The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวคำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ปี 2563 เรื่องละเมิด เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นคร เจือจันทร์, 2022-05-09 02:55:16

แนวคำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ปี 2563 เรื่องละเมิด เล่มที่ 1

แนวคำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ปี 2563 เรื่องละเมิด เล่มที่ 1

Keywords: เรื่องละเมิด เล่มที่ 1

๒๔๙

ไดแตหาไดใชใหเพียงพอไม อันถือไดวาเปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลอ
อยา งรายแรง

คดีมีปญหาท่ีตองวินิจฉัยตอไปวา นาย ธ. ในฐานะนายตรวจศุลกากรตองรับผิด
ชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูฟองคดี เพียงใด น้ัน แมผูฟองคดีและผูถูกฟองคดีท้ังสามจะไมได
อุทธรณโตแยงคําพิพากษาของศาลปกครองช้ันตนในประเด็นเกี่ยวกับการกําหนดสัดสวนความรับผิด
ท่ีผูถูกฟองคดีท้ังสามในฐานะทายาทของนาย ธ. ตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดีก็ตาม
แตศาลปกครองสูงสุดโดยมติที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุดพิเคราะหแลวเห็นวา
คดีในกลุมท่ีเจาหนาที่ของกรมศุลกากรฟองคดีตอศาล ขอใหศาลมีคําพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่ง
กรมศุลกากรที่เรียกใหชดใชเงิน อันเนื่องมาจากการกระทําละเมิดในการปฏิบัติหนาที่ กรณีมีการ
ทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรตามใบขนสินคาขาออก อันมีมูลเหตุจากมีบุคคลรองเรียน
ตอนายกรัฐมนตรีเมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๐ หรือกรณีที่กรมศุลกากรฟองเรียกใหทายาทของเจาหนาท่ี
รับผิดชดใชคาเสียหายในกรณีเดียวกัน ในการวินิจฉัยกําหนดสัดสวนความรับผิดชดใชคาเสียหาย
ของเจาหนาที่หรือของทายาทของเจาหนาท่ี ศาลปกครองไดมีคําพิพากษาเปนแนวเดียวกัน
โดยกําหนดใหคํานวณหักสวนแหงความรับผิดของกรมศุลกากรออกเปนจํานวนรอยละ ๕๐
ของความเสียหายท่ีเกิดขึ้นแลวจึงกําหนดความรับผิดของนายตรวจศุลกากรใหรับผิดรอยละ ๗๐
ของจํานวนความเสียหายท่ีไดคํานวณหักความรับผิดของกรมศุลกากรออกแลว คดีนี้จึงสมควร
วินิจฉัยความรับผิดของทายาทของนาย ธ. ซ่ึงดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร ตามแนวทางการ
วินิจฉัยดงั กลา ว เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา มีการนําบัตรภาษีท่ีออกสืบเนื่องจากใบขนสินคาขาออก
ท้ังแปดฉบับที่นาย ธ. มีสวนเก่ียวของไปใชแลว (วางฎีกา) เมื่อวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๓๙ วันท่ี
๑๗ เมษายน ๒๕๓๙ และวันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๙ อันเปนวันที่มีการกระทําละเมิดตอผูฟองคดี
จึงเปนกรณีทีม่ ีการกระทําละเมิดของเจา หนา ที่กอ นที่ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่
พ.ศ. ๒๕๓๙ จะมีผลใชบังคับในวันท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ กรณีจึงตองนําบทบัญญัติ
ตามประมวลกฎหมายแพง และพาณชิ ย อนั เปน กฎหมายที่ใชขณะท่ีมีการกระทําละเมิดมาใชบังคับ
กับกรณดี ังกลาว โดยที่ขณะเกิดเหตุรัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการสงสินคาออกทําใหปริมาณสินคา
สงออกมีมาก แตก็ไมปรากฏวาผูฟองคดีไดจัดสรรอัตรากําลังเจาหนาท่ีในตําแหนงนายตรวจ
ศุลกากรและศลุ การักษเพ่ิมเติมใหเพียงพอกับปริมาณงานการตรวจปลอยสินคาสงออกท่ีบรรจุเขา
คอนเทนเนอร ซึ่งเพม่ิ มากขนึ้ แตอยา งใด ประกอบกับการท่ีผูฟองคดีกําหนดหลักเกณฑใหผูสงออก
เพียงแตนําใบขนสินคาขาออกฉบับมุมน้ําเงินพรอมกับเอกสารท่ีเก่ียวของไปยื่นขอรับเงินชดเชย
คาภาษีอากร แตในช้ันการตรวจสอบวาผูย่ืนคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรไดสงสินคาออกไป
จริงหรือไม กลับพิจารณาเปรียบเทียบรายการสินคาที่ปรากฏในใบขนสินคาขาออกกับรายการ
สินคาท่ีปรากฏในบัญชีสินคาสําหรับเรือ ซึ่งหากผูฟองคดีไดกําหนดใหมีการตรวจสอบใบขนสินคา
ขาออกกับบัญชีสินคาสําหรับเรือประกอบกันในข้ันตอนการพิจารณาคําขอรับเงินชดเชยคาภาษี
อากรดวยแลว ก็จะปองกันหรือลดทอนความเสียหายท่ีอาจเกิดขึ้นได จึงเห็นไดวาความเสียหาย
ทเี่ กิดข้ึนนัน้ สว นหน่งึ เกดิ จากความบกพรองของระบบการดําเนินงานของผูฟองคดี จึงเห็นสมควร

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๐

หกั สวนแหงความบกพรอ งของผฟู อ งคดีออกรอ ยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายท้ังหมดตามมาตรา ๔๓๘
วรรคหน่ึง ประกอบมาตรา ๔๔๒ และมาตรา ๒๒๓ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชย แตโดยท่ีเหตลุ ะเมิดในคดีนี้เกิดจากการปฏิบัติหนาท่ีของนายตรวจศุลกากรและเจาหนาท่ี
ศุลการักษ เม่ือพิจารณาถึงอํานาจหนาที่และสภาพความรายแรงแหงการกระทําแลวเห็นวา
นายตรวจศุลกากรมีหนาที่โดยตรงในการตรวจสินคาสวนศุลการักษเปนเพียงผูชวยเทานั้น
นายตรวจศุลกากรจึงตองรับผิดรอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐
หลงั จากหักความรบั ผิดของผูฟ องคดแี ลว ท้งั นี้ ตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมาย
ดังกลาว ดังนั้น เมื่อมีการนําบัตรภาษีที่ออกสืบเน่ืองจากใบขนสินคาขาออกทั้งแปดฉบับดังกลาว
ไปใชแลว (วางฎีกา) เปนเงิน ๗๖๔,๗๘๙.๙๕ บาท หักสวนความรับผิดของผูฟองคดีออกรอยละ ๕๐
ของจํานวนคาเสียหายทั้งหมด นาย ธ. ในฐานะนายตรวจศุลกากรตองรับผิดรอยละ ๗๐
ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐ หลังจากหักความรับผิดของผูฟองคดีแลว นาย ธ.
จึงตองรับผิดชดใชคาเสียหายเปนเงินจํานวน ๒๖๗,๖๗๖.๔๘ บาท สวนกรณีดอกเบี้ยของ
คาสินไหมทดแทนท่ีนาย ธ. ตองชําระใหแกผูฟองคดี น้ัน เม่ือหนี้ดังกลาวเปนหนี้อันเกิด
แตมูลละเมิด นาย ธ. ซึ่งเปนลูกหนี้ยอมไดชื่อวาผิดนัดมาแตเวลาท่ีทําละเมิด และขอเท็จจริง
ปรากฏวามีการนําบัตรภาษีท่ีออกสืบเน่ืองจากใบขนสินคาขาออกท้ังแปดฉบับไปใช (วางฎีกา)
ในวันที่ ๒ เมษายน ๒๕๓๙ มูลคาบัตรภาษี ๕๗๑,๒๑๕.๖๖ บาท คิดเปนคาเสียหายจํานวน
๑๙๙,๙๒๕.๔๘ บาท วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๓๙ มูลคาบัตรภาษี ๑๙๒,๖๓๗.๓๕ บาท คิดเปน
คา เสียหายจํานวน ๖๗,๔๒๓.๐๗ บาท และวันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๙ มูลคาบัตรภาษี ๙๓๖.๙๔ บาท
คิดเปนคาเสียหายจํานวน ๓๒๗.๙๓ บาท นาย ธ. จึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแก
ผูฟองคดีพรอ มดอกเบีย้ ในอตั รารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจํานวน ๑๙๙,๙๒๕.๔๘ บาท นับแต
วันท่ี ๒ เมษายน ๒๕๓๙ กับตนเงินจํานวน ๖๗,๔๒๓.๐๗ บาท นับแตวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๓๙
และตนเงินจํานวน ๓๒๗.๙๓ บาท นับแตวันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๓๙ จนถึงวันฟองคดี คือวันท่ี
๑๕ ธันวาคม ๒๕๔๙ รวมเปนเงินทั้งสิ้น ๔๘๒,๓๗๓.๘๘ บาท (๒๖๗,๖๗๖.๔๘ + ๒๑๔,๖๙๗.๔๐)
ทงั้ น้ี ตามมาตรา ๒๐๖ ประกอบมาตรา ๒๒๔ วรรคหนง่ึ แหงประมวลกฎหมายเดยี วกนั

คดีมีประเด็นที่จะตองวินิจฉัยตอไปวา ผูถูกฟองคดีท้ังสามซ่ึงเปนทายาทโดยธรรม
ผูมีสิทธิไดรับมรดกของนาย ธ. ตองรวมกันหรือแทนกันชําระเงินคาสินไหมทดแทนพรอมดอกเบ้ีย
ตามคําขอของผูฟองคดีหรือไม เห็นวา เมื่อความรับผิดอันเกิดจากการกระทําละเมิดในการปฏิบัติ
หนาท่ีของนาย ธ. ตอผูฟองคดีเปนความรับผิดเก่ียวกับทรัพยสินเปนเงิน มิใชความรับผิด
ซ่ึงตามกฎหมายหรือวาโดยสภาพแลวเปนการเฉพาะตัวของนายธงชัยผูตายโดยแท ดังน้ัน
ผูถูกฟองคดีทั้งสามในฐานะทายาทโดยธรรมของนายธงชัยจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
พรอมดอกเบี้ยใหแกผูฟองคดีไมเกินกวาทรัพยมรดกท่ีตกทอดไดแกตนตามมาตรา ๑๖๐๐
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ท่ีศาลปกครองชั้นตนพิพากษาใหผูถูกฟองคดีทั้งสาม
รวมกันชําระเงินคาสินไหมทดแทนพรอมดอกเบ้ียใหแกผูฟองคดี จํานวน ๓๑๒,๖๔๑.๙๔ บาท
พรอมดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินคาสินไหมทดแทนจํานวน ๓๐๕,๙๑๕.๙๘ บาท

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๑

นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จใหแกผูฟองคดี ทั้งนี้ ไมเกินทรัพยมรดกนาย ธ.
(ผูตาย) ท่ีผูถูกฟองคดีทั้งสามไดรับและภายใตเง่ือนไขวาหากผูฟองคดีไดรับชําระหนี้
ตามคําพิพากษาศาลภาษีอากรกลาง ในคดีหมายเลขแดงที่ ๔๘๕/๒๕๔๙ แลว คาเสียหายที่
ผูถูกฟองคดีทั้งสามตองชดใชใหลดลงตามสวนท่ีผูฟองคดีไดรับชําระหนี้หรือใหพนความรับผิด
ในการชดใชคาเสียหายดังกลาว แลวแตกรณี โดยใหผูถูกฟองคดีท้ังสามชําระใหแลวเสร็จภายใน
๖๐ วัน นับแตวันท่ีคดีถึงท่ีสุด และใหคืนคาธรรมเนียมศาลบางสวนตามสวนของการชนะคดี
แกผฟู องคดี นนั้ ศาลปกครองสงู สุดเห็นพอ งดวยบางสวน

พิพากษาแก เปนใหผูถูกฟองคดีท้ังสามรวมกันหรือแทนกันรับผิดชดใชคาสินไหม
ทดแทนเปน เงินจํานวน ๔๘๒,๓๗๓.๘๘ บาท พรอมดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของเงินตน
จาํ นวน ๒๖๗,๖๗๖.๔๘ บาท นับถดั จากวันฟอ งเปน ตน ไปจนกวาจะชําระเสร็จแกผูฟองคดี ภายใน
๖๐ วัน นบั แตวันทศ่ี าลมีคําพิพากษา ทั้งนี้ ตอ งไมเ กินกวา ทรัพยมรดกทผ่ี ูถกู ฟองคดีแตละคนไดรับ
หากผฟู อ งคดไี ดรบั การชดใชเงินคืนหรือสามารถบังคับชําระหนี้จากผูไดรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
ในกรณีน้ีเปนเงินจํานวนเทาใด ใหนําเงินนั้นหักหรือคืนตามสวนแหงความรับผิดใหแกผูถูกฟองคดี
ทงั้ สาม และใหค นื คาธรรมเนียมศาลในศาลปกครองชั้นตนและในชั้นอุทธรณบางสวนตามสวนของ
การชนะคดีใหแ กผฟู องคดี
คาํ พิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.๓๖๒/๒๕๖๓

ผูฟองคดี (กรมศุลกากร) ฟองวา ขณะเกิดเหตุนาย ธ. ดํารงตําแหนงนายตรวจ
ศุลกากรในสังกัดของผูฟองคดีเปนผูทําการตรวจและควบคุมการบรรจุสินคารายบริษัท ฟ.
โดยบริษัท ฟ. มิไดนําสินคามาบรรจุเขาคอนเทนเนอรเพ่ือสงออกนอกราชอาณาจักร
แตไดใชหมายเลขคอนเทนเนอรมาแอบอางในการบรรจุสินคาของบริษัท ฟ. โดยบริษัท ฟ.
นําใบขนสินคาขาออกฉบับมุมสีนํ้าเงินไปขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร และนําบัตรภาษีไปใชแลว
ทําใหเกิดความเสียหายแกผูฟองคดี ความเสียหายท่ีเกิดขึ้นเช่ือวานายตรวจศุลกากรมิไดไปตรวจ
และควบคมุ การบรรจสุ ินคาเขาคอนเทนเนอรแตกลบั ลงนามรบั รองในเอกสารการสงออก ทั้งท่ีไมมี
สนิ คาของบรษิ ัท ฟ. สง ออกไปนอกราชอาณาจกั ร จนเปนเหตุใหผูสง ออกสามารถกระทําการทุจริต
ในการขอชดเชยคาภาษีอากรได ซึ่งเฉพาะนาย ธ. นายตรวจศุลกากรตองรับผิดชดใชคาเสียหาย
ใหแกผูฟองคดีเปนเงิน ๔๖๓,๒๘๓.๒๕ บาท ผูฟองคดีจึงมีคําส่ังใหเจาหนาท่ีตองรับผิดชดใช
คาเสียหายเมื่อวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๔๙ ผูถูกฟองคดีทั้งสามเปนทายาทโดยธรรมผูมีสิทธิรับมรดก
ของนาย ธ. จึงตองรับผิดในหนี้สินของเจามรดกใหแกผูฟองคดี ผูฟองคดีไดมีหนังสือแจงให
ผูถูกฟองคดีท้ังสามชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวใหแกผูฟองคดี แตผูถูกฟองคดีทั้งสามเพิกเฉย
จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีทั้งสามรวมกันหรือแทนกันชําระเงิน
จาํ นวน ๗๙๘,๙๗๔.๕๙ บาท พรอมดวยดอกเบย้ี

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา ขณะเกิดเหตุนาย ธ. ดํารงตําแหนงนายตรวจ
ศุลกากร เปนผูปฏิบัติหนาท่ีตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออก

แนวคําวนิ จิ ฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๒

เขาคอนเทนเนอร รายบริษัท ฟ. ซึ่งเปนหนาท่ีโดยตรงตามขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ ของประมวลระเบียบ
ปฏบิ ัตศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และท่ีไขเพิ่มเติม ตามคําสั่งทั่วไปกรมศุลกากร ลงวันท่ี ๘ กรกฎาคม
๒๕๓๔ นาย ธ. จงึ ตอ งปฏบิ ตั ิหนา ทโ่ี ดยการตรวจสอบสนิ คา วาตรงตามทสี่ าํ แดงไวในใบขนสินคาขาออก
และเอกสารประกอบการสงออกหรือไม โดยนาย ธ. ไดถูกกําหนดชื่อใหเปนผูปฏิบัติหนาที่ตามใบ
ขนสงสินคาขาออก จํานวน ๓๓ ฉบับ นาย ธ. ไดบันทึกการตรวจปลอยและเปนผูควบคุม
การนําสินคาบรรจุในคอนเทนเนอรดวยตนเอง โดยนาย ธ. ไดบันทึกขอความโดยระบุเวลาเริ่มตน
และสนิ้ สุดของการเปด ตรวจวา มีสินคา ตรงตามที่สําแดงและสินคาดังกลาวบรรจุในคอนเทอนเนอร
หมายเลขใด แลวจึงลงลายมือช่ือรับรอง พรอมวัน เดือน ป ในใบขนสินคาขาออกและใบกํากับ
คอนเทนเนอรดังกลาว แตในบัญชีสินคาสําหรับเรือ ซ่ึงเปนเอกสารที่บริษัทตัวแทนเรือไดจัดทําข้ึน
เพ่ือจดั สงใหผูฟอ งคดีหลงั จากท่เี รือไดอ อกไปนอกราชอาณาจักรแลวระบุวาสินคาในคอนเทนเนอร
ดังกลาว ผูสงออกและชนิดสินคาไมตรงตามที่สําแดงในใบขนสินคาขาออกดังกลาว โดยบริษัท ฟ.
มใิ ชเ ปนผสู งออก เห็นวา การทน่ี าย ธ. มีหนาท่ีควบคุมการนําสินคาบรรจุในคอนเทนเนอรไดรับรอง
การตรวจปลอยสนิ คาทไ่ี มมีสินคาของบริษทั ฟ. แตอ ยา งใด ซึ่งหากนาย ธ. ปฏิบัติหนาท่ีโดยเปดตรวจ
สินคาตามอัตราท่ีกําหนดไวจริงหรือแมแตเปดตรวจเพียง ๑ หีบหอ จะพบวาสินคา
ในคอนเทนเนอรดังกลาวไมใชสินคาของบริษัท ฟ. และจากการสอบสวนของคณะกรรมการ
สอบสวนขอเท็จจริงกรณีบริษัท ฟ. ทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร นาย ธ. ไดใหถอยคําวา
จําไมไดวาไดไปทําการตรวจปลอยสินคาตามใบขนสินคาขาออกหรือไม และจําไมไดวาไดควบคุม
ศุลการักษร อยแถบ RTC หรือรอยดวงตราตะกั่ว กศก. หรือไม เนื่องจากปริมาณงานในแตละวันมีมาก
จงึ ตองใชวิธกี ารสมุ ตรวจเฉพาะรายทีม่ กี ารขอสิทธปิ ระโยชนในทางภาษีที่มีมลู คามาก กรณีจึงเช่ือได
วานาย ธ. มิไดทําการเปดตรวจสินคาตามใบขนสินคาขาออกฉบับดังกลาว แตกลับบันทึกและ
ลงนามรับรองวาไดเปดตรวจแลว เมื่อผูฟองคดีเปนหนวยงานของรัฐที่มีหนาที่หลักในการเก็บภาษี
อากรจากการนําสินคาเขาและสงสินคาออก ปองกันและปราบปรามการกระทําความผิด
ทางศุลกากร ซ่ึงเปนการปกปองผลประโยชนของชาติและประชาชน การท่ีนาย ธ. ซ่ึงดํารง
ตําแหนงนายตรวจศุลกากรและรับราชการในสังกัดผูฟองคดี ละเลยไมปฏิบัติหนาที่ตามข้ันตอน
ท่ีกําหนดไวในขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ ของประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ประกอบกับ
คําสง่ั กองตรวจสินคาขาออก ลงวนั ท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ จึงเปน การละเลยตอหนาท่ีกอใหเกิดความ
เสียหายโดยตรงตอผูฟองคดีการละเลยตอหนาท่ีดังกลาวเปนการปฏิบัติหนาท่ีดวยความประมาท
เลินเลออยางรายแรงและเปนชองทางใหบริษัท ฟ. ทําการทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
ซ่ึงไดมีการรับบัตรภาษี และไดนําบัตรภาษีไปใชประโยชนโดยไดมีการวางฎีกาแลว การละเลย
การปฏบิ ัติหนา ทีข่ องนาย ธ. ดังกลา ว จงึ เปนการกระทาํ ละเมดิ ตอ ผฟู องคดี

เมือ่ มูลเหตุขอ พิพาทในคดนี ี้เกดิ จากปญหาในการตรวจสินคาขาออกท่ีมีอัตรากําลัง
มีนอยแตปริมาณงานมีมากจนเจาหนาที่ไมอาจปฏิบัติงานตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากรท่ี
กําหนดไดอยางครบถวน ตลอดจนเคยแจงปญหาใหผูบังคับบัญชาทราบ แตก็ไมไดรับการแกไข
ดงั นัน้ การกระทําละเมิดของนาย ธ. กรณีบรษิ ทั ฟ. ทําการทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรใน

แนวคําวินจิ ฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๓

การสงออกจึงมีสวนที่เกิดจากความผิดหรือความบกพรองของผูฟองคดีที่ไมไดจัดสรรกําลัง
เจาหนาที่ท้ังศุลกากรและศุลการักษใหมีจํานวนมากพอกับปริมาณงานการตรวจปลอยสินคา
สงออกทบ่ี รรจเุ ขา คอนเทนเนอรท เี่ พ่ิมขึน้ อนั เน่ืองมาจากนโยบายการสงเสริมการสงสินคาออกของ
รัฐบาลในเวลาน้ัน อันเปนความบกพรองของระบบการดําเนินงานของผูฟองคดีที่ไมไดมีการแกไข
ปญหาหรือวางระบบการตรวจสอบใหรัดกุมย่ิงขึ้น มีการปลอยปละละเลยจนกระท่ังเกิดความ
เสียหายข้ึน กรณีจึงตองหักสวนแหงความรับผิดอันเกิดจากความบกพรองและระบบงานของ
ผูฟองคดอี อกรอ ยละ ๕๐ ของคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออกแตละฉบับ ในสวนของนายตรวจ
ศุลกากรและศุลการักษ เม่ือนายตรวจศุลกากรมีหนาท่ีโดยตรงและมีสวนสําคัญในขั้นตอนการ
ตรวจปลอยสินคาและควบคุมสินคาเขาคอนเทนเนอร จึงมีความรับผิดชอบมากกวาศุลการักษ
สมควรรบั ผดิ ในอตั รารอยละ ๗๐ สวนศุลการักษหนาท่ีชวยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจหรือ
สารวัตรศลุ กากรในการตรวจและบรรจสุ นิ คาเขา คอนเทนเนอร และมีหนาที่ตอเนื่องจากนายตรวจ
ศุลกากรในการรอ ยลวดประทับดวงตราตะกว่ั กศก. หรือแถบเหล็ก RTC และลงช่ือวาเปนผูปฏิบัติ
หนาที่ดังกลาวในใบกํากับคอนเทนเนอร สมควรรับผิดในอัตรารอยละ ๓๐ ดังน้ัน การท่ีผูฟองคดี
ไมไดหักสวนแหงความรับผิดอันเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของตนออกจากจํานวน
คาเสียหายที่นายตรวจศุลกากรผูทําหนาที่ตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
ออกรอยละ ๕๐ ของคาความเสียหายตามใบขนสินคาขาออกแตละฉบับ จึงไมถูกตองเหมาะสม
และไมเปน ธรรมแกผถู ูกฟอ งคดีท้ังสาม

เมื่อนาย ธ. กระทําละเมิดตอผูฟองคดีเปนเหตุใหผูฟองคดีไดรับความเสียหาย
ตามใบขนสินคาขาออกจํานวน ๓๓ ฉบับ รวมเปนเงินจํานวน ๖๖๑,๘๓๓.๒๔ บาท เมื่อหักสวน
แหงความรับผิดของผูฟองคดีรอยละ ๕๐ ของคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออกแตละฉบับ
และกําหนดสัดสวนความรับผิดใหนาย ธ. รับผิดรอยละ ๗๐ ของคาเสียหายตามใบขนสินคา
ขาออกแตละฉบับ หลังจากหักความรับผิดของผูฟองคดีแลว นาย ธ. ตองรับผิดเปนเงินจํานวน
๒๓๑,๖๔๑.๖๓ บาท นอกจากนี้ โดยท่ีคาสินไหมทดแทนท่ีผูทําละเมิดจะตองชดใชเปนหน้ีเงิน
ที่จะตองชําระทันทีนับแตวันท่ีผิดนัด คือ วันท่ีเกิดการกระทําละเมิดเปนตนไปตามมาตรา ๒๐๖
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย นาย ธ. จึงตองชําระดอกเบ้ียในระหวางเวลาผิดนัด
ในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันทําละเมิดตามมาตรา ๒๒๔ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมาย
ดังกลาว เม่ือกรณีนี้ผูฟองคดีเรียกใหนาย ธ. รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน อันเน่ืองมาจากการ
กระทาํ ละเมิดตอ หนว ยงานของรัฐตามมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่
พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่งึ ถือวานาย ธ. ผูถึงแกความตายซ่ึงเปนลูกหนี้ตกเปนผูผิดนัดนับแตเวลาที่ทําละเมิด
ทั้งนี้ ในการออกบัตรภาษีใหแกบริษัท ฟ. เปนการออกตราสารแสดงสิทธิในหนี้ของรัฐบาล
ผูถือสิทธิในบัตรดังกลาวจะตองนําบัตรภาษีท่ีถืออยูไปใช (เบิกเงิน) อีกคร้ังหน่ึง จึงจะถือวา
ผูถือสิทธิในบัตรดังกลาวไดรับเงินชดเชยคาภาษีอากรท่ีเปนตัวเงินแลว เมื่อยังไมไดนําบัตรภาษีไปใช
(เบิกเงิน) ก็ยังไมถือวาผูฟองคดีจายเงินคาชดเชยใหแกผูถือสิทธิในบัตร กรณีจึงยังไมกอใหเกิด
ความเสียหายแกผูฟองคดีท่ีจะถือวาเปนการทําละเมิด อันจะทําใหผูฟองคดีใชสิทธิเรียกรองให

แนวคําวินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๔

นาย ธ. ชดใชคาสินไหมทดแทนได เม่ือมีการนําบัตรภาษีไปใช และผูฟองคดีไดวางฎีกาเบิกเงิน
ชดเชยการสงสินคาตามใบขนสินคาขาออกท้ัง ๓๓ ฉบับ อันเปนเหตุใหมีความเสียหายเกิดข้ึน
แกผูฟองคดีแลว กรณีจึงถือวาวันวางฎีกาตามใบขนสินคาขาออกท้ัง ๓๓ ฉบับ ดังกลาวเปนวันที่
กระทําละเมิดแกผูฟองคดี ผูฟองคดีจึงมีสิทธิไดรับดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแต
วันดังกลาวตามมาตรา ๒๐๖ และมาตรา ๒๒๔ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ซ่ึงเมื่อคํานวณดอกเบ้ียสําหรับความรับผิดตามใบขนสินคาขาออกซ่ึงวางฎีกาคนละวันกันจนถึง
วันฟองคดีแลว นาย ธ. ตองชําระดอกเบ้ียแกผูฟองคดีเปนเงินจํานวน ๑๖๑,๘๑๑.๗๖ บาท
และเม่ือรวมกับคาสินไหมทดแทนจํานวน ๒๓๑,๖๔๑.๖๓ บาท แลว นาย ธ. ตองชําระคาสินไหม
ทดแทนพรอมดอกเบี้ยจนถึงวันฟองคดีใหแกผูฟองคดีเปนเงินจํานวนท้ังส้ิน ๓๙๓,๔๕๓.๓๙ บาท
ทัง้ น้ี ในกรณีทเ่ี จา หนา ทผี่ ูจะพึงตองชดใชคา สนิ ไหมทดแทนถงึ แกค วามตาย เปนเหตุใหความรับผิด
ของเจาหนาที่ผูนั้นในอันที่จะตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกหนวยงานของรัฐที่เสียหาย
เ ป น ม ร ด ก ต ก ท อ ด แ ก ท า ย า ท ข อ ง เ จ า ห น า ที่ ผู น้ั น ทั น ที ที่ เ จ า ห น า ที่ ผู นั้ น ถึ ง แ ก ค ว า ม ต า ย
ตามมาตรา ๑๕๙๙ และมาตรา ๑๖๐๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เม่ือนาย ธ.
ถึงแกความตายทรัพยสินทุกชนิดของนาย ธ. รวมทั้งสิทธิและหนาที่ความรับผิดชอบตางๆ
ของนาย ธ. จึงตกทอดแกผูถูกฟองคดีทั้งสามในฐานะทายาทโดยธรรมของนาย ธ. และผูฟองคดี
ในฐานะเจาหนี้กองมรดกอันเกิดจากมูลละเมิด จึงยอมมีสิทธิไดรับชําระหน้ีจากทรัพยสิน
ในกองมรดก ผูฟองคดีจึงมีสิทธิเรียกใหผูถูกฟองคดีท้ังสามชําระหน้ีได ดังน้ัน ผูถูกฟองคดีทั้งสาม
ในฐานะทายาทโดยธรรมของนาย ธ. จึงตองรับผิดในมูลคาความเสียหายตามใบขนสินคาขาออก
ดังกลาวแกผูฟองคดีแทนนาย ธ. เปนเงินจํานวน ๓๙๓,๔๕๓.๓๙ บาท ที่ศาลปกครองช้ันตน
พิพากษาใหผูถูกฟองคดีทั้งสามรวมกันชดใชคาสินไหมทดแทน พรอมดอกเบี้ยนับแตวันทําละเมิด
ถงึ วนั ฟอ งคดใี หแกผูฟองคดี จํานวน ๓๓๗,๒๔๕.๘๔ บาท และดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป
จากตนเงินจํานวน ๑๙๘,๕๔๙.๙๗ บาท นับถัดจากวันฟองคดีเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ
โดยชาํ ระไมเกินกวาทรัพยมรดกท่ีผูถูกฟองคดีแตละคนไดรับไป ท้ังนี้ ภายใน ๓๐ วัน นับแตวันที่
คดีถึงท่ีสุด สวนคําขออ่ืนนอกจากนี้ใหยก และใหคืนคาธรรมเนียมศาลตามสวนของการชนะคดี
ใหแ กผูฟอ งคดี นัน้ ศาลปกครองสูงสุดเหน็ พอ งดวยบางสวน

พิพากษาแก เปนใหผูถูกฟองคดีทั้งสามในฐานะทายาทโดยธรรมของนาย ธ.
รวมกันชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดี จํานวน ๓๙๓,๔๕๓.๓๙ บาท พรอมดอกเบี้ย
ในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของตนเงินจํานวน ๒๓๑,๖๔๑.๖๓ บาท นับถัดจากวันฟองคดีเปนตนไป
จนกวาจะชําระเสร็จ โดยความรับผิดของผูถูกฟองคดีทั้งสามจะตองไมเกินกวาทรัพยมรดกของนาย ธ.
ท่ีตกทอดแกตน และใหคืนคาธรรมเนียมศาลในศาลปกครองช้ันตนและในช้ันอุทธรณใหแกผูฟองคดี
ตามสวนของการชนะคดี นอกจากท่ีแกใหเปนไปตามคําพิพากษาของศาลปกครองช้ันตน ทั้งนี้
มีขอสังเกตเก่ยี วกบั แนวทางหรือวิธีการดําเนินการใหเ ปน ไปตามคําพิพากษาวา หากผูฟองคดีไดรับ
ชําระหน้ีหรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากบริษัท ฟ. ไดเปนจํานวนเงินเทาใด ใหผูฟองคดีนําเงิน
จํานวนดังกลาวมาหกั ออกหรือคืนตามสวนแหงความรับผิด แลวแตก รณี ใหแ กผ ถู กู ฟอ งคดีทง้ั สาม

