The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
เอกสารเพื่อการศึกษา ห้ามจำหน่ายโดยเด็ดขาด

Keywords: คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

๙๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

ประเวศ วะสี กลาวถึงวัตถุประสงคในการปฏิรูปสังคมเพ่ือปรับใหเกิดความ เข็ม
แข็ง ถูกตอง เปนธรรมในทุกสวนของสังคมเพ่ือนําไปสูธรรมรัฐ ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติ ฉบับท่ี ๘ ไดเสนอแนวทางการปฏิรูป ๗ เรื่องหลักในสังคมไทย คือ การสราง
คุณคาและจิตสํานึกใหม การสรางเศรษฐกิจพอเพียง และประชาสังคม การปฏิรูประบบ
เศรษฐกิจ มหภาคและการเงิน ปฏิรูประบบรัฐทง้ั ระบบการเมืองและระบบราชการ การปฏิรูป
การศึกษา การปฏริ ูปสอื่ เพ่ือสงั คม การปฏริ ปู กฎหมาย136๗

แนวความคิด “Governance” ไดมีการศึกษากวางขวางข้ึน และคํานี้ก็ถูกนํามาใช
กันอยางแพรหลายในวงการ และองคการเครือขายของธนาคารโลก โดยในระยะแรก ๆ
ธนาคารโลกกําหนดความหมายตามกรอบความคิดของการดําเนินงานท่ีเก่ียวกับขอบเขตของ
ธนาคารโลก วา ดว ย Governance and Development ดงั น้ัน คาํ วา Governance จงึ เปน ที่
เขาใจกันวา หมายถึง “การกําหนดกลไกอํานาจของภาครัฐในการบริหารทรัพยากรทั้งดาน
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศเพื่อใหเกิดการพัฒนา” ในระยะเริ่มแรกน้ันธนาคารโลกได
พยายามอธบิ ายความหมายของ Governance วาครอบคลมุ ถงึ ความหมาย ๓ ลกั ษณะ คือ ๘
137

๑. โครงสรางและรูปแบบของระบอบการเมอื ง (Political Regime)
๒. กระบวนการ และขั้นตอนท่ีผูมีอํานาจในการเมืองใชในการบริหารทรัพยากร
ทางเศรษฐกจิ และสังคมเพ่อื พัฒนาประเทศ

๓. ขีดความสามารถของรัฐบาลในการกําหนดนโยบายและการดําเนินการตาม
นโยบายอยางมปี ระสทิ ธิผล

จากแนวคิดหลักธรรมาภิบาลดังกลาว สรุปไดวา แนวคิดหลักธรรมาภิบาลเปนท้ัง
หลกั การขน้ั พ้ืนฐานและยทุ ธศาสตรท ี่สังคมตองการใหเกดิ ข้ึนและหามาใชเ พอื่ ลด บรรเทา และ
แกไขปญหาตาง ๆ เพื่อชวยสรางคุณคาและจิตสํานึกทางปญญา วัฒนธรรม จริยธรรม ท้ัง
ทางดานเศรษฐกิจและการเมือง ใหม ีความเปนธรรมในสังคม มีความโปรงใสไดรับการยอมรับ
และเชื่อถือมีประสิทธิภาพ คุณภาพมาตรฐานสูงข้ึน มีการพัฒนาที่ยั่งยืนเปนภูมิคุมกันใหมี

๗ ประเวศ วะสี, การปฏิรูปการศึกษายกเครื่องทางปญญาทางสมองจากความหายนะ,
(กรงุ เทพมหานคร: มลู นธิ ิสดศรี – สฤษด์ิวงศ, ๒๕๔๒), หนา ๘๕.

๘ เอเจอร แซม, ธรรมาภิบาลการปกครองที่โปรงใสดวยจริยธรรม, (กรุงเทพมหานคร: โรง
พมิ พน ํา้ ฝน, ๒๕๔๕), หนา ๓๑.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๙๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ความเขมแข็งมีเสถียรภาพ มีความมั่นคงปลอดภัยทุกภาคสวน สังคมอยูรวมกันอยางสันติสุข
และมคี ณุ ภาพชีวิตท่ดี ี

๖.๒ ความหมายของธรรมาภบิ าล

คําวา ธรรมาภิบาล (Good Governance) มีการกลาวถึงบอยข้ึนในวงการวิชาการ
และสือ่ มวลชน มีผใู ชคาํ ศพั ทต า ง ๆ ทสี่ ่ือความหมายของคาํ ดงั น้ี

สยุมพร ปุญญาคม นักวิชาการบางทานเรียกวา ธรรมาภิบาล ธรรมรัฐสุประศาสน
การ ประชารัฐ การปกครองที่ดีการบริหารจัดการบานเมืองที่ดีและอ่ืน ๆ สถาบันวิจัยเพ่ือการ
พัฒนาประเทศไทย (TDRI) ไดอธิบายวา ธรรมาภิบาลเปนศัพทที่สรางขึ้นจากคําวา “ธรรม”
แปลวา ความดี หรือ กฎเกณฑคําวา “อภิบาล” แปลวา บํารุงรักษาปกครอง เมื่อนํามา
รวมกันเปน “ธรรมาภิบาล” มีความหมายเดียวกันกับคาํ วา Good Governance๙

สถาบันวจิ ัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย ในปจ จุบันการบริหารองคกรภาครัฐ และ
เอกชนนิยมใชหลักการบริหารจัดการท่ีดี (Good Governance) ซ่ึงหลักการนี้ไดกําหนดไวใน
ระเบียบสํานักรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบการบริหารจัดการบานเมืองและสังคมที่ดี พ.ศ.
๒๕๔๒ ระเบียบดังกลาวนี้พยายามสะทอนภาพการบริหารจัดการทีด่ ีในองคกร ซ่งึ เริ่มจากการ
เรียกรองของธนาคารโลกใหประเทศผูกูเงินกําหนดรูปแบบการบริหารจัดการท่ีดีใหเปนหลัก
ปฏิบัตทิ ่ีชวยประกันวาผบู ริหารไดดําเนินการบริหารดวยความรับผิดชอบและนําไปสูเปาหมาย
ความสําเร็จขององคการอยา งแทจ รงิ 139๑๐

นกั วิชาการไดใ หความหมายดังกลา วไวในความหมายตา ง ๆ กันดงั น้ี
กลาณรงค จันทิก กลาววา ธรรมรัฐ คือการทําใหระบบการบริหารการจัดการท่ีดี
ทั้งภาครัฐและเอกชน และตองเกิดจากสํานึกความรูสึกของภาคน้ัน ๆ เพ่ือประโยชนของการ
อยูรวมกัน โดยไมใชอํานาจรัฐไปทําใหเกิดข้ึนการสรางธรรมรัฐจึงข้ึนอยูกับขาราชการและ

๙ สยุมพร ปุญญาคม, “การบริหารจัดการท่ีดี (Good Governance), กับหลักพระพุทธศาสนา”,
รัฐประศาสนศาตรมหาบัณฑิต ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร, (คณะรัฐศาสตร: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,
๒๕๔๑), หนา ๔.

๑๐ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล, พิมพคร้ังท่ี ๑,
(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพคุรุสภาลาดพรา ว, ๒๕๔๔), หนา ๑๓.

๙๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

นักการเมืองทง้ั ๒ ฝา ย ตอ งเปนคนดี มีความโปรง ใส โดยเฉพาะนักการเมืองตองโปรงใสในดาน
การแกป ญ หาคอรปั ชนั่ ประชาชนตองรวมมือกันตอ สูกับความไมเปนธรรม140๑๑

ชัยวัฒน สถาอานันต อธิบายวา ธรรมรัฐหมายถึง การบริหารกิจการของบานเมือง
ดวยความเปนธรรมเคารพสิทธิของผูคนพลเมืองอยางเสมอกัน มีระบบตัวแทนประชาชนที่
สะทอนความคิดของผูคนไดอ ยางเท่ียงตรงมีรัฐบาลที่ไมถืออาํ นาจเปน ธรรมแตใ ชอํานาจอยา งท่ี
ประชาชนจะตรวจสอบได ตัวรัฐบาลเองก็มีความเอ้ืออาทรตอผูคนสามัญเปนอาภรณประดับ
ตนไมด ูถูกประชาชนดว ยการเอาความเทจ็ มาใหและมีอารยะพอที่จะแสดงความรับผดิ ชอบหาก
บริหารผดิ พลาดหรือไรประสทิ ธิภาพ141๑๒

ชัยอนันต สมุทวณิช อธิบายวา Good Governance น้ันเปนการปกครองท่ีดีโดย
รัฐและรัฐบาลเปนดานหลักรัฐและรัฐบาลมีระบบและการใชกฎหมายที่ยุติธรรมมีความ
รับผิดชอบ เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม มีความโปรงใส มีความคงเสนคงวา สามารถ
ตรวจสอบได142๑๓

ทพิ าวดี เฆมสวรรค กลา ววา ธรรมรัฐ คอื การวางกรอบการทํางานในระบบราชการ
เพ่ือใหเกิดระบบที่ดีเอื้อตอคนดีใหอยูในระบบที่ดีและไมใหคนเลวดํารงตําแหนงท่ีดีในวง
ราชการ ซึ่งคือเปาหมายสําคัญของการปฏิบัติราชการ ธรรมรัฐจะเปนตัวเชื่อมใหสังคมท่ีมีการ
แยกสวนท้ังภาครัฐบาล เอกชน ประชาชน และองคกรเอกชนเกิดความสัมพันธกันทุกสวนให
เปนหนึ่งเดียว เพื่อเปนการตอบสนองตอสังคมกลไกท่ีจะทําใหเกิดไดนั้นจึงอยูที่รัฐตองเปด

๑๑ กลาณรงค จนั ทกิ , อา งใน จตมุ งคล โสณกลุ , ธรรมรฐั ภาคราชการ, วัฎจกั ร (๖
พฤษภาคม ๒๕๔๑) : ๓, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/governance_
type.asp,g, [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒].
๑๒ ชัยวัฒน สถาอานันต, อางใน นฤมล ทับจุมพล, แนวคิดและวาทกรรมวาดวย “ธรรมรัฐ
แหงชาติ”, ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจุฬาฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ
เน่ืองในวาระครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐ
ประศาสนศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑)
๑๓ ชัยอนันต สมุทวณิช, อางใน อมรา พงศาพิชญ และ นติ ยา ภัทรลีรดะพันธ,ุ ๒๕๔๑.ธรรมรัฐ
และธรรมราษฎรกับองคกรประชาสังคม. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ เนื่องในวาระครบ ๕๐ ป
คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณหมาวิทยาลัย.[Online]. Available: http//www.kpi.ac.th/kpiuser/
governance_type.asp. [๙ กนั ยายน ๒๕๖๓].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๙๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

โอกาสใหป ญหาตา ง ๆ ของสวนอ่ืน ๆ เขามารวมกระบวนการพฒั นาอยางยั่งยนื โดยปฏิบัติเปน
องคร วม คือ ๑) ประชาชนทุกคนที่มีผลกระทบตองมสี วนรวม ๒) มีความโปรงใสรับรไู ดโดยรับ
ฟงประชาพิจารณสงเอกสารใหและเม่ือตัดสินใจแลวเปดเผยเหตุผลได ๓) มีความรับผิดชอบ
อยางชัดเจน ๔) การใชอํานาจตองมีที่มา ท่ีไปเปดเผย ๕) กฎเกณฑตาง ๆ ที่จะตัดสินใจตอง
ชัดเจน ๖) การมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล แตการปฏิรูปราชการจะสําเร็จไดตองเกิดจาก
๒ สวน คือ ๑) ความยินยอมพรอมใจคนในวงราชการ ๒) มีความกดดันจากภายนอก คือ
รัฐสภา รัฐบาลนอกจากน้ียังตองมีแรงหนุนจากภายนอก เชน สื่อตาง ๆ ประชาชนคอย
ตรวจสอบ ตชิ ม และภาคเอกชนตอ งยอมรับไดจึงจะสําเรจ็ 143๑๔

บญุ ศักดิ์ กําแหงฤทธิรงค อธิบายวาธรรมรัฐ หมายถึง รัฐที่ดําเนินการไปดว ยธรรม
ประชาชน มีสติปญญากอใหสังคมเปนปกแผนในความเปนหน่ึงเดียว ฝา ยที่คดิ เปนศัตรูยอมทํา
อะไรไมไดหากคนไทยรักเมอื งไทยรูจักความเปน ไทยมากกวานี้ จะมีพลงั สตปิ ญญามีการจดั การ
ที่ใชค วามปองดองสรา งสรรคใ นทส่ี ุดธรรมรฐั กเ็ กิดขนึ้ ได144๑๕

ธีรยุทธ บุญมี อธิบายวา ธรรมรัฐ คือกระบวนความสัมพันธ (Interactive Relation)
ระหวางภาครัฐ ภาคสังคม ภาคเอกชน และประชาชนท่ัวไป ในการท่ีจะทําใหการบริหารราชการ
และประชาชนโดยทั่วไปในการที่จะทําใหการบริหารราชการแผนดินดําเนินไปอยางมี
ประสิทธิภาพมีคุณธรรม โปรงใส ยุติธรรมและตรวจสอบไดการบริหารประเทศท่ีดีควรเปนความ
รวมมือแบบสื่อสาร ๒ ทาง ระหวางรัฐบาลประชาธิปไตยและฝายสังคม เอกชน องคการท่ีไมใช
หนวยงานรัฐ (NGO) โดยเนนการมีสวนรวม (Participation) ความโปรงใส และตรวจสอบได การ

๑๔ ทิพาวดี เฆมสวรรค, อางใน จตุมงคล โสณกุล, ๒๕๔๑, ธรรมรัฐภาคราชการ. วัฎจักร (๖
พฤษภาคม ๒๕๔๑): ๓. [ออนไลน] , แหลงท่มี า: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/governance_type.asp,
[๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๑๕ บุญศักด์ิ กําแหงฤทธิรงค, อางใน นฤมล ทับจุมพล, แนวคิดและวาทกรรมวาดวย “ธรรม
รฐั แหง ชาติ”, ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจฬุ าฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ
เน่ืองในวาระครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐ
ประศาสนศาสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑).

๙๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

รวมกันกําหนดนโยบาย (Shared Policy Making) และการจัดการตนเอง (Self-management)
ของภาคสงั คมเพ่ิมมากขึ้น เพือ่ นําไปสกู ารพัฒนาท่ีย่งั ยนื และเปนธรรมมากข้ึน145๑๖

ประเวศ วะสี อธิบายธรรมรัฐวา ประกอบดว ยภาครัฐ ภาคธรุ กิจ และภาคสงั คมท่ีมี
ความถูกตองเปนธรรมโดยรัฐและธุรกิจตองมีความโปรงใสมีความรับผิดชอบท่ีถูกตรวจสอบได
และภาคสังคมเขมแขง็ ธรรมรัฐแหงชาติ หมายถึง การทีป่ ระเทศมพี ลังขับเคลื่อนทีถ่ ูกตองเปน
ธรรมโดยถักทอทางสังคมเพ่ือสรางพลังงานทางสังคม (Social Energy) เพ่ือนําไปสูการแกไข
ปญ หาของประเทศชาติกอใหเกดิ ธรรมรฐั แหงชาตขิ ้นึ 146๑๗

วรภัทร โตธนะเกษม อธิบายวา Good Governance หมายถึง“การกํากับดูแลท่ี
ดี” หรือหมายถึง “การใชสิทธิ์ของความเปนเจาของที่จะปกปองดูแลผลประโยชนของตนเอง
โดยผานกลไกท่ีเก่ียวของในการบริหาร” โดยหัวใจสําคัญของ Good Governance คือการ
ตัดสนิ ใจ (Accountability)๑๘

สถาบันวิจัยเพ่อื การพฒั นาประเทศไทย อธิบายวา ธรรมาภิบาล หมายความถึง การ
จัดการบริหารประเทศที่ดีในทุกๆ ดานและทุกๆ ระดับ ซ่ึงรวมถึงการจัดการระบบองคกรและ
กลไกของคณะรัฐมนตรี สวนราชการองคกรของรัฐและรัฐบาลท่ีไมใชสวนราชการการบริหาร
ราชการสวนภูมิภาคและทองถ่ิน องคการที่ไมใชรัฐบาล (Private Sector Organizations) องคกร

๑๖ ธีรยุทธ บุญม,ี อา งใน นฤมล ทบั จมุ พล, แนวคิดและวาทกรรมวาดว ย “ธรรมรฐั แหงชาต”ิ ,
ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจฬุ าฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เนื่องในวาระ
ครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร
จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑).

๑๗ ประเวศ วะสี, อางใน นฤมล ทบั จุมพล, แนวคดิ และวาทกรรมวาดว ย “ธรรมรฐั แหง ชาต”ิ ,
ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจุฬาฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เน่ืองในวาระ
ครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร
จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย, ๒๕๔๑).

๑๘ วรภทั ร โตธนะเกษม, “การสราง Good Governance ในองคกร”, วารสาร กสท, (๒๕๔๒
ตุลาคม ๑๑-๑๗), [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/ governance _type.asp.
๒๕๔๒, [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๙๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ของเอกชน ชมรมและสมาคมเพื่อกิจกรรมตาง ๆ นิติบุคคลภาคเอกชนและภาคประชาสังคม
(Civil Society) และการกําหนดความสัมพันธร ะหวา งสว นตาง ๆ ดงั กลา วขางตน148๑๙

อมรา พงศาพิชญ อธิบายวา ธรรมรัฐและธรรมราษฎร คือการ (กํากับ) ดูแล
ประโยชนของสวนรวม และการรักษาผลประโยชนซ่ึงกันและกันระหวางสมาชิกในสังคมโดยมี
กฎกติกาท่ีตกลงรว มกันการ (กํากับ) ดูแลน้ีมีอยูในทุกระดับของสังคมหรือองคกรเชน ธรรมรัฐ
ของรัฐชาติธรรมรัฐหรือธรรมราษฎรในองคกรธุรกิจ องคกรสาธารณประโยชน องคกรบริหาร
ทองถิ่นหรือแมแตธรรมราษฎรในครอบครัวความหมายรูปธรรมของธรรมรัฐและธรรมราษฎร
คอื กฎกติกาที่ตกลงรวมกันวาจะเปนกฎเกณฑทจี่ ะใชใ นการดูแลผลประโยชนข องสว นรวมกฎ
กติกาขน้ั ต่าํ มกั ประกอบดวย149๒๐

๑. การทํางานอยางมีหลักการและเหตุผลตอบสนองความตองการของสังคมมี
ความชอบธรรมและรบั ผิดชอบในผลของการตัดสินใจ (Accountability)

๒. การทํางานอยางโปรงใสและสามารถคาดการณได (Transparency and
Participation)

๔. การมีสว นรวมของผทู ่เี กยี่ วของในการรับรรู วมตัดสินใจและตรวจสอบการจัดการ
และบริหารงาน (Participation)

๕. การดําเนินงานที่ใหความสําคัญกับหลักการประชาธิปไตยและความเสมอภาค
เทาเทียมกัน นอกจากกติกาขั้นต่ํายังมีกติกาท่ีมีลักษณะเฉพาะขององคกรตามระดับและ
บทบาทหนาทขี่ ององคก รนั้น เชน กตกิ าเชิงธุรกจิ ขององคก รธุรกจิ (Corporate Governance)
กติกาของกลไกระดับเหนือรัฐ (Good Governance in the New World Order) หรือ กติกา
ขององคก ารบรหิ ารสว นทองถนิ่ ฯลฯ

๑๙ สถาบันวิจัยเพอื่ การพฒั นาประเทศไทย ๒๕๔๑, ธรรมาภบิ าลเพ่อื การพัฒนาทย่ี ่ังยนื : กลุม
ที่ ๔,เอกสารการสัมมนาวิชาการประจําป ๒๕๔๑ เรื่อง “จากวิกฤติสูการพัฒนาที่ยั่งยืน” วันท่ี ๑๑-๑๓
ธันวาคม ๒๕๔๑ ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอรซิต้ี ชลบุรี. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนา
ประเทศไทย, [ออนไลน], แหลงที่มา: http//www.kpi.ac.th/kpiuser/governance_type.asp. [๙
กนั ยายน ๒๕๖๒].

๒๐ อมรา พงศาพิชญ, ธรรมรัฐและธรรมราษฎรกบั องคกรประชาสงั คม, เอกสารประกอบการ
ประชุมวิชาการ เนอ่ื งในวาระครบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตร จฬุ าลงกรณหมาวทิ ยาลัย, [ออนไลน], แหลง ที่มา:
http//www.kpi.ac.th/kpiuser/governance_type.asp. [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒].

