The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2565

รายงานประจำปี 2565

Keywords: รายงานประจำปี 2565

รายงานประจ าปี ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565


ก ค ำน ำ ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ได้ด ำเนินงำนตำมแผนปฏิบัติรำชกำรส ำนักงำน สำธำรณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 โดยมีกำรด ำเนินงำนที่ส ำคัญ เพื่อให้บรรลุตำมวิสัยทัศน์ คือ องค์กรสุขภำพชั้นน ำ ภำคีเครือข่ำยเข้มแข็ง เพื่อสุขภำวะของประชำชน และบรรลุตำมยุทธศำสตร์ทั้ง 7 ประเด็นยุทธศำสตร์ ดังนี้ 1. กำรส่งเสริมสุขภำพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ 2. กำรพัฒนำระบบบริกำรเป็นเลิศ 3. กำรพัฒนำก ำลังคนเป็นเลิศ 4. กำรพัฒนำระบบบริหำรเป็นเลิศ 5. กำรพัฒนำระบบวิชำกำรและกำรจัดกำรควำมรู้เป็นเลิศ 6. กำรพัฒนำระบบวัด วิเครำะห์ และประเมินผลเป็นเลิศ 7. กำรพัฒนำควำมร่วมมือภำคเครือข่ำย สุขภำพเข้มแข็งโดยมุ่งเน้นกำรขับเคลื่อนงำนในรูปแบบกำรบูรณำกำรร่วมกันของภำคีเครือข่ำย เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพและประสิทธิผลสูงสุดต่อประชำชน รำยงำนประจ ำปีส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 เล่มนี้ประกอบไปด้วย 3 ส่วนส ำคัญ ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูลสถำนะสุขภำพที่ส ำคัญ ส่วนที่ 2 แผนยุทธศำสตร์ นโยบำยส ำคัญ ที่เกี่ยวข้อง ปี 2565 ได้แก่ ยุทธศำสตร์ควำมเป็นเลิศกระทรวงสำธำรณสุข นโยบำยมุ่งเน้นกระทรวงสำธำรณสุข วิสัยทัศน์ พันธกิจ และกำรขับเคลื่อนนโยบำยด้ำนยุทธศำสตร์ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ส่วนที่ 3 ผลกำรด ำเนินงำนส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดศรีสะเกษ มุ่งหวังว่ำรำยงำนประจ ำปีเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ ต่อหน่วยงำนและผู้ที่เกี่ยวข้อง โดยสำมำรถใช้ข้อมูลเป็นประโยชน์ในกำรพัฒนำงำนด้ำนสำธำรณสุข และงำนอื่น ๆ สุดท้ำยนี้ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในกำรจัดท ำรำยงำนประจ ำปีส ำนักงำน สำธำรณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ให้ส ำเร็จลุล่วงด้วยดี ส ำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดศรีสะเกษ พฤษภำคม 2566


ข สารบัญ เรื่อง ค าน า ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดศรีสะเกษ 1.1.1 ประชากร 1 1.1.2 การปกครอง 3 1.1.3 ทรัพยากรสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 4 1.1.4 บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข 6 1.2 ข้อมูลสถานะสุขภาพ 1.2.1 สถิติชีพ 7 1.2.2 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากรจังหวัดศรีสะเกษ 7 1.2.3 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก 8 1.2.4 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยใน 9 1.2.5 สาเหตุการตาย 10 1.2.6 โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 11 ส่วนที่ 2 แผนยุทธศาสตร์ นโยบายส าคัญ ที่เกี่ยวข้อง 2.1 ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศกระทรวงสาธารณสุข ปี 2565 13 2.2 นโยบายมุ่งเน้นกระทรวงสาธารณสุข ปี 2565 15 2.3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 16 2.4 ยุทธศาสตร์ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 16 ส่วนที่ 3 ผลการด าเนินงานส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 3.1) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ 17 3.2) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ 79 3.3) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด 158 3.4) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย 256


ข 3.5) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ 286 3.6) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข 313 3.7) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานทันตสาธารณสุข 365 3.8) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 375 3.9) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานบริหารทั่วไป 391 3.10) ผลการด าเนินงานกลุ่มกฎหมาย 396 3.11) ผลการด าเนินงานกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข 400


ค สารบัญตาราง เรื่อง หน้า ตารางที่ 1 ประชากรแยกชาย-หญิง จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2564 2 ตารางที่ 2 เขตการปกครองและส่วนท้องถิ่น จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ 3 ตารางที่ 3 จ านวนสถานบริการสุขภาพของรัฐ เอกชน คลินิก และร้านขายยาจ าแนกราย อ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ 5 ตารางที่ 4 จ านวนบุคลากรทางการแพทย์แยกตามสถานที่ปฏิบัติงานจังหวัดศรีสะเกษ 6 ตารางที่ 5 สถิติชีพของประชากร จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2559 – 2564 7 ตารางที่ 6 จ านวนและอัตราป่วยต่อแสนประชากรของผู้ป่วยนอกจังหวัดศรีสะเกษ จ าแนกตาม 298 กลุ่มโรค ปี พ.ศ. 2559-2564 8 ตารางที่ 7 จ านวนและอัตราป่วยต่อแสนประชากรของผู้ป่วยในจังหวัดศรีสะเกษ จ าแนกตาม 298 กลุ่มโรค 10 ล าดับแรก ปี พ.ศ. 2561 – 2564 9 ตารางที่ 8 จ านวนและอัตราตายต่อแสนประชากรจังหวัดศรีสะเกษ จ าแนกตามสาเหตุ การตาย 10 ล าดับแรก ปี พ.ศ. 2558 – 2564 10 ตารางที่ 9 จ านวน อัตราป่วยและอัตราตายต่อแสนประชากรด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก ปี พ.ศ. 2564 12 ตารางที่ 10 แสดงจ านวนผู้ต้องขังรายเรือนจ าและการลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพ เดือนกันยายน 2565 19 ตารางที่ 11 แสดง 5 อันดับผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ า อ าเภอกันทรลักษ์ 19 ตารางที่ 12 แสดงอันดับผู้ป่วยโรคติดต่อในเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ า อ าเภอกันทรลักษ์ 20 ตารางที่ 13 ผลการด าเนินงานการอบรม อสรจ. ในเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ 20 ตารางที่ 14 แสดงจ านวนพยาบาลประจ าสถานพยาบาลในเรือนจ า หรือพยาบาลจาก โรงพยาบาลแม่ข่ายที่ผ่านการอบรม/ประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประจ าปี 2565 21 ตารางที่ 15 แสดงรายงานผลการให้บริการขั้นพื้นฐานที่ผู้ต้องขังควรได้รับในสถานพยาบาล เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ 22 ตารางที่ 16 แสดงผลการให้บริการสุขภาพช่องปากในสถานพยาบาลเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และสถานพยาบาลเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ 28 ตารางที่ 17 จ าแนกผู้ต้องขังป่วยจิตเวชตามคดี 33


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 18 การด าเนินงานให้บริการสุขภาพจิตในเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ/กันทรลักษ์ 34 ตารางที่ 19 ข้อมูลคดีทางเพศ 35 ตารางที่ 20 ผลการให้บริการคัดกรองค้นหาวัณโรคด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอก ในเรือนจ า จังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ 36 ตารางที่ 21 แสดงข้อมูลการคัดกรอง เอชไอวี ในกลุ่มผู้ต้องขังแรกรับ ในสถานพยาบาลเรือนจ า จังหวัดศรีสะเกษ และสถานพยาบาลเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ 37 ตารางที่ 22 แสดงสาเหตุการตายมารดา ปีงบประมาณ 2565 38 ตารางที่ 23 แสดงสภาวะสุขภาพของมารดา-ทารก จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2561 – 2565 39 ตารางที่ 24 แสดงผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก ตามกลุ่มอายุ 9 18 30 42 60 เดือน ย้อนหลัง 5 ปี 45 ตารางที่ 25 ข้อมูลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก อายุ 9,18,30,42,60 เดือน 45 ตารางที่ 26 ข้อมูลการคัดกรองภาวะโลหิตจาง เด็กอายุ 6-12 เดือน และ อายุ 2-5 ปี จังหวัดศรีสะเกษ 46 ตารางที่ 27 กระบวนการ/มาตรการ/ระบบบริหารจัดการและขับเคลื่อนการด าเนินงาน 47 ตารางที่ 28 รายชื่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้นแบบการสริมสร้างสุขภาวะทางกาย ส่งเสริม พัฒนาการ และการสร้างวินัย เชิงบวกในเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ปี และส่งเสริมการ เรียนรู้เพื่อการพัฒนาทักษะทางสมอง (Executive Function) และศูนย์แห่งการ เรียนรู้เด็กไทยเล่นเปลี่ยนโลก จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2565 51 ตารางที่ 29 ตัวชี้วัดประเด็นการตรวจราชการ ร้อยละเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน 54 ตารางที่ 30 ร้อยละเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน จังหวัดศรีสะเกษ ย้อนหลัง 3 ปี 55 ตารางที่ 31 ตัวชี้วัด เป้าหมายอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปีต่อพันประชากร (ปี 2565 ไม่เกิน 25) 58 ตารางที่ 32 อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15 -19 ปี (เป้าหมายไม่เกิน 25 ต่อพันประชากร) ปีงบประมาณ 2565 58 ตารางที่ 33 ตัวชี้วัด เป้าหมายจ านวนคนมีความรอบรู้สุขภาพ 60 ตารางที่ 34 ผลการคัดกรองความดันโลหิตในพระภิกษุสงฆ์ และสามเณร 63 ตารางที่ 35 พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงฆ์ของพระสงฆ์แยกรายอ าเภอ 65 ตารางที่ 36 แสดงจ านวนและร้อยละของกลุ่มช่วงอายุ 60 ปี ขึ้นไปจังหวัดศรีสะเกษ 66


