แปลยกศัพท์ คัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี ส�ำหรับผู้สนใจบาลี ชั้นประโยค ป.ธ.๙ ตามส�ำนวนสนามหลวง และส�ำนวนพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน) วัดเบญจมบพิตร กรุงเทพ ฯ อดีตครูสอนชั้นประโยค ป.ธ.๙ วิชาแปลมคธเป็นไทย และกรรมการยกร่างเฉลยบาลีสนามหลวง และรองแม่กองบาลีสนามหลวง โดยคณะครูสอนบาลี วิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ จากส�ำนักเรียนต่าง ๆ
สัมโมทนียกถา คัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินีเป็นคัมภีร์ชั้นฎีกา ที่ท่านพระสุมังคลาจารย์ได้เขียนไว้ ขยายคัมภีร์อรรถกถาที่ชื่ิอว่าคัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ ที่ท่านพระอนุรุทธาจารย์ได้แต่ง ไว้เมื่อประมาณ ๙๐๐ ปี หลังจากที่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน ซึ่งประเทศไทยใช้เป็นหลักสูตรบาลีสนามหลวง ชั้นประโยค ป.ธ.๙ วิชาแปลมคธ เป็นไทย โดยยังมิได้มีการแปลยกศัพท์ไว้ พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙/มหาอาภิธรรมิกเอก) รองเจ้าคณะ ภาค ๓ เจ้าอาวาสวัดธรรมมูล วรวิหาร จังหวัดชัยนาท ได้ท�ำหน้าที่ครูสอนวิชานี้ ตั้งแต่สมัยอยู่วัดชนะสงครามราชวรวิหาร และสอนอีกหลายส�ำนัก มีส�ำนักเรียน วัดสามพระยาวรวิหาร เป็นต้น ปัจจุบันช่วยสอนวิชานี้ อยู่ที่โรงเรียนพระปริยัติธรรม ของคณะสงฆ์ส่วนกลาง ที่วัดสามพระยา วรวิหาร กรุงเทพมหานคร ได้ชักชวนครู สอนวิชานี้ จากส�ำนักเรียนต่างๆ มีส�ำนักเรียนวัดปากนํ้า และส�ำนักเรียนวัดโมลี โลกยาราม กรุงเทพฯ เป็นต้น ช่วยกันจัดท�ำยกศัพท์ตามส�ำนวนพระเดชพระคุณ ท่านเจ้าคุณพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ.๙) อดีตรองแม่กองบาลี สนามหลวง ครูสอน วิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ ของคณะสงฆ์ส่วนกลาง และองค์เฉลยวิชานี้ ยาวนานถึง ๔๕ ปี จนส�ำเร็จเป็นประโยชน์แก่นักศึกษาภาษา บาลี และผู้สนใจใฝ่ธรรมทุกท่าน ขออนุโมทนา ชื่นชมต่อวิริยะอุตสาหะของทุกท่านที่ช่วยจัดท�ำออกสู่บรรณพิภพ ในครั้งนี้ เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาภาษาบาลี ตลอดไป สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม ป.ธ.๙) เจ้าอาวาสวัดพิชยญาติการาม กรุงเทพมหานคร ๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒
ค�ำน�ำ หนังสืออภิธัมมัตถภาวินีแปลยกศัพท์นี้ ได้จัดท�ำรวบรวมตั้งแต่ปี พุทธศักราช ๒๕๔๕ สมัยที่ข้าพเจ้าสอบบาลีชั้นประโยค ป.ธ.๙ ได้ และรับหน้าที่สอนวิชาแปล มคธเป็นไทยชั้นประโยค ป.ธ.๙ ณ ส�ำนักเรียนวัดชนะสงคราม กรุงเทพฯ เมื่อเกิดข้อสงสัยก็น�ำความสงสัยไปกราบเรียนสอบถาม พระเดชพระคุณ พระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ.๙) วัดเบญจมบพิตร กรุงเทพฯ รองแม่กองบาลีสนามหลวง และเป็นอาจารย์สอนวิชานี้ของโรงเรียนส่วนกลางของ คณะสงฆ์ ตลอดถึงออกปัญหาเป็นกรรมการยกร่างเฉลยสนามหลวง พร้อมทั้ง เป็นกรรมการตรวจบาลีสนามหลวงชั้นประโยค ป.