The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Keywords: คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

๒๙๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

- การจัดการอาชีวศึกษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของรัฐ
สถาน ศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความรวมมือระหวางสถานศึกษากับ
สถานประกอบการ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอ่ืนของรัฐ อาจจัด
การศึกษา เฉพาะทางตามความตองการและความชํานาญของหนวยงานนั้นไดโดยคํานึงถึง
นโยบายและมาตรฐานการศกึ ษาของชาติ

หมวด ๔ แนวการจดั การศึกษา
การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด ผูเรียนทุกคน สามารถ
เรียนรูและพัฒนาตนเองได ดังนั้นกระบวนการจัดการศึกษาตองสงเสริมใหผูเรียน ไดพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ การจัดการศึกษาท้ังสามรูปแบบในหมวด ๓ ตองเนนท้ังความรู
คณุ ธรรม และกระบวนการเรียนรู ในเร่ืองสาระความรู ใหบูรณาการความรูและทักษะดานตาง ๆ
ใหเหมาะสมกับแตละระดบั การศึกษา ไดแก ดา นความรูเกยี่ วกบั ตนเองและความสัมพันธระหวาง
ตนเองกบั สังคม ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดานศาสนา ศิลปวัฒนธรรม การกีฬา ภมู ิปญญา
ไทย และการประยกุ ตใชภูมิปญญา ดานภาษา โดยเฉพาะการใชภาษาไทย ดา นคณิตศาสตร ดาน
การประกอบอาชีพ และการดํารงชีวิตอยางมีความสุข ในเร่ืองการจัดกระบวนการเรียนรูใหจัด
เน้ือหาสาระและกิจกรรมที่สอดคลองกับ ความสนใจ ความถนัดของผูเรียน และความแตกตาง
ระหวางบุคคล รวมท้ังใหฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการการเผชิญสถานการณและการ
ประยุกตความรูมาใชปองกันและแกปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียนฝกปฏิบัติจริง ผสมผสานสาระ
ความรูดานตาง ๆ อยางสมดุล และปลูกฝง คุณธรรม คานิยมที่ดี คณุ ลักษณะอันพึงประสงคในทุก
วิชา นอกจากนั้น ในการจัดกระบวนการเรียนรูยังตองสงเสริมใหผูสอน จัดบรรยากาศ และ
สิ่งแวดลอมท่เี อ้ือตอการเรียนรู ใชการวิจัยเปนสวนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู ผูสอนและผูเรียน
อาจเรียนรูไปพรอมกันจากส่ือและแหลงวิทยาการประเภทตาง ๆ จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุก
เวลา ทุกสถานท่ี มีการประสานความรวมมือกับผูปกครองและชุมชน รวมทั้งสงเสริมการ
ดําเนินงาน และการจัดตั้งแหลงการเรียนรูตลอดชีวิตทุกรูปแบบ การประเมินผลผูเรียน ให
สถานศึกษาพิจารณาจากพฒั นาการของผูเรียน ความประพฤติ การสงั เกตพฤติกรรมการเรียน
การรวมกิจกรรม และการทดสอบ สวนการจัดสรรโอกาสการเขาศึกษาตอ ใหใชวิธีการที่
หลากหลายและนาํ ผลการประเมนิ ผูเรยี นมาใชป ระกอบดว ย

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๙๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

หลักสูตรการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท ตองมีความหลากหลาย โดยสวน
กลางจัดทําหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เนนความเปน ไทยและความเปนพลเมอื งดี
การดํารงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอดจนเพ่ือการศึกษาตอและใหสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
จัดทําหลักสูตรในสวนท่ีเกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น และ
คุณลักษณะของสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชนสังคมและประเทศชาติ สําหรับหลักสูตร
การศึกษาระดับอุดมศึกษาเพิ่มเรื่องการพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการคนควาวิจัย เพ่ือ
พัฒนาองคความรแู ละสงั คมศกึ ษา

หมวด ๕ การบริหารและการจดั การศึกษา
สวนท่ี ๑ การบริหารและการจัดการศกึ ษาของรฐั
แบงเปนสามระดับ คือ ระดับชาติ ระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา
เพอ่ื เปน การกระจายอาํ นาจลงไปสทู อ งถนิ่ และสถานศกึ ษาใหม ากที่สดุ
๑.๑ ระดับชาติ
ใหมีกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มีอํานาจหนาที่ กํากับดูแล
การศึกษาทุกระดับและทุกประเภทรวมทั้ง การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กําหนดนโยบาย
แผน และมาตรฐานการศึกษาสนับสนุนทรัพยากรรวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กระทรวงการศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม มีองคกรหลักที่เปนคณะ บุคคลในรูปสภาหรือคณะกรรมการส่ีองคกร คือ สภา
การศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแหง ชาติ คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน คณะกรรมการ
การอุดมศกึ ษา คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม
- มีหนาที่พิจารณาใหความเห็นหรือใหคําแนะนําแกรัฐมนตรี หรือคณะรัฐ มนตรี
และมีอาํ นาจหนา ทอ่ี ืน่ ตามที่กฎหมายกาํ หนด .
- ใหสํานักงานของท้ังสี่องคกรเปนนิติบุคคล มีคณะกรรมการแตละองคกร
ประกอบดวยกรรมการ โดยตําแหนงจากหนวยงานที่เกี่ยวของ ผูแทนองคกรเอกชน ผูแทน
องคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูแทนองคกรวิชาชีพ และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีจํานวนไมนอยกวา
จํานวนกรรมการประเภทอ่ืนรวมกัน มีเลขาธิการของแตละสํานักงาน เปนกรรมการและ
เลขานุการ

๒๙๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

- สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแหงชาติ มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย
แผน และมาตรฐานการศึกษาของชาติ นโยบายและแผนดานศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
การสนับสนุนทรัพยากร การประเมินผลการจัดการศึกษา การดําเนินการดานศาสนาศิลปะ
และวัฒนธรรม รวมทง้ั การพจิ ารณากลัน่ กรองกฎหมายและกฎกระทรวง

- คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา
มาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานที่สอดคลองกับแผนการศึกษา ศาสนา
ศลิ ปะและวฒั นธรรมแหง ชาติ การสนบั สนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล
การจัดการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน

- คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และ
มาตรฐานการอุดมศึกษาที่สอดคลองกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแหงชาติ
การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษา โดยคํานึงถึงความเปนอิสระตามกฎหมายวาดวยการจัดต้ังสถานศึกษาแตละ
แหง

- คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม มีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบายและ
แผนพฒั นาที่สอดคลองกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแหงชาติ การสนับสนุน
ทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดําเนินการดานศาสนา ศิลปะและ
วัฒนธรรม สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล ดําเนินการจัดการ
ศึกษาและอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายวาดวยการจัดต้ัง
สถานศกึ ษานั้น ๆ

๑.๒ ระดับเขตพนื้ ที่การศกึ ษา
การบรหิ ารและการจดั การศึกษาข้ันพืน้ ฐานและการอุดมศึกษาระดับต่ํากวาปริญญา
ใหยึดเขตพื้นท่ีการศึกษาโดยคํานึงถึงปริมาณสถานศึกษา และจํานวนประชากรเปนหลัก
รวมทั้งความเหมาะสมดานอื่นดวย ในแตละเขตพ้ืนท่ีการศึกษาใหมีคณะกรรมการและ
สํานักงานการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเขตพ้ืนที่การศึกษา ทําหนาท่ีในการกํากับดูแล
สถานศึกษาข้ันพื้นฐานและสถานศกึ ษาระดับอดุ มศึกษาระดับตํ่ากวาปรญิ ญา ประสานสงเสริม
และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประสานและสงเสริมองคกรปกครอง
สวนทองถิ่นใหสามารถจัดการศึกษาสอดคลองกับนโยบายและมาตรฐานการศึกษา สงเสริม
และสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกร

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๙๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นท่ีจัดการศึกษาในรูปแบบท่ี
หลากหลาย รวมทั้งการกํากับดูแลหนวยงานดานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมในเขตพ้ืนที่
การศึกษา

คณะกรรมการเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ประกอบดวยผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกร
เอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนสมาคมผูประกอบวิชาชีพครู และผูประกอบ
วิชาชีพบริหารการศึกษา ผูแทนสมาคมผูปกครองและครู ผูนําทางศาสนาและผูทรงคุณวุฒดิ า น
การศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม โดยใหผูอํานวยการสํานักงานการศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรมเขตพืน้ ที่การศึกษาเปน กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการ

๑.๓ ระดับสถานศกึ ษา
ใหแ ตล ะสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และสถานศึกษาอดุ มศกึ ษาระดบั ต่ํากวาปริญญา มี
คณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อทําหนาที่กํากับและสงเสริมสนับสนุนกิจการของสถานศึกษา
และจัดทําสาระของหลักสูตรในสวนท่ีเกี่ยวกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคมภูมิปญญา
ทอ งถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค คณะกรรมการสถานศึกษาประกอบดว ย ผูแทน ผูปกครอง
ผูแทนครู ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูแทนศิษยเกาของ
สถานศึกษา และผูทรงคุณวุฒิ และใหผูบริหารสถานศึกษาเปนกรรมการและเลขานุการของ
คณะกรรมการ ทง้ั น้ี ใหกระทรวงกระจายอาํ นาจ ท้งั ดานวชิ าการ งบประมาณ การบริหารงาน
บคุ คล และการบรหิ ารท่ัวไป ไปยังคณะกรรมการและสาํ นักงานการศึกษาฯ เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา
และสถานศึกษาในเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาโดยตรง
สวนที่ ๒ การบริหารและการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสว นทองถิ่น
ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดการศึกษาไดทุกระดับและทุกประเภทตามความ
พรอ ม ความเหมาะสมและความตองการภายในทองถิน่ เพอื่ เปนการรองรับสิทธิและการมีสวน
รวมในการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตามที่กําหนดในรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย โดยกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินความพรอม รวมทั้ง
ประสานและสงเสรมิ ใหอ งคกรปกครองสว นทองถ่นิ สามารถจัดการศึกษาได
สว นที่ ๓ การบรหิ ารและการจัดการศึกษาของเอกชน
สถานศึกษาเอกชนเปนนิติบุคคลจัดการศึกษาไดทุกระดับและทุกประเภท มี
คณะกรรมการบริหาร ประกอบดวยผูบริหารสถานศึกษาเอกชน ผูรับใบอนุญาต ผูแทน

๒๙๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

ผปู กครอง ผแู ทนองคกรชมุ ชน ผูแทนครู ผแู ทนศิษยเกาและผูท รงคณุ วุฒิ การบรหิ ารและการ
จัดการศึกษาของเอกชนใหมีความเปนอิสระ โดยมีการกํากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และตองปฏิบัติตามหลักเกณฑการประเมินคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาเชนเดียวกับสถานศึกษาของรัฐ รวมทั้งรัฐตองใหการสนับสนุนดานวิชาการและดาน
เงินอุดหนุน การลดหยอนหรือยกเวนภาษี รวมทั้งสิทธิประโยชนอื่นตามความเหมาะสม ท้ังนี้
การกําหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษาของรัฐของเขตพ้ืนที่การศึกษา หรือขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่นใหคํานึงถึงผลกระทบตอการจัดการศึกษาของเอกชน โดยใหรับฟงความ
คดิ เหน็ ของเอกชน และประชาชนประกอบการพิจารณาดว ย สวนสถานศึกษาของเอกชนระดับ
ปริญญา ใหดําเนินกิจการโดยอิสระภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษาตามกฎหมายวา
ดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน

หมวด ๖ มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
ใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย ระบบการประกัน
คุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก หนวยงานตนสังกัด และสถานศึกษา
จัดใหมีระบบการประกับคุณภาพภายใน ซึ่งเปนสวนหน่ึงของการบริหาร และจัดทํารายงาน
ประจําปเสนอตอหนวยงานที่เกี่ยวของและเปดเผยตอสาธารณชน ใหมีการประเมินคุณภาพ
ภายนอกของสถานศึกษาทุกแหงอยางนอยหนึ่งคร้ังทุกหาป โดยสํานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา ซึ่งเปนองคการมหาชนทําหนาที่พัฒนาเกณฑวิธีการประเมิน
และจัดใหมีการประเมินดังกลาว รวมทั้งเสนอผลการประเมินตอหนวยงานท่ีเกี่ยวของและ
สาธารณชน ในกรณีที่ผลการประเมินภายนอกไมไดมาตรฐานใหสํานักงานรับรองมาตรฐานฯ
จัดทําขอเสนอแนะตอหนวยงานตนสังกัด ใหสถานศึกษาปรับปรุง ภายในระยะเวลาที่กําหนด
หากมไิ ดดําเนนิ การ ใหส าํ นักงานรับรองมาตรฐานฯ รายงานตอคณะกรรมการตนสังกดั เพ่ือให
ดาํ เนินการปรับปรงุ แกไขตอ ไป
หมวด ๗ ครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ใหกระทรวงสงเสริมใหมีระบบ กระบวนการผลิตและพัฒนาครู คณาจารย และ
บุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานท่ีเหมาะสมกับการเปนวิชาชีพชั้นสูง โดยรัฐ
จดั สรรงบประมาณและกองทุนพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศกึ ษาอยางเพยี งพอ
มีกฎหมายวาดวยเงินเดือน คาตอบแทน สวัสดิการ ฯลฯ ใหมีองคกรวิชาชีพครู ผูบริหาร
สถานศึกษา และผูบริหารการศึกษา เปนองคกรอิสระมีอํานาจหนาที่กาํ หนดมาตรฐานวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๙๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ รวมท้ังกํากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและ
จรรยาบรรณของวิชาชพี

- ครู ผูบริหารสถานศึกษา ผบู ริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศกึ ษาอ่ืนทั้งของ
รัฐและเอกชน ตองมใี บอนุญาตประกอบวชิ าชีพ ทง้ั นี้ ยกเวน ผทู จ่ี ัดการศึกษาตามอธั ยาศัย จัด
การศึกษาในศูนยการเรียน วิทยากรพิเศษ และผูบริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา

- ใหขาราชการของหนวยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาและระดับเขตพื้นท่ี
การศึกษาเปนขาราชการในสังกัดองคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการครู ตามหลักการ
กระจายอาํ นาจการบรหิ ารงานบุคคลสเู ขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาและสถานศึกษา

- การผลติ และพัฒนาคณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนามาตรฐานและ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ และการบริหารงานบุคคลของขาราชการหรือพนักงานของรัฐใน
สถานศกึ ษาระดับปริญญาท่ีเปนนิตบิ ุคคลใหเปนไปตามกฎหมายเฉพาะของสถานศึกษานั้น ๆ

หมวด ๘ ทรัพยากรและการลงทนุ เพื่อการศึกษา
ใหมีการระดมทรัพยากรและการลงทนุ ดานงบประมาณ การเงิน และทรัพยสนิ ท้งั จาก
รัฐ องคกร ปกครองสวนทองถ่ิน บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน เอกชน องคกรเอกชน
องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอ่ืนและตางประเทศมาใชจัด
การศึกษา โดยใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใชมาตรการภาษีสงเสริมและใหแรงจูงใจ
รวมทง้ั ใชม าตรการลดหยอน หรอื ยกเวน ภาษีตามความเหมาะสม
- สถานศึกษาของรัฐท่ีเปน นิติบุคคล มีอํานาจในการปกครอง ดูแล บํารุงรกั ษา ใชแ ละ
จัดหาผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา ท้ังท่ีเปนที่ราชพัสดุ และที่เปนทรัพยสินอ่ืน
รวมท้ังหารายไดจากบริการของสถานศึกษาที่ไมขัดกับภารกิจหลักอสังหาริมทรัพยที่สถานศึกษา
ของรัฐไดมา ท้งั จากผูอ ุทศิ ใหหรือซ้ือหรอื แลกเปล่ียนจากรายไดของสถานศกึ ษา ใหเปน กรรมสิทธิ์
ของสถานศึกษา บรรดารายไดและผลประโยชนตาง ๆ ของสถานศึกษาของรัฐดังกลาว ไมเปน
รายไดท ีต่ อ งสงกระทรวงการคลงั
- ใหสถานศึกษาของรัฐท่ีไมเปนนิติบุคคล สามารถนํารายไดและผลประโยชนตาง ๆ
มาจัดสรรเปนคาใชจายการจัดการศึกษาของสถาบันน้ัน ๆ ไดตามระเบียบที่กระทรวงการคลัง
กําหนด

๒๙๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

- ใหรัฐจัดสรรงบประมาณแผนดินใหกับการศึกษา โดยจัดสรรใหผูเรียนและ
สถานศึกษา ท้ังของรัฐและเอกชนในรูปแบบตาง ๆ เชน ในรูปเงินอุดหนุนท่ัวไปเปนคาใชจาย
รายบคุ คล กองทุนประเภทตาง ๆ และทุนการศึกษา รวมท้ังใหมีระบบการตรวจสอบ ตดิ ตามและ
ประเมินประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลการใชจ ายงบประมาณการจดั การศึกษาดว ย