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 37 แสดงจ านวนและร้อยละของผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินความสามารถ ในกิจวัตร ประจ าวัน (ADLs) แยกรายอ าเภอ 67 ตารางที่ 38 จ านวนเป้าหมายการส ารวจพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของประชากรสูงอายุ ปี 2565 จ าแนกรายอ าเภอ 70 ตารางที่ 39 แสดง ต าบล Long Term Care ในชุมชนผ่านเกณฑ์ตามเกณฑ์กรมอนามัย และ จ านวน CM CG 72 ตารางที่ 40 ร้อยละการเขียน Care Plan ปี พ.ศ. 2564 : จากโปรแกรม LTC กรมอนามัย 73 ตารางที่ 41 ผลการด าเนินงานตัวชี้วัดของผู้สูงอายุ 75 ตารางที่ 42 แสดงผลการคัดกรอง สุขภาพผู้สูงอายุตามชุดสิทธิประโยชน์ 77 ตารางที่ 43 ตัวชี้วัด เป้าหมายโครงการพัฒนาการด าเนินงานวัณโรค จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2565 80 ตารางที่ 44 สรุปผลการคัดกรองค้นหาผู้ป่วยวัณโรคใน 7 กลุ่มเสี่ยง ด้วยการถ่ายภาพรังสี ทรวงอก (CXR) 81 ตารางที่ 45 สรุปผลการด าเนินงานคัดกรองวัณโรคด้วยการตรวจ AFB และตรวจด้วย Xpert MTB/RIF ใน 7 กลุ่มเสี่ยง 82 ตารางที่ 46 สรุปผลการด าเนินงานคัดกรองวัณโรค ใน 7 กลุ่มเสี่ยง ที่ได้รับการรักษาวัณโรค ระยะแฝง 82 ตารางที่ 47 อัตราความส าเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่ (Success rate) ที่ขึ้น ทะเบียน ในไตรมาสที่ 1 ของปีงบประมาณ 2565 (1 ตุลาคม – 31 ธันวาคม 2564) (เป้าหมาย ร้อยละ 88) 85 ตารางที่ 48 การประเมินผลเมื่อสิ้นสุดการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ า ปี 2564 86 ตารางที่ 49 ตัวชี้วัด เป้าหมายโครงการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จ.ศรีสะเกษ ปี 2565 90 ตารางที่ 50 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานการป้องกันโรคด้วยวัคซีน ประจ าปีงบประมาณ 2565 92 ตารางที่ 51 ตัวชี้วัด เป้าหมายโครงการการด าเนินงานควบคุมป้องกันโรคเรื้อน 96 ตารางที่ 52 จ านวนผู้ป่วยโรคเรื้อน จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ. 2556 – 2565 97 ตารางที่ 53 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหาร และน้ า จ.ศรีสะเกษ ปี 2565 100


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 54 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานโครงการป้องกันควบคุมโรคมือเท้าปาก จ.ศรีสะเกษ ปี 2565 105 ตารางที่ 55 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานโครงการควบคุมป้องกันโรคหนอนพยาธิ ปีงบประมาณ 2565 109 ตารางที่ 56 อัตราความชุกโรคพยาธิใบไม้ตับ จ าแนกรายอ าเภอ จ.ศรีสะเกษ ปี 2563-2565 110 ตารางที่ 57 ผลการตรวจพยาธินักเรียนในโรงเรียนตามพระราชด าริฯ จ.ศรีสะเกษ ปี 2565 113 ตารางที่ 58 ผลการตรวจพยาธิในต าบลเป้าหมาย ปี 2565 จังหวัดศรีสะเกษ 114 ตารางที่ 59 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานโครงการ“วาระคนศรีสะเกษสุขภาพดี ปลอดโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ าดี สู่การท่องเที่ยววิถีใหม่ มีวัคซีนใจ ไม่ฆ่าตัวตาย ” ปีงบประมาณ 2565 118 ตารางที่ 60 อัตราความชุกโรคพยาธิใบไม้ตับ จ าแนกรายอ าเภอ จ.ศรีสะเกษ ปี 2563-2565 119 ตารางที่ 61 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และ สาธารณสุข 122 ตารางที่ 62 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานพัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา 132 ตารางที่ 63 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานยุติปัญหาเอดส์ 135 ตารางที่ 64 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานยุติปัญหาโรคไวรัสตับอักเสบ บีและซี 137 ตารางที่ 65 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานยุติปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 139 ตารางที่ 66 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานสาธารณภัยจังหวัดศรีสะเกษ 141 ตารางที 67 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานสาธารณภัยจังหวัดศรีสะเกษ 143 ตารางที่ 68 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานการป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า 146 ตารางที่ 69 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานกฎอนามัยระหว่างประเทศ (IHR) และงานสาธารณสุข ชายแดน ประจ าปี 2565 151 ตารางที่ 70 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก 155 ตารางที่ 71 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้มาลาเรีย 157 ตารางที่ 72 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงานรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด TO BE NUMBER ONE จังหวัดศรีสะเกษ 161 ตารางที่ 73 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานยาเสพติด 166 ตารางที่ 74 ผู้ป่วยยาเสพติดแบบสมัครใจบ าบัดเข้ารับการบ าบัดรักษาและได้รับการติดตามดูแล อย่างต่อเนื่อง 1 ปี (Retention Rate) 166


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 75 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานป้องกันควบคุมโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง 172 ตารางที่ 76 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยเบาหวาน จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2565 172 ตารางที่ 77 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวานจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2565 173 ตารางที่ 78 ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ าตาลได้ดีจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2565 174 ตารางที่ 79 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองเพื่อวินิจฉัยความดันโลหิต สูงจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2565 175 ตารางที่ 80 ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2565 177 ตารางที่ 81 ร้อยละผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปี 2565 178 ตารางที่ 82 ร้อยละของผู้ป่วย DM และ/หรือ HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง ปี 2565 179 ตารางที่ 83 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานสนับสนุนการควบคุมการบริโภคยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ จังหวัดศรีสะเกษ 183 ตารางที่ 84 การด าเนินการบังคับใช้กฎหมาย กรณีมีประชาชนร้องเรียนการไม่ปฏิบัติ ตามหรือฝ่าฝืนกฎหมายพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. 2560 และพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ.2551 ของร้านค้า ร้านอาหาร และสถานประกอบการ 184 ตารางที่ 85 การด าเนินการตรวจเตือน เฝ้าระวัง และบังคับใช้กฎหมายของหน่วย ATCU ระดับอ าเภอ 185 ตารางที่ 86 สถานศึกษาในจังหวัดศรีสะเกษ ได้ด าเนินการตามมาตรการสถานศึกษาปลอดบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และได้บันทึกผลการด าเนินงานผ่านระบบบริการ ออนไลน์ (E-Service) ส าหรับสถานศึกษา เพื่อด าเนินการสถานศึกษาปลอดบุหรี่ และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 186 ตารางที่ 87 ข้อมูลการคัดกรองผู้สูบบุหรี่จ าแนกเป็นรายอ าเภอ 186 ตารางที่ 88 ข้อมูลการคัดกรองผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จ าแนกเป็นรายอ าเภอ 187


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 89 ข้อมูลสร้างมาตรการท าให้ชุมชนปลอดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 188 ตารางที่ 90 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานลดป่วย ลดตาย และการสร้างความมั่นคงทางสุขภาพ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดหัวใจ 193 ตารางที่ 91 ตัวชี้วัด : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ปี 2565 193 ตารางที่ 92 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานลดป่วย ลดตาย และการสร้างความมั่นคงทางสุขภาพ ผู้ป่วย โรคหลอดเลือดหัวใจ 196 ตารางที่ 93 อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจ ปี 2565 196 ตารางที่ 94 อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI ปี 2565 197 ตารางที่ 95 แสดงผลการด าเนินงานคัดกรองมะเร็งปากมดลูกกลุ่มอายุ 30-60 ปี ด้วยวิธี PAP Smear จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2565 201 ตารางที่ 96 ผลการด าเนินงานคัดกรองมะเร็งเต้านม ในสตรีอายุ 30-70 ปี จังหวัดศรีสะเกษ จ าแนกรายอ าเภอ ปีงบประมาณ 2565 203 ตารางที่ 97 ผลการด าเนินงานคัดกรองมะเร็งล าไส้ด้วยวิธี Fit test ในประชากร กลุ่มอายุ 50-70 ปี จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2565 208 ตารางที่ 98 ผลงานการคัดกรองมะเร็งท่อน้ าดี ด้วยเครื่องอัลตร้าซาวด์ จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2565 213 ตารางที่ 99 อัตราตายโรคมะเร็งตับและมะเร็งท่อน้ าดี จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2565 216 ตารางที่ 100 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานสุขภาพจิตผู้ใหญ่ 220 ตารางที่ 101 แสดงผลการด าเนินงานการฆ่าตัวตายส าเร็จรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่าง 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565 221 ตารางที่ 102 แสดงข้อมูลผู้พยายามท าร้ายตนเอง และผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับมาท าร้าย ตัวเองซ้ าใน 1 ปี รายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่าง 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565 222 ตารางที่ 103 แสดงผลการด าเนินงาน ร้อยละผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต รายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่าง 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565 223 ตารางที่ 104 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น 229 ตารางที่ 105 แสดงผลการด าเนินงาน อัตราการเข้าถึงโรคสมาธิสั้น รายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่าง 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565 229


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 106 แสดงผลการด าเนินงาน อัตราการเข้าถึงโรคออทิสติก รายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ระหว่าง 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565 230 ตารางที่ 107 แสดงผลการด าเนินงาน กระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA 4I รายอ าเภอ จังหวัด ศรีสะเกษระหว่าง 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565 231 ตารางที่ 108 ข้อมูลการให้บริการช่วยเหลือผู้ถูกกระท ารุนแรงและตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ในพื้นที่ จังหวัดศรีสะเกษปีงบประมาณ 2560 – 2565 236 ตารางที่ 109 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินจังหวัดศรีสะเกษ ปีงบประมาณ 2565 238 ตารางที่ 110 แสดงอัตราการเสียชีวิตผู้เจ็บป่วยวิกฤติฉุกเฉินภายใน 24 ชั่วโมง 239 ตารางที่ 111 แสดงอัตราการเสียชีวิตผู้ป่วย Severe Traumatic Brain Injury 240 ตารางที่ 112 ร้อยละของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินที่เข้าถึงระบบบริการโดย EMS (ต.ค.- ก.ย. 2565) 241 ตารางที่ 113 แสดงจ านวนและอัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนศรีสะเกษจ าแนกรายอ าเภอ ปี 2565 246 ตารางที่ 114 ผลการด าเนินงานตามมาตรการและแนวทางการด าเนินงานการป้องกันและแก้ไข ปัญหาอุบัติเหตุทางถนน 246 ตารางที่ 115 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการจมน้ า จังหวัดศรีสะเกษ 250 ตารางที่ 116 ผลการด าเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการจมน้ า จังหวัดศรีสะเกษ 250 ตารางที่ 117 รายงานการตกน้ า จมน้ า ในกลุ่มอายุ 0 - 14 ปี จังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ. 2565 251 ตารางที่ 118 ตัวชี้วัด เป้าหมายร้อยละของผู้ป่วย Intermediate care 253 ตารางที่ 119 ผลการด าเนินงานร้อยละของผู้ป่วย Intermediate care 253 ตารางที่ 120 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital 257 ตารางที่ 121 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานจังหวัดมีการขับเคลื่อนการด าเนินงาน อาหารปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ 260 ตารางที่ 122 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานกฎหมายสาธารณสุข ตามพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2560 262 ตารางที่ 123 ผลลัพธ์การด าเนินงานตามมาตรฐานกระบวนการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ที่ขอรับการรับรอง 264


