The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นายธนญชัย บุญเพิ่ม, 2023-11-24 01:31:24

yamaha NMAX

yamaha NMAX

ค ู  ื อซ  อม 2DP-F8197-U0 ม 2DP-F8197-U0.book Page 1 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


UAS20002 GPD150-A คูมือซอม ©2015 โดย บริษัท ยามาฮามอเตอรอินโดนีเซียแมนูแฟคเจอริ่งจํากดั พิมพครั้งที่ 1, มิถนายนุ 2015 สงวนลิขสิทธิ์ หามทําการคัดลอก พิมพซ้ําสวนหนึ่งสวนใดหรือทั้งหมดของคมู ือเลมนี้ ดวยวิธีการใดๆ เวนแตไดรับอนุญาตจาก บริษัท ไทยยามาฮามอเตอรจํากัด เปนลายลักษณอักษร 2DP-F8197-U0.book Page 1 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


UAS20003 ขอสําคัญ คูมือเลมน ี้จัดทําขึ้นโดยบริษทัยามาฮามอเตอรอนโดน ิ ีเซียแมนูแฟคเจอริ่งจํากัด สําหรับการใชงานโดยผูจําหนายยามาฮาและชางเครื่องที่มี คุณสมบัติเหมาะสมเปนหลักการรวบรวมขอมูลทั้งหมดของชางไวในคูมือเลมเดียวยอมเปนไปไมไดดังนนั้ผูใดก็ตามที่ใชคูมือเลมนในการ ี้ บํารุงรักษาและซอมแซมรถของยามาฮ าควรมีความเขาใจพื้นฐานเกยวกี่ับเครื่องยนตกลไกและเทคนคติ างๆ ในการซอมแซมรถชนิดนี้งาน ซอมแซมและบํารุงรักษาที่ดําเนินการโดยบคคลใดกุ็ตามซึ่งไมมีความรูดานนี้อาจทําใหรถไมมีความปลอดภัยและไมเหมาะสมกับการใชงาน บริษัท ยามาฮามอเตอรอนโดน ิ ีเซียแมนูแฟคเจอริ่งจํากดั พยายามปรับปรุงพัฒนารถจักรยานยนตทกรุ ุนอยูเสมอการดัดแปลงแกไขและการ เปลี่ยนแปลงในขอมูลจําเพาะหรือขั้นตอนตางๆ จะสงตอไปยังผูจําหนายยามาฮาที่ไดรับอนุญาตทุกรายและจะปรากฏอยในคู ูมือฉบบแกั ไข ในอนาคต (หากมี) ขอแนะนํา การออกแบบและขอมูลจําเพาะอาจมีการเปลยนแปลงโดยม ี่ิไดแจงใหทราบลวงหนา UAS30001 ขอมูลคูมือที่สําคัญ ขอมูลสําคัญเปนพิเศษในคูมือเลมนจะแตกตี้างกันตามสัญลักษณต อไปนี้ นี่คือสญลั ักษณเตือนความปลอดภัยแสดงการเตือนใหระวังอันตรายจากการไดรับบาดเจ็บตอบุคคลที่ อาจเกิดขึ้นไดใหปฏิบัติตามขอมูลความปลอดภยทัตามหลี่งเครั ื่องหมายนี้ทั้งหมดเพื่อหลกเลี ี่ยงการบาดเจ็บ หรือการเสียชีวิตทอาจเกี่ิดขึ้นได คําเตือน เพื่อแสดงถงสถานการณึ อันตราย หากไมสามารถปฏ  ิบัติตาม อาจสงผลใหเก ิดการบาดเจ็บรายแรงหรือ เสียชีวิตได ขอควรระวัง เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดความเสียหายตอรถจักรยานยนตหรือทรัพยสนอิ ื่น ขอแนะนํา เพื่อใหมีความชัดเจนหรือเขาใจในคมู ือมากยิ่งขึ้น 2DP-F8197-U0.book Page 2 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


UAS20004 วิธีใชคูมือเลมนี้ คูมือเลมน ี้จัดทําขึ้นเพื่อเปนหนังสออื างอิงที่ใชสะดวกและเขาใจงายสําหรับชางเครื่องยนตคําอธิบายโดยรวมของขั้นตอนการติดตั้งการถอด การถอดแยกการประกอบ การซอม และการตรวจสอบทงหมดได ั้จัดวางไวทละขี ั้นตอนเรียงตามลําดับตอเนื่องกัน • คูมือจะแบงออกเปนบท และแตละบทจะแบงออกเปนหมวดหัวขอของหมวดปจจุบัน “1” จะแสดงอยูดานบนสุดของแตละหนา • หัวขอของหมวดยอย “2” ปรากฏเปนตัวอกษรขนาดเลั ็กกวาหัวขอหมวด • เพื่อชวยระบุชิ้นสวนและอธ ิบายขั้นตอนการดําเนนการให ิ ชดเจนัจึงมีแผนผังขยายรายละเอียด “3” ในตอนเริ่มตนของหมวดการถอดและ การถอดแยกชิ้นสวน • หมายเลขตางๆ ใหไวตามลําดับการทํางานในแผนผังขยายรายละเอยดี “4” หมายเลขจะแสดงถึงขั้นตอนการถอดแยก • สัญลักษณ “5” แสดงชิ้นสวนต างๆ ทตี่ องหลอลนหรื่ือเปลี่ยนใหม โปรดดูท “SYMBOLS”ี่ • ตารางการสอนการทํางาน “6” ประกอบแผนผังขยายรายละเอยดีจะมลีําดับการทํางาน ชอชื่ิ้นสวนอะไหล  หมายเหตุเกี่ยวกบงานัและอื่นๆ ขั้นตอนนี้จะอธิบายขั้นตอนการถอดเทานั้น สําหรับการติดตั้งและขั้นตอนทงหมดให ั้ปฏิบัติยอนขั้นตอน • งานที่ตองการรายละเอียดเพิ่มเติม (เชน เครื่องมือพิเศษและขอมูลทางเทคนิค) จะอธิบายไวตามลำดับตอเนองไป ื่ “7” 1 7 3 5 6 2 4 2DP-F8197-U0.book Page 3 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


UAS20005 สัญลักษณ มีการใชสัญลักษณตอไปนี้คูมือเลมน ี้เพื่อใหเขาใจไดงายขึ้น ขอแนะนํา สัญลักษณต อไปนี้ไมไดใชกับรถจักรยานยนตทุกคัน สัญลักษณความหมาย สัญลักษณความหมาย ใหบริการไดโดยติดตั้งเครื่องยนตไวน้ํามันเกียร การเติมของเหลว น้ํามันโมลิบดินัม ไดซัลไฟด สารหลอลื่น น้ํามันเบรค เครื่องมือพิเศษ จาระบีลูกปนลอ คาแรงบิดในการขัน จาระบีลิเธียม คาพิกัดความสึก, ระยะหาง จาระบีโมลิบดินัม ความเรวรอบเคร็ ื่องยนตจาระบีซิลิโคน ขอมูลทางไฟฟา ทาน้ํายาล็อคเกลียว (LOCTITE®) น้ํามันหลอลื่น เปลี่ยนชิ้นสวนตวใหม ั  ซิลิโคนเหลว G M BF B T R. . LS M S LT E New S 2DP-F8197-U0.book Page 4 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


2DP-F8197-U0.book Page 5 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


UAS10003 สารบญ ั ข  อม ู ลท ั่วไป 1 ข  อม ู ลจําเพาะ 2 การตรวจสอบและการปรั บต ั ้ งตามระยะเวลา 3 โครงรถ 4 เคร ื่องยนต  5 ระบบระบายความร  อน 6 ระบบเช ื ้ อเพล ิ ง 7 ระบบไฟฟ า 8 การแก ไขป ญหา 9 2DP-F8197-U0.book Page 1 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


2DP-F8197-U0.book Page 2 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


1 ขอมูลทั่วไปรุน การแสดงขอมูลทั่วไปรุนรถจักรยานยนต ............................................................................................................. 1-1 หมายเลขตัวโครงรถ .................................................................................................................................... 1-1 หมายเลขเครื่องยนต ..................................................................................................................................... 1-1 คุณสมบัติ .............................................................................................................................................................. 1-2 ความสําคัญของระบบหัวฉีด FI ................................................................................................................... 1-2 ระบบหัวฉีด ................................................................................................................................................. 1-3 ขอมูลสรุปของระบบเบรค ABS .................................................................................................................. 1-4 ฟงกชันของสวนประกอบระบบเบรค ABS ................................................................................................. 1-8 การทํางานของระบบเบรค ABS ................................................................................................................ 1-13 ไฟเตือนระบบเบรค ABS และการทํางาน ................................................................................................. 1-16 ฟงกชั่นตางๆ ของแผงหนาปด ................................................................................................................... 1-18 ขอมูลสําคัญ ........................................................................................................................................................ 1-22 การเตรียมการสําหรับการถอดและการถอดแยก ........................................................................................ 1-22 การเปลี่ยนชิ้นสวน ..................................................................................................................................... 1-22 ปะเก็น ซลนี้ํามัน และโอริง ....................................................................................................................... 1-22 แหวนลอค็ /แหวนรองและสลักลอค็ ......................................................................................................... 1-22 ลกปูนและซีลน้ํามัน ................................................................................................................................... 1-23 คลปลิ ็อค .................................................................................................................................................... 1-23 ชนสิ้วนยาง ................................................................................................................................................ 1-23 ขอมูลงานซอมพ ื้นฐาน ....................................................................................................................................... 1-24 ตัวยึดอยางเร็ว ............................................................................................................................................ 1-24 ระบบไฟฟา ............................................................................................................................................... 1-25 เครองมื่ือพิเศษ .................................................................................................................................................... 1-30 2DP-F8197-U0.book Page 0 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