หมวด ๙ เทคโนโลยเี พอื่ การศกึ ษา
- รัฐจัดสรรคลื่นความถ่ี ส่ือตัวนําและโครงสรางพ้ืนฐานที่จําเปนตอการสง
วทิ ยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอืน่ เพ่ือประโยชนสาํ หรับ
การศึกษา การทะนบุ ํารุง ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจาํ เปน รัฐสงเสริมสนับสนุนใหมี
การวิจัยและพัฒนา การผลิตและพัฒนาแบบเรียน ตํารา สื่อสิ่งพิมพอื่น วัสดุอุปกรณและ
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยจัดใหมีเงินสนับสนุนและเปดใหมีการแขงขันโดยเสรีอยางเปน
ธรรม รวมทง้ั การตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการใชเ ทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
- ใหมีการพัฒนาบุคลากรท้ังดานผูผลิตและผูใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให
ผูเรียนไดพัฒนาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในโอกาสแรกที่ทําได อันจะ
นาํ ไปสกู ารแสวงหาความรูไดดวยตนเองอยา งตอเนื่องตลอดชีวิต
- ใหมกี ารระดมทุน เพื่อจดั ต้ังกองทุนพฒั นาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา จากเงินอุดหนุน
ของรัฐ คาสัมปทานและผลกําไรที่ไดจากการดําเนินกิจการ ดานส่ือสารมวลชน เทคโนโลยี
สารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝายท่ีเกี่ยวขอ ง ท้งั ภาครฐั ภาคเอกชน และองคก รประชาชน
รวมท้ังใหม กี ารลดอัตราคาบริการเปน พิเศษในการใชเ ทคโนโลยี
- ใหมีหนวยงานกลาง ทําหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผน สงเสริม และประสาน
การวจิ ัย การพฒั นาและการใช รวมทั้งการประเมินคุณภาพและประสทิ ธิภาพของการผลติ และ
การใชเ ทคโนโลยีเพอื่ การศกึ ษา
บทเฉพาะกาล
๑. นับแตว นั ที่พระราชบัญญตั นิ ี้ใชบงั คบั
- ใหกฎหมาย ขอบังคับ คําสั่ง ฯลฯ เกี่ยวกับการศึกษา ศาสนา ศิลปและวัฒนธรรม
เดิมท่ีใชอยูยังคงใชบังคับไดตอไป จนกวาจะมีการปรับปรุงแกไขตามพระราชบัญญัติน้ี ซึ่งตองไม
เกินหาป

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๙๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

- ใหกระทรวง ทบวง กรม หนวยงานการศึกษาและสถานศึกษาท่ีมีอยู ยังคงมีฐานะ
และอํานาจหนาท่ีเชนเดิมจนกวาจะจัดระบบการบริหาร และการจัดการศึกษาใหมตาม
พระราชบญั ญตั นิ ้ี ซงึ่ ตอ งไมเกนิ สามป

- ใหดาํ เนินการออกกฎกระทรวง เพอื่ แบงระดับและประเภทการศกึ ษาของการ ศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานรวมทั้งการแบงระดับ หรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตาม
อธั ยาศัยใหแลว เสร็จภายในหน่ึงป

๒. ในวาระเร่มิ แรก มิใหนาํ
- บทบัญญัติเก่ียวกับการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสิบสองป และการศึกษาภาค บังคับ
เกาป มาใชบังคับ จนกวาจะมีการดําเนินการใหเปนไปตามพระราชบัญญัติน้ี ซึ่งตองไมเกินหาป
นับจากวันที่รัฐธรรมนูญใชบังคับ และภายในหกป ใหกระทรวงจัดใหสถานศึกษาทุกแหงมีการ
ประเมินผลภายนอกคร้งั แรก
- นําบทบัญญัติในหมวด ๕ การบริหารและการจัดการศึกษา และหมวด ๗ ครู
คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษามาใชบังคับจนกวาจะมีการดําเนินการใหเปนไปตาม
พระราชบัญญตั นิ ี้ ซ่งึ ตองไมเ กนิ สามป
- ทั้งนี้ขณะท่ีการจัดตั้งกระทรวงยังไมแลวเสร็จใหนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีวาการ
กระทรวงศึกษาธิการและรัฐมนตรีวาการทบวงมหาวิทยาลัย รักษาการตามพระราชบัญญัตนิ ี้ และ
ใหออกกฎกระทรวงระเบียบและประกาศเพ่ือปฏิรูปตามพระราชบัญญัตินี้ในสวนที่เกี่ยวกับ
อํานาจหนาที่ของตนรวมท้ังใหกระทรวงศึกษาธิการ ทบวงมหาวิทยาลัย และสํานักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติทาํ หนาท่ีกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมในสวนที่
เก่ยี วของแลว แตก รณี
๓. ใหจ ัดตง้ั สาํ นกั งานปฏริ ูปการศกึ ษา เปน องคการมหาชนเฉพาะกจิ ทําหนาที่
- เสนอการจัดโครงสราง องคกร การแบงสวนงาน ตามสาระบัญญัติในหมวดท่ีวา
ดวยการบริหารและการจัดการศึกษา การจัดระบบครู คณาจารยและบุคลากรทางการศึกษา
การจัดระบบทรัพยากร และการลงทนุ เพอ่ื การศึกษา
- เสนอรางกฎหมาย และปรับปรุงแกไขกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบียบ และคําสั่งใน
สวนท่ีเก่ียวกับการจัดโครงสรางและระบบตาง ๆ ดังกลาวขางตนเพื่อใหสอดคลองกับ
พระราชบญั ญตั ินี้
- ตามอํานาจหนา ทอ่ี ืน่ ที่กาํ หนดในกฎหมายองคก ารมหาชน

๓๐๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

๔. คณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษามีเกา คน ประกอบดวย ประธาน
กรรมการและกรรมการ ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงต้ังจากผูมีความรู ความสามารถ มีประสบการณ
และมีความเช่ียวชาญ ดานการบริหารการศึกษา การบริหารรัฐกิจ การบริหารงานบุคคล
การงบประมาณการเงินและการคลัง กฎหมายมหาชน และกฎหมายการศึกษา ท้ังนี้ ตองมี
ผูทรงคุณวุฒิ ซึ่งมิใชขาราชการหรือผูปฏิบัติงานในหนวยงานของรัฐ ไมนอยกวาสามคน ให
เลขาธิการสํานักงานปฏิรูปการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการและ
เลขาธิการมวี าระการตาํ แหนงวาระเดียว เปนเวลาสามป

ทงั้ น้ี ใหมคี ณะกรรมการสรรหา จํานวนสิบหาคน ทําหนาที่เสนอชื่อบุคคลที่สมควร
เปนคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษา จํานวนสิบแปดคนเพื่อใหคณะรัฐมนตรี
พิจารณาแตง ต้ังเปนคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูป จํานวนเกา คน

๑๐.๑๒ สรุป

มาตรฐานวิชาชีพผบู ริหารสถานศึกษาประกอบดวยมาตรฐาน ๓ ดาน คือ มาตรฐาน
ความรูและประสบการณวิชาชีพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติตน
(จรรยาบรรณของวชิ าชีพ)

โดยจรรยาบรรณของวิชาชีพไดมีการกําหนดแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณ
ของวิชาชีพ เพ่ือประมวลพฤติกรรมที่เปนตัวอยางของการประพฤติปฏิบัติ ประกอบดวย
พฤติกรรมท่พี ึงประสงค และพฤตกิ รรมทไี่ มพึงประสงค

มาตรฐานท่ี ๑ ปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับการพัฒนาวิชาชีพการบริหาร
การศกึ ษา

มาตรฐานท่ี ๒ ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ โดยคํานึงถึงผลที่จะเกิดข้ึนกับการ
พฒั นาของบุคลากร ผเู รียน และชมุ ชน

มาตรฐานท่ี ๓ มุงมั่นพัฒนาผูรว มงานใหสามารถปฏิบัตงิ านไดเตม็ ศักยภาพ
มาตรฐานที่ ๔ พฒั นาแผนงานขององคก ารใหส ามารถปฏิบัตไิ ดเ กิดผลจริง
มาตรฐานที่ ๕ พัฒนาและใชนวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานที่มีคุณภาพสูงข้ึน
เปนลาํ ดับ
มาตรฐานท่ี ๖ ปฏบิ ัติงานขององคก ารโดยเนนผลถาวร
มาตรฐานที่ ๗ รายงานผลการพฒั นาคุณภาพการศึกษาไดอยา งเปน ระบบ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๐๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

มาตรฐานท่ี ๘ ปฏบิ ตั ิตนเปนแบบอยา งทด่ี ี
มาตรฐานที่ ๙ รวมมือกับชุมชนและหนวยงานอืน่ อยา งสรางสรรค
มาตรฐานท่ี ๑๐ แสวงหาและใชขอ มูลขาวสารในการพัฒนา
มาตรฐานท่ี ๑๑ เปน ผูนําและสรา งผนู าํ
มาตรฐานท่ี ๑๒ สรางโอกาสในการพฒั นาไดทกุ สถานการณ
มาตรฐานการปฏิบัติตน (จรรยาบรรณวิชาชีพ) ประกอบดวย ๑) จรรยาบรรณตอ
ตนเอง๒) จรรยาบรรณตอวิชาชีพ ๓) จรรยาบรรณตอผูรับบริการ ๔) จรรยาบรรณตอผูรวม
ประกอบวิชาชพี

บทที่ ๑๑
จรรยาบรรณวชิ าชพี ครุ ุสภาสาํ หรับผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา

๑๑.๑ ความหมายของจรรยาบรรณ

ตามพจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ. ๒๕๓๐ ใหค วามหมาย “จรรยาบรรณ”
หมายถงึ ความประพฤติทผี่ ูประกอบวิชาชพี ตาง ๆ กําหนดข้นึ เพือ่ รกั ษาชื่อเสยี งเกียรติคณุ ”

ตามขอบังคับคุรุสภา วาดวยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ ใหความหมาย
“จรรยาบรรณวิชาชีพ” หมายถึง มาตรฐานการปฏิบัติตนท่ีกําหนดขึ้นเปนแบบแผนในการ
ประพฤติตน ซึ่งผูประประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองปฏิบัติตาม เพื่อรักษาและสงเสริม
เกียรติคุณชื่อเสียง และฐานะของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาใหเปนที่เช่ือถือศรัทธาแก
ผูรับบริการและสังคมอันจะนาํ มา ซึง่ เกียรติและศักด์ศิ รแี หงวชิ าชพี ”

นอกจากนั้น ขอบังคับคุรุสภายังกําหนดตามความหมายของ “ผูประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา” หมายถึง “ครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษาและบุคลากรทางการ
ศึกษาอื่น ซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพตาม พ.ร.บ. สภาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖”

๑๑.๒ ขอ กําหนดเกยี่ วกับจรรยาบรรณ

ขอบงั คบั คุรุสภาวาดวยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ กําหนดใหผูประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษา ตองประพฤติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ และแบบแผนพฤติกรรม
ตามจรรยาบรรณของวิชาชพี โดยแยกจรรยาบรรณแตละดา น รวม ๕ ดา น คือ

๑. จรรยาบรรณตอตนเอง กําหนดใหผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองมีวินัยใน
ตนเอง พัฒนาตนเองดานวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศนใหทันตอการพัฒนาการวิทยาการ
เศรษฐกจิ สงั คม และการเมืองอยูเ สมอ

๒. จรรยาบรรณตอวิชาชีพ กําหนดใหผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองรัก
ศรัทธา ซื่อสตั ย สุจรติ รับผิดชอบตอ วิชาชพี และเปนสมาชกิ ที่ดีตอ องคก รวิชาชพี

๓. จรรยาบรรณตอผูรับบริการ กําหนดใหผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองถือ
ปฏบิ ตั ิตอ ผูรับบริการ ดังนี้

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๐๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๓.๑ รัก เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ สงเสริมใหกําลังใจแกศิษยและผูรับบริการ
ตามบทบาทหนาทโี่ ดยเสมอหนา

๓.๒ สงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะและนิสัย ที่ถูกตองดีงามแกศิษยและ
ผรู ับบริการตามบทบาทหนาท่ีอยางเตม็ ความสามารถ ดว ยความบรสิ ทุ ธใ์ิ จ

๓.๓ ประพฤตติ นเปนแบบอยา งท่ีดี ท้งั ทางกาย วาจา และจติ ใจ
๓.๔ ไมก ระทําตนเปนปฏิปกษตอความเจริญทางกาย สติปญญา จิตใจ อารมณ
และสังคมของศษิ ยและผรู บั บริการ
๓.๕ ใหบริการดวยความจริงใจและเสมอภาคโดยไมเรียกรับ หรือยอมรับ
ผลประโยชนจ ากการใชต ําแหนงหนาที่โดยมชิ อบ
๔. จรรยาบรรณตอผูรวมประกอบวิชาชีพ กําหนดใหผูประกอบวิชาชีพทางการ
ศึกษา พึงชวยเหลือเกื้อกูลกันและกันอยา งสรางสรรค โดยยึดมนั่ ในระบบคุณธรรม สรา งความ
สามัคคีในหมูคณะ
๕. จรรยาบรรณตอสังคม กําหนดใหผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงประพฤติ
ปฏิบัติตนเปนผูนําในการอนุรักษและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา
ส่ิงแวดลอม รักษาผลประโยชนของสวนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษัตริยทรงเปนประมขุ

๑๑.๓ การควบคมุ จรรยาบรรณ

พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ไดกําหนดการ
ควบคุมดูแลจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษาใหเปนอํานาจของคุรุสภาในการ
ควบคุมความประพฤติและการดําเนินงานของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาใหเปนไปตาม
จรรยาบรรณของวิชาชีพและนอกจากน้ันยังกําหนดให คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ มี
อํานาจหนาที่ในการกํากับดูแลการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ ของผูประกอบวิชาชีพ
ทางการศกึ ษาอกี ดวย282๑

๑ ผกา สัตยธรรม, คุณธรรมของครู, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔).

๓๐๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๑๑.๔ การลงโทษผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาท่ีประพฤตผิ ิดจรรยาบรรณ

พระราชบญั ญตั ิสภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ กาํ หนดใหบุคคลซึ่ง
ไดรับความเสียหายจากการประพฤติผิด จรรยาบรรณของวิชาชีพมีสิทธิกลาวหาผูประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษา โดยทําเร่ืองยื่นตอคุรุสภาและใหกรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐาน
วิชาชีพ หรือบุคคลอื่น มีสิทธิกลาวโทษ ผูประกอบวิชาชีพวาผิดจรรยาบรรณ โดยแจงเร่ืองตอ
คุรุสภาท้งั น้ี สิทธิการกลา วหา หรือสิทธกิ ารกลา วโทษดงั กลา ว ตอ งกระทําภายในกําหนดหนงึ่ ป
นบั แตว นั ท่ีรูเรอ่ื งการประพฤติผดิ จรรยาบรรณของวชิ าชีพและรตู วั ผูประพฤติผดิ

สําหรับผูมีอํานาจวินิจฉัยชี้ขาดเก่ียวกับการกลาวหาหรือกลาวโทษใหเปนอํานาจ
ของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ โดยผลของการช้ีขาดไดแก การยกขอกลาวหา ตักเตือน
ภาคทัณฑ พักใชใบอนุญาตไมเกิน ๕ ป และเพิกถอนใบอนุญาต แตการช้ีขาดดังกลาว ผูถูก
กลาวหาหรือกลา วโทษมีสิทธิอุทธรณตอคณะกรรมการคุรุสภาภายในสามสบิ วันนับแตว ันไดร ับ
แจงคาํ วินจิ ฉัย283๒

๑๑.๕ จรรยาบรรณของวชิ าชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖

คุรุสภาเห็นสมควรยกเลิกขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ
ของวิชาชพี พ.ศ. ๒๕๔๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑) (๑๑) (จ) และมาตรา ๕๐ แหง
พระราชบัญญตั สิ ภาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกอบกบั มตคิ ณะกรรมการ
คุรุสภา ในการประชุมครั้งท่ี ๕/๒๕๕๖ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๖ โดยความเห็นชอบของ
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการคณะกรรมการคุรุสภาจึงออกขอบังคับคุรุสภา วาดวย
จรรยาบรรณของวิชาชีพ ดังตอ ไปน้ี

ขอ ๑ ขอบังคับน้ีเรียกวา “ขอบังคับคุรุสภา วาดวยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.
๒๕๕๖”

ขอ ๒ ขอ บงั คับนใ้ี หใชบงั คับต้ังแตว นั ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปนตนไป

๒ มหาวิทยาลัยราชภัฎธนบุรี, การลงโทษผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ประพฤติผิด
จรรยาบรรณ, [ออนไลน] , แหลง ท่ีมา: dru.ac.th [๘ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๑].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๐๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ขอ ๓ ใหยกเลิกขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของ
วิชาชพี พ.ศ. ๒๕๔๘

ขอบังคับคุรุสภาฉบับใดอางอิงขอบังคับคุรุสภาฉบับท่ียกเลิกแลวตามวรรคหนึ่ง
รวมทั้งระเบียบหรือประกาศใดที่ออกภายใตขอบังคับดังกลาว ใหถือวาอางอิงขอบังคับคุรุสภา
วาดว ยมาตรฐานวชิ าชพี

พ.ศ. ๒๕๕๖ หรือขอบังคับคุรุสภา วาดวยจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖
แลว แตก รณขี อ ๔ ในขอบงั คับนี้

“วิชาชีพ” หมายความวา วิชาชีพทางการศึกษาที่ทําหนาที่หลักทางดานการเรียน
การสอนและการสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ รวมท้ังการรับผิดชอบการ
บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาปฐมวัยขั้นพ้ืนฐาน และอดุ มศึกษาที่ตํ่ากวา ปริญญาท้ังของรัฐ
และเอกชน และการบริหารการศึกษานอกสถานศึกษาในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ตลอดจน
การสนับสนุนการศึกษาใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการ
สอน การนิเทศ และการบริหารการศกึ ษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ

“ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา” หมายความวา ครู ผูบริหารสถานศึกษา
ผูบริหารการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาอื่น ซึ่งไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพ
ตามพระราชบญั ญตั สิ ภาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖

“ครู” หมายความวา บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพหลักทางดานการเรียนการสอนและ
การสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาปฐมวัย ข้ันพ้ืนฐาน และ
อดุ มศกึ ษาทตี่ ํา่ กวา ปรญิ ญาทง้ั ของรฐั และเอกชน

“ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตําแหนงผูบริหาร
สถานศึกษาภายในเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาอื่นท่ีจัดการศึกษาปฐมวัย ขั้นพ้ืนฐาน
และอดุ มศกึ ษาท่ีตํ่ากวาปรญิ ญาทงั้ ของรฐั และเอกชน

