The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Keywords: คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

๑๔๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ศิรินารถ นันทวัฒนภิรมย ไดศึกษาการบริหารสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานตามหลัก
ธรรมาภิบาล อําเภอเมืองลําพูน พบวา การบริหารงานดานวิชาการดานการบริหารงานบุคคล
และดานการบริหารทั่วไป ในภาพรวมมีการบริหารงานท่ีผานระดับคุณภาพการมีความตระหนัก
ถึงความสําคัญ จนถึงระดับคุณภาพการมีความพยายาม สวนการบริหารดานงบประมาณ มีการ
บริหารงานที่ผานระดับคุณภาพการมีความตระหนักถึงความสําคัญ ระดับคุณภาพการมีความ
พยายามจนถึงระดบั คุณภาพการบรรลุผลตามเกณฑ เม่ือพจิ ารณาการบริหารในแตละดาน พบวา
ผบู ริหารโรงเรยี นมกี ารบริหารงานทผ่ี า นระดับคุณภาพกามีความตระหนัก211๘๒

สุจิตรา บุญยรัตนพันธุ ศึกษาเก่ียวกับรายงานการใชหลักธรรมาภิบาลในการ
บริหารงาน ของผูบริหารสถานศึกษา กรณีศึกษาโรงเรียนบานชายธูป อําเภอทามะกา สังกัด
สํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษากาญจนบุรี เขต ๒ พบวาการใชหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
ของผูบรหิ ารโรงเรียน บานชายธูป ในภาพรวมอยูในระดับมาก เม่ือพิจารณารายดานพบวา อยูใน
ระดับมากทั้ง ๖ หลัก ตามลําดับคาเฉล่ียดังน้ีหลักความรับผิดชอบ หลักคุณธรรม หลักความ
โปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความคุมคา หลักนิติธรรม ซ่ึงแนวทางการพัฒนาการใชหลัก
ธรรมาภิบาลในการบริหารงานของผูบริหารโรงเรียนบานชายธูป เสนอแนวทาง คือใหผูมีสวน
เกี่ยวของทุกฝายทั้งผูบริหาร สถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา ครู และผูปกครองมี
สวนรวมกันกําหนดวิสัยทัศนวางแผน และรวมกันปฏิบัติอยางจริงจัง ดวยความซ่ือสัตยสุจริต
โปรงใส ตรวจสอบไดโดยทกุ คนปฏิบัติตาม หนาที่ของตน เขาใจในบทบาทหนาที่ในการมสี วนรว ม
บริหารสถานศึกษา ลักษณะพิเศษของหลักธรรมาภิบาล จะสงผลทําใหการทํางานภายใตเง่ือนไข
ตาง ๆ ตามหลักธรรมาภบิ าลประสบ ความสําเรจ็ อยางชัดเจน คณะบริหารควรมีภาวะผูนาํ ปฏิบัติ
ตามกฎ ระเบียบ ขอ บังคับ ขอตกลงตาง ๆ เผยแพรขอมูลขาวสารสูสาธารณชนอยางสมํ่าเสมอใช
ทรัพยากรทางการศึกษาใหเกิดประโยชน สูงสุด และยึดความตองการของนักเรียนเปนสําคัญ จะ
ทําใหระดับความสําเร็จในการบริหารงานสูง มากข้ึนอีก การทํางานภายในสถานศึกษาบรรลุ
วัตถปุ ระสงค และนําไปสคู วามสําเร็จของการ บรหิ ารการศึกษาท่ดี ีขนึ้ ตอ ไป212๘๓

๘๒ ศิรินารถ นนั ทวัฒนภิรมย, “การบริหารสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานตามหลักธรรมาภิบาลอําเภอ
เมืองลําพูน”, การคนควาแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม,
๒๕๔๗), หนา ๘๐.

๘๓ สุจิตรา บุญยรัตนพันธุ, ระเบียบวิธีวิจัยสําหรับรัฐประศาสนศาสตร, (กรุงเทพมหานคร:
เทพรัตนก ารพมิ พ ๒๕๔๙), หนา ๕๐.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๔๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

นงลักษณ ยุทธสทุ ธิพงศ ทาํ วิจัยเร่อื งศกึ ษาสภาพการบริหารตามหลกั ธรรมาภิบาล
ของสถานศึกษาในเขตตรวจราชการท่ี ๑๓ พบวา สภาพการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของ
สถานศึกษา ในเขตตรวจราชการท่ี ๑๓ โดยภาพรวมอยูระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายดาน
พบวา มีสภาพการบรหิ ารอยูในระดับมากทุกดา น ดานท่ีมคี าเฉลี่ยสงู สดุ คือ ดา นหลักการมสี ว น
รว ม สวนดา นที่มคี าเฉล่ยี ตาํ่ สุดคอื ดานหลักความคุมคา และการเปรยี บเทียบสภาพการบรหิ าร
ตามหลัก ธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในเขตตรวจราชการท่ี ๑๓ จําแนกตามวฒุ ิการศึกษา ทั้ง
โดยรวมและ รายดานท้ัง ๖ ดาน พบวา ไมแตกตางกันท่ีระดับนัยสําคัญทางสถิติ .๐๕ สวน
ใหญ ไมพบปญหา ใด ๆเพราะทุกคนเขาใจในหลักการรวมกัน แตยังมีบุคลากรและกรรมการ
สถานศกึ ษาบางสว นทข่ี าด ความรู ความเขา ใจในหลกั ธรรมาภบิ าล ไมสนใจกฎ ระเบียบ กติกา
และไมเ ขาใจบทบาทหนาที่ ของตนเอง ควรใหสถานศึกษาและสว นราชการทุกแหงควรใชห ลัก
ธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการอยางจรงิ จงั จะทําใหดําเนนิ งานไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ ควร
เผยแพรประชาสัมพันธ อบรม ใหทุกฝายเขาใจหลักธรรมาภิบาล และนําไปปฏิบัติจริง มีการ
กํากับตดิ ตาม ประเมนิ ผล และ รายงานตอ ผูเกย่ี วขอ งและสาธารณชนอยางตอ เนอื่ ง213๘๔

สถาบันพระปกเกลา ไดมีการจัดทําโครงการศึกษาเพ่ือพัฒนาดัชนีวัดผล การ
พัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีดี (The Development of Indicator for Measuring Good
Governance) ซึ่งมาจากแนวคิดวาการบริหารจัดการที่ดีมีคุณลักษณะท่ีสําคัญหลายประการ
ไดแก เปนการทํางาน อยางมีหลักการ มีความรับผิดชอบ สามารถอธิบายเหตุและผลตอหนา
สาธารณะได เปนการทํางาน ท่ีมีความโปรงใส เปดเผย ตรวจสอบได รับรูไดในกระบวนการ
ตัดสินใจตาง ๆ ประชาชนมีสวนรวม ในการบริหารจัดการ รวมตรวจสอบการทํางานของฝาย
บรหิ าร รว มจดั การสังคมในลกั ษณะ ประชาคม และสมาชกในสังคมเคารพสทิ ธิและเสรีภาพซึ่ง
กันและกัน รูหนาท่ีของตนเอง เคารพ กฎระเบียบของสังคม โดยมีขอบเขตการศึกษาตามการ
บริหารจัดการที่ดีและแนวทางท่ีกําหนดไวใน ยุทธศาสตรการจัดการท่ีดีของแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ ๘ และ ๙ สะทอนหลักการบริหารที่ดี ๖ ประการ
ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย การบริหารกิจการบานเมือง และสังคม พ.ศ.๒๕๔๒

๘๔ นงลักษณ ยุทธสุทธิพงศ, สภาพการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษาในเขต
ตรวจราชการที่ ๑๓, (นครราชสีมา: สํานักผตู รวจราชการประจาํ เขตตรวจราชการท่ี ๘, ๒๕๔๘), หนา ๔๐.

๑๔๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ผลการศึกษาพบวาผลการบริหารจัดที่ดีท้ัง ๖ หลักมีความเหมาะสมในการ อธิบายการบริหาร
จัดการทด่ี ี โดยประกอบดวยหลักยอยทสี่ าํ คัญดงั น2้ี14๘๕

๑. หลักนิติธรรม ประกอบดวยหลักยอยท่ีสําคัญคือ หลักการแบงแยกอํานาจ
หลักการคุม ครองสิทธิและเสรีภาพ หลักความผูกพันตอ กฎหมายของเจาหนาท่ี หนวยงานไดม า
ปฏิบัติหนา ท่ีตามหลักความชอบดวยกฎหมาย ผูมีอาํ นาจตัดสินใจในหนวยงานมีความอิสระใน
การ ปฏิบัติหนาท่ี หนวยงานยึดหลัก “ไมมีความผิดและไมมีโทษโดยไมมีกฎหมาย” และการ
ทํางาน ภายใตกฎ ระเบยี บสูงสดุ

๒. หลกั คุณธรรม ประกอบดวยหลักยอ ยที่สาํ คัญ คอื การปลอดคอรัปชน่ั การปลอด
จากผทู ําผดิ วนิ ัย การปลอดจากการทําผดิ มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณ

๓. หลักความโปรงใส ประกอบดวยหลักยอยที่สําคัญคือ ความโปรงใสดาน โครงสราง
ของระบบ ดา นระบบการใหคุณ ดา นระบบการใหโทษ และดา นการเปด เผยของ ระบบงาน

๔. หลกั การมีสวนรวม ประกอบดวยหลักยอ ยท่ีสําคัญคือ หลักการใหขอมูลขาวสาร
หลักการรับฟง ความคิดเห็นของประชาชน หลักการใหประชาชนมสี วนรว มในการกระบวนการ
ตัดสินใจและหลักการพัฒนาขีดความสามารถในการมสี วนรวม

๕. หลักสํานึกความรับผิดชอบ ประกอบดวยหลักยอยที่สําคัญคือ หนวยงานมีการ
สรางความเปนเจาของรวมกัน มีเปาหมายที่ชัดเจน มีการบริหารงานอยางประสิทธิภาพ มี
ระบบ ติดตามประเมินผล มกี ารจัดการกบั ผไู มมผี ลงาน และหนว ยงานมีแผนสํารอง

๖. หลักความคุมคา ประกอบดวยหลักยอยที่สําคัญคือ การประหยัด การใช
ทรัพยากรใหเ กดิ ประโยชนสูงสดุ และความสามารถในการแขงขนั

ชัชภูมิ สีชมภู ไดศึกษารูปแบบการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษาตามหลัก
ธรรมาภิบาล พบวา ผูมีสวนไดสวนเสียมีความตองการการบริหารจัดการเขตพื้นท่ีการศึกษา
ตามหลักธรรมาภิบาลในระดับมากทุกดาน รูปแบบการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษา
ตามหลักธรรมาภิบาลตามความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญประกอบดวยองคประกอบ ๒ ดาน
คือ ดานปจจัยนําเขาและดานกระบวนการบริหารจัดการ ดานปจจัยนําเขา จําแนกเปน
ภาวะผูนําของผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และภาวะผูนําของคณะกรรมการ
เขตพื้นที่การศึกษา ดานกระบวนการบริหารจัดการจําแนกเปน การกําหนดวิสัยทัศน การ

๘๕ สถาบันพระปกเกลา , ตวั ชว้ี ัดธรรมาภิบาล, (กรุงเทพมหานคร: คุรุสภาลาดพรา ว), ๒๕๔๔

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๔๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

กําหนดแผนพัฒนาและแผนปฏิบัติ การบริหารตามแผน บุคลากร การบริหารตามแผน
งบประมาณ การบริหารตามแผนการสงเสริมคุณภาพการจัดการศึกษา การวางระบบ วางแนว
ปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและตรวจสอบถวงดุลและการรายงานผลการจัดการศึกษา
การศกึ ษาความเปนไปไดในการนํารูปแบบการบริหารจัดการ215๘๖

เฉลิมชัย สมทา ไดศึกษาการบริหารโดยใชหลักธรรมาภิบาลของผูบริหาร
สถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูปฏิบัติการสอนในสังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาเลย
เขต ๑ พบวา ผูตรวจแบบสอบถามมีความคิดเห็นวา ผูบรหิ ารสถานศึกษาใชหลักธรรมาภิบาล
ในการบริหารสถานศึกษาอยูในระดับ “มาก” เรียงตามลําดับ คือ หลักคุณธรรมหลักความ
รับผดิ ชอบ หลักนิตธิ รรม หลักการมีสว นรว ม หลกั ความคุม คา และหลักความโปรงใส216๘๗

ชรินรัตน แผงดี ทําวิจัยเรื่อง การนําเสนอรูปแบบการบรหิ ารดวยหลักธรรมาธิบาล
ของผูบริหารกลุม เครือขายโรงเรียนบึงพิมพาสามัคคี สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา นครสวรรค
เขต ๒ ผลการวิจัยพบวา ผบู รหิ ารกลมุ เครือขายโรงเรียนบึงพมิ พาสามัคคมี ปี ญหา การ บริหาร
ดวยหลักธรรมาภิบาล โดยรวมอยูในระดับนอย โดยมีปญหามากท่ีสุดคือ หลักความคุมคา
รองลงมาคือ หลกั ความมีสว นรว ม และหลกั ความรบั ผดิ ชอบ217๘๘

ดังน้ันจึงกลาวสรุปไดวา ธรรมาภิบาลหมายถึง การบริหารจัดการท่ีดีมีประสิทธิภาพ
เนนการเชื่อมโยงสวนตาง ๆ ของสังคมใหมีการสนับสนุนซึ่งกันและกัน มีความเปนธรรมทั้งใน
ความคิดและการปฏิบัติ มีจุดหมายเดียวกันมีความเสมอภาค รับผิดชอบโปรงใส คํานึงถึง
ประโยชนสวนรวมเปนหลักอันจะเปนพลังขับเคล่ือนองคการไปสูความสําเร็จอยางม่ันคงและมี
การพัฒนาที่ย่ังยืนตอไปจากแนวคิด ผลการศึกษาและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของท้ังหมด สรุปไดวาใน
การบริหารจัด การศึกษาโดยผูบริหารศึกษาในฐานะท่ีสถานศึกษาเปนนิติบุคคลตามกฎหมาย

๘๖ ชัชภูมิ สีชมภู, “รูปแบบการบริหารจัดการเขตพื้นที่การศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล”,
วทิ ยานพิ นธก ารศกึ ษาดุษฎบี ณั ฑิต, (บัณฑติ วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยนเรศวร, ๒๕๔๘), หนา ๘๕.

๘๗ เฉลิมชัย สมทา, “การบริหารโดยใชหลักธรรมมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษาตามความ
คิดเหน็ ของครูปฏิบตั ิการสอนในสังกัดสาํ นักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาเลย เขต ๑”, วทิ ยานิพนธศึกษาศาสตร
มหาบัณฑติ , (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน , ๒๕๔๗), หนา ๗๐.

๘๘ ชรินรัตน แผงดี, “รูปแบบการบริหารดวยหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารกลุมเครือขาย
โรงเรียนบงึ พิมพาสามัคคี สํานกั งานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษานครสวรรค เขต ๒”, วทิ ยานิพนธป รญิ ญาครุศาสต
รมหาบัณฑิต, (บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครสวรรค, ๒๕๕๑), หนา บทคัดยอ.

๑๔๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

ผูบริหารควรนํา หลักการบริหารจัดการบานเมืองและสังคมท่ีดี หรือธรรมาภิบาลมาบูรณาการ
ในการบริหารและจัด การศึกษาเพ่อื สรา งความเขมแข็งใหก ับโรงเรียน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค
ในการพัฒนาคนไทยให เปนมนุษยทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม จริยธรรม
และวฒั นธรรมในการ ดาํ รงชวี ติ สามารถอยูรวมกบั ผอู ่ืนไดอยางมีความสุข

๖.๙ สรุป

การบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพ ขึ้นอยูกับองคประกอบหลายประการท้ังจาก
ภายในและภายนอก ผูบริหารเปน บุคคลทมี่ ีความสาํ คัญอยางย่ิง ในการทจี่ ะนําโรงเรยี นไปสูความ
มปี ระสิทธภิ าพและ ความสําเร็จ ผบู ริหารตองมีคุณลักษณะของผูนําที่สําคัญ ไดแก ความซื่อสัตย
ความยุติธรรม มีความ มุงมั่น ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบสูง มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มี
ภาวะผูนําสูงเปนคนกลาคิด กลาเปลี่ยนแปลง กลาตัดสินใจ มีคุณธรรมจริยธรรม มีวุฒิภาวะทาง
อารมณสูง เปนบุคคลแหงการเรียนรูและมีความจริงใจ ในการบริหารจัดการผูบริหารสามารถใช
เทคนิควิธีและหลักการตาง ๆ ท่ีหลากหลายมาปรับใชใหเหมาะสมกับสภาพเหตุการณและปจจัย
แวดลอ ม หลกั ธรรมาภิบาลเปน แนวทางสาํ คัญในการบริหารจดั การจดั ระเบียบใหส งั คมทั้งภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชน อันมีหลักพื้นฐาน ๖ ประการคือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม
หลักความโปรงใส หลักความมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุมคา ซึ่งเปน
หลักการบริหารงานท่ีดีใหผูบริหาร ตระหนักถึงสิทธิและหนาท่ีในการปฏิบัติงานตามกฎ
ระเบียบ ของบังคับตาง ๆ อยางถูกตองและ เสมอภาค ยึดมั่นในสิ่งที่ดีงามเปนแบบอยางแก
บคุ ลากรในโรงเรียน เนนความโปรงใสสามารถ ตรวจสอบได ความไววางใจซึง่ กนั และกนั มกี าร
เปดเผยขอมูลขาวสารอยางตรงไปตรงมา เปดโอกาสใหชุมชนมีสวนรวมในการบริหาร การ
ตัดสินปญหา และประเมินผลการบริหารโรงเรียน อยางเท่ียงธรรม มีความรับผิดชอบ ใช
ทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุดแก สวนรวมโดยรณรงคใหมีความประหยัด
และใชท รพั ยากรอยา งคมุ คา

การบริหารจดั การท่ีดีมีประสิทธภิ าพเนน การเช่อื มโยงสว นตา ง ๆ ของสงั คมใหมกี าร
สนับสนุนซึ่งกันและกัน มีความเปนธรรมท้ังในความคิดและการปฏิบัติ มีจุดหมายเดียวกันมี
ความเสมอภาค รับผิดชอบโปรงใส คํานึงถึงประโยชนสวนรวมเปนหลักอันจะเปนพลัง
ขับเคลื่อนองคการไปสูความสําเร็จอยางม่ันคงและมีการพัฒนาท่ียั่งยืนตอไปจากแนวคิด ผล
การศึกษาและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของท้ังหมด สรุปไดวาในการบริหารจัด การศึกษาโดยผูบริหาร
ศึกษาในฐานะท่ีสถานศึกษาเปนนิติบุคคลตามกฎหมาย ผูบริหารควรนํา หลักการบริหาร

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๔๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

จัดการบานเมืองและสังคมที่ดี หรือธรรมาภิบาลมาบูรณาการในการบริหารและจัด การศึกษา
เพื่อสรางความเขมแข็งใหกับโรงเรียน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคในการพัฒนาคนไทยให เปน
มนุษยทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม จริยธรรมและวัฒนธรรมในการ
ดาํ รงชวี ิต สามารถอยรู ว มกบั ผูอ่นื ไดอยางมคี วามสุข

บทที่ ๗
จริยธรรมสําหรบั นกั บริหารตามหลกั พระพทุ ธศาสนา

ผูบริหารเปนผูมีความสําคัญมากท่ีสุดในองคการ จึงจําเปนตองมีคุณสมบัติที่พึง
ประสงคมากกวาบุคคลในตําแหนงอื่น ๆ โดยเฉพาะคุณสมบัติดานคุณธรรมจริยธรรมซ่ึงเปน
คุณสมบัติท่ีจําเปนของผูบริหารการศึกษาและการทําความเขาใจเก่ียวกับความหมาย ทฤษฎี
และหลักปฏิบัติทางคุณธรรมจริยธรรมจะทําใหเกิดความเขาใจ กําหนดกรอบการประพฤติ
ปฏิบัติไดถูกตอง เกิดความมั่นใจและเกิดความศรัทธาในการประพฤติปฏิบัติ จนทําใหสามารถ
ปฏบิ ตั ิตามหลกั คณุ ธรรมจริยธรรมไดถกู ตอง218๑

ผูบริหารกับคุณธรรม หมายถึง ผูนําหรือผูบริหารท่ีจะพัฒนาตนเองใหมีความเจริญ
ทางดานคุณธรรมจริยธรรมไดน ้นั จะตอ งยดึ ศีลธรรมเปนหลัก

ผูบริหารกับจริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ ปฏิบัติชอบท่ีมีคุณคา ท้ังตอตนเอง
ผอู ื่น ตอสงั คมและตอการงานเพอ่ื ใหเ กดิ ความเจรญิ รุงเรอื งและความผาสุกรวมกัน ความหมาย
ของจริยธรรมในทางการบริหารมุงเนนไปท่ีความประพฤติที่เอ้ือตอการปฏิบัติงาน ดวยความ
มุงมั่น รบั ผดิ ชอบ และปฏบิ ัตอิ ยางถกู ตอ ง

ผบู ริหารจะตองยดึ หลกั คุณธรรม จรยิ ธรรมในการบรหิ าร
แนวคดิ
๑. การเปนผูบริหารจะตองมีจริยธรรมในตนเอง เปนการประพฤติปฏิบัติตนไป
ในทางที่ดเี สมอจะทําใหผคู นท่ัวไปใหค วามเคารพนับถือ และเปนพนื้ ฐานในการดาํ เนนิ งานดาน
อนื่ ๆ
๒. ผูบริหารที่ดีนอกจากจะมีจริยธรรมในการดํารงชีวิตแลวยังตองมีจริยธรรมทาง
วิชาการดวยเน่ืองจากผูบริหารจะตองเปนผูที่ตองศึกษาหาความรูเพิ่มเติมอยูเสมอ เพ่ือใหเกิด
ความเจรญิ ดานสตปิ ญญาและเผยแพรค วามรไู ปสูผอู ่ืน จริยธรรมทางวชิ าการจงึ เปนสิง่ ที่จาํ เปน
ที่ผูบริหารจะตองยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิ

๑ ดวงเดือน พันธุมนาวิน, จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา, (กรุงเทพมหานคร: ไทย
วัฒนาพานิช, ๒๕๒๔), หนา ๑๒๐.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๔๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๓. ผูบริหารจะตองมีจริยธรรมเพื่อปฏิบัติใหถูกตองดีงาม มีความรับผิดชอบตอ
ผรู ับบริการ มงุ ผลใหเกดิ ผลตามวตั ถุประสงค และมุงประโยชนแ กสว นรวม

วตั ถปุ ระสงค
๑. เพ่ือใหผูเขารับการอบรม มีความรูความเขาใจและสามารถอธิบายเก่ียวกับหลัก
จริยธรรมในการดาํ รงชวี ติ ได
๒. เพ่ือใหผูเขารับการอบรม มีความรูความเขาใจและสามารถอธิบายเก่ียวกับหลัก
จรยิ ธรรมเชงิ วชิ าการได
๓. เพื่อใหผูเขารับการอบรม มีความรูความเขาใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับหลัก
จรยิ ธรรมเชงิ บรหิ ารได

๗.๑ ผบู รหิ ารกับคณุ ธรรม จริยธรรม

๗.๑.๑ ความรเู บือ้ งตน เก่ียวกับคุณธรรม จรยิ ธรรม
คุณธรรม หมายถึง ความรูสึก นึกคิดในจิตใจของบุคคลที่สามารถตัดสินความผิด
ชอบชว่ั ดี ซง่ึ เปนตน เหตแุ หงความประพฤติดี ประพฤตชิ อบของแตละบุคคล
คุณธรรมในทางการบริหาร เปนคุณสมบัติอยางหน่ึงของผูบริหาร ไมวาจะดํารง
ตําแหนงในระดับใด ผูบริหารก็ตองทํางานกับคนในงานฝายตาง ๆ เชน งานวิชาการ งาน
การเงิน งานบริหารท่ัวไป ฯลฯ ตองอาศัยคนทําท้ังส้ิน งานบริหารบุคคลจึงเปนงานที่ยากกวา
งานใด ๆ เนื่องจากคนมีความแตกตางกันท้ังในดานคุณลักษณะภายนอกที่เปนรูปธรรม และ
คุณลักษณะภายในจิตใจของแตละบุคคลท่ีเปนนามธรรม219๒ การทํางานรวมกับคนจําเปนตอง
รูจ ักต้ังแต รูจักตน รจู ักคนท่ีรว มทํางานกัน และรูจักงานที่ทําดวย ซึ่งคณุ ธรรมในการบรหิ าร มี
ความหมายครอบคลุม ดานตาง ๆ
จริยธรรมทางศาสนาเปนการประพฤติตามหลักธรรมจริง ๆ เพ่ือใหเกิดความ
ประพฤติทีด่ งี ามตามหลักทางศาสนาท่มี ุงใหเ กดิ ความหลุดพน จากโลกียะ

๒ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๒๕, พิมพคร้ังท่ี ๕,
(กรงุ เทพมหานคร: อกั ษรเจริญทัศน, ๒๕๓๘), หนา ๕๖.

