The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Keywords: คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

๒๔๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

คณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยให
คณะกรรมการคุรุสภาแหงพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๖ ซึ่ง
อยูในวันกอนวันท่ีคําสั่งนี้ใชบังคับพนจากตําแหนง และมิใหมีการแตงต้ังบุคคลขึ้นมาแทนที่
โดยใหคณะกรรมการคุรุสภาตามกฎหมายวาดวยสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา
ประกอบดวย รฐั มนตรีวาการกระทรวงศึกษาธกิ าร เปน ประธานกรรมการ รฐั มนตรชี วยวา การ
กระทรวงศึกษาธิการ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิการ
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการ
ศึกษา ผูอํานวยการสํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน และหัวหนา
สํานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถ่ิน เปนกรรมการ และให
เลขาธกิ ารคุรสุ ภา เปน กรรมการและเลขานุการ

นอกจากน้ี ใหเลขาธิการคุรุสภาซึ่งอยูในวันกอนท่ีคําสั่งน้ีใชบังคับ หยุดการปฏิบัติ
หนาท่ีไปกอนจนกวาหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติจะมีคําส่ังเปลี่ยนแปลงเปนอยางอื่น
และใหรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการพิจารณามอบหมายให รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
หรือขาราชการกระทรวงศึกษาธิการในระดับเดียวกันข้ึนไปปฏิบัติหนาท่ีในตําแหนงเลขาธิการ
ครุ ุสภา

วตั ถปุ ระสงค
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๘ ได
กาํ หนดวัตถปุ ระสงคของครุ สุ ภาไว281๕ ดังน้ี
๑. กําหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กํากับ
ดูแลการปฏิบตั ิตามมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวชิ าชพี รวมท้งั การพฒั นาวชิ าชพี
๒. กําหนดนโยบายและแผนพัฒนาวชิ าชพี
๓. ประสาน สงเสริมการศกึ ษาและการวจิ ัยเกีย่ วกบั การประกอบวชิ าชพี

๕ ครุ ุสภา, [ออนไลน], แหลง ทมี่ า: https://th.wikipedia.org/wiki/คุรสุ ภา, [๓ ตุลาคม ๒๕๖๓]

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๔๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

คณะกรรมการ
คณะกรรมการครุ สุ ภา
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ กําหนดใหมี
คณะกรรมการคณะหน่ึง เรียกวา คณะกรรมการครุ สุ ภา ประกอบดว ย
คณะกรรมการครุ ุสภา ตามพระราชบญั ญัติสภาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.
๒๕๔๖

ลําดับท่ี ตาํ แหนง จาํ นวน ท่ีมา

คณะรัฐมนตรี แตง ตงั้ จากผูทรงคณุ วฒุ ทิ ีม่ ีความรู
๑ ประธานกรรมการ ๑ คน ความเชี่ยวชาญ และประสบการณส งู ดาน

การศึกษา มนุษยศาสตร สังคมศาสตร หรือกฎหมาย

ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
เลขาธกิ ารสภาการศึกษา
เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
เลขาธิการคณะกรรมการอดุ มศกึ ษา
กรรมการโดย เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาชีวศึกษา
๒ ตาํ แหนง ๘ คน เลขาธกิ ารคณะกรรมการขา ราชการครแู ละบุคลากร

ทางการศกึ ษา
เลขาธกิ ารคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชน
หวั หนา สํานกั งานคณะกรรมการมาตรฐานการ
บริหารงานบุคคลสว นทอ งถนิ่

คณะรฐั มนตรี แตงตงั้ จากผทู ี่มีความรู ความ
เชีย่ วชาญ และประสบการณสงู ดานการบรหิ าร
กรรมการ การศึกษา การอาชวี ศึกษา การศึกษา
๓ ผทู รงคุณวุฒิ ๗ คน พิเศษ มนุษยศาสตร สงั คมศาสตร วิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยี และกฎหมายดานละหนึง่ คน ซึง่ ใน
จํานวนนีต้ องเปน ผูท เ่ี ปนหรือเคยเปนครู ผูบรหิ าร

๒๔๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

ลาํ ดบั ท่ี ตาํ แหนง จาํ นวน ทม่ี า

สถานศกึ ษา หรอื ผบู รหิ ารการศึกษา ไมนอยกวา สาม
คน

กรรมการผดู ํารง ไดรบั การแตงต้งั จากผดู าํ รงตําแหนง คณบดีคณะครุ
ตาํ แหนง คณบดี ศาสตรห รือศึกษาศาสตร หรือการศกึ ษา ซง่ึ เลือก
คณะครุศาสตร กันเองจากสถาบนั อุดมศึกษาของรฐั จํานวนสามคน
๔ หรือ ๔ คน และจากสถาบนั อุดมศึกษาเอกชนจาํ นวนหนง่ึ คน

ศึกษาศาสตร หรอื
การศกึ ษา

ตาม เลอื กตง้ั มาจากผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษาท่ี
สัดสว น ดาํ รงตําแหนง ครู ผบู ริหารสถานศึกษา ผูบริหาร
กรรมการจากผู จาํ นวนผู การศกึ ษา และบุคลากรทางการศึกษาอนื่ และมา
๕ ประกอบวิชาชีพ ประกอบ จากสังกดั เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา สถาบันอาชีวศกึ ษา
ทางการศึกษา วชิ าชพี สถานศึกษาเอกชน และองคปกครองสวนทอ งถน่ิ
ทางการ ตามสัดสว นจาํ นวนผูประกอบวชิ าชพี ทางการศึกษา
ศกึ ษา

๖ กรรมการและ ๑ คน เลขาธกิ ารคุรุสภา
เลขานกุ าร

หมายเหตุ : หลกั เกณฑและวธิ ีการสรรหาประธานกรรมการ กรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ
หลักเกณฑและวิธีการเลือกผูแทนสถาบันอุดมศึกษา และหลักเกณฑและวิธีการเลือกต้ังผู
ประกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษาใหเ ปนไปตามขอบังคบั ของครุ สุ ภา

ในปจจุบัน คณะกรรมการคุรุสภา แตงต้ังโดยคําส่ังหัวหนาคณะรักษาความสงบ
แหงชาติที่ ๑๗/๒๕๖๐ เร่ือง แกไขเพิ่มเติมคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความสงบแหงชาติ ที่ ๗/
๒๕๕๘

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๔๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย (ฉบับ
ช่วั คราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ หัวหนา คณะรักษาความสงบแหงชาติโดยความเหน็ ชอบของคณะ
รักษาความสงบแหงชาติ จึงมีคําส่ัง ใหยกเลิกความในขอ ๒ ของคําสั่งหัวหนาคณะรักษาความ
สงบแหงชาติ ที่ ๗/๒๕๕๘ เร่ือง การปฏิบัติหนาท่ีของคณะกรรมการคุรุสภา คณะกรรมการ
สงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และคณะกรรมการบริหาร
องคการคาของสํานักงานคณะกรรมการสงเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากร
ทางการศกึ ษา ลงวันท่ี ๑๖ เมษายน พทุ ธศักราช ๒๕๕๘ และใหใ ชความตอ ไปนแี้ ทน

“ใหค ณะกรรมการคุรุสภา ตามกฎหมายวาดว ยสภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ประกอบดว ย

๑. รัฐมนตรวี าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เปนประธานกรรมการ
๒. รัฐมนตรชี ว ยวาการกระทรวงศึกษาธกิ าร เปนกรรมการ
๓. ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร เปน กรรมการ
๔. เลขาธิการสภาการศึกษา เปน กรรมการ
๕. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เปนกรรมการ
๖. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา เปน กรรมการ
๗. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา เปนกรรมการ
๘. เลขาธิการ ก.ค.ศ. เปน กรรมการ
๙. เลขาธกิ ารคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน เปนกรรมการ
๑๐. หัวหนาสํานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถ่ิน
เปน กรรมการ
๑๑. เลขาธกิ ารครุ สุ ภา เปนกรรมการและเลขานกุ าร
คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ กําหนดใหมี
คณะกรรมการคณะหนง่ึ เรยี กวา คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชพี ประกอบดว ย
๑. ประธานกรรมการ ซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งจากกรรมการทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการ
ครุ สุ ภา

๒๔๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

๒. กรรมการโดยตําแหนง ไดแก เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (ประเทศไทย) เลขาธิการคณะกรรมการขาราชการ
ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา

๓. กรรมการผูทรงคุณวุฒิจํานวนสี่คน ซึ่งคณะกรรมการคุรุสภาสรรหาจาก
ผูทรงคุณวุฒิท่ีมีความรู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณสูงดานการศึกษา การบริหาร และ
กฎหมาย

๔. กรรมการจากคณาจารยใ นคณะครุศาสตรห รือศึกษาศาสตร หรือการศึกษา ท้ัง
ของรัฐและเอกชนที่มีการสอนระดับปริญญาในสาขาวิชาครุศาสตรหรือศึกษาศาสตร หรือ
การศกึ ษา ซึง่ เลอื กกันเองจํานวน ๒ คน

๕. กรรมการจากผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาจํานวนหกคน ซึ่งเลือกต้ังมาจาก
ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดํารงตําแหนงครูที่มีประสบการณดานการสอนไมนอยกวา
สิบป หรือดํารงตําแหนง อาจารย ๓ หรือมีวิทยฐานะเปนครูชํานาญการข้ึนไป ผูประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษาที่ดํารงตําแหนงผูบริหารการศึกษาท่ีมีประสบการณในตําแหนงไมนอย
กวาสิบป และบคุ ลากรทางการศึกษาอ่นื ที่มีประสบการณไ มน อ ยกวา สบิ ป

๖. เลขาธกิ ารครุ ุสภา เปน กรรมการและเลขานกุ าร
อํานาจหนา ท่ี
คณะกรรมการคุรุสภา
๑. บริหารและดาํ เนนิ การตามวตั ถุประสงคและอํานาจหนาท่ีของคุรุสภาซึง่ กาํ หนด
ไวใ นพระราชบญั ญัตนิ ี้
๒. ใหคาํ ปรึกษาและแนะนาํ แกค ณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ
๓. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณคําส่ังของคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรา
๕๔
๔. เรงรัดพนักงานเจาหนาท่ีสวนราชการ หรือคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
ปฏบิ ตั ิตามอาํ นาจและหนา ทที่ ก่ี ฎหมายกาํ หนด
๕. แตงต้ังคณะอนุกรรมการเพ่ือกระทําการใด ๆ อันอยูในอํานาจและหนาท่ีของ
คณะกรรมการคุรสุ ภา
๖. กําหนดนโยบายการบริหารงาน และใหความเห็นชอบแผนการดําเนินงานของ
สาํ นกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๔๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๗. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดไวใหเปนอํานาจและหนาท่ีของ
คณะกรรมการครุ สุ ภา

๘. พิจารณาหรอื ดําเนนิ การในเรือ่ งอ่ืนตามที่รฐั มนตรีมอบหมาย
๙. ควบคุม ดูแล การดําเนินงาน และการบริหารงานทั่วไป ตลอดจนออกระเบียบ
ขอ บงั คบั ประกาศ หรอื ขอ กาํ หนดเก่ยี วกับสาํ นกั งานเลขาธิการครุ สุ ภา ในเรอื่ งดงั ตอ ไปน้ี

๑) การจดั แบงสวนงานของสาํ นักงานเลขาธิการคุรุสภาและขอบเขตหนาท่ีของ
สวนงานดงั กลาว

๒) การกําหนดตําแหนง คุณสมบัติเฉพาะ อัตราเงินเดือน คาจาง และ
คา ตอบแทนอ่ืนของพนักงานเจาหนาท่คี ุรสุ ภา

๓) การคัดเลือก การบรรจุ การแตงต้ัง การถอดถอน วินัยและการลงโทษของ
เจา หนาที่ รวมท้ังวิธีการ เงื่อนไข ในการจางพนกั งานเจาหนา ทข่ี องครุ ุสภา

๔) การบริหารและจัดการการเงนิ การพสั ดุ และทรพั ยสนิ ของครุ สุ ภา
๕) กําหนดอํานาจหนาที่และระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติหนาที่ของผูตรวจสอบ
ภายใน
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี
๑. พจิ ารณาการออกใบอนุญาตใหแ กผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศึกษา และการพัก
ใช หรือเพกิ ถอนใบอนญุ าต
๒. กํากับดูแลการปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผูประกอบวิชาชีพ
ทางการศกึ ษา
๓. สงเสริม พัฒนา และเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากําหนดมาตรฐานและ
จรรยาบรรณในการประกอบวิชาชพี
๔. สงเสริม ยกยอง และพัฒนาวิชาชีพไปสูความเปนเลิศในสาขาตาง ๆ ตามที่
กําหนดในขอ บังคบั ของคุรสุ ภา
๕. แตงต้ังท่ีปรึกษา คณะอนุกรรมการ หรือมอบหมายกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
เพอ่ื กระทาํ การใด ๆ อันอยูใ นอํานาจและหนา ทีข่ องคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี
๖. ปฏิบัติการอื่นใดตามท่ีกฎหมายกําหนดไวใหเปนอํานาจและหนาท่ีของ
คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชพี
๗.พิจารณาหรือดําเนินการในเร่ืองอื่นตามที่รัฐมนตรี หรือคณะกรรมการคุรุสภา
มอบหมาย

๒๔๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

สาํ นักงานเลขาธิการคุรสุ ภา
ในการดําเนินงานของคุรุสภามี สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา เปนหนวยเลขานุการ
และธุรการ รับผิดชอบงานตามทคี่ ุรุสภามอบหมาย โดยมีเลขาธิการคุรุสภาเปนผูบรหิ ารกิจการ
ของสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ปจจบุ ันแบงสวนงานออกเปน ๗ สํานัก ๑ สถาบัน ๑ กลุม ๑
หนว ย ดังนี้
๑. สาํ นกั มาตรฐานวิชาชพี
๒. สาํ นักทะเบียนและใบอนุญาตประกอบวชิ าชพี
๓. สาํ นักจรรยาบรรณวชิ าชพี และนิติการ
๔. สํานักพัฒนาและสงเสรมิ วิชาชพี
๕. สาํ นักนโยบายและแผน
๖. สาํ นักเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร
๗. สาํ นักอํานวยการ
๘. สถาบันครุ พุ ัฒนา
๙. กลุมพฒั นาระบบงาน
๑๐ หนวยตรวจสอบภายใน
สถาบันคุรพุ ฒั นา
สถาบันคุรุพัฒนา เปนหนวยงานภายในของสํานักงานเลขาธิการคุรุสภา จัดต้ังขึ้น
เม่ือวันที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๐ ตามระเบียบคณะกรรมการคุรุสภาวาดวยการจัดต้ังถาบันคุรุ
พัฒนา พ.ศ. ๒๕๖๐ และระเบียบคณะกรรมการคุรุสภาวาดวยการจัดต้ังสถาบันคุรุพัฒนา
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ โดยกําหนดใหสถาบันคุรุพัฒนาเปนสถาบันวิชาการชั้นสูง ในกํากับ
ของคุรุสภา เปนสวนงานหน่ึงของสํานกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา ตามระเบียบคุรสุ ภา วาดวยการ
จัดแบง สวนงานและขอบเขตหนาที่ของสวนงานในสํานกั งานเลขาธิการครุ ุสภา พ.ศ. ๒๕๖๐ มี
สถานะเทียบเทาสํานัก ใชคํายอวา “สคพ.” และใหมี ช่ือเรียกภาษาอังกฤษวา “Teacher
Professional Development Institute” ใชคํายอวา “TPDI”

๑๐.๕ มาตรฐานวิชาชพี ทางการศึกษา

มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา เปนเคร่ืองมือสําคัญของผูประกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษาซึ่งพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ กําหนดให

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๔๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

เปนวิชาชีพควบคุมทางการศึกษาต้ังแตวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา
และบุคลากรทางการศึกษาอ่ืน (ตามท่ีประกาศกําหนดในกฎกระทรวง) จะตองปฏิบัติเพ่ือให
เกิดผลดตี อผูรับบรกิ าร อันถือเปนเปาหมายหลกั ของการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซ่ึงผู
ประกอบวิชาชีพจะตองศึกษาใหเกิดความรู ความเขาใจท่ีถูกตองใหสามารถนําไปใชในการ
ประกอบวชิ าชีพใหสมกบั การเปนวิชาชพี ชนั้ สงู และไดร บั การยอมรบั