การแสดงขอมูลทั่วไปรุนรถจักรยานยนต  1-1 UAS20007 การแสดงขอมูลทั่วไปรุนรถจักรยานยนต UAS30002 หมายเลขตัวโครงรถ หมายเลขตัวถังรถ “1” จะถูกตอกอยูบนเฟรมตัวถงั UAS30004 หมายเลขเครื่องยนต หมายเลขเครื่องยนต “1” จะถูกตอกอยูทหี่ องเครื่องยนต 1 1 1 2DP-F8197-U0.book Page 1 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-2 UAS20008 คุณสมบัติ UAS30005 ความสําคัญของระบบหัวฉีด FI หนาที่หลกของระบบจั ายน้ํามันเชอเพลื้ิงคือจายน้ํามันเชื้อเพลิงไปยังหองเผาไหมดวยอตราสั วนผสมอากาศกับน้ํามันเชื้อเพลิงที่เหมาะสม โดยสอดคลองกับสภาวะการทํางานของเครื่องยนตและอณหภุ ูมิแวดลอม ในระบบคารบูเรเตอรแบบทั่วไป อัตราสวนผสมอากาศกบนั้ํามัน เชื้อเพลิงของสวนผสมท ี่จายไปยังหองเผาไหมเก ิดขึ้นจากปริมาณอากาศที่ผานทอไอดีและน้ํามันเชื้อเพลงทิ ี่ควบคุมการจายโดยนมหนูซงใช ึ่  ในคารบูเรเตอรนั้น แมจะมีอากาศที่ผานทอไอดีในปริมาณเทากัน ความตองการปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงจะแตกตางกันไปตามสภาวะการทํางานของเครื่องยนตเชน การเรงความเร็วการชะลอความเร็ว หรือการทํางานเมื่อบรรทุกของหนักคารบูเรเตอรที่วัดน้ํามันเชื้อเพลงผิ านการใชนมหนูจะมีอุปกรณเสริม ตางๆ หลากหลายเพื่อใหไดอตราสัวนผสมอากาศก ับน้ํามันเชอเพลื้ิงที่เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาในสภาวะการทํางานของ เครื่องยนต สําหรบเครั ื่องยนตที่มีความตองการเพื่อใหมีประสิทธิภาพมากขึ้นและเพิ่มกาซไอเสียที่สะอาดกวาเดิม จึงจําเปนตองควบคุมอตราสั วนผสม อากาศกบนั้ํามันเชื้อเพลิงใหแมนยําและปรับไดละเอียดยิ่งขึ้น เพื่อใหสอดคลองตามความต องการดังกลาวรถจักรยานยนตรุนนี้ไดนําระบบ หัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลงิ (FI) แบบควบคุมดวยอเลิกทรอน็ ิกสมาปรับใชแทนทระบบคารี่ บูเรเตอรทั่วไป ระบบนี้สามารถปรับอัตราสวนผสม อากาศกบนั้ํามันเชื้อเพลิงที่เหมาะสมตามที่เครื่องยนตตองการไดตลอดเวลาโดยใชไมโครโปรเซสเซอรซึ่งควบคุมปริมาณการฉีดน้ํามัน เชื้อเพลิงใหสอดคลองกับสภาวะการทํางานของเครื่องยนตซงตรวจพบโดยเซ ึ่ ็นเซอรตางๆ การใชระบบหัวฉีด (FI) นั้นสงผลให  การจายน้ํามันเชื้อเพลิงมีความแมนยําสูงการตอบสนองของเครื่องยนตดีขึ้น ชวยประหยัดน้ํามันเชื้อเพลิง มากขึ้นและลดมลพิษ 9,10,11 12 13 14 15 16 1 2 3 8 7 6 5 4 1. ไฟเตือนปญหาเครื่องยนต 2. ECU ระบบเบรค ABS 3. เซ็นเซอรลอหน า 4. โซลนอยดิ  VVA (ตัวกระตุนวาลวแปรผ  ัน) 5. เซ็นเซอรตรวจวัดปริมาณออกซิเจน (O2) 6. หัวเทียน 7. เซ็นเซอรตรวจวัดอุณหภูมิน้ํายาหลอเย ็น 8. เซ็นเซอรตรวจจบตั ําแหนงเพลาขอเหว ี่ยง 9. เซ็นเซอรตรวจวัดอุณหภูมิอากาศเขา 10. เซ็นเซอรตรวจวัดแรงดันอากาศเขา 11. เซ็นเซอรตรวจจบตั ําแหนงลนเริ้ง 12. ชดุ ISC (อุปกรณควบคุมความเร็วรอบเดินเบา) 13. แบตเตอรี่ 14. ECU (กลองควบคุมเครื่องยนต) 15. หวฉัดนี้ํามันเชอเพลื้งิ 16. คอยลจุดระเบิด 1 2DP-F8197-U0.book Page 2 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-3 UAS30617 ระบบหัวฉีด ปมน้ํามันเชื้อเพลิงสงน้ํามันเชื้อเพลงไปย ิ ังหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิงผานไสกรองน้ํามันเชื้อเพลิง ตัวควบคุมแรงดันรักษาแรงดันน้ํามันเชอเพลื้ิงที่ ปรับใชกบหั ัวฉีดน้ํามันเชอเพลื้ิงที่ระดับทแนี่นอน ดวยเหตุนั้น เมื่อสญญาณการจั ายกําลงไฟฟ ั าจาก ECU จายกําลงไฟให ั แกหัวฉีดน้ํามัน เชื้อเพลิง ชองทางน้ํามันจะเปดทําใหน้ํามันเชื้อเพลิงถกฉูีดเขาไปในทอรวมไอดีชวงระหวางที่ชองทางน นเป ั้ดเทาน ั้น ดังนั้น ยิ่งจายไฟใหหัวฉีด น้ํามันเชื้อเพลิง (ระยะเวลาการฉีด) เปนเวลานานกวาก็ยังจายปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงมากขึ้น ในทางกลับกัน ยิ่งจายไฟใหหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง (ระยะเวลาการฉีด) เปนเวลาสั้นกวาก็ยิ่งจายปริมาณน้ํามันเชื้อเพลงนิอยลง ระยะเวลาการฉีดและชวงจังหวะการฉีดจะควบคุมโดย ECU สญญาณทั ี่ปอนเข าจากเซ็นเซอรตรวจจับตําแหนงลนเริ้ง เซนเซอร็ ตรวจวัด อุณหภูมิน้ํายาหลอเย ็น เซ็นเซอรตรวจจับตําแหนงเพลาข อเหวี่ยง เซ็นเซอรตรวจวัดแรงดันอากาศเขา เซนเซอร็ ตรวจวัดอุณหภูมิอากาศเขา เซ็นเซอรลอหนาและเซ็นเซอรตรวจวัดปริมาณออกซเจนิ O2 ชวยให   ECU กําหนดระยะเวลาการฉีดไดชวงจังหวะการฉีดจะกําหนดผาน สัญญาณจากเซนเซอร็ ตรวจจับตําแหนงเพลาขอเหวี่ยงดังนนั้จึงสามารถจายปริมาณน้ํามันเชื้อเพลิงที่เครื่องยนตตองการไดตลอดเวลาโดย สอดคลองตามสภาวะการขับขี่ 1 16 B 13 14 15 11 12 10 9 A 2 7 8 3 4 C 5 6 6 1. ปมน้ํามันเชอเพลื้งิ 2. หัวฉดนี้ํามันเชอเพลื้งิ 3. คอยลจุดระเบิด 4. ECU (กลองควบคุมเครื่องยนต) 5. เซ็นเซอรลอหน า 6. ชุด ISC (อุปกรณควบคุมความเร็วรอบเดินเบา) 7. เซ็นเซอรตรวจวัดปริมาณออกซิเจน (O2) 8. ชุดบําบัดไอเสีย (แคตตะไลซ) 9. เซ็นเซอรตรวจวัดอุณหภูมิน้ํายาหลอเย ็น 10. เซ็นเซอรตรวจจบตั ําแหนงเพลาขอเหว ี่ยง 11. เรือนลนเริ้ง 12. ชุดเซ็นเซอรเรือนลิ้นเรง 13. เซ็นเซอรตรวจวัดอุณหภูมิอากาศเขา 14. เซ็นเซอรตรวจจบตั ําแหนงลนเริ้ง 15. เซ็นเซอรตรวจวัดแรงดันอากาศเขา 16. หมอกรองอากาศ A. ระบบน้ํามันเชอเพลื้งิ B. ระบบอากาศ C. ระบบควบคมุ 1 2DP-F8197-U0.book Page 3 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-4 UAS30683 ขอมูลสรปของระบบเบรคุ ABS 1. ระบบเบรค ABS (ระบบเบรคปองกันลอล็อค) ของยามาฮาเปนระบบท ี่ควบคุมดวยอิเล็กทรอนิกสซึ่งกระทำกับเบรคหนาและเบรคหลงั แยกจากกัน 2. ระบบเบรค ABS มีการออกแบบใหกะทดรั ัดและน้ําหนกเบาเพั ื่อชวยรักษาความคลองตัวพื้นฐานของรถ 3. ชุดควบคุมไฮดรอลิกซึ่งเปนสวนประกอบหลักของระบบเบรค ABS ตั้งอยูตรงกลางของรถเพื่อใหมีการสรางจุดศูนยกลางมวลรถเพิ่มขึ้น แผนภาพระบบเบรค ABS 1 7 8,9,10 1 2 4 5 3 6 1. ชุดควบคุมไฮดรอลกิ 2. ไฟเตือนระบบเบรค ABS 3. โรเตอรเซ็นเซอรลอหนา 4. เซ็นเซอรลอหน า 5. โรเตอรเซ็นเซอรลอหลงั 6. เซ็นเซอรลอหล ัง 7. ขั้วสายทดสอบระบบเบรค ABS 8. ฟวสชุดควบคุมระบบเบรค ABS 9. ฟวสโซลินอยดระบบเบรค ABS 10. ฟวสมอเตอรระบบเบรค ABS 1 2DP-F8197-U0.book Page 4 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-5 ระบบเบรค ABS การทํางานของระบบเบรค ABS ของยามาฮาเหมือนกับเบรคทั่วไปในรถจักรยานยนตอนๆื่โดยมีคันเบรคหนาสําหรับใชงานเบรคหนาและ คันเบรคหลงสั ําหรับใชงานเบรคหลัง เมื่อตรวจพบอาการลอล ็อคระหวางการเบรคระบบไฮดรอลิกจะมีการควบคุมไฮดรอลิกบนเบรคหนาและเบรคหลังโดยแยกจากกันเปนอ ิสระ คําศัพทที่มีประโยชน • ความเร็วลอ: ความเร็วในการหมุนของลอหนาและล อหลัง • ความเร็วรถ: ความเร็วของรถ เมื่อใชงานเบรคความเร็วลอและความเร็วของรถจะลดลงอยางไรก็ตาม ตัวรถจะเคลอนไปข ื่ างหนาดวยแรงเฉื่อยในตัวเองแมความเร็วลอ จะลดลง • แรงเบรค: แรงที่ใชโดยการเบรคเพื่อลดความเร็วลอ • อาการลอล็อค: สภาวะทเกี่ิดขึ้นเมื่อการหมุนของลอใดลอหนงหรึ่ือทงสองลั้อหยุดลงแตรถยังคงแลนตอไป • แรงดานขาง: แรงที่ยางรถซงรองรึ่ับรถขณะเขาโคง • อัตราการลื่นไถล: เมื่อใชงานเบรคการลนไถลจะเก ื่ิดขึ้นระหวางยางรถกบพั ื้นผิวถนน ซึ่งทําใหเกิดความแตกตางระหวางความเร็วลอกับความเร็วรถ อัตราการลื่นไถลคือคาทแสดงอี่ัตราการลื่นไถลของลอและกําหนดตามสูตรตอไปนี้ อัตราการลื่นไถล = (ความเร็วรถ – ความเร็วลอ)/ความเร็วรถ × 100 (%) 0%: ไมมีการลื่นไถลระหวางลอก ับพื้นผิวถนน ความเร็วรถเทาก ับความเร็วลอ 100%: ความเร็วลอเป น “0” แตรถเคลื่อนที่ (เชนอาการลอลอค็ ) แรงเบรคและการทรงตัวของรถ เมื่อแรงดันเบรคเพิ่มขึ้น ความเร็วลอจะลดลงการลื่นไถลจะเกดขิ ึ้นระหวางยางรถกับพื้นผิวถนน และจะสรางแรงเบรคขึ้น ขีดจํากัดของ แรงเบรคนี้ถูกกําหนดโดยแรงเสียดทานระหวางยางรถกับพื้นผิวถนน และสัมพันธกับการลื่นไถลของลออยางใกลชิดการล่นไถลของล ื อ จะแสดงดวยอตราการลั ื่นไถล แรงดานขางยังสัมพันธกับการลนไถลของล ื่ออย างใกลชิดอกดี วยใหดูรูป “A” หากใชงานเบรคขณะรักษาอตราการลั ื่นไถลใหเหมาะสม อาจไดรับแรงเบรคสูงสดโดยไมุเสียแรงดานขางไปมากระบบเบรค ABS ทําใหใชยางรถได  เต็มความสามารถแมเมื่ออยูบนพื้นผิวถนนลนื่ หรือพื้นผิวถนนที่ไมคอยลนื่ใหดูรูป “B” b c a A (%) d a e f g B (%) d a. แรงเสียดทานระหวางยางกบพั ื้นผิวถนน b. แรงเบรค c. แรงดานขาง d. อัตราการลนไถล ื่ e. พื้นผิวถนนที่ไมคอยลนื่ f. เขตพื้นที่ควบคมุ g. พื้นผิวถนนลนื่ 1 2DP-F8197-U0.book Page 5 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-6 การลื่นไถลของลอและการควบคุมไฮดรอลิก ECU ระบบเบรค ABS จะคํานวณความเร็วลอของแตละลอตามส ญญาณการหมัุนที่ไดรับจากเซนเซอร็ ลอหนาและลอหลัง นอกจากนี้ ECU ระบบเบรค ABS จะคํานวณความเร็วของรถและอัตราการลดความเร็วตามคาความเร็วลอ คาความตางระหวางความเร็วรถกบความเรั ็วลอที่คํานวณดวยสตรอูตราการลั ื่นไถลจะเทากบการลั ื่นไถลของลอเมื่อความเร็วลอลดลง กะทนหั ัน ลอมีแนวโนมจะลอค็เมื่อการลื่นไถลของลอและอตราการลดความเรั ็วลอเกินคาที่กําหนดไว ECU ระบบเบรค ABS จะประเมินวา ลอนนมั้ีแนวโนมจะล็อค หากการลื่นไถลกินระยะทางไกลและลอมีแนวโนมจะล็อค (จุด “A” ในรูปตอไปน) ECU ี้ระบบเบรค ABS จะลดแรงดันไฮดรอลิกในแมปม เบรคตัวลาง เมื่อ ECU ระบบเบรค ABS ประเมินวาแนวโนมการเกิดลอลอคลดลงหล็ ังจากแรงดันไฮดรอลกลดลงิ ECU ระบบเบรค ABS จะเพิ่มแรงดันไฮดรอลิก (จุด “B” ในรูปตอไปนี้) แรงดันไฮดรอลิกจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในชวงแรกแลวจึงคอยๆ เพิ่มขึ้นทีละนอย การทํางานของระบบเบรค ABS และการควบคมรถุ หากระบบเบรค ABS เริ่มทํางาน แสดงวามีแนวโนมจะเกิดลอล็อคและรถใกลจะถงขึ ีดจํากัดการควบคุม เพื่อใหคนขับทราบถึงสภาวะดังกลาว ระบบเบรค ABS จึงถูกออกแบบขึ้นเพื่อสรางอาการสั่นเปนแรงปฏิกิริยาตอบโตในคันเบรคหนาและคันเบรคหลงโดยแยกจากก ั ันเปนอ ิสระ ขอแนะนํา เมื่อระบบเบรค ABS ถูกกระตุน อาจรูสึกไดถึงอาการสั่นทคี่ันเบรคหนาหรือคันเบรคหลังแตไมไดแสดงถึงการทํางานผิดปกติแตอยางใด ยิ่งมีแรงดานขางกับยางรถมากยิ่งมีการยึดเกาะถนนสําหรับการเบรคนอยลง ซึ่งไมวารถจักรยานยนตนั้นติดตั้งระบบเบรค ABS หรือไมก็ตาม ดังนนั้ขอแนะนําวาไมควรเบรคกะทันหันขณะเขาโคงแรงดานขางทมากเกี่ินไป ซึ่งระบบเบรค ABS ไมสามารถปองก ันไดอาจทําใหรถ ลื่นไถลออกไปดานขาง d de de A A B B A A B B A A B B b c a e a. ความเร็วรถ b. ความเร็วลอ c. แรงเบรค d. ระยะไลแรงด ัน e. ระยะอัดแรงดัน 1 2DP-F8197-U0.book Page 6 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-7 คําเตือน UWA16510 การเบรคของรถแมในกรณีเลวรายที่สุด สวนมากมักเกิดขึ้นเมื่อรถเคลื่อนตัวตรงไปขางหน าการเบรคกะทันหันระหวางการเลี้ยวมีโอกาสทําให ยางสูญเสียกําลังยึดเกาะถนน แมแตในรถที่ติดตั้งระบบเบรค ABS ยังไมอาจปองกันการพลิกคว่ําของรถไดหากเบรคกะทันหัน ระบบเบรค ABS จะทํางานเพื่อปองกันแนวโนมการเกิดลอล ็อคโดยการควบคุมแรงดันไฮดรอลิกอยางไรก็ตาม หากมีแนวโนมวาจะเกิดลอ ล็อคบนพื้นผิวถนนลื่นอนเนั ื่องมาจากการเบรคของเครื่องยนตระบบเบรค ABS อาจไมสามารถปองกันการล็อคลอได   คําเตือน UWA13870 ระบบเบรค ABS จะควบคุมเฉพาะแนวโนมการเกิดลอล็อคที่เกิดขึ้นจากการใชงานเบรค ระบบเบรค ABS ไมสามารถปองกันการล็อคลอบน พื้นผิวถนนลื่น เชนน้ําแข็ง ไดในกรณีที่เกิดจากการเบรคของเครื่องยนตแมวาระบบเบรค ABS จะทํางานอยูก็ตาม คุณสมบัติของระบบเบรค ABS แบบอิเล็กทรอนิกส ระบบเบรค ABS (ระบบเบรคปองกันลอล็อค) ของยามาฮาถูกพัฒนาดวยเทคโนโลยีอเลิ ็กทรอนิกสขั้นสูงสุด การควบคุมระบบเบรค ABS ดําเนนไปด ิ วยการตอบสนองที่ดีภายใตสภาวะการเคลื่อนทของรถหลากหลายแบบี่ ระบบเบรค ABS ยังรวมฟงกชันการวิเคราะหปญหาที่พัฒนาไวในระดับสูงระบบเบรค ABS จะตรวจจับสภาพปญหาและใหใชการเบรคแบบ ปกติหากระบบเบรค ABS ทํางานไมถูกตอง เมื่อเกิดกรณดีังกลาว ไฟเตือนระบบเบรค ABS บนชุดเรือนไมลจะสวางขึ้น ระบบเบรค ABS จะเก็บรหัสความผิดปกติไวในหนวยความจําของ ECU ระบบเบรค ABS เพื่อใหระบุปญหาและแก ไขปญหาเบื้องตนไดงาย (%) a. แรงเสียดทานระหวางยางกบพั ื้นผิวถนน b. แรงเบรค c. แรงดานขาง d. อัตราการลนไถล ื่ 1 2DP-F8197-U0.book Page 7 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-8 แผนภาพของระบบเบรค ABS UAS30684 ฟงกชันของสวนประกอบระบบเบรค ABS เซ็นเซอรลอและโรเตอรเซ็นเซอรลอ เซ็นเซอรลอ “1” จะตรวจจับความเร็วลอและสงสญญาณการหมัุนลอไปยัง ECU ระบบเบรค ABS เซ็นเซอรลอแตละตัวประกอบดวยแมเหล็กถาวรและ Hall IC โรเตอรเซ็นเซอร “2” จะหมุนไปกับลอโรเตอรเซ็นเซอร “2” มี 40 ชองและติดตั้ง อยูใกลกับเซ็นเซอรลอขณะทโรเตอร ี่ เซนเซอร็ หมุน ชนสิ้วน Hall ใน Hall IC ทตี่ิดตั้งในเซนเซอร็ ลอจะสรางสญญาณพั ัลสขึ้น ความถี่สัญญาณ พัลสซงเปึ่นส ัดสวนกับความเร็วลอจะถูกแปลงเปนคลนใน ื่ Hall IC เพื่อใหสงความถ ี่นั้นออกไปได ECU ระบบเบรค ABS จะคํานวณความเร็วในการหมุนของลอโดยการตรวจจับความถี่สัญญาณพัลส 1 2 3 4 4 7 7 5 6 8 9 9 10 11 12 13 14 6 1. กระบอกสูบแมปมเบรคหลงั 2. ชุดควบคุมไฮดรอลกิ 3. กระบอกสูบแมปมเบรคหนา 4. วาลวโซลินอยดขาเขา 5. มอเตอรระบบเบรค ABS 6. ปมไฮดรอลิก 7. วาลวโซลินอยดขาออก 8. ECU ระบบเบรค ABS 9. หองลดแรงด ัน 10. แมปมเบรคตัวลางเบรคหลัง 11. เซ็นเซอรลอหล ัง 12. ไฟเตือนระบบเบรค ABS 13. แมปมเบรคตัวลางเบรคหนา 14. เซ็นเซอรลอหน า 1 2DP-F8197-U0.book Page 8 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-9 ไฟเตือนระบบเบรค ABS ไฟเตือนระบบเบรค ABS "1" จะสวางขึ้นเพื่อเตือนคนขับหากมีการทํางานผิดปกติในระบบเบรค ABS เมื่อสวิทชกุญแจถูกบิดไปที่ "ON" ไฟเตือนระบบเบรค ABS จะสวางขึ้นเพื่อตรวจเช็ควงจรไฟฟาและการทำงานของระบบ (การวิเคราะหปญหา ของระบบเบรค ABS) และจะดับลงเมื่อใชงานรถจักรยานยนต (การตรวจเช็คการทํางานจะเสร็จสมบรณูที่ความเร็ว 10 กม./ชม. [6 ไมล/ชม.]) ขอแนะนํา หลงจากการตรวจเชั ็คทงหมดและการซั้อมแซมเสร ็จสมบูรณไฟเตือนระบบเบรค ABS จะดับลงเมื่อขับขี่หรือเข็นรถที่ความเร็วอยางนอย 7 กม./ชม. (4 ไมล/ชม.) ขอควรระวัง UCA22940 หากลอหลังเรมวิ่ิ่งทั้งที่ตัวรถยังตั้งขาตั้งกลางอยูไฟเตือนระบบเบรค ABS อาจกะพริบหรอตื ิดสวาง หากเปนเชนนนั้ใหบิดสวิทชกุญแจไป ที่ “OFF” แลวบิดกลับไปที่ “ON” ใหมการทํางานของระบบเบรค ABS เปนปกติหากไฟเตือนระบบเบรค ABS ดับลงหลังจากรถออกตัว หากรหัสความผิดปกติไมถูกลบออกไฟเตือนระบบเบรค ABS จะดับลงหลังจากขับขี่ที่ความเร็วประมาณ 30 กม./ชม. (19 ไมล/ชม.) 2 2 1 1 7 3 7 4 5 8 8 6 3. ที่ความเร็วต่ํา 4. ที่ความเร็วสูง 5. เซ็นเซอรลอ 6. โรเตอรเซ็นเซอรลอ 7. แรงดันไฟฟา 8. เวลา 1 2DP-F8197-U0.book Page 9 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-10 ชุดควบคุมไฮดรอลิก ชุดควบคุมไฮดรอลิก “1” ประกอบดวยวาลวควบคุมไฮดรอลิก (แตละตัวจะมีวาลวโซล  ินอยดขาออกและวาลวโซลินอยดขาเขา) หองลดแรงดัน ปมไฮดรอลกิมอเตอรระบบเบรค ABS และ ECU ระบบเบรค ABS ชุดไฮดรอลิกจะปรับแรงดันน้ํามันเบรคลอหนาและหลังเพื่อควบคุม ความเร็วลอตามสัญญาณทสี่งมาจาก ECU ระบบเบรค ABS วาลวควบคุมไฮดรอลิก วาลวควบคุมไฮดรอลิกประกอบดวยวาลวโซลินอยดขาเขาและวาลวโซลนอยดิ ขาออก แรงแมเหล็กไฟฟาที่เกิดขึ้นในวาลวโซลนอยดิ ขาเขาจะผันแปรตามสดสัวนก ับแรงดันไฟฟาการควบคุมรอบการทํางานที่จายไฟใหเนื่องจาก แรงดันไฟฟานผี้ันแปรอยูตลอดเวลาวาลวโซลนอยดิ จึงขยับไดอยางราบรื่น และปรับแรงดันไฮดรอลิกไดโดยตรง 1. เมื่อใชงานเบรคตามปกติวาลวโซลนอยดิ ขาเขา “1” จะเปดและวาลวโซล  ินอยดขาออก “2” จะปดทอทางน้ํามันเบรคระหวางกระบอกสบู แมปมเบรคกับแมปมเบรคตัวลางจะเปด 2. เมื่อกระตุนการทํางานของระบบเบรค ABS วาลวโซลนอยดิ ขาเขา “1” จะปดและวาลวโซล  ินอยดขาออก “2” จะเปดโดยใชกําลังไฟที่ จายมาจากสัญญาณของ ECU ระบบเบรค ABS ซึ่งจะลดแรงดันไฮดรอลกิ 1 1 4 3 3. กระบอกสูบแมปมเบรค 4. แมปมเบรคตัวลาง 1 2DP-F8197-U0.book Page 10 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-11 3. เมื่อ ECU ระบบเบรค ABS สงสญญาณให ั หยุดลดแรงดันไฮดรอลกิวาลวโซลินอยดขาออก “2” จะปดและมีการอัดแรงดันใหน้ํามันเบรค อีกครั้งวาลวโซลนอยดิ ขาเขา “1” จะควบคุมความแตกตางของแรงดันไฮดรอลิกระหวางน้ํามันเบรคในทอทางน้ํามันเบรคสวนบน (ฝงกระบอกสูบแมปมเบรค) กบนั้ํามันเบรคในทอทางน้ํามันเบรคสวนล าง (ฝงแมปมเบรคตัวลาง) หองลดแรงดัน หองลดแรงดันจะสะสมน้ํามันเบรคที่ถกไลูแรงดันขณะระบบเบรค ABS กําลังทํางาน ECU ระบบเบรค ABS ECU ระบบเบรค ABS อยูรวมกับชุดไฮดรอลิกเพื่อความกะทัดรัดและมีน้ําหนักเบา ECU ระบบเบรค ABS จะไดรับสัญญาณเซ็นเซอรลอจากลอหนาและลอหลงัและยังไดรับสัญญาณจากวงจรตรวจสอบอื่นๆ ดังทแสดงไว ี่ ใน แผนภาพบลอกต็ อไปนี้ 4 3 3. แมปมเบรคตัวลาง 4. มอเตอรระบบเบรค ABS 1. หองลดแรงดัน (ระยะอัดแรงดัน) 2. หองลดแรงดัน (ระยะไลแรงดนั ) 3. ลกสู ูบที่ยกตัวขึ้น 1 2DP-F8197-U0.book Page 11 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-12 มีการยืนยันการดําเนินการที่จําเปนโดยใช วงจรตรวจสอบ  และสงสัญญาณควบคุมไปยังชุดควบคุมไฮดรอลิก การควบคมระบบเบรคุ ABS การควบคุมระบบเบรค