“ผูบริหารการศึกษา” หมายความวา บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตําแหนงผูบริหารนอก
สถานศึกษาในระดับเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา

“บคุ ลากรทางการศกึ ษาอน่ื ” หมายความวา บคุ คลซง่ึ ทําหนาที่สนับสนุนการศึกษา
ใหบริการหรือปฏิบัติงานเก่ียวเน่ืองกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการ

๓๐๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

บริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตาง ๆ ซ่ึงหนวยงานการศึกษากําหนดตําแหนงใหตอง
มีคณุ วฒุ ทิ างการศึกษา

“จรรยาบรรณของวชิ าชพี ” หมายความวา มาตรฐานการปฏบิ ตั ิตนทีก่ ําหนดขน้ึ เปน
แบบแผนในการประพฤตติ น ซ่ึงผูประกอบวชิ าชีพทางการศึกษาตองปฏิบตั ิตาม เพื่อรกั ษาและ
สงเสริมเกียรติคุณช่ือเสียงและฐานะของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ใหเปนท่ีเชื่อถือ
ศรัทธาแกผูรบั บรกิ ารและสังคม อนั จะนํามาซ่งึ เกยี รติและศักดิศ์ รแี หงวชิ าชีพ

ขอ ๕ ใหประธานกรรมการคุรุสภารักษาการตามขอบังคับน้ี และใหมีอํานาจออก
ระเบียบประกาศ หรือคําสั่งเพ่ือปฏิบัติตามขอบังคับน้ี รวมท้ังใหมีอํานาจตีความและวินิจฉัยช้ี
ขาดปญ หาเกี่ยวกบั การปฏบิ ัตติ ามทีก่ ําหนดไวในขอบังคบั

ขอ ๖ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองประพฤติตนตามจรรยาบรรณของ
วชิ าชีพและแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพ

หมวด ๑
จรรยาบรรณตอ ตนเอง
ขอ ๗ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดาน
วิชาชีพบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมืองอยูเ สมอ
พฤตกิ รรมทพี่ งึ ประสงค ไดแ ก
๑) ประพฤตติ นเหมาะสมกบั สถานภาพและเปน แบบอยา งที่ดี
๒) ประพฤติตนเปนแบบอยางท่ดี ใี นการดาํ เนนิ ชีวิตตามประเพณีและวฒั นธรรม
๓) ปฏิบัติงานตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมายใหสําเร็จอยางมีคุณภาพตามเปาหมายท่ี
กาํ หนด
๔) ศึกษาหาความรู วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางานและสะสมผลงานอยางสมาํ่ เสมอ
และ
๕) คนควาแสวงหาและนําเทคนิคดานวิชาชีพที่พัฒนาและกาวหนาเปนที่ยอมรับ
มาใชแ กศ ิษยแ ละผรู บั บริการใหเ กิดผลสัมฤทธิ์ทพี่ ึงประสงค

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๐๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

พฤติกรรมทไ่ี มพงึ ประสงค ไดแ ก
๑) เก่ียวของกับอบายมุขหรือเสพส่ิงเสพติดจนขาดสติหรือแสดงกิริยาไมสุภาพเปน
ท่ีนา รังเกียจในสงั คม
๒) ประพฤตผิ ิดทางชสู าวหรือพฤตกิ รรมลว งละเมิดทางเพศ
๓) ขาดความรับผิดชอบ ความกระตือรือรน ความเอาใจใสจนเกิดความเสียหายใน
การปฏิบตั ิงานตามหนา ที่
๔) ไมรับรูหรือแสวงหาความรูใหมๆ ในการจัดการเรียนรูและการปฏิบัติหนาท่ี
และ
๕) ขดั ขวางการพฒั นาองคก ารจนเกดิ ความเสยี หาย

หมวด ๒
จรรยาบรรณตอวชิ าชีพ
ขอ ๘ ผูประกอบวิชาชีพทางการศกึ ษา ตองรกั ศรัทธา ซ่ือสัตยสุจริต รับผิดชอบตอ
วิชาชพี และเปน สมาชกิ ท่ดี ีขององคกรวชิ าชพี
พฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค ไดแ ก
๑) แสดงความช่ืนชมและศรทั ธาในคณุ คาของวชิ าชีพ
๒) รกั ษาชอื่ เสยี งและปกปอ งศักดศ์ิ รแี หงวชิ าชีพ
๓) ยกยอ งเชิดชเู กยี รตผิ ทู มี่ ีผลงานในวิชาชพี ใหสาธารณชนรับรู
๔) อทุ ศิ ตนเพอ่ื ความกาวหนา ของวชิ าชีพ
๕) ปฏิบัติหนาที่ดวยความรับผิดชอบ ซ่ือสัตยสุจริตตามกฎระเบียบและแบบแผน
ของทางราชการ
๖) เลือกใชหลกั วิชาท่ีถกู ตอง สรางสรรคเทคนคิ วิธีการใหมๆ เพือ่ พัฒนาวิชาชีพ
๗) ใชองคความรูหลากหลายในการปฏิบัติหนาที่และแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสมาชิก
ในองคการ และ
๘) เขารว มกจิ กรรมวิชาชีพหรือองคกรวชิ าชพี อยา งสรา งสรรค
พฤติกรรมท่ไี มพึงประสงค ไดแก
๑) ไมแสดงความภาคภูมใิ จในการประกอบวชิ าชพี

๓๐๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๒) ดูหม่ินเหยียดหยามใหรายผูรวมประกอบวิชาชีพ ศาสตรวิชาชีพหรือองคกร
วิชาชพี

๓) ประกอบการงานอ่ืนที่ไมเหมาะสมกับการเปนผูประกอบการวิชาชีพทาง
การศึกษา

๔) ไมซ่ือสัตยสุจริต ไมรับผิดชอบหรือไมปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือแบบแผนของ
ทางราชการจนกอ ใหเกิดความเสียหาย

๕) คดั ลอกหรือนําผลงานของผอู ่ืนมาเปน ของตน
๖) ใชหลักวิชาการที่ไมถูกตองในการปฏิบัติวิชาชีพ สงผลใหศิษยหรือผูรับบริการ
เกดิ ความเสยี หาย และ
๗) ใชความรูทางวิชาการหรืออาศัยองคกรวิชาชีพแสวงหาผลประโยชนเพ่ือตนเอง
หรือผูอนื่ โดยมิชอบ

หมวด ๓
จรรยาบรรณตอผรู ับบริการ
ขอ ๙ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ สงเสริม
ใหกําลังใจแกศ ิษย และผูรบั บรกิ าร ตามบทบาทหนาทโ่ี ดยเสมอหนา
ขอ ๑๐ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองสงเสรมิ ใหเกิดการเรียนรู ทักษะ และ
นิสัยท่ีถูกตองดีงามแกศิษย และผูรับบริการ ตามบทบาทหนาท่ีอยางเต็มความสามารถ ดวย
ความบริสทุ ธิ์ใจ
ขอ ๑๑ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี
ทงั้ ทางกายวาจา และจิตใจ
ขอ ๑๒ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความ
เจริญทางกายสตปิ ญ ญา จติ ใจ อารมณ และสงั คมของศษิ ย และผรู บั บริการ
ขอ ๑๓ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองใหบริการดวยความจริงใจและเสมอ
ภาค โดยไมเรยี กรบั หรอื ยอมรับผลประโยชนจากการใชตําแหนง หนาท่ีโดยมชิ อบ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๐๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

พฤตกิ รรมที่พงึ ประสงค ไดแก
๑) ใหค ําปรึกษาหรือชวยเหลือศษิ ยหรือผูรับบริการดวยความเมตตากรุณาอยา งเต็ม
ความสามารถและเสมอภาค
๒) สนับสนุนการดาํ เนินงานเพ่อื ปกปอ งสิทธขิ องเดก็ เยาวชนและผดู อยโอกาส
๓) ตั้งใจเสียสละอุทิศตนในการปฏิบัติหนาที่เพื่อใหศิษยและผูรับบริการไดรับการ
พัฒนาตามความสามารถ ความถนดั และความสนใจของแตล ะบคุ คล
๔) สงเสริมใหศิษยและผูรับบริการสามารถแสวงหาความรูดวยตนเองจากสื่อ
อุปกรณ แหลง เรียนรูอ ยางหลากหลาย
๕) ใหศ ิษยแ ละผูรับบริการมีสว นรวมวางแผนการจัดการเรียนรูและเลือกวธิ ีปฏิบัติท่ี
เหมาะสมกบั ตนเอง
๖) เสรมิ สรางความภาคภูมิใจใหแ กศษิ ยและผูรับบริการดวยการรับฟงความคิดเห็น
ยกยอง ชมเชยและใหกาํ ลงั ใจอยางกลั ยาณมิตร
พฤตกิ รรมท่ีไมพ ึงประสงค ไดแก
๑) ลงโทษศษิ ยอยางไมเหมาะสม
๒) ไมใสใจหรือรับรูปญหาของศิษยหรือผูรับบริการจนเกิดผลเสียหายตอศิษยหรือ
ผูรบั บริการ
๓) ดูหม่นิ เหยยี ดหยามศษิ ยหรือผูร บั บรกิ าร
๔) เปดเผยความลับของศิษยและผูรับบริการใหไดรับความอับอายหรือเส่ือมเสีย
ชอ่ื เสยี ง
๕) จงใจ โนมนาวหรือสงเสริมใหศิษยหรือผูรับบริการปฏิบัติขัดตอศีลธรรมหรือ
กฎระเบยี บ
๖) ชักชวน ใช จางวานศิษยหรือผูรับบริการใหจัดซื้อ จัดหาส่ิงเสพติดหรือเขาไป
เกยี่ วของกับอบายมุข และ
๗) เรยี กรอ งผลตอบแทนจากศิษยหรอื ผูร บั บรกิ ารในงานตามหนาทท่ี ่ีตองใหบ ริการ

๓๑๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

หมวด ๔
จรรยาบรรณตอผูรวมประกอบวชิ าชพี
ขอ ๑๔ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงชวยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันอยาง
สรา งสรรคโ ดยยึดม่ันในระบบคุณธรรม สรางความสามัคคใี นหมคู ณะ
พฤติกรรมทพ่ี งึ ประสงค ไดแก
๑) เสียสละ เอ้ืออาทร และชวยเหลอื ผรู ว มประกอบวชิ าชีพ และ
๒) มคี วามรกั ความสามัคคี และรวมใจกันผนึกกําลังใจในการพัฒนาการศกึ ษา
พฤตกิ รรมทไี่ มพ ึงประสงค ไดแก
๑) ปดบังขอมูลขาวสารในปฏิบัติงาน จนทําใหเกิดความเสียหายตองานหรือผูรวม
ประกอบวิชาชพี
๒) ปฏิเสธความรบั ผิดชอบ โดยตาํ หนิใหรา ยผอู ่นื ในความบกพรอ งที่เกดิ ขน้ึ
๓) สรางกลุมอิทธิพลภายในองคการหรือกล่ันแกลงผูรวมประกอบวิชาชีพใหเกิด
ความเสยี หาย
๔) เจตนาใหขอมูลเท็จทําใหเกิดความเขาใจผิดเกิดความเสียหายตอผูรวมประกอบ
วชิ าชีพ และ
๕) วิพากษวิจารณผูรวมประกอบวิชาชีพในเร่ืองที่กอใหเกิดความเสียหายหรือ
แตกแยกความสามคั คี

หมวด ๕
จรรยาบรรณตอ สังคม
ขอ ๑๕ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเปนผูนําในการ
อนุรกั ษและพัฒนาเศรษฐกจิ สังคม ศาสนา ศิลปวัดผลประโยชนของสวนรวม และยึดม่ันในการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขวัฒนธรรม ภูมิปญญา
สง่ิ แวดลอม รกั ษา
พฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงค ไดแก
๑) ยึดมั่นสนับสนุนและสงเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตรยิ ท รงเปนประมขุ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๑๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๒) นาํ ภูมิปญ ญาทอ งถนิ่ และศิลปวฒั นธรรมมาเปนปจจัยในการจัดการศกึ ษาใหเปน
ประโยชนตอสว นรวม

๓) จัดกิจกรรมสงเสริมใหศิษยเกิดการเรียนรู และสามารถดําเนินชีวิตตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพยี ง

๔) เปนผูนําการวางแผนและดําเนินการเพื่ออนุรักษส่ิงแวดลอม พัฒนาเศรษฐกิจ
ภมู ิปญ ญาทองถิน่ และศิลปวฒั นธรรม

พฤติกรรมทีไ่ มพึงประสงค ไดแก
๑) ไมใหความรวมมือหรือสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนที่จัดเพื่อประโยชนตอ
การศกึ ษาทง้ั ทางตรงหรอื ทางออม
๒) ไมแสดงความเปนผูนําในการอนุรักษหรือพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา
ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมิปญญา หรือส่งิ แวดลอ ม และ
๓) ปฏบิ ตั ิตนเปน ปฏิปกษตอวัฒนธรรมอนั ดีงามของชมุ ชนหรือสงั คม

๑๑.๖ จรรยาบรรณวชิ าชีพนกั บริหารการศึกษาและมาตรฐานการปฏิบัตติ น

ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษาและศึกษานิเทศก คือ นกั บรหิ ารการศึกษาซ่ึง
จะตองปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนตามท่ีคุรุสภาไดประกาศเปนขอบังคับวาดวยมาตรฐาน
วิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘ สําหรบั มาตรฐานการปฏิบัติตนนี้ เปนมาตรฐาน
ท่ีเกย่ี วกบั จรรยาบรรณของผูบ รหิ ารที่มตี อตนเอง ตอวชิ าชีพ และตอ ผูรับบริการ

๑๑.๖.๑ ความหมายของจรรยาบรรณวิชาชีพและมาตรฐานการปฏิบตั ติ น
คําวา วิชาชีพ เปนคําท่ีแปลมาจากศัพท ภาษาอังกฤษ คือ คําวา Profession
ซ่ึงหมายถึง อาชีพที่ไดรับคาตอบแทนโดยเฉพาะอยางยิ่งจะตองเปนอาชีพท่ีตองการการศึกษา
และการฝก อบรมในระดบั สงู
วริยา ชินวรรโณ284๓ แปลมาจากคําอธิบายของ วิลเบอรต อี มัวร (Wilbert E. Moore)
มีความหมายวา เปนการประกอบอาชีพเต็มเวลา โดยผูประกอบอาชีพอุทิศตัวใหแกอาชีพนั้น ผู

๓ วริยา ชนิ วรรโณ, จรยิ ธรรมของพลเมืองไทยในระบอบประชาธิปไตย: ประมวลองคความรู
ประสบการณ, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพช วนพิมพ, ๒๕๔๖), หนา ๑-๓๘.

๓๑๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ประกอบวิชาชีพจะตองมีความรูและทักษะในการประกอบอาชีพน้นั ๆ อันเปนผลที่ไดมาจากการ
ฝกอบรมหรือกาศึกษาตรงตามสาขาอาชีพ นอกจากน้ี ผูประกอบอาชีพจะตองยึดม่ันอยูกับ
กฎเกณฑของการประกอบวิชาชีพ ปฏิบัติตนและใหบริการดวยจิตสํานึกในวิชาชีพ ตลอดจนมี
ความเปนอิสระในการประกอบวิชาชีพ อันเน่ืองมาจากผูประกอบวิชาชีพมีความเช่ียวชาญในการ
ประกอบวิชาชพี ของตนในระดบั สูง

วิชาชีพ ตามความหมายที่ปรากฏในเอกสารมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา หมายถึง
อาชีพท่ีใหบริการแกสาธารณชนท่ีตองอาศัยความรูความชํานาญเฉพาะ ไมซํ้าซอนกับอาชีพอ่ืน
และมีมาตรฐานในการประกอบอาชีพ โดยผูประกอบอาชีพตองฝกอบรมทั้งภาคทฤษฎีและ
ภาคปฏิบัติอยางเพียงพอกอนทีจ่ ะประกอบอาชีพ สวนคําวา อาชีพ จะมีความหมายเพียงกิจกรรม
ท่ตี อ งทําใหสําเร็จโดยมุงหวงั คาตอบแทนเพ่ือการดํารงชีพ

ความเปนวชิ าชีพหรือวชิ าชีพนยิ มนนั้ เปนส่งิ ที่บคุ คลถือวา เปน องคความรูหรือความ
รอบรูของบคุ คลท่เี กี่ยวกับอาชีพน้นั และยึดถือวามีคา สมควรที่สาธารณชนจะยอมรับสถานภาพ
ของอาชพี นน้ั

ติน ปรัชญพฤทธิ์285๔ ไดนําเสนอเกณฑของความเปนวิชาชีพวา เปนความคาดหวังที่
เกิดข้ึนไดในระดบั สังคมและระดบั บุคคล ดังนี้

๑) เกณฑข องความเปน วิชาชพี ในระดับสงั คม
(๑) การประกอบอาชพี เต็มเวลา
(๒) การไดรับยอมรับแผนการจดั การศกึ ษาจากสมาคมวชิ าชพี
(๓) การมีสมาคมวชิ าชพี และมกี ฎหมายรองรับสถานภาพของวชิ าชพี
(๔) การมจี รรยาบรรณวชิ าชพี
(๕) การมีองคค วามรูทเี่ ปน ระบบ
(๖) การเปน ทีย่ อมรบั ของสังคม
(๗) การมคี วามรอบรใู นวิชาชีพ
(๘) การใหบริการตามมาตรฐานวชิ าชพี
(๙) การมคี วามเปนอิสระในวิชาชพี