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 124 ตัวชี้วัด เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น (Environmental Health Accreditation: EHA) 265 ตารางที่ 125 ผลการด าเนินงานเทศบาลผ่านการประเมิน EHA 1001-9005 ในระดับพื้นฐานขึ้นไป 265 ตารางที่ 126 เกณฑ์การให้คะแนนการประเมินรับรอง EHA องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 270 ตารางที่ 127 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานองค์การบริหารส่วนต าบลมีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อท้องถิ่นชุมชนน่าอยู่ (GREEN and Healthy Communities) 272 ตารางที่ 128 ผลการด าเนินงานองค์การบริหารส่วนต าบลจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อท้องถิ่น ชุมชนน่าอยู่ 272 ตารางที่ 129 แนวทางการตรวจราชการเขตสุขภาพที่ 10 ประจ าปีงบประมาณ 2565 เรื่อง ที่เป็นปัญหาส าคัญในพื้นที่ (Area based) ประเด็น : การจัดการสิ่งปฏิกูล ให้ถูกหลักสุขาภิบาล 277 ตารางที่ 130 Small Success การจัดการสิ่งปฏิกูลให้ถูกหลักสุขาภิบาล 278 ตารางที่ 131 Small Success โครงการก าจัดปัญหาพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ าดี 279 ตารางที่ 132 จ านวนอ าเภอที่มีระบบบ าบัดสิ่งปฏิกูล 280 ตารางที่ 133 จ านวนอ าเภอที่มีแผนก่อสร้างระบบบ าบัดสิ่งปฏิกูล 280 ตารางที่ 134 ผลการด าเนินงานประเมินระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อมส าหรับองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (EHA) ที่มีระบบบ าบัดสิ่งปฏิกูล 282 ตารางที่ 135 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลกสนด าเนินงานลดแออัด ลดรอคอย ลดป่วย ลดตาย 287 ตารางที่ 136 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานร้อยละของผู้ป่วย Stroke, Traumatic Brain Injury และ Spinal Cord Injury 290 ตารางที่ 137 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานตัวชี้วัด สาขามะเร็ง 293 ตารางที่ 138 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานตัวชี้วัดงานลดแออัด ลดรอคอย ลดป่วย ลด ตายสาขาทารกแรกเกิด 295 ตารางที่ 139 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานลดแออัด ลดรอคอย ลดป่วย ลดตาย สาขา อุบัติเหตุ 300 ตารางที่ 140 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานระบบบริการก้าวหน้า 302 ตารางที่ 141 ตัวชี้วัด เป้าหมายโครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) จังหวัดศรีสะเกษ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 303


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 142 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ 305 ตารางที่ 143 ข้อมูลกิจกรรมที่ 1 การพิจารณาจริยธรรมการวิจัย 308 ตารางที่ 144 ข้อมูลกิจกรรมที่ 3 การประชุมและน าเสนอผลงานวิชาการด้านสาธารณสุข 310 ตารางที่ 145 ข้อมูลตัวชี้วัด เกณฑ์การประเมิน RDU hospital 313 ตารางที่ 146 ผลการด าเนินงาน RDU ไตรมาส 4 317 ตารางที่ 147 เกณฑ์การประเมิน RDU community และ RDU in Private sectors 322 ตารางที่ 148 สรุปผลการประเมินติดตามกิจกรรมที่ 5 การสร้างความรอบรู้ด้านการใช้ยา อย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use Literacy) 327 ตารางที่ 149 เปรียบเทียบระดับความส าเร็จการด าเนินงานเภสัชกรรมปฐมภูมิ แยกรายประเด็น ปี 2562 – 2564 334 ตารางที่ 150 ผลการตรวจการใช้วัตถุเจือปนอาหาร วัตถุกันเสีย (เบนโซอิก) 359 ตารางที่ 151 ผลการด าเนินงานควบคุมก ากับมาตรฐานสถานพยาบาลเอกชน สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ 360 ตารางที่ 152 ผลการด าเนินงานการจัดการเรื่องร้องเรียนด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ปี 2565 361 ตารางที่ 153 หน่วยบริการสุขภาพช่องปาก 365 ตารางที่ 154 จ านวนทันตบุคลากรในจังหวัด 365 ตารางที่ 155 ข้อมูลสถานการณ์สภาวะสุขภาพช่องปากประชาชนจังหวัดศรีสะเกษ ในช่วง ระหว่างปี พ.ศ. 2562 -2565 366 ตารางที่ 156 ผลการด าเนินงานตามตัวชี้วัดกระทรวง/กรม/เขต/จังหวัดงานทันตสาธารณสุข 367 ตารางที่ 157 แสดงข้อมูลผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการใส่ฟันเทียมพระราชทานใน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ปีงบประมาณ 2565 367 ตารางที่ 158 แสดงร้อยละของ รพ.สต./ศสม.ที่จัดบริการสุขภาพช่องปากที่มีคุณภาพ ปีงบประมาณ 2565 369 ตารางที่ 159 แสดงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบลที่เข้าร่วมโครงการและมีการด าเนินการ ต่อเนื่อง 383 ตารางที่ 160 การให้บริการด้านการแพทย์แผนไทย ประจ าเดือน มีนาคม - กันยายน 2565 384 ตารางที่ 161 ตัวชี้วัด เป้าหมายงานตรวจสอบและควบคุมภายใน 391 ตารางที่ 162 ผลการด าเนินงานตรวจสอบและควบคุมภายใน 391


ค เรื่อง หน้า ตารางที่ 163 มาตรการในการด าเนินงานตรวจสอบและควบคุมภายใน 392 ตารางที่ 164 ปัญหาอุปสรรคในการด าเนินงานตรวจสอบและควบคุมภายใน 394 ตารางที่ 165 แนวทางการพัฒนางานในปีถัดไปงานตรวจสอบและควบคุมภายใน 394 ตารางที่ 166 การด าเนินงานทางคดี 396 ตารางที่ 167 งานส่งเสริมพัฒนาและบริการด้านกฎหมาย 397 ตารางที่ 168 งานนิติกรรมสัญญา 397 ตารางที่ 169 งานวินัย 398 ตารางที่ 170 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการด าเนินงานสาธารณสุขชายแดน 401


ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป


1 | P a g e ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1.1 ข้อมูลทั่วไปจังหวัดศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างหรือเรียกว่า “อีสานใต้” มีพื้นที่ประมาณ 8,839.90 ตารางกิโลเมตร หรือ 5,524,987.5 ไร่ ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์ประมาณ 571 กิโลเมตร ทางรถไฟประมาณ 551 กิโลเมตรมีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดยโสธร และจังหวัดร้อยเอ็ด ทิศใต้ ติดต่อกับประเทศกัมพูชาประชาธิปไตย ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสุรินทร์ รูป แผนที่จังหวัดศรีสะเกษ 1.1.1 ประชากร จังหวัดศรีสะเกษมีประชากรรวม 1,457,556คน ชาย 725,426 คน หญิง 732,130 คน ความหนาแน่น ของประชากร 165 คน/ตารางกิโลเมตร


2 | P a g e รูป ปิรามิดประชากร จังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ. 2564 ที่มา : รายงานข้อมูลประชากร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 ตารางที่ 1 ประชากรแยกชาย-หญิง จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2564 ที่ อ าเภอ จ านวนประชากร (คน) ชาย หญิง รวม 1 อ าเภอเมืองศรีสะเกษ 66,999 71,44 138,143 2 อ าเภอยางชุมน้อย 18,005 17,972 35,977 3 อ าเภอกันทรารมย์ 49,407 49,982 99,389 4 อ าเภอกันทรลักษ์ 100,503 101,018 201,521 5 อ าเภอขุขันธ์ 74,370 75,313 149,683 6 อ าเภอไพรบึง 23,575 23,793 47,368 7 อ าเภอปรางค์กู่ 32,978 33,267 66,245 8 อ าเภอขุนหาญ 53,186 53,721 106,907 9 อ าเภอราษีไศล 39,779 40,083 79,862 10 อ าเภออุทุมพรพิสัย 52,102 52,847 104,949 11 อ าเภอบึงบูรพ์ 5,163 5,311 10,474 12 อ าเภอห้วยทับทัน 21,181 21,061 42,242 13 อ าเภอโนนคูณ 19,872 19,613 39,485


3 | P a g e ที่ อ าเภอ จ านวนประชากร (คน) ชาย หญิง รวม 14 อ าเภอศรีรัตนะ 26,454 26,769 53,223 15 อ าเภอน้ าเกลี้ยง 22,456 21,936 44,392 16 อ าเภอวังหิน 25,460 25,076 50,536 17 อ าเภอภูสิงห์ 27,561 27,218 54,779 18 อ าเภอเมืองจันทร์ 9,010 8,802 17,812 19 อ าเภอเบญจลักษ์ 18,194 17,831 36,025 20 อ าเภอพยุห์ 17,342 17,760 35,102 21 อ าเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ 11,902 11,806 23,708 22 อ าเภอศิลาลาด 9,927 9,807 19,734 รวม 725,426 732,130 1,457,556 ที่มา : รายงานข้อมูลประชากร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 1.1.2 การปกครอง - การปกครองส่วนภูมิภาค จังหวัดศรีสะเกษ ประกอบด้วย 22 อ าเภอ 206 ต าบล 2,848 หมู่บ้าน - การปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดศรีสะเกษ ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง เทศบาลต าบล 35 แห่ง องค์การบริหารส่วนต าบล 179 แห่ง ตารางที่ 2 เขตการปกครองและส่วนท้องถิ่น จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ที่ อ าเภอ จ านวนเทศบาล เมือง/เทศบาล ต าบล จ านวน อบต. จ านวน ต าบล จ านวน หมู่บ้าน จ านวน ประชากร จ านวน หลังคาเรือน 1 เมืองศรีสะเกษ 1/1 15 18 250 138,143 51,269 2 ยางชุมน้อย 1 6 7 80 35,977 10,052 3 กันทรารมย์ 1 16 16 176 99,389 27,729 4 กันทรลักษ์ 1/2 18 20 333 20,1521 59,261 5 ขุขันธ์ 2 21 22 280 149,683 37,860 6 ไพรบึง 2 5 6 84 47,368 12,063 7 ปรางค์กู่ 1 10 10 147 66,245 16,514 8 ขุนหาญ 6 7 12 154 106,907 28,604 9 ราษีไศล 3 11 13 196 79,862 22,394 10 อุทุมพรพิสัย 5 15 19 240 104,949 27,879 11 บึงบูรพ์ 1 1 2 25 10,474 2,923