ธ.๙ ด้วย เมื่อน�ำความสงสัย ไปปรึกษาพระเดชพระคุณท่าน จึงให้ท�ำหนังสือแปลตามส�ำนวนของท่าน โดยชักชวน พระมหาเปรียญหลายรูปช่วยกันรวบรวมและแก้ไขเรื่อยมา จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๔๘ จึงรวมรวมเสร็จ และถวายท่านตรวจทานเสร็จ แต่ยังไม่ทันได้พิมพ์ ท่านก็มรณภาพลง ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๕๐ พระเดชพระคุณพระพรหมโมลี ซึ่งต่อมา คือ ท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ เจ้าคณะใหญ่หนกลาง ได้รับหน้าที่สอน ป.ธ.๙ วิชานี้ต่อ จึงได้ให้ข้าพเจ้าเป็นผู้ช่วยสอน และท�ำแปลยกศัพท์ขึ้นมาเสริมอีก ข้าพเจ้าจึงชักชวน บรรดาครูสอนที่สอน ป.ธ.๙ โดยเฉพาะวิชานี้ ช่วยกันรวบรวมจัดท�ำประมาณ ๒ ปี จึงส�ำเร็จ แต่ด้วยมีข้อกังวลหลายอย่าง และเป็นช่วงที่ข้าพเจ้าย้ายจากวัดชนะสงคราม กรุงเทพฯ ไปเป็นเจ้าอาวาสวัดธรรมามูล วรวิหาร จ.ชัยนาท จึงส่งผลให้หนังสือ ล่าช้าไปอีก ๖ ปี ทั้งๆ ที่น่าจะเสร็จตั้งนานแล้ว มาปีนี้ตรวจทานเสร็จ ตามส�ำนวน พระเดชพระคุณพระธรรมวโรดม วัดเบญจมบพิตร ได้ขอค�ำอนุโมทนาจากท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ และเตรียมจัดพิมพ์ แต่ชีวิตไม่แน่นอน ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ มาละสังขารจากไปอีก หนังสือจึงได้ จัดพิมพ์หลังท่านให้ค�ำอนุโมทนาแล้ว เนื่องด้วยปัจจุบันหนังสือต่างๆ เริ่มหมด
ความสนใจจากผู้อ่าน เพราะผู้ที่สนใจในการค้นคว้ามักหาข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต สะดวกกว่า จึงเน้นมาท�ำหนังสือลงไว้ให้ผู้ที่สนใจค้นคว้าได้สะดวกทางอินเตอร์เน็ต ผู้ที่สนใจสามารถโหลดหรือน�ำมาใช้ประโยชน์ได้ตามประสงค์ โดยตั้งใจไม่สงวนลิขสิทธิ์ หากพบเห็นข้อมูลผิดพลาดควรแก้ไข ขอให้ส่งข่าวให้ข้าพเจ้าทราบได้ทันที จักเป็นพระคุณอย่างสูง ขอถวายบุญกุศลที่เกิดจากการจัดท�ำหนังสือนี้ แด่พระเดชพระคุณพระธรรมวโรดม (บุญมา คุณสมฺปนฺโน ป.ธ.๙) พระอาจารย์ผู้ประสิทธิ์ประสาทวิชานี้แก่ข้าพเจ้า ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุทธชินวงศ์ พระอาจารย์สอนวิชาแปลวิสุทธิมรรค ชั้นประโยค ป.ธ.๙ แก่ข้าพเจ้า และเป็นผู้เปิดโอกาสในการท�ำงานการสอนวิชานี้ และการบริหารกิจการงานคณะสงฆ์แก่ข้าพเจ้า และผู้มีพระคุณแก่ข้าพเจ้าทุกท่าน ตลอดจนถึงทุกท่านผู้ที่สนใจได้อนุโมทนาบุญในครั้งนี้ด้วยกันทุกท่าน เทอญ พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) โทร. ๐๘๑-๒๕๑-๘๔๔๐
