The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แนวคำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ปี 2563 เรื่องละเมิด เล่มที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นคร เจือจันทร์, 2022-05-09 02:55:16

แนวคำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ปี 2563 เรื่องละเมิด เล่มที่ 1

แนวคำวินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ปี 2563 เรื่องละเมิด เล่มที่ 1

Keywords: เรื่องละเมิด เล่มที่ 1

๑๙๙

คดีหมายเลขแดงที่ อ. ๙๙/๒๕๖๒ วินิจฉัยโดยมติที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
คร้ังท่ี ๙/๒๕๖๐ เมื่อวันท่ี ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษายกฟอง นั้น
ศาลปกครองสงู สุดเหน็ พองดวยในผล

พิพากษายืน
คาํ พิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๙๔/๒๕๖๓ (ประชมุ ใหญ)

ผูฟองคดี (กรมศุลกากร) ฟองวา ผูถูกฟองคดีท้ังหาเปนทายาทโดยธรรมของนาย ส.
มลู เหตแุ หงการฟอ งคดนี ้สี บื เนือ่ งจากเม่ือครง้ั ทนี่ าย ส. ดาํ รงตําแหนงศุลการกั ษ กองตรวจสินคาขาออก
สังกัดผูฟองคดี โดยมีหนาที่ตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาขาออกรวมกับนายตรวจศุลกากร
ปรากฏขอเท็จจริงตามสํานวนการสอบสวนของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดวา
บริษัท อ. ซ่ึงเปนผูสงออกสินคาประเภทเส้ือผาไปยังตางประเทศ ไดทําการทุจริตขอรับเงินชดเชย
คาภาษีอากรสําหรับสินคาสงออกท่ีผลิตในราชอาณาจักร เปนจํานวนเงิน ๑,๗๖๕,๔๕๓.๐๗ บาท
โดยไมไ ดมีการสง สินคาออกไปนอกราชอาณาจกั รแตอ ยางใด เนอ่ื งจากนาย ส. ซงึ่ มหี นาที่ประทบั ดวงตรา
กศก. หรือแถบเหล็กศุลกากร ไมไดใชความระมัดระวังในการปฏิบัติหนาท่ีรวมกับนายตรวจศุลกากร
ในการตรวจปลอยสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร พฤติการณจึงถือไดวานาย ส.
ไดกระทําการโดยประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหผูฟองคดีไดรับความเสียหาย ผูฟองคดี
จงึ มคี าํ สั่ง ส่ังใหน าย ส. ชาํ ระคาสนิ ไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีเปนเงิน ๑๒๓,๙๔๑.๘๕ บาท ภายใน ๑๕ วัน
นบั แตว นั ท่ีไดรับคําสั่ง ภายหลังปรากฏขอเท็จจริงวา นาย ส. ไดถึงแกความตาย ผูฟองคดีจึงมีหนังสือ
แจงใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ถึงท่ี ๕ ในฐานะทายาทโดยธรรมของนาย ส. ชําระคาสินไหมทดแทนเปนเงิน
๑๒๓,๙๔๑.๘๕ บาท ใหแกผูฟองคดีภายใน ๑๕ วัน นับแตวันที่ไดรับแจง ปรากฏวาผูถูกฟองคดีที่ ๑
ถงึ ที่ ๕ มไิ ดน ําเงินมาชาํ ระภายในระยะเวลาดงั กลา ว จึงนาํ คดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่ง
ใหผูถูกฟองคดีท้ังหารวมกันหรือแทนกันชําระเงินจํานวน ๑๒๓,๙๔๑.๘๕ บาท พรอมดอกเบ้ีย
ในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันตรวจปลอยสินคาเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ และใหคืน
คาธรรมเนียมศาลทั้งหมดแกผูฟองคดี เห็นวา เมื่อปรากฏขอเท็จจริงวา นาย ส. เจามรดกไดเคย
ยื่นฟองคดีตอศาลปกครอง เพ่ือขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิกถอนคําส่ังที่เรียกใหนาย ส.
รับผดิ ชดใชคา สนิ ไหมทดแทน กรณปี ฏิบัตหิ นาทศี่ ุลการกั ษด ว ยความประมาทเลนิ เลออยางรายแรง
ในระหวางการพิจารณาคดีของศาลปกครอง นาย ส. ถึงแกความตาย ผูฟองคดีจึงไดย่ืนฟอง
ผูถูกฟองคดีทั้งหา ในฐานะทายาทของนาย ส. ใหรับผิดชดใชคาเสียหายมูลเหตุเดียวกันกับคดี
ทีน่ าย ส. ฟองขอใหเพิกถอนคําส่ังดังกลาว ซึ่งศาลปกครองสูงสุดมีคําพิพากษาท่ี อ. ๗๔๑/๒๕๕๘
ใหเพิกถอนคําสั่งดังกลาวบางสวน การท่ีศาลจะพิจารณาความรับผิดของผูถูกฟองคดีทั้งหา
ศาลจาํ ตอ งพจิ ารณาใหไดขอ เทจ็ จรงิ เปน ที่ยตุ ิกอ นวา นาย ส. เจามรดก ไดปฏิบัติหนาท่ีดวยความจงใจ
หรือประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหผูฟองคดีเสียหายหรือไม ซึ่งศาลปกครองไดเคยวินิจฉัย
ประเด็นนี้แลว ในคําพิพากษาของศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๗๔๑/๒๕๕๘ การดําเนินกระบวนพิจารณา
คดีน้ีจึงเปนการดําเนินกระบวนพิจารณาซํ้า ตามขอ ๙๖ แหงระเบียบของที่ประชุมใหญฯ วาดวย

แนวคําวนิ ิจฉัยศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๐

วธิ ีพิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓ จึงตองหามมิใหศาลรับคําฟองคดีนี้ไวพิจารณา ที่ศาลปกครองชั้นตน
พิพากษาใหผูถูกฟองคดีทั้งหาชําระคาสินไหมทดแทนเปนจํานวนเงิน ๕๔,๐๒๓.๗๓ บาท ใหแก
ผูฟองคดี พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอปของตนเงินดังกลาวนับแตวันทําละเมิด
โดยไมตองรับผิดเกนิ กวาราคาทรัพยมรดกทีต่ กทอดแกทายาทตามมาตรา ๑๖๐๑ แหงประมวลกฎหมาย
แพง และพาณชิ ย ทง้ั นี้ ใหช ําระใหเสร็จสิ้นภายใน ๖๐ วัน นับแตวันที่คดีถึงที่สุด ใหคืนคาธรรมเนียมศาล
ตามสวนของการชนะคดีใหแกผูฟองคดี สวนคําขออ่ืนนอกจากนี้ใหยก นั้น ศาลปกครองสูงสุด
ไมเห็นพอ งดวย

พิพากษากลับ เปนใหยกฟอง คืนคาธรรมเนียมศาลท้ังหมดในศาลปกครองช้ันตน
และในชัน้ อุทธรณใหแ กผูฟ อ งคดี

กรณเี ปนการฟองซ้ํา
คาํ สั่งศาลปกครองสูงสุดท่ี คผ.๘/๒๕๖๓ อางแลว ในประเด็นเขตอํานาจศาล หนา ๑๗
คาํ สง่ั ศาลปกครองสงู สดุ ท่ี คร.๑๐/๒๕๖๓ อางแลวในประเด็นเขตอาํ นาจศาล หนา ๔๐

ขอเทจ็ จรงิ หรือขอกฎหมายทีม่ ไิ ดยกขึ้นวา กันมาแลว โดยชอบในศาลปกครองช้นั ตน
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๗๔๕/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนขาราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ตําแหนง
ผูอํานวยการกองคลัง สังกัดกองคลัง สํานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ไดรับ
ความเดือดรอนหรือเสียหายจากการท่ีผูถูกฟองคดี (อธิการบดีมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี) ไดมีคําส่ัง
ลงวันท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๕๕ ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนรอยละ ๔๐ ของจํานวนเงิน
๔,๑๖๔,๙๕๕.๕๐ บาท คิดเปนเงินท่ีตองชดใช ๑,๖๖๕,๙๘๒.๒๐ บาท กรณีนาย ว. ผูใตบังคับบัญชา
ไดจัดทําและปลอมแปลงลายมือช่ือผูมีอํานาจลงนามส่ังจายเช็ค และลงนามรับเงินในใบสําคัญรับเงิน
โดยไมนําสงเปนเงินของทางราชการ เปนเหตุใหมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีไดรับความเสียหาย
เปนเงินจํานวน ๔,๑๖๔,๙๕๕.๕๐ บาท โดยท่ีผูถูกฟองคดีมีคําสั่งลงวันที่ ๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๔
แตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี คณะกรรมการสอบสวน
ขอเท็จจริงฯ เห็นวา การกระทําของผูฟองคดีเปนการกระทําโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง
เนอ่ื งจากผฟู องคดีเปนผูมีหนาที่ตามที่ไดรับมอบหมายจากผูบังคับบัญชาและมีหนาที่ท่ีจะตองควบคุม
กํากับดูแล และบังคับบัญชาใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติหรือผูใตบังคับบัญชาตามสายงานจะตองปฏิบัติ
ใหถูกตองตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ขอบังคับของทางราชการ จึงใหรับผิดชดใชคาสินไหม
ทดแทนรอยละ ๔๐ ของเงินจํานวน ๔,๑๖๔,๙๕๕.๕๐ บาท คิดเปนเงิน ๑,๖๖๕,๙๘๒.๒๐ บาท
ผู ถู ก ฟ อ ง ค ดี พิ จ า ร ณ า แ ล ว มี ค ว า ม เ ห็ น ต า ม ค ว า ม เ ห็ น ข อ ง ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส อ บ ข อ เ ท็ จ จ ริ ง ฯ
และนําเสนอกระทรวงการคลังเพื่อพิจารณาตอไป ตอมา ผูถูกฟองคดีมีคําส่ังลงวันที่ ๑๑
เมษายน ๒๕๕๕ ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี เปนเงิน

แนวคําวินจิ ฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๑

๑,๖๖๕,๙๘๒.๒๐ บาท และไดมีหนังสือลงวันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๕๕ แจงคําส่ังใหผูฟองคดีทราบ
ผูฟองคดีไมเห็นดวยจึงมีหนังสือลงวันท่ี ๒๖ เมษายน ๒๕๕๕ และลงวันที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕
อทุ ธรณคาํ สัง่ ดงั กลาว ตอ มา ผถู กู ฟอ งคดีไดมีหนังสือลงวันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕ แจงผูฟองคดีวา
ผูถูกฟองคดีพิจารณาอุทธรณแลวมีคําสั่งยืนตามคําส่ังลงวันท่ี ๑๑ เมษายน ๒๕๕๕ จึงนําคดีมาฟอง
ขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหเพิกถอนคําส่ังลงวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๕ ใหผูฟองคดี
ชดใชคาสินไหมทดแทน และคําสั่งลงวันท่ี ๑๘ เมษายน ๒๕๕๕ ท่ีแกไขคําส่ังลงวันท่ี ๑๑ เมษายน
๒๕๕๕ รวมท้งั ใหเ พิกถอนผลการพิจารณาคําอุทธรณตามหนังสือลงวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๕

ศาลปกครองสูงสุดวินิจฉัยวา ผูฟองคดีไดรับมอบหมายใหดํารงตําแหนงผูอํานวยการ
กองคลัง มีหนาที่รับผิดชอบในการกํากับดูแลภาพรวมของกองคลังและพัสดุในทุกดาน และหนาที่
ในการกํากับดูแลตรวจสอบการปฏิบัติงานของทุกหนวยงานยอยภายในกองคลัง ผูฟองคดีในฐานะ
ผูบังคับบัญชาจึงมีหนาท่ีตองกํากับดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติงานผูใตบังคับบัญชาทุกราย
ในกองคลังใหเปนไปตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับตางๆ ท่ีเกี่ยวของ ซึ่งรวมถึงการปฏิบัติงาน
ของนาย ว. ดวย ประกอบกับการที่ผูฟอ งคดเี ปนผูมอบหมายภาระงานใหนาย ว. ซ่ึงเปนลูกจางชั่วคราว
ทําหนาที่รับเช็ค เงินสด เงินอุดหนุนสนับสนุนจากหนวยงานอื่นพรอมนําสงและฝากธนาคาร
และใหม ีหนา ที่เก็บรักษาตนขั้วเช็ค สมุดเช็ค เก็บรักษาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร สมุดใบสําคัญรับเงิน
ซ่ึงผูฟองคดียอมตองทราบเปนอยางดีแลววา การดูแลเก็บรักษาเอกสารดังกลาวอันเปนเอกสาร
หลักฐานสําคัญเก่ียวกับการเงินโดยเปนภาระงานท่ีมีความเส่ียงสูงท่ีผูปฏิบัติงานอาจจะกอใหเกิด
ความเสียหายแกหนวยงานได น้ัน เปนการมอบหมายงานมีลักษณะเปนการฝาฝนไมถือปฏิบัติ
ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ท่ีหามมิใหสวนราชการใชลูกจางชั่วคราว
ปฏิบตั งิ านดานการเงินและบญั ชี เวน แตกรณที ีส่ วนราชการมขี า ราชการหรอื ลูกจางประจําปฏิบตั ิหนา ท่ี
ดานการเงินและบัญชีไมเพียงพอ ผูฟองคดีในฐานะผูบังคับบัญชาผูมอบหมายงานดังกลาวจึงมีหนาท่ี
ในการควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติหนาท่ีของนาย ว. อยางเครงครัดเปนพิเศษ ประกอบกับนาย ว.
ไดกระทําการทุจริตเปนเวลากวา ๒ ป จนพนจากตําแหนงลูกจางช่ัวคราวเม่ือสิ้นสุดสัญญาจาง
ไปแลวจึงมีการตรวจสอบพบการทุจริต น้ัน แสดงใหเห็นวา ผูฟองคดีละเลยในการปฏิบัติหนาท่ี
ในฐานะผูอ าํ นวยการกองคลังซึ่งเปน ผูบงั คับบญั ชาท่ีมีหนาที่ควบคุมดูแลเงินงบประมาณของหนวยงาน
และมีหนาที่ควบคุมการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีในสังกัดกองคลัง ซึ่งตามภาวะวิสัยของบุคคล
ที่ดํารงตําแหนงและปฏิบัติหนาท่ีเชนเดียวกับผูฟองคดี ยอมจะตองใชความระมัดระวังในการควบคุม
ตรวจสอบการทํางานของผูใตบังคับบัญชาอยางสมํ่าเสมอ แตผูฟองคดีกลับไมไดควบคุมดูแล
ผใู ตบงั คับบญั ชาใหป ฏิบัตหิ นา ทใี่ หเ ปน ไปตามกฎหมายอยางเครงครัด จนเปดโอกาสใหนาย ว. กระทํา
การทุจริตยักยอกเงิน โดยการกระทําทุจริตของนาย ว. เปนการกระทําที่ไมอาจอาศัยการดําเนินการ
แตเพียงลําพังเฉพาะตัวผูกระทําทุจริตเองก็สามารถทําการทุจริตสําเร็จไดโดยงาย หากผูฟองคดี
และผูบังคับบัญชาช้ันตนในฐานะหัวหนางานงบประมาณไดปฏิบัติงานโดยใชความระมัดระวังและ
ความละเอียดรอบคอบในการควบคุมตรวจสอบการทําหนาที่ รับเช็ค เงินสด เงินอุดหนุนสนับสนุน
จากหนวยงานอื่นพรอมนําสงและฝากธนาคาร และตรวจสอบการเก็บรักษาตนขั้วเช็ค สมุดเช็ค

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๒

เก็บรักษาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคาร สมุดใบสําคัญรับเงิน ใบเสร็จรับเงิน ของนาย ว. อยางเครงครัด
ตามระบบบัญชีมาตรฐานแลว ยอมไมเปนการยากที่จะตรวจสอบพบการกระทําทุจริตหรือปองกัน
การกระทําผิดของนาย ว. ได ดังนั้น การท่ีนาย ว. สามารถกระทําการทุจริตตอเน่ืองกันมา
เปนเวลาถึง ๒ ป และกอใหเกิดความเสียหายจํานวนท่ีสูงมาก จึงเปนผลโดยตรงจากการกระทํา
ของผูฟองคดีที่บกพรองในการปฏิบัติหนาที่ควบคุมตรวจสอบกรณีดังกลาว รวมถึงบกพรอง
ในการกํากับดูแลผูใตบังคับบัญชาดวย จึงถือไดวา ผูฟองคดีการกระทําโดยประมาทเลินเลอ
อยางรายแรงในการปฏิบัติหนาที่ละเลยไมควบคุมการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชา จนเปนเหตุให
นาย ว. กระทําการทุจริตได ผูฟองคดีจึงตองรับผิดชดใชความเสียหายใหแกผูถูกฟองคดี
ตามมาตรา ๑๐ วรรคหน่ึง ประกอบกับมาตรา ๘ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี
พ.ศ. ๒๕๓๙ นอกจากนี้ การท่ีผูฟองคดีอางวา มหาวิทยาลัยไมไดดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบ
อยางเครงครัด แตเปนลักษณะการปฏิบัติงานตามธรรมเนียมปฏิบัติตอเน่ืองกันมา ไมเคยมีคําส่ัง
ระเบียบ หรือแนวทางปฏิบัติใหตองปฏิบัติงานท่ีแตกตางไปจากการดําเนินโครงการอื่นๆ รวมทั้ง
การมอบหมายใหนาย ว. ปฏิบัติงานก็เชนเดียวกัน ไมไดแตกตางไปจากการมอบหมายให
ปฏิบัติงานในโครงการอื่นๆ ของมหาวิทยาลัย การทุจริตจึงไมไดเกิดจากผูฟองคดีโดยตรง
แตเปนขอบกพรอ งของมหาวทิ ยาลัยทไ่ี มไ ดว างระบบเกี่ยวกบั การเงินไว น้ัน ขออางดังกลาวยังไมมี
เหตุผลเพียงพอใหรับฟงไดวาเปนความบกพรองของหนวยงานรัฐหรือระบบการดําเนินงาน
สว นรวม เนอื่ งจากกรณีนีก้ ระทรวงการคลังไดม ีระเบยี บการเบิกจายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงิน
และการนําเงินสงคลัง พ.ศ. ๒๕๕๑ กําหนดไวชัดเจนแลว ประกอบกับการมอบหมายภาระงาน
ใหแก นาย ว. ซึ่งเปนเอกสารหลักฐานสําคัญเก่ียวกับการเงินและภาระงานที่มีความเสี่ยงสูง
จึงเปนการมอบหมายทีม่ ีลักษณะไมสอดคลองและไมเหมาะสมกับตําแหนงลูกจางช่ัวคราว รวมทั้ง
การมอบหมายใหลูกจางช่ัวคราวปฏิบัติงานดานการเงินและบัญชีเปนการฝาฝนไมปฏิบัติตาม
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๓๕ ซึ่งหามมิใหสวนราชการใชลูกจางช่ัวคราว
ปฏิบัติงานดังกลาว ดังนั้น การกระทําทุจริตของนาย ว. จึงเกิดจากความผิดหรือความบกพรอง
ของผูบังคับบัญชาโดยตรงในการมอบหมายภาระงานและการกํากับดูแลควบคุมตรวจสอบ
เจาหนาที่ผูอยูภายในการบังคับบัญชาของตน ผูบังคับบัญชาจึงตองรับผิดในฐานะสวนตัว
โดยไมอาจกลาวอางไดวาเปนความผิดหรือความบกพรองของหนวยงานของรัฐ จึงไมมีเหตุใหตอง
หักสวนความรับผิดอันเกิดจากความบกพรองของหนวยงานของรัฐหรือระบบการดําเนินงาน
สว นรวม ตามมาตรา ๘ วรรคสาม แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙
และเมื่อความเสียหายที่เกิดข้ึนเกิดจากการกระทําทุจริตของนาย ว. เพียงลําพัง ผูฟองคดี
ไมไ ดมีสว นรว มหรอื มสี วนรเู หน็ กับการกระทาํ ทุจริตของบุคคลดังกลาว ดังนั้น การกําหนดสัดสวน
ความรับผิดของผูฟองคดีในฐานะผูบังคับบัญชาช้ันเหนือขึ้นไปเพื่อกําหนดเปนคาสินไหมทดแทน
จึงตองพิจารณาตามแนวทางการกําหนดสัดสวนความรับผิดของเจาหนาที่ ตามหนังสือ
กระทรวงการคลัง ดวนท่ีสุด ท่ี กค ๐๔๐๖.๒/ว ๖๖ ลงวันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๕๐ ที่กําหนดให
ผบู ังคับบัญชาชัน้ ตน – ชน้ั กลาง/ผูผานงาน หรือผูบ ังคับบญั ชาชั้นสูง/ผูอนุมัติ ตองรับผิดในสัดสวน

แนวคําวนิ ิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๓

ความรบั ผิดรอ ยละ ๒๐ ของคาเสียหาย ดังนั้น จึงกําหนดสัดสวนความรับผิดของผูฟองคดีรอยละ
๒๐ ของคาเสียหาย เม่ือความเสียหายที่เกิดขึ้นเปนเงินจํานวน ๔,๑๖๔,๙๕๕.๕๐ บาท ผูฟองคดี
จึงตองรับผิดชดใชคาเสียหายเปนเงินจํานวน ๘๓๒,๙๙๑.๑๐ บาท การท่ีผูถูกฟองคดีกําหนด
ความรบั ผิดของผฟู อ งคดรี อยละ ๔๐ ของคาเสียหายทัง้ หมด จงึ เปน การกําหนดสัดสวนความรับผิด
ท่ีไมไดคํานึงถึงความเปนธรรมและไมชอบดวยกฎหมาย ตามมาตรา ๘ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว
ดงั นนั้ คาํ ส่ังของผูถูกฟอ งคดีทเี่ รยี กใหผฟู อ งคดรี ับผิดชดใชค าเสียหายใหแกผูถูกฟองคดี เฉพาะสวน
ที่เรียกใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาเสียหายเกินกวารอยละ ๒๐ ของคาเสียหาย หรือเกินกวา
๘๓๒,๙๙๑.๑๐ บาท จึงไมชอบดวยกฎหมาย สวนท่ีผูฟองคดีอางวา คําวินิจฉัยอุทธรณของ
ผูถูกฟองคดีที่ใหยกอุทธรณไมชอบดวยกฎหมาย เน่ืองจากผูถูกฟองคดีไมนําสงอุทธรณของ
ผูฟองคดีไปยังเลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพ่ือพิจารณาอุทธรณตามมาตรา ๒๙
มาตรา ๓๐ วรรคสี่ แหง พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๑๘
วรรคสาม แหง พ.ร.บ. มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี พ.ศ. ๒๕๓๓ ประกอบขอ ๒ (๑๔) ของ
กฎกระทรวง ฉบับที่ ๔ (พ.ศ. ๒๕๔๐) ออกตามความใน พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
พ.ศ. ๒๕๓๙ ผูถ กู ฟองคดีไมมีอํานาจพิจารณาอุทธรณ นั้น ขอที่ยกขึ้นอางนี้มิไดเปนขอที่ไดยกขึ้น
วากันมาแลวโดยชอบในศาลปกครองช้ันตน ท้ังมิไดเปนปญหาอันเก่ียวดวยความสงบเรียบรอย
ของประชาชนหรือปญหาเกี่ยวกับประโยชนสาธารณะ ผูฟองคดีจึงไมอาจยกขึ้นกลาวอาง
ในชั้นอุทธรณได ตามขอ ๑๐๑ วรรคสอง แหงระเบียบของท่ีประชุมใหญฯ วาดวยวิธีพิจารณา
คดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓ ที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งลงวันที่ ๑๑ เมษายน
๒๕๕๕ และคําส่ังลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๕ ในสวนท่ีเรียกใหผูฟองคดีชําระคาสินไหมทดแทน
เกนิ จํานวน ๔๑๖,๔๙๕.๕๕ บาท โดยมขี อสังเกตใหกําหนดเง่ือนไขทายคําสั่งดวยวา หากผูถูกฟองคดี
ไดรับการชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหายจากนาย ว. แลว เม่ือนํามารวมกับจํานวนเงินที่
ผฟู อ งคดีชดใชไ วเกนิ จาํ นวนความเสียหาย ใหค ืนเงนิ สว นท่ีไดรับชําระไวใหแกผูฟองคดีตามสัดสวน
แหงความรบั ผดิ คาํ ขออืน่ นอกจากนใี้ หยก นัน้ ศาลปกครองสูงสดุ เห็นพอ งดว ยบางสว น

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําส่ังลงวันที่ ๑๑ เมษายน ๒๕๕๕ และคําสั่งลงวันท่ี
๑๘ เมษายน ๒๕๕๕ ในสวนท่ีเรียกใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๘๓๒,๙๙๑.๑๐ บาท
ทั้งนี้ ใหมีผลยอนหลังนับตั้งแตวันท่ีมีคําส่ังดังกลาว นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษา
ศาลปกครองชนั้ ตน

กรณีการสง่ั แกค ําสั่งของศาลปกครองชัน้ ตน
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๑๐๒-๑๐๓/๒๕๖๓

ผูฟองคดีทั้งหาฟองวา ผูฟองคดีทั้งหาเปนขาราชการพลเรือนสามัญตําแหนง
เจาหนาที่ศุลการักษ สังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) โดยผูฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๔ ไดรับ
ความเดือดรอนจากคําส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ที่แจงใหผูฟองคดีที่ ๑

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๔

ถงึ ที่ ๔ รับผิดชดใชค าสนิ ไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ กรณีบริษัท บ. ทุจริตในการขอรับเงิน
ชดเชยคาภาษีอากรหรือขอคืนคาภาษีอากรวัตถุดิบตามมาตรา ๑๙ ทวิ แหง พ.ร.บ. ศุลกากร
(ฉบับที่ ๙) พุทธศักราช ๒๔๘๒ ผูฟองคดีที่ ๑ ถึงที่ ๔ ไดย่ืนอุทธรณคําสั่งดังกลาว ตอมา
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒ (อธิบดีกรมศุลกากร) มีคําสั่งลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๐
โดยส่ังตามความเห็นของผูถูกฟองคดีที่ ๓ (กระทรวงการคลัง) ใหผูฟองคดีทั้งหารับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนกรณีบริษัท บ. กระทําการทุจริตดังกลาว และไดมีหนังสือแจงใหผูฟองคดีทั้งหา
ทราบ ผฟู องคดีทั้งหาอุทธรณคําสั่งดังกลาว แตจนถึงวันฟองคดียังไมมีการแจงผลอุทธรณใหผูฟองคดี
ท้ังหาทราบแตอยางใด ผูฟองคดีท้ังหาจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิกถอน
คําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีท่ี ๑ ถึง
ท่ี ๔ ตองรับผิด และคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ เฉพาะสวนท่ีให
ผูฟองคดีทั้งหาตองรับผิด เห็นวา คดีนี้มีประเด็นท่ีตองวินิจฉัยในชั้นอุทธรณกอนวา ผูฟองคดีท้ังหา
มีสิทธิฟองผูถูกฟองคดีที่ ๓ และท่ี ๔ (ปลัดกระทรวงการคลัง) หรือไม เม่ือผูถูกฟองคดีที่ ๑
สงสํานวนการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไปใหผูถูกฟองคดีท่ี ๓ พิจารณาตามขอ ๑๗
วรรคสอง ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิด
ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เม่ือผูถูกฟองคดีที่ ๓ มีความเห็นเชนใดแลว ผูถูกฟองคดีที่ ๑
ตองมีคําส่ังตามความเห็นของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ตามขอ ๑๘ วรรคหนึ่ง ของระเบียบดังกลาว
โดยผถู ูกฟอ งคดีท่ี ๑ ไมม ีอาํ นาจมีคําสั่งเปนอยางอื่น ความเห็นของผูถูกฟองคดีที่ ๓ จึงเปนสาเหตุ
สําคัญท่ีกอใหเกิดความเดือดรอนเสียหายแกผูฟองคดีท้ังหา ผูฟองคดีทั้งหาจึงมีสิทธิฟอง
ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ และท่ี ๔ สวนประเด็นวาผูฟองคดีทั้งหากระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑
หรือไม นั้น เมื่อการปฏิบัติงานตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
ของนายตรวจหรือสารวัตรศุลกากร และการปฏิบัติงานประทับดวงตราตะก่ัว กศก. หรือร
อยแถบเหล็ก RTC ของศุลการักษ จะตองปฏิบัติงานสอดคลองและเก่ียวเน่ืองกัน การปฏิบัติงาน
ของทั้งสองหนาท่ีจึงไมอาจแยกจากกันได สําหรับการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรน้ัน
หลังจากท่ีนายตรวจศุลกากรไดตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรแลว
ศุลการักษมีหนาท่ีท่ีจะตองประทับดวงตรา กศก. หรือรอยแถบเหล็กศุลกากรเพื่อใหทราบวา
สินคาในคอนเทนเนอรไดรับการตรวจและพรอมที่จะสงออกไปตางประเทศแลว ทั้งน้ี การท่ี
ศุลการักษจะประทับดวงตรา กศก. ไดนั้น ตองปรากฏขอเท็จจริงวา ภายในคอนเทนเนอร
ไดบรรจุสินคาของผูสงออกตามประเภทและจํานวนดังท่ีปรากฏอยูในใบขนสินคาขาออกและ
ในใบกํากับคอนเทนเนอรดวยแลว อันเปนไปตามคําสั่งกองตรวจสินคาขาออกท่ี ๑๓/๒๕๓๐
เร่ือง การตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ และคําส่ัง
ที่ ๔๖/๒๕๓๐ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๐ ท่ีใหใชประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
และยกเลิกประมวลขอบังคับศุลกากร พ.ศ. ๒๔๘๑ แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๐๑ ขอ ๐๓ ๐๒ ๐๖
และขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ คดีน้ีเมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ในการสงสินคาออกไปตางประเทศของบริษัท บ.
ตามใบขนสินคาขาออก จํานวน ๑๑ ฉบับ บริษัท บ. ไมไดสงสินคาออกตามใบขนสินคาขาออก