๔ ติน ปรัชญาพฤทธิ์, วิชาชีพนิยมของระบบราชการในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูห วั วิวฒั นาการและผลกระทบตอ สงั คมไทย, (กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั , ๒๕๓๖).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๑๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๒) เกณฑข องความเปน วชิ าชพี ในระดับบคุ คล
(๑) การไดร บั การศกึ ษาตรงตามสาขาวชิ าที่ประกอบวิชาชพี
(๒) การมีผใู หก ารสนบั สนุนในการประกอบวชิ าชีพ
(๓) การมีการวางแผนลวงนามนการประกอบวิชาชีพ
(๔) การมคี วามต้ังใจแนว แนใ นการประกอบวชิ าชพี
(๕) การมีความกระตอื รือรน ในวชิ าชพี
(๖) การประพฤตติ ามจรรยาบรรณวชิ าชีพ
(๗) การมีความจงรกั ภักดตี อวชิ าชพี
(๘) การมองเห็นความกาวหนา ในวชิ าชีพ
(๙) การมีความเจริญกาวหนา ในวชิ าชีพ
คําวา จรรยาบรรณวิชาชพี จึงเปน คาํ ทีน่ ํามาใชเพ่ือเปน ขอ บังคับใหบุคคลในวิชาชีพ
หน่ึงพึงประพฤติปฏิบัติตาม โดยนําความหมายของคําวา จริย ซ่ึงแปลวา การประพฤติดี และ
ความหมายของคําวา บรรณ คือขอความท่ีเขียนเปนลายลักษณอักษรบันทึกที่กําหนดไว มาใช
เพอื่ สรา งบรรทัดฐานของวิชาชพี นนั้ ๆ
มาตรฐานการปฏิบัติตน เปนมาตรฐานที่กําหนดข้ึนมาโดย คุรุสภา เม่ือใหเปน
มาตรฐานดานจรรยาบรรณสําหรับวิชาชีพทางการศึกษา จึงหมายถึง ขอกําหนดเก่ียวกับการ
ประพฤติตนของผูประกอบอาชีพโดยมีจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพเปนแนวทางและขอ
พึงระวงั ในการประพฤตปิ ฏิบัติ เพอื่ ดาํ รงไวซึ่งชอ่ื เสียง ฐานะ เกียรติ และศักดศ์ิ รแี หง วชิ าชีพตาม
แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพท่ี คุรุสภา จะกําหนดเปนขอบังคับตอไปหากผู
ประกอบอาชีพผูใดประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพทําใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอ่ืนจน
ไดรับการรองเรียนถึงคุรุสภาแลวผูน้ันอาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี วินิจฉัยช้ีขาดอยาง
ใดอยางหน่ึง ดังตอไปนี้ (๑) ยกขอกลาวหา (๒) ตักเตือน (๓) ภาคทัณฑ (๔) พักใชใบอนุญาตมี
กําหนดเวลาตามท่เี หน็ สมควร แตไ มเ กิน ๕ ป (๕) เพกิ ถอนใบอนญุ าต (มาตรา ๕๔)
นักบริหารการศึกษา ควรตองยึดถือมาตรฐานการปฏิบัติตนเปนหลักในการ
ปฏิบัติงานในหนาที่ ซึ่งหมายรวมถึงขอกําหนดท่ีเปนมาตรฐานความรูในดานคุณธรรมและ
จริยธรรมสาํ หรบั นักบรหิ ารดวย

๓๑๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๑๑.๗ แนวคดิ ดานมาตรฐานคุณธรรมและจริยธรรมของนักบรหิ าร

ในการประกอบอาชีพทางการศึกษา ผูประกอบอาชีพจําเปนตองเปนผูที่มีความ
รับผิดชอบสูง มีจิตสํานึกในการปฏิบัติหนาที่เพื่อการพัฒนาประชาชนใหเปนผูท่ีมีความรู
ความสามารถในการดํารงชีวิตและประกอบสัมมาอาชีพเพื่อการเปนพลเมืองท่ีดีของประเทศชาติ
ผปู ระกอบอาชีพทางการศึกษาจึงตองเปนผูที่สามารถปฏิบัติตนใหเปนแบบอยางท่ีดีตอสังคมดวย
การเปนผูที่ทรงไวซ่ึงความมีคุณธรรมและจริยธรรมเปนหลักในการครองตน ครองคนและครอง
งาน

พลเอกเปรม ติณสูลานนท ประธานองคมนตรีและรัฐบุรุษ ใหแนวคิดดานมาตรฐาน
คุณธรรมและจริยธรรมโดยกลาวถึงการเปนนักบริหารวา ความเกง ความฉลาดเปนเรื่องที่ดี แต
ความเกง ความฉลาดที่ไมคุณธรรม ไมมีจริยธรรมนั้นเปนส่ิงที่ไมดี และในการแสดงปาฐกถา เร่ือง
แนวทางพระราชดําริสูการบริหารจัดการภาครัฐ โดยหยิบยกพระราชดําริ ๑๔ ประการ เปน
แนวทางเพื่อใหผูนําไดนําไปปฏิบัติ ผูรับไปปฏิบัติยอมเปนมงคลตอชีวิต เปนเกราะปองกันความ
เสือ่ มเสยี ผทู ี่ปฏิบัตติ ามยอมเปนคนดี เปนคนมปี ระโยชน เปนคนทชี่ าติตองการ พระราชดําริ ๑๔
ประการ (มติชน วันที่ ๑๐ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๔๓) ๕ ไดแก
286

ประการที่หนึ่ง การบริหารตองเปนการบริหารเพื่อความมั่นคงของชาติ เพ่ือความ
เจริญของประเทศและเพื่อความผาสุกของประชาชน การบริหารจะตองไมเอาประโยชนสวนตัว
ประโยชนของญาติพ่นี อง ประโยชนข องบริวารเขามาเก่ยี วของ

ประการที่สอง การบริหารตองบริหารดวยความสามัคคี เพราะจะนําไปสูความ
รวมมอื และความเขม แขง็ ทําใหง านบรรลผุ ลสาํ เร็จ

ประการที่สาม การบริหารจะตองบริหารดวยความซื่อสัตยสุจริต พระองครับสั่งวา
จะตองซ่ือสัตยสุจริตท้ังในความคิดการพูดและการกระทํา พลเอกเปรม ติณสูลานนท เสริม
ความวา ผูบริหารนอกจากซื่อสัตยสุจริตแลว ตองดูแลคนรอบขางตัวเราใหซื่อสัตยสุจริตดวย
ยงิ่ กวา นั้นผบู ริหารจาํ ตอ งเพมิ่ เติมคาํ วา เสยี สละและจงรกั ภักดีเขาไปดว ย

๕ ส. เสถบุตร, New Model English-Thai Dictionary, (กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช,
๒๕๔๓), หนา ๑๑.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๑๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ประการที่สี่ การบริหารจะตองเปนการบริหารท่ีถูกตอง คือถูกตองตามกฎหมาย
ตามกฎเกณฑ เท่ียงธรรม เที่ยงตรง มีประสิทธิภาพ และใหประสิทธิผลสูง พลเอกเปรม ติณสู
ลานนท เสริมความวาผูบริหารจะตองมีมาตรฐานเดียวกันเสมอหนา ท่ัวถึงกัน ตองไมมีหลาย
มาตรฐาน หรอื ไมมมี าตรฐานเลย หรอื ใชมาตรฐานตามอารมณมาตรฐานตามกิเลส

ประการที่หา การบริหารตองเปนการบริหารที่เปนเอกภาพ คือการประสานงาน
ประสานประโยชนระหวางหนวยงาน พระราชดําริน้ีชัดเจนและเขาใจงาย แตโดยขอเท็จจริง
หนวยงานงานภาครัฐคอนขางละเลยจนเปนอุปสรรคที่ไมมีในตํารา บางทีก็กลายเปนการ
แขง ขนั หรือกลายเปน การแกงแยง กนั เองระหวางหนว ยงานตาง ๆ

ประการท่ีหก การบริหารตอ งบรหิ ารดวยความเฉียบอยางตอเน่ือง ตัวอยางเชน พระ
มหาชนก ผูบริหารจะตองไมกลัวลําบาก กลัวเหน่ือย ดํารงความมุงหมายอยางกลาหาญ กลา
เผชญิ อุปสรรค และอดทนตอ ความยากลาํ บาก

ประการท่ีเจ็ด ผูบริหารตองไมหวาดกลัวอิทธิพลใด ๆ และตองอยูกันคนละฝายกับ
ความไมถูกตอ ง

ประการทีแ่ ปด ผบู ริหารตองศึกษาหาความรอู ยางจริงจัง อยา งลกึ ซงึ้ อยางกวางขวาง
ทัง้ ทางลึกและทางกวาง

ประการทีเ่ กา ผูบรหิ ารจะตองมีความสํานกึ ในความรบั ผิดชอบ และเห็นความสําคัญ
ของงานในความรับผิดชอบหมายรวมถึงความตั้งใจท่ีจะปฏิบัติหนาท่ีใหบรรลุตามกฎที่กําหนด
พระเจาอยูหัวรับส่ังวา การเห็นความสําคญั ของงาน ความสาํ นึกในความรบั ผิดชอบ และความ
ต้ังใจในการปฏบิ ัตหิ นาท่ี ตอ งทาํ พรอ มและควบคูกันไป

ประการท่ีสิบ ผูบริหารจะตองรูจักใชทรัพยากรอยางประหยัดและฉลาด มีความถูก
ตองเหมาะสม การที่พระเจาอยูหัวประทานทฤษฎีใหมที่ไดยินจนชินหูวาเศรษฐกิจพอเพียง
เปนการชี้แนวทางในการดํารงชีวิตใหมใหพวกเราพออยูพอกิน ทําใหเกิดความสมดุลในการ
ดาํ รงชพี อยางประหยดั และฉลาด

ประการท่ีสิบเอ็ด ผูบริหารจะตองมีสติปญญา สามารถพิจารณาปญหาไดกวางไกล
รอบคอบทุกแงมุม สวนตัวเห็นวาผูบริหารจะตองมีวิสัยทัศน ทันสมัย ทันเหตุการณทั่วโลก
โดยเฉพาะในสาขาอาชพี ของตน

๓๑๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ประการที่สิบสอง ผูบริหารตองแนวแนจะแกไขในสิ่งที่ผิด ผูบริหารจะตองกลาที่จะ
รบั ผดิ ชอบในส่ิงที่ผดิ และมีความแนว แนท่ีจะแกไข การบรหิ ารยอมผดิ พลาดได แมจ ะรอบคอบ
ระมดั ระวงั แลว ดังน้ันการแกไขสิ่งท่ีผดิ จงึ ไมใชเร่ืองนา ละอาย การทาํ ชั่ว ประพฤติชั่วตา งหาก
ท่นี า ละอาย

ประการท่ีสิบสาม ผูบริหารจะตองบริหารแบบปดทองหลังพระปฏิมา ขอน้ีทรง
หมายถึงการไมโ ออวด มุงแตผลงาน ไมหวงั คาํ ชมเชย ภูมใิ จแตค วามสําเร็จ

ประการที่สบิ สี่ ผบู ริหารทกุ ระดับท่มี ีผูใตบงั คบั บัญชา ผูบรหิ ารตองประพฤตติ นเปน
ตวั อยา งทด่ี ตี อ ผใู ตบังคบั บัญชา

พระราชดําริทั้ง ๑๔ ประการนี้เปนคุณสมบัติท่ีเปนมาตรฐานดานคุณธรรมและ
จริยธรรมสําหรับนักบริหารโดยแทจริง ท้ังยังเปนพระราชดําริช้ีแนะแนวทางที่ครอบคลุมและ
กาํ หนดพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรมนักบริหารดวยหลกั การทีส่ อดคลอ งกับวิถีชวี ิตของคนไทย
ผสมผสานกับหลักของความเปน สากล

๑) มาตรฐานการปฏิบัติตน
สําหรับนักบริหารศึกษา คุรุสภาไดกําหนดมาตรฐานดานความรูดานคุณธรรมและ
จริยธรรมและมาตรฐานการปฏิบัติตน สําหรับ ครูและอาจารย ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหาร
การศกึ ษา และศกึ ษานเิ ทศก ดงั นี้
๑. ครูและอาจารย จากเอกสารวิชาการลําดับที่ ๑/๒๕๔๘ ไดกําหนดใหครูและ
อาจารย มคี วามเปน ครดู ว ยคุณสมบตั ดิ านคุณธรรมและจริยธรรม ดังนี้

๑) มาตรฐานความรู : ความเปน ครู
สาระความรู

(๑) ความสําคัญของวิชาชพี ครู บทบาทหนา ที่ ภาระงานของครู
(๒) พัฒนาการของวิชาชีพครู
(๓) คณุ ลกั ษณะของครทู ่ดี ี
(๔) การสรา งทัศนคตทิ ่ีดตี อ วชิ าชีพครู
(๕) การเสริมสราง ศักยภาพและสมรรถภาพความเปนครู
(๖) การเปนบุคคลแหงการเรยี นรูแ ละการเปนผูนาํ ทางวชิ าการ
(๗) เกณฑม าตรฐานวชิ าชีพครู

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๑๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

(๘) จรรยาบรรณของวิชาชีพครู
(๙) กฎหมายทเ่ี กีย่ วขอ งการศึกษา
สมรรถนะ
(๑) รัก เมตตาและปรารถนาดตี อ ผเู รยี น
(๒) อดทนและรับผิดชอบ
(๓) เปนบคุ คลแหง การเรยี นรูแ ละเปน ผนู าํ ทางวิชาการ
(๔) มีวิสัยทัศน
(๕) ศรัทธาในวชิ าชพี ครู
(๖) ปฏบิ ตั ิตามจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
๒) มาตรฐานการปฏิบัติตน
จรรยาบรรณตอตนเอง
(๑) ผปู ระกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตองมวี ินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดาน
วิชาชีพบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมอื งอยเู สมอ
จรรยาบรรณตอวิชาชีพ
(๒) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก ศรัทธา ซ่ือสัตยสุจริต
รับผิดชอบตอ วิชาชีพ และเปน สมาชกิ ทดี่ ขี ององคกรวิชาชพี
จรรยาบรรณตอผูรบั บริการ
(๓) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ
สง เสริม ใหก าํ ลังใจแกศ ิษยและผูรับบรกิ าร ตามบทบาทหนาทีโ่ ดยเสมอหนา
(๔) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองสงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะ
และนิสัยที่ถูกตองดีงามแกศิษยและผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่อยางเต็มความสามารถ
ดว ยความบรสิ ุทธ์ใิ จ
(๕) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ งประพฤติปฏบิ ัติตนเปนแบบอยาง
ท่ดี ี ท้งั ทางกาย วาจา และจติ ใจ
(๖) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความ
เจริญทางกาย สติปญญา จิตใจ อารมณ และสงั คมของศษิ ยและผรู ับบรกิ าร
(๗) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองใหบริการดวยความจริงใจและ
เสมอภาค โดยไมเ รยี กรบั หรอื ยอมรบั ผลประโยชนจากการใชตาํ แหนง หนา ที่โดยมิชอบ

๓๑๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

จรรยาบรรณตอ ผรู ว มประกอบวิชาชีพ
(๘) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงชวยเหลือเกื้อกลู ซึ่งกันและกันอยาง

สรางสรรคโดยยดึ ม่ันในระบบคณุ ธรรม สรา งความสามัคคใี นหมูค ณะ
จรรยาบรรณตอ สังคม
(๙) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงประพฤติปฏิบัติตนเปนผูนําในการ

อนุรักษและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา สิ่งแวดลอม รักษา
ผลประโยชนของสวนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปน ประมขุ

๒. ผูบริหารสถานศึกษา จากเอกสารวิชาการลําดับท่ี ๑/๒๕๔๘ ไดกําหนดให
ผูบรหิ ารสถานศกึ ษาควรมีคุณสมบตั ิดานคุณธรรมและจริยธรรม ดงั น้ี

๑) มาตรฐานความรู : คุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรบั ผบู รหิ ารสถานศกึ ษา
สาระความรู

(๑) คุณธรรมจรยิ ธรรมสําหรับผูบริหาร
(๒) จรรยาบรรณของวิชาชพี ผบู ริหารสถานศึกษา
(๓) การพัฒนาจรยิ ธรรมผูบ รหิ ารใหป ฏิบัติตนในกรอบคุณธรรม
(๔) การบรหิ ารจัดการบานเมอื งทดี่ ี (Good Governance)
สมรรถนะ
(๑) เปน ผูนําเชิงคณุ ธรรม จริยธรรม และปฏบิ ตั ติ นเปนแบบอยา งทีด่ ี
(๒) ปฏบิ ัติตนตามจรรยาบรรณของวิชาชีพผบู รหิ ารสถานศึกษา
(๓) สงเสรมิ และพัฒนาใหผ ูรวมงานมคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมทเี่ หมาะสม
๒) มาตรฐานการปฏิบัติตน
จรรยาบรรณตอ ตนเอง
(๑) ผปู ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตองมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดาน
วิชาชีพบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมอื งอยูเ สมอ
จรรยาบรรณตอวิชาชีพ
(๒) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก ศรัทธา ซื่อสัตยสุจริต
รบั ผดิ ชอบตอ วชิ าชพี และเปน สมาชกิ ท่ดี ีขององคก รวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๑๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

จรรยาบรรณตอผูรบั บริการ
(๓) ผูประกอบวิช าชีพทางการศึกษา ตองรัก เมตตา เอาใจใส

ชว ยเหลอื สงเสรมิ ใหก ําลังใจแกศิษยและผูรับบรกิ าร ตามบทบาทหนา ทโี่ ดยเสมอหนา
(๔) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองสงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะ

และนิสัยท่ีถูกตองดีงามแกศิษยและผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่อยางเต็มความสามารถ
ดวยความบรสิ ุทธ์ใิ จ

(๕) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ งประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยาง
ที่ดี ทง้ั ทางกาย วาจา และจติ ใจ

(๖) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความ
เจรญิ ทางกาย สติปญญา จติ ใจ อารมณ และสังคมของศิษยและรับบริการ

(๗) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองใหบริการดวยความจริงใจและ
เสมอภาค โดยไมเ รยี กรับหรือยอมรับผลประโยชนจ ากการใชตําแหนงหนา ท่โี ดยมชิ อบ