คุรุสภา ดําเนินการตามหนาท่ีท่ีกําหนดในพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากร
ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ (๑) คุรุสภามีอํานาจหนาท่ีกําหนดมาตรฐานวิชาชีพ
และจรรยาบรรณของวิชาชีพมาตรา ๙ (๑๑) (ฉ) กําหนดใหคุรุสภามีหนาท่ีออกขอบังคับคุรุ
สภาวาดวยมาตรฐานวิชาชีพ และมาตรา ๔๙ กําหนดใหมีขอบังคับวาดวยมาตรฐานวิชาชีพ
ประกอบดวย (๑)มาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ (๒) มาตรฐานการปฏิบัติงาน
(๓) มาตรฐานการปฏิบตั ิตน

มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา คือ ขอกําหนดเก่ียวกับคุณลักษณะและคุณภาพท่ี
พึงประสงคในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตอง
ประพฤติปฏิบัติตาม เพื่อใหเกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ สามารถสรางความเช่ือม่ัน
ศรัทธาใหแกผูรับบริการจากวิชาชีพไดวา เปนบริการท่ีมีคุณภาพ ตอบสังคมไดวาการท่ีมี
กฎหมายใหความสําคัญกับวิชาชีพทางการศึกษา และกําหนดใหเปนวิชาชีพควบคุมนั้น
เน่ืองจากเปนวิชาชีพท่ีมีลักษณะเฉพาะ ตองใชความรู ทักษะ และความเช่ียวชาญในการ
ประกอบวิชาชีพ

พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๔๙
กําหนดใหมีมาตรฐานวิชาชีพ ๓ ดาน ประกอบดว ย

๑. มาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ หมายถึง ขอกําหนดสําหรับผูที่จะ
เขามาประกอบวิชาชีพ จะตองมีความรูและประสบการณวชิ าชีพเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพ
จึงจะสามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเพื่อใชเปนหลักฐานแสดงวาเปนบุคคลท่ีมี
ความรูค วามสามารถ และมีประสบการณพ รอมท่จี ะประกอบวิชาชพี ทางการศึกษาได

๒. มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน หมายถึง ขอกําหนดเกีย่ วกบั การปฏิบัติงานในวิชาชีพให
เกิดผลเปนไปตามเปาหมายที่กําหนด พรอมกับมีการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง เพื่อใหเกิดความ
ชํานาญในการประกอบวิชาชีพ ท้ังความชํานาญเฉพาะดานและความชํานาญตามลําดับคุณภาพ
ของมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรืออยางนอยจะตองมีการพัฒนาตามเกณฑที่กําหนดวามีความรู

๒๕๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

ความสามารถ และความชํานาญ เพียงพอท่ีจะดํารงสถานภาพของการประกอบวิชาชีพตอไปได
หรือไม นนั่ ก็คือ การกาํ หนดใหผ ูป ระกอบวชิ าชีพจะตองตอใบอนุญาตทุกๆ ๕ ป

๓. มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายถึง ขอกําหนดเก่ียวกับการประพฤติตนของผู
ประกอบวิชาชีพ โดยมีจรรยาบรรณของวิชาชีพเปนแนวทางและขอพึงระวังในการประพฤติ
ปฏิบัติ เพ่ือดํารงไวซ่ึงชื่อเสียง ฐานะ เกียรติ และศักดิ์ศรีแหงวิชาชีพ ตามแบบแผนพฤติกรรม
ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพท่คี ุรุสภาจะกาํ หนดเปน ขอบังคับตอไป หากผูประกอบวิชาชีพผูใด
ประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพ ทําใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอ่ืนจนไดรับการ
รอ งเรียนถึงครุ ุสภาแลว ผูน้ันอาจถกู คณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพวินิจฉยั ช้ีขาดอยางใดอยา ง
หนึ่งดังตอไปนี้ ๑) ยกขอกลา วหา ๒) ตกั เตือน ๓) ภาคทณั ฑ ๔) พกั ใชใบอนญุ าตที่กาํ หนดเวลา
ตามทเี่ ห็นสมควร แตไมเ กนิ ๕ ป และ ๕) เพิกถอนใบอนญุ าต (มาตรา ๕๔)

การดาํ เนินงานเพื่อใหไ ดสาระสาํ คญั ของมาตรฐานความรแู ละประสบการณว ิชาชีพ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน และมาตรฐานการปฏิบัติตน หรือจรรยาบรรณของวิชาชีพ นั้น
สํานักงานเลขาธิการคุรุสภา ไดดําเนินการหลายรูปแบบตั้งแตการศึกษาวิเคราะหเอกสาร
งานวิจัย หลักสูตรการผลิตครู สํารวจความคิดเห็นของคณบดีคณะครุศาสตร/ศึกษาศาสตร
การประชุมสัมมนา ประชาพิจารณ ประชุมปฏิบัติการ เพื่อใหผูมีสวนเก่ียวของ ทั้งผูผลิต ผูใช
ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ผูทรงคุณวุฒิที่มีประสบการณ ไดรวมกันพิจารณากําหนด
มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ประชุมพิจารณาแกไขปรับปรุงและพัฒนา
รวมกันตอเน่อื งมาต้ังแตเดอื นตุลาคม ๒๕๔๗ จนถงึ ปงบประมาณ ๒๕๔๘ เพือ่ ใหมาตรฐานที่
กําหนดสามารถใชเปนหลักประกันการประกอบวิชาชีพ ที่ทําใหผูประกอบวิชาชีพทางการ
ศึกษามมี าตรฐานเปนท่ียอมรบั เปนหลกั ประกนั แกผูรับบรกิ ารจากวิชาชพี ได

สรุปผลการดําเนินงานดังกลาว ไดรายละเอียดเก่ียวกับมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ ดงั ตอไปนี้

๑. ขอบังคับคุรุสภาวาดวยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.
๒๕๔๘ ซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๑๒๒ ตอนพิเศษ ๗๖ ง ลงวันท่ี ๕ กันยายน
๒๕๔๘

๒. ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ืองสาระความรูและสมรรถนะของผูประกอบ
วชิ าชีพครู ผูบริหารสถานศกึ ษา และผูบริหารการศึกษา ตามมาตรฐานความรแู ละประสบการณ
วิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๕๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๓. สาระของมาตรฐานความรู มาตรฐานประสบการณว ิชาชีพสาระความรู สมรรถนะ
และมาตรฐานการปฏิบัติงานของผูประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก เพื่อจัดทําเปนประกาศ
คณะกรรมการคุรุสภา เม่ือกฎกระทรวงการประกอบวิชาชีพควบคุม กําหนดใหวิชาชีพ
ศึกษานิเทศกเปนวชิ าชีพควบคุม

๔. สาระของแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ เพ่ือจัดทําเปน
ขอบังคับคุรุสภา ซึ่งอยูระหวานําเสนอคณะกรรมการคุรสภา เพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ
สาระสาํ คัญเพอ่ื นาํ ไปจัดทําเปนขอบงั คับตอ ไป

งานตามภารกิจของคุรุสภาที่จะตองดําเนินการตอจากการกําหนดมาตรฐาน
วชิ าชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ ตามทคี่ ุรุสภากําหนด คือ

๑. งานรับรองปริญญา ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการศึกษา ตามหนาที่ของคุรุ
สภาท่ีกําหนดในมาตรา ๙ (๗) แหงพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.
๒๕๔๖ ซึ่งกําหนดใหคุรุสภามีหนา ทร่ี ับรองปริญญา ประกาศนยี บตั ร หรือวุฒิบัตรของสถาบัน
ตา ง ๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ โดยสถาบันการผลิตครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จะตอ งผลิตผู
ท่ีจะประกอบวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา
อน่ื ซึ่งเปนวิชาชีพควบคุม ใหไดผลผลติ ตรงตามมาตรฐานความรูแ ละประสบการณวิชาชีพ ที่
คุรุสภากําหนด ท้ังน้ี เพ่ือใหผูท่ีจะเขามาประกอบวิชาชีพมีคุณวุฒิและประสบการณตามท่ี
กฎหมายกําหนด โดยครุ ุสภาจะเขาไปรับรองประปรญิ ญาทางการศึกษา หรือประกาศนียบัตร
บัณฑิตทางการศึกษา ซ่ึงจะเปนการรับรองทั้งกระบวนการของปริญญา หรือประกาศนียบัตร
บัณฑิต เพ่ือใหการรับรองถึงผูสําเร็จการศึกษาจากปริญญาหรือประกาศนียบัตรบัณฑิต วามี
ความรูและประสบการณเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพทางการศึกษาบุคคลเหลาน้ันจึงจะ
สามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได ผลการดาํ เนินงานได

- สาระหลกั เกณฑก ารรบั รองปริญญาทางการศกึ ษา (หลกั สูตร ๕ ป)
- สาระหลกั เกณฑก ารรับรองประกาศนยี บตั รบัณฑิตทางการสอน
- สาระหลกั เกณฑก ารรับรองประกาศนียบตั รบัณฑิตทางการบริหารการศึกษา
- สาระหลกั เกณฑก ารรับรองปรญิ ญาโททางการสอน
- สาระหลกั เกณฑการรับรองปรญิ ญาโททางการบรหิ ารการศึกษา
- มาตรฐานคุณสมบัตขิ องสถานศกึ ษาสาํ หรับปฏบิ ตั ิการสอน
- สาระมาตรฐานหลักสูตรการฝกอบรมตามมาตรฐานวิชาชีพผูบริหาร
สถานศึกษา

๒๕๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

๒. งานรับรองความรูและประสบการณวิชาชีพ ตามหนาที่ของคุรุสภาที่กําหนดใน
มาตรา ๙(๘) แหงพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่ง
กําหนดใหคุรุสภามีหนาท่ีรับรองความรูและประสบการณวิชาชีพ รวมท้ังความชํานาญในการ
ประกอบวิชาชพี โดยผูทไี่ มม คี ณุ สมบัติตามมาตรฐานที่คุรสุ ภากําหนดจะเขาประกอบวชิ าชพี ครู
ซ่ึงเปนควบคุมไมได หากบุคคลเหลานั้นตองการจะประกอบวิชาชีพครู จะตองเขาสู
กระบวนการรับรองความรูและประสบการณวิชาชีพ โดยผานการประเมินและคุรุสภารับรอง
แลววามีความรูและประสบการณวิชาชีพ เปนไปตามมาตรฐานเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพ
ครูได ท้งั นี้ เพ่ือใหวิชาชพี ทางการศึกษามีมาตรฐานเดียวกนั และสามารถตอบสงั คมไดวา ผูจะ
เขาประกอบวิชาชีพตองมีมาตรฐานทุกคนซ่ึงวิธีการประเมินเพื่อรับรองจะดําเนินการไดใน
หลายวิธี เชน การทดสอบความรู การฝกอบรม การศึกษาตอยอดในระดับประกาศนียบัตร
บัณฑิตทางการสอน การเทียบโอนความรูเพ่ือใหการรับรองวามีมาตรฐานความรูวิชาชีพครู
เปนไปตามท่กี าํ หนด ผลการดําเนนิ งานได

- สาระหลกั เกณฑก ารรับรองความรแู ละประสบการณวชิ าชีพ
- สาระหลักเกณฑการออกใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพครูชาวตางประเทศ
๓. การรับรองความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ ตามหนาท่ีของคุรสุ ภาท่ีกําหนด
ในมาตรา ๙(๘) แหงพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่ง
กําหนดใหคุรุสภามีหนาท่ีรับรองความรูและประสบการณวิชาชีพ รวมท้ังความชํานาญในการ
ประกอบวิชาชีพ โดยใชมาตรฐานการปฏิบัติงาน เปนแนวทางใหผูประกอบวิชาชีพครูพัฒนา
กระบวนการทํางาน กลยุทธในการปฏิบัติวิชาชีพทางการศึกษาของตนใหมีคุณภาพสูงขึ้น
รวมทั้ง พัฒนาใหเกิดความเช่ียวชาญ ลึกซ้ึงเฉพาะดานในการปฏิบัติวิชาชีพท่ีรับผิดชอบ ซ่ึง
สามารถเขารับการประเมินเพ่ือใหคุรสุ ภารับรองความชํานาญในการประกอบวิชาชีพได
๔. การควบคุมการประกอบวิชาชพี ทางการศึกษาตามหนาทีข่ องครุ ุสภาท่ีกําหนดใน
พระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ (๒) ควบคุมความ
ประพฤติและการดําเนินงานของผูป ระกอบวชิ าชพี ทางการศึกษาใหเปนไปตามมาตรฐานวิชาชีพ
และจรรยาบรรณของวิชาชีพ มาตรา ๙ (๔) พักใชใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต ซึ่ง
ดําเนินการโดยยึดกรอบตามจรรยาบรรณของวิชาชีพและแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณ
ของวชิ าชพี ผลการดําเนินงานได
- รา งขอ บังคบั คุรุสภาวาดวยการประพฤตผิ ดิ จรรยาบรรณของวชิ าชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๕๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

- รางขอบังคับคุรุสภาวาดวยการอุทธรณการประพฤติผิดจรรยาบรรณของ
วชิ าชพี

๑๐.๖ ขอบงั คับคุรสุ ภาวาดว ยมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณของวชิ าชพี
พ.ศ. ๒๕๔๘

อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๙ วรรคหนึ่ง (๑๑) (จ) (ฉ) มาตรา ๔๙ และ
มาตรา ๕๐ แหงพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ ประกอบกับ
มติคณะกรรมการ คุรุสภา ในการประชุมครั้งที่ ๙/๒๕๔๘ วันที่ ๒๐ มิถุนายน ๒๕๔๘ และมติ
คณะกรรมการครุ สุ ภา ในการประชุมครง้ั ท่ี ๑๐/๒๕๔๘ วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๔๘ โดยความ
เห็นชอบของรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ คณะกรรมการคุรุสภาจึงออกขอบังคับคุรุ
สภาวาดว ยมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณของวชิ าชีพ ไวด ังตอไปน้ี

ขอ ๑ ขอบังคับน้ีเรียกวา “ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพและ
จรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๔๘”

ขอ ๒ ขอ บงั คับน้ใี หใ ชบ งั คับตัง้ แตว นั ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เปนตน ไป
ขอ ๓ ในขอบงั คับน้ี
“วิชาชีพ” หมายความวา วิชาชีพทางการศึกษาท่ีทําหนาท่ีหลักทางดานการเรียน
การสอนและการสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ รวมทั้งการรับผิดชอบการ
บริหารสถานศึกษา ในสถานศึกษาปฐมวัย ขัน้ พื้นฐาน และอดุ มศกึ ษาทีต่ ่ํากวา ปรญิ ญา ท้ังของ
รัฐ และเอกชน และการบริหารการศกึ ษานอกสถานศึกษาในระดบั เขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาตลอดจน
การสนับสนุนการศึกษา ใหบริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการ
สอน การนเิ ทศและการบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตา ง ๆ
“ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา” หมายความวา ครู ผูบริหารสถานศึกษา
ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น ซ่ึงไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพ
ตามพระราชบัญญตั สิ ภาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๖
“คร”ู หมายความวา บคุ คลซ่ึงประกอบวชิ าชีพหลักทางดานการเรียนการสอนและ
การสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตาง ๆ ในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และ
อดุ มศึกษาทต่ี ํ่ากวาปรญิ ญา ทั้งของรัฐและเอกชน

๒๕๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

“ผูบริหารสถานศึกษา” หมายความวา บุคคลซ่ึงปฏิบัติงานในตําแหนงผูบริหาร
สถานศึกษาภายในเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษาอ่ืนท่ีจัดการศึกษาปฐมวัย ขั้นพ้ืนฐาน
และอดุ มศกึ ษาตาํ่ กวาปริญญา ท้ังของรัฐและเอกชน

“ผูบริหารการศกึ ษา” หมายความวา บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตําแหนงผบู ริหารนอก
สถานศึกษาในระดับเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา

“บุคลากรทางการศึกษาอน่ื ” หมายความวา บุคคลซึง่ ทาํ หนาท่สี นับสนุนการศึกษา
ใหบริการหรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการ
บริหารการศึกษา ในหนวยงานการศึกษาตา ง ๆ ซ่ึงหนว ยงานการศึกษากําหนดตําแหนง ใหตอ ง
มคี ุณวุฒทิ างการศึกษา

“มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ
และคุณภาพ ทพี่ ึงประสงคในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซ่ึงผูประกอบวิชาชีพทางการ
ศึกษา ตองประพฤติปฏิบัติตาม ประกอบดวย มาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ
มาตรฐานการปฏิบัตงิ านและมาตรฐานการปฏบิ ตั ิตน

“มาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับ
ความรูและประสบการณในการจัดการเรียนรู หรือการจัดการศึกษา ซ่ึงผูตองการประกอบ
วิชาชีพทางการศึกษาตองมีเพียงพอท่ีสามารถนาํ ไปใชใ นการประกอบวิชาชพี ได

“มาตรฐานการปฏิบัติงาน” หมายความวา ขอกําหนดเก่ียวกับคุณลักษณะหรือ
การแสดงพฤติกรรมการปฏิบัติงานและการพัฒนางาน ซ่ึงผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตอง
ปฏิบัติตาม เพื่อใหเกิดผลตามวัตถุประสงคและเปาหมายการเรียนรู หรือการจัดการศึกษา
รวมทัง้ ตอ งฝกฝนใหมีทกั ษะหรอื ความชํานาญสงู ข้ึนอยางตอเน่ือง

“มาตรฐานการปฏิบัติตน” หมายความวา จรรยาบรรณของวิชาชีพท่ีกําหนดข้ึน
เปนแบบแผนในการประพฤติตน ซงึ่ ผปู ระกอบวิชาชพี ทางการศกึ ษาตองปฏิบัติตาม เพ่ือรักษา
และสงเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสยี ง และฐานะของผูประกอบวชิ าชีพทางการศึกษาใหเปนท่ีเชื่อถือ
ศรัทธาแกผูรบั บริการและสังคม อันจะนํามาซ่งึ เกยี รตแิ ละศกั ดศ์ิ รีแหง วิชาชพี

ขอ ๔ ใหประธานกรรมการคุรุสภารักษาการตามขอบังคับน้ี และใหมีอํานาจออก
ระเบียบ ประกาศ หรือคําสั่ง เพ่ือปฏิบัติตามขอ บังคับน้ี รวมทง้ั ใหมีอํานาจตีความและวินิจฉัย
ชี้ขาดปญหาเกย่ี วกบั การปฏบิ ัติตามท่ีกําหนดไวในขอบังคับ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๕๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

หมวด ๑
มาตรฐานความรแู ละประสบการณวชิ าชพี

---------------------
ขอ ๕ ผูประกอบวิชาชีพครู ตองมีมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ
ดังตอ ไปน้ี
(ก) มาตรฐานความรู มีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาตรีทางการศึกษาหรือเทียบเทา
หรือคณุ วุฒอิ นื่ ท่คี ุรุสภารับรอง โดยมีความรู ดังตอไปน้ี

(๑) ภาษาและเทคโนโลยีสาํ หรบั ครู
(๒) การพฒั นาหลักสตู ร
(๓) การจดั การเรยี นรู
(๔) จิตวทิ ยาสําหรบั ครู
(๕) การวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา
(๖) การบรหิ ารจดั การในหอ งเรยี น
(๗) การวจิ ยั ทางการศกึ ษา
(๘) นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา
(๙) ความเปนครู
(ข) มาตรฐานประสบการณวิชาชีพ ผานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
ตามหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา เปนเวลาไมนอยกวาหน่ึงป และผานเกณฑการประเมิน
ปฏิบตั ิการสอนตามหลกั เกณฑ วธิ กี าร และเง่ือนไขทค่ี ณะกรรมการครุ สุ ภากาํ หนด ดังตอ ไปน้ี
(๑) การฝก ปฏิบัติวิชาชีพระหวางเรียน
(๒) การปฏบิ ัติการสอนในสถานศึกษาในสาขาวชิ าเฉพาะ
ขอ ๖ ผูประกอบวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา ตองมีมาตรฐานความรูและ
ประสบการณว ชิ าชีพ ดงั ตอ ไปนี้
(ก) มาตรฐานความรู มีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา หรือ
เทียบเทา หรือคุณวุฒอิ ืน่ ท่คี ุรุสภารับรอง โดยมีความรู ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) หลักและกระบวนการบรหิ ารการศกึ ษา
(๒) นโยบายและการวางแผนการศึกษา
(๓) การบรหิ ารดา นวิชาการ

๒๕๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

(๔) การบริหารดา นธุรการ การเงนิ พัสดุ และอาคารสถานท่ี
(๕) การบริหารงานบคุ คล
(๖) การบริหารกิจการนกั เรยี น
(๗) การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
(๘) การบรหิ ารจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศ
(๙) การบริหารการประชาสมั พันธและความสัมพนั ธชุมชุน
(๑๐) คุณธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรบั ผูบริหารสถานศกึ ษา
นอกจากคุณวุฒิตามวรรคหน่ึงตองผานการฝกอบรมหลักสูตรการบริหาร
สถานศึกษาทค่ี ณะกรรมการครุ ุสภารับรอง
(ข) มาตรฐานประสบการณวิชาชีพ ดงั ตอ ไปนี้
(๑) มปี ระสบการณดา นปฏบิ ัติการสอนมาแลว ไมนอยกวา หาป หรอื
(๒) มีประสบการณดานปฏิบัติการสอนและตองมีประสบการณในตําแหนง
หัวหนาหมวด หรือหัวหนาสาย หรือหัวหนางาน หรือตําแหนงบริหารอื่น ๆ ในสถานศึกษา
มาแลว ไมนอ ยกวาสองป
ขอ ๗ ผปู ระกอบวิชาชพี ผูบริหารการศึกษา ตองมีมาตรฐานความรูและประสบการณ
วชิ าชีพ ดังตอไปนี้
(ก) มาตรฐานความรู มีคุณวุฒิไมตํ่ากวาปริญญาตรีทางการบริหารการศึกษา
หรอื เทียบเทา หรือคุณวฒุ ิอืน่ ทค่ี ุรุสภารับรอง โดยมคี วามรู ดงั ตอ ไปน้ี
(๑) หลกั และกระบวนการบริหารการศกึ ษา
(๒) นโยบายและการวางแผนการศกึ ษา
(๓) การบริหารจดั การการศกึ ษา
(๔) การบรหิ ารทรพั ยากร
(๕) การประกันคุณภาพการศกึ ษา
(๖) การนเิ ทศการศึกษา
(๗) การพัฒนาหลกั สูตร
(๘) การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ
(๙) การวจิ ัยทางการศกึ ษา
(๑๐) คุณธรรมและจรยิ ธรรมสําหรับผบู ริหารการศกึ ษา

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๕๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

นอกจากคุณวุฒิตามวรรคหนึ่ง ตองผานการฝกอบรมหลักสูตรการบริหาร
การศกึ ษา ทีค่ ณะกรรมการคุรสุ ภารบั รอง

(ข) มาตรฐานประสบการณว ชิ าชพี ดงั ตอไปน้ี
(๑) มปี ระสบการณด านปฏิบัติการสอนมาแลว ไมนอยกวา แปดป หรอื
(๒) มีประสบการณใ นตาํ แหนงผบู รหิ ารสถานศกึ ษามาแลวไมน อยกวา หา ปห รอื
(๓) มีประสบการณในตําแหนงผูบริหารนอกสถานศึกษาท่ีไมต่ํากวาระดับกอง

หรือเทยี บเทากองมาแลวไมนอยกวา หา ปห รอื
(๔) มีประสบการณในตําแหนงบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามท่ีกําหนดใน

กฎกระทรวงมาแลว ไมน อ ยกวาหา ป หรือ
(๕) มีประสบการณดานปฏิบัติการสอน และมีประสบการณในตําแหนง

ผูบริหารสถานศึกษา หรือผูบริหารนอกสถานศึกษา หรือบุคลากรทางการศึกษาอื่น ตามที่
กาํ หนดใน กฎกระทรวงรวมกันมาแลวไมนอยกวา สบิ ป

ขอ ๘ ผูประกอบวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอ่ืนตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
ตองมีมาตรฐานความรแู ละประสบการณวชิ าชีพ ตามท่คี ณะกรรมการครุ สุ ภากาํ หนด

ขอ ๙ สาระความรูและสมรรถนะของผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษาตาม
มาตรฐานความรแู ละประสบการณวิชาชพี ใหเปน ไปตามทคี่ ณะกรรมการครุ สุ ภากําหนด

หมวด ๒
มาตรฐานการปฏบิ ัติงาน

------------------
ขอ ๑๐ ผูป ระกอบวชิ าชีพครู ตอ งปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานการปฏิบตั งิ านดังตอไปนี้

(๑) ปฏิบัตกิ ิจกรรมทางวิชาการเกยี่ วกับการพัฒนาวิชาชีพครูอยเู สมอ
(๒) ตัดสนิ ใจปฏิบัติกจิ กรรมตาง ๆ โดยคาํ นงึ ถึงผลท่จี ะเกิดแกผเู รียน
(๓) มงุ มั่นพัฒนาผเู รยี นใหเ ต็มตามศกั ยภาพ
(๔) พฒั นาแผนการสอนใหสามารถปฏิบัติไดเ กดิ ผลจริง
(๕) พัฒนาส่ือการเรียนการสอนใหม ีประสทิ ธภิ าพอยูเสมอ
(๖) จดั กิจกรรมการเรยี นการสอน โดยเนนผลถาวรทเ่ี กิดแกผ เู รยี น
(๗) รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพของผูเ รยี นไดอ ยา งมรี ะบบ

๒๕๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

(๘) ปฏบิ ัติตนเปนแบบอยางท่ีดีแกผเู รยี น
(๙) รวมมอื กับผอู นื่ ในสถานศึกษาอยางสรา งสรรค
(๑๐) รว มมือกับผอู ืน่ ในชมุ ชนอยา งสรา งสรรค
(๑๑) แสวงหาและใชข อมลู ขา วสารในการพฒั นา
(๑๒) สรางโอกาสใหผ ูเ รยี นไดเ รียนรใู นทุกสถานการณ
ขอ ๑๑ ผูประกอบวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษาตอง
ปฏบิ ัตงิ าน ตามมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ดังตอ ไปนี้
(๑) ปฏิบัตกิ จิ กรรมทางวิชาการเกีย่ วกบั การพฒั นาวชิ าชีพการบรหิ ารการศึกษา
(๒) ตัดสินใจปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ โดยคํานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับการพัฒนา
ของบุคลากร ผูเรียน และชุมชน
(๓) มุงมนั่ พฒั นาผูรว มงานใหส ามารถปฏิบัติงานไดเ ต็มศักยภาพ
(๔) พฒั นาแผนงานขององคการใหสามารถปฏิบตั ิไดเกดิ ผลจรงิ
(๕) พัฒนาและใชนวัตกรรมการบริหารจนเกิดผลงานท่ีมีคุณภาพสูงข้ึนเปน
ลําดับ
(๖) ปฏิบตั งิ านขององคการโดยเนนผลถาวร
(๗) รายงานผลการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาไดอยา งเปนระบบ
(๘) ปฏิบัติตนเปน แบบอยางที่ดี
(๙) รวมมือกับชมุ ชนและหนว ยงานอื่นอยา งสรางสรรค
(๑๐) แสวงหาและใชขอ มลู ขา วสารในการพัฒนา
(๑๑) เปนผนู ําและสรา งผูนาํ
(๑๒) สรางโอกาสในการพัฒนาไดทกุ สถานการณ
ขอ ๑๒ ผูประกอบวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง
ตอ งปฏบิ ัติงานตามมาตรฐานการปฏบิ ัติงาน ตามท่ีคณะกรรมการครุ สุ ภากาํ หนด

หมวด ๓
จรรยาบรรณของวิชาชีพ

--------------
ขอ ๑๓ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองประพฤติตนตามจรรยาบรรณของ
วิชาชพี และแบบแผนพฤตกิ รรมตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๕๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สวนที่ ๑
จรรยาบรรณตอ ตนเอง

---------------
ขอ ๑๔ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองดาน
วิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน ใหทันตอการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และ
การเมอื งอยูเสมอ

สว นที่ ๒
จรรยาบรรณตอ วชิ าชีพ

--------------
ขอ ๑๕ ผูประกอบวชิ าชีพทางการศึกษา ตองรกั ศรัทธา ซ่ือสัตยสุจรติ รบั ผิดชอบ
ตอ วิชาชีพ และเปนสมาชิกท่ีดขี ององคกรวชิ าชีพ

สว นท่ี ๓
จรรยาบรรณตอผรู ับบริการ

----------------
ขอ ๑๖ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองรัก เมตตา เอาใจใส ชวยเหลือ
สง เสรมิ ใหก ําลงั ใจแกศ ิษย และผรู ับบริการ ตามบทบาทหนา ที่โดยเสมอหนา
ขอ ๑๗ ผปู ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตองสงเสรมิ ใหเกดิ การเรยี นรู ทักษะ และ
นิสัย ท่ีถูกตองดีงามแกศิษย และผูรับบริการ ตามบทบาทหนาที่อยางเต็มความสามารถ ดวย
ความบริสุทธใ์ิ จ
ขอ ๑๘ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองประพฤติปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดี
ทงั้ ทางกาย วาจา และจติ ใจ
ขอ ๑๙ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ตองไมกระทําตนเปนปฏิปกษตอความ
เจรญิ ทางกาย สติปญ ญา จติ ใจ อารมณ และสงั คมของศิษย และผูรับบริการ
ขอ ๒๐ ผูป ระกอบวชิ าชีพทางการศกึ ษา ตองใหบริการดว ยความจรงิ ใจและ เสมอ
ภาค โดยไมเรียกรับหรอื ยอมรบั ผลประโยชนจ ากการใชตาํ แหนงหนา ท่โี ดยมิชอบ

๒๖๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

สวนท่ี ๔
จรรยาบรรณตอ ผรู วมประกอบวชิ าชีพ

----------------
ขอ ๒๑ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงชวยเหลือเก้ือกูลซึ่งกันและกันอยาง
สรางสรรค โดยยดึ ม่นั ในระบบคณุ ธรรม สรา งความสามัคคีในหมูคณะ

สว นที่ ๕
จรรยาบรรณตอสงั คม

--------------------
ขอ ๒๒ ผูประกอบวิชาชีพทางการศึกษา พึงประพฤติปฏิบัติตนเปนผูนําในการ
อนุรักษและพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญา ส่ิงแวดลอม รักษา
ผลประโยชนของ สวนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย
ทรงเปนประมขุ
ประกาศ ณ วันที่ ๓๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๘

เสรมิ ศักดิ์ วิศาลาภรณ
ประธานกรรมการครุ ุสภา

๑๐.๗ ประกาศคณะกรรมการครุ สุ ภา เรอ่ื ง รายละเอยี ดของมาตรฐานความรู
และประสบการณว ิชาชีพครูตามขอบงั คบั ครุ สุ ภา วาดว ยมาตรฐาน
วชิ าชพี (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒

ครุ ุสภา ไดแกไขเพ่ิมเติมขอบงั คับคุรสุ ภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๖ ใน
สวนของมาตรฐานวิชาชีพครู ดานมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพ และมาตรฐาน
การปฏิบัติงาน เพ่ือใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงและทิศทางการศึกษาของชาติ โดย
ออกเปน “ขอบังคับคุรุสภา วาดวยมาตรฐานวิชาชีพ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๒” ซึ่งมีผลบังคับ
ใชตง้ั แตว ันที่ ๒๐ มนี าคม ๒๕๖๒ เปน ตนมา

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๖๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