ABS ที่ทําใน ECU ระบบเบรค ABS จะแบงเปนสองส วนดังตอไปนี้ • การควบคุมไฮดรอลิก • การวิเคราะหปญหา เมื่อตรวจพบการทํางานผิดปกติในระบบเบรค ABS รหัสความผิดปกติจะถูกเก็บไวในหนวยความจําของ ECU ระบบเบรค ABS เพื่อใหระบุ ปญหาและแกไขปญหาเบองตื้นไดงาย ขอแนะนํา • การทํางานผิดปกติบางชนิดจะไมถูกบนทั ึกไวในหนวยความจําของ ECU ระบบเบรค ABS (เชน ฟวสชุดควบคุมระบบเบรค ABS ขาด) 14 4 7 5 6 2 3 1 9 10 11 12 13 17 15 24 20 22 23 21 26 27 18 19 16 25 8 1. แบตเตอรี่ 2. เอซีแมกนีโต 3. เร็คติฟายเออร/เรกูเลเตอร 4. ฟวสหลกั 5. ฟวสมอเตอรระบบเบรค ABS 6. ฟวสโซลินอยดระบบเบรค ABS 7. สวิทชกุญแจ 8. ฟวสชุดควบคุมระบบเบรค ABS 9. ฟวสระบบไฟสัญญาณ 10. สวิทชไฟเบรคหล  ัง 11. สวิทชไฟเบรคหน  า 12. ไฟทาย/ไฟเบรค 13. ขั้วสายทดสอบระบบเบรค ABS 14. ชุดควบคุมไฮดรอลกิ 15. ECU ระบบเบรค ABS 16. รีเลยมอเตอรระบบเบรค ABS 17. รเลยี โซลินอยด 18. โซลนอยดิ ขาออกเบรคหนา 19. โซลนอยดิ ขาเขาเบรคหนา 20. โซลนอยดิ ขาออกเบรคหลงั 21. โซลนอยดิ ขาเขาเบรคหลงั 22. มอเตอรระบบเบรค ABS 23. ชดเรุือนไมล 24. ไฟเตือนระบบเบรค ABS 25. ECU (กลองควบคุมเครื่องยนต) 26. เซ็นเซอรลอหน า 27. เซ็นเซอรลอหล ัง 1 2DP-F8197-U0.book Page 12 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-13 • ระบบเบรค ABS จะทําการทดสอบการวิเคราะหปญหาเป  นเวลา 2-3 วินาทีทกครุั้งที่รถออกตัวครั้งแรกหลังจากเปดสวิทชกญแจ ุระหวาง การทดสอบนี้จะไดยินเสียง “คลกิ” ดังจากดานหนาและหากใชงานคันเบรคหนาหรือคันเบรคหลังเพียงเลกน็ อยจะรูสกถึ ึงอาการสั่นที่ คันเบรคหนาและค ันเบรคหลังแตไมไดแสดงถงการทึ ํางานผิดปกติแตอยางใด UAS30710 การทํางานของระบบเบรค ABS วงจรไฮดรอลิกระบบเบรค ABS ประกอบดวย 2 ระบบ ไดแก: ลอหนาและลอหลัง ตอไปนจะอธี้ิบายระบบสําหรับลอหนาเท านั้น การเบรคตามปกติ (ไมไดกระตุนการทํางานของ ABS) เมื่อไมไดกระตุนการทํางานของระบบเบรค ABS วาลวโซล  ินอยดขาเขาจะเปดและวาล วโซลินอยดขาออกจะปด เพราะไมไดสงส ัญญาณ ควบคุมมาจาก ECU ระบบเบรค ABS ดังนั้น เมื่อบบคี ันเบรคมือแรงดันไฮดรอลิกในกระบอกสูบแมปมเบรคจะเพิ่มขึ้น และน้ํามันเบรคจะ ถูกสงไปย  ังแมปมเบรคตัวลาง ถึงตอนนี้วาลวก ันกลับขาเขาและขาออกของปมไฮดรอล ิกจะปดลง เนื่องจากการตัดรูจายน้ํามันออกกระบอกสบแมูปมเบรคจึงอัดแรงดัน โดยตรงใหแกแม ปมเบรคตัวลางระหวางการเบรคตามปกติเมื่อปลอยคันเบรคมือ น้ํามันเบรคในแมปมเบรคตัวลางจะยอนกลับไปยัง กระบอกสูบแมปมเบรค 2 1 3 4 5 6 7 8 1. ลําดับการทํางานของซอฟตแวร 2. สวิทชกุญแจ “ON” 3. ตั้งคาเริ่มตน 4. การวิเคราะหปญหา (เมื่ออยูกับที่) 5. การวิเคราะหปญหา (เมื่อขับข)ี่ 6. รับสัญญาณ 7. ควบคมการทุํางาน 8. ไลแรงด ัน/อัดแรงดัน 1 2DP-F8197-U0.book Page 13 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-14 การเบรคแบบฉุกเฉิน (กระตุนการทํางานของ ABS) 1. ระยะไลแรงดัน เมื่อลอหนาก ําลังจะล็อควาลวโซลินอยดขาออกจะถกเปูดดวยสัญญาณ “การไลแรงดัน” ที่สงมาจาก ECU ระบบเบรค ABS เมื่อเกิดกรณี เชนน ี้วาลวโซลนอยดิ ขาเขาจะกดอัดสปริงและปิดทอทางน้ํามันเบรคจากกระบอกสบแมูปมเบรคเนื่องจากวาลวโซลินอยดขาออกถูกเปด น้ํามันเบรคจึงถกสูงไปยังหองลดแรงดัน ทําใหแรงดันไฮดรอลกในแม ิ ปมเบรคตัวลางลดลง น้ํามันเบรคที่เก็บอยูในหองลดแรงดันจะถกสู ูบกลับไปยังกระบอกสบแมูปมเบรคดวยปมไฮดรอลิกที่เชื่อมตอกับมอเตอรระบบเบรค ABS 12 13 7 6 11 3 4 5 9 8 10 1. กระบอกสูบแมปมเบรค 2. สวิทชไฟเบรค  3. มอเตอรระบบเบรค ABS 4. ปมไฮดรอลิก 5. หองลดแรงดัน 6. วาลวโซลินอยดขาออก 7. วาลวโซลินอยดขาเขา 8. แมปมเบรคตัวลาง 9. เซ็นเซอรลอ 10. ECU ระบบเบรค ABS 11. ไฟเตือนระบบเบรค ABS 12. แรงดันน้ํามันเบรค 13. เวลา 1 2DP-F8197-U0.book Page 14 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-15 2. ระยะอัดแรงดัน วาลวโซลินอยดขาออกจะถูกปดด วยสัญญาณ “การอดแรงดั ัน” ที่สงมาจาก ECU ระบบเบรค ABS ถึงตอนนี้ ECU ระบบเบรค ABS จะ ควบคุมการเปดของวาล วโซล  ินอยดขาเขา เมื่อวาลวโซลินอยดขาเขาเปดทอทางน้ํามันเบรคจากกระบอกสูบแมปมเบรคจะเป  ด ทําให สงน้ํามันเบรคไปยังแมปมเบรคตัวลางได 1. กระบอกสูบแมปมเบรค 2. สวิทชไฟเบรค  3. มอเตอรระบบเบรค ABS 4. ปมไฮดรอลิก 5. หองลดแรงดัน 6. วาลวโซลินอยดขาออก 7. วาลวโซลินอยดขาเขา 8. แมปมเบรคตัวลาง 9. เซ็นเซอรลอ 10. ECU ระบบเบรค ABS 11. ไฟเตือนระบบเบรค ABS 12. แรงดันน้ํามันเบรค 13. เวลา 1 2DP-F8197-U0.book Page 15 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-16 UAS30712 ไฟเตือนระบบเบรค ABS และการทํางาน ไฟเตือนระบบเบรค ABS • หากไฟเตือนระบบเบรค ABS สวางขึ้นขณะขับขี่ใหหยุดรถแลวบ ดสวิ ิทชกุญแจไปท “OFF” ี่แลวบิดกลับไปท “ON” ี่การทํางานของระบบ เบรค ABS เปนปกติหากไฟเตือนระบบเบรค ABS ดับลงหลังจากรถออกตัว • หากลอหลังเริ่มวิ่งทั้งที่ตัวรถยังตั้งขาตั้งกลางอยูไฟเตือนระบบเบรค ABS อาจกะพริบหรือติดสวาง หากเปนเช นนั้น ใหบดสวิ ิทชกุญแจไปที่ “OFF” แลวบิดกลับไปท “ON” ่ี ใหมการทํางานของระบบเบรค ABS เปนปกติหากไฟเตือนระบบเบรค ABS ดับลงหลงจากรถออกตั ัว • การทํางานของระบบเบรค ABS เปนปกติหากไฟเตือนระบบเบรค ABS กะพริบ • แมวาไฟเตือนระบบเบรค ABS จะยังสวางและไมดับไป หรือหากสวางขึ้นหลังการขับขี่แตประสิทธิภาพในการเบรคแบบทั่วไปจะยังคงอยู 1. กระบอกสูบแมปมเบรค 2. สวิทชไฟเบรค  3. มอเตอรระบบเบรค ABS 4. ปมไฮดรอลิก 5. หองลดแรงดัน 6. วาลวโซลินอยดขาออก 7. วาลวโซลินอยดขาเขา 8. แมปมเบรคตัวลาง 9. เซ็นเซอรลอ 10. ECU ระบบเบรค ABS 11. ไฟเตือนระบบเบรค ABS 12. แรงดันน้ํามันเบรค 13. เวลา 1 2DP-F8197-U0.book Page 16 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-17 ฟงกชันระบบเบรค ABS คําเตือน UWA18300 • เมื่อการควบคุมไฮดรอลิกดําเนินการโดยระบบเบรค ABS ระบบเบรคแจงเตือนคนขับวาลอมีแนวโนมจะล็อค โดยสรางอาการสั่นเปนแรง ปฏิกิริยาตอบโตในคนเบรคหนั าหรือคันเบรคหลัง เมื่อกระตุนการทํางานของระบบเบรค ABS การยึดเกาะระหวางพื้นผวถนนกิ ับยางรถ เกือบจะถึงขีดจํากัด ระบบเบรค ABS ไมสามารถปองกันการล็อคลอ* บนพื้นผิวถนนลื่น เชน น้ําแข็ง ไดในกรณทีี่เกิดจากการเบรคของ เครื่องยนตแมวาระบบเบรค ABS จะถูกกระตนการทำงานอยุ ูก็ตาม ใชความระมัดระวังเปนพิเศษเมื่อขบขั ี่ภายใตสภาวะเหลานี้ • ระบบเบรค ABS ไมไดถูกออกแบบขึ้นเพื่อยนระยะทางในการเบรค หรือเพื่อปรบปร ัุงประสิทธิภาพในการเขาโคง • ระยะทางในการเบรคอาจไกลขึ้นเมื่อเทียบกับรถที่ไมไดติดตั้งระบบเบรค ABS โดยขึ้นอยูกับสภาพถนน ดังนั้น ควรขับขี่ดวยความเร็วที่ ปลอดภัยและรักษาระยะหางที่ปลอดภัยระหวางตัวคุณเองกับรถคนอั ื่น • การเบรคของรถแมในกรณีเลวรายที่สุด สวนมากมักเกิดขึ้นเมื่อรถเคลื่อนตัวตรงไปขางหน าการเบรคกะทันหันระหวางการเลี้ยวมีโอกาส ทําใหยางสูญเสียกําลังยึดเกาะถนน แมแตรถที่ติดตั้งระบบเบรค ABS ยังไมสามารถหลีกเลี่ยงการลมคว่ําไดหากเบรคกะทันหัน • ระบบเบรค ABS จะไมทํางานเมื่อสวิทชกุญแจถูกบิดไปที่ "OFF" แตสามารถใชฟ งกชันการเบรคแบบทั่วไปได * ลอล็อค: สภาวะที่เกิดขึ้นเมื่อการหมุนของลอใดลอหนงหรึ่ือทั้งสองลอหยุดลงแตรถยังคงแลนตอไป 1 2DP-F8197-U0.book Page 17 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-18 UAS30682 ฟงกชั่นตางๆ ของแผงหนาปด ชุดเรือนไมลมัลติฟงกชนั่ คําเตือน UWA12423 กอนทําการเปลี่ยนการตั้งคาชดเรุอนไมล ื มัลติฟงกชัน ตองแนใจวา รถหยุดนงแลิ่วการเปลี่ยนการตั้งคาขณะขบขัจะที่ําใหผูขับขี่เสีย สมาธิและเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุ ชุดเรือนไมลม ัลติฟงกชันประกอบดวย: • มาตรวัดความเร็ว • นาฬิกา • มิเตอรวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง • มิเตอรวัดการสิ้นเปลองนื้ํามันเชื้อเพลิงในขณะนั้น • จอแสดงผลมัลติฟงกชัน ขอแนะนํา ควรแนใจวาไดหมุนกุญแจไปทางตําแหนงเปด “ON” กอนใชปุม เลือก “SELECT” และปมรุ ีเซ็ท “RESET” มาตรวัดความเร็ว มาตรวัดความเร็วจะแสดงความเร็วในการขับขี่ยานพาหนะ นาฬิกา นาฬิกาจะใชระบบเวลาแบบ 12 ชั่วโมง [การปรับตั้งนาฬิกา] 1. หมุนกุญแจไปท “ON”ี่ 2. กดปมุ “SELECT” และปุม “RESET” คางไวพรอมกัน อยางนอย 2 วินาที 3. เมื่อตัวเลขชั่วโมงเริ่มกะพริบ ใหกดปุม “RESET” เพื่อตั้งเวลา ชั่วโมง 4. กดปมุ “SELECT” และตัวเลขนาทีเริ่มกะพริบ 5. กดปมุ "RESET" เพื่อตั้งเวลานาที 6. กดปมุ “SELECT” และปลอยเพ ื่อเริ่มการทํางานนาฬิกา มิเตอรวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง มิเตอรวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิงจะแสดงปริมาณน้ํามันเชื้อเพลงทิ ี่มี อยูในถังขีดแสดงผลของมิเตอรวัดระดับน้ํามันเชอเพลื้ิงจะหายไป จนถึงตัว “E” (Empty) ซงแสดงวึ่าระดับน้ํามันเชื้อเพลิงเหลือนอย เมื่อขีดสุดทาย และไฟเตือนระดับน้ํามันเชื้อเพลงิ “ ” เริ่มกะพริบ ใหรีบเติมน้ํามันเชื้อเพลงโดยเร ิ ็ว ขอแนะนํา มิเตอรวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิงนี้ติดตั้งระบบวิเคราะหปญหาหาก ตรวจพบปญหาในวงจรไฟฟาอาการตอไปนี้จะเกิดซ้ําจนกวาการ ทํางานผิดปกติจะไดรับการแกไข: ขีดระดับน้ํามันเชื้อเพลงและิ 1. มิเตอรวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง 2. นาฬกาิ 3. มาตรวัดความเร็ว 4. มิเตอรวัดการสนเปล ิ้ืองน้ํามันเชอเพลื้งในขณะน ิ ั้น 5. ปุม “RESET” 6. จอแสดงผลมัลติฟงกชนั 7. ปุม “SELECT” 1 2 3 4 7 6 5 1. นาฬกาิ 1. มิเตอรวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิง 2. ไฟเตือนระดบนั้ํามันเชอเพลื้งิ “” 1 1 2 1 2DP-F8197-U0.book Page 18 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-19 ไฟเตือนระดับน้ํามันเชื้อเพลิง “ ” กะพริบแปดครั้งแลวดับลง เปนเวลาประมาณสามวินาทีหากเกิดขึ้น ใหตรวจสอบวงจรไฟฟา โปรดดูที่ “ระบบไฟสัญญาณ” ในหนา 8-19 มิเตอรวัดการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงในขณะนั้น มิเตอรนี้จะแสดงการสิ้นเปลองนื้ํามันเชื้อเพลิงในขณะนั้น ขีดบอกระดับที่แสดงจะเพิ่มขนหรึ้ือลดลงขึ้นอยูกบการตั ั้งคาจอ แสดงทเลี่ือกสําหรับโหมดการสนเปล ิ้องนื้ํามันเชื้อเพลงในขณะน ินั้ “F/ECO” • km/L: จํานวนของขีดที่แสดงเพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพการทํางาน ของรถก็เพิ่มมากขึ้นดวย • L/100 km: จํานวนของขีดที่แสดงลดลง ประสิทธิภาพการทํางาน ของรถก็จะเพิ่มมากขึ้น จอแสดงผลมัลติฟงกชัน จอแสดงผลมัลติฟงกชันจะมีสิ่งตางๆ ตอไปนี้: • มาตรวัดระยะทาง • มิเตอรบอกชวงระยะทาง 2 ระยะทาง (แสดงระยะทางที่ขับขี่ มาตั้งแตการตั้งคาเปนศูนยครั้งลาสดุ ) • มิเตอรบอกชวงระยะทางของน้ํามันสํารองเชอเพลื้ิง (ซ่งแสดงึ ระยะทางทแลี่นตอไปไดนับตั้งแตขีดแสดงผลสวนสุดทายของ มาตรวัดระดับน้ํามันเชื้อเพลิงเริ่มกะพริบ) • จอแสดงการสนเปล ิ้ืองน้ํามันเชอเพลื้ิงในขณะนนั้ • จอแสดงการสนเปล ิ้ืองน้ํามันเชอเพลื้ิงโดยเฉลยี่ • มิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง • มิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนสายพานวี • ไฟเตือนแสดงการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง • ไฟเตือนแสดงการเปลี่ยนสายพานวี • จอแสดงผลรหัสความผิดปกติ กดปุม “SELECT” เพื่อสลับจอแสดงผลระหวางโหมดมาตรวัด ระยะทาง “ODO”, โหมดมิเตอรบอกชวงระยะทาง “TRIP 1” และ “TRIP 2”, โหมดมิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง “OIL TRIP”, โหมดมิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนสายพานวี “V-BELT TRIP”, โหมดการสนเปล ิ้ืองน้ํามันเชอเพลื้ิงในขณะนั้น “F/ECO” (km/L หรือ “L/100 km) และโหมดอตราการสั ิ้นเปลองื น้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ย “AVE F/ECO” (km/L หรือ L/100 km) ตามลําดับตอไปนี้: ODO → TRIP 1 → TRIP 2 → OIL TRIP → V-BELT TRIP → F/ECO → AVE F/ECO → ODO หากไฟเตือนระดับน้ํามันเชื้อเพลงิ “ ” และขีดสุดทายของมิเตอร วัดระดับน้ํามันเชอเพลื้ิงเริ่มกะพริบ จอแสดงผลจะเปลี่ยนไปที่ โหมดมาตรวัดระยะทางที่ใชน้ํามันเชื้อเพลงสิ ํารอง “TRIP F” โดยอตโนม ั ัติและจะเริ่มนับระยะทางที่เดินทางไปจากจุดนั้น ในกรณีนั้น ใหกดปุม “SELECT” เพื่อสลบจอแสดงผลระหวั าง โหมดมาตรวัดระยะทางเปนชวง, โหมดมาตรวัดระยะทาง, โหมด มิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง, โหมดมิเตอร บอกชวงระยะทางการเปลี่ยนสายพานวี, โหมดการสนเปล ิ้ือง น้ํามันเชื้อเพลิงในขณะนั้น และโหมดการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิง โดยเฉลี่ย ตามลําดับดังตอไปนี้: TRIP F → TRIP 1 → TRIP 2 → OIL TRIP → V-BELT TRIP → F/ECO → AVE F/ECO → ODO → TRIP F หากตองการรีเซตม็ ิเตอรบอกชวงระยะทาง ใหเลอกโดยกดป ืุม “SELECT” แลวกดปุม “RESET” คางอยางนอย 1 วินาที หากไมรีเซ็ทมาตรวัดระยะทางที่ใชน้ํามันเชื้อเพลงสิ ํารองดวย ตนเอง มาตรวัดจะรีเซทต็ ัวเองโดยอัตโนมัติและจอแสดงผลจะ กลับไปยังโหมดกอนหนาหลังจากเติมน้ํามันเชื้อเพลิงและแลนไป  5 กม. (3 ไมล) โหมดการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงในขณะนั้น 1. มิเตอรวัดการสนเปล ิ้ืองน้ํามันเชอเพลื้งในขณะน ิ ั้น 1. จอแสดงผลมัลติฟงกชนั 1 1 1. จอแสดงการสิ้นเปลองนื้ํามันเชื้อเพลิงในขณะนั้น 1 1 2DP-F8197-U0.book Page 19 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-20 สามารถตั้งคาจอแสดงการสนเปล ิ้ืองน้ํามันเชื้อเพลิงในขณะนนั้ เปน “km/L” หรือ “L/100 km” กได็  • “km/L”: แสดงระยะทางที่สามารถเดินทางไดตอน้ํามันเชอเพลื้ิง 1.0 ลิตรภายใตสภาวะการขับขี่ปจจุบัน • “L/100 km”: แสดงปริมาณน้ํามันเชอเพลื้ิงที่จําเปนสําหรับการ ขับขี่ 100 กม. ภายใตสภาวะการขับขี่ปจจุบนั หากตองการสลับระหวางการตั้งคาจอแสดงการสนเปล ิ้องนื้ํามัน เชื้อเพลิงในขณะนนั้ใหกดปมุ “SELECT” เปนเวลาหนึ่งวินาที ขอแนะนํา หากการแลนรถใชความเร็วต่ํากวา 10 กม./ชม. (6 ไมล/ชม.) “_ _._” จะปรากฏขึ้น โหมดการสิ้นเปลืองน้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ย จอแสดงผลนี้จะแสดงอตราการสั ิ้นเปลองนื้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ย นับตั้งแตการรีเซ็ทครั้งลาสุด สามารถตั้งคาจอแสดงการสนเปล ิ้ืองน้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ยเปน “km/L” หรือ “L/100 km” ก็ได • “km/L”: แสดงระยะทางโดยเฉลี่ยทสามารถเดี่ินทางไดตอน้ํามัน เชื้อเพลิง 1.0 ลิตร • “L/100 km”: แสดงปริมาณของน้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ยที่จําเปน สําหรับการขับขี่ 100 กม. หากตองการสลับระหวางการตั้งคาจอแสดงการสนเปล ิ้องนื้ํามัน เชื้อเพลิงโดยเฉลี่ยใหกดปุม “SELECT” เปนเวลาหน ึ่งวินาที หากตองการรีเซ็ทอตราการสั ิ้นเปลองนื้ํามันเชื้อเพลิงโดยเฉลี่ย ใหกดปุม “RESET” เปนเวลาอย างนอยหนึ่งวินาที ขอแนะนํา หลงจากรั ีเซทจอแสดงผลอ็ ัตราการสนเปล ิ้ืองน้ํามันเชื้อเพลิงโดย เฉลยแลี่ ว “_ _._” จะปรากฏขึ้นจนกวารถจะแลนได   0.1 กม. (0.06 ไมล) โหมดมิเตอรบอกช วงระยะทางการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง มิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนน้ํามันเครื่องจะแสดงระยะทาง ที่เดินทางไปนับตั้งแตการรีเซทคร็ ั้งสุดทาย (ตั้งแตการเปลยนี่ น้ํามันเครื่องครั้งสุดทาย) ไฟเตือนแสดงการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง “OIL” จะกะพริบที่ 1,000 กม. แรก (600 ไมล) จากนั้นที่ 4,000 กม. (2,500 ไมล) และทุกๆ 4,000 กม. หลังจากนั้น เพื่อแสดงวาควรเปลี่ยนน้ํามันเครื่องแลว หลังจากเปลยนนี่ ้ํามันเคร่องื ใหรีเซทม็ ิเตอรบอกช วงระยะทางการ เปลี่ยนน้ํามันเครื่องและไฟเตือนแสดงการเปลยนนี่ ้ํามันเครื่อง การปรับตั้งทั้ง 2 อยาง เลือกมิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยน น้ํามันเครื่องและกดปมุ “RESET” 1 วินาทีจากนั้น ขณะที่ “OIL” และมิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนน้ํามันเครื่องกําลงกะพรั ิบ ใหกดปุม “RESET” เปนเวลาสามว ินาทีไฟเตือนแสดงการเปลี่ยน น้ํามันเครื่องจะถูกรีเซ็ท หากเปลี่ยนน้ํามันเครื่องกอนไฟเตือนแสดงการเปลี่ยนน้ํามันเครื่อง จะสวาง (เชน กอนท ี่จะถงการเปล ึ ี่ยนน้ํามันเครื่องตามระยะ) ตอง รีเซ็ทมิเตอรบอกชวงระยะทางการเปล ยนนี่ ้ํามันเครื่องสําหรับการ เปลี่ยนน้ํามันเครื่องในครั้งถดไปเพ ั ื่อทจะแสดงเวลาในการเปล ี่ี่ยน ที่ถูกตอง โหมดมิเตอรบอกช วงระยะทางการเปลี่ยนสายพานวี มิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนสายพานวีจะแสดงระยะทาง ที่เดินทางไปนับตั้งแตการรีเซทคร็ ั้งสุดทาย (เชน ตั้งแตการเปลี่ยน สายพานวีครั้งสุดทาย) 1. จอแสดงผลอัตราการสิ้นเปลืองน้ํามันเชอเพลื้งโดยเฉล ิยี่ 1 1. ไฟเตือนแสดงการเปลยนนี่ ้ํามันเครื่อง “OIL” 2. มิเตอรบอกชวงระยะทางการเปล  ี่ยนน้ํามันเครื่อง 1. ไฟเตือนแสดงการเปลยนสายพานวี่ี “V-BELT” 2. มิเตอรบอกชวงระยะทางการเปล  ี่ยนสายพานวี 1 2 1 2 1 2DP-F8197-U0.book Page 20 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