แนวคาํ วินิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๕

ดังกลาวจริง แตกลับนําใบขนสินคาขาออกดังกลาวไปย่ืนขอคืนคาภาษีอากรตามมาตรา ๑๙ ทวิ
แหง พ.ร.บ. ศุลกากร (ฉบับท่ี ๙) พุทธศักราช ๒๔๘๒ จนเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับ
ความเสียหาย ความเสียหายดังกลาวสวนหน่ึงจึงเปนผลจากการที่ผูฟองคดีท้ังหาปฏิบัติหนาท่ี
ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรงและกอใหเกิดความเสียหายแกผูถูกฟองคดีที่ ๑
กรณีจึงถือไดวาเปนการกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ผูฟองคดีท้ังหาจึงตองรับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
เมื่อบริษัท บ. ไดขอคืนคาภาษีอากรตามใบขนสินคาขาออกจํานวน ๗ ฉบับ ซ่ึงมีผูฟองคดีท่ี ๑
ถึงท่ี ๔ ปฏิบัติหนาที่ศุลการักษ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดอนุมัติคืนคาภาษีอากรเมื่อวันท่ี ๑๘
ธันวาคม ๒๕๓๘ วันท่ี ๓๐ มกราคม ๒๕๓๙ และวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๓๙ ตามลําดับ วันดังกลาว
จงึ ถือเปนวนั ทผี่ ถู กู ฟองคดที ่ี ๑ ไดรับความเสียหายและถือเปนวันที่มีการทําละเมิดตอผูถูกฟองคดี
ที่ ๑ อันเปนกรณีท่ีมีการกระทําละเมิดเกิดข้ึนกอน พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี
พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับเมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ หลักเกณฑในสวนท่ีเปนสารบัญญัติ
จึงตองเปนไปตามหลักเกณฑในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหน่ึง
มาตรา ๔๔๒ และมาตรา ๒๒๓ วรรคหน่ึง สวนใบขนสินคาขาออกอีกจํานวน ๕ ฉบับ
ซึ่งมีผูฟองคดีที่ ๕ ปฏิบัติหนาที่ศุลการักษ เปนกรณีท่ีมีการกระทําละเมิดเกิดข้ึนหลัง พ.ร.บ.
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับ การพิจารณาความรับผิด
ทางละเมิดจึงตองพิจารณาตามพระราชบัญญัติดังกลาว โดยเมื่อพิจารณาตามพฤติการณ
แหงกรณีแลว การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมไดจัดสรรอัตรากําลังเจาหนาที่ในตําแหนงนายตรวจ
ศุลกากรและศุลการักษในข้ันตอนการตรวจปลอยสินคา เพื่อใหเพียงพอกับปริมาณงานการตรวจ
ปลอยสินคาสงออกที่บรรจุเขาคอนเทนเนอรท่ีเพิ่มมากข้ึน อันเปนผลสืบเนื่องจากนโยบาย
การสงเสริมการสงสินคาออกของรัฐบาลในขณะน้ัน โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จะตองกําหนดหลักเกณฑ
จัดระบบการดําเนินงาน และมีมาตรการตรวจสอบและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
ท่ีรัดกุมเพ่ือปองกันการทุจริต แตการท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมสามารถดําเนินการดังกลาวไดอยางดีพอ
เปนสวนหน่ึงที่ทําใหเกิดความเสียหายดังกลาว ดังน้ัน เม่ือความเสียหายของผูถูกฟองคดีที่ ๑
เกิดจากความบกพรองของระบบงานของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมยิ่งหยอนไปกวาการกระทําของ
ผูฟองคดีทั้งหา จึงสมควรหักสวนแหงความบกพรองของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของ
คา เสยี หายที่ผฟู อ งคดีทั้งหา จะตอ งรับผิด อยา งไรก็ตาม เน่ืองจากกรณีดังกลาวมีผูกระทําผิดหลายคน
ไดแก นายตรวจศุลกากรและศุลการักษ พิจารณาแลวเห็นวา ในการกําหนดคาสินไหมทดแทน
จะตองพิจารณาวาความเสียหายเกิดขึ้นเพราะฝายใดเปนผูกอย่ิงหยอนไปกวากันเพียงไร
เมื่อการกระทําของเจาหนาที่แตละคนแยกจากกัน โดยนายตรวจศุลกากรมีหนาท่ีรับผิดชอบ
ในการตรวจสอบสินคาตามใบขนสินคาขาออกโดยตรง สวนศุลการักษมีหนาที่เพียงชวยเหลือ
นายตรวจศุลกากรเทาน้ัน เมื่อผูฟองคดีท้ังหาเปนศุลการักษ ความบกพรองของผูฟองคดีทั้งหา
จึงมีสัดสวนนอยกวานายตรวจศุลกากร จึงเห็นควรใหผูฟองคดีท้ังหารับผิดรอยละ ๓๐ ของ
คาเสียหายตามใบขนสินคาขาออกท่ีเกี่ยวของหลังหักสวนแหงความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑

แนวคาํ วนิ จิ ฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๖
ท้ังนี้ตามมาตรา ๑๐ วรรคหน่ึง และมาตรา ๘ วรรคหน่ึง วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่
แหงพระราชบัญญัติเดียวกัน เม่ือคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันที่ ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ และ
ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ ใหผูฟองคดีที่ ๑ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนรวมกับนาย ว.
(นายตรวจศุลกากร) เปนเงิน ๔๔๓,๙๒๒ บาท ใหผูฟองคดีที่ ๒ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
รวมกับนาย ว. (นายตรวจศุลกากร) เปนเงิน ๔๗๔,๔๕๓ บาท ใหผูฟองคดีท่ี ๓ รับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนรวมกับนาย พ. (นายตรวจศุลกากร) เปนเงิน ๘๒๐,๔๒๒ บาท และใหผูฟองคดีท่ี ๔
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนรวมกับนาง ท. (นายตรวจศุลกากร) เปนเงิน ๒๑๑,๓๗๕ บาท
ดังนั้น ผูฟองคดีท่ี ๑ จึงตองรับผิดคิดเปนเงิน ๖๖,๕๘๘.๓๐ บาท ผูฟองคดีท่ี ๒ ตองรับผิด
คิดเปนเงิน ๗๑,๑๖๗.๙๕ บาท ผูฟองคดีท่ี ๓ ตองรับผิดคิดเปนเงิน ๑๒๓,๐๖๓.๓๐ บาท และ
ผูฟองคดีที่ ๔ ตองรับผิดคิดเปนเงิน ๓๑,๗๐๖.๒๕ บาท สวนผูฟองคดีท่ี ๕ ผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดม ีคาํ สง่ั ของผถู ูกฟองคดที ี่ ๑ ลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ ใหผูฟองคดีท่ี ๕ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
รอยละ ๓๐ ของคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออกที่เกี่ยวของ รวม ๕ ฉบับ จํานวน ๗๒๕,๓๓๑ บาท
จึงใหห กั สว นแหง ความรบั ผิดของผถู กู ฟอ งคดีท่ี ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของความเสียหายท่ีผูถูกฟองคดี
ท่ี ๑ ไดรับเชนเดียวกัน ผูฟองคดีท่ี ๕ จึงตองรับผิดเปนเงินจํานวน ๑๐๘,๗๙๙.๖๕ บาท ดังน้ัน
การทผ่ี ถู กู ฟองคดีที่ ๑ โดยผูถ ูกฟอ งคดีท่ี ๒ มีคําสั่งของผูถกู ฟอ งคดีที่ ๑ ลงวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๘
และลงวันท่ี ๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีทั้งหารับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแก
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เปนเงินเกินกวาจํานวน ๖๖,๕๘๘.๓๐ บาท ๗๑,๑๖๗.๙๕ บาท ๑๒๓,๐๖๓.๓๐ บาท
๓๑,๗๐๖.๒๕ บาท และ ๑๐๘,๗๙๙.๖๕ บาท ตามลําดับ จึงไมชอบดวยกฎหมาย ที่ศาลปกครองชั้นตน
พิพากษาใหเพิกถอนคําส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลงวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ และลงวันที่
๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๑ ท่ี ๒ ที่ ๓ ท่ี ๔ และที่ ๕ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
แกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เปนเงินเกินกวาจํานวน ๖๖,๕๘๘.๓๐ บาท ๗๑,๑๖๗.๙๕ บาท
๑๒๓,๐๖๓.๓๐ บาท ๓๑,๗๐๖.๒๕ บาท และ ๑๐๘,๗๙๙.๖๕ บาท ตามลําดับ คําขออ่ืนนอกจากน้ี
ใหย ก โดยมไิ ดก ําหนดคําบังคับใหการเพิกถอนคําส่ังดังกลาวมีผลต้ังแตเม่ือใด นั้น ศาลปกครองสูงสุด
เห็นพองดวยบางสวน เนื่องจากคําพิพากษาของศาลปกครองช้ันตนยังไมตองดวยมาตรา ๗๒
วรรคสอง แหง พ.ร.บ. จัดต้ังศาลปกครองฯ ซึ่งศาลปกครองสูงสุดมีอํานาจพิพากษาแกใหถูกตองได
ตามนยั ขอ ๑๑๑ (๔) แหง ระเบียบของที่ประชมุ ใหญฯ วาดว ยวิธพี ิจารณาคดีปกครอง พ.ศ. ๒๕๔๓

พพิ ากษาแก เปน ใหเ พิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๘
และลงวันที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๐ เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีท่ี ๑ ท่ี ๒ ท่ี ๓ ท่ี ๔ และที่ ๕ รับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนเงินเกินกวาจํานวน ๖๖,๕๘๘.๓๐ บาท ๗๑,๑๖๗.๙๕ บาท
๑๒๓,๐๖๓.๓๐ บาท ๓๑,๗๐๖.๒๕ บาท และ ๑๐๘,๗๙๙.๖๕ บาท ตามลําดับ ท้ังนี้ ใหมีผล
ยอ นหลงั นบั แตว นั ที่ออกคาํ ส่ังเปน ตนไป นอกจากท่แี ก ใหเปนไปตามคาํ พิพากษาของศาลปกครองชน้ั ตน

แนวคําวินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๗

กรณีไมมีเหตุอนั สมควรท่ีจะยกคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน แลวสงสํานวนคดีคืนไปยัง
ศาลปกครองช้ันตนเพอ่ื ใหม ีคําพิพากษาหรอื มีคาํ ส่ังใหม
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.๖๖๗/๒๕๖๓ อา งแลวในประเดน็ เขตอาํ นาจศาล หนา ๑๐๘

การนาํ วธิ พี ิจารณาคดปี กครองในศาลปกครองชนั้ ตน มาใชบ งั คับโดยอนโุ ลม
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ.๙๑/๒๕๖๓ อางแลวในประเดน็ เงือ่ นไขการฟองคดี หนา ๑๓๐
คาํ พิพากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๑๕๓/๒๕๖๓ อางแลว ในประเดน็ เงือ่ นไขการฟองคดี หนา ๑๘๐
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.๗๓๗/๒๕๖๓ อา งแลวในประเด็นเขตอํานาจศาล หนา ๑๑๐

เนื้อหาแหง คดี
ฟองขอใหชดใชคาเสียหายกรณีตนไมบริเวณรองกลางถนนหักโคนลมเปนเหตุใหรถยนต
โดยสารประสบอบุ ตั ิเหตุ
คําพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ. ๒/๒๕๖๓ อา งแลว ในประเด็นเขตอํานาจศาล หนา ๙๙

ฟองขอใหเพิกถอนคําสั่งใหชดใชคาสินไหมทดแทนกรณีประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุให
ทรัพยท ีร่ ับจาํ นาํ ไวสูญหาย
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ.๑๑/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนพนักงานสถานธนานุบาล สังกัดผูถูกฟองคดีที่ ๒
(สํานักงานคณะกรรมการจัดการสถานธนานุบาลขององคกรปกครองสวนทองถิ่น) ดํารงตําแหนง
ผูจัดการสถานธนานุบาลเทศบาลเมืองปทุมธานี ระหวางวันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๔๕ ถึงวันที่
๒๐ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มีคําสั่งใหยายผูฟองคดีไปดํารงตําแหนงผูจัดการสถานธนานุบาล
เทศบาลตําบลกบนิ ทร อาํ เภอกบินทรบรุ ี จังหวดั ปราจนี บุรี ตงั้ แตวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ เปนตนไป
และผูถูกฟองคดีที่ ๑ (เทศบาลเมืองปทุมธานี) ไดมอบหมายใหนาย ส. เปนผูจัดการสถานธนานุบาล
เทศบาลเมืองปทุมธานีแทนผูฟองคดี โดยไดรับมอบงานต้ังแตวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ หลังจากนั้น
เมือ่ วนั ท่ี ๒๑ มนี าคม ๒๕๔๘ นางสาว อ. พนักงานรักษาของ ของสถานธนานุบาลของผูถูกฟองคดีที่ ๑
ไมมาปฏิบัติงาน สถานธนานุบาลของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดรายงานผูตรวจสถานธนานุบาลประจําเขต ๔
และผูถูกฟองคดีที่ ๒ ทราบ เพ่ือตรวจสอบ จากการตรวจสอบพบวา ทรัพยรับจํานําเก็บรักษา
ไวในหองสตรองรูมถูกร้ือคนกระจัดกระจาย และมีทรัพยรับจํานําในชวงเดือนตุลาคม ๒๕๔๗
ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๔๘ สูญหายจํานวน ๒๕๙ รายการ เปนเงินทั้งสิ้น ๘,๓๔๗,๑๘๕.๐๔ บาท
ท้ังปรากฏรายชื่อบุคคลผูจํานําซ้ํากันจํานวน ๔ คน ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดแจงความขอหาลักทรัพย
แกนางสาว อ. ตอพนักงานสอบสวน จากการสืบสวนสอบสวนพบวา มีนาง จ. พนักงานทะเบียน

แนวคาํ วินิจฉัยศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๘

สังกัดเดียวกันนาจะมีสวนเก่ียวของดวย ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงมีคําส่ังลงวันท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๘
แตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนวินัยอยางรายแรงนางสาว อ. และนาง จ. ตอมา ผูถูกฟองคดีที่ ๑
มีคําสัง่ ลงวันที่ ๑ เมษายน ๒๕๔๘ แกไขคําสั่งลงวันท่ี ๒๕ มีนาคม ๒๕๔๘ โดยแกไขจํานวนทรัพย
จํานําสูญหาย เปน ๒๖๓ รายการ เปนเงิน ๕,๘๒๑,๑๐๐ บาท ตอมา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคําส่ังลงวันท่ี
๓๑ พฤษภาคม ๒๕๔๘ แตงตง้ั คณะกรรมการรวมกันตรวจสอบทรพั ยรบั จํานําของสถานธนานุบาล
ปรากฏวา ทรัพยท่ีไดรับจํานําไวเปนทรัพยปลอมและรับจํานําไวเกินราคาจํานวน ๑๓ รายการ
เปนเงินจํานวน ๒๓๒,๖๐๐ บาท ตอมา วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๔๘ คณะกรรมการสอบสวนวินัยรายแรง
เห็นวา ผูฟองคดีมีพฤติกรรมใชชื่อบุคคลอ่ืนรับจํานําทรัพยของตนเองหลายคร้ัง ทั้งยังรับจํานําทรัพย
ราคาสูงกวาความเปนจริง และทรัพยบ างรายการเปนของปลอม ถือวาผูฟองคดีจงใจไมปฏิบัติตามกฎหมาย
และระเบียบแบบแผนของทางราชการหรือมติคณะกรรมการจัดการสถานธนานุบาลขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น (จ.ส.ท.) หรือประมาทเลินเลอในการปฏิบัติหนาที่เปนเหตุใหเสียหายแกสถานธนานุบาล
อยางรายแรง ทั้งยังนาเชื่อวาผูฟองคดีมีพฤติการณรวมกันลักทรัพยนายจางกับนางสาว อ.
เห็นสมควรแจงความรองทุกขเพ่ือดําเนินการทางอาญา สวนการดําเนินการทางวินัยเน่ืองจาก
ผูฟองคดียายไปดํารงตําแหนงผูจัดการสถานธนานุบาลเทศบาลตําบลวัดสิงห เห็นควรรวบรวมเอกสาร
พยานหลักฐานท่ีเกี่ยวของรายงานผูถูกฟองคดีที่ ๒ และเทศบาลตําบลวัดสิงหเพ่ือดําเนินการ
สอบสวนวินัยผูฟองคดีตอไป ตอมา ผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีคําสั่งลงวันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๘
ใหผูฟ องคดีพักงานเพอื่ รอฟง ผลการสอบสวน ตอมา ผูถ กู ฟอ งคดีท่ี ๒ มีคําสั่งลงวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๕๓
ไลผูฟองคดีออกจากพนักงานสถานธนานุบาล ในสวนการดําเนินการเพ่ือหาผูรับผิดทางละเมิด
จงั หวัดปทมุ ธานีมคี าํ สง่ั ลงวันท่ี ๒๐ เมษายน ๒๕๔๘ แตงต้ังคณะกรรมการสอบสวนหาผูรับผิดทางแพง
ซ่ึงในชั้นตนคณะกรรมการฯ เห็นวา ผูฟองคดีตองรับผิดเกี่ยวกับการรับจํานําทรัพยของนาง ล.
โดยใชชื่อของนาย ป. นาย อ. และนาย ภ. เปนเงินท้ังสิ้น ๘๗๔,๘๗๗.๕๐ บาท ผูถูกฟองคดีท่ี ๑
จึงมีคําสั่งลงวันท่ี ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ เรียกใหผูฟองคดีชดใชเงินจํานวน ๘๗๔,๘๗๗.๕๐ บาท
ตอมา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีคําสั่งใหยกเลิกคําสั่งลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ และมีคําส่ังลงวันท่ี
๑๔ กนั ยายน ๒๕๕๒ เรยี กใหผูฟ องคดีชดใชเงินตามจํานวนที่คํานวณไดใหม คือ ๓,๘๙๘,๒๘๗.๑๒ บาท
ผูฟองคดีจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาเพิกถอนคําส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันที่
๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ ท่ีสั่งใหผูฟองคดีชดใชเงิน และเพิกถอนคําส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ลงวันท่ี
๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ที่ส่ังพักงานผูฟองคดี ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งของ
ผถู กู ฟอ งคดีท่ี ๑ ลงวันท่ี ๒๒ กนั ยายน ๒๕๔๙ ซึง่ แกไ ขเพ่ิมเตมิ โดยคาํ ส่ัง ลงวันที่ ๑๔ กนั ยายน ๒๕๕๒
ท่ีใหผูฟองคดีชดใชเงินเกินกวาจํานวน ๓,๔๙๕,๒๔๖.๔๑ บาท และยกฟองในขอหาที่ขอให
เพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ท่ีส่ังพักงานผูฟองคดี
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมเห็นพองดวย จึงอุทธรณคําพิพากษาศาลปกครองชั้นตนตอศาลปกครองสูงสุด
เหน็ วา คดนี ีผ้ ฟู อ งคดไี มไดอุทธรณคดั คา นคําพพิ ากษาศาลปกครองช้ันตน ในประเด็นที่ศาลปกครองช้ันตน
วินิจฉัยวา ผูฟองคดีปฏิบัติหนาที่ในฐานะผูจัดการสถานธนานุบาลของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
เปนการกระทําละเมิดโดยประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหทรัพยสินท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑

แนวคาํ วนิ จิ ฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๐๙

รับจํานําไวสูญหายทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับความเสียหาย ผูฟองคดีจึงตองรับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และใหผูฟองคดีรับผิดรอยละ ๖๐ ของความเสียหาย
หลังจากหักสวนความบกพรองของระบบการดําเนินงานสวนรวมของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว
ตามมาตรา ๘ ประกอบมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙
ประเด็นดังกลาวจึงรับฟงเปนยุติตามคําพิพากษาศาลปกครองชั้นตน คดีจึงมีประเด็นตองวินิจฉัย
แตเพียงวา จะตองหักสวนความรับผิดของระบบการดําเนินงานผูถูกฟองคดีท่ี ๑ หรือไม เพียงใด
เมื่อปรากฏวา ทรัพยสินที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ รับจํานําไวสูญหายในชวงระยะเวลาระหวาง
เดือนตลุ าคม ๒๕๔๗ ถึงวนั ที่ ๑๙ กมุ ภาพันธ ๒๕๔๘ ซ่ึงผูฟองคดีปฏิบัติหนาท่ีผูจัดการสถานธนานุบาล
ของผูถกู ฟองคดีที่ ๑ มจี ํานวน ๒๒๙ รายการ เปนเงินจํานวน ๖,๔๓๕,๙๗๘.๕๖ บาท และเงินสดสูญหาย
จํานวน ๓๖,๖๙๙.๙๘ บาท รวมเปนคาเสียหายทั้งหมดท่ีผูฟองคดีตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
ใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ จํานวน ๖,๔๗๒,๖๗๘.๕๔ บาท ตามหนังสือกรมบัญชีกลางลงวันท่ี
๒๘ กรกฎาคม ๒๕๕๒ และลงวันท่ี ๓ กันยายน ๒๕๕๒ แตการท่ีทรัพยสินท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑
รับจํานําไวสูญหายในชวงกอนวันที่ ๒๑ มีนาคม ๒๕๔๘ ไมปรากฏรองรอยการงัดแงะหรือการทําลาย
สิ่งกีดขวางไมวาจะเปนประตูอาคารสํานักงาน หรือหองสตรองรูม แสดงใหเห็นวา การท่ีทรัพยสิน
รบั จํานาํ รวมทงั้ เงินสดสญู หายเกดิ จากพนกั งานของผูถูกฟองคดที ่ี ๑ ซึ่งเปนบุคคลภายในที่มีกุญแจ
เขา ออกอาคารสถานธนานุบาลและหองสตรองรูม ไมไดเกิดจากบุคคลภายนอก แมหองสตรองรูม
มีประตู ๒ บาน บานแรกเปนประตูทึบตองใชกุญแจ ๒ ดอกไขรวมกันจึงจะเปดประตูได โดยผูจัดการ
สถานธนานุบาลกับนางสาว อ. เก็บไวคนละดอก สวนประตูบานที่สองเปนประตูดานในมีลักษณะ
เปนลูกกรงใชกุญแจดอกเดียวไข โดยนางสาว อ. เปนผูถือไวเพียงคนเดียวตามคําพิพากษา
ศาลอุทธรณ ท่ี ๓๑๗๕/๒๕๕๐ แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ ควรกําหนดวิธีการในการควบคุมดูแลทรัพย
รับจํานําที่มีคาอยางรัดกุม รวมถึงออกหลักเกณฑในการควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่
ของพนักงานซึ่งมีกุญแจเขา ออกหอ งสตรองรมู โดยเฉพาะอยางยิ่งหองสตรองรูมชั้นใน ซึ่งเปนหองนิรภัย
ที่ใชเก็บของที่มีมูลคาสูง ไมควรกําหนดใหนางสาว อ. ถือกุญแจเขาออกไดแตเพียงผูเดียว นอกจากน้ี
จากการใหถ อ ยคําของผฟู องคดี รวมท้งั พนักงานสถานธนานุบาลของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ตามรายงาน
การสอบสวนวินัยผูฟองคดีปรากฏวา นอกจากผูฟองคดีและพนักงานรักษาสถานที่ท่ีมีกุญแจสามารถ
เขาออกอาคารสถานธนานุบาลได ยังมีนางสาว อ. ที่มีกุญแจสามารถเขาออกอาคารดังกลาวไดเชนเดียวกัน
ซ่ึงแสดงใหเห็นวา แมผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีอํานาจที่จะใหผูฟองคดีและครอบครัว และหรือพนักงาน
รกั ษาสถานท่ีและความสะอาดเขา พกั อาศยั ในสถานธนานุบาลไดตามหนังสือ สํานักงาน จ.ส.ท. ลงวันที่
๒๙ ตลุ าคม ๒๕๑๙ และหนงั สอื ลงวันท่ี ๑๘ ตุลาคม ๒๕๒๗ แตผ ูถ ูกฟองคดีท่ี ๑ ก็สมควรกําหนดมาตรการ
เพิม่ เตมิ ในการควบคมุ ตรวจสอบการเขาพกั อาศยั ของพนักงานสถานธนานุบาลเพื่อชวยปองกันความบกพรอง
หรือการโจรกรรมที่อาจจะเกิดข้ึนจากการเขาพักอาศัยในอาคารสถานธนานุบาล สวนหนังสือลงวันท่ี
๑๐ เมษายน ๒๕๓๒ ตามท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ อางมาในอุทธรณ นั้น ก็เปนเพียงมาตรการปองกัน
การโจรกรรมจากบุคคลภายนอกเทา น้นั มิใชมาตรการปอ งกันการโจรกรรมจากพนักงานเจาหนาท่ี
ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ เอง ซ่ึงมีกุญแจผานเขาออกทั้งหองสตรองรูมและอาคารสถานธนานุบาล

แนวคาํ วินิจฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๐

ไดโดยลําพัง นอกจากนี้ ที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ กลาวอางในอุทธรณวา การท่ีนางสาว อ. มีกุญแจเขาออก
อาคารเปนการอนุญาตกันเองระหวางผูฟองคดีกับนางสาว อ. เปนการพนวิสัยที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑
จะรับรูได ยิ่งแสดงใหเห็นถึงความบกพรองในมาตรการการควบคุมตรวจสอบการเขาออกภายใน
อาคารสถานธนานบุ าล กรณจี ึงถือวาความเสยี หายท่เี กิดขนึ้ เปน ความบกพรองของระบบการเก็บรักษา
ดแู ลและตรวจสอบทรัพยรับจํานําใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งหากกระบวนการตรวจสอบทรัพยรับจํานํา
มีประสิทธิภาพแลว ก็จะเปนการปองกันและลดทอนความเสียหายที่เกิดขึ้นจากกรณีดังกลาวได
ถือเปนความบกพรองในการดําเนินงานของหนวยงานของรัฐและระบบการดําเนินงานสวนรวม
ท่ีผถู ูกฟองคดีท่ี ๑ สามารถใชดุลพินิจหักสวนแหงความรับผิดดังกลาวได ตามมาตรา ๘ วรรคสาม
แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงสมควรหักสวนความรับผิด
ของระบบการดําเนินงานออกรอยละ ๕๐ ของความเสียหายจํานวน ๖,๔๗๒,๖๗๘.๕๔ บาท
คงเหลือสว นความรบั ผิดของเจาหนา ทีเ่ ปน คาเสยี หายจาํ นวน ๓,๒๓๖,๓๓๙.๒๗ บาท โดยผูฟองคดี
ตองชดใชคาสินไหมทดแทนรอยละ ๖๐ ของจํานวนคาเสียหายที่เหลือจากการหักสวนความบกพรอง
ของระบบงานสว นรวมของหนวยงาน ผูฟอ งคดีตอ งรับผดิ จํานวน ๑,๙๔๑,๘๐๓.๕๖ บาท แตโดยท่ี
ผูฟ องคดมี ไิ ดอทุ ธรณคําพิพากษาของศาลปกครองช้ันตน ถือวาผูฟองคดีเห็นพองดวยตามคําพิพากษา
ศาลปกครองช้ันตนแลว ศาลปกครองสูงสุดจึงกําหนดใหมีการหักสวนความบกพรองของระบบ
การดาํ เนินงานสวนรวมของผูถ ูกฟอ งคดที ี่ ๑ ใหม ากกวารอยละ ๑๐ ไมได การท่ีศาลปกครองช้ันตน
มีคําพิพากษาใหผูฟองคดีรับผิดรอยละ ๖๐ ของความเสียหายโดยหักสวนความบกพรองของระบบงาน
ของผถู ูกฟองคดที ่ี ๑ ออกรอยละ ๑๐ ทาํ ใหผูฟอ งคดีตองรับผิดเปนจํานวนเงิน ๓,๔๙๕,๒๔๖.๔๑ บาท
จึงนับวาเปนคุณแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว ดังน้ัน คําสั่งท่ีเรียกใหผูฟองคดีชดใชเงินเกินกวาจํานวน
๓,๔๙๕,๒๔๖.๔๑ บาท จึงเปนคําสั่งไมชอบดวยกฎหมาย ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอน
คําส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลงวันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๔๙ ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยคําสั่งลงวันท่ี
๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ ท่ีใหผูฟองคดีชดใชเงินเกินกวาจํานวน ๓,๔๙๕,๒๔๖.๔๑ บาท ทั้งน้ี
ตั้งแตวันท่ี ๑๔ กันยายน ๒๕๕๒ เปนตนไป และยกฟองในขอหาที่ขอใหเพิกถอนคําสั่ง
ของผูถูกฟองคดีที่ ๒ ลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ท่ีสั่งพักงานผูฟองคดี น้ัน ศาลปกครองสูงสุด
เห็นพองดวยในผล

พพิ ากษายืน

ฟองขอใหเพิกถอนคําส่ังใหชดใชคาสินไหมทดแทนกรณีไมตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่
ของผใู ตบ งั คับบัญชาเปนเหตุใหเ กดิ การทุจริต
คําพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ที่ อ.๒๖/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนขาราชการบํานาญ ไดรับความเดือดรอนเสียหาย
จากการที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ (อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช) ไดมีหนังสือลงวันท่ี
๒๖ กันยายน ๒๕๕๖ แจงใหผูฟองคดีชดใชคาเสียหายจากการกระทําละเมิดใหแกทางราชการ