๑๕๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๗ จริยธรรมสาํ หรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

จริยธรรม เปนคุณสมบัติทางความประพฤติ ของบุคคลที่ตองแสดงออกอยาง
เหมาะสมทั้งดานความคิดและการกระทํา เพ่ือการอยูรว มกันอยา งผาสุก

ความหมายของจริยธรรมในทางการบริหารมุงเนนไปที่ความประพฤติที่เอื้อตอการ
ปฏิบตั ิงานดว ยความมงุ มัน่ รบั ผดิ ชอบ และปฏิบัตอิ ยา งถกู ตอ ง

สรุป ในการบริหารผูบริหารควรมี คุณธรรม หมายถึง ความรูสึก นึกคิดในจิตใจของ
บุคคลทส่ี ามารถตัดสินความผิดชอบชั่วดี และจรยิ ธรรม เปนคุณสมบัติทางความประพฤติ ของ
บุคคลทตี่ อ งแสดงออกอยางเหมาะสมท้ังดา นความคิดและการกระทํา เพือ่ ความผาสุก

๗.๒ ผูบรหิ ารกบั คุณธรรม

๗.๒.๑ ศลี สําหรบั ผูบ รหิ าร
ปญหาที่เกิดในสังคมไทยมีมากมาย ปญญาเหลาน้ันมีท้ังท่ีแกไขไดและแกไขไมได
สวนทแ่ี กไ ขไมไ ดเมอื่ มองใหล ึกลงแลวจะพบวา หลายสงิ่ หลายอยา งที่เปน ปญหาและแกไมไ ดจ ะ
อยูท ี่ไมท ํามากกวาไมรหู รือทช่ี อบพูดวา รแู ลวไมทาํ หรอื มองใหลึกลงไปอีกจะพบวา รไู มจริงจึง
แกไ มได ดังน้ันผูบรหิ ารตอ งรลู ึกและรูแจง โดยเฉพาะดานศลี ธรรม ซึง่ มีความจําเปน สําหรับทุก
คน
๑. เบญจศีล เบญจศีลหรือศีล ๕ โดยเฉพาะผูบริหารแลว ศีล ๕ จะตองปฏิบัติให
เครงครัดมากกวาคนท่ัวไป เพราะเปนตําแหนงที่จะตองเปนแบบอยางท่ีดีขอผูใตบังคับบัญชา
ซึ่งควรจะคํานึงและปฏิบัติตามศีล ๕ ดังน้ี ศีล ขอ ๑ ไมฆาสัตว ศีล ขอ ๒ การไมลักขโมย ศีล
ขอ ๓ ไมลวงละเมดิ ในกาม ศีลขอ ๔ งดเวนการพูดเทจ็ ผูบ รหิ ารจะตองระมัดระวังใหม าก และ
ศีลขอ ๕ เวนจากการเสพสุราเมรัย การผิดศีลขอน้ี ถือวารายแรงท่ีสุด เพราะเปนบอเกิดแหง
การทําผดิ ศลี ขอ อ่ืน ๆ
๒. เบญจธรรม ควบคูไปกับศีล ๕ แตบุคคลทั่วไปในสังคมมักจะละเลยไมไดนําไป
ปฏิบัตอิ ยางจริงจงั ดังน้ัน ผบู รหิ ารจะตอ งยึดถอื ปฏิบัตอิ ยางเครงครัด เพ่อื สรา งความงามใหแก
ตนเองและสราง ความนาเชื่อถือใหแกผูใตบังคับบัญชาและบุคคลทั่วไป ซึ่งผูบริหารควรคํานึง
และปฏบิ ัติ ดงั นี้
ธรรมขอ ๑ เมตตา กรุณา เปนธรรมะที่ใหละเวนจากการทําลายลางชีวิตอ่ืนโดยใช
ความเมตตากรณุ าและความปรารถนาดีตอผูอื่น

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๕๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ธรรมขอ ๒ สัมมาอาชีวะ เปน ความเพยี รพยายามในการหาเลย้ี งชพี ชอบ เปนธรรมะ
ที่คอยเตือนใจไมใหป ระกอบมจิ ฉาชีพหรือเลีย้ งชีพในทางที่ไมชอบ ฉอ ราษฎร บังหลวง

ธรรมขอ ๓ กามสังวร เปนการสํารวมในกามคุณ ไมหมกมุนอยูในกามารมณจน
ถึงกับทําลายน้ําใจผูอื่น ผูบริหารยอมไมใชอํานาจหนาที่หรือบารมีใด ๆไปกดขี่ขมเหงทางเพศ
ตอผูใตบ ังคบั บญั ชาหรอื ผอู ่นื

ธรรมขอ ๔ สัจจะ คือ ความซื่อสัตย ไดแก ความประพฤติตรงตอความเปนจริง
ความซื่อตรงไดแก ความประพฤติตรงตอคําพูดและสัญญาตลอดจนขอกําหนดตาง ๆ เปน
กระทําที่ตรงไปตรงมา คดิ อยา งไรกพ็ ูดและทาํ อยา งน้นั จะชวยใหผอู ่ืนเกิดความเชอ่ื ถือศรัทธา

ธรรมขอ ๕ สติสัมปชัญญะ คือ ความมีสติ220๓ จะทําอะไรจิตใจตองจดจออยูกับส่ิงท่ี
ตนเองทําไมประมาทเลนิ เลอและรตู วั อยูเสมอวา ตัวเองเปนใครมีหนาท่รี บั ผดิ ชอบอะไรบาง

๓. ธรรมะท่ีมีคุณคาตอการบริหารงาน ผูบริหารนอกจากจะมีศีลแลวจะตองมีธรรม
ซึ่งไดแกคุณธรรม จริยธรรม และกัลยาณธรรม (เบญจธรรม) ตลอดจนหลักธรรมตาง ๆ ทาง
ศาสนาเปนแนวปฏิบัติทั้งในการบริหารงานและการดํารงชีวิตประจําวัน หลักธรรมที่ผูบริหาร
ควรยึดถือปฏิบัติมีมากมาย แตที่สําคัญ ๆ ท่ีจะขาดมิได ถาขาดแลวจะเปนอุปสรรคในการ
บรหิ ารงาน มีดงั น้ี

๑) พรหมวิหาร เปนธรรมของพรหม หรือผูเปนใหญจะพึงปฏิบัติแตผูนอย มี ๔
ประการไดแก

(๑) เมตตา ผูบริหารตองมีความเมตตาตอทุกคน เมตตาตอครู ตอนักเรียน
ตอชมุ ชน และคนทว่ั ไป

(๒) กรุณา เปน การชว ยเหลือเกื้อกูล ใหประสบความสําเร็จ ตองการชวยให
ไมม ีอปุ สรรคมาขัดขวางในการทาํ งานและชวยใหประสบความสาํ เรจ็

(๓) มุทิตา เปนการพลอยยินดีเม่ือผูอ่ืนไดดี ผูบริหารจะตองใหคํายกยอง
ชมเชย จนถงึ การให รางวัลซง่ึ ข้ึนอยูกบั ระดบั การทาํ ความดี

๓ บุญมี แทน แกว, จริยธรรมกับชวี ติ , พิมพค รงั้ ท่ี ๖, (กรงุ เทพมหานคร: โอเดียนสโตร, ๒๕๔๑),
หนา ๓๕.

๑๕๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๗ จริยธรรมสาํ หรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

(๔) อุเบกขา การรูจักวางเฉย คือ การวางใจเปนกลาง เม่ือพิจารณาเห็นวา
ใครทําดียอ มไดดี ใครทําชว่ั ยอ มได

๒) อิทธิบาท แปลวา ทางเดินที่นําไปสูความสําเร็จอันยิ่งใหญ (อิทธิ แปลวา
ใหญ, บาทแปลวา ทางเดนิ ) หมายถงึ สิ่งทีเ่ ปนแนวทาง ปฏิบัติเพื่อใหบรรลถุ ึงความสําเรจ็ ทต่ี น
ประสงค อทิ ธิบาท มี ๔ ประการดังน้ี

(๑) ฉนั ทะ คือ ความพอใจในฐานะและงานของตน
(๒) วริ ยิ ะ คือ ความพากเพยี ร เปนการกระทําอยางตอ เนือ่ ง
(๓) จิตตะ คือ จดจอ ไมทอดทิ้ง ส่ิงที่ทําเกิดจากความรูสึกนึกคิด ไมหยิบ
โหยง ทําอะไรจนบรรลุวัตถุประสงค221๔
(๔) วิมังสา คือ พิจารณาสอดสองดูแลอยางมีเหตุและผล การงานจึงจะได
ไมผดิ พลาด
๓) สนั โดษ สนั โดษมี ๗ ประการ ดงั นี้
(๑) สันโดษในสิ่งท่ีไดในสิ่งที่มี คือ ยินดีตามที่ได เมื่อไดส่ิงใดมีส่ิงใด ก็ยินดี
ในสง่ิ น้ันและใชสอยตามทีม่ ีไมป รารถนาสง่ิ อืน่ ท่ีเกนิ ไป มากไป
(๒) สันโดษตามกําลัง คือ ยินดีตามกาํ ลัง ถา ส่ิงที่ไดมาไมเหมาะแกกําลังตน
หรือไดมากกวาก็ใชประโยชนไมได เนื่องจากเกินกําลังความสามารถก็ควรแลกเปลี่ยนกับส่ิงท่ี
ตนจะใชป ระโยชนไ ด
(๓) สันโดษตามสมควร คือ ยินดีตามสมควรท่ีเรียกวา ตามควรแกฐานะ
หรอื ความพอเหมาะพอควรนัน้ เอง
(๔) สันโดษในความคิด คือ ระดบั ความคิด ไมฟุงซาน อยากไดโนนอยากได
น่ีมากเกินไป
(๕) สันโดษในการแสวงหา คือ ยินดีแสวงหาแตสิ่งท่ีควรจะไดตามสถานะ
ของตน
(๖) สันโดษในการรับ คือ รับแตท่ีส่ิงที่ควรรับและรับพอประมาณ ไมใชรับ
ทุกอยา งทีม่ ผี ูใ ห

๔ พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตโฺ ต), พุทธธรรม, พิมพครั้งท่ี ๙, (กรงุ เทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๑๔.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๕๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

(๗) สันโดษในการบริโภค คืน ยินดีบริโภค ใชสอย ส่ิงท่ีไดมาดวยการ
พจิ ารณาแลว วา ดหี รอื ไมด ี วาเหมาะหรอื ไมเ หมาะ

๔) สังคหวตั ถุ ประกอบดว ย ๔ ประการดังน้ี
(๑) ทาน คือ การให การเสียสละ หมายถึง ความเอื้อเฟอ เผื่อแผ แบงปน

ของ ๆ ตนเพ่ือประโยชนแ กผ ูอน่ื ไมต ระหนถ่ี เ่ี หน่ียว ไมเปน คนเหน็ แกไ ดแตฝ า ยเดยี ว
(๒) ปย วาจา คอื พดู จาดวยถอยคาํ ท่ีไพเราะออนหวาน พูดดวยความจรงิ ใจ

ไมหยาบคายกาวราวพูดในส่ิงท่ีเปนประโยชนเหมาะแกกาลเทศะ ปยวาจา เปนบันไดขั้นแรกท่ี
จะสรางมนุษยสัมพันธที่ดีใหเกิดขึ้น ดังนั้นตองละเวนจากการพูดเท็จ พูดสอเสียด คําหยาบ
และพดู เพอ เจอ

(๓) อัตถจริยา คือ ประพฤติตนใหเปนประโยชนแกผูอื่น ไมน่ิงดูดาย อยา
หาวา ธรุ ะไมใ ชอตั ถจริยาจะเปนการสรางเสนหอ ยา งหนึง่ ที่ผูบรหิ ารจะตองสงั วร

(๔) สมานัตตา คือ การประพฤติเสมอตนเสมอปลายอยาถือเอาประโยชน
จึงประพฤติดีถาไมมีประโยชนก็ไมใสใจ สําหรับผูบริหารแลวอยาตกเปนทาสของอารมณ อยา
ใหอารมณเปนตัวกาํ หนดพฤติกรรมของตนเอง จะกลายเปนเดย๋ี วดีเดี๋ยวราย และกลายเปนการ
ทาํ ลายความเชอ่ื ถอื ของตนเอง

(๕) สัปปุริสธรรม ผูบริหารเปนบุคคลที่สําคัญ ที่สุดของหนวยงาน เปน
สัญลักษณ เปนหนาตาหนวยงาน ดังนั้น ผูบริหารจะตองเปนผูมีคุณธรรมสําหรับคนดี คือ
สัปปุริสธรรม มี ๗ ประการดังน้ี

(๑) ธัมมัญุตา ความเปนผูรูจักเหตุ คือ รูจักความจริง รูหลักการ รู
หลักเกณฑ รูกฎแหงธรรมชาติรูกฎแหงเหตุผล รูจักวิเคราะห สังเคราะหเหตุการณเพ่ือมุงสู
ความสาํ เรจ็ รวมความแลว คือ รูห ลกั คดิ รูหลักปฏิบตั ิ รูหลักวิชาการ

(๒) อัตถัตุตา ความเปนผูรูจักผล คือ รูความมุงหมายของตน รู
ประโยชนท ่ีประสงครูจ ักผลท่ีจะเกดิ เปนการคาดเดาท่มี ีเหตผุ ลกอนผลจะเกิด เม่ือเกิดแลวรูได
วา ผลดงั กลา วเกดิ จากเหตอุ ยา งไร

(๓) อัตตญั ตุ า ความเปนผรู จู ักตน คือ รูฐ านะ รูภาวะ รกู ําลงั รคู วามคิด
ความรูความสามารถและความถนัดของตนและประพฤติปฏบิ ตั ิใหเหมาะสม

(๔) มัตตัญุตา ความเปนผูรูจักประมาณ คือ ความสามารถรูจัก
ประมาณในการกนิ รูจกั ประมาณในการใชจาย

๑๕๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๗ จริยธรรมสาํ หรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

(๕) กาลัญุตา เปนผูรูจักการเวลา คือ รูกาลเวลาอันเหมาะสมในการ
ประกอบกิจการงาน ใหตรงเวลา ไดเปนเวลา ใหทันเวลา ใหพอเวลา และใหเหมาะแกเวลา
เปนตน

(๖) ปริสัญุตา ความเปนผูรูจักชุมชน คือ รูจักกลุมบุคคล รูจักหมูคณะ
รูจักชุมชน และรูจัก ทีป่ ระชุม จะไดประพฤติปฏิบัติไดถูกตอง จะพูดตอบุคคลเหลาน้ันอยางไร
และจะสงเคราะหอ ยางไร

(๗) บุคคลปโรปรัญุตา ความเปนผูรูจักบุคคล คือ รูจักความแตกตาง
ระหวา งบุคคลดา นอุปนสิ ัยใจคอ ความรู ความสามารถ ความประพฤติ และคณุ ธรรม นนั่ คือจะ
ไดปรับตัวใหเขา กับคนไดบอกคนได ใชค นเปน จะไดเกิดประโยชนตอการบริหารมากยิง่ ข้นึ

๔. ธรรมที่ทําใหคนอนื่ รัก
๑) ไมโลภ หมายถึง ไมอยากไดลาภ ยศ สุข มากเกินไป ไมกอบโกยมาเปนของ

ตนแตฝา ยเดียว รูจกั แบงปน ใหคนอ่ืนบางตามสถานะ ถาเปนคนโลภอยากไดอะไรๆมากเกินไป
จะกลายเปนคนเห็นแกได เห็นแกตัว เมื่อเปนอยางน้ีแลวมักจะกลายเปนความอิจฉาริษยา
ตามมา ดังนั้นถาผูบริหารไมโลภผูอื่นจะเชื่อถือศรัทธา ในทางตรงกันขามถาผูบริหารเปนคน
โลภ ผอู ื่นจะดูถูก รังเกยี จเดยี ดฉนั ท

๒) ไมอยากไดลาภสักการะ คือ การอยากไดในสิ่งท่ีผูอื่นเปนผูหามาใหโดยที่
ตัวเองไมไดลงทุน การท่ีไมอยากไดในส่ิงเหลาน้ีจะทําใหผูใตบังคับบัญชาสบายใจท่ีจะไมได
ลําบากหรือเส่ียงตอการทุจริตเพ่ือแสวงหาลาภสักการะมาให ผูใตบังคับบัญชายอมเช่ือถือ
ศรัทธา

๓) ไมรักเกียรติรักศักด์ิศรีมากเกินไป มนุษยท้ังหลายยอมหนีจากคําติฉินนินทา
ดูหมิ่นเหยียดหยามไปไมพนเปนธรรมดา ถาผูบริหารมีความติดยึดกับตําแหนงรักเกียรติรัก
ศักด์ิศรีมากไปจะกลายเปนคนท่ีแตะไมได เยอหยิ่ง เดียดฉันทผูอ่ืน แบงช้ันวรรณะทําตัวอยู
เหนอื ผูอ่นื

๔) มีความละอาย เปนคุณสมบัติของมนุษยทุกรูปนามจะตองมี แตผูบริหาร
จะตองมีมากกวาผูคนท่ัวไปซ่ึงความละอายดังกลาวนี้ ไดแก ละอายตอคําพูด ละอายตอการ
กระทาํ ละอายแกใ จและละอายตอบาป ทั้งตอหนา และหลับหลัง ทง้ั คนเหน็ และไมเห็น

๕) เกรงกลัวตอบาป ทั้งตอหนาและหลบั หลัง ผูบริหารจะตองมีความนอบนอม
ยอมรับฟงความคิดเห็นของคนรอบขา งท่ีเตือนตนบาง และเตือนตนดวยตนเองเปนสิ่งสําคัญย่ิง
เม่ือผูบริหารเกรงกลวั ตอบาปยอมไมประพฤตชิ ัว่ ผคู นยอมรักใคร

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๕๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๖) จิตใจใสสะอาด ผูบริหารตองมีจิตใจใสสะอาดไมปรารถนาในสิ่งลามก
ท้ังหลายและไมเลื่อมใสในส่ิงผิด ไมชอบการบําเรอดวยกามารมณ การเปนนักเลงหญิงนับวา
เปนอบายมุขที่จะนําพาไปสูการทุจริตไดงายเพื่อหาทรัพยอันมิควรไดมาบํารุงบําเรอตนเอง
ดังนั้นผูบริหารตองทําใจรักษาใจใหใสสะอาดปราศจากส่ิงลามกท้ังปวง จะไดรับความเชื่อถือ
ศรทั ธา

๗) มีความคิดตามทํานองคลองธรรม เปนความคิดความเห็นท่ียึดความถูกตอง
ตามปทัสถานของสังคม คานิยม ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมเปนหลัก
แมจะเปนความคิดริเริ่มสรางสรรคก็ยึดหลักการน้ีเชนเดียวกัน กลาวคือตองไมคิดแปลกแหวก
แนวจนทําลายลางสิ่งที่มีอยูในสังคมหรือความเช่ือท่ีดีงามของสังคมใหหมดไปอยางส้ินเชิง ถา
คดิ อยางนจ้ี ะถกู ตอตานทนั ที