4 | P a g e ที่ อ าเภอ จ านวนเทศบาล เมือง/เทศบาล ต าบล จ านวน อบต. จ านวน ต าบล จ านวน หมู่บ้าน จ านวน ประชากร จ านวน หลังคาเรือน 12 ห้วยทับทัน 2 5 6 82 42,242 10,100 13 โนนคูณ 0 5 5 81 39,485 11,220 14 ศรีรัตนะ 1 7 7 93 53,223 13,074 15 น้ าเกลี้ยง 0 6 6 84 44,392 11,333 16 วังหิน 2 6 8 126 50,536 12,386 17 ภูสิงห์ 0 7 7 86 54,779 16,020 18 เมืองจันทร์ 2 1 3 63 17,812 4,434 19 เบญจลักษ์ 0 5 5 67 36,025 9,323 20 พยุห์ 1 5 5 72 35,102 9,739 21 โพธิ์ศรีสุวรรณ 2 3 5 85 23,708 5,698 22 ศิลาลาด 0 4 4 44 19,734 5,400 รวม 2/35 179 206 2,848 1,457,556 405,275 ที่มา : รายงานข้อมูลประชากร กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 1.1.3 ทรัพยากรสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ - สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ - โรงพยาบาลศูนย์ (A) จ านวน 1 แห่ง - โรงพยาบาลทั่วไป (M1) จ านวน 1 แห่ง - โรงพยาบาลชุมชน ขนาด 120 เตียงขึ้นไป (M2) จ านวน 3 แห่ง - โรงพยาบาลชุมชนขนาดใหญ่ ขนาด 90-120 เตียง (F1) จ านวน 2 แห่ง - โรงพยาบาลชุมชนขนาดกลาง ขนาด 30-90 เตียง (F2) จ านวน 14 แห่ง - โรงพยาบาลชุมชนขนาดเล็ก ขนาด 30 เตียง (F3) จ านวน 1 แห่ง - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล จ านวน 253 แห่ง - ส านักงานสุขภาพชุมชน จ านวน 1 แห่ง - ศูนย์บริการสาธารณสุข จ านวน 5 แห่ง - สถานพยาบาลเรือนจ า จ านวน 2 แห่ง - สถานบริการสาธารณสุขภาคเอกชน - โรงพยาบาลเอกชน จ านวน 2 แห่ง - คลินิกแพทย์ จ านวน 124 แห่ง


5 | P a g e - คลินิกทันตกรรม จ านวน 34 แห่ง - คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ จ านวน 92 แห่ง - คลินิกกายภาพบ าบัด จ านวน 8 แห่ง - คลินิกแพทย์แผนไทย จ านวน 6 แห่ง - เทคนิคการแพทย์ จ านวน 6 แห่ง - แพทย์แผนจีน จ านวน 2 แห่ง - สหคลินิก/แผนไทยประยุกต์ จ านวน 2 แห่ง - ร้านขายยาและสถานที่ผลิตยา - ร้านขายยาแผนปัจจุบัน จ านวน 133 แห่ง - ร้านขายยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ จ านวน 34 แห่ง - ร้านขายยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จส าหรับสัตว์ จ านวน 9 แห่ง - ร้านขายยาแผนโบราณ จ านวน 9 แห่ง - สถานที่ผลิตยาแผนโบราณ จ านวน 1 แห่ง ตารางที่ 3 จ านวนสถานบริการสุขภาพของรัฐ เอกชน คลินิก และร้านขายยา จ าแนกรายอ าเภอ จังหวัดศรีสะเกษ ที่ อ าเภอ โรงพยาบาล รพ.สต. คลินิก ร้านขายยา/ผลิตยา ประเภท เตียง แผนโบราณ (ตามกรอบ) เตียงจริง 1 เมืองศรีสะเกษ A 700 788 17 110 52 2 ยางชุมน้อย F2 30 34 6 8 3 3 กันทรารมย์ F1 90 125 17 10 14 4 กันทรลักษ์ M1 200 210 33 49 26 5 ขุขันธ์ M2 130 135 27 24 14 6 ไพรบึง F2 30 34 7 5 3 7 ปรางค์กู่ F2 60 60 13 6 6 8 ขุนหาญ F1 90 94 19 10 12 9 ราษีไศล M2 90 94 13 11 14 10 อุทุมพรพิสัย M2 120 130 21 15 19 11 บึงบูรพ์ F2 30 30 2 1 2 12 ห้วยทับทัน F2 30 33 8 4 2 13 โนนคูณ F2 30 33 8 1 1 14 ศรีรัตนะ F2 30 40 8 7 5


6 | P a g e ที่ อ าเภอ โรงพยาบาล รพ.สต. คลินิก ร้านขายยา/ผลิตยา ประเภท เตียง แผนโบราณ (ตามกรอบ) เตียงจริง 15 น้ าเกลี้ยง F2 30 32 7 3 0 16 วังหิน F2 30 34 8 3 0 17 ภูสิงห์ F2 30 39 9 8 5 18 เมืองจันทร์ F2 30 32 4 6 0 19 เบญจลักษ์ F2 30 30 6 8 1 20 พยุห์ F2 30 30 8 5 3 21 โพธิ์ศรีสุวรรณ F2 30 30 6 3 4 22 ศิลาลาด F3 30 30 5 2 1 รวม 1,990 2,218 253 299 186 ที่มา : 1. กองบริหารการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ มิถุนายน 2564 2. กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคและเภสัชสาธารณสุข ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565 1.1.4 บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข จังหวัดศรีสะเกษ มีบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข ทั้งหมดจ านวน 4,108 คน โดยมีวิชาชีพหลัก ได้แก่แพทย์จ านวน 452 คน ทันตแพทย์จ านวน 127 คน เภสัชกรจ านวน 197 คน พยาบาลวิชาชีพ จ านวน 2,443 คน และนักวิชาการสาธารณสุข 889 คน โดยมีอัตราส่วนบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขต่อประชากร ดังนี้ ตารางที่ 4 จ านวนบุคลากรทางการแพทย์แยกตามสถานที่ปฏิบัติงานจังหวัดศรีสะเกษ ประเภทบุคลากร จ านวนบุคลากรจ าแนกตามหน่วยงาน สักส่วนต่อ ประชากรจังหวัด ศรีสะเกษ สัดส่วนต่อ ประชากร ประเทศไทย สสจ. รพศ. รพท. รพช. สสอ./ รพ.สต. รวม แพทย์ 2 154 46 250 - 452 1 : 3,225 1 : 1,794 ทันตแพทย์ 4 21 13 89 - 127 1 : 11477 1 : 8,562 เภสัชกร 14 40 19 124 - 197 1 : 7,399 1 : 4,273 พยาบาลวิชาชีพ 6 789 223 1,119 306 2,443 1 : 597 1 : 371 นักวิชาการสาธารณสุข 66 16 11 102 694 889 1 : 1,640 - รวม 92 1,020 312 1,684 1,000 4,108 - - ที่มา : 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการบุคลากรสาธารณสุข (HROPS) กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคคล ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูล ณ วันที่ 1 เมษายน 2565 2. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564


7 | P a g e 1.2 ข้อมูลสถานะสุขภาพ 1.2.1 สถิติชีพ ข้อมูลสถิติชีพของจังหวัดศรีสะเกษ พบว่า อัตราการเกิดมีชีพต่อพันประชากร ในปี 2559-2564 เท่ากับ 7.94, 7.59, 7.15, 6.86, 6.67 และ 6.44 ตามล าดับ โดยในปี 2559-2564 มีแนวโน้มลดลง อัตราตายต่อพัน ประชากร ในปี 2559-2564 เท่ากับ 6.28, 6.29, 6.17, 6.80 6.64 และ 7.34 ตามล าดับ มีแนวโน้มสูงขึ้น อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ ในปี 2559-2564 เท่ากับ 0.17, 0.13, 0.10, 0.01, 0.00 และ -0.50 ตามล าดับ โดย ในปี 2559-2564 มีแนวโน้มลดลง อัตราตายของทารกต่อพันการเกิดมีชีพ ในปี 2559-2564 เท่ากับ 4.91, 4.87, 5.92, 4.39, 5.29 และ 4.47 ตามล าดับ และอัตรามารดาตายต่อแสนการเกิดมีชีพ ในปี 2559-2564 เท่ากับ 7.77, 17.95, 12.16, 0, 35.68 และ 33.66 ตามล าดับ ตารางที่ 5 สถิติชีพของประชากร จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2559 – 2564 สถิติชีพ จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 อัตราเกิดมีชีพ : พัน ปชก. 11,658 (7.94) 11,163 (7.59) 10,516 (7.15) 10,103 (6.86) 9,826 (6.67) 9,384 (6.44) อัตราตาย : พัน ปชก. 9,229 (6.28) 9,240 (6.29) 9,077 (6.17) 10,002 (6.80) 9,784 (6.64) 10,700 (7.34) อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ 2,429 (0.17) 1,923 (0.13) 1,439 (0.10) 101 (0.01) 42 (0.00) -1,316 (-0.50) อัตราตายทารกต่อพันการเกิด มีชีพ 43 (4.91) 38 (4.87) 53 (5.92) 45 (4.39) 52 (5.29) 41 (4.47) อัตราตายมารดาต่อแสนการเกิดมีชีพ 3 (7.77) 2 (17.95) 1 (12.16) 0 (0) 2 (35.68) 4 (33.66) ที่มา : 1. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 2. รายงานข้อมูลพื้นฐานจากระบบ HDC ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 1.2.2 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดของประชากรจังหวัดศรีสะเกษ ประชากรจังหวัดศรีสะเกษมีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด (Life expectancy at birth) ในช่วง ปี 2553 -2564 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในปี 2654 ประชากรจังหวัดศรีสะเกษ มีอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดอายุ 78.58 ปี ; ชายอายุ 75.2 ปี หญิงอายุ 82.14 ปี ซึ่งสูงกว่าอายุคาดเฉลี่ยระดับประเทศ (เพศชาย 73.5 ปี, เพศหญิง อายุ 80.5 ปี)


8 | P a g e กราฟ แสดงอายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิดจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2558-2564 ที่มา : 1. ส านักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาไทย ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 2. ข้อมูลสถิติสาธารณสุข ปี พ.ศ. 2564 กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ส านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 1.2.3 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอก สาเหตุการป่วยของประชากรจังหวัดศรีสะเกษ ที่รับบริการในหน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐในสังกัด ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 10 อันดับแรก ปี พ.ศ. 2564 จ าแนกตามประเภทผู้ป่วยนอก พบว่า สาเหตุ การป่วยของผู้ป่วยนอกที่พบมากที่สุด คือ ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุน า 26,724.46 ต่อแสนประชากร การติดเชื้อ ของทางเดินหายใจส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 21,026.91 ต่อแสนประชากร เนื้อเยื่อผิดปกติ 20,453.62 ต่อแสนประชากร ตามล าดับ ตารางที่ 6 จ านวนและอัตราป่วยต่อแสนประชากรของผู้ป่วยนอกจังหวัดศรีสะเกษ จ าแนกตาม 298 กลุ่มโรค ปี พ.ศ. 2559-2564 ที่ กลุ่มโรค ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1 ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุน า 364,521 (25,096.61) 333,008 (22,609.63) 350,363 (23,785.50) 411,724 (27,954.07) 389,524 (26,724.46) 2 การติดเชื้อของทางเดินหายใจ ส่วนบนแบบเฉียบพลันอื่น ๆ 676,199 (46,555.08) 544,757 (36,986.36) 481,184 (32,666.69 426,631 (28,966.18) 306,479 (21,026.91) 3 เนื้อเยื่อผิดปกติ 432,912 (29,805.21) 324,534 (22,034.29) 334,121 (22,682.86) 311,034 (21,117.70) 298,123 (20,453.62 4 เบาหวาน 304,644 (20,974.19) 264,787 (17,977.76) 263,347 (17,878.14) 281,697 (19,125.86) 274,174 (18,810.53) 5 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอื่น ๆ , ไม่ระบุเฉพาะและหลายบริเวณ ในร่างกาย 234,004 (16,110.75) 181,572 (12,327.86) 159,293 (10,814.11) 148,575 (10,087.52) 133,847 (9,182.97) อายุ (ปี)