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๕

คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๔๒๑/๒๕๖๓ (ประชุมใหญ) อางแลวในประเด็นเง่ือนไข
การฟองคดี หนา ๑๓๒
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๔๒๓/๒๕๖๓

ผูฟองคดีทั้งสิบเกาฟองวา ในขณะท่ีผูฟองคดีท้ังสิบเกาเปนขาราชการพลเรือน
ตําแหนงศุลการักษ สังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) และท่ี ๒ (อธิบดีกรมศุลกากร)
ผูฟองคดีทั้งสิบเกาไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดมีคําสั่งลงวันที่
๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทนรวมกับนายตรวจศุลกากร
กรณีบริษัท อ. ทุจริตในการสงออกสินคาเพ่ือขอรับเงินชดเชยภาษีอากรโดยจัดทําเอกสาร
ใบขนสนิ คา ขาออกมากเกินกวา ความจริงและแอบอางหมายเลขคอนเทนเนอรของผูสงออกรายอ่ืน
ที่มีการสงออกจริง โดยไมมีการสงสินคาออกไปนอกราชอาณาจักร และบริษัทดังกลาวไดรับเงิน
ชดเชยไปแลวจํานวน ๑,๐๘๑,๖๘๖.๗๒ บาท ผูถูกฟองคดีที่ ๑ พิจารณาแลวเห็นวา ผูฟองคดี
ท้ังสิบเกาปฏิบัติหนาที่ศุลการักษผูทําหนาท่ีรอยดวงตราตะกั่ว กศก. หรือแถบเหล็ก RTC มีหนาที่
รอยดวงตราตะก่ัว กศก. หลังจากท่ีนายตรวจศุลกากรไดทําการตรวจปลอยสินคาและ
ควบคุมสินคาเขาคอนเทนเนอรแลว และทําหนาท่ีเปนผูชวยผูควบคุมการบรรจุ ตามคําสั่ง
กองตรวจสินคาขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ และคําสั่งท่ัวไปกรมศุลกากร
ลงวันท่ี ๒๑ ธันวาคม ๒๕๓๑ ผูฟองคดีท้ังสิบเกาลงนามในเอกสารในใบกํากับคอนเทนเนอร
โดยมิไดไปทาํ การรอ ยลวดประทับดวงตราตะกั่ว กศก. หรือแถบเหล็ก RTC ถือเปนการกระทําโดย
ประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับความเสียหาย จึงตองรับผิดชดใช
คาเสียหายตามจํานวนบัตรภาษีที่ใชแลวตามใบขนสินคาขาออกท่ีแตละคนเก่ียวของ ผูถูกฟองคดีที่ ๓
(กระทรวงการคลัง) เห็นชอบดวยกับความเห็นของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตอมา ผูอํานวยการสํานักบริหาร
และพัฒนาบุคคลไดมีหนังสือลงวันท่ี ๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ และหนังสือลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๔๘
แจงใหผูฟองคดีท้ังสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทน ผูฟองคดีทั้งสิบเกาอุทธรณคําส่ังใหชดใช
คาสินไหมทดแทนดังกลาว ตอมา ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ โดยรองอธิบดีกลุมภารกิจดานยุทธศาสตร
ไดยกอุทธรณของผูฟองคดีท้ังสิบเกา ผูฟองคดีทั้งสิบเกาเห็นวา คําส่ังลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘
และคําสั่งผูอํานวยการสํานักบริหารและพัฒนาบุคคล ตามหนังสือลงวันที่ ๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๘
และหนังสือลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ ไมเปนธรรมและไมชอบดวยกฎหมาย จึงนําคดีมาฟอง
ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิกถอนคําสั่งลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ และเพิกถอนคําส่ัง
ของผูอํานวยการสํานักบริหารและพัฒนาบุคคลตามหนังสือลงวันท่ี ๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ และ
หนังสือลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ ท่ีมีคําสั่งใหผูฟองคดีทั้งสิบเกาชดใชคาเสียหาย เห็นวา
ตามรายงานของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงปรากฏวา จากการตรวจสอบบัญชีสินคาสําหรับเรือ
คําขอรับเงินและตนฉบับ ใบขนสินคาขาออก รายบริษัท อ. มีความไมถูกตองในเอกสารบัญชี
สําหรับเรือหลายประการ คือ มีการจัดทํา แกไข แอบอางหมายเลขคอนเทนเนอรที่ใชบรรทุกสินคา
ของบริษัทอื่นๆ ซึ่งเปนรายท่ีตัวแทนบริษัทเรือรับรองและย่ืนตอกรมศุลกากรโดยถูกตอง

แนวคาํ วนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๖

โดยในช้ันการใหถอยคําของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง ผูฟองคดีทั้งสิบเกาก็ไมไดโตแยง
ขอเท็จจริงดังกลาว และในชั้นการสอบสวนของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมดิ ตามรายงานผลการสอบสวนท่สี รปุ วา มีความไมถกู ตอ งในเอกสารบญั ชสี นิ คาสําหรับเรือ
ในรายบริษัท อ. หลายประการ ก็ไมปรากฏวามีการโตแยงเปนอยางอื่นเชนกัน กรณีจึงฟงไมไดวา
บริษัท อ. มีการสงออกจริง เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดออกบัตรภาษีในชวงเดือนเมษายน ๒๕๓๘
ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๔๐ จากน้ัน ผูรับโอนบัตรภาษีจากบริษัท อ. ได นําบัตรภาษีดังกลาวไปใช
ประโยชนชําระคาภาษีอากรแทนจํานวนเงินที่บริษัทตองชําระตามนัยมาตรา ๑๘ แหง พ.ร.บ.
ชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออกที่ผลิตในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยไดมีการวางฎีกา
การเบิกเงินตามมูลคาบัตรภาษีในชวงเดือนตุลาคม ๒๕๓๘ ถึงเดือนมิถุนายน ๒๕๔๐ ทําให
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับความเสียหายตามจํานวนมูลคาของบัตรภาษีท่ีไดนําไปใชประโยชน
อันเปนวันกระทําละเมิดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากผูฟองคดีท้ังสิบเกา
โดยเริ่มนับอายุความการใชสิทธิเรียกรองนับแตวันทําละเมิดดังกลาว ตามมาตรา ๔๔๘ วรรคหน่ึง
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เม่ือขอเท็จจริงปรากฏตอไปวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑
ดําเนินการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
หลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยรูถึง
การกระทําละเมิดและรูวาผูฟองคดีทั้งสิบเกาเปนผูกระทําละเมิดที่จะพึงใชคาสินไหมทดแทน
เม่ือวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ ซึ่งเปนวันส่ังการทายรายงานของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิด การทผี่ ถู กู ฟองคดีท่ี ๑ มีคาํ สั่งลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังสิบเกา
ชดใชคาสนิ ไหมทดแทน ผูฟองคดีท้ังสิบเกาไดรับทราบคําสั่งและมีหนังสืออุทธรณตอผูถูกฟองคดีท่ี ๒
จงึ เปนกรณีที่ผูถูกฟองคดที ่ี ๑ ไดดาํ เนินการออกคําสั่งใหใชเงินหรือใชสิทธิเรียกรองภายในกําหนด
ระยะเวลาสองปนับแตวันที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ รูถึงการกระทําละเมิดและรูตัวเจาหนาท่ีผูจะพึงตองใช
คาสนิ ไหมทดแทนตามมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ และ
เม่ือนับแตไดมีการวางฎีกาเบิกเงินชดเชยการสงสินคาออกในชวงเดือนตุลาคม ๒๕๓๘ ถึง
เดือนมิถุนายน ๒๕๔๐ ซ่ึงเปนวันกระทําละเมิดจนถึงวันที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคําสั่งลงวันที่
๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทน ยังอยูภายในระยะเวลาสิบป
ตามมาตรา ๔๔๘ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ใชสิทธิเรียกรอง
ใหผูฟองคดีทั้งสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงเปนการใชสิทธิเรียกรอง
ภายในกําหนดระยะเวลาตามกฎหมายแลว การที่ผูฟองคดีทั้งสิบเกาในฐานะศุลการักษซ่ึงมีหนาท่ี
ประทบั ดวงตรา กศก. หรือรอยแถบเหล็ก RTC หลังจากท่ีนายตรวจศุลกากรไดทําการตรวจปลอย
สินคาเขาคอนเทนเนอรแลว และมีหนาท่ีชวยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากร
ในการตรวจและบรรจสุ นิ คา เขาคอนเทนเนอรตามขอ ๓ และขอ ๔ ของคําส่ังกองตรวจสินคาขาออก ท่ี
๑๓/๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ มิไดปฏิบัติหนาที่ดังกลาวอยางถูกตองครบถวน กลาวคือ
ไมไดชวยเหลือนายตรวจศุลกากรทําการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร อีกทั้งใบกํากับ
คอนเทนเนอรท่ีผูฟองคดีท้ังสิบเกาตองลงลายมือชื่อรับรองการดําเนินการน้ัน มีรายการท่ีแสดง

แนวคําวนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๗

หมายเลขหีบหอของสินคาและรายชื่อของผูสงออก ซึ่งวิญูชนในฐานะดังเชนผูฟองคดีทั้งสิบเกา
ยอมตองตรวจดูหมายเลขหีบหอของสินคาน้ันกอนท่ีจะประทับดวงตรา กศก. หรือรอยแถบเหล็ก
RTC และถาไดทําการตรวจสอบเพียงเล็กนอยก็จะทราบไดเชนเดียวกันวาไมมีสินคาของผูสงออก
แมเพียงหีบหอเดียวอยางที่ไดสําแดงไวในใบขนสินคาขาออก การละเลยไมปฏิบัติหนาท่ีดังกลาว
จึงเปนชองทางใหผูสงออกสินคาสามารถกระทําการทุจริตไดโดยงาย และเมื่อบริษัท อ. ไดนํา
เอกสารรับรองการตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรที่ลงลายมือช่ือรับรอง
โดยนายตรวจศุลกากรผูทําหนาท่ีตรวจสอบและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
และใบกาํ กบั คอนเทนเนอรท่ีลงลายมือชื่อโดยผูฟองคดีท้ังสิบเกาในฐานะศุลการักษ ไปใชเสนอตอ
เจา หนาทีศ่ ลุ กากรในขั้นตอนอ่ืน จนสามารถยน่ื คําขอรบั เงินชดเชยคาภาษีอากรและไดนําบัตรภาษี
ไปใชประโยชนได อันเปนการกระทําการทุจริตไดสําเร็จ เมื่อผูฟองคดีมิไดทําหนาที่ชวยเหลือ
นายตรวจศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร อันเปนการไมปฏิบัติหนาท่ี
ใหถูกตองตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และคําส่ังกองตรวจสินคาขาออก
ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ พฤติการณของผูฟองคดีท้ังสิบเกายอมถือไดแลววา
เปนการกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอ
อยางรายแรง ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงมีสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีท้ังสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทน
จากความเสียหายที่เกิดขึ้นไดตามมาตรา ๑๒ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี
พ.ศ. ๒๕๓๙ อยางไรก็ดี โดยท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมไดจัดสรรอัตรากําลังเจาหนาท่ีในขั้นตอน
การตรวจปลอยสินคาใหมีจํานวนเพียงพอกับปริมาณงาน และไมไดกําหนดมาตรการตรวจสอบ
ในการพิจารณาคําขอคืนภาษีเพ่ือปองกันและลดทอนความเสียหายที่อาจเกิดจากกรณีดังกลาว
ความเสียหายที่เกิดข้ึนกับผูถูกฟองคดีท่ี ๑ สวนหนึ่งยอมเกิดจากความบกพรองของระบบ
การดําเนินงานสวนรวมของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และท่ี ๒ จึงสมควรหักสวนแหงความรับผิดของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ ออกรอยละ ๕๐ ของความเสียหายตามมูลคาบัตรภาษีท่ีนําไปใช
ประโยชนแลว และโดยที่ความเสียหายดังกลาวเกิดข้ึนในขั้นตอนการตรวจปลอยสินคา
ซ่ึงมีนายตรวจศุลกากรเปนผูมีหนาที่ตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรโดยตรง
โดยผูฟองคดีท้ังสิบเกามีหนาท่ีเปนเพียงผูชวยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากร
ในการตรวจและบรรจุสินคา เขา คอนเทนเนอร และประทับดวงตราตะกัว่ กศก. หรือรอยแถบเหล็ก
RTC เทานั้น ดังน้ัน เมื่อไดคํานึงถึงพฤติการณและความรายแรงแหงการกระทํา รวมถึงความเปนธรรม
ประกอบกันแลว จึงเห็นควรกําหนดใหผูฟองคดีทั้งสิบเกาในฐานะศุลการักษรับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในสัดสวนรอยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิด
ในรอยละ ๕๐ หลังจากหักสวนความบกพรองของระบบงานสวนรวมของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และท่ี ๒
ออกแลว โดยแบงความรับผิดออกเปน ๒ ชวง คือ ชวงแรก การกระทําละเมิดท่ีเกิดกอนวันท่ี
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับ นั้น การวินิจฉัยขอบเขต
ของความรบั ผิด ซึง่ เปน กฎหมายสว นสารบญั ญตั ิ ตองนําหลักเกณฑตามประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยมาใชบังคับ สวนชวงท่ี ๒ การกระทําละเมิดเกิดภายหลัง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๘

ของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับตองนําหลักเกณฑตามพระราชบัญญัติดังกลาว
มาใชบังคับ ดังนั้น การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มีคําส่ังลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘
ใหผูฟองคดีท้ังสิบเการับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนรวมกับนายตรวจศุลกากรอยางลูกหนี้รวม
ตามจาํ นวนเงินท่ีระบไุ วใ นคําส่ังดังกลา วบางสวน จึงเปนคาํ สงั่ ที่ไมช อบดวยกฎหมาย

สวนคําส่ังของรักษาการแทนผูอํานวยการสํานักบริหารและพัฒนาบุคคล
ตามหนังสือลงวันท่ี ๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ และลงวันที่ ๘ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ ท่ีแจงใหผูฟองคดี
ท้ังสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทนนั้น เห็นวา คําสั่งดังกลาวไมไดออกโดยผูถูกฟองคดีที่ ๒
ซ่ึงเปนหัวหนาหนวยงานของรัฐท่ีเสียหายซ่ึงเปนเจาหนาที่ผูมีอํานาจออกคําสั่งใหเจาหนาชดใช
คาสินไหมทดแทนจากการกระทําละเมิดในการปฏิบัติหนาท่ีตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด
ของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ หรือผูมีอํานาจกระทําการแทน คําสั่งดังกลาวจึงไมมีสถานะเปนคําสั่ง
ใหผูฟองคดีทั้งสิบเกาตองชดใชคาสินไหมทดแทนแตอยางใด ศาลจึงไมจําตองเพิกถอนคําสั่ง
ดังกลาว ดวยเหตุผลที่กลาวมาขางตน ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งกรมศุลกากร
ลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ เฉพาะสวนที่ขาดอายุความสิทธิเรียกรองในสวนของผูฟองคดีท่ี ๑๔
จํานวน ๒๙,๑๙๙.๗๔ บาท และผูฟองคดีที่ ๑๘ จํานวน ๗๘,๗๘๒.๙๖ บาท และในสวนท่ีให
ผฟู องคดที ี่ ๑ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เกินกวาจํานวน ๗,๗๐๕.๔๖ บาท
ผูฟองคดีที่ ๒ เกินกวาจํานวน ๔,๒๐๘.๓๙ บาท ผูฟองคดีที่ ๓ เกินกวาจํานวน ๒,๖๒๒.๒๐ บาท
ผูฟองคดีท่ี ๔ เกินกวาจํานวน ๙,๙๙๓.๒๗ บาท ผูฟองคดีที่ ๕ เกินกวาจํานวน ๖,๐๘๓.๗๔ บาท
ผูฟองคดีท่ี ๖ เกินกวาจํานวน ๓,๓๒๙.๓๖ บาท ผูฟองคดีท่ี ๗ เกินกวาจํานวน ๔,๐๑๗.๙๓ บาท
ผูฟองคดีที่ ๘ เกินกวาจํานวน ๓,๑๙๒.๗๖ บาท ผูฟองคดีท่ี ๙ เกินกวาจํานวน ๑๕,๒๒๒.๘๒ บาท
ผูฟองคดีที่ ๑๐ เกินกวาจํานวน ๕,๙๒๖.๘๕ บาท ผูฟองคดีที่ ๑๑ เกินกวาจํานวน ๔,๖๑๖.๒๗ บาท
ผูฟองคดีที่ ๑๒ เกินกวาจํานวน ๒,๑๕๒.๘๕ บาท ผูฟองคดีท่ี ๑๓ เกินกวาจํานวน ๓,๓๓๗.๓๒ บาท
ผูฟองคดีที่ ๑๔ เกินกวาจํานวน ๕,๖๓๘.๑๙ บาท ผูฟองคดีที่ ๑๕ เกินกวาจํานวน ๖,๐๙๒.๘๗ บาท
ผูฟองคดีท่ี ๑๖ เกินกวาจํานวน ๑,๓๙๔.๕๖ บาท ผูฟองคดีท่ี ๑๗ เกินกวาจํานวน ๒,๑๗๗.๔๘ บาท
ผูฟองคดีที่ ๑๘ เกินกวาจํานวน ๖,๓๒๐.๗๓ บาท และผูฟองคดีท่ี ๑๙ เกินกวาจํานวน ๓,๓๓๗.๓๒ บาท
โดยใหมีผลยอนหลังนับแตวันท่ีออกคําส่ัง แตหากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับการชดใชคาสินไหมทดแทน
หรือสามารถบงั คบั ชําระหน้จี ากบรษิ ัท อ. หรือผูรับโอนบัตรภาษีจากบริษัทดังกลาวไดเปนจํานวนเทาใด
ใหนําเงินจํานวนดังกลาวมาหักหรือคืนตามสวนแหงความรับผิดแลวแตกรณีใหแกผูฟองคดีท้ังสิบเกา
คําขออน่ื นอกจากน้ีใหย ก น้ัน ศาลปกครองสูงสุดเห็นพองดวยบางสว น

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําส่ังลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ในสวนที่ให
ผูฟองคดีที่ ๑ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เกินกวาจํานวน ๑๑,๕๕๘.๒๐ บาท
ผูฟองคดีท่ี ๒ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๖,๓๑๒.๕๙ บาท ผูฟองคดีท่ี ๓
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๓,๙๓๓.๓๑ บาท ผูฟองคดีที่ ๔ รับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๑๔,๙๘๙.๙๐ บาท ผฟู องคดีท่ี ๕ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
เกินกวาจํานวน ๙,๑๒๕.๖๕ บาท ผูฟองคดีท่ี ๖ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน

แนวคาํ วนิ จิ ฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๕๙

๔,๙๙๔.๐๔ บาท ผูฟองคดีท่ี ๗ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๖,๐๒๖.๙๐ บาท
ผูฟองคดีที่ ๘ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๔,๗๘๙.๑๔ บาท ผูฟองคดีท่ี ๙
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๒๒,๘๓๔.๒๓ บาท ผูฟองคดีท่ี ๑๐ รับผิดชดใช
คา สนิ ไหมทดแทนเกนิ กวาจาํ นวน ๘,๘๙๐.๒๙ บาท ผูฟอ งคดีที่ ๑๑ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
เกินกวาจํานวน ๓,๔๐๘.๕๙ บาท ผูฟองคดีที่ ๑๒ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๓,๒๒๙.๒๔ บาท ผูฟองคดีที่ ๑๓ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๕,๐๐๕.๙๘ บาท
ผูฟองคดีที่ ๑๔ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๘,๔๕๗.๒๙ บาท ผูฟองคดีท่ี ๑๕
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๙,๑๓๙.๓๑ บาท ผูฟองคดีที่ ๑๖ รับผิดชดใช
คาสนิ ไหมทดแทนเกินกวา จํานวน ๒,๐๙๑.๘๔ บาท ผูฟองคดีท่ี ๑๗ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
เกินกวาจํานวน ๓,๒๖๖.๒๒ บาท ผูฟองคดีท่ี ๑๘ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๙,๔๘๑.๐๙ บาท และผูฟองคดีท่ี ๑๙ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๕,๐๐๕.๙๘ บาท
ท้ังนี้ มีขอสังเกตเก่ียวกับแนวทางการดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษาวา หากผูถูกฟองคดีที่ ๑
ไดรับชดใชคาสินไหมทดแทนหรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากบริษัท อ. หรือผูรับโอนบัตรภาษี
จากบริษัทดังกลาวไดเปนจํานวนเทาใด ใหนําเงินจํานวนดังกลาวมาหักหรือคืนตามสวน
แหงความรับผิดแลวแตกรณีใหแกผูฟองคดีท้ังสิบเกา นอกจากท่ีแกใหเปนไปตามคําพิพากษา
ของศาลปกครองชั้นตน
คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.๕๒๐/๒๕๖๓

ผูฟองคดีท้ังสี่ฟองวา ขณะเกิดเหตุผูฟองคดีทั้งสี่เปนขาราชการตําแหนงนายตรวจ
ศุลกากร สังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) เม่ือวันท่ี ๙ มีนาคม ๒๕๔๘ ผูถูกฟองคดีที่ ๒
(อธิบดีกรมศุลกากร) ไดมีคําสั่งลงวันท่ี ๙ มีนาคม ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีทั้งสี่ชดใชคาเสียหายกรณี
หางหุนสวนจํากัด จ. ทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร โดยอางวาผูฟองคดีท้ังส่ีเปนนายตรวจ
ศุลกากรมีหนาที่ตรวจสอบความสมบูรณของใบขนสินคาขาออกและเอกสารประกอบใบขนสินคา
ขาออก ตรวจสอบสินคาใหตรงตามท่ีแสดงไวในใบขนสินคาขาออก เปดตรวจสินคาและตอง
ตรวจสอบคอนเทนเนอรวา มีสภาพเปนอยางไร แตปรากฏวาคอนเทนเนอรมิไดถูกนําเขามาภายใน
ส.ต.ส. เพือ่ บรรจสุ ินคา สงออกไปนอกราชอาณาจักร ผูฟองคดีท้ังสี่จึงมิไดปฏิบัติหนาที่ปลอยสินคา
และควบคุมการบรรจุสินคา คงเพียงแตลงลายมือช่ือรับรองเอกสารตางๆ ท่ีเกี่ยวของ การไมได
ไปตรวจปลอ ยสนิ คา และควบคมุ การบรรจสุ นิ คาเขา คอนเทนเนอรดงั กลาว เปนการไมปฏิบัติหนาที่
ตามระเบยี บของราชการอันเปนชองทางใหเกิดการทุจริต พฤติการณของผูฟองคดีท้ังส่ีถือเปนการ
ประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหทางราชการไดรับความเสียหาย การทุจริตของผูสงออก
ดังกลาวเกิดขึ้นกอน พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับ
จึงใหเจาหนาท่ีผูเกี่ยวของรวมถึงผูฟองคดีทั้งส่ีรับผิดรวมกันอยางลูกหน้ีรวม ดังน้ี (๑) ผูฟองคดีที่ ๑
รับผิดชดใชคาเสียหายจํานวน ๔,๒๑๗,๖๖๗.๓๑ บาท (๒) ผูฟองคดีท่ี ๒ รับผิดชดใชคาเสียหาย
จํานวน ๓,๒๖๓,๙๕๑.๗๖ บาท (๓) ผูฟองคดีท่ี ๓ รับผิดชดใชคาเสียหายจํานวน

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๐
๑๖,๔๙๐,๑๔๔.๘๕ บาท และ (๔) ผูฟอ งคดีท่ี ๔ รับผดิ ชดใชคาเสียหายจํานวน ๙,๗๓๙,๘๕๗.๘๑ บาท
ตอมา ผูฟองคดีที่ ๑ มีหนังสือลงวันท่ี ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๘ ผูฟองคดีที่ ๒ มีหนังสือลงวันที่
๗ เมษายน ๒๕๔๘ ผูฟองคดีท่ี ๓ มีหนังสือลงวันท่ี ๗ เมษายน ๒๕๔๘ และผูฟองคดีที่ ๔
มีหนังสือลงวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๔๘ อุทธรณคําส่ังดังกลาวตอผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ตอมา วันที่
๒๗ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดพิจารณาคําอุทธรณของผูฟองคดีท้ังสี่โดยมีคําส่ัง
ยกอุทธรณของผูฟองคดีทั้งส่ี ผูฟองคดีทั้งสี่ไมเห็นดวยกับคําส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ตามคําสั่ง
กรมศุลกากร เรื่อง ใหชดใชคาสินไหมทดแทน ลงวันท่ี ๙ มีนาคม ๒๕๔๘ และคําวินิจฉัย
ยกอุทธรณของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังเพิกถอนคําสั่ง
ของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ตามคําสั่งกรมศุลกากร ลงวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๘ เร่ือง ใหชดใชคาสินไหม
ทดแทน คําวินิจฉัยของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ท่ียกอุทธรณ และความเห็นของผูถูกฟองคดีที่ ๓
(กระทรวงการคลัง) ทใ่ี หผ ถู กู ฟอ งคดีท่ี ๒ ออกคําสั่งใหช ดใชค า สนิ ไหมทดแทน

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซึ่งเปนเจาหนาท่ีผูมีหนาท่ีใน
การออกบตั รภาษใี หแ ก หางหุนสวนจํากัด จ. อันเปนการออกตราสารซ่ึงแสดงสิทธิในหน้ีของรัฐบาล
ผูถือสิทธิในบัตรภาษีดังกลาวจะตองนําบัตรภาษีท่ีถืออยูไปใช (เบิกเงิน) อีกครั้งหน่ึงจึงจะถือวา
หางหุนสวนจํากัด จ. ไดรับคาชดเชยภาษีอากรท่ีเปนตัวเงินแลว เมื่อยังไมไดนําบัตรภาษีไปใช
(เบิกเงิน) ก็ยังไมถือวาผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จายเงินคาชดเชยภาษีอากรใหแกผูถือสิทธิในบัตรภาษี
กรณีจึงยังไมกอใหเกิดความเสียหายแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ท่ีจะถือวาเปนการทําละเมิด ในอันท่ีจะ
ทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ใชสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีที่ ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทนได ตอมา
เมื่อมีการนําบัตรภาษีไปใช (เบิกเงิน) และผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดวางฎีกาเบิกเงินฝากชดเชย
การสงสินคาออก ระหวางวันท่ี ๑๕ มกราคม ๒๕๓๘ ถึงวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๓๙ เปนเหตุใหมีความ
เสียหายเปนเงินตามจํานวนทีร่ ะบุในบัตรภาษแี ตล ะฉบับเกดิ ข้ึนแกผูถ กู ฟองคดีท่ี ๑ กรณีจึงถือวาวันวาง
ฎีกาดังกลาวเปนวนั กระทําละเมดิ ตอผูถ ูกฟอ งคดีที่ ๑ เมื่อผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคําสั่งลงวันท่ี ๙ มีนาคม
๒๕๔๘ สั่งใหผูฟองคดีที่ ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทน จึงถือไดวาคําสั่งดังกลาวมีผลใชยันผูรับคําสั่ง
แลวตามนัยมาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
กรณีจึงถือไดวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคําสั่งใหผูฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทนภายใน
ระยะเวลาสิบปนับแตวันทําละเมิดตามมาตรา ๔๔๘ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมายแพงและ
พาณิชยแลว ยกเวนใบขนสินคาขาออกตามชุดคําขอรับเงินคาชดเชยภาษีอากร ลําดับที่ ๗๓
เทานั้น ทีไ่ ดวางฎกี าเบกิ เงนิ ฝากชดเชยการสงสินคาออกในวันที่ ๑๕ มกราคม ๒๕๓๘ จึงเปนกรณี
เดียวท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคําสั่งใหผูฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทนเกินระยะเวลาสิบป
นับแตวันทําละเมิด สวนการที่ผูฟองคดีท่ี ๑ และที่ ๔ อางวา ไมมีการแจงขอกลาวหาและไมแจง
สิทธิใหแกผูถูกสอบสวนนั้น เม่ือขอเท็จจริงรับฟงไดวา ผูฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๔ ไดมีโอกาส
ใหถอยคําตอคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดในฐานะเจาหนาที่ผูเก่ียวของ
ผูฟองคดีที่ ๑ และที่ ๔ จึงมีโอกาสช้ีแจงขอเท็จจริงรวมทั้งอางพยานหลักฐานเก่ียวกับเร่ืองดังกลาวได

แนวคาํ วนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๑

ตามขอ ๑๕ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิด
ทางละเมดิ ของเจา หนา ที่ พ.ศ. ๒๕๓๙

คดีมีปญหาท่ีตองวินิจฉัยตอไปวา ผูฟองคดีทั้งสี่กระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๑
ในการปฏิบัติหนาที่ดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรงหรือไม และหากผูฟองคดี
ท้ังสี่กระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในการปฏิบัติหนาที่ดวยความจงใจหรือประมาทเลินเลอ
อยางรายแรงแลว ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ ชอบท่ีจะเรียกใหผูฟองคดีทั้งส่ีชดใช
คาสินไหมทดแทนเปนจํานวนเทาใด นั้น การที่หางหุนสวนจํากัด จ. ไดนําใบขนสินคาขาออกและ
เอกสารท่ีเกี่ยวของไปยื่นขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรและไดนําบัตรภาษีไปใชแลว ยอมทําให
ผถู กู ฟองคดีที่ ๑ ไดรับความเสียหายจากการกระทําของเจาหนาที่ท่ีเก่ียวของกับขั้นตอนการตรวจ
ปลอยสินคา เมื่อความเสียหายดังกลาวเกิดขึ้นจากผูฟองคดีท้ังสี่ท่ีลงลายมือช่ือรับรองการปฏิบัติ
หนาที่ของตนโดยไมมีสินคาสงออกไปนอกราชอาณาจักร ซ่ึงหากผูฟองคดีทั้งส่ีไดปฏิบัติหนาที่
ตามใบขนสินคาขาออกทุกฉบับ ยอมจะทราบไดทันทีวาไมมีสินคาตามท่ีสําแดงไวในใบขนสินคา
ขาออกของหางหุนสวนจํากัด จ. แตอยางใด พฤติการณของผูฟองคดีท้ังส่ีดังกลาวยอมถือไดวา
เปนการกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอ
อยางรายแรง ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงมีสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีท้ังสี่ชดใชคาสินไหมทดแทน
จากความเสียหายที่เกิดขึ้นนี้ได เมื่อคดีนี้เปนกรณีท่ีการกระทําละเมิดเกิดข้ึนกอน พ.ร.บ. ความรับผิด
ทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงมีผลใชบังคับเมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ ดังน้ัน
การใชบังคับกฎหมายจึงตองแยกพิจารณาเปน ๒ สวน คือ หลักเกณฑในสวนที่เปนสารบัญญัติ
เชน ความรับผิดในทางละเมิด สิทธิไลเบี้ย ความรับผิดอยางลูกหนี้รวม ฯลฯ ใหเปนไป
ตามหลักเกณฑในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซ่ึงเปนกฎหมายท่ีใชในขณะท่ีกระทําละเมิด
แตถาเปนหลักเกณฑในสวนวิธีสบัญญัติ เชน ข้ันตอนการแตงต้ังคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิด การพิจารณาของผูมีอํานาจส่ังการ การรายงานกระทรวงการคลังเพื่อตรวจสอบ
การแจงผลการพิจารณา การเรียกใหเจาหนาท่ีผูกระทําละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทน ฯลฯ
จะตองเปนไปตามหลักเกณฑแหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙
และระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิด
ของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เมื่อพิจารณาตามพฤติการณแหงกรณีแลว การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑
ไมไดจัดสรรอัตรากําลังเจาหนาท่ีในตําแหนงนายตรวจศุลกากรในขั้นตอนการตรวจปลอยสินคา
เพื่อใหเพียงพอกับปริมาณงานการตรวจปลอยสินคาสงออกท่ีบรรจุเขาคอนเทนเนอรเพ่ิมมากขึ้น
อันเปนผลสืบเน่ืองมาจากนโยบายการสงเสริมการสงสินคาออกของรัฐบาลในขณะน้ัน ซ่ึงหาก
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ กําหนดใหมีการตรวจสอบใบขนสินคาขาออกกับบัญชีสินคาสําหรับเรือ
ประกอบดวย ก็นาจะปองกันหรือลดทอนความเสียหายที่อาจเกิดข้ึนได เมื่อความเสียหายของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ เกิดจากความบกพรองของระบบงานของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมย่ิงหยอนไปกวา
การกระทําของผูฟองคดีทั้งสี่ หากใหผูฟองคดีท้ังสี่ตองรับผิดโดยลําพังยอมไมเปนธรรมกับ
ผูฟองคดีท้ังสี่ จึงสมควรหักสวนแหงความบกพรองของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกรอยละ ๕๐