จรรยาบรรณตอ ผูรวมประกอบวิชาชพี
(๘) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงชวยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกันอยาง

สรา งสรรคโ ดยยึดม่นั ในระบบคุณธรรม สรา งความสามัคคใี นหมูค ณะ
จรรยาบรรณตอสังคม
(๙) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงประพฤติปฏิบัติตนเปนผูนําในการ

อนุรักษและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา สิ่งแวดลอม รักษา
ผลประโยชนของสวนรวม และยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมุข

๓. ผูบริหารการศึกษา จากเอกสารวิชาการลําดับที่ ๑/๒๕๔๘ ไดกําหนดให
ผบู ริหารการศึกษาควรมคี ณุ สมบตั ดิ านคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม ดงั น้ี

๑) มาตรฐานความรู : คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรบั ผบู รหิ ารการศกึ ษา
สาระความรู

(๑) คณุ ธรรมจรยิ ธรรมสาํ หรับผบู รหิ าร
(๒) จรรยาบรรณของวิชาชพี ผบู รหิ ารการศึกษา
(๓) การพฒั นาจริยธรรมผูบรหิ ารใหปฏิบัติตนในกรอบคุณธรรม
(๔) การบริหารจัดการบา นเมืองท่ดี ี (Good Governance)

๓๒๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

สมรรถนะ
(๑) เปนผนู ําเชิงคุณธรรม จรยิ ธรรม และปฏบิ ัตติ นเปน แบบอยา งท่ดี ี
(๒) ปฏิบตั ติ นตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพผูบริหารการศกึ ษา
(๓) สง เสรมิ และพัฒนาใหผรู ว มงานมีคณุ ธรรมและจริยธรรมที่เหมาะสม

๒) มาตรฐานการปฏิบัตติ น
จรรยาบรรณตอ ตนเอง

(๑) ผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา ตองมวี นิ ัยในตนเอง พัฒนาตนเองดา น
วิชาชีพบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมอื งอยเู สมอ

จรรยาบรรณตอ วชิ าชีพ
(๒) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก ศรัทธา ซ่ือสัตยสุจริต

รบั ผิดชอบตอวชิ าชีพ และเปน สมาชิกทด่ี ขี ององคก รวิชาชีพ
จรรยาบรรณตอผรู บั บรกิ าร
(๓) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ

สง เสริม ใหกําลงั ใจแกศษิ ยและผรู ับบริการ ตามบทบาทหนา ทโ่ี ดยเสมอหนา
(๔) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองสงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะ

และนิสัยที่ถูกตองดีงามแกศิษยและผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่อยางเต็มความสามารถ
ดว ยความบริสทุ ธใิ์ จ

(๕) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ งประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยาง
ที่ดี ทงั้ ทางกาย วาจา และจิตใจ

(๖) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองไมกระทําตนเปน ปฏิปกษตอความ
เจริญทางกาย สตปิ ญ ญา จติ ใจ อารมณ และสงั คมของศษิ ย และผรู บั บริการ

(๗) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองใหบริการดวยความจริงใจและ
เสมอภาค โดยไมเรยี กรับหรอื ยอมรับผลประโยชนจ ากการใชตาํ แหนง หนา ทีโ่ ดยมิชอบ

จรรยาบรรณตอ ผรู วมประกอบวิชาชพี
(๘) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงชวยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกันอยาง

สรา งสรรคโ ดยยดึ ม่ันในระบบคุณธรรม สรางความสามัคคใี นหมคู ณะ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๒๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

จรรยาบรรณตอ สังคม
(๙) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงประพฤติปฏิบัติตนเปนผูนําในการ

อนุรักษและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา ส่ิงแวดลอม รักษา
ผลประโยชนข องสวนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริย
ทรงเปนประมขุ

๔. ศึกษานเิ ทศก จากเอกสารวิชาการลําดับท่ี ๑/๒๕๔๘ ไดก าํ หนดใหศึกษานิเทศก
ควรมคี ณุ สมบตั ิดานคุณธรรมและจรยิ ธรรม ดังน้ี

๑) มาตรฐานความรู : คุณธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรบั ศกึ ษานิเทศก
สาระความรู

(๑) คุณธรรมจรยิ ธรรมสาํ หรับศกึ ษานเิ ทศก
(๒) จรรยาบรรณของวชิ าชพี ศึกษานเิ ทศก
(๓) การพฒั นาจรยิ ธรรมผูบ รหิ ารใหป ฏิบตั ิตนในกรอบคณุ ธรรม
(๔) การบริหารจดั การบา นเมอื งท่ีดี (Good Governance)
สมรรถนะ
(๑) ปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชพี ศึกษานิเทศก
(๒) มีหลกั ธรรมในการนิเทศและประพฤตเิ ปนแบบอยางท่ดี ี
๒) มาตรฐานการปฏบิ ัติตน
จรรยาบรรณตอตนเอง
(๑) ผูประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา ตองมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดา น
วิชาชีพบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมืองอยเู สมอ
จรรยาบรรณตอ วชิ าชพี
(๒) ผูประกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษา ตองรัก ศรทั ธา ซ่ือสัตยสุจรติ รับผิดชอบ
ตอวิชาชีพ และเปน สมาชกิ ทดี่ ขี ององคก รวชิ าชพี
จรรยาบรรณตอผรู บั บรกิ าร
(๓) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ
สง เสรมิ ใหกาํ ลังใจแกศษิ ยและผรู ับบริการ ตามบทบาทหนา ทโ่ี ดยเสมอหนา

๓๒๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

(๔) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองสงเสริมใหเกิดการเรียนรู ทักษะ
และนิสัยที่ถูกตองดีงามแกศิษยและผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่อยางเต็มความสามารถ
ดวยความบรสิ ทุ ธใิ์ จ

(๕) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตอ งประพฤติปฏบิ ัติตนเปนแบบอยาง
ที่ดี ทง้ั ทางกาย วาจา และจติ ใจ

(๖) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความ
เจริญทางกาย สตปิ ญ ญา จติ ใจ อารมณ และสงั คมของศษิ ย และผูรบั บริการ

(๗) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองใหบริการดวยความจริงใจและ
เสมอภาค โดยไมเ รยี กรับหรือยอมรบั ผลประโยชนจากการใชตาํ แหนงหนาที่โดยมชิ อบ

จรรยาบรรณตอผรู วมประกอบวิชาชีพ
(๘) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงชวยเหลือเกื้อกูลซ่ึงกันและกันอยาง

สรา งสรรคโ ดยยดึ มน่ั ในระบบคณุ ธรรม สรา งความสามัคคใี นหมคู ณะ
จรรยาบรรณตอ สงั คม
(๙) ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาพึงประพฤติปฏิบัติตนเปนผูนําในการ

อนุรักษและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา สิ่งแวดลอม รักษา
ผลประโยชนของสว นรวม และยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมขุ

การปฏิบัติตนตามแบบแผนพฤติกรรมจรรยาบรรณของวิชาชีพถือเปนเรื่องสําคัญ
เปนอยางยิ่ง ผูท่ปี ระกอบวิชาชีพจึงควรตีองตระหนกั และใสใจทีจ่ ะปฏิบัติตามโดยยึดถือวาเปน
“ศีลของผูประกอบวิชาชีพ” สมควรที่จะตองหม่ันทบทวนและปฏิบัติตามซึ่งนอกจากจะชวย
ไมใหกระทําผิดจนเกิดการรองเรียนทําใหเสียหายแลวยังเปนการยกระดับความเปนวิชาชีพ
ช้ันสูงทั้งของตนและองคกรวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยรวม เปนท่ียอมรับ มี
เกียรติ มีศักดิ์ศรี ปรากฏตอสาธารณชนมากข้ึนอันจะสงผลตอคุณภาพการศึกษาของไทยใน
อนาคตดวย

๒) จรรยาบรรณวิชาชีพครู
จรรยาบรรณขอที่ ๑
ครูตองรักและเมตตาศิษย โดยใหความเอาใจใสชวงเหลือสงเสริม ใหกําลังใจใน
การศึกษาเลาเรียนแกศิษยโดยเสมอหนา ครูตองรักและเมตตาศิษย โดยใหความเอาใจใส

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๒๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ชวยเหลือ ใหกําลังใจในการศึกษาเลาเรียนแกศิษยโดยเสมอหนา หมายถึง การตอบสนองตอ
ความตองการ ความถนดั ความสนใจของศิษยอยางจรงิ ใจ สอดคลองกับการเคารพ การเห็นอก
เห็นใจตอลัทธิพ้ืนฐานของศิษยจนเปนที่ไววางใจเช่ือถือและชื่นชมไดรวมท้ังเปนผลไปสูการ
พัฒนารอบดานอยางเทาเทียมกัน สรางความรูสึกเปนมิตร เปนที่พึ่งพาและไววางใจไดของ
ศิษย แตละคนและทุกคน ใหความเปนกันเองกับศิษย รับฟงปญหาของศิษยและใหความ
ชวยเหลอื ศษิ ย สนทนาไตถ ามทุกขสุขของศษิ ย ฯลฯ

จรรยาบรรณขอ ที่ ๒
ครูตองอบรม ส่ังสอน ฝกฝน สรางเสริมความรู ทักษะและนิสัยท่ีถูกตองดีงามใหแก
ศิษยอยางเต็มความสามารถดวยความบริสุทธิ์ใจ ครูตองอบรมสั่งสอนฝกฝนสรางเสริมความรู
ทักษะ และนิสัยที่ถูกตองดีงามใหเกิดแกศิษยอยางเต็มความสามารถดวยความบริสุทธ์ิใจ
หมายถึง การดําเนินงานต้ังแตการเลือกกําหนดกิจกรรมการเรียนท่ีมุงผลตอการพัฒนาในตัว
ศิษยอยางแทจริงการจัดใหศิษยมีความรับผิดชอบ และเปนเจาของการเรียนรู ตลอดจนการ
ประเมนิ ศษิ ย ในผลของการเรียนและการเพม่ิ พูนการเรียนรภู ายหลังบทเรียนตาง ๆ ดวยความ
ปรารถนาท่ีจะใหศิษยแตละคนและทุกคนพัฒนาไดอยางเต็มศักยภาพและ สอนเต็มเวลา ไม
เบียดบังเวลาของศษิ ยไ ปหาผลประโยชนสวนตน เอาใจใส อบรม สัง่ สอนศิษยจนเกิดทักษะใน
การปฏิบัติงาน อุทิศเวลาเพ่ือพัฒนาศษิ ยตามความจําเปนและเหมาะสม ไมละทิ้งชน้ั เรือนหรือ
ขาดการสอน ฯลฯ
จรรยาบรรณขอท่ี ๓
ครูตองประพฤติ ปฏิบัติตนเปนแบบอยางท่ีดีแกศิษยทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
การประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางท่ีดี หมายถึง การแสดงอกกอยางสม่ําเสมอของครูท่ีศิษย
สามารถสงั เกตรับรูไดเอง และเปน การแสดงทีเ่ ปน ไปตามมาตรฐานแหง พฤตกิ รรมระดับสูงตาม
คา นิยม คุณธรรมและวัฒนธรรมอันดีงาม เชน ระมัดระวังในการกระทาํ และการพูดของตนเอง
อยเู สมอ ไมโกธรงา ยหรือแสดงอารมณฉุนเฉยี วตอ หนา ศษิ ย มองโลกในแงดี ฯลฯ
จรรยาบรรณขอ ที่ ๔
ครูตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความเจริญทางกายสติปญญา จิตใจ อารมณ
และสังคมของศิษยการไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความเจริญทางกาย สติ ปญญา จิตใจ
อารมณ และสังคมของศิษย หมายถึง การตอบสนองตอศิษยในการลงโทษหรือใหรางวัลการ

๓๒๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

กระทําอ่ืนใดที่นําไปสูการลดพฤติกรรมที่พึงปรารถนา และการเพิ่มพฤติกรรมท่ีไมพึง เชน ไม
นําปมดอยของศิษยมาลอเลียน ไมประจานศิษย ไมพูดจาหรือกระทําการใด ๆ ที่เปนการ
ซาํ้ เติมปญหาหรอื ขอบกพรอ งของศิษย

จรรยาบรรณขอ ที่ ๕
ครูตองไมแสวงหาประโยชนอันเปนอามิสสินจางจากศิษยในการปฏิบัติหนาที่
ตามปกติ และไมใชศิษยกระทําการใด ๆ อันเปนการหาประโยชนใหแกตนโดยมิชอบการไม
แสวงหาประโยชนอันเปนอามิสสินจางจากศิษยในการปฏิบัติหนาที่ตามปกติ และไมใชศิษย
กระทําการใด ๆ อันเปนการหาประโยชนใหแกตนโดยมิชอบ หมายถึง การไมกระทําการใด ๆ
ทจี่ ะไดมาซ่ึงผลตอบแทนเกินสิทธิที่พงึ มพี ึงไดจากการปฏบิ ัตหิ นาที่ในความรับผิดชอบตามปกติ
เชนไมหารายไดจาการนําสินคามาขายใหศิษย ไมตัดสินผลงานหรือผลการเรียน โดยมีส่ิง
แลกเปล่ยี น ไมบ ังคบั หรือสรา งเงือ่ นไขใหศ ิษยม าเรยี นพิเศษเพื่อหารายได ฯลฯ
จรรยาบรรณขอ ที่ ๖
กฎยอมพัฒนาตนเองท้ังในดานวิชาชีพ ดานบุคลิกภาพและวิสัยทัศน ใหทันตอการ
พัฒนาทางวิทยาการเศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยูเสมอการพัฒนาตนเองท้ังในดานวิชาชีพ
ดานบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมือง อยูเสมอ หมายถึง การใฝรู ศึกษาคนควา ริเริ่มสรางสรรคความรูใหมใหทันสมัย ทัน
เหตุการณ และทันตอการเปลี่ยนแปลงทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและเทคโนโลยี
สามารถพัฒนาบุคลิกภาพและวิสัยทัศนเชน หาความรูจากเอกสาร ตํารา และสื่อตาง ๆ อยู
เสมอ จดั ทําและเผยแพรค วามรูผา นสื่อตาง ๆ ตามโอกาส เขารวมประชุม อบรม สัมมนา หรือ
ฟงการบรรยายหรอื อภปิ รายทางวิชาการ ฯลฯ
จรรยาบรรณขอท่ี ๗
ครูยอมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเปนสมาชิกที่ดีขององคกรวิชาชีพครูความ
รักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเปนสมาชิกที่ดีขององคกรวิชาชีพครู หมายถึง การแสดงออก
ดวยความช่ืนชมและเชื่อมั่นในอาชีพครูดวยตระหนักวาอาชีพน้ีเปนอาชีพท่ีมีเกียรติ มี
ความสําคัญและจําเปนตอสังคม ครูพึงปฏิบัติงานดวยความเต็มใจและภูมิใจ รวมท้ังปกปอง
เกียรติภูมิของอาชีพครู เขารวมกิจกรรมและสนับสนุนองคกรวิชาชีพครูเชน ชื่นชมในเกียรติ
และรางวัลที่ไดรับและรักษาไวอยางเสมอตนเสมอปลาย ยกยองชมเชยเพ่ือนครูท่ีประสบ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๒๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ผลสําเร็จเกี่ยวกับการสอน เผยแพรผลสําเร็จของตนเองและเพ่ือนครู แสดงตนวาเปนครูอยาง
ภาคภมู ิ ฯลฯ

จรรยาบรรณขอที่ ๘
ครูพึงชวยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสรางสรรคการชวยเหลือเก้ือกูลครูและ
ชุมชนในทางสรางสรรค หมายถึง การใหความรวมมือ แนะนําปรึกษาชวยเหลือแกเพื่อนครูท้ัง
เรื่องสวนตัว ครอบครัว และการงานตามโอกาสอยางเหมาะสม รวมทั้งเขารวมกิจกรรมของ
ชุมชน โดยการใหคําปรึกษาแนะนําแนวทางวิธีการปฏิบัติตน ปฏิบัติงาน เพ่ือพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของคนในชุมชนเชน ใหคําปรึกษาการจัดทําผลงานทางวิชาการ ใหคําปรึกษาแนะนําการ
ผลติ ส่ือการเรยี นการสอน ฯลฯ
จรรยาบรรณขอ ท่ี ๙
ครูพึงประสงค ปฏิบัติตน เปนผูนําในการอนุรักษและพัฒนาภูมิปญญา และ
วัฒนธรรมไทยการเปนผูนําในการอนุรักษ และพัฒนาภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย หมายถึง
การริเร่ิมดําเนินกิจกรรม สนับสนุนสงเสริมภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย โดยรวบรวมขอมูล
ศกึ ษาวิเคราะหเลอื กสรร ปฏิบัตติ นและเผยแพรศลิ ปะ ประเพณีดนตรี กีฬา การละเลน อาหาร
เครือ่ งแตงกาย ฯลฯ เพอ่ื ใชในการเรยี นการสอน การดาํ รงชีวิตตนและสงั คมเชน เชิญบคุ คลใน
ทอ งถ่ินเปนวิทยากร นําภูมิปญญาทองถิ่นมาใชจัดการเรียนการสอน นาํ ศิษยไปศึกษาในแหลง
วทิ ยาการชุมชน ฯลฯ ๖287

๑๑.๘ การพัฒนาและการปลูกฝง คณุ ธรรมและจรยิ ธรรม

มนุษยไมไดเกิดมาพรอมดวยคุณธรรมและจริยธรรม การเกิดปญหาดานจริยธรรม
ของสังคมจึงอยูในความรับผิดชอบของทุกคนในฐานะปจเจกบุคคล ในฐานะสมาชิกของสังคม
และในฐานะผูใหการอบรมเลี้ยงดูแกบุคคลในสังคม มนุษยเกิดมาพรอมดวยความตองการท่ีจะ
ดํารงชีวิตใหมีความสุขและไดรับสิ่งที่ตองการเพ่ือความอยูรอดของชีวิต มนุษยจึงมักจะดิ้นรน

๖ Google Sites, มาตรฐานวิชาชีพครู, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://sites.google.
com/site/matrthanwichachiphkhrunpru/matrthan-kar-ptibati-tn-crrya-brrn-khxng-wichachiph
[๒๙ มิถุนายน ๒๕๖๑].