9 | P a g e ที่ กลุ่มโรค ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 6 ความผิดปกติอื่น ๆ ของฟัน และโครงสร้าง 235,456 (16,210.72) 187,053 (12,699.99) 191,747 (13,017.35) 152,694 (10,367.18) 120,560 (8,271.38) 7 โรคอื่น ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและดูโอเดนัม 165,133 (11,369.11) 130,532 (8,862.49) 127,602 (8,662.66) 118,151 (8,021.88) 116,753 (8,010.19) 8 โรคอื่น ๆ ของผิวหนังและ เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 125,178 (8,618.28) 87,222 (5,921.95) 81,038 (5,501.52) 74,734 (5,074.08) 65,815 (4,515.44) 9 พยาธิสภาพของหลังส่วนอื่น ๆ 76,841 (5,290.36) 66,129 (4,489.84) 73,224 (3,415.11) 64,244 (4,361.86) 56,548 (3,879.65) 10 จิตเภท พฤติกรรมแบบจิตเภท และความหลงผิด 55,978 (3,853.98) 48,218 (3,273.77) 50,305 (4,971.04) 52,594 (3,570.88) 54,973 (3,771.59) ที่มา : รายงานสาเหตุการเจ็บป่วยผู้ป่วยนอก (รายงาน 504) จาก HDC ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูล ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 1.2.4 สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยใน สาเหตุการป่วยของประชากรจังหวัดศรีสะเกษ ที่รับบริการในหน่วยบริการสาธารณสุขภาครัฐในสังกัด ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 10 อันดับแรก ปี พ.ศ. 2564 พบว่า สาเหตุการป่วยของผู้มารับบริการ ประเภทผู้ป่วยในที่พบมากที่สุด คือ โรคปอดบวม 626.84 ต่อแสนประชากร รองลงมา คือ คออักเสบเฉียบพลันและ ต่อมทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 199.72 ต่อแสนประชากร , เบาหวาน 175.98 ต่อแสนประชากร ตามล าดับ ตารางที่ 7 จ านวนและอัตราป่วยต่อแสนประชากรของผู้ป่วยในจังหวัดศรีสะเกษ จ าแนกตาม 298 กลุ่มโรค 10 ล าดับแรก ปี พ.ศ. 2561 – 2564 ที่ กลุ่มโรค ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1 ปอดบวม 8,538 (587.83) 8,699 (590.62) 7,538 (511.74) 7,087 (481.17) 9,122 (626.84) 2 คออักเสบเฉียบพลันและต่อม ทอนซิลอักเสบเฉียบพลัน 1,734 (119.38) 1,365 (92.68) 1,158 (78.61) 832 (56.49) 2,911 (199.72) 3 เบาหวาน 2,524 (173.77) 2,563 (174.02) 2,845 (193.14) 2,8,34 (192.41) 2,565 (175.98) 4 การบาดเจ็บภายในกระโหลก ศีรษะ 2,727 (187.75) 2,293 (155.68) 2,535 (172.10) 2,349 (159.49) 2,495 (171.18) 5 การบาดเจ็บระบุเฉพาะ อื่น ๆ ,ไม่ระบุเฉพาะและหลาย บริเวณในร่างกาย 3,117 (214.60) 2,772 (188.21) 2,668 (181.13) 2,469 (167.63) 2,424 (166.31)


10 | P a g e ที่ กลุ่มโรค ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 6 การดูแลมารดาอื่น ๆ ที่มี ปัญหาเกี่ยวกับทารกในครรภ์ และถุงน้ าคร่ า และปัญหาที่ อาจจะเกิดได้ในระยะคลอด 2,306 (158.76) 2,137 (145.09) 1,880 (127.63) 2,139 (145.23) 2,222 (152.45) 7 หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและ หลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลัน 4,295 (295.70) 3,801 (258.07) 3,347 (227.22) 2,527 (171.57) 2,190 (150.25) 8 โลหิตจางอื่น ๆ 1,988 (136.87) 1,641 (111.42) 1,962 (133.20) 1,977 (134.23) 2,121 (145.52) 9 ความผิดปกติของพฤติกรรม และจิตประสาทที่เกิดจากการ เสพสุรา 2,264 (155.87) 1,698 (115.29) 2,034 (138.08) 2,021 (137.22) 2,003 (137.42) 10 โรคอักเสบติดเชื้อของผิวหนัง และเนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง 2,603 (179.21) 2,484 (168.65) 2,356 (159.94) 2,584 (175.44) 1,996 (136.94) ที่มา : รายงานสาเหตุการป่วยผู้ป่วยใน (รายงาน 505) จาก HDC ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูล ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 1.2.5 สาเหตุการตาย สาเหตุการตายของประชากรจังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ. 2564 พบว่า สาเหตุการตายจากเนื้องอกและมะเร็ง ทุกชนิด มากที่สุด (110.39 ต่อแสนประชากร) ; มะเร็งตับและท่อน้ าดี(C22) ร้อยละ 24.74 และมะเร็งหลอดลมและ ปอด (C33-34) ร้อยละ 18.40, รองลงมา คือ ปอดบวม (55.09 ต่อแสนประชากร), โลหิตเป็นพิษ (36.98 ต่อแสน ประชากร) ,โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดในสมอง (36.84 ต่อแสนประชากร) และไตวาย (36.50 ต่อแสน ประชากร) ตามล าดับ ตารางที่ 8 จ านวนและอัตราตายต่อแสนประชากรจังหวัดศรีสะเกษ จ าแนกตามสาเหตุการตาย 10 ล าดับแรก ปี พ.ศ. 2558 – 2564 ที่ สาเหตุการตาย จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 1 เนื้องอกและมะเร็งทุกชนิด (C00-D48) 1,672 (113.73) 1,547 (105.14) 1,569 (106.61) 1,595 (108.29) 1,609 (110.39) 2 ปอดบวม (J12-J18) 586 (39.86) 706 (47.98) 904 (61.42) 911 (61.85) 803 (55.09) 3 โลหิตเป็นพิษ (A40-A41) 397 (27.00) 393 (26.71) 617 (41.92) 475 (32.35) 539 (36.98)


11 | P a g e ที่ สาเหตุการตาย จังหวัดศรีสะเกษ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 4 โรคความดันโลหิตสูงและโรค หลอดเลือดในสมอง (I10-I15,I60-I69) 504 (34.28) 475 (32.28) 471 (32.00) 505 (34.29) 537 (36.84) 5 ไตวาย (N17-N19) 399 (27.14) 400 (21.16) 397 (26.95) 446 30.28 532 (36.50) 6 โรคหัวใจขาดเลือดและ โรคหัวใจอื่นๆ (I20-I25,I26- I52) 353 (24.01) 351 (23.85) 392 (26.63) 338 (22.95) 413 (28.34) 7 โรคของตับ (K70-K76) 241 (16.39) 172 (11.69) 183 (12.43) 165 (11.20) 251 (17.22) 8 เบาหวาน (E10-E14) 258 (17.55) 221 (15.02) 162 (11.01) 201 (13.65) 205 (14.06) 9 อุบัติเหตุการขนส่ง (V01-V99) 226 (15.37) 263 (17.87) 263 (17.87) 237 (16.09) 204 (14.00) 10 วัณโรคทุกชนิด (A15-A19) 201 (13.67) 174 (11.83) 120 (8.15) 44 (2.99) 154 (10.57) ที่มา : รายงานสาเหตุการเสียชีวิต 103 กลุ่มโรค จากระบบ HDC ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564 1.2.6 โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาจังหวัดศรีสะเกษ ปี พ.ศ. 2564 จ าแนกตามจ านวนผู้ป่วย พบว่า ป่วยด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยามากที่สุด คือ โรคอุจจาระร่วง (1198.36 ต่อแสนประชากร), ไข้ไม่ทราบ สาเหตุ (795.58 ต่อแสนประชากร) รองลงมา คือ โรคปอดบวม (425.25 ต่อแสนประชากร) ตามล าดับ จ าแนกตามจ านวนผู้เสียชีวิต พบว่า เสียชีวิตด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยามากที่สุด คือ วัณโรคปอด (0.20 ต่อแสนประชากร) รองลงมา คือ ไข้ไม่ทราบสาเหตุ (0.07 ต่อแสนประชากร) และจ าแนกตามอัตราป่วยตาย พบว่า อัตราป่วยตายด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยามากที่สุด คือ วัณโรคปอด (0.05 ต่อแสนประชากร) รองลงมา คือ ไข้ไม่ทราบสาเหตุ (0.01 ต่อแสนประชากร)


12 | P a g e ตารางที่ 9 จ านวน อัตราป่วยและอัตราตายต่อแสนประชากรด้วยโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10 อันดับแรก ปี พ.ศ. 2564 ที่ รหัสโรค ชื่อโรค ปี พ.ศ. 2564 จ านวน/ อัตราป่วย จ านวน/ อัตราตาย อัตราป่วยตาย 1 02 Diarrhoea 17,652 (1,198.36) 0.00 (0.00) 0.00 2 18 Pyrexia 11,719 (795.58) 1.00 (0.07) 0.01 3 31 Pneumonia 6,264 (425.25) 3.00 (0.20) 0.05 4 03 Food Poisoning 3,055 (207.40) 0.00 (0.00) 0.00 5 14 H.conjunctivitis 2,984 (202.58) 0.00 (0.00) 0.00 6 37 S.T.D.,total (37-41,79-81,88-89) 950 (64.49) 0.00 (0.00) 0.00 7 32 Tuberculosis,total (32-34) 869 (58.99) 0.00 (0.00) 0.00 8 77 Herpes zoster 469 (31.84) 0.00 (0.00) 0.00 9 17 Chickenpox 451 (30.62) 0.00 (0.00) 0.00 10 38 Gonorrhoea 341 (23.15) 0.00 (0.00) 0.00 ที่มา : รายงานระบาดวิทยา (506) กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564