๙๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

อานันท ปนยารชุน อธิบาย ธรรมรัฐวา คือผลลัพธของการจัดการกิจกรรม ซึ่ง
บุคคลและสถาบันท้ังในภาครัฐและเอกชนมีผลประโยชนรวมกันไดกระทําลงในหลายทางมี
ลักษณะเปนกระบวนการท่ีเกิดข้ึนอยางตอเนื่อง ซึ่งอาจนําไปสูการผสมผสานผลประโยชนท่ี
หลากหลายและขดั แยง กันได โดยสาระธรรมรัฐ หรือ Good Governance คือ องคประกอบท่ี
ทาํ ใหเ กิดการจัดการอยางมีประสิทธิภาพเพ่ือใหแนใจวานโยบายที่กําหนดไว จะไดผ ลหมายถึง
การมีบรรทัดฐานเพ่ือใหมีความแนใจวารัฐบาลจะสามารถสรางผลงานตามที่สัญญาไวกับ
ประชาชน150๒๑

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ใหความหมายวา ธรรมาภิบาล หมายถึงการบริหาร
กิจการบานเมืองและสังคมที่ดีเปนแนวทางสําคัญในการจัดระเบียบใหสังคมทั้งภาครัฐภาค
ธรุ กจิ เอกชนและภาคประชาชน ซึ่งครอบคลุมถึงฝายวิชาการ ฝายปฏบิ ัติการ ฝายราชการและ
ฝา ยธรุ กิจสามารถอยูรว มกันอยางสงบสุขมีความรรู ักสามัคคีและรว มกันเปนพลังกอใหเกดิ การ
พัฒนาอยางย่ังยืนและเปนสวนเสริมความเขมแข็งหรือสรางภูมิคุมกันแกประเทศ เพ่ือบรรเทา
ปองกันหรือแกไขเยียวยาภาวะวิกฤติภยันตรายท่ีหากจะมีมาในอนาคต เพราะสังคมจะรูสึกถึง
ความยุติธรรมความโปรงใสและความมีสวนรวม อันเปนคุณลักษณะสําคัญของศักดิ์ศรีความ
เปนมนุษยและการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุขสอดคลอง
กบั ความเปน ไทยรฐั ธรรมนูญและกระแสโลกยคุ ปจ จบุ ัน151๒๒

ไชยวัฒน ค้ําชู ไดใหความหมายไววา เปนลักษณะความสัมพันธ วิธีการ และ
เครื่องมือซึ่งจะกอใหเกิดความสัมพันธระหวางรัฐกับประชาชนทั้งในสวนท่ีเปนการดําเนินการ
ในฐานะของปจ เจกบคุ คลและท่ีเปนการดําเนนิ การในลกั ษณะท่ีเปน สถาบันรวมถงึ คุณภาพและ

๒๑ อานันท ปนยารชุน, อางใน นฤมล ทับจุมพล, แนวคิดและวาทกรรมวาดวย “ธรรมรัฐ
แหงชาติ”, ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจุฬาฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ
เนื่องในวาระครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐ
ประศาสนศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑).

๒๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหาร
กิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี, ๒๕๔๒, หลักนิติธรรม, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: http://www.kpi.ac.th/
kpiuser/ Governance.asp.๒๕๔๒, [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๙๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ประสิทธิภาพของการจัดการปกครองและการบริหารมีความสําคัญอยางยิ่งตอการพัฒนาและ
ความเจรญิ ของชาต1ิ52๒๓

โรเดส (R.A.W. Rhodes,) ไดรวบรวมความหมายของ “Governance” หรือธรรม
รัฐ วามีความหมายหลายอยางใชในเรื่องตาง ๆ ตามหนวยที่ศึกษา (unit of analysis) ดังนี้

๒๔

153

๑. ธรรมรัฐในฐานะของอํานาจรัฐ ในการตัดสินใจดําเนินการบริหารท่ีลดนอยลง
และประชาชนจะเปนผูเรยี กรองตรวจสอบการปฏิบัติงานของรัฐ (Minimal state)

๒. บรรษัทที่บริหารอยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรม (Corparate Governance)
ซ่ึงหมายถึง การดําเนินธุรกิจที่มีทิศทางและควบคมุ ตรวจสอบการบริหารงานของผูบริหารองคกร
ธุรกิจที่มีความรับผิดชอบชัดแจง ท้ังงานของบริษัทพรอมกับตองรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอมและ
สังคมอีกดวย การบริหารบรรษัทนี้จะถือวาผูบริหารและผูถือหุนไมใชบุคคลคนเดียวกันตองเปน
ผูบริหารอาชีพจะตองมีการตรวจสอบจากองคกรตรวจสอบภายนอก ทั้งนี้มิใชแตเพ่ือผลกําไร
อยา งเดียวแตจะตองเปดเผยโปรงใส และสามารถกาํ หนดตัวผรู ับผิดชอบท่ีแทจริง

๓. การบริหารจัดการสาธารณะ ท่ีรัฐบาลจะตองมีความสามารถในการริเริ่มเพื่อ
แขงขันตอบสนองประชาชนเสมือนเปนลูกคามากกวาเปนผูถูกปกครอง ผูบริหารงานของรัฐมี
บทบาทเชนเดียวกับผูประกอบการผลักดันการทํางานจากระบบราชการไปสูชุมชน ใหเปน
ผดู ําเนินการบรหิ ารจัดการเองการวัดความสามารถของขาราชการของรฐั วัดจากประสิทธผิ ลใน
การทาํ งานขาราชการของรัฐจะถือวาการบริการคอื พนั ธกิจของตน นอกจากน้นั จะเปน ตวั เชอ่ื ม
ประสานทุกสวนของสังคม กลาวคือ สวนสาธารณะ สวนเอกชน และสวนประชาชน เขามา
ทาํ งานรวมกันเพ่ือประชาคม ซง่ึ เรียกการบริหารเปนการบริหารงานสาธารณะแบบใหม (New
Public Management, NPM)

๔. ธรรมรัฐในฐานะที่เปนการปฏริ ูปการปกครอง (Good Governance) ซึง่ เปนการ
ใชกนั อยางกวางขวางสําหรบั การพัฒนารฐั ทีก่ ําลังพฒั นาธรรมรัฐในท่ีนี้ หมายถึง การใชอ ํานาจ
ทางการเมืองที่จะบริหารกิจการของชาติ โดยพัฒนาประสิทธิภาพของบริการสาธารณะระบบ

๒๓ ไชยวัฒน คํา้ ช,ู วารสารวงการคร,ู (กรงุ เทพมหานคร: ฐานการพิมพ, ๒๕๔๗), หนา ๗๗.
๒๔ โ ร เ ด ส (R.A.W. Rhodes) , อ า ง ใ น ฑิ ต ย า สุ ว ร ร ณ ะ ช ฏ , ป ร ะ ช า สั ง ค ม ตํ า บ ล ,
(กรุงเทพมหานคร: มติ รภาพการพิมพและสตดู ิโอ, ๒๕๔๔).

๑๐๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

ตุลาการและกฎหมายท่ีเปนอิสระมีความรับผิดชอบอยางชัดแจงในการจัดการทางการเงินมี
การตรวจสอบสาธารณะเปนอิสระเปนรัฐที่มีโครงสรางสถาบันหลากหลายและตองยอมรับ
ความเปนอิสระของสื่อมวลชน ซ่ึงทําใหอํานาจรัฐไดรับการยอมรับและมีความชอบธรรมตาม
ระบอบประชาธิปไตย ธรรมรัฐแบบน้ีจะเปนการผสมผสานระหวางการบริหารสาธารณะกับ
ประชาธิปไตยอยา งกวา งขวาง

๕. ธรรมรัฐในแงของระบบสังคมท่ีมีปฏิสัมพันธระหวางสวนตางของระบบท่ีท้ัง
ตอบสนองความตองการของสวนยอย (Socio-cybernetic System) การมีปฏิสัมพันธจะเกิด
จากการยอมรับในความตางพึ่งพิงของทุกหนวยในระบบจะไมมีหนวยใดหนวยหน่ึงจะสามารถ
มีปฏิกิริยาหรือแกปญหาอยางเปนเอกเทศ เปนระบบท่ีพลวัตของระบบทําใหสามารถแกไข
ปญหาหรือตอบสนองความตองการของสวนตาง ๆ อยางยั่งยืนโดยท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน จะ
สามารถสรางแบบของปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกันในการแกปญหาของชาติดังนั้นระบบน้ีจะไมมี
จดุ ศูนยกลางของสังคมแตจะเกิดศูนยตาง ๆ ในสังคม ภารกิจของรัฐบาลก็คือความสามารถใน
การมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันในการแกปญหารวมกันท้ังเปนการกระตุนการมีสวนรวม โดย
สรุปก็คือเปนการบริหารจัดการท่ีแตละหนวยของภาครัฐและเอกชนรวมกันและถือวาตางฝาย
ตา งเปน หนุ สวน โดยเนนการดําเนินการแบบรวมรเิ รม่ิ รบั ผดิ ชอบการมปี ฏสิ ัมพนั ธแบบนี้มใิ ชจะ
ใชแ ตใ นระดับชาตแิ ตย งั เปนธรรมรฐั ในระดับนานาชาตใิ นระดบั ภูมิภาคและโลก

๖. ธรรมรัฐในแงการจัดระบบองคกรเครือขายจากภาคสาธารณะและภาคเอกชน
(Self-Organizing Network) ในกรณีน้ีเกิดความเก่ียวพันระหวางองคก รตา ง ๆ ที่สามารถรวบรวม
ทรัพยากรมาเพื่อจะไดบริการตอสาธารณะ ดังนั้น องคกรเครือขายจะสามารถนําเอาขาวสาร
ขอมูลและเงินรวมเทคโนโลยีมารวมกันในการทํางานซ่ึงอาจจะเห็นได เชน ในโครงการรวม
ระหวางองคกรที่สําคัญ เม่ือไรมีระบบพันธกิจมิตรเกิดขึ้นจะมีทรัพยากรมากขึ้นดวยยังทําใหมี
อสิ ระและมีอํานาจในการตอรอง เกิดรฐั บาลกลางจะเขา กา วกายส่ังการไดอยางไมมีขอจํากัด

สรุปไดวา ธรรมาภิบาล หมายถึงการบริหารการจัดการดูแลประโยชนของสวนรวม
และการรักษาผลประโยชนซึ่งกันและกันระหวางภาครฐั ภาคสังคม ภาคเอกชนและประชาชน
ท่ัวไป ในทุกๆ ดานและทุกๆ ระดับ เพ่ือใหมีการวางกรอบการทํางานอยางเปนระบบท่ีมี
ความสัมพันธ วิธีการ และมีเคร่ืองมือท่ีกอใหเกิดระบบการบริหารจัดการที่ดีดวยความเปน
ธรรมเคารพสิทธิอยางเสมอกันมีระบบและการใชกฎหมายท่ียุติธรรม มีความรับผิดชอบเปด
โอกาสใหประชาชนมสี วนรว ม มีความโปรงใส มีความคงเสน คงวาสามารถตรวจสอบได รับรูได

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๐๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

เม่ือตัดสินใจแลวเปดเผยเหตุผลไดการใชอํานาจมีที่มาท่ีไปอยางเปดเผยชัดเจนและสามารถ
กา วกา ยสง่ั การไดอยา งไมมขี อจํากัด

๖.๓ องคประกอบของธรรมาภบิ าล

องคประกอบของธรรมาภิบาลเพื่อใหเกิดระบบการบริหารกิจการบานเมืองและ
สังคมท่ดี ขี องหนวยงานมนี ักวชิ าการไดเสนอแนวคิดไวต า ง ๆ กนั ดังนี้

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักด์ิ กลาววา องคประกอบของธรรมาภิบาลที่เสนอโดย
United Nations Development Programme (UNDP) มี ๙ องคประกอบ ไดแ ก154๒๕

๑. การมีสวนรวมของประชาชน (Public Participation) ประชาชนท้ังชายและ
หญิงมีสวนรวมในกระบวนการตัดสินใจอยางเทาเทียมกันไมวาจะเปนการมีสวนรวมโดยตรง
หรือทางออมโดยผานสถาบันตาง ๆ ท่ีมีอํานาจอันชอบธรรม (Legitimate Intermediate
Institution)

๒. กฎหมายท่ียุติธรรม (Rule of Law) การปกครองประเทศจะใชกฎหมายเปน
บรรทัดฐานและทุกคนเคารพกฎหมาย โดยที่กรอบของกฎหมายที่ใชในประเทศตองมีความ
ยตุ ิธรรมและถกู บงั คบั ใชกับคนกลมุ ตา ง ๆ อยา งเสมอภาคเทาเทยี มกัน

๓. ความเปดเผยโปรงใส (Transparency) กระบวนการทํางานกฎเกณฑกติกา
ตา ง ๆ มคี วามเปดเผยตรงไปตรงมาขอมูลขาวสารตาง ๆ ในสังคมสามารถถายโอนไดอ ยางเปน
อิสระ (Free Flow of Information) ประชาชนสามารถเขาถึงและรบั ทราบขอมลู หรือขาวสาร
สาธารณของทางราชการไดตามทก่ี ฎหมายบญั ญัติ

๔. การมีฉันทานุมัติรวมในสังคม (Consensus Orientation) การตัดสินใจดําเนิน
นโยบายใด ๆ ของภาครัฐตอ งมีการประสานความตอ งการหรอื ผลประโยชนที่แตกตางของกลุม
คนในสังคมใหเกิดเปนความเห็นรวมกัน (Broad Consensus) บนพื้นฐานของสิ่งที่เปน
ประโยชนส งู สุดแกส ังคมโดยรวม

๕. กลไกการเมืองที่ชอบธรรม (Political Legitimacy) กระบวนการเขาสูอํานาจทาง
การเมืองมีความชอบธรรมและเปนท่ียอมรับของคนในสังคม เชน การไดมาซ่ึงสมาชิกสภาผูแทน

๒๕ เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศ ักดิ์, ตวั ชว้ี ัดธรรมาภิบาล, พิมพค รัง้ ท่ี ๑, (กรงุ เทพมหานคร: โรงพิมพ
คุรุสภาลาดพรา ว, ๒๕๔๔), หนา ๑๗-๑๙.

๑๐๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ราษฎรท่ีมีคุณภาพการมีคณะรัฐมนตรีที่ปฏิบัติงานเพื่อประโยชนแกสวนรวมการมีระบบราชการ
ที่สุจริตโปรง ใสตรวจสอบไดการมีกระบวนการเปด เผยทรัพยสินและหน้สี ินของนักการเมือง การมี
คณะกรรมการปองกันและปราบปราบการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) ทําหนาท่ีไตสวนและวินิจฉัย
เจา หนาท่ีรัฐที่ร่ํารวยผิดปกติ

๖. ความเสมอภาค (Equity) ประชาชนทุกคนมีความสามารถอยางเทาเทียมกันใน
การเขาถึงโอกาสตาง ๆ ในสังคม เชน โอกาสพัฒนาหรือมีความเปนอยูท่ีดี โดยรัฐเปนผูจัดสรร
สาธารณปู โภคขั้นพ้ืนฐานเพ่อื ใหประชาชนสามารถเขาถึงบรกิ ารโดยเทาเทยี มกัน

๗. ประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Effectiveness and Efficiency) กระบวนการ
และสถาบันตา ง ๆ เชน รัฐสามารถจัดสรรใชทรัพยากรตาง ๆ ไดอยางคุมคาและเหมาะสมเพื่อ
ตอบสนองความตองการของคนในสังคมโดยรวมรวมถึงการทํางานที่รวดเร็วมีคุณภาพและ
กอ ใหเ กิดประโยชนสูงสดุ

๘. พันธะความรับผิดชอบตอสังคม (Accountability) การตัดสินใจใด ๆ ของ
ภาครัฐภาคเอกชนและภาคประชาชนตองกระทําโดยมีพันธะความรับผิดชอบในส่ิงท่ีตนเอง
กระทําตอสาธารณชนหรือผูมีสวนไดสวนเสียกับหนวยงานนั้นโดยคํานึงถึงประโยชนท่ีจะ
เกดิ ข้นึ แกสวนรวมเปนหลกั และมจี ิตใจเสยี สละเห็นคุณคาสงั คมทต่ี นเองสังกดั อยู

๙. การมีวิสัยทัศนเชิงกลยุทธ (Strategic Vision) การท่ีผูนําและประชาชนใน
ประเทศมีวสิ ัยทัศนใ นการสรา งธรรมาภบิ าลและการพฒั นาอยางย่งั ยืน

สรปุ องคประกอบของธรรมาภิบาลเพื่อใหเกิดระบบการบริหารกิจการบานเมืองและ
สังคมท่ีดี คือ การมีสวนรวมในการทํางานของบุคลากรในองคกร มีการประสานระหวาง
บุคลากรและผูบังคับบัญชา ตองมีการเปดเผยการดาํ เนนิ งานดา นนโยบายการบรหิ ารแบบหลัก
ธรรมาภิบาลแบบเบด็ เสรจ็

ชวน หลีกภัย สรุปในการประชุมคณะรัฐมนตรีเม่ือวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๒
มีมติเห็นชอบใหกําหนดเรื่องการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี หรือ Good
Governance เปนวาระแหงชาติ (National Agenda) และใหห นว ยงานของรัฐทุกแหงกําหนด
แผนงาน โครงการ เพือ่ ปรับงานในความรับผิดชอบใหส อดคลองกับหลักการการบรหิ ารจัดการ
ท่ีดีและรายงานใหคณะรัฐมนตรีทราบ ซึ่งองคประกอบหลักสําคัญประกอบดวยหลักการ ๕
ประการ คอื

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๐๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

หลักการท่ี ๑ หลักนิติธรรม คือ การทําใหกฎหมาย กฎและกติกาตาง ๆ เปนท่ี
ยอมรับของประชาชน ใหมีการถือปฏบิ ัตริ ว มกันอยา งเสมอภาคและเปนธรรม

หลักการท่ี ๒ หลักความโปรงใส คือ การทําใหสังคมไทยเปนสังคมที่มีการเปดเผย
ขอมูลขาวสารตรงไปตรงมาสามารถตรวจสอบความถูกตองได ชวยใหการทํางานภาครัฐและ
ภาคเอกชนปลอดจากทุจริตและคอรรัปชนั่

หลักการที่ ๓ หลักความมีสวนรวม คือ การทําใหสังคมไทยเปนสังคมที่ประชาชนมี
สวนรวมรับรูและเสนอความเห็นในการตัดสินใจสาํ คัญของสังคม โดยประชาชนมีความสามัคคี
รวมมอื ในการทาํ งานเรื่องสําคญั ตลอดจนไมมกี ารผกู ขาดทงั้ โดยภาครฐั หรือภาคเอกชน

หลักการที่ ๔ หลักความรับผิดชอบ คือ การทําใหสังคมไทยเปนสังคมที่ทุกฝายมี
ความรับผิดชอบตอบทบาทหนาที่ของตนเคารพในความคิดเห็นท่ีแตกตางโดยพยายามหาทาง
ออกทท่ี กุ ฝายยอมรับรว มกันได กลารับผลการกระทาํ ของตน

หลกั การที่ ๕ หลักความคุมคา คอื การทาํ ใหส ังคมไทยเปนสังคมท่ีรูคุณคา ทรพั ยากร
ของชาติและบริหารงานดวยความประหยัดมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ภาครัฐตอ งใหบรกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพแกประชาชน

สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เห็นวาองคประกอบหลักธรรมาภิ
บาลเนนเก่ียวกับการบรหิ ารงานบุคคลและการใหบรกิ ารของรฐั ซึง่ ประกอบดว ยหลักการสําคัญ
๖ ประการคือ155๒๖

๑. หลกั นิตธิ รรม
๑) กฎหมายและกฎเกณฑตาง ๆ มีความเปนธรรม สามารถปกปองคนดีและ

ลงโทษคนไมดีได
๒) มีการปฏริ ูปกฎหมายอยา งสมา่ํ เสมอใหเหมาะกบั สภาพการณท ี่เปลยี่ นไป
๓) การดําเนินงานของกระบวนยุติธรรมเปนไปอยางรวดเร็วโปรงใสและ

ตรวจสอบไดแ ละไดร บั การยอมรับจากประชาชน

๒๖ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, ตัวชี้วัดธรรมาภิบาล, พิมพคร้ังท่ี ๑,
(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพค รุ สุ ภาลาดพรา ว, ๒๕๔๔), หนา ๑๗-๑๘.