๓๒๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

แสวงหาประโยชนใหแกตนเองเปนที่ต้ัง ความตองการทําใหเกิดเปนกิเลสของความอยากซึ่ง
อาจนําไปสูการทํารายผูอ่ืนได การที่จะทําใหมนุษยตระหนักวาการการมีความสุขแตเพียงผู
เดียวอาจจะเปนการทํารายผูอื่น และผลสะทอนกลับมาทํารายตนเองในที่สุด การปลูกฝงให
มนุษยรูจัก ผิด ชอบ ชัว่ ดี และการมีความสุขทีย่ ั่งยืน คอื การใหความรูและประสบการณเปน
ส่งิ ทจ่ี ําเปน

บทบาทของสถาบนั ตา ง ๆ ในการปลกู ฝงคณุ ธรรมจริยธรรม
สุขุมาล เกษมสุข288๗ ไดกลาวถึงบทบาทของสถาบันตา ง ๆ ในการเขามามีบทบาทใน
การปลูกฝง คณุ ธรรมจริยธรรม ดังน้ี
๑. ครอบครัว
ครอบครัวเปนสถาบันแรกท่ีมีความสําคัญตอการอบรมเลี้ยงดูบุคคลและมี
ความสําคัญตอเน่ืองจนอาจกลาวไดวาตลอดชีวิต โดยเฉพาะการอบรมเลี้ยงดูในวัยเด็กน้ันมี
อิทธิพลอยางมากตอพัฒนาการของเด็กในทุกดาน ทั้งดานรางกาย จิตใจ สติปญญา
บุคลิกภาพและการเรียนรูท่ีจะอยูในสังคม เม่ือเด็กเติบโตข้ึนไดรับการเรียนรูจากโรงเรียน จาก
สงั คมรอบตัวที่กวางขึ้นแลวก็ตาม ครอบครัวก็ยงั เปนแหลงพักพิงใหความรกั ความอบอุน และ
แนวทางแกปญหาตาง ๆ อยูเสมอ โดยเฉพาะครอบครัวไทยมีความผูกพันใกลชิดกันจนตลอด
ชีวิตของบุคคล การชวยปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมใหกับเด็ก บิดา มารดาและผูใหญใน
ครอบครัวควรมบี ทบาทในการปลกู ฝงคุณธรรมจริยธรรมแกเ ด็ก ดงั น้ี

๑.๑ การสรางบรรยากาศและส่ิงแวดลอมที่ดีในครอบครัว บรรยากาศใน
ครอบครวั จะชวยใหเ ดก็ ไดเคยชนิ และซึมซบั ลกั ษณะทีส่ ง เสรมิ ความมจี รยิ ธรรม ไดแ ก

๑.๑.๑ บรรยากาศของความรัก ความอบอุน ความเขาใจกันของคนใน
ครอบครัว เร่ิมตั้งแตบิดามารดาที่รักใครกลมเกลียวเขาใจกัน ใหเกียรติกัน อยูดวยกันอยาง
สงบสุข ไมทะเลาะเบาะแวง ไมแสดงกิริยาหยาบคายตอ กัน ตลอดจนรวมมือกันเลี้ยงดูลูกดวย
ความรัก เอาใจใส เปนที่ปรึกษาลูกไดทกุ เรื่อง แกปญหาตาง ๆ ดวยความสงบ มีเหตุผล การท่ี

๗ สุขุมาล เกษมสุข, การปลูกฝงจริยธรรมแกเด็ก, (กรุงเทพมหานคร: คณะศึกษาศาสตร
มหาวทิ ยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ, ๒๕๔๘).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๒๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ผใู หญใ นครอบครัวอยรู ว มกันดายความรักจะเปนแบบอยางที่ดขี องเดก็ มผี ลตอจติ ใจและความ
ประพฤตขิ องเด็ก เด็กจะเคยชินและซมึ ซับความรัก ความเมตตา และความดีงาม

๑.๑.๒ สภาพแวดลอมท่ีมีระเบียบ สะอาด สงบ ไมวาบานจะมีลักษณะ
ใหญโต หรูหรา หรือเล็กแคบ ทุกคนในบานก็สามารถจัดใหบานนาอยู สะอาด สงบ และมี
ระเบียบไดดวยการจัดขาวของเครื่องใชใหอยูเปนท่ี มีระเบียบ หม่ันทําความสะอาด มีตนไม
ใหญบา ง เลก็ บา งตามความจาํ กดั ของเนอื้ ที่ ซ่ึงจะชว ยใหทกุ คนในบา นไดส ัมผสั กบั ธรรมชาติ มี
หองพระหรือห้ิงบูชาพระพุทธรูปเพ่ือใหเกิดความสงบใจ การจัดหิ้งบูชาอัฐิและรูปของบรรพ
บุรุษเพื่อระลึกถึงพระคุณของทานเกิดเปนความกตัญูในจิตใจ ส่ิงแวดลอมเหลานี้จะชวยให
เด็กๆซึมซับสะสมความรสู กึ ทดี่ งี ามออนโยนในจติ ใจเปน พ้ืนฐานความมจี รยิ ธรรมตอ ไป

๑.๒ ส่ังสอน ฝกอบรมบมนิสัยใหเด็กเรียนรูและเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค
บิดามารดา และผูใหญในครอบครัวตองถือวา การสั่งสอนอบรมบมนิสัยใหเด็กเปนคนดีน้ัน
เปนหนา ทสี่ าํ คัญที่ตองกระทาํ ตอ เน่ืองในชีวติ ประจาํ วัน โดยมีหลักปฏบิ ัติดงั นี้

๑.๒.๑ ควรมีความรูเกี่ยวกับจิตวิทยาพัฒนาการและความตองการของเด็ก
ในวัยตาง ๆ พอสมควรซึ่งไมใชเรื่องยาก ปจจุบันสื่อมวลชนแขนงตาง ๆ ท้ังวิทยุ โทรทัศน
หนังสือพิมพ ไดใหความรูเกี่ยวกับจิตวิทยาการเล้ียงดูและอบรมเด็กในวัยตาง ๆ ซ่ึงจะชวยให
บิดามารดา ผปู กครอง มแี นวทางในการอบรมและแกป ญหาบตุ รหลานไดถ ูกตอง

๑.๒.๒ หมั่นส่ังสอนอบรมบมนิสัยลูกอยูเสมอ แมเด็กยังไมไดทําความผิดก็
ควรอบรมส่ังสอนสิ่งท่ีดีงามถูกตองแกลูก คอยๆหลอหลอมจิตใจลูกใหลูกซึมซับส่ิงที่ดีงามทีละ
นอย ต้ังแตเล็กจนโต บิดามารดาควรมีเวลาคุยกับลูกเสมอ พูดแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
เก่ียวกับเรอื่ งราวท่ีเกิดขึ้นในสงั คม เพ่ือใหล กู ไดเรียนรูไปดวย

๑.๒.๓ อบรมสั่งสอนดวยความรักความเมตตามีเหตุผลและมีความเปน
ประชาธิปไตย บิดามารดาไมควรเล้ียงลูกดวยความรัก ความทะนุถนอมจนเกินไปจนลูกขาด
ประสบการณไมสามารถชวยเหลือตนเองได ไมควรใชอ ํานาจเล้ียงลูกแบบเผด็จการ ขาดความ
รัก ขาดเหตุผล ขาดความเปนประชาธิปไตย เพราะจะทําใหจิตใจเด็กขาดการพัฒนาทาง
จรยิ ธรรม

๑.๒.๔ จัดประสบการณใหลูกไดเรียนรูดว ยตนเอง จําแนกไดวา การกระทํา
สง่ิ ใดถูกหรือผิด นอกเหนือจากการบอก สงั่ สอน หรอื ตักเตือนเทาน้ัน เชน การมอบหมายงาน
เล็ก ๆ นอย ๆ ในบานใหเด็กทําเปนการฝกความรับผิดชอบปลอยใหเด็กไดมีโอกาสในการ
แกปญหาทเี่ กดิ ขึน้ เองบา ง

๓๒๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๑.๓ การเปนแบบอยางที่ดีแกเด็ก การเลียนแบบเปนวิธีการเรียนรูท่ีดีมากวิธี
หน่ึง เปนการเรียนรูโดยซึมซับแบบอยางจากผูใหญในครอบครัว ทั้งทางกาย วาจา จิตใจและ
วิถีการดําเนินชีวิต บิดามารดาผูปกครองจึงตองตระหนักถึงการปฏิบัติตนเปนตัวอยางที่ดีแก
เด็ก ดงั น้ี

๑.๓.๑ การปฏิบัติในชีวิตประจําวัน อันเปน ลักษณะสว นตัวของผูใหญ เชน
การเปนคนขยัน ซ่ือสัตย สะอาด มีระเบียบ รักการอาน สนใจขาวสาร บิดามารดาปฏิบัติ
อยางไรลกู กจ็ ะเปน เชน นนั้ ดวย ดังสาํ นวนไทยที่กลา ววา “ลูกไมหลนไมไกลตน”

๑.๓.๒ การปฏบิ ัตติ อ กนั ในครอบครวั การใหเกียรติซงึ่ กันและกนั การพดู จา
สุภาพ การชว ยเหลอื กัน

๑.๓.๓ การปฏิบัติตอบุคคลอ่ืนภายนอกครอบครัว มีความเอื้อเฟอเผ่ือแผ
รวมมอื กับผอู ืน่ ชวยเหลอื ผูอน่ื และสวนรวม

๑.๓.๔ การปฏิบัติตอส่ิงแวดลอม รูจักการรักษาและใชทรัพยากรธรรมชาติ
อยางคุมคาและถูกตอง เชน การประหยัดน้ํา การประหยัดไฟฟา การรักษาความสะอาด เปน
ตน

๑.๓.๕ การปลูกฝงคานิยมและรักษาวัฒนธรรมไทย ฝกมารยาทไทยในการ
ดําเนินชีวิตประจําวันใหแกลูก เชน การไหว การเคารพผูใหญ การแตงกาย รวมท้ังการปฏิบัติ
ตามขนบธรรมเนียมประเพณีไทยในโอกาสวันสาํ คัญหรือเทศกาล เชน วันสงกรานต วันสําคัญ
ทางศาสนา เปน ตน

๑.๔ การปลูกฝงใหเด็กละอายและเกรงกลัวตอบาปบิดามารดาควรปลูกฝงให
เด็กละอายและเกรงกลัวตอบาป เชนยกตัวอยางการทําชั่วจะตองตกนรก ซึ่งจะมีจริงหรือไมก็
ตาม แตการสอนใหเดก็ กลัวตกนรกก็มปี ระโยชนกวาการที่ไมส อนเลย

๑.๕ การปลูกฝงลักษณะทางพุทธศาสนาแกลูกการปลูกฝงลักษณะทางพุทธ
ศาสนาแกลูก คือการท่ีบิดามารดาปฏิบัติตอลูกในการดําเนินชีวิตประจําวันท้ังทางตรงและ
ทางออม เพราะการปฏิบัติตามคําสอนในพุทธศาสนาจะชวยใหผูปฏิบัติมีความสงบสุข
มสี ขุ ภาพจติ ดีและสงผลใหสงั คมมีความสงบสขุ ดวย

๒. วดั
คนไทยมีวิถีชีวิตที่ผูกพันใกลชิดกับวัดมาชานาน วัดเปนแหลงใหการศึกษาแกเด็ก
ชายไทย ทั้งทางโลกและทางธรรม ปจจุบันมีการจัดการศึกษาในระบบโรงเรียน บทบาทของ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๒๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

วัดในการจัดการศึกษาโดยตรงลดนอยลง แตวัดยังคงมีบทบาทสนับสนุนดานสถานที่ใน
การศึกษาแกเด็กและเยาวชนท้ังชายและหญิง ในปจจุบันวัดมีบทบาทในการปลูกฝงคุณธรรม
จรยิ ธรรม ดังนี้

๒.๑ วัดเปนสถานที่บวชเรียนของชายไทย การบวชถือเปนการถายทอด
ลักษณะทางพุทธศาสนาท่ีดีที่สุด ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ชายไทยในอดีตถือวาการบวชเปน
หนาท่ีที่สําคัญอยางหน่ึงในชีวิต ตลอดจนบรรดา ปูยา ตายาย และผูใหญท่ีใกลชิดตางก็
ปรารถนาจะใหบุตรหลานของตนไดบวช ดวยมีความเช่ือวา ถาลูกหลานของตนไมไดบวช
ตนเองก็ยังทําหนาท่ีไมสมบูรณ และชายใดยังไมไดบวชก็ยังไมเปนผูใหญ ไมสมควรจะมี
ครอบครวั

พระธรรมญามุนี289๘ กลาวถึงความสําคัญของการบวชวา เปน“กรรมวิธีในการ
พัฒนาชีวิตทงั้ ระบบ” ไดแก การปลีกตวั ออกจากบา น ครอบครวั โดยมจี ดุ ประสงค คือ

๑. ลดพฤติกรรมท่ีไมส มควรใหนอ ยลงตามลําดับ จนหมดสิน้ ในท่สี ดุ
๒. เพ่มิ พนู พฤตกิ รรมทส่ี มควรใหม ากยงิ่ ขนึ้ จนสมบูรณใ นทสี่ ดุ
๓. ควบคุมความคิดใหแจมใส ไมคิดในสิ่งท่ีเปนพิษ เปนภัย โดยมีจิตใจเปน
อสิ ระ
๒.๒ วัดเปนสถานที่เรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย วัดเปนสถานท่ีเรียนพุทธ
ศาสนาวันอาทิตย เปนแหลงเผยแผค ําสอนทางพุทธศาสนาไปสูเยาวชนที่ไมไดบวชเรียน ชวย
ใหเยาวชนไดใกลชิดกับศาสนาย่ิงขึ้น เด็กและเยาวชนไดเรียนรูหลักธรรม เห็นการปฏิบัติท่ีดี
เปนการปลกู ฝงสง่ิ ทดี่ ีงามต้ังแตเยาวว ยั
๒.๓ วัดเปนสถานที่เรียนรูทางพุทธศาสนาของประชาชน วัดเปนสถานที่
ประกอบพิธีของพุทธศาสนิกชน เชน การทําบุญตักบาตร ฟงธรรม ทอดผาปา ทอดกฐิน เปน
ตน
๒.๔ พระภิกษุสงฆเปนครูของประชาชน พระภิกษุสงฆ เปนผูท่ีเผยแผคําสอน
สบื ทอดพุทธศาสนา นอกจากจะเปนตัวอยางท่ีดีแกชาวบานแลว ยังอนุเคราะหช าวบานตาม
หลักปฏบิ ตั ใิ นฐานะที่ทานเปน ทศิ เบื้องบน ดังน้ี

๘ พระธรรมญาณมุนี, พระธรรมญาณมุนี ๘๔, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพอัมรินทรการพิมพ,
๒๕๓๑).

๓๓๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๒.๔.๑ หามปราม สอนใหเ วน จากความชวั่
๒.๔.๒ แนะนาํ สั่งสอนใหต ง้ั อยใู นความดี
๒.๔.๓ อนุเคราะหด ว ยความปรารถนาดี
๒.๔.๔ ใหไดฟง ไดร สู ่งิ ท่ไี มเคยรไู มเ คยฟง
๒.๔.๕ ชแ้ี จง อธิบาย ทาํ ส่งิ ที่เคยฟง แลว ใหเขาใจแจม แจง
๒.๔.๖ บอกทางสวรรค สอนวิธีดาํ เนินชวี ิตใหประสบความสขุ ความเจรญิ
สรุปไดวา บทบาทของสถาบันตาง ๆ ในการปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมของไทยน้ัน
สามารถทําไดโดย ครอบครัว วัด โรงเรียน สถานศึกษาระดับตาง ๆ ส่ือมวลชน ซ่ึงบุคคลและ
สถาบนั ดงั กลาวมีสวนชว ยในการขัดเกลาพฤติกรรมของคนใหเ ปน คนดไี ด
ปจจุบันทางราชการ โดยเฉพาะกระทรวงศึกษาธิการ ไดตระหนักถึงคุณคาของวัด
มากขึ้นในการใหการศึกษา จึงพยายามสงเสริมโครงการ บวร สัมพันธ เพื่อใหเปนพ้ืนฐานใน
การใหการศึกษาของประเทศชาตใิ หไ ดผลดีอยางแทจ รงิ คาํ วา บวร เปนคํายอมาจากตวั เต็มวา
บาน วดั (วัง) โรงเรยี น ตามลาํ ดับ
๑. บาน (บ.) เปนสถาบันแรกท่ีจะใหการศึกษาแกบุตรธิดาอันมีบิดามารดา ปู ยา
ตา ยายเปนผูรับผิดชอบ ท้ังน้ีเพราะบิดามารดาเปนตน จะตองแนะนําพรํ่าสอนพฤติกรรมทุก
อยางใหแกกุลบุตรธิดาในทางท่ีถูกท่ีควร หามบุตรธิดาประพฤติหรือกระทําในทางที่ไมถูกไม
ควร หรือแมแตแนะนําส่ังสอนหรือหัดใหบุตรธิดาไดรูจักพูด ตลอดถงึ การเรียนรภู าษาเบ้ืองตน
งายๆยอมเปนหนาที่ของบิดามารดา ปู ยา ตา ยาย ทั้งนั้น ดังน้ันทานเหลานี้จึงจัดเปนครุ-
อาจารยคนแรกของบุตรธิดา และเพราะทานเหลานี้เองท่ีปรารถนาอยางแรงกลาที่จะใหบุตร
ธิดาเปนคนดีมีคุณธรรม มีชีวิตท่ีเจริญรุงเรื่องในอนาคตจึงไดนามอีกอยางหน่ึงวา “พรหมของ
บุตรธดิ า”
๒. วดั (ว.) สมัยโบราณผมู บี ตุ ร มักจะสงบุตรตนไปศึกษาเลา เรยี นทว่ี ดั สว นธดิ าถามี
โอกาสก็จะฝากเขาศึกษาอบรมในร้ัวในวัง เพ่ือจะไดศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิลปวัฒนธรรม เปนการฝกอบรมจิตใจเพื่อใหมีกริยามารยาทที่ดีงามสมเปนกุลธิดาอยาง
แทจริง จะเห็นไดชัดคือ วัดจะเปนสถานท่ีฝกหัดดัดแปลงความไมดีไมงามใหงามข้ึน เราเคยได
ยินคําพูดเสมอวา “ถาลูกคนใดพอแมอบรมสั่งสอนไมได พอแมมักจะพูดวา ตองตัดหางปลอย
วัด” น่ันคือจะตองเอาไปมอบใหทางวัดฝกหัดดัดนิสัยให และบุคคลที่ใหไปอยูวัดมักจะ
กลายเปนคนดีไดสวนมาก ปจจุบันสวนใหญจะไมคอยเห็นคุณคาของวัดกัน แตท้ังนี้วัดอาจจะ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๓๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

