The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Keywords: คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

๔๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

๒. ความใฝธรรม มนุษยมีธรรมชาติ ของการ แสวงหาความถูกตองเปนธรรมหรือ
ความดีงามต้ังแตวัยทารก คุณสมบัติน้ีทําใหบุคคลนิยมคนดี ชอบสังคมท่ีมีคุณธรรมจริยธรรม
ตองการทจ่ี ะพัฒนาตนเองใหเ ปนคนดี

๓. ความรูจักตนเองของบุคคลนั้น ความรูจักตนเองของบุคคล คือ สรางความสามารถ
ในการพิจารณาใหรูอิทธิพลของความดีและความไมดีของตนใหชัดเจน ซ่ึงจะชวยใหบุคคล
สามารถเสริมสรางความดีของตนใหมีพลังเขมแข็ง ในลักษณะท่ีตนเองและสังคมยอมรับได
ความรูจกั ตนเองน้ีจะทําใหบุคคลมีความม่ันใจ มีพลังและพรอมที่จะขจัดความไมดีของตนและ
พฒั นาตนเองอยางถกู ตอ งดีขน้ึ

วิถที างพฒั นาจรยิ ธรรม
๑. การศึกษาเรียนรู กระทาํ ไดหลายวธิ ี ดงั นี้

๑.๑ การศึกษาเรียนรูดวยตนเอง ดวยการหาความ รูจากการอานหนังสือ
เก่ียวกับปรัชญาศาสนา วรรณคดีท่ีมีคุณคา หนังสือเกี่ยวกับจริยธรรมท่ัวไปและ จริยธรรม
วชิ าชีพ

๑.๒ การเขารวมประชุมสัมมนา เพื่อแลกเปล่ียนความรูความคิดเห็นและ
ประสบการณเกี่ยวกับคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และการคบหาบัณฑติ ผูใ สใ จดา น จรยิ ธรรม

๑.๓ การเรียนรูจากประสบการณชีวิตและจากประสบการณในสถานท่ี
ปฏิบัติงานประสบการณจริงเปนโอกาสอันประเสริฐในการเรียนรูจริยธรรมแหงชีวิต ท่ีชวยให
ผูเรียนเรียนรูไดอยางลึกซ้ึงทั้งดานเจตคติและทักษะการแกปญหาเชิง จริยธรรม อยางไรก็ตาม
ข้ึนอยูกับความพรอมของบุคคล ผูมีความพรอมนอ ยอาจจะไมไดประโยชนจากการเรียนรูอันมี
คา นเี้ ลย

๒. การวิเคราะหตนเอง บุคคลผูมีความพรอมจะพัฒนามีความตั้งใจและเห็น
ความสําคัญของการวิเคราะหตนเองเพื่อทําความรูจักในตัวตนเอง ดวยการพิจารณาเกี่ยวกับ
ความรูสึกนึกคิดและพฤติกรรมการแสดงออกของตนเอง จะชวยใหบุคคลตระหนักรู
คุณลกั ษณะของตนเอง รูจ ดุ ดจี ุดดอยของตน รูวา ควรคงลกั ษณะใดไว

๓. การฝก ตน เปนวธิ ีการพัฒนาดา น คุณธรรมจรยิ ธรรมดวย ตนเองขั้นสูงสุด เพราะ
เปนการพัฒนาความสามารถของบุคคล ในการ ควบคุมการประพฤติปฏิบัติของตนใหอยูใน
กรอบของพฤตกิ รรมทพี่ ึงปรารถนาของสงั คม ทั้งในสภาพการณป กติและเม่ือเผชิญปญหาหรือ
ขัดแยง

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๔๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

การฝกตนเปนวิธีการพัฒนาดานคุณธรรม จริยธรรมดวยตนเองขั้นสูงสุด เพราะ
เปนการพัฒนาความสามารถของบุคคล ในการควบคุมการประพฤติปฏิบัติของตนใหอยูใน
กรอบของพฤติกรรมท่ีพึงปรารถนาของสังคม ทั้งในสภาพการณปกติและเม่ือเผชิญปญหาหรือ
ขดั แยง

๓.๑ การฝก วินยั ข้ันพื้นฐาน เชน ความขยันหมั่นเพยี ร การพงึ่ ตนเอง ความตรง
ตอเวลา ความรับผิดชอบ การรูจักประหยัดและออม ความซื่อสัตย ความมี สัมมาคารวะ
ความรักชาติฯ

๓.๒ การรักษาศีลตามความเชื่อในศาสนาของตน ศีลเปนตัวกาํ หนดทีจ่ ะทําให
งดเวนในการท่ีจะกระทําชั่วรายใด ๆ อยูในจิตใจ สงผลใหบุคคลมีพลังจิตท่ีเขมแข็งรูเทาทัน
ความคิดสามารถควบคมุ ตนได

๓.๓ การทําสมาธิ เปนการฝกใหเกิดการตั้งม่ันของจิตใจทําใหเกิดภาวะมี
อารมณหนึ่งเดียวของกุศลจิต เปนจิตใจที่สงบผองใสบริสุทธ์ิเปนจิตท่ีเขมแข็ง ม่ันคง แนวแน
ทําใหเกิดปญญาสามารถพิจารณาเหน็ ทกุ อยางตรงสภาพความเปน จรงิ

๓.๔ ฝกการเปนผใู ห เชน การรูจ กั ใหอ ภยั รูจักแบงปนความรู ความดีความชอบ
บริจาคเพื่อสาธารณะประโยชน อุทิศแรงกายแรงใจชวยงานสาธารณะประโยชนโดยไมหวัง
ผลตอบแทนใด ๆ

สรุปไดวา การพัฒนาจริยธรรมดวยวิธีพัฒนาตนเองตามขั้นตอนดังกลาว เปนธรรม
ภาระท่ีบุคคลสามารถปฏิบัติไดควบคูกับการดําเนินชีวิตประจําวัน แตมิใชเปนการกระทําใน
ลักษณะเสร็จส้ิน ตองกระทําอยางตอเนื่องจนเปนนิสัย เพราะจิตใจของมนุษยเปลี่ยนแปลงได
ตลอดเวลา เชน กระแสสังคมท่ีเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา

๒.๕.๓ ทฤษฎีจริยธรรมตามแนวพทุ ธศาสตรข องพระเทวินทร เทวินโท
พระเทวินทร เทวินโท78๒๕ กลาววา ทฤษฎีจริยธรรมตามแนวพุทธศาสตรน้ีเรียกวา
ทฤษฎีพุทธจริยศาสตรซ่ึงเปนสัจจทฤษฎีแหงธรรม โดยประกอบดวยเหตุผลและผล เปน
การศึกษาธรรมที่มีความเปนธรรมชาติซึ่งหมายถึงส่ิงท่ีเปนจริง การศึกษาดานทฤษฎีทาง จริย
ศาสตรนี้เปนการศึกษาดวยการสังเกต ทดลองดวยการปฏิบัติจริงและนําผลมาเปนองคความรู

๒๕ พระเทวินทร เทวินโท, ทฤษฎีจริยธรรมตามแนวพุทธศาสตร, [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
https://khopkhun.wordpress.com /2009/04/18/4 [๒๕๔๔] หนา ๓๔๖-๓๔๙.

๔๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

ของศาสตร ดังนั้น การศึกษาดานจริยศาสตรจึงเปนการศึกษาในเชิงวิทยาศาสตร จาก
องคประกอบในดาน ธรรมชาติของสสาร การรวมตัวและการแยกสลายออกจากกันจนไมมี
ตัวตนท่ีแนนอน คือ พระอภิธรรมปฎก ขอประพฤติปฏิบัติของมนุษยตอธรรมชาติที่จะทําให
สังคมมีความสงบสุขและวิธีการที่จะทําใหมนุษยหลุดพนจากความทุกขซ่ึงไดแก เกิด แก เจ็บ
ตาย คือ พระสุตตันตปฎก และขอหามไมใหมนุษยทํา ไดแก ศีล กฎ ระเบียบ คือ พระวินัย
ปฎ ก ทฤษฎีนไี้ ดกลา วถึง สจั ธรรมทเี่ ปนธรรมชาติของมนษุ ย ไว ๓ หลักธรรม คือ

หลักธรรมท่ี ๑ ไดแก อรูปธรรมและรูปธรรม ซึ่งอธิบายไดว า ธรรมชาตินั้นมีอยูส อง
สภาวะ สภาวะหน่ึง คือ สภาวะที่ยังไมรวมกันเปนธาตุ เปนสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่ง มีสภาวะ
เปนกลาง เปนอยอู ยางอัตตพิสัย ไมม ีปฏิกิรยิ าไมพลังในตวั เอง และสภาวะสอง คือ สภาวะของ
ธรรมชาติที่เปนอัตตพิสัยแลว ไดรวมตัวกันเปนปรพิสัย คือ เปนธาตุ เปนสารเคมีตาง ๆ จนมี
ปฏิกริ ยิ ามพี ลังงานอยูในตวั เอง

หลักธรรมท่ี ๒ ไดแก อสังขตธรรมและสังขตธรรม อธิบายไดวา ธรรมชาติท่ียังไมมี
ปจจัย ยังไมธาตุ ยังไมมีสารเคมีใด ๆ มาปรุงแตง ใหเปนสังขาร ใหเปนส่ิงท่ีมีชีวิตใดชีวิตหนึ่ง
ยังอยูในสภาพท่ีเปนอากาศ เปนธาตุท่ีบริสุทธิ์อยู ซ่ึงในอีกธรรมชาติหนึ่งคือธรรมชาติท่ีมีการ
ปรุงแตงของปจจัยตาง ๆ ธาตุชนิดตาง ๆ จนรวมกันเปนพืชเปนสัตว เปนมนุษยเปนสังขาร มี
ชีวติ และจิตใจ มีวิญญาณ เปน สิ่งมชี ีวิตท่เี ปน ไปตามปกตวิ สิ ยั ของธรรมชาติท้งั ทด่ี ีและไมดี

หลักธรรมท่ี ๓ ไดแก โลกิยธรรมและโลกุตตรธรรม อธิบายไดวา ธรรมที่ทําให
มนุษย สตั ว พืช ตองเปนไปตามโลกธรรม มีการเวียนวายตายเกิด มีความไมเทีย่ ง มีความทุกข
ความสุขตามปกติวิสัยไมมีท่ีส้ินสุด มีความเปนอนัตตา และตกอยูใตอํานาจการครอบงําของ
ธรรมชาติท่ีเลวซ่ึงเปนสภาวะหนง่ึ ของธรรมชาติ ในอกี ซีกหนง่ึ ของธรรมในหลักนี้ คอื ธรรมท่ีทํา
ใหมนุษยและสัตวไดพนจากสภาวะปกติของโลกธรรมและโลกิยธรรม ไมมีการเวียนวายตาย
เกิด เมื่อบรรลุถึงสภาวะสูงสุดของ โลกุตตรธรรม ก็จะไมตกอยูใตอํานาจการครอบงําของ
ธรรมชาตทิ เ่ี ลวท่ีดาํ รงอยเู หนอื ความชั่วรายทง้ั ปวง

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๔๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ทฤษฎีจริยศาสตรเชงิ ศาสนา79๒๖
ทฤษฎีจริยศาสตรเชิงศาสนา เปนทฤษฎีท่ีใชกุศโลบายเพ่ือใหเกิดความศรัทธาตอ
พระผูเปนศาสดาซึ่งเปนตัวนําที่ทําใหมีความเครงครัดในการปฏิบัติตนตามศาสนกิจและตามคํา
สอนของพระธรรมในศาสนานนั้ ๆ ซึ่งใหหลักเพ่ือนาํ ไปประกอบคุณงามความดี ชวยเหลอื เกือ้ กูล
ผอู ื่นละเวนความชวั่ เปน ตน
ทฤษฎีจรยิ ธรรมเชิงจติ วิทยา80๒๗
ทฤษฎีจริยธรรมเชิงจิตวิทยา นักจิตวิทยาศึกษาพฤติกรรมของมนุษยทั้งท่ีเปน
พฤติกรรมภายนอกท่ีมนุษยแสดงออกและพฤติกรรมภายในซ่ึงเปนพฤติกรรมทางจิต ทฤษฎี
จริยธรรมเชิงจิตวทิ ยาจึงมุงเนนที่พฤติกรรมทางจิตของมนุษยท่ีสง ผลใหมนุษยแสดงพฤติกรรม
เพ่ือกอ ใหเ กดิ ความสมดลุ ของของกายและจติ
๒.๕.๔ ความแตกตา งของหลกั คุณธรรมจรยิ ธรรมระหวางตะวนั ตก–ตะวันออก

๒.๕.๔.๑ แนวคดิ ของปรัชญาตะวนั ตกและปรชั ญาตะวนั ออก81๒๘
ทฤษฏีความรูตามแนวปรัชญาตะวันตกมุงการศึกษาหาความจริงเพื่อหาคําตอบ
ใหกับปญหาท่ีสงสัย อยางไรก็ตามมีผูวิเคราะหวาปรัชญาตะวันตกไมไดเนนการปฏิบัติตนเพ่ือ
เขาถึงความจริง หรือการนําคําตอบที่ไดรับมาสูการปฏิบัติ ตองการเพียงเพื่อตอบสนองความ
สงสัยในประเด็นปญหาเกี่ยวกับความเปนจริงเทาน้ัน นอกจากนี้ยังเรียนรูสิ่งตาง ๆ แบบแยก
สว น ไมมกี ารนําศาสตรความรูใ นดา นตา ง ๆ มาเช่อื มโยงกัน
ทฤษฏีการเรยี นรูตามหลกั ปรัชญาตะวนั ออกเปนการเรียนรูเพือ่ ใหบรรลุถงึ ความ
เปน จริง ลักษณะแนวคิดของปรัชญาตะวนั ออกนี้มงุ ศึกษาปญหาเก่ียวกบั ความเปนจรงิ และรูจริง
ปรัชญาตะวันออกมักจะเก่ียวของกับศีลธรรมจริยธรรมเนนการพัฒนาจิตใจ มุงการศึกษาเรียนรู

๒๖ กญั ญา วรี ยวรรธน, “การศกึ ษาสภาพปญหา การเรียน การสอน และการวทิ ยานพิ นธ สาขา
การบริหารการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของสถาบันอดุ มศึกษาไทย”, วิทยานพิ นธครุศาสตรอุตสาหกรรม
มหาบณั ฑติ , การบรหิ ารอาชวี ศึกษา, (บณั ฑติ วิทยาลัย: สถาบนั อดุ มศกึ ษาไทย, ๒๕๓๖).

๒๗ บานจอมยุทธ, ทฤษฏีทางจิตวิทยาท่ีเกี่ยวของกับจริยธรรม, [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
https://www. baanjomyut. comlibraryethics03 .htm, [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘].

๒๘ บานจอมยุทธ, ลักษณะทั่วไปของปรัชญาตะวันตก – ปรัชญาตะวันออก, [ออนไลน],
แหลง ทมี่ า: https://www. baanjomyut. comlibraryethics03 .htm, [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘].

๔๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

อยางลึกซ้ึงเพื่อตอบขอสงสัย และนาํ ความรูที่ไดลงสูการปฏิบัติอยางยั่งยืนใหบุคคลสามารถใช
ชวี ิตไดอยางมีความสุข ปรัชญาตะวันออกจงึ เปนปรัชญาท่ีไมไดเนนความรูเพียงอยางเดียว แต
เนนใหลงมือทํา ทําใหรูจริงและแจมแจงในสิ่งท่ีสงสัยและเหนือสิ่งใดคือการตระหนักถึงความ
เปนตัวตนของตนเอง (self realization) หรือการคน พบตัวเอง

๒.๕.๔.๒ เปรียบเทียบปรชั ญาตะวนั ออกและตะวันตก
หากจะเปรียบเทียบปรัชญาตะวันออกกับตะวันตกจะพบวาปรัชญา ตะวันออก
จะมีลักษณะเปนปรัชญาที่เก่ียวกับชีวิต ที่เนนใหรูเพื่อมุงสูการปฏิบัติ ในขณะที่ ปรัชญา
ตะวันตก มีลักษณะรูเพ่ือรู ปรัชญาตะวันออกโดยเฉพาะปรัชญาอินเดียมีลักษณะเปนปรัชญา
เชิงศาสนา ซึ่งปรัชญาและศาสนานี้มีบอเกิดเดียวกัน ปรัชญาตะวันตก จะแยกปรัชญากับ
ศาสนาออกจากกันอยางสิ้นเชิง สวนปรัชญาตะวันออก พยายามเนนใหเ ห็นวา วาการเกดิ มาใน
โลกก็เพื่อศึกษาเรียนรูใหบรรลุถึงความจริงที่ถองแท เชนปรัชญาอินเดีย เนนการพัฒนาชีวิต
เพ่ือสงเสริมใหเกิดความหลุดพนจากโลกปจจุบัน ปรัชญาตะวันตกจะมองโลกจากท่ีเห็นและ
เปนอยู และมองโลกในแงบวก เนนการดํารงชีวิตอยูใหเปนสุขในปจจุบัน นอกจากน้ีปรัชญา
ตะวันออกยังเนนการดําเนินชวี ิตใหอยูรว มกับส่ิงแวดลอ มตามธรรมชาติอยางมีความสอดคลอง
กลมกลืนกับธรรมชาติ ในขณะท่ปี รัชญาตะวันตกน้ัน เนน การเอาชนะธรรมชาติ โดยหาหนทาง
ทีจ่ ะแกไขธรรมชาตเิ พ่ือความสขุ ของมนุษยและสังคม เชน ปรัชญา จีน เนนรูความจริง เพ่ือนํา
สิ่งที่เรียนรูไปใชเปนเคร่ืองมือในการปฏิบัติ เพื่อใหเขาใจวิถีของธรรมชาติ และลวงรูความ
ตองการของมนุษย เพื่อใหเกิดความสอดประสานอยางกลมกลืนระหวางมนุษยกับธรรมชาติ
นอกจากน้ียังเนนความสัมพันธของมนุษยและศีลธรรม มองมนุษยในฐานะเปนสวนหน่ึงของ
จักรวาล มองทุกสิ่งโดยยึดหลักสภาวะอันกลมกลืนของสรรพส่ิง ปรัชญาตะวันออกจึงเปนการ
ผสานของอุดมคติกับความเปนจริง มีลักษณะเปนจริยศาสตรและอภิปรัชญาในตัว ในขณะท่ี
ปรัชญาตะวันตกเนน การแบงสวน เนน ความขัดแยงกันของสิ่งท่ีแตกตางกัน ดังน้ันผลที่ตามมา
คือ ความคิดจึงแตกแยกออกเปนหลายสวน และไมมีความกลมกลืนกันทางความคิด เนนการ
เรยี นรูเพอื่ ใหร ู ปรชั ญาตะวันตก จึงเปนการเรียนรเู ชิงวทิ ยาศาสตร

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๔๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๒.๕.๔.๓ ภาวะผูนาํ แบบตะวนั ตก82๒๙
๑. ภาวะผูนําแบบกําหนดทิศทาง (Directive leadership) ผูนําแบบ

กําหนดทิศทางน้ีถือวาเปนที่รูจักกันคอนขางแพรหลายในอเมริกา ผูนําตาม แนวคิดน้ีจะเนน
การบริหารโดยผบู ริหารเปนผูม อี าํ นาจในการส่ังการหรอื กําหนดทิศทางในการทาํ งาน

๒. ผนู าํ แบบมีสวนรวม (participative) ผูนําแบบมีสวนรวมเนนการทาํ งาน
เปน หมูคณะอยางใกลชดิ ซ่ึงเปน แนวปฏิบตั กิ ัน โดยท่ัวไปในยุโรปมากกวาอเมรกิ า บางแหงระบุ
ไวเ ปน กฎหมายเชนในยุโรปตอนเหนือโดยเฉพาะอยาง ยง่ิ ในประเทศเยอรมัน

๓. ผูนําแบบสรางพลังอํานาจ (Empowering) ผูนําแบบสรางพลังอํานาจ
เนนใหผูอยูใตบังคับบัญชามีพลังในการทํางาน บริษัทใหญๆใน อเมริกาหลายแหงไดจางผูนํา
ประเภทน้ี แกนของผูนําแบบสรางพลังอํานาจนี้คือการกระตุนให บุคคลากรในองคกรมีความ
กระตือรือรนในการทํางาน โดยยึดหลักวาผูนําไมอาจยิ่งใหญและไมมี คุณคาใด ๆเลยหากไม
สามารถสรา งพลงั ใหเกดิ ขน้ึ ในบรรดาสมาชกิ ขององคก ร

๔. ผูนําแบบใชบารมี (Charismatic) ผูนําแบบใชบารมีเปนผูนําท่ี
ผใู ตบังคับบัญชามักปฏบิ ัตติ ามมิใชดวยเหตุผลที่วาผูนาํ ประเภทนเี้ ปนผจู ดั การท่ีดี หรอื เปนผูที่
ประสบความสําเร็จในการทําธุรกิจ แตผูนําประเภทนี้เปนผูเปน เสมือนแมเหล็กดึงดูด มี
ลักษณะหรือคุณสมบัติที่โดดเดนและแตกตางจากบุคคลอ่ืน ๆ ในสังคม ความ โดดเดนนี้คือ
บารมที ม่ี าใหบ คุ คลอนื่ ยอมรับ

๕. ผูนําตามความนิยม (Celebrity (superstar) ผูนําตามความนิยมนี้
แตกตางจากผูนําที่กลาวมาทั้งหมด เพราะเปนผูนําท่ีไดมาจากการ มองผลกระทบจากปจจัย
ภายนอกเปนเกณฑ คณะกรรมการผูบริหารองคกรจะมองหาผูนําที่มี ชื่อเสียงเปนท่ีรูจักและ
เปน ท่ียอมรบั ในสงั คมระดับแนวหนา มาเปน ผนู าํ องคกร

๒๙ บานจอมยุทธ, ภาวะผูนําแบบตะวันตก, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: https://www.
baanjomyut. comlibraryethics03 .htm [๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๕๘].