๑๐๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๔) ประชาชนตระหนักถึงสิทธิเสรีภาพหนาที่ของตนเองเขาใจกฎเกณฑตาง ๆ
และมสี วนรว มในกรณตี า ง ๆ

๒. หลักความโปรงใส
๑) การสํารวจความพึงพอใจของผูมาใชบริการของรัฐและเจาหนาที่ของสวน

ราชการ
๒) จํานวนเรอ่ื งกลา วหา รองเรียน หรือสอบสวนเจา หนาท่ีของรฐั
๓) เกณฑในการใชดลุ พินจิ ของสวนราชการมีความชัดเจนเปนทีย่ อมรบั
๔) สวนราชการมีตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานท่ีเปนรูปธรรมและเปดเผยตอ

สาธารณะ
๓. หลักความรบั ผิดชอบ
๑) การไดรับการยอมรับและความพอใจจากผรู ับบริการและผเู ก่ยี วของ
๒) การบรรลผุ ลตามวตั ถปุ ระสงคท ีก่ ําหนดไวข องงานท่ปี ฏิบตั ิ
๓) คณุ ภาพของงานทงั้ ดานปรมิ าณ ความถูกตอง ครบถว น รวมทง้ั จํานวน
ความผิดพลาดท่ีเกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน และจํานวนการรองเรียนหรือการ

กลาวหาที่ไดร ับ
๔. หลกั ความคมุ คา
๑) ความพงึ พอใจของผูรับบรกิ าร
๒) ความมีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล ทง้ั ดานปรมิ าณและคุณภาพ
๕. หลกั การมีสว นรวม
๑) ความสัมฤทธผิ์ ลของโครงการตาง ๆ รวมถึงการประหยดั งบประมาณ
๒) ความพึงพอใจของผูมีสวนเกย่ี วของหรือผูไดร ับผลกระทบ
๓) จํานวนผูเขารว มแสดงความคดิ เห็นหรอื จาํ นวนขอเสนอแนะหรือขอคิดเห็น

ของประชาชนในการดําเนนิ การเร่ืองตาง ๆ รวมถงึ คณุ ภาพของการเขา มามสี ว นรวม
๖. หลกั คณุ ธรรม
๑) การรองเรียนหรือรองทุกขในการดําเนินการในเร่ืองตาง ๆ ทั้งในและนอก

องคกรลดลง

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๐๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๒) คุณภาพชีวิตของคนในสังคมดีขึ้น มีการบริการจัดการและใชทรัพยากรใน
ชาติอยางเกิดประโยชนสงู สดุ

๓) สังคมมเี สถียรภาพ อยรู ว มกนั อยางสงบสุขดวยความมีระเบียบวนิ ยั
สรุป สาํ นักงานคณะกรรมขาราชการพลเรือนนําองคประกอบการบริหารงานบุคคล
ตามหลักธรรมาภิบาลมาใชในองคกรเพื่อใหเกิดประโยชนมากที่สุด เชน หลักนิติธรรม
กฎหมายและกฎเกณฑตาง ๆ มีความเปนธรรมสามารถปกปองคนดีและลงโทษคนไมดีได
หลักความโปรงใส คือ การสํารวจความพึงพอใจของผูมาใชบริการของรัฐ และเจาหนาท่ีของ
สวนราชการ หลักความรับผิดชอบ การไดรับการยอมรับและความพอใจจากผูรับบริการและ
ผูเกี่ยวของ หลักความคุมคา ความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลทางดานปริมาณและ
คุณภาพ หลักการมีสวนรวม ความสัมฤทธ์ิผลของโครงการตาง ๆ รวมถึงการประหยัด
งบประมาณ หลักคุณธรรม คุณภาพชีวิตของในสังคมดีขึ้น มีการบริการจัดการและใช
ทรัพยากรในชาตอิ ยางเกดิ ประโยชนสูงสุด
ชนะศักดิ์ ยุวบูรณ เห็นวาองคประกอบหลักของธรรมาภิบาลที่เสนอโดยระเบียบ
สํานักนายกรัฐมนตรี เนนการกําหนดเปนกรอบแนวทางใหแกหนวยงานราชการเพ่ือถือปฏิบัติ
ตามหลักการสาํ คญั ๖ ประการคอื 156๒๗
๑. หลักนิติธรรม เปนการตรากฎหมายและกฎขอบังคับใหทันสมัยและเปนธรรม
เปนท่ียอมรับของสังคม อันจะทําใหสังคมยินยอมพรอมใจกันปฏิบัติตามกฎหมายและกฎ
ขอบังคับเหลานั้น โดยถือวาเปนการปกครองภายใตกฎหมายมิใชอําเภอใจหรืออํานาจของตัว
บคุ คล
๒. หลักคุณธรรม เปนการยึดมั่นในความถูกตองดีงามโดยรณรงคใหเจาหนาท่ีของ
รัฐยึดถือหลักนี้ในการปฏิบัติหนาที่เพื่อใหเปนตัวอยางแกสังคมและสงเสริมสนับสนุนให
ประชาชนพัฒนาตนเองไปพรอ มกนั เพอ่ื ใหคนไทยมคี วามซื่อสตั ย จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบยี บ
วินยั ประกอบอาชพี สจุ รติ จนเปน นิสยั ประจาํ ชาติ
๓. หลักความโปรงใส เปนการสรางความไววางใจซ่ึงกันและกันของคนในชาติโดย
ปรับปรุงกลไกการทํางานขององคกรทุกวงการใหมคี วามโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลขาวสารท่ี

๒๗ ชนะศักด์ิ ยุวบูรณ, กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการที่ดี, ในการปกครองท่ีดี
(Good Governance), (กรงุ เทพมหานคร: บพิธการพิมพ, ๒๕๔๓), หนา ๓-๑๒.

๑๐๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

เปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาท่ีเขาใจงาย ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารได
สะดวกและมกี ระบวนการใหประชาชนตรวจสอบความถกู ตองชดั เจน

๔. หลักความมีสวนรวม เปนการเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรูและเสนอ
ความเห็นในการตัดสินใจปญหาสําคัญของประเทศไมวาดวยการแสดงความเห็นการไต
สวนสาธารณะประชาพิจารณก ารแสดงประชามติ

๕. หลักความรับผิดชอบ เปนการตระหนักในสิทธิหนาท่ีความสํานึกในความ
รับผิดชอบตอสังคม การใสใจปญหาสาธารณะของบานเมืองและกระตือรือรนในการแกปญหา
ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นท่ีแตกตาง และความกลาท่ีจะยอมรับผลจากการกระทํา
ของตน

๖. หลักความคุมคา เปนการบริหารจัดการและใชทรัพยากรที่มีจํากัดเพื่อใหเกิด
ประโยชนสูงสุดแกสวนรวม โดยรณรงคใหคนไทยมีความประหยัดใชของอยางคุมครอง
สรางสรรคสินคาและบริการที่มีคุณภาพสามารถแขงขันไดในเวทีนานาชาติ และพัฒนา
ทรพั ยากรธรรมชาติใหสมบูรณย ง่ั ยืน

สุดจิต นิมิตกุล เห็นวาองคประกอบของธรรมาภิบาลท่ีเสนอโดยกระทรวงมหาดไทย
เนนไปทางดานการบริหารการปกครองการพัฒนาและการกระจายอํานาจซ่ึงมี ๑๑ องคประกอบ
คอื ๒๘

157

๑. การมีสวนรวม (Participation) เปนการมีสวนรวมของท้ังประชาชนและ
เจาหนาท่ีรัฐในการบริหารงาน เพ่ือใหเกิดความคิดริเริ่มและพลังการทํางานท่ีสอดประสานกัน
เพือ่ บรรลเุ ปาหมายในการใหบริการประชาชน

๒. ความย่ังยืน (Sustainability) มกี ารบริหารงานท่ีอยูบนหลักการของความสมดุล
ท้ังในเมอื งและชนบท ระบบนเิ วศ และทรพั ยากรธรรมชาติ

๓. ประชาชนมีความรูสึกวาเปนส่ิงที่ชอบธรรม (Legitimacy) และใหการยอมรับ
(Acceptance) การดําเนินงานของแตละหนวยงานสอดคลองกับความตองการของประชาชน
ประชาชนพรอมที่จะยอมสูญเสียประโยชนสวนตนไป เพื่อประโยชนสวนรวมที่ตองรับผิดชอบ
รว มกนั

๒๘ สุดจิต นิมิตกุล, กระทรวงมหาดไทยกับการบริหารจัดการที่ดี, ในการปกครองท่ีดี
(Good Governance), (กรุงเทพมหานคร: บพิธการพมิ พ, ๒๕๔๓), หนา ๑๓-๒๔.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๐๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๔. มีความโปรงใส (Transparency) ขอมูลตาง ๆ ตองตรงกับขอเท็จจริงของ
ดําเนนิ การและสามารถตรวจสอบได มีการดําเนินการท่ีเปดเผยชัดเจนและเปน ไปตามท่ีกาํ หนดไว

๕. สงเสริมความเปนธรรม (Equity) และความเสมอภาค (Equality) มีการกระจาย
การพฒั นาอยา งทัว่ ถงึ เทาเทียมกนั ไมเลือกปฏิบัติ และมรี ะบบการรับเร่ืองราวรองทุกขท ่ชี ดั เจน

๖. มีความสามารถที่จะพัฒนาทรัพยากรและวิธีการบริหารกิจการบานเมอื งและสังคม
ทดี่ ีเจา หนาท่ีของทุกหนวยงานจะตองไดรับการพฒั นาความรูและทักษะเพื่อใหสามารถนําไปปรับ
ใชกับการทํางานไดและมีการกําหนดข้ันตอนการดําเนินงานท่ีชัดเจน เพื่อใหทุกหนวยงานยึดถือ
เปน แนวปฏิบัติรว มกนั

๗. สงเสริมความเสมอภาคทางเพศ (Promoting Gender Balance) เปดโอกาสให
สตรีทั้งในเมืองและชนบทเขามามีสวนรวมในการพัฒนาชุมชนและสังคมในทุกๆ ดานโดยเฉพาะ
อยางยิ่งใหเ ขามามีสว นรว มในการปกครองทองถนิ่ มากข้ึน

๘. การอดทนอดกลั้น (Tolerance) และการยอมรับ (Acceptance) ตอทัศนะท่ี
หลากหลาย (Diverse Perspectives) รวมท้ังตองยุติขอขัดแยงดวยเหตุผลหาจุดรวมท่ีทุกฝาย
ยอมรับรว มกนั ได

๙. การดําเนินการตามหลักนิติธรรม (Operating by Rule of Law) พัฒนาปรับปรุง
แกไ ขและเพ่ิมเติมกฎหมายใหมคี วามทนั สมัยและเปนธรรม

๑๐. ความรับผิดชอบ (Accountability) เจาหนาที่จะตองมีความรับผิดชอบตอ
ประชาชนความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงาน จะเปนตัวช้ีวัดสําคัญในการประเมิน
ความสําเรจ็ ของหนว ยงานและเจา หนาที่

๑๑. การเปนผูกํากับดูแล (Regulator) แทนการควบคุม โอนงานบางอยางไปให
องคกรทองถ่ินซึ่งใกลชิดกับประชาชนที่สุด หรืองานบางอยางก็ตองแปรรูปใหเอกชนดําเนินการ
แทน

ปดิเทพ อยูย นื ยง กลาววา หลักธรรมาภบิ าล อาจแยกองคป ระกอบที่สําคัญไดด ังน้ี158๒๙
๑. หลักความโปรงใส (Transparency) กลาวคือไมว า จะทําการใด ๆ ในการบริหาร
จัดการองคกรก็ตองมีเหตุผลโปรงใสในวิธีการและสามารถตรวจสอบไดและมีองคกรหรือ

๒๙ ปดิเทพ อยูยืนยง, ธรรมาภิบาล (Good Governance), [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
http://C:\WINDOWS\TEMP\triJOFCH.htm. [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๑๐๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

หนวยงานเพื่อตรวจสอบการทํางาน โดยพรอมถูกตรวจสอบไมวาจะเปน จากองคก รภายในหรือ
องคก รภายนอก

๒. หลักนิติธรรม (Rule of low) หมายถึง การใชกฎหมายตาง ๆ อยางเที่ยงตรง
ยุตธิ รรมสามารถบงั คับใชก ฎหมายกับทุกคนไดเ สมอกนั โดยไมเ ลือกปฏบิ ตั ิ

๓. หลักความรับผิดชอบ (Responsibility) กลาวคือ ตองมีการรับผิดชอบในการ
กระทาํ ของตน ในฐานะเปนสวนหนงึ่ ของการขับเคล่ือนของงานหรอื องคกรและตองปฏิบัติตาม
หนา ทข่ี องตนอยางเครง ครัดเพ่อื บรรลุผลของงานและองคกร

๔. หลกั ความเสมอภาค (Equity) หมายถึง การไดร บั การปนสวนในประโยชนต าง ๆ
อยา งเทา เทียมกนั เพื่อจะไดไมเกดิ การขดั กันแหงผลประโยชน

๕. หลักคุณธรรม (Moral) กลาวคือ คนในองคกรตองมีความรูสึกผิดชอบช่ัวดีและ
สํานกึ ในความดีงามท่ีจะทํางานโดยถูกตอ งและสุจริต

๖. หลักความคุมคา โดยตองถือประโยชนสูงสุดแหงองคกรเปนท่ีตั้งในการบริหาร
และขบั เคลื่อนองคกรไปใหส คู วามสําเรจ็

๗. หลกั การมีสว นรวม กลาวคือ ประชาชนและบุคลากรในองคกรจะตอ งมสี วนรวม
ในการทาํ งานโดยมงุ ผลแหงการประสบความสาํ เรจ็ รว มกนั

นิศานาถ ไดใหความหมายไวส้ัน ๆ วา ธรรมาภิบาล เปนกระบวนการในการตัดสินใจ
ในการปฏิบัตงิ านมีคุณสมบัติและองคประกอบคือ159๓๐

๑. การมสี ว นรว ม (Participation)
๒. มีกฎระเบยี บ (Rule of Law)
๓. มคี วามโปรงใส (Transparency)
๔. มีภาระหนา ทีต่ อ ผมู สี ว นไดส ว นเสีย (Responsiveness)
๕. มคี วามรับผดิ ชอบ (Accountability)
๖. มปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล (Effectiveness and efficiency)

๓๐ นิศานาถิศานาถ นนทจ ุมจัง, วารสารวงการครู, (กรงุ เทพมหานคร: ฐานการพิมพ, ๒๕๔๗),
หนา ๗๗.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๐๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สรุปไดวาองคประกอบของธรรมาภิบาล หรือ ระบบการบริหารกิจการบานเมือง
และสังคมที่ดี ประกอบดวย หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักความมีสวน
รวมหลักความรับผิดชอบ หลักความคุมคาซึ่งเปนคุณธรรมสากลท่ีสามารถนําไปบูรณาการใน
การบรหิ ารการศึกษาในโรงเรยี น

๖.๓.๑ หลักนติ ธิ รรม
หลักนิติธรรม ซ่ึงเปนหลักการสําคัญในหลักธรรมาภิบาลหรือระบบการบริหาร
กิจการบานเมืองและสงั คมท่ีดี ไดมนี ักวชิ าการใหทศั นะไวตา ง ๆ กัน ดงั น้ี
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักด์ิ กลาวถึง ความหมายของหลักนิติธรรมวาการปกครอง
ประเทศจะใชก ฎหมายเปนบรรทดั ฐานและทุกคนเคารพกฎหมาย โดยท่ีกรอบของกฎหมายทใ่ี ชใน
ประเทศตอ งมีความยตุ ิธรรมและถกู บังคับใชกบั คนกลมุ ตาง ๆ อยางเสมอภาคเทาเทียมกัน160๓๑
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี กําหนดความหมายของหลักนิติธรรมวาการมีเกณฑ
ยุติธรรมและชัดเจน ไดแก การตรากฎหมายและกฎขอบังคับ ใหทันสมัยและเปนธรรมเปนที่
ยอมรับของสังคม อันจะทําใหสังคมยินยอมพรอมใจกันปฏิบัติตามกฎหมายและกฎขอบังคับ
เหลาน้นั โดยถือวาเปนการปกครองภายใตก ฎหมายมิใชอําเภอใจหรอื อาํ นาจของตวั บุคคล161๓๒
สดุ จิต นมิ ิตกุล กลาวถงึ ความหมายของหลกั นิติธรรมวา พัฒนาปรับปรุงแกไ ขและ
เพ่มิ เติมกฎหมายใหม คี วามทันสมยั 162๓๓
สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน กลาววา หลักนิติธรรม หมายถึง
กฎหมายและกฎเกณฑตาง ๆ มีความเปนธรรมสามารถปกปองคนดีและลงโทษคนไมดีไดมีการ

๓๑ เกรยี งศกั ดิ์ เจรญิ วงศศ กั ด์ิ, “ธรรมรัฐภาคการเมือง : บทบาทภาคเี มอื ง” รฐั สภาสาร ๔๖, ๙
กันยายน ๒๕๔๑. [ออนไลน], แหลงท่ีมา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/GovernanceRule. htm. [๙
กนั ยายน ๒๕๖๒].

๓๒ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี.
(๒๕๔๒). หลักนิติธรรม. [ออนไลน], แหลงท่ีมา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/Governance.asp. [๙
กันยายน ๒๕๖๒].

๓๓ สุดจิต นิมิตกุล, (๒๕๔๒), หลักนิติธรรม, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.kpi.ac.
th/kpiuser/Governance Rule.htm. [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๑๑๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ปฏิรูปกฎหมายอยางสมํ่าเสมอใหเหมาะสมกับสภาพการณท่ีเปล่ียนไปการดําเนินงานของ
กระบวนการยุติธรรมเปนไปอยางรวดเร็ว โปรงใส และตรวจสอบไดและไดรับการยอมรับจาก
ประชาชน163๓๔

สรุปไดวา หลักนิติธรรม หมายถึง การมีกฎเกณฑตาง ๆ ที่ยุติธรรมและชัดเจนของ
กฎหมาย เพื่อใหเกดิ ความเปนธรรมและเสมอภาคเทาเทียมกนั เปน ท่ียอมรบั ของสังคมอนั จะทํา
ใหสังคมยินยอมพรอมใจกันปฏิบัติตามกฎขอบังคับเหลานั้น ดวยกระบวนการยุติธรรมและถูก
บงั คบั ใชกบั คนกลุมตาง ๆ อยางเสมอภาคเทาเทียมกนั โปรงใส และตรวจสอบได

๖.๓.๒ หลักคณุ ธรรม
หลักคุณธรรม ซึ่งเปนหลักสําคัญในหลักธรรมาภิบาลหรือระบบการบริหารกิจการ
บานเมืองและสงั คมท่ีดี มีนักวิชาการใหทัศนะไวตาง ๆ กนั ดงั นี้
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี กลาวถึง หลักคุณธรรมวา หมายถึงความชอบธรรม
ในการใชอํานาจ ไดแก การยึดม่ันในความถูกตองดีงามโดยรณรงคใหระเบียบสํานักนายก
เจาหนา ท่ีของรฐั ยึดถอื หลกั นี้ในการปฏบิ ตั ิหนาท่ีรฐั มนตรีเพ่ือเปนตัวอยางแกสงั คมและสง เสริม
สนับสนุนใหประชาชนพัฒนาตนเองไปพรอมกันเพ่ือใหคนไทยมีความซื่อสัตย จริงใจขยัน
อดทน มรี ะเบียบวนิ ัยประกอบอาชีพสจุ รติ จนเปน นสิ ยั ประจาํ ชาต1ิ64๓๕
สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน กลาวถึง หลักคุณธรรมหมายถึง
การรองเรียนหรือรองทุกขในการดําเนนิ การในเร่อื งตาง ๆ ทั้งในและนอกองคก รลดลงคุณภาพ
ชีวติ ของคนในสงั คมดีขึ้น มีการบริหารจัดการและใชทรพั ยากรในชาติอยางเกิดประโยชนสูงสุด
สงั คมมีเสถียรภาพ อยรู วมกันอยา งสงบสขุ ดว ยความมีระเบียบวนิ ยั 165๓๖

๓๔ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, หลักคุณธรรม, [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
http://www.kpi.ac.th/kpiuser/GovernanceMoral.htm [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๓๕ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี,
(๒๕๔๒), หลักคุณธรรม, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/GovernanceWorth.
htm [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๓๖ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, หลักคุณธรรม, [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
http://www.kpi.ac.th/kpiuser/GovernanceMoral.htm [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๑๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สรุปไดวา หลักคุณธรรมหมายถึง การใชอํานาจความชอบธรรมอยางถูกตองเพื่อ
สงเสริมสนับสนุนใหประชาชนมีคุณภาพ มีความซ่ือสัตย จริงใจ ขยันอดทน มีระเบียบวินัยใน
การประกอบอาชีพทสี่ ุจรติ มีการบรหิ ารจัดการและใชท รัพยากรอยางเกดิ ประโยชนส ูงสดุ สังคม
มเี สถียรภาพ อยรู วมกันอยา งสงบสุข

๖.๓.๓ หลักความโปรงใส
หลักความโปรงใส ซ่ึงเปนหลักสําคัญในหลักธรรมาภิบาลหรือระบบการบริหาร
กจิ การบา นเมืองและสังคมที่ดี มนี กั วชิ าการแสดงทัศนะไวตาง ๆ กันดังน้ี
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ กลาวถึง หลักความโปรงใสวากระบวนการทํางาน
กฎเกณฑกตกิ าตา ง ๆ ทมี่ ีความเปด เผยตรงไปตรงมาขอ มลู ขาวสารตาง ๆ ในสงั คมสามารถถา ย
โอนไดอ ยา งเปนอิสระประชาชนสามารถเขาถงึ และรบั ทราบขอมูลหรือขอมูลขาวสารสาธารณะ
ของทางราชการไดต ามท่กี ฎหมายบญั ญตั 1ิ66๓๗
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี กลาวถึง หลักความโปรงใสวาหมายถึง การมีการ
ดําเนินการที่โปรงใส ไดแก การสรางความไววางใจซ่ึงกันและกันของคนในชาติโดย ปรับปรุง
กลไกการทํางานขององคกรทุกวงการใหมีความโปรงใส มีการเปดเผยขอมูลขาวสาร ท่ีเปน
ประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาที่เขาใจงายประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวก
และมกี ระบวนการใหป ระชาชนตรวจสอบความชดั เจน167๓๘
สุดจิต นิมิตรกุล กลาวถึงหลักความโปรง ใสวา ขอมูลตา ง ๆ ตองตรงกับขอเท็จจริง
ของการดาํ เนินการและความสามารถตรวจสอบไดม ีการดําเนินการท่ีเปดเผยชัดเจนและเปนไป
ตามท่ีกําหนดไว168๓๙

๓๗ เกรียงศักด์ิ เจริญวงศศกั ด์ิ, “ธรรมรัฐภาคการเมือง: บทบาทภาคีเมือง” รัฐสภาสาร ๔๖, ๙
กันยายน ๒๕๔๑. [ออนไลน] , แหลง ที่มา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/GovernanceEquity.htm. [๙
กนั ยายน ๒๕๖๒].