คุณสมบัติ 1-21 ไฟเตือนแสดงการเปลี่ยนสายพานวี “V-BELT” จะกะพริบทุกๆ 25,000 กม. (15,500 ไมล) หลังจากนั้นเพื่อแสดงวาควรเปลี่ยน สายพานวีแลว หลงจากเปล ัยนสายพานวี่ีใหรีเซทม็ ิเตอรบอกชวงระยะทางการ เปลี่ยนสายพานวีและไฟแสดงการเปลี่ยนสายพานวีการปรับตั้ง ทั้ง 2 อยาง ใหเลือกมิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนสายพานวี และจากนนกดป ัุ้ม “RESET” 1 วินาทีจากนั้น ขณะที่ “V-BELT” และมิเตอรบอกชวงระยะทางการเปลี่ยนสายพานวีกำลังกะพริบ ใหกดปุม “RESET” เปนเวลาสามว ินาทีไฟแสดงการเปลี่ยน สายพานวีจะถูกรีเซท็ หากเปลี่ยนสายพานวีกอนไฟเตือนการเปลี่ยนสายพานวีจะสวาง (เชน กอนจะถึงการเปลี่ยนสายพานวีตามระยะ) ตองปรับตั้งมิเตอร บอกชวงระยะทางการเปลี่ยนสายพานวีสําหรับการเปลี่ยนสายพาน วีในระยะตอไป เพื่อที่จะแสดงเวลาในการเปลี่ยนทถีู่กตอง ตัววิเคราะหปญหา รถรุนนี้ติดตั้งตัววิเคราะหปญหาสําหรับวงจรไฟฟาตางๆ ไว หากตรวจพบปญหาในวงจรตางๆ เหลาน ั้น ไฟเตือนปัญหา เครื่องยนตจะสวางขึ้น และจอแสดงผลจะแสดงรหัสความผิดปกติ ขึ้น หากจอแสดงผลแสดงรหัสความผิดปกติใดขึ้น ใหจดบนทั ึก หมายเลขรหัส แลวจากนั้นตรวจสอบระบบหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง โปรดดูที่ “ระบบหัวฉีดน้ํามันเชื้อเพลิง” ในหนา 8-25 ขอควรระวัง UCA20360 หากจอแสดงผลแสดงรหัสความผิดปกติควรนํารถไปตรวจสอบ ทันทีที่ทําไดเพื่อปองกันไมใหเครื่องยนตเสียหาย 1. ไฟเตือนปญหาเครื่องยนต “” 2. ตัวแสดงผลรหสความผั ิดปกติ 1 2 1 2DP-F8197-U0.book Page 21 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลสําคญั 1-22 UAS20009 ขอมูลสําคัญ UAS30006 การเตรียมการสําหรับการถอดและการถอดแยก 1. กอนทําการถอดและการถอดแยกชิ้นสวน ใหกําจัดสงสกปรก ิ่ เศษโคลน ฝุนละอองและวัสดุแปลกปลอมออกใหหมด 2. ใชเฉพาะเครื่องมือและอุปกรณทําความสะอาดที่เหมาะสม โปรดดูท “ี่เครื่องมือพิเศษ” ในหนา 1-30 3. เมื่อทําการถอดแยกใหเก็บชนสิ้วนที่ติดกันไวดวยกันเสมอ ซึ่งไดแกเกียรกระบอกสบูลูกสบูและชิ้นสวนอ ื่นๆ ที่ “ติดกัน” เนื่องจากการสึกหรอตามปกติชนสิ้วนที่ติดกันตอง นํามาใชใหมหรือเปลี่ยนใหมทั้งชุดเสมอ 4. ระหวางทําการถอดแยกชนสิ้วน ใหทําความสะอาดชนสิ้วน ทั้งหมดและวางใสในถาดตามลําดับการถอดแยก ซงจะชึ่วย ใหประกอบกนได ั รวดเร็วและติดตั้งชิ้นสวนทงหมดได ั้ถูกตอง 5. เกบช็ ิ้นสวนท ั้งหมดใหหางจากแหลงกําเนดไฟท ิุกชนดิ UAS30007 การเปลี่ยนชิ้นสวน ใชเฉพาะอะไหลแท ของยามาฮาเทานนสั้ําหรับการถอดเปลี่ยน ทั้งหมดใชน้ํามันและจาระบีที่ยามาฮาแนะนําสําหรับการหลอล ื่น ทั้งหมดยี่หออื่นอาจมีหนาท ี่ใชงานและรูปลกษณั คลายกนัแต คุณภาพต่ํากวา UAS30008 ปะเก็น ซีลน้ํามัน และโอริง 1. เมื่อทําการผาเครื่อง ใหเปลี่ยนปะเก็น ซีลน้ํามัน และโอริง ทุกชิ้น ตองทําความสะอาดหนาสัมผัสปะเกน็ขอบซีลน้ํามัน และโอริงทั้งหมด 2. ระหวางทําการประกอบกลบั ใหใสน้ํามันชิ้นสวนท ี่ติดกันและ ลูกปนทั้งหมดและหลอลนขอบซื่ลนี้ํามันดวยจาระบใหี ถูกตอง UAS30009 แหวนล็อค/แหวนรองและสลักล็อค หลังจากทําการถอดแลวใหเปลี่ยนแหวนล็อค/แหวนรอง “1” และ สลักล็อคทั้งหมด หลังจากขันโบลทและนทตามคั าที่กําหนดแลว ใหพับแหวนล็อคแนบเขากับตัวโบลทหร ือนทั 1. น้ํามัน 2. ขอบซีล 3. สปริง 4. จาระบี 1 2DP-F8197-U0.book Page 22 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลสําคญั 1-23 UAS30010 ลูกปนและซีลน้ํามัน ติดตั้งลูกปน “1” และซลนี้ํามัน “2” เพื่อใหมองเห็นเครื่องหมาย หรือหมายเลขของผูผลติเมื่อติดตั้งซีลน้ํามัน ใหหลอลื่นขอบซลี น้ํามันดวยจาระบลีิเธียมเคลือบบางๆ ใหทาน้ํามนลัูกปนจนท ั่วเมื่อ ติดตั้งหากทําได ขอควรระวัง UCA13300 หามใชลมจากปมลมเปาลูกปน เพราะจะทําใหหนาส ัมผัสของ ลูกปนชํารุดได UAS30011 คลิปล็อค กอนจะประกอบกลับ ใหตรวจสอบคลิปลอคท็ ั้งหมดอยางละเอยดี และเปลี่ยนคลิปลอคท็ ี่ชํารุดเสยหายหรี ือบิดเบี้ยวเปลี่ยนคลิปสลัก ลูกสบหลูงจากใช ั แลวครั้งหนึ่งเสมอขณะประกอบคลิปล็อค “1” ตองแนใจวาสนคมั “2” ของคลิปลอคเข็ ารองไดพอดีและอยูตรง ขามกบดั าน “3” ที่รับแรงเสมอ UAS30012 ชิ้นสวนยาง ตรวจสอบชิ้นสวนทเปี่นยางเพื่อดูการเสื่อมสภาพในระหวาง การตรวจสอบ ชิ้นสวนยางบางอย างจะไวตอน้ํามันเบนซนิน้ํามัน ไวไฟ จาระบีฯลฯ หามนําวัตถุเหลานี้มาสัมผัสกบชันสิ้วนยาง 1 2DP-F8197-U0.book Page 23 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลงานซอมพ ื้นฐาน 1-24 UAS20010 ขอมูลงานซอมพนฐานื้ UAS30013 ตัวยึดอยางเร็ว แบบหมุดย้ํา 1. ถอด: • ตัวยึดอยางเร็ว ขอแนะนํา หากตองการถอดตัวยึดอยางเร็วใหกดตรงสลักดวยไขควงแลวด ึง ตัวยึดออกมา 2. ติดตั้ง: • ตัวยึดอยางเร็ว ขอแนะนํา หากตองการใสตัวยึดอยางเร็วใหกดตรงสลักขาของตัวยึดจนยื่น ออกมาจากสวนห ัวตัวยึดแลวเสียบตัวยึดลงไปในสวนที่ยึดและ ใชไขควงกดสลกขาเขั าไป ตรวจสอบใหแนใจว  าสลกขาเรั ียบเสมอ กับสวนห ัวของตัวยึด แบบสกรู 1. ถอด: • ตัวยึดอยางเร็ว ขอแนะนํา หากตองการถอดตัวยึดอยางเร็วใหคลายสกรูดวยไขควงแลวดึง ตัวยึดออกมา 2. ติดตั้ง: • ตัวยึดอยางเร็ว ขอแนะนํา หากตองการติดตั้งตัวยึดอยางเร็วใหสอดตัวยดเขึ าไปในสวนย ึด และขันสกรูใหแนน 1 2DP-F8197-U0.book Page 24 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลงานซอมพ ื้นฐาน 1-25 UAS30014 ระบบไฟฟา การจัดการกับชิ้นสวนที่เปนไฟฟา ขอควรระวัง UCA16600 หามถอดสายไฟแบตเตอรี่ขณะเครื่องยนตกําลังทํางาน มิฉะนั้น อุปกรณไฟฟาอาจเกิดความเสียหาย ขอควรระวัง UCA16751 เมื่อทําการถอดสายแบตเตอรี่จากตัวแบตเตอรี่ตองแนใจวาถอด สายแบตเตอรขี่ั้วลบกอน จากนั้นจึงถอดสายแบตเตอรี่ขั้วบวก ถาถอดสายแบตเตอรี่ขั้วบวกกอน และเครื่องมือหรือสิ่งที่คลายกัน สัมผัสถูกรถจะทําใหเกิดประกายไฟ ซึ่งเปนอันตรายอยางมาก ขอแนะนํา ถาไมสามารถปลดสายแบตเตอรี่ไดเนื่องจากเปนสน ิมบนขั้ว แบตเตอรี่ใหขจัดสนิมออกโดยใชน้ํารอน ขอควรระวัง UCA16760 ตรวจสอบใหแนใจว  าเชื่อมตอสายแบตเตอรี่ไปยงขั ั้วที่ถูกตองแลว การเชื่อมตอสายแบตเตอรี่สลับขั้วกัน จะทําใหอุปกรณไฟฟ  า เสียหายได ขอควรระวัง UCA16771 เมื่อทําการเชอมตื่อสายแบตเตอรไปย ี่ังแบตเตอรี่ตองแนใจวา เชื่อมตอสายแบตเตอรี่ขั้วบวกกอน จากนั้นจึงตอสายแบตเตอรี่ ขั้วลบ ถาตอสายแบตเตอรี่ขั้วลบกอน และเครองมื่ือหรอสื ิ่งที่ คลายกันสัมผัสถูกรถขณะที่สายแบตเตอรี่ขวบวกเชั้ื่อมตออยู อาจทําใหเกิดประกายไฟ ซึ่งเปนอันตรายอยางมาก ขอควรระวัง UCA16610 บิดสวิทชกุญแจไปที่ “OFF” กอนจะปลดหรือเชื่อมตออุปกรณ ไฟฟา 1 2DP-F8197-U0.book Page 25 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลงานซอมพ ื้นฐาน 1-26 ขอควรระวัง UCA16620 จัดการกับอุปกรณไฟฟ  าดวยความระมัดระวังเปนพิเศษ และหาม ทําใหไดรับแรงกระแทกรุนแรง ขอควรระวัง UCA16630 อุปกรณไฟฟามีความไวสูงตอไฟฟาสถิต และอาจทําใหเกิดความ เสียหายไดดังนนอยั้าสัมผัสที่ขวตั้อและตรวจสอบใหแนใจวา หนาสัมผัสสะอาด ขอแนะนํา เมื่อรีเซท็ ECU (กลองควบคุมเครื่องยนต) โดยการบิดสวิทชกุญแจ ไปที่ตําแหนง “OFF” ใหรอประมาณ 5 วินาทกีอนบดสวิ ิทชกุญแจ กลับไปที่ตําแหนง “ON” การตรวจสอบระบบไฟฟา ขอแนะนํา กอนจะตรวจสอบระบบไฟฟา ใหแนใจว  ามีแรงดันไฟฟาแบตเตอรี่ อยางนอย 12 โวลต ขอควรระวัง UCA14371 หามสอดสายทดสอบเขาไปในชองขั้วของขวรวมั้ใหสอดสาย ทดสอบจากปลายดานตรงขาม “a” ของขั้วรวมทุกครงั้โดยระวัง อยาทําใหสายหลวมหรือชํารุดเสียหาย ขอควรระวัง UCA16640 สําหรับขั้วรวมแบบกันน้ํา หามสอดสายทดสอบเขาไปในขั้วรวม โดยตรง เมื่อทําการตรวจสอบใดๆโดยใชขั้วรวมแบบกันน้ํา ใหใช ชุดสายไฟทดสอบเฉพาะหรือชุดสายไฟทดสอบที่วางขายอยูใน ทองตลาดอยางเหมาะสม a 1 2DP-F8197-U0.book Page 26 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลงานซอมพ ื้นฐาน 1-27 ตรวจสอบการเชอมตื่อ ตรวจหาคราบสกปรก สนิม ความชนื้ฯลฯในสายไฟ ขั้วสาย และขั้วตอ 1. ปลด: • สายไฟ • ขั้วสาย • ขั้วตอ ขอควรระวัง UCA16780 • เมื่อปลดขวรวมั้ใหปลดตัวล็อคขั้วและจับทั้งสองสวนของขั้ว รวมใหแนนจากนั้นปลดขั้วรวมออก • มีชนิดของตัวล็อคขั้วสายหลายชนิด ดังนั้น ตรวจสอบชนิดของ ตัวล็อคขั้วสายใหแนใจกอนปลดขั้วรวม ขอควรระวัง UCA16790 อยาดึงสายไฟ เมื่อปลดขั้วตอจับทั้งสองสวนของขั้วตอใหแนน จากนนปลดข ั้ั้วตอ 2. ตรวจสอบ: • สายไฟ • ขั้วสาย • ขั้วตอ ความชื้น → เปาแห งดวยเครื่องเปาลม สนิม/คราบสกปรก → เชื่อมตอและปลดออกหลายๆ ครั้ง 3. ตรวจสอบ: • การเชื่อมตอทั้งหมด การเชื่อมตอหลวม → เชื่อมตอใหถูกตอง ขอแนะนํา • หากสลัก “1” บนขั้วแบนราบลง ใหงอขึ้นมา • หลังจากถอดแยกและประกอบขั้วสายใหดึงสายไฟเพื่อตรวจ สอบใหแนใจวาติดตั้งไวอยางแนนหนา 1 1 2DP-F8197-U0.book Page 27 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลงานซอมพ ื้นฐาน 1-28 4. เชอมตื่อ: • สายไฟ • ขั้วสาย • ขั้วตอ ขอแนะนํา • ในการเชื่อมตอขั้วสายหรือขั้วตอใหกดทั้งสองสวนของขั้วสาย หรือขั้วตอเขาหากันจนกระทงเชั่ื่อมตออยางแนนหนา • ตรวจสอบใหแนใจวาการเชื่อมตอทั้งหมดแนนดี 5. ตรวจสอบ: • ความตอเนื่อง (ดวยพ็อกเก็ตเทสเตอร) ขอแนะนํา • หากไมมีความตอเนองื่ใหทําความสะอาดขั้ว • ในการตรวจสอบชุดสายไฟ ใหทําตามขั้นตอนที่ (1) ถึง (3) • ในการแกไขแบบดวน ใหใชสารหลอลื่นฟนฟูหนาส ัมผัสที่มี จําหนายตามรานขายชิ้นสวนท วไป ั่ 6. ตรวจสอบ: • คาความตานทาน ขอแนะนํา จะไดรับคาความตานทานทแสดงไว ี่ ทอีุ่ณหภูมิการวัดมาตรฐานที่ 20 °C (68 °F) ถาอุณหภูมิการวัดไมใช 20 °C (68 °F) เงื่อนไขการ วัดที่กําหนดไวจะแสดงขึ้น พ็อกเก็ตเทสเตอร (เครื่องมือวัดทางไฟฟา) 90890-03112 พ็อกเก็ตเทสเตอรแบบอนาล็อก YU-03112-C พ็อกเก็ตเทสเตอร (เครื่องมือวัดทางไฟฟา) 90890-03112 พ็อกเก็ตเทสเตอรแบบอนาล ็อก YU-03112-C คาความตานทานของเซ็นเซอรตรวจวัดอุณหภมูิ น้ํายาหลอเย็น 2510–2770 Ω ที่ 20 °C (2510–2770 Ω ที่ 68 °F) คาความตานทานของเซ็นเซอรตรวจวัดอุณหภมูิ น้ํายาหลอเย็น 210–221 Ω ที่ 100 °C (210–221 Ω ที่ 212 °F) 1 2DP-F8197-U0.book Page 28 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลงานซอมพ ื้นฐาน 1-29 1 2DP-F8197-U0.book Page 29 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