๔๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๒ แนวคิด หลักการ ทฤษฎีคุณธรรมและจริยธรรม

๒.๕.๔.๔ ผูนาํ แบบตะวนั ออก83๓๐
ผูนําแบบตะวันออกเนนการบริหารแบบองครวมไมแยกสวนตามแนวปรัชญา
ตะวนั ออก ลักษณะท่ีสาํ คัญมองไดค ือการมองความสัมพันธของสรรพสิ่งทง้ั หลายซ่ึงไมสามารถ
แยกออกจากกนั ได ดังน้นั ผนู ําแบบตะวนั ออกจึงคํานงึ ถึงหลักดงั ตอ ไปน้ี

๑. วัฒนธรรม ผูนําแบบตะวันออกจะยึดถือวัฒนธรรมของตนเปนหลักใน
การบรหิ ารกลา วคือจะกา วเดนิ ตามวัฒนธรรมอนั ดีงามท่ีมีการประพฤตปิ ฏิบตั ิในสังคมนัน้ ๆ

๒. ความประพฤติ ผูนําแบบตะวันออกถือหลกั จริยธรรมในการบริหาร ผนู ํา
ท่ดี ีตองประพฤติตนดีไมขัดตอศีลธรรมอันดีงาม ประพฤตติ นตามกฎของบานเมือง มีความกลา
หาญและความเมตตากรณุ าใชห ลกั การประนีประนอมในการบริหาร

๓. ความซ่ือสัตยและจงรักภักดี ผูนําตามแบบตะวันออกจะยึดหลักอาวุโส
พรอ มทั้งเนนใหม คี วามซอ่ื สัตยจงรกั ภักดี ไมค ดโกงและเอาเปรียบบุคคลอ่นื เคารพบรรพบุรุษ

๒.๖ สรุป

จากแนวคดิ ปรัชญาตะวันตกที่ไดกลาวมาขางตน ถือเปนพื้นฐานแนวคิดท่ีสําคัญอัน
นํามาสูการเปล่ียนแปลงของแนวคิดจริยธรรมตะวันตกในชวงตอมาอยางมาก โดยสามารถ
จาํ แนกวิวฒั นาการของแนวคิดทางปรชั ญาทางดา นจรยิ ธรรมตะวนั ตกไดเปน ๔ ยุค คอื

๑) กรีกสมัยโบราณอยูในชวงเวลาประมาณ ๖๐๐ ปกอนคริสตกาล (ใกลเคียง
พระพุทธศาสนา เพราะพระพุทธศาสนาเกิดกอนศักราชประมาณ ๕๔๓ ป) ลักษณะแนวคิด
ของกรีกโบราณในชวงเร่ิมแรกมลี ักษณะเปนอภิปรัชญา

๒) แมวา ยุคปรัชญาสมัยกลางถือวา เปนยุคทองของศาสนาคริสต แตห ลกั ปรัชญาคํา
สอนของนักปรชั ญาชาวกรีกยังคงมีอิทธพิ ลอยูมาก

๓) ยุคปรัชญาสมัยใหมเปนยุคท่ีศาสนาคริสตเร่ิมหมดอิทธิพล ประชาชนเร่ิมให
ความสนใจกบั แนวคดิ ของศาสนาอื่น ๆ เพิม่ มากขึ้น

๔) ปรัชญาดานจริยธรรมรวมสมัยที่สําคัญไดแก สํานักปฏิฐานนิยมตรรกะวิทยา
Logical Positivism ซง่ึ เนน หลกั เหตุผล

๓๐ บานจอมยุทธ, ผนู าํ แบบตะวันออก, [ออนไลน] , แหลง ที่มา: https://www. baanjomyut.
comlibraryethics03 .htm, [๑๕ มถิ นุ ายน ๒๕๕๘].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๔๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

จากการศึกษาปรัชญาแนวคิดคุณธรรมจริยธรรมตะวันออกดังกลาว จะกลาวถึง
ปรัชญาของจีนซึ่งมีแนวคิดเนนที่การปฏิบัติ มีลักษณะเปน Ethical Philosophy ท่ีเนนดาน
ความคิด (Wisdom) การมี มโนธรรม และการปฏิบัติ เพราะฉะน้ันปรัชญาจีนจะเปนปรัชญา
ของการปฏบิ ัตจิ รงิ และสามารถนําไปประยุกตใหเ กิดประโยชนในการดําเนนิ ชวี ติ ไดอีกดวย

ผนู ําตามแนวคิดแบบตะวันตกและตะวันออกตรงขามกันอยางส้ินเชิงกลาวคือ ผูนํา
ตามแนวคิดแบบตะวันตกจะเนนการกระทําใหบรรลุผล การมีอํานาจ และวิสัยทัศน และ
บริหารแบบแยกสวนในขณะที่ทฤษฏีภาวะผูนําแบบตะวันออกจะมีการมองการทํางานแบบ
องครวมบูรณาการเอาเปาหมายเปนแนวทางในการกาวไปสูความสําเร็จ ผูนําแบบตะวันตก
เชน Plato และ Machivelli จะมองการเปนผูนําแบบเขาถึงความคิดโดยการพิจารณา
ใครครวญกอนท่ีจะลงมือปฏิบัติ ผูนําตองสามารถปรับตัวเองใหเขากับสถานการณท่ี
เปลี่ยนแปลงไปได และเรียนรูท่ีจะปรับทักษะของตนใหเขากับส่ิงแวดลอม แนวคิดภาวะผูนํา
แบบตะวันตกที่มองสภาพแวดลอมหรือสถานการณเปนหลักมองวาผูนําท่ีประสบความสําเร็จ
ในสถานการณหนึ่งอาจจะลมเหลวในอีกสถานการณหน่ึงได จึงกลาวไดวาไมมีผูนําแบบใดท่ีดี
ทสี่ ดุ นอกจากนีผ้ นู ําแบบตะวันตกยังมองสง่ิ ตาง ๆ แบบแยกสว น

โดยสรุปแลวผูนําแบบตะวันตกตั้งอยูบนพื้นฐานของจุดเนนหลัก ๕ ประการคือ
การกาํ หนดเปาหมาย ความสัมพันธแบบหน่ึงตอหนึ่ง ความเด็ดขาดอยางผูนํา ผลลพั ธในระยะ
ส้ัน การใชเหตุผล สวนผูนําแบบตะวันออกจะยึดเอาคานิยมทางสังคมเปนบรรทัดฐาน เนน
ระบบการทํางานที่ทําใหเกิดความราบรื่นประนีประนอม ทฤษฎีภาวะผูนําแบบตะวันตก
กําหนดวาผูนําตองมองใหชัดวาตัวแปรใดท่ีจะทําใหผูนําเปนผูนําที่ยิ่งใหญได ผูนําตองมีความ
กระตือรือรนและมีทักษะความสามารถท่ีจําเปนสําหรับผูนําเชนสติปญญา และทักษะทาง
สังคมและผูนํายอมแตกตางไปตามสถานการณ อยาสามารถปรับทิศทางการบริหารใหเขากับ
สภาพแวดลอมท้ังนี้ไมไดหมายความวาการยอมตามสภาพแวดลอมแตหมายถึงการพยายาม
หาทางปรับสภาพแวดลอม ซ่ึงแตกตางจากแนวคิดแบบตะวันออกที่หาวิธีการอยูกับ
สภาพแวดลอมน้ันโดยไมมกี ารเปลี่ยนสภาพแวดลอ ม

บทท่ี ๓

ความรเู บอ้ื งตน เกีย่ วกบั พุทธจรยิ ธรรม

พทุ ธจริยธรรม มีจดุ มุงหมายเพือ่ ใหบ คุ คลมชี ีวิตทีด่ ี ชวยเหลอื เก้ือกลู กัน สามารถอยู
รวมกันเปนสังคมไดเปนอยางดี มีความสุข และทําใหมีการดําเนินชีวิต การครองชีพอยาง
ประเสรฐิ เพราะฉะนั้นพุทธจรยิ ธรรมจึงเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตทีด่ ีของชาวพุทธ การจัด
พุทธจริยธรรมสามารถจัดไดดังน้ี พุทธจริยธรรม จึงเปนหลักการหรือแนวทางในการดําเนิน
ชีวิตที่ดี ประเสริฐ อันเปนวิธีการ หรือเครื่องมือในการสูจุดมุงหมายอันเปนประโยชนสูงสุด
เปนอุดมคติของชีวิต ครอบคลุมถึงเกณฑ ตัดสินวา การกระทําใดดีหรือไมดี ควรหรือไมควร
ดวยเหตุนี้พุทธจริยธรรมจึงมีลักษณะท่ีแตกตางจาก ทรรศนะของปรัชญาในสํานักอื่น ๆ คือ
พุทธจริยธรรมไมได

๓.๑ พทุ ธจรยิ ธรรม

คําวา "จริยธรรม" น้ันมีผูใหความหมายไวหลายทาน ซ่ึงสรุปไดดังน้ี คือ จริยธรรม
หมายถึง แนวทางในการประพฤติตนที่ดีงามเหมาะสม เพื่อใหสมาชิกในสังคมอยูรวมกันได
อยางสงบสุข เปนความหมายที่สอดคลองกับพระพุทธศาสนา ดังคําวา "ธมฺมสฺส จริยา
ธมมา วา อนเปตา จริยา ธมฺมจริยา" แปลวา "ความประพฤติที่เหมาะสม หรือความ
ประพฤติที่ไมปราศจากธรรม เรียกวา ธรรมจริยา" (มังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ฉบับบาลี)84๑ เมื่อ
กลาวในแงของพุทธศาสนา เรียกวา พุทธจริยธรรม ตามทรรศนะของพุทธศาสนา พุทธ
จริยธรรมน้ันนอกจากจะเปนหลักของการดาํ เนินชีวิต แลว ยังเปนวิธีการแกปญหาดวย ซึ่งมี
ท่ีมาดังน้ี คือ

ในสมัยพุทธกาลน้ัน ยังไมมีการสังคายนาหลักคําสอนของพระองค สิ่งท่ีพระองค
ทรงใชประกาศศาสนาในสมัยน้ัน ทรงใชอยู ๓ คํา คือ "พรหมจรรย" (พรฺหมจริย) "ธรรมวินัย"
(ธมฺมวจิ ย) และคาํ วา "นวังคสัตถสุ าสน"

๑ พระมหาธราวิชย ธราวิชฺโช, มังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ฉบับบาลี, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท
แอคทีฟ พรน้ิ ท จาํ กัด, ๒๕๓๖), หนา ๔๗.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๕๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๑. พรหมจรรย

คาํ วา "พรหมจรรย" นี้ เปน คําทีพ่ ระพทุ ธเจา ทรงใชเ ปน อดุ มการณในการประกาศใน
คร้ังท่ีสงสาวกไป ประกาศศาสนาครั้งแรกจํานวน ๖๑ รูป จุดประสงคเพื่อความประโยชนสุข
ของคนท่ัวไป ดงั ตวั อยา งที่พระพทุ ธเจา ใช คาํ วา พรหมจรรย คอื

จรถ ภกิ ขฺ เว จาริกํ พหุชนหิตาย พหุชนสขุ ายโลกานุกมฺปาย
อตฺถาย หิตาย สุขาย เทวมนุสฺสานํ มา เอเกน เทวฺ อคมิตฺถ
เทเสถ ภกิ ฺขเว ธมฺมํ อาทิกลฺยาณํ มชฺเฌกลยฺ าณํ ปรโิ ยสานกลยฺ าณํ
สาตฺถํ สพยฺ ชฺ นํ เกวลปรปิ ณุ ฺณํ ปรสิ ทุ ธฺ ํ พรฺ หมจรยิ ํ ปกาเสถ ฯ

มคี วามหมายวา

ภิกษุท้ังหลาย เธอทั้งหลายจงเท่ียวไปเพื่อประโยชนเกื้อกูลเพื่อความสุขแกคนเปน
จํานวนมาก เพื่ออนุเคราะหโลก เพื่อประโยชนเพื่อความสุข เพ่ือความสุขแกเทวดาและมนุษย
ท้ังหลาย ภิกษุท้ังหลายเธอทั้งหลายจงแสดงธรรมท่ีงามในเบ้ืองตน งามในทามกลาง
และงามในท่ีสุด จงประกาศพรหมจรรย พรอมท้ังอรรถะ พรอมท้ังพยัญชนะ อันบริสุทธิ์
บรบิ ูรณส นิ้ เชงิ ฯ (ท.ี ม.)85๒ และนอกจากนีย้ งั มีหลกั พทุ ธพจนท่แี สดงถงึ หลักจรยิ ธรรมอกี วา

อยเมว โข ภกิ ฺขุ อรโิ ย อฏฐ งฺคิโก มคฺโค พรฺ หฺมจริยํ ฯ

มคี วามหมายวา

ดูกอนภิกษุ มรรคอันประกอบดวยองค ๘ ประการ อันประเสริฐ น้ีแหละ คือ
พรหมจรรย ฯ๓ ดวยเหตุนี้ พรหมจรรย จึงไดช่ือวา เปนพุทธจริยธรรม เม่ือพิจารณาในแงนี้จะ
86
เห็นไดวา พุทธจริยธรรมนั้นกวางขวางมาก ในการดําเนินตามแนวทางน้ี นอกจากบุคคลจะ
สามารถดําเนินชีวิตจนบรรลุความดีอันสูงสุดแลว สังคมก็ดําเนินไปดวยความสงบสุขอัน
เนอื่ งมาจากการปฏบิ ัติของบุคคลในสังคมนนั้

๒ ที.ม. (ไทย) ๑๐/๕๒/๔๓.
๓ สํ.ม. (ไทย) ๑๙/๓๐/๗.

๕๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๓ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับพุทธจริยธรรม

๒. ธรรมวนิ ัย
คําวา "ธรรมวินยั " น้ี กอนท่ีพระพุทธเจาจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ไดทรงใชคําวา
"ธรรมวนิ ยั " คือ
โย โว อานนทฺ มยา ธมฺโม จ วินโย จ เทสโิ ต ปญฺ ตฺโตโส โว มมจเฺ ยน สตถฺ า ฯ
มีความหมายวา
ธรรมและวินัยอันใด ที่เราตถาคตแสดงไวแลว บัญญัติไวแลวเม่ือเราลวงไปแลว
ธรรมและวินัยนนั้ จะเปนศาสดาของเธอท้งั หลาย ฯ (สตุ ฺต.ม.)87๔
๓. นวังคสตั ถุสาสน หรือ สัตถสุ าสน ๙ ประการ คือ

๑) สุตตะ คําสอนประเภทรอ ยแกวลวน
๒) เคยยะ คําสอนที่เปนรอยแกวผสมกบั รอยกรอง อันไดแก พระสูตรท่ีมีคาถา
ทงั้ หมด โดยเฉพาะสคาถวรรคสงั ยตุ ตนิกาย
๓) เวยยากรณะ คําสอนประเภทท่ีเปนอรรถกถาธิบายโดยละเอียด เปนรอย
แกวลว น ๆ เชน อภธิ รรมปฎก พระสูตรท่ไี มม คี าถา และพระพุทธพจนอ่ืน ๆ ท่ีไมน ับเขา ในองค
๘ ขอทเี่ หลอื
๔) คาถา คําสอนประเภทรอยกรองลวน เชน ธรรมบท เถรคาถา เถรีคาถา และ
คาถาลวนในสตุ ตนิบาตที่ไมมีชื่อกํากับวา "สูตร"
๕) อุทาน คําสอนประเภทท่ีเปลงขึ้นจากแรงบันดาลใจของพระพุทธเจา และ
พระสาวก สวนมากจะเปนบทรอ ยกรอง
๖) อิติวุตตกะ คําสอนประเภทคําอางอิงที่ยกขอความท่ีพระพุทธเจาตรัสไวมา
อางเปน ตอน ๆ ไดแก พระสตู รสั้น ๆ
๗) ชาตกะ คําสอนประเภทนิทานชาดกหรือเร่ืองราวในชาติปางกอนของ
พระพุทธเจา ขณะท่ีเปน พระโพธสิ ัตวบาํ เพญ็ บารมอี ยู
๘) อัพภูตธรรม คําสอนประเภทเร่ืองอัศจรรยเกี่ยวกับพระพุทธเจาและพระ
สาวกท้ังหลาย
๙) เวทลั ละ คาํ สอนประเภทคาํ ถาม และคาํ ตอบ88๕

๔ ท.ี ม. (ไทย) ๑๐/๑๔๑/๑๓๘.
๕ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๒๗๘/๑๘๕.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๕๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๓.๒ ลกั ษณะพุทธจริยธรรม

ลักษณะและขอบเขตและเนื้อหาของพระพุทธจริยธรรมน้ันแบงไดออกเปน ๒ สวน
คอื

สวนท่ีเปนอภิปรัชญาที่กลาวถึงความจริงของจักรวาล ของโลกและสรรพส่ิงและ
มนุษย อาจกลาวไดวา พระพุทธศาสนาเปนศาสนาประเภทจิตนิยม (Idealism) ในแงที่วา
มนุษยมีองคประกอบทีส่ ําคญั ๒ สวนคือ กาย กับจิต และถือวาจิตเปนเร่อื งสาํ คัญดงั พุทธพจน
ทแี่ สดงไวห ลายแหงเปน ตนวา

ธรรมทั้งหลาย มีใจเปนหัวหนา มีใจประเสริฐท่ีสุด สําเร็จแลวแตใจ ถาบุคคลมีใจ
อันโทษประทุษรายแลว กลาวอยูก็ตาม ทําอยูก็ตาม ทุกขยอมไปตามบุคคลน้ัน เพราะ ทุจริต
๓ อยางนน้ั เหมอื นลอ หมนุ ไปตามรอยเทาโคผลู ากเกวียนไปอยู ฉะนน้ั ฯ๖
89

สวนท่ี ๒ คือเปนจริยศาสตรท่ีสอนใหมนุษยเขาใจถึงความหมายของชีวิต
พระพุทธศาสนาน้ันเปนศาสนาแหงเหตุผล และเปนศาสนาท่ีแสดงถึงหลักความจริงในชีวิต
ไมใชศาสนาที่สอนใหบุคคลหลงใหล เช่ือในสิ่งท่ีพิสูจนไมได พระพุทธศาสนาสอนใหเชื่อตาม
หลักเหตุผลที่ใครครวญดวยสติปญญาแลว จะเห็นไดจากหลักปฏิบัติในเร่ืองความเช่ือที่
พระพทุ ธเจา ตรัสไวใ นกาลามสูตร มี ๑๐ ประการ

๑. มา อนสุ สฺ เวน อยา ปลงใจเช่ือ ดว ยการฟง ตามกนั มา
๒. มา ปรมปฺ ราย อยา ปลงใจเชอ่ื ดวยการถอื สบื ๆกันมา
๓. มา อติ ิกิราย อยาปลงใจเช่อื ดว ยการเลาลอื
๔. มา ปฏกสมฺปทาเนน อยา ปลงใจเช่อื ดว ยการอา งตาํ รา หรือคัมภีร
๕. มา ตกฺกเหตุ อยา ปลงใจเชอื่ เพราะอาศยั ตรรกะ
๖. มา นยเหตุ อยา ปลงใจเชอ่ื เพราะการอนุมาน
๗. มา อาการปรวิ ิตกฺเกน อยา ปลงใจเชอ่ื ดวยการตรกึ ตรองตามเหตผุ ล
๘. มา ทิฏฐ ินชิ ฌฺ านกฺขนตฺ ิยา อยาปลงใจเชอ่ื เพราะเขากับทฤษฎที ่ีพินิจแลว
๙. มา ภพฺพรปู ตาย อยา ปลงใจเชอ่ื เพราะมองเหน็ รปู ลกั ษณนา จะเปน ไปได

๖ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๑๑/๑๑.

