The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Keywords: คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม

และจรรยาบรรณวชิ าชพี

Morality and Professional Ethics

พระครูปลัดบญุ ชว ย โชติวโํ ส, ดร. (อยุ วงค)
มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย
วทิ ยาเขตขอนแกน

คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ

Morality and Professional Ethics

ISBN : 978-616-300-682-0

ผเู ขยี น : พระครูปลัดบญุ ชวย โชติวํโส,ดร. (อยุ วงค)

ผทู รงคณุ วฒุ ติ รวจสอบ : พระโสภณพฒั นบณั ฑิต, รศ.ดร.

: รศ.ดร.สาํ เร็จ ยรุ ชัย

: รศ.ดร.ประจติ ร มหาหงิ

ท่ีปรึกษา : พระโสภณพฒั นบัณฑิต, รศ.ดร.

: ผศ.ดร.วิทยา ทองดี

: ผศ.ดร.นเิ ทศ สนั่นนารี

: รศ.ดร.ประจิตร มหาหิง

ศิลปะและจัดรูปแบบ : นภสั นันท วงศคําจนั ทร

พสิ จู นอ กั ษร : รศ.ดร.ประจิตร มหาหงิ

พมิ พค ร้ังที่ ๑ : ๒๕๖๓

จํานวนพิมพ : ๓๐๐ เลม

จดั พมิ พโ ดย : มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย

วิทยาเขตขอนแกน ๓๐ หมู ๑ ตําบลโคกสี

อําเภอเมือง จังหวดั ขอนแกน ๔๐๐๐๐

พมิ พท ่ี : เอม่ี กอปป เซน็ เตอร

88/27 ซอยเหลานาดี ๑๐ ถนนเหลา นาดี

ตําบลในเมอื ง อาํ เภอเมือง จงั หวัดขอนแกน ๔๐๐๐๐

โทรศัพท ๐๔๓-๓๐๖-๘๔๕, ๐๘๕-๐๑๐๑๓๙๕

E-mail: [email protected]

[email protected]

ราคา : ๓๐๐ บาท

ลิขสทิ ธ์เิ ลม นีเ้ ปนของผเู ขียน หา มลอกเลียนแบบใด ๆ ทั้งสิน้ นอกจากมหี นงั สือขออนุญาตเปนลายลกั ษณอ กั ษรเทา น้นั

คาํ นาํ

หนังสือ “คุณธรรมและจริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ” ผูบรรยายไดรวบรวม
เรียบเรียงตามแนวสังเขปของรายวิชา ตามหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีวัตถุประสงคใหนิสิตไดศึกษาเกี่ยวคุณธรรมจริยธรรมสําหรับ
ผูบรหิ ารการศึกษา

เพ่ือเปนแนวทางการสงเสริมความรูความเขาใจเกี่ยวคุณธรรมจริยธรรมและ
จรรยาบรรณวิชาชีพ เริ่มจากการนิยามความหมายลักษณะและองคประกอบ กําเนิดและ
พัฒนาการ ประเภทคุณคาความสําคัญและประโยชนจนกระทั่งวิธีการศึกษาศาสนาถือวาเปน
การทําความเขาใจบริบทดานตาง ๆ อันเปนพ้ืนฐานของศาสนาทั้งหลาย การศึกษาคุณธรรม
และจริยธรรมนั้นเปนการทําความเขาใจธรรมะ จากสภาพปจจุบันปญหาของสังคมไทย เปนที่
ยอมรับวาการขาดคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคมเปนปจจัยหลักท่ีกอใหเกิดปญหาอ่ืน
ตามมา ซึ่งสงผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมืองและการศึกษา จนทําให
ประเทศชาติเสียโอกาสในการพัฒนาใหทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ จึงเปน เหตุใหรฐั บาลได
มุงเนนความสําคัญกับนโยบายทางดานสังคมในการพัฒนาสังคมโดยองครวมเนนไปที่ การ
สงเสริมความรัก ความสามัคคี ความสมานฉันทของคนไทยในชาติท่ีจักปฏิรูปสังคมใหอยูเย็น
เปนสุข ปฏิรูปการศึกษาโดยยึดหลักคุณธรรมนําความรู พัฒนาสุขภาวะของประชาชนให
ครอบคลุมทัง้ มติ ิทางกาย จติ สังคม และปญญา บนพ้ืนฐานของคุณธรรมและจริยธรรมในการ
ดํารงชีวติ สามารถอยรู วมกบั ผูอนื่ ไดอ ยา งมีความสุข

หวังวา หนังสือคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ คงจะไดมีสวนรวมและ
เปนแนวทางการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และเปนแนวทางการปฏิบัติตนท่ีจะ
เผชิญกับภยั ธรรมชาติ เปนประโยชนต อสังคมตอไป

พระครปู ลัดบญุ ชวย โชติวโํ ส, ดร. (อุยวงค)

มิถุนายน ๒๕๖๓



สารบญั

เรื่อง หนา

คาํ นาํ ก

สารบัญ ค

บทที่ ๑ ความรเู บอื้ งตนเกี่ยวกับคณุ ธรรมและจริยธรรม ๑
๑.๑ ประวตั แิ ละความเปน มาของคณุ ธรรม–จริยธรรม ๑
๑.๒ แหลงกาํ เนิดคณุ ธรรมและจริยธรรม ๒
๑.๓ ทีม่ าของคุณธรรม ๔
๑.๔ ความหมายของคณุ ธรรม-จริยธรรม สาํ หรบั ผูบรหิ าร ๗
๑.๕ ความสําคญั ของคุณธรรมและจรยิ ธรรม ๑๙
๑.๖ สรุป ๒๓

บทท่ี ๒ แนวคดิ หลักการ ทฤษฎคี ณุ ธรรมและจริยธรรม ๒๔
๒.๑ หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกบั คุณธรรมจรยิ ธรรมตะวันตก ๒๔
๒.๒ หลักการ แนวคดิ ทฤษฎเี กี่ยวกับคณุ ธรรมจริยธรรมตามแนวคิดตะวันออก๒๗
๒.๓ หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎีเกยี่ วกับคณุ ธรรมจรยิ ธรรมเอเชีย ๓๐
๒.๔ ระดับของจรยิ ธรรม ๓๔
๒.๕ แนวคดิ หลกั การ ทฤษฎคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมประเทศไทย ๓๗
๒.๖ สรุป ๔๘

บทท่ี ๓ ความรเู บื้องตนเก่ียวกับพทุ ธจริยธรรม ๕๐
๓.๑ พทุ ธจรยิ ธรรม ๕๐
๓.๒ ลักษณะพุทธจริยธรรม ๕๓
๓.๓ การจัดลาํ ดบั พทุ ธจริยธรรม ๕๘
๓.๔ เกณฑตัดสินพุทธจริยธรรม ๖๒
๓.๕ สรุป ๖๔

บทท่ี ๔ พทุ ธจรยิ ธรรมเกย่ี วกับบทบาทหนา ท่ี ๖๕
๔.๑ พทุ ธจริยธรรมเกี่ยวกับบทบาทหนาท่ี ๖๕
๔.๒ พทุ ธจรยิ ธรรมเกยี่ วกบั การแกป ญหา ๖๙
๔.๓ พทุ ธจรยิ ธรรมเกย่ี วกับการสรางศรทั ธาตอความดี ๗๐
๔.๔ พุทธจรยิ ธรรมเก่ียวกับการปฏิบัติตนเพอื่ การดาํ รงชวี ิตทด่ี ี ๗๒
๔.๕ พทุ ธจริยธรรมกลมุ สัจการแหง ตน ๗๔

ง พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สารบญั

๔.๖ สรุป ๗๖
บทท่ี ๕ หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาที่สาํ หรบั ผูบริหารสถานศกึ ษา ๗๗
๗๗
๕.๑ หลักพทุ ธธรรมาภิบาลสาํ หรับผบู รหิ ารสถานศกึ ษา ๗๘
๕.๒ แนวคดิ เกย่ี วกบั หลักธรรมาภบิ าล ๘๐
๕.๓ องคป ระกอบของหลักธรรมาภิบาล ๘๒
๕.๔ ธรรมาภิบาลในพระไตรปฎ ก ๘๖
๕.๕ การบูรณาการหลกั ธรรมาภบิ าลไปใชใ นการบรหิ ารสถานศกึ ษา ๘๗
๕.๖ สรปุ ๘๙
บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรบั ผูบริหารสถานศกึ ษา ๘๙
๖.๑ แนวคิดและทฤษฏีเกยี่ วกับหลกั ธรรมาภิบาล ๙๓
๖.๒ ความหมายของธรรมาภิบาล ๑๐๑
๖.๓ องคป ระกอบของธรรมาภิบาล ๑๒๒
๖.๔ หลกั ธรรมาภิบาล ๑๒๘
๖.๕ ธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา ๑๒๙
๖.๖ ธรรมาภิบาลในตางประเทศ ๑๓๕
๖.๗ บทบาทผบู รหิ ารในการบรหิ ารโรงเรียนตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๑๔๐
๖.๘ งานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ งกบั หลักธรรมาภบิ าล ๑๔๖
๖.๙ สรุป ๑๔๘
บทที่ ๗ จริยธรรมสําหรับนักบรหิ ารตามหลักพระพุทธศาสนา ๑๔๙
๗.๑ ผูบ ริหารกบั คณุ ธรรม จริยธรรม ๑๕๐
๗.๒ ผูบ ริหารกบั คณุ ธรรม ๑๕๕
๗.๓ ผบู รหิ ารกับจริยธรรม ๑๕๖
๗.๔ หลกั จริยธรรมในการดาํ รงชีวติ ๑๕๗
๗.๕ หลักจรยิ ธรรมทีผ่ ูบริหารควรยดึ ถือปฏิบตั ใิ นการดาํ รงชีวติ ๑๕๘
๗.๖ หลักจรยิ ธรรมเชงิ วชิ าการ ๑๖๐
๗.๗ หลักจรยิ ธรรมเชิงบริหาร ๑๖๖
๗.๘ สรุป ๑๖๗
บทท่ี ๘ การพัฒนาคณุ ธรรมและจริยธรรมสําหรับผบู ริหารสถานศึกษา ๑๖๗
๘.๑ แนวคดิ ทฤษฎีการพฒั นาคณุ ธรรม ๑๖๘
๘.๒ คณุ สมบัติของผบู รหิ ารตามหลักพุทธศาสนา ๑๗๙
๘.๓ แนวคดิ เก่ียวกับความเปนมาของผูบริหารในพระพทุ ธศาสนา

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ จ
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๘.๔ การบริหารสถานศกึ ษาแบบธรรมาธปิ ไตย จักขุมา วิธูโร ๑๙๘
และนสิ สสมั ปน โน ๒๐๒
๒๐๕
๘.๕ การบริหารตามหลกั ธรรมาธิปไตย
๘.๖ สรปุ

บทที่ ๙ กฎหมายเก่ียวกบั จรรยาบรรณวชิ าชีพสาํ หรบั ผูบริหารสถานศึกษา ๒๐๗
๙.๑ พระราชบัญญตั ิ การศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๒๐๗
๙.๒ สรปุ สาระสาํ คญั :พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ ๒๑๖
๙.๓ สรปุ ๒๒๑

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผบู ริหารสถานศึกษา ๒๒๓
๑๐.๑ มาตรฐานความรูแ ละประสบการณว ชิ าชพี ๒๒๔
๑๐.๒ มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ๒๓๐
๑๐.๓ มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตน (จรรยาบรรณวิชาชีพ) ๒๓๔
๑๐.๔ องคก รวชิ าชีพทางการศกึ ษา มาตรฐานวชิ าชพี ทางการศกึ ษา
พระราชบัญญตั ิและกฎกระทรวงท่เี กี่ยวกับการศึกษา ๒๔๐
๑๐.๕ มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา ๒๔๘
๑๐.๖ ขอบังคบั ครุ สุ ภาวาดว ยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี
พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒๕๓
๑๐.๗ ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง รายละเอียดของมาตรฐาน
ความรูและประสบการณว ิชาชีพครตู ามขอ บังคบั คุรุสภา วาดวย
มาตรฐานวชิ าชีพ (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๖๐
๑๐.๘ ประกาศคณะกรรมการคุรสุ ภา เรื่อง หลกั เกณฑแ ละวธิ ีการทดสอบ
และประเมินสมรรถนะทางวชิ าชพี ครู พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒๖๑
๑๐.๙ การเตรยี มดําเนนิ การทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวชิ าชีพครู
คร้ังแรกในป พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒๖๓
๑๐.๑๐ พระราชบญั ญัตแิ ละกฎกระทรวงท่เี กยี่ วกับการศึกษา ๒๖๔
๑๐.๑๑ สรุปสาระสาํ คญั เกีย่ วกบั พระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ
พ.ศ.๒๕๔๒ ๒๘๙
๑๐.๑๒ สรปุ ๓๐๐

ฉ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สารบญั

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวชิ าชีพคุรสุ ภาสาํ หรบั ผบู รหิ ารสถานศึกษา ๓๐๒
๑๑.๑ ความหมายของจรรยาบรรณ ๓๐๒
๑๑.๒ ขอกาํ หนดเกย่ี วกับจรรยาบรรณ ๓๐๒
๑๑.๓ การควบคมุ จรรยาบรรณ ๓๐๓
๑๑.๔ การลงโทษผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาทปี่ ระพฤตผิ ิดจรรยาบรรณ ๓๐๔
๑๑.๕ จรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๓๐๔
๑๑.๖ จรรยาบรรณวชิ าชีพนกั บรหิ ารการศึกษาและมาตรฐานการปฏบิ ัตติ น ๓๑๑
๑๑.๗ แนวคดิ ดา นมาตรฐานคณุ ธรรมและจริยธรรมของนักบรหิ าร ๓๑๔
๑๑.๘ การพัฒนาและการปลูกฝง คณุ ธรรมและจริยธรรม ๓๒๕
๑๑.๙ การกลอ มเกลาทางสังคมและการพัฒนาดา นคุณธรรมและจริยธรรม ๓๓๒
๑๑.๑๐ ปญหาจริยธรรมในองคการ ๓๓๔
๑๑.๑๑ แนวทางและวธิ กี ารปลกู ฝง จรยิ ธรรม ๓๓๖
๑๑.๑๒ สรปุ ๓๓๙

บรรณานกุ รม ๓๔๐

ประวตั ิผูเขียน ๓๕๓

บทที่ ๑

ความรูเ บื้องตน เกย่ี วกบั คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

การศึกษาคุณธรรมและจริยธรรมนั้นเปนการทําความเขาใจธรรมะ จากสภาพ
ปจจุบันปญหาของสังคมไทย เปนท่ียอมรับวาการขาดคุณธรรมจริยธรรมของคนในสังคมเปน
ปจจัยหลักที่กอใหเกิดปญหาอ่ืนตามมา ซึ่งสงผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
การเมืองและการศึกษา จนทําใหประเทศชาติเสียโอกาสในการพัฒนาใหทัดเทียมกับนานา
อารยประเทศ จึงเปนเหตุใหรัฐบาลไดมุงเนนความสําคัญกับนโยบายทางดานสังคมในการ
พัฒนาสังคมโดยองครวมเนนไปท่ี การสงเสริมความรัก ความสามัคคี ความสมานฉันทของคน
ไทยในชาติที่จักปฏิรูปสังคมใหอยูเย็นเปนสุข ปฏิรูปการศึกษาโดยยึดหลักคุณธรรมนําความรู
พัฒนาสุขภาวะของประชาชนใหครอบคลุมทั้ง มิติทางกาย จิต สังคม และปญญา บนพ้ืนฐาน
ของคุณธรรมและจรยิ ธรรมในการดํารงชวี ติ สามารถอยูรวมกับผอู ่ืนไดอ ยางมคี วามสขุ

๑.๑ ประวัตแิ ละความเปนมาของคุณธรรม–จรยิ ธรรม

๑.๑.๑ ประวตั ขิ องคณุ ธรรม – จริยธรรม
ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับคุณธรรมและจรยิ ธรรม คุณธรรมและจริยธรรม เปนเสมือน
บทบัญญัติของความดีและความงามของจิตใจที่สงผลใหบุคคลประพฤติดีประพฤติชอบ
คุณธรรมและจริยธรรมจึงเปนองคประกอบที่มีความสําคัญตอการประกอบการในวิชาชีพของ
บุคคลในทุกสาขาอาชีพ การทําความเขาใจกับความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม
จะทําใหผูประกอบวิชาชพี มคี วามตระหนกั ถงึ คุณประโยชนและโทษท่ีเปน ผลสบื เน่ืองจากการมี
คุณธรรมจริยธรรมและการขาดคุณธรรมและจริยธรรม นักจริยศาสตรและสังคมศาสตรไดให
ความหมายของคุณธรรมและจริยธรรมทั้งท่ีเปนพื้นฐานของความคิดและความหมายที่
เกย่ี วขอ งและเชือ่ มโยงกบั พฤตกิ รรมในดา นอืน่ ๆ ดว ย ดังทอ่ี าริสโตเติล (Aristotle) ไดกลา วถึง
ความหมายของธรรมชาติและคุณธรรมจริยธรรมวาเปนคุณลักษณะที่ทําใหปจเจกชนท้ังหลาย
อยูรวมกันในสังคมอยางมีความสุข (จําเริญรัตน เจือจันทร)0๑ ความสุขจึงมีความเช่ือมโยงกับ
คุณธรรมและจริยธรรมดวยเชนกัน จากผลการศึกษาและงานวิจัยคุณธรรมและจริยธรรมใน

๑ จําเริญรัตน เจือจันทร, จริยศาสตร: ทฤษฎีจริยธรรมสําหรับนักบริหารการศึกษา,
(กรงุ เทพมหานคร: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๘).

๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม

หลายสถานการณท่ีแตกตางกันจะทําใหเกิดความเขาใจพฤติกรรมดานคุณธรรมและจริยธรรม
ของผูประกอบวิชาชีพนนั้ ๆ ได

๑.๒ แหลง กําเนิดคณุ ธรรมและจริยธรรม

คุณธรรมและจริยธรรม เปนหลักการที่มนุษยในสังคมควรยึดถือปฏิบัติเพ่ือการอยู
รวมกันอยางเปนสุขในสังคม ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเกิดคุณธรรมและจริยธรรมข้ึนในสังคม
ตลอดมา เนื่องจากมีความพยายามท่ีตองการสรางหลักคุณธรรมและจริยธรรมท่ีเปนสากลให
บุคคลเกิดความรูสึกในเรื่องของคุณธรรมและจริยธรรมในแนวทางท่ีสอดคลองกับพฤติกรรม
แหลงกอกาํ เนิดของคณุ ธรรมจริยธรรมอาจแบง ออกไดเปน ๒ ประการ คือ

๑.๒.๑ แหลง กําเนดิ ภายในตวั บคุ คล อรสิ โตเติล (Aristotle)
ไดแยกแยะแหลงที่เกิดของคุณธรรมวาเปนคุณธรรมอันเกิดจากปญญา และ
คุณธรรมอันเกิดจากศีลธรรมและจริยธรรมวา คุณธรรมอันเกิดจากปญญา เปนคุณธรรมใน
ระดับปจ เจกบคุ คล กลาวคือ ผูท ี่มีสติปญญามักจะสามารถพฒั นาจริยธรรมไดดวยหลักของการ
คิดไตรตรอง สวนคุณธรรมอันเกิดจากศีลธรรมและจริยธรรมนั้น เปนคุณธรรมที่เกิดจากการ
ปฏิบัติจริงดว ยการเรียนรจู ากการอยรู ว มกัน เปน การแสดงพฤตกิ รรมท่ีถกู ตองซง่ึ นําไปสสู ภาวะ
ของความ เปนสขุ 1๒
แหลงกําเนิดนี้กลาวถึงพ้ืนฐานของมนุษยที่ไดมาจากธรรมชาติเปนตัวกําหนด
ซง่ึ แบง แยกออกเปน ๒ ประการ คอื
๑) ตัวกําหนดมาจากพันธุกรรมทีส่ งทอดมาจากบรรพบุรุษ มนุษยเ กิดมาพรอมดวย
คุณภาพของสมองทีจ่ ะพฒั นาข้ึนเปนความเฉลยี วฉลาดดา นปญญาโดยไดรบั การถายทอดสว นนี้
มาจากบรรพบุรุษโดยผานกระกระบวนการทางพันธุกรรม การพัฒนาของสมองจะดําเนินไป
ตามรหัสพันธุกรรมที่กําหนดไวต้ังแตเกิด แมวาการพัฒนาดานการคิดและสติปญญาจะเจริญ
พัฒนาตอมาภายใตอิทธิพลของการอบรมเลี้ยงดูและสิ่งแวดลอม แตค ุณภาพของสมองท่ีบุคคล
ไดรับจะเปน พื้นฐานเบื้องตน ดังเชน ท่ีพระพุทธเจาไดทรงตรัสรูธรรมไดด วยตนเองดวยปญญา
ของพระองค แตการเกิดมโนธรรมในมนุษย พระองคไดทรงแบงประเภทของบุคคลออกเปน

๒ อางแลว.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ดอกบัวประเภทตาง ๆ บุคคลที่เปนประเภทดอกบัวท่ีอยูบานชูชอเหนือนํ้า คือ บุคคลท่ี
สามารถเรียนรูและประจักษในความดีและความชั่วดวยปญญานั่นเอง สวนบุคคลที่เปน
ประเภทดอกบัวประเภทอ่ืน ๆ ก็อาจสามารถรูผิดชอบชั่วดีไดดวยการอบรมส่ังสอนตามระดับ
ความสามารถของสติปญญา นอกจากนี้ สัญชาตญาณแหงชีวิต (Life instinct) ของมนุษย ทํา
ใหม นุษยค ดิ หาแนวทางในการที่จะมีชีวิตอยูรอด และการมสี ตปิ ญญาในระดับทสี่ ูง ทาํ ใหมนุษย
สามารถคดิ พิจารณา และแยกแยะเหตแุ ละผลไดเ พอ่ื มชี ีวติ อยูรอดไดอยา งยั่งยืน

๒) ตัวกําหนดมาจากสภาพจิต จากแนวความคิดที่วาจริยธรรมมีแหลงกําเนิดจาก
ความรสู ึกผดิ ชอบช่วั ดี ซึ่งเกิดข้ึนจากมโนธรรมท่ีอยูในความรูสึกนกึ คิด ดังน้ัน แหลงกาํ เนดิ ของ
คุณธรรมและจริยธรรมจึงเปนคุณภาพของสมองในการคิด และคุณภาพของจิตท่ีสามารถ
แยกแยะความถูก ความผิดไดเปนพื้นฐาน สภาพของจิตน้ันทําใหบุคคลจดจําสิ่งท่ีเปนเคียด
แคน บาดหมางใจ หรือรูสึกผิดตลอดเวลากับการตัดสินท่ีพลาดพล้ังไป ดังนั้นสภาพจิต
กอใหเกิดอารมณและความรูสึกท่ีอาจนําไปสูการมีคุณธรรมและจริยธรรมและการขาด
คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมไดเทาๆ กนั

๑.๒.๒ แหลงกําเนิดภายนอกตวั บุคคล สวนสาเหตภุ ายนอกตวั บคุ คล
ดวงเดือน พันธุมนาวิน2๓ กลาววา ในการที่บุคคลนั้นจะทําความดี หรือละเวนการ
กระทําท่ีไมนาพึงปรารถนามากนอยเพียงใดน้ัน สาเหตุที่สําคัญ คือ คนรอบขาง กฎระเบียบ
สังคม วัฒนธรรมและสถานการณที่บุคคลประสบอยู นอกจากสภาพแวดลอมในการทํางาน
การมีหรอื การขาดแคลนส่ิงเออื้ อํานวยในการทํางาน ตลอดจนบรรยากาศทางสังคมในท่ีทาํ งาน
กลุมเพื่อนและวัฒนธรรมในองคกร จะมีผลตอพฤติกรรมการทํางาน และสขุ ภาพจิต ตลอดจน
ความสขุ ความพอใจในการทาํ งาน
วริยา ชินวรรโณ3๔ ไดอ ธิบายถึงอิทธิพลท่ีเปนผลตอการเกิดคุณธรรมและจริยธรรม
ในประเทศไทยซึ่งเร่ิมมีข้ึนในสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซ่ึงอาจกลาวไดวาเปน
รากฐานของแหลงคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ซึ่งสามารถนาํ มาอธบิ ายได ดังน้ี

๓ ดวงเดือน พันธุมนาวิน, จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา, (กรุงเทพมหานคร: ไทย
วัฒนาพานิช, ๒๕๒๔), หนา ๑๒๐.

๔ วริยา ชินวรรโณ, จริยธรรมของพลเมืองไทยในระบอบประชาธปิ ไตย : ประมวลองคความรู
ประสบการณ, (กรุงเทพมหานคร: ศนู ยห นงั สอื จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั , ๒๕๔๖), หนา ๒๒๐.

๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม

๑) อิทธิพลของคําสาบานกฎหมาย ระเบียบและวินัย หลักจริยธรรมที่ไดจากคํา
สาบาน ถือเปนราชประเพณีท่ีผูบริหารบานเมืองตองกระทํา นอกจากกฎหมายที่ระบุไวเปน
จริยธรรมหรือวินัยของ ผูปฏิบัติงาน การใหคําสาบานจึงเปนการกําหนดพฤติกรรมที่เปน
คุณธรรมจริยธรรมซ่ึงเปนเงื่อนไขผูกมัดดวย วาจาท่ีเช่ือมโยงกับความศักดิ์สิทธิ์ของพิธีกรรม
ซง่ึ ทําใหเกดิ เปน ขอกําหนดแนวทางความประพฤติซ่ึงมวี ัฒนธรรม เปน ตัวกาํ กบั อยูดว ยและอาจ
กลายมาเปน กฎเกณฑใ นที่สุด

๒) อิทธิพลของศาสนา ทุกศาสนายอมมีคําส่ังสอนเปนศีลและธรรมใหบุคคลผูนับ
ถือและ ศรัทธาใหการยอมรับและเช่ือฟง พรอมท่ีจะปฏิบัติตามโดยไมมีเงื่อนไข ดังเชน พุทธ
ศาสนาซึ่งเปนศาสนา ประจําชาติของประเทศไทย ไดกลาวแถลงธรรมในการบริหารจัดการ
และการปกครอง แผนดินของพระมหากษัตริย อันไดแก ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร ราช
สังคหวัตถุ และราชวสดีธรรม เปนตน4๕ ธรรมเหลาน้ีอันท่ีจริงแลวเปนหลักธรรมท่ีขาราชการ
ผบู รหิ ารและผูป ระกอบวชิ าชีพตา ง ๆ ควรยึดถอื ปฏบิ ตั ติ ามดวย

๑.๓ ทีม่ าของคณุ ธรรม

แหลงกําเนิดนี้กลาวถึงพื้นฐานของมนุษยท่ีไดมาจากธรรมชาติเปนตัวกําหนด ซ่ึง
แบง แยกออกเปน ๒ ประการ คอื

๑) ตัวกําหนดมาจากพันธุกรรมที่สงทอดมาจากบรรพบุรษุ มนุษยเกิดมาพรอมดวย
คุณภาพของสมองที่จะพัฒนาขึ้นเปน ความเฉลียวฉลาดดานปญญาโดยไดรับการถายทอดสวนนี้
มาจากบรรพบุรุษโดยผานกระบวนการทางพันธุกรรม การพัฒนาของสมองจะดําเนินไปตาม
รหัสพันธุกรรมท่ีกาํ หนดไวต ้ังแตเ กิด แมวาการพฒั นาดา นการคิดและสติปญญาจะเจริญพัฒนา
ตอมาภายใตอิทธิพลของการอบรมเลี้ยงดูและส่ิงแวดลอม แตคุณภาพของสมองท่ีบุคคลไดรับ
จะเปนพ้ืนฐานเบ้ืองตน ดังเชน ท่ีพระพุทธเจาไดทรงตรัสรูธรรมไดดวยตนเองดวยปญญาของ
พระองค แตก ารเกิดมโนธรรมในมนษุ ย พระองคไดท รงแบง ประเภทของบุคคลออกเปนดอกบัว
ประเภทตาง ๆ บคุ คลทเี่ ปนประเภทดอกบัวที่อยบู านชูชอเหนือนํา้ คอื บคุ คลที่สามารถเรียนรู
และประจักษในความดีและความชั่วดวยปญญาน่ันเอง สวนบุคคลที่เปนประเภทดอกบัว
ประเภทอ่ืน ๆ ก็อาจสามารถรูผิดชอบช่ัวดีไดดวยการอบรมส่ังสอนตามระดับความสามารถ

๕ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๒๒๓.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ของสตปิ ญ ญา นอกจากน้ี สัญชาตญาณแหงชวี ติ (Life instinct) ของมนษุ ย ทําใหม นษุ ยคดิ หา
แนวทางในการท่ีจะมีชีวิตอยูรอด และการมีสติปญญาในระดับที่สูง ทําใหมนุษยสามารถคิด
พจิ ารณา และแยกแยะเหตุและผลไดเพ่ือมีชีวติ อยูร อดไดอยางยั่งยืน

๒) ตัวกําหนดมาจากสภาพจิต จากแนวความคิดที่วาจริยธรรมมีแหลงกําเนิดจาก
ความรสู ึกผิดชอบช่ัวดี ซ่ึงเกิดข้ึนจากมโนธรรมท่ีอยูในความรูสึกนกึ คดิ ดังนั้น แหลงกาํ เนดิ ของ
คุณธรรมและจริยธรรมจึงเปนคุณภาพของสมองในการคิด และคุณภาพของจิตท่ีสามารถ
แยกแยะ ความถูก ความผิดไดเปนพ้ืนฐาน สภาพของจิตนั้นทําใหบุคคลจดจําสิ่งที่เปนเคียด
แคน บาดหมางใจ หรือรูสึกผิดตลอดเวลากับการตัดสินที่พลาดพลั้งไป ดังนั้นสภาพจิต
กอใหเกิดอารมณและความรูสึกที่ อาจนําไปสูการมีคุณธรรมและจริยธรรมและการขาด
คุณธรรมและจริยธรรมไดเ ทา ๆ กนั

แตอยางไรก็ตามคุณธรรมและจริยธรรมมีความสัมพันธกับสติปญญา นักบริหาร
การศึกษาท่ีมีคุณสมบัติดานสติปญญายอมไดเปรียบในดานความคิดและการแสวงหาเหตุผล
และสามารถพิจารณาผลที่จะบังเกิดขึ้นจากการกระทําของตนได นักบริหารที่มีสติปญญาใน
ระดับสูงจะเปนผูที่สามารถคิดแกปญญาโดยยึดหลักเหตุผลท่ีใหประโยชนสุขแกตนเองและไม
ทําใหตนเองไดรับความเดือดรอนใน ภายหลังได ซึ่งกลาวไดวาเกิดเปนผลประโยชนท่ียัง
ความสขุ มาใหอยา งยั่งยืน

(๑) แหลงกําเนดิ ภายนอกตัวบุคคล สวนสาเหตภุ ายนอกตัวบคุ คล
ดวงเดือน พันธุมนาวนิ 5๖ กลาววา ในการท่ีบุคคลนั้นจะทําความดี หรือละเวนการ
กระทําที่ไมนาพึงปรารถนามากนอยเพียงใดน้ัน สาเหตุที่สําคัญ คือ คนรอบขาง กฎระเบียบ
สังคม วัฒนธรรมและสถานการณท่ีบุคคลประสบอยู นอกจากสภาพแวดลอมในการทํางาน
การมีหรอื การขาดแคลนสิ่งเอือ้ อาํ นวยในการทํางาน ตลอดจนบรรยากาศทางสังคมในที่ทาํ งาน
กลุมเพ่ือนและวัฒนธรรมในองคกร จะมีผลตอพฤติกรรมการทํางาน และสขุ ภาพจิต ตลอดจน
ความสุขความพอใจในการทาํ งาน

๖ ดวงเดือน พันธุมนาวิน, จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา, (กรุงเทพมหานคร: ไทย
วฒั นาพานิช, ๒๕๒๔), หนา ๒๐.

๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับคุณธรรมและจริยธรรม

วริยา ชินวรรโณ6๗ ไดอธิบายถึงอทิ ธิพลทเ่ี ปนผลตอ การเกดิ คุณธรรมและจริยธรรม
ในประเทศไทยซึ่งเร่ิมมีขึ้นในสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ซ่ึงอาจกลาวไดวาเปน
รากฐานของแหลง คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ซง่ึ สามารถนาํ มาอธิบายได ดังน้ี

๑) อิทธิพลของคําสาบานกฎหมาย ระเบียบและวินัย หลักจริยธรรมท่ีไดจากคํา
สาบาน ถือเปนราชประเพณีที่ผูบริหารบานเมืองตองกระทํา นอกจากกฎหมายที่ระบุไวเปน
จริยธรรมหรือวินัยของผูปฏิบัติงาน การใหคําสาบานจึงเปนการกําหนดพฤติกรรมที่เปน
คุณธรรมจรยิ ธรรมซึ่งเปนเงื่อนไขผูกมัดดวยวาจาท่ีเชื่อมโยงกับความศักด์ิสิทธ์ิของพธิ ีกรรม ซึ่ง
ทําใหเกิดเปนขอกําหนดแนวทางความประพฤติซึ่งมีวัฒนธรรมเปนตัวกํากับอยูดวยและอาจ
กลายมาเปนกฎเกณฑในที่สดุ สวนในเร่ืองของกฎหมายในปจจบุ ัน นักบรหิ ารตองคํานึงถึงหลัก
กฎหมายอยางเปนธรรม กฎหมายบานเมืองเปนตัวกําหนดคุณธรรมและจริยธรรมในดานการ
กระทําตอกันในการดําเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ เพ่ือขจัดความขัดแยงระหวาง
ประชาชนในประเทศน้ัน ๆ ประชาชนจําเปนจะตองเรียนรูและตองปฏิบัติตามกฎหมายที่เปน
เปนกฎหมาย สําหรับประชาชนซึ่งสวนใหญจะเปนการดําเนินชีวิตประจําวันซ่ึงเปนเรื่องของ
คุณธรรมและจริยธรรม7๘ พบวา การที่บุคคลรวู าอะไรดอี ะไรเหมาะสมและสําคัญนั้นไมเพียงพอ ท่ี
จะทําใหเขามีพฤติกรรมตามน้ันได เพราะคนที่ทําผิดกฎหมาย เชน ไปลักทรัพยหรือทําราย
รางกายผูอื่น ไมไดทําไปเพราะรูเทาไมถึงการณ แตทําไปทั้ง ๆ ท่ีรูวาผิด เพราะหลังจากท่ีกระทํา
ลงไปแลวก็จะหลบหนีซอนตัวเพราะกลัวถูกจับมา ลงโทษนั่นเอง นักบริหารก็เชนกัน เม่ือรูตัววา
กระทาํ ผดิ มกั จะรูแกใจและมักจะแสดงพฤติกรรมอ่ืน ๆ เพอ่ื กลบเกล่อื น

๒) อิทธิพลของศาสนา ทุกศาสนายอมมีคําส่ังสอนเปนศีลและธรรมใหบุคคลผูนับถือ
และศรัทธาใหการยอมรับและเชื่อฟง พรอมที่จะปฏิบัติตามโดยไมมีเงื่อนไข ดังเชน พุทธศาสนา
ซึ่งเปนศาสนาประจําชาติของประเทศไทย ไดกลาวแถลงธรรมในการบริหารจัดการและการ
ปกครองแผนดิน ของพระมหากษัตริย อันไดแก ทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตร ราชสังคหวัตถุ

๗ วรยิ า ชินวรรโณ, จรยิ ธรรมของพลเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตย: ประมวลองคความรู
ประสบการณ, (กรงุ เทพมหานคร: ศูนยหนงั สือจฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั , ๒๕๔๖), หนา ๒๒๐.

๘ ดวงเดือน พันธุมนาวิน, จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา, (กรุงเทพมหานคร: ไทย
วฒั นาพานิช, ๒๕๒๔), หนา ๓๔.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

และราชวสดีธรรม เปนตน8๙ ธรรมเหลานี้อันท่ีจริงแลวเปนหลักธรรมท่ีขาราชการ ผูบริหารและผู
ประกอบวชิ าชีพตา ง ๆ ควรยดึ ถอื ปฏบิ ัติตามดวย

๑.๔ ความหมายของคุณธรรม-จริยธรรม สาํ หรบั ผูบริหาร

๑.๔.๑ ความหมายของคุณธรรม (Moral)

ความหมายของคําวา คุณธรรม นี้ มนี ักการศกึ ษาหลายทา น ไดเ สนอแนวคดิ ซ่ึงเปน

ท่ียอมรับโดยทั่วไป ไดแก “คุณธรรม” คือ คุณ + ธรรมะ คุณงามความดีท่ีเปนธรรมชาติ
กอ ใหเกดิ ประโยชนต อ ตนเองและสังคม ซง่ึ รวมสรุปวา คอื สภาพคุณงาม ความดี

ผูทรงคุณวุฒิหลายทานและหนวยงานท่ีเกี่ยวของกับการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
ไดใหความหมายของคําวา “คุณธรรมและจรยิ ธรรม” ไวอ ยางมากมายหลายความหมาย ซึ่งจะ
ขอยกมาเฉพาะทเี่ หน็ วา สําคญั เพ่ือเปน ประโยชนตอการศึกษาวจิ ยั ในครั้งน้ี ไดแก

พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒9๑๐ ไดอธิบายวา คุณธรรม เปนคําท่ี
ทุกคนไดรูจัก ไดสัมผัสคุนเคย แตความหมายท่ีแตละคนเขาใจหรืออธิบาย ก็แตกตางกันไป
ทั้งนี้ข้ึนอยูกับแนวคิดของแตละบุคคล และแตละศาสตร อันเปนพ้ืนฐานของบุคคลน้ัน ๆ ตาม
ความหมายที่ปรากฏในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงาม
ความดี

พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต)๑๑ ไดกลาวไววา คุณธรรมเปนคุณภาพของจิตใจ
กลา วคอื คุณสมบัตทิ ี่เสรมิ สรา งจิตใจใหด ีงาม ใหเ ปนจติ ใจท่สี งู ประณีตและประเสริฐ เชน

เมตตา คอื ความรักปรารถนาดี เปนมติ ร อยากใหผูอน่ื มีความสุข
กรุณา คือ ความสงสารอยากชวยเหลอื ผูอื่นใหพน จากความทกุ ข

๙ วรยิ า ชินวรรโณ, จริยธรรมของพลเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตย: ประมวลองคความรู
ประสบการณ, หนา ๒๒๓.

๑๐ ราชบณั ฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕, พมิ พคร้งั ที่ ๕, พมิ พ
ลกั ษณ, (กรุงเทพมหานคร: อกั ษรเจรญิ ทัศน, ๒๕๓๘), หนา ๕๖.

๑๑ พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรม, พิมพคร้ังที่ ๙, (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลง
กรณราชวทิ ยาลยั , ๒๕๔๓), หนา ๑๔.

๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม

มุทิตา คือ ความพลอยยินดี พรอมท่ีจะสงเสริมสนบั สนุนผูท่ีประสบความสาํ เรจ็ ใหมี
ความสุข หรอื กา วหนาในสงิ่ ที่ดีงาม

อเุ บกขา คือ การวางตวั วางใจเปน กลาง เพอื่ รักษาธรรม เม่อื ผูอ่ืนจะตองรับผดิ ชอบ
ตอ การกระทําของเขาตามเหตุและผล

บุญมี แทนแกว11๑๒ ไดใหความหมายวา หมายถึง “ศีลธรรม คุณธรรม” อันเปน
ธรรมะท่ีควรประพฤติ เชน เบญจศีล หิรโิ อตตัปปะ อิทธิบาท ๔ กศุ ลกรรมบถ ๔ อรยิ มรรคมี
องค ๘ เปน ตน ฉะนั้นจรยิ ธรรมก็คือ คานยิ มระดับตา ง ๆ ซ่ึงสังคมและบคุ คลจาํ เปน ตอ งยดึ มั่น
ถอื มน่ั

ดวงเดือน พันธุมนาวิน12๑๓ ใหความหมายวา คุณธรรม หมายถึง ส่ิงที่คน สวนใหญ
ในสังคมเห็นวา ดี เชน ความซอื่ สัตย การมีวินยั ประหยัด เปน ตน

กีรติ บุญเจือ13๑๔ ใหความหมายวา “คุณธรรม เปนสมบัติของบุคคล ซึ่งทําใหผูมี
คุณธรรมรูจักแสวงหาคุณงามความดี และทําใหเขาไดบรรลุถึงจุดหมายอันดีเลิศ ทั้งในดาน
ความประพฤตทิ ่วั ไปหรอื ขอบเขตทีจ่ าํ กดั แหง ความประพฤต”ิ

ธานินทร กรัยวิเชียร14๑๕ ใหความหมายวา “คุณธรรม” วาคือสภาพคุณงามความดี
เราอาจกลาวไดวา การที่จะวินิจฉัยวาบุคลใดมีคุณธรรมดีเดนมากนอยเพียงใดน้ัน ยอมตอง
พิจารณาโดยรวมวา บคุ คลนั้นมีอปุ นิสัยและประพฤติตนเปนอยา งไร ดํารงตนอยูในกรอบของ
กฎหมายและศีลธรรมเพียงใด เปนผูมีความรับผิดชอบตอหนาที่การงานและสังคมอยางไร
และเปนผทู ่ยี ดึ มนั่ ในความถูกตองชอบธรรมเพยี งใด

๑๒ บุญมี แทนแกว, จริยธรรมกับชีวิต, พิมพคร้ังที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร,
๒๕๔๑), หนา ๓๕.

๑๓ ดวงเดือน พันธุมนาวิน, จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา, (กรุงเทพมหานคร: ไทย
วฒั นาพานชิ , ๒๕๒๔), หนา ๓๖.

๑๔ กีรติ บุญเจือ, “บทบาทของสถาบันศาสนาในการจัดการศกึ ษา แหง ชาติ”, รายงานการวจิ ัย
(กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั อสั สมั ชัญ, ๒๕๔๑), หนา ๖๕.

๑๕ ธานินทร กรัยวิเชียร, คุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร, พิมพคร้ังท่ี ๓, (กรุงเทพมหานคร:
โรงพมิ พชวนพิมพ, ๒๕๔๘), หนา ๗๓.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

วศิน อินทสระ15๑๖ ไดใหความหมายคุณธรรม ตามหลักจริยศาสตรไววา คุณธรรม
คือ อุปนิสัยอันดีงามซึ่งสั่งสมอยูในดวงจิต อุปนิสัยอันน้ีไดมาจากความพยายามและความ
ประพฤติติดตอกันมาเปนเวลานาน พรอมอธิบายและไดใหความหมายอันส้ันวา คุณธรรม คือ
ความลํา้ เลิศแหงอุปนิสัย

คณุ ธรรม คือ คุณ + ธรรมะ คุณงามความดีที่เปนธรรมชาติ กอใหเกิด ประโยชนตอ
ตนเองและสังคม16๑๗

นอกจากน้ี วศิน อินทสระ ยังไดส รุปถึงความหมายของคุณธรรม ตามทรรศนะของ
บคุ คลตา ง ๆ ดงั น้ี

โสเครติส (Socratis กอน ค.ศ. ๔๖๙ - ๓๙๙)17๑๘ ปรชั ญาเมธีผูย่ิงใหญกลา ววาคุณธรรม
คือความรู (Virtue is Knowledge) โสเครติส ยังกลาววา “ถาบคุ คลรูและเขาใจถึงธรรมชาติของ
ความดีจริง ๆ แลว เขาจะไมพ ลาดจากการประกอบกรรมดี เขาจะไมทาํ ความชั่วเพราะความไมรู
นั่นเอง ทําใหเขาตองทําความช่ัว ความเขลา เปนความช่ัวรายพอ ๆ กับความรูเปนคุณธรรมหรือ
เปนคนดี ไมมีใครต้ังใจทําความผิด (None Intentionally does Wong) ท่ีเขาทําผิดเพราะเขาไม
รู แมความเปนคนพอประมาณโดยไมรู (วานั่นคือความพอดี) ก็เปนความไมพอดี อยางหน่ึง ความ
เปนผูกลาหาญโดยไมรูจักความกลาหาญ ก็เปนความขลาดอยางหนึ่ง ดังนั้นทรรศนะของโสเคร
ติสแลว ความรูกอใหเกิดสาระคุณธรรม บุคคลไมเคยทําความผิดท้ัง ๆ ท่ีรูเลย” จึงกลาวไดวา โส
เครตสิ กลา วถึงทรรศนะคุณธรรมคือ ความรหู รือปญ ญาพรอมท้ังนิสยั

เพลโต (Plato กอน ค.ศ. ๔๒๗-๓๔๗)18๑๙ เห็นวา คุณธรรมที่สําคัญมอี ยู ๔ ประการ
คอื

๑. ปญ ญา (ปรชั ญาญาณ)
๒. ความกลาหาญ

๑๖ วศิน อินทสระ, พทุ ธจริยศาสตร, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พทองกวาว, ๒๕๔๑).
๑๗ รองศาสตราจารย ดร.สุรเดช สําราญจิตต, เอกสารเผยแพรความรู การเรียนการสอนท่ี
เก่ียวกับคุณธรรมจริยธรรม, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.jariyatam.com/moral-cultivationk.
pop. [๒๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๙].
๑๘ โสเครติส (Socratis กอน ค.ศ. ๔๖๙) อางใน วศิน อินทสระ, พุทธ จริยศาสตร, หนา
๓๙๙.
๑๙ เพลโต (Plato กอ น ค.ศ. ๔๒๗-๓๔๗) อา งใน วศนิ อินทสระ, พทุ ธจรยิ ศาสตร, หนา ๓๙๙.

๑๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับคุณธรรมและจริยธรรม

๓. ความพอประมาณ (รจู กั ประมาณ)
๔. ความยตุ ธิ รรม
เพลโต ถือวา ปญญาสําคัญที่สุด โอบออมเอาคุณธรรมอื่น ๆ ไวดวยกัน ทํานอง
เดียวกันท่ีพระพุทธเจาทรงถือเอาความไมประมาทเปนธรรมสําคัญที่สุดเกินกวาธรรมท้ังปวง
เพราะความไมป ระมาทโอบออมเอาคุณธรรมอื่น ๆ ไวห มด
อริสโตเติล (Aristotle กอน ค.ศ. ๓๘๔ - ๓๒๒)19๒๐ ยอมรับคุณธรรม ๔ ประการ
ของเพลโต แตเนนความรับผดิ ชอบ เพราะถอื วาคุณธรรมคือความพอดี พองาม ไมเอียงสุดไป
ดานใดดานหน่ึง คือ ไมเกินไปกับไมหยอนไป เชน คุณธรรมคือ ความกลาหาญเปนทามกลาง
ระหวางความกลาหาญ บาบิ่นกับความขลาด คุณธรรม คือ ความจริงเปนทามกลางระหวาง
การพูดจริงกับการดูหมิ่นตนเอง หรือถอมตนจนเกินไป คุณธรรมคือ ความเสียสละเปน
ทามกลางระหวางความฟุมเฟอย สุรุยสุราย กับความตระหนี่เหนียวแนน ความเห็นของ
อริสโตเติล เขากับความเห็นทางพระพุทธศาสนาเร่ืองมัชฌิมาปฏิปทา เปนขอปฏิบัติสายกลาง
คือ ไมต ึงเกนิ ไป ไมห ยอ นเกนิ ไป
จอหน ดิวอี้ (John Dewey, ค.ศ. ๑๘๕๙ – ๑๙๕๒)20๒๑ ไดกลาววา คุณธรรม
จริยธรรมคือหลักความประพฤติท่ีมีการฝกอบรมใหเปนความประพฤติของพลเมืองท่ีดี โดย
เนน ทรี่ ายบคุ คลเทากันท่ีตระหนักถึงผลทางสังคมที่จะดํารงรูปแบบของสงั คมนั้น ดงั น้ัน หลัก
จริยธรรมจึงไมมีใครคนใดคนหนึ่งผูกขาดการตัดสิน ไมใชเรื่องเหนือธรรมชาติ ไมสราง
รูปแบบเฉพาะผูกขาดหรือวิถีชีวิตเพียงอยางใดอยางหน่ึง การแปลความหมายคณุ ธรรมในชีวิต
สังคมซ่ึงเต็มไปดวยความเรงรุดหนาที่จะสรางลักษณะนิสัยของบุคคลโดยเนนความสําคัญใน
ดานจติ ใจ ในการจดั จรยิ ศึกษา
จึงสรุป ความหมายของคุณธรรม คอื หลักความประพฤตทิ ี่เปนลักษณะนิสัยที่ดีงาม
ไดรับการส่ังสมหรือปฏิบัติตามกันมาจากจิตใจโดยมิไดฝนใจ ผลจากการกระทํา กอใหเกิด
ประโยชนแกผูท ี่ยึดถือโดยตรง และสง ผลใหสงั คมของการอยรู วมกนั มีความสุข และความเจริญ

๒๐ อริสโตเติล (Aristotle กอน ค.ศ. ๓๘๔-๓๒๒) อางใน วศิน อินทสระ, พุทธจริยศาสตร, หนา
๓๙๙.

๒๑ จอหน ดิวอี้ (John Dewey, ค.ศ. ๑๘๕๙–๑๙๕๒) อางใน วศิน อินทสระ, พุทธจริย ศาสตร,
หนา ๓๙๙.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

งอกงาม หลักคุณธรรมจึงมีความสําคัญอยางยิ่ง สําหรับมนุษยท่ีตองอาศัยอยูรวมกัน เพราะ
คุณธรรมเปนหลักแหงความประพฤติ ปฏิบัติในทางที่ถูกตองและดีงาม มจี ุดหมายปลายทางอยู
ท่ีคุณงามความดีของสังคมโดยสวนรวม คุณธรรม คือ จิตรูสํานึกของคนที่มุงจะประพฤติแต
ความดีทั้งทางกาย วาจา และใจ ท่ีเปนประโยชนตอตนเองและสังคมสวนรวมตามบทบาท
หนา ที่ของตนเองท่มี อี ยู ลดละความเห็นแกต วั แตจะยังประโยชนใหถึงพรอ มเพ่ือความสงบสุข
ของสงั คม

จากขอความทกี่ ลาวมาทง้ั หมดนี้ พอสรุปไดวาคุณธรรมจริยธรรมเปนรากฐานสําคัญ
ในการพัฒนาคน ปญหาของสังคมไทยท่ีประสบพบเห็นอยูทุกวันน้ีเกิดจาก “คน” ปญหา
เร่ิมตนท่ี “คน” และมีผลกระทบถึง “คน” การแกปญหาสังคมไทยจงึ ตองแกดว ย “การพัฒนา
คน” เพื่อใหคนมปี ญญา มีความรูมคี ุณธรรมและมีทักษะในการแกปญหาชีวิต ปญหาจึงอยูทว่ี า
เราจะพัฒนาคนอยางไรเพ่ือใหคนมีชีวิตท่ีดีงามสามารถใชความรูและแกปญหาได สรางสรรค
ได ปฏิบัติตอเทคโนโลยีอยางถูกตอง อยูในระบบการแขงขันทางเศรษฐกิจได บริโภคผลผลิต
ดวยปญ ญา รอู ะไรดี อะไรชัว่ มีทศั นคติทางจริยธรรมที่เหมาะสม ฯลฯ ท้ังหมดนเ้ี ปนคุณสมบัติ
ของคนที่มีคุณธรรม การจัดการศึกษาคงตองยึดหลักสําคัญคือ “ใหความรูคูคุณธรรม”
สงั คมไทยจงึ จะมีสมาชกิ ของสงั คมท่ีเปนทัง้ คนเกงและคนดี ดงั คาํ กลอนของ21๒๒ กลาวไวดังนี้

“เม่อื ความรยู อดเยยี่ มสูงเทยี มเมฆ แตคุณธรรมตา่ํ เฉกยอดหญาน่นั
อาจเสกสรางมจิ ฉาสารพนั ดว ยจิตอันไรอายในโลกา
แมคณุ ธรรมเย่ยี มถึงเทียมเมฆ แตค วามรตู ่าํ เฉกเพยี งยอดหญา
ยอ มเปน เหยอื่ ทรชนจนระอา ดว ยปญ ญาออ นดอยนานอยใจ
หากความรูสงู ลา้ํ คุณธรรมเลศิ แสนประเสรฐิ กอปรกจิ วินิจฉัย
จะพัฒนาประชาราษฎรทัง้ ชาติไทย ตองฝกใหค วามรคู คู ณุ ธรรม”

๒๒ อําไพ สุจริตกุล, คุณธรรมครูไทย, พิมพคร้ังที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพจุฬาลงกรณ
มหาวทิ ยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๑๘๖.

๑๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม

พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมมจิตโต)22๒๓ กลาววา คุณธรรมคือคุณสมบัติท่ีดี
ของจิตใจ ถาปลูกฝงเร่ืองคุณธรรมไดจะเปนพื้นฐานจรรยาบรรณ... จรรยาบรรณนี้เปนเร่ือง
พฤติกรรมในการที่จะพัฒนาตองตีความออกไปวา พฤติกรรมเหลานี้มีพื้นฐานจากคุณธรรมขอ
ใด เชน เบญจศีลเปนจริยธรรม เบญจธรรมเปนคุณธรรมคือ ความเมตตากรุณา ถามีความ
เมตตากรุณาจะ มีฐานของศลี ขอที่ ๑ เปนตน

สวนจริยธรรม พจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕23๒๔ ใหความหมายวา
“จรยิ ธรรมหมายถึง ธรรมที่เปน ขอ ประพฤตปิ ฏบิ ัติ ศลี ธรรม กฎศีลธรรม”

พระเมธธี รรมาภรณ (ประยรู ธมฺมจติ โต)24๒๕ กลาววา จริยธรรม คือ หลักแหง ความ
ประพฤติ หรือแนวทางการปฏบิ ตั ิ หมายถึง แนวทางของการปฏิบัติ หมายถึง แนวทางของการ
ประพฤติปฏิบัติ จนใหเปนคนดีเพอ่ื ประโยชนสขุ ของตนเองและสวนรวม

นอกจากน้ีพระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมมจิตโต)25๒๖ ยังใหแนวคิดวาจริยธรรมคือ
หลักแหงความประพฤติดีงามสําหรับทุกคนในสังคม ถาเปนขอปฏิบัติท่ัวไป เรียกวาจริยธรรม
ถา เปนขอควรประพฤติทม่ี ีศาสนาเขามาเกี่ยวของ เราเรียกวา ศีลธรรม แตทง้ั น้ีมไิ ดหมายความ
วา จริยาธรรมอิงอยูกับหลักคําสอนทางศาสนาเพียงอยางเดียว แทท่ีจริงนั้นยังหยั่งรากอยูบน
ขนบธรรมเนียมประเพณี แมนักปราชญคนสําคัญ เชน อริสโตเติล คานท มหาตมะคานธี
กม็ สี วนสรา งจรยิ ธรรมสาํ หรับเปน แนวทางในการดาํ รงชวี ิตของคนจาํ นวนหน่งึ

จากทัศนะของพระเมธีธรรมาภรณ ดังกลาวขางตนนี้ จะเห็นไดวาจริยธรรมไมแยก
เด็ดขาดจากศีลธรรม แตมีความหมายกวางกวาศีลธรรม ศีลธรรมเปนหลักคําสอนที่วาดวย
ความประพฤติชอบ สวนจริยธรรม หมายถึง หลักแหงความประพฤติดีประพฤติชอบอัน
วางรากฐานอยูบนหลักคําสอนของศาสนา ปรัชญาและขนบธรรมเนียมประเพณี ทานผูน้ีมอง
จริยธรรมในฐานะท่ีเปนระบบ อันมีศีลธรรมเปนสวนประกอบสําคัญ แตก็มีแนวคิดปรัชญา
คานิยม ตลอดจนธรรมเนียมประเพณีเขามาเก่ียวของดวยจากที่กลาวมาทั้งหมดพอสรุปไดวา

๒๓ พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมมจิตโต), คุณธรรมสําหรับนักบริหาร, พิมพคร้ังที่ ๒,
(กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท สหธรรมิก จาํ กดั , ๒๕๓๘), หนา ๑๕-๑๖.

๒๔ ราชบณั ฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๒๕, หนา ๕๖.
๒๕ พระเมธธี รรมาภรณ (ประยรู ธมมจิตโต), คุณธรรมสําหรบั นกั บริหาร, หนา ๘๑-๘๒.
๒๖ อา งแลว .

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

คําวา คุณธรรม จริยธรรม สองคํานี้เปนคําที่มีความหมายเก่ียวของกันในดานคุณงามความดี
กลาวคือ จริยธรรมคือความประพฤติที่ถูกตองดีงามทั้งกายและวาจา สมควรท่ีบุคคลจะ
ประพฤติปฏบิ ัติ เพื่อใหตนเองและคนในสังคมรอบขางมีความสุข สงบ เยือกเย็น จรยิ ธรรมเปน
เร่ืองของการฝกนิสัยที่ดี โดยกระทําอยางตอเนื่องสมํ่าเสมอจนเปนนิสัย ผูมีความประพฤติดี
งามอยางแทจ ริงจะตอ งเปนผูมีความรูสึกในดานดีอยูตลอดเวลา คือ มี “คณุ ธรรม “อยูในจิตใจ
หรืออาจกลาวไดวาจริยธรรมเปนเรื่องของการประพฤติปฏิบัติเปนพฤติกรรมภายนอก สวน
คุณธรรมเปนสภาพคุณงามความดีภายในจิตใจ ซึ่งทั้งสองสวนตองเกี่ยวของสัมพันธกัน
พฤติกรรมของคนท่ีแสดงออกมาทั้งทางกายและวาจาน้ัน ยอมเก่ียวเนื่องสัมพันธและเปนไป
ตามความรูสึกนึกคิดทางจิตใจและสติปญญา การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของบุคคลจึงตอง
พัฒนาท้ัง ๓ ดา น ควบคูกนั ไป คอื การพฒั นาดา นสติปญญา ดา นจติ ใจและดา นพฤติกรรม

๑.๔.๒ จรยิ ธรรม (Ethics)
สําหรับความหมายของจริยธรรมไดมีนักวิชาการและผูรูหลายทานไดกลาวถึง
ความหมาย ดงั นี้
“จริยธรรม” = จริย + ธรรมะ คอื ความประพฤตทิ ี่เปนธรรมชาติ เกดิ จากคณุ ธรรม
ในตัวเองกอใหเ กิดความสงบเรียบรอยในสงั คม รวมสรปุ วาคือ ขอควรประพฤติปฏบิ ัติจริยธรรม
(Ethics) ความเปนผมู ีจติ ใจสะอาด บรสิ ทุ ธ์ิ เสียสละหรอื ประพฤตดิ งี าม
จริยธรรมเปนเรื่องท่ีนักการศึกษาและนักวิชาการสนใจที่จะศึกษา เพื่อนํามา
แกปญหา จริยธรรมในสังคมไทย และหาทางปลูกฝงใหบุคคลในสังคมมีจริยธรรมควบคูไปกับ
คุณธรรม เพื่อการดํารงชีวิตอยูในสังคมอยางมีความสุข ในการศึกษาจริยธรรมไดมีผูให
ความหมายไวหลากหลายในทศั นะของตน ไดแก
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน26๒๗ ใหความหมายของจริยธรรมไววา จริยธรรม
หมายถงึ ธรรมทีเ่ ปน ขอประพฤติปฏบิ ตั ิ

๒๗ ราชบัณฑติ ยสถาน, พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕, หนา ๑๘๙.