คณะกรรมการคุรุสภาไดออกประกาศคณะกรรมการคุรุสภาดังกลาว เพ่ือกําหนด
รายละเอียดของมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพครูตามขอบังคับดังกลาว ซึ่งประกอบ
ดวย สาระความรู และสมรรถนะตามมาตรฐานความรูและประสบการณวิชาชีพครู ทั้งนี้ เพ่ือใช
เปนเกณฑในการพิจารณาใหการรับรองปริญญา และประกาศนียบัตรทางการศึกษา เพ่ือการ
ประกอบวชิ าชีพครู ของสถาบนั ตา ง ๆ ทเี่ สนอใหค ุรุสภารับรอง ตั้งแตป การศึกษา ๒๕๖๒ เปนตน
ไป รวมท้ังใชเปนกรอบในการดําเนินการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู เพ่ือขอรับ
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ตามขอบังคับคุรุสภา วาดวยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ฉบับที่ ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งกําหนดใหผ ูขอรับใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี ครู ทั้งชาวไทย และชาวตางประเทศ
ตองผานการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ตามหลักเกณฑและวิธีการท่ี
คณะกรรมการคุรุสภากําหนด โดยมีผลบังคับใชกับผูเขารับการศึกษาในหลักสูตรปริญญา และ
ประกาศนยี บตั รบัณฑิตวชิ าชีพครูที่คุรสุ ภารบั รอง ตั้งแตป การศึกษา ๒๕๖๒ เปนตน ไป

๑๐.๘ ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรอื่ ง หลกั เกณฑและวธิ ีการทดสอบและ
ประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓

โดยท่ีเปนการสมควรใหมีการกําหนดหลักเกณฑและวิธีการทดสอบและประเมิน
สมรรถนะ ทางวิชาชีพครู ตามหลักเกณฑ วิธีการและเง่ือนไขในการขอรับใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพครู เพ่ือเปนสวนหนึ่งของกลไกและระบบการคัดกรองผูประกอบวิชาชีพครูใหไดผูมีจิต
วิญญาณของความเปน ครู และมคี วามรคู วามสามารถตามมาตรฐานวชิ าชีพครูทีค่ รุ สุ ภากําหนด

คุรุสภาจึงออกขอบงั คับคุรุสภา วาดวยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๙ และ
ท่ีแกไขเพิ่มเติมโดยขอบังคับคุรุสภา วาดวยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๒
เพ่ือกําหนดหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขในการออกใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูใหม โดย
กําหนดใหผูขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ท้ังชาวไทย และชาวตางประเทศ ตองผานการ
ทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ตามหลักเกณฑและวิธีการที่คณะกรรมการคุรุสภา
กําหนด โดยยกเวน ผทู ่ีสําเร็จการศึกษาจากปริญญา หรอื ประกาศนยี บัตรทางการศึกษาท่ีคุรุสภา
รับรองท่ีเขาศึกษากอนปการศึกษา ๒๕๖๒ และผูไดสิทธิในการขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
ครูกอนขอบังคับน้ีมีผลใชบังคับ (ผูผานการรับรองความรูฯ และมีใบอนุญาตปฏิบัติการสอนอยู
ระหวางทาํ คุณสมบัตดิ านประสบการณ วิชาชีพครู ๑ ป ภายในวันท่ี ๓ ตลุ าคม ๒๕๖๓)

๒๖๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

โดยคณะกรรมการคุรุสภา ในการประชุมคร้ังท่ี ๖/๒๕๖๓ เมื่อวันท่ี ๒๙ สิงหาคม
๒๕๖๒ และครั้งที่ ๒/๒๕๖๓ เม่ือวันท่ี ๓ มีนาคม ๒๕๖๓ ไดมีมติเห็นชอบแนวทาง การ
ดาํ เนนิ การทดสอบฯ และการกําหนดหลักเกณฑและวธิ ีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทาง
วิชาชีพครู ออกเปน “ประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เร่ือง หลักเกณฑและวิธีการทดสอบและ
ประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพครู พ.ศ. ๒๕๖๓” ซ่งึ ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเรียบรอ ยแลว
เม่อื วันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓

สาระสาํ คัญโดยยอของประกาศฯ
๑. กําหนดองคประกอบของการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
ประกอบดว ย ๒ สวน ไดแ ก

๑.๑ ความรูและประสบการณวิชาชีพ ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ซ่ึงจะ
ดําเนินการโดยวธิ ีทดสอบ รวม ๕ รายวชิ า ไดแก

(๑) วิชาภาษาและเทคโนโลยีดิจทิ ลั ประกอบดวย
๑) การใชภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร
๒) การใชภ าษาองั กฤษเพ่อื การส่ือสาร
๓) การใชเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่อื การศกึ ษา

(๒) วชิ าชพี ครู
(๓) วิชาเอก ตามทคี่ ณะอนุกรรมการกําหนด
๑.๒ การปฏิบัติงานและการปฏิบัติตน ตามมาตรฐานวิชาชีพครู ซึ่งจะ
ดําเนินการโดยวิธีการประเมิน ตามเคร่ืองมอื ประเมินทีค่ รุ ุสภากาํ หนด ในดานตา ง ๆ ไดแก
(๑) การจัดการเรียนรู
(๒) ความสมั พนั ธก ับผปู กครองและชมุ ชน
(๓) การปฏิบตั ิหนาท่คี รู และจรรยาบรรณของวชิ าชีพ
๒. กําหนดคุณสมบัติของผูเขารับการทดสอบและประเมินฯ จําแนกเปน ๒ กลุม
ไดแก
๒.๑ ผูศึกษาในหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา หรือเทียบเทาที่คุรุสภารับรอง
ประกอบดวย
(๑) ผูมคี ุณวุฒิปรญิ ญาทางการศึกษา หรอื เทียบเทาท่ีคุรสุ ภารบั รอง หรอื

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๖๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

(๒) ผูอยูระหวางศึกษาในหลักสูตรปริญญาทางการศึกษา หรือเทียบเทาที่
คุรสุ ภารบั รองตามหลักเกณฑค ณุ สมบัตทิ ่ีคณะอนุกรรมการกาํ หนด

๒.๒ ผูมีคุณวุฒิปริญญาอื่น ที่คุรุสภารับรอง และมีคุณสมบัติอยางใดอยางหน่ึง
ดงั น้ี

(๑) ผานการรบั รองความรูตามมาตรฐานวิชาชีพครทู ่ีครุ ุสภากําหนด หรอื
(๒) ผานการรับรองคณุ วฒุ ิการศึกษาเพอื่ การประกอบวชิ าชีพครู
๓. กําหนดใหมีคณะอนุกรรมการอํานวยการทดสอบและประเมินสมรรถนะทาง
วิชาชีพครูเพ่ือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู มีอํานาจหนาที่ในการกําหนดนโยบาย
แนวทาง และรายละเอยี ดของหลักเกณฑแ ละวิธีการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวชิ าชีพ
ครู อํานวยการและดําเนินการตามนโยบาย แนวทาง และ รายละเอียดหลักเกณฑและวิธีการ
ทดสอบฯ กํากับ ติดตาม และประเมินผลการดําเนินการทดสอบฯ รายงานผลการดําเนินงาน
ตอ คณะกรรมการคุรสุ ภา รวมถงึ ดําเนนิ การอ่นื ๆ ตามท่ีคณะกรรมการคุรุสภามอบหมาย
๔. กําหนดอัตราคาสมัครเขารับการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
ดานความรูฯ ตามประกาศฯ สําหรับชาวไทย วิชาละ ๓๐๐ บาท และสําหรับชาวตางประเทศ
วชิ าละ ๕๐๐ บาท
๕. กําหนดระยะเวลาในการใชผลการทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชีพครู
กรณีเปนการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครูดานความรูฯ กําหนดใชผลการ
ทดสอบและประเมินที่ผานเกณฑ ในวิชานั้น ๆ เพ่ือขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครูได
ภายใน ๓ ป นับต้ังแตวันประกาศผลการทดสอบฯ หากพนกําหนดดังกลาว ตองเขาทดสอบ
ใหม และกรณีการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครูดานการปฏิบัติงานและการ
ปฏิบัตติ น สามารถใชผ ลการทดสอบและประเมินฯ ไดโดยไมจ ํากัดระยะเวลา

๑๐.๙ การเตรยี มดําเนนิ การทดสอบและประเมนิ สมรรถนะทางวิชาชพี ครู ครง้ั
แรกในป พ.ศ. ๒๕๖๓

คณะอนุกรรมการอํานวยการทดสอบเพื่อขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ใน
การประชุม ครั้งท่ี ๒/๒๕๖๒ เม่อื วันที่ ๑๙ ธันวาคม ๒๕๖๒ มีมติใหดําเนินการจดั การทดสอบ
และประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู ดานความรูและประสบการณวิชาชีพ ตามมาตรฐาน
วชิ าชีพครู ป พ.ศ. ๒๕๖๓ ในเดือนตลุ าคม ๒๕๖๓ โดยมีกลุมเปาหมายในการทดสอบฯ ไดแก
นิสิตนักศึกษาที่เขาศึกษาในหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา ปการศึกษา ๒๕๖๒ ในหลักสูตร

๒๖๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

ปริญญาโททางการศึกษา (วิชาชีพครู) และประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู ที่คุรุสภารับรอง
ซึ่งสํานักงานเลขาธิการคุรุสภาไดสํารวจขอมูลนักศึกษาในหลักสูตรดังกลาวแลวพบวา มี
ประมาณ ๗,๘๐๐ คน

การดําเนินการจัดการทดสอบและประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครูดานความรูฯ
สํานักงานเลขาธิการ คุรุสภาไดประสานความรวมมือกับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ
(องคการมหาชน) เพื่อดําเนินการสรางขอสอบฯ ตามผังการสรางขอสอบฯ ท่ีคณะอนุกรรมการ
อํานวยการทดสอบฯใหความเห็นชอบ และจะดําเนินการจัดการทดสอบฯ ในเดือนตุลาคม
๒๕๖๓ ณ ศูนยทดสอบท่ีกําหนด โดยกระจายในภูมิภาคตาง ๆ รวม ๙ ศูนย ทั้งนี้ รายละเอียด
เก่ียวกบั การจัดการทดสอบฯ เม่ือผานความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการอํานวยการทดสอบฯ
และคณะกรรมการคุรุสภาเรียบรอยแลว จะไดป ระชาสัมพันธใ หท ราบโดยเร็วตอไป รวมท้ัง การ
เตรียมความพรอมในเรื่องการจัดการทดสอบฯ หากสถานการณการแพรระบาดของเชื้อไวรัสโค
โรนา ๒๐๑๙ (COVID -๑๙) ยังคงตอง คงมาตรการควบคุมอยางเขมงวดตามมติคณะรัฐมนตรี
สาํ นักงานเลขาธิการคุรุสภาจะไดหารือรวมกับสถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแหงชาติ เพ่อื เตรยี ม
ดาํ เนนิ การจดั การทดสอบตามสถานการณดงั กลา วตอ ไป

๑๐.๑๐ พระราชบญั ญัตแิ ละกฎกระทรวงท่ีเกยี่ วกบั การศกึ ษา

พระราชบญั ญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒
--------------

ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ป.ร.
ใหไ ว ณ วันที่ ๑๔ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๔๒

เปน ปท่ี ๕๔ ในรชั กาลปจจบุ ัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด
เกลา ฯ ใหประกาศวาโดยที่เปนการสมควรมีกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง
มาตรา ๒๙ ประกอบกับมาตรา ๕๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทํา
ไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมายจึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา ฯ ใหตรา
พระราชบัญญัติข้ึนไวโดยคําแนะนําและยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๖๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา "พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒"

มาตรา ๒ (๑) พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป

มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบยี บ ประกาศ และคําสั่งอื่นในสวน
ทไ่ี ดบ ัญญัตไิ วแลว ใน

พระราชบัญญัติน้ี หรือ ซ่ึงขัดหรือแยงกับบทแหงพระราชบัญญัตินี้ใหใช
พระราชบัญญตั ินี้แทน

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญตั ิน้ี
"การศึกษา" หมายความวา กระบวนการเรียนรูเพื่อความเจริญงอกงามของบคุ คลและ
สังคมโดยการถายทอดความรู การฝก การอบรม การสืบสานทางวัฒนธรรม การสรางสรรค
จรรโลงความกาวหนาทางวิชาการ การสรางองคความรูอันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอม สังคม
การเรียนรแู ละปจจยั เก้ือหนนุ ใหบ ุคคลเรียนรูอยางตอเน่ืองตลอดชวี ติ
"การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน" หมายความวา การศกึ ษากอ นระดับอดุ มศึกษา
"การศึกษาตลอดชีวิต" หมายความวา การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหวาง
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อใหสามารถพัฒนา
คุณภาพชีวิตไดอ ยา งตอ เนือ่ งตลอดชีวิต
"สถานศึกษา" หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน
วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษาหรือหนวยงานอ่ืนของรัฐหรือของเอกชน
ท่ีมีอํานาจหนา ท่ีหรอื มีวัตถปุ ระสงคใ นการจดั การศึกษา
"สถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน" หมายความวา สถานศกึ ษาทีจ่ ดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
"มาตรฐานการศึกษา" หมายความวา ขอ กําหนดเกี่ยวกบั คุณลักษณะ คุณภาพที่พึง
ประสงคและมาตรฐานท่ีตองการใหเกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแหง และเพ่ือใชเปนหลักในการ
เทียบเคยี งสําหรับการสงเสริมและกํากบั ดูแล การตรวจ-สอบ การประเมินผล และการประกัน
คุณภาพทางการศึกษา

๒๖๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

"การประกันคุณภาพภายใน" หมายความวา การประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของ
สถานศกึ ษาน้ันเอง หรอื โดยหนว ยงานตนสงั กดั ที่มหี นาท่ีกาํ กบั ดแู ลสถานศกึ ษานน้ั

"การประกันคุณภาพภายนอก" หมายความวา การประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสํานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษาหรอื บุคคลหรือหนวยงานภายนอกท่ีสํานักงานดังกลาว
รับรอง เพ่ือเปนการประกันคุณภาพและใหมีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษา

"ผสู อน" หมายความวา ครูและคณาจารยใ นสถานศึกษาระดบั ตา ง ๆ
"ครู" หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาท่ีหลักทางดานการเรียนการสอน
และการสง เสรมิ การเรยี นรขู องผเู รยี นดว ยวิธีการตาง ๆ ในสถานศกึ ษาท้งั ของรฐั และเอกชน
"คณาจารย" หมายความวา บุคลากรซ่ึงทําหนาท่ีหลักทางดานการสอนและการ
วิจยั ในสถานศกึ ษาระดบั อุดมศึกษาระดับปริญญาของรฐั และเอกชน
"ผูบริหารสถานศึกษา" หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหาร
สถานศกึ ษาแตล ะแหง ท้งั ของรัฐและเอกชน
"ผูบริหารการศึกษา" หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหาร
การศกึ ษานอกสถานศึกษาต้งั แตร ะดบั เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาขึ้นไป
"บุคลากรทางการศึกษา" หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา
รวมท้ังผูสนับสนุนการศึกษาเปนผูทําหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัด
กระบวนการเรยี นการสอน การนเิ ทศ และการบริหารการศึกษาในหนว ยงานการศกึ ษาตาง ๆ
"กระทรวง" หมายความวา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ศาสนา และวัฒนธรรม
"รฐั มนตร"ี หมายความวา รฐั มนตรผี ูรกั ษาการตามพระราชบญั ญัตินี้
มาตรา ๕ ใหร ัฐมนตรีวาการกระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รักษาการ
ตามพระราชบัญญัติน้ี และมีอํานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพ่ือปฏิบัติการ
ตามพระราชบัญญตั ินี้

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๖๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

กฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศนั้น เม่ือไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลว
ใหใ ชบงั คับได