๕๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๓ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับพุทธจริยธรรม

๑๐. มา สมโณ โน ครูติ อยา ปลงใจเช่ือ เพราะนับถือวา สมณะรูปนี้เปนครูอาจารย
ของเรา90๗

ในแง ญาณวิทยา พระพุทธศาสนาแบงความรูออกเปนหลายระดับ เชน วิญญาณ
ความรทู างประสาทสัมผสั สัญญา ความจํา ปญญา ความรอบรู และไดแ สดงบอเกิดของความรู
ไว ๓ ทางดวยกนั 91๘ คือ

๑. จนิ ตามยปญ ญา ปญญาเกดิ แตการคดิ การพจิ ารณาหาเหตผุ ล
๒. สตุ มยปญญา ปญญาเกิดจากการสดับ การเลา เรยี น
๓. ภาวนามยปญ ญา ปญญาเกดิ แตก ารฝกอบรมลงมอื ปฏิบตั ิ
พทุ ธจรยิ ธรรม จึงเปนหลักการหรือแนวทางในการดําเนินชีวติ ที่ดี ประเสรฐิ อันเปน
วิธีการ หรือเคร่ืองมือในการสูจุดมุงหมายอันเปนประโยชนสูงสุด เปนอุดมคติของชีวิต
ครอบคลุมถึงเกณฑ ตัดสินวา การกระทาํ ใดดีหรือไมด ี ควรหรอื ไมควร ดวยเหตนุ พี้ ทุ ธจรยิ ธรรม
จงึ มลี ักษณะที่แตกตา งจาก ทรรศนะของปรชั ญาในสํานกั อ่นื ๆ คอื พทุ ธจริยธรรมไมไ ดเกดิ จาก
โตแยงทางความคิด (Argument) การนิยามความหมาย การคาดคะเน หรือการพิจารณา
เทียบเคียง เหมอื นปรัชญาสํานกั อื่น ๆ แตพุทธ จริยธรรมมธี รรมชาตขิ องความเปนจริง เปนส่ิง
ท่ีผูปฏิบัติแลวสามารถเห็นไดดวยตัวของตนเอง (สนฺทิฏฐิโก) ไมจํากัดเวลา (อกาลิโก) ซ่ึงเปน
ผลของการตรัสรูธรรมอันยอดเยี่ยมของพระพุทธเจาท่ีเรียกวา "อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ" ซึ่ง
แยกไดเปน ๒ สวนคือ สวนท่ีเปนสัจธรรมและสวนที่เปนศีลธรรม92๙ ไดจัดแบงพุทธจริยธรรม
ตามนัยดังกลา วไวดงั นี้ คือ
๑. มัชเฌนธรรม หรือมัชเฌนธรรมเทศนา ซึ่งกลาวถึง ความจริงตามแนวเหตุผล
บรสิ ุทธ์ิ ตามกระบวนของธรรมชาติ

๗ องฺ.ตกิ . (ไทย) ๒๐/๕๐๕/๑๗๙.
๘ อภิ.ว.ิ (ไทย) ๓๕/๘๐๔/๓๙๕.
๙ พระธรรมปฏก (ป.อ.ปยุตฺโต) (๒๕๔๒: ๖), อางใน พระมหาสาคร ศรีดี, ความรูเบ้ืองตน
เกี่ยวกับพุทธจริยธรรม, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.thaicadet.org/Buddhism/Buddhist
Ethics-SakonSridee.html [๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๕๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๒. มัชฌิมาปฏิปทา กลาวคือ หลักการครองชีวิตของผูฝกอบรมตน ผูรูเทาทันชีวิต
ไมหลงงมงาย มุงผลสําเร็จคือความสุข สะอาด สวาง สงบ เปนอิสระ เม่ือกลาวใหงา ยตอความ
เขา ใจในเชิงจริยศาสตร พุทธจริยธรรมแบงออกเปน ๒ สว นคือ

๑) สัจธรรม เปนสว นแสดงสภาวะหรอื รูปลักษณะตวั จรงิ
๒) จริยธรรม เปน สวนแหงขอประพฤตปิ ฏิบัติท้งั หมด
โดยนัยนี้ สัจธรรมในพระพุทธศาสนาหมายถึงคําสอนเกี่ยวกับสภาวะความเปนจริง
ของสรรพสิ่ง ท้ังปวงเปนไปโดยสภาวธรรมชาติหรือกฎธรรมชาติ (Natural Law) กลาวคือ
เปนไปตามกฎของไตรลักษณ ๓ ประการ คือ (๑) อนิจจตา (Impermanence; Transiency)
ความไมเที่ยง เปน สภาวะท่ีเกิดขึ้นแลวเสื่อมสลายไป (๒) ทุกขตา (State of Suffering) ความ
เปนทุกข และ (๓) อนัตตา (Non-Self) ความไมมีตัวตน ขอเท็จจริงเหลาน้ี พระพุทธศาสนา
เชื่อวามีอยูแลวอยางนั้นและมีอยูตลอดไป ไมวาจะมีครับรูขอเท็จจริงเหลาน้ีหรือไมก็ตาม93๑๐
สวนในสวนจริยธรรม หมายถึงการถือเอาประโยชนจากความรูและความเขาใจในสภาพและ
ความเปนไปของ สง่ิ ทงั้ หลาย หรือการรูก ฎธรรมชาตแิ ละนาํ มาใชใ นทางทเี่ ปน ประโยชน)94๑๑
นอกจากน้ัน เนื้อหาของพุทธจริยธรรมยังสามารถแบงไดอีก ๒ ระดับคือ
(๑) ระดับโลกิยธรรม ไดแกธรรมอันเปนวิสัยของปุถุชนผูครองเรือน เปนขอปฏิบัติสําหรับ
ปุถุชนใหถูกตองตามหลักศีลธรรม มุงสอนเพื่อใหเกิดการลดละกิเลสที่เปนอกุศล สาเหตุท่ี
กอ ใหเกิดอกศุ ลตา ง ๆ ใหกระทํา ความดี เวนจากการกระทําความชั่ว ไมเบียดเบียนซงึ่ กันและ
กัน และทําจิตใจใหผองแผว หมดจดจากกองกเิ ลสที่ทาํ ใหเศราหมอง เพ่ือใหเ กิดความความสุข
แกตนเองและสังคม (๒) โลกุตรธรรม ไดแกธรรมอันไมใชวิสัยของชาวโลก แตเปนขอปฏิบัติ
ของพระอริยะ พุทธจรยิ ธรรมในข้นั นี้เปนขั้นสูงของพระอรยิ บุคคลผพู ัฒนาจติ ใจ จนเกิดปญญา
สามารถละกิเลสหรือสังสารวัฏไดอยางเด็ดขาด พนจากอํานาจกิเลสโดยส้ินเชิง อยูเหนือบุญ
และบาป เปนผูที่ไดบรรลุจุดมุงหมายสูงสุดของชีวิต การกระทําของพระอรหันตไมเปนทั้งบุญ

๑๐ สมภาร พรหมทา, ชีวิตกบั ความขัดแยง : ปญ หาจริยธรรมในชีวิตประจําวนั , (กรุงเทพมหานคร:
จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑), หนา ๕.

๑๑ พระศรีสทุ ธิโมลี, (๒๕๑๔: ๑๘๗) อางใน พระมหาสาคร ศรีดี, ความรูเบื้องตน เก่ยี วกับพุทธ
จริยธรรม, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.thaicadet.org/Buddhism/BuddhistEthics-Sakon
Sridee.html [๒๙ พฤษภาคม ๒๕๖๓].

๕๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๓ ความรูเบ้ืองตนเก่ียวกับพุทธจริยธรรม

และบาป ไมมีชาตินี้และชาติหนา พระอรหันตอยูในสวนของวิวัฏ จึงไมมีภพชาติสังสารวัฏ
ตอไป ดังพระพทุ ธพจนว า

พระอรหันต มีความสขุ หนอ เพราะทานไมม ตี ณั หา กาํ หนดรเู บญจขันธมีสัทธรรม ๗
ประการเปนโคจร มีรางกายน้ีเปนคร้ังสุดทาย หลุดพนจากภพใหม บรรลุพระอรหัตภูมิแลว
ชนะขาดแลวในโลก ไมมีความเพลิดเพลินอยูในสวนเบื้องบน ทามกลาง และที่สุด เปนผูยอด
เยีย่ มในโลก95๑๒

ในทางพระพุทธศาสนา ความสุขในระดับโลกิยะเปนความสุขในระดับหนึ่ง
พระพุทธศาสนาไมไดปฏิเสธความจริงอันเปนสมมติสัจจะและโลกแหงวัตถุเหลานี้ เพราะใน
ความเปนจริง ความสุขในระดับโลกิยะเปนแนวทางใหบุคคลมีความพยายามเพื่อบรรลุ
ความสุขขั้นสูงสุด อันเปนบรมสุขกลาวคือพระนิพพานซ่ึงเปนความสุขในระดับโลกุตตระ จะ
เห็นไดวาเปาหมายของชีวิตในระดับโลกิยะและโลกุตตระจะสัมพันธกันโดยความ เปนเหตุ
เปนผลของกันและกัน ความสุขที่เกิดจากโลกแหงวัตถุ เปนเปาหมายในระดับสัมมาสติ
สัจจะ อยูในระดับโลกิยวิสัย จึงหาความจริงแทไมได เพราะเปนความสุขที่สามารถ
เปลี่ยนแปลงไปไดต ามสภาวะแหงสามัญญลกั ษณะ และการมีสุขเชนน้ี กไ็ มนบั วาเปนเปาหมาย
ท่ีสูงสุดในพระพุทธศาสนา แตความสุขในระดับโลกิยะนั้นเปนสิ่งสําคัญตอการขัดเกลาจิตใน
ระดบั เบ้ืองตน ถาหากบุคคลไมไดรับการฝกฝนและไดรับความสุขระดับเบ้ืองตน ความพยายาม
ในท่ีจะใหความสุขในระดับโลกุตตระอันเปนจุดหมายปลายทางเกิดขึ้น ก็จะมีไมได
เพราะฉะน้ัน จึงกลาวไดวา ความสุขในระดับโลกิยะและความสุขในระดับโลกุตตระจึงเปน
เหตผุ ลของกนั และกัน และสัมพนั ธกนั ดงั กลาวมา

พุทธปรัชญา ไดสอนหลักจริยธรรมการดําเนินชีวิตไวทุกระดับ ตั้งแตจริยธรรม
สาํ หรับผอู ยูครองเรอื นจนถึงบรรพชิตผอู อกแสวงหาความสงบ และความหลุดพน จากกองกิเลส
ท้ังปวงพระพุทธศาสนาไดแสดงอรรถะ คือจุดมุงหมายของชีวิตที่ดีงาม ท่ีมนุษยพึงประสงคไว
๓ ระดับ คือ

๑. ทิฏฐธัมมิกัตถะ หรือประโยชนในปจจุบัน ประโยชนในโลกน้ี อันเปนจุดหมาย
เบื้องตนหรือจุดหมายเฉพาะหนาที่มองเห็นไดในชีวิตประจําวัน อันไดแก ลาภ ยศ สุข

๑๒ สํ.ข. ๑๗/๗๖/๔๑.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๕๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สรรเสริญ หรือทรัพยสิน ฐานะเปนตน รวมถึงการแสวงหาส่ิงเหลาน้ีโดยชอบธรรม มี ๔
ประการ คอื

๑.๑ อุฏฐานสัมปทา หาเลี้ยงชีพดวยความหม่ัน คือ ขยันหม่ันเพียรในการ
ปฏบิ ัติหนาท่กี ารงาน ประกอบอาชพี อนั สุจริต มีความชํานาญ รูจ ักใชปญ ญาสอดสองตรวจตรา
หาอบุ ายวธิ ี สามารถดาํ เนนิ การใหไดผ ลดี

๑.๒ อารักขสัมปทา ถึงพรอมดวยการรักษา คือรูจักคุมครองเก็บรักษาโภค
ทรัพยและผลงานอันตนไดทําไวดวยความขยัน หมั่นเพียรโดยชอบธรรม ดวยกําลังของตน
ไมใหเปน อนั ตรายหรือสญู หาย

๑.๓ กัลยาณมติ ตตา การคบคนดเี ปนมิตร คือ รูจกั กําหนดบุคคลผูถ ึงพรอ มดว ย
ศรทั ธา ศีล จาคะ และปญ ญา ไมแ นะนาํ ไปสอู บายมุข

๑.๔ สมชีวิตา มีความอยูพอเหมาะสม คอื รูจักกําหนดรายไดและรายจาย เลี้ยง
ชีวิตแตพอดี ไมใหฝดเคืองนัก ไมฟุมเฟอยนัก ใหรายไดเหนือรายจาย มีประหยัดเก็บไว
(อง.ฺ อฏฐก.)96๑๓

๒. สัมปรายิกัตถะ หรือประโยชนเบือ้ งหนา ประโยชนใ นภพหนาเปน ประโยชนข้ัน
สูงท่ีลึกล้ํากวาจะมองเห็นไดเฉพาะหนา เกี่ยวเนื่องดวยคุณคาของชีวิต เปนหลักประกันวาเม่ือ
ละชีวิตจากโลกน้ีไปแลว จะไมตกลงไปสูทีช่ ่ัว อันไดแก ความเจริญดานจติ ใจท่ีประกอบไปดวย
คณุ ธรรมและศลี ธรรม ใฝใจในทางในเรือ่ งบญุ กุศล มีความสงบสุขทางจติ ใจ มี ๔ ประการ คือ

๒.๑ สัทธาสมั ปทา ความถึงพรอมดวยศรัทธา คือ เช่ือในสิ่งท่ีควรเช่อื เชน เชื่อ
วา ทําดีไดดี ทาํ ชั่วไดช ัว่ เปนตน

๒.๒ สีลสัมปทา ความถึงพรอมดวยศีล คือรักษากาย วาจา ใหเรียบรอย ไมมี
โทษ และรูจักรกั ษาระเบียบวินัยเปน อนั ดี

๒.๓ จาคสัมปทา ความถึงพรอมดวยการเสียสละ เปนการเฉล่ียความสุขใหแก
ผอู ่นื

๒.๔ ปญญาสัมปทา ความถึงพรอมดวยปญญา คือ รูจัก บาป คุณ โทษ
ประโยชน และมใิ ชประโยชน เปนตน

๑๓ องฺ.อฏฐ ก. (ไทย) ๒๓/๑๔๔/๒๒๒.

๕๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๓ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับพุทธจริยธรรม

๓. ปรมัตถะ หรือประโยชนสูงสุด ประโยชนอยางยิ่งอันเปนจุดมุงหมายสูงสุด
หมายถึงจิตท่ีหลุดพนจากกิเลสและความทุกขท้ังปวง คือวิมุตติและพระนิพพานอันเปนสาระ
แทของชีวิต ไดแกการรูแจงและรูเทาทันคติธรรมดาของสังขารธรรม ไมตกเปนทาสของโลก
และชวี ิต97๑๔

สรุปไดวา ขอบเขตของพุทธจริยศาสตรนั้น อยูท่ีการกระทําทางกาย วาจา และใจ
เปนพื้นฐานใหเกิดคุณธรรมขั้นสูง ๆ ขึ้นไปเทานั้น เพราะจริยศาสตรเปนเปนเรื่องที่วาดวย
คณุ คาของการกระทําท่ีมีคา ในระดบั โลกยิ ธรรมเทา น้นั ไมใชอยูในขั้นปรมัตถหรอื โลกตุ รธรรม

๑) ระดับโลกิยธรรม เปน เปาหมายของชีวิตมนุษยในสภาวะที่สืบเนื่องอยูในโลก
แหงปรากฏการณ สามารถรับรูไดดวยประสาทสัมผัส เปาหมายของชีวิตในระดับน้ีจึงสามารถ
เปล่ียนแปลงไดตลอดเวลา เพราะเปาหมายในระดับน้ีวัดจากรูปธรรมอันปรากฏใหเห็นเทานั้น
แตม ิไดหมายความวา อดุ มคติของชวี ิตในระดับนจี้ ะเปนส่งิ เลวราย ในทางตรงกันขามหากสรา ง
และดําเนินชีวิตตามอุดมคติที่วางไวไดอยางถูกตอง ตามกฎศีลธรรมแลว ชีวิตก็จะสมบูรณใน
ระดบั หนง่ึ

๒) ระดับโลกุตรธรรม เปนเปาหมายของมนุษยอันอยูในสภาวะที่พนจากโลก
เปาหมายในระดับนี้ไมไดสามารถวัดไดดวยวัตถุ ส่ิงของ หรือประสาทสัมผัสทั้ง ๕ เพราะเปน
ขั้นท่ีหลุดพนจากอํานาจกิเลสทั้งปวง เปนเปาหมายในระดับปรมัตถะ เปนความสุขท่ีไม
เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะอ่ืนใด อันไดแก พระนพิ พาน

๓.๓ การจัดลําดับพุทธจรยิ ธรรม

พุทธจริยธรรม มีจุดมงุ หมายเพอ่ื ใหบคุ คลมีชวี ิตทดี่ ี ชวยเหลือเกื้อกลู กัน สามารถอยู
รวมกันเปนสังคมไดเปนอยางดี มีความสุข และทําใหมีการดําเนินชีวิต การครองชีพอยาง
ประเสรฐิ เพราะฉะนั้นพุทธจรยิ ธรรมจึงเปนแนวทางในการดําเนินชีวิตทด่ี ีของชาวพุทธ การจัด
พทุ ธจรยิ ธรรมสามารถจดั ไดด งั น้ี

๑. พทุ ธจริยธรรมข้นั พ้ืนฐาน เปน เบอื้ งตนของธรรมจรยิ า หรอื อกศุ ลกรรมบถ ๑๐
ประการ98๑๕ และยังเปนพื้นฐานของคุณธรรมข้ันสูง ๆ ขึ้นไป จริยธรรมในระดับน้ีจะเปน

๑๔ องฺ.อฏฐก. (ไทย) ๒๓/๑๔๔/๒๒๒.
๑๕ พระเทพเวที (ป.อ. ปยุต.โต), พุทธธรรม: กฎธรรมชาติ และคณุ คาสาํ หรบั ชีวิต, หนา ๕.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๕๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

จริยธรรมขั้นพื้นฐานท่ีจําเปนท้ังตอตนเองและสังคม กลาวอีกนัยหน่ึงวา เปนหลักมนุษยธรรม
ข้ันพื้นฐาน ไดแก เบญจศีล อันไดแก ศีล ๕ (five percepts) และเบญจธรรม อันไดแก ธรรม
๕ ประการ ซึ่งเปนขอ ปฏิบตั ิฝา ยศีลและธรรมท่ีสนบั สนุนกนั เปนสิ่งทีต่ องปฏิบตั คิ วบคกู ัน

๑.๑ เบญจศลี
๑.๑.๑ เวนจากการฆา สตั ว (ปาณาตปิ าตา เวรมณ)ี
๑.๑.๒ เวน จากการลักทรพั ย (อทนิ นฺ าทานา เวรมณ)ี
๑.๑.๓ เวนจากประพฤตผิ ิดในกาม (กาเมสุ มจิ ฉฺ าจารา เวรมณี )
๑.๑.๔ เวน จากการพูดปด (มุสาวาทา เวรมณ)ี
๑.๑.๕ เวน จากการดมื่ สุราและเมรยั (สรุ าเมรยมชฺชปมาทฏฐ านา เวรมณี)

๑.๒ เบญจธรรม
๑.๒.๑ มเี มตตากรุณาตอสตั ว (เมตตา-กรุณา)
๑.๒.๒ เล้ยี งชวี ติ ในทางทีถ่ ูกตอ ง (สมั มาอาชวี ะ)
๑.๒.๓ มีความสาํ รวมระวงั ในกาม (กามสังวร)
๑.๒.๔ พดู แตค าํ สัตยจ รงิ (สจั จะ)
๑.๒.๕ มีสติรกั ษาตนไวเ สมอ (สติ-สัมปชัญญะ)99๑๖

๒. พุทธจริยธรรมขั้นกลาง ในระดับนี้เปนการพัฒนาจริยธรรมใหสูงข้ึนไป คือกุศล
กรรมบถ ๑๐ ประการ แบงประเภทออกเปน ๓ ทาง คือ (๑) ความดีทางกาย เรียกวา กายสุจริต
(๒) ความดีทางวาจา เรียกวา วจีสจุ ริต และ (๓) ความดที างใจ เรียกวา มโนสุจริต ไดแก

๒.๑ ความดที างกาย มี ๓ คือ (๑) เวน จากการฆา สัตว (๒) เวนจากการลักทรัพย
(๓) เวนจากการประพฤติผิดในกาม

๒.๒ ความดีทางวาจา มี ๔ คือ (๑) เวนจากการพูดปด (๒) เวนจากการพูดคํา
หยาบ (๓) เวนจากการพูดสอ เสียด (๔) เวน จากการพดู เพอเจอ ไรส าระ

๒.๓ ความดีทางใจ มี ๓ คือ (๑) ไมโลภอยากไดของเขา (๒) ไมคดิ ปองรายผอู ื่น
(๓) ไมเ หน็ ผิดจากทํานองคลองธรรม100๑๗

๑๖ อง.ฺ อฏฐก. (ไทย) ๒๓/๑๔๔/๒๒๒.
๑๗ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๘๕/๓๖๗.