๑๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม

เสถียรพงษ วรรณปก27๒๘ ใหความหมายวา จริยธรรมหมายถึงความดีงาม ส่ิงท่ี
ควรประพฤติ จรยิ ธรรมเปน สมหุ นาม (คําเรยี กรวม) ของสง่ิ ทคี่ วรประพฤติทงั้ หลาย

ดวงเดือน พันธุมนาวิน28๒๙ กลาววา จริยธรรม หมายถึง สํานึกท่ีบุคคลมีในเร่ือง
เกี่ยวกับความดี ความชัว่ ความถูก ความผิด ความยุตธิ รรม ความไมยุตธิ รรม จริยธรรมเปนคํา
ท่ีมีความหมายกวาง พฤติกรรมท่ีเก่ียวของกับจริยธรรมอาจมีลักษณะท่ีสังคมตองการใหมีใน
สมาชิกในสังคมเปนพฤติกรรมที่สงั คมชมชอบใหการสนับสนุนและผกู ระทําสวนมากพอใจวา ส่ิง
ที่ทํานั้นถูกตอง เหมาะสม และถาเปนลักษณะพฤติกรรมที่สังคมไมตองการใหมีในสมาชิกใน
สังคม เปนการกระทําท่ีสังคมลงโทษ หรือพยายามจํากัดผูปฏิบัติเมื่อไปทําแลวสวนมากจะ
รูสกึ วาเปนส่งิ ทีไ่ มถูกตอ งและไมสมควร

วิทย วิศทเวทย29๓๐ กลาววา จริยธรรม หมายถึง ความประพฤติตามคานิยมอันพึง
ประสงคโดยใชจริยศึกษา พฤติกรรมดานคุณคาสามารถแยกแยะไดวา ส่ิงใดดี ควรทํา ส่ิงใด
ชวั่ ควรละเวน

พนัส หันนาคินทร30๓๑ กลาววา จริยธรรม หมายถึง คุณสมบัติทางความ ประพฤติ
(Conduct) ทส่ี ังคมมงุ หวงั ใหส มาชิกของสังคมนัน้ ประพฤติตาม

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช31๓๒ ไดใหความหมายจริยธรรมวา จริยธรรม เปน
หลักที่ชวยใหบุคคลมีความรูสึกรับผิดชอบชั่วดีและเปนแนวทางในการตัดสินใจของบุคคลใน
สวนทีเ่ กยี่ วขอ งกบั วธิ กี าร เหตุผล และสิ่งท่ีควรประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ

๒๘ เสฐียรพงษ วรรณปก, คําบรรยายพระไตรปฎก, (กรุงเทพมหานคร: หอรัตนตรัยการพิมพ,
๒๕๔๐), หนา ๒๔.

๒๙ ดวงเดือน พันธุมนาวิน, จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา, (กรุงเทพมหานคร: ไทย
วฒั นาพานิช, ๒๕๒๔).

๓๐ วิทย วิศทเวทย, จริยศาสตรเบ้ืองตน: มนุษยกับปญหาจริยธรรม, (กรุงเทพมหานคร: โรง
พิมพอักษรเจริญทัศน, ๒๕๔๐).

๓๑ พนัส หันนาคินทร, การบริหารบุคลากรในโรงเรียน, (พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิ
โรฒ, ๒๕๒๖).

๓๒ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, การจัดการโรงเรียนมัธยมศึกษา, (กรุงเทพมหานคร:
ยูไนเต็ดโปรดคั ชนั่ , ๒๕๒๕).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)๓๓ ใหความหมายวา จริยธรรมหมายถึง
หลักแหงความประพฤติปฏิบัติชอบ อันวางรากฐานอยูบนหลักคําสอนของศาสนา ปรัชญา
และขนบธรรมเนียมประเพณี

พระธรรมปฎก (ประยุทธ ปยุตฺโต)33๓๔ ไดใหความหมายของจริยธรรมไววา
จริยธรรม “ธรรมคือความประพฤติ”, “ธรรมคือการดําเนินชีวิต”, หลักความประพฤติ,
หลักการดําเนินชีวิต คําวา “จริยธรรม”น้ี นักปราชญในประเทศไทยไดบัญญัติใหใชสําหรับคํา
ภาษาอังกฤษวา ethics หมายถึง ธรรมท่ีเปนขอประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม หรือกฎศีลธรรม
จริยะ (หรือ จริยธรรม) อันประเสริฐ เรียกวา พรหมจริยะ (พรหมจริยธรรม หรือพรหมจรรย)
แปลวา “ความประพฤติอันประเสริฐ” หรือทางดําเนินชีวิตอยางประเสริฐ หมายถึง มรรคมี
องค ๘ หรือ ศีล สมาธิ ปญ ญา

พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยุตฺโต) ๓๕ กลาวถึงความหมายของจริยธรรมไววา

34

จริยธรรมเปนการแสดงออกหรือการกระทําของบุคคล ในระดับที่มองเห็นกัน ท่ีปรากฏแก
ผอู ่นื ในลักษณะที่เก่ยี วขอ งกับศลี ธรรม หรอื มผี ลกระทบตอสงั คม

ธีระพร อวุ รรณโณ35๓๖ ใหความหมายจริยธรรมไว ๓ แบบ คือ
แบบท่ี ๑ เนนวา จริยธรรมเปนเร่ืองวาดวยหลักการ กฎเกณฑ มาตรฐาน และ
หนทางในการประพฤตปิ ฏิบัติ
แบบที่ ๒ เนนวา จริยธรรมเปนเรื่องของการประพฤติปฏิบัติและการกระทําเอง
มากกวาจะเปน เรอ่ื งของกฎเกณฑ
แบบท่ี ๓ เนนวา เปนการผนวกแบบที่ ๑ เขาดวยกันกับแบบท่ี ๒ คือ กฎเกณฑ
และการประพฤตปิ ฏิบัตใิ นเวลาเดยี วกัน

๓๓ พระเมธีธรรมาภรณ (ประยรู ธมฺมจติ โฺ ต), คุณธรรมสําหรับนกั บรหิ าร, หนา ๑๕-๑๖.
๓๔ พระธรรมปฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต), ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตท่ีดีงาม,
(กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพก ารศาสนา, ๒๕๔๐).
๓๕ พระราชวรมุนี (ประยทุ ธ ปยุตโฺ ต), ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยเพ่อื ชวี ิตที่ดงี าม, (กรุงเทพมหานคร:
อัมรินทรการพมิ พ, ๒๕๒๙).
๓๖ ธีระพร อุวรรณโณ, ทฤษฎีและการวัดเจตคติ, (กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร
จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๕).

๑๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑ ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับคุณธรรมและจริยธรรม

สทิ ธพร บุญสง36๓๗ ไดใหค วามหมายจริยธรรมวา หมายถงึ หลักเกณฑของสงั คมท่ี
เปนแนวทางในการประพฤติท่ีเหมาะสมถูกตองตามหลักศีลธรรมอันดี ไมวาจะเปนการ
ประพฤตทิ างกาย วาจา ใจ อนั กอใหเกดิ ความสุขแกตนเอง ผอู ่ืนและสงั คม

สขุ ุมาล เกษมสขุ 37๓๘ ไดใ หความหมายจริยธรรมไววา หมายถึง หลักปฏิบัติอนั ดีงาม
ที่บุคคลควรกระทําในฐานะท่ีเปนสมาชิกท่ีดีของสังคม เพื่อความสงบสุขในสังคมน้ัน ๆ
จรยิ ธรรมมกั สอดคลองกับหลักศาสนา กฎหมาย และขนบธรรมเนียมประเพณี

ลาํ ดวน ศรมี ณ3ี8๓๙ ใหค วามหมายวา ลกั ษณะทางสังคมของมนุษยห ลายลกั ษณะที่มี
ขอบเขตรวมถึงพฤติกรรมทางสังคมประเภทตาง ๆ ดวย ลักษณะของจริยธรรมท่ีเก่ียวกับ
พฤตกิ รรม มคี ณุ สมบัตอิ ยู ๒ ประเภท คือ

๑. ลักษณะท่ีสังคมตองการ คือพฤติกรรมที่สังคมนิยมชมชอบตองการใหมีอยูใน
สมาชิกของสังคมน้ันและใหการสนับสนุนแกผูประพฤติดีประพฤติชอบ ยกยองสรรเสริญให
เปนผูม ีเกยี รตใิ นสังคม

๒. ลกั ษณะทส่ี ังคมไมต องการ คือ พฤติกรรมที่สงั คมประณามวา ไมด ีไมตองการใหมี
อยูในสมาชิกของสังคมและไมสนับสนุนผูกระทําโดยวิธีการลงโทษใหผูมีพฤติกรรมเชนนั้น
เพื่อใหร ูส ํานกึ วาเปนส่งิ ไมถ กู ตอ งไมควรกระทาํ ตอไป

ธานินทร กรัยวิเชียร39๔๐ ใหความหมาย “จริยธรรม” วาเปน “ธรรมที่เปนขอ
ประพฤตปิ ฏิบัติ” “ศีลธรรม” และ “กฎศลี ธรรม”

๓๗ สุทธิพร บุญสง, คุณธรรมจริยธรรมกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต, พิมพคร้ัง ๑,
(กรงุ เทพมหานคร: ทรปิ เพลิ้ กรุป, ๒๕๕๒).

๓๘ สุขุมาล เกษมสุข, การปลูกฝงจริยธรรมแกเด็ก, (กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร
มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ, ๒๕๔๘).

๓๙ ลําดวน ศรีมณี, จริยธรรมและจริยศาสตรตะวันออก, (กรุงเทพมหานคร: กองบังคับการ
วชิ าการ โรงเรียนนายรอยตํารวจ, ๒๕๔๖).

๔๐ ธานินทร กรัยวิเชียร, คุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร, พิมพครั้งท่ี ๓,
(กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พชวนพิมพ, ๒๕๕๐)

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

โคลเบอรก (Kohlberg)40๔๑ นักการศึกษาดานจริยธรรมไดอธิบายวา จริยธรรมมี
พ้ืนฐานของความยุติธรรม ถือเอาการกระจายสิทธิและหนาที่อยางเทาเทียมกันโดยไมได
หมายถึงหลักเกณฑท่ีบังคับทั่วไป แตเปนกฎเกณฑท่ีมีความเปนสากลที่คนสวนใหญรับไวใน
ทุกสถานการณและไมมีการขัดแยงเปนอุดมคติ ดังนั้นพันธะทางจริยธรรมจึงเปนการเคารพ
สทิ ธขิ อเรียกรองของบุคคลอยางเสมอภาคกัน

เพียเจต (Piaget)๔๒ เช่ือวา พัฒนาการทางจริยธรรมของมนุษยเปนไปตามขั้นและ
ขึ้นอยูกับวัยตลอดจนความฉลาดของบุคคลในการที่จะรับรูกฎเกณฑและลักษณะตาง ๆ
ของสังคมตามพฒั นาการทางสตปิ ญ ญาของบุคคลนั้น

ประเวส วะสี42๔๓ อธิบายวา คุณธรรมจริยธรรม คือ คุณสมบัติของมนุษยอันเปนไป
เพ่ือความสุขของตนเองและการอยูรวมกัน คุณธรรมจริยธรรม จึงหมายถึงการเปนผูมีจิตใจ
สูงสง ไมเหน็ แกตัวฝายเดียว แสดงออกโดยการไมเ บียดเบียน มีความเมตตากรุณา มุงชวยเหลือ
ผอู ื่นใหพ นทุกข

คําวา “จริยธรรม” (Ethics) แยกออกเปน จริย + ธรรม ซ่ึงคําวา จริย หมายถึง
ความประพฤติหรือกิริยาที่ควรประพฤติ สวนคําวา ธรรม มีความหมายหลายประการ เชน
คุณความดี, หลักคําสอนของศาสนา, หลักปฏิบัติ เมื่อนําคําทั้งสองมารวมกันเปน "จริยธรรม"
จึงมีความหมายตามตัวอักษรวา "หลักแหงความประพฤติ" หรือ "แนวทางของการประพฤติ"
จรยิ ธรรม เปน สิ่งท่ีควรประพฤติ มที ม่ี าจากบทบัญญัติหรือคําสั่งสอนของศาสนา หรือใครก็ไดที่
เปนผูมีจริยธรรม และไดรับความเคารพนับถือมาแลว ลักษณะของผูมจี ริยธรรม ผูมีจริยธรรม
จะเปน ผทู ม่ี คี ณุ ลักษณะดงั น4้ี3๔๔

๑. เปน ผทู ่ีมีความเพียรความพยายามประกอบความดี ละอายตอการปฏบิ ตั ิชวั่

๔๑ โคลเบอรก (Kohlberg), อางใน ออมเดือน สดมณี, “การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม: จาก
แนวคิดสแู นวทางการปฏิบัต”ิ , วารสารพฤตกิ รรมศาสตร, ปท่ี ๑๗ ฉบบั ท่ี ๑ (มกราคม ๒๕๕๔): ๑๙-๓๐.

๔๒ เพียเจต (Piajet,1971). อางใน ออมเดือน สดมณี, “การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม: จาก
แนวคิดสูแ นวทางการปฏบิ ตั ”ิ , วารสารพฤติกรรมศาสตร, ปท่ี ๑๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม ๒๕๕๔): ๑๙-๓๐.

๔๓ ประเวศ วะสี, การจัดการความรู : กระบวนการปลดปลอยมนุษยสูศักยภาพ เสรีภาพ
และความสขุ , (กรงุ เทพมหานคร: สถาบันสง เสริมการจัดการความรเู พอ่ื สงั คม, ๒๕๔๘).

๔๔ นาง รัชดาภรณ แสนประสทิ ธิ์, การพฒั นาคุณภาพชีวิตและสังคม, [ออนไลน], แหลงทม่ี า:
http://www.jariyatam.com/th/moral-cultivation. [๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑].

๑๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑ ความรูเบ้ืองตนเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรม

๒. เปนผูมีความซ่อื สัตยสุจริต ยุติธรรม และมเี มตตากรุณา
๓. เปนผมู ีสติปญ ญา รูสึกตัวอยเู สมอ ไมประมาท
๔. เปนผูใฝหาความรู ความสามารถในการประกอบอาชีพ เพอื่ ความมน่ั คง
๕. เปน ผูที่รัฐสามารถอาศัยเปนแกนหรือฐานใหกบั สังคม สาํ หรบั การพัฒนาใด ๆ ได
ธานินทร กรัยวิเชียร44๔๕ กลาววา “คุณธรรมและจริยธรรม” เปนเร่ืองท่ีวาดวยการ
ปฏิบัติหนาท่ีของบุคคลอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดตามสถานะของตน เชน การเปนลูกท่ีดี การเปน
พลเมืองที่ดี และเปนผูประกอบวิชาชีพท่ีดี เปนตนจากความหมายของจริยธรรมท่ีบุคคลตาง ๆ ที่
กลาวมาน้ัน พอสรุปไดวาจริยธรรมคือพฤติกรรมที่ไดทํา ไดประพฤติในส่ิงที่ดีงาม รวมท้ัง
ความรูสึกผิดชอบช่ัวดีของบุคคลที่เหมาะสมกับความตองการของสังคม โดยเปนลักษณะที่สังคม
ตองการใหมีอยูในสมาชิกของสังคม คือเปนพฤติกรรมท่ีสังคมชมชอบและใหการสนับสนุนในการ
กระทํานั้น เปนสิ่งท่ีดีงามถูกตอง ถือเปนมาตรฐานความดีและความสัมพันธกัน ทั้งนี้เพื่อ
กอใหเกิดความสงบสุข ความเจรญิ รงุ เรอื งของสังคม
คุณธรรม (Virtue) และจริยธรรม (Morality) สองคําน้ีจะมีความหมายใกลเคียงกัน
และใชรวมๆกันไปได45๔๖ การใชคําสองคําน้ีในภาษาไทยอาจเปนไปเพื่อใหเกิดความสละสลวย
ทางดานภาษาและงายตอการจดจํา อยางไรก็ตามการใชคําท้ังสองน้ีมักจะหมายความรวมไปใน
ตัวเหมือนเปน คาํ เดียวกัน
ดังนั้นจึงพอสรุปความหมายของ คุณธรรมจริธรรมไดวา เปนจิตสํานึกของบุคคลที่มุง
จะประพฤติแตความดี ทง้ั ทางกาย ทางวาจาและทางใจ ตลอดจนสามารถแสดงพฤติกรรมที่ดีงาม
ถกู ตอ ง เหมาะสมตามคา นยิ มของสังคมได

๔๕ ธานินทร กรัยวิเชียร, คุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร, พิมพครั้งที่ ๓, (กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพชวนพมิ พ, ๒๕๕๐).