หมวด ๑
บททว่ั ไป
ความมงุ หมายและหลกั การ
---------------
มาตรา ๖ การจัดการศึกษาตองเปนไปเพื่อพัฒนาคนไทยใหเปนมนุษยท่ีสมบูรณ
ท้งั รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต
สามารถอยรู ว มกบั ผอู ่ืนไดอ ยางมีความสขุ
มาตรา ๗ ในกระบวนการเรยี นรูตอ งมงุ ปลูกฝง จิตสํานักท่ีถกู ตองเก่ียวกับการเมอื ง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข รูจักรักษาและ
สง เสรมิ สิทธิ หนา ที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย
ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเปนมนุษย มีความภาคภูมิใจในความเปนไทย
รจู ักรักษาผลประโยชนสวนรวมและของประเทศชาติ รวมท้ังสงเสริมศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรม
ของชาติ การกีฬา ภูมปิ ญ ญาทอ งถ่นิ ภมู ิปญ ญาไทย และความรู
อันเปนสากล ตลอดจนอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม มีความสามารถ
ในการประกอบอาชีพรูจักพึ่งตนเอง มีความริเริ่มสรางสรรค ใฝรูและเรียนรูดวยตนเองอยาง
ตอเน่ือง
มาตรา ๘ การจดั การศึกษาใหย ึดหลกั ดังนี้
(๑) เปนการศึกษาตลอดชวี ิตสําหรบั ประชาชน
(๒) ใหส ังคมมีสวนรวมในการจัดการศกึ ษา
(๓) การพฒั นาสาระและกระบวนการเรยี นรใู หเปนไปอยางตอ เนื่อง
มาตรา ๙ การจัดระบบ โครงสราง และกระบวนการจดั การศกึ ษา ใหยึดหลักดงั นี้
(๑) มีเอกภาพดา นนโยบาย และมคี วามหลากหลายในการปฏบิ ัติ
(๒) มีการกระจายอํานาจไปสูเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา สถานศึกษา และองคกรปกครอง
สว นทองถ่ิน

๒๖๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

(๓) มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุก
ระดับและประเภทการศกึ ษา

(๔) มีหลักการสง เสรมิ มาตรฐานวิชาชพี ครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา
และการพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาอยางตอ เน่ือง

(๕) ระดมทรพั ยากรจากแหลง ตาง ๆ มาใชใ นการจดั การศึกษา
(๖) การมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชมุ ชน องคกรชมุ ชน องคกรปกครองสวน
ทอ งถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
สังคมอื่น

หมวด ๒
สิทธแิ ละหนา ที่ทางการศกึ ษา

---------------
มาตรา ๑๐ การจัดการศกึ ษา ตอ งจดั ใหบคุ คลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานไมนอยกวาสิบสองปท่ีรัฐตองจัดใหอยางท่ัวถึงและมีคุณภาพโดยไมเก็บ
คาใชจ าย
การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซ่ึงมีความบกพรองทางรางกาย จิตใจ สติปญญา
อารมณ สังคม การสือ่ สารและการเรียนรู หรือมีรางกายพิการ หรือทุพพลภาพหรอื บุคคลซึ่งไม
สามารถพึ่งตนเองไดหรือไมมีผูดูแลหรือดอยโอกาส ตองจัดใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิและโอกาส
ไดร ับการศึกษาขน้ั พ้ืนฐานเปน พิเศษ
การศึกษาสําหรับคนพิการในวรรคสอง ใหจ ัดตง้ั แตแรกเกิดหรือพบความพิการโดย
ไมเสียคาใชจาย และใหบุคคลดังกลาวมีสิทธิไดรับส่ิงอํานวยความสะดวก สื่อ บริการ และ
ความชวยเหลืออืน่ ใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑแ ละวิธกี ารทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง
การจัดการศึกษาสําหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ตองจัดดวยรูปแบบที่
เหมาะสมโดยคาํ นงึ ถึงความสามารถของบุคคลน้ัน
มาตรา ๑๑ บิดา มารดา หรือผูปกครองมีหนาที่จัดใหบุตรหรือบุคคลซึ่งอยูใน
ความดูแลไดรับการศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๑๗ และตามกฎหมายที่เก่ียวขอ งตลอดจนให
ไดรบั การศกึ ษานอกเหนอื จากการศึกษาภาคบังคับ ตามความพรอ มของครอบครัว

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๖๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

มาตรา ๑๒ นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ใหบุคคล
ครอบครัว องคกรชุมชน องคก รเอกชน องคกรวิชาชพี สถาบนั ศาสนา สถานประกอบการและ
สถาบันสังคมอื่นมีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งน้ี ใหเปนไปตามที่กําหนดใน
กฎกระทรวง

มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผูปกครองมสี ทิ ธไิ ดร ับสทิ ธปิ ระโยชน ดังตอ ไปนี้
(๑) การสนบั สนุนจากรัฐ ใหม ีความรคู วามสามารถในการอบรมเลยี้ งดู และการให
การศกึ ษาแกบ ุตรหรือบุคคลซงึ่ อยูในความดแู ล
(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสําหรับการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่ง
อยูในความดูแลท่ีครอบครัวจัดให ทัง้ น้ี ตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด
(๓) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมาย
กาํ หนด
มาตรา ๑๔ บคุ คล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถาน-ประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐานมสี ทิ ธิไดรับสทิ ธิประโยชนตามควรแกกรณี ดังตอ ไปนี้
(๑) การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรูความสามารถในการอบรมเล้ียงดูบุคคลซึ่งอยู
ในความดแู ลรบั ผิดชอบ
(๒) เงนิ อดุ หนนุ จากรฐั สาํ หรบั การจัดการศกึ ษาข้ันพื้นฐานตามท่กี ฎหมายกําหนด
(๓) การลดหยอนหรือยกเวนภาษีสําหรับคาใชจายการศึกษาตามที่กฎหมาย
กาํ หนด

หมวด ๓
ระบบการศกึ ษา
---------------
มาตรา ๑๕ การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
(๑) การศึกษาในระบบ เปน การศึกษาที่กาํ หนดจุดมุงหมาย วิธีการศึกษา หลกั สตู ร
ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเปนเง่ือนไขของการสําเร็จการศึกษาที่
แนน อน

๒๗๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

(๒) การศึกษานอกระบบ เปนการศึกษาที่มีความยืดหยุนในการกําหนด
จุดมุงหมายรูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซ่ึง
เปนเงื่อนไขสําคัญของการสําเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะตองมีความเหมาะสม
สอดคลอ งกับสภาพปญ หาและความตอ งการของบุคคลแตล ะกลมุ

(๓) การศึกษาตามอัธยาศัย เปนการศึกษาท่ีใหผูเรียนไดเรียนรูดวยตนเองตาม
ความสนใจ ศักยภาพ ความพรอม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ สังคม
สภาพแวดลอมส่ือหรือแหลงความรูอ่ืน ๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปแบบใดรูปแบบ
หนึ่งหรือท้ังสามรูปแบบก็ไดใหมีการเทียบโอนผลการเรียนท่ีผูเรียนสะสมไวในระหวางรูปแบบ
เดียวกันหรือตางรูปแบบไดไมวาจะเปนผลการเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไมก็ตาม
รวมทง้ั จากการเรียนรูนอกระบบ ตามอธั ยาศัย การฝกอาชีพ หรอื จากประสบการณการทํางาน

มาตรา ๑๖ การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาข้ันพื้นฐาน และการศึกษา
ระดบั อดุ มศกึ ษา

การศึกษาขั้นพ้ืนฐานประกอบดวย การศึกษาซึ่งจัดไมนอยกวาสิบสองปกอน
ระดับอุดมศึกษา การแบงระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ใหเปนไปตามท่ีกําหนด
ในกฎกระทรวง

การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบงเปน สองระดบั คือ ระดบั ตาํ่ กวาปริญญา และระดับ
ปริญญา

การแบงระดับหรือการเทยี บระดับการศึกษานอกระบบหรือการศกึ ษาตามอัธยาศัย
ใหเ ปน ไปตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๗ ใหมีการศึกษาภาคบังคับจํานวนเกาป โดยใหเด็กซึ่งมีอายุยางเขาปท่ี
เจ็ด เขาเรียนในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานจนอายุยางเขาปที่สิบหก เวนแตสอบไดช้ันปที่เกาของ
การศึกษาภาคบงั คับ หลกั เกณฑแ ละวธิ ีการนับอายใุ หเ ปนไปตามท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๘ การจดั การศกึ ษาปฐมวัยและการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานใหจดั ในสถานศึกษา
ดงั ตอไปน้ี

(๑) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ไดแก ศูนยเด็กเล็ก ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก ศูนยพัฒนา
เด็กกอนเกณฑของสถาบันศาสนา ศูนยบ รกิ ารชว ยเหลือระยะแรกเร่ิมของเด็กพิการและเด็กซ่ึง
มีความตองการพเิ ศษ หรอื สถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัยทเ่ี รยี กชือ่ อยา งอ่ืน

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๗๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

(๒) โรงเรียน ไดแก โรงเรียนของรัฐ โรงเรียนเอกชน และโรงเรียนที่สังกัดสถาบัน
พุทธศาสนาหรือศาสนาอื่น

(๓) ศูนยการเรียน ไดแก สถานท่ีเรยี นที่หนว ยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียนบคุ คล
ครอบครัวชุมชน องคก ร

ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพสถาบันศาสนา
สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบนั ทางการแพทย สถานสงเคราะห และสถาบันสังคมอื่น
เปน ผจู ดั

มาตรา ๑๙ การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน
วิทยาลัย หรือหนวยงานท่ีเรียกช่ืออยางอื่น ทั้งน้ี ใหเปนไปตามกฎหมายเก่ียวกับสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษา กฎหมายวา ดวยการจัดตงั้ สถานศึกษาน้นั ๆ และกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ ง

มาตรา ๒๐ การจัดการอาชีวศึกษา การฝกอบรมวิชาชีพ ใหจัดในสถานศึกษาของ
รัฐ สถานศึกษาของเอกชน สถานประกอบการ หรือโดยความรวมมือระหวางสถานศึกษากับ
สถานประกอบการ ท้ังนใ้ี หเ ปน ไปตามกฎหมายวา ดวยการอาชวี ศึกษาและกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ ง

มาตรา ๒๑ กระทรวง ทบวง กรม รัฐวิสาหกิจ และหนวยงานอ่ืนของรัฐ อาจจัด
การศึกษาเฉพาะทางตามความตองการและความชํานาญของหนวยงานน้ันได โดยคํานึงถึง
นโยบายและมาตรฐานการศึกษาของชาติ ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเง่ือนไขท่ีกําหนด
ในกฎกระทรวง

หมวด ๔
แนวการจัดการศึกษา

---------------
มาตรา ๒๒ การจัดการศึกษาตองยึดหลักวาผูเรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู
และพัฒนาตนเองได และถือวาผูเรียนมีความสําคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษาตอง
สง เสรมิ ใหผ ูเ รียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ
มาตรา ๒๓ การจัดการศึกษา ท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัย

๒๗๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

ตองเนนความสําคัญทั้งความรู คุณธรรม กระบวนการเรียนรูและบูรณาการตาม
ความเหมาะสมของแตล ะระดบั การศึกษาในเรอื่ งตอ ไปน้ี

(๑) ความรูเร่ืองเก่ียวกับตนเอง และความสัมพันธของตนเองกับสังคม ไดแก
ครอบครัว ชุมชน ชาติ และสังคมโลก รวมถึงความรูเก่ียวกับประวัติศาสตรความเปนมาของ
สังคมไทยและระบบการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปนประมุข

(๒) ความรูและทักษะดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี รวมทั้งความรูความเขาใจ
และประสบการณเร่ืองการจัดการ การบาํ รงุ รักษาและการใชประโยชนจากทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่งิ แวดลอมอยา งสมดลุ ยง่ั ยนื

(๓) ความรูเก่ียวกับศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม การกีฬา ภูมิปญญาไทย และการ
ประยุกตใ ชภมู ิปญ ญา

(๔) ความรู และทกั ษะดานคณิตศาสตร และดานภาษา เนน การใชภาษาไทยอยาง
ถกู ตอ ง

(๕) ความรู และทักษะในการประกอบอาชีพและการดาํ รงชีวิตอยางมคี วามสุข
มาตรา ๒๔ การจัดกระบวนการเรียนรู ใหสถานศึกษาและหนวยงานท่ีเก่ียวของ
ดําเนินการ ดังตอ ไปน้ี
(๑) จัดเน้ือหาสาระและกิจกรรมใหสอดคลองกับความสนใจและความถนัดของ
ผเู รยี นโดยคาํ นึงถงึ ความแตกตางระหวา งบคุ คล
(๒) ฝกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการ
ประยกุ ตความรมู าใชเ พ่อื ปองกันและแกไขปญหา
(๓) จดั กจิ กรรมใหผ ูเรยี นไดเรยี นรจู ากประสบการณจ ริง ฝก การปฏบิ ตั ิใหท ําได คิด
เปน ทําเปน รักการอานและเกดิ การใฝร อู ยา งตอเน่ือง
(๔) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรูดานตาง ๆ อยางไดสัดสวน
สมดลุ กนั รวมท้ังปลูกฝงคณุ ธรรม คานยิ มทีด่ ีงามและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงคไวในทุกวิชา
(๕) สงเสริมสนับสนุนใหผูสอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดลอม สอื่ การเรยี น
และอํานวยความสะดวกเพ่ือใหผูเรียนเกิดการเรียนรูและมีความรอบรู รวมทั้งสามารถใชการ
วจิ ยั เปนสวนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู ท้ังน้ี ผสู อนและผูเรียนอาจเรียนรไู ปพรอมกันจากสื่อ
การเรยี นการสอนและแหลงวิทยาการประเภทตา ง ๆ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๗๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

(๖) จัดการเรียนรูใหเกิดขึ้นไดทุกเวลาทุกสถานท่ี มีการประสานความรวมมือกับ
บิดามารดา ผูปกครอง และบคุ คลในชมุ ชนทุกฝา ย เพอื่ รว มกันพฒั นาผเู รียนตามศกั ยภาพ

มาตรา ๒๕ รฐั ตอ งสง เสริมการดําเนินงานและการจดั ตัง้ แหลงการเรียนรูต ลอดชวี ิต
ทุกรูปแบบไดแก หองสมุดประชาชน พิพิธภัณฑ หอศิลป สวนสัตว สวนสาธารณะ สวน
พฤกษศาสตร อุทยานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ศูนยการกีฬาและนันทนาการ แหลงขอมูล
และแหลงการเรยี นรูอื่นอยางพอเพียงและมปี ระสทิ ธิภาพ

มาตรา ๒๖ ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผูเรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของ
ผเู รียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคู
ไปในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสมของแตละระดบั และรูปแบบการศึกษา

ใหส ถานศึกษาใชวธิ ีการท่ีหลากหลายในการจัดสรรโอกาสการเขา ศึกษาตอ และให
นาํ ผลการประเมินผเู รียนตามวรรคหน่งึ มาใชป ระกอบการพจิ ารณาดวย

มาตรา ๒๗ ใหคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนดหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพ่ือความเปนไทย ความเปน พลเมืองท่ีดีของชาติ การดํารงชีวิต และการ
ประกอบอาชพี ตลอดจนเพือ่ การศกึ ษาตอ

ใหสถานศึกษาข้ันพื้นฐานมีหนาที่ทําสาระของหลักสูตรตามวัตถุประสงคในวรรค
หน่ึงในสวนที่เก่ียวกับสภาพปญหาในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณลักษณะอันพึง
ประสงคเพ่ือเปน สมาชิกท่ดี ขี องครอบครัว ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ

มาตรา ๒๘ หลักสูตรการศึกษาระดับตาง ๆ รวมท้ังหลักสูตรการศึกษาสําหรับ
บุคคลตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคส่ี ตอ งมีลักษณะหลากหลาย ทั้งน้ี ใหจัด
ตามความเหมาะสมของแตละระดับโดยมุงพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลใหเหมาะสมแกวัย
และศกั ยภาพ

สาระของหลกั สูตร ทั้งทเี่ ปนวิชาการ และวชิ าชพี ตองมุงพัฒนาคนใหมีความสมดุล
ท้งั ดานความรู ความคดิ ความสามารถ ความดงี าม และความรบั ผิดชอบตอ สงั คม

สําหรับหลกั สูตรการศึกษาระดับอุดมศึกษา นอกจากคณุ ลักษณะในวรรคหน่ึงและ
วรรคสองแลว ยังมีความมุงหมายเฉพาะท่ีจะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการคนควา วิจัย
เพอื่ พฒั นาองคค วามรแู ละพัฒนาสังคม

๒๗๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

มาตรา ๒๙ ใหสถานศึกษารวมกับบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกร
ปกครองสว นทองถ่ินเอกชน

องคก รเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคม
อื่น สงเสริมความเขมแขง็ ของชุมชนโดยจัดกระบวนการเรียนรูภายในชุมชน เพื่อใหชุมชนมกี าร
จัดการศึกษาอบรม มีการแสวงหาความรู ขอมูล ขาวสาร และรูจักเลือกสรรภูมิปญญาและ
วิทยาการตาง ๆ เพื่อพัฒนาชุมชนใหสอดคลองกับสภาพปญหาและความตองการ รวมท้ังหา
วธิ ีการสนบั สนุนใหมกี ารแลกเปลี่ยนประสบการณพ ฒั นาระหวางชุมชน

มาตรา ๓๐ ใหสถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ
รวมท้ังการสงเสริมใหผูสอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรูที่เหมาะสมกับผูเรียนในแตละ
ระดับการศกึ ษา

หมวด ๕
การบรหิ ารและการจัดการศึกษา

---------------

สว นท่ี ๑
การบรหิ ารและการจดั การศกึ ษาของรัฐ

---------------
มาตรา ๓๑ ใหกระทรวงมีอํานาจหนาท่ีกํากับดูแลการศึกษาทุกระดับและทุก
ประเภท การศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม กําหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
สนับสนุนทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม รวมทง้ั การตดิ ตามตรวจสอบ
และประเมินผลการจัดการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม
มาตรา ๓๒ ใหกระทรวงมีองคกรหลักที่เปนคณะบุคคลในรูปสภา หรือในรูป
คณะกรรมการจํานวนสี่องคกร ไดแก สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแหงชาติ
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา
และคณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม เพ่ือพิจารณาใหความเห็นหรือให
คาํ แนะนําแกร ัฐมนตรี หรอื คณะรัฐมนตรี และมอี ํานาจหนา ทีอ่ ืน่ ตามทก่ี ฎหมายกําหนด

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๗๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

มาตรา ๓๓ สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแหงชาติ มีหนาที่พิจารณา
เสนอนโยบาย แผน และ

มาตรฐานการศึกษาของชาติ นโยบายและแผนดานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
การสนับสนุนทรัพยากร การประเมินผลการจัดการศึกษา การดําเนินการดานศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรม รวมท้ังการพิจารณากล่ันกรองกฎหมายและกฎกระทรวงที่ออกตามความใน
พระราชบญั ญัตนิ ี้

ใหคณะกรรมการสภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแหงชาติ ประกอบดวย
รัฐมนตรีเปนประธาน กรรมการโดยตําแหนงจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ผูแทนองคกรเอกชน
ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผแู ทนองคก รวิชาชีพ และกรรมการผทู รงคุณวุฒซิ ึ่งมีจาํ นวน
ไมนอยกวาจาํ นวนกรรมการประเภทอนื่ รวมกนั

ใหสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแหงชาติเปนนิติ
บคุ คล และใหเ ลขาธกิ ารสภาเปน กรรมการและเลขานกุ าร

จํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการสรรหา การเลือกกรรมการ วาระ
การดํารงตําแหนงและการพนจากตาํ แหนง ใหเปน ไปตามทก่ี ฎหมายทก่ี าํ หนด

มาตรา ๓๔ คณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนามาตรฐานและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่สอดคลองกับแผนการ
ศึกษาศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ
และประเมนิ ผลการจัดการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา มีหนาที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒนา และ
มาตรฐานการอุดมศึกษา ที่สอดคลองกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
แหงชาติการสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาโดยคาํ นึงถึงความเปนอิสระและความเปนเลิศทางวิชาการของสถานศึกษา
ระดับปริญญา ตามกฎหมายวาดวยการจัดตั้งสถานศึกษาแตละแหง และกฎหมายที่
เก่ียวของ

คณะกรรมการการศาสนาและวัฒนธรรม มีหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย
แผนพัฒนาดานศาสนา ศิลปและวัฒนธรรม ที่สอดคลองกับแผนการศึกษา ศาสนา ศิลปะและ

๒๗๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

วัฒนธรรมแหงชาติ การสนับสนุนทรัพยากร การติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการ
ดําเนนิ การดา นศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม

มาตรา ๓๕ องคประกอบของคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ ประกอบดวย
กรรมการโดยตําแหนงจากหนวยงานท่ีเกี่ยวของ ผูแทนองคกรเอกชน ผูแทนองคกรปกครอง
สวนทองถิ่น ผูแทนองคกรวิชาชีพ และผูทรงคุณวุฒิซ่ึงมีจํานวนไมนอยกวาจํานวนกรรมการ
ประเภทอื่นรวมกันจํานวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการสรรหา การเลือกประธาน
กรรมการและกรรมการ วาระการดํารงตาํ แหนง และการพน จากตําแหนงของคณะกรรมการแต
ละคณะ ใหเปนไปตามท่ีกฎหมายกําหนด ทั้งน้ี ใหคํานึงถึงความแตกตางของกิจการในความ
รบั ผดิ ชอบของคณะกรรมการแตละคณะดวย

ใหสํานักงานคณะกรรมการตามมาตรา ๓๔ เปนนิติบุคคล และใหเลขาธิการของ
แตละสาํ นกั งานเปนกรรมการและเลขานกุ ารของคณะกรรมการ

มาตรา ๓๖ ใหสถานศึกษาของรัฐท่ีจัดการศึกษาระดับปริญญาเปนนิติบุคคล และ
อาจจัดเปนสวนราชการหรือเปนหนวยงานในกํากับของรัฐ ยกเวนสถานศึกษาเฉพาะทางตาม
มาตรา ๒๑

ใหสถานศึกษาดังกลาวดาํ เนินกจิ การไดโดยอิสระ สามารถพฒั นาระบบบริหารและ
การจัดการท่ีเปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการกํากับ
ดแู ลของสภาสถานศกึ ษา ตามกฎหมายวา ดวยการจัดตั้งสถานศกึ ษาน้นั ๆ

มาตรา ๓๗ การบริหารและการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและอุดมศึกษาระดับตํ่า
กวาปริญญาใหยึดเขตพ้ืนท่ีการศึกษา โดยคํานึงถึงปริมาณสถานศึกษา จํานวนประชากรเปน
หลัก และความเหมาะสมดา นอ่ืนดว ย

ใหรัฐมนตรีโดยคําแนะนําของสถานศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมแหง ชาติมีอํานาจ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษากาํ หนดเขตพืน้ ที่การศึกษา

มาตรา ๓๘ ใหแตละเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ใหมคี ณะกรรมการและสํานักงานการศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษา มีอํานาจหนาที่ในการกํากับดูแลสถานศึกษาขั้น
พ้ืนฐานและสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับต่ํากวาปริญญา รวมท้ังพิจารณาการจัดต้ัง ยุบ
รวมหรือเลิกสถานศึกษา ประสาน สงเสริมและสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพื้นที่
การศกึ ษาประสานและสง เสริมองคก รปกครองสวนทองถิน่ ใหสามารถจดั การศึกษาสอดคลองกับ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๗๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

นโยบายและมาตรฐานการศึกษา สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว
องคกรชุมชนองคกรเอกชน องคกรวิชา-ชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
สังคมอ่ืนท่ีจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายรวมทั้งการกํากับดูแลหนวยงานดานศาสนา
ศิลปวัฒนธรรมในเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษา

คณะกรรมการการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษา ประกอบดวย
ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรเอกชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ผูแทนสมาคมผู
ประกอบวิชาชีพครู ผูแทนสมาคมผูประกอบวิชาชพี บริหารการศึกษา ผแู ทนสมาคมผูปกครอง
และครู ผูนาํ ทางศาสนาและผูท รงคุณวุฒิดา นการศกึ ษา ศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม

จาํ นวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลกั เกณฑ วธิ ีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวง

ใหผูอํานวยการสํานักงานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษาเปน
กรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการการศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา

มาตรา ๓๙ ใหกระทรวงกระจายอํานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งดาน
วิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไปไปยังคณะกรรมการ และ
สํานักงานการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพื้นท่ีการศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาโดยตรง

หลกั เกณฑแ ละวิธกี ารกระจายอํานาจดังกลาว ใหเปน ไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๐ ใหมีคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน และสถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาระดับตํ่ากวาปริญญาของแตละสถานศึกษา เพ่ือทําหนาที่กํากับและสงเสริม
สนับสนนุ กิจการของสถานศกึ ษาประกอบดว ย ผแู ทนผปู กครอง
ผูแทนครู ผูแทนองคกรชุมชน ผูแทนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ผูแทนศิษยเกา
ของสถานศึกษา และผทู รงคณุ วุฒิ
จาํ นวนกรรมการ คุณสมบตั ิ หลกั เกณฑ วธิ ีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามท่ีกําหนดใน
กฎกระทรวง

๒๗๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

ใหผูบริหารสถานศึกษาเปนกรรมการและเลขานุการของคณะกรรมการสถานศึกษา
ความในมาตรานีไ้ มใ ชบ งั คับแกส ถานศึกษาตามมาตรา ๑๘ (๑) และ (๓)

สว นท่ี ๒
การบรหิ ารและการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสว นทองถิ่น

---------------
มาตรา ๔๑ องคกรปกครองสวนทองถ่ินมีสิทธิจัดการศึกษาในระดับใดระดับหนึ่ง
หรอื ทุกระดับตามความพรอ ม ความเหมาะสมและความตอ งการภายในทองถน่ิ
มาตรา ๔๒ ใหกระทรวงกําหนดหลักเกณฑและวิธีการประเมินความพรอมในการ
จัดการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถ่ิน และมีหนาท่ีในการประสานและสงเสริมองคกร
ปกครองสวนทอ งถ่นิ ใหสามารถจัดการศึกษา สอดคลองกับนโยบายและไดมาตรฐานการศึกษา
รวมทั้งการเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการจัดการศึกษาขององคกรปกครองสวน
ทองถนิ่

สวนที่ ๓
การบรหิ ารและการจัดการศกึ ษาของเอกชน

---------------
มาตรา ๔๓ การบริหารและการจดั การศึกษาของเอกชนใหมีความเปน อสิ ระโดยมี
การกํากับติดตามการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของรัฐ และตองปฏิบัติตาม
หลกั เกณฑการประเมินคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเชนเดยี วกับสถานศึกษาของรัฐ
มาตรา ๔๔ ใหสถานศึกษาเอกชนตามมาตรา ๑๘ (๒) เปนนิติบุคคล และมี
คณะกรรมการบริหารประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษาเอกชน ผูรับใบอนุญาต ผูแทน
ผูปกครองผแู ทนองคก รชมุ ชน ผแู ทนครู ผูแทนศษิ ยเกา และผูทรงคณุ วฒุ ิ
จาํ นวนกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วธิ ีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการ
และกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง และการพนจากตําแหนง ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎ
ระทรวง
มาตรา ๔๕ ใหสถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาไดทุกระดับและทุกประเภท
การศกึ ษาตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๗๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

โดยรัฐตองกําหนดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจนเกี่ยวกับการมีสวนรวมของ
เอกชนในดานการศึกษาการกําหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษาของรัฐ ของเขตพื้นท่ี
การศกึ ษา หรือขององคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหคํานงึ ถึงผลกระทบตอการจัดการศึกษาของ
เอกชน โดยใหรัฐมนตรีหรือคณะกรรมการการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเขตพื้นท่ี
การศึกษา หรือองคกรปกครองสวนทองถ่ินรับฟงความคิดเห็นของเอกชนและประชาชน
ประกอบการพิจารณาดวยใหสถานศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษาระดับปริญญาดําเนิน
กิจการได โดยอิสระสามารถพัฒนาระบบบริหารและการจัดการที่เปนของตนเอง มีความ
คลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการและอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษา ตาม
กฎหมายวาดว ยสถาบันอดุ มศกึ ษาเอกชน

มาตรา ๔๖ รฐั ตองใหก ารสนบั สนุนดานเงินอุดหนุน การลดหยอนหรือการยกเวน
ภาษี และสิทธิประโยชน

อยางอื่นที่เปนประโยชนในทางการศึกษาแกสถานศึกษาเอกชนตามความ
เหมาะสมรวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนดานวิชาการใหสถานศึกษาเอกชนมีมาตรฐานและ
สามารถพงึ่ ตนเองได

หมวด ๖
มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา

---------------
มาตรา ๔๗ ใหมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการ
ประกันคุณภาพภายนอก ระบบ หลักเกณฑ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา ใหเปนไป
ตามท่กี าํ หนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๘ ใหหนวยงานตนสังกัดและสถานศึกษาจัดใหมีระบบการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษาและใหถือวาการประกันคุณภาพภายในเปนสวนหน่ึงของ
กระบวนการบริหารการศึกษาท่ีตองดําเนินการอยางตอเน่ือง โดยมีการจัดทํารายงานประจําป
เสนอตอหนวยงานตอสังกัด หนวยงานที่เกี่ยวของและเปดเผยตอสาธารณชน เพื่อนําไปสูการ
พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพอ่ื รองรับการประกนั คณุ ภาพภายนอก

๒๘๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

มาตรา ๔๙ ใหม ีสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีฐานะ
เปนองคการมหาชนทําหนาท่ีพัฒนาเกณฑ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก และทําการ
ประเมินผลการจัดการศึกษาเพ่อื ใหมีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคํานึงถึงความ
มุ ง ห ม า ย แ ล ะ ห ลั ก ก า ร แ ล ะ แ น ว ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น แ ต ล ะ ร ะ ดั บ ต า ม ท่ี กํ า ห น ด ไ ว ใ น
พระราชบัญญัติน้ี ใหมีการประเมนิ คุณภาพภายนอกของสถานศกึ ษาทุกแหงอยางนอยหนงึ่ ครั้ง
ในทุกหา ปนับตั้งแตการประเมนิ ครั้งสุดทาย และเสนอผลการประเมินตอหนว ยงานท่ีเกีย่ วของ
และสาธารณชน

มาตรา ๕๐ ใหสถานศึกษาใหความรว มมือในการจดั เตรียมเอกสารหลักฐานตา ง ๆ
ที่มีขอมูลเกย่ี วขอ งกบั สถานศกึ ษา ตลอดจนใหบ ุคลากร คณะกรรมการของสถานศึกษา รวมท้ัง
ผูปกครองและผูท่ีมีสวนเก่ียวของกับสถานศึกษาใหขอมูลเพิ่มเติมในสวนท่ีพิจารณาเห็นวา
เกี่ยวของกับการปฏิบัติภารกิจของสถานศึกษา ตามคํารองขอของสํานักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษาหรือบุคคลหรือหนวยงานภายนอกที่สํานักงานดังกลาวรับรอง
ทที่ ําการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาน้นั

มาตรา ๕๑ ในกรณีท่ีผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไมไดตาม
มาตรฐานที่กําหนดใหสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทํา
ขอเสนอแนะการปรบั ปรุงแกไขตอหนว ยงานตนสังกัด เพือ่ ใหสถานศึกษาปรับปรุงแกไ ขภายใน
ระยะเวลาที่กําหนด หากมิไดดําเนินการดังกลาวใหสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษารายงานตอคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานหรือคณะกรรมการการ
อดุ มศึกษาเพ่ือดําเนินการใหมีการปรับปรงุ แกไ ข

หมวด ๗
ครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา

---------------
มาตรา ๕๒ ใหกระทรวงสงเสริมใหมีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู
คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเปน
วิชาชีพช้ันสูง โดยการกํากับและประสานใหสถาบันท่ีทําหนาที่ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย
รวมท้ังบุคลากรทางการศึกษาใหมีความพรอมและมีความเขมแข็งในการเตรียมบุคลากรใหม

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๘๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

และการพัฒนาบุคลากรประจําการอยางตอเน่ือง รัฐพึงจัดสรรงบประมาณและจัดตั้งกองทุน
พัฒนาครู คณาจารย และบคุ ลากรทางการศกึ ษาอยา งเพียงพอ