๖๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๓ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับพุทธจริยธรรม

๓. พุทธจริยธรรมขั้นสูง คือ อริยอัฏฐังคิกมรรค ไดแก มรรคมอี งค ๘ หรือเรียกอีก
อยา งวา อริยมรรค มคี วามหมายวา ทางอันประเสรฐิ หรือทางนําผูปฏบิ ตั ใิ หเปนผูประเสรฐิ มี ๘
ขอ คือ

๓.๑ สัมมาทฏิ ฐิ มคี วามเขา ใจถูกตอ ง ดงั น้ีคอื
๓.๑.๑ เห็นวาทานท่ีใหแลว มีผล
๓.๑.๒ เหน็ วา ของท่ีเราบชู าแลวมผี ล
๓.๑.๓ เหน็ วา ของทเ่ี ราบางสรวงแลวมผี ล
๓.๑.๔ เห็นผลของกรรมดี กรรมช่ัวมี
๓.๑.๕ เห็นวา โลกนม้ี ี
๓.๑.๖ เห็นวาโลกหนามี
๓.๑.๗ เหน็ วามารดามี
๓.๑.๘ เห็นวาบดิ ามี
๓.๑.๙ เห็นวาสตั วท ่ีผดุ ขน้ึ เองมี
๓.๑.๑๐ เหน็ วา สมณพราหมณที่หมดกิเลสปฏบิ ตั ิดมี ีอยู

๓.๒ สมั มาสังกัปปะ มคี วามคดิ ถกู ตอง ดังนีค้ อื
๓.๒.๑ คดิ ออกจากกาม
๓.๒.๒ ไมค ิดพยาบาทปองรายใคร
๓.๒.๓ ไมค ดิ เบียดเบียนใคร

๓.๓ สมั มาวาจา มวี าจาถกู ตอง ดงั นค้ี อื
๓.๓.๑ พูดคาํ จรงิ
๓.๓.๒ ไมพ ดู สอเสยี ด
๓.๓.๓ พูดไพเราะออ นหวาน ไมพ ดู คาํ หยาบ
๓.๓.๔ พูดอยางมสี ติใครครวญ ไมเหลวไหลเลอ่ื นลอย

๓.๔ สมั มากมั มันตะ มีการงานถูกตอ ง ๓ ประการ ดงั นี้ คือ
๓.๔.๑ ไมฆ า สตั ว
๓.๔.๒ ไมลักทรัพย
๓.๔.๓ ไมประพฤตใิ นกามท้งั หลาย
๓.๔.๔ สมั มาวายามะ มอี าชพี ถูกตอง ดงั น้ี

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๖๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ตามลําดับ ๓.๔.๔.๑ ละอาชพี ที่ทจุ รติ
๓.๔.๔.๒ ประกอบอาชีพท่ีสุจรติ
๓.๕ สัมมาวายามะ มคี วามเพยี รพยายามถูกตอ งดังน้ี
๓.๕.๑ เพียรระวังไมใ หความไมด เี กดิ ข้ึนตวั เอง
๓.๕.๒ เพียรพยายามละความชวั่ ท่ีเกิดขึ้นแลว ใหห มดไป
๓.๕.๓ เพียรสรา งกศุ ลความดีทยี่ งั ไมเกิดขน้ึ ใหเ กดิ มขี น้ึ
๓.๕.๔ เพียรรักษาความดีท่ีมีอยูแลวใหคงอยู และใหเจริญย่ิง ๆ ขึ้นไป

๓.๖ สัมมาสติ มคี วามระลกึ รตู วั ทวั่ พรอ มในสตปิ ฏ ฐาน ๔ ดังนี้ คือ
๓.๖.๑ การพจิ ารณากายในกาย
๓.๖.๒ การพิจารณาเห็นเวทนาในเวทนา
๓.๖.๓ การพิจารณาเหน็ จิตในจติ
๓.๖.๔ การพิจารณาเหน็ ธรรมในธรรม
๓.๗ สัมมาสติ ความมีใจมนั่ คงถกู ตอ งในฌาน ๔ ดังน้ี
๓.๗.๑ ปฐมฌาน (ฌานที่ ๑)
๓.๗.๒ ทตุ ิยฌาน (ฌานท่ี ๒)
๓.๗.๓ ตติยฌาน (ฌานที่ ๓)
๓.๗.๔ จตุตถฌาน (ฌานท่ี ๔) ๑๘
101

อริยมรรคมี องค ๘ นี้ เรียกวา ทางสายกลาง คือเปนขอปฏิบัติที่อยูระหวางกาม
สุขัลลิกานุโยค และอัตตกิลมถานุโยค เปนทางสายเอกเพื่อความบริสุทธิ์ เปรียบเหมือน
เชือกท่ีมี ๘ เกลียว แตรวมกันเขาเปนอันเดียว หมายถึงผูปฏิบัติในอริยมรรคน้ีตองกระทําไป
พรอม ๆ กัน

จากการจัดลําดับพุทธจริยธรรมที่กลาวมาขางตนน้ัน สรุปการจัดระดับพุทธ
จริยธรรมตามแนวมรรคมีองค ๘ ประการดังกลาวแลวนั้น สามารถแบงออกเปน ๓ ระดับยน
ยอลงในไตรสิกขา คือ ระดับศีล ระดับสมาธิ และระดับปญญา หรือแบงออกเปน ๓ ระดับ ได
ดงั นี้

๑๘ ม.มู. (ไทย) ๑๒/๑๔๙/๘๖.

๖๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๓ ความรูเบื้องตนเก่ียวกับพุทธจริยธรรม

๑. ระดับตน ไดแ ก เบญจศีล เบญจธรรม
๒. ระดบั กลาง ไดแ ก กุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ
เมื่อกลาว โดยสรุป พุทธจริยธรรม ไดแกมรรคมีองค ๘ หรือท่ีเรียกวา มัชฌิม
ปฏิปทา ยอเขา ในไตรสิกขา ก็คือ ศีล สมาธิ และปญญา เพราะเปนขอปฏิบตั ิท่ีสามารถนําไปสู
ประโยชนและความสขุ ท้ังแกต นเองและผูอน่ื

๓.๔ เกณฑตดั สินพุทธจริยธรรม

ตอไปนี้จะ เปนการศึกษาปญหาเกณฑตัดสินพุทธจริยธรรม คือ ปญหาท่ีวา
การกระทําท่ีมีคุณคาทางจริยะที่วา การกระทําท่ีเรียกวา ดี ถูก ผิด หรือควร ไมควร เปน
อยางไร และมอี ะไรเปน เกณฑในการตัดสินในการกระทําน้ันวา ดี ถกู ผดิ หรือควร ไมค วร

หลักจริยธรรม ในระบบพุทธจริยศาสตรน้ัน เปนที่ทราบกันดีแลววามี ๒ อยางคือ
สัจธรรม และศีลธรรม สัจธรรมเปนอันติมสัจจะ กลาวคือ เปนความจริงสูงสุดอันเปน
ฐานรองรับหลักศีลธรรม และหลักจริยธรรม หรือการกระทําอันมีคาทางพุทธจริยศาสตรท่ี
ดําเนินไปถึงเพื่อเขาถึงเปาหมาย อันเปนอันติมสัจจะน้ัน เปนสิ่งท่ีมีอยูเอง มีอยูอยางเท่ียงแท
และสามารถดาํ รงอยูไดโดยธรรมดา ถามนุษยไ มมเี ปาหมายในการกระทํา ก็ไมสามารถกลา วได
วา การกระทําใดถูก หรือผิด เพราะฉะน้ัน เกณฑในการตัดสินคา จริยะวา ส่ิงน้ีถูก ผิด ควร ไม
ควร จึงตองอาศัยเปาหมายเปนแนว ในข้ันนี้ ผูวิจัยจะศึกษาวิเคราะหปญหาที่วา มาตรการวัด
และตดั สินคุณคาทางจริยะเหลา นี้ ในทางพุทธจริยศาสตรคอื อะไร และมอี ะไรบา ง นี้เปน ปญหา
ท่ีจะตองศกึ ษาตอ ไป

ในพระพุทธ ศาสนากลาวการกระทําของมนุษยไว ๓ ทางคือ ทางกาย เรียกวา
กายกรรม ทางวาจา เรียกวา วจีกรรม และทางใจ เรียกวา มโนกรรม การกระทําจะดีหรือช่ัว
อยูท่ี ๓ ทางน้ี ถาการกระทํานั้นเปนฝายดีทางกาย ทางวาจา และทางใจ เรียกวา กายสุจริต
วจีสุจริตและมโนสุจริต กรรมฝายดีน้ี เรียกวา กุศลกรรม แตในทางตรงกันขาม ถาเปนการ
กระทําในฝายช่ัวทางทวารท้ัง ๓ นี้ เรียกวา กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต กรรมฝายช่ัว
ท้ัง ๓ นี้เรียกวา อกุศลกรรม สวนปญหาท่ีวา การกระทําของมนุษยน้ัน จะดีหรือชั่ว ใชอะไร
เปนเกณฑว ัด เปนปญหาทีจ่ ะตองพจิ ารณากนั ตอไป

ตามแนวพุทธ จริยศาสตรน้ัน ใหถือเจตนาเปนเกณฑในการตัดสินวา การกระทํา
ใด ดี หรือชั่ว ถูก หรือผิด เพราะการกระทําทั้งหมดของมนุษยมีเจตนาเปนตัวคอยบงชี้

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๖๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

เพราะฉะนั้นเจตนาจึงเปนตัวแทของกรรม"บุคคลคิดแลวจึงกระทาํ กรรมดวยกาย ดวยวาจา
ดวยใจ"102๑๙

เค.เอ็น. ชยตลิ เลเก ๒๐ ไดใ หทศั นะในปญหานว้ี า พระพุทธศาสนาถอื วา การกระทํา
ท่ีถูกตองและผิดน้ันจะตองเปนการ กระทําท่ีเปนไปอยางเสรี แตเปนเสรีภาพท่ีเกี่ยวของหรือ
สัมพันธกับกฎของเหตุผล ตามทัศนะของพระพุทธศาสนา มีเงื่อนไขที่สําคัญอีกประการหน่ึงท่ี
ทาํ ใหการกระทําท่ีถูกแตกตางจากการกระทํา ท่ีผิด นั่นคือแรงจูงใจและความต้ังใจหรือเจตนา
ท่ีบคุ คลมีตอ การกระทําๆ

โดยนัยน้ี กลาวไดวา พระพุทธศาสนา เช่ือวา มนุษยมีเจตจํานงเสรีในการกระทํา
ซึ่งเปนเจตจํานงเสรีที่ความสัมพันธกันในเหตุผลเชิงจริยธรรม เพราะถามนุษยไมมีเจตนจํานง
เสรีในการกระทํา ก็จะไมมคี วามชว่ั ถูก ผิด ควร หรือไมควร การกระทําก็เปนแตสักวา ทําแลว
กาํ ลังทํา หรือทําอยูเ ทา น้ัน แตมนุษยมเี จตจํานงเสรใี นการกระทํา และการกระทําทุกอยางยอ ม
ประกอบดวยความจงใจหรือเจตนาเสมอ เพราะฉะนั้น ดวยการกระทําที่ประกอบดวยเจตนา
หรือความจงใจนี้เอง พระพุทธศาสนาจึงกลาววา ถาประกอบดวยกุศล ก็จัดเปนกุศลกรรม ถา
ประกอบดว ยอกศุ ล จดั วาเปน อกุศลกรรม ดังพทุ ธพจนวา

กรรมที่ถูก โลภะครอบงํา...กรรมท่ีถูกโทสะครอบงํา...กรรมท่ีถูกโมหะครอบงํา
เกิดแตโมหะ มีโมหะเปนเหตุ มีโมหะเปนแดนเกิด ยอมใหผลในที่ท่ีเกิดอัตภาพของเขา กรรม
นนั้ ใหผลในขนั ธใด ในขันธนั้น เขาจะตองเสวยวิบากของกรรมนั้น ในลําดับท่ีเกิดหรือตอ ๆ ไป
ในปจจุบันน่ันเอง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมชาติ ๓ ประการน้ีแล เปนเหตุใหเกิดกรรม ๓
ประการเปนไฉน คือ อโลภะ ๑ อโทสะ ๑ อโมหะ ๑...กรรมท่ีถูกอโลภะครอบงํา...กรรมท่ีถูก
อโทสะครอบงํา...กรรมทถ่ี ูกอโมหะครอบงํา เกดิ แต อโมหะมีอโมหะเปนเหตุ มีอโมหะเปนแดน
เกดิ เมื่อโมหะปราศไปแลว ยอ มเปนอันบคุ คลละไดเด็ดขาด ถอนรากข้ึนแลว ทําใหเหมอื นตาล
ยอดดวยทําไมใหม ี ไมใ หเกดิ ขน้ึ อีกตอ ไปเปน ธรรมดา...ดูกรภกิ ษทุ ั้งหลาย ธรรมชาติ ๓ ประการ
น้แี ลเปนเหตใุ หเกดิ กรรม ฯ ๒๑104

๑๙ องฺ.ฉกกฺ . (ไทย) ๒๒/๓๓๔/๓๖๕.
๒๐ เค.เอ็น. ชยติลเลเก, จริยศาสตรแนวพุทธ, (กรุงเทพมหานคร: สภาการศึกษามหามกฏุ ราช
วิทยาลัย, ๒๕๓๔), หนา ๓๖.
๒๑ องฺ.ตกิ . (ไทย) ๒๐/๔๗๓/๑๒๘.

๖๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๓ ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับพุทธจริยธรรม

จึงกลา วได วา ตามหลักพทุ ธจริยศาสตร เจตนาท่ปี ระกอบดวยความพยายามในการ
กระทําอันเปน เหตุเบื้องตน หรอื เปน ความพยายามเพื่อใหการกระทําสาํ เร็จลงเปนเกณฑตัดสิน
คุณคาเชิงพุทธ จริยธรรม ดังพุทธพจนท่ีวา ดูกรภิกษุทั้งหลายเรากลาวเจตนาวาเปนกรรม
บคุ คลคดิ แลวจึงกระทาํ กรรมดวยกาย ดว ยวาจา105๒๒

๓.๕ สรปุ

จากแนวคิดดังกลาวขางตน หลักจรยิ ธรรม ในระบบพทุ ธจรยิ ศาสตรน น้ั เปนทที่ ราบ
กนั ดีแลววา มี ๒ อยา งคือ สัจธรรม และศีลธรรม สัจธรรมเปน อันติมสัจจะ กลาวคือ เปนความ
จริงสูงสุดอันเปนฐานรองรับหลักศีลธรรม และหลักจริยธรรม หรือการกระทําอันมีคาทาง
พุทธจริยศาสตรที่ดําเนินไปถึงเพ่ือเขาถึงเปาหมาย อันเปนอันติมสัจจะน้ัน เปนส่ิงที่มีอยูเอง
มีอยูอยางเที่ยงแท และสามารถดํารงอยูไดโดยธรรมดา ถามนุษยไมมีเปาหมายในการกระทํา
ก็ไมสามารถกลาวไดวา การกระทําใดถูก หรือผิด เพราะฉะน้ัน เกณฑใ นการตัดสินคาจริยะวา
สิง่ น้ีถกู ผดิ ควร ไมค วร จึงตองอาศัยเปา หมายเปน แนว ในข้ันนี้ ผูวิจยั จะศกึ ษาวิเคราะหปญหา
ที่วา มาตรการวัดและตัดสินคุณคาทางจริยะเหลานี้ ในทางพุทธจริยศาสตรคืออะไร และมี
อะไรบา ง นเ้ี ปนปญหาทีจ่ ะตอ งศกึ ษาตอไป

๒๒ องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๓๔/๓๕๖.

บทท่ี ๔

พทุ ธจริยธรรมเก่ียวกบั บทบาทหนาท่ี

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับพุทธจริยธรรมมนุษยจะประสบความสําเร็จในชีวิตไดน้ัน
จะตองมีหลักจริยธรรมในการครองชีวิตในปจจุบัน ในพุทธจริยธรรม ไดสอนหลักเพื่อการ
ดํารงชีวิตที่ดี ประเสริฐ ดี งาม และสงบไวมาก ดังนั้น ผูวิจยั จะกลาวเฉพาะที่มปี รากฏอยูในบท
เพลงเทา นน้ั

๔.๑ พทุ ธจริยธรรมเกี่ยวกบั บทบาทหนาท่ี

การดํารงตนอยูในสังคมน้ัน บุคคลหนึ่งจะตองมีบทบาทหนาที่หลาย ๆ อยาง ถา
ขาดหลักการปฏบิ ัตใิ นการทาํ บทบาทหนาที่เหลา นั้นแลว ก็จะเกิดความสับสนในบทบาทหนาที่
เหลาน้ันได พระพุทธองคจึงไดบัญญัติขอปฏิบัติในการปฏิบัติตนตามบทบาทหนาที่ในสังคมไว
ดังตอ ไปน้ี106๑

๑. ฐานะลกู ซง่ึ มบี ทบาทหนา ทเ่ี มอ่ื เปนลูกอยา งนี้ คอื
๑.๑ ชว ยทําธุระของพอ แม
๑.๒ ประพฤติตัวดี ควรแกก ารทีพ่ อ แมจะมอบความไวว างใจ
๑.๓ สรา งและรกั ษาช่อื เสยี งของวงศตระกลู ไว
๑.๔ เล้ียงดูทา นดว ยความกตญั ูกตเวที
๑.๕ เม่อื ทานเสยี ชวี ิตแลว บําเพ็ญกุศลอทุ ิศสวนบุญไปให

๒. ฐานะพอแม มบี ทบาทและหนาท่ีเมื่อเปนพอแมด ังน้ี
๒.๑ รักษาลกู ไมใ หท าํ ความช่วั
๒.๒ สง เสริมใหลูกทําความดี
๒.๓ ใหการศกึ ษา
๒.๔ หาคคู รองท่ีดใี ห
๒.๕ มอบทรพั ยม รดกใหเมื่อถงึ เวลาอันสมควร

๓. ฐานะศษิ ย มีบทบาทและหนาที่เมอ่ื เปน ศิษยด ังนี้
๓.๑ มีความเคารพนบั ถือครอู าจารย

๑๑ ที.ปา. ๑๑/๑๙๘/๑๙๖.

๖๖ พระครปู ลดั บญุ ชวย โชติวโํ ส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๔ พุทธจริยธรรมเกี่ยวกับบทบาทหนาท่ี

๓.๒ เช่อื ฟง ครูอาจารย
๓.๓ มีความกตญั ูกตเวทีตอ ครูอาจารย
๓.๔ ชวยทาํ กจิ ธุระของครูอาจารย
๓.๕ เรียนศลิ ปะวทิ ยาดวยความตงั้ ใจ
๔. ฐานะครู มีบทบาทและหนาทีเ่ มือ่ เปน ครูดังนี้
๔.๑ แนะนําศษิ ยอ ยา งดี ดวยเจตนาดี
๔.๒ สอนอยา งดี ดวยความตั้งใจ ยดึ ประโยชนของศิษยเปน ทต่ี ัง้
๔.๓ สอนวิทยาการใหส ิ้นเชิง ไมปดบงั
๔.๔ ยกยอ งใหปรากฏในเพอ่ื นฝูง
๔.๕ ชวยเหลือศิษยไ มใหม อี นั ตรายและใหม ีความสุข
๕. ฐานะคูชวี ิต คอื สามภี รรยา มีบทบาทและหนา ท่ีดงั นคี้ อื
๕.๑ บทบาทหนา ทีข่ องสามีตอ ภรรยา

๕.๑.๑ ยกยอ งวา เปนภรรยา
๕.๑.๒ ไมดหู มนิ่ เหยยี ดหยาม
๕.๑.๓ ไมประพฤตนิ อกใจ
๕.๑.๔ มอบความเปนใหญในบานให
๕.๑.๕ ใหเ ครือ่ งประดับเคร่ืองแตง กาย
๕.๒ บทบาทหนา ทีข่ องภรรยาตอ สามี
๕.๒.๑ จัดการงานในบานเรยี บรอยดี
๕.๒.๒ สงเคราะหค นขางเคียงสามีดี
๕.๒.๓ ไมนอกใจสามี
๕.๒.๔ รกั ษาทรัพยท ส่ี ามีหามาได
๕.๒.๕ มีความขยนั
๖. ฐานะเพ่อื น มบี ทบาทหนา ท่ี ดงั น้ีคือ
๖.๑ หนา ที่มิตรบาํ รงุ มิตร
๖.๑.๑ ชว ยเหลือเพ่ือน
๖.๑.๒ เจรจาถอ ยคาํ ไพเราะ
๖.๑.๓ ประพฤตสิ ง่ิ ท่เี ปน ประโยชน
๖.๑.๔ เปน ผูวางตนเสมอ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๖๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๖.๑.๕ ไมแกลง กลาวใหค ลาดเคล่ือนจากความเปน จรงิ
๖.๒ หนาท่ีมติ รอนเุ คราะหม ิตร

๖.๒.๑ รักษาเพ่ือนผูมีความประมาทแลว
๖.๒.๒ รักษาทรพั ยของเพอ่ื นผปู ระมาทแลว
๖.๒.๓ เมอ่ื มีภัย เปน ท่พี ่ึงได
๖.๒.๔ นับถอื วงศญาติของเพ่อื น
๗. ฐานะนายและทาสกรรมกร
๗.๑ หนาทน่ี ายจางบํารงุ บาวไพร
๗.๑.๑ จัดงานใหทาํ ตามสามควรแกก าํ ลงั
๗.๑.๒ ใหอ าหารและรางวัล
๗.๑.๓ รกั ษาพยาบาลในเวลาเจ็บไข
๗.๑.๔ ใหรางวัลพิเศษเม่อื ทํางานไดดี
๗.๑.๕ ใหล ูกจา งไดพักตามกาลอันสมควร
๗.๒ หนา ทบ่ี า วไพรอนุเคราะหนาย
๗.๒.๑ ลุกขึน้ ทํางานกอนนาย
๗.๒.๒ เลิกการงานที่หลงั นาย
๗.๒.๓ ถือเอาแตข องทน่ี ายให
๗.๒.๔ ทํางานใหด ขี ึน้
๗.๒.๕ นาํ คุณของนายไปสรรเสริญใหท ีน่ ั้น ๆ

๘. บทบาทหนาท่ีสําหรบั ผูปกครอง หมายถึง บุคคลท่ีสงั คมยกยองใหเปนผูนํานั้นตอง
ประกอบดวยคุณธรรมอันนํามาซึ่งความ สงบสุข และนําสมาชิกของสังคมไปสูความเจริญรุงเรือง
พระพุทธศาสนาไดกลาวถึงหลักธรรมสําหรับนักปกครองไววา ทศพิธราชธรรม หมายถึง ธรรม
ของพระราชา หรอื กจิ วตั รทน่ี กั ปกครองตองประพฤตปิ ฏิบตั ิ มี ๑๐ ประการ คอื ๒
107
๘.๑ ทาน การให คือการสละทรัพยสิ่งของบํารุงเล้ียงชวยเหลือประชาราษฎร
และบําเพ็ญสาธารณประโยชน

๒ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๘/๒๔๐/๖๒.