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๑

กรณีท่ีผูฟองคดีขณะดํารงตําแหนงหัวหนาฝายบริหารท่ัวไป และผูอํานวยการสวนอํานวยการ
สํานักบริหารพ้ืนที่อนุรักษที่ ๑๖ (เชียงใหม) ระหวางวันท่ี ๑ เมษายน ๒๕๔๘ ถึงวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐
ในฐานะผูบังคับบัญชาโดยตรง ปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุให
นางสาว น. ตาํ แหนงพนักงานจางเหมา ทําการทุจริตโอนเงินเขาบัญชีตนเอง ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๘
ถึงเดือนสิงหาคม ๒๕๕๑ จํานวน ๕๕ ครั้ง เปนเงิน ๓,๘๔๖,๔๕๖.๖๔ บาท โดยนางสาว น.
โอนเงนิ เขาบัญชีตวั เองในระหวางทีผ่ ฟู องคดีเปนผบู งั คับบัญชา เปนเงินจํานวน ๒,๐๙๒,๐๘๖.๐๔ บาท
จึงใหผฟู องคดีชดใชคาเสียหายในอัตรารอยละ ๔๐ เปนเงินจํานวน ๘๓๖,๘๓๔.๔๒ บาท ผูฟองคดี
จึงไดมีหนังสืออุทธรณโตแยงคําส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แตผูถูกฟองคดีท่ี ๒ (ปลัดกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม) ไดมีคําวินิจฉัยใหยกอุทธรณ ผูฟองคดีเห็นวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑
ไดมีคําส่ังยายผูฟองคดีไปปฏิบัติราชการประจําสวนควบคุมและปฏิบัติการไฟปา สํานักบริหาร
พน้ื ที่อนรุ ักษท่ี ๑๕ (เชยี งราย) ต้ังแตวันท่ี ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๐ ผูฟองคดีจึงไมตองรับผิดตอการกระทํา
ของนางสาว น. ระหวางวันท่ี ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๐ ถึงวันที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๕๐ นอกจากน้ี
ในขณะทผ่ี ฟู อ งคดีปฏบิ ตั ิหนาที่หัวหนาฝายบริหารท่ัวไป ผูฟองคดีมิไดมีหนาท่ีเกี่ยวกับงานการเงิน
และบัญชขี องสาํ นักบรหิ ารพนื้ ทีอ่ นุรกั ษท่ี ๑๖ (เชียงใหม) จนกระทั่งเม่ือผูอํานวยการสํานักบริหาร
พน้ื ทีอ่ นุรักษที่ ๑๖ (เชียงใหม) มีคําส่ังมอบหมายใหทําหนาท่ีผูอํานวยการสวนอํานวยการ ลงวันท่ี
๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ ผูฟองคดีจึงมีหนาที่เกี่ยวกับงานการเงิน การบัญชีและงบประมาณ ผูฟองคดี
มีหนาท่ีเพียงควบคุมและกํากับดูแลเทาน้ัน และสาเหตุท่ีเกิดการทุจริตในกรณีน้ีสืบเน่ืองจาก
กระทรวงการคลังไดดําเนินการปรับเปล่ียนและปฏิรูประบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐ
เขาสูระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ต้ังแตวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ ตามหนังสือกระทรวงการคลัง
ลงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๔๗ ซ่ึงในทางปฏิบัติกรมบัญชีกลางจะกําหนดรหัสผูใชงานและรหัสผาน
ใหแกหนวยงานเพ่ือใชปฏิบัติงาน โดยมิไดมีแนวทางปฏิบัติวา มิใหมอบหมายใหบุคคลเพียงคนเดียว
ทราบรหสั ผา นและสามารถดําเนินการไดทุกขั้นตอน ผูอํานวยการสํานักบริหารพ้ืนท่ีอนุรักษท่ี ๑๖
(เชียงใหม) จึงมอบรหัสทั้งหมดใหหัวหนางานการเงินและบัญชี และไดมีคําส่ังสํานักบริหาร
พ้ืนที่อนุรักษท่ี ๑๖ มอบหมายใหนางสาว น. ปฏิบัติงานดังกลาว โดยเปนผูทราบรหัสผูใชงาน
และรหัสผานเพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดเองทุกขั้นตอน เนื่องจากขาดบุคลากรที่มีความรู
ดานคอมพวิ เตอร จงึ เปน ชอ งทางใหนางสาว น. ทราบขอมลู หลกั ผูขายและจัดทําขอมูลเท็จโอนเงิน
จากคลงั จังหวดั เขา บัญชีของตนเอง ความเสียหายจึงมิไดเกิดจากผูฟองคดีละเลยในการกํากับดูแล
การปฏบิ ัติงานใหเปนไปตามแนวทางปฏบิ ตั ิงานทกี่ รมบญั ชีกลางกาํ หนด แตเ กิดจากความบกพรอง
ของระบบงานในสํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษท่ี ๑๖ (เชียงใหม) ผูฟองคดีมิไดละเลยตอหนาท่ี
และไมไดปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลอแตอยางใด จึงนําคดีมาฟอง ขอใหศาลมีคําพิพากษา
หรอื คําสั่งเพิกถอนคําส่งั ของผถู ูกฟองคดที ี่ ๑ ทีเ่ รียกใหผูฟองคดีชดใชเงินจํานวน ๘๓๖,๘๓๔.๔๒ บาท
และคาํ วินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ เห็นวา การดําเนินการเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิด
ในคดีน้ีแมจะไมปรากฏพยานหลักฐานวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดวินิจฉัยสั่งการวามีผูตองรับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนเปนผูใดบาง และเปนจํานวนเงินเทาใดก็ตาม แตเมื่อพิจารณาจากหนังสือลงวันท่ี

แนวคําวนิ จิ ฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๒

๒๐ ตุลาคม ๒๕๕๔ ท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยรองอธิบดี ปฏิบัติราชการแทนอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ
สัตวปา และพันธุพืช ไดลงนามในหนังสือดังกลาวเพ่ือสงสํานวนการสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิดไปใหกระทรวงการคลังตรวจสอบแลว เห็นวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดวินิจฉัยสั่งการเกี่ยวกับ
เจาหนา ทีผ่ ตู อ งรับผดิ ชดใชคา สนิ ไหมทดแทนและจํานวนเงินท่ีตองรับผิดโดยปริยายแลว โดยผูฟองคดี
ตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเปนเงินจํานวน ๘๓๖,๘๓๔.๔๒ บาท จึงถือไดวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดมีการวินิจฉัยส่ังการวามีผูรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนหรือไม และเปนจํานวนเทาใดแลว
กอนที่จะสงสํานวนการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดใหกระทรวงการคลังเพ่ือตรวจสอบ
ตามขอ ๑๗ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิด
ทางละเมิดของเจา หนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เมือ่ ขอ เท็จจริงรับฟงไดวาในการเบิกจายเงินและการนําเงิน
สงคลังนั้น ไดมีการมอบหมายใหนางสาว น. พนักงานจางเหมา (ลูกจางชั่วคราว) เพียงคนเดียว
ทราบรหัสผานและสามารถดําเนินการเบิกจายเงินและการนําเงินสงคลังในระบบการบริหาร
การเงินการคลังภาครัฐดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (GFMIS) ไดในทุกข้ันตอน ซึ่งการดําเนินการดังกลาว
ผูบังคับบัญชาตามลําดับช้ัน รวมทั้งผูฟองคดีก็ทราบเปนอยางดีวาการกระทําดังกลาวไมเปนไป
ตามแนวทางปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ของกระทรวงการคลัง แตก็มิไดใชความระมัดระวัง
ตรวจสอบการปฏิบัติหนาที่ของนางสาว น. อยางละเอียดรอบคอบ จึงเปนชองทางใหนางสาว น.
กระทําการทุจริตเงนิ ของทางราชการอยางตอ เนอ่ื งต้ังแตเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๘ ถึงเดือนสิงหาคม ๒๕๕๑
รวม ๕๕ ครง้ั เปนเงนิ จํานวน ๓,๘๔๖,๔๕๖.๖๔ บาท โดยผูฟองคดีซ่ึงทําหนาท่ีหัวหนาฝายบริหารทั่วไป
และผูอํานวยการสวนอํานวยการ มีหนาที่ควบคุม กํากับดูแลการปฏิบัติงานที่อยูในความรับผิดชอบ
ของฝายการเงินและบัญชี ไดทราบอยูแลววาการมอบหมายใหนางสาว น. ทราบรหัสผาน
และดําเนินการเบิกจายในระบบ GFMIS แตเพียงผูเดียว ไมเปนไปตามแนวทางปฏิบัติของกระทรวงการคลัง
โดยผูฟองคดียอมรับวา ผูฟองคดีไดแจงแนวทางปฏิบัติของกระทรวงการคลังดังกลาวใหผูอํานวยการ
สํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษท่ี ๑๖ ทราบแลว แตผูอํานวยการสํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษที่ ๑๖
ยงั คงมคี ําส่งั มอบหมายใหนางสาว น. รับผิดชอบงานดังเชนที่เคยปฏิบัติมา เน่ืองจากสํานักบริหาร
พื้นท่ีอนุรักษท่ี ๑๖ ขาดบุคลากรท่ีมีความรูดานคอมพิวเตอร ผูฟองคดีจึงควรที่จะตองควบคุม
กํากับ ดูแลการปฏิบัติหนาท่ีของนางสาว น. ดวยความระมัดระวังมากกวาเดิม มิใชตรวจสอบ
แตเพียงเอกสารท่ีมีการนําเสนอตามขั้นตอนของสายการบังคับบัญชาเทาน้ัน โดยผูฟองคดี
ควรท่ีจะตองสั่งการและกวดขันใหนาง ศ. หัวหนาฝายการเงินและบัญชี ใหระมัดระวังและตรวจสอบ
การปฏิบัติหนาที่ของนางสาว น. อยางสม่ําเสมอดวยเพื่อปองกันความเสียหายที่อาจจะเกิดข้ึน
นอกจากน้ี ผูฟองคดีก็ไมไดแสดงพยานหลักฐานอื่นใดใหเห็นวา ผูฟองคดีไดปฏิบัติหนาที่
ดว ยความระมัดระวงั ในฐานะผบู ังคบั บัญชาซ่งึ จักตองมตี ามวิสัยและพฤติการณเพ่ือปองกันมิใหเกิด
ความเสียหายตอสํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษที่ ๑๖ กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
ดังน้ัน การท่ีนางสาว น. กระทําการทุจริตไดอยางตอเนื่องหลายครั้ง จึงเกิดจากการท่ีผูฟองคดีละเลย
ตอ หนา ท่ีตามทก่ี ฎหมายกําหนดใหต องปฏิบตั ิ อันถือไดวาผูฟองคดีไดกระทําละเมิดตอกรมอุทยานแหงชาติฯ
ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และเปนการกระทําดวยความประมาทเลินเลอ

แนวคําวนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๓
อยางรายแรง ผูฟองคดีจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกกรมอุทยานแหงชาติฯ
ตามมาตรา ๘ วรรคหนึ่ง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ เม่ือผูฟองคดี
ปฏิบตั หิ นาทหี่ ัวหนาฝา ยบริหารทั่วไป และผูอาํ นวยการสวนอํานวยการ สํานกั บริหารพน้ื ท่ีอนรุ กั ษที่ ๑๖
ต้งั แตวนั ที่ ๒๖ ตลุ าคม ๒๕๔๗ ถึงวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๐ ซึง่ ในชว งระยะเวลาดังกลาวปรากฏวา
นางสาว น. ไดกระทําการทุจริต รวม ๒๑ คร้ัง เปนเงินจํานวน ๑,๑๒๖,๘๓๓.๓๐ บาท โดยท่ีขอเท็จจริง
รับฟงไดวา สํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษท่ี ๑๖ ขาดแคลนบุคลากรที่มีความรูดานคอมพิวเตอร
จึงมีความจําเปน ตองมอบหมายใหนางสาว น. พนักงานจางเหมา ทําหนาที่ในการทํารายการระบบ
GFMIS แตเ พยี งผเู ดยี ว อีกทง้ั กรมอุทยานแหงชาติฯ ไดทราบถึงปญหาเร่ืองการขาดแคลนบุคลากร
ที่มีความรูความชํานาญเฉพาะดานดังกลาวแลว แตก็มิไดแกไขปญหาดังกลาวเพ่ือปองกันการทุจริต
แตอยางใด จงึ ถอื ไดว าการกระทําละเมิดสวนหน่ึงเกิดจากความบกพรองหรือระบบการดําเนินงาน
สวนรวมของกรมอทุ ยานแหงชาติฯ จึงเห็นควรหักสวนแหงความบกพรองดังกลาวออกรอยละ ๕๐
ของคาเสียหาย คงเหลือคาเสียหายที่จะตองนํามาพิจารณาสวนแหงความรับผิดของผูฟองคดี
เปนเงินจํานวน ๕๖๓,๔๑๖.๖๕ บาท ทั้งนี้ ตามนัยมาตรา ๘ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติดังกลาว
และเมื่อไดพิจารณาถึงระดับความรายแรงแหงการกระทําและความเปนธรรมในกรณีน้ี
ตามนัยมาตรา ๘ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติเดียวกันแลว เห็นวา ผูฟองคดีในฐานะหัวหนา
ฝายบริหารท่ัวไป และผูอํานวยการสวนอํานวยการ สํานักบริหารพื้นท่ีอนุรักษท่ี ๑๖ ซึ่งเปนผูบังคับบัญชา
มีหนาท่ีควบคุม ดูแล บังคับบัญชาการปฏิบัติงานของผูใตบังคับบัญชาใหเปนไปโดยถูกตองเรียบรอย
เม่ือขอเท็จจริงไมปรากฏวา ผูฟองคดีไดมีสวนรวมกระทําการทุจริตดังกลาวหรือมีพฤติการณ
ในทางทุจริตดังกลาวแตอยางใด กรณีจึงเห็นควรใหผูฟองคดีตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
ในอัตรารอยละ ๑๐ ของคา เสียหายจํานวน ๕๖๓,๔๑๖.๖๕ บาท คิดเปน เงินจํานวน ๕๖,๓๔๑.๖๗ บาท
ดังนั้น คําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และคําวินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีที่ ๒ เฉพาะในสวนท่ีเรียกให
ผฟู องคดีชดใชเงินแกท างราชการเกินกวา จํานวน ๕๖,๓๔๑.๖๗ บาท จึงเปนคําส่ังที่ไมชอบดวยกฎหมาย
การที่ศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ที่ใหผูฟองคดีรับผิดชําระเงิน
ใหแ กทางราชการเปน เงนิ จาํ นวน ๘๓๖,๘๓๔.๔๒ บาท และคําวินิจฉัยอุทธรณของผูถูกฟองคดีที่ ๒ น้ัน
ศาลปกครองสูงสุดเห็นพองดวยบางสวน

พิพากษาแก เปน ใหเ พิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และคําวินิจฉัยอุทธรณของ
ผถู ูกฟองคดที ่ี ๒ เฉพาะในสว นที่เรยี กใหผ ูฟอ งคดชี ดใชเ งนิ แกทางราชการเกินกวาจํานวน ๕๖,๓๔๑.๖๗ บาท
นอกจากที่แกใหเปนไปตามคําพิพากษาของศาลปกครองชั้นตน โดยมีขอสังเกตเก่ียวกับแนวทาง
หรือวิธีการดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษาวาหากผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับชําระหนี้หรือสามารถ
บังคับชําระหน้ีจากนางสาว น. ไดเปนจํานวนเทาใด ใหนําเงินจํานวนดังกลาวมาหักหรือคืนตามสวน
แหง ความรบั ผิดใหแกผ ฟู องคดตี อ ไป

แนวคาํ วนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๔

ฟองขอใหเพิกถอนคําสั่งใหชดใชคาสินไหมทดแทน กรณีมีการทุจริตการสงออกเพ่ือขอรับเงิน
ชดเชยคา ภาษอี ากร
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ.๓๔/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา เมื่อป พ.ศ. ๒๕๓๙ ผูฟองคดีดํารงตําแหนงศุลการักษ งานตรวจ
คอนเทนเนอร กองตรวจสินคาขาออก กรมศุลกากร ตอมาผูถูกฟองคดี (อธิบดีกรมศุลกากร)
ไดมีคาํ สัง่ แตง ต้งั คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กรณีบริษัท อ. มีพฤติการณ
ทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร ผลการตรวจสอบขอเท็จจริงพบวา บริษัท อ. ไดทุจริต
ในการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรตามใบขนสินคาขาออก จํานวน ๗๕ ฉบับ เปนเงินจํานวน
๒,๑๒๘,๓๗๑.๖๓ บาท ดว ยการจัดทําเอกสารเท็จและนําไปสอดแทรกไวในบัญชีสินคาสําหรับเรือ
โดยมิไดสงออกสินคา จึงไดมีบันทึกขอความลงวันที่ ๗ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ แจงใหผูฟองคดีชดใช
คาสินไหมทดแทน ผูฟองคดีอุทธรณคําส่ังดังกลาว ตอมา ผูถูกฟองคดีไดมีคําสั่งลงวันท่ี
๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน โดยใหผูฟองคดีรับผิดรวมกับนาย ช.
เปนเงินจํานวน ๖๓,๕๕๒.๔๔ บาท และรับผิดรวมกับนาย ศ. เปนเงินจํานวน ๔๔,๗๘๐.๑๑ บาท
ใหแกกรมศุลกากร และไดมีบันทึกขอความลงวันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๔๘ แจงใหผูฟองคดีชดใช
คาสินไหมทดแทน ผูฟองคดีเห็นวาคําส่ังใหชดใชคาสินไหมทดแทนของผูถูกฟองคดีไมชอบ
ดวยกฎหมาย เนื่องจากผูฟองคดีไมไดจงใจหรือประมาทเลินเลออันเปนเหตุใหกรมศุลกากร
ตองเสยี หาย จงึ นาํ คดีมาฟอ งขอใหศ าลพิพากษาเพิกถอนคาํ สั่งของผูถูกฟองคดีตามบันทึกขอความ
ลงวันท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๔๘ และคําส่ังลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ เฉพาะสวนท่ีใหผูฟองคดี
รวมรบั ผดิ ชดใชคา สนิ ไหมทดแทน เห็นวา ศลุ การกั ษมีอาํ นาจหนาท่ีในเรื่องการตรวจและควบคุม
การบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร คือ รอยดวงตรา กศก. ท่ีประตูคอนเทนเนอรพรอมทั้งบันทึก
หมายเลขดวงตรา กศก. ลงในใบกาํ กับคอนเทนเนอร แลวใหตัวแทนเรือหรือผูสงออกลงลายมือช่ือ
รับสินคา พรอ มแถบเหล็กและหรอื ตราตะกั่ว กศก. ในใบกํากบั คอนเทนเนอร ตามประมวลระเบียบ
ปฏิบตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ หมวดที่ ๐๘ บทท่ี ๑๑ ขอที่ ๑๔ กับมีหนาท่ีชวยเหลือการปฏิบัติงาน
ของนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรตามคําสั่งกองตรวจ
สินคาขาออก ที่ ๑๓/๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ อันเปนคําส่ังภายในหนวยงานที่ผูฟองคดี
ปฏิบัติหนาท่ีอยู เมื่อบริษัท อ. ไดกระทําการทุจริตในการสงออก โดยไดย่ืนใบขนสินคาขาออก
เพ่ือขอรับเงินชดเชยภาษีทั้งที่ไมมีสินคาสงออกนอกราชอาณาจักร และไดนําใบขนสินคาขาออก
ฉบับมุมนํ้าเงินไปยื่นคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออกที่ผลิตในราชอาณาจักร ทั้งท่ี
ไมม ีการสงสินคาออกไปตางประเทศ แตไดแอบอางใชหมายเลขคอนเทนเนอรของผูสงออกรายอ่ืน
และปลอมบัญชีสินคาสําหรับเรือสอดแทรกไวในบัญชีสินคาสําหรับเรือฉบับจริงเพ่ือใหเจาหนาท่ี
หลงผดิ กรณจี งึ เหน็ ไดวา การท่ีบรษิ ทั ดังกลา วสามารถกระทาํ ทจุ ริตในการสงออกดังกลาวไดสําเร็จ
ก็เน่ืองจากนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรผูตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
ไมไดไปตรวจและควบคุมสินคาเขาคอนเทนเนอรตามอํานาจหนาที่ เน่ืองจากบริษัทดังกลาว

แนวคาํ วนิ ิจฉัยศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๕

ไมมีสินคาท่ีสําแดงในใบขนสินคาและเอกสารมาใหตรวจ แตกลับลงนามรับรองการตรวจและ
ควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร และผูฟองคดีมิไดไปชวยเหลือนายตรวจ/สารวัตร
ศุลกากรทําการตรวจปลอยสินคาและควบคุมสินคาเขาคอนเทนเนอรและประทับดวงตรา กศก.
หรือแถบเหล็กศุลกากรที่คอนเทนเนอร ในขณะท่ีนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรทําการตรวจปลอยสินคา
และควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร แตกลับลงลายมือช่ือในใบกํากับคอนเทนเนอรไป
ซึง่ ยอมจะเลง็ เห็นไดว า การละเลยไมปฏิบัติหนาที่ตามท่ีประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
ประกอบกับคาํ สงั่ กองตรวจสินคาขาออก ที่ ๑๓/๒๕๓๐ เรื่อง การตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ กําหนดใหตองปฏิบัติ เปนชองทางใหผูสงออกสินคาสามารถกระทํา
การทุจริตไดโดยงาย และเมื่อบริษัท อ. ไดใชเอกสารรับรองการตรวจและควบคุมการบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอรท่ีลงนามรับรองโดยนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรผูมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบ
และควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรและใบกํากับคอนเทนเนอรท่ีลงนามโดยผูฟองคดี
ในฐานะศุลการักษไปเสนอตอเจาหนาท่ีศุลกากรในขั้นตอนอื่นตอไป จนสามารถรับบัตรภาษี
และนําบัตรภาษีไปใชประโยชนได พฤติการณของผูฟองคดียอมถือไดวาเปนการกระทําละเมิด
ตอกรมศุลกากรในการปฏิบัติหนาท่ีดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรงแลว กรมศุลกากร
โดยผูถูกฟองคดีจึงมีสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายได
แตการที่ผูถูกฟองคดีมีหนาที่ในการออกบัตรภาษีใหแกบริษัท อ. อันเปนการออกตราสาร
แสดงสิทธิในหนี้ของรัฐบาล ผูถือสิทธิในบัตรดังกลาวจะตองนําบัตรภาษีที่ถืออยูไปใช (เบิกเงิน)
อีกคร้ังหนึ่ง จึงจะถือวา บริษัท อ. ไดรับคาชดเชยภาษีอากรที่เปนตัวเงินแลว เม่ือยังไมไดนํา
บัตรภาษีไปใช (เบิกเงิน) ก็ยังไมถือวากรมศุลกากรจายเงินคาชดเชยใหแกผูถือสิทธิในบัตร
กรณีจึงยังไมกอใหเกิดความเสียหายแกกรมศุลกากรอันจะถือวาเปนการทําละเมิดที่ทําให
กรมศุลกากรโดยผูถูกฟองคดีจะใชสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนได
เม่ือมีการนําบัตรภาษีดังกลาวไปใช (เบิกเงิน) และกรมศุลกากรไดวางฎีกาเบิกเงินฝากชดเชย
การสงสินคาออกตามใบขนสินคาขาออกเลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๙ ๑๑๘๑ ๖ เปนเงินจํานวน
๓๐,๐๔๘.๙๐ บาท และใบขนสินคาขาออกเลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๙ ๑๑๘๒ ๗ เปนเงินจํานวน
๓๓,๕๐๓.๕๔ บาท โดยวางฎีกาเมื่อวันท่ี ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๙ เปนเหตุใหมีความเสียหาย
เปนเงินตามจํานวนที่ระบุในบัตรภาษีแตละฉบับเกิดข้ึนแกกรมศุลกากรแลว กรณีจึงถือวา
วันวางฎีกาดังกลาวเปนวันท่ีกระทําละเมิดตอกรมศุลกากร สวนใบขนสินคาขาออกเลขท่ี
๐๒๑๒ ๒๐๕๙ ๐๙๙๑ ๐ เปนเงินจํานวน ๒๒,๑๕๔.๓๗ บาท และใบขนสินคาขาออกเลขที่
๐๒๑๒ ๒๐๕๙ ๐๘๒๗ ๒ เปนเงินจํานวน ๒๒,๖๒๕.๗๔ บาท นั้น ไมปรากฏวันวางฎีกาในสํานวน
จึงไมอาจรับฟงไดวากรมศุลกากรไดรับความเสียหายจากการจายเงินชดเชยจํานวนดังกลาว
นอกจากน้ี เม่ือการกระทาํ ละเมิดของนายตรวจ/สารวตั รศลุ กากรและศุลการักษซึ่งรวมถึงผูฟองคดี
ในการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง กรณีบริษัท อ. กระทําการทุจริต
ในการสงออก เกิดจากความผิดหรือความบกพรองของกรมศุลกากรที่ไมไดจัดสรรกําลังเจาหนาท่ี
ทั้งนายตรวจศุลกากรและศุลการักษใหมีจํานวนมากพอกับปริมาณงานการตรวจปลอยสินคา

แนวคาํ วนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๖

สงออกท่ีบรรจุเขาคอนเทนเนอรที่เพิ่มขึ้น อันเน่ืองมาจากนโยบายการสงเสริมการสงสินคาออก
ของรัฐบาลในเวลานั้น อันเปนความบกพรองของระบบการดําเนินงานของกรมศุลกากรที่ไมได
มีการแกไขปญหาหรือวางระบบการตรวจสอบใหรัดกุมยิ่งข้ึนมีการปลอยปละละเลยจนกระทั่ง
เกิดความเสียหายขึ้น กรณีจึงตองหักสวนแหงความรับผิดอันเกิดจากความบกพรองของระบบ
การดาํ เนนิ งานของกรมศลุ กากรออกรอ ยละ ๕๐ ของคาเสยี หายตามใบขนสินคาขาออกแตละฉบับ
ตามนัยมาตรา ๔๓๘ วรรคหนึง่ ประกอบกับมาตรา ๔๔๒ และมาตรา ๒๒๓ แหงประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชย และการกําหนดคาสินไหมทดแทนจะตองพิจารณาพฤติการณและความรายแรง
แหงละเมิดตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมายดังกลาว เมื่อนายตรวจศุลกากร
มีหนาที่เปนผูทําการตรวจปลอยสินคาและควบคุมสินคาเขาคอนเทนเนอร สวนศุลการักษมีหนาท่ี
ชวยเหลอื การปฏิบตั งิ านของนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
และมีหนาที่ตอเนื่องจากนายตรวจศุลกากรในการประทับดวงตรา กศก. หรือแถบเหล็กศุลกากร
ที่คอนเทนเนอร นายตรวจศุลกากรจึงมีความรับผิดชอบมากกวาศุลการักษนายตรวจศุลกากร
จึงสมควรรับผิดในอัตรารอยละ ๗๐ ของคาเสียหายหลังหักสวนแหงความรับผิดของกรมศุลกากร
ออกแลว สวนศุลการักษสมควรรับผิดในอัตรารอยละ ๓๐ ของคาเสียหายหลังหักสวนแหงความรับผิด
ของกรมศุลกากรออกแลว ดังนั้น การที่กรมศุลกากรโดยผูถูกฟองคดีไมไดหักสวนแหงความรับผิด
อันเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของตนออกจากจํานวนคาเสียหายที่นายตรวจศุลกากร
และศุลการักษกอใหเกิดขึ้น และมีคําสั่งลงวันที่วันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีชดใช
คาสินไหมทดแทน โดยใหนายตรวจศุลกากรแตละคนรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนรวมกันกับ
ศุลการักษอยางลูกหน้ีรวม เน่ืองจากการทุจริตดังกลาวเกิดขึ้นกอนวันท่ี พ.ร.บ. ความรับผิด
ทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับ จึงไมถูกตองเหมาะสมและไมเปนธรรม
แกผูฟองคดี และเมื่อผูถูกฟองคดีไมนําพยานหลักฐานที่แสดงใหเห็นวาผูถูกฟองคดีไดจายเงิน
ชดเชยคาภาษีอากรตามมูลคาในอัตราภาษีดังกลาวไปแลวจึงคงเหลือคาเสียหายในสวนที่ผูฟองคดี
ตองชดใชคาสินไหมทดแทนตามคําสั่งลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ เฉพาะตามใบขนสินคาขาออก
เลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๙ ๑๑๘๑ ๖ เปนเงินจํานวน ๓๐,๐๔๘.๙๐ บาท และใบขนสินคาขาออก
เลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๙ ๑๑๘๒ ๗ เปนเงินจํานวน ๓๓,๕๐๓.๕๔ บาท รวมเปนเงินจํานวน
๖๓,๕๕๒.๔๔ บาท เม่ือหักสวนแหงความบกพรองของกรมศุลกากรออกรอยละ ๕๐ ของคาเสียหาย
ตามใบขนสินคาขาออกฉบับดังกลาว คงเหลือเปนเงินจํานวน ๓๑,๗๗๖.๒๒ บาท และกําหนด
สัดสวนความรับผิดใหผูฟองคดีรับผิดรอยละ ๓๐ ของคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออก
ท้ังสองฉบับดังกลาว หลังจากหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีแลว ผูฟองคดีจึงตองรับผิด
เปนเงินจํานวน ๙,๕๓๒.๘๗ บาท ดังน้ัน การที่ผูถูกฟองคดีมีคําสั่งลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘
เฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีเกินกวาจํานวน ๙,๕๓๒.๘๗ บาท
จึงเปนคําส่ังท่ีไมชอบดวยกฎหมาย ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งลงวันที่
๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ เฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๖,๓๕๕.๒๔ บาท โดยใหมีผลยอนหลังไปนับแตวันออกคําสั่งดังกลาว และหากกรมศุลกากร

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๗

ไดรบั ชําระหนี้หรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากบริษัท อ. ไดเปนจํานวนเงินเทาใด ใหนําเงินจํานวน
ดังกลาวมาหักออกหรือคืนตามสวนแหงความรับผิดแลวแตกรณีใหแกผูฟองคดี คําขออ่ืน
นอกจากน้ีใหยก นนั้ ศาลปกครองสูงสดุ เหน็ พองดวยบางสวน

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําส่ังลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ เฉพาะในสวน
ท่ีใหผูฟองคดีรวมรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนสวนที่เกินกวาจํานวน ๙,๕๓๒.๘๗ บาท
ใหแกกรมศุลกากรทั้งน้ี ใหมีผลยอนหลังนับแตวันท่ีออกคําส่ังดังกลาว และมีขอสังเกตเก่ียวกับ
แนวทางหรือวิธีการดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษาวาหากกรมศุลกากรไดรับชําระหนี้
หรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากบริษัท อ. ไดเปนจํานวนเงินเทาใด ใหนําเงินจํานวนดังกลาว
มาหักออกหรือคืนตามสวนแหงความรับผิดแลวแตกรณีใหแกผูฟองคดี นอกจากท่ีแกใหเปนไป
ตามคาํ พพิ ากษาของศาลปกครองชน้ั ตน
คําพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดท่ี อ. ๓๘/๒๕๖๓

ผูฟองคดีท้ังสองฟองวา ผูฟองคดีท้ังสองเปนขาราชการสังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑
(กรมศุลกากร) ตําแหนง ศลุ การักษ ผฟู อ งคดีทง้ั สองไดรบั ความเดอื ดรอ นจากคาํ ส่ังของผถู กู ฟอ งคดที ี่ ๑
โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒ (อธิบดีกรมศุลกากร) ลงวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙ ผานความเห็นชอบจาก
ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ (กระทรวงการคลัง) โดยผูถูกฟองคดีที่ ๔ (ปลัดกระทรวงการคลัง) ที่สั่งให
ผูฟองคดีทั้งสองชดใชคาสินไหมทดแทนความรับผิดทางละเมิด กรณีทุจริตการสงออกขอรับเงิน
ชดเชยคาภาษอี ากรของหา งหุน สว นจาํ กัด ส. ผูฟอ งคดที ง้ั สองไดยื่นหนังสืออุทธรณตอผูถูกฟองคดีท่ี ๒
ตอมา ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดมีหนังสือแจงผลการพิจารณาอุทธรณใหผูฟองคดีท่ี ๑ ทราบวาอุทธรณ
ของผูฟองคดีที่ ๑ ฟงไมขึ้น สวนอุทธรณของผูฟองคดีที่ ๒ ปจจุบันยังไมไดรับทราบผลการพิจารณา
ผูฟองคดีทั้งสองเห็นวา ความเสียหายท่ีเกิดข้ึนมิไดเกิดจากการกระทําโดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ
จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหายดังกลาว โดยเห็นวา ศุลการักษมีหนาที่เพียงรอยแถบเหล็ก RTC
หรือประทับดวงตราตะก่ัว กศก. เทานั้น ไมสามารถปองกันการทุจริตที่อาจจะเกิดขึ้นจากการกระทํา
ของฝายใดๆ ได การทผ่ี ถู กู ฟองคดที ่ี ๑ แจง ใหผฟู องคดที ั้งสองชดใชคา สนิ ไหมทดแทนกรณีหางหนุ สว น
จํากัด ส. จึงไมเปนธรรมกับผูฟองคดีท้ังสอง และคดีน้ีนาจะขาดอายุความแลว ผูฟองคดีทั้งสอง
จงึ นําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังเพิกถอนคําส่ังของผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒
ตาม ลงวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙ ที่ใหผูฟองคดีทั้งสองชดใชคาสินไหมทดแทน กรณีหางหุนสวน
จํากดั ส. เหน็ วา หางหุนสวนจํากัด ส. ไดยื่นคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสําหรับสินคาสงออก
ตามมาตรา ๑๗ แหง พ.ร.บ. ชดเชยคาภาษอี ากรสินคาสงออกทีผ่ ลิตในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๒๔
และตอมาผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกบัตรภาษีเพ่ือเปนคาชดเชยภาษีอากรสําหรับสินคาสงออกตามมาตรา ๑๘
แหงพระราชบัญญัติดังกลาว ประกอบกับประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ บทที่ ๕
วาดวยการชดเชยคาภาษีอากร ขอ ๑๕ ๐๕ ๐๑ เร่ือง ความหมายของการชดเชยคาภาษีอากร
ใหแกหางหุนสวนจํากัด ส. ซ่ึงการออกบัตรภาษีเปนการออกตราสารแสดงสิทธิในหนี้ของรัฐบาล
ผูถือสิทธิในบัตรดังกลาวจะตองนําบัตรภาษีท่ีถืออยูไปใช (เบิกเงิน) อีกคร้ังหน่ึง หากยังไมได

แนวคําวินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๘

นําบัตรภาษีไปใช (เบิกเงิน) ก็ยังไมถือวาผูถูกฟองคดีที่ ๑ จายเงินคาชดเชยใหแกผูถือสิทธิในบัตร
กรณีจึงยังไมกอใหเกิดความเสียหายแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ อันจะถือวาเปนการทําละเมิด ในอันท่ีจะ
ทํ า ใ ห ผู ถู ก ฟ อ ง ค ดี ทั้ ง ส อ ง ใ ช สิ ท ธิ เ รี ย ก ร อ ง ใ ห ผู ฟ อ ง ค ดี ท้ั ง ส อ ง ช ด ใ ช ค า สิ น ไ ห ม ท ด แ ท น ไ ด
ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวามีการนําบัตรภาษี
ดังกลาวไปใช (เบิกเงิน) และผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดวางฎีกาเบิกเงินฝากชดเชยการสงสินคาออก
ตามเลขท่ีคําขอท่ี ๐๐๐๕๒๓๕ เมื่อวันท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๔๐ ตามเลขที่คําขอที่ ๐๐๐๕๕๘๗
เมื่อวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐ และวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๐ ตามเลขท่ีคําขอที่ ๐๐๐๖๔๖๐
เม่อื วันท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ตามเลขที่คําขอท่ี ๐๐๐๕๒๓๗ เม่ือวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐
และวันท่ี ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๐ ตามเลขที่คําขอที่ ๐๐๐๕๒๓๖ เม่ือวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๐
ตามเลขท่ีคําขอที่ ๐๐๐๖๔๖๑ เม่ือวันที่ ๙ มิถุนายน ๒๕๔๐ และตามเลขท่ีคําขอที่ ๐๐๑๓๘๐๔
เม่ือวันท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ตามลําดับ เปนเหตุใหมีความเสียหายเปนเงินตามจํานวนท่ีระบุ
ในบัตรภาษีแตละฉบับเกิดข้ึนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว กรณีจึงถือวาวันวางฎีกาดังกลาวเปนวันท่ี
กระทําละเมิดแกผ ูถูกฟองคดที ี่ ๑ และเมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒
ไดดําเนินการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
หลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยรูถึงการละเมิด
และรวู าผฟู องคดีทั้งสองเปนผูกระทําละเมิดที่จะพึงใชคาสินไหมทดแทนเม่ือวันที่ ๑๓ มีนาคม ๒๕๔๙
ปรากฏตามบันทึกรายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ลงวันท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๔๙
การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มีคําสั่งลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙ ใหผูฟองคดีทั้งสอง
ชดใชคาสินไหมทดแทน และผูฟองคดีท่ี ๑ ไดรับแจงคําส่ังดังกลาว เมื่อวันที่ ๔ กันยายน ๒๕๔๙
ผูฟองคดีที่ ๒ ไดรับแจงคําสั่ง เมื่อวันท่ี ๑๓ กันยายน ๒๕๔๙ จึงเปนกรณีไดดําเนินการออกคําสั่ง
ใหใชเงินหรือใชสิทธิเรียกรองภายในกําหนดระยะสองปนับแตวันท่ีรูถึงการละเมิดและรูตัวเจาหนาที่
ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทน ตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด
ของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ นอกจากนี้ เมื่อนับตั้งแตวันวางฎีกาเบิกเงินฝากชดเชยการสงสินคาออก
ดังกลาว อันเปนวันกระทําละเมิดจนถึงวันที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มีคําสั่งลงวันท่ี
๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙ ใหผูฟองคดีทั้งสองชดใชคาสินไหมทดแทน ยังอยูภายในกําหนดระยะเวลาสิบป
ตามมาตรา ๔๔๘ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย สิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีทั้งสอง
ชดใชคาสินไหมทดแทนของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ยังคงมีอยู การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒
มคี าํ สงั่ ลงวนั ท่ี ๒๒ สงิ หาคม ๒๕๔๙ ใหผ ูฟอ งคดีท้ังสองชดใชคาสินไหมทดแทน จึงเปนการใชสิทธิ
เรียกรองภายในกําหนดระยะเวลาตามกฎหมายแลว อยางไรก็ตาม แมในการตรวจและบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอร เพ่ือการสงออก ผูฟองคดีท้ังสองในฐานะศุลการักษมีหนาท่ีรอยดวงตรา กศก.
ท่ีประตูคอนเทนเนอรพรอมท้ังบันทึกหมายเลขดวงตรา กศก. ลงในใบกํากับคอนเทนเนอร
หลังจากท่ีนายตรวจและหรือสารวัตรศุลกากรตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรแลว
แตโ ดยทกี่ องตรวจสินคาขาออก สังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคําสั่งกองตรวจสินคาขาออก ที่ ๑๓/๒๕๓๐
เรื่อง การตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ มอบหมายใหศุลการักษ

แนวคาํ วินจิ ฉัยศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๑๙

ในกองตรวจสินคาขาออกผูทําหนาท่ีประทับตรา กศก. คอนเทนเนอร มีหนาท่ีชวยเหลือการปฏิบัติงาน
ของนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรดวย คําสั่งดังกลาว
เปนคําส่ังท่ีออกในขณะที่ประมวลขอบังคับศุลกากร พ.ศ. ๒๔๘๑ แกไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๐๑
ใชบังคับ ตอมา ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดมีคําส่ังท่ัวไปกรมศุลกากร ที่ ๔๖/๒๕๓๐ เรื่อง ใหใชประมวล
ระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๐ ยกเลิกประมวลขอบังคับ
ศลุ กากร พ.ศ. ๒๔๘๑ แกไขเพม่ิ เติม พ.ศ. ๒๕๐๑ โดยผถู กู ฟอ งคดีท่ี ๑ รวบรวมและปรับปรุงแกไข
ประมวลขอบังคับศุลกากรเสียใหมใหเปนปจจุบัน เพื่อใหใชเปนหลักในการปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง
และเหมาะสมกับสภาวการณ และแมประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ หมวดท่ี ๐๘
บทท่ี ๑๑ ขอที่ ๑๔ ระเบียบปฏบิ ัติเก่ยี วกับการตรวจและบรรจุสินคา เขาคอนเทนเนอร เพ่ือการสงออก
มิไดม ขี อความตอนใดกาํ หนดใหศุลการักษม ีหนาที่ชวยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจ/สารวัตรศุลกากร
ในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรดวยแตอยางใด แตก็เปนที่เห็นไดจากความในขอ ๓
และขอ ๔ ของคําสง่ั ทั่วไปกรมศุลกากร ท่ี ๔๖/๒๕๓๐ เร่ือง ใหใชประมวลระเบียบปฏิบัติกรมศุลกากร
พ.ศ. ๒๕๓๐ นั้นเองวา คําสั่งดังกลาวมิไดมีเจตนารมณที่จะใหยกเลิกคําสั่ง ระเบียบหรือขอบังคับ
ท่ีไดมีการออกมาใชบังคับกอนหนาน้ี และยังมิไดนํามารวมไวในประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร
พ.ศ. ๒๕๓๐ แตอยางใด และการท่ีกองตรวจสินคาขาออกมิไดพิจารณาเสนอใหมีการแกไขเพิ่มเติม
รวมท้ังตรวจสอบคําส่ังกองตรวจสินคาขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ เร่ือง ตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ ใหเหมาะสมกับการปฏิบัติงานและเปนปจจุบัน ใหเสร็จส้ินภายในวันที่
๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๐ ตามที่กําหนดในขอ ๔ ของคําส่ังทั่วไปกรมศุลกากร ที่ ๔๖/๒๕๓๐ ก็หาได
มีผลทําใหคําส่ังกองตรวจสินคาขาออก ที่ ๑๓/๒๕๓๐ ฉบับดังกลาวส้ินผลใชบังคับไม เน่ืองจาก
ระยะเวลาท่ีกําหนดใหดําเนินการใหเสร็จส้ินภายในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๐ นั้น มีลักษณะเปน
แตเพียงระยะเวลาเรงรัดเทานั้น หาใชระยะเวลาที่มีสภาพบังคับอันจะทําใหคําส่ัง ระเบียบ
หรือขอบังคับที่ยังมิไดนํามารวมไวในประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ สิ้นผลบังคับ
ลงเม่ือระยะเวลาดังกลาวไดลวงพนไปไม ดังน้ัน ศุลการักษจึงมีอํานาจหนาท่ีในเร่ืองการตรวจ
และบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร คือ รอยแถบเหล็กหรือลวดประทับดวงตราตะกั่ว กศก. แลว
ใหตัวแทนเรือหรือผูสงออกลงชื่อรับสินคาพรอมแถบเหล็กและหรือดวงตราตะกั่ว กศก. ในใบกํากับ
คอนเทนเนอร ตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ หมวดที่ ๐๘ บทท่ี ๑๑ ขอท่ี ๑๔
กับมีหนาที่ชวยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอร ตามคําสั่งกองตรวจสินคาขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐
อันเปนคําส่ังภายในหนวยงานที่ผูฟองคดีปฏิบัติหนาท่ีอยู เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดเปนยุติวา
หา งหุนสวนจํากดั ส. ไดก ระทาํ การทจุ ริตในการสง ออก โดยไดยื่นใบขนสินคาขาออกเพ่ือขอรับเงิน
ชดเชยภาษีท้ังท่ีไมมีสินคาสงออกนอกราชอาณาจักร คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิด ตรวจสอบไมพบหลักฐานการสงออก และไดมีการนําใบขนสินคาขาออกฉบับมุมสีนํ้าเงิน
ย่ืนขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร และการที่หางหุนสวนจํากัด ส. สามารถกระทําทุจริตในการ
สงออกดังกลาวไดสําเร็จก็เน่ืองจากนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรผูตรวจและควบคุมการบรรจุสินคา

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๐

เขาคอนเทนเนอรไมไดไปตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรตามอํานาจหนาที่
เนื่องจากหางหุนสวนจํากัด ส. ไมมีสินคาที่สําแดงในใบขนสินคาและเอกสารมาใหตรวจ แตกลับ
ลงนามรบั รองการตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร และผูฟองคดีทั้งสองกับศุลการักษอ่ืน
มีหนาที่รอยแถบเหล็กหรือลวดประทับดวงตราตะก่ัว กศก. หลังจากที่นายตรวจ/สารวัตรศุลกากร
ไดทําการตรวจปลอยสินคาและควบคุมสินคาเขาคอนเทนเนอรแลว และการชวยเหลือการปฏิบัติงาน
ของนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรก็มิไดปฏิบัติหนาท่ีดังกลาว
โดยถูกตองครบถวน กลาวคือมิไดไปชวยเหลือนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรทําการตรวจปลอยสินคา
และควบคุมสินคาเขาคอนเทนเนอรและรอยแถบเหล็กหรือรอยลวดประทับดวงตราตะกั่ว กศก.
ในขณะทีน่ ายตรวจ/สารวตั รศุลกากรทาํ การตรวจปลอ ยสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรแลว
แตกลับลงลายมือชื่อในใบกํากับคอนเทนเนอรไป และไดทําการรอยแถบเหล็กหรือลวดประทับ
ดวงตราตะก่ัว กศก. คอนเทนเนอรในภายหลัง ทั้งท่ีวิญูชนเชนผูฟองคดีท้ังสองยอมจะเล็งเห็นไดวา
การละเลยไมปฏิบัติหนาท่ีตามที่ประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ประกอบกับคําสั่ง
กองตรวจสินคาขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ กําหนดใหตองปฏิบัติ เปนชองทางใหผูสงออกสินคาสามารถ
กระทาํ ทจุ ริตไดโดยงาย นอกจากนี้ ประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร และคําสั่งกองตรวจสินคาขาออก
มีเจตนารมณที่จะใหการตรวจปลอยสินคาสงออกท่ีบรรจุเขาคอนเทนเนอรเปนไปดวยความรัดกุม
ปองกันผูสงออกสินคากระทําการทุจริต ในการสงออกสินคาเปนสําคัญ ดังน้ัน เม่ือหางหุนสวนจํากัด ส.
ไดใชเอกสารรับรองการตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร ที่ลงนามรับรอง
โดยนายตรวจ/สารวัตรศุลกากรผูมีอํานาจหนาท่ีตรวจสอบและควบคุมการบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอร และใบกํากับคอนเทนเนอรที่ลงนามโดยผูฟองคดีท้ังสองในฐานะศุลการักษ
ไปเสนอตอเจาหนาท่ีศุลกากรในขั้นตอนอื่นตอไป จนสามารถรับบัตรภาษีและนําบัตรภาษีไปใช
ประโยชนได อันเปนการทําทุจริตไดสําเร็จ พฤติการณของผูฟองคดีท้ังสองยอมถือไดแลววา
เปนการกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในการปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออยางรายแรงแลว
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงมีสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายได
ตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง ประกอบ มาตรา ๘ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด
ของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ และเมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา การกระทําละเมิดในคดีนี้เปนกรณี
ท่ีไดมีการกระทําละเมิดเกิดขึ้นหลังจากที่ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙
มีผลใชบังคับแลว การวินิจฉัยขอบเขตของความรับผิดท่ีเกิดข้ึนจึงตองนําหลักเกณฑท่ีบัญญัติไว
ใน พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมดิ ของเจา หนา ท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซง่ึ เปน กฎหมายท่ีใชบังคับอยูในขณะ
ที่มกี ารกระทาํ ละเมิดมาวนิ ิจฉยั เมือ่ เท็จจริงรับฟงไดวา ในขณะเกิดเหตุในคดีน้ีปริมาณการสงออก
สินคาของผูสงออกสินคาโดยรวมมีจํานวนมาก เนื่องจากรัฐบาลในขณะนั้นและผูถูกฟองคดีท่ี ๑
มนี โยบายสงเสรมิ การสง ออกโดยรฐั ไดใหน โยบายแกผ ถู ูกฟอ งคดีที่ ๑ ทีจ่ ะตองอํานวยความสะดวก
ในการดาํ เนินพิธกี ารศลุ กากรใหแกผูสงออกเพ่ือใหผูสงออกไดรับความสะดวกโดยหวังใหมีปริมาณ
การสงออกมากขึ้นเพื่อนําเงินตราตางประเทศเขามาในราชอาณาจักรอันเปนผลดีตอเศรษฐกิจ
แตอัตรากําลังของเจาหนาท่ีที่จะอํานวยความสะดวกตามนโยบายดังกลาวมีจํานวนนอยจนไมสามารถ

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๑

เทียบเปนสัดสวนกับปริมาณงานที่เขามาได กรณีจึงเช่ือไดวาปญหาท่ีทําใหเกิดชองทางทุจริต
ในการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสวนหน่ึงมาจากปริมาณงานท่ีมากแตอัตราเจาหนาที่ไมเพียงพอ
โดยผูถ กู ฟองคดีที่ ๑ ในฐานะหนวยงานของรัฐมีภาระหนาที่ท่ีจะตองวางระบบตรวจสอบใหรัดกุมยิ่งข้ึน
เพ่อื เปนการตรวจสอบและปอ งปรามมิใหมีการสําแดงเท็จหรือย่ืนคําขอชดเชยคาภาษีอากรอันเปนเท็จ
แตผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไมสามารถแกปญหาในเชิงระบบการดําเนินงานโดยรวมได ดังนั้น มูลคดีละเมิด
ท่ีผูฟองคดีท้ังสองจะตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในคดีนี้จึงเกิดจาก
ความบกพรองและระบบการดําเนินงานของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดวย กรณีจึงตองหักสวนความรับผิด
อันเกิดจากความบกพรองและระบบการดําเนินงานของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวน
คาเสียหายท้ังหมด ตามมาตรา มาตรา ๘ วรรคสาม แหงพระราชบัญญัติดังกลาว คงเหลือจํานวน
ที่จะตองนํามาพิจารณาสวนแหงความรับผิดเพียงรอยละ ๕๐ แตโดยท่ีเหตุละเมิดในคดีนี้เกิดจาก
การปฏบิ ตั หิ นา ทขี่ องนายตรวจศุลกากรและเจาหนาทศ่ี ลุ การักษ เม่ือพิจารณาถึงอํานาจหนาที่และ
สภาพความรายแรงแหงการกระทําแลว เห็นวา นายตรวจศุลกากรเปนผูทําการตรวจปลอย
และควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออกเขาคอนเทนเนอรจึงมีความรับผิดชอบมากกวา
ศุลการักษ เนื่องจากเปนผูรับผิดชอบโดยตรงในการตรวจสินคาและควบคุมการบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอร สว นศุลการกั ษท ําหนาทีเ่ ปน ผูชวยของนายตรวจศุลกากรและเปนผูปฏิบัติหนาท่ี
ในข้ันตอนสุดทายในการรอยดวงตราตะกั่ว กศก. หรือแถบเหล็ก RTC ที่ประตูคอนเทนเนอร
ดังน้ัน เมื่อพิจารณาพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิดตามมาตรา ๘ วรรคสองและวรรคส่ี
แหงพระราชบัญญัติเด่ียวกัน ในกรณีดังกลาว นายตรวจศุลกากรจึงมีมากกวาศุลการักษ โดยเห็นวา
นายตรวจศลุ กากรจะตองรับผิดรอ ยละ ๗๐ ของจาํ นวนสว นแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐ หลังจาก
หักความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว สวนศุลการักษตองรับผิดรอยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหง
ความรับผิดในรอยละ ๕๐ หลังจากหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลวโดยผูฟองคดีที่ ๑
ตองรับผิดมูลคาความเสียหายตามใบขนสินคา ๓ ฉบับ รวมเปนเงิน ๖๓,๑๖๑.๗๖ บาท และให
ผูฟอ งคดที ่ี ๒ ตองรับผดิ มูลคาความเสียหายตามใบขนสินคารวม ๔ ฉบับ รวมเปนเงิน ๘๑,๙๐๘.๙๘ บาท
เมื่อหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายทั้งหมด
ที่ผูฟองคดีตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน และกําหนดสัดสวนความรับผิดใหผูฟองคดีทั้งสอง
รับผิดรอยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐ หลังจากหักความรับผิดของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว ผูฟองคดีท่ี ๑ จึงตองรับผิดเปนเงินจํานวน ๓๑,๕๘๐.๘๘ บาท
สวนผูฟองคดีท่ี ๒ รับผิดเปนเงินจํานวน ๔๐,๙๕๔.๔๘ บาท ดังนั้น การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑
โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีคําสั่งลงวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙ เร่ือง ใหชดใชคาสินไหมทดแทน
เฉพาะในสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เกินกวาจํานวน
๓๑,๕๘๐.๘๘ บาท และผฟู อ งคดีที่ ๒ ชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เกินกวาจํานวน
๔๐,๙๕๔.๔๘ บาท จึงเปนคําสั่งที่ไมชอบดวยกฎหมาย ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษา
ใหเพิกถอนคําส่ังของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ลงวันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙
ในสวนท่ีกําหนดใหผูฟองคดีที่ ๑ และผูฟองคดีที่ ๒ ตองชดใชเงินเกินกวาจํานวน ๓๑,๕๘๐.๘๘ บาท

แนวคาํ วินิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๒

และจํานวน ๔๐,๙๕๔.๔๘ บาท ท้ังนี้ นับต้ังแตวันท่ี ๒๒ สิงหาคม ๒๕๔๙ ใหยกฟองผูถูกฟองคดีที่ ๓
และผถู ูกฟองคดที ่ี ๔ คาํ ขออน่ื นอกจากนี้ ใหย ก นน้ั ศาลปกครองสงู สดุ เหน็ พอ งดว ย

พิพากษายนื
คําพพิ ากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๔๔/๒๕๖๓

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีเปนขาราชการพลเรือน ตําแหนงศุลการักษ
สังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการปฏิบัติหนาท่ีของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และที่ ๒ (อธิบดีกรมศุลกากร) เนื่องจากมีผูใชนาม “รมโพธิ์ ๔๐” มีหนังสือ
ลงวันท่ี ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๐ รองเรียนไปยังนายกรัฐมนตรี วามีการทุจริตฉอโกงเงินภาษี
ของประชาชน ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ จึงมีคําสั่งลงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๗ แตงตั้งคณะกรรมการ
สอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กรณีหางหุนสวนจํากัด ซ. ทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษี
อากร ตอมา ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีคําส่ังลงวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๐
ใหเจาหนาท่ีที่เก่ียวของซึ่งรวมถึงผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน ผูฟองคดีไดรับทราบคําส่ัง
ดังกลาวเมื่อวันท่ี ๑๗ มกราคม ๒๕๕๑ และอุทธรณคําส่ังเม่ือวันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๑ ปจจุบัน
ยังไมไดรับแจงผลการพิจารณาอุทธรณ ผูฟองคดีเห็นวาขอกลาวหาในเร่ืองดังกลาวไมเปนธรรม
นอกจากนั้น กรณีการทุจริตสงออกเพ่ือขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรของหางหุนสวนจํากัด ซ.
เร่ิมตนสอบสวนตามคําส่ังลงวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๗ และผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคําสั่งลงวันท่ี
๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๐ ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน คดีจึงขาดอายุความ ๑ ป อีกทั้ง
มูลละเมิดเกิดข้ึนในป พ.ศ. ๒๕๓๘ คดีจึงขาดอายุความ ๑๐ ป นับแตวันกระทําละเมิดแลว
ผูฟองคดีจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีทั้งส่ี
(กระทรวงการคลัง ท่ี ๓ ปลัดกระทรวงการคลัง ท่ี ๔) ตามคําสั่งลงวันท่ี ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๐
ในสวนทใ่ี หผฟู อ งคดีชดใชคาสินไหมทดแทน กรณีการทุจริตสงออกเพ่ือขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
รายหา งหุนสว นจํากัด ซ. เหน็ วา คดมี ีปญหาจะตองวินิจฉัยในเบื้องตนกอนวา คําส่ังที่เรียกใหชดใช
คา สินไหมทดแทนของผูถกู ฟองคดที ี่ ๑ ดังกลา ว เปน การใชสิทธิเรียกรองคาสินไหมทดแทนภายใน
กาํ หนดอายคุ วามการใชส ิทธิเรียกรองหรอื ไม ซึง่ กรณีนี้ที่ประชุมใหญตุลาการในศาลปกครองสูงสุด
พิเคราะหแลวเห็นวา กรณีการกระทําละเมิดของเจาหนาที่ที่เกิดข้ึนกอนวันที่ พ.ร.บ. ความรับผิด
ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับจะตองแยกพิจารณาเปน ๒ สวนดวยกัน
สวนแรก สวนท่ีเปนสารบัญญัติ คือ สวนที่กําหนดหลักเกณฑเง่ือนไขท่ีกอใหเกิดสิทธิ
หรือกอใหเกิดความรับผิด ขอบเขตของสิทธิท่ีเกิด หรือขอบเขตของความรับผิดท่ีเกิด เชน
ความรับผดิ อยา งลกู หน้รี วม สิทธิไลเบี้ย เปนตน ใหพิจารณาตามหลักเกณฑที่บัญญัติไวในประมวล
กฎหมายแพงและพาณิชย ซ่ึงเปนกฎหมายท่ีใชบังคับอยูในขณะท่ีมีการกระทําละเมิด สวนที่สอง
สวนที่เปนวิธีสบัญญัติ คือ สวนที่กําหนดหลักเกณฑ เงื่อนไข วิธีการในการใชสิทธิเรียกรอง
เชน การตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง การพิจารณาของผูมีอํานาจสั่งการ เปนตน
ซ่ึงบทบัญญัติในสวนน้ีจะไมมีผลกระทบตอสาระหรือขอบเขตของสิทธิ หรือความรับผิดของ

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๓
ผูกระทําละเมิดแตอ ยา งใด ดวยเหตุนี้ จงึ สามารถนาํ บทบญั ญตั ทิ ี่กาํ หนดหลักเกณฑในเรื่องดังกลาว
ตามท่ีบัญญัติใน พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซึ่งเปนกฎหมาย
ท่ีใชบังคับอยูในขณะที่มีการใชสิทธิหรือใชอํานาจเชนวาน้ันมาใชไดแมวาการกระทําละเมิด
จะไดเกดิ ขึ้นกอ นวนั ทพ่ี ระราชบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับก็ตาม เมื่อคดีนี้มูลละเมิดเกิดขึ้นกอนท่ี
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ใชบังคับ การพิจารณาสวนท่ี
เปนหลักเกณฑ เง่ือนไข วิธีการในการใชสิทธิเรียกรอง ซึ่งเปนบทบัญญัติในสวนท่ีไมมีผลกระทบ
ตอสาระหรือขอบเขตของสิทธิ หรือความรับผิดของผูกระทําละเมิด อันเปนขอกฎหมายในสวน
วิธีสบัญญัติ จึงตองบังคับตาม พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ ทั้งนี้
ตามมาตรา ๓ แหงพระราชบัญญัติดังกลาว และอาจนําบทบัญญัติในประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชยซึ่งเปนกฎหมายในสวนสารบัญญัติมาใชบังคับไดเทาท่ีไมขัดหรือแยงตอ พ.ร.บ.
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยเมื่อพิจารณาตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง
แหงพระราชบัญญัติดังกลาวแลว ปรากฏวามิไดบัญญัติเร่ืองอายุความการใชสิทธิเรียกรองนับแต
วันที่กระทําละเมิดไวเปนการเฉพาะ กรณีจึงตองนําบทบัญญัติในเร่ืองละเมิดท่ัวไปตามมาตรา ๔๔๘
วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาใชบังคับ เมื่อใบขนสินคาขาออกที่ผูฟองคดี
เปนผูประทับดวงตราตะก่ัว กศก. และแถบเหล็ก RTC มีวันวางฎีกาใชบัตรภาษีเม่ือวันท่ี
๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๘ วันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๓๘ และวันท่ี ๑๕ มกราคม ๒๕๓๙ วันดังกลาว
จงึ เปนวันกระทําละเมิดและเกิดความเสียหายแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เพราะฉะนั้น การที่ผูถูกฟองคดี
ท่ี ๑ มีคําส่ังลงวันท่ี ๒๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๐ ใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน โดยผูฟองคดี
ไดรับแจงคําสั่งดังกลาวเม่ือวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๕๑ อันเปนวันที่คําส่ังใหชดใชเงินดังกลาว
มีผลใชยันตอผูฟองคดี กรณีจึงเปนการใชสิทธิเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากการกระทําละเมิด
ของผูฟองคดเี มอื่ พนกาํ หนดอายุความ ๑๐ ป นบั แตวันทําละเมดิ สิทธเิ รยี กรองดงั กลา วจงึ ขาดอายุความ
ตามมาตรา ๔๔๘ ประกอบมาตรา ๑๙๓/๙ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย คําส่ังลงวันท่ี
๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๐ ที่ออกตามความเห็นของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ เฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีชดใช
คาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงเปนคําสั่งทางปกครองท่ีไมชอบดวยกฎหมาย ไมมีผลใช
บังคับกับผูฟองคดีได เมื่อคําส่ังดังกลาวไมชอบดวยกฎหมายเนื่องจากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ใชสิทธิ
เรียกรองเม่ือพนกําหนดอายุความแลว กรณีจึงไมจําตองวินิจฉัยประเด็นอื่นเพราะไมทําใหผลของ
คําพิพากษาเปล่ียนแปลงไป ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษาเพิกถอนคําส่ังลงวันที่ ๒๙ มิถุนายน
๒๕๕๐ เรอื่ ง ใหใ ชคาสินไหมทดแทน ที่ออกตามความเห็นของผูถูกฟองคดีที่ ๓ เฉพาะในสวนท่ีให
ผูฟ องคดชี ดใชค า สนิ ไหมทดแทนแกผ ถู กู ฟองคดีท่ี ๑ โดยใหมีผลยอนหลังไปนับต้ังแตวันออกคําสั่ง
ท้ังน้ี นบั แตวนั ท่คี ดีถึงทสี่ ุด และใหย กฟองผถู ูกฟอ งคดที ี่ ๔ นั้น ศาลปกครองสูงสุดเหน็ พอ งดว ย

พิพากษายืน

แนวคําวนิ จิ ฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๔

คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ.๙๘/๒๕๖๓
ผูฟองคดีทั้งสิบเกาฟองวา ผูฟองคดีท้ังสิบเกาดํารงตําแหนงศุลการักษ สังกัด

ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากคําสั่งกรมศุลกากร ลงวันที่
๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ท่ีใหผูฟองคดีทั้งสิบเการวมกับนายตรวจศุลกากรรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
กรณีบริษัท ม. ทุจริตการสงออกเพ่ือขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร ผูฟองคดีท้ังสิบเกา
ไดย่ืนอุทธรณคําสั่งดังกลาว ตอมา ไดรับแจงผลการพิจารณาใหยกอุทธรณตั้งแตวันท่ี
๑๓ มิถุนายน ๒๕๔๘ เปนตนไป ยกเวนผูฟองคดีที่ ๑๔ ยังไมไดรับแจงผลการพิจารณาอุทธรณ
ผฟู อ งคดที ัง้ สบิ เกา เห็นวา คําส่ังกรมศุลกากร ลงวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ น้ัน ไมเปนธรรม และ
ไมชอบดวยกฎหมาย เพราะความเสียหายมิไดเกิดจากการกระทําดวยความประมาทเลินเลอ
ของศุลการกั ษ ผูฟองคดีจึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหาย ทั้งกระบวนการสอบขอเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิดไมเปนธรรม และคดีขาดอายุความแลว ผูฟองคดีท้ังสิบเกาจึงนําคดีมาฟองขอให
ศาลพิพากษาเพิกถอนคําส่ังกรมศุลกากร ลงวันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ท่ีใหผูฟองคดีท้ังสิบเกา
รวมกับนายตรวจศุลกากรรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน เห็นวา ผูฟองคดีทั้งสิบเกา
เปนขาราชการสังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดํารงตําแหนงศุลการักษซ่ึงมีหนาท่ีรอยดวงตราตะกั่ว กศก.
หรือแถบเหล็ก RTC ท่ีคอนเทนเนอรที่นายตรวจศุลกากรไดทําการตรวจปลอยสินคาและควบคุม
บรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรแลว ไดลงนามรับรองในเอกสารประกอบการสงออกวามีสินคาสงออก
ของบรษิ ัท ม. จริง รวม ๗๙ ฉบับ แตบรษิ ัท ม. มิไดม ีการสงออกสินคาตามที่สําแดงไว และไดนําใบ
ขนสินคาขาออกและเอกสารประกอบไปย่ืนคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร ในรูปบัตรภาษี
ในชวงเดือนกุมภาพันธ ๒๕๓๘ ถึงเดือนกุมภาพันธ ๒๕๓๙ และผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดออกบัตรภาษี
ในชวงเดือนกุมภาพันธ ๒๕๓๘ ถึงเดือนมีนาคม ๒๕๓๙ จากนั้น ผูรับโอนบัตรภาษีจากบริษัท ม.
ไดน ําบัตรภาษีดังกลาวไปใชประโยชนชําระคาภาษีอากรแทนจํานวนเงินที่บริษัทตองชําระตามนัย
มาตรา ๑๘ แหง พ.ร.บ. ชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออกที่ผลิตในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๒๔
โดยไดมีการวางฎีกาการเบิกเงินตามมูลคาบัตรภาษีในชวงเดือนมิถุนายน ๒๕๓๘ ถึง
เดอื นพฤษภาคม ๒๕๓๙ ทําใหผถู กู ฟอ งคดที ่ี ๑ ไดรับความเสียหายตามจํานวนมูลคาของบัตรภาษี
ท่ีไดนําไปใชประโยชน อันเปนกรณีครบองคประกอบของการทําละเมิดแลว ตามมาตรา ๔๒๐
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ในชวงเดือนมิถุนายน ๒๕๓๘ ถึงเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๙
ซ่ึงเปนวันวางฎีกาจึงเปนวันทําละเมิดที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีสิทธิเรียกรองคาเสียหายจากผูฟองคดี
ท้ังสิบเกา โดยเร่ิมนับอายุความการใชสิทธิเรียกรองนับแตวันทําละเมิดดังกลาว ตามมาตรา ๔๔๘
วรรคหนง่ึ แหง ประมวลกฎหมายดังกลาว ดังน้ัน เม่ือขอเท็จจริงปรากฏตอไปวา ผูถูกฟองคดีที่ ๑
ดําเนินการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวย
หลักเกณฑการปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยรูถึง
การละเมิดและรูวาผูฟองคดีทั้งสิบเกาเปนผูกระทําละเมิดท่ีจะพึงใชคาสินไหมทดแทนเมื่อวันท่ี
๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ ซึ่งเปนวันที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดวินิจฉัยสั่งการใหผูฟองคดีทั้งสิบเกา
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนหลังจากไดรับรายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๕

การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคําส่ังลงวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีทั้งสิบเกาชดใช
คาสินไหมทดแทน ซง่ึ ผฟู องคดที ัง้ สิบเกา ไดร ับทราบคําสั่งและมีหนังสืออุทธรณตอผูถูกฟองคดีที่ ๒
(อธิบดีกรมศุลกากร) จึงเปนกรณีท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดดําเนินการออกคําสั่งใหใชเงินหรือใชสิทธิ
เรียกรองภายในกําหนดระยะสองปนับแตวันท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ รูถึงการทําละเมิดและรูตัว
เจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนตามมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด
ของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ และเมื่อนับแตไดมีการวางฎีกาเบิกเงินชดเชยการสงสินคาออก
ในชวงเดือนมิถุนายน ๒๕๓๘ ถึงเดือนพฤษภาคม ๒๕๓๙ ซ่ึงเปนวันกระทําละเมิดจนถึงวันท่ี
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ มีคําสั่งลงวันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทน
ยังอยูภายในกําหนดระยะเวลาสิบป ตามมาตรา ๔๔๘ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
สิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีท้ังสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทนของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ยังคงมีอยู การท่ี
ผูถูกฟอ งคดที ่ี ๑ ใชสิทธิเรียกรองใหผูฟองคดีทั้งสิบเกาชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑
ดวยการออกคาํ ส่ังลงวันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ เปนการใชสิทธิเรียกรองภายในกําหนดระยะเวลา
ตามกฎหมายแลว เม่อื ใบขนสินคาขาออก จํานวน ๗๙ ฉบับ มีการวางฎีกาเบิกเงินตามมูลคาบัตร
ภาษีกอนวันท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ อันเปนวันที่ พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี
พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับ อันจะทําใหผูฟองคดีทั้งสิบเกากับเจาหนาที่อ่ืนท่ีเกี่ยวของควรตอง
รับผิดตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซ่ึงเปนกฎหมายสารบัญญัติที่ใชบังคับอยู
ในขณะกระทําละเมิด แตอยางไรก็ตาม หากพิจารณาถึงเหตุผลในการประกาศใช พ.ร.บ.
ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ แลว จะเห็นไดวา การที่จะวินิจฉัยวา
ผูฟองคดีท้ังสิบเกาไดกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในการปฏิบัติหนาท่ีหรือไม และ
หากผูฟองคดีท้ังสิบเกากระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในการปฏิบัติหนาท่ีในกรณีดังกลาว
ผูฟองคดีท้ังสิบเกาตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ หรือไม เพียงใด น้ัน
ควรตองพิจารณาถึงความรับผิดทางละเมิดตามท่ี พระราชบัญญัติดังกลาวบัญญัติไว
เมื่อขอเท็จจริงปรากฏวา คําสั่งกองตรวจสินคาขาออก ที่ ๑๓/๒๕๓๐ เรื่อง การตรวจและ
บรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ และคําส่ังกองตรวจสินคาขาออก
ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ เร่ือง การตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐
ไดกําหนดหนาที่ของนายตรวจศุลกากรหรือสารวัตรศุลกากร รวมทั้งศุลการักษในขั้นตอน
พิธีการตรวจปลอยสินคาขาออก โดยใหศุลการักษมีหนาท่ีในฐานะผูชวยผูควบคุมการบรรจุ
สินคาเขาตูคอนเทนเนอร และมีลําดับข้ันตอนการทํางานรวมกับนายตรวจศุลกากร
ในการตรวจและบรรจุสินคา โดยหลังจากนายตรวจศุลกากรตรวจและควบคุมการบรรจุสินคา
เขาตูคอนเทนเนอรเสร็จแลว ศุลการักษจะมีหนาที่ประทับดวงตรา กศก. หรือแถบเหล็กศุลกากร
ซ่ึงเปนหนาที่โดยท่ัวไปของศุลการักษท่ีจะตองทํางานอยางประสานสอดคลองตอเน่ืองกันกับ
นายตรวจศุลกากร เพื่อเปนการสอบทานการปฏิบัติงานซ่ึงกันและกัน การปฏิบัติหนาที่ดังกลาว
จึงไมอาจแยกจากกันได อีกทั้ง ยังมีคําส่ังทั่วไปกรมศุลกากร ท่ี ๔๖/๒๕๓๐ เรื่อง ใหใชประมวล
ระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ลงวันที่ ๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๐ และคําส่ังอ่ืนที่ออกระเบียบ

แนวคาํ วนิ ิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๖

เพือ่ วางแนวทางการปฏิบัติงานในขั้นตอนตางๆ ดังนั้น การปฏิบัติหนาท่ีของเจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของ
จําตองถือปฏิบัติตามขอกําหนดที่กําหนดไวในระเบียบและคําสั่งดังกลาว อันเปนข้ันตอนสําคัญ
ในการตรวจปลอยสินคาขาออกวา ถูกตองครบถวนตามท่ีผูสงออกสินคาสําแดงไวในใบขนสินคาขาออก
หรือไม และไดบรรจุเขาคอนเทนเนอรจริง โดยเฉพาะอยางยิ่งกรณีที่ผูสงสินคาขาออกแจงความ
ประสงคขอคืนเงินคาภาษีอากร การปฏิบัติหนาท่ีในข้ันตอนน้ีจึงตองใชความระมัดระวังรอบคอบ
ใหถูกตองตามระเบียบและคําส่ังท่ีกําหนดไว เพ่ือปองกันมิใหมีการทุจริตขอคืนเงินคาภาษีอากร
โดยมิชอบ เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวา ใบขนสินคาขาออกจํานวน ๗๙ ฉบับ มีการกําหนดให
ผูฟองคดีท้ังสิบเกาทําหนาท่ีศุลการักษรวมกับนายตรวจศุลกากร เพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงาน
ของนายตรวจศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร แตจากการตรวจสอบปรากฏวา
บริษัท ม. มิไดมีการสงสินคาออกจริงตามที่สําแดงไวในใบขนสินคาขาออก กรณีจึงเชื่อไดวา
ผูฟองคดีท้ังสิบเกาไมไดปฏิบัติหนาที่ใหถูกตองตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
และคําส่ังกองตรวจสินคาขาออก ที่ ๑๓/๒๕๓๐ ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ อันถือเปนการละเลย
ตอหนาที่ตามท่ีกําหนดไวในระเบียบหรือคําส่ังดังกลาว จนเปนเหตุใหบริษัท ม. กระทําการทุจริต
ในการสงออก และถือไดวาการกระทําของผูฟองคดีท้ังสิบเกาดังกลาวเปนการปฏิบัติหนาที่
โดยประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซึ่งเปนหนวยงานของรัฐที่ผูฟองคดี
ท้ังสิบเกาสังกัดไดรับความเสียหาย อันเปนการกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ สวนกรณีที่
ผูฟองคดีท้ังสิบเกาอางถึงความไมนาเช่ือถือของบัญชีสินคาสําหรับเรือ (MANIFEST) นั้น
แมบัญชีสินคาสําหรับเรือดังกลาวจะเปนเอกสารท่ีตัวแทนเรือจัดทําข้ึนก็ตาม แตโดยที่มาตรา ๕๑
แหง พ.ร.บ. ศุลกากร พระพุทธศักราช ๒๔๖๙ บัญญัติใหนายเรือทุกลําซึ่งบรรทุกสินคาขาออก
ย่ืนหรือจัดใหตัวแทนย่ืนบัญชีสินคาสําหรับเรือ ซึ่งตองมีรายละเอียดแหงสินคาตามที่ระบุไว
ในบัญชีรายชื่อสินคาขาออกของศุลกากรน้ัน ตอศุลกสถานภายในหกวันเต็มนับแตวันที่ไดออก
ใบปลอยเรือขาออกให อีกทั้งบัญชีสินคาสําหรับเรือดังกลาวจัดทําข้ึนโดยผูท่ีไมไดมีสวนเก่ียวของ
ในการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร เอกสารดังกลาวจึงมีความนาเช่ือถือพอท่ีจะนํามาพิจารณา
ประกอบได สวนท่ีฟองคดีท้ังสิบเกาอางวามีคําพิพากษาคดีอาญา หมายเลขแดงที่ ๑๐๐๕๔/๒๕๔๙
ซึ่งเปนคดีท่ียุติแลว ไดใหเหตุผลวา บัญชีสินคาสําหรับเรือไมเพียงพอที่จะรับฟงไดวาบริษัท
ท่ีถูกกลาวหามีการสงสินคาออกจริงหรือไม น้ัน การออกคําสั่งใหชดใชคาสินไหมทดแทนและ
การดําเนินคดีอาญาน้ันตางมีวัตถุประสงค ขั้นตอนการสอบสวน การรับฟงพยานหลักฐานแตกตางกัน
การออกคําส่ังใหชดใชคาสินไหมทดแทนมีวัตถุประสงคเพื่อใหเจาหนาท่ีผูกระทําละเมิดจาก
การปฏิบัติหนาที่ชดใชคาสินไหมทดแทนแกหนวยงานของรัฐ อันเนื่องมาจากกระทําการดวย
ความจงใจหรือประมาทเลินเลออยางรายแรง แตการดําเนินการทางอาญาเปนการดําเนินการ
ที่มีผลกระทบตอสิทธิและเสรีภาพในชีวิตรางกายและทรัพยสินของผูกระทําผิด การพิพากษา
ลงโทษจําเลยในคดีอาญาจึงตองปรากฏพยานหลักฐานจนแนใจวาจําเลยกระทําผิดจริง
แตห ากมีความสงสยั ตอ งยกประโยชนแ หง ความสงสยั ใหจ ําเลย ดงั นั้น ในการพิจารณาออกคําส่ังให
ชดใชคาสินไหมทดแทน เม่ือผูมีอํานาจออกคําสั่งเชนวานั้นไดรับฟงขอเท็จจริงและพยานหลักฐาน

แนวคําวินิจฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๗

ของทุกฝายและดําเนินการสอบสวนโดยชอบดวยกฎหมายแลว หากพฤติการณเชื่อไดวา
การกระทําของผูฟองคดีทั้งสิบเกาเปนการปฏิบัติหนาที่โดยประมาทเลินเลออยางรายแรงจริง
ก็ยอมออกคําส่ังใหชดใชคาสินไหมทดแทนไดตามมาตรา ๑๐ ประกอบมาตรา ๘ วรรคหน่ึง แหง
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิด พ.ศ. ๒๕๓๙ แตอยางไรก็ตาม เม่ือขอเท็จจริงปรากฏตามรายงาน
ผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมิด พบวา ผลการสอบปากคําเจาหนาท่ีท่ีเก่ียวของซึ่งใหการสอดคลองตรงกันเก่ียวกับ
ปริมาณงานในแตละวันมีจํานวนมาก เพราะเปนการดําเนินงานตามนโยบายสงเสริมการสงออก
ของรฐั บาลตามท่ผี ูบงั คับบญั ชามอบหมาย โดยท่ีคณะกรรมการฯ เห็นวา ไมปรากฏขอเท็จจริงการ
ละเลยไมปฏิบัติหนาที่ตามระเบียบท่ีกําหนด หรือตรวจพบการรอยดวงตราตะก่ัวและประทับตรา
กศก. ไมเ รยี บรอย จะเห็นไดวา ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับผูถูกฟองคดีที่ ๑ สวนหนึ่งเปนผลมาจาก
อัตรากําลังของเจาหนาที่ที่ไมสอดคลองกับปริมาณงาน ซ่ึงผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในฐานะท่ีเปน
หนวยงานของรัฐ มีภารกิจหลักโดยตรงคือการจัดเก็บภาษีอากรจากของที่นําเขามาในและสงออก
ไปนอกราชอาณาจักร รวมถึงผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ในฐานะที่เปนหัวหนาสวนราชการของผูถูกฟองคดีที่ ๑
ยอมตองตระหนักและใหความสําคัญในเร่ืองดังกลาว ท้ังน้ี เพ่ือเปนการตรวจสอบและปองกัน
การย่ืนขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรอันเปนเท็จ การท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ กลาวอางวา
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ ไมเคยรับรูถึงปญหาในการปฏิบัติหนาท่ีท่ีเกี่ยวของกับการตรวจปลอย
สินคาแตอยางใด จึงเปนเพียงขอกลาวอางลอยๆ เพื่อปฏิเสธความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑
และท่ี ๒ เทาน้ัน ซ่ึงจากขอเท็จจริงและพฤติการณท่ีเกิดขึ้นยังเห็นไมไดวาผูถูกฟองคดีที่ ๑ และ
ที่ ๒ ไดดําเนินการแกไขปญหาอยางเต็มที่ ในการวางระบบงานเพ่ือปองกันมิใหเกิดการทุจริต
ในการสงออกสินคาและการขอรับเงินชดเชยภาษีอากร ซ่ึงหากผูถูกฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒
ไดดาํ เนนิ การวางระบบงานใหม ปี ระสทิ ธภิ าพแลว ยอมจะเปน การลดทอนความเสียหายที่เกิดข้ึนได
ดังนั้น ความเสียหายที่เกิดข้ึนกับผูถูกฟองคดีท่ี ๑ สวนหนึ่งยอมเกิดจากความบกพรอง
ในการดําเนินงานของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และท่ี ๒ เอง จึงสมควรหักสวนแหงความรับผิดของ
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ ออกรอยละ ๕๐ ของความเสียหายตามมูลคาบัตรภาษีที่นําไปใช
ประโยชนแลว อยางไรก็ตาม เม่ือพิจารณาตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๑ และขอ ๐๘ ๑๑ ๑๔ ไดกําหนดใหนายตรวจศุลกากรเปนผูมีหนาท่ีโดยตรง
ในการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออกเขาตูคอนเทนเนอร
สวนศุลการักษทําหนาท่ีเปนผูประทับตรา กศก. หรือแถบเหล็กศุลกากร ภายหลังท่ีนายตรวจศุลกากร
ทําการตรวจและผูสงออกบรรจุสินคาเสร็จแลว จะเห็นไดวาอํานาจหนาท่ีและสภาพความรายแรง
แหง การกระทําดงั กลา ว นายตรวจศลุ กากรจะมคี วามรับผดิ ชอบในอํานาจหนา ท่ีมากกวาศุลการักษ
นายตรวจศุลกากรจึงควรรับผิดรอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐
หลังจากหักสวนแหงความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ และผูถูกฟองคดีที่ ๒ แลว สวนศุลการักษ
ควรรบั ผดิ รอ ยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในรอยละ ๕๐ หลังจากหักสวนแหงความรับผิด
ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ และผูถูกฟองคดีท่ี ๒ แลว อยางไรก็ดี หากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดรับชําระหน้ี

แนวคําวนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๘
หรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากบริษัท ม. ไดเปนจํานวนเทาใด ใหนําเงินจํานวนดังกลาวมาหักหรือ
คืนตามสวนแหงความรับผิด แลวแตกรณี ใหกับผูฟองคดีท้ังสิบเกา ดังนั้น การที่ผูถูกฟองคดีที่ ๑
โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒ มีคําสั่งกรมศุลกากร ที่ ๑๒๓/๒๕๔๘ ลงวันท่ี ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘
ใหผูฟองคดีท้ังสิบเการับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนรวมกับนายตรวจศุลกากรอยางลูกหน้ีรวม
ตามจํานวนเงินที่ระบุไวในคําส่ังดังกลาวบางสวน จึงเปนคําส่ังท่ีไมชอบดวยกฎหมาย
ทศ่ี าลปกครองชั้นตนพิพากษาใหพิพากษาและมีคําบังคับใหเพิกถอนคําสั่งกรมศุลกากร ท่ี ๑๒๓/๒๕๔๘
เร่ือง ใหชดใชคาสินไหมทดแทน ลงวันที่ ๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ในสวนที่ใหผูฟองคดีทั้งสิบเกา
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ บางสวน โดยใหมีผลยอนหลังนับแตวันท่ี
ออกคําส่งั ท้ังนี้ นับแตวันท่ีคดีถึงที่สุด และยกฟองผูถูกฟองคดีที่ ๓ (กระทรวงการคลัง) และท่ี ๔
(ปลัดกระทรวงการคลงั ) นั้น ศาลปกครองสูงสุดเหน็ พอ งดว ยบางสวน

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําส่ังกรมศุลกากร ที่ ๑๒๓/๒๕๔๘ ลงวันที่
๖ พฤษภาคม ๒๕๔๘ ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๑ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา
จํานวน ๖๔,๘๑๗.๗๔ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๒ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา
จํานวน ๑๘,๙๔๓.๗๗ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีท่ี ๓ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา
จํานวน ๓๓,๓๐๔ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๔ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๔,๗๐๐.๑๙ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๕ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๘,๖๗๐.๑๐ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๖ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๑๙,๒๑๒.๑๒ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๗ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๑๖,๘๙๕.๒๑ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๘ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๒๙,๔๓๗.๔๑ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๙ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๔,๙๔๗.๒๕ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๑๐ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๓,๓๓๓.๗๙ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๑๑ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๗๒,๘๑๑.๘๐ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๑๒ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๓,๒๓๓.๗๓ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๑๓ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๕,๘๖๗.๙๘ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีท่ี ๑๔ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๑๘,๕๑๖.๘๘ บาท ในสวนที่ใหผูฟองคดีท่ี ๑๕ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๔,๖๓๗.๓๓ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๑๖ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๘,๖๗๓.๐๗ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๑๗ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๕,๓๗๕.๙๙ บาท ในสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๑๘ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๖,๐๖๘.๔๐ บาท และในสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๑๙ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๓๘,๓๐๘.๑๔ บาท ท้ังนี้ หากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดรับชําระหน้ีหรือสามารถบังคับชําระหนี้จาก
บริษัท ม. ไดเปนจํานวนเทาใด ใหนําเงินจํานวนดังกลาวมาหักหรือคืนตามสวนแหงความรับผิด
แลวแตกรณี ใหกบั ผูฟองคดที ัง้ สบิ เกา นอกจากท่ีแกใ หเ ปนไปตามคําพิพากษาของศาลปกครองชัน้ ตน

แนวคําวินิจฉัยศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๒๙

คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ.๑๐๒-๑๐๓/๒๕๖๓ อา งแลว ในประเดน็ วิธพี ิจารณาคดปี กครอง หนา ๒๐๓
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ. ๑๑๙/๒๕๖๓

ผูฟองคดีทั้งเกาฟองวา ขณะผูฟองคดีท้ังเกาดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร
สังกดั ผถู ูกฟอ งคดที ่ี ๑ (กรมศุลกากร) ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคําสั่งลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๗
แตงตั้งคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด กรณีบริษัท อ. ขอรับเงินชดเชย
คาภาษีอากร ซ่ึงคณะกรรมการดังกลาวเห็นวา ไมมีเจาหนาที่คนใดปฏิบัติหนาท่ีโดยทุจริตหรือ
รวมทุจริตกับบริษัท อ. แตปญหาเกิดจากปริมาณเจาหนาท่ีไมเพียงพอตอปริมาณงานจึงเห็นควรยุติ
เรื่อง แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ เห็นวา ผูฟองคดีทั้งเกามิไดใชความระมัดระวังในการปฏิบัติหนาที่
ฐานะนายตรวจศุลกากรผูมีหนาที่ควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรอยางเพียงพอ
โดยรับรองการตรวจปลอยสินคาทั้งท่ีไมมีสินคาของบริษัท อ. บรรจุอยูจริง เปนการปฏิบัติหนาท่ี
ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรงอันเปนชองทางใหบริษัทดังกลาวทุจริตการสงออก
โดยจัดทําใบขนสินคาขาออกและบัญชีสินคาสําหรับเรือเปนเท็จ และนําใบขนสินคาขาออก
ไปยื่นขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรทําใหทางราชการไดรับความเสียหาย จึงมีคําส่ังลงวันที่
๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังเกาชดใชคาสินไหมทดแทน ตามความเห็นของผูถูกฟองคดีที่ ๓
(กระทรวงการคลัง) ผฟู องคดีทง้ั เกาจึงยนื่ อทุ ธรณคาํ สัง่ ดังกลา วตอ ผถู ูกฟองคดีที่ ๒ (อธิบดีกรมศุลกากร)
ตอมา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒ วินิจฉัยใหยกอุทธรณ ผูฟองคดีทั้งเกาเห็นวา
คําส่ังดังกลาวไมชอบดวยกฎหมาย การสอบสวนของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิด
ทางละเมดิ ไมช อบดว ยกฎหมาย เพราะคณะกรรมการดังกลาวไมเคยแจงขอกลาวหาใหผูฟองคดีท้ังเกา
ทราบและไมไดสอบสวนผูฟองคดีท้ังเกาในฐานะผูถูกกลาวหา แตสอบสวนในฐานะเจาหนาท่ี
ผูปฏิบัติงานเทาน้ัน อีกทั้งคําสั่งใหชดใชคาสินไหมทดแทนของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมไดสงให
ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ตรวจสอบกอนออกคําส่ังจึงไมชอบดวยกฎหมาย และคดีขาดอายุความแลว
จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ลงวันท่ี
๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ และเพิกถอนความเห็นของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ท่ีใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกคําส่ัง
ใหผูฟองคดีทั้งเกาชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เห็นวา คดีน้ีเปนกรณีท่ีมี
การกระทาํ อันนําไปสูเหตุละเมิดเกิดขึ้นกอน พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙
มีผลใชบังคับเมื่อวันท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙ ดังน้ัน การใชบังคับกฎหมายจึงตองแยก
พิจารณาเปน ๒ สวน คือ หลักเกณฑในสวนที่เปนสารบัญญัติ เชน ความรับผิดในทางละเมิด
สิทธิไลเบี้ย ความรับผิดอยางลูกหนี้รวม ฯลฯ ใหเปนไปตามหลักเกณฑในประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย ซึ่งเปนกฎหมายที่ใชในขณะที่กระทําละเมิด สวนหลักเกณฑในสวนวิธีสบัญญัติ เชน
ข้ันตอนการต้ังคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด การพิจารณาของผูมีอํานาจ
สั่งการ การรายงานกระทรวงการคลังเพื่อตรวจสอบ การแจงผลการพิจารณา การเรียกให
เจาหนาที่ผูกระทําละเมิดชดใชคาสินไหมทดแทน อายุความ ฯลฯ จะตองเปนไปตามหลักเกณฑ
แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงหลักการใชกฎหมายดังกลาว

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๐
ตองนํามาใชสําหรับการพิจารณาคดีน้ีดวย กรณีมีปญหาวา กอนท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๑ จะมีคําสั่ง
ลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังเการับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนความเสียหาย
แกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดมีการเปดโอกาสใหผูฟองคดีทั้งเกาทราบขอเท็จจริงอยางเพียงพอ
และมีโอกาสไดโตแยงและแสดงพยานหลักฐานของตนหรือไม ขอเท็จจริงปรากฏวา
คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ซ่ึงผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒
ไดมีคําส่ังลงวันที่ ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ แตงต้ังขึ้นตามขอ ๘ ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙
ไดมีหนังสือลงวันที่ ๒๔ ธันวาคม ๒๕๔๗ รายงานผลการสอบสวนตอผูถูกฟองคดีท่ี ๒
โดยคณะกรรมการฯ ไดพิจารณาจากหลักฐานขอเท็จจริงตางๆ หลักฐานเอกสาร หลักฐานอื่นๆ
การสอบปากคํา และรายงานผลการสอบขอ เท็จจรงิ ของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงตามคําส่ังลง
วันท่ี ๑๓ มกราคม ๒๕๔๓ นอกจากนี้ ผูถูกฟองคดีที่ ๒ มีหนังสือลงวันท่ี ๙ กุมภาพันธ ๒๕๔๘
รายงานผลการพิจารณาความรับผิดทางละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๓ ตามขอ ๑๗ ของระเบียบดังกลาว
ตอมา ผูถูกฟองคดีท่ี ๓ โดยกรมบัญชีกลาง มีหนังสือลงวันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๔๘ แจงผล
การพิจารณาความรับผิดทางละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๒ ผูถูกฟองคดีที่ ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒
จึงไดออกคําสั่งลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีท้ังเการับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
ความเสียหายแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ผูฟองคดีทั้งเกาไดอุทธรณคําสั่งของผูถูกฟองคดีที่ ๒ วา คําสั่ง
ของผูถกู ฟอ งคดีท่ี ๑ โดยผถู ูกฟองคดีที่ ๒ ดังกลาวไมชอบดวยเหตุผลหลายประการ สํานักบริหาร
และพัฒนาบุคคลมีหนังสือลงวันที่ ๒๓ สิงหาคม ๒๕๔๘ แจงผลการพิจารณาอุทธรณคําส่ังให
ผูฟองคดีทั้งเกาทราบวา คําอุทธรณฟงไมขึ้น เห็นวา การที่คณะกรรมการสอบขอเท็จจริง
ตามคําส่ังลงวันที่ ๑๓ มกราคม ๒๕๔๓ ไดเรียกใหผูฟองคดีทั้งเกามาใหถอยคําเก่ียวกับกรณีดังกลาว
ซึ่งผูฟองคดีท้ังเกามีสวนเกี่ยวของดวยน้ัน ผูฟองคดีทั้งเกายอมทราบวัตถุประสงคของการแตงตั้ง
คณะกรรมการดังกลาวและเหตุผลที่จะตองทําการสอบสวนผูฟองคดีทั้งเกา วาเปนการสอบสวน
เพื่อหาผูตองรับผิดและจํานวนคาสินไหมทดแทนท่ีผูกระทําความผิดตองชดใช โดยในช้ัน
การสอบสวนคณะกรรมการฯ ก็ไดสอบสวนขอเท็จจริงโดยต้ังประเด็นคําถามเก่ียวกับ
การปฏิบัติงานและอํานาจหนาท่ีของผูฟองคดีทั้งเกา รวมท้ังความเก่ียวของกับเหตุละเมิดดังกลาว
ซึ่งผูฟองคดีทั้งเกาก็มิไดหลงประเด็นแตอยางใด และเมื่อผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๒
ไดม ีคําส่งั ใหผ ฟู องคดที ง้ั เกา ชดใชคาสนิ ไหมทดแทนความเสยี หายตามคําสง่ั ลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘
ผูฟ องคดีทัง้ เกากไ็ ดโตแ ยง คัดคา นคาํ สง่ั ดังกลาวโดยการย่ืนอุทธรณตอผูถูกฟองคดีที่ ๒ ในประเด็นเดิม
กับท่ีเคยไดใหถอยคําไวตอคณะกรรมการฯ แลว จึงเห็นวา แมผลการพิจารณาของคณะกรรมการ
สอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดจะแตกตางจากความเห็นของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ก็ตาม
แตการดําเนินกระบวนพิจารณาของคําส่ังถือไดวาไดมีการเปดโอกาสใหผูฟองคดีท้ังเกาโตแยง
และแสดงพยานหลักฐานแลวตามมาตรา ๒๗ วรรคหน่ึง และมาตรา ๓๐ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ ประกอบกับขอ ๑๔ วรรคหน่ึง และขอ ๑๕

แนวคาํ วนิ ิจฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๑

ของระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยหลักเกณฑการปฏิบัติเก่ียวกับความรับผิดทางละเมิด
ของเจา หนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ แลว

สําหรับคําส่ังลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ที่สั่งใหผูฟองคดีท้ังเการับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดที ่ี ๑ เปนคําสั่งท่ีออกภายในอายุความหรือไม เห็นวา เม่ือปรากฏวา
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ และท่ี ๒ รูเหตุแหงการละเมิดและรูตัวผูกระทําละเมิดเมื่อวันท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๒
โดยรองอธิบดีกลุมภารกิจดานยุทธศาสตรพิจารณารายงานผลการสอบขอเท็จจริงและความเห็น
ที่คณะกรรมการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดฯ และหนังสือท่ีฝายวินัยฯ ไดเสนอแลว
เกษียนสั่งการใหเจาหนาท่ีชดใชคาเสียหายตามเสนอเม่ือวันที่ ๓ กุมภาพันธ ๒๕๔๘ และ
ผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดมีคําสั่งลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ จึงเปนการใชสิทธิเรียกรองภายในอายุความ
ตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ แลว
และมูลกรณีแหงการละเมิดในคดีน้ีเกิดจากบริษัท อ. ไดยื่นขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรโดยไมมีสิทธิ
จนเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดรับความเสียหาย เมื่อปรากฏวา มีการวางฎีกาเบิกจายเงิน
ตามท่ีไดมีการยื่นคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรระหวางวันท่ี ๑๒ ตุลาคม ๒๕๓๘ ถึงวันที่
๙ มถิ ุนายน ๒๕๔๐ ซ่ึงเมือ่ การวางฎกี าเบิกจายเงินดังกลาวเปนผลโดยตรงท่ีทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๑
ตองเสยี เงินคา ชดเชยภาษีอากร กรณจี งึ ถือไดวาวันท่ีมีการวางฎีกาเบิกจายเงินคาชดเชยภาษีอากร
เปนวันที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ถูกกระทําละเมิด ฉะน้ัน การท่ีผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒
ไดมีคําสั่งลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ จึงเปนการใชสิทธิเรียกรองภายในอายุความสิบปนับแต
วันที่เหตลุ ะเมดิ เกดิ ตามมาตรา ๔๔๘ แหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยแ ลว

กรณีมีปญหาวา คําส่ังลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ท่ีสั่งใหผูฟองคดีทั้งเการับผิด
ชดใชคาสินไหมทดแทนเปนคําส่ังที่ชอบดวยเน้ือหาของกฎหมายหรือไม เห็นวา เม่ือไมปรากฏวา
ผูฟองคดีท้ังเกาไดกระทําโดยจงใจใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดรับความเสียหาย จึงมีประเด็นที่จะตอง
วินิจฉัยวา ผูฟองคดีทั้งเกาปฏิบัติหนาท่ีโดยประมาทเลินเลอเปนเหตุใหผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดรับความเสียหายหรือไม เห็นวา ผูฟองคดีทั้งเกาดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร สังกัด
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ เก่ียวกับกรณีบริษัท อ. กระทําการทุจริตในการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
โดยบริษัทดงั กลา วมิไดมีการสงสินคาออกไปจริง แตไดแอบอางหมายเลขคอนเทนเนอรของผูสงออก
รายอ่ืนทมี่ กี ารสงออกจริงสําแดงในใบขนสินคาขาออก และไดนําใบขนสินคาขาออกฉบับมุมน้ําเงิน
ไปย่ืนขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร และไดรับเงินชดเชยจํานวน ๒,๐๕๑,๐๕๓.๑๐ บาท
ผูฟองคดีท้ังเกาซึ่งถูกกําหนดช่ือใหเปนนายตรวจศุลกากร ผูทําการตรวจปลอยสินคาและควบคุม
การบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร กรณีบริษัท อ. จึงมีหนาท่ีตรวจสอบความสมบรูณของใบขนสินคาขาออก
และเอกสารประกอบใบขนสินคาขาออก ตรวจสอบสินคาใหตรงตามที่สําแดงไวในใบขนสงสินคา
และควบคุมการบรรจุสินคา การท่ีผูฟองคดีทั้งเกาไมไดตรวจและควบคุมการบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอร แตลงนามรับรองในเอกสารการสง ออก จึงเปนการไมป ฏิบัติตามขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕
ของประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และขอ ๒ ของคําสั่งกองตรวจสินคาขาออก
ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ จึงเปนการกระทําโดยประมาทเลินเลออยางรายแรง เปนเหตุใหบริษัท อ.