แนวคาํ วนิ ิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๒

ของคาความเสียหายที่ผูฟองคดีท้ังสี่ตองรับผิด ของจํานวนคาเสียหายทั้งหมดตามประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๔๓๘ วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา ๔๔๒ และมาตรา ๒๒๓
วรรคหนึง่ คงเหลอื จาํ นวนท่จี ะตอ งนํามาพิจารณาสวนแหงความรับผิดเพียงรอยละ ๕๐ นายตรวจ
ศลุ กากรจะตอ งรับผดิ รอยละ ๗๐ ของจํานวนสว นแหง ความรบั ผิดในรอ ยละ ๕๐ หลังจากหักความ
รับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว สวนศุลการักษตองรับผิดรอยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหงความ
รับผดิ ในรอยละ ๕๐ หลังจากหกั ความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลวตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหนึ่ง
แหง ประมวลกฎหมายดังกลาว เมอ่ื ขอ เท็จจริงปรากฏวา หางหนุ สว นจาํ กัด จ. ไดย ื่นคําขอรับเงินชดเชย
คา ภาษอี ากรสาํ หรับสินคาสง ออกตอผูถกู ฟอ งคดีท่ี ๑ จาํ นวน ๑๓๑ ชุดคําขอ โดยใชใบขนสินคาขาออก
จาํ นวน ๒๐๑ ฉบบั และผูถือบัตรภาษีไดนําบัตรภาษีดังกลาวไปใชวางฎีกาแลวจํานวน ๑๘๒ ฉบับ
ซึ่งศาลนํามาพิจารณาเฉพาะใบขนสินคาขาออกจํานวน ๑๘๑ ฉบับ โดยไมนําใบขนสินคาขาออก
ท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ออกคําสั่งใหชดใชเงินเกินกําหนด ๑๐ ป นับแตวันวางฎีกามาพิจารณาดวย
ซึ่งในจํานวนนี้มีบัตรภาษีจํานวนหน่ึงไดไปใชวางฎีกาแลวบางสวน กรณีจึงตองหักมูลคาของ
บตั รภาษีท่ีไมมีการนําไปใช (ไมมีวันวางฎีกา) ดังกลาวออกจากมูลคาความเสียหายที่ผูฟองคดีทั้งสี่
ตองรับผิด ผฟู องคดีทง้ั ส่จี ึงตอ งรับผดิ ชดใชคาสนิ ไหมทดแทนใหแ กผถู ูกฟองคดีท่ี ๑ ดงั นี้

ผูฟองคดีที่ ๑ มีสวนที่ตองรับผิดรวมเปนคาเสียหาย ๓,๖๒๗,๐๘๗.๙๒ บาท
โดยเมื่อหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายดังกลาว
และตามทไี่ ดกาํ หนดสัดสวนใหน ายตรวจศุลกากรตองรับผิดรอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหงความรับ
ผิดหลังจากท่ีหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว ผูฟองคดีท่ี ๑ จึงตองรับผิดชดใชคาสินไหม
ทดแทนใหแ กผถู ูกฟอ งคดีท่ี ๑ เปน เงินทงั้ ส้นิ ๑,๒๖๙,๔๘๐.๗๗ บาท

ผูฟองคดีที่ ๒ มีสวนที่ตองรับผิดรวมเปนคาเสียหาย ๓,๒๖๗,๕๐๐.๑๖ บาท
โดยเม่ือหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายดังกลาว
และตามที่ไดก าํ หนดสดั สว นใหน ายตรวจศุลกากรตองรับผิดรอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหงความ
รับผิดหลังจากที่หักความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว ผูฟองคดีที่ ๒ จึงตองรับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนใหแกผถู ูกฟองคดที ่ี ๑ เปนเงนิ ทั้งส้นิ ๑,๑๔๓,๖๒๕.๐๕ บาท

ผูฟองคดีที่ ๓ มีสวนท่ีตองรับผิดรวมเปนคาเสียหาย ๑๑,๕๑๔,๒๒๕.๒๒ บาท
โดยเมื่อหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายดังกลาว
และตามที่ไดกําหนดสัดสวนใหนายตรวจศุลกากรตองรับผิดรอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหง
ความรับผิดหลังจากท่ีหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว ผูฟองคดีท่ี ๓ จึงตองรับผิดชดใช
คา สนิ ไหมทดแทนใหแ กผูถกู ฟอ งคดที ี่ ๑ เปน เงนิ ทง้ั สนิ้ ๔,๐๒๙,๙๗๘.๘๒ บาท

ผูฟองคดีท่ี ๔ มีสวนที่ตองรับผิดรวมเปนคาเสียหาย ๙,๙๘๕,๗๐๖.๗๗ บาท
โดยเม่ือหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายดังกลาว
และตามท่ีไดกําหนดสัดสวนใหนายตรวจศุลกากรตองรับผิดรอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหง
ความรับผิดหลังจากท่ีหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว ผูฟองคดีที่ ๔ จึงตองรับผิดชดใช
คาสนิ ไหมทดแทนใหแกผ ูถูกฟอ งคดีท่ี ๑ เปนเงินทง้ั สน้ิ ๓,๔๙๔,๙๙๗.๓๗ บาท

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๓

ดังน้ัน คําส่ังของกรมศุลกากร ลงวันท่ี ๙ มีนาคม ๒๕๔๘ และคําวินิจฉัยอุทธรณ
ของผูถูกฟองคดีที่ ๒ เฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑
เกินกวา ๑,๒๖๙,๔๘๐.๗๗ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๒ ชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดี
ท่ี ๑ เกินกวา ๑,๑๔๓,๖๒๕.๐๕ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีท่ี ๓ ชดใชคาสินไหมทดแทนแก
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เกินกวา ๔,๐๒๙,๙๗๘.๘๒ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๔ ชดใชคาสินไหม
ทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เกินกวา ๓,๔๙๔,๙๙๗.๓๗ บาท จึงเปนคําสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมาย
ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคําส่ังกรมศุลกากร ลงวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๔๘ และ
คําวินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ บางสวน ดังน้ี (๑) คําส่ังและคําวินิจฉัยอุทธรณของ
ผถู กู ฟอ งคดีที่ ๒ ท่ีใหผูฟองคดีที่ ๑ ชดใชคาเสียหายในสวนที่เกินกวาจํานวนเงิน ๑๓๘,๑๔๗.๗๙ บาท
(๒) คําสั่งและคําวินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ที่ใหผูฟองคดีท่ี ๒ ชดใชคาเสียหายท้ังหมด
(๓) คําสั่งและคําวินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๓ ชดใชคาเสียหายในสวนที่
เกินกวาจํานวนเงิน ๑,๘๘๑,๖๖๔.๓๐ บาท และ (๔) คําส่ังและคําวินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีที่ ๒
ใหผูฟองคดีท่ี ๔ ชดใชคาเสียหายในสวนท่ีเกินกวาจํานวนเงิน ๒,๔๑๘,๕๘๖.๔๑ บาท น้ัน
ศาลปกครองสูงสุดเหน็ พองดวยบางสวน

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําส่ังกรมศุลกากร ลงวันท่ี ๙ มีนาคม ๒๕๔๘ และ
คําวินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีที่ ๒ เฉพาะในสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทน
แกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เกินกวา ๑,๒๖๙,๔๘๐.๗๗ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๒ ชดใชคาสินไหม
ทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เกินกวา ๑,๑๔๓,๖๒๕.๐๕ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๓ ชดใช
คาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เกินกวา ๔,๐๒๙,๙๗๘.๘๒ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๔
ชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เกินกวา ๓,๔๙๔,๙๙๗.๓๗ บาท โดยใหมีผลยอนหลังไป
นับแตวันท่ีออกคําส่ัง และคําวินิจฉัยอุทธรณดังกลาว นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษา
ของศาลปกครองชั้นตน ทั้งน้ี มีขอสังเกตเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการดําเนินการใหเปนไปตาม
คําพิพากษาวา หากผถู กู ฟองคดีท่ี ๑ ไดรับการชดใชเงินคืนหรือสามารถบังคับชําระหนี้จากผูไดรับ
เงินชดเชยคาภาษีอากรในกรณีน้ีเปนเงินจํานวนเทาใด ใหนําเงินน้ันหักหรือคืนตามสวนแหง
ความรับผดิ ใหแ กผ ฟู องคดีทง้ั ส่ี
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ. ๕๙๗ - ๕๙๘/๒๕๖๓

ผฟู องคดที ง้ั หกฟอ งวา ผูฟองคดที ั้งหกไดร บั ความเดอื ดรอนเสียหายจากคําสงั่ ลงวนั ท่ี
๒๒ เมษายน ๒๕๔๘ ท่ีส่ังใหผูฟองคดีท่ี ๑ ในฐานะศุลการักษรวมกับผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๖
ในฐานะนายตรวจศุลกากรรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน กรณีหางหุนสวนจํากัด ร. ทุจริตในการ
สง ออกเพ่ือขอรับเงนิ ชดเชยคาภาษีอากรสําหรับสินคาสงออก ผูฟองคดีทั้งหกเห็นวาคําส่ังดังกลาว
ไมชอบดวยกฎหมาย จึงย่ืนอุทธรณคําส่ัง แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ (กรมศุลกากร) มีหนังสือแจงผลการ
พิจารณาอุทธรณใหยกอุทธรณ ผูฟองคดีท้ังหกจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง
เพิกถอนคําส่ังลงวันท่ี ๒๒ เมษายน ๒๕๔๘ ความเห็นของผูถูกฟองคดีที่ ๒ (กระทรวงการคลัง)

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๔

ที่ใหผฟู อ งคดีทง้ั หกชดใชค าสนิ ไหมทดแทน และเพิกถอนคําวินิจฉัยใหยกอุทธรณ ศาลปกครองช้ันตน
พิพากษาใหเพิกถอนคําส่ังลงวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๘ และคําวินิจฉัยอุทธรณ ในสวนท่ีใหผูฟองคดี
ท้ังหกรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ บางสวน ผูฟองคดีที่ ๒ ถึงท่ี ๖
และผถู ูกฟองคดีท่ี ๑ อุทธรณคําพิพากษาดงั กลาว

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา คดีน้ีขอเท็จจริงรับฟงไดวา ในขณะที่เกิดเหตุ
ผูฟองคดีที่ ๒ ถึงท่ี ๖ ดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร ไดรับมอบหมายใหเปนผูทําหนาท่ีตรวจปลอย
และควบคมุ การบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออกเขาคอนเทนเนอร มีหนาที่โดยตรงในการตรวจสินคา
ของหางหุนสวนจํากัด ร. ตามขอ ๐๘ ๐๕ ๐๑ และขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ ของประมวลระเบียบปฏิบัติ
ศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และท่ีแกไขเพิ่มเติม และตามคําสั่งท่ัวไปกรมศุลกากร ที่ ๕๑/๒๕๓๑
ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๓๑ โดยผูฟองคดีที่ ๒ ถึงที่ ๖ ไดรับมอบหมายใหเปนผูทําหนาท่ี
ตรวจปลอยสินคาตามใบขนสินคาขาออกจํานวน ๖ ฉบับ ๑๗ ฉบับ ๒ ฉบับ ๑๘ ฉบับ และ ๗ ฉบับ
ตามลําดับ ผูฟองคดีที่ ๒ ถึงที่ ๖ จึงตองตรวจสอบสินคาวาตรงตามท่ีสําแดงไวในใบขนสินคาขาออก
และเอกสารประกอบการสงออกหรือไม แตจากการตรวจสอบหลักฐานการสงออกในบัญชีสินคา
สําหรบั เรือ พบวา หางหุน สวนจํากดั ร. มิไดสงสินคาออกไปจริงตามที่ไดส าํ แดงไวใ นใบขนสนิ คา ขาออก
โดยมีการจัดทําบัญชีสินคาสําหรับเรือเปนเท็จ และแอบอางหมายเลขคอนเทนเนอรที่ใชบรรจุสินคา
ของผูสงออกรายอ่ืนมาเปนคอนเทนเนอรบรรจุสินคาของตนเอง โดยผูฟองคดีที่ ๒ ถึงที่ ๖ รับวา
สาเหตุท่ีขอเท็จจริงที่สําแดงไวในใบขนสินคาขาออกไมตรงกับขอเท็จจริงที่สําแดงไวในบัญชีสินคา
สําหรับเรือน้ัน เนื่องจากผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ ไดใชวิธีสุมตรวจสินคาตามใบขนสินคาขาออก
โดยจะเลือกตรวจสินคาที่มูลคาการสงออกสูง การสงออกถ่ี สินคาท่ีมีอัตราเงินชดเชยสูง สินคา
ทผี่ สู งออกอยูในบัญชีผูสงออกที่มีพฤติกรรมนาสงสัย สวนสาเหตุที่ผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ ตองใชวิธี
สุมตรวจสินคาแทนการปฏิบัติตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ น้ัน เพราะใน
ขณะนั้น รัฐบาลและผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีนโยบายสงเสริมการสงออกโดยเนนใหตองอํานวย
ความสะดวกดานพิธีการศุลกากรเพ่ือใหผูสงออกไดรับความสะดวกและหวังใหมีปริมาณ
การสงออกเพิ่มมากข้ึน ซ่ึงการท่ีผูฟองคดีที่ ๒ ถึงที่ ๖ ไดใชวิธีการสุมตรวจใบขนสินคาขาออก
บางฉบับเทานั้น ถือวาเปนการขัดตอขอ ๐๘ ๐๕ ๐๑ และขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ ของประมวลระเบียบ
ปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และคําสั่งกองตรวจสินคาขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ ลงวันที่ ๒ มีนาคม
๒๕๓๐ เม่ือผูฟองคดีที่ ๒ ถึงท่ี ๖ ดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร ยอมตองทราบถึงระเบียบ
ขอบังคับในการปฏิบตั หิ นาทใ่ี นสวนที่นายตรวจศุลกากรมีหนาท่ีปฏิบัติวาไมไดอนุญาตใหใชวิธีการ
สุมตรวจ โดยผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ ไดทําการตรวจปลอยสินคาพรอมท้ังลงลายมือช่ือรับรองไว
ในใบขนสินคาขาออกและใบกํากับคอนเทนเนอรของหางหุนสวนจํากัด ร. แตเม่ือตรวจสอบ
กับบัญชีสินคาสําหรับเรือที่ตัวแทนเรือไดยื่นตอพนักงานเจาหนาท่ีฝายพิธีการสงออกของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามท่ีกําหนดไวมาตรา ๕๑ แหง พ.ร.บ. ศุลกากร พระพุทธศักราช ๒๔๖๙
กลับพบวาหมายเลขคอนเทนเนอรที่สําแดงไวในใบขนสินคาขาออกเพ่ือบรรจุสินคาสงออกไป
กับเรือในแตละเท่ียวน้ัน ปรากฏวาสินคาที่บรรจุและสงออกเปนของผูสงออกรายอ่ืน เม่ือ

แนวคาํ วนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๕

ขอเท็จจริงปรากฏวา ไมมีรายการสินคาปรากฏอยูในบัญชีสินคาสําหรับเรือฉบับท่ีตัวแทนเรือ
ไดย่ืนตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงถือวาหางหุนสวนจํากัด ร. มิไดสงสินคาออกนอกราชอาณาจักร
แตการที่หางหุนสวนดังกลาวไดนําใบขนสินคาขาออกฉบับมุมนํ้าเงินท่ีผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๖
ลงลายมอื ชอ่ื รบั รองไวไ ปใชใ นการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดจ า ยเงินชดเชยคา ภาษอี ากรตามใบขนสนิ คา ขาออกที่ผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ มีสวนเกี่ยวของใหแก
หางหุนสวนดังกลาว จึงถือวามีความเสียหายเกิดขึ้นแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว และเปนผลโดยตรง
มาจากการที่ผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ ไมไดปฏิบัติหนาท่ีในการตรวจปลอยสินคาที่บรรจุในคอนเทนเนอร
วามีชนิดของสินคา ปริมาณสินคา น้ําหนักสินคา เครื่องหมาย หมายเลขหีบหอ ชื่อผูสงออกตรง
ตามท่ีสําแดงในใบขนสินคาขาออกท่ียื่นตอตนหรือไม อันเปนการไมปฏิบัติตามขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕
ของประมวลระเบียบปฏิบตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และคาํ ส่งั กองตรวจสินคาขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐
ลงวนั ท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ การกระทําของผฟู องคดดี งั กลา วถือเปน การกระทาํ โดยประมาทเลินเลอ
อยางรายแรง ในการปฏิบัติหนาท่ีในฐานะนายตรวจศุลกากรเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดรับความเสียหาย อันเปนการกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ไดมีการนําบัตรภาษีท่ีผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงที่ ๖
ปฏิบัติหนาท่ีเกี่ยวของไปใช (วางฎีกา) ระหวางวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๓๘ ถึงวันที่ ๑๙ มิถุนายน
๒๕๓๙ จึงถือวาวันวางฎีกาดังกลาวเปนวันที่กระทําละเมิดแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ กรณีจึงเปน
การกระทําละเมิดที่เกิดขึ้นกอนวันที่ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙
มีผลใชบ ังคบั เมอื่ วนั ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๙ ดังน้ัน การใชบงั คับกฎหมายจึงตองแยกพิจารณา
เปน ๒ สวน คือ หลักเกณฑในสวนที่เปนสารบัญญัติ เชน ความรับผิดในทางละเมิด สิทธิไลเบ้ีย
ความรับผิดอยางลูกหน้ีรวม ฯลฯ ใหเปนไปตามหลักเกณฑที่บัญญัติในประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชยซึ่งเปนกฎหมายที่ใชในขณะท่ีกระทําละเมิด แตถาเปนหลักเกณฑในสวนวิธีสบัญญัติ
เชน ขั้นตอนการตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด การพิจารณาของ
ผูมีอํานาจส่ังการ การรายงานกระทรวงการคลังเพ่ือตรวจสอบ การแจงผลการพิจารณา การเรียก
ใหเจาหนาที่ผูกระทําละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทน ฯลฯ จะตองเปนไปตามหลักเกณฑ
แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ และระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙
เมื่อผูฟองคดีท้ังหกมิไดปฏิบัติหนาท่ีตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยมิได
ตรวจสอบวามีสินคาตามท่ีหางหุนสวนจํากัด ร. สําแดงไวในใบขนสินคาขาออกเพื่อสงออก
นอกราชอาณาจักรหรือไม ซ่ึงหากผูฟองคดีท้ังหกไดใชความระมัดระวังในการปฏิบัติหนาที่ก็ยอม
จะทราบไดวาไมม สี นิ คาของหา งหนุ สว นจาํ กัดดังกลาวบรรจุอยใู นคอนเทนเนอร แตผูฟองคดีทั้งหก
กลับลงนามรับรองในเอกสารประกอบการสงออกวามีสินคาสงออกจริง อันเปนชองทางให
หางหุนสวนจํากัด ร. กระทําการทุจริตจนเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกบัตรภาษีใหแก
หางหุนสวนจํากัดดังกลาวและมีการนําบัตรภาษีไปใชแลว อยางไรก็ตาม เมื่อพิจารณา
ตามพฤติการณแหงกรณีแลวเห็นวา ขณะเกิดเหตุในคดีนี้ ปริมาณการสงออกสินคาของผูสงออก

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๖

สินคาโดยรวมมีจํานวนมาก เน่ืองจากรัฐบาลในขณะนั้นและผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีนโยบายสงเสริม
การสงออก โดยรัฐไดใหนโยบายแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ท่ีจะตองอํานวยความสะดวกในการดําเนิน
พิธีการศุลกากรใหแกผูสงออกเพ่ือใหผูสงออกไดรับความสะดวกโดยหวังใหมีปริมาณการสงออก
มากข้ึน แตอัตรากําลังของเจาหนาที่ท่ีจะอํานวยความสะดวกตามนโยบายดังกลาวมีจํานวนนอย
จนไมสามารถเทียบเปนสัดสวนกับปริมาณงานที่เขามาได การแกปญหาในขณะนั้นจึงใชวิธีการ
สมุ ตรวจสินคา จากผูสงออกบางรายท่ีมีพฤติกรรมไมนาไววางใจ หรือสินคาที่มีมูลคาการสงออกสูง
มีการสงออกถี่และมีอัตราชดเชยคาภาษีอากรสูง เปนตน กรณีจึงเช่ือไดวา ปญหาที่ทําใหเกิด
ชองทางทุจริตในการขอรับเงินชดเชยภาษีอากรสวนหนึ่งมาจากปริมาณงานท่ีมากแตอัตรา
เจาหนาที่ไมเพียงพอ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในฐานะหนวยงานของรัฐมีภาระหนาท่ีที่จะตองวางระบบ
ตรวจสอบใหรดั กมุ ยิ่งข้ึนเพ่ือเปนการตรวจสอบและปองปรามมิใหมีการสําแดงเท็จหรือย่ืนคําขอชดเชย
คาภาษีอากรอันเปนเท็จ แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมสามารถแกปญหาในเชิงระบบการดําเนินงาน
โดยรวมได ดังน้ัน เหตุละเมิดที่เกิดแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในคดีนี้ จึงเกิดจากความบกพรองของ
ระบบการดําเนินงานของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดวย ไมยิ่งหยอนไปกวาการกระทําของผูฟองคดีท้ังหก
ซึ่งดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากรและศุลการักษ จึงสมควรหักสวนแหงความรับผิดของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกในอัตรารอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออก
แตละฉบับ ตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหน่ึง ประกอบกับมาตรา ๔๔๒ และมาตรา ๒๒๓ วรรคหน่ึง
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย คงเหลือจํานวนที่จะตองนํามาพิจารณาสวนแหงความรับผิด
ของผูฟองคดีท้ังหกเพียงรอยละ ๕๐ แตโดยที่เหตุละเมิดในคดีนี้มีผูกระทําผิดหลายคน ไดแก
นายตรวจศุลกากรและศุลการักษ การกําหนดคาสินไหมทดแทนจึงตองพิจารณาพฤติการณวา
ความเสียหายเกิดขึ้นเพราะฝายใดเปนผูกอยิ่งหยอนไปกวากันเพียงไร เม่ือการกระทําของ
เจา หนา ทแี่ ตล ะคนสามารถแยกจากกนั โดยนายตรวจศลุ กากรมีหนาที่ตรวจปลอยและควบคุมการ
บรรจสุ ินคา ตามใบขนสนิ คาขาออกเขาคอนเทนเนอร จงึ มีความรบั ผิดชอบในอํานาจหนาที่มากกวา
ศุลการักษ เน่ืองจากเปนผูรับผิดชอบโดยตรงในการตรวจสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขา
คอนเทนเนอร สัดสวนแหงความรับผิดตามความรายแรงแหงการกระทําละเมิดในกรณีดังกลาว
นายตรวจศุลกากรจึงมีมากกวาศุลการักษ จึงเห็นควรใหผูฟองคดีที่ ๑ ซ่ึงดํารงตําแหนงศุลการักษ
รับผิดในอัตรารอยละ ๓๐ ของจํานวนความเสียหายหลังจากหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ออกรอยละ ๕๐ แลว และใหผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงท่ี ๖ ซ่ึงดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร
รับผิดในอัตรารอยละ ๗๐ ของจํานวนความเสียหายหลังจากหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ออกรอยละ ๕๐ แลว ตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ผูฟองคดีท้ังหกจึงตองรับผิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดังนี้ ผูฟองคดีที่ ๑ ตองรับผิดเปนเงินท้ังส้ิน
๗๓,๐๖๗.๖๗ บาท ผูฟองคดีท่ี ๒ ตองรับผิดเปนเงินท้ังส้ิน ๗๙,๘๙๒.๐๕ บาท ผูฟองคดีท่ี ๓
ตองรับผิดเปนเงินทั้งส้ิน ๑๕๔,๓๗๐.๓๐ บาท ผูฟองคดีท่ี ๔ ตองรับผิดเปนเงินท้ังส้ิน
๑๔,๒๑๘.๔๗ บาท ผูฟองคดีท่ี ๕ ตองรับผิดเปนเงินท้ังสิ้น ๑๘๔,๔๙๗.๘๐ บาท ผูฟองคดีท่ี ๖
ตองรับผิดเปนเงินท้ังส้ิน ๖๘,๔๑๐.๗๗ บาท ดังน้ัน คําส่ังลงวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๘

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๗

เฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีท่ี ๑ ถึงที่ ๖ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวนดังกลาว
จึงเปนคําส่ังท่ีไมชอบดวยกฎหมาย แตเนื่องจากคดีน้ีผูฟองคดีที่ ๑ ไมไดอุทธรณคําพิพากษาของ
ศาลปกครองชั้นตนท่ีพิพากษาใหผูฟองคดีท่ี ๑ รับผิดรวมกับนาง ป. (นายตรวจศุลกากร) เปนเงิน
๔๙,๐๖๕.๒๔ บาท รบั ผดิ รว มกับนาย ม. (นายตรวจศลุ กากร) เปนเงิน ๑๒๘,๖๓๙.๒๙ บาท และรับผิด
รวมกับนาย อ. (นายตรวจศุลกากร) เปนเงิน ๖๕,๘๕๔.๖๑ บาท ดังนั้น ในสวนความรับผิดของ
ผูฟองคดีที่ ๑ จึงตองรับฟงเปนยุติตามที่ศาลปกครองชั้นตนวินิจฉัย อยางไรก็ตาม
หากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับชําระหนี้หรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากหางหุนสวนจํากัด ร.
หรือผูรับโอนบัตรภาษีไดเปนจํานวนเทาใด ใหนําเงินจํานวนดังกลาวมาหักหรือคืนตามสวนแหง
ความรับผิด แลวแตกรณี ใหแกผูฟองคดีท้ังหก นอกจากน้ี เมื่อปรากฏตามบันทึกการสอบสวน
รายหางหุนสวนจํากัด ร. วา คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไดมีหนังสือ
แจงเรื่องการทุจริตของหางหุนสวนจํากัด ร. ใหผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงที่ ๖ ในฐานะนายตรวจศุลกากร
ซึง่ เปนเจาหนา ทที่ ีเ่ ก่ยี วขอ งกับการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออก
ที่พบการกระทําความผิดทราบแลว ท้ังยังไดแจงใหทราบวาผูฟองคดีที่ ๒ ถึงท่ี ๖ ปฏิบัติหนาท่ี
เกี่ยวของกับใบขนสินคาขาออกที่ตรวจพบการทุจริตฉบับใดบาง โดยผูฟองคดีที่ ๒ ถึงที่ ๖
ไดใหถอยคําตอคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดวาจําไมไดวาไดตรวจสอบ
สินคาตามใบขนสินคาขาออกตามเลขท่ีท่ีคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
แจงหรือไม และในขณะเกิดเหตุ มีปริมาณงานมาก เกินความสามารถท่ีจะปฏิบัติตามประมวล
ระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ อยางเครงครัดได จึงตองใชวิธีการสุมตรวจสินคาเฉพาะ
ตามใบขนสินคาขาออกเพียงบางฉบับ ซ่ึงผูบังคับบัญชาไดทราบถึงปญหาและการปฏิบัติหนาที่
ดังกลาวมาโดยตลอด จึงเช่อื ไดวา ผฟู อ งคดีที่ ๒ ถึงที่ ๖ เขาใจและรูถึงการกลาวหาวาผูฟองคดีท่ี ๒
ถงึ ท่ี ๖ มีสวนเก่ียวของกับการกระทําความผิด และมีโอกาสโตแยงปฏิเสธความรับผิดโดยสามารถ
ยกพยานหลักฐานเพ่ือสนับสนุนขออางของตนไดแลว การสอบสวนขอเท็จจริงของคณะกรรมการ
สอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดจึงมิไดฝาฝนขอ ๑๕ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
และมาตรา ๒๗ ประกอบกับมาตรา ๓๐ แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙
แตอยางใด และแมมาตรา ๑๒ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
กําหนดใหหนวยงานของรัฐเปนผูเสียหายในกรณีเจาหนาท่ีกระทําละเมิดในการปฏิบัติหนาที่
และใหหนวยงานของรัฐที่เสียหายมีอํานาจออกคําสั่งใหเจาหนาท่ีผูนั้นชําระเงินดังกลาวภายใน
เวลาที่กําหนด แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนนิติบุคคลซ่ึงโดยสภาพไมอาจใชอํานาจหนาท่ีของตนได
ดวยตนเอง ดังน้ัน ในช้ันการดําเนินการเพื่อนําไปสูการออกคําส่ังใหเจาหนาที่ผูกระทําละเมิด
ตอ หนวยงานของรฐั ชดใชคา สินไหมทดแทน จึงตองอาศัยเจาหนาที่ในองคกรเปนผูดําเนินการแทน
ในนามของผูถูกฟอ งคดีท่ี ๑ ซ่ึงระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับ
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ กําหนดใหหัวหนาหนวยงานของรัฐเปนผูมีอํานาจ
ดําเนินการทั้งเร่ืองของการแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด

แนวคําวินิจฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๘

จนถงึ การออกคาํ สง่ั ใหชาํ ระคาสินไหมทดแทน เม่ือผูถูกฟองคดีที่ ๓ (อธิบดีกรมศุลกากร) ในฐานะ
หัวหนาหนวยงานของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ อาศัยอํานาจตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฉบับดังกลาว
ออกคําส่ังใหผ ูฟอ งคดีท่ี ๒ ถึงที่ ๖ ชดใชค าสนิ ไหมทดแทน กรณีจงึ เปนการใชอาํ นาจตามกฎหมายท่ี
กอใหเกิดผลกระทบตอสถานภาพของสิทธิและหนาท่ีของผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงที่ ๖ ผูถูกฟองคดีที่ ๓
จงึ เปนผเู กย่ี วขอ งกับคําสง่ั พพิ าทโดยตรง ผฟู อ งคดีที่ ๒ ถึงที่ ๖ จงึ เปนผูม ีสิทธิฟองผูถูกฟองคดีท่ี ๓
อยางไรก็ตาม แมศาลปกครองชั้นตนมีคําพิพากษายกฟองผูถูกฟองคดีท่ี ๓ แตหากมีกรณีท่ี
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตองปฏิบัติตามคําพิพากษาคดีนี้ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ยอมยังมีหนาท่ีปฏิบัติการ
ดังกลาวแทนผูถูกฟองคดีที่ ๑ กรณีจึงไมทําใหผลแหงคําพิพากษาเปล่ียนแปลงไปแตอยางใด
ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งลงวันท่ี ๒๒ เมษายน ๒๕๔๘ และคําวินิจฉัย
อุทธรณ ในสวนท่ีใหผูฟองคดีทั้งหกรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ บางสวน
โดยใหม ผี ลยอ นหลังนับแตวันท่ีออกคําสั่ง ท้ังน้ี นับแตวันท่ีคดีถึงที่สุด โดยใหผูฟองคดีท้ังหกรับผิด
ดังน้ี ๑. ผูฟองคดีที่ ๑ รับผิดรวมกับนาง ป. (นายตรวจศุลกากร) เปนเงิน ๔๙,๐๖๕.๒๔ บาท
รับผิดรว มกบั นาย ม. (นายตรวจศลุ กากร) เปนเงิน ๑๒๘,๖๓๙.๒๙ บาท และรับผิดรวมกับนาย อ.
(นายตรวจศุลกากร) เปนเงิน ๖๕,๘๕๔.๖๑ บาท ๒. ผูฟองคดีที่ ๒ รับผิดรวมกับนาย น.
(ศุลการักษ) เปนเงิน ๗๓,๐๑๑.๑๔ บาท และรับผิดรวมกับนาย ส. (ศุลการักษ) เปนเงิน
๔๑,๑๒๐.๔๐ บาท ๓. ผูฟองคดีที่ ๓ รับผิดรวมกับนาย ภ. (ศุลการักษ) เปนเงิน ๙๐,๙๔๙.๒๐ บาท
รับผิดรวมกับนาย ฉ. (ศุลการักษ) เปนเงิน ๒๘,๘๔๒.๓๖ บาท รับผิดรวมกับนาย ร. (ศุลการักษ)
เปนเงิน ๓๙,๑๘๓.๖๗ บาท รับผิดรวมกับนาย ว. (ศุลการักษ) เปนเงิน ๑๑,๖๙๕.๙๑ บาท
รับผิดรวมกับนาย ณ. (ศุลการักษ) เปนเงิน ๒๗,๒๑๐ บาท และรับผิดรวมกับนาย จ. (ศุลการักษ)
เปนเงิน ๒๒,๖๔๗.๙๗ บาท ๔. ผูฟองคดีท่ี ๔ รับผิดรวมกับนาย ก. (ศุลการักษ) เปนเงิน
๒๐,๓๑๒.๑๒ บาท ๕. ผูฟองคดีท่ี ๕ รับผิดรวมกับนาย พ. (ศุลการักษ) เปนเงิน ๗๘,๒๕๖.๓๔ บาท
รับผิดรว มกบั นาย ด. (ศุลการกั ษ) เปน เงิน ๑๒๐,๖๑๕.๘๖ บาท รับผิดรวมกับนาย ช. (ศุลการักษ)
เปนเงิน ๓๑,๗๔๓.๖๓ บาท รับผิดรวมกับนาย น. (ศุลการักษ) เปนเงิน ๔๒,๗๗๖.๖๕ บาท
รับผิดรวมกับนาย ศ. (ศุลการักษ) เปนเงิน ๕,๘๑๒.๕๖ บาท และรับผิดรวมกับนาย ท.
(ศุลการักษ) เปนเงิน ๖,๑๔๑.๖๙ บาท ๖. ผูฟองคดีท่ี ๖ รับผิดรวมกับนาย ต. (ศุลการักษ)
เปนเงิน ๖๔,๐๒๔.๒๒ บาท รับผิดรวมกับนาย ข. (ศุลการักษ) เปนเงิน ๑๐,๙๔๓.๘๕ บาท
และรบั ผดิ รว มกบั นาย ค. (ศลุ การักษ) เปนเงิน ๒๒,๗๖๑.๖๘ บาท ยกฟองผูถูกฟองคดีที่ ๒ และที่ ๓
คําขออน่ื นอกจากนใ้ี หยก นัน้ ศาลปกครองสูงสดุ เห็นพอ งดวยบางสวน

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําสั่งลงวันที่ ๒๒ เมษายน ๒๕๔๘ เฉพาะสวน
ที่ใหผูฟองคดีที่ ๒ ที่ ๖ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๗๙,๘๙๒.๐๕ บาท
๑๕๔,๓๗๐.๓๐ บาท ๑๔,๒๑๘.๔๗ บาท ๑๘๔,๔๙๗.๘๐ บาท และจํานวน ๖๘,๔๑๐.๗๗ บาท
ตามลําดับ โดยใหมีผลยอนหลังไปนับแตวันออกคําส่ัง นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษา
ของศาลปกครองชั้นตน ท้ังน้ี โดยมีขอสังเกตเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการดําเนินการใหเปนไป
ตามคําพพิ ากษาวา หากผถู ูกฟอ งคดที ี่ ๑ ไดร บั ชําระหนี้หรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากผูไดรับเงิน

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๖๙

ชดเชยคาภาษีอากรในกรณีนี้เปนเงินจํานวนเทาใด ใหนําเงินจํานวนดังกลาวมาหักออกหรือ
คืนตามสวนแหงความรับผดิ แลวแตกรณี ใหแ กผฟู องคดที ้งั หก
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๖๔๔/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ขณะที่ผูฟองคดีดํารงตําแหนงศุลการักษ งานตรวจคอนเทนเนอร
กองตรวจสินคาขาออก สังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) มีหนาท่ีเก่ียวกับการรอยดวงตราตะก่ัว กศก.
และหรือประทับแถบเหล็กศุลกากรของคอนเทนเนอรเพื่อบรรจุสินคาลงเรือออกนอกราชอาณาจักร
ไดร บั ความเดือดรอนเสยี หายจากการท่ผี ูถกู ฟองคดที ี่ ๑ มีคาํ สั่งลงวันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดี
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนรวมกับนายตรวจศุลกากร กรณีหางหุนสวนจํากัด ม. มีพฤติกรรมทุจริต
ในการสงออกสินคาเพ่ือขอรับเงินชดเชยภาษีอากร โดยจัดทําเอกสารใบขนสินคาขาออกมากเกินกวา
ความจริง และแอบอางหมายเลขคอนเทนเนอรของผูสงออกรายอ่ืนท่ีมีการสงออกจริง โดยไมมี
การสงสินคาออกไปนอกราชอาณาจักร ทําใหทางราชการไดรับความเสียหาย เปนเงินจํานวน
๔๔,๒๔๖.๑๙ บาท ผูฟองคดีไมเห็นดวยจึงไดมีหนังสืออุทธรณคําส่ังดังกลาว แตผูถูกฟองคดีที่ ๑
พิจารณาอุทธรณวาฟงไมขึ้น ผูฟองคดีเห็นวา การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒
(อธบิ ดีกรมศลุ กากร) มีคาํ สง่ั ลงวนั ท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผฟู องคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
รวมกับนายตรวจศุลกากรเปนการกระทําท่ีไมชอบดวยกฎหมาย จึงนําคดีมาฟองขอใหศาล
มีคําพิพากษาหรือคําส่ังเพิกถอนคําสั่งลงวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ ท่ีใหผูฟองคดีรับผิดชดใช
คา สนิ ไหมทดแทนรวมกับนายตรวจศุลกากรจํานวน ๔๔,๒๔๖.๑๙ บาท

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา เมื่อหนวยงานของรัฐสงสําเนาการสอบสวนขอเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิดไปใหผูถูกฟองคดีท่ี ๓ (กระทรวงการคลัง) พิจารณาตามขอ ๑๗ วรรคสอง
ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิดของ
เจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงหากผูถูกฟองคดีท่ี ๓ โดยท่ี ๔ (ปลัดกระทรวงการคลัง) มีความเห็น
เชนใดแลว หนวยงานของรัฐตองมคี ําส่งั ตามความเห็นของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ตามขอ ๑๘ วรรคหน่ึง
ของระเบยี บดังกลาว โดยหนว ยงานของรัฐไมมีอาํ นาจมีคําส่ังเปนอยางอื่น ความเห็นของผูถกู ฟองคดที ่ี ๓
โดยที่ ๔ จึงเปนสาเหตุสําคัญท่ีกอใหเกิดความเดือดรอนเสียหายแกผูฟองคดี ผูฟองคดีจึงมีสิทธิ
ฟองผูถูกฟองคดีท่ี ๓ โดยที่ ๔ ได คดีน้ีเมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูฟองคดีเปนขาราชการพลเรือน
ตําแหนงศุลการักษ สังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีหนาที่ประทับดวงตรา กศก. หรือแถบเหล็กศุลกากร
ท่ีคอนเทนเนอร และทําหนาท่ีในฐานะผูชวยควบคุมการบรรจุ ไดลงชื่อตรวจปลอยสินคาในใบขน
สนิ คา ขาออกและลงช่ือในใบกํากับคอนเทนเนอร อันเปนเอกสารประกอบการสงออกตามใบขนสินคา
ขาออกของหางหุนสวนจํากัด ม. จํานวน ๒ ฉบับ คือ จํานวนเงินชดเชย ๓๑,๕๗๖.๘๗ บาท และ
๑๒,๖๖๙.๓๒ บาทตามลาํ ดับ แตหา งหนุ สวนจํากัด ม. มิไดมีการสงออกสินคาตามท่ีสําแดงไว และ
ไดนําใบขนสินคาขาออกและเอกสารประกอบไปยื่นคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรในรูปบัตรภาษี
โดยไดมีการวางฎีกาการเบิกเงินตามมูลคาบัตรภาษีเมื่อวันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ และวันท่ี
๑๕ ธันวาคม ๒๕๓๘ ทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับความเสียหายตามจํานวนมูลคาของบัตรภาษี

แนวคําวินิจฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๐

ที่ไดนําไปใชประโยชน อันเปนกรณีครบองคประกอบของการกระทําละเมิดแลวในวันดังกลาว
วันวางฎีกาจึงเปนวันกระทําละเมิดท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากผูฟองคดี
โดยเร่ิมนับอายุความการใชสิทธิเรียกรองนับแตวันทําละเมิดดังกลาว ตามมาตรา ๔๔๘ วรรคหน่ึง
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เม่ือขอเท็จจริงปรากฏตอไปวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ดําเนินการ
สอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑ
การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยรูถึงการกระทําละเมิดและ
รูวาผูฟองคดีเปนผูกระทําละเมิดที่จะพึงใชคาสินไหมทดแทนเม่ือวันที่ ๑๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ ซึ่งเปน
วันสั่งการในบันทึกท่ีฝายวินัยฯ ไดเสนอรายงานของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีคําสั่งลงวันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน
เปนเงินจํานวน ๔๔,๒๔๖.๑๙ บาท ผูฟองคดีไดรับทราบคําส่ังและมีหนังสืออุทธรณคําส่ังดังกลาว
ตอผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงเปนกรณีท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดดําเนินการออกคําส่ังใหใชเงินหรือใชสิทธิ
เรียกรองภายในกําหนดระยะเวลาสองปนับแตวันท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ รูถึงการกระทําละเมิดและ
รูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. ความรับผิด
ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ และเม่ือนับแตไดมีการวางฎีกาเบิกเงินชดเชยการสงสินคาออก
เมื่อวันท่ี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ และวันที่ ๑๕ ธันวาคม ๒๕๓๘ ซ่ึงเปนวันกระทําละเมิดจนถึงวันที่
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีคําส่ังลงวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนยังอยูภายใน
ระยะเวลาสิบป ตามมาตรา ๔๔๘ แหงประมวลกฎหมายดังกลา ว การท่ีผูถกู ฟองคดีท่ี ๑ ใชสิทธิเรียกรอง
ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงเปนการใชสิทธิเรียกรองภายในกําหนดอายุ
ความตามกฎหมายแลว เมื่อผลการตรวจสอบของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงตามคําส่ังลงวันท่ี
๑๓ มกราคม ๒๕๔๓ ปรากฏวา หางหุนสวนจํากัด ม. ไดทําการทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
ตาม พ.ร.บ. ชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออกที่ผลิตในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๒๔ ซ่ึงรวมถึง
ใบขนสินคาขาออกจํานวน ๒ ฉบับ ที่ผูฟองคดีทําหนาท่ีรอยดวงตราและประทับตรา กศก. และ
ลงนามรับรองในใบกํากับคอนเทนเนอรมีการแอบอางหมายเลขคอนเทนเนอรท่ีใชบรรจุสินคาของ
ผูสงออกรายอ่ืน ซ่ึงเปนรายท่ีตัวแทนเรือรับรองและย่ืนตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยถูกตองแลว
โดยมิไดสงสินคาตามใบขนสินคาขาออกดังกลาวออกไปนอกราชอาณาจักรจริง แตไดนําใบขน
สินคาขาออกฉบับมุมน้ําเงินไปย่ืนขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร ดังนั้น การท่ีผูฟองคดีในฐานะ
ศุลการักษซึ่งมีหนาท่ีประทับดวงตรา กศก. หรือรอยแถบเหล็ก RTC หลังจากท่ีนายตรวจศุลกากร
ไดทําการตรวจปลอยสินคาเขาคอนเทนเนอรแลว และมีหนาท่ีชวยเหลือการปฏิบัติงานของ
นายตรวจศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรตามขอ ๓ และขอ ๔ ของคําส่ัง
กองตรวจสินคาขาออก ที่ ๑๓/๒๕๓๐ เรื่อง การตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร ลงวันท่ี
๒ มีนาคม ๒๕๓๐ ไมไดชวยเหลือนายตรวจศุลกากรทําการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
อกี ทง้ั ใบกาํ กบั คอนเทนเนอรทผ่ี ูฟองคดีตองลงลายมือช่ือรบั รองการดําเนินการน้ัน มีรายการท่ีแสดง
หมายเลขหีบหอของสินคาและรายชื่อของผูสงออก ซึ่งวิญูชนในฐานะดังเชนผูฟองคดียอมตอง
ตรวจดูหมายเลขหีบหอของสินคานั้นกอนที่จะประทับดวงตรา กศก. หรือรอยแถบเหล็ก RTC และ

แนวคําวินิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๑

ถาไดทําการตรวจสอบเพียงเล็กนอยก็จะทราบไดเชนเดียวกันวาไมมีสินคาของผูสงออกแมเพียง
หีบหอเดียวอยางท่ีไดสําแดงไวในใบขนสินคาขาออก การละเลยไมปฏิบัติหนาที่ดังกลาวจึงเปน
ชองทางใหผูสงออกสินคาสามารถกระทําการทุจริตไดโดยงาย และเมื่อหางหุนสวนจํากัด ม. ไดนํา
เอกสารรับรองการตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรที่ลงลายมือช่ือรับรอง
โดยนายตรวจศุลกากรผูทําหนาที่ตรวจสอบและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร และ
ใบกํากับคอนเทนเนอรท่ีลงลายมือช่ือโดยผูฟองคดีในฐานะศุลการักษ ไปใชเสนอตอเจาหนาที่ศุลกากร
ในขัน้ ตอนอนื่ จนสามารถยนื่ คําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรและไดนําบัตรภาษีไปใชประโยชนได
อันเปนการกระทําการทุจริตไดสําเร็จ เม่ือผูฟองคดีมิไดทําหนาท่ีชวยเหลือนายตรวจศุลกากรในการ
ตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร อันเปนการไมปฏิบัติหนาท่ีใหถูกตองตามประมวลระเบียบ
ปฏบิ ัติศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และคาํ ส่งั กองตรวจสินคาขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐
พฤติการณของผูฟองคดียอมถือไดแลววาเปนการกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในการปฏิบัติหนาท่ี
ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงมีสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีชดใช
คาสินไหมทดแทนจากความเสียหายท่ีเกิดขึ้นไดตามมาตรา ๑๐ ประกอบกับมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ.
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ เม่ือความเสียหายจากการกระทําละเมิดเกิดจาก
การกระทําของเจาหนาท่ีที่เกี่ยวของหลายคน ในสวนของผูฟองคดีเปนเจาหนาท่ีของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ตําแหนงศุลการักษมีหนาที่ประทับดวงตราตะก่ัว กศก. หรือรอยแถบเหล็ก RTC ท่ีคอนเทนเนอร
และลงลายมือช่ือรับรองในใบกํากับคอนเทนเนอร มิไดปฏิบัติหนาที่ดังกลาวหรือตรวจสอบวา
มีสินคาตามท่ีหางหุนสวนจํากัด ม. สําแดงในใบขนสินคาออกนอกราชอาณาจักรหรือไม ซึ่งหาก
ผูฟองคดีไดใชความระมัดระวังแตเพียงเล็กนอยในฐานะผูชวยผูควบคุมการบรรจุสินคายอม
จะทราบไดโดยงายวาไมมีสินคาของหางหุนสวนจํากัด ม. บรรจุอยูในคอนเทนเนอร แตผูฟองคดี
กลับลงนามรับรองในเอกสารประกอบการสงออกวามีสินคาสงออกจริง อันเปนชองทางใหหางหุนสวน
จํากัด ม. กระทําการทุจริตจนเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกบัตรภาษีใหแกหางหุนสวนจํากัด ม.
และมีการนําบัตรภาษีไปใชแลว คิดเปนมูลคาความเสียหายจํานวนเงินท้ังส้ิน ๔๔,๒๔๖.๑๙ บาท
แตอยางไรก็ตาม เมื่อปรากฏขอเท็จจริงตามที่คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
ไดตรวจสอบและรายงานผลการสอบขอเท็จจริงตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ วา ในชวงระยะเวลาเกิดเหตุ
รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการสงออก ทําใหปริมาณการสงออกเพ่ิมข้ึนมาก เจาหนาที่ในตําแหนง
นายตรวจศุลกากรหรือสารวัตรศุลกากร และศุลการักษในขั้นตอนการตรวจปลอยสินคา แตละคน
จะไดรับใบขนสินคาขาออกเปนจํานวนมากในแตละวัน โดยที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมไดจัดสรรอัตรากําลัง
เพ่ือใหมีจํานวนเพียงพอกับปริมาณงานการตรวจปลอยสินคาท่ีสงบรรจุเขาคอนเทนเนอรเพิ่มมากขึ้น
ปริมาณงานจึงมีมากไมสอดคลองกับจํานวนเจาหนาที่ศุลกากร หากเจาหนาท่ีปฏิบัติงานตามระเบียบ
โดยเครงครัดก็อาจสงผลกระทบตอการสงออกทําใหเกิดความลาชาไมทันเที่ยวเรือท่ีกําหนดไว
ปญหาดังกลาวไดรายงานใหผูบังคับบัญชาทราบแลว แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมไดแกปญหาดังกลาว
แตอยางใด กรณีจึงรับฟงไดวา ความเสียหายที่เกิดขึ้นสวนหน่ึงเกิดจากความบกพรองของระบบ
การดําเนินงานสวนรวมของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ รวมอยูดวยและเปนปญหาของระบบงานท่ีมีผลสําคัญ

แนวคาํ วินิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๒

ในการกอใหเกิดความเสียหายแกราชการไมย่ิงหยอนกวาการกระทําของผูฟองคดี จึงสมควรหักสวน
แหงความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และท่ี ๒ ออกรอยละ ๕๐ ของความเสียหายตามมูลคา
บัตรภาษีท่นี าํ ไปใชประโยชนแลว โดยท่ีความเสียหายดังกลาวเกิดขึ้นในขั้นตอนการตรวจปลอยสินคา
ซ่ึงมผี กู ระทําผิดหลายคน ไดแก นายตรวจศุลกากรและศุลการักษ โดยนายตรวจศุลกากรเปนผูมีหนาท่ีตรวจ
และควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร ตามใบขนสินคาโดยตรง สวนผูฟองคดีซึ่งเปนศุลการักษ
มีหนาท่ีเปนเพียงผูชวยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอร และประทับดวงตราตะก่ัว กศก. หรือรอยแถบเหล็ก RTC เทาน้ัน ความบกพรอง
ของผูฟองคดีจึงเปนสัดสวนท่ีนอยกวา จึงเห็นควรกําหนดใหนายตรวจศุลกากรรับผิดรอยละ ๗๐
และกําหนดใหผูฟองคดีในฐานะศุลการักษรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑
รอยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐ หลังจากหักสวนความบกพรองของ
ระบบงานสวนรวมของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกแลว เมื่อมูลคาความเสียหายมีจํานวนท้ังส้ิน
๔๔,๒๔๖.๑๙ บาท เมื่อหักสวนแหงความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวน
คาเสียหายตามมูลคาบัตรภาษีดังกลาว และหักสวนแหงความรับผิดของนายตรวจศุลกากร
ออกรอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายตามมูลคา
บัตรภาษี คิดเปนเงิน ๖,๖๓๖.๙๒ บาท ดังนั้น การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีคําสั่ง
ลงวันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีตองรับผิดเกินกวา ๖,๖๓๖.๙๒ บาท จึงเปน
คําสงั่ ทีไ่ มช อบดว ยกฎหมาย ท่ศี าลปกครองชัน้ ตนพิพากษาใหเพิกถอนคาํ สงั่ ลงวันที่ ๗ มถิ ุนายน ๒๕๔๘
เฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีรวมรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนจํานวน ๔๔,๒๔๖.๑๙ บาท โดยใหมีผล
ยอนหลังไปนับแตวันที่มีคําส่ังดังกลาว คําขออื่นนอกจากน้ี ใหยก นั้น ศาลปกครองสูงสุดเห็นพองดวย
บางสว น

พิพากษาแกเปนใหเพิกถอนคําสั่งลงวันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๔๘ เฉพาะในสวนที่
ใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เกินกวาจํานวน ๖,๖๓๖.๙๒ บาท
โดยใหมีผลยอนหลังนับตั้งแตวันท่ีออกคําส่ัง โดยมีขอสังเกตวา หากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับชําระหนี้
หรือสามารถบังคับคดีชําระหน้ีจากหางหุนสวนจํากัด ม. ไวเปนจํานวนเงินเทาใด ใหนําเงินจํานวน
ดงั กลาวมาหกั หรือคืนตามสวนแหงความรับผิดแลวแตกรณีใหแกผูฟองคดี นอกจากท่ีแกใหเปนไป
ตามคาํ พิพากษาของศาลปกครองชัน้ ตน
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๗๑๘/๒๕๖๓

ผูฟองคดีท้ังส่ีฟองวา ผูฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๓ เปนขาราชการสังกัดผูถูกฟองคดีที่ ๑
(กรมศุลกากร) และผฟู อ งคดีท่ี ๔ เปนขาราชการบํานาญ ขณะเกิดเหตุผูฟองคดีท้ังส่ีดํารงตําแหนง
นายตรวจศุลกากร ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ (อธิบดีกรมศุลกากร) ไดมีคําส่ังลงวันท่ี
๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๙ ตามความเหน็ ของกระทรวงการคลังใหผูฟองคดีท้ังส่ีชดใชคาเสียหายใหแก
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ กรณีบริษัท อ. ทุจริตในการสงออกเพ่ือขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร ตามคําส่ัง
กรมศุลกากรลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ผูฟองคดีทั้งส่ีไมเห็นดวย จึงอุทธรณตอผูถูกฟองคดีที่ ๒

แนวคาํ วินิจฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๓

แตผูถูกฟองคดีที่ ๒ พิจารณาอุทธรณของผูฟองคดีทั้งสี่แลว เห็นวาคําอุทธรณฟงไมข้ึน ผูฟองคดีท้ังสี่
ไมเห็นดวยกับผลการพิจารณาอุทธรณดังกลาวจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ัง
เพิกถอนคําส่ังลงวันท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ที่ใหผูฟองคดีท้ังสี่ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแก
ผถู ูกฟอ งคดีที่ ๑

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา เมื่อผูฟองคดีท้ังส่ีดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร
ไดรับมอบหมายใหเปนผูทําหนาท่ีตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออก
เขา คอนเทนเนอร ราย บริษัท อ. มีหนา ที่โดยตรงในการตรวจสินคา ของบรษิ ัทดังกลา วตามขอ ๐๘ ๐๕ ๐๑
ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๔ ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ และขอ ๐๘ ๐๕ ๑๔ ของประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
และที่แกไ ขเพ่มิ เติมตามคําสั่งทวั่ ไปกรมศุลกากร ที่ ๕๑/๒๕๓๑ ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๓๑ ผูฟองคดี
ทั้งส่ีจึงตองทําการตรวจสอบสินคาวาตรงตามท่ีสําแดงไวในใบขนสินคาขาออกและเอกสาร
ประกอบการสง ออกหรอื ไม แตเม่ือตรวจสอบกับบัญชีสินคาสําหรับเรือที่ตัวแทนเรือไดยื่นตอพนักงาน
เจาหนาที่ฝายพิธีการสงออกของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตามที่กําหนดไวในมาตรา ๕๑ แหง พ.ร.บ. ศุลกากร
พระพุทธศักราช ๒๔๖๙ และหมายเลขคอนเทนเนอรท่ีผูสงออกกลาวอางวามีการบรรจุสินคา
สงออกไปกับเรือในแตละเท่ียวแลว พบวา หมายเลขคอนเทนเนอรที่ผูสงออกกลาวอางวา
มีการบรรจุสินคาสงออกไปจริงแตเปนสินคาของผูสงออกรายอื่นจึงเชื่อวาบริษัทดังกลาวไดจัดทํา
ใบขนสนิ คาขาออกแตไ มไ ดสง สินคาออก ตอมา บริษัท อ. ไดนําใบขนสินคาขาออกท่ีผูฟองคดีท้ังสี่
มสี ว นเก่ียวขอ ง จาํ นวน ๑๐๒ ฉบับ ไปย่ืนเปนหลักฐานขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสําหรับสินคา
สงออกตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ รวมเปนมูลคาการสงออก ๗๕,๓๑๒,๐๐๗.๘๔ บาท และผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดออกบัตรภาษีตามใบขนสินคาขาออกดังกลาวใหแกบริษัท อ. และมีการนําบัตรภาษีบางสวนมูลคา
๑,๗๖๐,๓๕๕.๒๒ บาท ไปใช (วางฎกี า) แลว กรณีจึงถือไดว าผูฟองคดีท้ังสไ่ี มไ ดปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนง
นายตรวจศลุ กากร ผทู าํ การตรวจปลอยและควบคุมการบรรจสุ ินคาตามใบขนสินคาขาออกเขาคอนเทนเนอร
รายบรษิ ัท อ. ใหเปน ไปตามที่กาํ หนดไวในประมวลระเบียบปฏิบตั ศิ ุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๑
ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ จนเปนเหตุใหผูสงออกอาศัยเอกสารจากการปฏิบัติหนาท่ีของผูฟองคดีท้ังส่ีมาใช
ในการทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรจากผูถูกฟองคดีที่ ๑ การกระทําดังกลาวของผูฟองคดีท้ังส่ี
จงึ ถือไดวาเปนการปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหเกิดความเสียหายตอ
ผถู กู ฟอ งคดีที่ ๑ ซึง่ เปน หนวยงานของรัฐทผี่ ฟู อ งคดที ้ังส่ีสังกัด การกระทําของผูฟองคดีทั้งสี่จึงเปน
การกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
เม่ือในขณะเกิดเหตุละเมิดในคดีนี้ ปริมาณการสงออกสินคาของผูสงออกสินคาโดยรวมมีจํานวนมาก
เนอ่ื งจากรัฐบาลในขณะนัน้ และผถู ูกฟอ งคดที ่ี ๑ มีนโยบายสงเสริมการสงออกโดยรัฐไดใหนโยบาย
แกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ที่จะตองอํานวยความสะดวกในการดําเนินพิธีการศุลกากรใหแกผูสงออก
เพื่อใหผูสงออกไดรับความสะดวกโดยหวังใหมีปริมาณการสงออกมากข้ึนเพื่อนําเงินตราตางประเทศ
เขา มาในราชอาณาจักรอันเปนผลดีตอเศรษฐกิจ แตอัตรากําลังของเจาหนาท่ีที่จะอํานวยความสะดวก
ตามนโยบายดังกลาวมีจํานวนนอยจนไมสามารถเทียบเปนสัดสวนกับปริมาณงานที่เขามาได
กรณีจึงเชื่อไดวาปญหาที่ทําใหเกิดชองทางทุจริตในการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสวนหนึ่ง

แนวคําวินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๔

มาจากปรมิ าณงานทมี่ ากแตอ ัตราเจาหนาท่ีไมเ พยี งพอโดยผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในฐานะหนวยงานของรัฐมี
ภาระหนา ที่ทจี่ ะตองวางระบบตรวจสอบใหรัดกุมย่ิงข้ึนเพ่ือเปนการตรวจสอบและปองปรามมิใหมี
การสําแดงเท็จหรือย่ืนคําขอชดเชยคาภาษีอากรอันเปนเท็จแตผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมสามารถแกปญหา
ในเชิงระบบการดําเนินงานโดยรวมได ดังนั้น มูลคดีละเมิดที่ผูฟองคดีท้ังส่ีจะตองรับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในคดีน้ีจึงเกิดจากความบกพรองและระบบการดําเนินงาน
ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ดวย และเม่ือบริษัท อ. ทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสินคาขาออก
โดยไดน ําใบขนสินคา ขาออกจํานวน ๙๒ ฉบับ ซึ่งมีช่ือผูฟองคดีทั้งสี่เปนผูทําการตรวจปลอยสินคา
จํานวน ๖๐ ฉบับ ไปยื่นคําขอรับบัตรภาษี และไดมีการวางฎีกาตามบัตรภาษีดังกลาวในระหวางวันท่ี
๑๐ เมษายน ๒๕๔๐ ถึงวันท่ี ๒๐ มีนาคม ๒๕๔๑ จึงถือเปนการกระทําละเมิดท่ีเกิดขึ้นหลังจาก
ที่พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับ กรณีจึงตองหักสวนความรับผิด
อันเกิดจากความบกพรองและระบบการดําเนินงานของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกรอยละ ๕๐
ของจํานวนคาเสียหายท้ังหมด คงเหลือจํานวนท่ีจะตองนํามาพิจารณาสวนแหงความรับผิดเพียง
รอยละ ๕๐ แตโดยท่ีเหตุละเมิดในคดีนี้เกิดจากการปฏิบัติหนาที่ของนายตรวจศุลกากรและ
เจาหนาที่ศุลการักษ เม่ือพิจารณาถึงอํานาจหนาที่และสภาพความรายแรงแหงการกระทําแลว เห็นวา
นายตรวจศลุ กากรและเจา หนา ทศ่ี ลุ การักษเปนเจาหนาที่คนละตําแหนง ตางมีความรับผิดชอบในหนาที่
ทแ่ี ตกตางกนั โดยนายตรวจศลุ กากรเปนผทู ําการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคา
ขาออกเขา คอนเทนเนอรจงึ มคี วามรับผิดชอบมากกวาศุลการักษ เน่อื งจากเปน ผูรบั ผิดชอบโดยตรง
ในการตรวจสินคา และควบคุมการบรรจสุ ินคาเขา คอนเทนเนอร สวนศุลการักษทําหนาท่ีเปนผูชวย
ของนายตรวจศุลกากรและเปนผูปฏิบัติหนาท่ีในขั้นตอนสุดทายในการรอยดวงตราตะก่ัว กศก.
หรือแถบเหล็ก RTC ท่ีประตูคอนเทนเนอร ดังน้ัน สัดสวนแหงความรับผิดตามความรายแรง
แหง การกระทําละเมิดในกรณีดังกลาว นายตรวจศุลกากรจึงมีมากกวาศุลการักษ โดยเห็นวานายตรวจศุลกากร
จะตองรับผิดรอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐ หลังจากหักความรับผิด
ของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว สวนศุลการักษตองรับผิดรอยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิด
ในรอยละ ๕๐ หลังจากหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว ท้ังน้ี ตามมาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘
แหงพระราชบัญญัติดังกลาว โดยบัตรภาษีท่ีออกตามชุดคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรบางชุด
คําขอยังไมมีการวางฎีกา บางชุดคําขอมีการวางฎีกาบัตรภาษีครบถวนเต็มจํานวนที่ปรากฏ
ในชุดคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร และบางชุดคําขอมีการวางฎีกาบัตรภาษีเพียงบางสวน
ตามจํานวนท่ีปรากฏในชุดคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร ซ่ึงกรณีท่ีวางฎีกาบัตรภาษีเพียงบางสวนนั้น
การคํานวณคาความเสียหายในแตละใบขนสินคาขาออกจึงคํานวณจากการนําจํานวนเงินชดเชย
ที่ไดมีการวางฎีกาบัตรภาษีมาเฉลี่ยตามสวนของจํานวนเงินชดเชยของแตละใบขนสินคาขาออก
ทไ่ี ดมีการยนื่ ขอชดเชยคา ภาษีอากรเพ่อื ใหไ ดคา ความเสยี หายที่แทจริงของแตละใบขนสินคาขาออก
ท่ีปรากฏในชุดคําขอแลวนํามาคํานวณคาความเสียหายตามสัดสวนความรับผิดของแตละบุคคล
โดยผูฟอ งคดที ่ี ๑ มสี ว นตองรับผิดตามใบขนสินคาขาออกของบริษัท อ. ที่นําไปใช (วางฎีกา) แลว
จาํ นวน ๑๑ ฉบบั มยี อดเงินหลงั หกั สวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกแลว รวมเปนเงินจํานวน