๖๘ พระครปู ลัดบญุ ชวย โชตวิ โํ ส, ดร. (อุย วงค)

บทท่ี ๔ พุทธจริยธรรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่

๘.๒ ศีล ความประพฤติดีงาม คือ สํารวมกายทวาร และวจีทวาร ประกอบแต
การกระทําท่ีสุจริต รักษากิตติคุณ และเปนที่เคารพของนับถือของประชาราษฎร มิใหมีขอท่ี
ใครจะดแู คลนได

๘.๓ ปริจจาคะ การบริจาค คือเสียสละความสุขสําราญ เปนตน ตลอดจนชีวิต
ของตน เพอื่ ประโยชนส ุขของประชาชน และความสงบเรียบรอ ยของบา นเมือง

๘.๔ อาชชวะ ความซื่อตรง คือ ซือ่ ตรงตอ หนาท่ี ปฏิบตั ิภารกจิ ตา ง ๆ โดยสุจริต
มีความจรงิ ใจ ไมห ลอกลวงประชาชน

๘.๕ มัททวะ ความออนโยน คือ มีอัธยาศัยไมเยอหย่ิงหยาบคาย หรือถือตัว
มีความงามอันเกิดจากกิริยามารยาทสุภาพนุมนวล ละมุนละไม ใหไดความรักภักดี และความ
ยําเกรง

๘.๖ ตปะ ความทรงเดช คือ กําจัดกิเลสตณั หา ไมใหเขามาครอบงําจิตใจ ขมใจ
ได ไมยอมใหหลงใหลหมกมุนในความสุขสําราญอันเกิดจากความปรนเปรอ มีความมุงมั่นใน
การบาํ เพญ็ เพยี ร ทาํ กจิ ใหส มบูรณ

๘.๗ อักโกธะ ความไมโกรธ คือ ไมกร้ิวกราดแกอํานาจโทสะ จะเปนเหตุใหเกิด
การกระทําผิดพลาด มีเมตตาประจําใจเสมอ วินิจฉยั ความแลการกระทําตา ง ๆ อันประกอบดวย
ธรรม

๘.๘ อวิหิงสา ความไมเบียดเบียน คือ ไมกดขี่บีบค้ันประชาชน เชน การขูดรีด
เกบ็ ภาษี หรอื เกณฑแรงงานเกินขนาด ไมหลงระเรงิ อํานาจจนขาดความเมตตากรณุ า

๘.๙ ขันติ ความอดทน คือ อดทนตองานที่ตรากตรํา ถึงจะลําบายกายเพียงใด
ก็ไมเกิดความยอทอ ถึงแมจะถูกเยยหยันดวยคําเสียดสีอยางไร ก็ไมหมดกําลังใจ ไมยอมละท้ิง
กรณยี กจิ ทบ่ี ําเพญ็ โดยชอบธรรม

๘.๑๐ อวิโรธนะ ความไมค ลาดจากธรรม คือวางตนเปน หลักในธรรม ไมม ีความ
เอนเอียงเพราะถอยคําที่ดีหรือ ไมเห็นแกลาภสักการะ หรืออิฏฐารมณและอนิฏฐารมณใด ๆ
ตั้งม่ันในหลักธรรมท้ังในสวนของความยุติธรรม คือ ความเท่ียงธรรม นิติธรรม คือ ระเบียบ
แบบแผนหลักการปกครอง ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ไมประพฤติให
คลาดเคลือ่ นจนเกิดความเสียหายไป

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๖๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๔.๒ พทุ ธจริยธรรมเกีย่ วกับการแกป ญ หา

ปญหาหรือความทุกขท่ีเกิดข้ึนแกมนุษยโดยท่ัวไป มักเกิดข้ึนมาจากความทะยาน
อยาก หรือ ความพอใจอยากไดจนเกินประมาณ คือ อยากไดในกามคุณเพ่อื นสนองความความ
ตอ งการทาง ประสาทสัมผัสทั้ง ๕ ความอยากทจ่ี ะมีอยูคงอยูตลอดไป และความอยากที่จะพน
จากสภาพท่ีไมพึงปรารถนา อยากทําลายหรือดับสูญ รวมความแลวไดแกตัณหา ๓ คือ
กามตัณหา ภวตัณหา วภิ วตัณหา108๓

วิธีการแกปญหาตาง ๆ นั้น ตองรูถึงสาเหตุของปญหาและแกไขตามสาเหตุอยาง
ถกู ตอ ง และวิธีการแกปญ หาท่ีดที ่ีสุด คอื การแกปญหาตามหลักอริยสจั อันเปน พื้นฐานเพอ่ื ให
สามารถแกปญหาตาง ๆ ไดอยากถูกตอง เพราะในชีวิตประจําวันของมนุษยเรานั้นตองมีการ
ตัดสินใจอยูตลอดเวลา น่ันคือตองมีการเผชิญกับปญหาตาง ๆ และตองตัดสินใจเสมอ และ
อรยิ สจั น้ีกเ็ ปน หลกั ธรรมที่ทําใหผูเขาถงึ สามารถเปน ผปู ระเสรฐิ ได

๑. อริยสจั จ ๔ คือ ความจริงอันประเสรฐิ หรือความจรงิ ของพระอรยิ เจา
๑.๑ ทุกข หมายถึงความไมสบายกายไมสบายใจ เปนสภาพที่ทนไดยาก

เปนสภาวะบีบคั้น ขัดแยงขัดของ มีความบกพรองไมสมบูรณในตัวเอง ไดแก ชาติ ชรา มรณะ
ซึง่ เปนสภาวะปญหาทเี่ กดิ ขน้ึ ในปจจุบันหรอื สภาพปญหาอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต แกผ ทู ่ียดึ ม่ัน
ดว ยอาํ นาจอปุ าทาน ทั้งนีเ้ พราะปจจยั ตา ง ๆ ทีป่ ระกอบขึ้นเปนสิ่งที่มีสภาพเปนไตรลักษณ คือ
สภาวะท่ไี มม คี วามย่งั ยนื มีการเปลย่ี นแปลงไดต ลอดเวลา ไมสามารถยึดถอื เปน แกนสารได

๑.๒ สมุทัย เหตุที่ทําใหเกิดความทุกข อันไดแก ตัณหา ๓ ประการอันเปน
เหตุใหเกิดทุกข คือ (๑) กามตัณหา ความทะยานอยากในกามคุณ ที่เปนสิ่งสนองความ
ตองการทางประสาทสัมผัสทั้ง ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ (๒) ภวตัณหา ความ
ทะยานอยากในภาวะที่ตนกําลังเปนอยูนี้ตลอดไป หรือความอยากที่จะไปสูภาวะอยางใด
อยางหนึ่งที่คิดได (๓) วิภวตัณหา ความทะยานอยาก ในเราที่พนไปเสียจากภาวะอยากจะ
หลีกเลี่ยงสิ่งที่ไมพอใจจาก สิ่งที่ตนกําลังไดรับ หรือไมอยากพบ ภาวะที่ตนไมชอบใจใน
อนาคต แตเนื่องจากความเปนไปในโลกนี้มิไดเปนไปตามความอยาก แตเปนไป ตามกฎของ
ไตรลักษณ จึงทาํ ใหประสบกับความทุกข

๓ องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๓๗๗/๓๙๘.

๗๐ พระครปู ลดั บญุ ชวย โชติวํโส, ดร. (อยุ วงค)

บทท่ี ๔ พุทธจริยธรรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่

๑.๓ นิโรธ ความดับทุกข ภาวะท่ีตัณหาดันส้ินไป ภาวะท่ีเขาถึงเมื่อกําจัด
อวิชชา และ สํารอกตัณหาไดแ ลว ปราศจากความดิน้ รนทางใจเพื่อแสวงหาความเปน อสิ ระจาก
ทกุ ข ทั้งปวง คงเหลอื แตความปรงุ แตงทางกายตามสภาพธรรมชาติ

๑.๔ มรรค ขอ ปฏบิ ัตทิ ใี่ หท ําใหผ ูปฏบิ ตั ิเขาสูภาวะนิโรธ คือความดับทุกข ไดแก
การปฏบิ ัติ ตาม มรรคมอี งค ๘ ๔109

อริยสัจ ๔ ประการน้ี เปนแนวทางการปฏบิ ัติเพ่ือแกปญหาตาง ๆ ที่เกิดข้ึนซ่ึงไดแก
ทกุ ข แลวพิจารณาหาเหตขุ องทุกขเ พื่อแกปญ หา คอื สมุทัย เมอ่ื หาสาเหตแุ หง ทุกขไดแ ลว ตอ ง
หาวิธีแก ทุกข หรือหาวิธีการเพื่อใหพนจากสภาพไมพึงประสงคดวยวิธีการตาง ๆ คือนิโรธ
แลวจึงปฏิบัติตามแนวทางเพ่ือใหดับทุกขคือ นิโรธคามินีปฏิปทา อันไดแกการดําเนินทางตาม
แนว มรรคมีองค ๘ หรอื ทางสายกลาง

๔.๓ พุทธจรยิ ธรรมเก่ยี วกับการสรา งศรัทธาตอ ความดี

๔.๓.๑ ศรทั ธา คือความเชื่อท่ปี ระกอบดวยเหตุผล ๔ ประการ คอื
๑. กัมมสัทธา เช่ือเร่ืองกรรม เช่ือกฎแหงกรรม เชื่อวากรรมมีอยูจริง คือ เช่ือ

วา เมื่อทาํ อะไรโดยมีเจตนา จงใจทาํ การกระทํานั้นยอ มเปน กรรม คือเปนความช่ัว หรือความดี
เปนเหตุปจจัยกอใหเกิดผลดีผลราย สืบเนื่องตอไป การกระทําไมวางปาว และเช่ือวา ผลจะ
สําเร็จไดด ว ยการกระทาํ มิใชดวยออ นวอนหรือ เปนตน

๒. วิปากสัทธา เชื่อผลของการกระทํา เชื่อวาผลของการกระทํามีจริง คือเช่ือ
วา กรรมที่ทาํ แลวตองมผี ล และผลของตองมีเหตุ ผลดีเกิดจากกรรมดี ผลช่ัวเกิดจากกรรมช่ัว

๓. กัมมัสสกตาสัทธา เชื่อวามนุษยทุกคนมีกรรมเปนของตน คือแตละคน
ยอมเปนเจา ของของการกระทํา และจะตองเสวยวิบากอันเปน ไปตามกรรมของตน

๔. ตถาคตโพธิสัทธา เช่ือความตรัสรูของพระพุทธเจา คือ มีความเชื่อมั่นใน
พระพุทธเจาวา ทรงเปนพระสัมมาสัมพุทธะ ทรงประกอบดวยพระคุณท้ัง ๙ ประการ บัญญัติ
วินัยไวดวยดี ทรงเปนผูนําทางที่แสดงใหเห็นวา มนุษยคือเราทุกคนน้ี หากฝกตนดีแลว ก็

๔ อภิ.ว.ิ (ไทย) ๓๕/๑๔๔/๙๓.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๗๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สามารถเขาบรรลุภูมิธรรมอันสูง บริสุทธ์ิ และหลุดพนจากกองกิเลส ดังที่พระองคไดทรง
บาํ เพ็ญไวไ ด110๕

๔.๓.๒ กรรม หมายถึงกระทําที่ประกอบดวยเจตนาดีหรือช่ัว ในท่ีน้ีหมายถึงกรรม
ประเภทตา ง ๆ พรอ มทั้งหลักเกณฑเ ก่ยี วกับการใหผลของกรรม ดงั น้คี ือ

ก. กรรมที่จําแนกตามเวลาท่ใี หผ ล
๑. ทฏิ ฐธรรมเวทนยี กรรม คือ กรรมทใ่ี หผ ลในปจ จบุ นั คือในภพน้ี
๒. อปุ ปช ชเวทนียกรรม คือกรรมทีใ่ หผ ลในภพภมู ชิ าตหิ นา
๓. อปราปริยเวทนียกรรม คือ กรรมทีใ่ หผ ลในภพตอ ๆ ไป
๔. อโหสกิ รรม คือ กรรมทเ่ี ลกิ ใหผ ล ไมม ีผลอกี

ข. กรรมที่ใหผลตามหนาท่ี
๑. ชนกกรรม คอื กรรมทแ่ี ตงใหเกดิ หรอื กรรมท่ีเปนตัวนาํ ไปเกดิ
๒. อุปต ถัมภกกรรม คือ กรรมสนบั สนนุ ซํ้าเตมิ ตอจากชนกกรรม
๓. อุปปฬกกรรม คือ กรรมบีบค้ันผลแหงชนกกรรมและอุปตถัมภกกรรม

น้นั ใหแ ปรเปลย่ี นทเุ ลาลงไป บ่ันทอนวิบากกรรมไมใหเ ปน ไปไดน าน
๔. อุปฆาตกกรรม คอื กรรมตดั รอน กรรมท่แี รง เปน กรรมฝา ยตรงกันขา ม

กับชนกกรรมและอุปตถัมภกกรรม เขาไปตัดรอนการใหผลของกรรมสองอยาง
น้นั ใหข าดไป เชน คนเกดิ ในตระกูลสงู มั่งค่งั แตอายุสนั้ เปนตน

ค. กรรมทจ่ี ําแนกตามลาํ ดบั ความรุนแรงในการใหผล
๑. ครกุ ธรรม คือ กรรมหนกั ทีใ่ หผลกอน ไดแ ก สมาบัติ ๘ หรือ อนัตริย กรรม
๒. พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม คือ กรรมที่ทํามาก หรือกรรมชิน ซึ่งใหผล

รองจาก ครกุ รรม
๓. อาสนั นกรรม คือกรรมจวนเจียน หรือกรรมทใี่ หผ ลในเวลาใกลต าย
๔. กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม คือ กรรมสักวาทํา กรรมที่ทําไว

ดวยเจตนาอันออน หรือมิใชเจตนาอยางนั้นโดยตรง กรรมขอน้ีจะใหผลตอเมื่อไมมีกรรมอื่น ๆ
ใหผ ลใหแลว 111๖

๕ องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๔/๓.
๖ วสิ ทุ ธิ. (ไทย) ๓/๒๒๓.

๗๒ พระครปู ลัดบญุ ชว ย โชตวิ ํโส, ดร. (อยุ วงค)

บทที่ ๔ พุทธจริยธรรมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่

๔.๔ พุทธจรยิ ธรรมเก่ยี วกบั การปฏบิ ัตติ นเพอ่ื การดาํ รงชวี ติ ท่ดี ี

มนุษยจะประสบความสําเร็จในชีวิตไดนั้น จะตองมีหลักจริยธรรมในการครองชีวิต
ในปจจุบัน ในพุทธจริยธรรม ไดสอนหลักเพ่ือการดํารงชีวิตที่ดี ประเสริฐ ดี งาม และสงบไว
มาก ดงั นนั้ ผูว จิ ยั จะกลาวเฉพาะท่ีมปี รากฏอยใู นบทเพลงเทานัน้

๔.๔.๑ มงคล ๓๘ ประการ หมายถึง หลักการดําเนินชีวิต หลักความประพฤติ ๓๘
ประการ เพื่อกอใหเกิดความเจริญกาวหนาอยางสมบูรณแบบ ซ่ึงพระพุทธเจาไดวางหลักไว
เริ่มต้ังแตการดําเนินชีวิตขั้นตน จนถึงขั้นสูงสุด คือ ตั้งแตโลกิยธรรม จนถึงโลกุตรธรรม หรือ
กลาวอีกนัยหนึ่ง คือ เร่ิมจากการดําเนินชีวิตจากส่ิงงาย ๆ ไปสูส่ิงท่ียากท่ีสุด ครอบคลุมหลัก
จริยธรรม ในการดําเนินชีวิตดานตาง ๆ ซึ่งเปนพ้ืนฐานใหเกิดคุณธรรมตั้งแตเบ้ืองตนจนถึงขั้น
สูงสดุ คือ จิตท่ีปราศจากกเิ ลส มดี งั น้ี

(๑) ไมคบคนพาล (๒) คบบัณฑิต (๓) บูชาผูควรบูชา (๔) อยูในประเทศอันสมควร
(๕) เคยทําบญุ ไวในชาตกิ อน (๖) ต้ังตนไวชอบ (๗) สดบั รับฟง มาก (๘) การรูศ ิลปะ (๙) ศึกษา
วินัยดี (๑๐) วาจาเปนสุภาษิต (๑๑) บํารุงบิดามารดา (๑๒) สงเคราะหบุตร (๑๓) สงเคราะห
ภรรยาโดยสมควร (๑๔) การงานไมอากูล (๑๕) ใหทาน (๑๖) ประพฤติธรรม (๑๗) สงเคราะห
ญาติ (๑๘) การงานไมมีโทษ (๑๙) การงดเวนจากบาป (๒๐) สํารวมจากการด่ืมนํ้าเมา
(๒๑) ความไมประมาทในธรรม (๒๒) ความเคารพ (๒๓) ความออนนอมถอมตน (๒๔) ความ
สันโดษ (๒๕) ความกตญั ู (๒๖) การฟงธรรมตามกาล (๒๗) ความอดทน (๒๘) ความเปนคน
วานอนสอนงาย (๒๙) การไดเห็นสมณะ (๓๐) การสนทนาธรรมตามกาล (๓๑) มีตบ ความ
เพียร (๓๒) ประพฤติพรหมจรรย (๓๓) เห็นอริยสัจ ๔ (๓๔) การทําแจงซ่ึงพระนิพพาน (๓๕)
จิตไมหว่ันไหวในกิเลส (๓๖) จิตไมเศราโศก (๓๗) จิตปราศจากธุลีไรกิเลส (๓๘) จิตเกษม
ปราศจากอกศุ ลมลู 112๗

มงคลชีวิต ๓๘ ประการ เปนหลักจรยิ ธรรมสาํ หรบั การดํารงชวี ติ เพอื่ การดําเนินชวี ิต
ใหประสบความเจริญ กาวหนา ซึ่งคานิยมดานตาง ๆ ในมงคล ๓๘ ประการ ไดแก เรื่อง ทาน
ศีล ความกตัญู ความมีวินยั เรอ่ื งการปฏิบตั ิหนา ท่ีระหวา งบุคคลตาง ๆ ทีด่ าํ เนนิ ไปดวยความ

๗ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๖/๓.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๗๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ถูกตอง จัดวาเปน หลักจริยธรรมท่ีจําเปนและสําคัญมากที่จะทําใหผูปฏิบัติจะไดมีกาํ ลังในการ
ปฏิบัติตามมงคลชีวติ จากระดับตน จนถึงระดับสงู