แนวคาํ วนิ ิจฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๒

รูถึงชองทางการทุจริตในการสงออกและนําใบขนสินคาขาออกฉบับมุมน้ําเงินมาขอรับเงินชดเชย
คา ภาษีอากร อนั ทําใหผ ถู กู ฟองคดีที่ ๑ เสียหาย อยางไรก็ดี เน่ืองจากคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
ที่เก่ียวของกับผูฟองคดีท่ี ๑ และท่ี ๗ ไมไดมีการวางฎีกาเบิกจาย จึงยังไมเกิดความเสียหายขึ้น
ผูฟองคดีท่ี ๑ และที่ ๗ จึงไมไดกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ สวนผูฟองคดีที่ ๒ ถึงท่ี ๖ ท่ี ๘
และที่ ๙ มีความเกี่ยวของกับคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร ซ่ึงมีการวางฎีกาเบิกจายไปแลว
จึงเปนการกระทําละเมิดตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และมาตรา ๘
แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ.๒๕๓๙ แลว

กรณีมีประเด็นที่จะตองวินิจฉัยตอไปวา ผูฟองคดีที่ ๒ ถึงที่ ๖ ที่ ๘ และท่ี ๙
จะตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เพียงใด เห็นวา นายตรวจศุลกากร
มีหนาท่ีตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรและมีหนาที่ควบคุมศุลการักษ
ประทับดวงตรา กศก. หรือรอยแถบเหล็กท่ีคอนเทนเนอร สวนศุลการักษมีหนาท่ีชวยเหลือ
การปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร และมีหนาท่ี
ประทับดวงตรา กศก. หรือแถบเหล็กที่คอนเทนเนอร และขอเท็จจริงตามรายงาน
การสอบสวนขอเท็จจริงของคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง และรายงานของคณะกรรมการสอบ
ขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดวา เจาหนาท่ีผูใหถอยคําไดใหการสอดคลองกันวา ปริมาณงาน
ท่ไี ดรับมอบหมายใหปฏิบตั ใิ นแตละวันมีใบขนสนิ คาขาออกจํานวนมากไมสอดคลองกับอัตรากําลัง
เจาหนาที่ที่มีอยูจํากัดทําใหเจาหนาที่ไมอาจปฏิบัติหนาท่ีตามระเบียบปฏิบัติและคําส่ังดังกลาวได
จึงตองใชวิธีสุมตรวจใบขนสินคาขาออกเพียงบางฉบับ ซ่ึงการปฏิบัติงานของเจาหนาท่ีในลักษณะ
ดังกลาวผูบังคับบัญชาก็รับทราบ แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ และที่ ๒ ไมเคยตรวจสอบวา เจาหนาที่
ปฏิบัติหนาที่ถูกตองครบถวนตามระเบียบปฏิบัติและคําสั่งดังกลาวหรือไม อีกท้ังยังปรากฏ
ขอ เทจ็ จรงิ ในรายงานความเห็นของฝายวินัยของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในกรณีดังกลาววา ชวงเวลาเกิด
การทุจริตน้ัน รัฐบาลมีนโยบายสงเสริมการสงออกทําใหมีปริมาณการสงออกเปนจํานวนมาก
ไมสอดคลองกับจํานวนเจาหนาที่ และเจาหนาที่ตองปฏิบัติงานใหแลวเสร็จในแตละวัน
เพื่อใหสินคาสามารถสงออกไดทันตามเวลากําหนดเรือออกจากทา ทําใหไมสามารถตรวจปลอยสินคา
ไดทุกใบขนสินคาขาออกจนตองใชวิธีการตรวจปลอยโดยสุมตรวจ อันเปนไปตามแนวทาง
แกไขปญหาของกองตรวจสินคาขาออกและผูบังคับบัญชา ผูสงออกจึงอาศัยชองวางที่เจาหนาท่ี
ไมส ามารถปฏบิ ตั ิหนา ทีไ่ ดโดยเครง ครัดกระทําการทจุ ริต ปญ หาที่เกดิ มิไดเกิดจากการปฏิบัติหนาท่ี
ของเจาหนาที่คนใดคนหน่ึง แตเกิดข้ึนกับเจาหนาที่ซ่ึงทําหนาที่ตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุ
สินคาเขาคอนเทนเนอรและศุลการักษผูทําหนาท่ีรอยดวงตราตะก่ัวทุกคน ประกอบกับ
เมื่อพิจารณาข้ันตอนและกระบวนการสงออกเพื่อขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออก
ประกอบดวยหลายขั้นตอน และเก่ียวของกับเจาหนาท่ีของผูถูกฟองคดีที่ ๑ หลายฝาย
แตละขั้นตอนเจาหนาที่ตองตรวจสอบความถูกตองของเอกสารตางๆ ที่เก่ียวของ แตกลับไมพบ
การทุจริตการสงออก จากขอเท็จจริงดังกลาวความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจึงเกิดจากความผิดอยางหนึ่ง
อยางใดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ หรือเปนความบกพรองของระบบการดําเนินงานสวนรวมของ

แนวคาํ วนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๓
ผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลวแตกรณีดวยเปนสําคัญ จึงตองหักสวนความรับผิดของหนวยงานของรัฐ
ออกสวนหนึ่งตามนัยมาตรา ๔๔๒ ประกอบกบั มาตรา ๒๒๓ วรรคหนง่ึ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย และมาตรา ๘ วรรคสาม แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี
พ.ศ. ๒๕๓๙ ซ่ึงในการออกคําส่ังใหผูฟองคดีที่ ๒ ถึงผูฟองคดีที่ ๖ ที่ ๘ และที่ ๙ ชดใชคาสินไหมทดแทน
ความเสียหาย นั้น ผูถูกฟองคดีที่ ๑ มิไดหักสวนความรับผิดดังกลาวออก จึงเห็นควรหักสวน
ความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ รอยละ ๕๐ ของความเสียหายท้ังหมด คงเหลือสวนความรับผิด
ของเจาหนาท่ีรอยละ ๕๐ และเน่ืองจากการกระทําละเมิดดังกลาวเกิดจากเจาหนาที่หลายคน
เมื่อพิจารณาพฤติการณแหงการกระทําและอํานาจหนาท่ีและความรับผิดชอบของเจาหนาท่ี
ตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหน่ึง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และมาตรา ๘ วรรคสาม
แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ นายตรวจศุลกากรมีหนาท่ี
โดยตรงในการตรวจสอบสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร รวมท้ัง
ควบคุมศุลการักษประทับดวงตราหรือรอยแถบเหล็กที่คอนเทนเนอร สวนศุลการักษมีหนาที่
ชวยการปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร และ
ประทับดวงตราหรือรอยแถบเหล็กท่ีคอนเทนเนอร นายตรวจศุลกากรจึงมีหนาท่ีหลัก
ในการตรวจสอบและควบคุมความถูกตอ งของสินคาท่ีบรรจุเขาคอนเทนเนอร จึงเห็นวา นายตรวจ
ศุลกากรควรรับผิดรอยละ ๗๐ ของความรับผิดท่ีหักสวนความผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑
สวนศุลการักษควรรับผิดรอยละ ๓๐ ของความรับผิดท่ีหักสวนความผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
กลาวคือ ผูฟองคดีท่ี ๒ ถึงที่ ๖ ท่ี ๘ และที่ ๙ ในฐานะนายตรวจศุลกากร ตองรับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนความเสียหายท่ีตนมีสวนเกี่ยวของตามคําสั่งลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ ดังน้ี
ผูฟองคดีท่ี ๒ เก่ียวของกับความเสียหายของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จํานวนท้ังส้ิน ๒๐๘,๙๕๔.๐๓ บาท
ตองรับผิดคิดเปนจํานวนเงิน ๗๓,๑๓๓.๙๑ บาท ผูฟองคดีท่ี ๓ เกี่ยวของกับความเสียหายของ
ผถู กู ฟอ งคดีที่ ๑ จํานวนเงินท้งั สนิ้ ๗๗,๗๕๒.๖๑ บาท ตอ งรบั ผิดคดิ เปนจํานวนเงิน ๒๗,๒๑๓.๔๑ บาท
ผูฟองคดีที่ ๔ เกี่ยวของกับความเสียหายของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จํานวนเงินทั้งส้ิน ๑๙๕,๕๒๐.๘๕ บาท
ตองรับผิดคิดเปนจํานวนเงิน ๖๘,๔๓๒.๓๐ บาท ผูฟองคดีที่ ๕ เกี่ยวของกับความเสียหายของ
ผูถ ูกฟองคดที ี่ ๑ จาํ นวนเงนิ ทง้ั สิ้น ๖๐,๙๒๘.๗๔ บาท ตอ งรับผิดคิดเปนจํานวนเงนิ ๒๑,๓๒๕.๐๖ บาท
ผูฟองคดีที่ ๖ เกี่ยวของกับความเสียหายของผูถูกฟองคดีที่ ๑ จํานวนเงินทั้งส้ิน ๑๙๒,๔๘๗.๙๘ บาท
ตองรับผิดคิดเปนจํานวนเงิน ๖๗,๓๗๐.๗๙ บาท ผูฟองคดีท่ี ๘ เก่ียวของกับความเสียหายของ
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จํานวนเงินท้ังส้ิน ๒๒,๓๒๙.๘๔ บาท ตองรับผิดคิดเปนจํานวนเงิน ๗,๘๑๕.๔๔ บาท
และผูฟอ งคดที ่ี ๙ เกีย่ วของกบั ความเสยี หายของผูถ ูกฟอ งคดที ี่ ๑ จาํ นวนเงินทงั้ สิน้ ๒๒,๗๒๓.๙๐ บาท
ตองรับผิดคิดเปนจํานวนเงิน ๗,๙๕๓.๓๗ บาท ท่ีศาลปกครองชั้นตนพิพากษาใหเพิกถอนคําสั่ง
ของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันที่ ๖ มิถุนายน ๒๕๔๘ เฉพาะสวนที่สั่งใหผูฟองคดีท้ังเการับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนท้ังหมด โดยใหมีผลยอนหลังนับแตวันที่ออกคําสั่งดังกลาว คําขออ่ืนนอกจากนี้
ใหย ก นนั้ ศาลปกครองสงู สดุ เหน็ พองดว ยบางสว น

แนวคําวนิ จิ ฉัยศาลปกครองสูงสุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๔

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันที่ ๖ มิถุนายน
๒๕๔๘ เฉพาะสวนท่ีใหผูฟองคดีที่ ๒ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๗๓,๑๓๓.๙๑ บาท
ที่ใหผูฟองคดีที่ ๓ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๒๗,๒๑๓.๔๑ บาท ท่ีใหผูฟองคดีที่ ๔
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๖๘,๔๓๒.๓๐ บาท ที่ใหผูฟองคดีท่ี ๕ รับผิดชดใช
คาสินไหมทดแทนเกินกวา ๒๑,๓๒๕.๐๖ บาท ที่ใหผูฟองคดีที่ ๖ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
เกินกวา ๖๗,๓๗๐.๗๙ บาท ที่ใหผ ูฟองคดีที่ ๘ รบั ผิดชดใชคา สนิ ไหมทดแทนเกินกวา ๗,๘๑๕.๔๔ บาท
และท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๙ รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๗,๙๕๓.๓๗ บาท โดยใหมีผล
ยอนหลังไปถึงวันท่ีมีคําส่ังดังกลาว และยกฟองผูถูกฟองคดีที่ ๓ คําขออ่ืนนอกจากน้ี ใหยก
โดยมีขอสังเกตเกี่ยวกับแนวทางหรือวิธีการดําเนินการใหเปนไปตามคําพิพากษาวา หากผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ไดรับการชดใชคาสินไหมทดแทนหรือสามารถบังคับคดีชําระหนี้ จากบริษัท อ. หรือผูรับโอน
บัตรภาษีไดเปนจํานวนเงินเทาใด ใหนําเงินจํานวนดังกลาวมาหักหรือคืนตามสวนแหงความรับผิด
แลวแตก รณใี หแกผ ฟู อ งคดีท่ี ๒ ถงึ ท่ี ๖ ที่ ๘ และที่ ๙
คาํ พพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดที่ อ.๒๑๑/๒๕๖๓ (ประชุมใหญ)

ผูฟองคดีท้ังหกฟองวา ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒
(อธิบดีกรมศุลกากร) ไดมีคําสั่งลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘ แจงใหผูฟองคดีท้ังหกใหชดใช
คาสินไหมทดแทน กรณีบริษัท ซ. ทุจริตในการสงออกเพื่อขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
โดยผูฟองคดีท้ังหกอุทธรณคําส่ังและไดรับแจงผลการพิจารณาอุทธรณแลวเห็นวา คําส่ังดังกลาว
เปนคําสั่งที่ไมเปนธรรม ผูฟองคดีทั้งหกในฐานะศุลการักษไมมีหนาท่ีโดยตรงในการตรวจสินคาวา
ตรงตามท่ีสําแดงในเอกสารประกอบการสงออกหรือไม ความเสียหายไมไดเกิดจากการกระทํา
โดยจงใจหรือประมาทเลินเลอ จึงไมตองรับผิดชดใชคาเสียหาย อีกท้ังกระบวนการสอบสวน
และการรับฟงพยานหลักฐานไมชอบดวยกฎหมาย และเปนการออกคําสั่งใหผูฟองคดีท้ังหกชดใช
คาสนิ ไหมทดแทนเมือ่ พน ระยะเวลาตามกฎหมายแลว จงึ นาํ คดมี าฟอ งขอใหศ าลมีคําพิพากษาหรือ
คําสั่งเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘ ท่ีเรียกใหผูฟองคดีท้ังหก
ชดใชคาสินไหมทดแทน กรณีบริษัท ซ. ทุจริตการสงออกเพื่อขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
เห็นวา ผูฟองคดีท้ังหกดํารงตําแหนงศุลการักษในสังกัดหนวยงานของผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีหนาที่
รอ ยดวงตราตะกัว่ กศก. หรอื แถบเหล็ก RTC ท่ีคอนเทนเนอร โดยผูฟองคดีทั้งหกไดลงชื่อในใบขน
สินคาขาออก ซ่ึงบริษัท ซ. ไดนําไปยื่นคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร โดยมีการออกบัตรภาษีให
และไดโอนบัตรภาษีดังกลาวใหแกบริษัทอื่นแลว ซ่ึงตอมามีการนําบัตรภาษีดังกลาวไปใช
โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดวางฎีกาเบิกเงินชดเชยคาภาษีอากรตามบัตรภาษีของบริษัท ซ. แลว
จึงเปนเหตุใหมีความเสียหายเปนเงินตามจํานวนที่ระบุในบัตรภาษีเกิดข้ึนแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑
กรณจี งึ ถอื ไดวาวนั ทว่ี างฎีกาเปนวันกระทําละเมิดแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เม่ือคณะกรรมการสอบขอเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิด ไดสรุปผลการสอบสวนพรอมท้ังเสนอความเห็นตอผูถูกฟองคดีท่ี ๒ วา
ไมม ีเจา หนา ท่ีผูใดตองรับผดิ ในมูลละเมิด แตผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ไดพิจารณาและมีความเห็นเม่ือวันที่

แนวคําวินิจฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๕

๒๑ มนี าคม ๒๕๔๘ วาไมเ ห็นพองดว ยกบั ความเหน็ ดงั กลา ว แตเ หน็ พอ งดวยกับความเห็นของฝายวินัย
ที่เสนอวา ผูฟองคดีทั้งหกปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง อันเปนชองทางทําให
ผสู งออกทําการทจุ ริตในการขอรบั เงนิ ชดเชยคาภาษีอากรกอ ใหเกิดความเสียหายแกรัฐ ผูฟองคดีท้ังหก
จึงตองรับผิดอยางลูกหน้ีรวมรวมกับนายตรวจศุลกากรในความเสียหายที่เกิดข้ึน จึงถือวา
ผูถูกฟองคดีที่ ๒ รูตัวเจาหนาที่ผูจะพึงตองใชคาสินไหมทดแทนเมื่อวันท่ี ๒๑ มีนาคม ๒๕๔๘
ตอมา ไดมีการรายงานผลการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดไปยังผูถูกฟองคดีท่ี ๓
(กระทรวงการคลัง) และภายหลังจากผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ไดมีหนังสือแจงผลการพิจารณาความรับผิด
ทางละเมิด ผูถูกฟองคดีที่ ๑ จึงมีคําสั่งลงวันท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘ อันเปนการออกคําส่ังเรียกให
ชดใชคาสินไหมทดแทนภายในกําหนดเวลาสองป นับแตวันที่รูถึงตัวเจาหนาท่ีผูจะพึงตองใช
คาสินไหมทดแทน ตามนัยมาตรา ๑๐ วรรคสอง แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี
พ.ศ. ๒๕๓๙ และเมื่อคําส่ังดังกลาวเปนคําส่ังทางปกครองตามคํานิยามในมาตรา ๕ แหง พ.ร.บ.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ จึงตองถือวาผูถูกฟองคดีที่ ๑ ใชสิทธิเรียกรอง
โดยสมบูรณแกผูฟองคดีทั้งหก เมื่อวันท่ี ๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๔๘ วันที่
๒๑ ธนั วาคม ๒๕๔๘ วันท่ี ๑๔ ธนั วาคม ๒๕๔๘ วันท่ี ๙ ธันวาคม ๒๕๔๘ และวันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๔๘
ตามลําดับ อันเปนวันท่ีผูฟองคดีทั้งหกไดรับแจงคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ทั้งน้ี ตามนัยมาตรา ๔๒
วรรคหนึ่ง ประกอบกับมาตรา ๖๙ วรรคสอง แหงพระราชบัญญัติดังกลาว จึงยังอยูภายในอายุความ
สิบปนับแตเกิดเหตุละเมิด ตามนัยมาตรา ๔๔๘ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
ซึ่งในการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดมีคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบ
ขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดเพ่ือทราบวา มีเจาหนาที่คนใดตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเทาใด
ตามขอ ๘ ของระเบียบสาํ นกั นายกรฐั มนตรี วาดวยหลกั เกณฑก ารปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิด
ของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ โดยคณะกรรมการดังกลาวไดรวบรวมพยานหลักฐานจากสํานวนการสอบสวน
ขอเท็จจริง และไดสอบปากคําเจาหนาท่ีที่เก่ียวของกับการสงสินคาออกทุกฝายรวมท้ังผูฟองคดีท้ังหก
โดยผูฟองคดีท้ังหกยืนยันตามคําใหการเดิมที่ใหถอยคําไวในฐานะเจาหนาท่ีผูปฏิบัติหนาที่ท่ีเก่ียวของ
ตอคณะกรรมการสอบสวนขอเท็จจริงอันเปนถอยคําที่เปนประโยชนแกตน รวมทั้งโตแยงและ
แสดงพยานหลักฐานวาผูฟองคดีทั้งหกมิไดมีสวนเก่ียวของกับการกระทําทุจริตของบริษัท ซ.
กรณีจึงถือไดวาผูฟองคดีท้ังหกเขาใจในเร่ืองการสอบขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดในกรณีดังกลาว
เปนอยางดี และถือเปนการใหโอกาสแกผูฟองคดีทั้งหกไดชี้แจงขอเท็จจริงและโตแยงแสดง
พยานหลักฐานของตนอยางเพียงพอและเปนธรรมแลวตามมาตรา ๓๐ วรรคหน่ึง แหง พ.ร.บ.
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ และหลังจากผูถูกฟองคดีที่ ๒ ไดการรายงานผล
การสอบสวนขอเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดใหผูถูกฟองคดีที่ ๓ พิจารณาตรวจสอบและไดรับแจง
ผลการพจิ ารณาแลว ผถู กู ฟองคดีที่ ๒ จึงมีคําส่ังลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘ เรียกใหผูฟองคดีทั้งหก
ชดใชคาสินไหมทดแทน และแจงคําส่ังใหผูฟองคดีท้ังหกทราบโดยชอบแลว อันเปนการปฏิบัติ
ตามขอ ๑๕ ขอ ๑๖ ขอ ๑๗ ขอ ๑๘ และขอ ๑๙ ของระเบียบดังกลาว กระบวนการสอบขอเท็จจริง
ความรับผิดทางละเมิดจึงเปนไปโดยชอบแลว และการท่ีกรมบัญชีกลางในฐานะผูรับมอบอํานาจ

แนวคําวนิ ิจฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๖

จากผูถูกฟองคดีท่ี ๓ ไดพิจารณาแลวมีคําวินิจฉัยใหผูฟองคดีทั้งหกรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
ใหแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงเปนการพิจารณาและวินิจฉัยโดยปฏิบัติตามระเบียบดังกลาวเชนกัน
เมื่อศุลการักษมีหนาท่ีรอยแถบเหล็ก RTC หรือประทับดวงตราตะก่ัว กศก. แลวใหตัวแทนเรือ
หรือผูสงออกลงช่ือรับรองสินคาและดวงตราตะกั่ว กศก. ในใบกํากับคอนเทนเนอรสวนหนึ่ง
กับมีหนา ทช่ี วยเหลอื การปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากรหรือสารวัตรศุลกากรในการตรวจและบรรจุ
สินคาเขาคอนเทนเนอรอีกสวนหนึ่ง ตามขอ ๓ และขอ ๔ ของคําส่ังทั่วไปกรมศุลกากร ที่ ๑๓/๒๕๓๐
ลงวันที่ ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ ผูฟองคดีทั้งหกในฐานะศุลการักษจึงมิไดมีหนาท่ีเพียงประทับตราตะกั่ว
กศก. หรือรอยแถบเหล็ก RTC เทาน้ัน หากแตยังมีหนาท่ีชวยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากร
หรือสารวัตรศุลกากรในการตรวจปลอยสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรดวย
โดยไมจําตองใหผูบังคับบัญชาหรือนายตรวจศุลกากรสั่งการใหมีหนาท่ีชวยเหลือการปฏิบัติงาน
ดังกลาวซํ้าอีกคร้ังหน่ึง และเมื่อผลการสอบขอเท็จจริงกรณีผูสงออกรายบริษัท ซ. ปรากฏวา
บริษัทดังกลาวเปนผูสงออกสินคาไปยังตางประเทศเพื่อขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออก
ท่ีผลิตในราชอาณาจักร ตาม พ.ร.บ. ชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออกที่ผลิตในราชอาณาจักร
พ.ศ. ๒๕๒๔ จํานวน ๑๒๓ ชุดคําขอ ตามใบขนสินคาขาออกจํานวน ๑๓๙ ฉบับ ซ่ึงมีมูลคาสงออกรวม
๒๗๑,๘๕๘,๓๖๒.๙๖ บาท และไดรับเงินชดเชยในรูปแบบบัตรภาษีจํานวน ๑๑,๕๑๓,๓๐๑.๕๑ บาท
โดยมีการวางฎีกาเบิกเงินไปแลวจํานวน ๑๑,๒๖๕,๖๓๕.๕๙ บาท ซ่ึงบริษัทดังกลาวมิไดสงสินคาออกจริง
แตจัดทําบัญชีสินคาสําหรับเรือเปนเท็จ จึงเชื่อไดวา บริษัท ซ. ไมไดมีการสงสินคาออกไปนอก
ราชอาณาจักรตามท่ีสําแดงไวในใบขนสินคาขาออก การที่ผูฟองคดีทั้งหกในฐานะศุลการักษละเลย
ไมชวยเหลือนายตรวจศุลกากรทําการตรวจปลอยสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
เปนชองทางใหผสู งออกสนิ คา สามารถกระทาํ การทุจรติ ไดโดยงาย และเมื่อบริษัท ซ. ไดนําเอกสาร
รับรองการตรวจปลอยสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรที่ลงลายมือช่ือรับรอง
โดยนายตรวจศุลกากรผูทําหนาที่ตรวจสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร และ
ใบกาํ กับคอนเทนเนอรท ่ีมลี ายมอื ช่ือของผูฟองคดีทั้งหกในฐานะศุลการักษไปใชเสนอตอเจาหนาที่ศุลกากร
ในข้ันตอนอื่น จนสามารถย่ืนคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรและไดนําบัตรภาษีไปใชประโยชนแลว
อันเปนการกระทาํ การทจุ ริตไดส ําเร็จนั้น พฤติการณของผูฟองคดีท้ังหกยอมถือไดวาเปนการกระทําละเมิด
ตอผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในการปฏิบัติหนาที่ดวยความประมาทเลินเลออยางรายแรง ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑
โดยผถู ูกฟองคดีท่ี ๒ มีอํานาจออกคําส่ังเรียกใหผูฟองคดีทั้งหกชดใชคาสินไหมทดแทนจากความเสียหาย
ที่เกิดข้ึน ตามนัยมาตรา ๑๒ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ได
สวนประเด็นวาผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนเพียงใด ศาลปกครองสูงสุดโดยที่ประชุมใหญ
ตุลาการในศาลปกครองสูงสุด เห็นวา การกระทําละเมิดในคดีน้ีเกิดข้ึนกอนที่ พ.ร.บ. ความรับผิด
ทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ จะมีผลใชบังคับ ในสวนของความรับผิดทางละเมิดซึ่งเปน
สวนสารบัญญัติจึงตองพิจารณาเปนไปตามหลักเกณฑในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
อันเปนกฎหมายท่ีใชบังคับอยูในขณะที่มีการกระทําละเมิดเกิดขึ้น เม่ือขอเท็จจริงปรากฏวา
ขณะเกิดเหตุละเมิดคดีน้ีมีปริมาณการสงออกสินคาของผูสงออกโดยรวมจํานวนมาก เน่ืองจาก