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๕
๖๘,๕๙๙.๕๒ บาท ผูฟองคดีท่ี ๒ มีสวนตองรับผิดตามใบขนสินคาขาออกท่ีนําไปใช (วางฎีกา) แลว
จํานวน ๒๖ ฉบับ มียอดเงินหลังหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกแลว รวมเปนเงิน
จาํ นวน ๑๕๑,๒๖๐.๒๖ บาท ผูฟ อ งคดที ่ี ๓ มสี ว นตอ งรบั ผดิ ตามใบขนสนิ คา ขาออกท่ีนําไปใช (วาง
ฎีกา) แลว จํานวน ๓ ฉบับ มียอดเงินหลังหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกแลว รวม
เปนเงินจํานวน ๑๘,๒๓๗.๖๔ บาท ผูฟองคดีท่ี ๔ มีสวนตองรับผิดตามใบขนสินคาขาออกที่นําไปใช
(วางฎีกา) แลว จํานวน ๖ ฉบับ มียอดเงินหลังหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกแลว
เปนเงินจํานวน ๖๔๔.๒๐ บาท ดังนั้น การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ ออกคําสั่งลงวันที่
๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ ใหผูฟองคดีที่ ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๖๘,๕๙๙.๕๖ บาท
ใหผูฟองคดีที่ ๒ ชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๑๕๑,๒๖๐.๒๖ บาท ใหผูฟองคดีที่ ๓ ชดใช
คาสินไหมทดแทนเกินกวา ๑๘,๒๓๗.๖๔ บาท และใหผูฟองคดีท่ี ๔ ชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา
๖๔๔.๒๐ บาท ใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงเปนคําสั่งท่ีไมชอบดวยกฎหมาย สําหรับความเสียหาย
ตามใบขนสนิ คาขาออกจํานวน ๑๐ ฉบับ ที่มีชื่อผูฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๓ เปนผูทําการตรวจปลอยสินคา
โดยบริษัท อ. ย่ืนคําขอรับบัตรภาษี เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ และวันท่ี ๒๗ ธันวาคม ๒๕๓๙ นั้น
ตามรายงานตรวจสอบสถานะบัตรภาษีที่ผูถูกฟองคดีท้ังสองชี้แจงตอศาลปกครองสูงสุด ไมปรากฏ
หลักฐานวามีการวางฎีกาเพื่อเบิกจายเงินตามบัตรภาษีดังกลาว จึงถือวาผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมไดรับ
ความเสยี หายจากใบขนสนิ คาขาออกทั้ง ๑๐ ฉบับดงั กลาว อันจะถอื ไดวา เปนการกระทําละเมิดตอ
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดังน้ัน ผูฟองคดีท่ี ๑ และท่ี ๓ จึงไมตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนในสวน
ของใบขนสินคาขาออกดังกลาว การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีคําสั่งลงวันท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙
ใหผูฟองคดีที่ ๑ รับผิดรวมกับนาย ม. จํานวน ๕๖,๔๑๙.๖๗ บาท และรับผิดรวมกับนาย ศ.
จํานวน ๕๐,๕๖๕ บาท และใหผูฟองคดีท่ี ๓ รับผิดรวมกับนาย ม. จํานวน ๖๓,๘๖๔.๘๙ บาท
ตามใบขนสนิ คาขาออกดังกลา ว จึงเปนคาํ สัง่ ที่ไมชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลปกครองชั้นตนพิพากษา
ใหเพิกถอนคําสั่งลงวันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ เฉพาะสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๑ รับผิดเกินกวา
๑๓๐,๐๑๓.๗๑ บาท เฉพาะสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๒ รับผิดเกินกวา ๑๕๑,๙๘๙.๗๐ บาท
เฉพาะสวนท่ใี หผ ูฟอ งคดีที่ ๓ รับผิดเกินกวา ๘๔,๗๓๔.๖๒ บาท และเฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๔
รับผดิ เกนิ กวา ๕๘,๐๑๙.๗๑ บาท คําขออนื่ นอกจากนใ้ี หยก นน้ั ศาลปกครองสงู สุดเห็นพอ งดว ยบางสว น

พิพากษาแกเปนใหเพิกถอนคําสั่งลงวันท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๔๙ เฉพาะสวนท่ีให
ผูฟองคดีท่ี ๑ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๖๘,๕๙๙.๕๖ บาท เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๒
รับผิดเกินกวา ๑๕๑,๒๖๐.๒๖ บาท เฉพาะสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๓ รับผิดเกินกวา ๑๘,๒๓๗.๖๔ บาท
และเฉพาะสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๔ รับผิดเกินกวา ๖๔๔.๒๐ บาท นับแตวันที่มีคําส่ัง นอกจากท่ีแก
ใหเปนไปตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน ทั้งน้ี มีขอสังเกตเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการ
ดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษาวา หากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับชําระหนี้หรือสามารถบังคับ
ชําระหน้ีจากบริษัท อ. ไดเปนจํานวนเงินเทาใดใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ นําเงินจํานวนดังกลาวมา
หกั ออกหรือคนื ตามสวนแหง ความรับผิด แลวแตกรณีใหแกผูฟอ งคดีท้งั สี่

แนวคาํ วนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๖

ฟอ งขอใหเพิกถอนคําสัง่ ยึดและอายดั ท่ีดินพรอมสิง่ ปลูกสรา ง
คาํ พิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.๓๗/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีดํารงตําแหนงผูอํานวยการของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
(องคการฟอกหนัง) ตั้งแตเดือนตุลาคม ๒๕๔๒ ถึงเดือนมกราคม ๒๕๔๔ ระหวางน้ันผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดจัดทําโครงการเส้ือเกราะออนปองกันกระสุนใหแกสํานักงานตํารวจแหงชาติ โดยไดดําเนินการ
ตามโครงการดังกลาวจนเสร็จสิ้น และตอมาไดมีการแตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนหาขอเท็จจริง
เกี่ยวกับการดําเนินงานของผูฟองคดีวาไดกอใหเกิดความเสียหายตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ หรือไม
โดยคณะกรรมการสอบสวนฯ ไดสรุปผลการสอบสวนในประเด็นเร่ืองความเสียหาย เห็นควรให
ผถู กู ฟองคดีท่ี ๑ ฟองเรยี กคา เสียหายทางแพงตอ ไป รฐั มนตรีวาการกระทรวงกลาโหมจึงไดมีคําสั่ง
ลงวันท่ี ๓๑ มีนาคม ๒๕๔๘ แตงต้ังคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ตอมา
รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมไดวินิจฉัยส่ังการทายหนังสือลงวันที่ ๑๘ สิงหาคม ๒๕๔๘
ใหดําเนินการตามผลการสอบขอเท็จจริงของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงฯ ผูถูกฟองคดีที่ ๑
จึงไดมีหนังสือลงวันท่ี ๒ กันยายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีนําเงินจํานวน ๓,๑๙๐,๙๕๓.๕๐ บาท
ไปชําระแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ภายใน ๗ วัน นับแตวันที่ไดรับหนังสือดังกลาว ตอมา ประธาน
กรรมการของผูถูกฟองคดีที่ ๓ (คณะกรรมการผูชําระบัญชีขององคการฟอกหนัง) ไดมีหนังสือ
ลงวันท่ี ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๑ และลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔ แจงผูฟองคดีใหชดใช
คาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนเงินจํานวน ๓,๑๙๐,๙๕๓.๕๐ บาท ภายใน ๑๕ วัน
นับแตวันท่ีไดรับหนังสือดังกลาว แตผูฟองคดีมิไดดําเนินการใดๆ จากน้ัน ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ (นาย จ.)
ซ่ึงอางวาไดรับมอบอํานาจชวงจากผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ไดมีหนังสือลงวันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔
แจงการยึดที่ดินโฉนดที่ดินเลขที่ ๒๑๕๑๖๓ แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
พรอ มส่งิ ปลูกสราง ซ่ึงมีช่ือผฟู องคดีและนาง อ. เปน ผถู ือกรรมสิทธิ์รวมกัน เพ่ือใหผูถูกฟองคดีท่ี ๔
(เจาพนักงานท่ีดินกรุงเทพมหานคร สาขาบางเขน) ทราบและบันทึกการยึดทรัพยสินดังกลาวไว
ในทะเบียนที่ดิน โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดมีหนังสือลงวันท่ี ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ แจงผูฟองคดีวา
ไดทําการยึดที่ดินแปลงดังกลาวไวแลวและจะดําเนินการขายทอดตลาดเพื่อนําเงินมาชําระหนี้
ใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตอไป ผูฟองคดีจึงมีหนังสือลงวันท่ี ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ อุทธรณ
มาตรการบังคับทางปกครองดวยการยึดทรัพยสินของผูฟองคดีตอผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ซ่ึงประธาน
กรรมการของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ไดแจงผลการพิจารณาอุทธรณใหผูฟองคดีทราบวา ผูถูกฟองคดี
ท่ี ๓ ในการประชุมเมื่อวันท่ี ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๕ ไดมีมติวา คงใหดําเนินการตามกฎหมายตอไป
ผูฟองคดเี หน็ วา ผถู ูกฟอ งคดีท่ี ๑ ไมสามารถมอบอํานาจชวงใหผ ถู กู ฟอ งคดีที่ ๒ ดาํ เนนิ การยึดหรือ
อายัดที่ดินของผูฟองคดีได การยึดหรืออายัดที่ดินของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงไมชอบดวยกฎหมายทํา
ใหผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนเสียหาย จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาเพิกถอนรายงานผล
การสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด เพิกถอนคําสั่งของรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมที่
วินิจฉัยส่ังการใหดําเนินการตามผลการสอบขอเท็จจริงของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงฯ

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๗

เพิกถอนคําส่ังยึดท่ีดินโฉนดท่ีดินเลขท่ี ๒๑๕๑๖๓ พรอมสิ่งปลูกสราง รวมทั้งเพิกถอนคําส่ัง
อายดั ทดี่ นิ พรอมส่งิ ปลูกสรา งดงั กลา ว โดยทีค่ ดีนี้ศาลปกครองช้ันตนมีคําสั่งไมรับคําฟองในขอหาท่ี
ผูฟองคดีขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหเพิกถอนรายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิด และเพิกถอนคําสั่งใหดําเนินการตามผลการสอบขอเท็จจริงของคณะกรรมการสอบ
ขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไวพิจารณา และศาลปกครองสูงสุดไดมีคําสั่งยืนตามคําส่ังของ
ศาลปกครองช้นั ตน คาํ ฟองในขอหาดังกลา วจงึ ยตุ ติ ามคําส่งั ของศาลปกครองชัน้ ตน คดมี ีประเด็นท่ี
ศาลปกครองสูงสุดตองวินิจฉัยแตเพียงวา การใชมาตรการบังคับทางปกครองกับผูฟองคดีในคดีนี้
เปนไปโดยชอบดว ยกฎหมายหรอื ไม เหน็ วา คาํ วินจิ ฉัยสง่ั การของรฐั มนตรีวา การกระทรวงกลาโหม
ที่เห็นชอบใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาว เปนคําสั่งทางปกครองและใชยันตอผูฟองคดี
ตั้งแตวันท่ีผูฟองคดีไดรับแจงเปนตนไปตามนัยมาตรา ๕ ประกอบกับมาตรา ๔๒ วรรคหน่ึง
แหง พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ เม่ือผูฟองคดีไดรับแจงคําส่ังดังกลาว
โดยชอบแลว แตผูฟองคดีไมชําระเงินภายในเวลาที่กําหนด ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ยอมมีอํานาจ
ใชมาตรการบังคับทางปกครองตามท่ีบัญญัติไวในมาตรา ๕๗ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว
โดยตองมีหนังสือแจงเตือนใหผูฟองคดีชําระเงินภายในกําหนด แตตองไมนอยกวาเจ็ดวัน
หากไมมีการปฏิบัติตามคําเตือน ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงอาจใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยยึด
หรืออายัดทรัพยสินของผูฟองคดีและขายทอดตลาดเพื่อชําระเงินใหครบถวนได อยางไรก็ตาม
ขอเท็จจริงปรากฏตอมาวา ไดมี พ.ร.ฎ. ยุบเลิกองคการฟอกหนัง พ.ศ. ๒๕๕๐ ใหยุบเลิกองคการ
ฟอกหนัง กรณีจึงไมมีผูบริหารของรัฐวิสาหกิจท่ีจะเปนผูพิจารณาใชมาตรการบังคับทางปกครอง
ตามท่ีกําหนดไวในขอ ๑ (๔) ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๙ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน พ.ร.บ.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ได แตโดยที่มาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.ฎ.
ยบุ เลิกองคก ารฟอกหนัง พ.ศ. ๒๕๕๐ บัญญตั ิวา ใหร ัฐมนตรีวา การกระทรวงกลาโหมแตงตั้งบุคคล
ขึ้นคณะหน่ึง จํานวนไมเกินเกาคนเปนคณะกรรมการผูชําระบัญชีขององคการฟอกหนัง
ผูถูกฟองคดีที่ ๓ ซ่ึงไดรับแตงต้ังจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมจึงมีอํานาจและหนาท่ี
ในการชําระบัญชีเกี่ยวกับกิจการของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามที่กําหนดไวในมาตรา ๕ วรรคสอง
แหงพระราชกฤษฎีกาดังกลาว โดยนําบทบัญญัติในหมวด ๕ ลักษณะ ๒๒ ในบรรพ ๓
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาใชบังคับแกอํานาจและหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๓
โดยอนุโลม ซึง่ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา ๑๒๕๙ บัญญัติวา ผูชําระบัญชีทั้งหลาย
ยอมมีอํานาจดังจะกลาวตอไปนี้ คือ (๑) แกตางวาตางในนามของหางหุนสวนหรือบริษัทในอรรถ
คดีพิพาทอันเปนแพงหรืออาญาท้ังปวง และทําประนีประนอมยอมความ (๒) ดําเนินกิจการ
ของหางหุนสวนหรือบริษัทตามแตจําเปน เพ่ือการชําระสะสางกิจการใหเสร็จไปดวยดี (๓)
ขายทรัพยสินของหางหุนสวนหรือบริษัท (๔) ทําการอยางอ่ืนๆ ตามแตจําเปน เพื่อชําระบัญชี
ใหเสร็จไปดวยดี เมื่อผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดมีคําสั่งเรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน
อันเน่ืองมาจากการกระทําละเมิดตอหนวยงานของรัฐ ซึ่งเปนกรณีที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในฐานะ
เจาหน้ีมูลละเมิดไดใชสิทธิเรียกรองท่ีมีตอผูฟองคดีซึ่งเปนลูกหนี้ผูกระทําละเมิด แตผูฟองคดี

แนวคาํ วินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๘

ไมดําเนินการตามคําสั่งดังกลาว ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ซึ่งไดรับแตงตั้งจากรัฐมนตรีวาการ
กระทรวงกลาโหม จึงมีอํานาจที่จะดําเนินการใหเปนไปตามคําส่ังทางปกครองที่เรียกใหผูฟองคดี
ชดใชคาสนิ ไหมทดแทนโดยใชม าตรการบงั คับทางปกครอง ยดึ หรืออายัดทรพั ยส นิ ของผูฟองคดีและ
ขายทอดตลาดเพื่อชําระหนี้ใหครบถวนได เม่ือผูฟองคดีกระทําละเมิดในขณะดํารงตําแหนง
ผูอํานวยการองคการฟอกหนัง ซึ่งในขณะน้ันไมมีผูบริหารขององคการฟอกหนัง รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงกลาโหมในฐานะผูกํากับดูแลและเปนผูรักษาการตาม พ.ร.ฎ. จัดต้ังองคการฟอกหนัง
พ.ศ. ๒๔๙๘ จึงเปนผูมีอํานาจออกคําส่ังเรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนได
สวนผูมีอํานาจใชมาตรการบังคับทางปกครองตองพิจารณาขอเท็จจริงในขณะท่ีมีการใชมาตรการ
บังคับทางปกครอง เมื่อปรากฏวาองคการฟอกหนังไดถูกยุบเลิกไปโดยผลของกฎหมายแลว
และรัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหมไดแตงต้ังผูถูกฟองคดีท่ี ๓ เพ่ือดําเนินการชําระบัญชี
ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ จึงตองดําเนินกิจการของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตามแตจําเปนเพ่ือการชําระสะสาง
กิจการใหเสร็จไปดวยดี ซึ่งรวมถึงการดําเนินการใหเปนไปตามคําสั่งทางปกครองที่เรียกให
ผูฟองคดีชดใชเงินใหแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดวย สําหรับการใชมาตรการบังคับทางปกครองกับ
ผูฟองคดีในคดีนี้ ปรากฏวา ประธานกรรมการของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ไดมีหนังสือลงวันที่
๒๘ พฤษภาคม ๒๕๕๑ และลงวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔ แจงผูฟองคดีใหชดใชคาสินไหม
ทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เปนเงินจํานวน ๓,๑๙๐,๙๕๓.๕๐ บาท ภายใน ๑๕ วัน นับแตวันท่ี
ไดรับหนังสือดังกลาว และไดประกาศใหผูฟองคดีชดใชคาเสียหายดังกลาวทางหนังสือพิมพดวย
จึงเปนกรณที ีผ่ ูถกู ฟอ งคดที ี่ ๑ ไดมหี นงั สือเตอื นใหผฟู องคดีชาํ ระเงนิ ภายในกําหนดเวลาพอสมควร
แลว แตเม่ือผูฟองคดีไมไดดําเนินการใดๆ ผูถูกฟองคดีที่ ๓ จึงมีอํานาจใชมาตรการบังคับทาง
ปกครองโดยยึดหรืออายัดทรัพยสินของผูฟองคดีและขายทอดตลาดเพื่อชําระหนี้ใหครบถวนได
ตอมา ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ซึ่งไดรับมอบอํานาจจากผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ไดขออายัดท่ีดินพรอมส่ิงปลูกสราง
ตามหลักฐานโฉนดที่ดินเลขที่ ๒๑๕๑๖๓ ซ่ึงมีช่ือผูฟองคดีและนาง อ. ถือกรรมสิทธิ์รวมกัน
ตอผูถูกฟองคดีที่ ๔ และผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดมีคําสั่งรับอายัดที่ดินแปลงดังกลาวแลวเมื่อวันท่ี
๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ พรอมกันน้ันผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ก็ไดมีหนังสือแจงคําส่ังอายัดใหผูฟองคดี
ทราบเมื่อวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ดวยแลว จึงมีปญหาที่ตองวินิจฉัยวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๓
มีอํานาจที่จะมอบอํานาจใหผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ซึ่งเปนเอกชนเปนผูดําเนินการแทนหรือไม เห็นวา
ขอ ๓ ของกฎกระทรวง ฉบับท่ี ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ กําหนดวา การมอบอํานาจในการดําเนินการพิจารณาใชมาตรการ
บังคบั ทางปกครองของเจาหนาท่ีผูมีอาํ นาจทาํ คาํ สัง่ ทางปกครองในสังกัดรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงาน
อ่ืนของรัฐ ใหเปนไปตามกฎหมายท่ีจัดตั้งรัฐวิสาหกิจหรือหนวยงานอื่นของรัฐน้ันๆ ดังน้ัน
การดําเนินการเกี่ยวกับการมอบอํานาจในการพิจารณาใชมาตรการบังคับทางปกครองในองคการ
ฟอกหนังซึ่งเปนรัฐวิสาหกิจท่ีจัดตั้งขึ้นตาม พ.ร.ฎ. จัดต้ังองคการฟอกหนัง พ.ศ. ๒๔๙๘
จงึ ตองเปน ไปตามพระราชกฤษฎกี าดงั กลาว แตโดยที่ พ.ร.ฎ. จัดตงั้ องคการฟอกหนัง พ.ศ. ๒๔๙๘
ถูกยกเลิกโดยมาตรา ๓ แหง พ.ร.ฎ. ยุบเลิกองคการฟอกหนัง พ.ศ. ๒๕๕๐ แลว การมอบอํานาจ

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๗๙

ในการพจิ ารณาใชม าตรการบังคับทางปกครองในหนวยงานผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงไมอยูในบังคับของ
ขอ ๓ ของกฎกระทรวง ฉบับที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๒) ออกตามความใน พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการ
ทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และเมื่อมาตรา ๖ แหง พ.ร.ฎ. ยุบเลิกองคการฟอกหนัง พ.ศ. ๒๕๕๐
กําหนดใหนําบทบัญญัติหมวด ๕ ลักษณะ ๒๒ ในบรรพ ๓ แหงประมวลกฎหมายพาณิชย
มาใชบังคบั แกอํานาจและหนา ที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ จึงมีอํานาจโดยท่ัวไปตามท่ี
ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยบัญญัติไว ท่ีจะมอบอํานาจใหผูถูกฟองคดีที่ ๒ ดําเนินการแทน
ได ซึ่งขอเท็จจรงิ กป็ รากฏวา ในการแจง การดําเนินการใชมาตรการบังคับทางปกครองกับผูฟองคดี
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดแจงใหผูฟองคดีทราบดวยวาผูถูกฟองคดีท่ี ๒ เปนผูไดรับมอบอํานาจชวงจาก
ผูถูกฟองคดีที่ ๓ รวมถึงการแจงขายทอดตลาดที่ดินซ่ึงผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดช้ีแจงตอศาลปกครอง
ชั้นตนในชั้นไตสวนเพ่ือมีคําสั่งกําหนดมาตรการบรรเทาทุกขชั่วคราวกอนการพิพากษาวา
ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดดําเนินการไปตามมติท่ีประชุมของผูถูกฟองคดีที่ ๓ เมื่อวันท่ี ๒๗ เมษายน
๒๕๕๕ ผถู ูกฟอ งคดที ่ี ๒ จึงมอี ํานาจดาํ เนินการใชมาตรการบังคับทางปกครองกับผูฟองคดีในกรณี
น้ีได คดีมีปญหาที่ตองวินิจฉัยตอไปวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดใชมาตรการบังคับทางปกครองกับ
ผูฟองคดีพอสมควรแกเ หตหุ รอื ไม เหน็ วา การทผี่ ูถ ูกฟองคดีท่ี ๑ จะใชม าตรการบงั คับทางปกครอง
เพื่อบังคับใหเปนไปตามคําสั่งท่ีเรียกใหชดใชเงิน โดยการยึดหรืออายัดทรัพยขายทอดตลาดนั้น
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จะตองยึดทรัพยของผูตองชดใชแตเพียงพอกับหนี้ท่ีตองชําระพรอมทั้ง
คาธรรมเนียม คาใชจายในการยึดทรัพยสินและขายทอดตลาดแลว ท้ังน้ีตามมาตรา ๒๘๔
แหงประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพงซึ่งนํามาใชบังคับโดยอนุโลมดวย เม่ือปรากฏวา
ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดตรวจสอบทรัพยสินของผูฟองคดีพบวาผูฟองคดีเปนเจาของกรรมสิทธ์ิรวม
ในท่ีดินโฉนดท่ีดินเลขที่ ๒๑๕๑๖๓ แขวงอนุสาวรีย เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร เน้ือที่
๒๙๑.๖ ตารางวา พรอมส่ิงปลูกสรางบนที่ดินดังกลาว ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงไดมีหนังสือลงวันที่
๑๙ กรกฎาคม ๒๕๕๔ แจงใหผูถูกฟองคดีท่ี ๔ อายัดที่ดินโฉนดท่ีดินเลขที่ ๒๑๕๑๖๓
ของผูฟองคดีกับพวก โดยปรากฏวา ผูถูกฟองคดีที่ ๔ ไดมีหนังสือรับรองวาที่ดินโฉนดที่ดินเลขที่
๒๑๕๑๖๓ (กอนแบงแยก เดิมเปนโฉนดท่ีดินเลขท่ี ๑๕๕๙๖๑) มีราคาประเมินตารางวาละ
๒๕,๐๐๐ บาท ที่ดินเนื้อที่ ๒๙๑.๖ ตารางวา ราคาประเมินที่ดินทั้งแปลงรวม ๗,๒๙๐,๐๐๐ บาท
ซึ่งราคาดังกลาวไมรวมสิ่งปลูกสราง เมื่อพิจารณาประกอบกับสัญญากูเงินซ่ึงผูฟองคดีกับนาง อ.
ไดนําที่ดินโฉนดท่ีดินเลขที่ ๑๕๕๙๖๑ เนื้อที่ ๑ ไร ๓ งาน ๓๙๔ ตารางวา พรอมส่ิงปลูกสรางเปน
ประกันเงินกูกับธนาคารอาคารสงเคราะหในวงเงิน ๙,๕๗๖,๐๐๐ บาท เม่ือวันท่ี ๒๘ พฤศจิกายน
๒๕๓๘ และตอมาไดมีการแบงแยกเปนโฉนดท่ีดินเลขท่ี ๒๑๕๑๖๓ เน้ือท่ี ๒๙๑.๖ ตารางวา
ซ่ึงเปนที่ดินพรอมส่ิงปลูกสรางบนท่ีดินที่ถูกยึดในคดีน้ี ราคาประมาณของทรัพยสินที่ถูกยึด
จึงนาจะมีราคาไมตํ่ากวาราคาประเมินที่ดิน ๗,๒๙๐,๐๐๐ บาท แตโดยที่ท่ีดินพรอมส่ิงปลูกสราง
ดังกลาวเปนกรรมสิทธิ์รวมระหวางผูฟองคดีกับนาง อ. หากนําออกขายทอดตลาด ยอมเปนสวน
ของผูฟองคดีเพียงกึ่งหน่ึง เม่ือปรากฏวาผูฟองคดีตองชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑
ตามท่ีไดมีหนังสือลงวันที่ ๒ กันยายน ๒๕๔๘ แจงผูฟองคดีจํานวน ๓,๑๙๐,๙๕๓.๕๐ บาท การที่

แนวคาํ วนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๐

ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ซึ่งไดรับมอบอํานาจจากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดแจงอายัดท่ีดินพรอมส่ิงปลูกสรางท่ี
ผูฟองคดีเปนเจาของกรรมสิทธิ์รวมเพื่อขายทอดตลาดชําระหนี้ใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงเพียงพอ
กับหน้ีที่ตองชําระ พรอมท้ังคาธรรมเนียม คาใชจายในการยึดทรัพยสินและขายทอดตลาดแลว
ท้ังไมปรากฏวาผูฟองคดีมีทรัพยสินอยางอื่นท่ีจะสามารถบังคับชําระหน้ีได จึงเห็นไดวา ผูถูกฟอง
คดีท่ี ๑ และท่ี ๓ ใชมาตรการบังคับทางปกครองโดยการยึดและอายัดท่ีดินโฉนดที่ดินเลขที่
๒๑๕๑๖๓ พรอมส่ิงปลูกสรางบนท่ีดินดังกลาวโดยชอบดวยกฎหมายแลว ท่ีศาลปกครองชั้นตน
พิพากษายกฟอ ง นนั้ ศาลปกครองสงู สดุ เห็นพองดว ย

พิพากษายืน

ฟองขอใหชดใชคาเสียหายกรณีน้ําทว มทนี่ าของราษฎร
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ท่ี อ.๔๓/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนเจาของท่ีดินตามโฉนดที่ดินเลขที่ ๑๓๖๘๔
ตําบลหวยลึก อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา ประกอบอาชีพทํานาในที่ดินแปลงดังกลาว
ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ (สํานักชลประทานที่ ๑๖) โดยความ
เห็นชอบของผถู ูกฟองคดที ี่ ๑ (กรมชลประทาน) ไดกอสรา งคลองสงน้ําในโครงการระบบสงนํ้าสายใหญ
ฝงซายสายที่ ๒ โดยปลายคลองสงน้ําสิ้นสุดบริเวณพ้ืนท่ีท่ีผูฟองคดีและราษฎรอ่ืนใชทํานา เปนเหตุให
เมื่อนํ้าหลากในฤดูฝน ปริมาณน้ําจํานวนมากที่ไหลมาจากเทือกเขาบรรทัดซึ่งโดยปกติจะไหล
กระจายไปทวั่ ทุกพ้นื ท่ี กลับไหลลงคลองสงนํ้าดงั กลาวและเออ ทวมบริเวณพื้นที่ทํานาของผูฟองคดี
และราษฎรอ่ืน ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๑๗ ตอเน่ืองถึงปจจุบัน ผูฟองคดีและราษฎรอ่ืนไดรองขอให
ผูถูกฟองคดีทั้งสองแกไขปญหาน้ําทวมโดยการกอสรางคลองสงน้ําเพิ่มเติมตอจากปลายคลองสงน้ําเดิม
ไปจรดทะเลสาบสงขลา เพ่ือใหนํ้าไหลลงสูทะเลสาบสงขลา แตผูถูกฟองคดีท้ังสองไมดําเนินการ
ผูฟองคดีเห็นวาผูถูกฟองคดีท้ังสองกอสรางคลองสงนํ้าโดยปลายคลองสงนํ้าสิ้นสุดบริเวณพื้นท่ี
ทํานาของผูฟองคดีและเพิกเฉยไมกอสรางคลองสงน้ําเพิ่มเติม เปนเหตุใหนํ้าทวมและผูฟองคดี
ไมสามารถทํานาได ผูถูกฟองคดีทั้งสองจึงตองรับผิดชดใชคาเสียหายอันเน่ืองมาจากการกระทํา
ดังกลาว จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีท้ังสองรวมกันชดใช
คาเสียหายใหแกผูฟองคดีเปนคาขาดรายไดจากการทํานา ปละ ๓๘,๐๐๐ บาท ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๑๗
จนถึงวนั ฟอ งรวม ๓๘ ป รวมเปนเงิน ๑,๔๔๔,๐๐๐ บาท พรอ มดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป
ของตน เงนิ ดังกลาวนับแตว นั ถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ เห็นวา เม่ือขอเท็จจริง
ปรากฏวา คลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ มิใชคลองที่รับนํ้าจากเทือกเขาบรรทัดโดยตรง
และยังเปนคลองสงน้ําขนาดเล็กรูปส่ีเหล่ียมคางหมู กนคลองกวาง ๐.๕๐ เมตร ลึก ๐.๖๐ เมตร
ปลายคลองมีอาคารควบคุมบังคับน้ําขนาดเสนผาศูนยกลาง ๐.๖๐ เมตร พรอมติดตั้งบานระบายน้ํา
ควบคุมการเปดปด จึงไมสามารถรับน้ําในปริมาณมากได โดยการท่ีคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย
สายที่ ๒ มีระดับท่ีสูงกวาคลองรัตภูมิซึ่งเปนคลองธรรมชาติ ดังน้ัน ปริมาณนํ้าในฤดูฝนท่ีมี