สรุป ผูบริหารจําเปนตองมีคุณธรรมในการบริหารไดแก เบญจศีล เบญจธรรม
รวมถึงธรรมะดานตาง ๆ เชน พรหมวิหาร อิทธิบาท สันโดษ สังคหวัตถุ สัปปุริสธรรม และ
ธรรมที่ทาํ ใหคนรัก

๗.๓ ผบู รหิ ารกบั จรยิ ธรรม

หลักจริยธรรมในการดํารงชีวิต เปนจริยธรรมแบบที่มีอยูในตัวบุคคลและยึดถือ
ประจําใจไวเปนแนวปฏิบัติ ซ่ึงจริยธรรมในตัวบุคคลนี้ จะตองคํานึงถึงระดับจริยธรรม ๒
ประการ คอื

๑. จริยธรรมระดับศีลธรรม เปน การประพฤตริ ะดับศลี ธรรมตามศาสนาท่ีตนนับถือ
กฎหมาย วฒั นธรรมประเพณี คานิยม จรรยาบรรณและมารยาททางสงั คม เพ่ือสรางสนั ติภาพ
ทางสังคมและยังเปน การสรางคุณคา ในตวั เองใหปรากฏแกส ังคม

๒. จริยธรรมระดับสัจธรรม เปนการปฏิบัติตามกฎธรรมชาติ กลาวคือ ปฏิบัติตาม
หลักของศีล สมาธิ ปญญา เพื่อใหการปฏิบัติน้ัน เปนไปตามธรรมชาติแหงชีวิต เพ่ีอใหการ
ปฏิบัติน้ันไมไดถูกครอบงําดว ยความเชื่อท่ีขาดหลักเหตุผล มีจิตบริสุทธิ์ มีจิตเปน กลาง ความมี
เหตุผลที่สามารถอธิบายไดตอบไดจะทําใหการปฏิบตั ินั้นเปนประโยชนตอ หมูชน เพื่อความสุข
และสันตภิ าพดงั นน้ั ผบู ริหารจะตองคาํ นงึ ถึงเรือ่ งการดํารงชวี ิตหรอื การดําเนนิ ชวี ิต โดยจะตอ ง
มีความดีในตนเพ่อื ประโยชนแ หงตนและสงั คมดว ย

๑๕๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๗ จริยธรรมสําหรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

๗.๔ หลักจริยธรรมในการดํารงชีวิต

หลักของพระพุทธศาสนาและวัฒนธรรมของทุกสังคม ตองการสอน ตองการสราง
และกลอมเกลาจิตใจคนในสังคมใหสามารถดํารงตนอยูดวยความมีจริยธรรมท่ีดีงามทั้งส้ิน
แตโลกของโลกียธรรม จะทําใหผูคนเปนไปตามคตินิยมทางเดียวเปนการยาก เพราะการ
ดํารงชวี ติ ของคนในสังคมจรงิ ๆ จะมี ๓ ระดบั คอื

๑. การดํารงชีวิตอยางไมมีจริยธรรม (Immoral Management or Unethics)
เปนการดํารงชีวิตท่ีมุงไปท่ีตนเองเปนสวนใหญ ไมไดคํานึงถึงผูอ่ืน กลาทําในสิ่งท่ีผิดกฎหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑจรรยาบรรณ ขอบังคับท่ีเปนอุปสรรคตอการดําเนินงานเพ่ือประโยชนของ
ตนเองเทานน้ั

๒. การดาํ รงชีวิตอยา งมีจริยธรรม (Moral Management or Ethical management)
เปนการดํารงชีวิตที่ยึด คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและศีลธรรม ยึดถือความถูกตองและ
อุดมคติของสังคมและคํานึงถึงความยุติธรรมในสังคม และยึดประโยชนตอสวนรวมเปนสาํ คัญ

๓. การดํารงชีวติ อยา งไมสนใจเร่ืองของศีลธรรม (Amoral Management) เปน การ
ดํารงชีวิตที่ไมมีหลักเกณฑ ไมตระหนักในสิ่งท่ีถูกตองและไมไดคิดคํานึงเร่ืองจริยธรรมเลย ถึง
ทาํ ใหบางครั้งไดม ีการกระทาํ ผิดโดยรูเทาไมถงึ การณ

ดังน้ัน ผูบริหารจะตองคํานึงถึงเรื่องจริยธรรมการดํารงชีวิตหรือการดําเนินชีวิต
โดยจะตอ งมีความดีในตนเพอ่ื ประโยชนแ หงตนและสังคมดว ย

นอกจากนี้ผูบ ริหารควรมจี รยิ ธรรมในการดํารงชีวิต ซึ่งประกอบดวย
๑. จริยธรรมเชงิ เจตคติ ควรปรงุ แตงความรสู ึก ชอบ ไมช อบตา ง ๆ ใหสอดคลองกับ
วฒั นธรรมประเพณแี ละคา นิยมของสังคม อยาแอบแฝงเจตนาไมดีอยูในพฤตกิ รรมน้ัน ๆ
๒. จรยิ ธรรมเชงิ ความรู จะตอ งเรยี นรเู ก่ียวกับปทสั ถาน (Norm) ของสังคมท่ถี กู ตอ ง
กฎ ระเบียบขอหาม ขอปฏิบัติ วัฒนธรรม ประเพณีที่เคยยึดถือปฏิบัติ สิ่งใดท่ีตองยึดถือก็อยา
เปลีย่ นแปลงเจตนาไปเปนอยางอืน่ เพ่อื เอ้ือประโยชนแกตน222๕

๕ ดวงเดือน พันธุมนาวิน, จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา, (กรุงเทพมหานคร: ไทย
วฒั นาพานิช, ๒๕๒๔), หนา ๑๒๐.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๕๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๓. จริยธรรมเชงิ เหตุผล เปน การใหเ หตุผลในการตัดสินใจอยา งใดอยา งหน่งึ เหตผุ ล
ดังกลาวนน้ั ตอ งแสดงถึงเจตนาเพื่อความสขุ ของสังคม และสามารถแจกแจงปจจัยที่เปนเหตุให
ตดั สินใจได

๔. จริยธรรมเชิงพฤติกรรม เปนการแสดงออกตามที่สังคมยอมรับ ความซ่ือสัตย
สุจริต ความซื่อตรง ความเอ้ือเฟอเผ่ือแผ เสียสละชวยเหลือผูอ่ืน การใหทาน ไมเอารัดเอา
เปรยี บผูอืน่ และงดเวน พฤติกรรมท่สี ังคมไมย อมรบั ส่งิ เหลา น้ีเปนส่งิ ทค่ี วรประพฤติปฏบิ ัติ

สรุป ผูบริหารจะตองมีความดีในตนเพื่อประโยชนแหงตนและสังคมโดยคํานึงถึง
จรยิ ธรรมในการดํารงชีวิต

๗.๕ หลกั จริยธรรมทผี่ ูบรหิ ารควรยดึ ถือปฏบิ ตั ใิ นการดํารงชีวิต

เพ่อื ใหเกิดการยอมรบั นับถือในฐานะปชู ณียบุคคล มีดงั น้ี
๑. การใฝใจในสัจธรรม เปนจริยธรรมพื้นฐานที่สําคัญท่ีสุด เปนข้ันที่ตองอาศัย
กระบวน การคิดอยางมีเหตุผลและศรัทธาตอการเขาถึงความจริง และตองอาศัยกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร เพื่อจะใหมีการแสวงหาขอมูล เพื่อนํามากําหนดปญหาและการสราง
ทางเลอื กในการแกป ญหา การวิเคราะหห าวธิ ีท่ีดีท่สี ดุ และการยึดม่ันในการแกปญ หาใหส าํ เรจ็
๒. การใชป ญญาในการแกปญ หา การแกไ ขปญหาตาง ๆ ท่ีเกดิ ขึ้นนน้ั ตองใชปญ ญา
และเหตุผลในการแกไขน้ัน คือ ตองรูถึงสาเหตุของปญหาที่แทจริง เริ่มตั้งแตการใหขอมูลท่ี
ถกู ตอง การวิเคราะหขอมูลที่ตรงไปตรงมา การกําหนดปญหาทีถ่ ูกตอง ซ่ึงควรใชหลักกาลามา
สตู ร พละ ๕ วุติธรรม ๔ เปนตน
๓. การยึดหลักเมตตากรุณา การดํารงชีวิตที่มีคุณคาตองประกอบดวยเมตตากรุณา
ถาขาดธรรมขอนี้สังคมก็จะขาดความผาสุกรมเย็น ระบบที่ควรยึดมั่นในการปฏิบัติ คือ พรหม
วหิ าร ๔ ไดแกเมตตา กรุณา มุฑิตา อุเบกขา และ สังคหวัตุ ๔ ไดแก ทาน ปย วาจา อตั ถจริยา
และสมานัตตา
๔. มีสติสัมปญชัญญะ เปนการระลกึ เพื่อควบคุมตนเองใหประพฤตปิ ฏิบตั ิใด ๆ ดว ย
การสํารวมไมป ระมาทในทกุ ส่ิงทีก่ ระทํา
๕. ความซื่อสัตยสุจริต เปนการประพฤติตรงตอตนเองและผูอ่ืน ตอหนาท่ีการงาน
ตอ คํามนั่ สัญญา แบบแผน ระเบียบ กฎเกณฑ และความถกู ตองดีงาม

๑๕๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๗ จริยธรรมสําหรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

๖. ความขยนั หมั่นเพียรไมเกียจครา น เปนสิ่งท่ีจะชวยใหป ระสบความสําเร็จใหช ีวิต
แตตองใชค วบคกู ับปญญาและอทิ ธบิ าท ๔ ไดแก ความพอใจ ความเพยี ร ความมีใจจดจอ และ
ความไตรตรอง

๗. ความมีหิริโอตัปปะ โดยการเปนคนที่มีความละอายตอการทําช่ัวและเกรงกลัว
ตอบาปท้ังตอหนาและลับหลัง เปนส่ิงท่ีควรยึดถือปฏิบัติใหเกิดข้ึน การที่สังคมวุนวายไมสงบ
สุขก็เนื่องจากผูคนสวนใหญ ไมมีหิริโอตัปปะ การฝกตนควรควบคุม กาย วาจา และความคิด
ใหเหมาะใหควร ตามทํานองครองธรรม ควรยึด เบญจศีล เบญจธรรม และกุศลธรรมบท ๑๐
เปน ตน

๗.๖ หลักจรยิ ธรรมเชงิ วชิ าการ

๑. หลักจริยธรรมเชิงวิชาการ ผูบริหารที่ดีนอกจากจะมีจริยธรรมในการดํารงชีวิต
แลวยังตองมีจริยธรรมทางวิชาการดวย เนื่องจากผูบริหารจะตองเปนผูท่ีตองศึกษาหาความรู
เพ่ิมเติมอยูเสมอ เพื่อใหเกิดความเจริญดานสติปญญาและเผยแพรความรูไปสูผูอ่ืน จริยธรรม
ทางวิชาการจึงเปน สิง่ ท่ีจําเปน ทผี่ ูบรหิ ารจะตอ งยึดถือปฏิบตั ิ กลาวคือ ตองมีความประพฤตอิ ัน
ดงี ามในดา นตา ง ๆ ดังนี้

๑) การศึกษาหาความรู ผูบริหารตองเปนท้ังนักวิชาการดานบริหารและดาน
การเรียนการสอน จึงตองมคี วามขยันหมน่ั เพียรในการแสวงหาและสรางองคค วามรู ซ่ึงนําไปสู
การเผยแพรและปฏบิ ัตงิ าน

๒) ความซ่ือสัตยซื่อตรง ตองมีความประพฤติตรงตอผูคนและกฎเกณฑตาง
ไมบดิ เบือนในองคค วามรูที่ไดศึกษามา เพอ่ื เจตนาในการชักจงู ไปในทางทผี่ ดิ

๓) เคารพตอแหลงความรู การศึกษาองคความรูใดจากใครจะตองใหเกียรติตอผู
นั้น ไมแอบอางวาเปนของตน ไมลอกเลียน หรือกระทําซ้ําโดยเด็ดขาด นอกจากจะขาดจริยธรรม
และยงั ผดิ กฎหมายบานเมือง

๔) บริสุทธิ์ใจในการเผยแพร มีเจตนาบริสุทธิ์ในการเผยแพรความรูไมไดมุงหา
กําไรเกินพอดีและองคความรูท่ีเผยแพรจะตองไดรับการตรวจสอบ สอบทานที่ดีที่ถูกตอง
เสยี กอ น

๕) มคี วามมุงมั่นสรางสรรคสังคม การแสดงความคดิ เห็นใด ๆ เจตนาสูงสุดเพ่ือ
ประโยชนทงั้ มวลใหเกิดแกส วนรวม

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๕๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๒. จริยธรรมทางวิชาการกับการพัฒนา ผูบริหารจะตองคํานึงถึงการปฏิบัติของ
บคุ ลากรกับงานท่รี บั ผิดชอบน้ัน ไมใชวา จะมองไปที่ผใู ตบังคับบญั ชาเทาน้นั แตควรมองไปท่ผี ล
สดุ ทายของงานที่ตอ งการบรรลุ เชน ผูบริหารการศึกษาตองมองไปท่ีครูเพ่ือใหครูสอนนักเรียน
ใหบรรลุวัตถุประสงค ดังนั้นจริยธรรมเชิงวิชาการตองมองไปที่นักเรียนดวย ดังน้ันผูบริหาร
ตอ งแสดงบทบาทดา นวิชาการกับการพัฒนา ดังนี้

๑) เปนผูนําในการพัฒนาหลักสูตร ผูบริหารจะตองถือเปนหลักสําคัญวา
หลักสูตรคือหัวใจในการจัดการเรียนการสอน เพราะเปนทิศทางในการสรางประสบการณ
ใหแกผูเรียน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค หลักการ จุดหมาย โครงสรางและรายละเอียดอื่น ๆ
ทางหลักสูตรจะตองไดรับการทบทวนอยูเสมอ ในดานความเหมาะสม ความเปนไปได
ความสามารถในการบรรลุได เปนตน ตองมีการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อนํามาวิเคราะหและ
ปรบั ปรงุ แกไขใหสอดคลอ งกับสถานการณ สงิ่ แวดลอ มและความตองการของชมุ ชน

๒) จดั หาเอกสารประกอบหลักสูตรใหครบเพียงพอตอการจัดการเรยี นการสอน
ครูตองอาศัยเอกสารประกอบหลักสูตรในการดําเนินงาน ผูบริหารจะตองจัดหาใหครบถวน
เพยี งพอตอความตอ งการ

๓) ตองแสวงหาความรูเกี่ยวกับการเรียนการสอนใหมาก เพ่ือนํามานิเทศหรือ
ช้ีแนะแกครูไดอยางม่ันใจ เพราะหนาที่หน่ึงของผูบริหารคือการนิเทศเพ่ือใหครูผูสอนจัด
กจิ กรรมการเรยี นการสอนใหบ รรลุวัตถปุ ระสงคไ ด

๔) ตองแสวงหาส่ือและอุปกรณท่ีจําเปน เพ่ือใหครูไดใชในการจัดกิจกรรมการ
เรยี นการสอนเชน คอมพวิ เตอร เปนตน

๕) ตองเปนผูนําในการประกอบกิจกรรมเพ่ือพัฒนาผูเรียน ทั้งกิจกรรมประจํา
กลมุ สาระกจิ กรรมเสรมิ และกิจกรรมพฒั นา

๖) ตองเปนผนู ําในการวดั ผลประเมินผล เพราะงานดานน้ีสวนใหญครูจะปลอย
ปละละเลยหรือดําเนินงานอยางไมถูกหลักวิชา จําเปนท่ีผูบริหารจะตองถือเปนหนาที่สําคัญท่ี
จะตองปฏิบตั ิ

๑๖๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๗ จริยธรรมสาํ หรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

๗) ตองไมแสวงหาประโยชนจ ากการอนุมัติตา ง ๆ เริม่ ต้ังแตก ารรับเด็กเขา เรียน
การอนุมัตผิ ลการสอบหรอื อนมุ ตั ผิ ลการเรยี น เปนตน ตอ งไมเรยี กรับผลประโยชนใ ด ๆ๖223 ทงั้ สิน้

สรุป จริยธรรมเชิงวิชาการ ประกอบดวยจริยธรรมการศึกษาหาความรู ความ
ซ่อื สตั ยซ ื่อตรง เคารพตอแหลงความรู บริสุทธิใ์ จในการเผยแพร มุงมน่ั สรา งสรรคส ังคม รวมถึง
จริยธรรมทางวิชาการกับการพฒั นา

๗.๗ หลกั จรยิ ธรรมเชงิ บริหาร

๑. จริยธรรมเชงิ การบริหาร
องคการใด ๆ จะตองมีจริยธรรมเพ่ือปฏิบัติใหถูกตองดีงาม มีความรับผิดชอบตอ
ผรู บั บรกิ ารมุงผลใหเกดิ ผลตามวตั ถุประสงค และมุงประโยชนแ กส ว นรวม ดังนัน้ ผูบรหิ ารควรมี
จรยิ ธรรมการบริหาร ดงั น้ี

๑) การบริหารมุงผลสัมฤทธ์ิ การบริหารตองใหเกิดผล ไมใชเนนที่กระบวนการ
ผลสัมฤทธิ์ประกอบดวย ผลผลิตกับผลลัพธ การจะใหเกิดผลสัมฤทธิ์ไดตองอาศัย ความ
ขยนั หม่ันเพียร ตัง้ ใจจรงิ ในการทาํ งาน และมรี ับผิดชอบ

๒) การบริการท่ีดี เปนการใหบริการท่ีมีคุณภาพ แกทุกคนอยางเสมอภาคท้ัง
เปนการบริหารในหนาที่และบริหารท่ัวไปซึ่งตองอาศัย ความบริสุทธิ์ใจ ความเต็มใจ และ
อัธยาศยั ไมตรีทดี่ ขี องผใู หบริการ เปนสาํ คัญ

๓) การสงั่ สมความเชี่ยวชาญในงานอาชพี การบริหาร เปนหนา ท่ีหลักสําคญั ของ
ผูบริหารท่จี ะตอ งสั่งสมและพัฒนาใหเ กิดความเชี่ยวชาญกบั งานในทุกแงม มุ ซึ่งตองอาศัยความ
หมั่นศึกษา ขวนขวายหาความรมู าปรับใชใ นงานอยูเสมอ

๔) ความรวมแรงรวมใจ จรรยาบรรณขอน้ีเปนสิ่งที่ตองอาศัยผูคนหลายคน
หลายฝายในการทํางานจึงจะประสบความสําเร็จ ซ่ึงตองอาศัยความมีมนุษยสัมพันธ ทํางาน
รวมกบั คนได มีความคิดสรา งสรรค และชว ยเหลอื ซง่ึ กนั และกัน

๖ วรยิ า ชนิ วรรโณ, จริยธรรมของพลเมืองไทยในระบอบประชาธปิ ไตย: ประมวลองคความรู
ประสบการณ, (กรงุ เทพมหานคร: ศนู ยหนงั สอื จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๖), หนา ๒๒๐.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๖๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๕) ความมคี ุณธรรมจริยธรรม การบริหารงานตองอาศัยคุณธรรมจริยธรรมเปน
อยางมาก ทง้ั การคดิ และปฏบิ ตั ิ ตอ งมคี วามซอ่ื สัตย ซื่อตรง โปรงใส รกั ษาสจั จะวาจาผรู วมงาน
จึงจะเกดิ ความเช่อื มั่นและรว มมือทํางานดวยความเต็มใจ224๗

๒. จริยธรรมการบรหิ ารเชิงธรรมาภิบาล
บริหารงานในอดีตเปนการบริหารแบบรวมศูนยอํานาจ การสั่งการออกจาก
สวนกลางหรือผูมีอํานาจ ประชาชนไมมีสวนรวมทําใหมีโอกาสทุจริตไดอยางกวางขวาง ทําให
การบริหารขาดประสิทธิภาพไรประสิทธิผล จึงเกิดกระแสเรียกรองในการมีสวนรวมในกิจ
กรรมการบริหารของภาครัฐข้ึน จึงมีการบริหารที่ตองยึดหลักธรรมาภิบาล ซึ่งมี ๖ ประการ
ไดแก

๑) หลักนิติธรรม คือ การปฏิบัติงานตองยึดหลักระเบียบ กฎหมาย ขอบังคับ
ดวยความเสมอภาคกนั ไมเ หน็ แกพวกพอ งญาติมติ ร

๒) หลกั คุณธรรม คอื การปฏบิ ตั ิที่ถูกตอง ซื่อสัตย สุจรติ
๓) หลักความโปรงใส คือ การปฏิบัติโดยเปดเผย ชี้แจงได ตรวจสอบได ต้ังอยู
บนเหตุและผล มีคาํ ตอบและไมปดบัง
๔) หลักการมีสวนรวม คือ เปดโอกาสใหทุกฝายท่ีเก่ียวของ รับทราบ ขอมูล
รวมคิด รวมตัดสินใจ รว มปฏบิ ตั ิและรว มรบั ผลประโยชน
๕) หลักความรับผิดชอบ คือ ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติท่ีเกิดข้ึน ไมวา
จะผิดพลาดบกพรองใด ๆ ไมป ดภาระรบั ผิดชอบใหผอู น่ื
๖) หลักความคุมคา คือการทํางานใหเกิดประโยชนสูงสุด รูจักคุณคาของ
ทรพั ยากร
๓. การบริหารแบบ ๓ D
การบริหารงานใหประสบความสําเร็จน้ันตองใหบุคคลท่ีเปนคนเกง หมายถึง ตอง
เกงงาน เกงเรียนรู เกงคิด เกงคน และเกงในการดํารงชีวิตภายใตความเปนคนดี ซ่ึงความเปน
คนดีประกอบ ๓ ดี คอื

๗ อา งแลว.