สารบัญ อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา ฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี ๑ อารมฺภคาถา คาถาเริ่มต้น ๑ ปมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๑ ๑๘ ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๒ ๗๗ ตติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๓ ๑๑๓ จตุตฺถปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๔ ๑๔๓ ปฺ จมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๕ ๑๙๐ ฉฏฐปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๖ ๒๖๐ สตฺตมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริจเฉทที่ ๗ ๓๐๕ อฏฺฐมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๘ ๓๔๔ นวมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๙ ๓๙๐ ปกรณาวสานวณฺณนา พรรณนาความสุดท้ายปกรณ์ ๔๒๗
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 1 อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา ฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี อารมฺภคาถา คาถาเริ่มต้น (ข้าพเจ้า ชื่อว่าพระสุมังคลาจารย์) นตฺวา ขอนมัสการ พุทฺธํ พระพุทธเจ้า วิสุทฺธกรุณาาณํ *ผู้ทรงพระปัญญาธิคุณ พระบริสุทธิคุณ และพระมหากรุณาธิคุณ*๑ ธมฺม พระธรรม ํ สมฺพุทฺธปูชิต อันพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ทรงบูชาแล้ว ํสงฺฆ พระสงฆ์ ํ สทฺธมฺมสมฺภูตํ ผู้เกิดดีแล้วแต่พระสัทธรรม นิรงฺคณํ ผู้มีกิเลสเพียงดังเนินไป ปราศแล้ว วนฺทิตฺวา ขอกราบไหว้ สารีปุตฺตํ พระสารีบุตร มหาเถรํ มหาเถระ ธีรํ ผู้เป็นปราชญ์ ปริยตฺติวิสารทํ องอาจในพระปริยัติ ครุ เป็นครู คารวภาชนํ เป็นเครื่องรองรับความเคารพ สิรสา ด้วยเศียรเกล้า แล้ว วณฺณยิสฺสํ จักพรรณนา สมาเสน โดยย่อ อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ซึ่งปกรณ์ชื่อว่าอภิธัมมัตถสังคหะ ปรมฺปีติวิว ฑฺฒนํ อันเป็นเครื่องยังปีติให้เจริญอย่างยิ่ง อาภิธมฺมิกภิกฺขูนํ แก่เหล่าภิกษุ นักอภิธรรม ปน ก็ (เพราะเหล่ากุลบุตร) น สกฺกา ไม่สามารถ วิฺ าตเว เพื่อจะรู้แจ้ง อตฺโถ เนื้อความ สพฺพตฺถ ในทุกบท อิธ ในปกรณ์นี้ได้ โปราเณหิ อเนกาปิกตา ยา วณฺณนา ตาหิ จากฏีกาแม้เป็นอันมาก ที่ท่านพระโบราณาจารย์ ทั้งหลายได้รจนาไว้ ตสฺมา ฉะนั้น (ข้าพเจ้า) รจยิสฺสามิ จักรจนา สมาเสน โดยย่อ วณฺณนํ ซึ่งอรรถวรรณนา อหาปยํ ไม่ละทิ้ง ลีนปฺปทานิ บทที่ลี้ลับ ทั้งหลาย เอตฺถ ในปกรณ์นี้ *สาธิปฺปายํ วิภาเวนฺโต พร้อมทั้งอธิบายให้แจ่มแจ้ง*๒ อิติ แล ฯ *...* ๑ ถ้าตามโยชนา แปลเป็น ผู้ทรงพระกรุณา ฯลฯ บริสุทธิ์ *...* ๒ ลีนปฺปทานิ วิภาเวนฺโต ท�ำบทที่ลี้ลับทั้งหลายให้แจ่มแจ้ง
2 อารัมภคาถา เกริ่นน�ำ อาจริโย ท่านอาจารย์ (พระอนุรุทธาจารย์) อยํ นี้ อารภนฺโต เมื่อจะเริ่ม อิทํ ปกรณํ ปกรณ์ นี้ ปรมวิจิตฺตนยสมนฺนาคตํ ซึ่งประกอบด้วยนัยอันวิจิตร อย่างยิ่ง สกสมยสมยนฺตรคหณวิคฺคาหณสมตฺถ สามารถจะแหวกความยุ่งเหยิง ํ ในลัทธิของตน และลัทธิอื่น สุวิมลวิปุลปฺ าเวยฺยตฺติยชนนํ ซึ่งให้เกิดความ แกล้วกล้าแห่งปัญญาทั้งผ่องใสทั้งไพบูลย์ ปมํ ในเบื้องต้น สมฺมาสมฺพุทฺธนฺติ อาทิมาห กล่าวค�ำว่า สมฺมาสมฺพุทธ ดังนี้เป็นต้น ตาว ก่อน ทสฺเสตุ ก็เพื่อแสดง