แนวคาํ วนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๗

รัฐบาลในขณะน้ันมีนโยบายสงเสริมการสงออก การกระทําละเมิดของนายตรวจศุลกากรและ
ผูฟองคดีท้ังหกในฐานะศุลการักษท่ีจึงเกิดจากความผิดหรือความบกพรองของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ที่ไมได
จัดสรรอัตรากําลังเจาหนาท่ีในตําแหนงนายตรวจศุลกากรหรือสารวัตรศุลกากรและศุลการักษ
ในขั้นตอนการตรวจปลอยสินคา เพ่ือใหมีจํานวนเพียงพอกับปริมาณงานการตรวจปลอยสินคา
ท่ีสงบรรจุเขาคอนเทนเนอรเพิ่มมากข้ึน อันเปนผลสืบเนื่องมาจากนโยบายการสงเสริมการสง
สินคาออกดังกลาว ประกอบกับหลักเกณฑของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ท่ีกําหนดใหผูสงออกใชใบขนสินคา
ขาออกฉบับมุมนํ้าเงินพรอมกับเอกสารท่ีเก่ียวของมาเปนหลักฐานในการย่ืนคําขอรับเงินชดเชย
คาภาษีอากร โดยไมมีการนําบัญชีสินคาสําหรับเรือมาพิจารณาประกอบการจายบัตรภาษีใหแก
ผูสงออก แตในช้ันการตรวจสอบวาผูสงออกที่ยื่นคําขอนั้นไดสงสินคาออกไปตางประเทศจริงหรือไม
ผถู ูกฟองคดีที่ ๑ กลับนําบัญชีสินคาสําหรับเรือมาใชเปรียบเทียบกับรายการสินคาท่ีปรากฏในใบขนสินคา
ขาออกดวย ซ่ึงหากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดกําหนดใหใชบัญชีสินคาสําหรับเรือ มาตรวจสอบในการ
พิจารณาคําขอดังกลาว ก็จะเปนการปองกันหรือลดทอนความเสียหายที่เกิดขึ้นจากกรณีดังกลาวได
ซ่งึ ถือเปนความบกพรองของการดําเนินงานของผูถูกฟองคดที ี่ ๑ ซ่งึ ความบกพรอ งดงั กลาวมพี ฤติการณ
ไมย งิ่ หยอ นไปกวาการจงใจหรือความประมาทเลนิ เลอ อยา งรายแรงของเจา หนาที่ จึงเห็นสมควรให
หักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายทั้งหมด
ตามนัยยะของมาตรา ๔๔๒ ประกอบมาตรา ๔๓๘ วรรคหน่ึง และมาตรา ๒๒๓ วรรคหน่ึง
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และโดยที่เหตุละเมิดเกิดข้ึนในข้ันตอนการตรวจปลอยสินคา
ซึ่งมีนายตรวจศุลกากรเปนผูมีหนาท่ีตรวจปลอยสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
โดยตรง และมีศุลการักษเปน ผูม ีหนาทชี่ วยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากรในการตรวจ
ปลอยสินคาและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร และประทับดวงตราตะก่ัว กศก. หรือ
รอยแถบเหลก็ RTC และเมอื่ พจิ ารณาถึงอาํ นาจหนาที่และสภาพความรายแรงแหงการกระทําแลว
จะเห็นวา นายตรวจศุลกากรมีความรับผิดชอบมากกวาศุลการักษ ดังนั้น สัดสวนแหงความรับผิด
ตามความรายแรงแหง การกระทาํ ละเมดิ ในกรณีดังกลาว นายตรวจศุลกากรจึงมีมากกวาศุลการักษ
จึงเห็นควรใหนายตรวจศุลกากรตองรับผิดในอัตรารอยละ ๗๐ ของมูลคาความเสียหายหลังหักสวน
ความรบั ผดิ ของผูถูกฟอ งคดที ่ี ๑ ออกแลวในอัตรารอยละ ๕๐ ของมูลคาความเสียหาย สวนศุลการักษ
ตองรับผิดในอัตรารอยละ ๓๐ ของมูลคาความเสียหายหลังหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ออกแลวในอัตรารอยละ ๕๐ ของมูลคาความเสียหาย ตามใบขนสินคาขาออกแตละฉบับท่ีตนเกี่ยวของ
เม่ือผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เกี่ยวของกับคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรจํานวน ๗๔ ฉบับ รวมเปนเงิน
๗,๐๙๙,๗๙๔.๗๗ บาท ผูฟองคดีท่ี ๒ เกี่ยวของกับคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรจํานวน ๑๓ ฉบับ
เปนเงิน ๑,๒๕๕,๐๔๗.๗๒ บาท ผูฟองคดีท่ี ๓ เก่ียวของกับคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
จํานวน ๙ ฉบับ เปนเงิน ๘๖๓,๘๔๑.๐๓ บาท กรณีผูฟองคดีที่ ๔ เกี่ยวของกับคําขอรับเงินชดเชย
คา ภาษอี ากรจํานวน ๒ ฉบับ เปนเงิน ๔๖,๘๖๒.๐๖ บาท กรณีผูฟองคดีท่ี ๕ เก่ียวของกับคําขอรับเงิน
ชดเชยคาภาษีอากรจํานวน ๕ ฉบับ เปนเงิน ๑๑๓,๔๔๒.๙๕ บาท และผูฟองคดีที่ ๖ เก่ียวของกับ
คําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรจํานวน ๕ ฉบับ เปนเงิน ๑๑๒,๒๒๕.๒๔ บาท ซึ่งมีการออกบัตรภาษี

แนวคาํ วินิจฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๘

ใหแกบ ริษทั ซ. เม่ือวันท่ี ๑๗ มิถุนายน ๒๕๓๙ และไดมีการวางฎีกาเบิกเงินจากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว
ผูถ ูกฟอ งคดีท้งั หกจึงตอ งรบั ผดิ เปนเงิน ๑,๐๖๔,๙๖๙.๒๒ บาท ๑๘๘,๒๕๗.๑๖ บาท ๑๒๙,๕๗๖.๑๕ บาท
๗,๐๒๙.๓๑ บาท ๑๗,๐๑๖.๔๔ บาท และ๑๖,๘๓๓.๗๙ บาท ตามลําดับ ท่ีศาลปกครองชั้นตนมีคําพิพากษา
ใหเพิกถอนคําสั่งลงวันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘ บางสวน โดยใหผูฟองคดีที่ ๑ รับผิดรวมกับนาย ว.
นายตรวจศุลกากร จํานวน ๓,๕๔๙,๘๙๗.๓๘ บาท ใหผูฟองคดีท่ี ๒ รับผิดรวมกับนาย ว.
นายตรวจศุลกากร จํานวน ๖๒๗,๕๒๓.๘๖ บาท ใหผ ูฟอ งคดที ่ี ๓ รบั ผิดรวมกบั ส. นายตรวจศุลกากร
จํานวน ๔๓๑,๙๒๐.๕๑ บาท ใหผูฟองคดีที่ ๔ รับผิดรวมกับนาย ป. นายตรวจศุลกากร เปนเงิน
จํานวน ๒๓,๔๓๑.๐๓ บาท ใหผูฟองคดีที่ ๕ รับผิดรวมกับนาย ป. นายตรวจศุลกากร เปนเงิน
จํานวน ๕๖,๗๒๑.๔๗ บาท และใหผฟู องคดที ี่ ๖ รบั ผดิ รวมกับนาย ป. นายตรวจศุลกากร เปนเงิน
จํานวน ๕๖,๑๑๒.๖๒ บาท โดยใหมีผลยอนหลังไปต้ังแตวันที่ออกคําส่ัง คําขออื่นนอกจากนี้ใหยกเสีย นั้น
ศาลปกครองสงู สุดเหน็ พอ งดว ยบางสว น

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําสั่งลงวันท่ี ๒๕ ตุลาคม ๒๕๔๘ เฉพาะในสวนท่ีให
ผูฟองคดีท่ี ๑ ชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เกินกวาจํานวน ๑,๐๖๔,๙๖๙.๒๒ บาท
ใหผูฟองคดีท่ี ๒ ชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๑๘๘,๒๕๗.๑๖ บาท ใหผูฟองคดีที่ ๓
ชดใชค าสนิ ไหมทดแทนเกนิ กวา จํานวน ๑๒๙,๕๗๖.๑๕ บาท ใหผูฟองคดีที่ ๔ ชดใชคาสินไหมทดแทน
เกินกวาจํานวน ๗,๐๒๙.๓๑ บาท ใหผูฟองคดีที่ ๕ ชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๑๗,๐๑๖.๔๔ บาท
และใหผูฟ องคดีที่ ๖ ชดใชค าสนิ ไหมทดแทนเกนิ กวาจํานวน ๑๖,๘๓๓.๗๙ บาท นอกจากที่แกใหเปนไป
ตามคาํ พพิ ากษาของศาลปกครองช้นั ตน
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสดุ ที่ อ.๒๑๙/๒๕๖๓ (ประชมุ ใหญ)

ผูฟองคดี (กรมศุลกากร) ฟองวา ผูถูกฟองคดีทั้งหาเปนทายาทโดยธรรมผูมีสิทธิ
รับมรดกของนาย อ. ซึ่งถึงแกความตายเม่ือวันท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๙ และไดรับมรดกจาก
เงินบําเหน็จตกทอดเมื่อวันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๔๙ เปนเงินจํานวน ๑๘๘,๓๔๐ บาท และทรัพยมรดกอ่ืนๆ
ตองรับผิดในหนี้จากการกระทําละเมิดของนาย อ. เจามรดกไมเกินทรัพยมรดกที่ทายาทไดรับ
ซ่งึ ขณะเกดิ เหตลุ ะเมิดนาย อ. ดํารงตาํ แหนง เจาหนา ที่ศลุ การกั ษ กองตรวจสินคาขาออก ผูฟองคดี
ไดร ับรายงานการตรวจสอบพบวา บริษัท ฟ. มิไดมีการสงสินคาออกนอกราชอาณาจักร โดยคอนเทนเนอร
ท่ีถูกระบุไวในใบขนสินคาขาออกของ บริษัท ฟ. เปนคอนเทนเนอรที่บรรจุสินคาสงออกของ
ผูสงออกรายอื่น โดยมีนาย อ. ศุลการักษ และนายตรวจศุลกากรผูทําหนาท่ีรวมตรวจปลอยสินคา
ตามใบขนสินคาขาออกท่ีไมมีสินคาของบริษัทดังกลาว ไดรวมกระทําการโดยประมาทปราศจาก
ความระมัดระวังในการปฏิบัติหนาท่ีตามระเบียบแบบแผนของผูฟองคดี โดยนาย อ. รวมกับนายตรวจศุลกากร
ไดทําการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรโดยไมปฏิบัติตามขอ ๐๓ ๐๒ ๐๕
ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๑ และขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ ของประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ คําส่ัง
กองตรวจสินคา ขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ และคําสั่งตางๆ แตไดทําการสลักหลัง
รายการตรวจปลอยและการควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรไวดานหลังใบขนสินคาขาออก

แนวคําวินิจฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๓๙

รับรองการตรวจสินคาใหแกผูสงออกตามใบขนสินคาขาออกจํานวน ๕ ฉบับ และไดมีการนําสําเนาเอกสาร
ใบขนสินคาขาออกฉบับมุมนํ้าเงินมาขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสําหรับสินคาสงออก ซ่ึงผูฟองคดี
ไดจา ยเงินชดเชยคาภาษีอากรในรปู บตั รภาษีไปใหแก บรษิ ัท ฟ. เปน เงินชดเชยคา ภาษีอากรจํานวนรวม
๓๑,๙๑๖.๒๙ บาท ผูถูกฟองคดีทั้งหาซึ่งเปนทายาทโดยธรรมของนาย อ. จึงตองรวมกันรับผิดชดใชเงิน
จาํ นวน ๓๑,๙๑๖.๒๙ บาท ดังกลา ว ใหแ กผ ูฟอ งคดี ผฟู อ งคดไี ดแ จงใหผถู กู ฟอ งคดที ง้ั หาชําระคาเสียหาย
ดังกลาวแลว แตไมมีผูใดนําเงินมาชําระ ผูถูกฟองคดีท้ังหาจึงตองชดใชเงินจํานวนดังกลาว
พรอมดวยดอกเบี้ยรอยละเจ็ดคร่ึงตอปนับแตวันท่ีรับบัตรชดเชยภาษี จนถึงวันฟองเปนเงิน
๒๓,๒๗๓.๖๘ บาท รวมเปนเงินทั้งสิ้น ๕๕,๑๘๙.๙๗ บาท ผูฟองคดีจึงนําคดีมาฟองขอใหศาล
มีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีท้ังหารวมกันหรือแทนกันชําระเงินจํานวน ๕๕,๑๘๙.๙๗ บาท
พรอมดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป ของเงินตนจํานวน ๓๑,๙๑๖.๒๙ บาท นับแตวันฟอง
จนกวาจะชาํ ระเสรจ็ แกผฟู อ งคดี และใหค ืนคาธรรมเนียมศาลทั้งหมดแกผฟู อ งคดีดว ย เหน็ วา เมื่อ
ขอเท็จจริงปรากฏวานาย อ. ไดรับการกําหนดชื่อใหทําหนาท่ีศุลการักษ ไดลงนามรับรอง
ในเอกสารประกอบการสงออกของ บริษัท ฟ. วามีสินคาสงออกจริง แตปรากฏวาบริษัทดังกลาว
มไิ ดส ง สนิ คา ออกไปจรงิ ตามที่ไดสาํ แดงไวในใบขนสินคาขาออก โดยมีการจัดทําบัญชีสินคาสําหรับเรือ
เปนเท็จและแอบอางหมายเลขคอนเทนเนอรท่ีใชบรรจุสินคาของผูสงออกรายอ่ืนมาเปนตูสินคา
ของตนเอง อันเปนชอ งทางใหบริษัทดังกลาวกระทําการทุจริตในการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
หากนาย อ. ในฐานะศลุ การกั ษไ ดใชความระมัดระวังในการปฏิบัติหนาที่แตเพียงเล็กนอยยอมทราบไดวา
ไมมีสินคาของบริษัทดังกลาวบรรจุอยูในคอนเทนเนอรท่ีสงออก พฤติการณจึงเปนการปฏิบัติ
โดยประมาทเลินเลออยางรายแรงเปนเหตุใหผูฟองคดีไดรับความเสียหาย อันเปนการกระทําละเมิด
ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพง และพาณิชย รวมเปน คา เสียหายท้ังสิ้น ๑๐๖,๓๘๗.๕๙ บาท
ท้ังนี้ ไดมีการวางฎีกาเพ่ือเบิกเงินตามใบขนสินคาขาออกทั้งหาฉบับดังกลาวแลว แตเม่ือพิจารณา
ตามพฤติการณแหงกรณีแลว การที่ผูฟองคดีไมไดจัดสรรอัตรากําลังเจาหนาท่ีในตําแหนง
นายตรวจศุลกากรและศุลการักษในขั้นตอนการตรวจปลอยสินคาเพื่อใหเพียงพอกับปริมาณงาน
การตรวจปลอยสินคาสงออกที่บรรจุเขาคอนเทนเนอรเพ่ิมมากขึ้น อันเปนผลสืบเนื่องมาจากนโยบาย
การสงเสรมิ การสง สินคา ออกของรัฐบาลในขณะนัน้ โดยผูฟองคดไี ดร บั ทราบสภาพปญหาและไดม คี ําส่ัง
กรมศุลกากร ที่ ๑๖๖/๒๕๔๕ เร่ือง ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจปลอย การบรรจุ การขนสง
และการบรรทุกสนิ คาทสี่ ง ออกดว ยระบบคอนเทนเนอร ลงวันที่ ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๕ และคําส่ัง
กรมศุลกากร ที่ ๒๓๙/๒๕๔๖ เร่ือง ระเบียบปฏิบัติเก่ียวกับการตรวจปลอย การบรรจุ การขนสง
และการบรรทุกสินคาท่ีสงออกทางเรือดวยระบบคอนเทนเนอร ลงวันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๖
ทีก่ าํ หนดใหม ีการสุมตรวจใบขนสนิ คา และยกเวนการตรวจและควบคุมการบรรจุสินคาในบางกรณี
เพือ่ ใหการปฏิบัติพิธีการศลุ กากรเกี่ยวกับการตรวจปลอ ย และควบคมุ การบรรจสุ นิ คาท่ีสงออกทาง
เรือดวยระบบคอนเทนเนอรไดรับความสะดวกรวดเร็ว ดังน้ัน เม่ือความเสียหายที่เกิดข้ึนเกิดจาก
ความบกพรองของระบบงานของผูฟองคดีไมยิ่งหยอนไปกวาการกระทําของเจาหนาที่ จึงสมควรหัก
สวนแหงความบกพรองของผูฟองคดีออกรอยละ ๕๐ ของคาเสียหายที่นาย อ. จะตองรับผิด กรณี

แนวคําวินจิ ฉัยศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๐

ความเสียหายจากการทุจริตของ บริษัท ฟ. ตาม (๑) ใบขนสินคาขาออกเลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๓๑๘
ความเสียหายเปนเงิน ๒๒,๑๙๕.๗๒ บาท หักสวนความบกพรองของผูฟองคดีออกรอยละ ๕๐
คงเหลือ ๑๑,๐๙๗.๘๖ บาท (๒) ใบขนสินคาขาออกเลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๙๑๔ ความเสียหาย
เปนเงิน ๒๑,๗๘๒.๓๔ บาท หักสวนความบกพรองของผูฟองคดีออกรอยละ ๕๐ คงเหลือ ๑๐,๘๙๑.๑๗ บาท
(๓) ใบขนสินคาขาออกเลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๓๒๙ ความเสียหายเปนเงิน ๒๐,๙๘๗.๓๖ บาท
หกั สว นความบกพรองของผูฟอ งคดอี อกรอ ยละ ๕๐ คงเหลือ ๑๐,๔๙๓.๖๘ บาท (๔) ใบขนสินคาขาออก
เลขที่ ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๙๒๕ ความเสียหายเปนเงิน ๒๒,๑๓๒.๑๒ บาท หักสวนความบกพรอง
ของผูฟองคดีออกรอยละ ๕๐ คงเหลือ ๑๑,๐๖๖.๐๖ บาท (๕) ใบขนสินคาขาออกเลขที่ ๐๒๑๒
๒๑๒๙ ๑๐๑๕๙ ความเสียหายเปนเงิน ๑๙,๒๙๐.๐๕ บาท หักสวนความบกพรองของผูฟองคดี
ออกรอยละ ๕๐ คงเหลือ ๙,๖๔๕.๐๓ บาท และโดยท่ีมีผูกระทําผิดหลายคน ไดแก นายตรวจศุลกากร
และศุลการกั ษ โดยนายตรวจศลุ กากรมหี นา ท่ีตรวจสอบสินคาตามใบขนสินคาวาถูกตองตรงตามท่ี
สาํ แดงไวในใบขนสินคาหรอื ไม หากเห็นวาถูกตองจึงใหบรรจุสินคาที่ตรวจปลอยแลวเขาคอนเทนเนอร
และควบคุมการบรรจุสินคาจนเสร็จ สวนศุลการักษมีหนาท่ีประทับดวงตรา กศก. หรือรอยแถบเหล็ก RTC
ท่ีคอนเทนเนอร และชวยเหลือการปฏิบัติงานของนายตรวจศุลกากรในการตรวจและบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอรดวย เม่ือการกระทําของเจาหนาที่แตละคนแยกจากกัน โดยนายตรวจศุลกากร
มีหนาที่รับผิดชอบในการตรวจสอบสนิ คาตามใบขนสินคาโดยตรง สว นศลุ การักษมีหนาท่ีเพียงชวยเหลือ
นายตรวจศุลกากรเทานั้น จึงเห็นควรใหศุลการักษรับผิดในสัดสวนท่ีนอยกวาเพียงรอยละ ๓๐
ของเงินสวนท่ีเหลือในแตละใบขนสินคาขาออกท่ีเก่ียวของ ดังนี้ (๑) ใบขนสินคาขาออกเลขที่ ๐๒๑๒
๒๐๑๐ ๐๕๓๑๘ หักออกรอยละ ๕๐ คงเหลือ ๑๑,๐๙๗.๘๖ บาท รับผิดรอยละ ๓๐ คิดเปนเงิน
๓,๓๒๙.๓๖ บาท (๒) ใบขนสินคาขาออกเลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๙๑๔ หักออกรอยละ ๕๐
คงเหลือ ๑๐,๘๙๑.๑๗ บาท รับผิดรอยละ ๓๐ คิดเปนเงิน ๓,๒๖๗.๓๕ บาท (๓) ใบขนสินคาขาออก
เลขที่ ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๓๒๙ หักออกรอยละ ๕๐ คงเหลือ ๑๐,๔๙๓.๖๘ บาท รับผิดรอยละ ๓๐
คิดเปนเงิน ๓,๑๔๘.๑๐ บาท (๔) ใบขนสินคาขาออกเลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๙๒๕ หักออกรอยละ ๕๐
คงเหลือ ๑๑,๐๖๖.๐๖ บาท รับผิดรอยละ ๓๐ คิดเปนเงิน ๓,๓๑๙.๘๒ บาท (๕) ใบขนสินคาขาออก
เลขที่ ๐๒๑๒ ๒๑๒๙ ๑๐๑๕๙ หักออกรอยละ ๕๐ คงเหลือ ๙,๖๔๕.๐๓ บาท รับผิดรอยละ ๓๐
คิดเปนเงิน ๒,๘๙๓.๕๑ บาท รวมเปนเงินท้ังสิ้น ๑๕,๙๕๘.๑๔ บาท ท้ังนี้ ตามมาตรา ๘
และมาตรา ๑๐ แหง พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ ผูถูกฟองคดีท้ังหา
ในฐานะทายาทโดยธรรม จึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูฟองคดีไมเกินกวาทรัพยมรดก
ท่ตี กทอดไดแ กตนเปนเงนิ จาํ นวน ๑๕,๙๕๘.๑๔ บาท ทงั้ น้ี ตามมาตรา ๑๖๐๐ และมาตรา ๑๖๐๑
แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย และเม่ือไดวินิจฉัยแลววานาย อ. ปฏิบัติหนาที่โดยประมาท
เลนิ เลออยา งรายแรงและตอ งรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนตอผูฟองคดีเปนเงินจํานวน ๑๕,๙๕๘.๑๔ บาท
โดยคิดดอกเบี้ยตามมาตรา ๒๒๔ วรรคหน่งึ ประกอบมาตรา ๒๐๖ แหงประมวลกฎหมายดังกลาว
ตั้งแตวันทําละเมิด คือ วันวางฎีกา ดังนี้ ตามใบขนสินคาขาออกเลขที่ ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๓๑๘
รับผิดเปนเงิน ๓,๓๒๙.๓๖ บาท และใบขนสินคาขาออกเลขท่ี ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๙๑๔ รับผิดเปนเงิน

แนวคาํ วนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๑

๓,๒๖๗.๓๕ บาท พรอมดอกเบี้ยอัตรารอยละ ๗.๕ นับแตวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๐ ซ่ึงเปนวัน
ทําละเมิด กรณตี ามใบขนสนิ คา ขาออกเลขที่ ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๓๒๙ รับผิดเปนเงิน ๓,๑๔๘.๑๐ บาท
และใบขนสินคา ขาออกเลขที่ ๐๒๑๒ ๒๐๑๐ ๐๕๙๒๕ รับผิดเปนเงิน ๓,๓๑๙.๘๒ บาท พรอมดอกเบี้ย
อัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแตวันท่ี ๙ มิถุนายน ๒๕๔๐ ซ่ึงเปนวันทําละเมิด กรณีใบขนสินคา
ขาออกเลขที่ ๐๒๑๒ ๒๑๒๙ ๑๐๑๕๙ รับผิดเปนเงิน ๒,๘๙๓.๕๑ บาท พรอมดอกเบ้ียอัตรารอยละ
๗.๕ ตอป นับแตวันท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๔๐ ซ่ึงเปนวันทําละเมิดจนถึงวันฟองคดี สวนประเด็น
การกําหนดคําบังคับนั้น ศาลปกครองสูงสุดโดยมติท่ีประชุมใหญพิเคราะหแลวเห็นวา เม่ือปรากฏวา
ในการวินิจฉัยคดีที่กรมศุลกากรฟองทายาทของเจาหนาที่ใหรับผิดชดใชคาเสียหายในกรณีเจาหนาท่ี
กระทาํ ละเมิดในการปฏิบัตหิ นาที่ กรณมี ีการทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรตามใบขนสินคาขาออก
ศาลปกครองไดกําหนดคําบังคับในคําพิพากษาคดีลักษณะเดียวกันน้ีวา หากผูฟองคดี (กรมศุลกากร)
ไดรับการชดใชเงินคืน หรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากผูที่ไดรับเงินชดเชยคาภาษีอากรในกรณีน้ี
เปน เงินจํานวนเทาใด ใหนาํ มาหักหรือคืนตามสวนแหงความรับผิดใหแกผูถูกฟองคดี (ทายาทของเจาหนาท่ี)
ทง้ั ยงั ไดกาํ หนดระยะเวลาในการปฏิบตั ิตามคําพิพากษาของศาลไวชัดเจนเปน จาํ นวนก่ีวัน มาโดยตลอด
ดังนั้น คดีนี้จึงสมควรกําหนดคําบังคับและระยะเวลาในการปฏิบัติตามคําพิพากษาของศาล
ในทาํ นองเดียวกัน การที่ศาลปกครองช้นั ตน พพิ ากษายกฟอ ง นัน้ ศาลปกครองสงู สุดไมเหน็ พองดวย

พพิ ากษากลบั เปนใหผ ูถูกฟอ งคดีทัง้ หารว มกนั หรอื แทนกันรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
ใหแกผูฟองคดีเปนเงินจํานวน ๑๕,๙๕๘.๑๔ บาท พรอมดอกเบ้ียอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป นับแต
วนั ทาํ ละเมิดตามแตละใบขนสินคาขาออกจนถึงวันฟอ งคดี และดอกเบ้ียในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป
ของตนเงินจํานวน ๑๕,๙๕๘.๑๔ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ ภายใน
หกสิบวันนับแตวันท่ีศาลมีคําพิพากษา ทั้งน้ี ตองไมเกินกวาทรัพยมรดกที่ผูถูกฟองคดีแตละคนไดรับ
หากผฟู องคดไี ดร บั การชดใชเงินคืนหรือสามารถบังคับชําระหน้ีจากผูไดรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
ในกรณีนี้เปนเงินจํานวนเทาใด ใหนําเงินน้ันหักหรือคืนตามสวนแหงความรับผิดใหแกผูถูกฟองคดีทั้งหา
และใหคืนคาธรรมเนียมศาลในศาลปกครองช้ันตนและในชั้นอุทธรณบางสวนตามสวนของการชนะคดี
ใหแกผฟู องคดี
คําพิพากษาศาลปกครองสงู สดุ ท่ี อ. ๒๕๘/๒๕๖๓ (ประชมุ ใหญ)

ผูฟองคดีฟองวา ผูฟองคดีรับราชการตําแหนงนายตรวจศุลกากร ในสังกัด
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากการท่ีผูถูกฟองคดีที่ ๒
(อธิบดีกรมศุลกากร) มีคําส่ังลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทน
กรณีบริษัท ว. กระทําการทุจริตในการสงออกเพื่อขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออก
โดยใหผูฟองคดีรวมรับผิดกับนาย ก. นาย ส. และนาย ณ. รวมเปนเงิน ๒๗๘,๗๔๖.๕๖ บาท
ผูฟองคดีจึงมีหนังสือลงวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๔๘ อุทธรณตอผูถูกฟองคดีที่ ๒ พรอมขอทุเลา
การบังคับคดี แตผูถูกฟองคดีที่ ๒ พิจารณาแลววินิจฉัยใหยกอุทธรณ และมีหนังสือลงวันที่
๒๐ มกราคม ๒๕๔๙ แจง ผลการพจิ ารณาดังกลาวใหผูฟองคดีทราบ ผูฟองคดีเห็นวา คําสั่งลงวันท่ี

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๒

๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ท่ีใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน ไมชอบดวยกฎหมาย ผูฟองคดี
จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําสั่งใหเพิกถอนคําส่ังกรมศุลกากร ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘
เฉพาะในสวนท่ีใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ เห็นวา เม่ือในขณะ
เกิดเหตุ ผูฟองคดีดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร ไดรับมอบหมายใหเปนผูทําหนาท่ีตรวจปลอย
และควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออกของบริษัท ว. เขาคอนเทนเนอรตามที่กําหนดไว
ผูฟองคดีจึงมีหนาท่ีโดยตรงในการตรวจสินคาตามขอ ๐๘ ๐๕ ๐๑ (๑) (๓) ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๔
ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ และขอ ๐๘ ๑๑ ๑๔ (๓) ของประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐
ประกอบกับที่แกไขเพิ่มเติมตามคําสั่งท่ัวไปกรมศุลกากร ท่ี ๕๑/๒๕๓๑ ลงวันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๓๑
และขอ ๒ ของคําส่ังกองตรวจสินคาขาออก ท่ี ๑๓/๒๕๓๐ เรื่อง การตรวจและบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอร ลงวันท่ี ๒ มีนาคม ๒๕๓๐ ท่ีกําหนดใหผูฟองคดีตองตรวจสอบความสมบูรณ
ของใบขนสินคาขาออกและเอกสารประกอบการสงออกท่ีเก่ียวของ รวมทั้งของที่จะสงออก
โดยการเปด ตรวจตามอัตราที่กําหนดไววามีของตรงตามที่สําแดงหรือไม ซึ่งหากผูฟองคดีปฏิบัติหนาที่
ตามท่รี ะเบียบขอ บงั คบั ท่ีเกย่ี วขอ งกาํ หนดไวอยา งครบถวน โอกาสทผี่ ูสงออกจะทําการทุจริตขอรับ
เงินชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออกโดยการแอบอางหมายเลขคอนเทนเนอรของผูสงออกรายอื่น
ยอมไมอ าจเกิดขน้ึ ได อกี ทง้ั ประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากรและคําสั่งกรมตรวจสินคาขาออกดังกลาว
มิไดกําหนดใหเจาหนาที่มีอํานาจเลือกใชวิธีการสุมตรวจสินคาตามใบขนสินคาขาออกเพียงบางฉบับ
และผูฟองคดีซ่ึงดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากรยอมตองทราบดีวาไมมีระเบียบขอบังคับใด
ท่ีเก่ียวกับการปฏิบัติหนาที่ในเรื่องดังกลาวอนุญาตใหใชวิธีการสุมตรวจได เม่ือบริษัท ว. มิได
สงสินคาออกไปนอกราชอาณาจักรจริงตามที่สําแดงไวในใบขนสินคาขาออก แตผูฟองคดีกลับ
ลงนามในใบขนสินคาขาออกของบริษัทดังกลาวเพ่ือรับรองวาไดตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุ
สนิ คา เขา คอนเทนเนอรแ ลว จึงเชอ่ื ไดว า ผฟู องคดีไมไดปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงนายตรวจศุลกากร
ผูซึ่งไดรับมอบหมายใหทําการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออก
รายบรษิ ทั ว. ใหเปน ไปตามทีป่ ระมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ และระเบียบขอบังคับ
ทีเ่ ก่ียวขอ งกําหนดไว เปน เหตใุ หบรษิ ัทดังกลาวอาศัยเอกสารที่ผูฟองคดีรับรองในการปฏิบัติหนาที่
กระทาํ การทจุ รติ ขอรับเงนิ ชดเชยคา ภาษีอากรจากผถู กู ฟอ งคดีที่ ๑ โดยมีการวางฎีกาเบิกเงินฝากชดเชย
การสงออกจํานวน ๑๗๑,๒๒๓.๗๗ บาท แลวเมื่อวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๓๙ และวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๓๙
อันเปนการกระทําการทุจริตไดสําเร็จ การกระทําของผูฟองคดีจึงถือเปนการปฏิบัติหนาที่
โดยประมาทเลนิ เลออยา งรายแรง ทําใหผูถูกฟองคดีที่ ๑ ซ่ึงเปนหนวยงานของรัฐท่ีผูฟองคดีสังกัด
ไดร บั ความเสียหาย อนั เปนการกระทําละเมิดตอ ผูถกู ฟองคดีที่ ๑ ตั้งแตวันที่มีการวางฎีกาดังกลาว
ผูฟองคดีจึงตองใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ตามมาตรา ๔๒๐ แหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิชย ซ่ึงศาลปกครองสูงสุดโดยมติที่ประชุมใหญพิเคราะหแลวเห็นวา กรณีการกระทําละเมิด
ของเจา หนาทที่ ่ีเกดิ ขน้ึ กอนวนั ท่ี พ.ร.บ. ความรบั ผดิ ทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับ
จะตองพิจารณาเปน ๒ สวน สวนแรก สวนท่ีเปนสารบัญญัติ คือ สวนท่ีกําหนดหลักเกณฑเงื่อนไข
ท่ีกอใหเกิดสิทธิหรือกอใหเกิดความรับผิด ขอบเขตของสิทธิท่ีเกิดหรือขอบเขตของความรับผิด

แนวคําวนิ จิ ฉยั ศาลปกครองสงู สุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๓