๑๖๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๗ จริยธรรมสาํ หรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

๑) ดีในสวนตัว คือ ตวั เองเปน คนดี มศี ลี ธรรม ดตี อ งานคอื ประกอบการงานดไี ม
บกพรอ งและมีความดตี อ ครอบครัว

๒) ดใี นองคกร คอื ตอ งทําประโยชนใหเกิดขึ้นในองคกร หรือหนว ยงาน ดีท้ังใน
ดานสงเสริมสนบั สนนุ สรา งสรรคและรกั ษาภาพลักษณของหนวยงานดวย

๓) ดีในสังคม คือ นอกจากจะทําดีใหกับตัวเองแลว ยังมุงสรางความดีใหกับ
สังคมดวย ถาดีเฉพาะตนฝายเดียวอาจถูกมองวาเห็นแกตัวได ดังน้ันตองดีทั้งตอตนเองและ
สงั คมไปพรอมกัน225๘

๔. การบริหารเชิงธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา
ผูบริการสถานศึกษาจะตองมีจริยธรรมในการบริหาร เพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค
โดยยึดหลักธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ซ่ึงมีความแตกตางจากธรรมาภิบาลของสํานัก
นายกรฐั มนตรี มดี งั นี้

๑) การมีสว นรวม ผูบ ริหารตอ งบรหิ ารโดยยึดหลักการมสี วนของทกุ ฝาย เพ่อื ให
งานจัดการศึกษาบรรลุเปาหมาย การเขามามีสว นรว มในการบริหาร ตองคํานงึ ถึงกิจกรรมใดที่
จะใหม ีสว นรว มโดยใครเปนผูเ ขา มามีสวนรวมและรว มอยางไรเปนหลกั ในการพจิ ารณา

๒) หลกั ความโปรงใส ตองบริหารดวนความโปรงใสอธิบายได ชแ้ี จงได เปดเผย
ไมปดบัง ทัง้ ในดานการใชงบประมาณ การพจิ ารณางานวชิ าการและงานอ่ืน ๆ

๓) หลักความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได เปนการรับผิดชอบตอผลการบริหาร
และพรอมท่จี ะตรวจสอบกระบวนการดําเนินงานทุกข้ันตอน

๔) ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การดําเนินงานตองคํานึงประสิทธิผล
ตามวัตถปุ ระสงคและประสิทธิภาพของกระบวนการทํางาน โดยมุงไปทีค่ วามสําเรจ็ ของผูเรียน
เปนสําคญั

๕) ความมีคุณธรรม ความมีคุณธรรมของผูบริหารการศึกษาอยูท่ีมีความรัก
ความเมตตาตอผูเรียนครูและชุมชน ปรารถนาจะใหเกิดการเรียนรู ความรมเย็น และความ
เจริญทางการศกึ ษา226๙

๘ พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมมจิตโต), คุณธรรมสําหรับนักบริหาร, พิมพคร้ังท่ี ๒,
(กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท สหธรรมิก จาํ กดั , ๒๕๓๘), หนา ๑๕-๑๖.

๙ อา งแลว .

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๖๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๕. จริยธรรมการบริหารดานการดาํ เนนิ งาน
จริยธรรมทางการบริหารเปนการแสดงออกใหเห็นวาจะดําเนินการบริหารไปตาม
หลักการที่ไดกําหนดไวและเปนการแสดงออกถึงความโปรงใส ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได
การใหมีสวนรวมและประสิทธิผลและประสิทธิภาพของคน ส่ิงที่ควรแสดงออกทางจริยธรรม
การบรหิ าร ดงั กลา ว คอื

๑) ประกาศวิสัยทัศนในการบริหารใหชัดเจนวา องคกรหรือหนวยงานที่ตน
บรหิ ารตองเปนอยา งไร

๒) ประกาศจุดยืนในพันธกิจ และกําหนดเปาหมายใหเปนรูปธรรมใหสังคม
ไดรับรูโดยท่วั ถึง

๓) ประกาศเจตนารมณในการรับฟงความคิดเห็นใหสาธารณชนทราบ วา
เปด รับฟงความคิดเหน็ ดวยความเต็มใจจากทุกฝาย

๔) สรางกระบวนการท่ีโปรงใส โดยใหทุกฝายไดรับรู ไดรูเห็นเปนพยานในการ
ดําเนนิ งานเพื่อขจดั ขอกงั ขาท่ีจะเกดิ ขน้ึ

๕) สรางวัฒนธรรมการทํางานเปนทีม และสรางทีมงานที่เขมแข็ง จะทําใหงาน
ประสบความสําเรจ็ และสรางชอ่ื เสียงใหกับหนวยงานได

๖) ประกาศระบบการประเมินผลงานอยางชัดเจน เพื่อสรางความเสมอภาคให
เกิดขน้ึ ทกุ ฝาย และสรางความโปรงใสใหก ับตนเอง

๗) ประกาศระบบการรายงานใหชัดเจน โดยจัดเปนปฏิทินการรายงาน ซึ่งอาจ
เปนเดอื นเปน รอบ ๓ เดอื น หรือ รอบ ๖ เดือน ตอ ครัง้ หรอื ๑ คร้งั ตอ ป เปน ตน

๘) จดั ระบบการวจิ ารณผ ลงานประจําป เมือ่ สน้ิ ปรายงานผลและวพิ ากษวจิ ารณ
ผลงาน เปนการแสดงภาวะผนู าํ ทจี่ ะรับฟง ความคดิ เหน็ ของผูอนื่ และรับไปแกไขปรับปรุง

๙) ประกาศเจตนารมณในการรับขอรองเรียนตาง ๆ ตลอดเวลา เปนการแสดง
ความรับผิดชอบ โปรงใส และอ่ืน ๆไดเปนอยางดี ท้ังยงั เปนการเตือนสติตัวเองไมใหพลั้งเผลอ
หรือพลงั้ ผิดในการบริหารงาน

อยางไรก็ตาม ผูบริหารจะบริหารงานใหสําเร็จนั้น ตัวผูบริหารจะตองเปนผูมี
คุณธรรม จริยธรรมมีศีลมีธรรม และการครองตนอยูในวัฒนธรรม คุณคา และบรรทัดฐานท่ีดี
งามของสังคม เปนผูม ีความขยันหมั่นเพียร มุงม่ันในการทํางานใหสําเร็จ ตลอดทง้ั ประพฤติตน
ใหเปน แบบอยา งทด่ี ขี องชนท่ัวไป

๑๖๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๗ จริยธรรมสาํ หรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

๖. จริยธรรมการบริหารดานความรบั ผดิ ชอบ
จริยธรรมเชิงการบริหารงานน้ันตองการผูมีความรับผิดชอบสูง ซ่ึงในปจจุบันนี้
สงั คมไทยเร่ิมจะหาคนทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบสงู ยากข้นึ ทกุ ที การทีผ่ ูบริหารไดตัดสินใจดาํ เนินการ
ใด ๆในอํานาจหนา ที่ของตนแลว ผูบริหารตองพรอ มพลตี นรับผลท่ีจะเกิดข้ึนไมว าในทางดหี รือ
ทางไมดีอยา งกลาหาญ ลกั ษณะผบู ริหารทีม่ คี วามรับผดิ ชอบมกั มลี ักษณะ ดงั น้ี

๑) ประกาศตนรับผิดชอบ เปนการแสดงตนที่พรอมจะรับผิดรับชอบจากการ
ตดั สินใจดําเนินงาน ซงึ่ มี ๒ ประเภท คอื

(๑) ความรับผิดชอบดานนโยบาย เปนการแถลงการณเก่ียวกับนโยบายให
ชัดเจนเปน ลายลกั ษณอ ักษรอยา งเปดเผยใหส าธารณชนรับทราบโดยทัว่ กัน

(๒) ความรับผิดชอบตอผลการปฏิบัติงาน เปนการรายงานผลการ
ปฏิบัติงานใหสาธารณชนทราบเปนระยะๆอยางเปดเผย เร่ิมตั้งแตกระบวนการทํางาน วัสดุ
อปุ กรณ งบประมาณและความกา วหนาตลอดจนปญหาอุปสรรคและการแกไข เปนตน

๒) ประกาศตวั ใหต รวจสอบ ท้ังจากภายในและประกาศตวั ใหต รวจสอบ ท้งั จาก
ภายในและภายนอก อาจจะเปนหนวยงานที่มหี นา ทต่ี รวจสอบของรฐั เชน สํานักงานตรวจเงิน
แผน ดิน เปนตน หรอื อาจจะเปนคณะกรรมการตรวจสอบที่แตงตั้งขนั้ จากบุคคลหรือหนวยงาน
ในทอ งถน่ิ เปน คณะตรวจสอบกไ็ ด227๑๐

๓) ยอมรับผลการปฏิบัติอยางเตม็ ใจ ไมวา ผลงานจะออกมาดีหรือไม ถาออกมา
ไมดีตองแสดงความรับผิดชอบอยางใดอยางหนึ่ง เชน ลาออก ยอมรับโทษ ชดใชคาเสียหาย
เปน ตน

๔) แถลงการณผลการปฏิบัติที่ผิดพลาด เปนการแสดงความรับผิดชอบอีกวิธี
หนึ่งที่สังคมตองการ ซ่ึงสวนใหญผูบริหารท่ีบริหารงานผิดพลาดแลวมักจะไมยอมรับความ
ผดิ พลาดและหลีกเล่ียงไมยอมพดู ความจรงิ

๗. จริยธรรมการบรหิ ารดานการควบคุม
การบริหารงานอยางมีจริยธรรมและใหงานบรรลุวัตถุประสงคนั้น ตองอาศัยการ
ควบคุมซึ่งเปนปจจัยหน่ึงของกระบวนการบริหารท่ีจะทําใหการดําเนินงานเปนไปตามแผนที่

๑๐ เสฐียรพงษ วรรณปก, คําบรรยายพระไตรปฎก, (กรุงเทพมหานคร: หอรัตนตรัยการพิมพ,
๒๕๔๐), หนา ๒๔.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๖๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

กาํ หนดไว การบรหิ ารในยุคกอ นคําวา การควบคุม มีความหมายในเชิงลบและเปนความหมาย
ในการใชอํานาจควบคุมบุคคลเปนหลักแตแนวคิดใหมการบริหารไดยึดหลกั คุณธรรมจริยธรรม
มากข้ึนทําใหการควบคุมเปล่ยี นไป โดยเปลี่ยนแปลงจากการควบคุมคนมาเปน การควบคุมงาน
มากข้ึน เปนระบบมากขึน้ ซ่งึ การควบคมุ มี ๔ แบบ ดังน้ี

๑) การควบคุมการปฏิบัติงาน (Operations Control) เปนการใชก ระบวนการ
ในการดําเนินงานในองคการเปนเคร่ืองมือในการควบคุม คือ ควบคุมปจจัยตัวปอน ควบคุม
การดําเนนิ งานและควบคมุ ผลผลติ ดังนี้

(๑) การควบคุมปจจัยตัวปอน เปนการควบคุมปจจัยพื้นฐานในการ
ดําเนินงาน เชนเงินทุน บคุ ลากร วสั ดุอุปกรณ และสารสนเทศ เปน ตน

(๒) การควบคุมการดําเนินงาน เปนการควบคุมกระบวนการ คุณภาพและ
มาตรฐาน การผลติ หรอื การใชบริการ

(๓) การควบคุมผลผลิต เปนการตรวจสอบคุณภาพของผลผลิตที่ผาน
กระบวนการผลิตวาเปน ไปตามท่ีกาํ หนดไวม ากนอ ยเพยี งใด

การควบคุมท้ังสามขั้นตอนน้ี สวนใหญจะใชวิธีการทางสถิติเขามาใชในการ
เปรียบเทยี บใหเ หน็ ผลตางของแตล ะชว งเวลาท่มี ีการเปรยี บเทยี บ

๒) การควบคุมทางการเงิน (Financial Control) เปนการควบคุมทุนทรัพยที่
เปนตัวเงินใหมีการใชจายอยางสมดุล การบริหารดานการเงินเปนส่ิงท่ีผูบริหารและผูที่
เก่ียวของจะตองอาศัยคุณธรรมจริยธรรมเปนอยางมาก เพื่อปองกันไมใหมีการรั่วไหลของ
งบประมาณ ซึง่ มีการควบคมุ ๓ แบบ ดงั นี้

(๑) ควบคุมโดยวิธีงบประมาณ เปนระบบงบประมาณท่ีระบุที่มาของ
การเงนิ และการจัดสรรเงนิ งบประมาณ มี ๓ วธิ ี ดงั น้ี

๑.๑) บัญชเี งินสด เปนบญั ชีรบั จายเงินขององคก ารเปนรายวัน รายเดือน
เปน ตน

๑.๒) บัญชีงบลงทนุ เปน คา เคร่อื งมือ วสั ดุอุปกรณ เปนตน
๑.๓) งบดลุ บญั ชี เปนประมาณการงบประมาณทั้งหมด
(๒) ควบคุมโดยงบดําเนินการ เปนงบประมาณที่จัดสรรใหตามแผนงาน
โครงการตาง ๆ โดยคํานึงถึงงบประมาณรายรบั รายจายและความสมดุลของงบประมาณ
(๓) ควบคุมโดยงบทีไ่ มใชต ัวเงนิ เชน การใชจายตามแผนกําลังคน แผนการ
ใชอาคารสถานท่ีและแผนปฏบิ ัติการตาง ๆ

๑๖๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๗ จริยธรรมสําหรับนักบริหารตามหลักพระพุทธศาสนา

๓) การควบคุมโครงสราง เปนการควบคุมระบบงานขององคการวาตอบสนอง
ตอวัตถุประสงคขององคการมากนอยเพียงไร เปนการควบคุมโดยใชระบบราชการ เปาหมาย
การดําเนินการและระบบวฒั นธรรม ทัง้ สามสว นน้ตี องสัมพันธกัน

๔) การควบคุมกลยุทธ (Strategic Control) เปนกระบวนการในการประเมินกล
ยุทธท้ังกอนการดําเนินการ ระหวางดําเนินการและหลังดําเนินการตามกลยุทธ การควบคุมท้ัง
สามระยะน้ีตองเปนไปเพ่ือใหการดําเนินการเปนไปตามกลยุทธที่กําหนดไว228๑๑ จริยธรรมทางการ
บริหาร เปนสิ่งจําเปนที่ผูบริหารจะตองยึดถือยึดมั่นในการบริหารเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของ
องคก าร ถา หากการบริหารขาดจรยิ ธรรมแลวจะทําใหขาดทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล

๗.๘ สรุป

จากการศึกษาเอกสาร นักวิชาการทางการศึกษา ผูบริหารเปนผูมีความสําคัญมาก
ที่สุดในองคการ จึงจําเปนตองมีคุณสมบัติท่ีพึงประสงคมากกวาบุคคลในตําแหนงอื่น ๆ
โดยเฉพาะคุณสมบัติดานคุณธรรมจริยธรรมซึ่งเปนคุณสมบัติที่จําเปนของผูบริหารการศึกษา
และการทําความเขาใจเกีย่ วกับความหมาย ทฤษฎีและหลกั ปฏิบัตทิ างคุณธรรมจริยธรรมจะทํา
ใหเกิดความเขาใจ กําหนดกรอบการประพฤติปฏิบัติไดถูกตอง เกิดความม่ันใจและเกิดความ
ศรัทธาในการประพฤติปฏิบัติ จนทําใหสามารถปฏิบัติตามหลักคุณธรรมจริยธรรมไดถูกตอง
ผูบริหารกับคุณธรรม หมายถึง ผูนําหรือผูบริหารที่จะพัฒนาตนเองใหมีความเจริญทางดาน
คุณธรรมจรยิ ธรรมไดน ้ันจะตองยดึ ศีลธรรมเปนหลัก

ผูบริหารกับจริยธรรม หมายถึง ความประพฤติ ปฏิบัติชอบที่มีคุณคา ท้ังตอตนเอง
ผูอ นื่ ตอสงั คมและตอการงานเพอื่ ใหเกิดความเจรญิ รุงเรอื งและความผาสุกรว มกนั ความหมาย
ของจริยธรรมในทางการบริหารมุงเนนไปท่ีความประพฤติท่ีเอ้ือตอการปฏิบัติงาน ดวยความ
มุงม่ัน รับผิดชอบ และปฏิบัติอยางถูกตอง ผูบริหารจะตองยึดหลักคุณธรรม จริยธรรมในการ
บรหิ าร

๑๑ พระธรรมปฎก, (ป.อ. ปยุตฺโต), ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตท่ีดีงาม,
(กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พก ารศาสนา, ๒๕๔๐).

บทท่ี ๘
การพฒั นาคณุ ธรรมและจริยธรรม

สาํ หรบั ผบู ริหารสถานศึกษา

๘.๑ แนวคิดทฤษฎีการพฒั นาคณุ ธรรม

พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยุตฺโต)229๑ ไดก ลาววา ลกั ษณะทฤษฎีเชนนีว้ าบทบาทของ
การศึกษาคือ การพัฒนาทางดานจิตใจเพื่อเสริมสรางกําลังคนท่ีมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
ตามท่ีระบบเศรษฐกิจและสังคมตองการ ปจจัยท่ีสําคัญที่สุด คือ การศึกษาเพ่ืออบรมฝกฝน
การนําสติปญญาไปใชเปนประโยชนแกกลาย่ิงข้ึน พยายามแสวงหาจุดมุงหมายใหแกชีวิต คือ
ความเปนอยูอยางดีท่ีสุด หรือการมีอิสรภาพ กรศึกษาจึงเปนกิจกรรมของชีวิต โดยชีวิต เพื่อ
ชวี ติ เปน ความสามารถเพือ่ ปรับตัวใหเ ขากับส่ิงแวดลอม และรจู ักเกยี่ วของสัมพนั ธก นั

ประภาศรี สีหอําไพ230๒ ไดกลาวถึง การพัฒนาคุณธรรมของมนุษยมีการพัฒนาเปน
ลําดับจากวัยทารกจนถึงตลอดชีวิตตนกําเนิดของแหลงที่กอใหเกิดการพัฒนาทางคุณธรรมมา
จากอิทธิพลของสังคมและพันธุกรรมคําวา สังคม ในที่น้ีคือ สิ่งแวดลอมรอบตัวเด็กทั้งท่ีเปน
บุคคล และสภาพแวดลอมตามธรรมชาติอื่น ๆ สวนคือ ความสามารถในการรูคิด และ
พัฒนาขึ้นตามลําดับขั้นอายุ วุฒิภาวะหรือประสบการณ และการพัฒนามีลักษณะท่ีสําคัญ
แบงเปน ๓ แนวทางใหญ คอื

๑. ทฤษฎีจิตวิเคราะห (Psychoanalytic Theory) ไดรับอิทธิพลจากแนวคิดของ
ฟรอยด (Freud) เช่อื วา คุณธรรมกับมโนธรรม เปน อนั หนึ่งอันเดียวกัน มนุษยอยูในสังคมกลุม
ใด ก็จะเรียนรูความผิดชอบชั่วดีจากส่ิงแวดลอมในสังคมน้ัน จนมีลักษณะพิเศษของแตละ
สงั คม ท่ีเรยี กวา เอกลักษณ เปนกฎเกณฑใหประพฤติปฏิบัติตามขอกําหนดโดยอัตโนมัติ คนที่
ทําชั่วแลวรูสึกสํานึกเกิดหิริโอตตัปปะละอายใจตนเองถือวาไดรับการลงโทษดวยตนเอง เมื่อ
สํานึกแลวพึงละเวนไมปฏิบัติอีกโดยไมตองมีส่ิงควบคุมจากภายนอก เปนการสรางมโนธรรม
ข้ึนมาโดยไมจาํ เปน ตองสนใจองคป ระกอบของลําดบั ข้ันพัฒนาการทางคุณธรรม

๑ พระราชวรมุนี (ประยทุ ธ ปยตุ ฺโต), พจนานุกรมพทุ ธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพคร้งั ที่
๙, (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓), หนา ๗๑.

๒ ประภาศรี สีหอาํ ไพ, พืน้ ฐานการศึกษาทางศาสนาและจริยธรรม, หนา ๒๙-๓๗.