เคร ื่องม ื อพิเศษ 1-30 UAS20012 เครื่องมือพิเศษ เครื่องมือพิเศษตอไปนมี้ีความจําเปนตอการปรับตั้งและการถอดประกอบเครื่องยนตเพราะทําใหสะดวกและรวดเร็วถกตูองการใชเครื่องมือ พิเศษอยางถูกตองจะชวยปองกนการชั ํารุดเสียหายของชิ้นสวนต างๆ ของเครื่องยนตรหัสของเครื่องมือพิเศษ หมายเลขชนสิ้วน หรือทั้งคูอาจ แตกตางกนไปในแต ั ละประเทศ เมื่อตองการสั่งซื้อโปรดดูรหัสเครื่องมือพิเศษตามตารางขางลาง เพื่อหลีกเลยงการซี่ื้อเครื่องมือผิด ขอแนะนํา • สําหรับสหรัฐอเมริกาและแคนาดา ใหใชหมายเลขช นสิ้วนทขี่ึ้นตนดวย “YM-” “YU-” หรือ “ACC-” • สําหรับประเทศอื่นๆ ใหใชหมายเลขช ิ้นสวนทขี่ึ้นตนดวย “90890-” ชื่อเครื่องมือ/หมายเลขเครื่องมอ ภาพประกอบ หน ื าอางอิง พ็อกเกตเทสเตอร็  (เครื่องมือวัดทางไฟฟา) 90890-03112 พ็อกเกตเทสเตอร็ แบบอนาลอก็ YU-03112-C 1. 1-28, 1-28, 8-97, 8-98, 8-98, 8-99, 8-102, 8-103, 8-103, 8-103, 8-104, 8-104, 8-105, 8-105, 8-106, 8-107, 8-108, 8-108 เครื่องมือปรับตั้งวาลว 90890-01311 ชดปรุับตั้งวาลวหกชนิ้ YM-A5970 1. 1. 3-7 เครื่องวิเคราะหระบบห ัวฉีดยามาฮา 90890-03231 1. 3-7, 3-8, 4-65, 4-67, 7-14, 7-14, 8-28, 8-69, 8-90 ประแจขนนั ัทยึดคอรถ 90890-01403 ประแจขนนั ัทหนาแปลนไอเสีย YU-A9472 1. 3-15, 3-16, 4-85 ฟลเลอรเกจ 90890-03180 ชดฟุลเลอรเกจ YU-26900-9 1. 4-31 ดามตัว T 90890-01326 ดามขันตัวที 3/8" ยาว 60 ซม. YM-01326 1. 4-79, 4-80 ø8 ø10 ø9 ø3 ø4 YM-A5970 1 2DP-F8197-U0.book Page 30 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