๓๘ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี.
(๒๕๔๒).หลักคุณธรรม, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/ Governance
Worth.htm [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒].

๓๙ สุดจิต นิมิตกุล หลักการมีสวนรวม,แหลงท่ีมาของขอมูล, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: http://
www.kpi.ac.th/kpiuser/GovernanceEquity.htm. [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒].

๑๑๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน กลาวถึงหลักความโปรงใสวา
หมายถึงความโปรงใสขึ้นอยูกับความพึงพอใจของผูมาใชบริหารของรัฐและเจาหนาท่ีของสวน
ราชการจํานวนเรื่องกลาวหารองเรียนหรือสอบสวนเจาหนาที่ของรัฐ เกณฑในการใชดุลพินิจ
ของสวนราชการที่มีความชัดเจนเปนที่ยอมรับสวนราชการมีตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานที่เปน
รปู ธรรมและเปด เผยตอสาธารณะ169๔๐

สรุปไดวา หลักความโปรงใส หมายถึง กระบวนการทํางานกฎเกณฑกติกาตาง ๆ ท่ี
มีการดําเนินการสรางความไววางใจซึ่งกันและกันเพ่ือใหมีการเปดเผยขอมูลขาวสารที่เปน
ประโยชนอยางตรงไปตรงมาของคนในองคกร มีความโปรง ใส ตรวจสอบไดและมคี วามพรอมท่ี
จะถกู ตรวจสอบไดไ มว าเปน จากองคกรภายในหรือองคก รภายนอก

๖.๓.๔ หลักการมีสวนรว ม
หลักการมีสวนรวม ซ่ึงเปนหลักสําคัญในหลักธรรมาภิบาลหรือระบบการบริหาร
กจิ การบา นเมอื งและสงั คมท่ดี ี มนี ักวชิ าการใหท ศั นะไวต า ง ๆ กันดังน้ี
คณะผูว ิจยั โครงการแนวทางการสรางเสรมิ ประชาธปิ ไตยแบบมีสวนรว ม กาํ หนด
ความหมายของการการมีสวนรวมวาเปนการกระจาย โอกาสใหประชาชนมีสวนรวมทางการ
เมอื งและการบรหิ ารเกย่ี วกับการตดั สินใจในเรือ่ งตา ง ๆ รวมท้ังการจดั สรรทรัพยากรของชมุ ชน
และของชาติ ซ่ึงจะสงผลกระทบตอวิถีชีวิตและความเปนอยูของประชาชนโดยการใหขอมูล
แสดงความคิดเห็นใหคําแนะนําปรึกษารวมวางแผน รวมปฏิบัติ รวมตลอดจนการควบคุม
โดยตรงจากประชาชน170๔๑
เฉลิม เกิดโมลี กลาวถึงหลักความมีสวนรวม หมายถึง การที่ประชาชนไดใช
คุณสมบัติสวนตัวในดานความรูความสามารถ และทรัพยากรที่มีอยูเขาไปรวมคิดตัดสินใจใน

๔๐ สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน, หลักความโปรงใส, [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
http://www.kpi.ac.th/kpiuser/GovernanceMoral.htm. [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒].

๔๑ คณะผวู จิ ัยโครงการแนวทางการสรา งเสริมประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมตามรฐั ธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย, (๒๕๔๐), การมีสวนรวมของประชาชน, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: http://www.
kpi.ac.th/kpiuser/publicparticipation.asp. [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒]

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๑๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ขน้ั ตอนตาง ๆ ของกิจกรรมหน่งึ ๆ ดวยตนเองหรือองคกรท่ีประชาชนจัดตง้ั ขึ้นอยางมีเสรภี าพ
และเสมอภาค171๔๒

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี กลาวถึง หลักความมสี วนรวมวาหมายถึง การมีสวน
รวมของผูที่มีความเก่ียวของ ไดแก เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรูและเสนอความเห็น
ในการตัดสินใจในปญหาสําคัญของประเทศไมวาดวยการแจงความเห็นการไตสวนสาธารณะ
การประชาพจิ ารณ การแสดงประชามติหรอื อนื่ ๆ ๔๓172

วนั ชัย วัฒนศัพท ใหนิยามวา กระบวนการมสี วนรวมของประชาชน เปนกระบวนการ
ส่ือสารสองทางท่ีมีเปาหมายโดยรวม เพ่ือท่ีจะใหเกิดการตัดสินใจท่ีดีข้ึนและไดรับการสนับสนุน
จากสาธารณชน ซึ่งเปาหมายของกระบวนการการมีสวนรวมของประชาชนก็คือ การใหขอมูลตอ
สาธารณชน และใหสาธารณชนแสดงความคิดเห็นตอโครงการท่ีนําเสนอหรือนโยบายรัฐและมี
สว นรวมในการแกป ญ หาเพื่อหาทางออกทดี่ ีทีส่ ุดสาํ หรับทุก ๆ คน ๔๔
173

สรุปไดวา หลักการมีสวนรวม หมายถึง กระบวนการเรียนรูซ่ึงกันและกันของ
บุคลากร ทุกฝายในองคกรรวมกันแสดงความคิดเห็นใหคําแนะนําปรึกษารวมวางแผนรวม
ปฏบิ ัติท่ีเห็นพองตองกันเพ่อื เปด กวางในความคดิ เหน็ หาทางออกทดี่ ีทสี่ ุดสําหรับทุก ๆ คน เกิด
การเปลี่ยนแปลงในทิศทางท่ีตองการโดยการกระทําผานกลุมหรือองคก ร เพ่ือใหบ รรลุถงึ ความ
เปล่ียนแปลงท่พี งึ ประสงค

๔๒ เฉลิม เกิดโมลี, แนวทางการมีสวนรวมในกระบวนการนโยบาย, เอกสารประกอบการ
เสวนาวิพากษตัวแบบการมีสวนรวมของประชาชน, (กันยายน ๒๕๔๓). [ออนไลน], แหลงท่ีมา:
http://www.kpi.ac.th/kpiuser/publicparticipation.asp, [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๔๓ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี.
(๒๕๔๒), หลักการมีสวนรวม, [ออนไลน], แหลงท่ีมา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/Governance
Worth.htm [๙ กันยายน ๒๕๖๓].

๔๔ วันชัย วัฒนศัพท, คูมือการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน,
(กรุงเทพมหานคร: ศูนยสันติวิธีเพ่ือพัฒนาประชาธิปไตย), [ออนไลน], แหลงท่ีมา: http://www.kpi.
ac.th/kpiuser/publicparticipation._deflist.asp?chk=&pageno=2 [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๑๑๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๖.๓.๕ หลกั ความรับผดิ ชอบ
หลักความรับผิดชอบ ซึ่งเปนหลักสําคัญในหลักธรรมาภิบาลหรือระบบการบริหาร
กจิ การบา นเมืองและสงั คมทด่ี ี มนี กั วชิ าการใหค วามหมายไวต า ง ๆ กนั ดงั นี้
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์ กลาววา หลักความรับผิดชอบ หมายถึงการตัดสินใจ
ใด ๆ ของภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชนตองกระทาํ โดยมีพันธะความรับผิดชอบใน
สิ่งที่ตนเองกระทําตอสาธารณะชนหรือผูมีสวนไดเสียกับตนเองกระทาํ ตอสาธารณะชนหรือ
ผูมีสวนไดเสียกับหนวยงานนั้น โดยคํานึงถึงผลประโยชนที่จะเกิดขึ้นแกสวนรวมเปนหลัก
และมีจิตใจเสียสละเห็นคุณคาสังคมท่ีตนเองสังกัดอยู174๔๕
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี กลาววา หลักความรับผิดชอบวาหมายถึง ความพรอม
รับการตรวจสอบ ไดแก ตระหนักในสิทธิหนาท่ีความสํา นึกในความรับผิดชอบตอสังคมการใสใจ
ในปญหาสาธารณะของบานเมืองและกระตือรือรนในการแกปญหาตลอดจนการเคารพในการ
แสดงความคิดเหน็ ที่แตกตาง และความกลา ท่ีจะยอมรบั ผลจากการกระทาํ ของตน175๔๖
สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน เสนอวาหลักความรับผิดชอบ หมายถึง
การไดรับการยอมรับและความพึงพอใจจากผูใชบริการและผูมีสวนเกี่ยวของการบรรลุตาม
วัตถุประสงคที่กําหนดไวของงานท่ีปฏิบัติคุณภาพของงานท้ังดานปริมาณความถูกตองครบถวน
รวมท้ังจํานวนความผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงานและจํานวนการรองเรียนหรือการ
กลา วหาทไ่ี ดร ับ176๔๗

๔๕ เกรยี งศกั ดิ์ เจรญิ วงศศกั ด์ิ, “ธรรมรฐั ภาคการเมอื ง : บทบาทภาคีเมือง” รัฐสภาสาร ๔๖, ๙
กันยายน ๒๕๔๑, [ออนไลน] , แหลงที่มา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/Gover nanceRule. htm, [๙
กนั ยายน ๒๕๖๒].

๔๖ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี,
(๒๕๔๒), หลักความรับผิดชอบ, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/Governance
Worth.htm [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๔๗ สาํ นักงานคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื น, หลกั ความรบั ผิดชอบ, [ออนไลน] , แหลง ทม่ี า:
http://www.kpi.ac.th/kpiuwer/GovernanceAccountability.htm. [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๑๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สุดจิต นิมิตกุล กลาววา หลักความรับผิดชอบ หมายถึง เจาหนาท่ีตองมีความ
รับผิดชอบตอประชาชนความพึงพอใจของประชาชนตอการปฏิบัติงาน จะเปนตัวช้ีวัดสําคัญใน
การประเมินความสําเรจ็ ของหนว ยงานและเจาหนาท1่ี77๔๘

สรุปไดวา หลักความรับผิดชอบ หมายถึง การตระหนักในสิทธิหนาที่ การใสใจใน
ปญหา และกระตือรือรนในการแกปญ หาในสิ่งท่ตี นเองปฏิบตั ิ โดยจะคํานึงถงึ ผลประโยชนท ่จี ะ
เกิดข้ึนแกสวนรวมเปนหลักและมีจิตใจท่ีเสียสละใหแกสวนรวมและพรอมท่ีจะไดรับการ
ตรวจสอบจากการรอนเรียนหรือการกลา วหาทไี่ ดร บั จากการกระทําของตน

๖.๓.๖ หลักความคุมคา
หลักความคุมคา ซึ่งเปนหลักสําคัญในหลักธรรมาภิบาลหรือระบบการบริหาร
จดั การและสงั คมท่ดี ี มีผูใ หท ศั นะไวดงั นี้
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี กลาวถึง หลักความคุมคาวา หมายถึงการบริหารท่ีมี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผล ไดแก การบริหารจัดการและใชทรัพยากรที่มีจํากัดเพื่อใหเกิด
ประโยชนสูงสุด แกสวนรวมโดยรณรงคใหคนไทยมีความประหยัดใชของอยางคุมคาสรางสรรค
สินคาและบริการท่ีมีคุณภาพ สามารถแขงขันไดในเวทีนานาชาติและพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
ใหส มบรู ณยงั่ ยนื 178๔๙
สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน กลาววาหลักความคุมคาหมายถึง
ความพึงพอใจของผูรับบริการความมีประสิทธิภาพและประสิทธิภาพและประสิทธิผลท้ังดาน
ปริมาณและคณุ ภาพ179๕๐

๔๘ สุดจิต นิมิตกุล, หลักความรับผิดชอบ, [ออนไลน], แหลงที่มา: //www.kpi.ac.th/
kpiuser/governanceAccountability.htm [๙ กันยายน ๒๕๖๒].

๔๙ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการสรางระบบบริหารกิจการบานเมืองและสังคมท่ีดี,
(๒๕๔๒), หลักความคุมคา, [ออนไลน], แหลงที่มา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/Governance
Worth.htm. [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒].

๕๐ สํานักงานคณะกรรมการขา ราชการพลเรอื น, หลักความรับผิดชอบ, [ออนไลน] , แหลง ท่มี า:
http://www.kpi.ac.th/kpiuwer/GovernanceAccountability.htm. [๙ กนั ยายน ๒๕๖๒].

๑๑๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ประมวล รุจนเสรี ไดกลาววา Good Governance หมายถึงการปรับวิธีคิดวิธี
บริหารราชการของประเทศไทยเสียใหมทั้งระบบ โดยการกําหนดเจตนารมณของแผนดินเพื่อ
ทกุ คน ทุกฝายในประเทศจะรวมกันคิดรวมกันทํา รวมกันจัดการ รวมกันรบั ผิดชอบ แกปญหา
พัฒนาแผน ดินนี้ไปสูค วามมัน่ คง ความสงบ – สันติสขุ มีการพัฒนาท่ยี ั่งยนื และกา วไกล180๕๑

กลาณรงค จันทิก กลาววา ธรรมรัฐ คือการทําใหระบบการบริหารการจัดการที่ดี
ท้ังภาครัฐและเอกชน และตองเกิดจากสํานึกความรูสึกของภาคนั้น ๆ เพื่อประโยชนของการ
อยูรวมกัน โดยไมใชอํานาจรัฐไปทําใหเกิดข้ึนการสรางธรรมรัฐจึงข้ึนอยูกับขาราชการและ
นกั การเมืองท้งั ๒ ฝา ย ตองเปน คนดี มีความโปรง ใส โดยเฉพาะนักการเมอื งตองโปรงใสในดาน
การแกปญ หาคอรปั ชัน่ ประชาชนตอ งรว มมือกันตอสูกับความไมเ ปน ธรรม181๕๒

ธีรยุทธ บุญมี อธิบายวา ธรรมรัฐ คือกระบวนความสัมพันธ (Interactive Relation)
ระหวางภาครัฐ ภาคสังคม ภาคเอกชน และประชาชนท่ัวไป ในการที่จะทําใหการบริหารราชการ
และประชาชนโดยทั่วไปในการท่ีจะทําใหการบริหารราชการแผนดินดําเนินไปอยางมี
ประสิทธิภาพมีคุณธรรม โปรงใส ยุติธรรมและตรวจสอบไดการบริหารประเทศท่ีดีควรเปนความ
รวมมือแบบส่ือสาร ๒ ทาง ระหวางรัฐบาลประชาธิปไตยและฝายสังคม เอกชน องคการท่ีไมใช
หนวยงานรัฐ (NGO) โดยเนนการมีสวนรวม (Participation) ความโปรงใส และตรวจสอบได การ
รวมกันกําหนดนโยบาย (Shared Policy Making) และการจัดการตนเอง (Self-management)
ของภาคสงั คมเพิ่มมากขึ้น เพื่อนาํ ไปสูก ารพัฒนาทีย่ ่งั ยืนและเปน ธรรมมากขึ้น182๕๓

ชัยวัฒน สถาอานันต อธิบายวา ธรรมรัฐหมายถึง การบรหิ ารกจิ การของบานเมือง
ดวยความเปนธรรมเคารพสิทธิของผูคนพลเมืองอยางเสมอกัน มีระบบตัวแทนประชาชนท่ี
สะทอนความคิดของผูค นไดอยางเที่ยงตรงมีรฐั บาลที่ไมถ ืออํานาจเปนธรรมแตใ ชอาํ นาจอยา งที่

๕๑ ประมวล รจุ นเสร,ี การบริหาร–การจัดการทด่ี ี(Good–Governance), (กรุงเทพมหานคร:
อมั รนิ ทร ปรนิ ต้ิงแอนดพ บั ลิสซ่งิ , ๒๕๔๒), หนา ๔๘.

๕๒ กลาณรงค จันทิก (ม.ป.ป. อา งใน จตมุ งคล โสณกุล, ๒๕๔๑), ธรรมรัฐภาคราชการ, วัฎจักร,
[ออนไลน], แหลงท่ีมา: http://www.kpi.ac.th/kpiuser/governance_type.asp. [ตลุ าคม ๒๕๖๒].

๕๓ ธีรยุทธ บุญม,ี อางใน นฤมล ทับจมุ พล, แนวคิดและวาทกรรมวา ดวย “ธรรมรัฐแหง ชาต”ิ ,
ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจฬุ าฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เน่ืองในวาระ
ครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๑๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ประชาชนจะตรวจสอบได ตัวรัฐบาลเองก็มีความเอ้ืออาทรตอผูคนสามัญเปนอาภรณประดับ
ตนไมด ูถูกประชาชนดว ยการเอาความเทจ็ มาใหแ ละมอี ารยะพอท่จี ะแสดงความรับผิดชอบหาก
บรหิ ารผดิ พลาดหรือไรประสิทธิภาพ183๕๔

ทิพาวดี เฆมสวรรค กลาววา ธรรมรัฐ คือการวางกรอบการทํางานในระบบราชการ
เพื่อใหเกิดระบบท่ีดีเอ้อื ตอ คนดีใหอยูในระบบที่ดีและไมใ หค นเลวดํารงตําแหนงท่ีดีในวงราชการ
ซึ่งคือเปาหมายสําคัญของการปฏิบัติราชการ ธรรมรัฐจะเปนตัวเช่ือมใหสังคมท่ีมีการแยกสวน
ท้ังภาครัฐบาล เอกชน ประชาชน และองคกรเอกชนเกิดความสัมพันธกันทุกสวนใหเปนหนึ่ง
เดียว เพ่ือเปนการตอบสนองตอสังคมกลไกท่ีจะทําใหเกิดไดน้ันจึงอยูที่รัฐตองเปดโอกาสให
ปญหาตาง ๆ ของสวนอ่ืน ๆ เขามารวมกระบวนการพัฒนาอยางย่ังยืนโดยปฏิบัติเปนองครวม
คือ ๑) ประชาชนทุกคนท่ีมีผลกระทบตองมีสวนรวม ๒) มีความโปรงใสรับรูไดโดยรับฟงประชา
พจิ ารณสงเอกสารใหและเม่ือตัดสินใจแลวเปดเผยเหตุผลได ๓) มีความรับผิดชอบอยางชัดเจน
๔) การใชอํานาจตองมีที่มา ที่ไปเปดเผย ๕) กฎเกณฑตาง ๆ ท่ีจะตัดสินใจตองชัดเจน ๖) การมี
ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล แตการปฏริ ูปราชการจะสาํ เรจ็ ไดต องเกิดจาก ๒ สวน คอื ๑) ความ
ยินยอมพรอมใจคนในวงราชการ ๒) มีความกดดันจากภายนอก คือ รัฐสภา รัฐบาลนอกจากน้ียัง
ตองมีแรงหนุนจากภายนอก เชน ส่ือตาง ๆ ประชาชนคอยตรวจสอบ ติชม และภาคเอกชนตอง
ยอมรับไดจ ึงจะสําเรจ็ 184๕๕

บุญศักดิ์ กําแหงฤทธิรงค อธิบายวาธรรมรัฐ หมายถึง รัฐทดี่ ําเนินการไปดวยธรรม
ประชาชน มีสติปญญากอใหสังคมเปนปกแผน ในความเปน หน่ึงเดียว ฝา ยที่คดิ เปนศตั รยู อมทํา
อะไรไมไดห ากคนไทยรักเมืองไทยรจู กั ความเปนไทยมากกวา นี้ จะมพี ลงั สตปิ ญญามีการจดั การ
ที่ใชค วามปองดองสรา งสรรคในที่สดุ ธรรมรฐั ก็เกิดขน้ึ ได185๕๖

๕๔ ชัยวัฒน สถาอานันต, อางใน นฤมล ทับจุมพล, แนวคิดและวาทกรรมวาดวย “ธรรมรัฐ
แหงชาติ”, ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจุฬาฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ
เนื่องในวาระครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐ
ประศาสนศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑)

๕๕ ทพิ าวดี เฆมสวรรค อา งใน จตุมงคล โสณกุล, ธรรมรฐั ภาคราชการ, (กรุงเทพมหานคร: วัฎ
จกั ร, ๒๕๔๑).