๑๖๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๒. ทฤษฎีการเรียนรูทางสังคม (Social Learning Theory) เปนกระบวนการสังคม
ประกติ โดยการซึมซาบ กฎ เกณฑตา ง ๆ จากสังคมท่ีเตบิ โตมา รับเอาหลักการเรียนรูเชื่อมโยง
กับหลักการเสริมแรง และการทดแทนส่ิงเรา รับแนวคิดของทฤษฎีจิตวิเคราะหเปนรูปแบบ
โดยยึดถือวาการเรียนรู คือ การสังเกตเลียนแบบจากผูใกลชิดเพื่อแรงจูงใจ คือ เปนท่ีรักท่ี
ยอมรับในกลุม พวกเดียวกบั กลุมตน แบบเพือ่ เปนพวกเดียวกนั

๓. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปญญา (Cognitive Theory) แนวคิดของนักจิตวิทยา
กลุมนี้เห็นวาคุณธรรมเกิดจากแรงจูงใจในการปฏิบัติตนสัมพันธกับสังคม การพัฒนาคุณธรรม
จึงตองมีการพิจารณาเหตุผลเชิงคุณธรรมตามระดับสติปญญาของแตละบุคคล ซึ่งมีวุฒิภาวะ
สูงข้นึ การรบั รคู ณุ ธรรมก็พฒั นาขน้ึ ตามลาํ ดับ

๘.๒ คณุ สมบัตขิ องผบู ริหารตามหลกั พุทธศาสนา

ในทางพระพุทธศาสนาน้ัน คนเราน้ันเมื่อมาอยูรวมกันเปนหมู เปนกลุม เปนชุมชน
เปนสังคม แตท่ีเราพูดวาอยูรวมกันน้ัน ความจริง ถาดูลึกลงไปจะเห็นวาตัวคนรวมกันจริง
แตมักจะ รวมกันแคเพียงภายนอก สวนขางในนั้นคอนขางจะกระจัดกระจายที่วากระจัด
กระจาย ก็คือ มีความ แตกตางกันหลายอยางหลายประการ ตางจิตตางใจ ตางความรูสึก
ตางความนึกคิด ตางความตองการ ตางความรู ความสามารถ ตางระดับของการพัฒนาเปน
ตน รวมกันอยูและรวมกันทําเพื่อจะใหอยูกันดวยดี และทําการดวยกันไดผลบรรลุจุดหมาย
ประสบความสําเร็จ

บุคคลท่ีจะมาประสานชวยใหคนท้ังหลายรวมกัน โดยที่วาจะเปนการอยูรวมกันก็
ตาม หรือทําการรวมกันก็ตาม ใหพากันไปดวยดี สูจุดหมายที่ดีงามที่วาพากันไป ก็ใหพากันไป
ดวยดีน้ัน หมายความวาไปโดยสวัสดี หรือโดยสวัสดิ์ภาพ ผานพนภัยอันตรายทุกส่ิงทุกอยาง
อยางเรียบรอยและ เปนสุข เปนตน แลวก็บรรลุถึงจุดหมายท่ีดีงาม “โดยถูกตองตามธรรม”
เพราะฉะนั้น จะตองถูกตอง ตามธรรมดวยโดยนัยนี้ ภาวะผูบริหาร ก็คือคุณสมบัติ เชน
สติปญญา ความดีงาม ความรูความสามารถของบุคคล ท่ีชักนําใหคนท้ังหลาย มาประสานกัน
และพากนั ไปสูจดุ หมายท่ีดงี าม

ดังที่กลา วขางตนนั้น เม่ือพูดถงึ ผูบริหารอยางนี้ จะเหน็ วา มีองคประกอบหลายอยาง
ในความ เปนผูบริหารหมายความวา คุณสมบัติของผูบริหารมีหลายอยางหลายดาน แยกไป

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๖๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ตามส่ิงที่ผูบริหารจะตองเก่ียวของ คือ ผูบริหารจะตองมีความสามารถในการท่ีจะไปเกี่ยวของ
หรอื ปฏิบตั ติ อ สิง่ เหลานัน้ ทุกอยา งใหถูกตอ งและไดผ ลดี องคป ระกอบเหลานัน้ คอื

๑. ตัวผูบริหาร จะตองมีคุณสมบัติภายในของตนเอง เปนจุดเริ่มและเปนแกนกลาง
ไว

๒. ผูตาม โยงดวยคุณสมบัติท่ีสัมพันธกับผูตาม หรือเราอาจจะไมเรียกวา“ผูตาม”
ในพทุ ธศาสนาก็ไมไ ดน ิยมใชคําวา ผตู าม เราอาจจะใชค าํ วา “ผรู วมไปไดดว ย”

๓. จุดหมาย โยงดวยคุณสมบัตทิ ่ีสัมพันธก ันกบั จุดหมาย เชน จะตอ งมีความชัดเจน
เขาใจถองแท และแนวแนใ นจดุ หมายเปนตน

๔. หลักการและวิธีการโยงดวยคุณสมบัติที่สัมพันธกับหลักการ และวิธีการที่จะทํา
ใหสําเรจ็ ผลบรรจจุ ดุ หมาย

๕. สิง่ ที่จะทาํ โยงดว ยคณุ สมบัติทสี่ มั พนั ธก ับสง่ิ ทีจ่ ะทาํ
๖. สถานการณ โยงดวยคุณสมบัติที่สัมพันธกับสภาพแวดลอม หรือส่ิงท่ีจะประสบ
ซ่ึงอยูภายนอก วาทําอยางไรจะผานไปไดดวยดี ในทามกลางสังคม ส่ิงแวดลอม หรือสิ่งที่
ประสบ เชน ปญหาเปนตน น่ีคือองคประกอบตาง ๆ ที่เก่ียวของสําหรับผูบริหารท่ีจะตอง
พัฒนาตนเองใหมีคุณสมบัติที่ จะทําใหเปนผูพรอมที่จะปฏิบัติตอส่ิงเหลาน้ันไดอยางถูกตอง
บังเกิดผลด2ี31๓
ในทัศนะของพระพุทธศาสนา ผูจะทําหนาที่ผูบริหารตองไดรับการพัฒนาทั้งกาย
วาจา และใจ จนมีความสามารถยอมรับหลักการ และปฏิบัติตามคุณธรรมของผูบริหารไดดวย
ตนเองกอน ดังพุทธพจนวา
“เม่ือฝูงโควายขามนํ้าไป ถาโคจาฝูงไปคดเคี้ยว โคท้ังฝูงก็ไปคดเค้ียวตามกันในเมื่อ
โคจาฝูงไปคดเค้ียว ในหมูมนุษยก็เหมือนกัน ผูใดไดรับแตงต้ังใหเปนใหญถาผูน้ันประพฤติไม
เปนธรรม ประชาชนชาวเมืองน้นั กจ็ ะประพฤติไมเปน ธรรม ตามไปดว ย หากพระราชาไมตัง้ อยู
ในธรรม”
เม่ือฝูงโคขามนํ้าไป ถาโคจาฝูงไปตรงโคท้ังฝูงก็ไปตรงตามกันในเม่ือโคจาฝูงไปตรง
ในหมูมนุษยก็เหมือนกัน ผูใดไดรับแตงตั้งใหเปนใหญ ถาผูนั้นประพฤติชอบธรรมประชาชน

๓ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), ผูนํา, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมติชน,
๒๕๔๔), หนา ๒-๔.

๑๗๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

ชาวเมืองนั้นก็จะประพฤติชอบธรรมตามไปดวย หากพระราชาต้ังอยูในธรรมชาวเมืองน้ันก็
เปนสุข232๔

จะเห็นวาการเปนผูบริหารที่จะทําใหบุคคลอ่ืนตามหรือเชื่อมั่น ผูบริหารตองสามารถ
นําการกระทําได หลักการดังกลาวจึงเปนการสอนใหคนมีภาวะผูบริหารในตนเอง หรือพัฒนา
ตนเองใหกาวขึ้นสูการเปนผูบริหาร พระพุทธศาสนาถือวา ผูบริหารตองเอาชนะใจตนเอง เม่ือ
ชนะตนเองไดก็ชื่อวาชนะส่ิงอ่ืนได ดังพุทธพจนวา บุคคลชนะหมูมนุษยต้ังหน่ึงแสนคนในสมรภูมิ
ยังไมเช่ือวาเปนผูชนะสงครามอยางเด็ดขาด คนท่ีชนะตนเองไดเพียงคนเดียวน่ีสิ จึงช่ือวาเปนผู
ชนะสงครามไดเดด็ ขาด233๕

การสรางลักษณะความเปนผูบริหารใหกับตนเองเปนพื้นฐานเปนสิ่งสําคัญ โดยเฉพาะ
อยาง ยิ่งการวางตนใหเหมาะสม เอาชนะอกุศลในใจตนได มีธรรมประจําตนก็สามารถยึดเหน่ียว
นาํ้ ใจของ ผูใตปกครองได จงึ เปน มรรควธิ นี ําไปสูเปาหมายการปกครอง

คําสอนของพระพุทธเจาที่กลาวเก่ียวกับลักษณะของผูบริหาร ในพระพุทธศาสนา
ประกอบดว ยลักษณะ ดงั นี้คอื

ปาปณิกธรรม ๓ ซ่งึ ประกอบไปดว ย
๑. จักขุมา หมายถึง ผูบริหารท่ีมีวิสัยทัศนกวางไกลมีกระบวนการคิดที่รอบคอบ
และมีเหตุผลโดยอาจใชประสบการณ ในอดีตรวมในการตัดสินใจและวางแผนดวยซึ่งตรงกับ
ภาษาอังกฤษคําวา Conceptual Skill คือการชํานาญในการใชความคิดหรือทักษะทางดาน
ความคดิ
๒. วิธูโร หมายถึง ผูบริหารที่มีระบบการจัดการที่ดี มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน
จัดการธุระ ไดดวยความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน เชน นกั บริหารการศึกษา ตองมคี วามเช่ียวชาญ
ตามสายงานหนาท่ี คุณลักษณะขอสองนี้ตรงกับคําวา Technical Skill คือ ความชํานาญดาน
เทคนคิ หรอื กลยุทธ
๓. นิสสยสัมปนโน หมายถึง ผูบริหารที่มีมนุษยสัมพันธดี มีความสามารถในการ
ติดตอ ประสานงานใหงานสําเร็จลุลวงไปไดตามกรอบระยะเวลาท่ีกําหนด มีความสามารถใน

๔ องฺ.จตุกกฺ . (ไทย) ๒๑/๗๐/๑๑๕-๑๑๖.
๕ ข.ุ ธ. (ไทย) ๒๕/๑๐๓/๔๐.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๗๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

การสื่อสารและ ประสานงานใหฝายแตละฝายในองคกรดําเนินแนวทางตามกรอบทิศทางที่
องคกรตองการบรรลุได หรือมีความสามารถในการผูกใจคนใหเปนท่ีรักของคนพึ่งพาอาศัยคน
อื่นไดเพราะเปนคนมีมนุษยสัมพันธดี เชน นักบริหารการศึกษาไปตางเมืองก็มีเพ่ือนให
ชว ยเหลอื เพราะมเี ครดติ ดีผบู รหิ ารท่ดี ีตองผกู ใจคนไวได คุณลักษณะทสี่ ามนีส้ าํ คัญมาก ตรงกับ
คําวา คุณลักษณะท่ีสามน้ีสําคัญมาก ตรงกับคําวา Human Relation Skill คือความชํานาญ
ดา นมนษุ ยส มั พนั ธ234๖

ในพระสูตรนแ้ี สดงใหเ ห็นวา การเปนผูบริหารนน้ั จะตองประกอบดวยปญญา คือ มีหู
ตาไว และกวางไกลสามารถจําแนกบุคคลและเหตุการณอ อกวาเปนอยางไร ซ่ึงจะทําใหผ ูบรหิ าร
มีประสบการณ มีความชํานาญในการปกครอง เขาใจบุคคลหรือผูใตบังคับบัญชาไดเปนอยางดี
ซึ่งจะทําใหมี ผูสนับสนุนมากข้ึน แตคุณสมบัติท้ังสามประการน้ี มีระดับความสําคัญมากนอย
ตางกันไปตามระดับ ตําแหนงหนาท่ีขององคกรหรือหนวยงานวาเล็กหรือใหญขนาดไหน หรือมี
ความสําคัญเพียงใด โดยเฉพาะอยางยิ่งแลวผูปกครองรัฐหรือผูบริหารประเทศแลวนับวาเปน
องคกรที่ใหญ ผูบริหารหรือผูบริหาร จึงตองมีคุณสมบัติครบถวน จึงจะสามารถยึดศรัทธาของ
ผูใตบังคับบัญชาไวได สงผลใหผูรวมงานมี ความเชื่อมั่นนั้นยอมเปนเหตุที่จะนําไปสูเปาหมาย
เดียวกนั อยา งมีประสิทธิภาพ

ผบู ริหารประสานคนภายในดุลยภาพแหงธรรม หลักธรรมสําคัญ ท่ีชาวพุทธรจู ักกันดี
ซึ่งผูบริหาร แนนอนวาจะตองมี แมจะเปนเร่ืองงาย ๆ พ้ืน ๆ ก็ขาดไมไดหลักธรรมน้ันเรารูกันดี
วา คือ พรหมวิหาร ๔ ประการ พรหมวิหารเปนธรรมสําหรบั ทุกคนทจ่ี ะอยูรวมกับผูอ่ืนในสังคม
ในฐานะเปน “พรหม” คือเปนผูมีศักยภาพในการที่จะสรางสรรคและธํารงรักษาสังคมไว
โดยเฉพาะสําหรับผูบริหารนั้น แนนอนวาจะตองเปนแบบอยางที่จะตองมีพรหมวิหาร ๔
ประการ เพราะพรหมวิหารนั้นเปนธรรมประจําใจของคนที่มีจิตใจย่ิงใหญ เปนผูประเสริฐ อัน
แสดงถึงความเปนบุคคลท่ีมีการศึกษา ไดพัฒนาตนแลว พรหมวิหาร ๔ ประการเปนคุณธรรม
พื้นฐานที่จะตองใหมีอยูประจําในจิตใจและเปน ทาทีของจิตใจท่ีจะทําใหแสดงออกหรือปฏิบัติ
ตอผูอ ่ืนอยา งถูกตองโดยสอดคลองกับสถานการณทั้ง ๔ ท่ีประสบ กลาวคือ

๑. ในสถานการณที่เขาอยูเปนปกติ เราก็มีเมตตา คือ ความเปนมิตรไมตรี ความมี
น้ําใจปรารถนาดี ตอ งการใหเขามคี วามสุข ซ่ึงหมายถึงความปรารถนาดีตอผูอื่น ทั้งแตละคน ๆ ที่

๖ องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๔๕๙/๑๔๖.

๑๗๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

เราเก่ียวของ ขยายออกไปจนถึงความปรารถนาดีตอเพื่อนมนุษยหรือตอสังคมทั้งหมดท่ัวท้ังโลก
เมตตานี้ เปนคุณธรรมพ้ืนใจประการแรกท่ีตองมี ซึ่งใชในยามปกติ คือเมื่อคนอื่นเขาอยูกันเปน
ปกติ เรากม็ ีเมตตาปรารถนาดีคิดหาทางสรางสรรคความสุขความเจริญใหเขาเร่ือยไป

๒. ในสถานการณที่เขาตกตํ่าเดือดรอน เรากม็ ีกรุณา คือ ความพลอยรูสึกไหวตาม
ความทกุ ข ความเดอื ดรอน หรือปญ หาของเขา และตองการชว ยเหลอื ปลดเปลือ้ งใหเขาพน จาก
ความ ทุกข ความเดือดรอนนั้น กรุณาน้ตี างไปจากเมตตา คือเมตตาใชใ นยามปกติ แตเม่อื เขา
ตกต่ําลงไป กลายเปนเดอื ดรอ นเปนทุกข เราก็มกี รุณา ใฝใ จชวยบําบดั ทุกขใ ห

๓. ในสถานการณท่ีเขาขยับสูงขึ้นไปในความดีงาม ความสุขความสําเร็จ เราก็มี
มุทิตา หมายความวา เม่ือเขาเปล่ียนไปในทางขึ้นสูง ไดดีมีสุขทําสิ่งที่ถูกตองดีงาม ประสบ
ความสําเร็จ เราก็ยายไปเปนมุทิตา คือพลอยยินดีดวย ชวยสงเสริมสนับสนุนในวงการงาน
ตลอดจนการเปนผูบริหารท่ัวไปนั้น เรื่องที่สําคัญมากก็คือ เม่ือคนมีปญหา มีทุกขเดือดรอน
เชน เจ็บไขไดปวย หรือยากไรขาดแคลน กต็ องมีกรุณาทจ่ี ะเอาใจใสแ กปญ หา เมือ่ มีคนประสบ
ผลสําเร็จในการทําสิ่งดีงามทําใหอะไรตออะไรพัฒนากาวหนาไป ก็ตองมีมุทิตาชวยสงเสริม
สนับสนุนแตในยามปกติก็ตองไม ปลอยปละละเลย ตองเอาใจใสตอการท่ีจะใหเขาอยูดีมีสุข
เชน มีสุขภาพดี อยูในวิถีทางของความสุขความเจริญ และการพัฒนาสืบตอไป คือ ตองมี
เมตตาปรารถนาดีถาปฏบิ ัติไดอยางน้ีก็จะทําใหกิจการงาน และประโยชนสุขที่มุงหมาย พรอม
ท่ีจะสําเร็จผลหน่ึงก็จะเกิดข้ึนในตัวผูบริหาร คือ “ปโย” แปลวา “ผูเปนท่ีรัก” กลาวคือ
ผูรว มงาน หรือผรู วมไปดว ยกันหรือจะเรียกผูตามก็แลวแตก็จะมีความรัก มีความรูสึกสนิทสนม
สบายใจตอผูบริหาร น้ันเสริมความรูสึกอยากรวมไปดวยใหหนักแนนมากขึ้น ท้ังรวมใจและ
รวมมืออยางไรก็ตาม ปโยเทานั้น ไมพอปโยนั้นไดมาจากเมตตา กรุณา มุทิตา แตยังตองมีอีก
ขอหนง่ึ คอื อเุ บกขา

๔. ในสถานการณท่ีเขาทําผิดหลักหรือละเมิดธรรม เราก็มีอุเบกขา หมายความวา
เม่ือใดเขาทําอะไรไมถูกตอง โดยละเมิดธรรม คือ ละเมิดตอหลักการหรือละเมิดตอความ
ถูกตองทําใหเสียหลักเสียกฎเกณฑเสียความเปนธรรม เสียความชอบธรรม ทําลายกติกาเปน
ตน ผูบรหิ ารจะตองอยูในหลักที่เรยี กวา อเุ บกขา อุเบกขากค็ ือรักษาความเปนกลาง ไมล ําเอียง
ไมเขาขางหยุด การขวนขวาย ไมใหเกินขอบเขตไปจนกลายเปนเสียธรรม คอื การปฏิบัตติ อคน

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๗๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

หรือชวยเหลือคน จะตอ งไมใหเสยี ความเปนธรรม ไมใหเปนการทําลายหลักการ ไมใหเปนการ
ละเมิดตอ กฎเกณฑก ตกิ าที่ชอบธรรม235๗

นอกจากน้ีพระสารีบุตรเถระยังมีคุณลักษณะของผูสอนอยางที่เรียกวา องคคุณของ
กัลยาณมติ ร ซ่ึงมี ๗ ประการดังตอไปนี้

๑. ปโย - นารัก (ในฐานเปน ที่วางใจและสนิทสนม)
๒. คะรุ - นาเคารพ (ในฐานใหเกดิ ความรูสกึ อบอนุ ใจ เปน ท่พี ึง่ ได และปลอดภยั )
๓. ภาวะนโี ย – นายกยอง (ในฐานทรงคณุ คือความรูแ ละภมู ปิ ญญาแทจ รงิ )
๔. วะตะตา - รูจักพดู (คอยใหค าํ แนะนาํ วากลาวตักเตือน เปนท่ีปรึกษาท่ดี ี)
๕. วะจะนักขะโม - อดทนตอถอยคํา (พรอมท่ีจะรับฟงคําซักถามตาง ๆ อยูเสมอ
และสามารถรบั ฟง คาํ ไดด วยความอดทนไมเ บื่อ)
๖. คมั ภรี ัญจะ กะถงั กัตตา - (กลาวช้ีแจงแถลงเรือ่ งตา ง ๆ ทลี่ กึ ซึ่งได)
๗. โนจะฏะฐาเน นโิ ยชะเย - (ไมช กั จูงไปในทางท่เี สื่อมเสีย)236๘
พระผมู พี ระภาคเจาตรัสวา คณุ สมบัติเหลาน้ีมใี นผูใด ผนู ัน้ จัดวา เปน ผูใครป ระโยชน
คอื หวงั ประโยชนเ กือ้ กลู หวังอนุเคราะหอันผตู องการมติ รควรคบหาสมาคมไวเปนมิตร
พึงสังเกตดวยวา พระพุทธศาสนาถือวา ความสัมพันธของผูสอนท่ีมีตอผูเรียนน้ัน
อยูใน ฐานะเปนกัลยาณมิตร คือ เปนผูชวยเหลือแนะนําผูเรียนใหดําเนินกาวหนาไปในมรรคา
แหงการ ฝกอบรมองคคุณทั้ง ๗ นี้ เปนคุณลักษณะที่ผสู อนหรือครูผูมีความกรุณาโดยทั่วไปจะ
มีไดไ มจ ํากดั เฉพาะพระพุทธเจาเทา น้ัน
พระผมู ีพระภาคเจา ทรงแสดงคณุ สมบัตขิ องมติ ร (ทัว่ ไป) ไว ๗ ประการ คอื
๑. ใหส ง่ิ ท่ีใหไ ดย าก (เชน ใหของรักของพอใจ)
๒. ทาํ สงิ่ ที่ทาํ ไดยาก (เชน ทําอุปการะตอมิตรผูออกปากขอความชว ยเหลอื )
๓. ทนส่ิงท่ีทนไดยาก (เชน อดทนตอถอยคําอนั รุนแรงแตรูว าเขาพูดดวยความหวัง
ดี ตลอดถึงอดทนตอ ความผิดพลาดของมิตรท่มี ีตอเรา)

๗ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยตุ ฺโต), ผนู ํา, หนา ๔.
๘ พระราชวรมุนี (ประยุทธ ปยตุ ฺโต), เทคนิคการสอนของพระพทุ ธเจา, (กรุงเทพมหานคร: อม
รนิ ทรพริ้นตงิ้ กรุพ , ๒๕๓๐), หนา ๒๖.