ส่วนที่ 2 แผนยุทธศาสตร์ นโยบายส าคัญ ที่เกี่ยวข้อง


13 | P a g e ส่วนที่ 2 แผนยุทธศาสตร์ นโยบายส าคัญ ที่เกี่ยวข้อง 2.1 ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กระทรวงสาธารณสุข 1. ยุทธศาสตร์ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion Prevention & Protection Excellence) แผนงานที่ 1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนไทยทุกกลุ่มวัย (ด้านสุขภาพ) 1) โครงการพัฒนาและสร้างสักยภาพคนไทยทุกกลุ่มวัย 2) โครงการพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชากร แผนงานที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ 1) โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอ าเภอ (พชอ.) แผนงานที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ 1) โครงการพัฒนาระบบการตอบบโต้ภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพ 2) โครงการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3) โครงการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ แผนงานที่ 4 การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 1) โครงการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม 2. ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence) แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบแพทย์ปฐมภูมิ 1) โครงการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 2) โครงการพัฒนาเครือข่ายก าลังคนด้านสุขภาพและ อสม. แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service plan) 1) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2) โครงการพัฒนาระบบบริการโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ และโรคอุบัติซ้ า 3) โครงการป้องกันและควบคุมการดื้อยาต้านจุลชีพและการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 4) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาทารกแรกเกิด 5) โครงการการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายแบบประคับประคองและการดูแลผู้ป่วยกึ่งเฉียบพลัน 6) โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์แผนไทยฯ 7) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช 8) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ 5 สาขาหลัก 9) โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคหัวใจ


14 | P a g e 10)โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคมะเร็ง 11)โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไต 12)โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาจักษุวิทยา 13)โครงการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาปลูกถ่ายอวัยวะ 14)โครงการพัฒนาระบบบริการบ าบัดรักษาผู้ป่วยยาเสพติด 15)โครงการการบริบาลฟื้นสภาพระยะกลาง 16)โครงการพัฒนาระบบบริการ One Day Surgery : ODS 17)โครงการกัญชาทางการแพทย์ แผนงานที่ 7 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ 1) โครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ แผนงานที่ 8 การพัฒนาตามโครงการพระราชด าริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และพื้นที่เฉพาะ 1) โครงการพระราชด าริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และพื้นที่เฉพาะ แผนงานที่ 9 อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย 1) โครงการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์ 3. ยุทธศาสตร์ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence) แผนงานที่ 10 การพัฒนาระบบบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ 1) โครงการบริหารจัดการก าลังคนด้านสุขภาพ 2) โครงการ Happy MOPH กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงแห่งความสุข 4. ยุทธศาสตร์ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมภิบาล (Governance Excellence) แผนงานที่ 11 การพัฒนาระบบธรรมภิบาลและองค์กรคุณภาพ 1) โครงการคุณธรรมและความโปร่งใส 2) โครงการพัฒนาองค์กรคุณภาพ แผนงานที่ 12 การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพ 1) โครงการพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีสุขภาพแห่งชาติ 2) โครงการ Smart Hospital แผนงานที่ 13 การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ 1) โครงการลดความเหลื่อมล้ าของ 3 กองทุน 2) โครงการบริหารจัดการด้านการเงินการคลัง


15 | P a g e แผนงานที่ 14 การพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมด้านสุขภาพ 1) โครงการพัฒนางานวิจัย/นวัตกรรมผลิตภัณฑ์สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ 2.2 นโยบายมุ่งเน้น กระทรวงสาธารณสุข ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. ระบบสุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง - ประชาชนคนไทยมีหมอประจ าตัว 3 คน - พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ รพ.สต. 2. เศรษฐกิจสุขภาพ - เพิ่มมูลค่านวัตกรรมผลิตภัณฑ์/บริการทางสุขภาพมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ 3. สมุนไพร กัญชา กัญชง - พัฒนาพืชสมุนไพร กัญชา กัญชง กระท่อม และภูมิปัญญาไทย 4. สุขภาพดีวิถีใหม่ - Living with COVID-19 5. COVID-19 - Smart Control - Vaccine Coverage 6. ระบบบริการก้าวหน้า - ผลักดัน 30 บาทรักษาทุกที่ ให้ผู้ป่วยมะเร็งรักษาได้ทุกที่ - พัฒนาศักยภาพรองรับผู้ป่วยโควิด และโรคทางเดินหายใจ - Innovative Healthcare Management : EMS (Environment modernize Smart Service) 7. ดูแลสุขภาพแบบองค์รวม - บูรณาการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุครบด้าน BMTEC (Brain Mental Teeth Eye&Ear Cardio) - พัฒนาระบบการดูแลสุขภาพจิต 8. ธรรมาภิบาล - ยึดหลักธรรมาภิบาล สุจริต โปร่งใส ประโยชน์ของประชาชน - พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) เป็นศูนย์ข้อมูลกลางสุขภาพประชาชน 9. องค์กรแห่งความสุข - พัฒนาสู่องค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ งานได้ผล คนเป็นสุข ปลอดภัย สร้างผู้น ารุ่นใหม่


16 | P a g e 2.3 วิสัยทัศน์ พันธกิจ และนโยบายในการท างาน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ วิสัยทัศน์คือ “องค์กรสุขภาพชั้นน า ภาคีเครือข่ายเข้มแข็ง เพื่อสุขภาวะของประชาชน” พันธกิจ 1) พัฒนาระบบบริการได้มาตรฐาน 2) พัฒนาระบบก าลังคนด้านสุขภาพให้มีสมรรถนะและศักยภาพสูง 3) พัฒนาระบบบริการได้มาตรฐาน 4) พัฒนาระบบและกลไกทางวิชาการและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) พัฒนาความร่วมมือของภาคีเครือข่ายสุขภาพให้เข้มแข็งและยั่งยืน นโยบายการท างาน : TOON T : Teamwork การท างานเป็นทีม O : Open eyed/Open mind เปิดหูเปิดตา รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น O : Operation (simplify operation) การด าเนินการแบบไม่ซับซ้อน N : Notable การสร้างความโดเด่น อัตลักษณ์ (Core Value) คือ ตรงต่อเวลา รู้หน้าที่ มีความรับผิดชอบ 2.4 ยุทธศาสตร์ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ ประกอบด้วย 7 ประเด็นยุทธศาสตร์, 54 เป้าประสงค์, 203 ตัวชี้วัด ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครองผู้บริโภคเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาระบบบริการเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาก าลังคนเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาระบบบริการเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบวิชาการและการจัดการความรู้เป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาระบบวัด วิเคราะห์ และประเมินผลเป็นเลิศ ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาความร่วมมือภาคีเครือข่ายสุขภาพเข้มแข็ง


ส่วนที่ 3 ผลการด าเนินงาน ส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ


ผลการด าเนินงาน กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ


17 | P a g e ส่วนที่ 3 ผลการด าเนินงานส านักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ 3.1 ผลการด าเนินงานกลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ประเด็นงาน : โครงการพระราชด าริ และโครงการเฉลิมพระเกียรติ หัวข้อ : โครงการราชทัณฑ์ ปันสุข ท าความ ดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวชี้วัด : 1.การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ า 1.1 การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขในเรือนจ า 1 คน ต่อผู้ต้องขัง 50 คน 1.2 การพัฒนาศักยภาพพยาบาลประจ าสถานพยาบาลในเรือนจ า หรือพยาบาลจากโรงพยาบาลแม่ข่าย 1.3 การให้บริการตรวจรักษาตามเวชปฏิบัติ (แพทย์) ตามเกณฑ์ในคู่มือ 2. การบริการสุขภาพช่องปาก 3. การบริการสุขภาพจิต 4. การป้องกันและควบคุมโรค 4.1 การคัดกรองค้นหาวัณโรคด้วยการถ่ายภาพรังสีทรวงอกในผู้ต้องขังแรกรับ 4.2 การด าเนินการคัดกรองเอชไอวีในกลุ่มผู้ต้องขังแรกรับ ข้อมูลทั่วไป ตามที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้แต่งตั้งคณะกรรมการโครงการราชทัณฑ์ปันสุข ท าความ ดี เพื่อชาติ ศาสนกษัตริย์เพื่อมุ่งเน้นในการส่งเสริมด้านเครื่องมือแพทย์ด้านการบริการทางการแพทย์ พยาบาล ให้องค์ความ ด้านสุขภาพอนามัยที่จ าเป็นแก่ผู้ต้องขัง และอาสาสมัครด้านสุขภาพในเรือนจ า รวมทั้ง กระทรวงสาธารณสุข กรมราชทัณฑ์ ส านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ลงนามในบันทึกความร่วมมือระหว่าง 3 หน่วยงาน เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2562 เพื่อสนับสนุน และพัฒนาจัดระบบบริการสาธารณสุขส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ า โดยก าหนดให้มีคณะกรรมการระดับพื้นที่ ที่เป็นเครือข่ายในระดับเขต หรือจังหวัด ร่วมกันพัฒนาและสนับสนุน การจัดระบบบริการสาธารณสุขส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ า ครอบคลุมทั้งการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันควบคุมและ ก าจัดโรค การรักษาพยาบาล การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุขที่มีคุณภาพ และประสิทธิภาพตามบริบทของพื้นที่ ดังนั้น เพื่อให้บรรลุตามพระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวและให้การด าเนินงานด้านสาธารณสุขในเรือนจ าเป็น ไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ กระทรวงสาธารณสุขได้บรรจุ“งานพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในเรือนจ า” เป็นภารกิจส าคัญของส านักงานสาธารณสุขจังหวัด และโรงพยาบาลทุกแห่งจังหวัดศรีสะเกษ มีเรือนจ า 2 แห่ง คือ 1. เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ ตั้งอยู่ในเขตอ าเภอเมืองศรีสะเกษ จังหวัดศรีสะเกษ 2. เรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ ตั้งอยู่ในอ าเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ


18 | P a g e เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ สถานที่ตั้ง : เลขที่ 12/50 ถนนกสิกรรม ต าบลเมืองเหนือ อ าเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ ขนาดพื้นที่ : พื้นที่ภายใน 10 ไร่ 2 งาน 92 ตารางวา อ านาจในการควบคุม : ผู้ต้องขังเด็ดขาดก าหนดโทษ ไม่เกิน 15 ปี เจ้าหน้าที่ในเรือนจ า : จ านวน 95 คน จ านวนผู้ต้องขัง 1,735 คน แยกเป็น ชาย 1,621 คน หญิง 114 คน (ข้อมูล ณ 1 มิถุนายน 2565) (จ านวนผู้ต้องขังที่เรือนจ ารับได้ตามมาตรฐาน จ านวน 700 คน) สัดส่วนเจ้าหน้าที่ ต่อ ผู้ต้องขัง เท่ากับ 1 : 21 เจ้าหน้าที่ประจ าสถานพยาบาลในเรือนจ า ประกอบด้วย 1. พยาบาลวิชาชีพ (เวชปฏิบัติทั่วไป) จ านวน 3 คน สัดส่วนต่อผู้ต้องขัง 1:580 2. นักจิตวิทยา จ านวน 1 คน สัดส่วนต่อผู้ต้องขัง 1 : 1,735 สถานพยาบาลในเรือนจ า : มีเตียงสังเกตอาการ จ านวน 4 เตียง โรงพยาบาลศรีสะเกษ : จัดช่องทางพิเศษส าหรับผู้ต้องขัง และห้องควบคุมกรณีพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล จ านวน 2 ห้อง ห้องละ 2 เตียง เรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ สถานที่ตั้ง : 360 หมู่ 17, ต าบลกระแชง อ าเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ, ขนาดพื้นที่ : 136 ไร่ 2 งาน พื้นที่ภายใน 27 ไร่ 2 งาน 15.50 ตารางวา อ านาจในการควบคุม : ผู้ต้องขังเด็ดขาดก าหนดโทษ ไม่เกิน 20 ปี(ชาย 20 ปี หญิง 20 ปี) เจ้าหน้าที่ในเรือนจ า : จ านวน 79 คน จ านวนผู้ต้องขัง 1,212 คน แยกเป็น ชาย 1,121 คน หญิง 91 คน (ข้อมูล 2/06/65) (จ านวนผู้ต้องขังที่เรือนจ ารับได้ตามมาตรฐาน จ านวน 771 คน) สัดส่วนเจ้าหน้าที่ ต่อ ผู้ต้องขัง เท่ากับ 1 : 15 เจ้าหน้าที่ประจ าสถานพยาบาลในเรือนจ า ประกอบด้วย 1. พยาบาลวิชาชีพ (เวชปฏิบัติทั่วไป) จ านวน 1 คน สัดส่วนต่อผู้ต้องขัง 1 : 1,212 2. พยาบาลเทคนิค จ านวน 1 คน สัดส่วนต่อผู้ต้องขัง 1 : 1,212 สถานพยาบาลในเรือนจ า : มีเตียงสังเกตอาการ จ านวน 4 เตียง โรงพยาบาลกันทรลักษ์: จัดช่องทางพิเศษส าหรับผู้ต้องขัง และห้องควบคุมกรณีพักรักษาตัว ที่โรงพยาบาลจ านวน 2 ห้อง (4 เตียง)


19 | P a g e ตารางที่ 10 แสดงจ านวนผู้ต้องขังรายเรือนจ าและการลงทะเบียนสิทธิหลักประกันสุขภาพ เดือนกันยายน 2565 ชื่อ สถานพยาบาล เรือนจ า จ านวนข้อมูล (คน) จ านวน รวมราย เรือนจ า สิทธิ UC ตรง CUP สิทธิUCนอก CUP รับตัวเข้าเรือนจ า มากกว่า 30 วัน สิทธิ UC นอก CUP รับตัวเข้า เรือนจ าน้อยกว่า หรือเท่ากับ 30 วัน รวม สิทธิ UC สิทธิ ว่าง กอง ทุนอื่น จ านวน ร้อยละ จ านวน ร้อยละ เรือนจ าจังหวัด ศรีสะเกษ 1,119 71.27 451 28.73 110 1,680 1 31 1,712 เรือนจ าอ าเภอ กันทรลักษ์ 1,143 100 0 0 5 1,148 1 10 1,159 ที่มา : ข้อมูลจาก สปสช.เขต 10 ณ 30 กันยายน 2565 ตารางที่ 11 แสดง 5 อันดับผู้ป่วยโรคเรื้อรังในเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ สถานพยาบาลเรือนจ า รายชื่อโรคเรื้อรัง จ านวนผู้ป่วย ชาย หญิง รวม เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ 1. จิตเวช 2. โรคไขมันในเลือดสูง 3. โรคความดันโลหิตสูง 4. โรคเบาหวาน 5. โรคหัวใจและหลอดเลือด 61 38 28 18 12 4 0 2 0 0 65 38 30 18 12 เรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ 1. จิตเวช 2. โรคความดันโลหิตสูง 3. โรคหัวใจและหลอดเลือด 4. โรคเบาหวาน 5. โรคไต 35 14 11 7 5 1 1 1 2 2 36 15 12 9 7 ที่มา : รายงานของสถานพยาบาลเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ เดือนกันยายน 2565


20 | P a g e ตารางที่ 12 แสดงอันดับผู้ป่วยโรคติดต่อในเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ สถานพยาบาลเรือนจ า รายชื่อโรคเรื้อรัง จ านวนผู้ป่วย ชาย หญิง รวม เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ 1. โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง HIV/AIDS 2. โรคไวรัสตับอักเสบซี 3. โรควัณโรค 4. โรคซิฟิลิส 21 6 3 10 6 0 0 1 27 6 3 11 เรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ 1. โรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง HIV/AIDS 2. โรควัณโรค 3. โรคไวรัสตับอักเสบซี 7 4 0 1 0 0 8 4 0 ที่มา :รายงานของสถานพยาบาลเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ ณ 30กันยายน 2565 ตัวชี้วัด : 1. การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ า 1.1 การพัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขในเรือนจ า 1 คน ต่อผู้ต้องขัง 50 คน เป้าหมายและผลงาน จังหวัดศรีสะเกษ มีเรือนจ าทั้งหมด 2 แห่ง เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ ร่วมกับ เครือข่าย ก าหนดอบรม อสรจ. 2 ครั้ง/ปี โดยให้มีสัดส่วน อสรจ. ต่อ ผู้ต้องขัง ไม่น้อยกว่า 1 ต่อ 50 และกรณีที่มี อสรจ. พ้นโทษ จนมีสัดส่วน อสรจ. ต่อผู้ต้องขังน้อยกว่า 1 ต่อ 50 ให้มีการพัฒนา อสรจ. ทดแทนจนให้ มีสัดส่วน อสรจ. ไม่น้อยกว่าเกณฑ์ที่ก าหนด จากผลการด าเนินงาน (1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565) พบว่า เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ ร่วมกับ เครือข่าย มีการอบรม อสรจ. ปี 2565 จ านวน 50 คน และมี อสรจ. เดิมที่ผ่านการอบรม ปี 2564 จ านวน 15 คน รวมมี อสรจ.ทั้งหมด จ านวน 65 คน คิดเป็นสัดส่วน 1 ต่อ 27 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน และเรือนจ าอ าเภอ กันทรลักษ์ มีการอบรม อสรจ. ปี 2564 จ านวน 105 คน ได้รับพระราชทานอภัยโทษ ปล่อยตัวไป จ านวน 83 คน ได้อบรมเพิ่มเติมอีก 20 คน เป็น 42 คน คิดเป็นสัดส่วน 1 ต่อ 29 เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ตารางที่ 13 ผลการด าเนินงานการอบรม อสรจ. ในเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ ที่ สถานพยาบาลในเรือนจ า จ านวน ผู้ต้องขัง (คน) จ านวน อสรจ.(คน) รวม อสรจ. สัดส่วน อสรจ.เดิม อสรจ. ปี 2564 อสรจ.ใหม่ และทดแทน (กรณีพ้นโทษ) ปี 2565 1 เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ 1,735 15 คน 50 65 1 : 27 2 เรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ 1,212 22 คน 20 คน 42 1: 29 ที่มา : สถานพยาบาลเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ และเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


21 | P a g e ตัวชี้วัด : 1. การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ า 1.2 การพัฒนาศักยภาพพยาบาลประจ าสถานพยาบาลในเรือนจ า หรือพยาบาลจากโรงพยาบาล แม่ข่าย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เป้าหมาย และผลงาน การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ า ก าหนดเป้าหมาย เพื่อพัฒนาศักยภาพ พยาบาลประจ าสถานพยาบาลในเรือนจ า หรือพยาบาลจากโรงพยาบาลแม่ข่ายด้วยการประชุม/ อบรม/แลกเปลี่ยน เรียนรู้ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง จากข้อมูล 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565 พบว่า เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ ได้สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเรือนจ า ได้เข้ารับการอบรม/ประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในปี 2565 จ านวน 4 คน ประกอบด้วย พยาบาลเวชปฏิบัติ จ านวน 3 คน และนักจิตวิทยา จ านวน 1 คน ส าหรับ เรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ ได้สนับสนุนให้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเรือน ได้เข้ารับการอบรม/ประชุม/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในปี 2565 จ านวน 2 คน ประกอบด้วย พยาบาลเวชปฏิบัติ จ านวน 1 คน พยาบาลเทคนิค จ านวน 1 คน ตารางที่ 14 แสดงจ านวนพยาบาลประจ าสถานพยาบาลในเรือนจ า หรือพยาบาลจากโรงพยาบาล แม่ข่ายที่ผ่านการอบรม/ประชุม/แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประจ าปี 2565 ที่ สถานพยาบาลในเรือนจ าและแม่ข่าย จ านวนบุคลากรที่ผ่านการอบรม/ประชุม/ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รวม (คน) พยาบาล นักจิตวิทยา อื่นๆ 1 เรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ 3 1 4 3 เรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ 2 2 ตัวชี้วัด : 1. การพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขส าหรับผู้ต้องขังในเรือนจ า 1.3 การให้บริการตรวจรักษาตามเวชปฏิบัติ (แพทย์) สถานพยาบาลในเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ ทั้ง 2 แห่ง ได้แก่ สถานพยาบาลในเรือนจ าจังหวัด ศรีสะเกษ และสถานพยาบาลในเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ ได้มีการจัดระบบการให้บริการสุขภาพ ด้านการแพทย์ฉุกเฉินทั้ง ในและนอกเวลาราชการ ครอบคลุมการให้บริการที่จ าเป็นพื้นฐานที่ผู้ต้องขังควรได้รับ ทั้ง 6 ด้าน ประกอบด้วย 1.3.1) ด้านการรักษาพยาบาล 1.3.2) ด้านบริการพื้นฐานงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 1.3.3) ด้านงานส่งเสริมสุขภาพจิต 1.3.4) ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ 1.3.5) ด้านการส่งต่อเพื่อการรักษา 1.3.6) ด้านการตรวจสอบสิทธิโดยมีรายละเอียดดังตาราง