๕๖ บญุ ศกั ดิ์ กําแหงฤทธริ งค อา งใน นฤมล ทับจุมพล, แนวคดิ และวาทกรรมวา ดวย “ธรรมรัฐ
แหงชาติ”, ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจุฬาฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ
เนื่องในวาระครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐ
ประศาสนศาสตร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑).

๑๑๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ประเวศ วะสี อธิบายธรรมรัฐวา ประกอบดว ยภาครัฐ ภาคธรุ กจิ และภาคสงั คมท่ีมี
ความถูกตองเปนธรรมโดยรัฐและธรุ กิจตองมีความโปรงใสมีความรับผิดชอบท่ีถูกตรวจสอบได
และภาคสังคมเขม แขง็ ธรรมรัฐแหงชาติ หมายถึง การทปี่ ระเทศมีพลังขับเคลื่อนท่ีถูกตองเปน
ธรรมโดยถักทอทางสังคมเพื่อสรางพลังงานทางสังคม (Social Energy) เพ่ือนําไปสูการแกไข
ปญหาของประเทศชาติกอ ใหเ กิดธรรมรัฐแหงชาตขิ นึ้ 186๕๗

อมรา พงศาพิชญ อธิบายวา ธรรมรัฐและธรรมราษฎร คือการ (กํากับ) ดูแล
ประโยชนของสวนรวม และการรักษาผลประโยชนซึ่งกันและกันระหวางสมาชิกในสังคมโดยมี
กฎกติกาที่ตกลงรว มกันการ (กํากับ) ดูแลน้ีมอี ยูในทุกระดับของสังคมหรือองคกรเชน ธรรมรัฐ
ของรัฐชาติธรรมรัฐหรือธรรมราษฎรในองคกรธุรกิจ องคกรสาธารณประโยชน องคกรบริหาร
ทองถิ่นหรือแมแตธรรมราษฎรในครอบครัวความหมายรูปธรรมของธรรมรัฐและธรรมราษฎร
คอื กฎกติกาที่ตกลงรวมกันวาจะเปนกฎเกณฑทีจ่ ะใชในการดูแลผลประโยชนข องสวนรวมกฎ
กตกิ าข้นั ตาํ่ มกั ประกอบดวย187๕๘

๑. การทํางานอยางมีหลักการและเหตุผลตอบสนองความตองการของสังคมมี
ความชอบธรรมและรบั ผิดชอบในผลของการตดั สินใจ (Accountability)

๒. การทํางานอยางโปรงใสและสามารถคาดการณได (Transparency and
Participation)

๔. การมสี ว นรวมของผทู ีเ่ กี่ยวของในการรบั รรู ว มตัดสนิ ใจและตรวจสอบการจัดการ
และบรหิ ารงาน (Participation)

๕. การดําเนินงานที่ใหความสําคัญกับหลักการประชาธิปไตยและความเสมอภาค
เทาเทียมกัน นอกจากกติกาข้ันตํ่ายังมีกติกาท่ีมีลักษณะเฉพาะขององคกรตามระดับและ
บทบาทหนาทข่ี ององคก รนน้ั เชน กติกาเชิงธุรกิจขององคก รธรุ กิจ (Corporate Governance)

๕๗ ประเวศ วะสี, อา งใน นฤมล ทับจุมพล, แนวคดิ และวาทกรรมวาดว ย “ธรรมรฐั แหง ชาต”ิ ,
ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจุฬาฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ เนื่องในวาระ
ครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐประศาสนศาสตร
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๑).

๕๘ อมรา พงศาพิชญ, องคกรใหทุนเพ่ือประชาสังคมใน ประเทศไทย, (กรุงเทพมหานคร:
สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณม หาวิทยาลยั , ๒๕๔๑).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๑๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

กติกาของกลไกระดับเหนือรัฐ (Good Governance in the New World Order) หรือ กติกา
ขององคก ารบริหารสวนทอ งถิน่ ฯลฯ

ชัยอนันต สมุทวณิช อธิบายวา Good Governance นั้นเปนการปกครองท่ีดีโดย
รัฐและรัฐบาลเปนดานหลักรัฐและรัฐบาลมีระบบและการใชกฎหมายท่ียุติธรรมมีความ
รับผิดชอบ เปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวม มีความโปรงใส มีความคงเสนคงวา สามารถ
ตรวจสอบได188๕๙

วรภัทร โตธนะเกษม อธิบายวา Good Governance หมายถึง“การกํากับดูแลท่ี
ดี” หรือหมายถึง “การใชสิทธิ์ของความเปนเจาของที่จะปกปองดูแลผลประโยชนของตนเอง
โดยผานกลไกท่ีเก่ียวของในการบริหาร” โดยหัวใจสําคัญของ Good Governance คือการ
ตัดสินใจ (Accountability)๖๐

ไชยวัฒน คํ้าชู ไดใหความหมายไววา เปนลักษณะความสัมพันธ วิธีการ และ
เครื่องมือซ่ึงจะกอใหเกิดความสัมพันธระหวางรัฐกับประชาชนทั้งในสวนที่เปนการดําเนินการ
ในฐานะของปจเจกบคุ คลและทีเ่ ปนการดาํ เนนิ การในลกั ษณะที่เปนสถาบันรวมถึงคุณภาพและ
ประสิทธิภาพของการจัดการปกครองและการบริหารมีความสําคัญอยางย่ิงตอการพัฒนาและ
ความเจรญิ ของชาติ190๖๑

อานันท ปนยารชุน อธิบาย ธรรมรัฐวา คือผลลัพธของการจัดการกิจกรรม ซ่ึง
บุคคลและสถาบันทั้งในภาครัฐและเอกชนมีผลประโยชนรวมกันไดกระทําลงในหลายทางมี
ลักษณะเปนกระบวนการที่เกิดข้ึนอยางตอเนื่อง ซ่ึงอาจนําไปสูการผสมผสานผลประโยชนที่
หลากหลายและขัดแยงกนั ได โดยสาระธรรมรัฐ หรือ Good Governance คอื องคประกอบที่
ทาํ ใหเกิดการจัดการอยางมีประสิทธิภาพเพอ่ื ใหแนใจวานโยบายที่กําหนดไว จะไดผลหมายถึง

๕๙ ชัยอนันต สมุทวณิช อางใน อมรา พงศาพิชญ และ นิตยา ภัทรลีรดะพันธุ, ธรรมรัฐและ
ธรรมราษฎรกับองคกรประชาสงั คม, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ เน่ืองในวาระครบ ๕๐ ป คณะ
รฐั ศาสตร จุฬาลงกรณหมาวทิ ยาลัย, ๒๕๔๑)

๖๐ วรภัทร โตธนะเกษม, “การสรา ง Good Governance ในองคกร” วารสาร กสท. (ตุลาคม
๒๕๔๒): ๑๑-๑๗.

๖๑ ไชยวฒั น คํ้าช,ู วารสารวงการครู, (กรุงเทพมหานคร: ฐานการพิมพ, ๒๕๔๗), หนา ๗๗.

๑๒๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

การมีบรรทัดฐานเพ่ือใหมีความแนใจวารัฐบาลจะสามารถสรางผลงานตามท่ีสัญญาไวกับ
ประชาชน191๖๒

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ใหความหมายวา ธรรมาภิบาล หมายถึงการบริหาร
กิจการบานเมืองและสังคมท่ีดีเปนแนวทางสําคัญในการจัดระเบียบใหสังคมทั้งภาครัฐภาค
ธรุ กจิ เอกชนและภาคประชาชน ซึ่งครอบคลุมถึงฝายวิชาการ ฝา ยปฏบิ ัติการ ฝายราชการและ
ฝายธรุ กิจสามารถอยูรว มกันอยางสงบสุขมีความรรู ักสามัคคีและรว มกันเปนพลังกอใหเกดิ การ
พัฒนาอยางย่ังยืนและเปนสวนเสริมความเขมแข็งหรือสรางภูมิคุมกันแกประเทศ เพื่อบรรเทา
ปอ งกันหรือแกไขเยียวยาภาวะวิกฤติภยันตรายที่หากจะมีมาในอนาคต เพราะสังคมจะรูสึกถึง
ความยุติธรรมความโปรงใสและความมีสวนรวม อันเปนคุณลักษณะสําคัญของศักดิ์ศรีความ
เปนมนษุ ยและการปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมุขสอดคลอง
กบั ความเปนไทยรัฐธรรมนญู และกระแสโลกยคุ ปจ จบุ นั 192๖๓

โรเดส (R.A.W. Rhodes,) ไดรวบรวมความหมายของ “Governance” หรือธรรม
รฐั วา มคี วามหมายหลายอยางใชในเร่ืองตาง ๆ ตามหนวยที่ศึกษา (unit of analysis) ดังน1้ี93๖๔

๑. ธรรมรัฐในฐานะของอํานาจรัฐ ในการตัดสินใจดําเนินการบริหารที่ลดนอยลง
และประชาชนจะเปน ผเู รยี กรองตรวจสอบการปฏบิ ัตงิ านของรฐั (Minimal state)

๒. บรรษัทที่บริหารอยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรม (Corparate Governance)
ซึ่งหมายถึง การดําเนินธุรกิจท่ีมีทิศทางและควบคมุ ตรวจสอบการบริหารงานของผูบริหารองคกร
ธุรกิจที่มีความรับผิดชอบชัดแจง ทั้งงานของบริษัทพรอมกับตองรับผิดชอบตอส่ิงแวดลอมและ
สังคมอีกดวย การบริหารบรรษัทน้ีจะถือวาผูบริหารและผูถือหุนไมใชบุคคลคนเดียวกันตองเปน

๖๒ อานันท ปนยารชุน, อางใน นฤมล ทับจุมพล, แนวคิดและวาทกรรมวาดวย “ธรรมรัฐ
แหงชาติ”, ในการจัดการปกครอง: ๕๐ ป รัฐศาสตรจุฬาฯ: เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ
เนื่องในวาระครบรอบ ๕๐ ป คณะรัฐศาสตรจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, (กรุงเทพมหานคร: คณะรัฐ
ประศาสนศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั , ๒๕๔๑).

๖๓ สํานักนายกรัฐมนตรี, ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี, (๒๕๔๒), ออนไลน], แหลงท่ีมา:
http://www.kpi.ac.th/kpiuser/Governance.asp. [๓ ตลุ าคม ๒๕๕๔].

๖๔ โรเดส, (R.A.W. Rhodes, n.d., Unpaged อางใน ฑิตยา สุวรรณะชฏ, ประชาสังคมตําบล,
(กรงุ เทพมหานคร: มิตรภาพการพมิ พและสตูดิโอ, ๒๕๔๔).

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๒๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ผูบริหารอาชีพจะตองมีการตรวจสอบจากองคกรตรวจสอบภายนอก ทั้งน้ีมิใชแตเพ่ือผลกําไร
อยางเดียวแตจ ะตองเปดเผยโปรง ใส และสามารถกาํ หนดตวั ผรู ับผิดชอบทแี่ ทจ ริง

๓. การบริหารจัดการสาธารณะที่รัฐบาลจะตองมีความสามารถในการริเริ่มเพื่อ
แขงขันตอบสนองประชาชนเสมือนเปนลูกคามากกวาเปนผูถูกปกครอง ผูบริหารงานของรัฐมี
บทบาทเชนเดียวกับผูประกอบการผลักดันการทํางานจากระบบราชการไปสูชุมชน ใหเปน
ผดู ําเนินการบริหารจัดการเองการวัดความสามารถของขา ราชการของรฐั วัดจากประสทิ ธผิ ลใน
การทาํ งานขาราชการของรฐั จะถือวาการบริการคอื พันธกจิ ของตน นอกจากนัน้ จะเปนตัวเชอ่ื ม
ประสานทุกสวนของสังคม กลาวคือ สวนสาธารณะ สวนเอกชน และสวนประชาชน เขามา
ทํางานรวมกันเพ่ือประชาคม ซงึ่ เรียกการบริหารเปนการบริหารงานสาธารณะแบบใหม (New
Public Management, NPM)

๔. ธรรมรฐั ในฐานะทเ่ี ปน การปฏิรปู การปกครอง (Good Governance) ซงึ่ เปนการ
ใชกันอยางกวางขวางสําหรับการพัฒนารัฐทกี่ ําลงั พัฒนาธรรมรัฐในท่ีนี้ หมายถึง การใชอํานาจ
ทางการเมืองท่ีจะบริหารกิจการของชาติ โดยพัฒนาประสิทธิภาพของบริการสาธารณะระบบ
ตุลาการและกฎหมายท่ีเปนอิสระมีความรับผิดชอบอยางชัดแจงในการจัดการทางการเงินมี
การตรวจสอบสาธารณะเปนอิสระเปนรัฐท่ีมีโครงสรางสถาบันหลากหลายและตองยอมรับ
ความเปนอิสระของสื่อมวลชน ซึ่งทําใหอํานาจรัฐไดรับการยอมรับและมีความชอบธรรมตาม
ระบอบประชาธิปไตย ธรรมรัฐแบบนี้จะเปนการผสมผสานระหวางการบริหารสาธารณะกับ
ประชาธปิ ไตยอยา งกวา งขวาง

๕. ธรรมรัฐในแงของระบบสังคมที่มีปฏิสัมพันธระหวางสวนตางของระบบท่ีทั้ง
ตอบสนองความตองการของสวนยอย (Socio-cybernetic System) การมีปฏิสัมพันธจะเกิด
จากการยอมรับในความตางพ่ึงพิงของทุกหนวยในระบบจะไมม ีหนวยใดหนวยหน่ึงจะสามารถ
มีปฏิกิริยาหรือแกปญหาอยางเปนเอกเทศ เปนระบบท่ีพลวัตของระบบทําใหสามารถแกไข
ปญหาหรือตอบสนองความตองการของสวนตาง ๆ อยางย่ังยืนโดยท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน จะ
สามารถสรางแบบของปฏิสัมพันธซ่ึงกันและกันในการแกปญหาของชาติดังน้ันระบบน้ีจะไมมี
จดุ ศูนยกลางของสังคมแตจะเกิดศูนยตาง ๆ ในสังคม ภารกิจของรัฐบาลก็คือความสามารถใน
การมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันในการแกปญหารวมกันทั้งเปนการกระตุนการมีสวนรวม โดย
สรุปก็คือเปนการบริหารจัดการท่ีแตละหนวยของภาครัฐและเอกชนรวมกันและถือวาตางฝาย
ตา งเปนหนุ สวน โดยเนนการดาํ เนินการแบบรวมรเิ ร่มิ รบั ผิดชอบการมปี ฏิสัมพันธแบบน้ีมใิ ชจะ
ใชแ ตในระดบั ชาติแตย งั เปน ธรรมรฐั ในระดบั นานาชาติในระดบั ภูมภิ าคและโลก

๑๒๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๖. ธรรมรัฐในแงการจัดระบบองคกรเครือขายจากภาคสาธารณะและภาคเอกชน
(Self-Organizing Network) ในกรณีน้ีเกิดความเกี่ยวพันระหวางองคกรตาง ๆ ท่ีสามารถ
รวบรวมทรัพยากรมาเพ่ือจะไดบริการตอสาธารณะ ดังนั้น องคกรเครือขายจะสามารถนําเอา
ขาวสารขอมูลและเงินรวมเทคโนโลยีมารวมกันในการทํางานซ่ึงอาจจะเห็นได เชน ในโครงการ
รวมระหวา งองคกรทส่ี ําคัญ เมอ่ื ไรมีระบบพันธกิจมิตรเกิดขึ้นจะมีทรัพยากรมากข้ึนดวยยงั ทําให
มอี สิ ระและมอี าํ นาจในการตอรอง เกิดรัฐบาลกลางจะเขากาวกา ยส่งั การไดอยางไมมีขอ จํากัด

จากความหมายของธรรมาภิบาลดังกลาวขางตนสรุปไดวา ธรรมาภิบาล หมายถึง
การบริหารการจัดการดูแลประโยชนของสวนรวมและการรักษาผลประโยชนซ่ึงกันและกัน
ระหวางภาครัฐ ภาคสังคม ภาคเอกชนและประชาชนท่ัวไป ในทุกๆ ดานและทุก ๆ ระดับ
เพ่ือใหมีการวางกรอบการทํางานอยางเปนระบบที่มีความสัมพันธ วิธีการ และมีเครื่องมือท่ี
กอใหเกิดระบบการบริหารจัดการท่ีดีดวยความเปนธรรมเคารพสิทธิอยางเสมอกนั มีระบบและ
การใชกฎหมายที่ยตุ ิธรรม มีความรับผิดชอบเปดโอกาสใหประชาชนมีสว นรวม มีความโปรงใส
มีความคงเสนคงวาสามารถตรวจสอบได รับรูได เมื่อตัดสินใจแลวเปดเผยเหตุผลไดการใช
อาํ นาจมีที่มาที่ไปอยางเปด เผยชดั เจนและสามารถกา วกายส่ังการไดอยา งไมมีขอ จํากัด

๖.๔ หลักธรรมาภบิ าล

เกษม วฒั นชยั ไดกลาวเก่ยี วกบั องคป ระกอบของธรรมาภิบาลไว ดังนี้194๖๕
๑. เปา หมายสอดคลอ ง (Relevance) ตอ สังคม
๒. กระบวนการโปรง ใส (Transparency)
๓. ทกุ ขั้นตอนมีผูร ับผดิ ชอบ (Accountability)

อัจฉรา โยมสินธุ ไดกลาวเก่ยี วกบั องคป ระกอบของธรรมภิบาลไวด งั นี้ คอื ๖๖
195
๑. ความรับผิดชอบตอหนาที่ (Responsibility) องคกรจะตองกําหนดภารกิจของ
แตละฝายอยางชัดเจน ทุกคนรูหนาท่ีของตนวาจะตองทําอยางไร และเขาใจในหนาที่ของ

๖๕เกษม วัฒนชัย, ธรรมาภิบาลกบั คอรัปช่นั ในสังคมไทย, (กรงุ เทพมหานคร: อัมรินทรป รนิ ต้งิ
แอนดพบั ลิสซ่ิง, ๒๕๔๖), หนา ๒๕.