๑๗๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๔. บอกความลบั ของตนแกเ พอื่ น
๕. ปกปด ความลับของเพื่อน
๖. ไมล ะท้งิ ในยามวบิ ตั ิ
๗. เมื่อเพ่อื นส้ินทรพั ยกไ็ มดหู มนิ่ 237๙
พูดถึงเร่ืองคุณสมบัติของผูแสดงธรรม ผูสอนธรรมโยงเลยมาถึงคุณสมบัติของมิตร
ตอ เน่อื งจากผูสอนในฐานะเปน กัลยาณมติ รของผูเ รยี นหรอื ผฟู ง
การสรางบรรยากาศใหเปนกัลยาณมิตรหรือ “ความเปนกันเอง”แตพอประมาณ
พอสมควรระหวางผูสอนกับผูเรียนนั้นเปนความสําคัญและจําเปนเพ่ือไมใหเครียดหรือเปน
ทางการ เกินไป ผูบริหารหรือผูปกครองจะตองตระหนักเปนอยางย่ิงเพราะจะตองรับผิดชอบ
ตอประชาชน หรือผูใตการปกครอง ในเตสกุณชาดก ไดแสดงใหเห็นถึงคุณสมบตั ิผูบริหารและ
ผปู กครองท้งั หลายซ่งึ สามารถสรุปยอ ลงได ดงั นี้
๑. ไมเปนคนเจาอารมณ ไมใชอารมณในการตัดสินปญหา มีใจดีไมทอดทิ้งงานมี
ความเพียรอุตสาหะในการงาน
๒. ฉลาดวางบุคคลใหเหมาะสมกับงาน รูประโยชนและโทษ รักษาความลับไม
ดําเนินชีวิตในทางที่ผิด รักษาเกียรติประวัติ รักษาประโยชนสวนรวม และตองรอบรูในกิจการ
คลังบริหารการคลังดวยตนเอง ไมควรไวใจใหคนอ่ืนจัดการ รูรายรับรายจายของแผนดินหรือ
ในกจิ การงานน้นั ๆ ท่รี บั ผิดชอบ
๓. บํารุงขวัญกําลังใจแกผูใตบังคับบัญชา ยกยองบุคคลผูควรแกการยกยอง ขมผู
ควรขมรูในส่ิงท่ีควรทํากอนทําหลัง ออกรับฟงปญหาหรือพบปะราษฎรอยูสมํ่าเสมอเพื่อรับฟง
ปญหาและทางแกไ ขหรอื ชี้แนะแนวทาง
๔. ออกติดตามผลงาน ตรวจตราดูแลความประพฤติของเจาหนาที่ ไมพึงมอบ
ภารกจิ ท่สี ําคญั ๆ แกผ ูอ น่ื และใชว จิ ารณญาณในการบรหิ าร
๕. ไมพ ึงละการบาํ เพญ็ ประกอบตนในศีลธรรมที่ดีงาม เพ่ือเปน แบบอยา งและยึดม่ัน
เปนขอปฏบิ ตั ิ ไมสําคญั ตนผิดวาย่ิงใหญในอาํ นาจ

๙ องฺ.สตตฺ ก. (ไทย) ๒๓/๓๓/๓๔.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๗๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๖. ไมลุม หลงในกามคุณ และโลกธรรมมีปญญา มกี ําลงั แหงสติเพราะจะเปนเครื่องชว ย
ใหผูบรหิ ารหรือผปู กครองสามารถฟน ฝาอปุ สรรคแกไขปญหาไปไดแมถึงคราวอับจน238๑๐

นอกจากคุณสมบัติท่ีมีในเตสกุณชาดกแลว ก็ยังมีคุณสมบัติของผูบริหารหรือ
ผูปกครองที่ดที ี่ปรากฏอยูใน กปช าดก สตั ตกนบิ าต ขุทฺทกนิกาย กลาวไววา

บัณฑติ ไมควรอยูในสถานท่ที ่ีคนคเู วรกันอยู เพราะบุคคลเมื่ออยูใ นระหวางคนเปนคู
เวรกัน คืนหน่ึงหรือสองคืนก็ตาม ยอมอยูเปนทุกขล ิงตัว หัวหนามีจิตเรรวน เพราะทําตามลิงท่ี
มจี ิตเรรวน มันไดทาํ ความพินาจใหแ กฝูงเพราะลิงตัวเดียวเปนเหตุ สัตวโงแ ตส ําคญั ตนวาฉลาด
เปนผูบริหารฝูงลิงอํานาจใจของตนเอง ก็จะตองนอนตายเหมือนอยางลิงตัวน้ีสัตวโงแตมีกําลัง
เปนผูบริหารฝูงไมดี เพราะไมเกื้อกูลแกหมูญาติ เหมือนนกตอไมเกื้อกูลแกนกทั้งหลาย สวน
สตั วฉลาดมกี ําลัง เปนผบู รหิ ารฝูงดี เพราะเก้ือกูลแกหมญู าติ เหมือนทาววาสวะเกื้อกูลแกหมู
เทพชั้นดาวดึงส สวนผูใดตรวจดูศีลปญญา และสุตะในตนผูนั้นยอมประพฤติประโยชนทั้ง ๒
ฝา ย คือ ท้ังตนและผูอน่ื 239๑๑

หากพิจารณาขอความท่ียกมากลาวนี้แลว ชี้ใหเหน็ วาผูบรหิ ารหรอื ผูปกครองท่ดี ีนั้น
จะตอง เปนผูมีศีลเพราะศีลเปนของผูมีปญญา แตถาผูบริหารและผูปกครองเปนผูไมมีศีลและ
ปญญาแลวก็เปนผูบริหาร หรือผูปกครองท่ีดีไมได มีแตความเลวลง แมแตญาติพ่นี องตลอดจน
เพ่ือนฝูงก็พากันรังเกียจ ในทางตรงขา มแลว ผูบริหารหรือผูป กครอง มีทั้งศีล ปญญา และสุตะ
อยูในตนแลว ก็จะเปนประโยชนใน การเปนผูท่ีดี ญาติพน่ี องตลอดจนเพ่อื นฝูงก็ใหความเคารพ
ดวยความออนนอมอยางแทจริง และในกูฏทันตสูตร สีลขันธวรรค ทีฆนิกาย ยังไดกลาวถึง
คณุ สมบัติของพระเจามหาวชิ ิตะผูปกครอง นครทดี่ ี ๘ ประการ ดังนี้ คอื

๑. ทรงเปนอุภโตสุชาต ทั้งฝายพระมารดาและพระบิดา มีพระครรภเปนที่ปฏิสนธิ
หมดจดดีตลอดเจ็ดชว่ั บรรพบุรุษ ไมมใี ครจะคดั คานติเตียนดวยอา งถึงพระชาติกาํ เนดิ ได

๒. ทรงมีพระรูปงาม นาดู นาเล่ือมใส ประกอบดวยพระฉวีวรรณผุดผองยิ่งนัก
มีพระฉวีวรรณคลายพรหม มีพระรปู คลา ยพรหม นา ดู นาชมไมนอ ย

๓. ทรงมั่งคง มีทรัพยมาก มีโภคสมบัติมาก มีทองและเงินมาก มีเคร่ืองใชสอยอัน
นา ปล้ืมใจมาก มที รพั ยแ ละธญั ญาหารมาก มพี ระคลงั และฉางเตม็ บรบิ รู ณ

๑๐ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๗/๑-๔๙/๕๙๕-๖๐๒.
๑๑ ข.ุ ชา. (ไทย) ๒๗/๖๑-๖๖/๒๖๖.

๑๗๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๔. ทรงมีกําลงั ทรงสมบรู ณดว ยเสนามีองค ๔ ซึง่ อยูในวินัย คอยปฏบิ ัติตามพระราช
บัญชามีพระบรมเดชานุภาพดังจะเผาผลาญราชศตั รูไดดว ยพระราชอิสรยิ ยศ

๕. ทรงพระราชศรัทธา เปนทายก เปนทานบดี มิไดปดประตูเปนดุจโรงทานของ
สมณพราหมณ คนกาํ พรา คนเดนิ ทาง วณพิ ก และยาจก ทรงบําเพ็ญพระราชกศุ ล

๖. ไดท รงศึกษา ทรงสดบั เร่อื งนน้ั ๆ มาก
๗. ทรงทราบอรรถแหงขอท่ที รงศึกษาและภาษิตนน้ั ๆ วา น้ีอรรถแหงภาษติ น้ี
๘. ทรงเปนบัณฑิต เฉียบแหลม ทรงพระปรีชาสามารถ ทรงพระราชดําริอรรถอัน
เปน อดีต อนาคต และปจจบุ นั 240๑๒
สรุปคุณสมบตั ิของพระเจามหาวิชิตราชได ดังน้ี คอื
๑. ทรงมชี าตติ ระกูลดี
๒. ทรงมีรูปรางงาม
๓. ทรงมพี ระราชทรพั ยม าก
๔. มกี ําลงั รบท่พี รอ มพรง่ั
๕. ทรงมพี ระราชศรทั ธาในการบริจาคทาน
๖. ทรงมกี ารศึกษาอบรมมามาก
๗. ทรงมีความรูกวางขวาง ละเอียดลึกซ่ึงเขาใจความหมายภาษิตตาง ๆ สามารถ
อธิบายความหมายได
๘. ทรงเปนผูฉ ลาดมปี ญ ญา
คุณสมบัติ ๘ ประการ ที่พระเจามหาวิชิตะทรงมีนี้ ทําใหบานเมืองรุงเรืองไดเพราะ
พระองคทรงปกครองแผนดิน โดยอาศัยพระปญญาและการศึกษาเปนสําคัญ นอกจากนี้
พระองคย ัง ทรงมขี าราชบริพาร ทีม่ คี ุณสมบตั ิของพราหมณปโุ รหิตทีด่ ี ๔ ประการ คือ
๑. เปนอุภโตสุชาต ท้ังฝายพระมารดาและพระบิดา มีครรภเปนที่ปฏิสนธิหมดจดดี
ตลอดเจด็ ชั่วบรรพบุรษุ ไมมใี ครจะคัดคานติเตียน ดวยอา งถงึ ชาติกําเนดิ ได
๒. เปนผูคงแกเรียน ทรงจํามนต รูจบไตรเภท พรอมท้ังคัมภีรนิฆัณฑุคัมภีรเกตุภะ
พรอมทั้งประเภทอักษร มีคัมภีรอิติหาสเปนที่ ๕ เปนผูเขาใจตัวบทเปนผูเขาใจไวยากรณ
ชํานาญใน คมั ภรี โลกายตะและมหาปรุ สิ ลักษณะ

๑๒ ท.ี สี. (ไทย) ๙/๒๑๓-๒๑๔/๒๓๐-๒๐๔.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๗๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๓. เปนผมู ีศีล มีศีลจาํ เริญมนั่ คง
๔. เปนบัณฑิต เฉียบแหลม มีปญญาเปนท่ี ๑ หรือท่ี ๒ ของพวกปฏิคาหกผูรับการ
บูชาดว ยกนั
คณุ สมบตั ขิ าบริพารทด่ี ีของพระเจามหาวิชิตะราชท้งั ๔ ประการ โดยสรุปไดแ ก
๑. ความเปนผมู ีชาตติ ระกูลดี
๒. ความเปน ผมู ีการศกึ ษาสงู ชาํ นาญในหนาที่ของตน
๓. ความเปนผมู ศี ลี
๔. ความเปน ผูฉลาดมปี ญ ญามาก
คุณสมบัติ ๔ ประการ ของพราหมณปุโรหิต ซึ่งเปนที่ปรึกษาทางการเมืองการ
ปกครอง ตอพระเจามหาวิชิตะ อันนับเปนคุณสมบัติท่ีสําคัญท่ีสงผลตอการถวายคําแนะนําที่
กอคุณประโยชนตอชาติบานเมือง จากท่ียกตัวอยางมาน้ีจะเห็นไดวาลักษณะของผูที่จะเปน
ผูปกครองนั้นยอมมี ความสําคัญย่ิงเชนเดียวกันกับพฤติกรรมที่แสดงออกมาภายนอก
เพราะฉะน้ัน ผูปกครองจึงจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองมีคุณสมบัติทั้งภายใน คือ จิตใจ และ
คณุ ธรรม สวนคุณสมบัติภายนอก คือ ความรู ความสามารถ และผูที่ใหการสนบั สนุน เปนตน
มีหลักพุทธธรรมอีกสวน คือ สัปปุริสธรรม ในสัปปุริสสูตร อุปริปญญาสก มัชฌิม
นิกาย ปรากฏพุทธโอวาทเรื่องธรรมของคนดี (สัตบุรุษ) คนท่ีสมบูรณแบบ หรือมนุษยโดย
สมบูรณ ซึ่งถือวา เปนสมาชิกท่ีดี มีคุณคาที่แทจริงของมนุษยชาติ มีธรรมะหรือคุณสมบัติที่
เรียกวา สปั ปุริสธรรม ๗ ประการ คอื
๑. ธัมมัญุตา รูหลักการ เมื่อดํารงตําแหนง มีฐานะ หรือจะทําอะไรก็ตามตองรู
หลักการ รูงาน รหู นา ท่ี รูกฎเกณฑก ติกาทเ่ี กย่ี วของ เชน อยางผปู กครองประเทศชาตกิ ต็ อง
รูหลักรัฐศาสตร และรูกฎกติกาของรัฐ คือกฎหมายตั้งแตรัฐธรรมนูญลงมาแลวก็ยืนอยูใน
หลกั การตง้ั ตนอยใู นหลกั การใหไ ดชุมชน สงั คม องคก ร หรอื กจิ การอะไรกต็ าม ก็ตอ งมีหลกั การ
มีกฎ มกี ตกิ า ทีผ่ บู ริหารจะตอ งรชู ดั แลวกต็ ง้ั มน่ั อยูในหลกั การนนั้
๒. อัตถัญุตา รูจุดหมายผูบริหารถาไมรูจุดหมายก็ไมรูวาจะนําคนและกิจการไป
ไหน นอกจากรูจุดหมายมีความชัดเจนในจุดหมายแลว จะตองมีความแนวแนมุงมั่นท่ีจะไปให
ถงึ จดุ หมายดว ย ขอนี้เปนคุณสมบตั ทิ ่ีสําคัญมาก เมื่อใจมงุ จดุ หมาย แมมีอะไรมากระทบกระท่ัง
ก็จะไมหว่ันไหว อะไรไมเก่ียวของ ไมเขาเปา ไมเขาแนวทางก็ไมมั่ววุนวาย ใครจะพูดวาดา

๑๗๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

เหน็บแนม เม่ือไมตรงเร่ือง ก็ไมมัวถือสา ไมเก็บเปนอารมณ ไมยุงกับเรื่องจุกจิกไมเปนเรื่อง
เอาแตเ รอ่ื งทเี่ ขา แนวทางสจู ดุ หมาย ใจมงุ สเู ปา หมาย อยา งชัดเจน และมงุ ม่ันแนวแน

๓. อัตตัญุตา รูตน คือ ตองรูวาตนเองคือใครมีภาวะเปนอะไร อยูในสถานะใดมี
คณุ สมบัติ มีความพรอม มีความถนัด สติปญญา ความสามารถอยางไร มกี ําลังแคไหน มีขอยิ่ง
ขอ หยอน จุดออนจุดแข็งอยางไร ซ่ึงจะตองสํารวจตนเอง และเตือนตนเองอยูเสมอ ทั้งนี้เพื่อ
ประโยชนใน การพัฒนาปรับปรุงตัวเอง ใหมีคุณสมบัติความสามารถย่ิง ๆ ข้ึนไป ไมใชวาเปน
ผูบริหารแลวจะเปนคนสมบูรณไมตองพัฒนาตนเอง ยิ่งเปนผูบริหารก็ยิ่งตองพัฒนาตนเอง
ตลอดเวลาใหน าํ ไดดยี ิง่ ขน้ึ ไป

๔. มัตตัญุตา รูประมาณ คือ รูจักความพอดี หมายความวาตองรูจักขอบเขต
ขีดขั้น ความพอเหมาะท่ีจะจัดทําในเรื่องตาง ๆ ทานยกตัวอยาง เชน ผูปกครองบานเมืองรูจัก
ประมาณในการ ลงทณั ฑอ าญา และการเก็บภาษี เปนตน ไมใชเอาแตจะใหไดอ ยางใจและตอง
รจู ักวาในการกระทํานั้น ๆ หรือในเรื่องราวนนั้ ๆ มอี งคประกอบหรอื มปี จ จัยอะไรเกี่ยวของบา ง
ทําแคไหนองคประกอบของ มันจะพอดี ไดสัดสวนพอเหมาะ การทําการตาง ๆ ทุกอยางตอง
พอดี ถาไมพ อดกี พ็ ลาดความดีจึงจะทําใหเกิดความสาํ เร็จที่แทจ ริง ฉะนน้ั จะตอ งรูองคประกอบ
และปจ จัยทเ่ี กีย่ วของ และจดั ใหล งตัวพอเหมาะพอดี

๕. กาลัญตุ า รูกาล คือ รูจกั เวลา เชน รูล ําดบั ระยะ จงั หวะ ปริมาณ ความเหมาะ
ของเวลาวา เรื่องนี้จะลงมือตอนไหน เวลาไหนจะทําอะไรอยางไร จึงจะเหมาะ ดังจะเห็นวา
แมแตการ พูดจาก็ตองรูจกั กาลเวลา ตลอดจนรูจกั วางแผนงานในการใชเ วลา ซึ่งเปนเร่ืองใหญ
เชน วางแผนวาสังคมมีแนวโนมจะเปนอยางน้ีในเวลาขางหนาเทานั้น และเหตุการณทํานองน้ี
จะเกิดข้นึ เราจะวางแผนรับมือกับสถานการณน้ันอยา งไร

๖. ปริสัญุตา รูชุมชน คือ รูสังคมตั้งแตในขอบเขตที่กวางขวาง คือ รูสังคมโลก
รูสังคมของประเทศชาติวาอยูในสถานการณอยางไร มีปญหาอะไร มีความตองการอยางไร
โดยเฉพาะ ถา จะชวยเหลอื เขากต็ องรปู ญหารูค วามตองการของเขา แมแ ตชุมชนยอย ๆ ถา เรา
จะชวยเหลือเขา เราตองรูความตองการของเขา เพ่ือสนองความตองการไดถูกตอง หรือแกไข
ปญ หาไดต รงจุด

๗. ปุคคลญั ุตา รูบ ุคคล คือ รจู ักบุคคลทเ่ี ก่ียวขอ ง โดยเฉพาะคนท่มี ารวมงานรว ม
การรวมไปดวยกัน และคนที่เราไปใหบริการตามความแตกตางเฉพาะตัว เพื่อปฏิบัติตอเขาได
ถูกตองเหมาะสมและไดผล ตลอดจนสามารถทําบริการใหความชวยเหลือไดตรงตามความ
ตองการ รูวาจะใชวิธีสัมพันธ พูดจาแนะนําติชมหรือจะใหเขายอมรับไดอยางไร โดยเฉพาะใน

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๗๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

การใชคน ซ่ึงตองรูวาคนไหนเปนอยางไร มีความถนัดอัธยาศัยความสามารถอยางไรเพ่ือใชคน
ใหเ หมาะกับงาน นอกจากน้ันกร็ ูประโยชนที่เขาพึงได เพราะวาในการทาํ งานนั้นไมใชว าจะเอา
เขามาเปนเพียงเครื่องมือทํางานได แตจะตองใหคนที่ทํางานทุกคน ไดประโยชนไดพัฒนา
ตัวเอง ผูบริหารควรรูวาเขาควรจะไดประโยชนอะไรเพ่ือความเจริญงอกงามแหงชีวิตที่แทจริง
ของเขาดว ย ท่ีกลาวมาน้ี คือหลักธรรมท่ีเรียกวา สัปปรุ ิสธรรม ๗ ประการ241๑๓ ถามีคุณธรรม ๗
ประการนี้ แมจะไมมีคุณสมบัติขออ่ืนก็เปนผูบริหารไดเพราะรูองคประกอบและปจจัยตาง ๆ
ท่ีเกี่ยวของอยางเพียงพอท่ีจะจัดการใหไดผล สามารถจัดวางวิธีปฏิบัติการท่ีเหมาะสมให
บรรลุผลสําเร็จได สว นคุณสมบัติอยา งอื่นก็มาเสรมิ 242๑๔

๘.๓ แนวคดิ เกยี่ วกบั ความเปน มาของผบู รหิ ารในพระพทุ ธศาสนา

ความคิดเหน็ ของอินเดยี โบราณแบงแยกออกเปน ๒ สาย คือ สายยดึ ถือคัมภีร พระ
เวทอีกพวกไมยอมรับความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีรพระเวท ฝายท่ียอมรับคัมภีรพระเวทยอมรับ
ความคิดเรื่อง พระผูเปนเจาและเทวะตาง ๆ ซ่ึงมีฤทธานุภาพและฐานะเหนือมนุษย ในสมัยท่ี
ฐานะของกษัตริยเริ่มสูงขึ้น ตอนปลายสมัยพระเวทเริ่มมีความคิดกษัตริยเปนตัวแทนของเทพ
เจา ความคิดเรอ่ื ง เทวราชาเจริญอยา งเห็นไดช ัดในสมัยราชวงศโมรยิ ะ การกระทําของกษตั ริย
ตอ งยดึ ถอื ลักษณะตา ง ๆ ของเทพเจาจึงจะเปนการปกครองทีส่ มควร243๑๕

พระพุทธศาสนาเกิดขึน้ ทามกลางประเพณนี ิยมอินเดียโบราณและเปน ยคุ ที่ปกครอง
บานเมืองดวยระบอบราชาธิปไตยและสมบูรณาญาสิทธิราช ซึ่งพระมหากษัตริยทรงมีอํานาจ
เด็ดขาด และโดยที่ประเพณีนิยมถือวา พระมหากษัตริยเปนนักรบมีหนาท่ีปองกันบานเมือง
และเปนนัก ปกครองพระพุทธศาสนาไดแบงแนวความคิดเก่ียวกับผูบริหารมีปรากฏใน
ประวัติศาสตร ๒ ลักษณะ ธรรมราชาและสมมติเทวราชา ความคิดดังกลาวแตกตางกับ
ความคดิ แบบเทวราชาของพราหมณม ี รายละเอยี ดดงั ตอ ไปน้ี

๑๓ ที.สี. (ไทย) ๙/๒๑๓-๒๑๔/๒๓๐-๒๐๔.
๑๔ พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยุตฺโต), ผูนาํ , หนา ๒๐.
๑๕ สุรศักด์ิ มวงทอง, “พุทธธรรมกับภาวะผูนําที่พ่ึงประสงคศึกษาเฉพาะกรณีกํานันและ
ผูใหญบาน จังหวัดนครศรีธรรมราช”, วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล, ๒๕๔๓), หนา ๓๕.