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๑

น้าํ หลากหากจะไหลเขา สูคลองสงนา้ํ สายใหญฝ ง ซาย สายที่ ๒ ยอมตอ งเปน น้ําสวนที่เออลนมาจาก
นํ้าในคลองธรรมชาติในบริเวณใกลเคียง ประกอบกับในฤดูฝนน้ําท่ีไหลมาจากเทือกเขาบรรทัดท่ีมี
ความชัน +๓๐.๐๐๐ จากระดับนํ้าทะเลปานกลางไหลลงสูทะเลสาบสงขลาผานท่ีนาของผูฟองคดี
ที่มีความชัน +๑.๐๐๐ จากระดับนํ้าทะเลปานกลางซึ่งยอมไหลมาตามคลองธรรมชาติโดยเฉพาะ
คลองรัตภูมิดังกลาว กรณีจึงเห็นไดวาปริมาณนํ้าที่ไหลเขาคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายที่ ๒
ในฤดูฝน ยอมไมมีปริมาณมากพอที่จะเปนสาเหตุโดยตรงท่ีทําใหเกิดนํ้าทวมขังที่ดินของผูฟองคดี
จนเปนเหตุใหผูฟองคดีไดรับความเสียหายโดยไมอาจทํานาในที่ดินของตนได นอกจากน้ี
เมื่อพิจารณาสภาพท่ีต้ังท่ีดินของผูฟองคดีซ่ึงเปนท่ีลุมตํ่า ยอมรับน้ํามาจากพื้นที่ราบสูงอ่ืนดวย
แมจะมีคลองธรรมชาติไวระบายนํ้าหลายสายก็ตาม แตในขณะเกิดเหตุพิพาทคลองธรรมชาติ
ท่ีชวยระบายน้ําสูทะเลสาบสงขลามีสภาพตื้นเขินและมีตนไมปกคลุม ยอมมีผลใหการระบายนํ้า
ลงสูทะเลสาบสงขลาไมไดผลดีเทาที่ควร และสงผลใหท่ีดินของผูฟองคดีซึ่งอยูบริเวณที่ลุมต่ํา
เกิดนํ้าเออทวมเปนบริเวณกวางได ดังน้ัน กรณีจึงไมอาจถือไดวาเหตุที่นํ้าทวมที่ดินของผูฟองคดี
เกิดจากการกอสรางคลองสงนํ้าในโครงการระบบสงน้ําสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ แตเกิดข้ึน
ตามธรรมชาตแิ ละตามสภาพภมู ิประเทศ การที่ผถู กู ฟองคดที ่ี ๒ โดยความเห็นชอบของผูถกู ฟอ งคดีที่ ๑
กอสรางคลองสงนํา้ ในโครงการระบบสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ ส้ินสุดบริเวณพื้นท่ีที่ผูฟองคดี
ใชประกอบอาชีพทํานา จึงไมเปนการกระทําละเมิดจากการใชอํานาจตอผูฟองคดี ตามมาตรา ๔๒๐
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และเม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา ผูถูกฟองคดีทั้งสอง
ไดรับทราบปญหานํ้าทวมและไดดําเนินการตามอํานาจหนาที่ในการแกไขปญหานํ้าทวมบริเวณ
ดังกลาวโดยการขดุ ลอกคลองธรรมชาติใหแลว สว นการกอสรา งคลองสง น้ําเพม่ิ เตมิ จากคลองสงน้ํา
สายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ ความยาวประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร ไปสิ้นสุดจรดทะเลสาบสงขลาเพื่อให
นํ้าไหลลงทะเลสาบสงขลา อันเปนแนวทางแกไขปญหาน้ําทวมอีกสวนหน่ึงน้ัน ผูถูกฟองคดีที่ ๑
ไดอนุมัติในหลักการใหมีการกอสรางคลองสงนํ้าดังกลาวแลว แตมีปญหาในการจัดซื้อท่ีดิน
เพื่อกอสรางคลองสงนํ้าเพิ่มเติม เน่ืองจากราษฎรเจาของท่ีดินไดเสนอใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑
จัดซ้ือท่ีดินในราคาสูงกวาราคาประเมินของกรมที่ดินมาก ทําใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมสามารถจัดซ้ือได
ดังน้ัน การกอสรางคลองสงน้ําดังกลาวผูถูกฟองคดีท้ังสองจึงยังไมอาจเขาดําเนินการสํารวจ
และออกแบบใดๆ ได กรณีจึงเห็นไดวาผูถูกฟองคดีท้ังสองไดปฏิบัติหนาท่ีในการปองกันนํ้าทวม
โดยความพยายามท่ีจะกอสรางคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ เพิ่มเติม แตมีปญหาอุปสรรค
เร่ืองการจัดซื้อที่ดินซ่ึงเปนปญหาเก่ียวกับงบประมาณและประสิทธิภาพในการใชจายเงินของรัฐ
กรณีจึงไมอาจถือไดวาผูถูกฟองคดีทั้งสองกระทําละเมิดจากการละเลยตอหนาที่ตามท่ีกฎหมาย
กําหนดใหตองปฏิบัติในการกอสรางคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ แตอยางใด และเม่ือ
วินิจฉัยแลววาผูถูกฟองคดีทั้งสองไมไดกระทําละเมิด ดังน้ัน ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงไมตองรับผิด
ชดใชคาเสยี หายตามฟองใหแกผูฟองคดี ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษายกฟอง น้ัน ศาลปกครอง
สงู สุดเหน็ พอ งดว ย

พิพากษายืน
แนวคําวนิ ิจฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๒

คาํ พิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๔๖๗/๒๕๖๓
ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนผูครอบครองที่ดินตามหลักฐานแบบแจง

การครอบครองท่ีดิน (ส.ค.๑) เลขที่ ๒๔๔/๒๔๙๘ ตําบลหวยลึก อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา
เน้ือที่ ๕ ไร และประกอบอาชีพทํานาในที่ดินแปลงดังกลาว ตอมาในป พ.ศ. ๒๕๑๗ ผูถูกฟองคดีที่ ๒
(สํานักชลประทานท่ี ๑๖) ไดกอสรางคลองคอนกรีตสงน้ําในโครงการระบบสงนํ้าสายใหญฝงซาย
สายท่ี ๒ ลักษณะเปนคลองดาดคอนกรีตส่ีเหล่ียมคางหมูกนคลองมีความกวาง ๐.๕๐ เมตร ความลึก
๐.๖๐ เมตร ปลายคลองคอนกรีตสงน้ําสิ้นสุดบริเวณพื้นท่ีท่ีผูฟองคดีใชทํานา เปนเหตุใหน้ําหลากในฤดูฝน
ไหลลงคลองสงน้ําดังกลาวและเออทวมบริเวณพื้นท่ีทํานาของผูฟองคดี ผูฟองคดีไดรองขอให
ผูถูกฟองคดีท้ังสอง (กรมชลประทาน ท่ี ๑) แกไขปญหาน้ําทวม โดยขอใหกอสรางคลองคอนกรีตสงน้ํา
เพิ่มเตมิ ตอ จากปลายคลองสง นํ้าเดิมไปสนิ้ สุดจดทะเลสาบสงขลา เพื่อใหน ํา้ ไหลลงสูทะเลสาบสงขลา
แตผูถ กู ฟอ งคดที ้ังสองไมดาํ เนนิ การ เปนเหตใุ หน าํ้ ทว มพ้นื ทีท่ ํานาทุกป ต้งั แตป พ.ศ. ๒๕๑๗ จนถึง
ปจ จบุ นั ผถู กู ฟองคดที ้งั สองจงึ ตอ งรับผิดชดใชคาเสียหายอันเนื่องมาจากการกระทําดังกลาวท่ีเปน
เหตุใหผูฟองคดีขาดรายไดจากการทํานาในแตละปเปนเงินจํานวนไรละ ๙,๕๐๐ บาท
โดยผูฟองคดีคิดคาเสียหายเปนคาขาดรายไดจากการทํานา ปละ ๔๗,๕๐๐ บาท ต้ังแตป
พ.ศ. ๒๕๑๗ จนถึงวันฟอง รวม ๓๘ ป เปนเงินจํานวน ๑,๘๐๕,๐๐๐ บาท ผูฟองคดีจึงนําคดีมาฟอง
ขอใหศ าลมีคาํ พิพากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีท้ังสองรวมกันชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดีเปนเงิน
จํานวน ๑,๘๐๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาว
นบั แตว ันถัดจากวันฟอ งเปน ตน ไปจนกวาจะชําระเสรจ็

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา แมขอเท็จจริงจะรับฟงไดวาพื้นที่นาของผูฟองคดี
เปนเขตประกาศภยั พบิ ตั กิ ็ตาม แตคลองสง นํ้าสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ ก็มิใชคลองที่รับน้ําจากเทือกเขา
บรรทัดโดยตรง อีกทง้ั คลองสงนา้ํ ดังกลา วเปน คลองสง นา้ํ ขนาดเล็กจึงไมสามารถรบั นํ้าในปริมาณมากได
นอกจากนี้ การท่ีคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ มีระดับที่สูงกวาคลองรัตภูมิซ่ึงเปน
คลองธรรมชาติ ดังนี้ ปริมาณนํ้าในฤดูฝนที่มีนํ้าหลากหากจะไหลเขาสูคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒
ยอมตองเปนนํ้าสวนท่ีลนมาจากน้ําในคลองธรรมชาติในบริเวณใกลเคียง ประกอบกับขอเท็จจริง
ฟงไดวาในฤดูฝนนํ้าที่ไหลมาจากเทือกเขาบรรทัดท่ีมีความชัน + ๓๐.๐๐๐ เมตร จากระดับทะเล
ปานกลางไหลลงสูทะเลสาบสงขลาผานท่ีนาของผูฟองคดีท่ีมีความชัน + ๑.๐๐๐ เมตร จากระดับ
ทะเลปานกลางซึ่งยอมไหลมาตามคลองธรรมชาติโดยเฉพาะคลองรัตภูมิดังกลาว กรณีจึงเห็นไดวา
ปริมาณน้ําท่ีไหลเขาคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ ในฤดูฝน น้ัน ยอมมีปริมาณไมมาก
พอที่จะเปนสาเหตุโดยตรงท่ีทําใหเกิดน้ําทวมขังที่ดินของผูฟองคดีจนเปนเหตุใหผูฟองคดีไดรับ
ความเสยี หายโดยไมอาจทํานาในท่ีดินของตนได นอกจากน้ี เมื่อพิจารณาสภาพท่ีตั้งท่ีดินของผูฟองคดี
ซง่ึ เปนทีล่ ุมตํ่า ยอ มรับนํ้ามาจากพืน้ ที่ราบสูงอืน่ ดวย แมจะมคี ลองธรรมชาติไวร ะบายน้ําหลายสายก็ตาม
แตขอเท็จจริงรับฟงไดวาในขณะเกิดเหตุพิพาท คลองปาลาม คลองเขตคลองนุย และคลองพรุ
ซ่ึงเปนคลองธรรมชาติที่ชวยระบายน้ําสูทะเลสาบสงขลามีสภาพตื้นเขินและมีตนไมปกคลุม
ยอมมีผลใหการระบายนํ้าลงสูทะเลสาบสงขลาไมไดผลดีเทาที่ควรและสงผลใหที่ดินของผูฟองคดี

แนวคาํ วนิ จิ ฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๓
ซ่ึงอยูบริเวณที่ลุมตํ่าเกิดน้ําทวมเปนบริเวณกวางไดดังน้ัน กรณีจึงไมอาจถือไดวาเหตุท่ีน้ําทวมท่ีดิน
ของผูฟองคดีเกิดจากการกอสรางคลองสงนํ้าในโครงการระบบสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒
แตเกิดขึ้นตามธรรมชาติและตามสภาพภูมิประเทศ การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๒ กอสรางคลองสงน้ํา
ในโครงการระบบสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ สิ้นสุดบริเวณพ้ืนที่ที่ผูฟองคดีใชประกอบอาชีพทํานา
จึงไมเ ปน การกระทําละเมดิ จากการใชอาํ นาจตอผูฟองคดี ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย เม่ือผูถูกฟองคดีทั้งสองมีหนาท่ีดําเนินการเก่ียวกับการปองกันความเสียหาย
อันเกิดจากนํ้า ตามมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ.การชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ ซ่ึงแกไข
เพ่ิมเติม (ฉบับที่ ๕) พ.ศ. ๒๕๑๘ และขอ ๒ ของกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมชลประทาน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๔ การท่ีผูถูกฟองคดีท้ังสองไดดําเนินการตามอํานาจ
หนาที่ในการแกไขปญหานํ้าทวมบริเวณดังกลาวโดยการขุดลอกคลองธรรมชาติ จํานวน ๔ สาย
อันไดแก คลองปาลาม คลองเขต คลองนุย และคลองพรุ ใหแลว สวนการกอสรางคลองสงนํ้า
เพิ่มเติมจากคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ ความยาวประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร ไปสิ้นสุด
จรดทะเลสาบสงขลาเพ่ือใหน้ําไหลลงทะเลสาบสงขลา อันเปนแนวทางแกไขปญหานํ้าทวม
อีกสวนหน่ึงน้ัน ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดอนุมัติในหลักการใหมีการกอสรางคลองสงน้ําดังกลาวเม่ือวันที่
๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ตอมามีการประชุมเพื่อจัดซื้อที่ดินเพ่ือกอสรางคลองสงน้ําเพิ่มเติม โดยท่ีดิน
บริเวณดงั กลา วมีราคาประเมินไรละ ๓๐,๐๐๐ บาท ถึง ๕๐,๐๐๐ บาท แตราษฎรเจาของที่ดินยืนยัน
ราคาขายไรละ ๘๐๐,๐๐๐ บาท และตอมาเสนอขายในราคาที่ลดลงคงเหลือไรละ ๕๐๐,๐๐๐ บาท
ซึ่งยังคงสูงกวาราคาประเมินของกรมที่ดินมาก ทําใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมสามารถจัดซื้อได ดังน้ัน
การกอสรางคลองสงน้ําดังกลาวผูถูกฟองคดีทั้งสองจึงยังไมอาจเขาดําเนินการสํารวจและออกแบบใดๆ ได
กรณีจึงเห็นไดวา ผูถูกฟองคดีทั้งสองไดปฏิบัติหนาที่ในการปองกันนํ้าทวมโดยความพยายามที่จะ
กอสรางคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ เพ่ิมเติม แตมีปญหาอุปสรรคเรื่องการจัดซ้ือที่ดิน
ซึ่งเปนปญหาเก่ียวกับงบประมาณและประสิทธิภาพในการใชจายเงินของรัฐ กรณีจึงไมอาจถือไดวา
ผถู ูกฟอ งคดีทง้ั สองกระทําละเมิดจากการละเลยตอหนาที่ตามท่ีกฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติในการ
กอสรางคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ แตอยางใด และเมื่อวินิจฉัยแลววาผูถูกฟองคดีท้ังสองไมได
กระทําละเมิด ดังนั้น ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามฟองใหแกผูฟองคดี
ที่ศาลปกครองชน้ั ตน พพิ ากษายกฟอง น้ัน ศาลปกครองสงู สุดเห็นพองดวย

พพิ ากษายืน
ฟองขอใหเพิกถอนคําส่ังใหชดใชเงิน กรณีดําเนินโครงการเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อยกระดับ
ชุมชนโดยไมชอบดวยกฎหมาย
คาํ พิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ.๙๑/๒๕๖๓ อางแลวในประเดน็ เง่อื นไขการฟองคดี หนา ๑๓๐

แนวคําวนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๔

ฟองขอใหกรมชลประทานชดใชคาสินไหมทดแทนจากการละเลยไมตรวจสอบและซอมบํารุง
เคร่ืองสบู นํา้ สง ผลใหข าวแหง ตาย
คําพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๙๔/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนเกษตรกรท่ีมีพื้นที่ทํานาในเขตชลประทานท่ีอยูใน
ความรับผิดชอบของสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา P.๖/๑ บานเวินชัย ตําบลผือฮี อําเภอมหาชนะชัย จังหวัด
ยโสธร จํานวน ๒ แปลง ตามหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) เลขท่ี ๑๔๔ ตําบลผือฮี
อาํ เภอมหาชนะชยั จังหวดั ยโสธร เน้ือท่ี ๗ ไร ๑ งาน ๙๐ ตารางวา ซึ่งภรรยาของผูฟองคดีเปนผูมีสิทธิ
ครอบครอง และตามโฉนดที่ดินเลขท่ี ๒๗๕๒๘ ตําบลคูเมือง อําเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร เนื้อที่
๑๐ ไร ๓ งาน ๗๐ ตารางวา ซ่ึงเปนกรรมสิทธ์ิของผูฟองคดี ผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนเสียหาย
จากโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาพัฒนาลุมน้ําชีตอนลางและเซบายตอนลาง ซึ่งเปนหนวยงาน
ในสังกัดของผูถูกฟองคดีท้ังสอง (สํานักชลประทานที่ ๗ ที่ ๑, กรมชลประทาน ที่ ๒) โดยโครงการ
ดังกลาวมีหนาท่ีสงน้ําหรือกระจายนํ้าของสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา P.๖/๑ โดยในฤดูทํานาปรัง
ป ๒๕๕๔/๒๕๕๕ หลังจากท่ีผูฟองคดีไดปลูกขาวพรอมใสปุยจนขาวต้ังทองแลว ประมาณเดือน
ธันวาคม ๒๕๕๔ เคร่ืองสูบน้ําของสถานีสูบน้ํา P.๖/๑ ไดเกิดชํารุดทั้งหมด สงผลใหขาวนาปรังของ
ผูฟองคดีจํานวน ๑๘ ไร แหงตายในระหวางเดือนกุมภาพันธถึงเดือนมีนาคม ๒๕๕๕ ตอมา จังหวัด
ยโสธรไดจายเงินชวยเหลือเกษตรกรผูประสบภัยแลงใหผูฟองคดี ในอัตราไรละ ๖๐๖ บาท ผูฟองคดี
เห็นวา ความเสียหายขางตนเกิดจากความบกพรองของเจาหนาท่ีในหนวยงานของผูถูกฟองคดีที่ ๑
ที่ละเลยไมตรวจสอบและซอมบํารุงเคร่ืองสูบน้ํา จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังให
ผูถูกฟองคดีท้ังสองชดใชคาเสียหายจากการกระทําละเมิดแกผูฟองคดีในอัตราไรละ ๑๕,๐๐๐ บาท
จาํ นวน ๑๘ ไร เปน เงนิ ทง้ั ส้นิ ๒๗๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบีย้ อัตรารอ ยละ ๗.๕ ตอป

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มีอํานาจหนาที่ในการดําเนินการ
จัดใหไ ดมาซึง่ นํ้า หรือกัก เก็บ รักษา ควบคุม สง ระบายหรือจัดสรรนํ้าเพื่อการเกษตร โดยมีหนวยงาน
ที่รับผิดชอบในระดับพ้ืนท่ีในกรณีน้ีคือ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยมีโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาพัฒนา
ลุมนํ้าชีตอนลางและเซบายตอนลางเปนผูบริหารจัดการน้ําในพ้ืนท่ีเขตชลประทานท่ีอยูใน
ความรับผิดชอบ ซ่ึงรวมถึงสถานีสูบน้ําดวย ในขณะเดียวกันผูถูกฟองคดีที่ ๒ ก็มีอํานาจหนาที่ในการ
ดูแล บํารุงรักษา ซอมแซมและปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานที่เกี่ยวกับงานชลประทาน ซึ่งรวมถึง
การบํารุงรักษาเครื่องสูบนํ้าท่ีใชในกิจการชลประทาน เพื่อใหการบริหารจัดการน้ําในเขตชลประทาน
บรรลุผลตามบทกฎหมายดังกลาวดวย ซ่ึงหากมีการละเลยตอหนาที่ตามที่กฎหมายกําหนดใหตอง
ปฏิบัติดังกลาว จนทําใหเกิดความเสียหายตอเกษตรกรผูใชนํ้า ผูถูกฟองคดีที่ ๒ ก็ตองรับผิดจากการ
กระทําละเมิดอันเกิดจากการละเลยตอหนาที่ของเจาหนาท่ีของผูถูกฟองคดีที่ ๒ เม่ือปรากฏวา
โครงการสงนํ้าฯ ไดดําเนินการสงนํ้าและกระจายนํ้าจากสถานีสูบนํ้า P.๖/๑ ใหแกเกษตรกร
ในเขตชลประทานมาต้ังแตฤดูการผลิตขาวนาปรัง ป ๒๕๕๓/๒๕๕๔ และในระหวางฤดูการทํานาป
ในป พ.ศ. ๒๕๕๔ มฝี นทิง้ ชวง โครงการสงนํ้าฯ จึงดําเนินการสงน้ําและกระจายนํ้าใหเกษตรกรในพ้ืนที่

แนวคาํ วนิ ิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๕

ชลประทานของสถานีสูบนํ้า P.๖/๑ โดยใชเคร่ืองสูบน้ําทั้ง ๕ เคร่ือง สับเปล่ียนหมุนเวียนกันสูบนํ้า
ใหเกษตรกร เปนเหตุใหเครื่องสูบนํ้าเครื่องท่ี ๑ ชํารุดเสียหาย โดยเพลาขาดและทอดูดน้ําแตก
สวนเคร่ืองที่ ๒ ที่ ๓ ท่ี ๔ และที่ ๕ มีอาการสั่นขณะสูบน้ํา ตอมา วิศวกรระดับ ๗ กองบํารุงรักษา
โรงไฟฟา (กฟผ. เขือ่ นอุบลรตั น) เขาตรวจสอบแกไขเครือ่ งสบู น้าํ ระหวางวนั ที่ ๘ ถึงวันท่ี ๑๔ กรกฎาคม
๒๕๕๔ ปรากฏวา เคร่ืองสูบนํ้าเครื่องที่ ๒ ท่ี ๔ และที่ ๕ สามารถใชงานไดตามปกติ สวนเครื่องที่ ๑
ไมส ามารถเดนิ เครอ่ื งได เน่อื งจากมชี นิ้ สวนชาํ รุดเสยี หาย จาํ เปนตอ งถอดอุปกรณหลักของเคร่ืองสูบน้ํา
เพื่อตรวจสอบและวิเคราะหหาสาเหตุของความเสียหาย และวางแผนการซอมแซม จึงไดนําอุปกรณหลัก
ของเครื่องสบู นํา้ เคร่ืองท่ี ๑ ท่ีชํารุดเสียหายไปซอม ณ ที่ทําการ กฟผ. เขื่อนอุบลรัตน แตการซอมแซม
เคร่ืองสูบนํ้าเคร่ืองที่ ๑ จําตองใชระยะเวลาในการดําเนินการ ประกอบกับไมสามารถหาอะไหลได
จึงตองผลติ อุปกรณข นึ้ มาเองโดยเจาหนา ที่จาก กฟผ. เข่ือนอุบลรัตน จนกระท่ังการซอมแซมแลวเสร็จ
เมื่อประมาณเดือนกมุ ภาพนั ธ ๒๕๕๕ และใชเ วลาตดิ ตั้งอีกประมาณ ๑ สปั ดาห จึงเปน กรณีทีเ่ จา หนาท่ี
ของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดดูแล บํารุงรักษา และซอมแซมเคร่ืองสูบนํ้าเครื่องท่ี ๑ ตามอํานาจหนาท่ีแลว
สวนเครื่องสูบนํ้าเครื่องท่ี ๕ มีอาการสั่นอยางรุนแรงระหวางการสูบน้ําในฤดูการทํานาปในป
พ.ศ. ๒๕๕๔ จงึ ไดหยุดการใชง านเพอ่ื มิใหเ ครื่องสบู นํ้าไดร ับความเสยี หายมากข้ึน ซึ่งเปนไปตามคําแนะนํา
ของเจา หนา ท่จี าก กฟผ. เข่อื นอุบลรตั น และเจา หนา ที่ของ กฟผ. เขื่อนอุบลรัตน เขามาซอมแซมแกไข
เคร่อื งสูบนํ้าเคร่ืองท่ี ๕ ในชวงระหวางวันที่ ๘ ถึงวันท่ี ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๔ แลวพบวา เคร่ืองสูบน้ํา
เครื่องท่ี ๕ ยังสามารถใชงานไดตามปกติ เม่ือมีการใชงานเคร่ืองสูบน้ําเคร่ืองที่ ๕ ตอไปอีกระยะหนึ่ง
ปรากฏวา เครื่องมีอาการสั่นรุนแรงมากขึ้น จึงตองหยุดการใชงาน และไดแจงใหเจาหนาที่จาก กฟผ.
เขอ่ื นอบุ ลรตั น เขา มาดาํ เนนิ การตรวจสอบแกไขแลว จงึ เปนกรณีท่เี จาหนาท่ีของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มิได
ละเลยตอหนาท่ีในการดูแล บํารุงรักษาและซอมแซมเครื่องสูบนํ้าเครื่องที่ ๕ แตอยางใด ประกอบกับ
เจาหนาที่ประจําสถานีสูบนํ้ามีหนาที่เพียงเปดและปดเครื่องสูบนํ้าเทาน้ัน ไมมีความสามารถในการ
แกไขซอมแซมเครื่องสูบนํ้าได อีกท้ังเจาหนาท่ีจาก กฟผ. เข่ือนอุบลรัตน ยังไมทราบวาอาการสั่นของ
เครื่องสูบน้ําเคร่ืองท่ี ๕ เกิดจากการท่ีมีทรายทับถมทอดูดนํ้าและใบพัดเครื่องสูบนํ้า จนกระท่ัง
เคร่ืองสูบน้ําเครื่องที่ ๒ เคร่ืองที่ ๓ และเคร่ืองที่ ๔ ชํารุดเสียหาย โครงการสงน้ําฯ จึงไดประสานกับ
เจาหนาท่ีจาก กฟผ. เข่ือนอุบลรัตน ใหเขาตรวจสอบแกไขเครื่องสูบนํ้าที่ชํารุดเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม
๒๕๕๕ และไดใหน กั ประดานํ้าลงไปตรวจสอบใตน้ํา พบวามีทรายทับถมใบพัดเครื่องสูบนํ้าอยูจํานวนมาก
จึงไดดําเนินการแกไขโดยดูดทรายออกไปกลางแมนํ้า ใชเวลาดูดทรายประมาณ ๑๕ วัน จึงทําให
เครื่องสูบนํ้าเคร่ืองที่ ๕ สามารถสูบน้ําไดเมื่อวันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ ขออางของผูฟองคดีที่วา
เจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ละเลยตอหนาที่ไมดําเนินการซอมแซมเคร่ืองสูบนํ้าเคร่ืองที่ ๑ และ
เคร่ืองที่ ๕ ใหอยูในสภาพพรอมใชงานกอนฤดูการทํานาปรัง ป ๒๕๕๔/๒๕๕๕ จึงไมอาจรับฟงได
สําหรบั เครอ่ื งสูบน้าํ เคร่ืองที่ ๒ ที่ ๓ และที่ ๔ นั้น หลังจากที่สถานีสูบนํ้า P.๖/๑ เร่ิมสูบนํ้าเขาคลองสงน้ํา
ตง้ั แตวันท่ี ๘ ธนั วาคม ๒๕๕๔ จนถึงวันท่ี ๘ มกราคม ๒๕๕๕ เครื่องสูบนํ้าเคร่ืองท่ี ๔ มีอาการสั่นมาก
จนไมสามารถสูบน้ําตอไปได เม่ือวันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๕ เครื่องสูบน้ําเครื่องที่ ๓ ก็มีอาการสั่น
จนไมสามารถสูบนํ้าได และเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๕๕ เคร่ืองสูบน้ําเคร่ืองที่ ๒ ก็มีอาการส่ัน

แนวคําวินิจฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๖

เชนเดียวกันจนไมอาจสูบน้ําได สถานีสูบน้ํา P.๖/๑ จึงไมสามารถสูบนํ้าใหเกษตรกรไดต้ังแตวันท่ี ๒๐
มกราคม ๒๕๕๕ เปนตนไป โดยเมื่อวันที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๕ เจาหนาท่ีจาก กฟผ. เข่ือนอุบลรัตน
ไดเขาไปเพ่ือดําเนินการตรวจสอบและแกไข โดยไดใหนักประดาน้ําลงไปตรวจสอบใตนํ้า จึงพบวา
มีทรายทับถมใบพัดเครื่องสูบนํ้าจํานวนมาก โดยเฉพาะเครื่องสูบนํ้าเครื่องท่ี ๑ ท่ี ๒ และที่ ๓
สว นเครอ่ื งสบู นํ้าเคร่ืองที่ ๔ และท่ี ๕ กม็ ีทรายทับถมใบพัดอยเู ชน กัน ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงไดจาง กฟผ.
เขื่อนอุบลรัตน ทําการดูดทรายออกไป โดยใชเวลาดําเนินการประมาณ ๑๕ วัน เม่ือดูดเอาทราย
ออกไปแลว เครอ่ื งสูบน้ําจงึ สามารถสบู นา้ํ ตอ ไปได โดยเครอื่ งสูบนา้ํ เครือ่ งที่ ๒ สามารถสูบนํ้าไดเม่ือวันท่ี
๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ เครื่องท่ี ๕ สามารถสูบน้ําไดเม่ือวันท่ี ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๕๕ และเครื่องที่ ๓
สามารถสูบน้ําไดเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๕๕ โดยมีการสูบน้ําสับเปลี่ยนหมุนเวียนกันตลอด
เดือนมนี าคม ๒๕๕๕ และไดหยดุ สบู นํา้ เมอื่ เดอื นเมษายน ๒๕๕๕ เนื่องจากสิ้นสดุ ฤดูการทํานาปรังแลว
ประกอบกับ ขณะท่ผี ูถกู ฟอ งคดีที่ ๒ รับโอนสถานสี ูบนํา้ P.๖/๑ มาจากกรมพัฒนาและสงเสรมิ พลังงาน
ตาม พ.ร.ฎ. โอนกิจการบริหารและอํานาจหนาท่ีของสวนราชการใหเปนไปตาม พ.ร.บ. ปรับปรุง
กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ แกไขเพม่ิ เติมโดย พ.ร.ฎ. โอนกิจการบริหารและอํานาจ
หนาที่ของสวนราชการใหเปนไปตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๕๐ ไมปรากฏขอเท็จจริงวา กรมพัฒนาและสงเสริมพลังงานไดแจงใหผูถูกฟองคดีท่ี ๒
ทราบวามีหรือเคยมีทรายมาทับถมทอดูดน้ําและใบพัดเครื่องสูบน้ํา และเม่ือเคร่ืองสูบน้ําท้ัง ๕ เครื่อง
ชาํ รดุ เสยี หาย เจา หนา ทีข่ องผถู กู ฟอ งคดีที่ ๒ ก็ไดประสานแจงให กฟผ. เข่ือนอุบลรัตน เขาดําเนินการ
ตรวจสอบซอมแซมโดยทันที จึงรับฟงไมไดวา การท่ีเครื่องสูบนํ้าของสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา P.๖/๑
ซ่ึงอยใู นความรบั ผิดชอบของผถู ูกฟอ งคดีที่ ๒ ชํารุดเสียหายไมสามารถสูบน้ําเพื่อสงน้ําและกระจายนํ้า
ใหแกผูฟองคดีเพ่ือทํานาปรังตลอดฤดูการผลิตป ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ทําใหขาวนาปรังของผูฟองคดี
แหงตาย เกิดจากเจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไมดูแล บํารุงรักษา และซอมแซมเครื่องสูบน้ํา
ใหอยูในสภาพพรอมใชงานตามหนาท่ีท่ีกําหนดไวในขอ ๒ และขอ ๑๔ ของกฎกระทรวงแบงสวน
ราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกอบคําส่ังกรมชลประทาน
ที่ ๑๐๓/๒๕๕๑ เร่ือง การกําหนดโครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาเพ่ิมใหม ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม
๒๕๕๑ เม่ือเจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มิไดละเลยตอหนาท่ีตามที่กฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ
เจาหนาท่ีของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงไมไดกระทําละเมิดตอผูฟองคดีตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดี
ตามมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ประกอบกับ
เกษตรกรไดปลูกขาวนาปรังในเขตพื้นท่ีชลประทานของสถานีสูบนํ้า P.๖/๑ เกินกวาพื้นท่ีท่ีกําหนดไว
ตามแผนบริหารจัดการนํ้าและแผนเพาะปลูกพืชฤดูแลง (นาปรัง) จึงเปนเหตุใหมีพื้นท่ีรับน้ํา
เพิ่มมากกวา ๑๕,๐๐๐ ไร เครื่องสูบน้ําจํานวน ๓ เคร่ืองท่ีมีอยู คือ เคร่ืองท่ี ๒ ที่ ๓ และท่ี ๔
จึงรับภาระในการสูบนํ้ามากกวาพื้นที่ท่ีกําหนดไว ที่ศาลปกครองชั้นตนพิพากษายกฟอง น้ัน
ศาลปกครองสูงสุดเห็นพอ งดวย