๖๖ อัจฉรา โยมสินธุ, “บรรษัทภิบาลกลยุทธธุรกิจแบบย่ังยืน”, วารสารนักบริหาร, ปท่ี ๒๑
ฉบับท่ี ๓ (๒๕๔๔): ๓๔-๓๕.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๒๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ตนเองอยางชัดเจน ยึดหลักความถูกตองในการปฏิบัติหนาท่ี เพื่อประสิทธิภาพสูงสุดในการ
ทํางาน เชนการกําหนดภาระหนาที่ของคณะกรรมการบริษัทวาจะตองพิจารณากล่ันกรอง
อะไรบาง มีหลักเกณฑการพิจารณาอยางไร เปนตน การกําหนดภารกิจที่ชัดเจนจะทําใหการ
ดาํ เนนิ งาน โดยรวมเปน ไปอยางรวดเรว็ ไมซา้ํ ซอน โปรง ใส

๒. ความรบั ผิดชอบตอการกระทําใจและการกระทําตน (Accountability) ทุกฝายใน
องคกรจะตองปฏิบัติตนดวยสํานึกรับผิดชอบอยางแทจ รงิ มีความเขาใจวาตองรับผิดชอบตอ ใคร
บางในลักษณะใด แคไหน และอยางไร ซ่ึงคณะกรรมการบริษัทและผูบริหารตองสํานึก
รับผิดชอบตอผูถือหุน มีการเปดเผยขอมูลท่ีโปรงใสและเพียงพอตอผูถือหุนทุกกลุมอยางเสมอ
ภาคกัน และพนักงานฝายปฏบิ ัติการมีสํานึกรับผิดชอบตองานท่ีปฏบิ ัติ ตอองคกร และตอลกู คา
โดยปฏิบตั ิงานอยางถกู ตอ งตามหลักจรรยาบรรณ เปนตน

๓. ความยุติธรรม (Fairness) ความยุติธรรมถือเปนหลักจริยธรรมพ้ืนฐานในการทํา
ธรุ กิจ การสรางความยุตธิ รรมในการดําเนินธุรกิจควรเร่มิ ต้ังแตระดับนโยบาย กฎระเบียบตาง ๆ
จะตองมีความเสมอภาค มีความเทาเทียม มีหลักการชัดเจน เชน คณะกรรมการบริษัทตอง
ปฏิบัติตอผูถือหุนทั้งรายใหญและรายยอยอยางทัดเทียมกัน จะตอ งไมมีการถายเทผลประโยชน
ใหแกกลุมใดกลุมหน่ึง หรือผูบริหารบริษัทควรดูแลพนักงานทุกคนอยางยุติธรรม มีการสงเสริม
ผทู าํ ดี และมกี ารตักเตือนหรือลงโทษผูก ระทําผิด เปน ตน

๔. ความโปรงใส (Transparency) ความโปรงใสถือเปนหัวใจสําคัญของการ
บริหารงานตามหลักบริษัทภิบาล ขอมูลขาวสารทางธุรกิจตาง ๆ โดยเฉพาะผลการดําเนินงาน
และรายงานทางการเงินท่ีบริษัทเปดเผยจะตองโปรงใส เชื่อถือไดเพื่อสรางความเชื่อม่ันใหแกผู
ถือหุน นักลงทุนและตลาดทุน โดยขอมลู ที่โปรง ใส จะตอ งองคป ระกอบหลัก ๓Cs ดงั น้ี

๑) Clear คือ มคี วามชัดเจน ถูกตอ งไมค ลุมเครือ
๒) Consistent คือ มีความสมํ่าเสมอในการใชหลักเกณฑการจัดทําหากมีการ
เปลีย่ นแปลงหลักเกณฑในการจดั ทาํ ตอ งมีการเปดเผยรวมถึงผลการทบท่ีอาจเกดิ ขึน้ ดว ย
๓) Comparable คือ สามารถ เปรียบเทียบได ขอมูลจะตองถูกจัดทําตาม
มาตรฐานทเี่ ปนทีย่ อมรบั เพือ่ ใหส ามารถนาํ ไปวเิ คราะหเปรียบกับขอ มลู อ่นื ได
นอกจากความโปรงใสของขอมูลแลว การบริหารงานตองเปนไปอยางโปรงใสมี
กระบวนการสาํ หรับ ตรวจสอบ การบรหิ ารงานท่ชี ัดเจน
๕. คุณคาระยะยาว (Long – tern Value) หลักบรรษัทภิบาลใหความสําคัญในการ
สรางคุณคาในระยะยาวแกองคกรมากกวาการตัดตวงผลประโยชนในระยะสั้น คณะกรรมการ

๑๒๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

บริษัทจะตอ งมวี ิสัยทัศนท ี่หางไกล มคี วามมุงม่ันที่จะทําธุรกจิ เพื่อสรางคุณคาในระยะยาว เพื่อ
ความมั่นคงและย่ังยืน เชน การตัดสินใจลงทุนอยางรอบคอบเพื่อใหไดผลตอบทนที่คุมคาใน
ระยะยาวหลกี เหลยี่ งความเสย่ี งท่ีไมจําเปน การพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรบุคคลในองคกร
อยางตอเนื่องการใหความสําคัญกับลูกคาดวยการขายสินคาหรือใหบริหารท่ีมีคุณภาพ ราคา
ยุติธรรม มงุ สรา งความประทบั ใจใหล กู คา เพื่อใหเ กดิ ซอื้ ซาํ้ หรือการบอกตอ เปน ตน

๖. การปฏิบัติที่เปนเลิศ องคกรตองสงเสริมใหการปฏิบัติงานในทุกดานมุงสูความ
เปนเลศิ มุงสรางความสมบูรณแบบ โดยมีนโยบายที่ชดั เจนเพือ่ ใหบรรลุเปา หมายของธุรกิจการ
ผลักดันและสนับสนนุ ใหทุกฝายมีการพฒั นาตนเองตลอดเวลา

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวา ดว ยการบริหารกิจการบานเมอื งที่ดี ประกาศในราช
กิจานุเบกษาเมื่อวันท่ี ๑๐ สิงหาคม ๒๕๔๒ ไดกลาวเกี่ยวกับองคประกอบของธรรมาภิบาลไว
ดงั นี้ คอื

๑. หลักนิติธรรม ไดแก การตรากฎหมาย กฎขอบังคับตาง ๆ ใหทันสมัย และเปน
ธรรมเปนท่ียอมรับของสังคม และสังคมนิยมพรอมใจปฏิบัติตามกฎหมายกฎขอบังคับเหลา น้ัน
โดยถอื วา เปน การปกครองภายใตก ฎหมายมใิ ชต ามอําเภอใจหรอื อาํ นาจของตัวบคุ คล

๒. หลักคุณธรรม ไดแก การยึดมั่นในความถูกตองดีงาม โดยรณรงคใหเจาหนาท่ี
ของรัฐยดึ ถือหลักนีใ้ นการปฏบิ ตั หิ นาทีเ่ ปนตวั อยางแกสังคมและสงเสริมสนับสนนุ ใหป ระชาชน
พัฒนาตนเองไปพรอมกับเพ่ือใหคนไทยมีความซื่อสัตยจริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย
ประกอบวชิ าชพี สจุ รติ จนเปนนสิ ัยประจาํ ชาติ

๓. หลักความโปรง ใส ไดแก การสรา งความไววางใจซ่งึ กันและกันของคนในชาติโดย
ปรับปรุงกลไกลการทํางานขององคกรทุกวงการใหมีความโปรงใส มีการเปด เผยขอมูลขาวสาร
ที่เปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาที่เขาใจงาย ประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารได
สะดวกเปน กระบวนการใหป ระชาชนตรวจสอบความถูกตอ งชัดเจนได

๔. หลักความมีสวนรวม ไดแก การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรู แสดง
ความเห็นในการตัดสนิ ใจปญ หาของประเทศ ไมวาดวยการแจงความหรือการไตสวนสาธารณะ
กาประชาสมั พันธ การแสดงประชามติหรอื อ่ืน ๆ

๕. หลักความรับผิดชอบ ไดแก การตระหนักในสิทธิหนาที่ความสํานึกในความ
รับผิดชอบตอสังคม การใสใจปญหาของบานเมือง และกระตือรือรนชวยแกปญหาตลอดจน
การเคารพในความเห็นท่ีแตกตา ง และความกลาท่จี ะรบั ผลจากการกระทําของตนเอง

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๒๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๖. หลักความคุมคา ไดแก การจัดการและใชทรัพยากรที่มีจํากัดใหเกิดประโยชน
สงู สุดแกสว นรวม โดยณรงคใหคนไทยมคี วามประหยัด ใชอยางคมุ คา สรางสรรคสินคาบริการ
ใหมีคุณภาพสามารถแขงขันไดในเวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ใหสมบูรณ
ยัง่ ยืน

โสมนัส ณ บางชา ง ไดก ลา วเก่ียวกบั องคป ระกอบของธรรมาภิบาลไวด ังน้ี คือ ๖๗
196
๑. ความโปรงใส ผูบริหารตองมีความโปรงใสในการบริหารงานของกิจการคือ ไม
ซอนเรนหรือปดบังในการบริหารงานรวมท้ังตองเต็มใจและอํานวยความสะดวกใหมีกลไกลใน
การตรวจสอบการปฏบิ ตั ิงานทุกคนสวนงานไดทกุ ขั้นตอน
๒. ความซื่อสัตย การบริหารกิจกการอยางตรงไปตรงมาภายในกรอบจริยธรรมที่ดี
รายงานทางการเงินและสารสนเทศอืน่ ๆ ทเี ผยแพรโ ดยกิจการตองมีความถกู ตอ งและครบถว น
กับฐานะทางการเงนิ ผลการดําเนินงาน และการเปล่ียนแปลฐานะการเงินของกิจการซึ่งความ
นาเชอื่ ถือไดข องรายงานทางการเงินจะขึน้ อยกู บั ความซ่ือสตั ยสุจรติ ของผบู ริหาร

สมหมาย ปฐมวิชยั วัฒน ไดก ลาวกับองคประกอบของธรรมาภบิ าลไวดังน้ี คือ ความ
สมเหตุสมผลและสามารถอธิบายไดหรือ (Accountability) ความโปรงใส และเขาใจตรงกัน หรือ
(Transparency) ความสํานึกในหนาที่ และความรับผิดชอบ หรือ (Responsibility) ความเสมอ
ภาคและเปนธรรม (Equitable Treatment) ซ่ึงไดนํามาแสดงความสัมพันธรวมกับกระบวนการ
ทางประชาธิปไตยและองคกรตาง ๆ ดังแผนภาพ197๖๘

๖๗ โสมนัส ณ บางชาง, “Good Governance: การกํากับดูแลท่ีดี”, วารสารนักบริหาร, ปท่ี
๒๑ ฉบับท่ี ๑ (๒๕๔๔): ๕๐.

๖๘ สมหมาย ปฐมวิชัยวัฒน, “การควบคุมภายในเพือ่ การจัดการ”, วาสารนกั บริหาร, (ตลุ าคม-
ธันวาคม): ๕๑-๕๒.

๑๒๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

ส่ือ อิสระ เสรี โปรงใส

ประชาธปิ ไตย ธรุ กิจ มีการแขง ขันเสรี โปรงใส ประชาธิปไตย
ระดบั ทองถิ่น เปนธรรม ถูกตรวจสอบได ระดับชาติ
มีการพฒั นา รบั ผดิ ชอบตอ สงั คม มีการพฒั นากา วหนา
กาวหนา คน อาํ นาจการเมอื ง โปรง ใส ชอบ สนองตอบตอ ปญหา
สวนใหญม ี ของคนสวนใหญไ ดด มี ี
สว นรว มและ ธรรม ถกู ตรวจสอบได กระจาย ความชอบธรรมโปรง ใส
ใหก ี่ยอมรบั อํานาจคาดการณไ ดและ คาดกรณีได ตรวจสอบ
ตรวจสอบได รับผิดชอบ ไดและรบั ผิดชอบ
โปรงใส
รับผดิ ชอบ คนมจี ิตใจสาธารณะ รกั ความถูกตอ ง
ชอบธรรมใฝเ รยี น

กลุมใฝร ู อยูในกรอบ กฎหมาย
กระตือรอื รน ในการมี องคก ร สวน
รวม “อิสระ” สว นรว ม เสมอภาค”

ระบบกฎหมาย ถกู ตอ ง ดงี าม
ยตุ ธิ รรม สง เสริมสทิ ธมิ นุษยชน

กระบวนการ
แผนภมู ิท่ี ๑.๑ องคป ระกอบพื้นฐานในการกอ เกิดและพัฒนาธรรมรฐั (ธรรมภบิ าล)

จากท่ีกลา วมาขา งตน นนั้ พอจะสรุปองคประกอบของธรรมาภบิ าลไดด ังน้ี
๑. หลักนิติธรรม ไดแก การตรากฎหมาย กฎขอบังคับตาง ๆ ใหทันสมัย และเปน
ธรรมท่ียอมรับของสังคม และสังคมนิยมพรอมใจปฏิบัติกฎหมายกฎขอบังคับเหลาน้ัน โดยถือ
วาเปนการปกครองภายใตกฎหมายมใิ ชตามอําเภอใจหรืออาํ นาจของตวั บุคคล

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๒๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

๒. หลกั คณุ ธรรม ไดแก การยึดมนั่ ในความถกู ตองดีงามโดยรณรงคใหเจาหนา ทขี่ อง
รัฐยึดถือหลักน้ีในการปฏิบัติหนาที่เปนตัวอยางแกสังคมและสงเสริมสนับสนุนใหประชาชน
พัฒนาตนเองไปพรอมกับเพ่ือใหคนไทยมีความซ่ือสัตยจริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย
ประกอบวิชาชพี สจุ ริตจนเปนนสิ ัยประจําชาติ

๓. หลกั ความโปรงใส ไดแก การสรางความไววางใจซงึ่ กันและกันของคนในชาติโดย
ปรับปรุงกลไกลการทํางานขององคกรทุกวงการใหมีความโปรงใส มีการเปดเผยขอมลู ขาวสาร
ทเ่ี ปนประโยชนอยางตรงไปตรงมาดวยภาษาท่ีเขาใจงาย ประชาชนเขา ถึงมูลขาวสารไดสะดวก
เปนกระบวนการใหป ระชาชนตรวจสอบความถูกตอ งชดั เจนได

๔. หลักความมีสวนรวม ไดแก การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรู แสดง
ความเห็นในการตัดสินใจปญหาของประเทศไมวาดวยการแจงความหรือการไตสวนสาธารณะ
การประชาสมั พนั ธ การแสดงประชามติหรอื อน่ื ๆ

๕. หลักความรับผิดชอบ ไดแก การตระหนักในสิทธิหนาที่ความสํานึกในความ
รบั ผิดชอบตอสังคมการใสใจปญหาของบานเมอื งและกระตือรือรนชวยแกปญหาตลอดจนการ
เคารพในความเห็นท่ีแตกตา ง และความกลาทจ่ี ะรับผลจาการกระทาํ ของตนเอง

๖. หลักความคุมคา ไดแก การจัดการและใชทรัพยากรท่ีมีจํากัดใหเกิดประโยชน
สูงสุดแกสวนรวม โดยรณรงคใหค นไทยมคี วามประหยัด ใชอยา งคมุ คา สรางสรรคส นิ คา บริการ
ใหมีคุณภาพสามารถแขงขันไดในเวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติใหสมบูรณ
ยงั่ ยนื

ดังนั้น หลกั ธรรมาภิบาล คือหลักความสมเหตุสมผลของการทาํ งานท่เี ปนระบบและ
เปนกระบวนการในการบริหารงานอยางชัดเจนและเปนธรรม มากที่สุด เพราะมีทั้งหลัก หลัก
นิติธรรม ไดแก การตรากฎหมาย กฎขอบังคับตาง ๆ หลักคุณธรรม ไดแก การยึดมั่นในความ
ถูกตองดีงาม หลักความโปรงใส ไดแก การสรางความไววางใจซ่ึงกันและกัน หลักความมีสวน
รวม ไดแก การเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมรับรู หลักความรับผิดชอบ ไดแก การ
ตระหนักในสิทธิหนาท่ีความสํานึกในความรับผิดชอบตอสังคม หลักความคุมคา ไดแก การ
จดั การและใชท รพั ยากรทีม่ จี าํ กดั ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ แกส วนรวม และหลกั ความคมุ คา ไดแก
การจัดการและใชทรพั ยากรที่มจี าํ กัดใหเกดิ ประโยชนสูงสดุ แกสว นรวม โดยรณรงคใหค นไทยมี
ความประหยดั ใชอยางคมุ คา

๑๒๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

๖.๕ ธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา

เกษม วฒั นชยั ไดกลาวถึงการบริหารแบบธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษานน้ั มดี งั นี้
๑. การบริหารการศึกษาตอง สอดคลองและตอบสนองตอนโยบายและความ
ตองการของระบบการศึกษาไทย ซึ่งอะไรท่ีเปน Nonrelevance หรือ Less Relevance ตอง
ตัดท้ิง เพราะเราไมมีงบประมาณพอที่จะทําทุกอยาง ซ่ึงอยากใหเร่ืองความสอดคลอง อยูใน
หลักสูตรการบริหารการศึกษาเรื่องการบริหารการศึกษาตองสอดคลองกับระบบเพราะฉะน้ัน
การบริหารการศึกษาตองสอดคลองและตอบสนองตอนโยบายและความตองการของระบบ
การศึกษาไทย ซึ่งในหลักธรรมาภิบาลถาเอาไปใชในส่ิงท่ีไมมีประโยชนหรือเปนประโยชน
เฉพาะตนเองหรือพวกพอง ตรงนี้ตองรับผิดชอบในเชิงธรรมาภิบาล หรือกลาวอีกนัยหน่ึงคือ
งบประมาณทุกบาทท่ีโรงเรียน เขตพ้ืนที่การศึกษา หรือกระทรวงศึกษาธิการไดมาตองใชให
เกดิ ประโยชนสูงสุด จะคอรปั ชั่นไมไ ดตรงนี้เปนหลกั ธรรมาภิบาลที่สาํ คัญ198๖๙
๒. กระบวนการบริหารตองมีประสิทธิภาพ และไดประสทิ ธผิ ล
๓. ทุกข้ันตอนตองโปรงใส และมีเหตุผล เรื่อง “ความมีเหตุผล” มาจากปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั ฯ ซ่ึงมี ๓ เรอื่ งใหญๆ คอื

๑) ทางสายกลาง (Moderation) หรือ มัชฌิมาปฏิปทา
๒) ทําอะไรตองมเี หตุผล (Reasonableness) และ
๓) มีภมู ิคมุ ภยั (Self immunity)
๔. ตองมีระบบรับผิดชอบตอผลการบริหารการศึกษา ตองสรางระบบใหมีคน
รับผิดชอบครู ครูใหญหัวหนาหมวด ผูอํานาจการเขตเลขาธิการของแทงตาง ๆ ตองรบั ผิดชอบ
ถา สรางตรงน้ีเชอื่ วา ระบบจะมธี รรมาภิบาล และสามารถเคลื่อนไปขางหนา ไดอยา งรวดเรว็
กระทรวงศกึ ษาธิการ ไดกลาวถึงการบรหิ ารจัดการสถานศึกษาท่ีเปน นิตบิ ุคคลโดย
นําหลักธรรมาภิบาลมาบูรณาการในการบริหารจัดการสถานศึกษาดวยหลักการดังนี้ หลักนิติ
ธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักความมีสวนรวมหลักความรับผิดชอบ หลักความ
คมุ คา 199๗๐

๖๙ เกษม วัฒนชยั , ธรรมาภบิ าลกับคอรปั ชนั่ ในสังคมไทย, หนา ๒๑.
๗๐ กระทรวงศึกษาธิการ, การบรหิ ารสถานศกึ ษาท่ีเปน นิติบคุ คล, หนา ๓๐ – ๓๑

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๒๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

โดยนําหลักธรรมาภิบาลมาบูรณาการเขากับการดําเนินงานดานตาง ๆ ของ
สถานศึกษาไดแกการดําเนินงานดา นวิชาการ งบประมาณ บริหารงานบุคคล และบรหิ ารทั่วไป
ในการจัดการศกึ ษาทท่ี าํ ใหผ เู รียนเปนคนเกง ดี และมคี วามสุข

จากท่ีกลาวมานั้นพอสรุปไดวาการใชธรรมาภิบาลในสถานศึกษาน้ันจะทําให
สถานศึกษามีประสิทธิภาพในการบริหารซ่ึงเกิดจาการบูรณาการนําหลักธรรมาภิบาลทั้ง ๖
ประการคือ หลักนิติธรรม หลักคุธรรม หลักความโปรงใส หลักความมีสวนรวม หลักความ
รับผิดชอบ หลักความคุมคา มาปรับใชกับการบริหารสถานศึกษาซึ่งสงผลใหสถานศึกษา
สามารถบริหารสถานศึกษาไดอยางมีศักยภาพสอดคลองกับนโยบาย โปรงใสทุกข้ันตอน สาม
รถตรวจสอบไดประธานาธิบดี กฎการปฏิรูปองคกรของรัฐนี้ไดถูกนํามาปฏิบัติและการปรับใช
กับแตล ะสมยั จนถึง ปจ จุบันน้ี

๖.๖ ธรรมาภิบาลในตางประเทศ

นางสาวสันถวันท พยาเลี้ยง ธรรมาภิบาลและการปฏิรูปองคกรของรัฐใน
สหรัฐอเมริกา หลักการปกครองท่ีดีไดรับ การยอมรับ และถือปฏิบัติอยางกวางขวางใน
สหรัฐอเมริกาแตไมไดเปนที่รูจักในนามของ Good Governance กลาวคือ สหรัฐอเมริกาได
พยายามเร่ิมปฏิรูป การบริหารภาครัฐคร้ังแรกชวงป พ.ศ. ๒๔๗๙ – ๒๔๘๐ ซ่ึงในสมัยของ
ประธานาธิบดี Roosevelt โดยรัฐบาลไดออกกฎหมายวาดวยการ ปฏิรูป องคกรของรัฐ พ.ศ.
๒๔๗๙ เนนการเพิม่ ประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของสํานกั งาน200๗๑

นางสาวสันถวันท พยาเลี้ยง ในสมัยของประธานาธิบดี Clinton (พ.ศ. ๒๕๓๕ –
๒๕๔๓) สหรัฐอเมริกาไดกอตั้ง National Performance Review: NPR เพื่อทําการตรวจสอบ
ประสิทธิภาพการดําเนินงานของรัฐ และไดผานกฎหมายที่เรียกวา Good Governance
Performance and Results Act : GPRA เมื่อ ตนป พ.ศ. ๒๕๓๖ ทุกหนวยงานของรัฐตองสง
แผน ๕ ป ของการพัฒนาองคกร ซึ่งประกอบดวย วิสัยทัศน หลักการ วัตถุประสงค กลยุทธ และ
หลักการประเมินผล ระเบียบดังกลาวนที้ ําใหแตละหนว ยงานของรัฐตระหนักถึงประสิทธิภาพของ

๗๑ นางสาวสันถวันท พยาเลี้ยง, “การบริหารโรงเรียนตามหลักธรรมาภิบาลในโรงเรียน
ประถมศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหา
บณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา, (บณั ฑติ วิทยาลัย: มหาวิทยาลยั ราชภฎั ธนบรุ ,ี ๒๕๕๒), หนา ๓๖.