๑๘๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๑) พระธรรมราชา
ในขณะที่ธรรมตามหลักพุทธธรรมแสดงความเปนสากลท่ีทุกคนพึงปฏิบัติธรรม
อยาง เดียวกันใครปฏบิ ัตไิ ดม ากก็อยูในฐานะสูง ย่งิ อยใู นฐานะสูงก็ย่ิงหวังวาจะตองประพฤติให
สูงตามไปดวย หากประพฤติตนไมอยูในธรรมก็จะถูกโลกตําหนิยิ่งกวาเม่ือคนวรรณะตํ่า
ประพฤติผิดกษัตริยจึงตอง ประพฤติธรรมและเผยแพรธรรมซึ่งก็ตองรวมหนาท่ีเปนพระอัคร
ศาสนปู ถัมภกไปดว ยโดยปริยาย กษตั ริยในความหมายเชนนี้ จึงไดช่ือวา เปนธรรมราชา ศาสนา
พราหมณผนวกความเชื่อเรื่องเทพเจา เขากับลักษณะของกษัตริย และโยงวรรณะกษัตริยเขา
กับพระผูเปน เจา จึงเกิดความคดิ แบบเทวราชาดังกลาวมาแลว สว นพระพุทธศาสนาไมย อมรับ
ความศักด์ิสิทธิ์ของคัมภีรพระเวท จึงไมยอมรับการเกิด วรรณะจากพระผูเปนเจา และมิไดให
ฐานะอันสําคัญแกเทพเจาท้ังหลาย หากแตกําหนดวาความเปน เทพก็เกิดจากบุญอันบุคคลได
กระทํา คนธรรมดาก็อาจสูงสงเทาเทพและพรหมไดหากประพฤติธรรม สูงพอ ดังนั้นพระเจา
แผนดินท่ีดีจึงเปนสมมติเทพคือเทียบไดกับเทพในแงการปฏิบัติธรรม และมีสิทธิ์ในการ
ปกครองเพราะคุณธรรมดังกลาว หากปราศจากคุณธรรมและสอนผูอื่นก็มีสิทธิโคนลมเสียได
ดังนั้น ธรรมราชาจึงตองปกครองโดยเนนการปฏิบัติตามธรรมและสอนผูอ่ืนใหประพฤติธรรม
มากกวา ปลอยใหป ระชาชนเดือดรอ นแลวใชอ ํานาจปราบปรามเม่อื ประชาชนทําผดิ ยิ่งกวานั้น
นอกจากธรรม ราชาไมถืออํานาจเปนเครื่องมือปกครองแลวยัง ทรงควบคุมพระองคมิใหลุแก
อํานาจหรือให ความสําคัญแกฐานะอันสูงสุดของพระองคย่ิงกวาความสุขของประชาชนดังจะ
เห็นไดจาก พรหมวิหารและธรรมหลายขอในทศพิธราชธรรม เม่ือกษัตริยปฏิบัติพระองคตาม
ธรรมดังกลาวน้ีแลว ยอมไมใชอํานาจในทางที่ไมเปนธรรมแมจะทรงพระราชอํานาจอยูสัก
เพยี งใด อาจเปน เหตุใหพระพุทธ
องคทรงเห็นวาเพียงพอสําหรบั นกั ปกครองแวน แควน ตาง ๆ ๑๖244
พระพุทธศาสนาจึงไดรับอิทธิพลเร่ืองของผูบริหารจึงไดมีการประยุกตพัฒนา
คณุ ภาพของผูบริหาร ตามแนวพุทธธรรมในพระพทุ ธศาสนา โดยใหผ ูปกครองนาํ หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาไปใช เพ่ือมุงสรางสรรคสังคมมนุษยเปนสังคมที่มีระเบียบใหอยดู วยความสงบ
สุข เปน ทนี่ าสงั เกตวา เหตใุ ดพระพทุ ธศาสนาจึงตอ งการใหผูบรหิ ารมคี ุณธรรมเปน พิเศษ เหตุที่

๑๖ พระครูสิริจันทนิวิฐ, (บุญจันทรเขมกาโม), ภาวะผูนําเชิงพุทธ, (กรุงเทพมหานคร: นิติธรรม
การพมิ พ, ๒๕๔๙), หนา ๓๗-๓๘.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๘๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

เปนเชนน้ีเพราะพระพุทธศาสนาให ความสําคัญตอผูบริหารมากเพราะผูบริหารมิใชเปนเพียง
ผูบริหารในทางการเมืองเทาน้ัน แตเปนศูนยกลาง ที่ทําใหเกิดความเคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลงที่
สําคัญเพราะเปนผทู ่ีตองนําสังคมดวย ดังน้ันถาผปู กครองมี คุณธรรมสังคมก็จะอยูดว ยสันติสุข
ประชาชนก็จะถือเอาตัวอยางคุณธรรมของผูบริหารไปปฏิบัติ เปนท่ี ประจักษวาถาประเทศใด
มีผูนํ้าท่ีมีความรูความสามารถและมีคุณธรรม ประเทศน้ันบานเมืองนั้นก็จะ เจริญกาวหนา
สังคมก็จะไมเดือดรอนจากการไดศึกษาประวัติศาสตรสมัยการปกครองของพระเจา อโศก
มหาราชแหงอินเดียพระองคทรงการปกครอง ดํารงมั่นอยูในหลักธรรมของพระพุทธศาสนามี
ธรรมทศพิธราชธรรม ฉะนั้นคุณธรรมของผูบริหารจึงเปนส่ิงท่ีปรารถนาวาผูบริหารไมมี
คุณธรรมแลวผูบริหารนั้นก็ อาจจะใชอํานาจตามความพอใจ และอาจสามารถเปลี่ยนแปลง
อุปนิสัยจากคนท่ีมีเมตตากรุณา กลายเปนคนท่ีโหดรายสรางความเดือดรอนใหกับประชาชน
ประเทศชาติขาดความเปนเอกภาพ พระองคจึงทรงนําหลักเบญจศีลและเบญจธรรมมาปฏิบัติ
อยา งเครง ครดั ไดแ ก245๑๗

๑. เวนจากการฆา สัตว
๒. เวน จากการถือเอาสง่ิ ของท่ีเขามิไดให
๓. เวน จากการประพฤตผิ ิดในกาม
๔. เวน จาการพูดเทจ็
๕. เวนจากการดม่ื นาํ้ เมา คือสุราและเมรัย246๑๘
สว นเบญจธรรมหรือเบญจกลั ยาธรรมนน้ั คือธรรมอันดีงาม ๕ อยาง ไดแ ก
๑. เมตตาและกรุณา ความรักใครปรารถนาใหมีความสุขความเจริญและความ
สงสารคดิ ชวยใหพ น ทกุ ข
๒. สมั มาอาชีวะ การเล้ียงชพี ในทางสุจรติ
๓. กามสังวร กามสังวรในกาม ความสํารวมระวังรูจักยับย้ังควบคุมตนในทางกาม
อารมณไมใ หหลงใหลไปในรปู เสียง กล่นิ รส และสมั ผสั
๔. สจั จะ ความสัตย ความซ่ือตรง

๑๗ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๒๘๖/๒๔๗, องฺ.ปฺจก. (ไทย) ๒๒/๑๗๒/๒๒๗.
๑๘ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕๙/๒๘๔.

๑๘๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๕. สติสัมปชัญญะ ระลึกไดและรตู ัวอยูเสมอคือ ฝกตนใหรูจักคิด รูสึกตัวเสมอวาส่ิง
ใดควรทาํ และสงิ่ ใดไมค วรทาํ

กลาวโดยสรุป พระพุทธศาสนาเสนอหลักธรรมใหผูบริหารเพื่อพัฒนาความเปน
ผูบริหาร โดยการใชหลักพุทธธรรม ถาผูบริหารท่ีไมมีคุณธรรมผูบริหารใชอํานาจตามความ
พอใจ อาจเปลย่ี นแปลงอุปนิสัยจากคนท่ีมคี วามเมตตากลายเปน คนโหดรายได

๒) ลักษณะของเทวราชา
พระพุทธศาสนายอมรับความสําคัญของกษัตริยในแงท่ีเปนเทพเจาโดยสมมติ คือ
โดยการยอมรับของประชาชน ไมใชเทพที่อยูบนสวรรคตามความเขาใจของลัทธิพราหมณ
เพราะ พระพุทธศาสนาเกิดข้ึนทามกลางประเพณีนิยมอินเดียโบราณซึ่งถูกครอบงําดวยลัทธิ
พราหมณแตไมทั้งหมด ท้ังน้ีพระพุทธศาสนายังคงมีจุดยืนมีความเปนตัวของตัวเอง โดยให
เหตุผลอธิบายเทพไว ๓ ประเภท ดังน2ี้47๑๙

๑. สมมตเิ ทพ คือ (God by convention) เทพเจาโดยสมมติ โดยการยอมรับ
ของมนุษยโลก ซ่ึงหมายถงึ กษัตรยิ ทรงเปนกายทอ่ี ยเู หนือมนุษยดวยธรรม

๒. อปุ ตตเิ ทพ คือ (God by rebirth) เทพเจาโดยกาํ เนิด ซ่ึงสถิตอยูบนสวรรค
๓. วสิ ุทธิเทพ คอื (God by purification) เทพเจาโดยความบริสุทธิ์ซ่ึงเกิดจาก
การกระทําของตนเองอันไดแกพระพุทธเจาและพระอรหันตท้ังหลาย
ลักษณะสําคัญของผูบริหารในฐานะเทวราชา คือ การยกอํานาจสิทธิ์ขาดใหเปน
ผูยิ่งใหญ เปนผูดูแลรักษาความสงบ ปราบปรามเหตุการณใหอยูในความสงบ ดําเนินการ
บริหารกิจกรรมตาง ๆ เพ่ือประโยชนส วนรวม หรือสมาชิกภายใตการดูแลบนพ้ืนฐานของหลัก
พุทธธรรม พระองคผูเปนเทวราชา มีคุณธรรมที่เปนเอกลักษณสําคัญ คือมีความกลาหาญ
เฉพาะในส่ิงท่ีเปนธรรมตาม ทศพิธราชธรรม สิ่งที่เหมือนกันในเทวราชา และธรรมราชา มิใช
เพียงสถานสูงสุดในสังคม แตขึ้นกับ เง่ือนไขท่ีเทาเทียมกันกับทุกๆ คนในฐานะสมาชิกอยูรวม
ในสังคม คือ การประพฤติธรรม ในฐานะผูบริหาร คือ พันธกรณีในการดูแลทุกขสุขของอาณา
ประชาราษฎรดังนั้นกลาวโดยสรุปประชาชนคนธรรมดา ถากระทําความดีก็อาจไดรับการยก
ยองยอมรับนับถือสมมติเปนเทพ ไดแกกษัตริยในยุคน้ัน เปนการ ปฏิรูปความคิดของลัทธิ

๑๙ พระครูสริ ิจนั ทนวิ ฐิ (บญุ จันทร เขมกาโม), ภาวะผนู าํ เชิงพุทธ, หนา ๒๖.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๘๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

พราหมณท ่วี าคนธรรมดาก็อาจเปน เทพเจาได ถาเขาปฏิบตั ติ นเปนคนดี จนเปนท่ยี อมรับนบั ถือ
ของคนโดยทวั่ ไปในกระบวนการบริหาร เปนท่ยี อมรับกันวาผบู ริหารหรอื ผบู รหิ ารมีบทบาทอัน
สําคัญย่ิงในการที่จะทําใหงานบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย ดังนั้น บทบาทหรืออํานาจ หนาที่
ของผูบริหารหรือผูปกครองจึงไดมีผูศึกษา และกลาวถึงเสนอแนะไวมากมายดังกลาวแลวใน
พระพุทธศาสนาก็ไดกลาวถึงเร่ืองนี้ไวในพระสุตันตปฎก เชน มหาโคปาลสูตรและจูฬโคปาล
สูตร จักรวรรดวิ ัตรกูฎทนั ตสูตรมเี นอ้ื ความกลาวถงึ เรอ่ื งนไี้ วจะไดศ ึกษาดงั นี้

๑) มหาโคปาลและจูฬโคปาลสูตร248๒๐ พระพุทธเจาทรงยกเปนอุปมาเปรียบเทียบ
ภิกษุ ผูท่ีจะเขาถึงฝงนิพพาน มีความเจริญในพระธรรมวินัยไดนั้น จะตองประกอบดวย
ลกั ษณะ ๑๑ ประการ ดังขอความนี้

นายโคบาล เปนผูควรจะครอบครองฝูงโค ควรทําฝูงโคใหเจริญไดด ูกรภิกษุท้ังหลาย
นายโคบาลในโลกน้ี รูจักรูปฉลาดในลักษณะเปนผูคอยเข่ียไขขังปดบังแผลสุมควัน ใหรูจักทา
รูจักใหโคด่ืมนํ้า รูจักทางฉลาดในสถานที่โคเท่ียวหากิน รีดนํ้านมใหเหลือไวบูชาโคท่ีเปนพอฝูง
เปนผูบริหารฝูง ดวยการบูชาเปนอดิเรก ดูกรภิกษุท้ังหลายนายโคบาลประกอบดวย องค ๑๑
ประการน้ี เปน ผูควรจะครอบครองฝูงโค ควรทําฝูงโคใหเ จริญ249๒๑

พุทธพจนน้ี มีคําอธิบายแนวทางบทบาทหนาที่ของการเปนผูบริหารท่ีถูกตองตาม
หลักพุทธธรรมทีน่ าํ มาประยกุ ตขยายความดังน้ี

๑. การรูจักรูป ผูบริหารจะตองรูจักและเขาใจผูรวมงาน หรือผูใตบังคับบัญชา
ในฐานะของสมาชิกขององคกร ความรูน้ีนอกจากจะสรางความสนิทกันแลว ยังกอใหเกิดมิตร
ไมตรตี อ กันเขา ใจความตองการประวัติพืน้ เพของมวลสมาชิก

๒. ฉลาดในลักษณะ เม่ือผูบริหารรูจักรูตัวบุคคล ก็จะสามารถพิจารณาจัดสรร
ตาํ แหนง งานตา ง ๆ ใหเ หมาะสมกบั บุคคลการทาํ งานภายใตการแนะนํามอบหมายกจ็ ะสัมฤทธผ์ิ ล

๓. คอยเข่ียไขข ังผูบ ริหารสามารถแสดงศกั ยภาพของตนได จากการแกไขปญหา
ขอ บกพรองตาง ๆ โดยเฉพาะอยางย่ิงเปนพื้นฐานตอ ความเช่อื ถือในอํานาจ

๔. คอยปดบังแผล ผูบริหารจะตองมีความระมัดระวัง สํารวจตรวจตรามิใหเกิด
ความเสยี หายอนั เปน การทําลายช่ือเสียงของสมาชิกในสังคม ปองกนั มใิ หปรากฏออกมาภายนอก

๒๐ ม.ม.ู (ไทย) ๑๒/๓๕๘/๒๙๒.
๒๑ ม.มู.(ไทย) ๑๒/๓๘๕/๒๙๒.

๑๘๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

๕. สุมควันผูบริหารจะสามารถของตนแกผูอ่ืนอยางถูกตอง ในแงการนิเทศงาน
แกม วล สมาชิก ตองอาศยั ประสบการณแ ละภาวะผูบริหาร

๖. รูจักทา (น้ํา) ผูบริหารจะตองรูจักแสวงหาความรู รูจักจัดความคิดในการ
ทํางานมีคณะทาํ งานท่ีดี มีคณะท่ปี รกึ ษาในกจิ กรรมตา ง ๆ เพอ่ื ประโยชนแกมวลสมาชกิ

๗. รูว าโคกนิ นาํ้ แลวหรือยังผบู รหิ ารจะตองรูจักกระบวนการพัฒนาใหโอกาสแก
ความคิด รเิ ริม่ สรา งสรรคข องสมาชกิ ดวยการอบรม เพมิ่ พนู ความรูฝก ฝนทกั ษะอาชพี

๘. การรูทางผูบริหารจะตองรูแนวทางในการบริหารจัดการ ขณะเดียวกันก็
จะตอ งรูจักจุดรวมของชวี ิตมนษุ ย โดยนาํ พาสมาชกิ ของตนไปสูจุดหมายของชีวติ รวมกัน

๙. ฉลาดในสถานที่โคจร ผูบริหารจะตองสามารถประเมินศักยภาพของกลุม
ดว ยการ กาํ หนดเปา หมาย วางแผนการทาํ งานและแนวทางปฏบิ ัตจิ นกวา จะบรรลวุ ัตถปุ ระสงค

๑๐. รีดนมใหเหลือไว ผูบริหารจะตองคํานึงถึงประโยชนของมวลสมาชิก รูจัก
ประสาน ประโยชนนําเดินกิจรรมของกลุมดวยความพอเหมาะพอดี รักษาสมดุลระหวางการ
ใหกบั การรบั

๑๑. การบูชาโคท่ีเปนพอฝูง หรือจาฝูง ผูบริหารจะสามารถเสริมภาวะของ
ตนเองให เดนชัด ดวยการรูจักใหบําเหน็จรางวัลแกผูทํางานดี มีคุณธรรม อันเปนการสราง
เสริมความเชื่อถือตอ ผูบริหาร และเปนกําลังใจในการทํากิจกรรมตาง ๆ ของกลุมและมวล
สมาชกิ 250๒๒

กลาวโดยสรุปขอความขางตนผูบริหารมีความสําคัญอยางมากท้ังในแงการ
บริหารงานคือ มีการวางแผนการทํางานการนําแผนไปปฏิบัติ และการประเมินผล ขั้นตอน
หรือวิธีการดังกลาวน้ี มีความแตกตางกันไปตามภาวะผูบริหารแตละบุคคล แตส่ิงท่ีจะแสดงถึง
ภาวะผูบริหารที่พึงประสงคตาม หลักธรรมอันนําไปประยุกตใหเกิดผล มิใชเพียงสรางความ
มนั่ คงกบั ฐานอาํ นาจหรือตาํ แหนง สถานะของผบู รหิ ารในกลุมเทานั้น แกนแทของหลกั ธรรมได
แสดงใหเห็นภาวะของผูบริหาร ซึ่งตองเปนบุคคลที่ฉลาด รอบรู มีความมุงหมายในการทํา
กิจกรรมตาง ๆ เพ่ือประโยชนแ กส วนรวมและมวลสมาชิก

๒๒ นนั ทวรรณ อิสรานุวฒั นช ยั . “ภาวะผนู ําที่พึงประสงคใ นยคุ โลกาภิวัฒน: ศกึ ษาจากหลกั พุทธ
ธรรม”, การประชมุ วชิ าการระดับชาติ ครั้งท่ี ๔ และนานาชาติ ครง้ั ท่ี ๒ (๙ ธนั วาคม ๒๕๖๒): ๔๓.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๘๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๒) จักรวรรดิวัตร251๒๓ คือ การบําเพ็ญกรณีจะกิจของจักรพรรดิ คือการมีบทบาท
ปฏิบัติ หนาท่ขี องผูป กครองทยี่ ิ่งใหญ เปนหลักธรรมทช่ี วยใหผปู กครองดําเนินกุศโลบายในทาง
การเมืองเพอ่ื จะปกครองหรือบริหารบานเมืองใหมีความเจรญิ กา วหนา มี ๑๒ ประการ คอื

๑. ใหยดึ ถอื หลักธรรมเปน ธงชยั ในการปกครองประเทศ เคารพยาํ เกรงธรรม
๒. ใหความคุมครองรักษาอันเปนธรรมแกอันโตชน หรือ ชนภายใน เชน พระ
มเหสี พระราชโอรส พระธิดาตลอดถึงผูปฏิบัติราชการในพระธรรมองคทงั้ หมด โดยการอบรม
สัง่ สอนใหอ ยู ในความสงบเรยี บรอยดีงามเปนตน
๓. ใหความคุมครองรักษาแกกําลังพล เชน ทหาร ขาราชการตํารวจ โดยเปน
ธรรม
๔. ใหความคุมครองแกกษัตริยท่ีเปนเมืองขึ้น ตลอดถึงชนช้ันผูปกครองและนัก
บริหาร ช้นั ผใู หญท ง้ั หลาย
๕. ใหความคุมครองแกอนุโตชน หรือขาราชการบริพารตามเสด็จในสมัย
ปจ จุบันก็คอื ขาราชการพลเรอื น
๖. ใหความคุมครองแกช้ันเจาพิธี ผูประกอบอาชีพวิชาการ พอคาเกษตรดวย
วธิ กี าร จดั หาทนุ ทรพั ยและอปุ กรณในการประกอบอาชีพ เปน ตน
๗. ใหความคุมครองแกราษฎรท้ังปวง ทั้งในเมือง ชนบทและชายแดน โดยเปน
ธรรม เสมอเหมือนกนั
๘. ใหค วามรคู มุ ครองแกพ ระสงฆ บรรพชิต สมณะชพี ราหมณ
๙. ใหความคุม ครองแกน ก และเนอ้ื สตั วทค่ี วรสงวนท้ังหลาย
๑๐. หามปองกันมิใหเกิดการอันอธรรมทุกชนิดเกิดข้ึนในพระราชอาณาจักร
ปราบปรามผูมีอิทธิพลตาง ๆ มิใหมีการกระทําทุจริต ผิดกฎหมายบานเมืองอันจะกอใหเกิด
ความ เดอื ดรอ นแกประชาชนอยใู นรัฐโดยเด็ดขาด
๑๑. ธนานุประธานแบงปนทรัพยเฉลี่ยใหแกประชาชนผูยากไร มิใหขัดสนขาด
แคลน อยูในแวนแควน โดยไมไดรับการเหลียวแลชวยเหลอื ตามสมควร หรอื การกระจายรายได
ใหแกประชาชนสม่ําเสมอกันมากที่สุดที่จะทําได ไมปลอยใหความเจริญกระจุกอยูเฉพาะสวน
ใดสวนหนึง่ ของประเทศเทา นน้ั

๒๓ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๓๕/๔๕-๔๖.

