป็น ร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน และประธำนสภำผู้แทนรำษฎรเห็นเองหรือมีสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎร ทักท้วงว่ำกำรแก้ไขเพิ่มเติมนั้นท ำให้มีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน ให้ประธำนสภำผู้แทนรำษฎรสั่งระงับกำรพิจำรณำไว้ก่อน เพื่อด ำเนินกำรตำมมำตรำ ๑๓๔ วรรคสอง วรรคสำม และวรรคสี่ และเนื่องจำกอ ำนำจในกำรรับรองร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน เป็นอ ำนำจของนำยกรัฐมนตรีโดยเฉพำะ ดังนั้น หำกร่ำงพระรำชบัญญัติใดถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลง จนเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินก็ต้องน ำเข้ำสู่กระบวนกำรให้นำยกรัฐมนตรีรับรองต่อไป และหำกนำยกรัฐมนตรีไม่ให้ค ำรับรอง ให้สภำผู้แทนรำษฎรแก้ไขเพื่อมิให้ร่ำงพระรำชบัญญัตินั้น เป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน (คณะกรรมกำรร่ำงรัฐธรรมนูญ, ๒๕๖๒, น. ๒๓๔) ผู้ศึกษำจึงขอสรุปว่ำ หลักกำรที่บัญญัติไว้ในมำตรำ ๑๓๕ นั้น เป็นหลักกำรเกี่ยวกับกำรพิจำรณำร่ำงพระรำชบัญญัติที่คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญได้มีกำรแก้ไข เพิ่มเติมจนท ำให้ร่ำงพระรำชบัญญัตินั้นมีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน ซึ่งปกติ มักเกิดขึ้นด้วยเหตุที่คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญเป็นผู้แก้ไขเพิ่มเติม ในวำระที่ ๒ หรือคณะกรรมำธิกำร วิสำมัญได้มีกำรแก้ไขเพิ่มเติมร่ำงมำตรำใด ตำมค ำแปรญัตติที่มีสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรเสนอ ขอแก้ไขเพิ่มเติมซึ่งมีลักษณะเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยเงิน ๒.๓ ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ผู้ศึกษำได้น ำหลักกำรของข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ เกี่ยวกับผู้มีอ ำนำจในกำรวินิจฉัยลักษณะของร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน มำใช้เป็นแนวทำง ในกำรศึกษำ ซึ่งผู้มีอ ำนำจในกำรวินิจฉัยลักษณะของร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน ในชั้นก่อนกำร พิจำรณำรับหลักกำรในวำระที่ ๑ กล่ำวคือ ในกรณีที่ประธำนสภำเห็นว่ำร่ำงพระรำชบัญญัติที่มี ผู้เสนอเป็นสมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรตำมมำตรำ ๑๓๓ (๒) และผู้มีสิทธิเลือกตั้งตำมมำตรำ ๑๓๓ (๓) ของรัฐธรรมนูญ เป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงิน ให้ประธำนสภำผู้แทนรำษฎรแจ้งให้ผู้เสนอทรำบ หำกผู้เสนอไม่คัดค้ำนควำมเห็นของประธำนสภำผู้แทนรำษฎรภำยในเจ็ดวันนับแต่วันส่งค ำแจ้ง ให้ถือว่ำไม่มีกรณีเป็นที่สงสัยตำมมำตรำ ๑๓๔ ของรัฐธรรมนูญ ก็ให้ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร ส่งร่ำงพระรำชบัญญัตินั้นไปยังนำยกรัฐมนตรีเพื่อพิจำรณำให้ค ำรับรอง ในกรณีประธำนสภำ ผู้แทนรำษฎรส่งร่ำงพระรำชบัญญัติดังกล่ำวไปยังนำยกรัฐมนตรีแล้ว แต่นำยกรัฐมนตรีไม่พิจำรณำ ให้ค ำรับรองภำยในสำมสิบวันนับแต่วันที่ได้รับร่ำงพระรำชบัญญัตินั้น ให้ประธำนสภำผู้แทนรำษฎร แจ้งเหตุขัดข้องให้ผู้เสนอทรำบ กรณีที่เป็นที่สงสัย ตำมที่ข้อบังคับกำรประชุมสภำผู้แทนรำษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ บัญญัตินั้น เป็นกำรสร้ำงขั้นตอนกำรคำนอ ำนำจในกำรใช้ดุลยพินิจของประธำนสภำผู้แทนรำษฎร เป็นกรณีที่ผู้เสนอร่ำงพระรำชบัญญัติแจ้งคัดค้ำนควำมเห็นของประธำนสภำผู้แทนรำษฎร ซึ่งในกรณีนี้ ให้เป็นอ ำนำจของที่ประชุมร่วมกันของประธำนสภำและประธำนคณะกรรมำธิกำรสำมัญทุกคณะ เป็นผู้วินิจฉัยว่ำร่ำงพระรำชบัญญัติฉบับดังกล่ำวเป็นร่ำงพระรำชบัญญัติเกี่ยวด้วยกำรเงินหรือไม่


Click to View FlipBook Version