๑๓๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

การทํางานของตัวเอง และชวยทําใหมีการประเมิน เพ่ือทราบปญหาและจุดบกพรองของ
หนวยงานไดชัดเจนข้ึน ครั้นถึงตอนปลายป พ.ศ. ๒๕๓๖ ประธานาธิบดี Clinton ไดอนุมัติและ
เรงรัดใหมีการปฏิรูปองคกรรัฐเพิ่มเติม ซึ่งรวมการลดขนาด ของหนวยงาน ตัดตอนกฎระเบียบ
ตาง ๆ ที่รุมรามลงถึงประมาณคร่ึงหน่ึงของระเบียบปฏิบัติที่ บังคับใชอยู ณ ขณะนั้น และยังได
เรงใหทุกหนวยงานหลังจากมีการนําไปสูการปฏิบัติเพียง ระยะเวลา ๑ ป เทาน้ัน สหรัฐอเมริกา
สามารถปฏบิ ตั ิตามแผนทกี่ าํ หนดไวไดถ ึง ๑ ใน ๔ ของ แผนงานทงั้ หมด สวนหนึ่งทปี่ ระเทศ
สหรัฐอเมริกาประสบความสําเร็จกับแผนปฏิรูปราชการได อยางรวดเร็วเปนเพราะรัฐบาล
สหรัฐอเมริกาจัดสรรเงินทดแทนใหกับพนกั งานทสี่ มัครใจลาออก กอ นถึงกําหนดเกษียณราชการ
ในการปฏิรูปใหองคกรขนาดเล็กลงมีการทํางานใหมีประสิทธิภาพ สูงขึ้น ยอมมีความจําเปนใน
การใชค นนอยลงแตคงทํางานท่ีมีคุณภาพไว201๗๒

นอกจากนั้น สิ่งสําคัญประการหน่ึงของความสําเร็จในการปฏิรูปองคกรของรัฐใน
สหรัฐอเมริกาคือ การระดมความคิดเห็นจากหนวยงานยอยตาง ๆ และคนหาความตองการ
ของกลมุ องคกรทีจ่ ะถูกปฏริ ปู โดยใหช วยกนั ตอบคาํ ถามหลกั ดงั ตอไปนี้

๑. ถาหากหนวยงานขององคกรใดองคกรหน่ึงถูกยุบ เจาหนาท่ีมีความคิดเห็นวา
หนว ยงานใดจากภาครัฐหรือเอกชน สามารถดาํ เนนิ งานแทนหนวยงานท่ีจะถกู ยุบ

๒. ถาหากมีกิจกรรมบางอยางของประเทศที่รัฐยังดําเนินงานไมเสร็จ เจาหนาท่ีใน
องคกรคิดวารฐั ควรปรับเปลี่ยนวิธีการดาํ เนินงานดังกลาวหรือไม เพื่อท่ีจะเพิ่มประสิทธิผลการ
บรกิ ารตอ ลกู คาหรอื ประชาชน

๓. เจาหนาที่ในองคกรคิดวาลูกคาท่ัวไปของคนไมเฉพาะกลุมผูท่ีมีสวนเสียสวนได
โดยตรงจะรูสกึ อยา งไรกับการยบุ หนวยงานดังกลาว

ผลการปฏิรูปองคกรของรัฐตามคําแนะนําของ National Performance Review :
NPR เปนไปดวยความเรียบรอยและมีประสิทธิผล สวนตัวชี้วัด ไดแก ตนทุนประโยชน
กฎระเบียบ มาตรฐานการใหบริการ ขนาดและโครงสรางของรัฐ การใหขอมูลขาวสาร และความ
ไวว างใจ

๗๒ เร่ืองเดียวกัน, หนา ๓๗–๓๘.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๓๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

จะเห็นไดวา สหรัฐอเมริกาเนนการเพ่ิมประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจและเพ่ิม
ประสิทธิผล ขององคกรของรัฐเปน หลกั เร่อื งจากระบบราชการคอนขางเทอะทะ พนักงานขาด
ขวัญและ กําลังใจ ความลาชาของระเบียบราชการตาง ๆ และความไมเหมาะสมระหวางผล
ของการ ดําเนินงานและผลตอบแทน ดังนั้น NPR จึงเนนท่ีการพัฒนาองคกร เพ่ือสรางขวัญ
และกําลังใจ ความลา ชาของระเบยี บราชการตาง ๆ และความไมเหมาะสมระหวางผลของการ
ดําเนินงานและ ผลตอบแทน ดังน้ัน NPR จึงเนนที่การพัฒนาองคกร เพื่อสรางขวัญและ
กําลังใจของพนักงานและ ปรับปรุงประสิทธิภาพและคุณภาพขององคกรรัฐ ระบบการเมือง
และเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ถกู หลอหลอมมาจากระบอบประชาธิปไตยเสรีและระบอบทุน
นิยมประเทศ สหรัฐอเมริกาจึงไดมี การพัฒนา สรางพื้นฐาน และใหความสําคัญดานกฎหมาย
ความเสมอภาค ความโปรงใส การ ตรวจสอบ คุณภาพชีวิต และสิทธิมนุษยชน พื้นฐาน
ดังกลาวคอนขางเขมแข็งเม่ือเปรียบเทียบกับ ประเทศกําลังพัฒนาทั่วไป อยางไรก็ตาม
สหรัฐอเมริกาก็มีการปรับปรงุ ดานการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมอยางตอเนื่อง ปญหาปจจุบัน
ท่ีสหรัฐอเมริกาใหความสนใจไมใชอยูท่ีวา “รฐั ควรทํา อะไร” เพ่ือพัฒนาประเทศ แตท วา “รัฐ
ควรทําอยางไร” เพ่ือใหป ระเทศและประชาชนมีคุณภาพ และประสิทธิภาพมากย่ิงข้นึ สงิ ที่ทา
ทายยิ่งสําหรับ สหรัฐอเมริกา คือการผสมผสานและปรับใช องคประกอบอ่ืน ๆ ของธรรมาภิ
บาล ใหเสมือนหน่ึงเปนวฒั นธรรมขององคกรมากกวาท่ีจะตองมี หนวยงานแยกตางหากที่ตอง
คอยตรวจสอบประสิทธิภาพการทํางานอยตู ลอดเวลา

ธรรมาภิบาลกับกองทัพ : การควบคุมทหารและพลเรือน การควบคุมทหารโดย
พลเรือนหรือการใหพลเรือนมีอํานาจในกิจการทหารนั้น เปนประเด็นที่นาสนใจในการศึกษา
เร่ือง ความสัมพันธระหวางพลเรอื นกบั ทหาร (Civil – Military Relations) แนวคิดเร่ืองน้ีเปน
ผลจาก การนําเสนอของ แซมมวล ฮันติงตัน (Samuel Huntington) ในผลงานทางวิชาการป
พ.ศ. ๒๕๐๐ ที่ไดรับความสนใจอยางตอเน่ืองจนถึงปจจุบัน งานดังกลาวจัดวาเปนตําราหลัก
ของการศึกษา บทบาททหารกบั การเมือง (The Soldiers and The State)

รูปแบบของความสัมพันธระหวางพลเรือนและทหารในสังคมอเมริกันก็คือการ
ควบคุมทหารโดยพลเรือน ซ่ึงหลักการควบคุมทหารโดยพลเรือนน้ีไดรับการยอมรับเปน
องคประกอบสําคัญของระบอบประชาธิปไตยโดยตะวันตกมาโดยตลอด จนกลายเปนหลักการ
ใน การพิจารณาระดับหรือสถานะของระบอบประชาธิปไตยของประเทศกําลังพัฒนา

๑๓๒ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

แนวความคิดใน เรื่องของการควบคุมทหารโดยพลเรือนท่ีเกิดขึ้นในสังคมอเมริกันอาจใชเปน
กรณศี กึ ษาในเรื่องน้ี กองทพั กบั ธรรมาภบิ าลในระบบการเมอื งไทยได

หลักการควบคุมทหารโดยพลเรือนคือการจัดการความรับผิดชอบของพลเรือนใน
กิจการดานทหารและดานความม่ันคง และขณะเดียวกันก็ใหผูนําทางทหารมีชองทางติดตอ
โดยตรงกับผูนําในระดับสูงของรัฐบาล การควบคุมทหาร โดยพลเรือนน้ันมิไดหมายถึงการให
ฝายพลเรือน ไดเขาไปเปนผูที่ครอบงําและแทรกแซงกองทัพ หลักการควบคุมทหาร โดยพล
เรือนจึงเปนการที่ พลเรือนไดรับมอบหมายหรอื แตง ตงั้ ใหท หารควบคุมทหารกันเอง หลกั การนี้
หากยอนกลบั ไปถงึ เจตนารมณของผูสรางรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมรกิ าก็คอื กลัววาอาํ นาจทาง
ทหารจะถูกรวมศูนยอยู ในมือของนักการเมืองมากกวาความกลัววาอํานาจทางทหารจะตกอยู
กับมือของนายทหาร ฉะนั้น การควบคุมทหารโดยพลเรือน ไดแก การมอบความรับผิดชอบ
กิจการดานการทหารและความ ม่ันคงใหแกพลเรือน ขณะเดียวกันก็จํากัดขอบเขตการใช
อํานาจทางทหารของฝายพลเรือนดวย แนวความคิดการควบคุมโดยพลเรือมีตนรากทาง
ความคิดที่ยอนกลับไปตั้งแตยุคอาณานิคม ปญหา น้ีบรรดาผูสรางรัฐธรรมนูญอเมริกาไดเห็น
ต้ังแตในสมัยที่สหรัฐอเมริกายังอยูภายใตระบบอาณา นิคมของอังกฤษ ก็คือ ทําอยางไรจะ
ควบคุมไมใหมีอํานาจทางทหารอยางไมถูกตอง การท่ีอํานาจ ทางทหารท้ังการประกาศ
สงครามและการทําสงครามถูกมอบไวในมือของกษัตริยอังกฤษ ทําให เกิดการใชอํานาจทาง
ทหารอยางไมชอบธรรมตออาณานิคมชาวอเมริกัน การใชอํานาจที่ไมถูกตอง เชนนี้กลายเปน
ชนวนสําคัญที่นําไปสูการเกิดสงครามกูเอกราชของชาวอเมริกันขึ้น จนทําให อังกฤษเปนฝาย
พา ยแพและตอ งถอนตวั ออกไปจากการปกครองสหรฐั อเมริกาในท่ีสดุ

นางสาวสันถวันท พยาเลี้ยง หลักการท่ีสําคัญทเ่ี ก่ียวกับธรรมาภิบาลกับกองทัพใน
รัฐธรรมนูญอเมรกิ นั มี ๒ ประเดน็ หลกั คือ ๗๓
202
๑. หลกั การควบคุมทหารโดยพลเรอื น
๒. หลักการของการแยกอาํ นาจและการตรวจสอบ – ถวงดลุ
๑) การแยกอํานาจของพลเรือนในการควบคุมกองทัพเปนการแยกอํานาจ ของ
การประกาศสงครามและการทําสงครามออกจากกัน โดยอํานาจในการประกาศสงครามเปน
ของรัฐสภา (รัฐธรรมนูญแหงสหรัฐอเมริกา อนุมาตรา ๘, มาตรา ๑) และใหอํานาจในการ

๗๓ เรือ่ งเดยี วกนั , ๓๘–๔๐.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๓๓
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

ดําเนิน สงครามของประธานาธิบดี ทั้งน้ีประธานาธิบดีมีฐานะเปนผูบัญชาการทหารสูงสุด
(อนมุ าตรา ๒, มาตรา ๒) โดยหลกั การของแยกอาํ นาจทางทหารออกจากกันคอื ความพยายาม
ไมใหอํานาจทาง ทหารอยูในมือของสถาบันการเมืองของพลเรือนเพียงสถาบันเดียว ซ่ึงสภาพ
เชนนก้ี อ ใหเกิดการ ตรวจสอบและถวงดลุ ระหวางสถาบนั ของฝายนิติบญั ญัตแิ ละฝายบริหาร

๒) การแยกอํานาจในสถาบันของฝายบริหาร โดยมีการแยกอํานาจระหวาง
รัฐบาลกลางและรัฐบาลมลรัฐ เชน รฐั สภาออกกฎสาํ หรับการปกครองและการควบคมุ กองกําลัง
ทางบกและทางอากาศ (อนุมาตร ๘, มาตรา ๑) สวนการระดมกองกําลังทหารอาสาสมัคร
(National Guard) ใหเปนไปตามกฎหมายของสหพันธและการแตงตั้งผูมีหนาที่ในการบังคับ
บัญชา ก็เปนเอก สทิ ธ์ิของแตล ะมลรัฐ

จากหลักการทั้ง ๒ ประการ ของรัฐธรรมนูญของอเมริกัน ทําใหเห็นไดชัดเจนวา
หลัก ของการควบคุมพลเรือนก็คือ การแยกอํานาจของพลเรือนในการควบคุมกองทัพ เพราะ
การลด อํานาจทางการเมืองของทหารก็คือ การเพ่ิมอํานาจของพลเรือนในเงื่อนไขของการจัด
ความสัมพันธ ระหวางพลเรือนกับทหารในสังคมน้ัน ๆ แตการทําใหอํานาจของพลเรือนเพ่ิม
มากเชนนี้มิไดเปน การยอมใหกลุมใดกลุมหน่ึงของพลเรือนมีอํานาจสมบูรณเหนือกองทัพจน
กลายเปนการครอบงํา กองทัพได ปรากฏการณท ่ีเห็นนกระบวนการควบคมุ ทหารโดยพลเรือน
ของสงั คมทางการเมือง อเมริกนั ก็คอื การทํางานรวมกนั ระหวา งประธานาธบิ ดีกับรัฐสภา การที่
มีความเห็นรวมกันหรือ แตกตางกันยอมเปนภาพสะทอนหลักการในเร่ืองการแยกอํานาจและ
การใชการตรวจสอบ – ถวงดลุ โดยทั่วไปในระบบทางการเมือง สมดุลของอํานาจดงั กลาวอาจ
โนมเอียงไปยังสถาบันใดสถาบัน หนึง่ ไดในแตละชวงเวลาของสถานการณทางการเมือง ฉะนั้น
การควบคุมโดยพลเรือนในระบบ ทางการเมืองอเมริกันจะมีประธานาธบิ ดีในฐานะหัวหนาของ
ฝายบริหาร ใชอํานาจในการควบคุม โดยพลเรือนผานกระบวนการท่ีเรียกวา “อํานาจในการ
ควบคมุ ของประธานาธิบดี (Presidential Control)” และรฐั สภาใชอ ํานาจในกระบวนการของ
“อํานาจในการควบคุมของรัฐสภา (Congressional Control)” การควบคุมนี้เปนการแยก
อํานาจระหวางประธานาธิบดีกับรัฐสภา มิใช เปนการควบคุมพลเรือโดยแยกอํานาจระหวาง
พลเรือนกับทหาร และหลักการเหลานี้หากพิจารณา ยอนกลับไปในประวัติศาสตรของการ
สรางประเทศของสหรัฐอเมริกา ก็คือ ผลผลิตของ กระบวนการรัฐธรรมนญู ที่ถูกสรางขึ้นตั้งแต
ยุคหลังสงครามเอกราชของสหรัฐอเมริกา และไดรับ การยอมรับและใชสืบเนื่องมาจนถึง
ปจจุบนั

๑๓๔ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทท่ี ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

การใชธรรมาภิบาลในตางประเทศสามารถสรุปไดเปน ๒ สวน คือในประเทศที่
พัฒนา แลว และประเทศที่กําลังพัฒนา จะเห็นไดวาในประเทศที่พัฒนาแลวอยางประเทศ
สหรัฐอเมริกา เนนการเพิ่มประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ และปรับปรุงประสิทธิผลขององคกร
ของรัฐ การท่ีระบบ การเมืองและเศรษฐกิจของสหรัฐฯ เติบโตมาจากระบอบประชาธิปไตย
และทุนนิยม จึงไดปู พื้นฐานกฎหมายท่ียุติธรรม ใหความสําคัญตอความเสมอภาค ความ
โปรงใส การตรวจสอบคณุ ภาพ ชวี ิตและสทิ ธมิ นษุ ยชน ปจจุบันสหรฐั ฯ ยงั มีความพยายามท่จี ะ
ปรับการทํางานขององคกรของรัฐ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน มีการสงเสริมธรรมาภิบาลให
กลายเปนวัฒนธรรมขององคกรมากกวาการ ท่ีจะตองมีองคกรคอยตรวจสอบ หรือจับผิดการ
ทํางาน

ในขณะท่ีประเทศท่ีกําลังพัฒนา เชน ฟลิปปนส อินโดนีเซีย และบอสซาวานา ก็
กําลัง อยูในชวงของการนําธรรมาภิบาลไปปรับใช เพ่ือเปนกลไกที่ชวยในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม ของประเทศใหดีข้ึน สรางระบบการทํางานในองคกรของรัฐใหมีความโปรงใส และ
ชดั เจน ทังนี้ การมธี รรมาภบิ าลก็จะทําใหตางประเทศเกิดความเช่ือมั่นตอการลงทนุ ได

ในประเทศฟล ิปปน สม ีความกาวหนา ในการนาํ หลกั Total Quality Management
ให เขาสู Total Quality Governance ซ่ึงเปนการประยกุ ตใชหลักการดําเนินงานของธุรกิจที่
เนน ประสิทธิภาพของการจัดการ สวนประเทศอินโดนีเซียมีความพยายามในการใชธรรมาภิ
บาลเพ่ือ แกไขปญหาการคอรรปั ชั่นและพัฒนาเศรษฐกจิ ใหดขี น้ึ สวนประเทศบอสซาวานาไดมี
การปรับใช ธรรมาภิบาลในองคก รตา ง ๆ รวมถึงการจัดตั้งองคก รใหมท ่ใี ชห ลักธรรมาภิบาล

นอกจากนน้ั ตัวช้ีวัดธรรมาภบิ าลบางตัวช้ีวัดของตางประเทศอาจนํามาปฏิบัติไดใน
ประเทศไทย หากแตสมควรจะตองมีการประเมิน ตรวจสอบ หรือวิจัยเพ่ือคัดเลือกตัวชี้วัดที่มี
ความเหมาะสมตอ ประเทศไทยตอ ไป

จากการศึกษาคนควา เอกสาร บทความและงานวิจัยทเ่ี ก่ยี วของพอจะสรุปไดว า การ
บริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิภาพ ข้ึนอยูกับองคประกอบหลายประการท้ังจากภายในและ
ภายนอก ผูบริหารเปนบุคคลท่ีมีความสําคัญอยางยิ่ง ในการที่จะนําโรงเรียนไปสูความมี
ประสิทธภิ าพและ ความสาํ เร็จ ผูบริหารตอ งมีคุณลกั ษณะของผูนาํ ท่สี าํ คัญ ไดแก ความซือ่ สัตย
ความยุติธรรม มีความ มุงม่ัน ขยัน อดทน มีความรับผิดชอบสูง มีความคิดริเริ่มสรางสรรค มี
ภาวะผูนําสูงเปนคนกลาคิด กลาเปลี่ยนแปลง กลาตัดสินใจ มีคุณธรรมจริยธรรม มีวุฒิภาวะ
ทางอารมณสูง เปนบุคคลแหงการ เรียนรูและมีความจริงใจ ในการบริหารจัดการผูบริหาร

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๓๕
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

สามารถใชเทคนิควิธีและหลักการตาง ๆ ที่หลากหลายมาปรับใชใหเหมาะสมกับสภาพ
เหตุการณและปจจัยแวดลอม หลักธรรมาภิบาลเปน แนวทางสําคัญในการบริหารจัดการ จัด
ระเบียบใหสังคมท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน อันมีหลักพื้นฐาน ๖ ประการคือ
หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักความมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ
และหลักความคุมคา ซึ่งเปนหลักการบริหารงานที่ดีใหผูบริหาร ตระหนักถึงสิทธิและหนาท่ีใน
การปฏิบัติงานตามกฎ ระเบียบ ของบังคับตาง ๆ อยางถูกตองและ เสมอภาค ยึดม่ันในส่ิงที่ดี
งามเปนแบบอยางแกบุคลากรในโรงเรียน เนนความโปรงใสสามารถ ตรวจสอบได ความ
ไวว างใจซ่งึ กันและกันมีการเปด เผยขอมลู ขาวสารอยางตรงไปตรงมา เปดโอกาสใหชมุ ชนมีสวน
รวมในการบริหาร การตัดสินปญหา และประเมินผลการบริหารโรงเรียนอยางเท่ียงธรรม มี
ความรับผิดชอบ ใชทรัพยากรท่ีมีอยูอยางจํากัดใหเกิดประโยชนสูงสุดแกสวนรวมโดยรณรงค
ใหม คี วามประหยดั และใชทรพั ยากรอยา งคมุ คา

๖.๗ บทบาทผบู รหิ ารในการบริหารโรงเรยี นตามหลักธรรมาภบิ าล

เจือจันทร จงสถิตอยู ไดกลาววาผูบริหารนั้นเปนบุคคลท่ีมีความสําคัญเปนอยาง
มากในการขับเคลื่อนองคการ การใช หลักธรรมาภิบาลในการบริหารน้ัน ไดกลาวไวในการนํา
ธรรม รัฐมาปฏิบัติ ผูบริหารควรบริหารจัดการดวยเปนธรรม ใหความยุติธรรมกับทีมงาน การ
ตัดสินใจก็ ควรใหทีมงานมีสวนรวม ช้ีใหทุกคนเขาใจถึงบทบาทและปญหาที่แทจริงในการ
ปฏิบัตงิ านเพอ่ื การ บริหารจดั การทด่ี 2ี03๗๔

ปญญา ฉายะจินดาวงศ และคณะ ไดกลาววาผูบริหารมีหนาที่ ประสานงาน
ระหวางคณะกรรมการกับพนักงานตองมีรายงานผลการปฏิบัติงานเปนประจํา มีการ
บรหิ ารงานอยางโปรง ใสพรอมท่จี ะใหต รวจสอบไดท ุกเวลาและคาํ นงึ ถงึ ประโยชนสวนรวมอยาง
ยุติธรรม204๗๕

ยุทธ วงฉัตรธาร ไดกลาวไววา การสรางกระบวนการธรรมรัฐหรือการ กํากับดูแล
กิจการที่ดี ควรเร่ิมตนดวยความตั้งใจจริงของคณะผูบริหารและคณะกรรมการท่ีเขมแข็ง
ซึง่ ประกอบดว ยคณะกรรมการที่สามารถคานอํานาจซึ่งกันและกัน และตองมีประสบการณใน

๗๔ เจือจันทร จงสถิตอยู, “คนเดน”, วารสารนักบรหิ าร, (๒๕๔๓): ๕๕–๖๐.
๗๕ ปญญา ฉายะจนิ ดาวงศ และคณะ, “ธรรมรัฐ”, วารสารนกั บริหาร, (๒๕๔๓): ๙ – ๑๑.