๑๘๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๑๒. สมณะพราหมณปริปุจจฉา มีความสนใจศาสนาและศีลธรรมหมั่นปรึกษา
ไตถาม สมณพราหมณผูประพฤติดีปฏิบัติชอบ นักวิชาการผูมีความรูดีความสามารถดี ตอง
แสวงหาปญญา ความรูและคุณธรรมอยูเสมอ มีที่ปรึกษาทด่ี ี บริสุทธิ์ มีคุณธรรม เพอ่ื ใหรูช ัดใน
ส่งิ ทีค่ วรกระทาํ และในส่งิ ท่คี วรเปน

กลาวโดยสรุป ขอธรรมขางตนผูปกครองมีบทบาทหนาที่ในการคุมครองทุกสรรพ
ส่ิงแสดง ใหเห็นวาผูบรหิ ารมีความสําคัญตอระบบการปกครองที่ดแี ละไดก ลา วไวอยา งละเอียด
โดยนอกจากจะมองที่พฤติกรรมการแสดงออกในลักษณะตาง ๆ แลวยังมองท่ีลักษณะรูปราง
ของบุคคลมาประกอบดวย เพราะถอื วาสิ่งท่ีปรากฏในปจจบุ ัน ก็คอื ผลจากการกระทาํ จากอคติ
น้นั เอง ฉะนั้นพื้นฐานของบุคคลจากอคติยอมบงบอกถึงอนาคตไดเ ปน อยา งดี ดว ยเหตุน้ี ผูท่อี ยู
ในฐานะผูบริหารหรอื ผูปกครองที่ดีตามแนวพระพุทธศาสนาจะตองมีบทบาทหนาทค่ี รบถวนซ่ึง
อาจจะกลา วไดว าเปนปทสั ถานในการปฏิบัติตน ดงั ทไ่ี ดก ลา วมาในขา งตน น้นั

๓) กูฎทันตสูตร252๒๔ แสดงถึงบทบาทหนาที่ในการบริหารกิจการบานเมืองของ
ผบู รหิ ารใน ฐานะผปู กครองรัฐ สูตรนี้ไดกลาวถึง สาเหตขุ องอาชญากรรม และแนวทางแกไขที่
จะทาํ ให อาชญากรรมน้ันหมดไป จะตอ งทําใหส มาชิกในฐานะประชาชนในรัฐมีความเปนอยูที่
ดี ชาวบานจะตอ งมีกิน ชาวนาจะตอ งไดส่ิงทจี่ าํ เปน แกการทาํ นา พอคาจะตองมที นุ ลูกจา งผูใช
แรงงานมีงานทํา มีเงินไดพอเล้ียงชีพ คนเดือดรอนควรท่ีจะไดรับการยกเวนภาษี ทําให
ประชาชนมรี ายไดพ อเพียง วธิ ีการท่ีผบู รหิ ารตอ งปฏิบตั ดิ งั ตอ ไปนี้

๑. พลเมืองเหลาใด ในบานเมืองพระองค ขมีขมันในกสิกรรมและโครกฺกรรม
ของ พระองคจงเพมิ่ ขา วปลูกและขา วกินใหแกพลเมืองเหลา น้ันในโอกาสอันสมควร

๒. พลเมืองเหลาใด ในบานเมืองของพระองค ขะมักเขมนในพาณิชยกรรม
ของพระองคจงเพมิ่ ทุนใหแกพลเมืองเหลา นัน้ ในโอกาสอนั สมควร

๓. ขาราชการเหลาใดในบานเมืองของพระองคจงพระราชทานเบ้ียเลี้ยงและ
เงินเดือน แกข า ราชการเหลา น้นั ในโอกาสอันสมควร

๒๔ ที.ส.ี (ไทย) ๙/๑/๒๐๐.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๘๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

กลาวโดยสรุปผูบริหารตองดําเนินการใด ๆ มีความเก่ียวพันกับความเปนอยูของ
มวลสมาชิก ถาผูบริหารดีนั่นหมายถึงตองสามารถจัดการกับปญหาตาง ๆ บําบัดทุกขบํารุงสุข
ของอาณาประชาราษฎร ไดนับเปนการนําหลักพุทธธรรมมาใชในการบริหารประเทศและ
สะทอนใหเ ห็นถงึ ภาวะความเปนผูบริหารที่พงึ ประสงคข องมวลสมาชกิ

หลักการสาํ คัญของผูบรหิ ารในพระสุตนฺตปฎก ไดพัฒนาวิวฒั นกระบวนการของหมู
มนษุ ยใน ฐานะผูบรหิ ารและสมาชิกของสังคมในยุคสมัยตาง ๆ ทีก่ ลาวอางถงึ มาท้ังหมดขางตน
ดงั นี้

๑. เม่ือมนุษยเหลานั้น ดํารงชีพอยูดวยปจจัยเลี้ยงชีพพื้นฐาน คือ อาหาร ซ่ึง
สามารถ หาเอาไดจากพื้นดินอันอุดมสมบูรณ ยังไมรูจักการสะสม เพราะยังไมมีความจําเปนตอง
สะสมทรัพยสินสวนบุคคลจึงไมมี ทรัพยากรท่ีมีอยูจึงเปนกรรมสิทธิ์สวนรวมปญหาความขัดแยง
ตา ง ๆ จงึ ยังไมเ กดิ ขึน้

๒. มนุษยยุคบรรพกาลยังมีความดีพรอมแตมนุษยเหลานั้นตองสูญเสียความดีไป
เมื่อมี ความแตกตางกนั เกดิ ขน้ึ โดยเฉพาะ คือ ความแตกตางทางผิวพรรณ จงึ เกิดความชั่ว คือการ
ดหู มิน่ เหยยี ดหยามกันมากข้ึน ความดจี งึ เริ่มถูกบดบงั

๓. การสืบพันธเปนสัญชาติญาณด้ังเดิม และเปนเหตุใหเกิดครอบครัวเมื่อเกิด
ครอบครัวขึ้น แลว ทําใหเกิดความผูกพันเฉพาะครอบครัว จึงเกิดความคิดท่ีจะสะสมตองแบงปน
ปก เขตการทาํ มาหากินเปน สัดสว น

๔. เมื่อสังคมเติบโตข้ึน มนุษยมีมากขึ้นภาวะที่แทจริงของมนุษยต้ังแตบรรพกาล
จวบ จนปจจุบันนี้ก็คือ มนุษยมีดีชั่ว ความชั่วท่ีปรากฏครั้งแรกในหมูมนุษย คือความโลภเปน
ตน เหตุใหเกิดสังคมปน ปวนระสาํ่ ระสาย

๕. แตความตอ งการของมนษุ ยทกุ ยุคทุกสมัย ก็คอื ความสุขสงบ ความระสาํ่ ระสาย
ในสังคมจึงเปนสิ่งท่ีขัดแยงตอความตองการมนุษย เปนเหตุใหมนุษยแสวงหาทางคืนสูความสุข
สงบที่เคยมีมาแตเดิม โดยรวมใจกันไปขอใหผูมีความสามารถมกี ําลังแข็งแรงกวา ทําหนาที่ขจัดปด
เปาความระสํ่าระสายในสังคม โดยใหอํานาจลงโทษผูทําผิด ผูเปนตนเหตุแหงความระส่ําระสาย
นนั้

๖. ผูท่ีไดรับเลือกน้ีมีฐานะเปนหัวหนาเปนตําแหนงมหาชนสมมติตําแหนงที่
ไดมาจึงคลายๆ กับผูแทนราษฎรซ่ึงไดมาโดยการเลือกต้ัง ความสัมพันธระหวางมหาชนสมมติ
กับคนอื่น ๆ ในสังคมมีลักษณะคลายคลึงกับความสัมพันธระหวางผูแทนราษฎรกับราษฎรผู
เลือกตั้ง แตต างกันทีผ่ แู ทนราษฎร

๑๘๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๗. มหาชนสมมติ ไดรับมอบหมายอํานาจจากมหาชนใหเปนผูแทนปกปอง
คุมครองชีวิตและทรัพยสินชวยเปนผูตัดสินในกรณีที่มีความขัดแยงในสังคม หนาที่หลักสําคัญ
ท่สี ดุ คือการลงโทษผูก ระทําผดิ 253๒๕

กลาวโดยสรุปจากขอความขางตน ความขัดแยง การทะเลาะวิวาท และการเอารัด
เอาเปรียบกันในหมูมนุษยเปนเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความจําเปนตองมีผูบริหารและมีผูตาม
เพราะเมื่อมนุษยจํานวนมาก รวมตัวกันเปนสังคม ปญหาท่ีตามมาคือ ความขัดแยง แมใน
ปจจุบันนี้ก็มีลักษณะเชนน้ัน ปรากฏอยูทุกสังคมมีความคิดขัดแยงเกิดขึ้น เชนขัดแยงทาง
ความคิดการเมืองหรืออาชีพ เปนตน นักการเมืองมองวาเปนเรื่องธรรมดาในระบบ
ประชาธิปไตย เหตุการณที่เกิดขึ้นมีความขัดแยงคอนขาง รุนแรงอันเกิดจากผลประโยชนท่ี
ไดรับไมเทากันคนมีอํานาจใชอํานาจในการตอรองกับอํานาจรัฐ และยังกดขมขี่ประชาชน จน
ทําใหประชาชนตองรวมกลุมออกเรียกรองเพื่อรักษาสิทธิของกลุมตนไว รัฐตองมีความจริงใจ
ในการแกไขปญหาที่เกิดขึ้น และทํางานหนักข้ึนในการพัฒนาประเทศใหเจริญ ดังน้ันผูบริหาร
รัฐบาลสรางภาวะความเปนผูบริหารในการแกไขปญหาตาง ๆ ที่สะสมมาตอเนื่องและเกิด
ข้นึ มา ใหมเพื่อปกปองผลประโยชนของชาติอยางเปนระบอบผูบริหารมีบทบาทหลายลักษณะ
หลายแบบ เชน ผูบริหารแบบใชพระเดช ผบู รหิ ารแบบใชพ ระคณุ ผบู รหิ ารแบบพอ พระ การใช
อาํ นาจของผูบริหาร บางคนกใ็ ชอ ํานาจ แบบอตั ตนิยม ถือหลกั อัตตาธปิ ไตย คอื เปนผบู รหิ ารท่ี
นิยมใชอํานาจของผูบริหาร องคประกอบคุณสมบัติของผูบริหารมีหลายอยางหลายดาน แยก
ไปตามส่ิงที่ผูบริหารจะตองเก่ียวของผูบริหารมีความสามารถในการปฏิบัติตอส่ิงเหลานั้นทุก
อยางใหถ ูกตอ งและไดผลดีมคี ุณสมบตั ิเหลา น2้ี54๒๖ คือ

๑. ตัวผูบริหาร จะตองมีคุณสมบัติภายในของตนเอง เปนจุดเริ่มและเปนแกนกลาง
ไว

๒. ผูตาม โยงดวยคุณสมบัติท่ีสัมพันธกับผูตาม หรือเราอาจจะไมเรียกวา ผูตามใน
พทุ ธศาสนาก็ไมไ ดน ยิ มใชคําวา ผูต ามเราอาจจะใชคําวา “ผูรวมไปดวย”

๒๕ สุรศักด์ิ มวงทอง, “พุทธธรรมกับภาวะผูนําที่พึงประสงคศึกษากรณีกํานันและผูใหญบาน
จังหวัดนครศรีธรรมราช”, วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหิดล,
๒๕๔๓), หนา ๖๕.

๒๖ พระพรหมคณุ าภรณ (ป.อ.ปยตุ โฺ ต), ภาวะผนู ํา, พิมพคร้งั ที่ ๖, (ม.ป.ป., ๒๕๔๖). หนา ๕.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๘๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๓. จุดหมาย โยงดวยคุณสมบัติท่ีสัมพันธกับจุดหมาย เชน จะตองมีความชัดเจน
เขาใจ ถอ งแทและแนว แนในจดุ หมาย เปน ตน

๔. หลักการและวิธีการ โยงดวยคุณสมบัติที่สัมพันธกับหลักการและวิธีการท่ีจะทํา
ใหสาํ เร็จผลบรรลจุ ุดหมาย

๕. สถานการณ โยงดวยคณุ สมบัติที่สัมพันธก ับสภาพแวดลอ มหรือสิ่งทีจ่ ะประสบซึ่ง
อยูภายนอกวาทําอยางไรจะผานไปไดดวยดี ในทามกลางสังคม สิ่งแวดลอมหรือสิ่งที่ประสบ
ปญหา เปนตน

ขอความที่กลาวมาเปนองคประกอบสวนสําคัญตาง ๆ ที่เก่ียวของกับตัวผูบริหารท่ี
ตองพัฒนา ตนเองใหมีคุณสมบัติจะทําใหผูบริหารพรอมที่จะปฏิบัติตอส่ิงเหลานั้นไดอยาง
ถูกตองบังเกิดผลดี ผูบริหารเปนผูที่มีจุดหมายชัดเจนเปนท่ีพึงพิงของผูใตบังคับบัญชาไดท่ัวถึง
เปนแกนกลางในการบริหารงานมี จุดหมายและหลักการตรงไปตรงมาไมเอียนเอียงไปตาม
สถานการณทเ่ี กิดขึน้ ยังมหี ลกั ธรรมในพระพุทธศาสนาที่ใหความสําคัญเกี่ยวกบั ตัวผูบรหิ ารหรือ
ผูบริหารในการบริหารนี้มาปฏิบัติ โดยมีหลักธรรมท่ีเก่ียวของกับผูบริหาร ดังท่ีปรากฏใน
พระพทุ ธศาสนาไดกลา วถงึ หลักธรรม คณุ ธรรม ๖ ประการ ดังน2ี้55๒๗

๑. มีความอดทน (ขมา) ตอการปฏิบัติงานมีใจหนักแนน ไมยอมตกในความช่ัวไม
เกรง กลวั หรือมอี คติ ๔ เมือ่ จะตองตดั สินใจและไมห ว่ันไหวเพราะโลกธรรม ๘

๒. มีความตื่นตัว (ชาคริยะ) อยูตลอดเวลามีความระมัดระวังไมประมาทในการ
ปกครองชวี ิตหนาทแี่ ละการงาน

๓. มีความขยันหมั่นเพียร (อุฎฐานะ) ตอหนาท่ีการงานมีความระมัดระวังไม
ประมาท

๔. มีอัธยาศัยดีเอ้ือเฟอเพ่ือแผ (สังวิภาคะ) มีนํ้าใจตอผูรวมงานเปนมิตรท่ีดีกับทุก
คน

๕. มีจติ ใจท่เี อ็นดู (ทยฺ า) รักใครห วงใยเอาใจใสดแู ลผูรวมงาน
๖. เอาใจใสตรวจตรา (อิกฺขนา) การงานและหนาท่ีที่ตนรับผิดชอบไดยกหลักธรรม
มาแสดงไวก็เพ่ือใหเห็นถงึ แนวคิดหรือคําสอนเก่ียวกับการใชหลักธรรมทางพระพุทธศาสนากับ

๒๗ อง.ฺ จตุกกฺ . (ไทย) ๒๑/๗/ ๙-๑๐.

๑๙๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๘ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

การบริหารงานของผูบริหารเปนสวนหน่ึงยังมีคําสอนท่ีพูดถึงคุณสมบัติของความเปนผูบริหาร
จะตอ งประกอบดวยลักษณะดังนี้ คือ ๒๘
256
๑) เปน ผูมีวิสัยทัศนท่ีกวา งไกล (จฺกขฺ มุ า) มองสภาพเหตกุ ารณอ อกและจะวางแผน
เตรยี มรับหรอื รุกไดอยา งไร
๒) เปน ผูชํานาญในงาน (วธิ ูโร) รูจกั วธิ ีการไมบกพรองในหนาท่ี ท่ีตนไดร บั ผดิ ชอบ
๓) เปนผูที่มีมนุษยสัมพันธดี (นิสฺสยสมฺปนฺโน) และไดรับความเชื่อถือจากผูอื่น
คุณสมบัติทั้ง ๓ ประการ มีความสําคัญข้ึนอยูกับระดับของความแตกตางของตัวผูบริหารถา
เปนผูบริหารระดับสูงรับผิดชอบในการวางแผนและดูแลคนจํานวนมาก ขอที่ ๑ และขอที่ ๓
มคี วามสาํ คัญมาก ขอ ที่ ๒ มคี วามสําคัญนอยเพราะสามารถใชผูใ ตบ งั คบั บัญชาท่ีมคี วามรูความ
ชํานาญเฉพาะดานได สําหรบั ผบู ริหารระดับกลางทงั้ สามขอมคี วามสาํ คัญพอ ๆ กนั คือ มีความ
เฉพาะดาน มีมนุษยสัมพันธเพื่อนรวมงานที่มองเห็นการณไกล ดวยคุณธรรมของผูบริหารเปน
ผทู าํ หมใู หงามมคี วามกลา หาญแกลวกลา เรยี กวาเวสารัชชกรณธรรม ๕ ดงั น้ี คอื ๒๙
257
(๑) เปนผูมี (ศรทั ธา) มีเหตผุ ล มัน่ ใจในหลกั การและในการทําดี
(๒) เปนผูม ี (ศลี ) มีระเบยี บวินยั ดีความประพฤตถิ กู ตอ งดงี ามไมผ ิดศลี ธรรม
๓) เปน ผมู ี (พาหสุ จั จะ) ความเปน ผไู ดศึกษาเลาเรยี นมาก
๔) เปนผูมี (วิรยิ ารัมภะ) มีความเพยี รม่นั คงจริงจังในกจิ การน้ัน ๆ
๕) เปนผมู ี (ปญญา) ความรอบรูเขา ใจเหตผุ ล ดี ช่ัว รูคดิ รวู ินจิ ฉยั รหู ลักการ
คุณสมบัติท่ีกลาวมาขางตนทําใหผูบริหารเปนคนประพฤติตนดีมีความกลาหาญไปอยูใน
สถานที่ใดเปนท่ีเคารพนับถือของผูใตบังคับบัญชาตรงกับจุดหมายท่ีวา “ผูบริหารท่ีดีไมมี
เส่อื ม” มคี ุณสมบัติสรปุ ได ๔ ประการ ดังนี้258๓๐
๑. แรงบนั ดาลใจ คือพลังปรารถนาอยา งแรงกลาทสี่ งเสริมผลักดันใหบุคคล
ทาํ งานเชิง รุกเขาสูเปาหมายชีวิต กลาวไดว า แรงบนั ดาลใจเปน พลังแรงท่ีกอใหเ กิดความมุง ม่ัน
ทมุ เทเพื่อใหบุคคล บรรลุถึงเปาหมายปลายทางในชีวิต เมื่อบุคคลมีแรงบันดาลใจใหกระทําใน

๒๘ ท.ี ปา. (ไทย) ๑๑/๖๓-๖๕/๗๑-๗๓.
๒๙ พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม, พิมพครั้งที่
๑๒, (กรงุ เทพมหานคร: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั , ๒๕๔๖), หนา ๒๐๖.
๓๐ ปุระชัย เปยมสมบูรณ, ผูนําที่ดีไมมีเสื่อม. (กรุงเทพมหานคร: อนิเมทกรุป, ๒๕๕๐), หนา
๓๐๒ - ๓๐๓.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๙๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

เรื่องใดความมีสมาธิและความมีปญญาท่ีจะไปสูหนทางของความสําเร็จก็จะตามมา แรง
บันดาลใจจึงมีสวนสําคัญในการสรางความเขมแข็งทางจิตใจใหบุคคลที่จะกาวไปขางหนาโดย
ไมย อทอ ตออปุ สรรคขอขดั ขอ งแตก ลับเขาฝา ฟน เคร่ืองกีดขวางเพ่ือใหเขาถงึ ผลสมั ฤทธ์ิ

๒. ทัศนคติเชิงบวก หรือทัศนคติเชิงสรางคือการมองโลกในแงดีและ
หลีกเล่ียงการ มองโลกในแงรายที่อาจทําลายขวัญกําลังใจของตนเองและผูอ่ืน การมีทัศนคติ
เชิงบวกจึงไมใชความประมาท แตเปนการทําความเขาใจกับปรากฏการณที่เกิดข้ึน ไมวาพึง
ประสงคหรือไมพึงประสงค ดวยความปลอยวาง ไมเครียดไมทับถมใหสถานการณที่เสียหาย
ตอ งหนักหนาสาหัสยง่ิ ขึ้นไปอีก เอดสิ ัน คือแบบอยางท่ีดีงามของการมองโลกในแงบวก โดยไม
วาผลการทดลองจะสําเร็จหรือลมเหลว เอดิสัน ก็มองวาคือ การไดเรียนรูปรากฏการณอยาง
สาํ คัญ

๓. ความเปนนักสูผูเสียสละ คือ การทําหนาที่ในลักษณะที่ภาษาอังกฤษใช
คําวา “Service above self”หรอื อาจแปลวา “ใหบริการเหนือตนเอง” ถา จะขยายความก็คือ
นักสูผูเสียสละ คือ นักสูแบบถวายหัว หรือถวายชีวิตเพ่ือผูอ่ืน เพื่อประเทศชาติและเพ่ือมวล
มนษุ ยช าติ การสูเพือ่ ผูอ่ืนเปนคุณธรรมที่สะทอนความเสียสละ ริชโธเฟน, ไอเซนฮาวร, แมกไซ
ไซ ตางเปนแบบอยางของการสูรบในสงครามเคลเลอรสูเพ่ือคนพิการ เอดิสันสูเพื่อพัฒนา
เทคโนโลยี มาเธอรเ ทเรซา เคลเลอร สูเพอ่ื คนพิการ เอดิสันสเู พื่อพัฒนาเทคโนโลยี มาเธอรเท
ซาและพทุ ธทาสภกิ ขสุ เู พอื่ ยกระดบั จติ ใจของมนุษย

๔. ความมีภาวะผูบริหาร ซึ่งหมายถึงความสามารถในการจูงใจโนมนาวให
บุคคลอื่น ประพฤติปฏิบัติตามในสิ่งที่ผูบริหารวางวัตถุประสงคไว ภาวะผูบริหารจึงเกี่ยวของ
โดยตรงกับความกลาคิด กลาริเริ่ม กลาตัดสินใจ กลาทําและกลารับผิดชอบ บุคคลผูมีภาวะ
ผูบริหารจึงมีพลังความสามารถในการสรางศรัทธาบารมีใหบุคคลอ่ืนมีความคิดเห็นคลอยตาม
ตามดว ยความสมคั รใจและเต็มใจ ไมใ ชดวยการบังคับขม ขูห รือใชอ าํ นาจ

กลาวโดยสรุป ความเปนภาวะผูบริหารยึดหลักธรรมมีเหตุผลในการปฏิบัติหนาที่มี
ความเขมแข็งทางจติ ใจ มองโลกในแงดีอยูเสมอ เปนผเู สยี สละประโยชนสว นตนเพ่ือสวนรวมมี
ความริเริ่มงานใหม ๆ โดยมุงท่ีจะใหเกิดผลแกมวลชวน สังคม และประเทศชาติอยางมั่นคง
และยง่ั ยืนตลอดไป


Click to View FlipBook Version