มาตรา ๕๓ ใหมีองคกรวิชาชีพครู ผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหารการศึกษามี
ฐานะเปนองคกรอิสระภายใตการบริหารของสภาวิชาชีพ ในกํากับของกระทรวง มีอํานาจ
หนาท่ีกําหนดมาตรฐานวิชาชีพ ออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ กํากับดูแลการ
ปฏิบัติตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมท้ังการพัฒนาวิชาชีพครู ผูบริหาร
สถานศึกษาและผูบริหารการศึกษา

ใหครู ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่นท้ัง
ของรัฐและเอกชนตองมีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพตามที่กฎหมายกําหนดการจัดใหมีองคกร
วิชาชีพครู ผูบ รหิ ารสถานศกึ ษา ผูบรหิ ารการศึกษา และบุคลากรทางการศกึ ษาอื่น

คุณสมบัติ หลักเกณฑ และวิธีการในการออกและเพิกถอนใบอนุญาตประกอบ
วชิ าชพี ใหเ ปนไปตามท่กี ฎหมายกําหนด

ความในวรรคสองไมใ ชบังคบั แกบุคลากรทางการศึกษาท่ีจดั การศึกษาตามอัธยาศัย
สถานศกึ ษาตามมาตรา ๑๘ (๓) ผูบรหิ ารการศึกษาระดบั เหนือเขตพ้ืนที่การศึกษาและวิทยากร
พิเศษทางการศกึ ษา

ความในมาตรานี้ไมใชบังคับแกคณาจารย ผูบริหารสถานศึกษา และผูบริหาร
การศึกษาในระดบั อุดมศกึ ษาระดับปริญญา

มาตรา ๕๔ ใหมีองคกรกลางบริหารงานบุคคลของขาราชการครู โดยใหครูและ
บุคลากรทางการศึกษาท้ังของหนวยงานทางการศึกษาในระดับสถานศึกษาของรัฐ และระดับ
เขตพ้นื ที่การศกึ ษาเปนขาราชการในสังกัดองคกรกลางบรหิ ารงานบคุ คลของขาราชการครูโดย
ยึดหลักการกระจายอํานาจการบริหารงานบุคคลสูเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และสถานศึกษา ท้ังนี้
ใหเปนไปตามท่กี ฎหมายกําหนด

มาตรา ๕๕ ใหมีกฎหมายวา ดวยเงินเดือน คาตอบแทน สวัสดิการ และสิทธิประ
โยชนเกื้อกูลอ่ืน สําหรับขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาเพ่ือใหมีรายไดท่ีเพียงพอและ
เหมาะสมกับฐานะทางสังคมและวิชาชีพใหมีกองทุนสงเสริมครู คณาจารย และบุคลากร
ทางการศึกษา เพ่อื จัดสรรเปนเงินอดุ หนนุ งานริเริ่มสรางสรรค ผลงานดีเดน และเปนรางวลั เชิด
ชูเกยี รติครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา ทงั้ นี้ ใหเ ปนไปตามทกี่ าํ หนดในกฎกระทรวง

๒๘๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

มาตรา ๕๖ การผลิตและพฒั นาคณาจารยและบคุ ลากรทางการศกึ ษา การพฒั นา
มาตรฐานและจรรยาบรรณของวชิ าชพี และการบรหิ ารงานบุคคลของขาราชการหรือพนักงาน
ของรัฐในสถานศึกษาระดับปริญญาที่เปนนิติบุคคล ใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยการจัดต้ัง
สถานศกึ ษาแตละแหง และกฎหมายทเ่ี ก่ียวของ

มาตรา ๕๗ ใหหนวยงานทางการศึกษาระดมทรัพยากรบุคคลในชุมชนใหมีสวน
รว มในการจดั การศึกษาโดยนําประสบการณ ความรอบรู ความชํานาญ และภูมิปญญาทองถ่ิน
ของบุคคลดังกลาวมาใชเพ่ือใหเกิดประโยชนทางการศึกษาและยกยองเชิดชูผูที่สงเสริมและ
สนบั สนุนการจัดการศึกษา

หมวด ๘
ทรัพยากรและการลงทนุ เพอื่ การศกึ ษา

---------------
มาตรา ๕๘ ใหมีการระดมทรัพยากรและการลงทุนดานงบประมาณ การเงิน และ
ทรัพยสินท้ังจากรฐั องคก รปกครองสวนทองถนิ่ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชนเอกชน
องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอ่ืน และ
ตา งประเทศมาใชจัดการศกึ ษาดงั น้ี
(๑) ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่นระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยอาจ
จัดเกบ็ ภาษเี พอ่ื การศกึ ษาไดตามความเหมาะสม ทัง้ นี้ ใหเปน ไปตามที่กฎหมายกําหนด
(๒) ใหบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นเอกชน
องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอ่ืน ระดม
ทรัพยากรเพ่ือการศึกษา โดยเปนผูจัดและมีสวนรวมในการจัดการศึกษา บริจาคทรัพยสินและ
ทรัพยากรอื่นใหแกสถานศึกษา และมีสวนรวมรับภาระคาใชจายทางการศึกษาตามความ
เหมาะสมและความจําเปน
ท้ังนี้ ใหรัฐและองคกรปกครองสวนทองถิ่น สงเสริมและใหแรงจูงใจในการระดม
ทรัพยากรดังกลาว โดยการสนับสนุน การอุดหนุนและใชมาตรการลดหยอนหรือยกเวนภาษี
ตามความเหมาะสมและความจาํ เปน ทง้ั นี้ ใหเปนไปตามที่กฎหมายกําหนด
มาตรา ๕๙ ใหสถานศึกษาของรัฐที่เปนนิติบุคคล มีอํานาจในการปกครอง ดูแล
บํารุงรักษา ใช และจดั หา

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๘๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ผลประโยชนจากทรัพยสินของสถานศึกษา ท้ังที่เปนท่ีราชพัสดุ ตามกฎหมายวา
ดว ยทีร่ าชพัสดุ และท่ีเปน ทรัพยสินอื่น รวมทงั้ จัดหารายไดจากบริการของสถานศกึ ษาและเก็บ
คาธรรมเนียมการศึกษาที่ไมขัดหรือแยงกับนโยบาย วัตถุประสงค และภารกิจหลักของ
สถานศึกษาบรรดาอสังหาริมทรัพยท่ีสถานศึกษาของรัฐที่เปนนิติบุคคลไดมาโดยมีผูอุทิศให
หรือโดยการซ้ือหรือแลกเปล่ียนจากรายไดของสถานศึกษา ไมถือเปนท่ีราชพัสดุ และใหเปน
กรรมสทิ ธ์ิของสถานศกึ ษา

บรรดารายไดและผลประโยชนของสถานศึกษาของรัฐท่ีเปนนิติบุคคล รวมทั้ง
ผลประโยชนท ่ีเกดิ จากท่ีราชพัสดุ เบี้ยปรับท่ีเกิดจากการผิดสัญญาลาศกึ ษา และเบยี้ ปรับทเี่ กิด
จากการผิดสัญญาการซ้ือทรัพยสินหรือจางทําของท่ีดําเนินการโดยใชเงินงบประมาณไมเปน
รายไดทตี่ องนําสงกระทรวงการคลังตามกฎหมายวา ดวยเงินคงคลังและกฎหมายวาดวยวิธกี าร
งบประมาณ

บรรดารายไดและผลประโยชนของสถานศึกษาของรัฐที่ไมเปนนิติบุคคล รวมทั้ง
ผลประโยชนทเี่ กดิ จากที่

ราชพัสดุ เบี้ยปรับที่เกิดจากการผิดสัญญาลาศึกษา และเบี้ยปรับที่เกิดจากการผิด
สญั ญาการซือ้ ทรัพยส นิ หรือจา งทาํ ของ

ที่ดําเนินการโดยใชเงินงบประมาณใหสถานศึกษาสามารถจัดสรรเปนคาใชจายใน
การจดั การศึกษาของสถานศกึ ษาน้ัน ๆ ไดตามระเบียบท่ีกระทรวงการคลงั กาํ หนด

มาตรา ๖๐ ใหรัฐจัดสรรงบประมาณแผนดินใหกับการศึกษาในฐานะที่มีความสําคัญ
สงู สดุ ตอ การพัฒนาทยี่ ่ังยนื ของประเทศโดยจัดสรรเปน เงนิ งบประมาณเพื่อการศึกษา ดังนี้

(๑) จัดสรรเงินอุดหนุนท่ัวไปเปนคาใชจายรายบุคคลที่เหมาะสมแกผูเรียน
การศกึ ษาภาคบังคับและการศึกษาข้นั พน้ื ฐานท่จี ัดโดยรัฐและเอกชนใหเทาเทียมกัน

(๒) จัดสรรทุนการศึกษาในรูปของกองทุนกูยืมใหแกผูเรียนที่มาจากครอบครัวที่มี
รายไดน อยตามความเหมาะสมและความจาํ เปน

(๓) จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษาอื่นเปนพิเศษใหเหมาะสม
และสอดคลองกบั ความจําเปนในการจัดการศกึ ษาสาํ หรับผเู รยี นทม่ี ีความตองการเปนพิเศษแต
ละกลมุ ตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง วรรคสาม และวรรคสี่ โดยคาํ นงึ ถึงความเสมอภาคในโอกาส

๒๘๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

ทางการศึกษาและความเปนธรรม ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดใน
กฎกระทรวง

(๔) จัดสรรงบประมาณเปนคาใชจายดําเนินการ และงบลงทุนใหสถานศึกษาของ
รัฐตามนโยบายแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ และภารกิจของสถานศึกษา โดยใหมีอิสระใน
การบริหารงบประมาณและทรัพยากรทางการศึกษา ท้ังนี้ ใหคํานึงถึงคุณภาพและความเสมอ
ภาคในโอกาสทางการศึกษา

(๕) จัดสรรงบประมาณในลกั ษณะเงนิ อุดหนนุ ทั่วไปใหสถานศึกษาระดบั อดุ มศกึ ษา
ของรฐั ที่เปน นิตบิ คุ คล และเปนสถานศึกษาในกาํ กับของรัฐหรอื องคการมหาชน

(๖) จัดสรรกองทุนกยู ืมดอกเบ้ียต่าํ ใหสถานศกึ ษาเอกชน เพ่อื ใหพ่ึงตนเองได
(๗) จัดต้งั กองทนุ เพอื่ พฒั นาการศึกษาของรัฐและเอกชน
มาตรา ๖๑ ใหรัฐจัดสรรเงินอุดหนุนการศึกษาท่ีจัดโดยบุคคล ครอบครัวองคกร
ชมุ ชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น
ตามความเหมาะสมและความจาํ เปน
มาตรา ๖๒ ใหมีระบบการตรวจสอบ ติดตามและประเมินประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลการใชจายงบประมาณการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับหลักการศึกษา แนวการ
จัดการศึกษาและคุณภาพมาตรฐานการศึกษา โดยหนวยงานภายในและหนวยงานของรัฐที่มี
หนาท่ีตรวจสอบภายนอกหลักเกณฑ และวิธีการในการตรวจสอบ ติดตามและการประเมิน ให
เปนไปตามท่ีกําหนดในกฎกระทรวง

หมวด ๙
เทคโนโลยเี พือ่ การศึกษา

---------------
มาตรา ๖๓ รฐั ตองจัดสรรคล่ืนความถ่ี ส่อื ตัวนําและโครงสรางพื้นฐานอ่ืนท่ีจําเปน
ตอการสงวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่น เพ่ือใช
ประโยชนสําหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การ
ทะนบุ าํ รงุ ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมตามความจาํ เปน
มาตรา ๖๔ รัฐตองสงเสรมิ และสนับสนุนใหมกี ารผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตํารา
หนังสือทางวิชาการ ส่ือสิ่งพิมพอื่น วัสดุอุปกรณ และเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอ่ืน โดยเรงรัด

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๘๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดใหมีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการใหแรงจูงใจแก
ผูผลติ และพัฒนาเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา ทงั้ น้ี โดยเปดใหม ีการแขง ขันโดยเสรอี ยางเปนธรรม

มาตรา ๖๕ ใหมีการพัฒนาบุคลากรทั้งดา นผผู ลิต และผูใชเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
เพ่ือใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมท้ังการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมมี
คุณภาพ และประสิทธภิ าพ

มาตรา ๖๖ ผเู รยี นมีสิทธิไดรับการพฒั นาขีดความสามารถในการใชเทคโนโลยีเพ่ือ
การศึกษาในโอกาสแรกท่ีทําได เพ่ือใหมีความรูและทักษะเพียงพอท่ีจะใชเทคโนโลยีเพื่อ
การศกึ ษาในการแสวงหาความรดู วยตนเองไดอ ยา งเนื่องตลอดชวี ิต

มาตรา ๖๗ รัฐตองสงเสริมใหมีการวิจัยและพัฒนา การผลิตและการพัฒนา
เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา รวมท้ังการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใชเทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา เพ่อื ใหเกิดการใชทค่ี มุ คาและเหมาะสมกบั กระบวน-การเรียนรูของคนไทย

มาตรา ๖๘ ใหมีการระดมทุน เพ่ือจัดตั้งกองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา
จากเงินอุดหนุนของรัฐ คาสัมปทาน และผลกาํ ไรท่ีไดจากการดําเนินกจิ การดานส่ือสารมวลชน
เทคโนโลยีสารสนเทศ และโทรคมนาคมจากทุกฝายท่ีเก่ียวของท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และ
องคกรประชาชนรวมทั้งการใหมีการลดอัตราคาบริการเปนพิเศษในการใชเทคโนโลยีดังกลาว
เพอ่ื การพัฒนาคนและสงั คมหลักเกณฑและวธิ ีการจัดสรรเงินกองทนุ เพอ่ื การผลิต การวจิ ัยและ
การพัฒนาเทคโนโลยเี พอื่ การศึกษา ใหเ ปน ไปตามทก่ี าํ หนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๖๙ รัฐตองจัดใหมีหนวยงานกลางทําหนาท่ีพิจารณาเสนอนโยบาย แผน
สงเสริมและประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช รวมท้ังการประเมินคุณภาพ และ
ประสิทธิภาพของการผลิตและการใชเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษา

บทเฉพาะกาล
---------------
มาตรา ๗๐ บรรดาบทกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบียบ ประกาศ และคําสั่งเก่ียวกับ
การศึกษา ศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม ท่ีใชบังคับอยูในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ยังคงใช
บังคับไดตอไปจนกวาจะไดมีการดําเนินการปรับปรุงแกไขตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติน้ี
ซงึ่ ตอ งไมเกินหา ปน ับแตว ันท่ีพระราชบญั ญตั ินี้ใชบ ังคับ

๒๘๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

มาตรา ๗๑ ใหกระทรวง ทบวง กรม หนวยงานการศึกษา และสถานศึกษาท่ีมีอยูใน
วันที่พระราชบญั ญตั ินใี้ ชบ ังคบั ยังคงมีฐานะและอํานาจหนา ที่เชนเดมิ จนกวาจะไดมีการจัดระบบ
การบริหารและการจัดการศึกษาตามบทบัญญัติแหงพระราชบัญญัติน้ี ซึ่งตองไมเกินสามปนับแต
วันท่พี ระราชบญั ญัติน้ีใชบังคับ

มาตรา ๗๒ ในวาระเร่ิมแรก มิใหนําบทบัญญัติ มาตรา ๑๐ วรรคหน่ึง และมาตรา
๑๗ มาใชบังคับ จนกวาจะมีการดาํ เนินการใหเ ปน ไปตามบทบญั ญัตดิ ังกลาว ซง่ึ ตองไมเกนิ หาป
นบั แตวนั ท่รี ัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยใชบังคับภายในหน่งึ ปน ับแตวันที่พระราชบญั ญัติ
นี้ใชบังคับ ใหดําเนินการออกกฎกระทรวงตามมาตรา ๑๖ วรรคสอง และวรรคส่ี ใหแลวเสร็จ
ภายในหกปนับแตวนั ท่ีพระราชบัญญัติน้ีใชบังคับ ใหกระทรวงจดั ใหมกี ารประเมินผลภายนอก
คร้งั แรกของสถานศกึ ษาทกุ แหง