เคร ื่องม ื อพิเศษ 1-31 ตัวตอกชุดประกอบซีลโชคอ ัพหนา 90890-01367 ตัวตอกถอดเปลยนี่ YM-A9409-7 1. 1. 4-80, 4-81 หวตั อชุดประกอบซีลโชคอ ัพหนา (ø30) 90890-01400 1. 4-80, 4-81 เกจวัดกําลงอั ัด 90890-03081 เครื่องทดสอบกําลังอัดของเครื่องยนต YU-33223 1. 1. 5-1 สายตอ 90890-04136 1. 5-1 ประแจเพลาลกเบูี้ยว 90890-04162 ประแจเพลาลกเบูี้ยว YM-04162 1. 5-13, 5-17 ทรีบอนดยามาฮา 1215 90890-85505 (Three bond No.1215®) 1. 5-16, 5-64 โบลทตัวตอกแบบเลื่อนไหล 90890-01085 โบลทตัวตอกแบบเลื่อนไหล 8 มม. YU-01083-2 1. 5-19 ชื่อเครื่องมือ/หมายเลขเครื่องมอ ภาพประกอบ หน ื าอางอิง YM-A9409-7/YM-A5142-4 90890-03081 YU-33223 1 2DP-F8197-U0.book Page 31 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


เคร ื่องม ื อพิเศษ 1-32 น้ําหนัก 90890-01084 น้ําหนัก YU-01083-3 1. 1. 5-19 เครื่องมือกดสปริงวาลว 90890-04019 เครื่องมือกดสปริงวาลว YM-04019 1. 5-23, 5-28 ตัวตอที่กดสปริงวาลว 90890-04108 ตัวตอที่กดสปริงวาลว 22 มม. YM-04108 1. 5-23, 5-28 ตัวชวยถอดปลอกวาล  ว (ø5) 90890-04097 ตัวชวยถอดปลอกวาล  ว (5.0 มม.) YM-04097 1. 5-24 ตัวชวยต ิดตั้งปลอกวาลว (ø5) 90890-04098 ตัวชวยต ิดตั้งปลอกวาลว (5.0 มม.) YM-04098 1. 5-24 ดอกควานปลอกวาลว (ø5) 90890-04099 ดอกควานปลอกวาลว (5.0 มม.) YM-04099 1. 5-24 ชดเครุื่องมือดึงสลักลูกสบู 90890-01304 เครื่องมือดึงสลกลักสู ูบ YU-01304 1. 1. 5-30 ชื่อเครื่องมือ/หมายเลขเครื่องมอ ภาพประกอบ หน ื าอางอิง YU-01083-3 YU-01304 1 2DP-F8197-U0.book Page 32 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