๔๖ นอี อน พิณประดษิ ฐ, ตัวบงช้ีทางจติ สังคมของพฤตกิ รรมการทํางานในขาราชการตํารวจ
สังกัดตํารวจภธู รภาค ๔, (กรงุ เทพมหานคร: สาํ นกั งานคณะกรรมการวิจยั แหง ชาต,ิ ๒๕๔๕).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๑.๕ ความสําคญั ของคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

๑.๕.๑ ความสําคญั ของคุณธรรมจริยธรรม
คณุ ธรรมเปนเครื่องสงเสริมความสงบสขุ และความเจริญ ฉะน้ันผตู องการความสงบสุข
และความเจริญจึงตองมีการฝกฝนตนเองใหมีคุณธรรมจริยธรรม ทั้งน้ีมิใชเพียงเพื่อใหตนเองมี
ความสงบสุขและความเจริญเปนการสวนตัวแตเพียงผูเดียวเทานั้น หากแตเพื่อใหชาติบานเมือง
สังคมสวนรวม มีความสงบสุขและความเจริญดวย ท้ังนี้ เพราะบุคคลกับสวนรวมตองอาศัยซ่ึงกัน
และกนั และความสงบสุข ความเจริญของบุคคลก็ข้ึนอยูกับความม่ันคงปลอดภยั ของชาติบา นเมอื ง
ดวย ความมั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติบานเมืองก็ขึ้นอยูกับการกระทําของคนในชาติเปน
สําคัญ และการกระทําท่ีจะเปนทางสงเสริมความมั่นคงปลอดภัยของประเทศชาติก็ยอมจะเปน
การกระทําท่ีประกอบดวยคุณธรรมจริยธรรม ฉะน้ัน ผูหวังความสงบสุข ความเจริญและความ
มั่นคง ปลอดภัยแกต นเองและแกประเทศชาติ จึงตองพัฒนาตนเองใหมีคุณธรรมจริยธรรม ดังน้ัน
จงึ มีคํากลาววา “การพัฒนาบานเมือง ตองพัฒนาท่ีจิตใจคนกอน เมื่อจิตใจคนดีแลวเรื่องอื่น ๆ ก็
จะตามมา” คุณธรรมจริยธรรมในสังคมจึงควรไดรบั การพิจารณาอันดับแรก ควรกาํ หนดเปนวาระ
แหงชาติ46๔๗ เศรษฐกจิ และปากทอง คุณภาพชีวิตของประชาชนจะดีขึ้นทันทีถาจริยธรรมของคน
ในสังคมดี ที่เศรษฐกิจตองเสื่อมโทรม ประชาชนบางสวนตองหิวโหยนั้น เพราะชนบางสวนของ
สังคมละเลยคุณธรรมจริยธรรม กอบโกยเอาทรัพยสินไวเปนประโยชนสวนตัวมากเกินไป
ความเห็นแกตัว ความแลงน้ําใจ ขาดความเมตตาปรานี น่ันเปนสัญลักษณข องการขาดคุณธรรม
จริยธรรมมีผูรูและนักวิชาการหลายทานใหแงคิดในเรื่องความสําคัญของการพัฒนาคุณธรรม
จรยิ ธรรมนีห้ ลายคนท่จี ะยกข้นึ มากลา วในทีน่ ี้ไดแก
พระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตโต)47๔๘ ไดบรรยายเรื่อง การพัฒนาจริยธรรมในการ
ประชุม สัมมนาทางวิชาการท่ีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเมื่อวันท่ี ๒๑ กันยายน ๒๕๓๐ สรุป
ไดวาจริยธรรมมีความจําเปนตอการพัฒนาประเทศขณะน้ีท่ีกําลังพัฒนาไปในทางวัตถุนิยม ซ่ึง
ทําใหประชาชนหลงทิศทาง มุงแตความเจริญทางดานเศรษฐกิจเพื่อหารายไดเขาประเทศ ทํา

๔๗ ประเวศ วะสี, การจดั การความรู: กระบวนการปลดปลอยมนุษยสศู กั ยภาพ เสรีภาพ และ
ความสุข, (กรุงเทพมหานคร: สถาบันสง เสรมิ การจัดการความรเู พือ่ สังคม, ๒๕๔๘).

๔๘ พระเทพเวที (ป.อ.ปยุต.โต), พุทธธรรม: กฎธรรมชาติ และคุณคาสําหรับชีวิต.
(กรุงเทพมหานคร: สุขภาพใจ, ๒๕๓๑).

๒๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑ ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับคุณธรรมและจริยธรรม

ใหศีลธรรมเสื่อมถอยลดลง จนแปลกใจวา ประเทศไทยเปนเมืองพุทธ แตฆากันตายไมเวนแต
ละวันอาชญากรรมเกิดข้ึนทั่วไปในประเทศ เปนเพราะประชาชนขาดความสนใจตอศีลธรรม
จรยิ ธรรม ดังนั้น การพัฒนาประเทศแมจ ะมงุ ไปทางดานเศรษฐกิจทุนนยิ มก็จะตองไมละเลยใน
ศลี ธรรม จรยิ ธรรม เพอ่ื ใหส ังคมมีความสงบสุขรมเยน็ ได

ประเวศ วะสี48๔๙ กลาววา ใคร ๆ ก็ยอมรับวาเร่ืองคุณธรรม จริยธรรมมีความสําคัญ
ที่สุดเพราะคุณธรรมจริยธรรมเปนคุณสมบัติของความเปนมนุษย เปนเครื่องมือของศีลธรรมหรือ
อดุ มการณของชาติในรางกายเรา ถาทุกสวนรวมกันอยางถูกตองก็เกิดความเปนปกติหรือสุขภาพ
ดีเซลลมะเร็งมันไมอยูรวมกันกับเซลลอ่ืน ฉะน้ันเมื่อเปนมะเร็งข้ึนก็รวนไปหมดท้ังระบบใน
รางกายในสังคมก็เชนเดียวกัน ถาไมรวมกันอยูอยางถูกตองก็รวนกันไปทั้งระบบ รางกายเปน
มะเร็งแลวดํารงอยูไมไดฉันใด สังคมท่ีขาดคุณธรรมจริยธรรมศีลธรรมก็ดํารงอยูไมไดฉันน้ัน คือ
จะหักโคน ลงหรือวกิ ฤตคุณธรรมจริยธรรมจึงเปนระเบยี บวาระของชาติเพื่อการอยูร ว มกัน

อิมมานูเอล คานท (Emmanuel Kant, ๑๗๒๔–๑๘๐๔)49๕๐ ชาวเยอรมัน เห็นวา
คณุ ธรรมจริยธรรมคือความดีอันสูงสดุ คุณธรรมมจี ุดมุง หมายในตัวเอง เราทําหนาท่ีเพอ่ื หนาท่ี
มิใชทําหนาที่เพ่ือไปสูจุดหมายอ่ืน เชน ความสุข เปนตน คนดีไมจําเปนจะตองไดรับความสุข
ไมจําเปนตองไปดวยกัน อาจกลมกลืนกัน อาจขัดแยงกันก็ได เพราะคานทเห็นวา คนมี
คุณธรรมจริยธรรมไมควรประพฤตคิ ุณธรรมเพ่อื ความสุข แตค วามผาสุกของคนนัน้ ยอ มรวมเอา
ความสุขและคุณธรรมเขาไวดวยกัน เราควรประพฤติคุณธรรมเพ่ือความสุขของผูอ่ืนไมใชเพื่อ
ความสุขของตัวเราเองจะกลายเปนคนเห็นแกตัว ท้ังน้ีความสําคัญของคุณธรรมจริยธรรม มี
หลายประการ ไดแก

๑. ความสําคัญของคุณธรรมจรยิ ธรรมตอบคุ คล ไดแก
๑.๑ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมเปนเครื่องธาํ รงศักด์ิศรีของมนุษย เราไมตีคาของมนุษย

เปน ตวั เงินแตจ ะตีคากันดว ยคณุ ธรรมท่ีมี

๔๙ ประเวศ วะสี, การจัดการความรู : กระบวนการปลดปลอยมนุษยสูศักยภาพ เสรีภาพ
และความสุข. (กรุงเทพมหานคร: สถาบนั สงเสริมการจัดการความรูเพื่อสงั คม, ๒๕๔๘).

๕๐ อิมมานูเอล คานท (Emmanuel Kant, 1724 – 1804), อางใน สัญญา ภัทราชัย และ กําแหง
จาตุรจินดา, จริยธรรมวิชาชีพแพทย (Medical ethics) [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.mahidol.
ac.th/mahidol/ra/raog/ethic1.html [๒๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๑.๒ คุณธรรมจริยธรรมเปนเครื่องเสริมบุคลิกภาพ ผูมีคุณธรรมจริยธรรมจะมี
ความสมบูรณในความคิด ในคําพูด และในการกระทํา อีกท้ังมีหลักท่ีม่ันคงในการตัดสินใจ ซึ่ง
เปน ทม่ี าของความมั่นคงทางจิตใจ

๑.๓ คุณธรรมจริยธรรมเปนเครื่องเสริมมิตรภาพทําใหความสัมพันธกับคนอื่น
เปนไปอยางราบรื่น ผูมีคุณธรรมจริยธรรมยอมทําใหเปนท่ีเช่ือถือนับถือและไววางใจจากผูอ่ืน
สงผลใหความสัมพันธอันดีเกิดข้ึนไดเพราะการทําแตส่ิงที่ถูกท่ีควรแลว ยังทําใหสบายใจท่ีไม
ตองระแวงระวังในอันตรายท่ีจะมีมาอีกดวย เพราะผูมีคุณธรรมจริยธรรม จะเปนผูนารัก เมื่อ
เปน คนทน่ี ารกั แลว อนั ตรายก็จะไมมี

๑.๔ คุณธรรมจริยธรรมเปนเคร่ืองสง เสริมความสําเร็จและความมั่นคงปลอดภัย
ในการประกอบอาชีพและดาํ รงชีวิต

๒. ความสําคัญของคุณธรรมจริยธรรมตอสวนรวม
ความสําคัญของคุณธรรมจริยธรรมท่ีมีตอสวนรวม เพราะคุณธรรมจริยธรรมเปน
ปจ จัยสําคญั ท่ีเราจะสรางความสงบสุขและความเจริญใหแกประเทศชาติ เนื่องจากความสงบ
สุขของประเทศชาติจะมีไดก็ตอเมื่อคนในชาติมีคุณธรรมจริยธรรมบางประการท่ีทําใหไม
เบียดเบียนกัน ไมเอารัดเอาเปรียบกันไมใชสิทธิเสรีภาพจนเกินเลยลวงล้ําสิทธิของกันและกัน
ไมละเลยการปฏิบัตติ ามกฎหมาย วินยั และจรรยาวิชาชพี ทใี่ ชบงั คบั กันเปน ตน และความเจริญ
ของประเทศชาติจะมีไดก็ตอ เม่ือคนในชาติมีคุณธรรมจริยธรรมเปน เครอ่ื งผลักดนั ใหรวมมอื รว ม
ใจกัน เกิดความมุงมั่นสรางสรรค และพัฒนาประเทศชาติ ยอมเสียสละประโยชนสวนตนเพ่ือ
ประโยชนสว นรวม ชว ยปองกันภยั พบิ ตั ทิ จ่ี ะบงั เกิดแกประเทศชาติ

ประวีณ ณ นคร ๕๑ ไดสรุปไววามนุษยแตล ะคนมหี นา ที่หลายอยา ง การจะทาํ หนา ที่
50
ทุกอยางใหสมบูรณน้ันเปนเรื่องยากมาก มนุษยที่ดีที่สุดและหาไดยากที่สุดก็คือ มนุษยท่ีทํา
หนาท่ีของตนสมบูรณท่ีสุดนั่นเอง คนกวาดถนนที่ทําหนาที่ของตนดีท่ีสุดยอมดีกวาอธิบดี
รฐั มนตรี หรือนายกรฐั มนตรีที่บกพรอง กอบโกย โกงกนิ ถาเปน

วศิน อินทสระ51๕๒ กจ็ ะสรุปวา คนสวนมากมกั มลี ักษณะบกพรองอยู ๒ ประการ คือ
ทําอะไรเกินหนาที่ไปอยางหนึ่งและทํากิจในหนาท่ีของตนเองไมสมบูรณอยางหนึ่ง คนที่ทํา

๕๑ ประวณี ณ นคร และคณะ, การพัฒนาบคุ คล, (กรงุ เทพมหานคร: ประชาชน, ๒๕๔๐).
๕๒ วศนิ อนิ ทสระ, พุทธจรยิ ศาสตร, (กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พท องกวาว, ๒๕๔๑).

๒๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑ ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับคุณธรรมและจริยธรรม

อะไรเกินหนาที่ของตนไป มักกาวราวกับกิจการของคนอน่ื หรือเอาภาระงานของคนอน่ื มาเปน
ของตน โดยไมมีเหตุผลสมควรจนเปนท่ีนาเบ่ือหนายชิงชังของผูท่ีเกี่ยวของทั่วไป บางทที ําการ
ผิดพลาดไปกอใหเกิดผลรายแกตนเอง เสียชื่อเสียง เสียคนไปก็มี บุคคลท่ีสามารถทํางานที่คน
ทั่วไปเห็นวา ตํ่าตอยไรเกียรตใิ หเปนงานทีส่ ูงสงมีเกียรติในสายตาของบัณฑติ ไดดว ยการทาํ งาน
นัน้ อยา งตงั้ ใจจริง และทาํ อยา งดที สี่ ดุ

สขุ ุมาล เกษมสขุ 52๕๓ กลา ววา จริยธรรมเปน สิง่ มีคุณคาตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของมนษุ ย
ที่จะชวยใหบุคคลดําเนินชีวิตอยางมีความสุข อีกทั้งชวยใหสังคมมีความสุข เพราะผูท่ีมี
จริยธรรมจะไมสรางความทุกขความเดือดรอนแกตนเองและสังคม แตจะสรางประโยชน
ดงั นัน้ จริยธรรมจึงมคี วามสําคญั ตอบคุ คลและสังคม ดังน้ี

ความสําคญั ตอ บคุ คล บคุ คลใดเปน ผมู จี ริยธรรม ยอมเกดิ ประโยชน ดงั นี้
๑. จริยธรรมชวยใหคนมีความสุขท้ังสุขใจและสุขกาย
๒. จรยิ ธรรมชวยเหนย่ี วรั้งจติ ใจของบุคคลมใิ หตกตํ่ากระทาํ ในสงิ่ ทผ่ี ิดท่ีช่วั
๓. จรยิ ธรรมชวยใหบ ุคคลดําเนินชีวิตอยูอยา งม่ันใจ
๔. จริยธรรมชว ยใหบ ุคคลมคี วามเจรญิ กา วหนา ในชวี ติ
๕. จริยธรรมชวยใหชีวิตของบคุ คลเปนชวี ิตทม่ี ีคณุ คา สมกบั ท่ีไดเ กิดมาเปน มนษุ ย
ความสําคัญตอสังคม ผูมีจริยธรรมอยูในสังคมใดยอมกอใหเกิดประโยชนสุขตอ
สังคมท่ีเขาอยู จริยธรรมจึงมีความสาํ คญั ตอสังคม ดงั น้ี
๑. จริยธรรมชวยใหสังคมสงบสขุ
๒. จริยธรรมชวยใหส ังคมมีความเปนระเบยี บเรียบรอ ย
๓. จรยิ ธรรมชวยใหสงั คมมคี วามสามัคคี
๔. จรยิ ธรรมชวยใหสงั คมมคี วามเจริญกา วหนา
สรปุ ไดวา คณุ ธรรมจริยธรรมมคี วามสาํ คัญอยา งมากตอบุคคลและสงั คม การพฒั นา
จิตใจของคนท่จี ะดํารงตนอยูในสังคมอยางมีความสุข การพัฒนาจริยธรรมจะหลอหลอมใหคน
เปนคนดีท่ีสังคมพึงปรารถนา รูจักวิเคราะหแยกแยะไดวาอะไรดี อะไรช่ัว อะไรควร ไมควร

๕๓ สุขุมาล เกษมสุข, การปลูกฝงจริยธรรมแกเด็ก, (กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร
มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, ๒๕๔๘).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

รจู ักยับยัง้ ชั่งใจตนเอง เม่ือเปนสมาชิกที่ดีของสังคมแลว สุดทายจะทาํ ใหป ระเทศชาตอิ ันเปนที่
อยอู าศัยของทุกคนมีความมน่ั คงสถาพรตอไป

ดังนั้นทัง้ คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภบิ าล มีเปา หมายเดียวกัน คือ นําไปสูก ารลด
ความสูญเสีย ขจัดความรั่วไหล ปองกันการทุจริต การประพฤติและดําเนินการท่ีมิชอบเพ่ิม
ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุมคา โปรงใส ตอบสนอง สุจริต ซื่อตรง และเที่ยงธรรม เมื่อ
นาํ มาใช ในการบรหิ ารงานท่ีจะชวยสรา งสรรคและสงเสริมองคกรใหมีศกั ยภาพและประสิทธภิ าพ
อาทิ พนักงานตางทํางานอยางซื่อสัตยสุจริตและขยันหมั่นเพียร นอกจากน้ีแลวยังทําให
บุคคลภายนอกท่ีเกี่ยวของ ศรัทธาและเช่ือมั่นในองคกรนั้น ๆ อันจะทําใหเกิดการพัฒนาอยาง
ตอเนื่อง เชน องคกรท่ีโปรงใส ยอมไดรับความไววางใจในการรวมทําธุรกิจ รัฐบาลท่ีโปรงใส
ตรวจสอบได ยอมสรา งความเช่ือม่ันใหแกนักลงทนุ และประชาชน ตลอดจนสง ผลดีตอเสถียรภาพ
ของรัฐบาลและความเจริญกาวหนาของประเทศ เปน ตน53๕๔

๑.๖ สรปุ

จากความหมายของจริยธรรมตามทัศนะของบุคคล นักวิชาการศึกษาที่กลาวมา
ขางตน สรุปไดวา จริยธรรม หมายถึง หลักความประพฤติที่อบรมกิริยาและปลูกฝงลักษณะ
นิสัยใหอยูในครรลองของคุณธรรมหรือศีลธรรม คุณคาทางจริยธรรมช้ีใหเห็นความเจริญงอก
งามในการดาํ รงชีวิตอยางมรี ะเบยี บ คอื บคุ คลที่ประพฤตอิ ยใู นหลกั ธรรม ซึ่งคณุ ธรรมจรยิ ธรรม
เปน พฤติกรรมการแสดงออกทางกาย วาจา ใจ ท่ีดงี ามของมนษุ ยเ ปนประโยชนแกตนเอง ผูอ่ืน
และสังคม ทุกคนในสังคมพึงพอใจและปรารถนาในส่ิงที่ดีงาม แบบแผนตามวัฒนธรรมของ
บคุ คลท่ีมลี ักษณะทางจิตใจท่ีดีงาม มุง กระทําดี เปน ประโยชนต อตนเอง สงั คมและประเทศชาติ

๕๔ จรวยพร ธรณินทร, การบริหารราชการตามระบบคุณธรรม, [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
https://www.gotoknow.org/posts/389443 [๒๙ มีนาคม, ๒๕๖๑].

บทที่ ๒

แนวคดิ หลกั การ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

การกําหนดทิศทางแนวคิด หลักการ ทฤษฎีเก่ียวกับในการพัฒนาคุณธรรม
จริยธรรม ผูรับผิดชอบงานควรตองคิดใหครอบคลุมทั้งดานคุณธรรมและจริยธรรม น่ันคือ
หลักการคิดและวิธีการปฏิบัติท่ีดีงาม ถูกตอง ตามสภาพสังคม วัฒนธรรม คุณธรรม คือ หลัก
ความจรงิ หลักการปฏิบตั ิ ประกอบดวย

๒.๑ หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีเกย่ี วกบั คณุ ธรรมจริยธรรมตะวนั ตก

วิวัฒนาการดานคุณธรรมจริยธรรมของตะวันตกมีพื้นฐานความเปนมา และ
กระบวนการตอเน่ือง คําวา คุณธรรมจริยธรรมมิไดเกิดข้ึนลอย ๆ แตมีจุดกําเนิดจากปรัชญา
พนื้ ฐานของมนุษยในเรื่องชีวิตความเปนอยู ซ่ึงการทําความเขาใจในวิวัฒนาการดานจริยธรรม
ตะวันตกจะทําใหเห็นคุณคาที่แทจริงของจริยธรรม ทั้งน้ี แนวคิดเก่ียวกับจริยธรรมของ
นักการเมืองที่สําคัญของตะวันตกที่มีอิทธิพลตอแนวคิดในชวงตอมา ไดแก โสเกรตีส เพลโต
อริสโตเติล ซ่งึ มีสาระสาํ คญั คือ

โสเกรตีส54๑ ไดสรางหลักการสําคัญเกี่ยวกับคุณธรรม หรือจริยธรรม คือ ความรู
คุณธรรม เปนส่ิงท่ีอาจแสวงหาคนพบได และคุณธรรมเปนสิ่งที่อาจสอนและเรียนรูได
คุณธรรมทางสังคมที่สูงสุด คือ ความยุติธรรม ดังน้ัน เปาหมายสูงสุดของชีวิตการเมือง คือ
คุณธรรม และรัฐที่ดีที่สุด คือ รัฐท่ีมีการปกครองแบบอภิชนาธิปไตย (Aristocracy) หรือรัฐ
ผสม (Mixed Regime) โสเกรตีส เชื่อวา เมื่อราชากลายเปนปรัชญาเมธี หรือเม่ือปรัชญาเมธี
กลายเปน ราชาเทา นั้น รัฐท่ดี ที ส่ี ุดจึงจะเกดิ ข้นึ ได

เพลโต55๒ มีแนวความคิดหลักดานจริยธรรมวา ผูปกครองหมายถึงนักปราชญ
(Philosopher King) หรือผูทรงคุณธรรมควรเปนผูปกครอง และเมื่อความรู คือคุณธรรม
จึงจําเปนตองแสวงหาและฝกฝนอบรมคนท่ีรูไดดีที่สุด เพ่ือเสริมสรางผูปกครองท่ีเปนธรรม

๑ บานจอมยุทธ, ปรัชญาโลกตะวันตก, โสเกรตีส, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://www.
baanjomyut.comlibraryethics03.htm, [๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๘].