ผลการด าเนนงานการให้บริการขั้นพื้นฐานของสถานพยาบาลในเรือนจ าจังหวัดศรีสตารางที่ 15แสดงรายงานผลการให้บริการขั้นพื้นฐานที่ผู้ต้องขังควรได้รับในสถานพยาบากิจกรรม ความถี่ในการ ปฏิบัติงาน ผลการด 1. ด้านการรักษาพยาบาล 1.1 ให้บริการตรวจรักษาตามเวชปฏิบัติ (แพทย์) 3 ชม./สัปดาห์ แพทย์ ตรวจ 1.2 ให้บริการตรวจรักษาตามเวชปฏิบัติ (พยาบาล) ในเวลาราชการ 1 1.3 กรณีอุบัติเหตุฉุกเฉินมีพยาบาลเวชปฏิบัติ 24 ชม. 1.4 ให้บริการให้ค าปรึกษาและจิตบ าบัด (นักจิตวิทยา/พยาบาลจิตเวช/Teleconference) 1 ครั้ง/เดือน 31.5 ให้บริการตรวจรักษาและให้ค าปรึกษาทาง สุขภาพจิต และทางกายผ่าน Video Conference กรณี ฉุกเฉิน 1.6 ให้บริการตรวจรักษาทางทันตกรรม (ทันตแพทย์/เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข) รายปกติอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง กรณี ฉุกเฉิน ได้ตลอด 24 ชม. อย่างน้อย 1 ครั้ง/ เดือน


22 | P a g e สะเกษ และสถานพยาบาลในเรือนจ าอ าเภอกันทรลักษ์ าลเรือนจ าจังหวัดศรีสะเกษ (ข้อมูล 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565) สถานพยาบาล รจ.ศรีสะเกษ สถานพยาบาล รจ.อ าเภอกันทรลักษ์ ด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ ผลการด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ 1 คน ให้บริการ คนไข้ 60 ราย รพ.ศรีสะเกษ แพทย์ 1 คน ให้บริการคนไข้ 1,212 ราย รพ.กันทรลักษ์ ,200 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ 642 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.กันทรลักษ์ 60 สถานพยาบาล รจ. 72 ราย สถานพยาบาล รจ. 300 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ 141 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.กันทรลักษ์ 5 ราย 30 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ รพ.ศรีสะเกษ สสจ.ศรีสะเกษ 36 งดเข้าให้บริการ เนื่องจากมีการ ระบาด COVID-19 สถานพยาบาล รจ. รพ.กันทรลักษ์ รพ.กันทรลักษ์


กิจกรรม ความถี่ในการ ปฏิบัติงาน ผลกา2. ด้านบริการพื้นฐานงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 2.1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด 2.1.1 บริการฝากครรภ์ 2.1.2 บริการดูแลตรวจหลังคลอด 2.1.3 การส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่ 2.1.4 บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน -5 ครั้ง/ราย -3 ครั้ง/ราย -ทุกรายหลังคลอด -อย่างน้อย 1 ครั้ง 2.2 กลุ่มเด็ก 0-3 ปี 2.2.1 บริการวัคซีนแก่เด็กตามโปรแกรมสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค รวมทั้งประเมินการเจริญเติบโตแลพัฒนาการ เด็ก 2.2.2 บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน -ตามชุดสิทธิ ประโยชน์ 1-2 ครั้ง/ราย


23 | P a g e สถานพยาบาล รจ.ศรีสะเกษ สถานพยาบาล รจ.อ าเภอกันทรลักษ์ ารด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ ผลการด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ - สถานพยาบาล รจ รพ.ศรีสะเกษ 0 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.กันทรลักษ์ 0 0 สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ 0 0 สถานพยาบาล รจ. รพ.กันทรลักษ์


กิจกรรม ความถี่ในการปฏิบัติงาน 2.3 กลุ่มอายุ 18-59 ปี 2.3.1 บริการตรวจคัดกรองและให้การรักษา โรคติดต่อทั่วไป/ไม่ติดต่อ -1 ครั้ง/ปี/ราย 2.3.2 บริการปรึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับ เอชไอวี เพื่อการตรวจหาเชื้อเอดส์ ด้วยความสมัครใจ รวมทั้ง สนับสนุนอุปกรณ์ในการป้องกันโรค เช่น ถุงยางอนามัย สาร หล่อลื่น ฯลฯ 2.3.3 ให้บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 2.3.4 การคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เต้านม -2 ครั้ง/ปี/ราย -อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี/ราย -1 ครั้ง/ปี/ราย 2.4 กลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป 2.4.1 บริการวัคซีนตามโปรแกรมสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค -1 ครั้ง/ปี/ราย 2.4.2 ให้บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 2.4.3 บริการตรวจคัดกรองและให้การรักษา โรคติดต่อทั่วไป/ไม่ติดต่อ 2.4.4 บริการปรึกษาและให้ความรู้เกี่ยวกับ เอชไอวี เพื่อการตรวจหาเชื้อเอดส์ ด้วยความสมัครใจ รวมทั้ง สนับสนุนอุปกรณ์ในการป้องกันโรค เช่น ถุงยางอนามัย สาร หล่อลื่น ฯลฯ -1 ครั้ง/ปี/ราย -1 ครั้ง/ปี/ราย -2 ครั้ง/ปี/ราย


24 | P a g e สถานพยาบาล รจ.ศรีสะเกษ สถานพยาบาล รจ.อ าเภอกันทรลักษ์ ผลการด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ ผลการด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ 500 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.ศรีสะเกษ 267 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.กันทรลักษ์ 983 ราย 200 ราย 104 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.ศรีสะเกษ 267 ราย งดบริการชั่วคราว 0 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์ 500 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ 24 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์ 200 ราย 983 ราย 983 ราย งดให้บริการ 24 ราย 1 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์


กิจกรรม ความถี่ในการปฏิบัติงาน 3. ด้านงานส่งเสริมสุขภาพจิต 3.1 การคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้า และการฆ่า ตัวตาย ทุกรายแรกรับ 3.2 การคัดกรองภาวะสุขภาพจิต ทุกรายแรกรับ 3.3 การคัดกรองและประเมินอาการทางจิต ทุกรายแรกรับ 3.4 การคัดกรองและประเมินภาวะอาการถอนสุรา ทุกรายที่มีประวัติ 3.5 การคัดกรองและประเมินภาวะติดสุรา ทุกรายที่มีประวัติ 3.6 การคัดกรองภาวะการติดฝิ่นและอนุพันธ์ของฝิ่น ทุกรายที่มีประวัติ 3.7 การให้ค าปรึกษาผู้ต้องขังที่มีปัญหาสุขภาพจิตและ จิตเวช เฉพาะรายที่มีปัญหา 3.8 การให้บริการตรวจรักษาผู้ต้องขังป่วยจิตเวชใน เรือนจ า อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง/ราย 3.9 การส่งต่อผู้ต้องขังป่วยจิตเวชไปรับการรักษานอก เรือนจ า เมื่อมี case 3.10 การเตรียมความพร้อมผู้ต้องขังป่วยจิตเวชก่อน ปล่อยตัว ทุกรายก่อนปล่อยตัว 3.11 การติดตามดูแลผู้ต้องขังป่วยจิตเวชภายหลัง ปล่อยตัว ทุกราย


25 | P a g e สถานพยาบาล รจ.ศรีสะเกษ สถานพยาบาล รจ.อ าเภอกันทรลักษ์ ผลการด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ ผลการด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ 578 ราย สถานพยาบาล รจ. 1,279 ราย สถานพยาบาล รจ. 578 ราย สถานพยาบาล รจ. 1,279 ราย สถานพยาบาล รจ. 578 ราย สถานพยาบาล รจ. 1279 ราย สถานพยาบาล รจ. 0 สถานพยาบาล รจ. 1279 ราย สถานพยาบาล รจ. 0 สถานพยาบาล รจ. 1279 ราย สถานพยาบาล รจ. 0 สถานพยาบาล รจ. 0 สถานพยาบาล รจ. 212 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ 36 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์ 212 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ 36 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์ 3 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ 2 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์ 721 สถานพยาบาล รจ. 3 สถานพยาบาล รจ 721 สสจ./รพ.ศรีสะเกษ / รพ.พระศรีฯ/รพ.ใน พื้นที่ 2 สสจ./รพ.กันทรลักษ์/ รพ.พระศรี/รพ.ใน พื้นที่


กิจกรรม ความถี่ในการปฏิบัติงาน 3.12 การบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูลผู้ป่วยนิติจิตเวช ทุกราย 3.13 มีเตียงรองรับผู้ต้องขังป่วยจิตเวช อย่างน้อย 2 เตียง (ชาย 1 เตียง หญิง 1 เตียง) 3.14 การตรวจวินิจฉัยทางจิตวิทยา เมื่อมีcase ที่จ าเป็น 4. ด้านการฟื้นฟูสมรรถภาพ 4.1 จัดบริการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ต้องขัง ตามความเหมาะสม 4.2 ให้บริการให้ค าปรึกษาและกายภาพบ าบัด/ กิจกรรมบ าบัด หรือให้ค าแนะน า ผ่าน Teleconference 2 ครั้ง/ปี/ราย 4.3 ให้บริการตรวจรับรองความพิการและประสานขอ สนับสนุนกายอุปกรณ์ตามความเหมาะสม เมื่อมีผู้ต้องขังพิการที่ต้อง ได้รับการรับรองสิทธิ


26 | P a g e สถานพยาบาล รจ.ศรีสะเกษ สถานพยาบาล รจ.อ าเภอกันทรลักษ์ ผลการด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ ผลการด าเนินงาน (ราย) ผู้ด าเนินการ 43 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ รพ.พระศรีฯ 36 สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์ รพ.ศรีสะเกษ ชาย 1 เตียง หญิง 1 เตียง รพ.ศรีสะเกษ รพ.พระศรีฯ 4 เตียง รพ.กันทรลักษ์ รพ.ศรีสะเกษ 60 ราย สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ รพ.พระศรีฯ 36 ราย สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์ รพ.ศรีสะเกษ 0 สถานพยาบาล รจ. รพ.ศรีสะเกษ 1 สถานพยาบาล รจ รพ.กันทรลักษ์ 0 รพ.ศรีสะเกษ 0 รพ.กันทรลักษ์ 0 รพ.ศรีสะเกษ 0 รพ.กันทรลักษ์


กิจกรรม ความถี่ในการปฏิบัติงาน 5. ด้านการส่งต่อเพื่อการรักษา 5.1 มีระบบการส่งต่อทั้งทางกายและทางจิตครอบคลุมถึง การส่งต่อประวัติการรักษา เมื่อมี case 5.2 มีระบบบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อเตรียมส่ง ผู้ต้องขังป่วยไปรับการรักษานอกเรือนจ า ในกรณีฉุกเฉิน เมื่อมี case 6. ด้านการตรวจสอบสิทธิ 6.1 มีระบบให้ค าปรึกษา เกี่ยวกับเรื่องสิทธิด้านการประกัน สุขภาพ เพื่อการย้ายสิทธิ์ เปลี่ยนสิทธิ์ หรือแม้แต่ผู้ที่ไม่มีสิทธิ์ การรักษาใดๆ ทุกวัน 6.2 มีระบบการลงทะเบียนผู้มีสิทธิ์ ทุกวัน


Click to View FlipBook Version