เปล่ียนจุดประสงคเดิมไปบางก็ได อยางไรก็ตามวัดยังคงเปนสถานท่ีใหการศึกษาดานจริย
ศึกษาและศิลปวัฒนธรรมอยูสวนมาก จะเห็นไดวามีวัดจํานวนมากทั้งในสวนกลางและสวน
ภูมภิ าคไดเปดสอนโรงเรียนพระพทุ ธสาสนาวันอาทิตย ทั้งน้ีเพือ่ วัดจะไดท าํ หนา ทขี่ องตนเองให
สมบูรณถูกตองน่ันเอง จุดประสงคอันแทจริงก็เพื่อใหกุลบุตรกุลธิดาไดรับการศึกษาท้ังในพุทธิ
ศึกษาและจริยศึกษาสมบูรณ ดังน้ันวัดจึงมีความสําคัญยิ่งและจัดเปนอันดับสองรองมาจาก
บานในดานใหก ารศึกษาแกก ุลบตุ รกลุ ธดิ ามาแตสมัยโบราณ

๓. โรงเรียน (ร.) เปน สถาบนั ท่ีสามถัดมาจากวัด เมอ่ื กลุ บุตรกุลธิดาเจริญวัยพอควร
บิดา มารดามักจะสงบุตรธิดาไปเขาเรียนตามสถานศึกษาหรือสถาบันตาง ๆ ตามความพอใจ
ของตน อาจจะ

ใหพักประจําที่โรงเรียนหรือไมก็แลวแตจะเห็นสมควร ท้ังน้ีจะเนนหนักในเรื่อง
ปญญาความรู ใหมีเหตุมีผลสามารถใชความรูใหเปนประโยชนแกตนและสังคมได การจะใช
ปญญาไปในทางท่ีถูกที่ควรไมทําใหตนเองและผูอื่นเดือดรอน โดยมีครู-อาจารยเปนผูอบรมสั่ง
สอนให และจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองอาศัยวัดเปนสถานที่ปลูกฝงคุณธรรมจริยธรรมดวย เรา
มกั จะไดยินคาํ วา “ความรูทวมหัว เอาตัวไมรอด” น่ันหมายถึงผูที่มคี วามรูสูงหรอื มีปญ ญามาก
แตยังขาดคุณธรรมจริยธรรมน่ันเอง หรือจะพดู อีกนัยหน่ึงกค็ ือ “ฉลาดแตขาดเฉลียว” ผูน ้ันจึง
มกั จะใชปญญาหรือความรูไปในทางทไี่ มถกู ตองนัก แตการใหการศึกษาเราในปจจุบันจะมุงแต
สง เสริมปญญาหรอื ความรูในดานพุทธิศกึ ษาเกินไป โดยไมคํานึงถงึ คุณธรรมจริยธรรมหรือจริย
ศึกษา ผูไดรบั การศึกษาจึงมุง สง เสริมหรือแขงดีแขงเดนกันในดานความรูหรอื ปญ ญาเปนสําคัญ
เหน็ คุณคา ของจิตใจเพอ่ื ใหคุณธรรม จริยธรรมวา ตํ่าตอย เห็นผูประพฤตดิ ีประพฤติชอบถูกตอ ง
ตามระเบียบ ประเพณี ศีลธรรมวาเปนผูไมทันสมัย กาวไปไมทันโลก เพราะโรงเรียนไปเนน
เรื่องปญญาความรูมากเกินไปนี้เอง สวนมากสังคมไทยจึงไมสงบสุข เดือดรอนและเกิด
อาชญากรรมทุกหนแหง ผูมีปญญามาก ความรูมากจะเอาเปรียบผูมีปญญานอย ความรูนอย
ดงั ทท่ี ราบกันปจจบุ นั

โครงการ “บวร”อาจจะกลาวไดวาเปน “ไตรรงค” ท่ีเอ้ือหนุนใหบุคคลเปนมนุษย
สมบูรณ ก็ได ดวยเหตุน้ีเององคกรใดองคกรหนึ่ง เชน บาน วัด หรือโรงเรียนจะรับผิดชอบ
สงั คมยอมไมเพียงพอ ตองชว ยกัน ๓ องคกรดังกลาว ซงึ่ อาจเขียนเพอ่ื ใหเห็นภาพพจนใหเขาใจ
งา ย ๆ ดังน้ี

๓๓๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

มนษุ ยส มบูรณ

บา น วัด (วัง) โรงเรยี น

(บ.) (ว.) (ร.)

ภาพท่ี ๙.๑ สถาบันทีเ่ อื้อหนนุ ใหบ ุคคลเปนมนุษยส มบูรณ
ทีม่ า: พระธรรมญามนุ ี (๒๕๒๗)

๑๑.๙ การกลอมเกลาทางสังคมและการพัฒนาดานคุณธรรมและจรยิ ธรรม

มนุษยเปนสัตวสังคมจึงตองเรียนรูการอยูรวมกับผูอื่นในสังคม การเรียนรูกฎเกณฑ
ทางสังคมท่ีตองปฏิบัติรวมกันเปนส่ิงท่ีจําเปน บุคคลที่ไดรับการกลอมเกลาอยางตอเน่ืองจะ
สามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข การเรียนรูทางสังคมจะทําใหบุคคลมีวิถีชีวิตตาม
ระเบียบแบบแผนท่ีสอดคลองกับวัฒนธรรมของสังคม การไดรับการอบรมสั่งสอนและให
ความรูตลอดจนปลูกจิตสํานึกในดานคุณธรรมจริยธรรมต้ังแตในวัยเด็กจะทําใหบุคคลนั้นมี
ความคิดที่สอดคลอ งกับคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมในระดับสากลและในระดับสังคมได

มนุษยในสังคมจะไดรับการดูแลจากหนวยสังคมตาง ๆ ตั้งแตเกิดจนตาย หนวย
สังคมตาง ๆ เหลานี้จะคอยชี้แนะส่ังสอน และใหคุณคาทางจริยธรรม หนวยสังคมเหลานี้รวม
เรียกวา สังคมประกิต ซึ่งประกอบดวย ครอบครัว โรงเรียน เพ่ือน ส่ือสารมวลชน และ
ศาสนา การอบรมสั่งสอนของหนวยสังคมเหลานเี้ ปนไปไดท้งั โดยทางตรงและทางออม ผลของ
การกลอมเกลาทางสังคมทําใหบุคคลท่ีอยูในวัยเด็กมีคานิยมและจริยธรรมที่สอดคลองกับตัว
แบบท้ังในดา นบวกและดา นลบได

๑. คุณลักษณะของความเปนคนดี ในสังคมหน่ึง ๆ อาจจะมีคุณลักษณะ
รายละเอียดปลีกยอยของความเปนคนดีที่แตกตางกันไปบาง แตโดยรวมแลวคุณลักษณะท่ีดี

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๓๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

น้ันมักจะเปนคุณลักษณะที่เปนพื้นฐานสากล ฮูอิทท (Huitt) กลาวถึงคํานิยามของ
คุณลักษณะท่ดี วี าจะตอ งมีพฒั นาการในดา นตาง ๆ ดงั นี้

๑) มีความรับผิดชอบ ซึ่งเนนวาตองรับผิดชอบในงานท่ีไดรับมอบหมายอยางมี
คุณธรรม คือรูวาควรทําอยางไรจึงจะถูกตองและไมทําใหผูอ่ืนหรือสังคมเสียหาย และแสดง
ความรับผิดชอบและมจี ริยธรรมตอสงิ่ ทตี่ นไดกระทาํ ลงไป

๒) มีความสามารถในการกํากับวินัย การรักษาวินัยและบังคับตนใหอยูใน
ระเบยี บและกฎเกณฑตามท่ีตนเองวางกรอบไว

๓) มีคุณธรรมที่แสดงออกทางคานิยม จุดมุงหมายและกระบวนการท่ี
สรางสรรคส งั คม

๔) มมี าตรฐานของความประพฤติสวนตนและความคดิ ที่เปน อิสระ
๒. ปจจัยทที่ ําใหเกิดพัฒนาการดา นจรยิ ธรรม สําหรับปจ จัยทีท่ ําใหเกดิ พัฒนาการ
ดานจริยธรรมนนั้ เปนปจจยั ทผี่ สมผสานกัน แคมปเ บลล และ บอนด (Campbell and Bond,
as cited in Huitt) ๙ สรุปวา ปจจัยทที่ ําใหเ กิดพฒั นาการดานจรยิ ธรรม เชน

๑) พันธุกรรม
๒) ประสบการณในวยั เดก็
๓) การแสดงออกของผูใหญและเดก็ ท่อี ายุมากกวา
๔) อิทธพิ ลเพอ่ื น
๕) กายภาพทางสังคมและสง่ิ แวดลอ ม
๖) สอื่ สารมวลชน
๗) ส่งิ ท่ถี กู อบรมส่งั สอนในโรงเรยี น
๘) สถานการณเฉพาะและบทบาททีต่ องแสดงออกสืบเนื่อง
ปจจัยตาง ๆ เหลานี้ มาจากองคประกอบทั้งภายในและภายนอกตัวบุคคล ไมวา
จะเปนพันธุกรรม สิ่งแวดลอม วุฒิภาวะและการเรียนรู ความผสมผสานกันขององคประกอบ
ตาง ๆ เหลานี้จะหลอหลอมใหบุคคลพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมไดตามศักยภาพ

๙ Campbell and Bond, อางใน นางสุธาสนิ ี แมนญาติ, “โมเดลความสัมพนั ธโ ครงสรางปจ จัย
ที่สงผลตอภาวะผูนําเชิงจริยธรรมของ ผูบริหารสถานศึกษา สังกัดกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น”,
วิทยานิพนธป รชั ญาดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน , ๒๕๕๔).

๓๓๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๓. ความคงท่ีของพัฒนาการดานจริยธรรม นักจิตวิทยายอมรับวาพัฒนาการดาน
จริยธรรมนั้นมีความแตกตางในแตละวัย นอกจากน้ียงั พบวาการพัฒนาการดานจริยธรรมน้ันมี
ลักษณะท่ีแตกตางไปจากพัฒนาการดานอื่น ๆ เชน พัฒนาการดานรางกาย หรือพัฒนาการ
ดานสติปญญา เนื่องจากพัฒนาการเหลาน้ีมีความคงที่ เมื่อมีพัฒนาการถึงระดับใดก็จะคง
ความสามารถในการแสดงพฤติกรรมในระดับนั้น ๆ ไดแ ตส าํ หรบั พฤติกรรมท่เี ปนความสามารถ
ในดานการคิดในเชิงจริยธรรมแลว พบวาเม่ือบุคคลมีพัฒนาการดานจริยธรรมหนึ่งแลวก็ไมได
หมายความวาบุคคลน้ันจะแสดงพฤติกรรมเชิงจริยธรรมในระดับนั้นเสมอไป ดังนั้นจึงกลาวได
วาแสดงออกดานจริยธรรมจะไมคงท่ี พัฒนาการสามารถยอนกลับไปกลับมาไดเนื่องจาก
อารมณ ความคิดและความรูสึกเขามามีอิทธิพลตอความตองการท่ีจะทําในส่ิงท่ีผิดหรือในส่ิงที่
ถูกตอง เชน บุคคลท่ีมีความซ่ือสัตยเมื่อเก็บกระเปาสตางคไดอาจจะไมสงคืนเจาของเพราะมี
ความจําเปนตองนําเงินไปรักษาแมซึ่งกําลังเจ็บหนัก เปนตน แมวาจะรูผิดชอบชั่วดี แตการ
กระทําก็บงบอกระดับของข้ันจริยธรรมได การที่จะระบุไดวาบุคคลมีพัฒนาการดานจริยธรรม
ในข้ันใดจะพิจารณาความสอดคลองของการกระทําท่ีเปนทั้งพฤติกรรมภายนอกและภายใน
ดวย

๑๑.๑๐ ปญหาจรยิ ธรรมในองคการ

ปญหาจริยธรรมในองคการเปนปญหาหลักท่ีทําใหประสิทธิภาพในการทํางานและ
ความสําเร็จขององคการเสื่อมถอยเนื่องจากการไมไดรับความเชื่อถือจากสังคม การแกปญหา
จริยธรรมในองคการ ตองเริ่มจากผูบริหารระดับสูง เนื่องจากจริยธรรมของผูบริหารมี
ความสําคัญตอจริยธรรมของลูกนอง คุณภาพของผูบริหารและแนวทางในการพัฒนาตนเอง
เปนสิ่งท่ีสําคัญ เปนประการแรก ผูบริหารตองตระหนักวาตนน้ันอยูในฐานะที่สําคัญการไมมี
จริยธรรมของผูบ ริหารสามารถทําลายจรยิ ธรรมของผูใ ตบ ังคบั บัญชาได

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๓๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๑๐ ๑. ปญหาการปลูกฝงคุณธรรมและจริยธรรมในองคการ พระเมธีธรรมาภรณ
กลา ววา รปู แบบเปน สิ่งที่สําคัญ โดยเฉพาะคณุ ธรรมและจริยธรรมนั้นไมใชก ารพูดแตปาแต
291

ตองทําใหเปนตัวอยางดวย และในบางครั้งแบบอยางที่ดีในอาชีพก็หาไดยาก เชนแบบอยาง
ของการเปนนักบริหารท่ีดี ครูท่ีดี หรือนายแพทยที่ดี เปนตน การสรางรูปแบบที่ดีใหปฏิบัติได
และทําไดอยางชัดเจนตองการตัวแบบท่ีทําใหเกิดความรูสึกวาเปนตัวแบบที่ดี เชน การมี
อาจารยที่ปรึกษาที่ดี ดูแล เอาใจใสก็จะเปนผลสะทอนกลับใหผูนน้ั ทําตามแบบอยางเนื่องจาก
ไดร ับการปลกู ฝงดว ยประสบการณจ ริง ในทํานองเดียวกนั การเลียนแบบพฤติกรรมก็จะเกดิ ข้ึน
ในองคองคการไดถาในองคการน้ันมีผูบังคับบัญชาที่ขาดจริยธรรมในการบริหารกิจการ และ
ขาดจรยิ ธรรมในการบรหิ ารทรัพยากร ลูกนอ งจะเลยี นแบบโดยใหเ หตผุ ลวาทําตามผนู ํา

๒. ปญหาภาวะความเครียดในองคการ ปญหาความเครียดมีผลตอพฤติกรรมของ
บคุ คล และมักจะกอใหเกิดปญหาดานคุณธรรมและจริยธรรม ความเครียดมักเปนสาเหตุสําคัญที่
ทําใหการทํางานไดผลไมเต็มประสิทธิภาพ เน่ืองจากมีสภาพจิตใจท่ีวิตกกังวลและมีอารมณ
หงุดหงิด แสดงออกดวยความรูสกึ ไมมีความสุขในการทํางาน ความเครยี ดเปนผลทําใหสุขภาพจิต
เสื่อม ผูบริหารที่มีสุขภาพจิตเส่ือม จะแสดงพฤติกรรมที่บงช้ีอาการความผิดปกติไดตลอดเวลา
เชน อาละวาด ดาทอ กอความไมสงบ เปนตน ทําใหขาดความเช่ือในอํานาจตนเอง ไมกลา
ตัดสินใจ ครูที่มีความเครียดก็จะไมมีสมาธิในการจัดการเรียนการสอน นอกจากน้ียังพบวา
ความเครียดของครูมีผลกระทบไปยังนักเรียนทําใหนักเรียนมีความเครียดดวยเชนกัน นอกจากน้ี
ยังพบวาครทู ม่ี ปี ญ หาดา นความเครยี ดมักจะลงโทษนกั เรียนดวยการทํารายรา งกายอยางหนกั

๓. ปญหาท่ีเกิดจากการอบรมดั้งเดิม การอบรมเล้ียงดูเร่ิมตนเม่ือมนุษยอยูในวัย
ทารก การกลอมเกลาส่ังสอนในส่ิงท่ีถูก ผิด ทําใหมนุษยมีพัฒนาการดานจริยธรรมเพ่ิมข้ึนเปน
ลําดับข้ันตามวัย จากผลการอบรมเล้ียงดูและการอบรมสั่งสอนจากสังคมประกิตทําใหรูจักหนาที่
ความรับผิดชอบและการรูจักตนเอง รูจักมารยาททางสังคมและใหเกียรติผูอื่น การอบรมเล้ียงดู
จะทาํ ใหบ ุคคลมจี ิตสํานึกดานคุณธรรมจรยิ ธรรม

๑๐ พระเมธีธรรมาภรณ, รูปแบบการปลุกฝงคุณธรรมและอาชีพของคนไทยสมัยกอนกับ
สภาพปจจุบัน, อางใน ไพฑูรย สินลารัตน, ความรูคูคุณธรรม รวมบทความคุณธรรม จริยธรรมและ
การศกึ ษา, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพมิ พจุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๔), หนา ๑๐๓-๑๑๗.