เคร ื่องม ื อพิเศษ 1-33 เครื่องมือจับยึดโรเตอร 90890-01235 ตัวจบโรเตอร ั และชุดจานไฟ YU-01235 1. 5-38, 5-43, 5-49, 5-49 เครื่องมือจับยึดโรเตอร 90890-04166 YM-04166 1. 5-38, 5-38, 5-42, 5-42 ประแจกระบอก (39 มม.) 90890-01493 1. 5-38, 5-42 ตัวอัดสปริงพูเลย 90890-04134 ตัวอัดสปริงพูเลย YM-04134 1. 1. 5-38, 5-41 แทนล็อคพูเลย  90890-04135 แผงยึดพูเลย YM-04135 1. 1. 5-38, 5-41 ปลอกตอกซีลน้ํามัน (37 มม.) 90890-04177 1. 5-41 ตัวดูดลอชวยแรง 90890-01189 ตัวดูดลอชวยแรง YM-01189 1. 5-49 ชื่อเครื่องมือ/หมายเลขเครื่องมอ ภาพประกอบ หน ื าอางอิง ø37 1 2DP-F8197-U0.book Page 33 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


เคร ื่องม ื อพิเศษ 1-34 เครื่องทดสอบวงจรแบบดิจตอลิ 90890-03174 มลตั ิมิเตอรรุน 88 พรอมเครื่องมือวัดความเร็วรอบเครื่องยนต YU-A1927 1. 5-52, 8-106, 8-109 เครื่องมือแยกหองเครื่องยนต 90890-01135 ตัวแยกหองเคร ื่องยนต YU-01135-B 1. 1. 5-62 เบาตัวประกอบเพลาขอเหวี่ยง 90890-01274 เบาการติดตั้ง YU-90058 1. 1. 5-63 โบลทตัวติดตั้งเพลาขอเหวี่ยง 90890-01275 โบลท YU-90060 1. 5-63 ตัวตอ (M12) 90890-01278 ตัวตอ #3 YU-90063 1. 5-63 ชื่อเครื่องมือ/หมายเลขเครื่องมอ ภาพประกอบ หน ื าอางอิง YU-90058/YU-90059 1 2DP-F8197-U0.book Page 34 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