พพิ ากษายนื
แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๗

คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๙๖/๒๕๖๓
ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนเกษตรกรที่มีพ้ืนที่ทํานาในเขตชลประทานท่ีอยูใน

ความรับผิดชอบของสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา P.๖/๑ บานเวินชัย ตําบลผือฮี อําเภอมหาชนะชัย
จังหวดั ยโสธร จาํ นวน ๓ แปลง ตามโฉนดที่ดินเลขท่ี ๒๕๖๗๓ เนื้อที่ ๒๙ ไร ๒ งาน ๑๐ ตารางวา
โฉนดที่ดินเลขท่ี ๕๒๐๙๑ เน้ือท่ี ๘ ไร ๒ งาน ๘๕ ๒/๑๐ ตารางวา และที่ดินตามหนังสือรับรอง
การทําประโยชนในท่ีดินที่ไมมีเอกสารสิทธิ เนื้อท่ี ๑๒ ไร ไดรับความเดือดรอนเสียหายจาก
โครงการสงนํ้าและบํารุงรักษาพัฒนาลุมนํ้าชีตอนลางและเซบายตอนลาง ซึ่งเปนหนวยงาน
ในสังกดั ของผูถ ูกฟองคดีทงั้ สอง (สาํ นักชลประทานท่ี ๗ ที่ ๑ กรมชลประทาน ท่ี ๒) โดยโครงการ
ดังกลาวมีหนาท่ีสงน้ําหรือกระจายน้ําของสถานีสูบนํ้าดวยไฟฟา P.๖/๑ ตามสัญญาในการสูบนํ้า
เพ่ือการเกษตร ลงวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ กลาวคือ ในฤดูทํานาปรัง ป ๒๕๕๔/๒๕๕๕
หลังจากท่ีผูฟองคดีไดปลูกขาวพรอมใสปุยจนขาวต้ังทองแลว ประมาณเดือนธันวาคม ๒๕๕๔
เคร่ืองสูบนํ้าของสถานีสูบน้ํา P.๖/๑ ไดชํารุดท้ังหมด สงผลใหขาวนาปรังของผูฟองคดีจํานวน
๓๘ ไร แหงตาย ผูฟองคดีเห็นวา ความเสียหายขางตนเกิดจากความบกพรองของเจาหนาที่
ในสังกัดของผถู ูกฟอ งคดที ี่ ๒ ท่ีละเลยไมต รวจสอบและซอมบํารุงเครื่องสูบน้ํา ซ่ึงหากเครื่องสูบนํ้า
ไมชํารุด ผูฟองคดีจะขายหรือจํานําขาวไดกิโลกรัมละ ๑๕ บาท หรือตันละ ๑๕,๐๐๐ บาทตอไร
โดยคิดจากตนทุน เปนเงิน ๔,๑๐๐ บาทตอไร และกําไรเปนเงิน ๑๐,๙๐๐ บาทตอไร
แตผูถูกฟองคดีท้ังสองเพิกเฉย ผูฟองคดีจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งให
ผูถูกฟองคดีท้ังสองชดใชคาเสียหายจากการกระทําละเมิดในอัตราไรละ ๑๕,๐๐๐ บาท
จํานวน จํานวน ๓๘ ไร เปนเงินทั้งสิ้นจํานวน ๕๗๐,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ย เห็นวา ขณะที่
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ รับโอนสถานีสูบนํ้า P.๖/๑ มาจากกรมพัฒนาและสงเสริมพลังงาน ตาม พ.ร.ฎ.
โอนกิจการบริหารและอํานาจหนาท่ีของสวนราชการใหเปนไปตาม พ.ร.บ. ปรับปรุงกระทรวง
ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๕ แกไ ขเพม่ิ เติม (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ นั้น ไมป รากฏวา กรม
พัฒนาและสงเสริมพลังงานไดแจงใหผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ทราบวามีหรือเคยมีทรายมาทับถม
ทอดูดน้ําและใบพัดเครื่องสูบนํ้า และเมื่อเคร่ืองสูบนํ้าท้ัง ๕ เคร่ือง ชํารุดเสียหาย เจาหนาท่ี
ของผูถูกฟอ งคดที ี่ ๒ ก็ไดประสานแจงให กฟผ. เข่ือนอุบลรัตน เขาดําเนินการตรวจสอบซอมแซม
โดยทันที กรณีจึงรับฟงไมไดวา การท่ีเคร่ืองสูบนํ้าของสถานีสูบน้ําดวยไฟฟา P.๖/๑ ซ่ึงอยูในความ
รบั ผิดชอบของผถู ูกฟอ งคดีที่ ๒ ชาํ รดุ เสยี หาย ไมส ามารถสูบนา้ํ เพ่ือสง นาํ้ และกระจายน้ําใหกับผูฟองคดี
เพื่อทํานาปรังตลอดฤดูการผลิตป ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ทําใหขาวนาปรังของผูฟองคดีแหงตาย เกิดจาก
เจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ละเลยตอหนาที่ ไมดูแล บํารุงรักษา และซอมแซมเคร่ืองสูบน้ําใหอยูใน
สภาพพรอมใชงานตามหนาที่ท่ีกําหนดไวในขอ ๒ และขอ ๑๔ ของกฎกระทรวงแบงสวนราชการ
กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกอบกับคําสั่งกรมชลประทาน
เรื่อง การกําหนดโครงการสงน้ําและบํารุงรักษาเพิ่มใหม ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๕๑ เมื่อเจาหนาที่
ของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มิไดละเลยตอหนาที่ตามท่ีกฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ เจาหนาที่ของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงไมไดกระทําละเมิดตอผูฟองคดีตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพง

แนวคาํ วินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๘

และพาณิชย ผูถูกฟองคดีที่ ๒ จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดีตามมาตรา ๕ วรรคหน่ึง
แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ สวนกรณีที่ผูฟองคดีอุทธรณวา
ตามหลักการทํางานของเคร่ืองสูบน้ําจะตองสูบน้ําพรอมกัน ๓ เคร่ือง และสํารอง ๒ เครื่อง น้ัน นาย ณ.
วิศวกรผูตรวจสอบบํารุงรักษาเครื่องสูบน้ําของสถานีสูบนํ้า P.๖/๑ ไดใหถอยคําตอศาลปกครองช้ันตนวา
การสูบน้ําจากเคร่ืองสูบนํ้าดังกลาวปกติจะสูบนํ้าเพียง ๒ เครื่อง สวนอีก ๓ เคร่ือง เปนเคร่ืองสํารอง
เพราะหากสูบน้ําพรอมกันทั้ง ๓ เคร่ือง น้ําจะลนคลองสงน้ํา สวนกรณีท่ีจะตองสูบน้ําพรอมกัน
๓ เคร่ือง และสํารอง ๒ เคร่ือง น้ัน เปนกรณีที่เจาหนาที่ของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ใชปฏิบัติสําหรับ
พื้นท่ีชลประทาน จํานวน ๓๕,๕๐๐ ไร และเคร่ืองสูบนํ้าของสถานีสูบนํ้า P.๖/๑ พรอมใชงานท้ัง
๕ เคร่ือง แตในฤดูการผลิตขาวนาปรัง ป ๒๕๕๔/๒๕๕๕ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีแผนการบริหาร
จัดการน้ําและเพาะปลูกพืชฤดูแลง (นาปรัง) จํานวน ๑๕,๐๐๐ ไร ซึ่งเปนการวางแผนการใชน้ํา
สําหรับเคร่ืองสูบนํ้าจํานวน ๓ เคร่ือง คือ เคร่ืองท่ี ๒ เครื่องท่ี ๓ และเครื่องที่ ๔ ซึ่งพรอมใชงาน
ในขณะนั้น โดยจะเริ่มสูบน้ําพรอมกันท้ัง ๓ เคร่ือง เพ่ือใหระดับนํ้าสูงกวาระดับทอสงนํ้าแลว
จึงหยุดพัก ๑ เครื่อง เพ่ือรักษาระดับนํ้าใหคงท่ี จากน้ันจึงใชเครื่องสูบนํ้าเพียง ๒ เครื่อง สลับกัน
หยุดหมุนเวียนตลอดไป นอกจากน้ี ยังปรากฏขอเท็จจริงดวยวาคณะกรรมการบริหารการใชน้ํา
ประจําสถานีสูบนํ้า P.๖/๑ รับทราบแลวตั้งแตการประชุมรวมระหวางคณะกรรมการบริหารการใชน้ํา
กับหัวหนาฝายสงนํ้าและบํารุงรักษาที่ ๑ และเจาหนาท่ีประจําสถานีสูบน้ํา P.๖/๑ เม่ือวันที่
๒๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๔ วา โครงการสง น้ําฯ กําหนดแผนการบริหารจัดการน้าํ และเพาะปลูกพืชฤดูแลง
จํานวน ๑๕,๐๐๐ ไร โดยผูอํานวยการโครงการสงนํ้าฯ ไดกลาวยํ้าในที่ประชุมวากลุมบริหาร
การใชน้ําตองปฏิบัติตามแผนการเพาะปลูก แตจากถอยคําของนาย ส. ผูใหญบานหมูที่ ๓ และ
นาย บ. ผูใหญบานหมูที่ ๗ ที่ไดใหถอยคําตอศาลปกครองชั้นตนในฐานะพยานทํานองเดียวกันวา
ฤดูทํานาปรังป ๒๕๕๔/๒๕๕๕ มีการทํานาปรังเพ่ิมขึ้นจากป ๒๕๕๓/๒๕๕๔ โดยหมูท่ี ๓ ตําบลผือฮี
เพ่ิมขึ้นรอยละ ๕ และหมูท่ี ๗ ตําบลสงยาง เพ่ิมขึ้นเกือบเทาตัว กรณีจึงรับฟงไดวา เกษตรกร
ไดปลูกขาวนาปรังในเขตพ้ืนท่ีชลประทานของสถานีสูบนํ้า P.๖/๑ เกินกวาพื้นที่ท่ีกําหนดไว
ตามแผนการบริหารจัดการนํ้าและเพาะปลูกพืชฤดูแลง (นาปรัง) จึงเปนเหตุใหมีพื้นท่ีรับน้ําเพิ่ม
มากกวา ๑๕,๐๐๐ ไร เครื่องสูบนํ้าจํานวน ๓ เคร่ือง ท่ีมีอยู คือ เคร่ืองที่ ๒ เครื่องที่ ๓ และเคร่ืองท่ี ๔
จึงรับภาระในการสูบน้ํามากกวาพื้นที่ที่กําหนดไว ที่ศาลปกครองชั้นตนมีคําพิพากษายกฟอง น้ัน
ศาลปกครองสงู สดุ เหน็ พองดวย

พิพากษายนื

ฟอ งขอใหดําเนนิ การกอ สรา งถนนโดยฝง ทอซีเมนตและกลบปด ใหเรยี บรอยโดยเร็ว
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๐๘/๒๕๖๓

ผูฟองคดีท้ังสามสิบฟองวา ผูฟองคดีทั้งสามสิบเปนผูพักอาศัยและประกอบอาชีพ
ตามแนวถนนเพชรเกษม ชวงระหวาง กม.๒๒๑ – กม.๒๒๓ ตําบลหนองแก อําเภอหัวหิน จังหวัด

แนวคาํ วินิจฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๘๙

ประจวบคีรีขันธ ซึ่งเปนชวงระยะทางท่ีผูถูกฟองคดีทั้งสอง (กรมทางหลวง ท่ี ๑ ผูอํานวยการ
แขวงทางหลวงประจวบคีรีขันธ (หวั หิน) (ผูอาํ นวยการแขวงการทางประจวบคีรีขันธ (หัวหิน) เดิม)
ที่ ๒) ไดมีโครงการกอสรางถนนเพ่ิมเติมจากถนนเพชรเกษมแนวเดิม โดยเม่ือประมาณเดือน
มกราคม ๒๕๕๖ ผูถูกฟองคดีทั้งสองไดดําเนินการขุดทางระบายนํ้าขนาดกวาง ๔ เมตร
ยาวประมาณ ๑๐ เมตร โดยไมฝงทอซีเมนตและกลบปดใหเรียบรอย โดยเฉพาะบริเวณส่ีแยก
ทางเขาวัดพุทธไชโย (ซอยหัวหิน ๑๑๖) ซึ่งมีการจราจรหนาแนน ทําใหประชาชนผูใชทางขับรถ
พลดั ตกลงไปในรองน้าํ ไดร ับบาดเจ็บหลายราย อีกทั้งรองน้ําดังกลาวยังกลายเปนที่ท้ิงขยะทําใหสง
กลิ่นเหม็นรบกวนผูฟองคดีทั้งสามสิบและประชาชนท่ัวไป ตอมา วันท่ี ๗ กุมภาพันธ ๒๕๕๘
ผูถูกฟองคดีท้ังสองไดนํารถแบคโฮเขามาขุดดินบริเวณดานหนาอาคารท่ีพักอาศัยของผูฟองคดี
ท้ังสามสิบ โดยเตรียมขุดเปนทางระบายน้ําขนาดใหญ ผูฟองคดีทั้งสามสิบและประชาชนในพ้ืนท่ี
ไมเห็นดวยจึงเขา ไปเจรจาเพื่อใหยุติการกระทาํ ดังกลาวจนเกดิ การโตเถียงกนั ซึ่งเหตุการณไดยุติลง
ดวยเจาหนาที่ทหารในพื้นท่ีไดเจรจาไกลเกล่ีย ผูฟองคดีท้ังสามสิบเห็นวา ผูถูกฟองคดีทั้งสอง
ไดทําการขุดทางระบายนํ้ามาต้ังแตเดือนมกราคม ๒๕๕๖ ซึ่งเม่ือนับระยะเวลาดังกลาวจนถึง
ปจจุบันเปนเวลากวา ๒ ป แลว ผูถูกฟองคดีทั้งสองก็ยังดําเนินการไมแลวเสร็จ กรณีดังกลาวนี้
เปนเหตุใหผูฟองคดีท้ังสามสิบไมอาจใชถนนเพชรเกษมไดโดยสะดวกและปลอดภัย นอกจากน้ี
ผูฟองคดีท้ังสามสิบไดมีการประชุมรวมกันและมีมติใหกอสรางทางระบายน้ําในลักษณะ
เปนทอซีเมนตและกลบปดใหเรียบรอย แตผูถูกฟองคดีทั้งสองไมดําเนินการโดยยังคงกอสราง
ตามรูปแบบเดิมท่ีทาํ เปน รางระบายนา้ํ แบบเปด อีกท้ังการกอสรางดังกลาวของผูถูกฟองคดีท้ังสอง
ไมไดมีการจัดทําแผนผังแสดงแนวเขตทางระบายน้ํา และปดประกาศไวในบริเวณท่ีจะกระทําการ
น้ัน รวมทั้งไมไดมีการแจงใหผูฟองคดีทั้งสามสิบทราบแนวเขตดังกลาวไมนอยกวาเกาสิบวัน
การกระทําของผูถูกฟองคดีทั้งสองดังกลาวเปนการกระทําตามอําเภอใจ โดยไมรับฟงความคิด
เห็นของผูมีสวนไดเสียซึ่งขัดตอมาตรา ๓๒ แหง พ.ร.บ. ทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ แกไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีท้ังสอง
ดําเนินการกอสรางถนนในบริเวณที่เกิดเหตุดังกลาวตามคําฟองนี้ใหอยูในสภาพเรียบรอย
โดยทําการฝงทอซีเมนตและกลบปดใหเรียบรอยโดยเร็ว เห็นวา เม่ือพิจารณาจากบทบัญญัติ
มาตรา ๔ มาตรา ๑๕ (๑) มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๕ มาตรา ๓๒ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. ทางหลวง
พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา ๓๒ แหง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๓๔ ประกอบ
ขอ ๒ ของกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ แลว
ผถู กู ฟอ งคดีที่ ๑ โดยอธบิ ดีกรมทางหลวงมอี าํ นาจหนา ที่เกี่ยวกับงานทางในการกอสราง การขยาย
การบูรณะ การบํารุงรักษา หรือการจราจรบนทางหลวงแผนดิน และมีอํานาจทําหรือ
แกทางระบายนํ้าท่ีไหลผานทางหลวงแผนดิน หรือทําหรือแกทางระบายนํ้าออกจากทางหลวง
แผนดินเพ่ือไปสูแหลงนํ้าสาธารณะที่ใกลเคียงตามความจําเปนได ซ่ึงอํานาจหนาท่ีดังกลาว
หมายความรวมถึงการกําหนดรูปแบบ มาตรฐานและลักษณะของทางหลวงใหเปนไป
ตามมาตรฐานทางวิศวกรรมดวย ดังนั้น การดําเนินการปรับปรุงพ้ืนท่ีเขตทางหลวงหมายเลข ๔

แนวคาํ วินิจฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๐

(ถนนเพชรเกษม) ตอนหวยทรายใต – วังยาว ซึ่งเปนทางหลวงแผนดิน โดยกอสรางรางระบายน้ํา
แบบเปด ระหวาง กม.๒๒๒+๗๐๐ – กม.๒๒๓+๒๐๐ พรอมทางขนาน จึงอยูในอํานาจหนาที่ของ
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยมีผูถูกฟองคดีที่ ๒ เปนเจาหนาท่ีในสังกัดท่ีปฏิบัติในพ้ืนที่ ผูถูกฟองคดี
ทั้งสองจึงสามารถพิจารณาใชดุลพินิจในการกําหนดรูปแบบวิธีการในการดําเนินการดังกลาวได
และการกอสรางในรูปแบบดังกลาวไดมีการสํารวจสภาพพื้นท่ี วิเคราะหและประเมินปริมาณนํ้าท่ี
ไหลจากพื้นที่ตาง ๆ และคํานวณอัตราการไหลของน้ําเพ่ือใหไดรูปแบบการกอสรางระบบระบาย
นา้ํ ท่ีเหมาะสม รวมทง้ั มกี ารจัดทําแผนที่โครงการและจดั ทําแบบรูปงานกอสรางดังกลาวโดยอางอิง
มาตรฐานและขอกําหนดของผถู ูกฟองคดีท่ี ๑ ประกอบกับผูถูกฟองคดีท้ังสองอางเหตุผลในการใช
ดุลพินิจพิจารณาความเหมาะสมวา การพัฒนาที่ดินเมืองหัวหินเติบโตอยางรวดเร็ว พ้ืนที่สองขาง
ทางหลวงมีการถมดินเหลือชองทางระบายน้ําออกสูทะเลอยางจํากัด โดยมีชองทางระบายออกสู
ทะเลผานทางคลองพระราชดาํ ริเลียบทางรถไฟทเ่ี ขาตะเกยี บเพียงจดุ เดยี ว ซึ่งโครงการกอสรางราง
ระบายนํ้าเพื่อแกไขปญหาน้ําทวมดังกลาวของผูถูกฟองคดีมีความสอดคลองกับแนวทางการ
ดําเนินการของกรมโยธาธิการและผังเมือง ในแงท่ีจะตองหาชองทางระบายนํ้าออกสูทะเล
ใหไดมากที่สุด แตในระหวางท่ีโครงการของกรมโยธาธิการและผังเมืองยังไมไดดําเนินการ
ผูถูกฟองคดีท้ังสองไดประชุมหารือรวมกับหนวยงานที่เก่ียวของในการวางแนวทางการแกปญหา
เฉพาะหนาดวยการขุดรางระบายน้ําเพื่อระบายออกไปทางเขตทางรถไฟ รวมทั้งใหขุดลอกเขต
ทางรถไฟเปน พ้นื ทีร่ บั นํ้าและระบายออกบริเวณอาคารระบายนํ้าใตทางรถไฟเพ่ือระบายลงสูคลอง
พระราชดําริตอไป การกอสรางรางระบายนํ้าแบบเปดมีจุดประสงคเพื่อชวยแบงเบาพ้ืนท่ีรับนํ้า
ท่ีหายไปจากสองขางทางถนนเพชรเกษมใหมากท่ีสุดในสภาพท่ีชองทางระบายน้ําออกสูทะเลมีจํากัด
ซ่ึงจะชวยใหไมเกิดนํ้าทวมบอยดังเชนที่ผานมา และหากโครงการจากกรมโยธาธิการและผังเมือง
แลวเสร็จสมบูรณจะยิ่งชวยใหปญหานํ้าทวมบรรเทาลงได และหากการกอสรางระบบระบายน้ํา
ในรูปแบบฝงทอซีเมนตตามที่ผูฟองคดีทั้งสามสิบตองการนั้นจะกอใหเกิดปญหาการอุดตันของ
ขยะทถี่ ูกทงิ้ ลงในเขตทางทําใหน้ําไหลไมสะดวกและจะรองรับนํ้าไดนอยกวารูปแบบรางระบายนํ้า
แบบเปด ซ่ึงถือเปนเหตุผลในการใชดุลพินิจพิจารณาความเหมาะสมท่ีรับฟงได อีกท้ังยังเห็นได
อยางชัดเจนวา ระบบระบายน้ํารูปแบบรางระบายน้ําแบบเปดสามารถรองรับปริมาณน้ําและ
มีอัตราความเร็วในการระบายนํ้าเพื่อแกไขปญหานํ้าทวมผิวทางจราจรไดอยางมีประสิทธิภาพ
ยิ่งกวาระบบระบายน้ํารูปแบบฝงทอซีเมนต สวนการเขาออกถนนหลักไมสะดวกนั้น ฟงไดวา
เปนกรณีกอนลดขนาดความกวางของรางระบายน้ํา กรณีจึงถือวา ผูถูกฟองคดีทั้งสอง
ไดใชดุลพินิจโดยอาศัยขอมูลเชิงวิชาการและมาตรฐานทางวิศวกรรมในการกําหนดรูปแบบ
การกอสรางระบบระบายนํ้าของทางหลวงตามความเหมาะสมแหงกรณีแลว สําหรับกรณีท่ี
ผูถูกฟองคดีทั้งสองลดขนาดรางระบายน้ําจากความกวาง ๑๑.๐๐ เมตร เหลือ ๖.๐๐ เมตร นั้น
ไมใชเหตุท่ีผูฟองคดีท้ังสามสิบจะนํามาอางไดวาเปนการละเมิดตอผูฟองคดีท้ังสามสิบแตอยางใด
และการใชดุลพินิจของผูถูกฟองคดีท้ังสองในกรณีนี้เปนไปตามสภาพปญหา สภาพพ้ืนท่ี
โดยไมจําตองนําไปเปรียบเทียบกับการกอสรางทางระบายนํ้าแบบฝงทอซีเมนต และไมจําตอง

แนวคาํ วนิ จิ ฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๑
ขอความเห็นจากวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ สวนกรณีการกอสราง
รางระบายน้าํ แบบเปดทําใหเ กิดอุบัติเหตเุ พิ่มมากขน้ึ โดยมีรถยนตจํานวนหลายคันขับพลัดตกลงไป
ในรางระบายน้าํ อกี ทั้งยงั ทาํ ใหม ีนาํ้ ทวมขังเนา เสยี เปน แหลง เพาะพันธุยุง และมีขยะสะสมสงกล่ินเหม็น
อันเปนการกระทําละเมิดตอผูฟองคดีท้ังสามสิบและประชาชนทั่วไป น้ัน สาเหตุของ
อุบัติเหตุดังกลาวจะตองพิจารณาถึงความระมัดระวังในการขับขี่รถของผูใชทาง รวมถึงการปฏิบัติ
หนาท่ีของเจาหนาท่ีท่ีเกี่ยวของในการติดตั้งปายจราจร เคร่ืองหมายจราจร เครื่องหมายสัญญาณ
หรือเคร่ืองหมายอื่นใด เปนสําคัญ เม่ือปรากฏวา ผูถูกฟองคดีท้ังสองไดกอสรางขอบคอนกรีต
ตลอดแนวขอบรางระบายนํ้าเพ่ือปองกันการพลัดตกของรถเสร็จสิ้นแลว หากผูฟองคดีทั้งสามสิบ
เห็นวา เครื่องหมายหรือสัญญาณปองกันความปลอดภัยทางจราจรยังไมเหมาะสมเพียงพอประการใด
หรือมีนํ้าทวมขังเนาเสีย เปนแหลงเพาะพันธุยุง และมีขยะสะสมสงกลิ่นเหม็น ผูฟองคดี
ทั้งสามสิบก็ยอมรองขอใหหนวยงานหรือเจาหนาท่ีที่เกี่ยวของดําเนินการติดตั้งเคร่ืองหมายหรือ
สัญญาณดังกลาวใหเหมาะสมเพียงพอ หรือดําเนินการแกไขปองกันปญหาดังกลาวตามอํานาจ
หนาที่ แลวแตกรณีได โดยท่ีผูถูกฟองคดีทั้งสองไมจําตองปรับเปล่ียนรูปแบบการกอสรางระบบ
ระบายน้ําแตอยางใด สวนกรณีผูถูกฟองคดีทั้งสองทําการกอสรางรางระบายน้ําแบบเปดดังกลาว
ตามอําเภอใจโดยไมมีการรับฟงความคิดเห็นของผูฟองคดีทั้งสามสิบและประชาชนผูมีสวนไดเสีย
รวมถงึ หนว ยงานทีเ่ กย่ี วของ อันเปน การมไิ ดป ฏิบัติตาม พ.ร.บ. ทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ และมาตรา
๕๗ และมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ นั้น
เม่ือโครงการกอสรา งของผถู กู ฟอ งคดีทั้งสองเปน โครงการกอ สรางขนาดเลก็ ซึ่งกระทาํ อยูในเขตทาง
หลวงแผนดิน มิใชโครงการหรือกิจกรรมท่ีอาจกอใหเกิดผลกระทบตอชุมชนอยางรุนแรง
ท้ังทางดานคุณภาพส่ิงแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ และไมถือวาเปนโครงการหรือ
กิจกรรมท่ีมีผลกระทบตอสวนไดเสียสําคัญของประชาชนและผูฟองคดีทั้งสามสิบ และกรณีมิใช
การทาํ หรือแกทางระบายนํ้าโดยธรรมชาติที่ไหลผานทางหลวงท่ีจะตองดําเนินการตามมาตรา ๓๒
แหง พ.ร.บ. ทางหลวง พ.ศ. ๒๕๓๕ ผูถูกฟองคดีทั้งสองจึงไมจําตองจัดใหมีการรับฟงความคิด
เห็นของผูฟองคดีทั้งสามสิบและประชาชน รวมท้ังไมจําตองมีหนังสือแจงใหผูฟองคดีทั้งสามสิบ
ทราบลว งหนาไมนอยกวาหกสบิ วันกอนเขาดําเนินการกอสรางรางระบายนํ้าพิพาท ตามนัยมาตรา ๓๒
แหงพระราชบัญญัติดังกลาว และมาตรา ๕๗ และมาตรา ๖๗ วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ
แหง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ แตอยา งใด ดังนั้น การกระทําของผูถูกฟองคดีท้ังสอง
จึงไมเปนการกระทําละเมิดตอผูฟองคดีท้ังสามสิบตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย ผูถูกฟองคดีทั้งสองจึงไมตองรับผิดตอผูฟองคดีทั้งสามสิบ ท่ีศาลปกครองชั้นตน
พพิ ากษายกฟอ ง นน้ั ศาลปกครองสงู สุดเห็นพองดวย

พพิ ากษายนื

แนวคําวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๒

ฟองขอใหชดใชคาสินไหมทดแทน กรณีกอสรางคลองสงน้ําในโครงการระบบสงนํ้าทําใหน้ํา
ทวมทดี่ นิ ของราษฎร
คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ.๑๐๙/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนเจาของท่ีดินตามโฉนดที่ดินและครอบครองและ
ทําประโยชนในท่ีดินตามหนังสือรับรองการทําประโยชน (น.ส. ๓ ก.) รวม ๔ แปลง โดยประกอบ
อาชีพทํานาในท่ีดินดังกลาว ตอมา ในป พ.ศ. ๒๕๑๗ ผูถูกฟองคดีที่ ๒ (สํานักชลประทานท่ี ๑๖)
โดยความเห็นชอบของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมชลประทาน) ไดกอสรางคลองคอนกรีตสงน้ํา
ในโครงการระบบสงนํ้าสายใหญฝงซายสายท่ี ๒ โดยปลายคลองคอนกรีตสงนํ้าส้ินสุดบริเวณพ้ืนท่ี
ท่ีผูฟองคดีและราษฎรขางตนใชทํานา เปนเหตุใหนํ้าหลากในฤดูฝน โดยปริมาณนํ้าจํานวนมาก
ท่ีไหลมาจากเทือกเขาบรรทัดปกติจะไหลกระจายไปท่ัวทุกพื้นท่ี กลับไหลลงคลองสงน้ําดังกลาว
และเออทวมบริเวณพ้ืนที่ทํานาของผูฟองคดีและราษฎรดังกลาว ผูฟองคดีและราษฎรขางตนได
แตงตั้งตัวแทนเพื่อรองขอใหผูถูกฟองคดีท้ังสองแกไขปญหาน้ําทวม โดยขอใหกอสรางคลอง
คอนกรีตสงนํ้าเพ่ิมเติมตอจากปลายคลองสงนํ้าเดิมไปสิ้นสุดจรดทะเลสาบสงขลา เพ่ือใหน้ําไหลลงสู
ทะเลสาบสงขลา แตผูถูกฟองคดีทั้งสองไมดําเนินการ เปนเหตุใหนํ้าทวมพื้นท่ีทํานาทุกป
ผูถูกฟองคดีท้ังสองจึงตองรับผิดชดใชคาเสียหายอันเน่ืองมาจากการกระทําดังกลาวท่ีเปนเหตุให
ผฟู อ งคดีขาดรายไดจากการทาํ นาในแตล ะปเ ปนเงนิ จาํ นวนไรละ ๙,๕๐๐ บาท ทั้งนี้ ตามราคาขาว
พนั ธุเ ลบ็ นกที่สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต ๙ โดยผูฟองคดีคิดคาเสียหายเปนคาขาดรายไดจาก
การทํานา ปละ ๑๔๒,๕๐๐ บาท ต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๑๗ จนถึงวันฟองรวม ๓๘ ป เปนเงินจํานวน
๕,๔๑๕,๐๐๐ บาท จึงนําคดีมาฟองตอ ศาลขอใหศ าลมคี าํ พพิ ากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีท้ังสอง
รวมกันชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดีเปนเงินจํานวน ๕,๔๑๕,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรา
รอยละ ๗.๕ ตอ ปข องตนเงินดังกลาวนับแตวันถัดจากวนั ฟอ งเปนตนไปจนกวา จะชําระเสรจ็ เห็นวา ผู
ถูกฟองคดีท่ี ๑ กอสรางฝายชะลอนํ้าท่ีตนคลองรัตภูมิเพ่ือรับนํ้าจากเทือกเขาบรรทัด
และชวยชะลอน้ําไมใหไหลกระจายลงสูเรือก สวน ไร นา เร็วเกินไป และผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดกอสรางคลองสงนํ้าสายใหญฝงขวา ความยาว ๖.๗ กิโลเมตร คลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายท่ี ๑
ความยาว ๑๘.๓๐๒ กิโลเมตร นอกจากนี้ ผูถ กู ฟอ งคดีที่ ๒ โดยความเหน็ ชอบของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดกอสรางคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ เพ่ือแกไขปญหาภัยแลงและภัยน้ําทวม
โดยเม่ือสิ้นสุดฤดูฝนจะทดนํ้าเขาคลองสงนํ้าสายใหญฝงขวา สายใหญฝงซาย สายท่ี ๑ และ
สายใหญฝงซาย สายที่ ๒ เน่ืองจากคลองรัตภูมิเปนคลองธรรมชาติเชนเดียวกับคลองธรรมชาติ
ทั่วไปที่มีสภาพต่ํากวาพ้ืนที่สองฝงคลอง จึงตองนําหลักการทดนํ้าหรือยกนํ้ามาใชเพ่ือยกนํ้าเขาสู
คลองสงนํ้าจึงจะสามารถสงน้ําตอไปยังพ้ืนท่ีทําการเกษตรตอไปได และในฤดูฝนที่มีปริมาณนํ้ามาก
นํ้าจะไหลจากเทือกเขาบรรทัดลงคลองรัตภูมิ และคลองอ่ืนๆ ในบริเวณใกลเคียง โดยนํ้าที่ไหลลง
คลองรัตภูมิจะไหลเขาสูฝายชะลอน้ําดังกลาว เพื่อชะลอน้ําไวไมใหไหลลงสูพ้ืนที่ดานลางท่ีมี
สภาพพ้นื ทต่ี ํ่ากวาเรว็ เกินไป และหากนํ้ามีปริมาณมากจนลน คลองรตั ภมู แิ ละเกินกวาท่ีจะกักเก็บไว

แนวคําวนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๓

ในฝายชะลอน้ําไดแลว น้ําจึงจะไหลเขาสูคลองสงน้ําสายใหญฝงขวา คลองสงน้ําสายใหญฝงซาย
สายที่ ๑ และคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ และเน่ืองจากคลองสงน้ําท้ังสามสายดังกลาว
มีสภาพสูงกวาคลองรัตภูมิท่ีในฤดูแลงจะตองทดน้ําจากคลองรัตภูมิเขาสูคลองสงนํ้าสายใหญ
ฝงขวา คลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายที่ ๑ และคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ ดังน้ี
แมขอเท็จจรงิ จะรบั ฟงไดว า พื้นที่นาของผูฟ องคดีเปนเขตประกาศภยั พิบตั ิกต็ าม แตเมอื่ รบั ฟงไดอีก
เชนกันวา คลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ มิใชคลองท่ีรับน้ําจากเทือกเขาบรรทัดโดยตรง
อีกทง้ั คลองสง นํา้ ดังกลาวเปนคลองสงน้ําขนาดเลก็ รปู สเ่ี หล่ียมคางหมู กนคลองมีความกวาง ๐.๕๐ เมตร
ความลึก ๐.๖๐ เมตร ปลายคลองมีอาคารควบคุมบังคับนํ้าขนาดเสนผาศูนยกลาง ๐.๖๐ เมตร
พรอมติดต้ังบานระบายน้ําควบคุมการเปดปด จึงไมสามารถรับน้ําในปริมาณมากได นอกจากน้ี
การที่คลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ มีระดับที่สูงกวาคลองรัตภูมิซึ่งเปนคลองธรรมชาติ
ดังท่ีวินิจฉัยไปแลวขางตน ปริมาณน้ําในฤดูฝนที่มีน้ําหลากหากจะไหลเขาสูคลองสงนํ้าสายใหญ
ฝงซาย สายที่ ๒ ยอมตองเปนนํ้าสวนท่ีลนมาจากนํ้าในคลองธรรมชาติในบริเวณใกลเคียง
ประกอบกับขอ เทจ็ จรงิ ฟงไดวาในฤดูฝนนํา้ ที่ไหลมาจากเทอื กเขาบรรทดั ท่มี ีความชัน + ๓๐.๐๐๐ เมตร
จากระดับนํ้าทะเลปานกลางไหลลงสูทะเลสาบสงขลาผา นท่ีนาของผูฟองคดีท่ีมีความชัน + ๑.๐๐๐ เมตร
จากระดับนํ้าทะเลปานกลางซึ่งยอมไหลมาตามคลองธรรมชาติโดยเฉพาะคลองรัตภูมิดังกลาว
กรณีจึงเห็นไดวาปริมาณนํ้าที่ไหลเขาคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ ในฤดูฝน นั้น
ยอมไมมีปริมาณมากพอที่จะเปนสาเหตุโดยตรงที่ทําใหเกิดนํ้าทวมขังท่ีดินของผูฟองคดี
จนเปนเหตุใหผูฟองคดีไดรับความเสียหายโดยไมอาจทํานาในท่ีดินของตนได นอกจากน้ี
เมื่อพิจารณาสภาพท่ีต้ังท่ีดินของผูฟองคดีซึ่งเปนที่ลุมต่ํา ยอมรับนํ้ามาจากพื้นที่ราบสูงอื่นดวย
แมจะมีคลองธรรมชาติไวระบายนํ้าหลายสายก็ตาม แตในขณะเกิดเหตุพิพาท คลองปาลาม
คลองเขตคลองนุย และคลองพรุ ซึ่งเปนคลองธรรมชาติท่ีชวยระบายนํ้าสูทะเลสาบสงขลา
มีสภาพต้ืนเขินและมีตนไมปกคลุม ยอมมีผลใหการระบายนํ้าลงสูทะเลสาบสงขลาไมไดผลดี
เทาท่ีควร และสงผลใหที่ดินของผูฟองคดีซึ่งอยูบริเวณที่ลุมตํ่าเกิดน้ําทวมเปนบริเวณกวางได ดังนั้น
กรณีจึงไมอาจถือไดวาเหตุที่น้ําทวมท่ีดินของผูฟองคดีเกิดจากการกอสรางคลองสงนํ้าในโครงการ
ระบบสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ แตเกิดขึ้นตามธรรมชาติและตามสภาพภูมิประเทศ การที่
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ โดยความเห็นชอบของผูถูกฟองคดีที่ ๑ กอสรางคลองสงนํ้าในโครงการระบบ
สงนํ้าสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ ส้ินสุดบริเวณพื้นที่ท่ีผูฟองคดีใชประกอบอาชีพทํานา จึงไมเปน
การกระทําละเมิดจากการใชอํานาจตอผูฟองคดี เมื่อผูถูกฟองคดีท้ังสองมีหนาท่ีดําเนินการ
เกี่ยวกับการปองกันความเสียหายอันเกิดจากนํ้า ตามมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ. การชลประทานหลวง
พุทธศักราช ๒๔๘๕ และขอ ๒ ของกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมชลประทาน กระทรวงเกษตร
และสหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซ่ึงขอเท็จจริงรับฟงไดวา ผูถูกฟองคดีท้ังสองไดรับทราบปญหานํ้าทวมแลว
ไดดําเนินการตามอํานาจหนาท่ีในการแกไขปญหาน้ําทวมบริเวณดังกลาวโดยการขุดลอก
คลองธรรมชาติ จํานวน ๔ สาย อันไดแก คลองปาลาม คลองเขต คลองนุย และคลองพรุ ใหแลว
สวนการกอสรางคลองสงน้ําเพิ่มเติมจากคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ ความยาวประมาณ

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๔

๑,๕๐๐ เมตร ไปสิ้นสุดจรดทะเลสาบสงขลาเพ่ือใหนํ้าไหลลงทะเลสาบสงขลา อันเปนแนว
ทางแกไขปญหาน้ําทวมอีกสวนหนึ่ง น้ัน ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยรองอธิบดีฝายสงน้ําและบํารุงรักษา
ไดอนุมัติในหลักการใหมีการกอสรางคลองสงน้ําดังกลาวเมื่อวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓
แตย งั ไมอาจเขา ดาํ เนินการสํารวจและออกแบบใดๆ ได เน่ืองจากมีปญหาอุปสรรคเรื่องการจัดซ้ือท่ีดิน
ซึ่งเปนปญหาเก่ียวกับงบประมาณและประสิทธิภาพในการใชจายเงินของรัฐ กรณีจึงไมอาจถือไดวา
ผูถูกฟองคดีทั้งสองกระทําละเมิดจากการละเลยตอหนาที่ตามท่ีกฎหมายกําหนดใหตองปฏิบัติ
ในการกอสรางคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชยแตอยางใด และเมื่อวินิจฉัยแลววาผูถูกฟองคดีทั้งสองไมไดกระทําละเมิด ดังน้ัน
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามฟองใหแกผูฟองคดี ที่ศาลปกครองช้ันตน
พพิ ากษายกฟอง นน้ั ศาลปกครองสงู สดุ เหน็ พอ งดว ย

พพิ ากษายืน
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๘๕/๒๕๖๓

ผฟู อ งคดีฟอ งวา ผูฟองคดีเปนเจาของท่ดี นิ โฉนดท่ดี ินเลขที่ ๑๙๓๗๗ ตําบลหวยลึก
อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา เน้ือท่ี ๒ ไร๗๐ ตารางวา และประกอบอาชีพทํานาในที่ดินแปลง
ดังกลาว ตอมา ในป พ.ศ. ๒๕๑๗ ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ (สํานักชลประทานท่ี ๑๖) โดยความเห็นชอบ
ของผูถกู ฟอ งคดที ี่ ๑ (กรมชลประทาน) ไดก อสรางคลองสงน้ําในโครงการระบบสงน้ําสายใหญฝงซาย
สายท่ี ๒ ลักษณะเปน คลองดาดคอนกรตี สี่เหล่ียมคางหมู กนคลองกวาง ๐.๕๐ เมตร ลึก ๐.๖๐ เมตร
ปลายคลองสงน้ําส้ินสุดบริเวณพื้นท่ีท่ีผูฟองคดีและราษฎรขางตนใชทํานา เปนเหตุใหน้ําหลาก
ในฤดูฝน โดยปริมาณนํ้าจํานวนมากที่ไหลมาจากเทือกเขาบรรทัดปกติจะไหลกระจายไปทั่วทุกพื้นที่
กลับไหลลงคลองสงนํ้าดังกลาวและเออทวมบริเวณพื้นท่ีทํานาของผูฟองคดีและราษฎรดังกลาว
ผฟู อ งคดีและราษฎรขางตนไดแตงต้ังตัวแทนเพ่ือรองขอใหผูถูกฟองคดีท้ังสองแกไขปญหาน้ําทวม
โดยขอใหกอสรางคลองสงน้ําเพิ่มเติมตอจากปลายคลองสงนํ้าเดิมไปสิ้นสุดจรดทะเลสาบสงขลา
เพื่อใหน้ําไหลลงสูทะเลสาบสงขลา แตผูถูกฟองคดีท้ังสองไมดําเนินการ เปนเหตุใหน้ําทวมพื้นที่
ทํานาทกุ ป ต้งั แตป  พ.ศ. ๒๕๑๗ จนถึงปจจุบัน ผูฟอ งคดีเห็นวา ผถู ูกฟองคดีท้ังสองกอสรางคลองสงน้ํา
โดยปลายคลองสงนํ้าส้ินสุดบริเวณพื้นที่ทํานาของผูฟองคดี และเพิกเฉยไมกอสรางคลองสงนํ้า
เพ่ิมเติมตอจากปลายคลองสง นํ้าเดมิ ไปส้ินสุดท่ที ะเลสาบสงขลาเพ่ือใหน้ําไหลลงสูทะเลสาบสงขลา
เปนเหตุใหนํ้าทวมและผูฟองคดีไดรับความเดือดรอนเสียหาย ผูถูกฟองคดีทั้งสองจึงตองรับผิด
ชดใชคาเสยี หายอนั เนอื่ งมาจากการกระทําดังกลาวท่ีเปนเหตุใหผูฟองคดีขาดรายไดจากการทํานา
ในแตล ะปเปน เงินจาํ นวนไรละ ๙,๕๐๐ บาท ทั้งนี้ ตามราคาขาวพันธุเล็บนกท่ีสํานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรเขต ๙ โดยผูฟอ งคดคี ดิ คาเสยี หายเปนคาขาดรายไดจากการทํานา ปละ ๑๙,๐๐๐ บาท
ต้งั แตป พ.ศ. ๒๕๑๗ จนถึงวันฟองรวม ๓๘ ป เปนเงินจํานวน ๗๒๒,๐๐๐ บาท ผูฟองคดีจึงนําคดี
มาฟอ งขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีท้ังสองรวมกันชดใชคาเสียหายใหแกผูฟองคดี
เปนเงินจํานวน ๗๒๒,๐๐๐ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาว

แนวคําวนิ จิ ฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๕

นับแตวันถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ เห็นวา แมขอเท็จจริงจะรับฟงไดวา
พ้ืนที่นาของผูฟองคดีเปนเขตประกาศภัยพิบัติก็ตาม แตเมื่อคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒
มิใชค ลองทรี่ ับนํา้ จากเทือกเขาบรรทัดโดยตรง อีกทั้งคลองสงนํ้าดังกลาวเปนคลองสงนํ้าขนาดเล็ก
รูปส่ีเหลี่ยมคางหมู กนคลองกวาง ๐.๕๐ เมตร ลึก ๐.๖๐ เมตร ปลายคลองมีอาคารควบคุม
บังคับนํ้าขนาดเสนผาศูนยกลาง ๐.๖๐ เมตร พรอมติดต้ังบานระบายน้ําควบคุมการเปดปด
จึงไมสามารถรับน้ําในปริมาณมากได นอกจากน้ี การท่ีคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒
มีระดับท่ีสูงกวาคลองรัตภูมิซ่ึงเปนคลองธรรมชาติ ดังนี้ ปริมาณน้ําในฤดูฝนที่มีน้ําหลากหากจะ
ไหลเขาสูคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ ยอมตองเปนนํ้าสวนที่เออลนมาจากน้ําในคลอง
ธรรมชาติในบริเวณใกลเคียง ประกอบกับในฤดูฝนนํ้าท่ีไหลมาจากเทือกเขาบรรทัดท่ีมีความชัน +
๓๐.๐๐๐ จากระดบั นํา้ ทะเลปานกลางไหลลงสูทะเลสาบสงขลาผานที่นาของผูฟองคดีที่มีความชัน
+๑.๐๐๐ จากระดับนํ้าทะเลปานกลาง ซ่ึงยอมไหลมาตามคลองธรรมชาติโดยเฉพาะคลองรัตภูมิ
ดังกลาว กรณีจึงเห็นไดวาปริมาณน้ําที่ไหลเขาคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย สายที่ ๒ ในฤดูฝน น้ัน
ยอมไมมปี รมิ าณมากพอที่จะเปนสาเหตโุ ดยตรงท่ที าํ ใหเกดิ น้ําทวมขังท่ีดินของผูฟองคดีจนเปนเหตุ
ใหผูฟองคดีไดรับความเสียหายโดยไมอาจทํานาในที่ดินของตนได นอกจากน้ี เม่ือพิจารณาสภาพ
ทตี่ ัง้ ทดี่ นิ ของผฟู องคดซี ่งึ เปน ที่ลุมตา่ํ ยอ มรบั น้าํ มาจากพื้นทีร่ าบสงู อนื่ ดวย แมจะมีคลองธรรมชาติ
ไวระบายน้าํ หลายสายกต็ าม แตขอเท็จจริงยังรับฟงไดวาในขณะเกิดเหตุพิพาทคลองปาลาม คลองเขต
คลองนุย และคลองพรุ ซึ่งเปนคลองธรรมชาติที่ชวยระบายน้ําสูทะเลสาบสงขลามีสภาพตื้นเขิน
และมีตนไมปกคลุม ยอมมีผลใหการระบายน้ําลงสูทะเลสาบสงขลาไมไดผลดีเทาท่ีควรและสงผล
ใหทด่ี นิ ของผฟู องคดีซ่ึงอยูบริเวณที่ลุมตํ่าเกิดน้ําเออทวมเปนบริเวณกวางได ดังนั้น กรณีจึงไมอาจ
ถอื ไดว า เหตุทน่ี ้ําทวมทดี่ ินของผูฟองคดเี กดิ จากการกอสรา งคลองสงนํ้าในโครงการระบบสงนํ้าสาย
ใหญฝงซาย สายท่ี ๒ แตเกิดขึ้นตามธรรมชาติและตามสภาพภูมิประเทศ การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๒
โดยความเหน็ ชอบของผถู กู ฟองคดที ่ี ๑ กอ สรางคลองสงน้าํ ในโครงการระบบสงน้ําสายใหญฝงซาย
สายท่ี ๒ สิ้นสุดบริเวณพื้นท่ีท่ีผูฟองคดีใชประกอบอาชีพทํานา จึงไมเปนการกระทําละเมิดอันเกิด
จากการใชอาํ นาจของผูถกู ฟอ งคดที ้งั สองตอผูฟองคดีตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย สวนการท่ีผูถูกฟองคดีทั้งสองมิไดก อ สรางคลองสง นา้ํ เพ่ิมเตมิ นน้ั เมื่อผถู กู ฟอ งคดีท้ังสอง
มีหนาที่ดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันความเสียหายอันเกิดจากน้ํา ตามมาตรา ๔ แหง พ.ร.บ.
การชลประทานหลวง พุทธศักราช ๒๔๘๕ และขอ ๒ ของกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมชลประทาน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ซ่ึงขอเท็จจริงรับฟงไดวา ผูถูกฟองคดีทั้งสองไดรับทราบ
ปญหาน้ําทวมตามท่ีผูฟองคดีและตัวแทนชาวบานมีหนังสือถึงราชเลขาธิการและไดดําเนินการ
ตามอาํ นาจหนา ทใ่ี นการแกไขปญหานาํ้ ทวมบรเิ วณดงั กลาวโดยการขดุ ลอกคลองธรรมชาติ จํานวน
๔ สาย อนั ไดแก คลองปาลาม คลองเขต คลองนุย และคลองพรุ ใหแลว สวนการกอสรางคลองสงนํ้า
เพิ่มเติมจากคลองสงนํ้าสายใหญฝงซาย สายท่ี ๒ ความยาวประมาณ ๑,๕๐๐ เมตร ไปสิ้นสุด
จรดทะเลสาบสงขลาเพื่อใหน้ําไหลลงทะเลสาบสงขลา อันเปนแนวทางแกไขปญหานํ้าทวมอีกสวนหน่ึงนั้น
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยรองอธิบดีฝายสงน้ําและบํารุงรักษาไดอนุมัติในหลักการใหมีการกอสราง

แนวคําวนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๖

คลองสงนํา้ ดงั กลาวเมอื่ วันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๕๓ ตอมามีการประชุมเพื่อจัดซ้ือท่ีดินเพื่อกอสราง
คลองสงนํ้าเพ่ิมเติม โดยที่ดินบริเวณดังกลาวมีราคาประเมินไรละ ๓๐,๐๐๐ – ๕๐,๐๐๐ บาท
แตราษฎรเจาของท่ีดินยืนยันราคาขายไรละ ๘๐๐,๐๐๐ บาท ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมสามารถ
ดําเนินการซื้อในราคาดังกลาวได หลังจากน้ันราษฎรเจาของที่ดินไดเสนอใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑
จัดซื้อที่ดินในราคาไรละ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงยังคงสูงกวาราคาประเมินของกรมที่ดินมาก ทําให
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมสามารถจัดซ้ือได ดังนั้น การกอสรางคลองสงนํ้าดังกลาวผูถูกฟองคดีทั้งสอง
จึงยังไมอาจเขาดําเนินการสํารวจและออกแบบใดๆ ได กรณีจึงเห็นไดวาผูถูกฟองคดีท้ังสอง
ไดปฏิบัติหนาที่ในการปองกันน้ําทวมโดยความพยายามที่จะกอสรางคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย
สายที่ ๒ เพ่ิมเติม แตมีปญหาอุปสรรคเร่ืองการจัดซ้ือท่ีดินซ่ึงเปนปญหาเกี่ยวกับงบประมาณ
และประสิทธิภาพในการใชจายเงินของรฐั กรณีจึงไมอาจถือไดวาผูถูกฟองคดีทั้งสองกระทําละเมิด
จากการละเลยตอ หนา ที่ตามทก่ี ฎหมายกาํ หนดใหตอ งปฏบิ ตั ิในการกอสรา งคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย
สายที่ ๒ แตอยางใด และเมื่อวินิจฉัยแลววาผูถูกฟองคดีท้ังสองไมไดกระทําละเมิด ดังนั้น
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามฟองใหแกผูฟองคดี ที่ศาลปกครองช้ันตน
พพิ ากษายกฟอง นน้ั ศาลปกครองสูงสุดเห็นพอ งดว ย

พิพากษายืน

ฟองขอใหเ พกิ ถอนคาํ สง่ั ใหช ดใชค าสินไหมทดแทนกรณีกาํ หนดราคากลางไมถกู ตอ ง
คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ.๑๑๗/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา เมื่อครั้งท่ีผูฟองคดีดํารงตําแหนงหัวหนากองชาง (นายชางโยธา ๕)
ในสังกัดของผูถูกฟองคดีที่ ๓ (เทศบาลตําบลปทุมราชวงศา (เทศบาลตําบลนาหวาใหญ เดิม))
ไดรับความเดือดรอนหรือเสียหายจากการท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๓ มีคําสั่งใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน
ความรับผิดทางละเมิดจากการปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการกําหนดราคากลางงานกอสราง
รางระบายนํ้าจํานวน ๓ โครงการ และกอสรางถนนจํานวน ๒ โครงการ สืบเนื่องจากสํานักงาน
การตรวจเงินแผนดินภูมิภาคที่ ๕ จังหวัดอุบลราชธานี ไดตรวจสอบการดําเนินการจัดจาง
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๔ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๕ ของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ โดยมีขอสังเกต
และขอ เสนอแนะวา คณะกรรมการกําหนดราคากลางงานกอ สรางของผถู กู ฟองคดีที่ ๓ ดําเนินการ
กําหนดราคากลางไมถ ูกตองเปน เหตใุ หทางราชการไดรับความเสยี หาย คดิ เปนเงนิ ๕๘๘,๒๖๒.๘๗ บาท
ใหดําเนินการหาตัวผูตองรับผิดและชดใชเงินจํานวนดังกลาว ผูถูกฟองคดีที่ ๓ จึงมีคําส่ังแตงตั้ง
คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ซ่ึงคณะกรรมการดังกลาวมีความเห็นให
ผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเปนเงินจํานวน ๕,๒๗๕.๓๒ บาท แตกระทรวงการคลัง
โดยผูถ กู ฟอ งคดที ่ี ๔ (กรมบัญชีกลาง) เห็นวา ผูฟองคดีจะตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแก
ทางราชการเปนเงินจํานวน ๑๗๗,๘๙๘.๔๔ บาท ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ (ผูวาราชการจังหวัด
อํานาจเจริญ) พิจารณาแลวเห็นชอบตามผลการพิจารณาดังกลาว ซ่ึงตอมาผูถูกฟองคดีท่ี ๓

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๗

ไดมีคําส่ังลงวันท่ี ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ เรียกใหผูฟองคดีชดใชเงินจํานวน ๑๗๗,๘๙๘ บาท
ผูฟองคดีไมเห็นดวยจึงอุทธรณคําสั่งดังกลาว แตผูถูกฟองคดีที่ ๒ วินิจฉัยใหยกอุทธรณ จึงนําคดี
มาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิกถอนคําส่ังลงวันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ ที่เรียกให
ผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน และคําวินิจฉัยอุทธรณลงวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๐ ท่ีให
ยกอุทธรณของผูฟองคดี เห็นวา เม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา คณะกรรมการควบคุมราคากลาง
ตามคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๓ ดําเนินการกําหนดราคากลางในโครงการกอสรางรางระบายน้ํา
ค.ส.ล. และโครงการกอสรางถนน ค.ส.ล. ท้ัง ๕ สัญญา โดยไมใชสูตร FACTOR F ในการคํานวณ
และไมไดใชราคาหรือหนวยวัสดุทองถ่ินที่กระทรวงมหาดไทยหรือกระทรวงพาณิชยกําหนดไว
แตใชราคาท่ีสืบราคาเองมาคํานวณราคากลางในการกอสรางท้ัง ๕ สัญญา เปนการไมปฏิบัติ
ตามหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ลับมาก ดวนท่ีสุด ท่ี นร ๑๓๐๕/ว ๓๑๓๙ ลงวันท่ี ๑๖ เมษายน
๒๕๔๒ หนังสือ ที่ มท ๐๒๐๒.๕/ว๙๐ ลงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๔๒ และหนังสือ ท่ี มท
๐๓๑๓.๔/ว๙๙ ลงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๔๒ ท่ีแจงเวียนใหองคกรปกครองสวนทองถ่ินถือปฏิบัติ
ในการกําหนดราคากลางงานกอสราง เมื่อผูฟองคดีไดรับการแตงต้ังเปนกรรมการในคณะกรรมการ
ควบคุมราคากลางของผูถูกฟองคดีที่ ๓ แลว ยอมตองทราบวาตนมีหนาท่ีรับผิดชอบในการกําหนด
ราคากลางตามหลักเกณฑการคํานวณราคากลางงานกอสรางใหถูกตองตามความเปนจริงและ
ตามมาตรฐานวัสดุอุปกรณการกอสรางของสํานักงานพาณิชยจังหวัด ซ่ึงจากการไมปฏิบัติตามมติของ
คณะรัฐมนตรีและหนังสือแจงเวียนดังกลาวเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ ถือเอาราคา
ตามที่คณะกรรมการควบคุมราคากลางกําหนดเปนราคากลางในการสอบราคาและไดทําสัญญาจาง
กับผูรับจางทั้ง ๕ โครงการ โดยจายสูงเกินความเปนจริง ทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ เสียหาย
จาํ นวน ๕๘๘,๒๖๒.๖๗ บาท การกระทาํ ของผูฟอ งคดีจึงเปนการกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๓
ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และเปนการปฏิบัติหนาที่
โดยประมาทเลินเลออยางรายแรง ผูฟองคดีจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๓
ตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง ประกอบมาตรา ๑๐ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด
ของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ อยางไรก็ตาม การท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ไดรับความเสียหายจากราคากลาง
งานกอสรางที่สูงเกินความเปนจริง เปนผลมาจากการที่คณะกรรมการควบคุมราคากลาง
งานกอสรางนําขอมูลในการคํานวณออกแบบรายละเอียดการกอสรางและการประมาณการราคา
คากอสรางท่ีฝายชางซึ่งมีผูฟองคดีเปนผูรับผิดชอบจัดทําขึ้นมาใชพิจารณาในการกําหนดราคากลาง
โดยในคณะกรรมการควบคุมราคากลางดังกลาวมีผูฟองคดีในฐานะนายชางโยธา ๕ เปนกรรมการ
รวมกับเจาหนาที่การเงินและบัญชีหรือเจาหนาที่ธุรการ จึงเห็นไดวา นอกจากผูฟองคดีแลว
ไมมีกรรมการอื่นในคณะกรรมการควบคุมราคากลางมีความรูเก่ียวกับงานชางหรืองาน
การประมาณราคากอสรางทางดานวิศวกรรมรวมอยูดวย ซ่ึงหากมีขอบกพรองสําคัญเกี่ยวกับ
การประมาณราคากอสรางหรือมีปญหาท่ีตองใชความรูความเขาใจในงานดานวิศวกรรมแลวก็ไมมี
กรรมการอื่นท่ีมีความรูในงานดานดังกลาวชวยตรวจสอบกําหนดราคากลางนั้นไดอีก จึงถือวา
เปนความบกพรองของหนวยงานของรฐั หรอื ระบบการดําเนินการสวนรวม เม่ือคํานึงถึงพฤติการณ

แนวคาํ วินิจฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๙๘

และระดับความรายแรงแหงการกระทําละเมิดและความเปนธรรม ตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหน่ึง
แหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยแลว จึงใหหักสวนความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือ
ระบบการดําเนินงานสวนรวมออกรอยละ ๒๐ ของคาเสียหายท้ังหมดแตละกรณีตามมาตรา ๘
วรรคสาม แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เมื่อพิจารณาตามคําส่ัง
ลงวนั ท่ี ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๕๐ ของผูถ กู ฟองคดีที่ ๓ ทีก่ ําหนดใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
โดยกําหนดสัดสวนความรับผิดเปนกรณี และเมื่อหักสวนความบกพรองของหนวยงานของรัฐ
หรือระบบการดําเนนิ การสว นรวมออกรอ ยละ ๒๐ ของคาเสยี หายในแตละกรณีแยกพิจารณา ดังนี้
กรณีคณะกรรมการควบคุมราคากลางของเทศบาลกําหนดราคากลางใชราคาวัสดุกอสราง
ตามราคาตลาดทองถ่ินโดยไมใชราคาวัสดุของสํานักงานดัชนีเศรษฐกิจกระทรวงพาณิชย
เดือนกอนประกาศสอบราคาหรือประกวดราคา เปนเหตุใหราคากลางท่ีกําหนดสูงไป และ
ทําใหเทศบาลตําบลนาหวาใหญตองจายคากอสรางราคาสูงกวาราคากลางท่ีถูกตองเปนเงิน
๑๒๗,๘๙๙.๕๕ บาท คงเหลือความเสียหายจํานวน ๑๐๒,๓๑๙.๖๔ บาท ใหคณะกรรมการรับผิด
ชดใชในอัตรารอยละ ๗๕ ของคาเสียหาย คิดเปนเงิน ๗๖,๗๓๙.๗๓ บาท และใหกรรมการแตละ
คนรับผิดคนละสวนเทาๆ กัน คิดเปนเงินคนละ ๒๕,๕๗๙.๙๑ บาท กรณีการคํานวณปริมาณงาน
งานคอนกรีต ๑: ๒: ๔ สูงเกินไป ๓ ลูกบาศกเมตร เปนเงิน ๖,๖๕๕ บาท คงเหลือความเสียหาย
จาํ นวน ๕,๓๒๔ บาท ใหผูฟองคดีในฐานะผูควบคุมงานเปนผูสํารวจออกแบบและคํานวณปริมาณ
คา งานดนิ ขดุ และในฐานะคณะกรรมการกําหนดราคากลาง ซ่ึงมีความเช่ยี วชาญในงานชางมากกวา
คณะกรรมการคนอื่นแตไมใชความระมัดระวังใหผูฟองคดีรับผิดชดใชในอัตรารอยละ ๒๕
ของคาเสียหายจํานวน ๕,๓๒๔ บาท เปนเงินจํานวน ๑,๓๓๑ บาท กรณีไมไดคํานวณปริมาณ
คาวัสดุตามอัตราที่กําหนดในรูปแบบรายการละเอียดท่ีแนบสัญญาจางทําใหราคากลาง
งานกอสรางสูงเกินความจําเปน เปนเงิน ๒๘๐,๗๖๒ บาท แยกเปนสัญญากอสรางรางระบายน้ํา
ค.ส.ล. เปนเงิน ๙๕,๖๖๗ บาท คงเหลือคาเสียหายจํานวน ๗๖,๕๓๓.๖๐ บาท สัญญากอสรางถนน
ค.ส.ล. เปนเงิน ๑๘๕,๐๙๕ บาท คงเหลือคาเสียหายจํานวน ๑๔๘,๐๗๖ บาท ใหผูฟองคดีในฐานะ
ผูควบคุมงานเปนผูสํารวจออกแบบและคํานวณปริมาณคางานดินขุด และในฐานะคณะกรรมการ
กําหนดราคากลางงานกอสรางและมีความเชี่ยวชาญในงานชางแตไมใชความระมัดระวังใหผูฟองคดี
รับผิดชดใชในอัตรารอยละ ๒๕ ของคาเสียหายแตละกรณีโดยในสัญญากอสรางรางระบายน้ํา
ค.ส.ล. รับผิดชดใชเปนเงินจํานวน ๑๙,๑๓๓.๔๐ บาท สัญญากอสรางถนน ค.ส.ล. รับผิดชดใช
เปนเงินจํานวน ๓๗,๐๑๙ บาท กรณีการคิดคางานซํ้าซอนในคาแรงงานอีกอัตรารอยละ ๓๐
ของคางานดินขุดในสัญญากอสรางรางระบายนํ้า ค.ส.ล. ทําใหเทศบาลตําบลนาหวาใหญ
ตองจายคางานดินขุดสูงเกินไปเปนเงินจํานวน ๕,๒๗๕.๓๒ บาท คงเหลือคาเสียหาย ๔,๒๒๐.๒๕ บาท
ใหคณะกรรมการรับผิดชดใชในอัตรารอยละ ๒๕ ของคาเสียหายและใหกรรมการทั้งสาม
คนรับผิดคนละสวนเทาๆ กัน คิดเปนเงินคนละ ๑,๐๕๕.๐๖ บาท กรณีคํานวณราคาคางาน
คอนกรีต ๑ : ๒ : ๔ สูงเกินจริง เนื่องจากมีการคิดคํานวณคาแรงงานซํ้าอีกทําใหราคากลาง
ท่ีกําหนดสูงเกินไป เปนเงินทั้งส้ิน ๑๖๗,๖๗๑ บาท แยกเปนสัญญากอสรางรางระบายน้ํา ค.ส.ล.

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version