๓๓๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

โฮแกน (Hogan)292๑๑ เชอื่ วา ปจ จยั ในดา นของการเปนคนดีมหี ลายประการ คอื
๑) การวางกรอบในการอบรมเล้ียงดู เปนปจจัยที่ทําใหเด็กระวังตนภายใตกรอบของ
สังคมและกฎเกณฑของพอแมในการประพฤติตนเปนคนดี
๒) การตัดสินจริยธรรม การเรียนรูที่จะคิดอยางมีเหตุผลเกี่ยวกับจริยธรรมประจําใจ
ของตนเอง
๓) ความรูสึกดานจริยธรรม เปนสิ่งท่ีเกิดข้ึนภายในจิตของบุคคลท่ีจะมีระดับในการ
รสู ึกผิด หรอื ละอายในส่งิ ทค่ี วรทําหรือไมควรทาํ
๔) ความรูสึกเห็นใจ เปนความตระหนักในความรูสึกถึงในความตองการความ
ชว ยเหลอื ของผูอนื่ ทท่ี ําใหเ ขาไปหาและใหค วามชวยเหลือ
๕) ความเชื่อม่ันและความรู รูลําดับข้ันในการเขาไปมีสวนรวมในการชวยเหลือผูอื่น
และเชือ่ วา มคี วามสามารถในการชวยเหลือได
ลักษณะนิสัยของคนไทยบางอยางอาจกีดก้ันการพัฒนาการดานจริยธรรม เชน การ
แสดงความสัมพันธใกลชิดระดับบุคคลคอนขางจะสูง ทําใหกาวกายในเร่ืองสวนตัวของบุคคลมาก
เกินขอบเขต ซึ่งนําไปสูการกลาวโทษและนินทาวารายกัน การไมไวหนากัน เปนตน การปลูกฝง
จริยธรรมก็เพ่ือทําใหบุคคลมีจิตสํานึกในการปฏิบัติตนที่ดี เคารพซ่ึงกันและกัน เคารพ
ผบู ังคับบัญชา ในทํานองเดียวกันก็เพื่อใหเปนนักบริหารท่ีเคารพในเสรีภาพ เคารพในกฎระเบียบ
มที ศั นคติทด่ี ตี อ ผใู ตบังคับบัญชา และเปน การสรา งนักบรหิ ารที่มคี ุณธรรมและจริยธรรม

๑๑.๑๑ แนวทางและวธิ ีการปลกู ฝง จรยิ ธรรม

คุณธรรมจริยธรรมเกิดข้ึนมาพรอม ๆ กับการพัฒนาการดานสติปญญาและการอบรม
กลอมเกลาใหรจู ักผิดชอบชั่วดีของสังคม คุณธรรมจรยิ ธรรมจึงเปนพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู
ท้ังในระบบนอกโรงเรยี นและในโรงเรียน การศึกษาคือการพัฒนาคุณภาพชีวิต ทาํ ใหชีวติ มีคุณคา

๑๑ Hogan, 1973, cited in Tucker-Ladd, 1996 - 2000), ทฤษฎีของโฮแกน, [ออนไลน],
แหลงที่มา: https://hq.prd.go.th/ethics/ ewt_news.php?nid=57&filename=index [๒๕ มกราคม
๖๑].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๓๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

และกํากับใหตนเองเปนผูท่ีมีพฤติกรรมอันพึงประสงคดวยการปลูกฝงพ้ืนฐานดานจริยธรรมใน
ดา นตาง ๆ กระบวนการปลูกฝง ดงั ท่ี ไดว างกรอบกระบวนการสังคมประกิต293๑๒

๑. การศึกษาเพื่อการปลูกฝงจริยธรรม การศึกษาเปนการใหความรูในเร่ืองจริยธรรม
การใหการศึกษา รวมถึงการอบรมบมนิสัย ใหเรียนรูสิ่งท่ีถูกผิด และการตักเตือนใหเกิดความ
สํานึกในความถูกตองและความผดิ

๑) การปลูกฝงพื้นฐานดานวิชาการ การเรียนการสอน การศึกษาของไทยมีความ
เกี่ยวของกับศาสนาอยางเปนเนื้อเดียวกัน ดังนั้นจะเห็นไดวา หลักสูตรตาง ๆ ที่นํามาใชจะมี
ลักษณะแนวทางทเี่ ปนไปในทางเดยี วกันกบั พุทธปรัชญา

๒) การปลูกฝงพ้ืนฐานดานชีวิตและสังคม การปลูกฝงคุณธรรมและจริยธรรมใน
การดํารงชีวิตทางดานสังคมก็จะนําพระธรรมท่ีเปนคําส่ังสอนของพระพุทธเจามาเปนหลักในการ
คิดและการแกปญหาในเชิงคุณธรรมจริยธรรม การอยูรวมกับผูอื่นอยางมีความสุขภายใต
กฎเกณฑข องสังคมและจิตสํานึกทดี่ ตี อตนเองและผูอ่ืน

๓) การปลูกฝงพื้นฐานดานจิตวิทยา เปนพ้ืนฐานที่เกิดขึ้นจากการเรียนรูดวยการ
คิด การหย่ังเห็น การคิดอยางมีวิจารณญาณ มีการไตรตรองจนเกิดความเขาใจ จนเกิดเปน
จิตสํานึก การศึกษาจงึ ตองมุงอบรมใหบคุ คลคดิ เปน ทาํ เปน และแกป ญหาเปน ซงึ่ มคี วามมุงหมาย
ปลายทาง คือใหคิดดี ทําดีและแกปญหาไดดี การศึกษาจิตวิทยาทําใหเขาใจธรรมชาติความ
ตองการของมนุษยเพ่ือใหเขาใจตนเองและผูอื่นดวย การสรางแรงจูงใจตนเองเพื่อใหสามารถ
พัฒนาไปสูความดงี ามได

เน่ืองจากจริยธรรมคุณธรรมเปนส่ิงที่เกิดขึ้นจากการไดรับประสบการณและจากการ
อบรมสั่งสอน ช้ีแนะใหม องเหน็ ความผิด ชอบ ชั่ว ดี บุคคลมักจะไดร ับการอบรมเล้ียงดูจากกลุมที่
เปนตัวแทนทางสังคมที่ทาํ หนาท่ี รับผิดชอบในการอบรมเล้ียงดใู หบ ุคคลในสังคมเปน ผูท ่ีตระหนัก
รูและมีพฤติกรรมท่ีกลาวไดวา เปนผูมีจริยธรรมคุณธรรม คือ ครอบครัว โรงเรียน เพื่อน
ส่ือสารมวลชน และศาสนา บุคคลในกลุมสังคมเหลานี้ตองพยายามคนหาวิธีการเพ่ือพัฒนาและ
ปลูกฝง จรยิ ธรรมคณุ ธรรม

๑๒ ประภาศรี สีหอําไพ, พื้นฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม, (กรุงเทพมหานคร:
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๒๔๑.

๓๓๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๑ จรรยาบรรณวิชาชีพคุรุสภาสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๒. การพัฒนาจริยธรรมคุณธรรมดวยการปลูกฝงคานิยม การปลูกฝงคานิยม เปน
วิธีการปลูกฝงท่ีเร่ิมตนดวยกระบวนการในขั้นพื้นฐาน294๑๓ ไดเสนอแนะวิธีการปลูกฝงจริยธรรม
คุณธรรมไวห ลายประการ เชน

๑) กาํ หนดพฤติกรรมทพี่ ึงปรารถนาตามคุณธรรมจริยธรรมอยางสอดคลองกัน
๒) เสนอตัวอยางพฤติกรรมทพี่ ึงปรารถนา พรอ มท้ังแสดงใหเ หน็ ผลดผี ลเสีย
๓) ประเมนิ พฤติกรรมท่ีสอดคลอ งและไมสอดคลองกบั คุณธรรมและจริยธรรมโดย
ใชเ กณฑผ ลของพฤติกรรมตอตนเอง หมูคณะและสงั คม
๔) แลกเปลี่ยนและวิจารณการประเมินในกลุม
๕) ฝกปฏบิ ตั ิใหบคุ คลกระทําดวยใจสมคั รและใหประเมินผลสําเร็จดวยตนเอง
๖) ย้ําใหบุคคลรับเอาพฤติกรรมท่ีสอดคลองกับจริยธรรมและคุณธรรมโดยให
นํามาเปนสวนหน่ึงของตน
๗) การปฏิบัติอยางตอเนื่องและการชักชวนใหผูอื่นประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่
เหมาะสมกับจรยิ ธรรมและคุณธรรม
๘) พัฒนาคานิยมจากระดับญาติพี่นอง ไปสูหมูคณะและสังคม เชน เร่ิมตนจาก
ความกตญั ู ความเสยี สละ ความสามคั คใี นหมูพีน่ อ ง หมคู ณะ และสงั คม ไปจนถึงประเทศชาติ
๙) จัดกิจกรรมเสริม เชน กิจกรรมรณรงค นิทรรศการ การประชุม สัมมา การ
อภิปราย การศึกษากรณี การจัดงานประเพณี เปนตน
๓. การพัฒนาจริยธรรมคุณธรรมดวยการใชสติปญญา มนุษยเกิดมาพรอมดวย
สติปญญาท่ีติดตัวมาแตกําเนิดแมวาจะมีสติปญญาที่ไมเทากัน สติปญญาเปนเครื่องมือในการ
ดํารงชีวิตของมนุษย สามารถพัฒนาใหเพ่ิมพูนความสามารถได สติปญญา คือ ความฉลาด ผูท่ีมี
สติปญญาดีคือผูที่สามารถคิดแกไขปญหาไดดีเน่ืองจากเขาใจปญญาไดดี นอกจากนี้ยังเปนผูที่
สามารถปรับตัวไดอยางมีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาจริยธรรมคุณธรรมของนักบริหารน้ัน
เนื่องจากเปนผูท่ีมีสติปญญาอยูในเกณฑท่ีเหนือผูอ่ืน วิธีการพัฒนาดวยการใชสติปญญาจึงนาจะ

๑๓ เรื่องเดียวกนั , หนา ๒๔๒.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๓๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

กระทําไดอยางเปนผลดี วิธีการพัฒนาจริยธรรมและคุณธรรมดวยการใชสติปญญา295๑๔ เสนอแนะ
เชน

๑) กลุมสัมพันธ การสรางความเขาใจสมาชิกในแงมุมที่เปนเชิงบวกและการปรับ
พฤติกรรมความคิดของกลุม

๒) การสืบสวนสอบสวน เปนการใชวิธีซักถามเพ่ือใหไดคําตอบของผลของการ
กระทําที่นาํ ไปสคู วามสขุ หรือความทุกขระดับบุคคล ระดับกลุม และระดบั สังคม

๓) การแสดงบทบาทสมมติ เพ่ือใหเกิดแนวความคิดในการแกปญหาในเชิง
คุณธรรมและจริยธรรมรวมกัน

๔) การเลนเกมส เพ่ือนําการเลนเกมสมาสูหลักการของความคิดท่ีจะทําใหคูตอสู
แพซึ่งอาจเกดิ ผลกระทบท่ีไมพ ึงประสงคสะทอนกลบั มายังตนเอง

๕) การใชสื่อโสตทัศนอุปกรณ ใหดูตัวอยางภาพการแสดงพฤติกรรมเพ่ือนํามา
วิเคราะห

๖) การจัดคายจริยธรรม เพ่ือใหบุคคลทีประสบการณในการอยูรวมกับผูอ่ืน ใน
สถานการณทจ่ี ําเปน

การจัดกิจกรรมเพ่อื สรางเสริมปญญาเปนแนวทางท่ีทําใหไดมีโอกาสคิดในสถานการณ
ที่ตนเองเปนบุคคลภายนอกหรือผูสังเกตการณ เน่ืองจากบุคคลมักจะมองไมเห็นแนวทางเม่ือตก
อยูในสถานการณท่ีเขามามีสวนเกี่ยวของ การแกปญหาทางจริยธรรมจึงอาจมีสภาพคลายเสนผม
บังภูเขาได

๑๑.๑๒ สรุป

จากการศึกษาเอกสาร พบวาผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษาและ
ศึกษานิเทศก คือนักบริหารการศึกษาซ่ึงจะตองปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติตนตามท่ีคุรุสภา
ไดประกาศเปนขอบังคับวาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.
๒๕๔๘ สําหรับมาตรฐานการปฏิบัติตนนี้ เปนมาตรฐานท่ีเกี่ยวกับจรรยาบรรณของผูบริหารท่ีมี
ตอ ตนเอง ตอวิชาชพี และตอ ผรู บั บรกิ าร

๑๔ ปาเปรม, ยก ๑๔ พระราชดําริ สอน “จริยธรรม” มติชน, (๑๐ กุมภาพันธ ๒๕๔๙): ๑๑.
อางใน ประภาศรี สีหอําไพ, พ้ืนฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม, (กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓).

บรรณานกุ รม

๑. ภาษาไทย
ก. ขอ มูลปฐมภมู ิ

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, ๒๕๓๙.

ข. ขอมลู ทุติยภูมิ

(๑) หนังสือ:
กมล ฉายาวัฒนะ. บริหารคนและงานดว ยวิธกี ารของพระพุทธเจา. กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ัท

พิมพดีการพิมพ จาํ กัด, ๒๕๕๔.
กระทรวงศึกษาธิการ. การบริหารสถานศึกษาท่ีเปนนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร: องคการ

รบั สงสนิ คา และพสั ดุภัณฑ, ๒๕๔๖.
กระทรวงศึกษาธิการ. พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไขเพ่ิมเติม

ฉบับท่ี ๒ พ.ศ. ๒๕๔๕. กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการฯ, ๒๕๔๖.
เกรยี งศักดิ์ เจรญิ วงศศักดิ์. ตัวช้ีวัดธรรมาภิบาล. พิมพครง้ั ที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พคุรุ

สภาลาดพราว, ๒๕๔๔.
เกษม วัฒนชัย. ธรรมาภิบาลกับคอรัปช่ันในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทรปรินต้ิง

แอนดพับลิสซ่ิง, ๒๕๔๖.
เค.เอ็น. ชยติลเลเก. จริยศาสตรแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: สภาการศึกษามหามกุฏราช

วิทยาลยั , ๒๕๓๔.
จตุมงคล โสณกุล. ธรรมรฐั ภาคราชการ. กรงุ เทพมหานคร: วัฎจักร, ๒๕๔๑.
จําเริญรัตน เจือจันทร. จริยศาสตร: ทฤษฎีจริยธรรมสําหรับนักบริหารการศึกษา.

กรุงเทพมหานคร: โอเดยี นสโตร, ๒๕๔๘.
ชนะศักดิ์ ยุวบูรณ. กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการท่ีดี. ในการปกครองที่ดี Good

Governance. กรุงเทพมหานคร: บพธิ การพมิ พ, ๒๕๔๓.
ชาญชัย แสวงศักดิ์. กฎหมายการปกครองเกี่ยวกับการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ

วิญูชน, ๒๕๖๐.
ไชยวฒั น คํ้าชู. วารสารวงการครู. กรงุ เทพมหานคร: ฐานการพิมพ, ๒๕๔๗.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓๔๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ฑิตยา สุวรรณะชฏ. ประชาสังคมตําบล. กรุงเทพมหานคร: มิตรภาพการพิมพและสตูดิโอ,
๒๕๔๔.

ดวงเดือน พนั ธุมนาวิน. จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนา
พานิช, ๒๕๒๔.

ติน ปรัชญาพฤทธ์ิ. วิชาชีพนิยมของระบบราชการในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยหู ัว ววิ ฒั นาการและผลกระทบตอสังคมไทย. กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๖.

ธานินทร กรัยวิเชียร. คุณธรรมและจริยธรรมของผูบริหาร. พิมพครง้ั ท่ี ๓. กรุงเทพมหานคร: โรง
พมิ พช วนพิมพ, ๒๕๔๘.

ธีรยุทธ บุญมี. สังคมเขมแข็ง ธรรมรัฐแหงชาติ ยุทธศาสตรกูหายนะประเทศไทย.
กรงุ เทพมหานคร: สายธาร, ๒๕๔๑.

ธีระพร อุวรรณโณ. ทฤษฎีและการวัดเจตคติ. กรงุ เทพมหานคร: คณะครุศาสตร จฬุ าลงกรณ
มหาวทิ ยาลยั , ๒๕๓๕.

นงลักษณ ยุทธสุทธิพงศ. สภาพการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในเขต
ตรวจราชการท่ี ๑๓. นครราชสีมา: สาํ นักผตู รวจราชการประจาํ เขตตรวจราชการ
ที่ ๘, ๒๕๔๘.

นฤมล ทบั จมุ พล. แนวคิดและวาทกรรมวา ดวย “ธรรมรัฐแหงชาติ”. ในการจดั การปกครอง:
๕๐ ป รฐั ศาสตรจ ุฬาฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เนื่องในวาระ
ครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร:
คณะรัฐประศาสนศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย, ๒๕๔๑

นีออน พิณประดิษฐ. ตัวบงช้ีทางจิตสังคมของพฤติกรรมการทํางานในขาราชการตํารวจ
สังกัดตํารวจภูธรภาค ๔. กรงุ เทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แหงชาติ,
๒๕๔๕.

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ. การสรางธรรมาภิบาล Good Governance ในสังคมไทย.
กรงุ เทพมหานคร: วิญชู น, ๒๕๔๒.

บญุ มี แทน แกว . จริยธรรมกับชวี ติ . พมิ พครง้ั ที่ ๖. กรงุ เทพมหานคร: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๑.
ประภาศรี สีหอําไพ. พ้ืนฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร:

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๓.


Click to View FlipBook Version