ท่เี กดิ ใหพิจารณาตามหลักเกณฑท่บี ญั ญัตไิ วใ นประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งเปนกฎหมาย
ทใ่ี ชบงั คบั อยใู นขณะท่ีมีการกระทาํ ละเมดิ สวนที่สอง สวนท่ีเปนวิธีสบัญญัติ ซ่ึงบทบัญญัติในสวน
น้ีไมมีผลกระทบตอสาระหรือขอบเขตของสิทธิ หรือความรับผิดของผูกระทําละเมิดแตอยางใด
จึงสามารถนําหลักเกณฑในเรื่องดังกลาวตามที่บัญญัติในพระราชบัญญัติดังกลาวมาใชบังคับ
แมจะเปนการกระทําละเมิดที่เกิดขึ้นกอนวันที่พระราชบัญญัติดังกลาวมีผลใชบังคับก็ตาม
คดีน้ีเม่ือขอเท็จจริงเก่ียวกับวันท่ีผูฟองคดีกระทําละเมิดตอผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดกระทํากอนวันที่
พระราชบัญญัติเดียวกันมีผลใชบังคับ (๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๙) ดังนั้น ในการวินิจฉัยขอบเขต
ของความรับผิดที่เกิดขึ้น ซ่ึงเปนกฎหมายสวนท่ีสารบัญญัติ จึงตองนําหลักเกณฑที่บัญญัติไว
ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซ่ึงเปนกฎหมายที่ใชบังคับอยูในขณะที่มีการกระทําละเมิด
มาวนิ ิจฉยั เมื่อขอ เท็จจริงในขณะเกิดเหตุในคดีน้ีปรากฏวา ปริมาณการสงออกสินคาของผูสงออก
สินคาโดยรวมมีจํานวนมาก เน่ืองจากรัฐบาลในขณะนั้นมีนโยบายสงเสริมการสงออกโดยรัฐไดให
นโยบายแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ท่ีจะตองอํานวยความสะดวกในการดําเนินพิธีการศุลกากรใหแก
ผูสงออกเพื่อใหผูสงออกไดรับความสะดวก โดยหวังใหมีปริมาณการสงออกมากขึ้นเพื่อนําเงินตรา
ตางประเทศเขามาในราชอาณาจักรอันเปนผลดีตอเศรษฐกิจ แตอัตรากําลังของเจาหนาที่
ที่จะอํานวยความสะดวกตามนโยบายดังกลาวมีจํานวนนอย จนไมสามารถเทียบเปนสัดสวนกับ
ปริมาณงานท่ีเขามาได ผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในฐานะหนวยงานของรัฐจึงมีภาระหนาที่ที่จะตองวาง
ระบบตรวจสอบใหรัดกุมยิ่งข้ึน เพื่อเปนการตรวจสอบและปองปรามมิใหมีการสําแดงเท็จหรือ
ยื่นคําขอชดเชยคาภาษีอากรอันเปนเท็จ แตผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไมสามารถแกปญหาในเชิงระบบ
การดําเนินงานโดยรวมได เม่ือสาเหตุท่ีผูสงออกทุจริตขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร เน่ืองจาก
ปริมาณงานการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคามีมากเกินกวากําลังของเจาหนาท่ีผูรับผิดชอบ
ผูถูกฟองคดีทั้งสองในฐานะผูบังคับบัญชาของผูฟองคดีและมีหนาท่ีบริหารจัดการและดําเนินการ
ปองกันการทุจริตที่อาจเกิดขึ้น แตผูถูกฟองคดีทั้งสองหาไดกระทําการใดๆ เพื่อปองกันเหตุไม
จงึ ถอื ไดว าผถู ูกฟองคดีทง้ั สองมสี วนผดิ ในความเสยี หายที่เกิดขึ้น ความเสียหายท่ีเกิดขึ้นจึงเกิดจาก
การกระทําของทั้งในสวนของผูฟองคดีและของผูถูกฟองคดีทั้งสองไมย่ิงหยอนไปกวากัน จึงควร
มีความรับผดิ เทาๆ กัน คดีนจี้ ึงเห็นสมควรใหห กั สว นความรบั ผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกในอัตรา
รอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายทั้งหมด ตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหนึ่ง ประกอบกับมาตรา ๔๔๒
และมาตรา ๒๒๓ วรรคหนึ่ง แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย คงเหลือจํานวนที่จะตอง
นํามาพิจารณาสวนแหงความรับผิดเพียงอัตรารอยละ ๕๐ แตโดยที่เหตุละเมิดในคดีน้ีเกิดจาก
การปฏิบัติหนาท่ีของผูฟองคดีซ่ึงเปนนายตรวจศุลกากรและเจาหนาท่ีอื่นซ่ึงเปนศุลการักษ
เมื่อพิจารณาถึงอํานาจหนาท่ีและสภาพความรายแรงแหงการกระทําแลว เห็นวา นายตรวจศุลกากร
ผูท าํ การตรวจปลอ ยและควบคุมการบรรจุสินคาตามใบขนสินคาขาออกเขาคอนเทนเนอรมีความรับผิดชอบ
มากกวาศุลการักษ เนื่องจากเปนผูรับผิดชอบโดยตรงในการตรวจสินคาและควบคุมการบรรจุ
สินคาเขาคอนเทนเนอร สวนศุลการักษเพียงแตทําหนาที่เปนผูชวยของนายตรวจศุลกากรและ
เปนผูป ฏิบัตหิ นาทใ่ี นขัน้ ตอนสุดทายในการรอ ยดวงตราตะก่ัว กศก. หรือแถบเหล็ก RTC ที่ประตูคอนเทนเนอร

แนวคาํ วินิจฉัยศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๔

ดังนัน้ นายตรวจศุลกากรจึงมีสัดสวนแหงความรับผิดตามพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด
ในกรณีน้ีมากกวาศุลการักษ จึงเห็นควรกําหนดใหนายตรวจศุลกากรรับผิดในอัตรารอยละ ๗๐
ของจํานวนสวนแหงความรับผิดหลังจากหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว และกําหนดให
ศุลการักษรับผิดในอัตรารอยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดหลังจากหักความรับผิดของ
ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว ตามมาตรา ๔๓๘ วรรคหนง่ึ แหงประมวลกฎหมายดังกลาว เมื่อขอเท็จจริง
ปรากฏวา บริษัท ว. ใชใบขนสินคาขาออกฉบับมุมนํ้าเงินที่ผูฟองคดีในฐานะนายตรวจศุลกากร
ลงนามรับรองการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร จํานวน ๑๑ ฉบับ
ประกอบการย่ืนคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสําหรับสินคาสงออกตาม พ.ร.บ. ชดเชยคาภาษีอากร
สินคาสงออกที่ผลิตในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๒๔ โดยผูถูกฟองคดีที่ ๑ ไดออกบัตรภาษีตามชุดคําขอ
ดังกลาวแลว รวมมูลคาเงินชดเชย ๒๗๘,๗๔๖.๕๖ บาท และหลังจากน้ันผูถือสิทธิตามบัตรภาษี
ไดนําบตั รภาษีไปใชแลวบางสวน มูลคา ๑๗๑,๒๒๓.๗๗ บาท และยังไมไดนําบัตรภาษีไปใชอีกบางสวน มูลคา
๑๐๗,๕๒๒.๗๙ บาท ซึ่ งผู ถู กฟ องคดี ที่ ๑ ได วางฎี กาเบิ กเงิ นฝากชดเชยการส งออก
ตามมูลคาท่ีมีการนําบัตรภาษีไปใชแลว จํานวน ๑๗๑,๒๒๓.๗๗ บาท ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ จึงไดรับความเสียหาย
จากการกระทําของผูฟองคดีอันเน่ืองมาจากการตรวจปลอยและการควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอร
ตามใบขนสินคาขาออกดังกลาวเปนเงิน ๑๗๑,๒๒๓.๗๗ บาท เมื่อหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ออกในอัตรารอยละ ๕๐ ของคาเสียหายจํานวนดังกลาว และกําหนดสัดสวนใหผูฟองคดีในฐานะ
นายตรวจศุลกากรรับผิดในอัตรารอยละ ๗๐ ของจํานวนสวนแหงความรับผิดในอัตรารอยละ ๕๐
หลังจากหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีที่ ๑ แลว ผูฟองคดีจึงตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
แกผูถูกฟองคดีที่ ๑ เปนเงินจํานวน ๕๙,๙๒๘.๓๒ บาท ดังนั้น การที่ผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยผูถูกฟองคดีท่ี ๒
ออกคําส่ังลงวันท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ ใหผูฟองคดีชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูถูกฟองคดีที่ ๑
เปนจํานวนเงินเกินกวา ๕๙,๙๒๘.๓๒ บาท จึงเปนคําส่ังท่ีไมชอบดวยกฎหมาย การที่ศาลปกครองช้ันตน
พิพากษาใหเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๒ ลงวันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ เรื่อง ใหชดใช
คาสินไหมทดแทน ในสวนท่ีเกี่ยวกับผูฟองคดี เฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทน
อยางลูกหนี้รวมกับนาย ก. ศุลการักษ เกินกวา ๒๔,๕๔๙.๐๑ บาท เฉพาะในสวนท่ีใหผูฟองคดี
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนอยางลูกหน้ีรวมกับนาย ส. ศุลการักษ เกินกวา ๒๖,๐๕๗.๙๑ บาท
และเฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนอยางลูกหนี้รวมกับนาย ณ. ศุลการักษ
เกินกวา ๓๕,๐๐๔.๙๖ บาท โดยใหม ผี ลยอ นหลังไปนับแตวันท่ีมคี ําส่ังดังกลาว คําขออ่ืนนอกจากนี้
ใหยก นัน้ ศาลปกครองสูงสดุ เห็นพอ งดว ยบางสวน

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําสั่งลงวันท่ี ๑๗ ตุลาคม ๒๕๔๘ เร่ือง ใหชดใช
คาสินไหมทดแทน เฉพาะสวนที่กําหนดใหผูฟองคดีรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน
๕๙,๙๒๘.๓๒ บาท โดยมีขอสังเกตวา หากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดรับการชดใชเงินคืนหรือสามารถบังคับ
ชําระหนจ้ี ากผูไ ดรับเงินชดเชยคาภาษีอากรหรือผูรับโอนบัตรภาษีเปนจํานวนเงินเทาใดใหนําจํานวนเงิน
ดังกลา วมาหกั หรือคนื ตามสวนแหง ความรับผิดแลวแตก รณีใหแ กผฟู อ งคดี นอกจากท่ีแก ใหเปนไป
ตามคาํ พิพากษาของศาลปกครองช้นั ตน

แนวคาํ วนิ ิจฉยั ศาลปกครองสูงสดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๕

คําพพิ ากษาศาลปกครองสงู สุดท่ี อ.๒๗๑/๒๕๖๓
ผูฟองคดีทั้งหกฟองวา ผูฟองคดีทั้งหกเปนขาราชการพลเรือนดํารงตําแหนง

ศุลการักษ สังกัดผูถูกฟองคดีท่ี ๑ (กรมศุลกากร) ไดรับความเดือดรอนเสียหายจากคําสั่ง
ลงวันท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๔๙ ที่เรียกใหผูฟองคดีท้ังหกรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนกรณีบริษัท
ม. ทุจริตในการสงออกเพ่ือขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร ผูฟองคดีทั้งหกไดรับแจงคําสั่งและมี
หนังสืออุทธรณคําสั่งดังกลาวแลว แตยังไมไดรับแจงผลการพิจารณาอุทธรณ ผูฟองคดีท้ังหก
เห็นวาคําส่ังกรมศุลกากรดังกลาวไมชอบดวยกฎหมาย จึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษา
หรือคําส่ังเพิกถอนคําสั่งลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๙ เฉพาะในสวนที่ใหผูฟองคดีท้ังหก
รับผิดชดใชคา สนิ ไหมทดแทนรายของบรษิ ทั ม.

ศาลปกครองสงู สดุ วินจิ ฉยั วา คดีมีประเด็นท่ีตอ งวินิจฉัยวา การหักสวนความรับผิด
ของผูถูกฟองคดีที่ ๑ ออกรอยละ ๕๐ ของคาเสียหายท้ังหมด เพราะเหตุอันเกิดจากความผิด
หรือความบกพรองหรือระบบการดําเนินงานสวนรวม ชอบดวยกฎหมายหรือไม เห็นวา คดีน้ีไดมี
การวางฎีกาเบิกเงินชดเชยคาภาษีอากรการสงสินคาออก ระหวางวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๐
ถึงวันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๐ อันเปนวันท่ีกระทําละเมิดแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ กรณีจึงเปน
การกระทําละเมิดท่ีเกิดขึ้นหลังวันท่ี พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาท่ี พ.ศ. ๒๕๓๙
มีผลใชบังคับ การกระทําละเมิดในกรณีน้ีเปนกรณีที่เจาหนาท่ีหลายคนรวมกันกระทําละเมิด
เจา หนา ทคี่ นใดจะตองรับผิดเพียงใด จึงตองพิจารณาจากพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด
ตามมาตรา ๑๐ วรรคหน่ึง แหงพระราชบัญญัติดังกลาว คดีน้ีไดมีการวางฎีกาเบิกเงินชดเชย
คาภาษีอากรการสงสินคาออก ระหวางวันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๔๐ ถึงวันท่ี ๓๑ ธันวาคม ๒๕๔๐
อันเปนวันท่ีกระทําละเมิดแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ กรณีจึงเปนการกระทําละเมิดที่เกิดข้ึนหลังวันที่
พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจาหนาที่ พ.ศ. ๒๕๓๙ มีผลใชบังคับ การกระทําละเมิด
ในกรณีนี้เปนกรณีท่ีเจาหนาท่ีหลายคนรวมกันกระทําละเมิด เจาหนาท่ีคนใดจะตองรับผิดเพียงใด
จึงตองพิจารณาจากพฤติการณและความรายแรงแหงละเมิด ตามมาตรา ๑๐ วรรคหนึ่ง
แหงพระราชบัญญัติดังกลาว เมื่อขอเท็จจริงรับฟงไดวา ในขณะเกิดเหตุปริมาณการสงออกสินคา
ของผูสงออกสินคาโดยรวมมีจํานวนมาก เน่ืองจากรัฐบาลในขณะน้ันและผูถูกฟองคดีที่ ๑ มีนโยบาย
สงเสริมการสงออก แตอัตรากําลังของเจาหนาที่ที่จะอํานวยความสะดวกตามนโยบายดังกลาว
มีจํานวนนอยจนไมสามารถเทียบสัดสวนกับปริมาณงานที่เขามาได การแกปญหาในขณะน้ัน
จึงใชวิธีการสุมตรวจสินคา ตอมา ผูถูกฟองคดีที่ ๒ (อธิบดีกรมศุลกากร) มีคําสั่งลงวันท่ี ๒๙
พฤษภาคม ๒๕๔๕ กําหนดระเบียบปฏิบัติเก่ียวกับการตรวจปลอย การบรรจุ การขนสง และ
การบรรทุกสนิ คา ทีส่ ง ออกดวยระบบคอนเทนเนอรข้ึนใหมแทนระเบียบเดิม โดยใชระบบคอมพิวเตอร
เลือกตรวจและยกเวนการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคา โดยใหนายตรวจศุลกากร
หรือสารวัตรศุลกากรเปนผูตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคาเพียงคนเดียว ไมตองใหศุลการักษ
ทําหนาท่ีเปนผชู วยนายตรวจศุลกากรและเปนผูประทับดวงตราตะก่ัว กศก. ตอมา ผูถูกฟองคดีท่ี ๒
มีคําสั่งลงวันท่ี ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๖ ยกเลิกคําส่ังลงวันท่ี ๒๙ พฤษภาคม ๒๕๔๕ และกําหนด

แนวคําวนิ ิจฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบบั Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๖

ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจปลอยและควบคุมการบรรทุกสินคาท่ีสงออกทางเรือดวยระบบ
คอนเทนเนอร ไดรับการยกเวนการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคา เวนแตกรณีผูสงออก
รองขอใหทําการตรวจปลอยและควบคุมการบรรจุสินคา หรือพนักงานศุลกากรประจําสํานักสืบสวน
และปราบปรามหรือประจําหนวยปองกันและปราบปรามของดานศุลกากร หรือสํานักงานศุลกากรภาค
ทําการเปดตรวจเน่ืองจากมีเหตุอันควรสงสัย หรือสุมตรวจสอบตามหลักการบริหารความเสี่ยง
กรณีจึงเช่ือไดวาปญหาที่ทําใหเกิดชองทางทุจริตในการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรสวนหนึ่ง
มาจากปริมาณงานที่มาก เนื่องจากมีนโยบายสงเสริมการสงออก แตอัตรากําลังของเจาหนาท่ี
มีไมเพียงพอ ซึ่งผูถูกฟองคดีที่ ๑ ยอมทราบดีวาเปนเร่ืองที่เกินกําลังความสามารถท่ีเจาหนาท่ี
ท่ีปฏิบัติงานจะปฏิบัติหนาท่ีใหถูกตองครบถวนได โดยไมจําตองมีการรายงานปญหาดังกลาว
โดยผถู ูกฟองคดที ่ี ๑ ในฐานะหนว ยงานของรฐั มภี าระหนาทีท่ จี่ ะตอ งวางระบบตรวจสอบใหร ดั กุมยิ่งข้ึน
เพ่อื เปน การตรวจสอบและปองปรามมิใหมีการสําแดงเท็จหรือยื่นคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
อันเปนเทจ็ และขอเทจ็ จริงปรากฏวาความเสียหายที่เกิดขึ้นสวนหนึ่งเกิดจากขั้นตอนการขอรับเงิน
ชดเชยคาภาษีอากร ตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ขอ ๑๕ ๐๕ ๐๓ (๑.๔)
ท่ีกําหนดใหฝายชดเชยอากร กองคืนอากร จะตองตรวจคําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรวาไดมี
การนําเงินตราตางประเทศคาขายสินคาสงออกเขามาตามใบแจงการเขาบัญชี CREDIT NOTE
หรือ CREDIT ADVICE แตปรากฏวาใบแจงการเขาบัญชีดังกลาวไมอาจยืนยันวามีการโอนเงิน
เพ่ือชําระคาสินคาตามท่ีไดสงออกไปยังตางประเทศของบริษัทดังกลาวจริงหรือไม จึงเปนเหตุให
ผูสง ออกใชเ ปน ชอ งทางกระทาํ การทุจริตย่นื คําขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรอันเปนเท็จ ผูถูกฟองคดีที่ ๑
สมควรที่จะตองดําเนินการแกไขปรับปรุงขั้นตอนการตรวจสอบหลักฐานการขอรับเงินชดเชย
คาภาษีอากรใหรัดกุมวา ผูสงออกไดมีการสงสินคาไปตางประเทศตามท่ีระบุไวในใบขนสินคาขาออก
จริงหรือไม กอนท่ีจะออกบตั รภาษีใหแ กผสู งออก เพ่ือมใิ หผ ูสง ออกย่ืนคาํ ขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร
พรอมพยานหลักฐานอันเปนเท็จได จึงเปนความบกพรองท้ังระบบในกระบวนการตรวจปลอยสินคา
การควบคมุ การนําสินคาลงเรือ และการขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากร แตผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไมสามารถ
แกปญหาในเชงิ ระบบดําเนินงานดังกลาวโดยรวมได ดังนั้น มูลแหงละเมิดที่ผูฟองคดีทั้งหกจะตอง
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีที่ ๑ ในคดีนี้จึงเกิดจากความบกพรองของระบบ
การดําเนินงานของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ดวย เห็นสมควรใหหักสวนความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑
ออกรอยละ ๕๐ ของจํานวนคาเสียหายท้ังหมด คงเหลือความเสียหายในสวนท่ีนายตรวจศุลกากร
และผูฟองคดีท้ังหกตองรับผิดอีกรอยละ ๕๐ แตโดยที่เหตุละเมิดในคดีนี้เกิดจากการปฏิบัติหนาที่
ของนายตรวจศุลกากรและผูฟองคดีท้ังหก เมื่อพิจารณาถึงอํานาจหนาที่และสภาพความรายแรง
แหงการกระทําแลว เห็นวา นายตรวจศุลกากรเปนผูทําหนาท่ีโดยตรงในข้ันตอนการบรรจุสินคา
เขาคอนเทนเนอร ตรวจสอบรายการสินคาใหตรงกับใบขนสินคา ขาออกและใบกํากบั คอนเทนเนอร
โดยผูฟองคดที ง้ั หกทาํ หนาทเี่ ปน เพยี งผูชวยเหลือการปฏบิ ตั งิ านของนายตรวจศุลกากรในการตรวจ
และควบคุมการบรรจุสินคาเขาคอนเทนเนอรและรอยลวดประทับตราตะกั่วเทานั้น มิไดมีหนาที่
โดยตรงเชนนายตรวจศุลกากร ดังนั้น สัดสวนแหงความรับผิดตามความรายแรงแหงการกระทําละเมิด

แนวคาํ วินิจฉยั ศาลปกครองสูงสุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๗

ในกรณีดังกลาว นายตรวจศุลกากรจึงมีมากกวาศุลการักษ จึงเห็นควรกําหนดใหผูฟองคดีทั้งหก
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใหแกผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ในสัดสวนรอยละ ๓๐ ของจํานวนสวนแหง
ความรับผิดในรอยละ ๕๐ หลังจากหักความรับผิดของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ แลว ผูฟองคดีทั้งหก
จงึ ตองรบั ผดิ ในมูลคา ความเสยี หายตามใบขนสนิ คา ขาออกทไ่ี ดมกี ารนาํ ไปใชยน่ื คําขอรับเงินชดเชย
คาภาษีอากรและมีการนําบัตรภาษีไปใชแลว (วางฎีกา) ดังน้ี ผูฟองคดีท่ี ๑ ตองรับผิดชดใชคาเสียหาย
ตามใบขนสินคา ขาออกที่มีสวนเก่ียวของ จํานวน ๒ ฉบับ รวมเปนเงิน ๔,๗๘๔.๙๐ บาท ผูฟองคดีท่ี ๒
ตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออกท่ีมีสวนเก่ียวของ จํานวน ๓ ฉบับ รวมเปนเงิน
๘,๒๐๖.๗๖ บาท ผูฟองคดีท่ี ๓ ตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออกที่มีสวน
เกี่ยวของ จํานวน ๘ ฉบับ รวมเปนเงิน ๑๗,๖๐๑.๒๙ บาท ผูฟองคดีที่ ๔ ตองรับผิดชดใช
คาเสียหายตามใบขนสินคาขาออกที่มีสวนเกี่ยวของ จํานวน ๗ ฉบับ รวมเปนเงิน ๑๙,๐๔๓.๘๔ บาท
ผูฟอ งคดที ี่ ๕ ตองรบั ผิดชดใชคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออกที่มีสวนเก่ียวของ จํานวน ๕ ฉบับ
รวมเปนเงิน ๑๐,๗๑๔.๐๑ บาท ผูฟองคดีที่ ๖ ตองรับผิดชดใชคาเสียหายตามใบขนสินคาขาออก
ที่มีสวนเก่ียวของ จํานวน ๒ ฉบับ รวมเปนเงิน ๓,๔๕๖.๐๑ บาท ท่ีศาลปกครองช้ันตนพิพากษา
เพิกถอนคําสั่งกรมศุลกากร ลงวันที่ ๒๘ กันยายน ๒๕๔๙ ในสวนที่เรียกใหผูฟองคดีท่ี ๑
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๔,๗๘๔.๙๐ บาท ในสวนท่ีเรียกใหผูฟองคดีที่ ๒
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๘,๒๐๖.๗๗ บาท ในสวนท่ีเรียกใหผูฟองคดีท่ี ๓
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๑๗,๖๐๑.๓๗ บาท ในสวนที่เรียกใหผูฟองคดีท่ี ๔
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๑๙,๐๔๔.๒๐ บาท ในสวนท่ีเรียกใหผูฟองคดีท่ี ๕
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๑๐,๗๑๔.๐๖ บาท และในสวนที่เรียกใหผูฟองคดีท่ี ๖
รับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวา ๓,๔๕๖.๐๒ บาท โดยใหมีผลยอนหลังไปถึงวันท่ีออกคําสั่ง
ดังกลาว ยกฟองผูถูกฟองคดีที่ ๓ (กระทรวงการคลัง) และที่ ๔ (ปลัดกระทรวงการคลัง) น้ัน
ศาลปกครองสงู สุดเห็นพองดว ยบางสวน

พิพากษาแก เปนใหเพิกถอนคําสั่งของผูถูกฟองคดีท่ี ๑ โดยท่ี ๒ ตามคําส่ัง
กรมศุลกากร ลงวันท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๔๙ ท่ีออกตามความเห็นของผูถูกฟองคดีท่ี ๓ โดยที่ ๔
เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๑ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๔,๗๘๔.๙๐ บาท
เฉพาะสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๒ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๘,๒๐๖.๗๖ บาท
เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีท่ี ๓ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๑๗,๖๐๑.๒๙ บาท
เฉพาะสวนท่ีใหผูฟองคดีท่ี ๔ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๑๙,๐๔๓.๘๔ บาท
เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๕ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๑๐,๗๑๔.๐๑ บาท
เฉพาะสวนที่ใหผูฟองคดีที่ ๖ ตองชดใชคาสินไหมทดแทนเกินกวาจํานวน ๓,๔๕๖.๐๑ บาท
โดยมีขอสังเกตวา หากผูถูกฟองคดีท่ี ๑ ไดรับการชดใชเงินคืนหรือสามารถบังคับชําระหนี้จาก
ผูไดรับเงินชดเชยคาภาษี หรือผูรับโอนบัตรภาษีเปนจํานวนเทาใด ใหนําเงินดังกลาวมาหักหรือ
คืนตามสวนแหงความรับผิด แลวแตกรณี ใหแกผูฟองคดีท้ังหกดวย นอกจากที่แกใหเปนไป
ตามคําพพิ ากษาของศาลปกครองช้นั ตน

แนวคาํ วนิ ิจฉัยศาลปกครองสงู สุด ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓

๒๔๘
คําพิพากษาศาลปกครองสูงสุดที่ อ.๒๙๑/๒๕๖๓

ผูฟองคดี (กรมศุลกากร) ฟองวา คดีนี้สืบเน่ืองมาจากขณะเกิดเหตุ นาย ธ.
ดํารงตําแหนงนายตรวจศุลกากร สังกัดผูฟองคดี เปนผูทําการตรวจและควบคุมการบรรจุสินคา
เขาตูคอนเทนเนอรรายบริษัท น. ตอมา มีการรองเรียนวาบริษัทมิไดนําสินคามาบรรจุเขาคอนเทนเนอร
เพ่ือสงออกนอกราชอาณาจักร ผูฟองคดีมีคําสั่งแตงต้ังคณะกรรมการสอบขอเท็จจริงและ
คณะกรรมการสอบขอเท็จจรงิ ความรับผิดทางละเมิด กรณีบริษัท น. ทุจริตในการขอรับเงินชดเชย
คาภาษีอากร ตาม พ.ร.บ. ชดเชยคาภาษีอากรสินคาสงออกที่ผลิตในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๒๔
ผลการสอบขอเท็จจริงปรากฏวา ผูสงออกมิไดมีการสงออกสินคาจริง แตไดนําหมายเลขคอนเทนเนอร
ของผูสงออกรายอื่นที่มีการสงออกจริงมาระบุไวในใบขนสินคาขาออก และนําใบขนสินคาขาออก
ฉบับมุมน้ําเงินไปขอรับเงินชดเชยคาภาษีอากรในรูปแบบบัตรภาษี พรอมกับมีการโอนบัตรภาษี
ใหแ กผรู บั โอนรายอน่ื เปน เงินจํานวน ๗๖๔,๗๘๙.๙๕ บาท ผฟู องคดีจึงมีคําส่ังลงวันท่ี ๓๑ ตุลาคม
๒๕๔๘ ใหนาย ธ. และนาย ว. รวมกันรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเปนเงินใหแกทางราชการ
ตามจํานวนบัตรภาษีท่ีใชแลวตามใบขนสินคาขาออกที่แตละคนเก่ียวของ นาย ธ. ไดฟองคดี
ตอศาลปกครองกลางตามคดีหมายเลขดําท่ี ๓๖๖/๒๕๔๙ ขอใหศาลมีคําพิพากษาเพิกถอนคําส่ัง
ของผูฟองคดีดังกลาว คดีอยูในระหวางการพิจารณาของศาลปกครองชั้นตน นาย ธ. ถึงแกความตาย
เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๙ ผูฟองคดีมีหนังสือแจงใหผูถูกฟองคดีท้ังสามซึ่งเปนทายาท
โดยธรรมของนาย ธ. ชดใชคาสินไหมทดแทนดังกลาวใหแกผูฟองคดี แตผูถูกฟองคดีท้ังสาม
เพิกเฉย ผูฟองคดีจึงนําคดีมาฟองขอใหศาลมีคําพิพากษาหรือคําส่ังใหผูถูกฟองคดีท้ังสามรวมกัน
หรือแทนกันชําระเงินจํานวน ๑,๓๘๗,๐๘๖.๑๒ บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ ๗.๕ ตอป
ของตนเงินจํานวน ๗๖๔,๗๘๙.๙๕ บาท นับถัดจากวันฟองเปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ เห็นวา
ประมวลระเบยี บปฏิบตั ิศลุ กากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕ มีสาระสําคัญใหนายตรวจศุลกากร
ตรวจสินคาตามใบขนสินคาขาออกทุกฉบับ โดยสินคาตามใบขนสินคาขาออกแตละฉบับใหตรวจ
ตามอัตราที่กําหนดก็เพ่ือใหเปนท่ีประจักษแกนายตรวจศุลกากรท่ีถูกกําหนดช่ือใหปฏิบัติหนาท่ี
วาใบขนสินคาขาออกแตละฉบับมีสินคาสงออกอยูจริง เพื่อปองกันการทุจริตของผูสงออกสินคา
ซึ่งการตรวจสินคาตามใบขนสินคาขาออกทุกฉบับในชวงที่ปริมาณสินคาสงออกมีมากอาจทําให
นายตรวจศุลกากรและศุลการักษปฏิบัติหนาท่ีไดไมสะดวกและตองใชเวลาในการตรวจมากขึ้น
เทานั้น และหากนาย ธ. ไดปฏิบัติตามประมวลระเบียบปฏิบัติศุลกากร พ.ศ. ๒๕๓๐ ขอ ๐๘ ๐๕ ๐๕
โดยสุจริตและเต็มกําลังความสามารถแลว ยอมสามารถตรวจสอบได การท่ีนาย ธ. ปฏิบัติหนาที่
นายตรวจศุลกากรโดยใชวิธีสุมตรวจเฉพาะผูสงออกรายที่ตนสงสัยวามีการทุจริตเทานั้น
จึงเปน การไมปฏิบตั ิตามระเบียบปฏบิ ตั ขิ องผฟู อ งคดดี ังกลา ว อันเปน ชองทางใหบริษัท น. สามารถ
กระทําการทุจริตในการขอชดเชยคาภาษีอากรโดยอาศัยเอกสารใบขนสินคาขาออก จํานวน
๘ ฉบับ ถือเปนการกระทําในการปฏิบัติหนาที่โดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะ
เชนนายตรวจศุลกากรจะตองมีตามวิสัยและพฤติการณ และนาย ธ. อาจใชความระมัดระวังเชนวานั้น

แนวคาํ วินจิ ฉยั ศาลปกครองสงู สดุ ฉบับ Day to Day ป ๒๕๖๓


Click to View FlipBook Version