๒ บานจอมยุทธ, ปรัชญาโลกตะวันตก, เพลโต, [ออนไลน], แหลงที่มา: https://www.
baanjomyut.comlibraryethics03.htm, [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

เพลโตแบง ประเภทของคุณธรรมออกเปน ๔ ประเภท คือ ปรีชาญาณ ความกลาหาญ การรูจัก
ประมาณ และความยตุ ธิ รรม

อริสโตเติล56๓ ปรชั ญาการเมอื งของอรสิ โตเติลมุง ที่จริยธรรมเปนประการสําคัญ ทั้งน้ี
เพื่อวางมาตรฐานความประพฤติปฏิบัติและขอวัตรทางศีลธรรมจรรยา อันหมายถึง กฎหมาย
ซ่ึงแจกแจงออกเปนแบบแผนทางสังคม และระบอบการปกครอง รวมทั้งมาตรฐานทาง
จริยธรรมที่ราษฎรจะตองประพฤติปฏิบัติตาม ท้ังหมดเรียกวา “รัฐธรรมนูญ” คุณธรรมหลัก
ตามแนวคิดของอริสโตเติล มี ๔ ประการ คอื ความรอบคอบ ความกลา หาญ การรจู ักประมาณ
และความยตุ ธิ รรม

จากแนวคดิ ปรัชญาตะวันตกท่ีไดกลาวมาขางตน ถอื เปนพ้ืนฐานแนวคิดท่ีสําคัญอัน
นํามาสูการเปลี่ยนแปลงของแนวคิดจริยธรรมตะวันตกในชวงตอมาอยางมาก โดยสามารถ
จําแนกววิ ฒั นาการของแนวคดิ ทางปรชั ญาทางดานจริยธรรมตะวันตกไดเ ปน ๔ ยุค คือ

๑. Ancient Greek Philosophy : ปรชั ญากรกี โบราณ57๔
กรีกสมัยโบราณอยูในชวงเวลาประมาณ ๖๐๐ ปกอนคริสตกาล (ใกลเคียง
พระพุทธศาสนา เพราะพระพุทธศาสนาเกิดกอนศักราชประมาณ ๕๔๓ ป) ลักษณะแนวคิด
ของกรีกโบราณในชวงเร่ิมแรกมีลักษณะเปนอภิปรัชญา ซึ่งเปนการคิดแบบปรัชญา-
วิทยาศาสตรธรรมชาติ นักคิดท่ีมีอิทธิพลในชวงแรก ๆ คือ Thales โดยการตง้ั คําถามวา อะไร
คือ ปฐมธาตุของจกั รวาล (What is the First Element?) จักรวาล (Universe) เกิดจากอะไร
โดยเช่อื วา ธรรมชาตจิ ะตองมีกฎเกณฑแนนอน นกั คดิ ในชวงแรก ๆ เกดิ ความสงสัยในธรรมชาติ
พยายามหาหลักเกณฑเพ่อื นํามาอธิบายกฎของธรรมชาติ โดยการใชวิธกี ารโตแยง เพื่อชว ยกัน
คนหาความจริง ซึ่งถือเปนจุดเริ่มตนของวิชาอภิปรัชญา ขณะเดียวกันก็เกิดกลุมนักปราชญท่ี
เรียกตัวเองวา "โซฟสต" ซึ่งไมสนใจปญหาของ Thales ที่วา "โลกเกิดจากอะไร หรือสรรพส่ิง
เกิดจากอะไร" แตกลุมโซฟสตกลับต้ังปญหาข้ึนวา "ชีวิตที่ดีเปนอยางไร?" (What is Good
Life?) "เราควรดํารงอยูอยางไรจึงจะมีความสุข" (How should Man Live?) จึงกลาวไดวา

๓ บานจอมยุทธ, ปรัชญาโลกตะวันตก, อริสโตเติล [ออนไลน], แหลงที่มา:https://www.
baanjomyut.com libraryethics03.htm, [๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๘].

๔ บา นจอมยุทธ, ปรัชญาโลกตะวนั ตก, Ancient Greek Philosophy [ออนไลน] , แหลงทม่ี า:
https://www. baanjomyut.comlibraryethics03.htm, [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘].

๒๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

กลุมแรกท่ีเริ่มต้ังปญหาทางจริยศาสตร คือ กลุมโซฟสต พรอมทั้งประกาศแนวความคิดของ
กลมุ ตัวเองอยางชัดเจน

๒. Medieval Philosophy: ปรัชญาสมยั กลาง หรอื ยุคบุพกาล (๑-๑๕ A.D./ระหวา ง
ครสิ ตศตวรรษที่ ๑-๑๕)58๕

แมวายุคปรัชญาสมัยกลางถือวาเปนยุคทองของศาสนาคริสต แตหลักปรัชญาคํา
สอนของนักปรชั ญาชาวกรีกยังคงมอี ิทธิพลอยมู าก ดงั นั้น นักปรัชญาชาวคริสเตยี นจึงพยายาม
รวบรวมและพิสูจนคําสอนใหประชาชนเห็นวา คําสอนหรือความเช่ือของศาสนาคริสตกับ
ปรัชญากรีกเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยการบูรณาการปรชั ญากรีกเขากับคาํ สอนของศาสนา
คริสตในประเด็นท่ีเก่ียวกับ จริยศาสตร คือ การอธิบายจริยศาสตรกรีกใหเขากับจริยศาสตร
ของศาสนาคริสต

๓. Modern Philosophy: ปรัชญาสมยั ใหม (ศตวรรษที่ ๑๖-๑๘) 59๖
ยุคปรัชญาสมัยใหมเปนยุคท่ีศาสนาคริสตเริ่มหมดอิทธิพล ประชาชนเริ่มใหความ
สนใจกับแนวคิดของศาสนาอื่น ๆ เพิ่มมากข้ึน และถือเปนยุคเร่ิมตนของวิทยาศาสตร มีการ
พัฒนาวิทยาศาสตร การปฏิวัติอุตสาหกรรม ท้ังยังเปนชวงที่ปรัชญาทางการเมืองมีความ
เดนชัดมาก ถือเปนยุคกําเนิดและเฟองฟูของกฎหมาย รวมถึงขบวนการฟนฟูศิลปวิทยาการ
นักปรัชญา และสํานักปรัชญาท่ีสําคัญ คือ Immanual Kant หรือ Kant's Ethics (Kantism
Ethics) และสํานัก Utilitarianism (ประโยชนนิยม) ซึ่งมนี กั คิดทส่ี ําคัญคอื John Stuart Mill
ในยุคน้ีนักปรัชญาจะโตแยงกันเร่ือง "อภิจริยศาสตร" (Meta-Ethics) เปนการใช
คุณคาทางจริยธรรม คือการโตแยงถึงคุณคาการกระทําวาเปนอยางไร โดยศึกษาเกี่ยวกับ
good/bad, right/wrong, ought/ought not, should/should not โดยมีแนวคิดหลักที่
สาํ คัญคือ เกณฑตัดสินทางจริยธรรม หรือการตัดสินการกระทํา (Moral Judgement) การใช
เหตุผลเชิงจริยธรรมมาเปนเกณฑ (Moral Reasoning)

๕ บานจอมยุทธ, ปรัชญาโลกตะวันตก, Medieval Philosophy. [ออนไลน], แหลงที่มา:
https://www. baanjomyut.comlibraryethics03.htm, [๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๘].

๖ บานจอมยุทธ, ปรัชญาโลกตะวันตก, Modern Philosophy. [ออนไลน], แหลงที่มา:
https://www. baanjomyut.comlibraryethics03.htm, [๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๘].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๔. Contemporary Philosophy: ปรัชญารวมสมัย หรือปรัชญาสมัยปจจุบัน
(ศตวรรษที่ ๑๙-๒๐)60๗

ปรัชญาดานจริยธรรมรวมสมัยที่สําคัญไดแก สํานักปฏิฐานนิยมตรรกะวิทยา Logical
Positivism ซ่ึงเนนหลักเหตุผล คําวา Logical Positivist เปนคําที่ใชเรียกชื่อตัวนักปรัชญาสํานัก
น้ัน ๆ ซึ่งนักปรัชญาในสํานักน้ีจะเปนนักวิทยาศาสตรท้ังหมด จะไมเห็นดวยกับปรัชญาเกา ๆ
และเห็นวา "ความรูที่ถูกตองคือความรูทางวิทยาศาสตรเทานั้น" และสํานักอัตถภาวนิยม
Existential นกั คิดในแนวนีเ้ ปนปรัชญาแหง เสรีภาพ เนนภาวการณม อี ยขู องมนษุ ย

๒.๒ หลักการ แนวคดิ ทฤษฎีเกย่ี วกับคุณธรรมจรยิ ธรรมตามแนวคดิ ตะวนั ออก

ในการศึกษาปรัชญาแนวคิดคุณธรรมจริยธรรมตะวันออกนั้น จะกลาวถึงปรัชญา
ของจีนซึ่งมีแนวคิดเนนท่ีการปฏิบัติ มีลักษณะเปน Ethical Philosophy ท่ีเนนดานความคิด
(Wisdom) การมีมโนธรรม และการปฏิบัติ เพราะฉะน้ันปรัชญาจีนจะเปนปรัชญาของการ
ปฏิบัติจริง ๆ ในสังคม และในชีวิตประจําวัน โดยไมไดกลาวถึงชีวิตหลังความตาย ซ่ึงแตกตาง
จากปรัชญาของอินเดียที่ไมแยกขาดจากศาสนา ปรัชญาอินเดียทุกระบบจะรวมอยูกับศาสนา
เพราะฉะน้ันนอกจากจะเนนท่ีปรัชญา เนนท่ีมโนธรรมแลว ยังมีเร่ืองศรัทธา (Faith) กับความ
เชือ่ (Believe) ดว ย ซง่ึ ทาํ ใหม ี ขอผูกมัด (Commitment) กับหลักศีลธรรมหรอื หลักจริยธรรม
จึงออกมาเปนการปฏิบัติได พุทธศาสนาเปนปรัชญาอินเดีย เพราะฉะน้ันจริยธรรมในพุทธ
ศาสนาจึงมลี กั ษณะของปรชั ญาอนิ เดยี มศี รัทธา ความเชอ่ื และการปฏิบตั ิ เขา มาเก่ียวขอ ง61๘

ทัง้ น้ี แนวคิดพ้ืนฐานทางดานปรชั ญาตะวันนออกวา ดว ยจรยิ ธรรมของนักการเมืองที่
สําคัญ ไดแก ปรัชญาเตา ปรัชญาขงจื้อ ปรัชญาโมจ้ือ แนวคิดของเมงจื๊อ แนวคิดของซุนจื๊อ
โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้

๗ บานจอมยุทธ, ปรัชญาโลกตะวันตก,Contemporary Philosophy, [ออนไลน],
แหลง ทมี่ า: https://www.baanjomyut.comlibraryethics03.htm, [๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๘].

๘ บานจอมยุทธ, จริยธรรม, ซุนจ๊ือ, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://www. baanjomyut.
comlibraryethics03.htm, [๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๕๘].

๒๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

ปรัชญาเตา62๙ ถือเปนกระบวนความคิดทางธรรมและทางปรัชญาที่มีอิทธิพลตอ
ความรูสึกนึกคิดของชาวจีนมากท่ีสุด ซึ่งประกอบดวย ๒ แนวทาง คือ ลัทธิธรรมของขงจื้อ
และปรัชญาเตา ของเหลาจื๊อ ซง่ึ ทั้งสองแนวคิดนเี้ ปนรากฐานสาํ คญั ท่ีหลอ หลอมอารายธรรมจีน
ใหมีลกั ษณะเดน ชดั และเปนตัวของตัวเองอยา งแทจ รงิ

ปรชั ญาเหลาจ๊อื 63๑๐ เห็นวา กฎธรรมชาติท่ียง่ิ ใหญทสี่ ุด ซึ่งครอบงําสรรพสิง่ ท้ังหลาย
ทั่วสากลจักรวาล คือ เตา ซ่ึงแปลวา ทางหรือสัจธรรม และสําหรับสิ่งท่ีมีชีวิตไมวาจะเปน
มนุษย สัตว พืช หรืออ่ืน ๆ จะมีคุณสมบัติอยางหน่ึงที่ซอนเรนอยูในตัว เรียกวา “เตอ” ซึ่ง
แปลวาพลังอํานาจ (Power) หรือคุณธรรม (Virtue) หลักจริยธรรมของเหลาจ๊ือ จําแนกได ๔
ประการ คอื การรจู ักตนเอง การชนะตนเอง ความสนั โดษ และอดุ มคตแิ หง เตา

ปรัชญาขงจ๊ือ64๑๑ เห็นวา ปรัชญาการเมืองมรี ากฐานมาจากคุณธรรม ความกตัญู
ความเมตตา คุณงามความดี ความถูกตอง ความตรงไปตรงมา การสนับสนนุ และความไวว างใจ
จากประชาชน โดยส่ังสอนใหคนปลูกฝงตนเองกอ น ดูแลจัดการเรื่องในครอบครัวใหเรียบรอย
จึงจะปกครองประเทศใหมีสันติสุขได ดังนั้น คําสอนของขงจื๊อจึงถือวาคุณธรรมกับการเมือง
เปน เรือ่ งเดียวกนั

ปรัชญาโมจื้อ65๑๒ ถือวาคุณธรรมของผูปกครองเปนส่ิงที่สําคญั ท่สี ุด เนอ่ื งจากอาํ นาจ
รฐั เปน สิ่งจาํ เปนทจี่ ะตองใหประชาชนปฏบิ ตั ติ ามหลัก ความรักสากล (Universal love) ดังนั้น
หนาที่ที่สําคัญของผูปกครองของรัฐ คือ การดูแลความประพฤติของประชาชน คอยใหรางวัล
แกผ ูปฏบิ ตั ิตามหลัก “ความรักสากล” และคอยลงโทษผูที่ไมป ฏบิ ตั ติ าม

๙ บานจอมยุทธ, จริยธรรม, ปรัชญาเตา, [ออนไลน], แหลงที่มา: https://www.
baanjomyut. comlibraryethics03.htm, [๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๘].

๑๐ บานจอมยุทธ, จริยธรรม, ปรัชญาเหลาจื๊อ [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://www.
baanjomyut. comlibraryethics03.htm, [๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๘].

๑๑ บานจอมยุทธ, จริยธรรม, ปรัชญาขงจ๊ือ [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://www.
baanjomyut. comlibraryethics03.htm, [๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๘].

๑๒ บานจอมยุทธ, จริยธรรม, ปรัชญาโมจ้ือ, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://www.
baanjomyut. comlibraryethics03.htm, [๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๘].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

แนวคดิ ของเมง จือ๊ 66๑๓ แนวคิดทางดานจริยธรรมทางการเมืองของเมง จ๊ือ ไดแก
๑) การเร่มิ ตนจากการมองวา โดยธรรมชาติมนุษยดีมาแตกําเนิด มีความรูสึกท่ีดี ๔
ประการ คือ ความเห็นอกเห็นใจ ความละอายในสิ่งที่ผิดและความภาคภูมิใจในสิ่งที่ถูก ความ
ออนนอมถอมตน และความรูสึกผิดชอบชั่วดี ความรูสึกเห็นอกเห็นใจเปนจุดเริ่มตนของ
มนุษยธรรม ความรูสึกละอายในส่ิงท่ีผิดและภาคภูมิใจในส่ิงท่ีถูกเปนจุดเริ่มตนของความชอบ
ธรรม ความรูสึกออนนอมถอมตนเปนจุดเร่ิมตนของความประพฤติอันเหมาะสม ความรูสึกผิด
ชอบชว่ั ดเี ปนจุดเรม่ิ ตน ของสตปิ ญ ญา
๒) มนุษยเปนสัตวการเมือง และมนุษยจะสามารถพัฒนาตัวเองไดเต็มที่ เม่ืออาศัย
อยหู รอื ดาํ รงอยูใ นรฐั หรอื ในสงั คมเทา น้ัน ขณะที่รฐั เปน สถาบนั ทางศลี ธรรม และผูปกครองของ
รฐั เปน ผนู าํ ที่ทรงคุณธรรม
๓) สิ่งท่ีเช่ือมความสัมพันธระหวางมนุษยกับจักรวาล คือ ความถูกตองชอบธรรม
และศีลธรรมอันยงิ่ ใหญ
แนวคิดของซุนจ๊ือ67๑๔ ถือวา ธรรมชาติของมนุษยเลวมาแตกําเนิด ความดีเกิดจาก
การฝกฝนอบรม ความดีหรือคุณธรรมมีมาจากการท่ีมนุษยอยูรวมกันเปนสังคม โดยรวมมือ
ชวยเหลือซ่ึงกันและกัน ทําใหมีสภาพชีวิตท่ีดีขึ้น และเพื่อท่ีจะเอาชนะสัตวอื่น การที่มนุษย
สามารถแยกความสัมพันธในสังคม เชน ความสัมพันธระหวางพอแมกับลูก สามีกับภรรยา พี่
กับนอง เพ่ือนกับเพื่อน ผูปกครองกับผูถูกปกครอง และสามารถปฏิบัติตอกันไดอยางถูกตอง
เหมาะสมตามระเบยี บกฎเกณฑทางสังคม ความดีจึงเกิดข้ึน ในขณะที่สัตวไ มสามารถแยกแยะ
เรือ่ งเหลานไ้ี ด

๑๓ บานจอมยุทธ, จริยธรรม, แนวคิดของเมงจื๊อ [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://www.
baanjomyut. comlibraryethics03.htm, [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘].

๑๔ บานจอมยุทธ, จริยธรรม, แนวคิดของซุนจื๊อขงจื๊อ [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://www.
baanjomyut. comlibraryethics03.htm, [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘].