๔.๔.๒ การทําบุญถวายทาน เปนหลักการดําเนินชีวิตของคนไทยอีกประการหน่ึง
เปนการสละออกซงึ่ ความตระหน่ี และเปนหลกั จรยิ ธรรมเบื้องตนของการดาํ เนินชีวติ เชน การ
ตกั บาตร เลยี้ งพระ ทอดกฐนิ ทอดผาปา เปนตน อยางไรก็ตาม ในการทําบญุ ใหท านนัน้ เจตนา
ถือวา เปนส่ิงสําคัญ ผูใหจะตองมีเจตนาท้ัง ๓ กาล คือ กอนใหทาน ขณะใหทาน และหลังให
ทาน ดงั พุทธพจนวา

ทายกกอนแตจะใหยอมเปนผูมีใจดี กําลังใหทานอยูก็ยังมีจิตใจผองใส คร้ันใหแลว
กย็ อมปลาบปลม้ื จติ นีเ้ ปนความสมบรู ณของทายก113๘

สวนวัตถุท่ีควรใหทานน้ัน มี ๑๐ ประการ คือ ทานวัตถุเหลานี้คือ ขาว นํ้า ผา ยา
ดอกไม ของหอม ของลูบไล ท่ีนอน ท่พี กั เครื่องตามประทีป114๙

ชาวไทยนิยมทํา บุญไมวาจะปรารภเหตุใด ๆ ก็ใหเขากับหลักบุญกิริยาวัตถุ ๓
ประการ คือ (๑) ทานมยั ทําบุญดวยการใหปนส่งิ ของ (๒) สีลมัย ทาํ บญุ ดวยการรักษาศลี และ
(๓) ภาวนามัย ทําบุญดวยการเจริญภาวนา คือ ฝกอบรมจิตใจ โดยหลักการท้ัง ๓ ประการนี้
การทําบุญซ่ึงเปนหลักบําเพ็ญความดีและทําในกรณีตาง ๆ กันตามเหตุผลท่ีปรารภจึงเกิด
พธิ กี รรมข้ึนหลายประการ

กลาวโดยสรุป คือ การพัฒนาชีวิตและการแกปญหาชีวิตตามหลักของพุทธจริยธรรม
เปน หลักการปฏิบัตติ นเพื่อการดํารงทด่ี ี และการอยูรวมกันดวยดีของสังคม พุทธจริยธรรมที่ควร
นํามาใช ไดแกการปฏิบัติตนตามพุทธโอวาท ๓ คือ การไมทําความช่ัวท้ังปวง การทําแตความดี
และการทาํ จิตใจใหผองแผว ซ่ึงมีพนื้ ฐานมาจากพุทธจรยิ ธรรม ๓ ระดับ คือ

๑. พุทธจรยิ ธรรมข้นั พนื้ ฐาน ไดแกเ บญจศีล และเบญจธรรม
๒. พุทธจรยิ ธรรมขน้ั กลาง ไดแ ก กุศลกรรมบถ ๑๐
๓. พุทธจริยธรรมข้นั สงู ไดแก มรรคมีองค ๘

๘ องฺ.ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๓๐๘/๓๐๖.
๙ อง.ฺ สฺตตฺ ก. (ไทย) ๒๓/๔๙/๕๔.

๗๔ พระครปู ลดั บญุ ชว ย โชติวโํ ส, ดร. (อยุ วงค)

บทท่ี ๔ พุทธจริยธรรมเก่ียวกับบทบาทหนาท่ี

๔.๕ พทุ ธจริยธรรมกลมุ สจั การแหงตน

พุทธจริยธรรม ในกลุมน้ีเปนกลุมทช่ี วยใหมนุษยไ ดม องเห็นตนเองอยา งมีหลักเกณฑ
และทําใหมีความเคารพตอตนเองและผูอื่น สามารถปฏิบัติตนตอเหตุการณที่ไดพบและตอ
บุคคลที่เกี่ยวของไดตามความ เหมาะสม เชน มีความซื่อสัตย ความเสียสละ เปนตน พุทธ
จริยธรรมในกลุม นี้ ไดแ ก

๔.๕.๑ คารวธรรม หมายถึง ความเคารพ การถือเปนส่ิงสาํ คัญใสใจและปฏิบัติตน
ดวยความเอ้ือเฟอ หรือโดยหนักแนนจริงจงั การมองเห็นคณุ คาและความสาํ คัญแลวปฏิบัติตน
ตอบุคคล หรือส่ิงนั้นโดยถูกตอง ดวยความจริงใจ ลักษณะของความเคารพมีดังน้ี ๑) ความ
สุภาพออนโยน หมายถึงการแสดงออกซ่ึงกิริยาวาจาสุภาพออนโยนตอบุคคลท่ัวไป ๒) ความ
ออ นนอม หมายถึงการไมทําตวั ใหแข็งกระดาง ไมป ระพฤติผิดในส่ิงที่หยาบคายตอ บุคคลอนื่ ๆ
ทงั้ ทางกาย วาจา และทางใจ ๓) ความเช่ือฟง หมายถงึ การไมด ้ือรั้น รับฟง ดวยเหตุผล ยอมรับ
ปฏบิ ตั ิตามดว ยความจริงใจและเต็มใจเปน อยางย่ิง ๔) ความรจู กั สถานที่ หมายถึงรูจกั วางตัวได
อยางถูกตองและเหมาะสมกับกาลเวลา คือเลือกประพฤติตัวไดอยางพอเหมาะพอควรทั้งตอ
บคุ คลและสถานท่ี มี ๖ ประการ คือ ๑๐
115

๑. พุทธคารวตา ความเคารพในพระพุทธเจา หรือ บางแหงเรียกวา "สัตถุ
คารวตา" ขอนี้นับเปนคุณสมบัติที่สําคัญที่จะตองแสดงออกดวยความเคารพอยางจริงจัง
และดวยศรัทธา เพราะถาขาดความศรัทธาแลว คุณธรรมขออื่น ๆ ก็จะไมเกิดขึ้น ถึงแมวา
พระพุทธเจาจะปรินิพพานไปนานแลว แตสัญลักษณหรือส่ิงที่ทําใหระลึกถึงพระพุทธองคยัง
ปรากฏอยู เชน พระบรมสารีริกธาตุ สังเวชนียสถานท้ัง ๔ และพระพุทธรูป เปนตน

๒. ธัมมคารวตา ความเคารพในพระธรรม อันหมายถึงพระธรรมคําสั่งสอน
ของพระพุทธศาสนา ทั้งท่ีเปนสวนพระธรรม และพระวินัย ที่พระพุทธองคทรงแสดงและ
บัญญัติไวแลว รวมทงั้ การเคารพตอคมั ภรี พระธรรมวินยั โดยไมแสดงอาการดูหมน่ิ

๓. สังฆคารวตา ความเคารพในพระสงฆท้ังทเ่ี ปนพระอริยสงฆ และสมมติสงฆ
โดยแสดงความเคารพดังนี้ คือ ไมแสดงกริยาอาการท่ีดูหมิ่นเหยียดหยาม ไมปลอมแปลงเปนเพศ
พระสงฆ และหม่ันเขาไปหาทานเพื่อสนทนาธรรม และฟงธรรมะจากทานบอย ๆ

๑๐ อง.ฺ ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๓๐๓/๓๐๐.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๗๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๔. สิกขาคารวตา ความเคารพในสิกขา หมายถึง ความเคารพตอการศึกษา
เลาเรียน ในท่ีน้ี หมายถึง ความเคารพในไตรสิกขา คือ ศีล สมาธิ และปญญา เพือ่ ใหเกิดความ
ต้ังมั่น และใหเกิดปญญา คือความรูในกองสังขารท้ัง ๕ อันจะเปนแนวทางใหบรรลุถึงพระ
นิพพานได

๕. อัปปมาทคารวตา ความเคารพในความไมประมาท หมายถึง เคารพในความ
เพียรพยายามเพื่อละอกุศลทุจริต และประพฤติปฏิบัติในกุศลสุจริต หรือเคารพในการพยายาม
เพื่อละความช่ัว และประกอบคุณงามความดีอยูเสมอ หรือ หมายถึงการแสดงเคารพในการ
ประกอบกจิ การงานทุกอยางทัง้ โดยสว นและสวนตนดวย สตสิ มั ปชัญญะ

๖. ปฏิสันถารคารวตา ความเคารพในการปฏิสันถาร หมายถึง ความเคารพ
ในการตอนรับแขกผูมาเยือนดวยอัธยาศัยไมตรีที่ดีตอกัน อันแสดงออกถึงความมีน้ําใจ ความ
โอบออมอารีตอกัน ซ่ึงการปฏิสันถาร มี ๒ ประการคือ ๑) อามิสปฏิสันถาร คือ การตอนรับ
ดวยอามิสส่ิงของ ๒) ธัมมปฏิสันถาร คือการตอนรับดวยการกลาวธรรม หรือสนทนาปราศรัย
ดว ยธรรมะ

๔.๕.๒ ฆราวาสธรรม คือ ธรรมสําหรับผูครองเรือน หรือคฤหัสถ เปน ธรรมที่จะ
นําความสุข และเปนสามัคคีธรรม ชวยใหบุคคลในตระกูลมีความสมานสามัคคี ทําใหชีวิตใน
การมีความสุข ความสงบ อันสมควรแกฆราวาสวิสัย มี ๔ ประการ คือ ๑๑
116

๑. สัจจะ ความซื่อสัตยตอกัน ความจริงใจ ความซื่อตรง เปนพุทธจริยธรรมที่
สําคัญในการคบหากับทุกชนชั้นจนถึงผูอยูครองเรือนเดียว กัน เชน สามี ภรรยา บิดามารดา
กับบุตร เปน ตน

๒. ทมะ ความขมใจ การฝกฝน เปนขอปฏิบัติเพื่อไมใหตนเองตกไปอยูในอํานาจ
กิเลส หรือถูกอารมณตาง ๆ ครอบงําจิตใจ ใหมีสติระวังทวารภายนอก คือ ตา หู จมูก ล้ิน กาย
และทวาร ภายใน คือ ใจ เม่ือถูก รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ มาปรากฏในทวารภายนอกก็ดี
อยาใหอารมณ เหลาน้ีครอบงําได ใหรูจักควบคุมและแกไขขอบกพรอง ปรับปรุงตนให
เจริญกา วหนาดวยสติปญญา

๑๑ สํ.ส. (ไทย) ๑๕/๘๔๕/๒๕๘.

๗๖ พระครปู ลัดบุญชว ย โชตวิ ํโส, ดร. (อยุ วงค)

บทที่ ๔ พุทธจริยธรรมเก่ียวกับบทบาทหนาท่ี

๓. ขันติ ความอดทน ต้ังม่ันในการทําหนาการงานดวยความขยันหม่ันเพียร
เขมแข็ง ทนทาน ไมหว่ันไหว ม่ันใจในจุดหมาย ไมทอถอย อดกล้ันตออารมณอันเกิดจากอํานาจ
โทสะ

๔. จาคะ การใหปนส่งิ ของของตน เสียสละความสุขสบายและผลประโยชนสว น
ตนได ใจกวาง พรอมที่จะรับฟงความทุกข ความคิดเห็น และความตองการของผูอ่ืน พรอมที่จะ
รวมมือ ชวยเหลือ เอื้อเฟอเผื่อแผ ไมคับแคบเห็นแกตนหรือเอาแตใจตัวเอง พรอมกันน้ัน
นอกจากน้ี จาคะยงั หมายถงึ การสละกเิ ลสอกี ดวย117๑๒

๔.๖ สรปุ

การพัฒนาชีวิตและการแกปญหาชีวิตตามหลักของพุทธ จริยธรรม เปน หลักการ
ปฏิบัติตนเพื่อการดํารงที่ดี และการอยูรวมกันดวยดีของสังคม พุทธจริยธรรม ท่ีควรนํามาใช
ไดแกการปฏิบัติตนตามพุทธโอวาท ๓ คือ การไมทําความช่ัวทั้งปวง การทําแตความดี และ
การทํา จิตใจใหผองแผว ซึ่งมีพ้ืนฐานมาจากพุทธจริยธรรม ๓ ระดับ คือ พุทธจริยธรรมขั้น
พื้นฐาน ไดแกเบญจศลี และเบญจธรรม พุทธจริยธรรมขนั้ กลาง ไดแก กุศลกรรมบถ ๑๐ พุทธ
จรยิ ธรรมขนั้ สูง ไดแ ก มรรคมีองค ๘ เปนตน

๑๒ สาคร ศรีดี, “วเิ คราะหหลกั พทุ ธจรยิ ธรรมทป่ี รากฏในเพลงพืน้ บา นจังหวดั สพุ รรณบุรี: ศึกษา
เฉพาะกรณีเพลงอีแซว”, วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจริยศาสตรศึกษา, (บัณฑิต
วทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลัยมหิดล, ๒๕๔๕).

บทที่ ๕

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาทีส่ าํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

ผูบริหารเปนหัวใจสําคัญของหนวยงานหรือองคการ ทุกหนวยงานยอมปรารถนา
และใหการยอมรับนับถือผูบริหารท่ีมีคุณภาพน่ันก็คือ เปนบุคคลท่ีมีความรูความสามารถมี
ทักษะคามชํานาญงานมีประสบการณ มีวิสัยทัศนกวางไกล ฯลฯ แตท่ีเหนือสิ่งอื่นใดคือ ความ
เปนผูมคี ุณธรรมในจิตใจ และมีจริยธรรมทนี่ าเลอ่ื มใสศรทั ธา ซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมถือเปน
คุณสมบัติอันสําคัญที่จะเปนสวนเสริมใหผ ูบริหารนั้นสามารถครองตน ครองคน และครองงาน
ไดอยางมีประสิทธิภาพ สําหรับเร่ืองที่ควรทําความเขาใจเบื้องตนเกี่ยวกับคุณธรรมและ
จรยิ ธรรมนน้ั มดี งั ตอไปนี้

๕.๑ หลักพุทธธรรมาภบิ าลสําหรบั ผูบรหิ ารสถานศึกษา

ปจจุบันสภาพบานเมืองเรียกรองหาคุณธรรมในองคกร ชี้ใหเห็นวา มีเร่ืองที่นา
หวงใย และนาระมัดระวังไปเสีย เพราะเหตุการณตาง ๆ ที่ปรากฏและประจักษลวนเปนภาพ
สะทอนใหเห็นวา “การเกิดภาวะบกพรองทางคุณธรรม” ซ่ึงอาจมาจากสาเหตุไมเขาใจถึง
รากเหงาของศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมอันเปนพ้ืนฐานของคุณภาพของคนในสังคม118๑
เพื่อใหกระบวนการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี เกิดผลอยางจริงจัง
รัฐบาลไดออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและ
สงั คมที่ดี พ.ศ. ๒๕๔๒ ใชเปนแนวทางในการจัดระเบียบใหสังคม ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน
และภาคประชาชน อยูรวมกันอยางสงบสุข มีความรักสามัคคี และรวมกันเปนพลังกอใหเกิด
การพัฒนาอยา งย่งั ยนื บนพื้นฐานของหลกั สาํ คญั อยางนอ ย ๖ ประการ คือ หลักนติ ิธรรม หลัก
คุณธรรม หลกั ความโปรง ใส หลักความมสี ว นรวม หลกั ความรับผิดชอบ และหลกั ความคมุ คา 119๒

๑ สมศักด์ิ สุภิรักษ, “มิติการพัฒนาและการบริหารทรัพยากรบุคคล”, เอกสารประกอบการ
อบรมผูบริหารสถานศึกษา ฝายพัฒนาบุคคล สํานักงานการประถมศึกษาจังหวัดนครสวรรค,
(นครสวรรค: ม.ป.ป., ๒๕๕๐), หนา ๑๙.

๒ สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการ
บา นเมืองและสงั คมท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๒, (กรุงเทพมหานคร: สํานักงานฯ, ๒๕๔๒), หนา ๓.

๗๘ พระครปู ลัดบญุ ชวย โชติวโํ ส, ดร. (อุย วงค)

บทท่ี ๕ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สําหรับผูบริหารสถานศึกษา

จากสภาพการดังกลาว รัฐบาลไดออกพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและ
วิธีการบรหิ ารบา นเมืองท่ดี ี พ.ศ. ๒๕๔๖ กําหนดทกุ สว นราชการและขา ราชการ ปฏบิ ัตริ าชการ
ตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี หรือธรรมาภิบาล (Good Governance) ซ่ึงมี
เจตนารมณในการบริหารราชการแผนดินเพื่อประโยชนสุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ์ตอ
ภารกิจภาครัฐ มีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคา ลดข้ันตอนการปฏิบัติงาน ปรับปรุงภารกิจ
สวนราชการใหทันตอสถานการณ ประชาชนไดรับการอํานวยความสะดวก ไดรับการ
ตอบสนองความตอ งการและมกี ารประเมินผลการปฏบิ ตั ิราชการอยางสมํ่าเสมอ คํานงึ ถึงความ
รับผิดชอบของผูปฏิบัติงาน การมีสวนรวมของประชาชน การเปดเผยขอมูล การติดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลการปฏบิ ัติงานสมา่ํ เสมอ120๓

เม่ือยอนไปศึกษาหลักพระพุทธศาสนาพบวา ไดตระหนักถึงการทํางานที่ดีที่
สอดคลองกับหลักธรรมาภิบาลเปนอยา งดี ดวยเหตนุ ้ีหลักธรรมาภบิ าลกบั หลักพระพุทธศาสนา
เช่ือมโยงกนั อยางเห็นไดช ัดเชน หลักสจุ ริตกบั หลกั โปรงใสตรวจสอบได เปนตน

๕.๒ แนวคิดเก่ยี วกับหลักธรรมาภบิ าล

๑) ความหมายของหลกั ธรรมาภบิ าล
ธรรมาภิบาล (Good Governance) คือ การปกครอง การบริหาร การจัดการ การ
ควบคุมดูแล กิจการตาง ๆ ใหเปนไปในครรลองคลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหาร
จัดการท่ีดี ซ่ึงนําไปใชไดท้ังภาครัฐและเอกชน ธรรมาภิบาลเปนหลักการท่ีนํามาใชบริหารงานใน
ปจจุบันอยางแพรหลายดวยเหตุเพราะ ชวยสรางสรรคและสงเสริมองคกรใหมีศักยภาพและ
ประสิทธิภาพ อาทิ พนักงานทํางานอยางซ่ือสัตยสุจริตและขยันหมั่นเพียร ทําใหผลประกอบการ
ขององคกรธุรกิจน้ันขยายตัว นอกจากนี้แลวยังทําใหบุคคลภายนอกท่ีเกี่ยวของ ศรัทธาและ
เช่ือม่ันในองคกรน้ัน ๆ อันจะทําใหเกิดการพัฒนาอยางตอเนื่อง เชน องคกรท่ีโปรงใส ยอมไดรับ
ความไววางใจในการรวมทําธุรกิจ รัฐบาลโปรงใสตรวจสอบได ยอมสรางความเช่ือมั่นใหแก
ประชาชนตลอดจนสงผลดีตอเสถยี รภาพของรัฐบาลและความเจริญกาวหนา ของประเทศ เปน ตน

๓ สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหาร
กิจการบานเมอื งและสงั คมทีด่ ี พ.ศ. ๒๕๔๖, (กรงุ เทพมหานคร : สํานกั งานฯ, ๒๕๔๖), หนา ๒.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๗๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

การบริหารจัดการบานเมืองและสังคมท่ีดีหรือธรรมาภิบาล มีหนวยงาน องคการ
และบุคคลตาง ๆ ไดใหความหมาย ดังนี้

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและ
สงั คม ท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๒ ไดระบุหลักการของคาํ นิยามการบริหารกิจการบา นเมืองและสังคมท่ีดี
ไวว า “การบริหารกจิ การบานเมอื งและสังคมท่ีดี เปนแนวทางสาํ คัญในการจัดระเบียบใหสังคม
ทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจเอกชน และภาคประชาชน ซึ่งครอบคลุมถึงฝายวิชาการและธุรกิจ
สามารถอยูรวมกันอยางสงบสุข มีความรูรักสามัคคี และรวมกันเปนพลังกอใหเกิดการพัฒนา
อยางย่ังยืนและเปนสวนเสริมความเขมแข็งหรือสรา งภมู ิคุมกันแกประเทศเพอ่ื บรรเทา ปองกัน
หรอื เยียวยาภาวะวิกฤตภิ ยนั ตรายท่หี ากจะมมี าในอนาคต เพราะสังคมจะรสู ึกถึงความยุติธรรม
ความโปรงใส การมีสวนรวม อันเปนคุณลักษณะสําคัญของศักด์ิศรีความเปนมนุษย และการ
ปกครองแบบประชาธิปไตยอัน มีพระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข สอดคลองกบั ความเปนไทย
รฐั ธรรมนูญ และกระแสโลกยุคปจจบุ ัน121๔

ประเวศ วะสี ใหความหมายของคําวา ธรรมรัฐประกอบดว ยภาครัฐ ภาคธรุ กจิ และ
ภาคสังคมท่ีมีความถูกตอง เปนธรรม โดยรัฐและธุรกิจตองมีความโปรงใส มีความรบั ผิดชอบที่
ตรวจสอบได และภาคสังคมเขมแข็ง ธรรมรัฐแหงชาติ หมายถึง การท่ีประเทศมีพลังขับ
เคลื่อนที่ถูกตองเปนธรรมโดยถักทอทางสังคม เพื่อสรางพลังงานทางสังคม (Social Energy)
เพอ่ื นําไปสูก ารแกไขปญหาของชาติกอใหเกิดธรรมรฐั แหง ชาติข้ึน122๕

บวรศักด์ิ อุวรรณโณ ไดสรุปลักษณะสําคัญของธรรมาภิบาลแบบสากล ดาน
เปาหมาย โครงสรา ง และกระบวนการ และสาระของธรรมาภิบาล ดังน1ี้23๖

๑. เปา หมายของธรรมาภิบาล (Objective) คอื การพัฒนาและอยูรวมกนั อยางสนั ติ
สขุ ของทุกภาคสว นในสงั คม

๔ สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการ
บานเมอื งและสังคมทดี่ ี พ.ศ. ๒๕๔๒, หนา ๙.