๑๓๖ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

การ บริหารองคกรโดยกาํ หนดแนวทางการบริหารชใี้ หเ ห็นบทบาท และทศิ ทางที่ชัดเจนในการ
ดาํ เนินงานรวมกัน สรางกระบวนการจัดการที่รัดกุม มีการพิจารณาตัดสินที่ดี เพ่ือปองกันมิให
เกิด ความเสยี หาย สรางความคลอ งตวั ใหเกดิ ขึ้นในการบรหิ ารงาน205๗๖

กระทรวงศึกษาธิการ ไดกลาวเก่ียวกับบทบาท ผูบริหารสถานศึกษาของผูบริหาร
ในฐานะนิตบิ คุ คลซง่ึ ไดก าํ หนดแนวทางการบรหิ ารตามธรรมาภบิ าลคือ206๗๗

๑. รวบรวมและจัดระบบขอมูลสารสนเทศใหเปนปจจุบัน การบริหารแนวใหม
จําเปนอยางย่ิงท่ีจะตองบริหารและตัดสินใจ โดยอาศัยขอมูลมากกวาสามัญสํานึก ดังน้ัน
ผบู ริหารจึง จําเปนจะตอ งรวบรวม จัดระบบขอมูลและใชขอมูลสารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารและ
การตดั สนิ ใจให มากท่สี ดุ เทา ท่ีจะมากได

๒. วามแผนและดําเนินงานตามแผนท่ีวางไว การวางแผนมีสวนชวยใหผูบริหารมี
ทิศทางในการบริหาร ดังน้ันผูบริหารตองมีความรูและความเขาใจเกี่ยวกับการวางแผน
สามารถดําเนินการบริหารตามแผนท่ีกาํ หนดไว รวมทงั้ การกํากบั ติดตาม และประเมินผลการ
ดําเนนิ งาน ตามแผนเพอ่ื ใหบรรลจุ ดุ มุงหมายท่ีกําหนดไว

๓. ศึกษากฎหมาย กฎ และระเบียบท่ีเกี่ยวของในการบริหารสถานศึกษาท่ีเปนนิติ
บคุ คล ผูบ ริหารมีอาํ นาจอยางอสิ ระ ขณะเดยี วกนั รับผิดชอบตอ การตัดสนิ ใจของตนอยางเต็มท่ี
ดังนั้นเพ่ือปองกันความผิดพลาดเชิงกฎหมายและการตัดสินใจของตน ผูบริหารจึงจําเปนตอง
ทํา ความเขา ใจกฎหมายอยา งแทจ รงิ

๔. การบริหารและการตัดสินใจโดยองคคณะบุคคล การศึกษาเปนการบริการ
สาธารณะ เพือ่ ใหการบรหิ ารและการตัดสินใจทมี่ ีความถูกตองและเกิดประโยชนสูงสุด ผูบริหาร
ควรดําเนินงานโดยใชองคคณะบุคคลเขาไปมีสวนรวมในการพิจารณาตดั สินใจมากที่สุดเทาท่ีจะ
มากได

๕. จัดระบบบัญชีใหครบถวนถูกตอง ผูบริหารจําเปนจะตองจัดทําระบบบัญชีให
ครบถวน ความถูกตองตามระบบและระเบียบของทางราชการ เพ่ือการบริหารของตนใหเปนไป
ดวย ความโปรง ใส

๗๖ ยุทธ วงฉัตรธาร, “การสรา งกระบวนการธรรมรัฐ”, วารสารนักบริหาร, (๒๕๔๓): ๑๒–๑๓.
๗๗ กระทรวงศึกษาธกิ าร, การบริหารสถานศึกษาท่ีเปนนิติบุคคล, (กรุงเทพมหานคร: องคการ
รบั สง สนิ คา และพสั ดภุ ณั ฑ, ๒๕๔๖), หนา ๑.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๓๗
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

นายอานนั ท ปนยารชนุ หลกั ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัยควรมี องคป ระกอบดังน้ี207๗๘
๑. ความเปนอิสระในการบรหิ ารจัดการ และความเปน อสิ ระในนโยบายการศกึ ษา
๒. ความรบั ผดิ ชอบในการตัดสนิ ใจของตนเอง
๓. การสนองตอบความตอ งการของสงั คม
๔. คุณภาพการศึกษา หมายรวมถึง คุณภาพของอาจารย นักศึกษา และหลักสูตร
มี งบประมาณรายไดแ ละรายจา ย ดงั นี้
ตารางที่ ๑.๓ ตัวชว้ี ัดการบรหิ ารจดั การทีด่ ใี นมหาวิทยาลัย

หลกั ธรรมาภิบาล ตัวช้ีวดั
ความเปน ธรรม การใชร ะบบสญั ญาจา งงานกบั บคุ ลากรอยางเปน ธรรมและชดั เจน
การกําหนดชวงระยะเวลาที่แนน อนในการประเมนิ
ความเปน ธรรม การสรางแรงจูงใจและแรงผลักดนั ใหบุคลากรทาํ งานไดเ ต็มที่
ความโปรงใส การสามารถท่ีจะรองทุกขตอกรรมการอุทธรณรองทุกขได เม่ือ
ไมไ ดรับความ เปน ธรรมจากผบู งั คับบญั ชา
มีระบบบริหารการเงินและทรัพยสินที่ชัดเจน เปนขั้นตอน
ตรวจสอบได
การมีอํานาจอิสระของกรรมการอุทธรณรองทุกขในการพิจารณา
คําอทุ ธรณรอ ง ทุกขของบคุ ลากร
บุคลากรไดรับขอดีและขอแกไขในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ในแตล ะชวง
การประกาศหลกั เกณฑการพิจารณาความดีความชอบให
ประชาคมรบั ทราบ
การประกาศตารางเงนิ เดือนและขัน้ เงนิ เดือนใหป ระชาคม
รับทราบ

๗๘ นายอานันท ปนยารชุน, “มุมมองนายอนันต”, หนังสือพิมพมติชน, (๒๖ กรกฎาคม
๒๕๔๒): ๗.

๑๓๘ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสําหรับผูบริหารสถานศึกษา

หลักธรรมาภิบาล ตัวชี้วัด
ความโปรงใส กระบวนการในการพจิ ารณาความดีความชอบเปนไปอยางเปดเผย
การมีสว นรว ม การประกาศใหป ระชาคมรบั ทราบเก่ียวกับรูปแบบตาง ๆ ของการ
พัฒนา บคุ ลากร
มีหลกั เกณฑท ชี ัดเจนในการคัดเลือกบุคลากรและประกาศให
ประชาคมรบั ทราบ
การประกาศใหป ระชาคมรับทราบเก่ียวกบั สิทธใิ นการไดร บั
สวัสดกิ ารตาง ๆ
การประกาศใหประชาคมรับทราบเกยี่ วกบั แผนงาน กฎ ระเบียบ
ของ มหาวิทยาลยั
การประชาสัมพันธการรบั สมัครบุคลากรเขาทํางานอยา งทั่วถึงไปสู
ผทู ่ีมีความรู ความสามารถในตําแหนงตา ง ๆ
บุคลากรมสี ว นรว มในการรับรูสถานการณและปญหาขององคก ร
บุคลากรมสี วนรว มในการแกปญหาขององคกร
การกําหนดบทบาทหนา ที่ของบุคลากรอยางชดั เจนเพื่อให
ตรวจสอบไดง าย
ผบู งั คับบัญชาและผูใตบังคบั บัญชาสามารถส่ือสารกนั ไดสองทาง
บุคลากรทุกคนมสี วนรวมในการไดมาซึ่งผบู ริการ
อธบิ ดรี ับฟง ขอเสนอแนะจากประชาคมในเรื่องนโยบายหรือการ
บรหิ าร
แผนงานของหนว ยงานไดมาจากความคดิ ของสมาชิกทุกคนใน
หนว ยงาน
ผูบรหิ ารเปนทีย่ อมรบั ของบคุ ลากรสว นให
อธิการบดีเปน ผทู ี่คนสวนใหญในประชาคมมหาวทิ ยาลยั ใหก าร
สนบั สนนุ
บคุ ลากรมสี วนรวมในการพิจารณาการไดร ับการฝกอบรม/การลา
ศกึ ษาตอของ บคุ ลากร
การทํางานเปนทมี ในการบรหิ าร

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๓๙
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

หลกั ธรรมาภบิ าล ตัวชว้ี ดั
ความมีอสิ ระ การตรวจสอบการดําเนินงานของผูบรหิ ารใหส อดคลองกับ
ประสิทธผิ ล นโยบาย
การใชจ า ยตาง ๆเปนระบบเหมาจาย ถัวเฉล่ยี ได
ความคลองตัว มกี ารประเมินผลการใชง านแบบภายหลัง คือ ดทู ่ีผลผลิตของงาน
การเปด โอกาสใหปรบั เปลย่ี นแผนงานไดโดยงาย เพ่ือใหสอดคลอง
กับความ เปลี่ยนแปลงทางสงั คม
ทกุ หนว ยงานมีอสิ ระในการบริหารจัดการและหารายไดข องตนเอง
โดยมเี กณฑ กลางในการดําเนินการเหมือนกนั
สภามหาวิทยาลยั เนน บทบาทดานการกาํ หนดนโยบาย
การใชอาํ นาจบรหิ ารจากระดับสงู สรู ะดบั ปฏิบัตเิ พ่ือใหเกิด
เอกภาพในการบังคบั บัญชา
ผบู ริหารมีสว นรวมในการประเมนิ ผลงานทางวชิ าการ
การบังคับบัญชาหลายขน้ั ตอนจะเปนการประกันความถูกตอ งและ
ความ ยุติธรรม
ขอ มูลเกี่ยวกับการสรรหาผบู ริหารควรเปด เปน ความลับ เพื่อรักษา
สทิ ธิสวน บุคคล
อธิการบดีควรมีอาํ นาจบริหารงานอยางอสิ ระ เพือ่ ใหเ กิด
ประสิทธิผลสูงสดุ
การลดจาํ นวนละขนาดสรางการบรหิ ารงานของมหาวทิ ยาลัย
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั มขี นาดเล็กเพื่อความคลองตัวใน
การบริหาร

ทีม่ า : ทป่ี ระชมุ สภาอาจารยมหาวิทยาลยั แหง ประเทศไทย, ๒๕๔๓.

จากท่ีกลาวมาเกี่ยวกับบทบาทของผบู ริหารในการบริหารแบบธรรมาภิบาลพอที่จะ
สรปุ ไดวา การบริหารองคกรตามหลักธรรมาภิบาลตองอาศยั ปจจยั หลายประการในการบริหาร
ใหมี ประสิทธิภาพซ่ึงอาจสรุปเปนดังนี้ คือผูบริหารจะตองเปนบุคคลที่มีการเรียนรูตลอดเวลา
ท้ังขอ กฎหมาย กฎขอบังคับ องคความรูทางการบริหารในดานตาง ๆ เพื่อสรางเสริม
ประสบการณใ นการ บรหิ าร เนอ่ื งจากการบรหิ ารแบบธรรมาภบิ าลนนั้ ผบู ริหารจะตองมคี วามรู

๑๔๐ พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

บทที่ ๖ หลักธรรมาภิบาลสาํ หรับผูบริหารสถานศึกษา

ความสามารถและ ประสบการณซ่ึงจะทาํ ใหการตดั สนิ ใจ การวางแผนในการปฏิบัติงานเปน ไป
อยางมีประสิทธิภาพ และผูบริหารจะตองยึดหลักพุทธศาสนาในการบริหารโดยนําหลักธรรม
บูรณาการกับการบริหาร แบบธรรมาภบิ าลซึ่งจะทาํ ใหการบริหารมีประสทิ ธิภาพ เปน ท่ยี อมรับ
ของคนในองคกรซึ่งหลักธรรมที่สําคัญท่ีควรนํามาใชในการบริหารควบคูกับหลักธรรมาภิบาล
ทศพิธราชธรรม เพราะจะ ทําใหผูบริหารเปนบุคคลท่ีนาเชื่อถือ มีความรอบคอบ มีคุณธรรม
และมคี วามยตุ ธิ รรมในการบริหาร

๖.๘ งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอ งกับหลักธรรมาภบิ าล

สุวรรณ ทองคํา ศึกษาเก่ียวกับสภาพการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลใน
โรงเรียน สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดสิงหบุรี พบวา ๑) ผูบริหารโรงเรียนสวน
ใหญ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายหลักสวนใหญ
บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในระดับมากเกือบทุกหลัก ยกเวนหลักคุณธรรมการ
บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในระดับมากท่ีสุด ๒) ผูบริหารโรงเรียนเกือบทุกคุณลักษณะ
และสถานภาพสวนใหญ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในระดับมาก ยกเวนผูบริหาร
โรงเรียนท่ีมีคุณวุฒิทางการศึกษาสูง กวาระดับปริญญาตรีสวนใหญบริหารงานตามหลักธรร
มาภิบาลในระดับมากท่ีสุด ๓) ผูบริหาร โรงเรียนที่มีวัยวุฒิไมเกิน ๕๐ ปสวนใหญบริหารงาน
ตามหลักธรรมาภิบาลมากกวาผูบริหารโรงเรียน ที่มีวัยวุฒิมากกวา ๕๐ ปขึ้นไป ผูบริหาร
โรงเรียนที่มีคุณวุฒิทางการศึกษาสูงกวาระดับปริญญาตรี สวนใหญบริหารงานตามหลักธรร
มาภิบาล มากกวาผูบริหารโรงเรียนท่ีมีคุณวุฒิที่มีคุณวุฒิทาง การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือ
เทียบเทาลงมา ผูบริหารโรงเรียนที่มีประสบการณการบริหารไมเกิน ๑๐ ป สวนใหญ
บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลมากท่ีสุด รองลงมาเปนผูบริหารโรงเรียนท่ีมี ประสบการณ
การบริหาร ๑๑-๒๐ ป มากกวา ๒๐ ป ตามลําดับ และผูบริหารโรงเรียนท่ีดํารงตําแหนง ใน
โรงเรียนขนาดกลางสวนใหญบ ริหารงานตามหลกั ธรรมาภิบาลมากท่ีสด รองลงมาเปน ผูบริหาร
โรงเรยี นทดี่ ํารงตําแหนง ในโรงเรยี นขนาดใหญแ ละขนาดเลก็ ตามลําดบั 208๗๙

๗๙ สุวรรณ ทองคํา, “สภาพการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลในโรงเรียนสังกัดสํานักงานการ
ประถมศึกษา จงั หวดั สงิ หบ ุรี”, วทิ ยานิพนธป ริญญาครุศาสตรมหาบัณฑติ , (บณั ฑิตวทิ ยาลยั : มหาวทิ ยาลัย
ราภฎั เทพสตร,ี ๒๕๔๕), หนา บทคดั ยอ.

คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ๑๔๑
พระครูปลัดบุญชวย โชติวํโส, ดร. (อุยวงค)

เกียรติศักด์ิ ศรีสมพงษ ทําการศึกษาเรื่อง การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของ
ผูบรหิ ารสถานศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สังกัดสํานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาสพุ รรณบรุ ี พบวา สภาพการ
บริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามความคิดเห็นครู สังกัด
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาสุพรรณบุรีโดยภาพรวมมีระดับการปฏิบัติอยูในระดับมาก และ
เมื่อ เปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีตอสภาพการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของ
ผบู ริหาร สถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน สังกัด สาํ นกั เขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาสุพรรณบรุ ี พบวา ในภาพรวม
ผูบริหาร สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมีประสบการณในการบริหาร ต้ังแต ๑-๑๐ ป และผูบริหาร
สถานศึกษาข้ัน พ้ืนฐานที่มีประสบการณตั้งแต ๑๑ ปข้ึนไป มีสภาพการบริหารงานตามหลัก
ธรรมาภบิ าล ไมแ ตกตางกัน ซึ่งไมสอดคลองกับสมมติฐานที่กาํ หนดไว แตมีดานทแี่ ตกตางกนั ๑
ดา น คอื ดา นหลกั คุณธรรมแตกตางกนั อยางมนี ัยสําคัญทางสถติ ิท่ีระดับ .๐๕ ๘๐
209

สุนทร ออนวัง ไดศึกษาเกี่ยวกับ การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมภิบาลใน
โรงเรียนบานนาปาคาย สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาอุตรดิตถ เขต ๑ พบวาการบริหาร
สถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาล โรงเรียนบานนาปาคาย สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
อุตรดิตถ เขต ๑ ในภาพรวม อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาตามหลกั ธรรมาภิบาลพบวา ทุกหลัก
ธรรมาภิบาลอยู ในระดับมาก เรียงลําดับจากมากไปหานอย ไดแก หลักความรับผิดชอบหลัก
คุณธรรม หลักความ โปรงใส หลักความคุมคา หลักนิติธรรมและหลักการมีสวนรวมตามลําดับ
สถานศึกษาควรจัด แสดงผลงานการดําเนินการของโรงเรียนใหชมุ ชนทราบทุกป ควรใหชุมชนมี
สวนรับทราบการ ดําเนินการภายในโรงเรียน มีสวนรวมในการพัฒนาส่ิงแวดลอมใหมากกวานี้
ปจจุบันมีการรับฟง ขอเสนอแนะจากชุนชนอยางสมํ่าเสมอ และการบริหารจัดการทรัพยากร
สิง่ แวดลอม ควรใหชุมชน มสี ว นรวมเพอ่ื การใชงานใหเ กิดประโยชนส ูงสุดและคมุ คา210๘๑

๘๐ เกียรติศักด์ิ ศรีสมพงษ, “การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผูบริหารสถานศึกษา ข้ัน
พ้ืนฐาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสุพรรณบุรี”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิต
วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏกาญจนบรุ ,ี ๒๕๔๘), หนา บทคัดยอ .

๘๑ สุนทร ออนวัง, “การบริหารสถานศึกษาตามหลักธรรมาภิบาลโรงเรียนบานนาปาคาย
สํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาอุตรดิตถ เขต ๑”, วิทยานิพนธครุศาสตรมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อตุ รดิตถ, ๒๕๕๐), หนา บทคัดยอ.


Click to View FlipBook Version