๓๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

๒.๓ หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีเก่ยี วกบั คุณธรรมจริยธรรมเอเชยี

ปรัชญาจีน
- ขงจอื๊ 68๑๕
ขงจ๊ือมองสังคมของมนุษยในแงของความสัมพันธตามทฤษฎีแบบ Organism
คือสังคมประกอบขึ้นจากหนวยยอย คือ ปจเจกชนแตละคน ถาแตละคนเปนคนดี สังคมก็จะดี
ดวย การกระทําของแตละคนยอมกระทบกระเทือนตอสังคมเหมือนรางกายเราประกอบข้ึน
ดวยอวัยวะ (Organs) ตาง ๆ ถาอวัยวะสวนใดสวนหน่ึงไดรับอันตรายยอมกระทบตออวัยวะ
สามสว น (Organism)
อน่ึง ขงจ๊ือมีความเห็นวา บคุ คลแตละคนยอมจะมีความสัมพนั ธตอกันไม โดยฐานะ
ใดก็ฐานะหน่ึง และความสันพันธขึ้นมูลฐานในสังคมที่ควรจะไดรับการปรับปรุง พัฒนามีอยู
หลายประการ คอื
๑. ความสมั พนั ธร ะหวา งผปู กครองกับผอู ยใู ตปกครอง
๒. ความสัมพันธระหวางบดิ ามารดากับบุตรธิดา
๓. ความสัมพนั ธระหวา งสามกี บั ภรรยา
๔. ความสัมพันธร ะหวา งผูน อ ยกับผใู หญ
๕. ความสมั พันธระหวา งเพอื่ นตอ เพ่อื น
ในความสมั พันธ ๕ ประการน้ี ขงจื๊อไดวางหลักจริยธรรมสําหรับปฏิบตั ิ ในฐานะนนั้ ๆ
ไวด ังน้ี

- ความสัมพนั ธประเภททหี่ น่งึ เมตตา, สุจรติ จงรักภักดี
- ความสัมพนั ธประเภททส่ี อง เมตตา, กตญั ูกตเวที
- ความสมั พันธป ระเภททส่ี าม รัก, ซื่อสตั ย, รบั ผดิ ชอบในหนาท่ีแหง ตน
- ความสัมพันธประเภททส่ี ี่ คารวธรรม
- ความสัมพนั ธป ระเภทท่ีหา ความจริงใจ

๑๕ บานจอมยุทธ, จริยธรรม, ขงจ๊ือ [ออนไลน], แหลงที่มา: https://www. baanjomyut.
comlibraryethics03 .htm, [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ขงจื๊อยํ้าวา ในการอยูรวมกัน จะตองปรับปรุงความสมั พันธขั้นมูลฐานนใี้ หดีเสียกอน
สงั คมสวนใหญจะเปน อยูเปน สขุ (Ordered Society) และนอกเหนอื ไปจากนี้ ปจเจกชนแตล ะ
คนตองปฏิบัตติ ามหลักจริยธรรมดังตอ ไปน้ี

๑. คุณธรรมจริยธรรมทางกาย (Morality in Action) หมายถึง จริยธรรมที่ควร
ปฏิบัติเพ่ือประโยชนตอตัวเองและสังคม จริยธรรมน้ีมีชื่อวา เจ้ิงหมิง คือการปฏิบัติใหสมกับที่
ตัวเปน (Rectification of the name) หมายความวาแตละคนยอยจะมีความเปน เชน เปน
ตํารวจ เปนครู เปนนายกรัฐมนตรี ฯลฯ ความเปนแตละอยาง (ช่ือ) ยอมบงบอกถึงหนาที่และ
ความรับผิดชอบ ฉะน้ัน เมื่อเราเปนอะไร ตองทําหนาที่และมีความรับผิดชอบน้ัน ๆ อยาง
สมบูรณ ขงจื๊อกลาววา “ความยุงยากในสังคมเกิดขึ้น เพราะคนไมทําหนาที่ของตัวเองให
สมบูรณ สว นมากเปน แตเพยี งในนาม”

๒. คณุ ธรรมจรยิ ธรรมทางใจ (Morality in Cultivation) คอื หลกั ปฏิบัติเพ่ือพฒั นา
จิตใจของตวั เอง ไดแ ก

๒.๑ ความรักใครเมตตา (Human Heartedness) หรือ เหริน หมายถึง ความ
รกั โดยไมจาํ กดั ขอบเขต ไมมีการแบง แยก เชน เดียวกับหลกั เมตตาในพระพทุ ธศาสนา และหลัก
ความรกั แหงพระเจา (Divine Love) ในศาสนาครสิ ต

๒.๒ สัมมาปฏิบัติ (Rightousness) หรืออี้ ไดแกการกระทําในส่ิงที่เห็นวาถูก
หรือควร โดยไมหวังสิ่งตอบแทน หรือโดยแรงบังคับภายนอกที่พูดกันสั้น ๆ วา ทําความดีเพ่ือ
ความดี (Do good for the good’s sake) ขงจือ๊ ยํ้าวาในการกระทําของเราแมจ ะกระทาํ ในส่ิง
ที่ดี แตถาทําเพราะหวังส่ิงตอบแทนอยางอ่ืน เชน ช่ือเสียง เงินทอง จะจัดวาเปนสัมมาปฏิบัติ
(Rightous Action) ไมไดเราจะตองกระทําความดีน้ันเพ่ือความดี เพราะความดีมีคาในตัวมัน
เองอยูแลว ความดีมิไดอยูที่ผลท่ีไดรับ (The Value of doing what we ought to do lies
in doing itself and not in the external result)

การปฏิบัติตามหลักธรรมดังกลา วอาจจะเปนการยาก ขงจ๊ือจึงวางหลักปฏิบัติสั้น ๆ
เพอื่ การกาวหนาไปสจู ริยธรรมดงั กลา วขางตน ไว หลกั ปฏิบตั ินี้คอื

๑. ปฏิบัตติ อ ผูอืน่ เหมือนท่ที า นปรารถนาจะใหค นอนื่ ปฏิบัติตอทา น
๒. จงอยา ปฏบิ ัตติ อผอู ืน่ ในสงิ่ ท่ีทา นไมปรารถนาจะใหผอู น่ื ปฏิบตั ติ อ ทา น

๓๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

อนึ่ง ขงจื๊อกลาววา ผูที่จะปฏิบัติตามหลักจริยธรรมตาง ๆ ไดอยางไมทอถอย
จะตองเปนผูที่รูจัก มิ่ง คําวา มิ่ง มีความหมายวา “โชคชะตา” หรือโองการสวรรค ขงจื๊อให
ความหมายวาการดําเนินชีวิตนั้น มีบางสิ่งบางอยางที่พนวิสัยที่เราจะควบคุมหรือลิขิต มัน
เปนอยางที่มันจะเปนเชนเดียวกับที่ชาวพุทธพูดกันวา “มันเปนกรรม” ฉะนั้นในการครอง
ชีวิตเราจะตองเขาใจในส่ิงนี้ เพื่อมิใหเกิดความทอแทในการประกอบความดี

ปรชั ญาอินเดีย69๑๖
ปรัชญาอินเดียแมจะมีมากมายหลายระบบ และบรรดาระบบตาง ๆ เหลานน้ั แมจะมี
หลักคําสอนสําคัญและหลักคําสอนปลีกยอยแตกตางกันอยางไรก็ตาม แตกระนั้นก็ยังมีลักษณะ
สําคัญบางประการซึ่งเปนลักษณะรวมแหงปรัชญาอินเดียทุกระบบ ซ่ึงพอจะแยกกลาวเปนขอ ๆ
ไดด งั นี้
ปรชั ญาอินเดียทกุ ระบบถอื วา แนวความคิดทางปรัชญามสี าระอยทู ี่สามารถนาํ มาใช
ใหเกิดประโยชนแกชีวิตประจําวัน เพื่อใหชีวิตดําเนินไปสูอุดมการณท่ีตั้งไวอยางดีที่สุด
ปรชั ญาอนิ เดียทุกระบบจงึ เปนปรัชญาชีวติ
ปรัชญาอินเดียทุกระบบเกิดขึ้นจากความรูสึกไมพึงพอใจตอสภาพท่ีเปนอยูของชีวิต
โดยเหน็ วาชีวิตของมนุษยน ั้นเตม็ ไปดว ยความทกุ ขนานัปการ นักคิดหรือนักปรัชญาของอินเดีย
จึงพยายามคิดคนแสวงหาทางท่ีจะทําใหชีวิตน้ีหลุดพนไปจากสภาพที่ทุกข แลวบรรลุถึง
ความสขุ ทีไ่ มเปลยี่ นแปรหรือความสุขนริ ันดร ดวยเหตุน้ีปรัชญาอินเดยี ทุกระบบจึงมกี ารเริ่มตน
ที่มีลักษณะเปนทุนนิยม (Pessimism) แตทุนนิยมในปรัชญาอินเดียนี้ไมใชทุนนิยมแทจริง
เพราะมีอยูแตในตอนตนเทาน้ัน จุดสุดทายหรือจุดหมายปลายทางปรัชญาอินเดียจบลงดวย
วัตถนุ ิยม (Optimism) ทกุ ระบบ
ปรัชญาอินเดียทุกระบบเชื่อในกฎแหงกรรม ท้ังในลักษณะที่เปนกฎแหงสากล
จักรวาล หรือกฎแหงและผล และในลักษณะที่เปนกฎแหงศีลธรรม ทุกระบบแหงปรัชญา
อินเดียเช่ือวา ทําดียอมไดรับผลดี ทําช่ัวยอมไดรับผลช่ัว แมวาแตละระบบจะมีความเห็น
แตกตา งกันในเรอื่ งเกีย่ วกับการกระทําอยางใดเปนการกระทาํ ท่ีดหี รือช่วั กต็ าม

๑๖ บานจอมยุทธ, ปรัชญาอินเดีย, [ออนไลน], แหลงที่มา: https://www. baanjomyut.
comlibraryethics03 .htm, [๑๕ มิถนุ ายน ๒๕๕๘].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ปรัชญาอินเดียทุกระบบมีทรรศนะตองกันในขอท่ีวา อวิชชาหรืออวิทยาเปนสาเหตุ
แหงความติดของและการเวยี นวายตายเกิดในวัฏสงสาร สวนวิชชาหรือวิทยาเปนส่ิงที่จะทําให
หลุดพนจากการติดของและการเวียนวายตายเกิดเชนนั้น การติดของอยูในโลกและการ
ทองเที่ยวไปในวัฏสงสารทําใหตองไดรับความทุกขไมมีที่ส้ินสุด ปรัชญาอินเดียจึงมุงการบรรลุ
โมกษะหรือความหลุดพนจากทุกขท ั้งปวงเปน จุดหมายปลายทาง

อยา งไรก็ตาม เกย่ี วกับสิ่งที่เรยี กวา อวชิ ชาน้ี ปรัชญาอินเดียไมไดมคี วามเห็นตอ งกัน
ทุกระบบ ส่งิ ท่ีเรียกวาวิชชาของระบบหนึ่ง อาจจะเปนอวิชชาของอีกระบบหนงึ่ เชน ระหวาง
ปรัชญาฮนิ ดูกับพทุ ธปรัชญา ปรชั ญาฮินดูถือวา การเห็นหรือรูชัดวามีส่ิงเท่ียงแทไมเปลี่ยนแปร
ท่ีเรียกวาอาตมันเปนวิชชาหรือวิทยา สวนพุทธปรัชญาถือวา การเห็นวามีส่ิงท่ีเท่ียงเชนนั้น
เปน อวชิ ชาเปนตน

ปรัชญาอินเดยี ทกุ ระบบถือวา การบําเพ็ญสมาธิและวิปส สนาโดยพิจารณาสิ่งตาง ๆ
ใหเห็นตามสภาพความเปนจริง เปนทางท่ีจะนําไปสูความหลุดพนจากทุกข แตเร่ืองนี้ก็เปน
เชนที่กลาวแลวในขอ ๔ คือ สภาพความเปนจริงตามทรรศนะของระบบหนึ่งอาจแตกตางจาก
สภาพความเปน จริงตามทัศนะของอกี ระบบหนง่ึ

ปรัชญาอินเดียทกุ ระบบเหน็ วา การควบคมุ ตนเองหรอื การควบคุมจิตใจไมปลอยให
เปนไปในอํานาจของตัณหา เปนทางท่ีขจัดกิเลสหรือความเศราหมองแหงจิตใจใหหมดไปได
และเม่อื ความเศรา หมองแหงจติ ใจหมดไปแลว กจ็ ะบรรลโุ มกษะซ่งึ เปน ความสขุ นิรนั ดร

ปรัชญาอินเดียทุกระบบมีความเชื่อตรงกันวา ความหลุดพนจากทุกขท้ังปวงหรือ
โมกษะน้ันเปนสิ่งท่ีเปนไปไดและสามารถบรรลุถึงไดดวยการปฏิบัติอยางเขมงวดตามวิธีที่
กําหนดไว แตวิธีปฏิบัติเพ่ือบรรลุความหลุดพนจากทุกขนั้น แตละระบบก็มีวิธีการเปนของ
ตนเอง นอกจากน้ันสถานะเชนไรที่เรียกวาเปนสถานะแหงความหลุดพน แตละระบบก็มี
ทรรศนะไมเหมือนกัน ฉะน้ัน จึงสรุปกลาวไดวา แมวาทุกระบบจะมีความเห็นพองกันวา
โมกษะความหลุดพนที่เปนไปได แตในเรื่องของวิธีการและธรรมชาติของความหลุดพน แตละ
ระบบมีทรรศนะไมต รงกัน70๑๗

๑๗ สนุ ทร ณ รงั ส,ี ปรชั ญาอนิ เดยี , (กรงุ เทพมหานคร: พพิ ธิ วทิ ยา, ๒๕๓๑), หนา ๑ – ๘.

๓๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

ลักษณะท้ัง ๗ ประการดังกลาวมานี้ เปนลักษณะรวมแหงปรัชญาอินเดียทุกระบบ
ยกเวน ปรัชญาจารวะจากเพียงระบบเดยี ว เพราะปรัชญาจารวะจากเปนปรชั ญาวัตถนุ ิยมซ่ึงมี
แนวความคิดไมต รงกบั แนวความคิดของระบบอืน่ ๆทงั้ หมดของอนิ เดยี ได

๒.๔ ระดับของจริยธรรม

ทฤษฎพี ฒั นาการทางจริยธรรม ของโคลเ บริ ก (Stages of Moral Development)
ลอเรนซ โคลเบิรก (Lawrence Kohlberg) ๑๘ ไดศึกษาวิจัยพัฒนาการทางจริยธรรม
ของมนษุ ยในหลายประเทศท่ีมีวัฒนธรรมตางกัน จริยธรรมในทน่ี ี้เปน เร่ืองของความรู ความเขาใจ
เก่ียวกับความถูกผิด โดยเกิดจากกระบวนการคิดอยางมีเหตุผล และอาศัยวุฒิภาวะทางปญญา
การวิจัยของ โคลเบิรก พบวาพัฒนาการทางจริยธรรมของเด็กอายุ ๑๐ ปยังพัฒนาไมถึงขั้น
สูงสุด แตยังคงพัฒนาตอไปเม่ืออายุมากขึ้น การศึกษาวิจัยนี้ทําใหเราทราบวา การท่ีบุคคลใช
เหตุผลหนึ่ง ๆ ในการตัดสินใจเลือกกระทําตอเหตุการณอยางหน่ึงน้ันเปนส่ิงที่แสดงใหเห็น ถึง
ความเจริญในจิตใจของบุคคลผูนั้น ซึ่งการใชเหตุผลเชิงจริยธรรมนไ้ี มไ ดขึ้นอยูกับกฎเกณฑของ
สังคมใดสังคมหน่ึงโดยเฉพาะ แตเปนการใชเหตุผลที่ลึกซ้ึงตามลําดับวุฒิภาวะทางจิตใจ และ
สติปญญาของบุคคลน้ัน ดังนั้นการศึกษาแนวคิดทฤษฎีน้ีจะชวยใหเราเขาใจระดับพัฒนาการ
ทางจรยิ ธรรม ของเด็กและเยาวชนทกี่ ระทาํ ผิดกฎหมาย ซึ่งอาจเปนเหตุผลสว นหนง่ึ ของสาเหตุ
พฤตกิ รรมกระทาํ ผิด ตลอดจนการมพี ฤตกิ รรมทไี่ มเหมาะสมตา ง ๆ ความเขา ใจนจ้ี ะชว ยในการ
วางแผนบาํ บัด แกไข ฟน ฟู รวมท้ังพัฒนาทักษะตาง ๆ ใหแกเ ด็กและเยาวชน เพ่อื ชว ยลดการมี
ความประพฤติท่ีไมเหมาะสมของเด็กและเยาวชนได ทฤษฎีน้ีไดแบงพัฒนาการทางจริยธรรม
เปน ๓ ระดับ โดยแตล ะระดบั จะแบง ยอยเปน ๒ ข้นั รวม ๖ ขนั้ ซ่งึ มรี ายละเอยี ดดังตอ ไปนี้
ระดับที่ ๑ ระดับกอนมจี ริยธรรมหรือระดบั กอนกฎเกณฑสงั คม (Pre-Conventional
Morality Level)
ในระดับท่ี ๑ น้ีเด็กจะรับรูกฎเกณฑของพฤตกิ รรมท่ี ‘ดี’ และ ‘ไมดี’ จากผูมีอํานาจ
เหนือตนเอง เชน พอแม ครหู รือเดก็ ท่ีโตกวา และมกั คํานึงถึงผลท่ีตามมาวาเปนรางวลั หรอื การ
ถูกลงโทษในการตีความพฤติกรรม ของตนเอง อยางเชน พฤติกรรมดี คือพฤติกรรมที่แสดงแลว

๑๘ ลอเรนซ โคลเบริ ก , Lawrence Kohlberg.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ไดรับรางวัล สวนพฤติกรรมที่ไมดี คือพฤติกรรมท่ีแสดงแลวถกู ลงโทษ ซ่ึงพฤติกรรมเหลา น้ีจะพบ
ในเด็กทอ่ี ายุ ๒ – ๑๐ ป โดยพฒั นาการทางจรยิ ธรรมในระดับที่ ๑ นีจ้ ะแบงเปน ๒ ขัน้ คือ

ข้นั ท่ี๑ การเชือ่ ฟง และการถูกลงโทษ (Obedience and Punishment Orientation)
ในข้ันนี้เด็กใชผลที่ตามมาของการแสดงพฤติกรรมเปนเครื่องบงช้ีวา พฤติกรรมของตนเอง ‘ถูก’
หรือ ‘ผิด’ ถาเด็กถูกทําโทษจะเรียนรูวาส่ิงที่ตนเองทําน้ันผิด ถาเด็กไดรับรางวัลหรือคําชม เขา
เรียนรูวาส่ิงท่ีตนทํานั้นถูก และจะทําซ้ําอีกเพ่ือใหไดรับรางวัล ดังนั้นเดก็ จะยอมทําตามคาํ ส่ังของ
ผูท่ีมีอํานาจเหนือกวาตนเองโดยไมมี เง่ือนไข เพื่อไมใหตนเองถูกลงโทษ ถือวาเปนการแสดง
พฤติกรรมเพ่ือหลบหลีกการถูกลงโทษ

ข้ันที่ ๒ กฎเกณฑเปนเคร่ืองมือเพ่ือประโยชนของตน (The Instrumental Relativist
Orientation) ในข้ันน้ีใชหลักการแสวงหารางวัล และการแลกเปลี่ยน บุคคลเลือกทําตามความ
พอใจของตนเอง โดยใหความสําคัญตอการไดรับรางวัลตอบแทน รางวัลอาจจะเปนวัตถุหรือเปน
การตอบแทนทางกาย วาจา และใจ โดยในขั้นนี้ยังไมคํานึงถึงความถูกตองของสังคม แตทวาเด็ก
จะสนใจทําตามขอบังคับ เพ่ือประโยชน หรือความพอใจของตนเอง หรือเพราะอยากไดของตอบ
แทน ทั้งนี้บุคคลท่ีอยูในขั้นนี้ยังไมมีความคิดเห็นอกเห็นใจตอผูอื่น หรือความยุติธรรม ดังนั้น
พฤติกรรมของเด็กในข้ันนี้จึงทําเพื่อตอบสนองความตองการของตนเอง แตมักเปนไปในลักษณะ
ของการแลกเปลยี่ นกับคนอ่นื 72๑๙

ระดับที่ ๒ ระดับจริยธรรมตามกฎเกณฑทางสังคม (Conventional Morality
Level)

ระดับจริยธรรมในระดับท่ี ๒ น้ี บุคคลจะแสดงพฤติกรรมตามเกณฑของสังคมท่ีตน
อยู ทําตามความคาดหวังของพอแม หรือผูปกครอง บุคคลจะไมคํานึงถึงผลตามมาท่ีจะเกิดแก
ตนเอง แตคํานึงถึงจิตใจของผอู ่ืน ยึดถือความซอื่ สัตย และความจงรักภักดีเปนสาํ คัญ จรยิ ธรรม
ในระดับน้ีมักพบในชวงวัยรุนอายุประมาณ ๑๐–๑๖ ป โดยพัฒนาการทางจริยธรรมนี้จะ
แบง เปน ๒ ขัน้ คือ

ขั้นที่ ๓ ความคาดหวังและการยอมรับในสังคมสําหรับ‘เด็กดี’ (The Interpersonal
Concordance or “Good Boy-Nice Girl” Orientation) ในข้ันน้ีบุคคลจะใชหลักทําตามที่ผูอื่น

๑๙ ศรีเรือน แกวกังวาล, ทฤษฎีจิตวิทยาบุคลิกภาพ, (กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบาน,
๒๕๕๑).