๕ ประเวศ วะสี, หลักการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี, (กรุงเทพมหานคร: เนติกุล
การพิมพ, ๒๕๔๑), หนา ๔.

๖ บวรศักดิ์ อุวรรณโณ, การสรางธรรมาภิบาล (Good Governance) ในสังคมไทย,
(กรุงเทพมหานคร: วิญชู น, ๒๕๔๒), หนา ๒๙.

๘๐ พระครปู ลดั บุญชวย โชติวโํ ส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๕ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๒. โครงการ และกระบวนการ ของธรรมาภิบาล (Structure and Process) ท่ีจะ
นําไปสูเปาหมายได ตองมีการวางกฎเกณฑความสัมพันธระหวางเศรษฐกิจ การเมือง และ
สังคมที่ดีของประเทศทั้งภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชนหรือ ภาคประชาสังคม ภาคปจเจกชนและ
ครอบครัว มีสวนรวมกัน ผนึกพลัง ขับเคลื่อน กระบวนการของธรรมาภิบาล มี ๓ สวนท่ี
เชื่อมโยงกัน คือ การมีสวนรวมของทุกภาคในการบริหารจัดการ (Participation) ความ
โปรงใส (Accountability) ถูกวิจารณได รวมทั้งความรับผิดชอบในผลการตัดสินใจ สาระ
ของธรรมาภิบาล คือ การบริหารจัดการทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ตองสรางความ
สมดุลระหวางองคป ระกอบตา ง ๆ ของสงั คมใหอ ยรู ว มกนั อยา งสนั ตสิ ขุ มีเสถียรภาพ

สรุปไดวา หลักธรรมาภิบาลเปนท้ังหลักการขั้นพ้ืนฐานและหลักยุทธศาสตรที่สังคม
โลกตองการใหเกิดขึ้น และนํามาใช เพื่อลด และแกปญหาตาง ๆ โดยเฉพาะปญหาการทุจริต
คอรัปชั่น การฉอราษฎรบังหลวง การเอารัดเอาเปรียบ ชวยใหเกิดการสรางคุณคา จิตสํานึก
ทางปญญา วัฒนธรรมและจริยธรรม ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เขมแขง็ มีความมั่นคง
เกดิ ความเปนธรรมในสงั คม

๕.๓ องคป ระกอบของหลักธรรมาภบิ าล

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการสรางระบบการบริหารกิจการบานเมือง
และสังคมท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๒ และตอมาไดตราพระราชกฤษฎีกา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการ
บริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ ใหสอดคลองกับนโยบายการปฏิรูปราชการ โดย
กําหนดใหสวนราชการและขาราชการปฏิบัติราชการตามหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
หรอื ธรรมาภิบาล ซง่ึ มอี งคประกอบของธรรมาภิบาล ดว ยหลกั การ ๖ ดาน ไดแก หลักนิตธิ รรม
หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักความมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ และหลักความ
คมุ คา โดยมีสาระสําคัญดงั น1ี้24๗

๑. หลักนิติธรรม (Rule of law) ไดแก การตรากฎหมาย กฎ ขอบังคับตาง ๆ ให
ทันสมัยและเปนธรรม เปนท่ียอมรับของสังคม และสังคมยินยอมพรอมใจปฏิบัติตามกฎหมาย

๗ สัญญา ชาวไร, “การศึกษาการรับรูการบริหารจัดการโดยใชหลักธรรมาภิบาลของผูบริหาร
สถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษารอยเอ็ด”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิต
วิทยาลัย: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสรุ ินทร, ๒๕๔๘), หนา ๒๙ – ๓๕.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๘๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

กฎขอ บังคบั เหลาน้ัน โดยถือวาเปนการปกครองภายใตกฎหมาย มิใชตามอําเภอใจหรืออํานาจ
ของตัวบุคคล

๒. หลักคุณธรรม (Morality) ไดแก การยึดมั่นในความถูกตองดีงามโดยรณรงคให
เจาหนาท่ีของรัฐยึดถือหลักนี้ในการปฏิบัติหนาที่ใหเปนตัวอยางแกสังคม และสงเสริม
สนับสนุนใหประชาชนพัฒนาตนเองไปพรอมกัน เพ่ือใหคนไทยมีความซื่อสัตย จริงใจ ขยัน
อดทน มรี ะเบียบวินยั ประกอบอาชีพสุจรติ จนเปนนสิ ยั ประจําชาติ

๓. หลักความโปรงใส (Transparency) ไดแก การสรางความไววางใจซ่ึงกันและกัน
ของคนในชาติ โดยปรับปรุงกลไกการทํางานขององคกรทุกวงการใหมีความโปรงใส มกี ารเปดเผย
ขอมูลขาวสารท่ีเปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาที่เขาใจงาย ประชาชนเขาถึงขอมูล
ขา วสารไดสะดวก และมีกระบวนการใหป ระชาชนตรวจสอบความถูกตองชัดเจนได

๔. หลักความมีสวนรวม (Participation) ไดแกการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม
รับรูและเสนอความเห็นในการตัดสินใจปญหาสําคัญของประเทศ ไมวาดวยการแสดงความ
คดิ เหน็ การไตสวนสาธารณะ การประชาพจิ ารณ การแสดงประชามติหรืออ่ืน ๆ

๕. หลักความรับผิดชอบ (Accountability) ไดแก การตระหนักในสิทธิหนาที่ความ
สํานึกในความรับผิดชอบตอสังคม การใสใจปญหาสาธารณะของบานเมือง และกระตือรือรนใน
การแกปญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นท่ีแตกตาง และความกลาท่ีจะยอมรับผลจาก
การกระทําของตนเอง

๖. หลักความคุมคา (Utility) ไดแก การบริหารจัดการและใชทรัพยากรที่มีจํากัด
เพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสวนรวม โดยรณรงคใหคนไทยมีความประหยัดใชของอยางคุมคา
สรางสรรคสินคา และบริการที่มีคุณภาพสามารถแขงขันไดในเวทีโลก และรักษาพัฒนา
ทรพั ยากรธรรมชาติใหส มบรู ณย่ังยืน

สรปุ องคป ระกอบของธรรมาภิบาลเพื่อใหเกิดระบบการบรหิ ารกิจการบานเมอื งและ
สังคมท่ีดี คือการมีสวนรวมในการทํางานของบุคลากรในองคกร มีการประสานระหวาง
บคุ ลากรและผูบงั คับบัญชา ตองมีการเปดเผยการดําเนินงานดานนโยบายการบรหิ ารแบบหลัก
ธรรมาภิบาลแบบเบ็ดเสรจ็ ซงึ่ ในทางพระพุทธศาสนาเม่ือนําแนวคิดดังกลาวมาศึกษาจะวา สาระ
ท่แี ทจ รงิ คอื หลักการของพระพทุ ธศาสนา

๘๒ พระครปู ลดั บญุ ชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๕ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๕.๔ ธรรมาภิบาลในพระไตรปฎ ก

ในยุคโลกาภิวัตนสังคมมีปญหามากมาย นับต้ังแตปญหาพ้ืนฐานไปจนถึงปญหาระดับ
โครงสราง ตัวอยางของปญหาตาง ๆ ไดแกปญหาทางดานเศรษฐกิจ การเกิดชองวางระหวาง
ความมีกับความไมมีขยายตัวไปในวงกวาง ปญหาดานสังคมปญหาดานการเมืองปญหา
สิ่งแวดลอมถูกทําลาย ปญหาขอพิพาทระหวางพรมแดน หลายประเทศประสบปญหาเพราะไม
สามารถสรางสันติภาพภายในประเทศของตนได ปญหาดังกลาวกําลังรอแนวทางการแกไข ใน
แวดวงวิชาการปจจุบันไดมีความพยายามท่ีจะนําพระพุทธศาสนาเขาไปผูกพัน (Engage) เปน
อันหนึ่งอันเดียวกับสังคม มีความพยายามที่จะตีความพุทธธรรมใหครอบคลุมปญหาใหมๆ
เนื่องจากพุทธศาสนาแบบจารีตท่ีเนนการแกปญหาแบบปจเจกบุคคลไมเพียงพอตอการตอบ
ปญหาของสังคมยุคใหมท่ีเต็มไปดวยความสลับซับซอนได การแกปญหาความทุกขของปจเจก
บุคคลและสังคมสามารถดําเนินควบคูกันไปได ในประวัติศาสตรที่ผานมากลาวไดวา
พระพุทธศาสนาเปน ศาสนาที่มีความขัดแยงนอยที่สุด พระพุทธองคสามารถสรา งสงั คมสงฆขึ้นมา
ใหเปนแบบอยางของรูปแบบการปกครอง หรือรูปแบบการบริหารจัดการในยุคปจจุบันไดเปน
อยางดี อยางไรก็ตามบัดนี้พระพุทธศาสนาท่ีเคยรงุ เรืองไดล วงเลยมาแลวกวา ๒๕๕๕ ป หลายสิ่ง
หลายอยางเปลี่ยนแปลงไปตามกฎไตรลักษณ แตพระธรรมของพระพุทธองคก็ยังคงอยู และมี
ความสําคญั เสมอมาสามารถนํามาปรับประยุกตใหเขากับยุคสมัยได ดังความตอนหน่ึงที่พระพุทธ
องคไ ดตรัสไวว า

ภกิ ษุทั้งหลาย เราไมขัดแยงกับโลก แตโลกขัดแยงกับเราผูกลาวเปนธรรมไมขัดแยง
กบั ใครๆ ในโลก ส่ิงใดท่ีบัณฑิตในโลกสมมติวา ไมมี แมเ รากก็ ลา วสิง่ น้นั วา ‘ไมมี’ สิ่งใดท่ีบณั ฑิต
ในโลกสมมติวามี แมเราก็กลาวส่ิงน้ันวา ‘มี’ ก็อะไรเลาช่ือวาส่ิงท่ีบัณฑิตในโลกสมมติวาไมมี
เราก็กลาววา ‘ไมม ’ี คอื รูปทเ่ี ทยี่ งแท ย่ังยืน คงทน ไมผ ันแปร ทีบ่ ัณฑิตในโลกสมมตวิ าไมมแี ม
เราก็กลาวรูปนั้นวา ‘ไมมี’ เวทนา ... สัญญา ... สงั ขาร ... วิญญาณท่ีเที่ยงแท ยั่งยนื คงทน ไม
ผันแปร ทบี่ ัณฑิตในโลกสมมติวาไมมแี มเราก็กลา ววิญญาณน้นั วา ‘ไมม’ี น้ีแลชอ่ื วาสิ่งท่บี ัณฑิต
ในโลกสมมติวาไมมี แมเราก็กลาววา ‘ไมมี’ อะไรเลาช่ือวาส่ิงที่บัณฑิตในโลกสมมติวามี เราก็
กลาววา ‘มี’ คือ รูปทไี่ มเทีย่ ง เปน ทกุ ข ผันแปร ทบี่ ัณฑติ ในโลกสมมติวามี แมเ ราก็กลาวรปู นั้น
วา ‘มี’ เวทนา ... สัญญา ... สังขาร ... วิญญาณที่ไมเที่ยง เปนทุกข ผันแปร ที่บัณฑิตในโลก
สมมติวามี แมเราก็กลาววิญญาณน้ันวา ‘มี’ นี้แลช่ือวาส่ิงท่ีบัณฑิตในโลกสมมติวามี แมเราก็
กลาววา ‘มี’ โลกธรรม มีอยูในโลก ตถาคตตรสั รู รูแจงโลกธรรมนน้ั แลว จึงบอก แสดง บัญญัติ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๘๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

กําหนด เปดเผย จําแนก ทําใหงาย ก็อะไรเลาช่ือวาโลกธรรมในโลก ที่ตถาคตตรัสรู รแู จงแลว
จึงบอก แสดง บัญญัติ กําหนด เปดเผย จําแนก ทําใหงาย คือ รูปจัดเปนโลกธรรมในโลก ที่
ตถาคตตรสั รู ฯลฯ ทาํ ใหงา ย บุคคลใด เมื่อตถาคตบอก แสดง บญั ญัติ กําหนด เปด เผย จาํ แนก
ทําใหงายอยูอยางนี้ ยังไมรู ไมเห็น เราจะทําอะไรกับบุคคลผูโงเขลา เปนปุถุชน คนบอด ไมมี
ดวงตา ไมรู ไมเห็นนั้นได เวทนา ... สัญญา ... สังขาร ... วิญญาณจัดเปนโลกธรรมในโลกท่ี
ตถาคตตรัสรู รูแจงแลว จึงบอก แสดง บัญญัติ กําหนด เปดเผย จําแนก ทําใหงาย บุคคลใด
เมื่อตถาคตบอก แสดง บัญญัติ กําหนด เปดเผย จําแนก ทําใหงายอยูอยางนี้ ยังไมรู ไมเห็น
เราจะทําอะไรกับบุคคลผูโงเขลา เปนปุถุชน คนบอด ไมมีดวงตา ไมรู ไมเห็นน้ันได ภิกษุ
ท้ังหลาย ดอกอุบลก็ดี ดอกปทุมก็ดี ดอกบุณฑริกก็ดี เกิดในน้ํา เจริญในน้ํา โผลพนนํ้าแลว
ตง้ั อยู แตไมติดน้าํ แมฉ ันใด ตถาคตก็ฉนั น้นั เหมือนกัน เกิดในโลก เจริญในโลก ครอบงาํ โลกอยู
แตไมต ิดโลก125๘

พุทธดํารัสขางตนตีความไดวา คําวา“ตถาคต” หมาย ถึง “ธรรม” หรือ “ธรรม”
หมายถึง “ตถาคต” ดังพุทธพจนวา “ผูใดเห็นธรรม ผูนั้นช่ือวาเห็นตถาคต” ดังนั้นพระธรรม
ของพระองคห ากรจู กั ประยุกตใ ชย อ มสามารถแกปญหาตาง ๆ ในโลกไดอยางแทจรงิ

มีเพียงกิเลสของมนุษยเทานั้นที่เห็นวาธรรมของพระพุทธองคลาสมัย พุทธธรรมาภิ
บาล หรือธรรมาภิบาลตามแนวพุทธเปนกระบวนยุทธวิธีหนึ่งท่ีใชแกปญหาตาง ๆ ที่มีความ
สลับซับซอนอยางย่ิงดังเชนในปจจุบัน ทั้งนี้แนวคิดธรรมาภิบาล หรือ Good Governance
ตามแนวตะวันตกท่ีมีการกลาวถึงอยางแพรหลายในปจจุบันนั้นยังมีจุดออน และความไม
ชัดเจนในหลายประเด็น ท้ังในแงความหมาย เปาประสงค รวมถึงกระบวนวิธีการปฏิบัติ หาก
จะทําใหสมบูรณ พระพุทธศาสนาจะมที างออกของเรื่องนี้ ซ่ึงธรรมาภิบาลเชิงพุทธ (Buddhist
Good Governance) ที่ปรากฏขน้ึ ในพระไตรปฎก ในจกั กวัตตสิ ูตรวา

ภิกษุทั้งหลาย เร่ืองเคยมีมาแลว ไดมีพระเจาจักรพรรดิพระนามวาทัฬหเนมิ ผูทรง
ธรรม ครองราชยโดยธรรม ทรงเปนใหญในแผนดินมีมหาสมุทรทั้งสี่เปนขอบเขต ทรงไดรับชัย
ชนะ มีราชอาณาจักรม่ันคง สมบูรณดวยแกว ๗ ประการ ไดแก (๑) จักรแกว (๒) ชางแกว (๓)
มาแกว (๔) มณีแกว (๕) นางแกว (๖) คหบดีแกว (๗) ปริณายกแกว มีพระราชโอรสมากกวา

๘ ส.ํ ข. (ไทย) ๑๗/๙๔/๑๗๘-๑๘๐.

๘๔ พระครปู ลดั บุญชวย โชติวโํ ส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๕ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๑,๐๐๐ องค ซ่ึงลวนแตกลาหาญ มีรูปทรงสมเปนวีรกษัตริย สามารถย่ํายีราชศัตรูได พระองค
ทรงชนะโดยธรรม ไมต อ งใชอาชญา ไมต องใชศ ัสตรา ครอบครองแผนดินนี้มีสาครเปนขอบเขต126๙

ธรรมราชาในจักกวัตติสูตรไดกลาวถึงแนวคิดการบริหารจัดการโดยยึดธรรมเปน
ใหญ โดยการนําธรรมมาใชคมุ ครอง ปองกนั ประชาราษฎรในแวนแควน ตามฐานะ ในพระสูตร
ช้ใี หเ ห็นวา พระราชาจะทรงธรรมไดนั้นจะตองมีทป่ี รกึ ษาทีท่ รงธรรมน่นั ก็คอื สมณพราหมณ ซ่ึง
ทานไมเ จาะจงนักบวชในศาสนาใดศาสนาหน่ึง ผูเขยี นจึงไดน ําเสนอโครงสรา งการปกครองของ
พุทธจักรที่สามารถอยูรวมกันกับอาณาจักรไดเปนอยางดีมาเช่ือมตอ เพ่ือใหเห็นความ
สอดคลอง ซ่ึงในประวัตศิ าสตรพุทธศาสนา พระพุทธเจา ไดทรงทําหนาที่เปนที่ปรึกษาทางฝาย
การเมืองโดยการแสดงธรรม คือหลักปฏิบัตติ าง ๆ ในหลายเหตุการณเชน การสนทนากับพระ
เจาพิมพิสารทีเ่ วฬวุ นั สวนไผ การหามพระญาติมิใหทําสงครามแยงนํา้ เปน ตน

พระพุทธเจาทรงเปล่ียนแนวความคิดเกี่ยวกับมนุษยและจุดมุงหมายของมนุษยจาก
แนวเดิม ซึ่งเปนความคิดตามหลักศาสนาพราหมณและลัทธิอ่ืน ๆ พระพุทธองคทรงสอนวา การ
ยึดมั่นในตัวตน (อัตตา) ทําใหเกิดความทุกขข้ึนในสังคม ทําใหคนเราคิดถึงตัวเองมากกวาสังคม
สวนการละตัวตน จะทําใหคนเรามีความสํานึกตอสังคมไดมากขึ้น การละตัวตนจะตองอาศัยการ
จัดระบบสังคมเสียใหม แตการเสนอใหเปลี่ยนแปลงสังคมยอมติดขัดท่ีผูปกครองซึ่งรักษาอํานาจ
ของตนเน่ืองจากตนมีฐานะท่ีดีอยูแลว ดังนั้นหลักธรรมมาภิบาลก็จะสอดคลองกับหลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนาท่ีเรียกวา หลักทศพิธราชธรรม หรือธรรม ๑๐ ประการ คือ ๑) ทาน ๒) ศีล ๓)
การบริจาค ๔) ความซื่อตรง ๕) ความออนโยน ๖) ความเพียร ๗) ความไมโกรธ ๘) ความไม
เบียดเบยี น ๙) ความอดทน ๑๐) ความไมคลาดธรรม127๑๐ ดังรายละเอียดตอ ไปน้ี

หลกั ทศพิธราชธรรม หมายถึง หลักธรรมที่ใชใ นการปกครองประกอบดว ยหลกั ธรรม
๑๐ ประการ ไดแ ก

๑) ทาน (การให) คือ สละทรัพยสิ่งของ บํารุงเลี้ยง ชวยเหลือประชาราษฎรและ
บําเพญ็ สาธารณประโยชน

๒) ศีล (ความประพฤติดีงาม) คือ สํารวมกายและวจีทวาร ประกอบแตการสุจริต
รักษากิตตคิ ุณ ใหควรเปนตวั อยาง และเปน ท่เี คารพนบั ถอื ของประชาราษฎร