มาตรา ๗๓ ในวาระเริ่มแรก มิใหนําบทบัญญัติในหมวด ๕ การบริหารและการจัด
การศึกษาและหมวด ๗ ครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษา มาใชบังคับจนกวาจะไดมีการ
ดําเนินการใหเปน ไปตามบทบัญญตั ิใหหมวดดังกลาว รวมท้ังการแกไขปรับปรงุ พระราชบัญญตั ิครู
พุทธศักราช ๒๔๘๘ และพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการครู พ.ศ. ๒๕๒๓ ซึ่งตองไมเกินสามป
นับแตว ันทพ่ี ระราชบัญญัตนิ ี้ใชบ งั คบั

มาตรา ๗๔ ในวาระเริ่มแรกที่การจัดตั้งกระทรวงยังไมแลวเสร็จ ใหนายกรัฐมนตรี
รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรีวาการทบวงมหาวิทยาลัย รักษาการตาม
พระราชบัญญัตินี้และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศ เพ่ือปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัติน้ี ท้ังน้ี ในสวนท่ีเกี่ยวกับอํานาจหนาที่ของตนเพื่อใหการปฏิบัติตาม
พระราชบัญญัติน้ีในสวนที่ตองดําเนินการกอนที่การจัดระบบบริหารการศึกษาตามหมวด ๕ ของ
พระราชบัญญัติน้ีจะแลวเสร็จ ใหกระทรวงศึกษาธิการทบวงมหาวิทยาลัยและคณะกรรมการ
การศึกษาแหงชาติ ทําหนาที่กระทรวงการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมตามพระราชบัญญัติน้ี
โดยใหท าํ หนา ทใ่ี นสวนที่เกี่ยวของ แลวแตกรณี

มาตรา ๗๕ ใหจ ัดตั้งสํานักงานปฏิรูปการศึกษา ซ่ึงเปนองคก ารมหาชนเฉพาะกิจที่
จัดตั้งขึ้นโดยพระราช-กฤษฎีกาที่ออกตามความในกฎหมายวาดวยองคการมหาชนเพ่ือทํา
หนาที่ ดังตอ ไปนี้

(๑) เสนอการจัดโครงสราง องคกร การแบงสวนงานตามท่ีบัญญัติไวในหมวด ๕
ของพระราชบญั ญัตนิ ี้

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๘๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

(๒) เสนอการจัดระบบครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาตามที่บัญญัติไว
ในหมวด ๗ ของพระราช-บัญญตั ิน้ี

(๓) เสนอการจัดระบบทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษาตามท่ีบัญญัติไวใน
หมวด ๘ ของพระราชบัญญตั ินี้

(๔) เสนอแนะเก่ียวกับการรางกฎหมายเพื่อรองรับการดําเนินการตาม (๑) (๒)
และ (๓) ตอ คณะรฐั มนตรี

(๕) เสนอแนะเก่ียวกับการปรับปรุงแกไขกฎหมาย กฎ ขอบังคับ ระเบียบ และ
คาํ สง่ั ที่บังคับใชอยูในสวนท่ีเกี่ยวของกับการดาํ เนนิ การตาม (๑) (๒) และ (๓) เพ่อื ใหสอดคลอง
กบั พระราชบญั ญัตินี้ตอ คณะรฐั มนตรี

(๖) อํานาจหนาที่อื่นตามท่ีกําหนดในกฎหมายวาดวยองคการมหาชนทั้งน้ี ให
คาํ นงึ ถึงความคิดเหน็ ของประชาชนประกอบดวย

มาตรา ๗๖ ใหมีคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูปการศึกษาจํานวนเกาคน
ประกอบดวยประธานกรรมการและกรรมการ ซ่ึงคณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากผูมีความรู
ความสามารถมีประสบการณและมีความเช่ียวชาญดานการบริหารการศึกษา การบริหารรัฐกิจ
การบริหารงานบุคคล การงบประมาณ การเงินและการคลัง กฎหมายมหาชน และกฎหมาย
การศึกษา ท้ังนี้ จะตองมีผูทรงคุณวุฒิ ซ่ึงมิใชขาราชการหรือผูปฏิบัติงานใหหนวยงานของรัฐ
รวมอยูด ว ย ไมน อยกวา สามคน

ใหคณะกรรมการบริหารมีอํานาจแตงต้ังผูทรงคุณวุฒิเปนท่ีปรึกษา และแตงตั้ง
คณะอนุกรรมการเพื่อปฏบิ ตั ิ-การตามทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารมอบหมายได

ใหเลขาธิการสํานักงานปฏิรูปการศึกษา เปนกรรมการและเลขานุการของคณะ
กรรมการบริหารและบริหารกิจการของสํานักงานปฏิรูปการศึกษาภายใตการกํากับดูแลของ
คณะกรรมการบริหาร

คณะกรรมการบรหิ ารและเลขาธิการมีวาระการดํารงตําแหนงวาระเดยี วเปนเวลาสาม
ป เม่ือครบวาระแลวใหย ุบเลกิ ตําแหนงและสาํ นักงานปฏิรปู การศกึ ษา

มาตรา ๗๗ ใหมีคณะกรรมการสรรหาคณะกรรมการบริหารสํานักงานปฏิรูป
การศึกษาคณะหน่ึงจํานวนสบิ หา คน ทําหนาท่ีคัดเลือกบุคคลที่สมควรไดรับการเสนอชอื่ เปนคณะ

๒๘๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

กรรมการบรหิ ารจํานวนสองเทา ของจํานวนประธานและกรรมการบริหาร เพ่ือเสนอคณะรัฐมนตรี
พจิ ารณาแตงตั้ง ประกอบดวย

(๑) ผูแทนหนวยงานทเี่ กี่ยวขอ งจํานวนหาคน ไดแก ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารปลัด
ทบวงมหาวิทยาลัย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
แหง ชาติ และผอู ํานวยการสาํ นกั งบประมาณ

(๒) อธิการบดีของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและเอกชนที่เปนนิติบคุ คล ซ่งึ คัดเลือก
กันเองจํานวนสองคน และคณบดีคณะครุศาสตร ศึกษาศาสตร หรือการศึกษาทั้งของรัฐและ
เอกชนที่มีการสอนระดับปริญญาในสาขาวิชาครุศาสตร ศึกษาศาสตร หรือการศึกษา ซ่ึง
คัดเลือกกันเองจาํ นวนสามคนในจาํ นวนน้ีจะตองเปนคณบดคี ณะครุศาสตร ศกึ ษาศาสตร หรือ
การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั ของรฐั ไมนอ ยกวาหน่ึงคน

(๓) ผูแทนสมาคมวิชาการ หรือวิชาชีพดานการศึกษาที่เปนนิติบุคคล ซึ่งคัดเลือก
กันเองจํานวนหาคนใหคณะกรรมการสรรหาเลือกกรรมการสรรหาคนหน่ึง เปนประธาน
กรรมการ และเลอื กกรรมการสรรหาอีกคนหนึง่ เปน เลขานกุ ารคณะกรรมการสรรหา

มาตรา ๗๘ ใหนายกรัฐมนตรเี ปนผรู ักษาการตามพระราชกฤษฎีกาจัดตงั้ สํานักงาน
ปฏิรูปการศึกษา และมีอํานาจกํากับดูแลกิจการของสํานักงานตามท่ีกําหนดไวในกฎหมายวา
ดวยองคก ารมหาชน

นอกจากท่ีมีบัญญัติไวแลวในพระราชบัญญัตินี้ พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสํานักงาน
ปฏริ ปู การศกึ ษาอยางนอยตองมีสาระสําคัญ ดังตอไปนี้

(๑) องคประกอบ อํานาจหนาที่ และวาระการดํารงตาํ แหนงของคณะกรรมการบริหาร
ตามมาตรา ๗๕ และมาตรา ๗๖

(๒) องคประกอบ อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการสรรหา หลักเกณฑ วิธีการสรรหา
และการเสนอแตงตั้งคณะกรรมการบรหิ าร ตามมาตรา ๗๗

(๓) คุณสมบัติและลักษณะตองหามรวมท้ังการพนจากตําแหนงของคณะ
กรรมการบรหิ าร เลขาธกิ าร และเจาหนาที่

(๔) ทุน รายได งบประมาณ และทรัพยสิน
(๕) การบรหิ ารงานบุคคล สวัสดิการ และสิทธปิ ระโยชนอ ่ืน
(๖) การกํากับดแู ล การตรวจสอบ และการประเมินผลงาน
(๗) การยบุ เลิก

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๘๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

(๘) ขอกําหนดอ่ืน ๆ อันจําเปนเพื่อใหกิจการดําเนินไปไดโดยเรียบรอยและมี
ประสิทธิภาพ

ผรู บั สนองพระบรมราชโองการ
ชวน หลกี ภยั
นายกรัฐมนตรี

-----------------------------------
หมายเหตุ:- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับน้ี คือ โดยท่ีรัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทยกําหนดใหรัฐตองจัดการศึกษาอบรม และสนับสนุนใหเอกชนจัด
การศึกษาอบรมใหเ กดิ ความรูคูคุณธรรม จัดใหมกี ฎหมายเก่ียวกับการศึกษาแหงชาติ ปรับปรุง
การศึกษาใหสอดคลองกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สรางเสริมความรูและ
ปลูกฝงจิตสํานึกท่ีถูกตองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขสนับสนุนการคนควาวิจัยในศิลปวิทยาการตาง ๆ เรงรัด
การศึกษาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพครู และสงเสริม
ภูมิปญญาทองถ่ิน ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติรวมท้ังในการจัดการศึกษาของรัฐใหคํานึงถึง
การมีสวนรว มขององคกรปกครองสวนทองถิ่นและเอกชน ตามท่ีกฎหมายบัญญัติและใหความ
คุมครองการจัดการศึกษาอบรมขององคกรวิชาชีพและเอกชนภายใตการกับกับดูแลของรัฐ
ดังน้ัน จึงสมควรมีกฎหมายวาดวยการศึกษาแหงชาติ เพ่ือเปนกฎหมายแมบทในการบริหาร
และจัดการการศึกษาอบรมใหสอดคลองกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
ดังกลาว จงึ จาํ เปนตอ งตราพระราชบญั ญตั ินี้

๑๐.๑๑ สรปุ สาระสําคัญเก่ยี วกบั พระราชบัญญัติการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ.๒๕๔๒

หมวด ๑ บททว่ั ไปความมงุ หมายและหลักการ
หมวด ๒ สิทธิและหนา ที่ทางการ ศกึ ษา
หมวด ๓ ระบบการศกึ ษา
หมวด ๔ แนวทางจดั การศึกษา
หมวด ๕ การบริหารและจัดการการศึกษา
หมวด ๖ มาตรฐานและการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
หมวด ๗ ครู คณาจารยและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา

๒๙๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๑๐ เกณฑมาตรฐานวิชาชีพผูบริหารสถานศึกษา

หมวด ๘ ทรพั ยากรและการลงทุน เพ่อื การศกึ ษา
หมวด ๙ เทคโนโลยีเพอ่ื การศกึ ษา
บทเฉพาะกาล
หมวด ๑ บทท่ัวไป ความมุง หมายและหลักการ
พระราชบัญญตั ิฉบบั น้ีมีเจตนารมณท ่ีตองการเนนย้าํ วาการจัดการศึกษาตองเปนไป
เพอ่ื พัฒนาคนไทยใหเปน มนุษยท่สี มบรู ณ ทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรู และคุณธรรม มี
จรยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการดาํ รงชวี ิตสามารถอยูร ว มกับผูอนื่ ไดอ ยางมคี วามสขุ
การจัดการศกึ ษา ใหยึดหลกั ดงั น้ี
๑) เปน การศึกษาตลอดชวี ติ สําหรับประชาชน
๒) ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศกึ ษา
๓) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรูใหเ ปน ไปอยางตอเน่ือง
สาํ หรบั เร่อื งการจดั ระบบ โครงสรา งและกระบวนการจัดการศกึ ษา ใหยดึ หลักดงั นี้
๑) มเี อกภาพดา นนโยบายและมีความหลากหลายในการปฏบิ ตั ิ
๒) มีการกระจายอํานาจไปสูเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สถานศึกษา และองคกรปกครอง
สวนทอ งถิ่น
๓) มีการกําหนดมาตรฐานการศึกษาและจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุก
ระดบั และประเภท
๔) มีหลักการสงเสริมมาตรฐานวิชาชีพและการพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากร
ทางการศกึ ษาอยางตอเนอ่ื ง
๕) ระดมทรพั ยากรจากแหลง ตาง ๆ มาใชใ นการจัดการศกึ ษา
๖) การมีสวนรวมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวน
ทอ งถิ่น เอกชน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบัน
สงั คมอืน่
หมวด ๒ สทิ ธแิ ละหนาทท่ี างการศกึ ษา
บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษาข้ันพื้นฐานไมนอยกวาสิบสองป
ท่รี ัฐตองจัดใหอยางท่ัวถึง และมคี ุณภาพโดยไมเกบ็ คาใชจา ย

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๒๙๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

- บุคคล ซง่ึ มีความบกพรอ งทางดานตาง ๆ หรอื มรี างกายพิการ หรือมีความตอ งการ
เปนพเิ ศษ หรือผดู อ ยโอกาสมีสิทธิและโอกาสไดรับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐานเปน พเิ ศษ

- บิดามารดา หรือผูปกครองมีหนาท่ีจัดใหบุตรหรือบุคคลในความดูแลไดรับ
การศึกษาทง้ั ภาคบังคับ และนอกเหนือจากภาคบงั คบั ตามความพรอมของครอบครวั

- บดิ ามารดา บุคคล ชมุ ชน องคกร และสถาบนั ตา ง ๆ ทางสงั คมทสี่ นบั สนนุ หรือจัด
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน มสี ิทธิไดร ับสิทธปิ ระโยชนตามควรแกกรณดี ังน้ี

- การสนับสนุนจากรัฐใหมีความรู ความสามารถในการอบรมเล้ียงดูและให
การศึกษาแกบุตรหรือผูซึ่งอยูในความดูแล รวมทั้งเงินอุดหนุนสําหรับการจัดการศึกษาข้ัน
พนื้ ฐาน

- การลดหยอ นหรอื ยกเวน ภาษีสําหรับคา ใชจ า ยการศึกษา
หมวด ๓ ระบบการศึกษา
การจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศัย สถานศึกษาจัดไดท้ังสามรูปแบบ และใหมีการเทียบโอนผลการเรียนที่
ผูเรียนสะสมไวระหวางรูปแบบเดียวกันหรือตางรูปแบบได ไมวาจะเปนผลการเรียนจาก
สถานศึกษาเดียวกันหรือไมก็ตาม การศึกษาในระบบมีสองระดับ คือ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานซึ่ง
จัดไมนอยกวา ๑๒ ป กอนระดับอุดมศึกษา และระดับอุดมศึกษา ซ่ึงแบงเปนระดับตํ่ากวา
ปริญญา และระดับปรญิ ญา ใหมกี ารศึกษาภาคบังคับเกาป นับจากอายยุ างเขาปที่เจ็ด จนอายุ
ยางเขาปท่ีสิบหก หรือเมื่อสอบไดชั้นปที่เกาของการศึกษาภาคบังคับ สําหรับเรื่องสถานศึกษา
น้ัน การศึกษาปฐมวัย และการศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหจ ดั ใน
๑) สถานพฒั นาเด็กปฐมวยั
๒) โรงเรียน ไดแ ก โรงเรียนของรัฐ เอกชน และโรงเรียนท่ีสังกัดสถาบันศาสนา
๓) ศูนยการเรียน ไดแก สถานที่เรยี นที่หนวยงานจัดการศึกษานอกโรงเรียน บุคคล
ครอบครัว ชุมชน องคกรชุมชน องคกรปกครองสวนทองถ่ิน องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย สถานสงเคราะห และ
สถาบันสังคมอน่ื เปน ผูจัด

- การจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา ใหจัดในมหาวิทยาลัย สถาบัน วิทยาลัย
หรอื หนวยงานที่เรียกชอื่ อยา งอื่น ท้ังนใ้ี หเ ปนไปตามกฎหมายท่เี กยี่ วของ


Click to View FlipBook Version