๓๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

เห็นชอบ โดยจะแสดงพฤติกรรมเพ่ือตองการใหเปนที่ยอมรับของกลุม ทําใหผูอ่ืนพอใจ และยก
ยองชมเชย บุคคลนี้จะไมคอยมีความเปนตัวของตัวเอง มักคลอยตามการชักจูงของผูอื่น
โดยเฉพาะเพื่อนพบในวัยรุนอายุ ๑๐–๑๕ ป พัฒนาการทางจริยธรรมในขั้นนี้เปนพฤติกรรมของ
“คนดี” ตามมาตรฐานหรือความคาดหวังของพอ แม หรือเพ่ือนวัยเดียวกัน ดังนั้นพฤติกรรมดีใน
ท่ีน้ีจงึ หมายถึง พฤติกรรมที่จะทาํ ใหผอู ่ืนชอบและยอมรับ รวมท้ังการไมประพฤติผดิ เพราะกลัววา
จะทําใหพ อแมเ สียใจ

ขั้นท่ี ๔ กฎและระเบียบ (Law and Order Orientation) ในขั้นนี้บุคคลจะใชหลักทํา
ตามหนาที่ของสังคม พัฒนาการทางจริยธรรมในขั้นน้ีพบในวัยรุนชวงอายุประมาณ ๑๓–๑๖ ป
บุคคลนี้จะเรียนรูถึงการเปนสวนหน่ึงของสังคม คํานึงถึงบทบาทและหนาที่ของตนเองในสังคม
และปฏิบัติตามหนาที่ของสังคมอยางเครงครัดเพ่ือธํารงไวซึ่งกฎเกณฑของ สังคม เหตุผลในเชิง
จริยธรรมในข้ันนี้ ถือวาสงั คมจะอยูดวยความมีระเบียบจะตองมีกฎหมายและขอบังคับ คนดีหรือ
คนท่ีมพี ฤตกิ รรมถูกตองคือ คนที่ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บขอบังคบั หรือกฎหมาย73๒๐

ระดับที่ ๓ ระดบั จริยธรรมตามหลกั การดวยวจิ ารณญาณ หรือระดบั เหนือกฎเกณฑ
สงั คม (Post-Conventional Morality Level)

พัฒนาการทางจริยธรรมในระดับน้ีเปนหลักจริยธรรมของผูท่ีมีอายุ ๒๐ ปขึ้นไป
หากบุคคลพัฒนาจรยิ ธรรมมาถึงขั้นนี้ก็จะมีการใชวิจารณญาณตคี วามหมายของ สถานการณตาง
ๆ ตามหลักการ และมาตรฐานทางจริยธรรมกอนท่ีจะแสดงพฤติกรรม ซ่ึงการตัดสินใจวา ‘ถูก’
‘ผิด’ หรือ ‘ควร’ ‘ไมควร’ มาจากวิจารณญาณของตนเอง หรือกลุมท่ีตนเปนสมาชิก ซึ่ง
พัฒนาการทางจรยิ ธรรมในระดบั นี้ก็จะแบงเปน ๒ ขน้ั คอื

ข้ันที่ ๕ สัญญาสังคม หรือหลักการทําตามคําม่ันสัญญา (The Social-Contract
Legalistic Orientation) บุคคลมีเหตุผลในการเลือกกระทํา โดยคํานึงถึงประโยชนของสวนรวม
เปนหลัก ไมละเมิดสิทธิของผูอื่น เคารพการตัดสินใจของตนเอง และสามารถควบคุมตนเองได
โดยมพี ฤติกรรมที่ถกู ตองตามคา นิยมของตนและมาตรฐานของสงั คม

ขั้นท่ี ๖ หลักการคุณธรรมสากล (The Universal-Ethical Principle Orientation)
ข้นั นี้ถือวาเปนหลักการมาตรฐานจริยธรรมสากล เปนหลักการเพ่ือมนุษยธรรม ในข้ันน้ีสิ่งท่ี ‘ถูก’

๒๐ อา งแลว .

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

และ ‘ผิด’ เปนสิ่งที่ข้ึนอยูกับมโนธรรมที่แตละคนยึดถือ บุคคลจะแสดงพฤติกรรมตามหลักการ
คุณธรรมสากล โดยคํานึงถึงความถูกตอง ยอมรับในคุณคาของความเปนมนุษย คํานึงถึงสิทธิ
มนุษยชน มีคุณธรรมประจําใจ ละอาย เกรงกลัวตอบาป มีความยืดหยุนและยึดหลักจริยธรรม
ของตนอยางมีสติ74๒๑

พัฒนาการทางจริยธรรมจะมีความเกี่ยวของกับพัฒนาการทางดานความคิดเปนเหตุ
เปนผล (ตรรกะ) บคุ คลจะมีพัฒนาการทางจริยธรรมเปนไปตามลําดับไมมีการขา มขั้น เชน บุคคล
ท่ีมีพัฒนาการทางจริยธรรมในข้ัน ๓ การแสดงพฤติกรรมเพื่อใหไดรับการยอมรับจากกลุม จะไม
สามารถพัฒนาแบบกาวกระโดดไปยังขั้น ๕ ซ่ึงเปนเร่ืองการตระหนักถึงประโยชนของสวนรวม
เปนหลัก แตอาจพัฒนากาวหนาข้ึนไปเร่ือยๆ ผา นข้ันที่ ๔ และไปถึงข้ันท่ี ๕ เปนลําดับ การท่ีเรา
ศึกษาแนวคิดเหตุผล เชิงจริยธรรม นี้จะทําใหเราตระหนักถึงขอจํากัดทาง ดานความคิดในแตละ
ขั้นพัฒนาการปจจุบันของบุคคล ซ่ึงเหลาน้ีเปนแรงผลักดันที่สงผลตอพัฒนาการทางจริยธรรม
ของบคุ คลนนั้ 75๒๒

๒.๕ แนวคิด หลกั การ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรมประเทศไทย

แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาจริยธรรมดวยวิธีพัฒนา
ตนเองตามขั้นตอนดังกลาว เปนธรรมภาระที่บุคคลสามารถปฏิบัติไดควบคูกับการดําเนิน
ชีวิตประจําวัน แตมิใชเปนการกระทําในลักษณะเสร็จสิ้น ตองกระทําอยางตอเนื่องจนเปน
นิสัย เพราะจิตใจของมนุษยเปลี่ยนแปลงไดตลอดเวลา เชน กระแสสังคมที่เปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา ทุกคนไดมีโอกาสเรียนรูมาตั้งแตวัยตนของชีวิตจากการเลี้ยงดู การศึกษาอบรม
และจากประสบการณในการปฏิบัติงาน โดยอาจเปนในวิถีทางที่ตางกัน ซ่ึงเปนผลใหบุคคลมี
พัฒนาการทางจริยธรรมตางกัน จากกฎเกณฑการตัดสินท่ีตางกันโดยมีหลักการดังน้ี

๒๑ ศรีเรือน แกวกงั วาน, ทฤษฎีจติ วิทยาบคุ ลิกภาพ, (กรงุ เทพมหานคร: หมอชาวบา น, ๒๕๕๑).
๒๒ วรุณา กลกิจโกวินท, พัฒนาการทางจิตใจในเด็ก, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: www.vajira.ac.th/
psycho/elearning/PsychoDevelopChild.doc. [๑๘ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๐].

๓๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

๒.๕.๑ หลักการ แนวคิด ทฤษฎเี กีย่ วกบั คุณธรรมจริยธรรมประเทศไทย
- หลักการ แนวคิด ทฤษฎขี องกญั ญา วีรยวรรธน76๒๓
การกําหนดทิศทางในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ผูรับผิดชอบงานควรตองคิดให
ครอบคลุมทั้งดานคุณธรรมและจริยธรรม นนั่ คือ หลักการคิดและวิธกี ารปฏิบัติที่ดีงาม ถูกตอง
ตามสภาพสงั คม วัฒนธรรม
คุณธรรม คอื หลกั ความจรงิ หลักการปฏบิ ตั ิ ประกอบดวย
๑. จริยธรรม มี ๒ ความหมาย คือ

๑.๑ ความประพฤตดิ งี าม เพอื่ ประโยชนส ุขแกตนและสังคม ซึง่ มีพ้ืนฐานมาจาก
หลักศีลธรรมทางศาสนา คา นิยมทางวฒั นธรรม ประเพณี หลกั กฎหมาย จรรยาบรรณวชิ าชีพ

๑.๒ การรูจ กั ไตรต รองวา อะไรควร ไมค วรทาํ
๒. จรรยา (etiquette) หมายถึง ความประพฤติ กิริยาท่ีควรประพฤติซ่ึงสังคมแต
ละสังคม กําหนดข้ึนสอดคลองกับวัฒนธรรม ในแตละวิชาชีพก็อาจกําหนดบุคลิกภาพ กิริยา
วาจาท่ีบุคคลในวิชาชีพพึงประพฤติปฏิบัติ เชน ครู แพทย พยาบาล ยอมเปนผูที่พึงสํารวมใน
กิรยิ า วาจา ทา ทางท่ีแสดงออก
๓. จรรยาบรรณวิชาชีพ (professional code of ethics) หมายถึง ประมวลความ
ประพฤติท่ีผูประกอบอาชีพการงาน แตละอยางกําหนดขึ้น เพ่ือรักษาและสงเสริมเกียรติคุณ
ช่ือเสียงและฐานะของสมาชิก ทําใหไดรับความเชื่อถือจากสังคม อาจเขียนเปนลายลักษณ
อักษรหรือไมก็ได เชน จรรยาบรรณของแพทย ก็คือ ประมวลความประพฤติท่ีวงการแพทย
กาํ หนดข้ึน เพือ่ เปนแนวทางสาํ หรบั ผเู ปนแพทยยึดถอื ปฏบิ ตั ิ
๔. ศีลธรรม (moral) คําวา ศีลธรรมถาพิจารณาจากรากศัพทภ าษาละติน Moralis
หมายถึง หลักความประพฤติท่ีดีสําหรับบุคคลพึงปฏิบัติ ภาษาไทย ศีลธรรมเปนศัพท
พระพทุ ธศาสนา หมายถึง ความประพฤตทิ ี่ดีทชี่ อบหรอื ธรรมในระดับศลี
๕. คุณธรรม (virtue) หมายถึงสภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ
เชน ความเปน ผูไมกลาวเทจ็ โดยหวังประโยชนส วนตน เปนคณุ ธรรมประการหน่ึง อาจกลา วได

๒๓ กัญญา วรี ยวรรธน, “การศกึ ษาสภาพปญหาการเรียนการสอนและการทําวิทยานพิ นธ สาขา
การบรหิ ารการศึกษา ระดบั บัณฑติ ศึกษา ของสถาบนั อุดมศึกษาไทย”, วิทยานพิ นธค รุศาสตรอตุ สาหกรรม
มหาบณั ฑิต, (บัณฑติ วทิ ยาลัย: สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา เจา คุณทหารลาดกระบัง, ๒๕๓๖).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

วาคุณธรรมคือจริยธรรมแตละขอท่ีนํามาปฏิบัติจนเปนนิสัย เชน เปนคนซ่ือสัตย เสียสละ
อดทน มคี วามรับผดิ ชอบ ฯลฯ

๖. มโนธรรม (conscience) หมายถึงความรสู ึกผิดชอบช่วั ดี ความรูส กึ วาอะไรควร
ทําไมควรทํา นักจริยศาสตรเชื่อวามนุษยทุกคนมีมโนธรรม เน่ืองจากบางขณะเราจะเกิด
ความรูสึกขัดแยงในใจระหวางความรูสึกตองการส่ิงหน่ึง และรูวาควรทําอีกสิ่งหนึ่ง เชน
ตอ งการไปดูภาพยนตรกบั เพื่อน แตกร็ วู าควรอยูเปนเพ่ือน คณุ แมซึ่งไมคอ ยสบาย

๗. มารยาท กริ ิยา วาจา ท่ีสังคมกําหนดและยอมรับวาเรียบรอย เชน สังคมไทยให
เกียรติเคารพผูใหญ ผูนอยยอมสํารวมกิริยาเม่ืออยูตอหนาผูใหญ การระมัดระวังคําพูดโดยใช
ใหเ หมาะกบั บคุ คลตามกาลเทศะ

จริยธรรม คือ กฎเกณฑความประพฤติของมนุษย ซึ่งเกิดข้ึนจากธรรมชาติของ
มนษุ ยเอง ความเปนผูมปี รีชาญาณ (ปญญา และ เหตุผล รวมกัน) ทําใหมนุษยมมี โนธรรม รจู ัก
แยกแยะความดี ถกู ผดิ ควร ไมควร

จรยิ ธรรมมลี ักษณะ ๔ ประการ คือ
๑. การตัดสินทางจริยธรรม (moral judgment) บุคคลจะมีหลักการของตนเอง
เพ่ือตดั สนิ การกระทําของผูอื่น
๒. หลักการของจริยธรรมและการตัดสินตกลงใจเปนความสัมพันธที่เกิดขึ้นในตัว
บคุ คลกอนที่จะปฏิบตั กิ ารตา ง ๆ ลงไป
๓. หลักการทางจริยธรรมเปนหลักการสากลที่บุคคลใชตัดสินใจในการการะทาํ สิ่ง
ตาง ๆ
๔. ทัศนะเกี่ยวกับจริยธรรมไดมาจากความคิดของบุคคลหรืออุดมคติของสังคมจน
เกิดเปน ทศั นะในการดํารงชีวติ ของตน และของสงั คมทีต่ นอาศยั อยู
จะเห็นไดวา คุณธรรม หมายถึง หลักของความดี ความงาม ความถูกตอง ในการ
แสดงออกท้ังกาย วาจาใจ ของแตละบุคคล ซึ่งยึดม่ันไวเปนหลักประจําใจในการประพฤติ
ปฏบิ ัติจนเกดิ เปนนิสยั ซ่งึ อาจสงผลใหการอยู
๒.๕.๒ ทฤษฎตี น ไมจรยิ ธรรมสาํ หรบั คนไทย
เปนทฤษฎีทางจิตวิทยาทฤษฎีแรกของนักศึกษาไทยที่สรางขึ้น บุคคลผูรวบรวม
เขียนเปนทฤษฎี คือ ศาสตราจารย ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน กรอบแนวคิดที่เปนจุดเดนของ

๔๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

ทฤษฎีน้ีมีความวา ลักษณะพื้นฐานและองคประกอบทางจิตใจซึ่งจะนําไปสูพฤติกรรมท่ีพึง
ปรารถนา เพอ่ื สง เสริมใหบ คุ คลเปน คนดีและ คนเกง 77๒๔

๑. สวนของดอกผล เปรียบเสมือนเปนลักษณะพฤติกรรมคนดีและเกง การที่ตนไม
จะใหด อกผลใหญจ ะตองมลี าํ ตนและรากทสี่ มบรู ณ

๒. สวนของลําตนที่สมบูรณ เปรียบเสมือนลักษณะทางจิตใจ ซึ่งเปนสาเหตุของ
พฤตกิ รรมทีด่ ีมี ๕ ประการ คือ

ประการที่ ๑ มที ศั นคติ คานิยมท่ดี ี และคณุ ธรรม
ประการท่ี ๒ มเี หตุผลเชงิ จริยธรรม
ประการที่ ๓ ลักษณะมุงอนาคต คาดการณไ กล
ประการท่ี ๔ เชอื่ อาํ นาจในตน
ประการท่ี ๕ มีแรงจงู ใจใฝสัมฤทธิ์
ลักษณะทางจิตใจท้ัง ๕ ประการนี้ ถามีมากในบุคคลใด บุคคลนั้นจะเปนผูมี
พฤติกรรมเกงและดอี ยา งสม่าํ เสมอ
๓. สวนของรากตนไม เปรียบเสมือนลักษณะทางจิตที่เปนพื้นฐานท่ีจะชอบไชหา
อาหารเลยี้ ง ลําตน ใหส มบูรณม ี ๓ ประการ คอื
ประการที่ ๑ สติปญ ญา
ประการท่ี ๒ ประสบการณท างสงั คม
ประการท่ี ๓ สุขภาพจิตดี
บุคคลที่มีลักษณะพื้นฐานทางจิตท้ังสามประการน้ันสูง และเหมาะสมกับอายุ
เปรียบไดกับคนที่เปนบัวเหนือน้ําในพุทธศาสนา ซ่ึงพรอมจะรับการพัฒนา ทฤษฎีตนไม
จริยธรรมของคนไทยจึงใหขอสรปุ วา ถาตอ งการพัฒนาคนใหเปนคนเกงและดี จะตอ งพัฒนา
ลกั ษณะจติ ใจ ทั้ง ๘ ประการท่รี ะบไุ วท่ีลําตน และรากตน ไม

๒๔ กญั ญา วีรยวรรธน, “การศกึ ษาสภาพปญหาการเรยี นการสอนและการทาํ วิทยานิพนธ สาขา
การบริหารการศึกษา ระดับบัณฑิตศึกษา ของสถาบันอดุ มศกึ ษาไทย”, วทิ ยานิพนธค รศุ าสตรอุตสาหกรรม
มหาบัณฑิต, (บัณฑติ วทิ ยาลยั : สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, ๒๕๓๖).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๔๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

คณุ ลกั ษณะของคน (ยคุ ใหม) ทพ่ี งึ ประสงค

การสอน "คุณธรรม/จริยธรรม" เปนความตองการที่คนรุนหนึ่งจะชี้นําคนอีกรุน
หนึ่ง โดยผูสอนมีความเช่ือวาประสบการณของตนอาจสรางความเขาใจเร่ือง คุณธรรม/
จริยธรรม (หรือความดี ความถูกตอง ความเหมาะสม) อยางถองแทใ นระดับหนึ่ง และตองการ
ให เยาวชนเชื่อ ดีและเหมาะสมกับเยาวชน การยึดหลักคุณธรรม/จริยธรรม ทําใหมนุษยมี
ความสุข ความสวย และความงาม โดยทค่ี วามสุขน้ันควรเปน ความสขุ แบบเรยี บงา ยและยง่ั ยนื

คุณสมบัตอิ ันเปนความพรอ มทจ่ี ะพฒั นา จรยิ ธรรมของบุคคลประกอบดวย
๑. ความรูเก่ียวกบั ธรรมชาตขิ องชีวติ และหลกั จรยิ ธรรม ทกุ คนไดม โี อกาสเรียนรมู า
ตั้งแตวัยตนของชีวิตจากการเล้ียงดู การศึกษาอบรม และจากประสบการณในการปฏิบัติงาน
โดยอาจเปนในวิถีทางท่ีตางกัน ซึ่งเปนผลใหบุคคลมีพัฒนาการทางจริยธรรมตางกัน จาก
กฎเกณฑการตัดสินท่ีตางกนั


Click to View FlipBook Version