๙ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๘๑/๖๐.
๑๐ ขุ.ชา. (ไทย) ๒๘/๑๗๖/๑๑๒.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๘๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๓) ปริจจาคะ (การบริจาค) คือ เสียสละความสุขสําราญ ตลอดจนชีวิตของตนเพ่ือ
ประโยชนสขุ ของประชาชน และความสงบเรียบรอ ยของบานเมือง

๔) อาชชวะ (ความซื่อตรง) คือ ซ่ือตรงทรงสัตย ไรมารยา ปฏิบัติภารกิจโดยสุจริต
มีความจริงใจ ไมหลอกลวงประชาชน

๕) มัททวะ (ความออนโยน) คือ มีอัธยาศัย ไมเยอหย่ิงหยาบคายกระดางถือองคมี
ความงามสงาเกิดแตทว งทีกิริยาสุภาพนุมนวล ละมุนละไม ใหไ ดค วามรกั ภักดี

๖) ตปะ (ความทรงเดช) คือ แผดเผากิเลสตัณหา มิใหเขามาครอบงําย่ํายีจิตระงับ
ยบั ยัง้ ขม ใจได มคี วามเปนอยูสมาํ่ เสมอ หรอื อยางสามญั มงุ มน่ั แตจ ะบําเพ็ญเพียร

๗) อักโกธะ (ความไมโกรธ) คือ ไมกร้ิวกราด ลุอํานาจความโกรธ จนเปนเหตุให
วินิจฉยั ความและกระทาํ กรรมตา ง ๆ ผิดพลาดเสียธรรม มีเมตตาประจําใจ

๘) อวิหิงสา (ความไมเบียดเบียน) คือ ไมบีบคัน้ กดขี่ เชน เก็บภาษีขดู รีดหรอื เกณฑ
แรงงานเกินขนาด ไมหลงระเริงอํานาจ ขาดความกรุณา หาเหตุเบียดเบียนลงโทษอาชญาแก
ประชาราษฎรผ ใู ด เพราะอาศัยความอาฆาตเกลียดชัง

๙) ขันติ (ความอดทน) คือ อดทนตองานที่ตรากตรํา ถึงจะลําบากกายนาเหน่ือย
หนายเพียงไร ก็ไมทอถอย ถึงจะถูกย่ัวถูกหยันดวยคําเสียดสีถากถางอยางใด ก็ไมหมดกําลังใจ
ไมย อมละทง้ิ กรณียท่บี ําเพ็ญโดยชอบธรรม

๑๐) อวิโรธนะ (ความไมคลาดธรรม) คือ วางองคเปนหลักหนักแนนในธรรมคงที่ไม
มีความเอนเอียงหวั่นไหวเพราะถอยคําท่ีดีราย ลาภสักการะ หรืออฎิ ฐารมณ อนิฎฐารมณใ ด ๆ
สติมั่นในธรรม ทัง้ สวนยุติธรรม คือ ความเท่ียงธรรม นิติธรรม คือ ระเบียบแบบแผน หลักการ
ปกครอง ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณอี ันดงี าม

จากแนวคิดดังกลา วพบวา หลักธรรมาภิบาลในความหมายของพระพุทธศาสนา คือ
การใชหลกั ธรรมในการบูรณาการไปใชใ นการบรหิ ารสถานศึกษา องคกร และหนว ยงาน ตาง ๆ
ทงั้ ภาครฐั และเอกชนไดเปน อยางดี

๘๖ พระครปู ลดั บุญชวย โชติวโํ ส, ดร. (อยุ วงค)

บทท่ี ๕ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๕.๕ การบรู ณาการหลักธรรมาภิบาลไปใชใ นการบรหิ ารสถานศึกษา

การบูรณาการหลักธรรมาภิบาลเพ่ือบริหารสถานศึกษาไดมีนักการศึกษาอยาง
เกษม วฒั นชัย ไดก ลา วถงึ การบรหิ ารแบบธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา นั้นมีดงั น1้ี28๑๑

๑. การบริหารการศึกษาตองสอดคลองและตอบสนองนโยบายและความตองการ
ของระบบการศึกษาไทย ซ่ึงในหลักธรรมาภิบาล งบประมาณท่ีไดรับจะตองนําไปใชประโยชน
อยางคุมคาและเพื่อสวนรวม ถาเอาไปใชในส่ิงที่ไมมีประโยชนหรือเปนประโยชนเฉพาะตนเอง
หรือพวกพองตรงน้ีตองรับผิดชอบในเชงิ ธรรมาภบิ าล หรือกลาวอกี นัยหนึ่งคอื งบประมาณทุก
บาทท่ีโรงเรียนสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือกระทรวงศึกษาธิการ ไดมาตองใชใหเกิด
ประโยชนสงู สดุ จะคอรัปชั่นไมไ ด ตรงนี้เปน หลักธรรมาภิบาลทสี่ ําคัญ

๒. กระบวนการบริหารตองมีประสิทธิภาพ (Efficiency) และไดประสิทธิผล
(Effectiveness)

๓. ทุกข้ันตอนตองโปรง ใส (Transparency) และมีเหตุผล (Reasonableness) เรื่อง
“ความมีเหตุผล” มาจากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฯ ซ่ึงมี ๓
เรอื่ งใหญ ๆ คอื

(๑) ทางสายกลาง (Moderation) หรือมชั ฌิมาปฏิปทา
(๒) ทาํ อะไรตองมีเหตผุ ล (Reasonableness)
(๓) มีภูมคิ มุ ภัย (Self immunity)
๔. ตอ งมรี ะบบรับผิดชอบตอผลการบริหารการศึกษา (Accountability) ตองสรา ง
ระบบใหมคี นรับผิดชอบ ครูใหญ หัวหนา หมวด ผอู าํ นวยการเขต เลขาธิการ ตอ งรับผิดชอบถา
สรางตรงนี้ได เชื่อวาระบบจะมธี รรมาภิบาลและสามารถขับเคลื่อนไปขางหนาไดอยางรวดเร็ว
ซงึ่ สอดคลอ งกบั แนวคดิ ของ
กระทรวงศึกษาธิการ ไดสรุปภาพรวมการบริหารการศึกษาของสถานศึกษาข้ัน
พน้ื ฐานทเี่ ปนนติ ิบคุ คลตามแนวคิดหลักธรรมาภบิ าล129๑๒ รายละเอยี ดดังแผนภมู ทิ ี่ ๕.๑

๑๑ เกษม วัฒนชัย, “ธรรมาภิบาล..บทบาทสําคัญกรรมการสถานศึกษา”, รายงานการปฏิรูป
การศกึ ษาไทย, ปท ่ี ๕ ฉบับท่ี ๖๔ (๒๕๔๖): ๒๑.

๑๒ กระทรวงศึกษาธิการ, พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และท่ีแกไข
เพิม่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕, (กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศกึ ษาธกิ ารฯ, ๒๕๔๖), หนา ๓๑.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๘๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

หลักนติ ิธรรม

หลักความคุมคา ดา นวิชาการ ดานงบประมาณ หลกั คุณธรรม
หลกั ความ นกั เรยี นดี เกง มีสขุ หลักความโปรง ใส
รบั ผดิ ชอบ
ดานทวั่ ไป ดา นบคุ ลากร

หลักความมีสวนรวม

แผนภูมิท่ี ๕.๑ การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภบิ าล
สรุปไดวา ผูบรหิ ารโรงเรียน จะตองตระหนกั ถึงความสําคญั และความจําเปน ในการ
นําหลักการบริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารงานของโรงเรียน เพ่ือใหเ ปน ไป
ตามเจตนารมณของพระราชกฤษฎกี า วาดว ยหลักเกณฑและวิธกี ารบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
พ.ศ. ๒๕๔๖

๕.๖ สรุป

หลักธรรมาภิบาลเปนท้ังหลักการข้ันพื้นฐานและหลักยุทธศาสตรที่สังคมโลก
ตองการใหเกิดข้ึน และนํามาใช เพ่ือลด และแกปญหาตาง ๆ โดยเฉพาะปญหาการทุจริต
คอรัปช่ัน การฉอราษฎรบังหลวง การเอารัดเอาเปรียบ ชวยใหเกิดการสรางคุณคา จิตสํานึก
ทางปญญา วัฒนธรรมและจริยธรรม ทัง้ ดานเศรษฐกจิ สังคม การเมือง เขมแขง็ มีความม่ันคง
เกดิ ความเปน ธรรมในสงั คม

๘๘ พระครปู ลดั บุญชวย โชตวิ โํ ส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๕ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

องคประกอบของธรรมาภิบาลเพ่ือใหเกิดระบบการบริหารกิจการบานเมืองและ
สังคมที่ดี คือการมีสวนรวมในการทํางานของบุคลากรในองคกร มีการประสานระหวาง
บคุ ลากรและผูบงั คับบัญชา ตองมีการเปดเผยการดําเนินงานดานนโยบายการบริหารแบบหลัก
ธรรมาภิบาลแบบเบด็ เสรจ็ ซึ่งในทางพระพทุ ธศาสนาเมอื่ นําแนวคิดดังกลาวมาศึกษาจะวาสาระ
ท่แี ทจริงคือหลกั การของพระพทุ ธศาสนา

พระพุทธเจาทรงเปลี่ยนแนวความคิดเกี่ยวกับมนุษยแ ละจุดมุงหมายของมนุษยจาก
แนวเดิม ซ่ึงเปนความคิดตามหลักศาสนาพราหมณและลัทธิอ่ืน ๆ พระพุทธองคทรงสอนวา
การยึดม่ันในตัวตน (อัตตา) ทําใหเกิดความทุกขขึ้นในสังคม ทําใหคนเราคิดถึงตัวเองมากกวา
สังคม สวนการละตัวตน จะทําใหคนเรามีความสํานึกตอสังคมไดมากขึ้น การละตัวตนจะตอง
อาศัยการจัดระบบสังคมเสียใหม แตการเสนอใหเปลี่ยนแปลงสังคมยอมติดขัดที่ผูปกครองซึ่ง
รักษาอํานาจของตนเน่ืองจากตนมฐี านะที่ดอี ยูแ ลว ดังนั้นหลักธรรมมาภบิ าลก็จะสอดคลองกับ
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่เรียกวา หลักทศพิธราชธรรม หรือธรรม ๑๐ ประการ คือ
๑) ทาน ๒) ศีล ๓) การบรจิ าค ๔) ความซ่ือตรง ๕) ความออ นโยน ๖) ความเพยี ร ๗) ความไม
โกรธ ๘) ความไมเบียดเบยี น ๙) ความอดทน ๑๐) ความไมค ลาดธรรม

หลักธรรมาภิบาลในความหมายของพระพุทธศาสนา คือการใชหลักธรรมในการ
บูรณาการไปใชในการบริหารสถานศึกษา องคกร และหนวยงานตาง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
ไดเปนอยางดี ผูบริหารโรงเรียน จะตองตระหนักถึงความสําคัญและความจําเปน ในการนํา
หลักการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลมาใชในการบริหารงานของโรงเรียน เพ่ือใหเปนไป
ตามเจตนารมณข องพระราชกฤษฎีกา วา ดว ยหลักเกณฑและวิธกี ารบรหิ ารกจิ การบานเมอื งท่ีดี

บทท่ี ๖
หลกั ธรรมาภบิ าลสําหรับผบู ริหารสถานศึกษา

การศึกษาเร่ืองหลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษาน้ันในบทนี้จะเปนการ
กลา วถึงประเดน็ สําคัญ ๆ ดงั ตอไปน้ี

๖.๑ แนวคิดและทฤษฏเี กยี่ วกับหลักธรรมาภบิ าล

การบริหารการศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา
ดวยระบบการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงกําหนดหลักพ้ืนฐานการ
บรหิ ารตามหลกั ธรรมาภิบาล ๖ ประการ130๑ คอื

๑. หลักนติ ิธรรม
๒. หลักคุณธรรม
๓. หลกั ความโปรงใส
๔. หลักการมีสว นรว ม
๕. หลักความรับผิดชอบ
๖. หลักความคุมคา
คําวา “ธรรมาภิบาล” เปนแนวทางการบริหารที่มีความโดดเดนมากที่สุดใน
วงการวิชาการปจจุบันที่ไดรับการยอมรับวาเปนหลักการที่เก้ือหนุนสังคมประชาธิปไตย คํา
วา ธรรมาภิบาล สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย131๒ ไดอธิบายวา ธรรมาภิบาลเปน
ศัพทท่ีสรางข้ึนมาจากคําวา “ธรรม” ซึ่งแปลวา ความดี หรือกฎเกณฑ สวนคําวา “อภิบาล”
แปลวา บํารุงรักษา ปกครอง เม่ือรวมกันก็เปน “ธรรมาภิบาล” ซ่ึงมีความหมายเดียวกับคําวา
Good Governance และยังมีคําศัพทตาง ๆ ท่ีสอ่ื ความหมายในลักษณะเดียวกับ ธรรมาภบิ าล
เชน ธรรมรัฐสุประศาสนการ ประชารัฐ การปกครองที่ดี การบริหารจัดการบานเมืองท่ีดี ธรรม

๑ สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วาดวยการสรางระบบการบริหาร
กิจการบานเมืองและสังคมมีท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๒, เลม ๑๑๖ ตอนท่ี ๖๓ ง ราชกิจจานุเบกษา ๑๐
สิงหาคม ๒๕๔๒, หนา ๓ – ๔.

๒ สถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย, “ธรรมาภิบาลกับการกูวิกฤตเศรษฐกิจชาติ”,
ประชาชาติธุรกจิ , (๓-๖ ธันวาคม ๒๕๔๑): ๒.

๙๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

ราษฎร การกํากับดูแลท่ีดี รัฐาภิบาล การบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี บรรษัทภิบาล
รวมท้ังศัพทอ ืน่ ๆ เอกชนนยิ มใช “หลักการบริหารจัดการทดี่ ”ี

ธรรมาภิบาล เปนแนวคิดที่ใชในสาขารัฐศาสตร และรัฐประศาสนศาสตร โดยเปน
คาํ ทอ่ี ยูรวมกับกลมุ คําประชาธิปไตย ประชาสงั คม การมสี ว นรว มของประชาชน สทิ ธิมนุษยชน
และการพัฒนาที่ย่ังยืน ในชวงศตวรรษท่ีผานมา กลุมคําดังกลาวน้ีมีความสัมพันธที่เก่ียวของ
กบั การปฏริ ูปองคกรของรัฐ นักรัฐประศาสนศาสตรสวนหน่ึงมองวา ธรรมาภิบาลเปน มติ ิใหมท่ี
เนนบทบาทของผูบริหารในการท่ีจะปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ มีการตรวจสอบ สามารถ
ประเมนิ ผลงานไดอ ยางชดั เจน และมกี ารแขง ขันเพอื่ การจดั การการบริการที่ดีขน้ึ 132๓

พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงฺคโล) กลาววา หลักธรรมาภิบาลนี้สงเคราะห
เขา ในหลกั ปฏิบตั ทิ ่ีดี ที่ชอบ คอื ทถี่ กู ตอง ท่เี หมาะสม ที่บริสทุ ธิ์ และที่ยตุ ิธรรม สําหรับหวั หนา
ฝายปกครองหรือบริหารทกุ ระดับ133๔ “ถกู ตอง” หมายถึง เปน หลักปฏิบัติทีถ่ ูกตองตามหลกั การ
ตามทํานองคลองธรรม ไมผิดศีลผิดธรรม ไมผิดกฎหมายบานเมืองและระเบียบขอบังคับโดย
ชอบ

“เหมาะสม” หมายถึง รูจักพิจารณาใหเหมาะกับสถานการณรูจักปฏิบัติให
เหมาะสมกับบุคคล กับกาลเวลา และใหเหมาะสมกับสถานที่“บริสุทธิ์” หมายถึง การ
ปฏิบัติงานตามอํานาจหนาท่คี วามรับผิดชอบ ดวยเจตนาความคิดอานดวยจิตใจที่บริสุทธ์ิจาก
กเิ ลสเครือ่ งเศรา หมองอนั หนาแนน

“ยุติธรรม” หมายถึง การปฏิบัติตอผูอื่น โดยปราศจากอคติ คือความลําเอียง ๔
อยาง ไดแก ๑) ฉันทาคติ ลําเอียงเพราะรัก หรือมีอามิสส่ิงจูงใจ ๒) โทสาคติ ลําเอียงเพราะ
โกรธพยาบาทหรือเกลียดชัง ๓) โมหาคติ ลําเอียงเพราะไมรูจริงหรือหูเบา ๔) ภยาคติ ลําเอียง
เพราะความเกรงกลัวอาํ นาจหรอื อทิ ธพิ ลตาง ๆ

๓ สถาบันพระปกเกลา, ตัวช้ีวัดธรรมาภิบาล, (กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพราว, ๒๕๔๔),
หนา ๖.

๔ พระราชญาณวิสิฐ (เสริมชัย ชยมงคฺ โล), หลักธรรมาภิบาล, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพกอง
พทุ ธศาสนศกึ ษา สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ, ๒๕๔๙), หนา ๘ – ๙.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๙๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ธรี ยุทธ บญุ มี ไดนาํ แนวทางของทงั้ ๓ กลมุ มาผสมผสานและเสนอแนวคิดไววา ให
ทกุ กลมุ ปฏิรปู ตนเอง ใหมกี ารปฏริ ปู ๔ ระบบ คอื การปฏิรูปภาคราชการ การปฏิรปู ภาคธุรกิจ
เอกชน การปฏิรูปสิทธิทางเศรษฐกิจสังคม และการปฏิรูปกฎหมาย รูปแบบของธรรมาภิบาล
จะเปนการยกระดับกระบวนการความสัมพันธรวมมือกันของฝายตาง ๆ ในสังคมท้ังภาครัฐ
ธุรกิจเอกชน และสังคม แนวความคิดนี้เปนเสมือน “ธรรมาภิบาลแหงชาติ” ซ่ึงยังเปนที่
ถกเถียงในแงความเปนไปไดในทางปฏบิ ัติ นอกจากน้ียังไดกลาวถึงความจําเปน ของการมีธรรม
รัฐแหงชาติ รูปแบบภารกิจของธรรมรัฐแหงชาติ วิกฤตเศรษฐกิจของไทยกับปจจัยท่ีทําใหเกิด
ธรรมรัฐแหงชาติ รวมถึงยุทธศาสตรกูชาติจากหายนะ ไดแก การเพิ่มทุนทางการเมอื งการเพิ่ม
ทุนทางสังคมใหกับประเทศ และการเพิ่มทุนทางคานิยม วัฒนธรรม ตลอดจนเสนอกรอบ
ความคิดในการปฏิรูปตนเอง อีกสวนหนึ่งเปนการกลาวถึงวิกฤตรัตนโกสินทรครั้งท่ี ๒ ท่ี
ประชาธิปไตยแบบตัวแทนลมเหลวและเสนอประชาธิปไตยแบบตรวจสอบข้ึนมาแทนท่ีเพื่อ
สรา งทางออกในการแกป ญหาเศรษฐกิจลม ละลาย134๕

บวรศักดิ์ อุวรรณโณ กลาวถึงลักษณะของธรรมาภิบาลตามแนวความคิดสากล
เปาหมาย โครงสราง กระบวนการและสาระของธรรมาภิบาล ความสัมพันธระหวาง
ประชาธิปไตย การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม การปฏิรูปการเมืองเพื่อสรางธรรมาภิบาลใน
สังคมไทย รากฐานของธรรมาภิบาล ไดแก ธรรมาภิบาลเชิงโครงสราง เชน การปรับ
โครงสรางองคกรนิติบัญญัติ การปรับโครงสรางระบบราชการ การปรับโครงสรางองคกร
อิสระ และธรรมาภิบาลเชิงกระบวนการ ไดแก การรวมรับรูในการจัดการ สิทธิในการรวมให
ขอมูลและความคิดเห็น สิทธิในการรวมตัดสินใจรวมทําและรวมรับรู สิทธิในการรวม
ตรวจสอบความขัดแยงระหวางธรรมาภิบาลสากลกับวัฒนธรรมการเมืองไทย ซ่ึงกลาวถึงการ
พัฒนาของวัฒนธรรมกับธรรมาภิบาลเดิมและความพยายามสรางธรรมาภิบาลพุทธเพ่ือ
ผสมผสานกบั ธรรมาภบิ าลไทยเดมิ 135๖

๕ ธีรยุทธ บุญมี, สังคมเขมแข็ง ธรรมรัฐแหงชาติ ยุทธศาสตรกูหายนะประเทศไทย,
(กรุงเทพมหานคร: สายธาร, ๒๕๔๑), หนา ๖๖.

๖ บวรศักด์ิ อุวรรณโณ, การสรางธรรมาภิบาล (Good Governance) ในสังคมไทย,
(กรงุ เทพมหานคร: วิญชู น, ๒๕๔๒), หนา ๓๐.


Click to View FlipBook Version