เคร ื่องม ื อพิเศษ 1-35 บชรองู (ตัวประกอบเพลาขอเหวี่ยง) 90890-04081 บชรองเบู า YM-91044 1. 1. 5-63 เครื่องทดสอบฝาปดหมอน้ํา 90890-01325 ชดทดสอบระบบระบายความรุอน Mityvac YU-24460-A 1. 1. 6-3, 6-3 อะแดปเตอรเครื่องทดสอบฝาปดหมอน้ํา 90890-01352 อะแดปเตอรเครื่องทดสอบแรงดัน YU-33984 1. 1. 6-3 เครื่องมือติดตั้งซีลเชิงกล 90890-04145 1. 6-9 ชดประกอบลุกปูนเพลาตามกลาง 90890-04058 เครื่องมือติดตั้งลูกปนเพลาขับกลาง 40 & 50 มม. YM-04058 1. 6-9 ชื่อเครื่องมือ/หมายเลขเครื่องมอ ภาพประกอบ หน ื าอางอิง YM-91044 YU-24460-A YU-33984 ø10 ø30 1 2DP-F8197-U0.book Page 35 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


เคร ื่องม ื อพิเศษ 1-36 เกจวัดแรงดัน 90890-03153 เกจวัดแรงดัน YU-03153 1. 7-4 อะแดปเตอรแรงดันน้ํามนเชั ื้อเพลิง 6.3 มม. 90890-03227 1. 7-4 เครื่องตรวจสอบการจดระเบุิด 90890-06754 เครื่องตรวจสอบประกายไฟ Oppama pet–4000 YM-34487 1. 8-105 ชื่อเครื่องมือ/หมายเลขเครื่องมอ ภาพประกอบ หน ื าอางอิง 1 2DP-F8197-U0.book Page 36 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


เคร ื่องม ื อพิเศษ 1-37 1 2DP-F8197-U0.book Page 37 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


2 ขอมูลจําเพาะ ขอมูลจําเพาะทั่วไป ............................................................................................................................................... 2-1 ขอมูลจําเพาะของเครื่องยนต ................................................................................................................................ 2-2 ขอมูลจําเพาะของโครงรถ ..................................................................................................................................... 2-7 ขอมูลจําเพาะระบบไฟฟา ..................................................................................................................................... 2-9 คาแรงบิดในการขัน ............................................................................................................................................. 2-11 ขอมูลจําเพาะของคาแรงบิดในการขันทวไป ั่ ............................................................................................. 2-11 คาแรงบิดในการขันของเครื่องยนต ........................................................................................................... 2-12 คาแรงบิดในการขันโครงรถ ...................................................................................................................... 2-15 จุดหลอลื่นและชนิดสารหลอลื่น ......................................................................................................................... 2-19 เครื่องยนต .................................................................................................................................................. 2-19 ผังและไดอะแกรมระบบหลอลื่น ......................................................................................................................... 2-21 ผังการหลอลนนื่ ้ํามันหลอลื่น ..................................................................................................................... 2-21 ไดอะแกรมระบบหลอลนื่ .......................................................................................................................... 2-23 ไดอะแกรมระบบระบายความรอน ..................................................................................................................... 2-27 การจัดสาย .......................................................................................................................................................... 2-29 2DP-F8197-U0.book Page 0 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลจําเพาะทั่วไป 2-1 UAS20013 ขอมูลจําเพาะทั่วไป รุน รุน 2DP4 ขนาด ความยาวทั้งหมด 1955 มม. (77.0 นิ้ว) ความกวางทงหมดั้ 740 มม. (29.1 นวิ้ ) ความสงทูั้งหมด 1115 มม. (43.9 นิ้ว) ความสงจากพูื้นถึงเบาะนงั่ 765 มม. (30.1 นวิ้ ) ความยาวแกนลอหนาถึงลอหลงั 1350 มม. (53.1 นิ้ว) ระยะหางจากพื้น 135 มม. (5.31 นวิ้ ) รัศมีการเลี้ยวต่ําสดุ 2000 มม. (78.7 นิ้ว) น้ําหนกั น้ําหนักรวมน้ํามันเชื้อเพลิงเต็มถังและน้ํามันเครื่อง 127 กก. น้ําหนักบรรทุกสูงสดุ 168 กก. 2 2DP-F8197-U0.book Page 1 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลจําเพาะของเคร ื่องยนต  2-2 UAS20014 ขอมูลจําเพาะของเครื่องยนต เครื่องยนต ชนดเคริ ื่องยนต 4 จังหวะระบายความรอนดวยน้ํา, SOHC ปริมาตรกระบอกสูบ 155 ซม³ การจัดเรียงกระบอกสูบ กระบอกสูบเดี่ยว กระบอกสบู × ระยะชัก 58.0 × 58.7 มม. (2.28 × 2.31 นิ้ว) อัตราสวนแรงอ ัด 10.5 : 1 กําลงอั ัดมาตรฐาน (ที่ระดับน้ําทะเล) 1800 kPa/860 รอบ/นาท (18.0 kgf/cm²/860 ีรอบ/นาที, 256.0 psi/860 รอบ/นาท)ี ต่ําสุด–สงสู ุด 1566–2016 kPa/860 รอบ/นาที (15.6–20.1 kgf/cm²/860 รอบ/นาที, 221.8–285.8 psi/860 รอบ/นาที) ระบบสตารท สตารทไฟฟา น้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันเชื้อเพลิงทแนะนี่ํา น้ํามันเบนซนไร ิ สารตะกวั่ (สามารถใชน้ํามนแกั สโซฮอล   [E10] ได) ความจุถังน้ํามันเชื้อเพลงิ 6.6 ลิตร (1.74 US gal, 1.45 Imp.gal) น้ํามันเครื่อง ระบบหลอล ื่น แบบเปยก ยี่หอที่แนะนํา YAMALUBE ชนดิ SAE 10W-40 หรือ 20W-40 เกรดน้ํามันเครื่องที่แนะนํา API service ชนิด SG หรือสูงกวา, มาตรฐาน JASO MA หรือ MB ปริมาณน้ํามันเครื่อง ปริมาณทั้งหมด (ผาเครื่อง) 1.00 ลิตร (1.06 US qt, 0.88 Imp.qt) เปลี่ยนน้ํามันเครื่องตามระยะ 0.90 ลิตร (0.95 US qt, 0.79 Imp.qt) น้ํามันเฟองทาย ชนดินาม้ํ ันเครื่อง SAE 10W-30 ชนดิ SE หรอสืงกวูาหรอนืาม้ํ นเฟ ัองทาย SEA 85W SL-3 ปริมาณทงหมดั้ (ผาเครื่อง) 0.16 ลิตร (0.17 US qt, 0.14 Imp.qt) ปริมาณ 0.15 ลิตร (0.16 US qt, 0.13 Imp.qt) กรองน้ํามันหลอลื่น ชนดกรองนิ้ํามันหลอล ื่น แบบแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง ปมน้ํามันหลอลื่น ชนดปิมน ้ํามันหลอลน แบบโรเตอร ื่  (Trochoid pump) ระยะหางจากโรเตอรตัวในถึงปลายโรเตอรตัวนอก 0.150 มม. (0.0059 นวิ้ ) คาพิกัดการซอม 0.23 มม. (0.0091 นิ้ว) ระยะหางจากโรเตอรตัวนอกถึงเสื้อปมน ้ํามันหลอลื่น 0.13–0.18 มม. (0.0051–0.0071 นิ้ว) คาพิกัดการซอม 0.25 มม. (0.0098 นิ้ว) ระยะหางจากเสื้อปมน ้ํามันหลอลื่นถึงโรเตอรตัวในและตัวนอก 0.06–0.11 มม. (0.0024–0.0043 นิ้ว) คาพิกัดการซอม 0.18 มม. (0.0071 นิ้ว) ความหนาของโรเตอร 7.95–7.98 มม. (0.3130–0.3142 นิ้ว) ปริมาณน้ํายาหลอเย็น หมอน้ํา (รวมการเดินทอท ั้งหมด) 0.46 ลิตร (0.49 US qt, 0.40 Imp.qt) ถังพักน้ํายาหลอเย็น (ถึงขีดระดับสูงสดุ ) 0.25 ลิตร (0.26 US qt, 0.22 Imp.qt) 2 2DP-F8197-U0.book Page 2 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


ขอมูลจําเพาะของเคร ื่องยนต  2-3 แรงดันการเปดวาล วฝาปดหมอน้ํา 108.0–137.4 kPa (1.08–1.37 kgf/cm², 15.7–19.9 psi) เทอรโมสตัท อุณหภูมิเปดวาลว 74.0–78.0 °C (165.20–172.40 °F) อุณหภูมิเปดสุดของวาลว 90.0 °C (194.00 °F) ระยะยกวาลว (เปดสุด) 7.0 มม. (0.28 นวิ้ ) หมอน้ํา ความกวาง 158.6 มม. (6.24 นิ้ว) ความสงู 142.0 มม. (5.59 นิ้ว) ความลกึ 16.0 มม. (0.63 นิ้ว) ปมน้ํา ชนดปิมน ้ํา ปมแบบแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลางดูดทางเดียว หัวเทียน ผูผลติ/รุน NGK/CPR8EA-9 ระยะหางเขี้ยวหัวเทยนี 0.8–0.9 มม. (0.031–0.035 นิ้ว) ฝาสูบ คาพิกัดการซอมความโก  งงอ 0.05 มม. (0.0020 นิ้ว) เพลาลูกเบี้ยว ระบบขับเคลื่อน โซขับ (ซาย) ขนาดลอนเพลาลูกเบยวี้ ความสูงของลอน (ไอดี) 32.211–32.311 มม. (1.2681–1.2721 นิ้ว) คาพิกดการซั อม 32.111 มม. (1.2642 นิ้ว) ความสูงของลอน (ความเร็วสงไอดูี) 32.587–32.686 มม. (1.2830–1.2869 นิ้ว) คาพิกดการซั อม (ความเร็วสงู) 32.487 มม. (1.2790 นิ้ว) ความสูงของลอน (ไอเสีย) 29.420–29.475 มม. (1.1583–1.1604 นิ้ว) คาพิกดการซั อม 29.320 มม. (1.1543 นิ้ว) คาพิกัดการซอมความคดของเพลาลูกเบี้ยว 0.030 มม. (0.0012 นวิ้ ) กระเดื่องกดวาลว/เพลากระเดื่องกดวาลว เสนผานศูนยกลางภายในกระเดื่องกดวาลว 9.985–10.000 มม. (0.3931–0.3937 นิ้ว) คาพิกัดการซอม 10.015 มม. (0.3943 นิ้ว) เสนผานศูนยกลางภายนอกเพลากระเดื่องกดวาลว 9.966–9.976 มม. (0.3924–0.3928 นวิ้ ) คาพิกัดการซอม 9.936 มม. (0.3912 นวิ้ ) ระยะหางจากกระเดื่องกดวาลวถึงเพลากระเดื่องกดวาลว 0.009–0.034 มม. (0.0004–0.0013 นวิ้ ) คาพิกัดการซอม 0.080 มม. (0.0032 นวิ้ ) วาลว บาวาลว ปลอกวาลว ระยะหางวาลว (ขณะเครื่องเย็น) ไอดี 0.10–0.14 มม. (0.0039–0.0055 นิ้ว) ไอเสีย 0.21–0.25 มม. (0.0083–0.0098 นิ้ว) ขนาดวาลว เสนผ านศูนยกลางหัววาลว (ไอดี) 19.40–19.60 มม. (0.7638–0.7717 นวิ้ ) เสนผ านศูนยกลางหัววาลว (ไอเสีย) 16.90–17.10 มม. (0.6654–0.6732 นวิ้ ) ความกวางหนาส ัมผัสบาวาลว (ไอดี) 0.90–1.20 มม. (0.0354–0.0472 นิ้ว) คาพิกดการซั อม 1.6 มม. (0.06 นวิ้ ) ความกวางหนาส ัมผัสบาวาลว (ไอเสยี) 0.90–1.20 มม. (0.0354–0.0472 นิ้ว) คาพิกดการซั อม 1.6 มม. (0.06 นวิ้ ) 2 2DP-F8197-U0.book Page 3 Friday, August 14, 2015 9:56 AM


Click to View FlipBook Version