รตนตฺตยปณามาภิเธยฺยกรณปฺปการปกรณาภิธานปฺปโยชนานิ การนอบน้อม พระรัตนตรัย ความย่อ วิธีการแต่ง ชื่อปกรณ์ และประโยชน์ทั้งหลาย ฯ พรรณนาความคาถาเริ่มต้นปกรณ์ หิความจริง เอตฺถ ในคาถาเริ่มต้นปกรณ์นี้ สมฺมาสมฺพุทฺธํ ฯเปฯ อภิวาทิยาติ อิมินา ด้วยค�ำว่า สมฺมสมฺพุทฺธ ฯเปฯ อภิวาทิย นี้ รตนตฺตยปณาโม วุตฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวถึงการนอบน้อมพระรัตนตรัย ฯ อภิธมฺมตฺถสงฺคหนฺติ เอเตน ด้วยค�ำว่า อภิธมฺมตฺถสงฺคห นี้ อภิเธยฺยกรณปฺปการปกรณาภิธานานิ อภิธมฺมตฺถานํ อิธ สงฺคเหตพฺพภาวทสฺสเนน เตสํ อิมินา สมุทิเตน ปฏิปาเทตพฺพ ภาวทีปนโต เอกตฺถ สงฺคยฺหกถนาการทีปนโต อตฺถานุคตสมฺ าปริทีปนโต จ กล่าวความย่อ เพราะแสดงว่า อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม ทั้งหลายเหล่านั้น อันปกรณ์ที่รวบรวมขึ้นแล้วนี้ พึงให้ส�ำเร็จได้โดยแสดงว่าอรรถ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมทั้งหลาย อันท่านอาจารย์ พึงรวบรวมไว้ ในปกรณ์นี้ วิธีแต่ง เพราะเแสดงอาการคือการรวบรวมกล่าวไว้เป็นหมวด ๆ และ ชื่อปกรณ์ทั้งหลาย เพราะแสดงชื่อที่คล้อยตามความหมาย ฯ (อภิเธยฺย กล่าว ความย่อ อภิธมฺมตฺถานํ อิธ สงฺคเหตพฺพภาวทสฺสเนน เตสํ อิมินา สมุทิเตน ปฏิปาเทตพฺพภาวทีปนโต เพราะแสดงว่า อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ในพระอภิธรรมทั้งหลายเหล่านั้น อันปกรณ์ที่รวบรวมขึ้นแล้วนี้ พึงให้ส�ำเร็จได้
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 3 โดยแสดงว่าอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมทั้งหลาย อันท่านอาจารย์ พึงรวบรวมไว้ในปกรณ์นี้ กรณปฺปการ วิธีแต่ง เอกตฺถ สงฺคยฺหกถนาการทีปนโต เพราะเแสดงอาการคือการรวบรวมกล่าวไว้เป็นหมวด ๆ ปกรณาภิธานานิ จ และ ชื่อปกรณ์ทั้งหลาย อตฺถานุคตสมฺ าปริทีปนโต เพราะแสดงชื่อที่คล้อยตาม ความหมาย ฯ) ปน ส่วน ปโยชน ประโยชน์ ํ ทสฺสิตเมว เป็นอันท่านพระอนุรุทธาจารย์ แสดงไว้เสร็จแล้ว สงฺคหปเทน ด้วยบทว่าสังคหะ สามตฺถิยโต โดยเป็นบทที่มี ความสามารถ อภิธมฺมตฺถานเมกตฺถ สงฺคเห สติตทุคฺคหปริปุจฺฉาทิวเสน เตสํ สรูปาวโพธสฺส ตมฺมูลิกาย จ ทิฏฺธมฺมิกสมฺปรายิกตฺถสิทฺธิยา อนายาเสน สสิชฺฌนโต ํ เพราะเมื่อมีการรวบรวมอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม ทั้งหลายไว้เป็นหมวด ๆ ความเข้าใจสภาวะแห่งอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ในพระอภิธรรมเหล่านั้น ด้วยกิจมีการเรียน และการสอบถามอรรถที่พระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมนั้นเป็นต้น และความส�ำเร็จประโยชน์ในปัจจุบัน และประโยชน์ในสัมปรายภพ ซึ่งมีความเข้าใจสภาวะแห่งอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ในพระอภิธรรมนั้นเป็นมูลก็จะส�ำเร็จได้โดยไม่ยาก (-โต เพราะ -สงฺคเห สติ เมื่อมีการรวบรวม อภิธมฺมตฺถานํ อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม ทั้งหลายไว้ เอกตฺถ เป็นหมวด ๆ สรูปาวโพธสฺส ความเข้าใจสภาวะ เตสํ แห่งอรรถ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมเหล่านั้น ตทุคฺคหปริปุจฺฉาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกิจมีการเรียน และการสอบถามอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ใน พระอภิธรรมนั้นเป็นต้น ทิฏฺธมฺมิกสมฺปรายิกตฺถสิทฺธิยา จ และความส�ำเร็จ ประโยชน์ในปัจจุบันและประโยชน์สัมปรายภพ ตมฺมูลิกาย ซึ่งมีความเข้าใจ สภาวะแห่งอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรมนั้นเป็นมูล สสิชฺฌน- ํ ก็จะส�ำเร็จได้ อนายาเสน โดยไม่ยาก) ฯ ตตฺถ ในการาปกเหตุ มีการนอบน้อม พระรัตนตรัยเป็นต้นนั้น รตนตฺตยปณามปฺปโยชนํ ประโยชน์แห่งการนอบน้อม พระรัตนตรัย อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย ปปฺ เจนฺติ พรรณนาให้พิสดาร พหุธา โดยประการมาก ตาว ทีเดียว ฯ ปน แต่ว่า วิเสสโต โดยพิเศษแล้ว
4 อารัมภคาถา ปจฺจาสึสนฺติ ท่านหวังจะ อนฺตรายนิวารณ ป้องกันอันตราย (นั่นเอง) ฯ ํตถาหิ วุตฺตํ สงฺคหกาเรหิ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์ผู้รจนาสังคหะทั้งหลายกล่าวไว้ ตสฺสานุภาเวน หตนฺตราโยติว่า ด้วยอานุภาพแห่งบุญนั้น ขอข้าพเจ้าจงปราศจาก อันตราย ฯ หิความจริง รตนตฺตยปณาโม การนอบน้อมพระรัตนตรัย อตฺถโต ว่าโดยความหมาย กุสลเจตนา ก็คือกุศลเจตนา ปณามกิริยาภินิปฺผาทิกา ที่ให้ ส�ำเร็จกิริยา คือการนอบน้อม ฯ จ และ สา กุศลเจตนานั้น ทิฏฺธมฺมเวทนียภูตา เป็นเหตุให้เสวยผลในปัจจุบัน เขตฺตชฺฌาสยสมฺปทาหิ เพราะบริบูรณ์ด้วยเขตและ อัชฌาสัย วนฺทเนยฺยวนฺทกานํ แก่บุคคลทั้งหลายผู้ไหว้พระรัตนตรัยที่ควรไหว้ ปฏิพาหิตฺวา ย่อมป้องกัน อุปปีฬกอุปจฺเฉทกกมฺมานิ อุปปีฬกกรรมและ อุปัจเฉทกกรรม อนฺตรายกรานิ อันกระท�ำอันตราย ตนฺนิพฺพตฺติตวิปากสนฺตติยา ต่อความสืบต่อแห่งวิบากอันกุศลเจตนานั้นให้บังเกิดแล้ว อนุพลปฺปทานวเสน ด้วยอ�ำนาจช่วยสนับสนุน กมฺมสฺส แก่กรรม ยถาลทฺธสมฺปตฺตินิมิตฺตกสฺส ที่มีสมบัติ ตามที่ได้แล้วเป็นเครื่องหมาย แล้ว สาเธติ ให้ส�ำเร็จ อปฺปวตฺตึ ความไม่เป็นไป โรคาทิอนฺตรายานํ แห่งอันตรายมีโรคเป็นต้น ยถาธิปฺเปตตฺถสิทฺธิวิพนฺธกานํ อันจะขัดขวางความส�ำเร็จประโยชน์ตามที่ประสงค์ ตนฺนิทานาน อันมีอุปปีฬกกรรม ํ และอุปัจเฉทกกรรมนั้นเป็นเหตุ ฯ ตสฺมา ฉะนั้น รตนตฺตยปณามกรณ การกระท� ํำ การนอบน้อมพระรัตนตรัย ปกรณารมฺเภ ในการเริ่มต้นปกรณ์ ยถารทฺธปกรณสฺส อนนฺตราเยน ปริสมาปนตฺถฺ เจว ก็เพื่อปกรณ์ตามที่เริ่มแล้วจะส�ำเร็จลุล่วงไป โดยปราศจากอันตราย อุคฺคหณธารณาทิสสิชฺฌนตฺถฺ จ ํ และเพื่อความส�ำเร็จกิจ มีการเรียนและการทรงจ�ำเป็นต้น อนนฺตราเยน โดยปราศจากอันตราย โสตูนํ แก่นักศึกษาทั้งหลาย ปฏิปตฺติยา เพราะการปฏิบัติ วนฺทนาปุพฺพงฺคมาย มีการไหว้ เป็นประธาน ฯ ปน ส่วน อภิเธยฺยกถนํ การกล่าวความย่อไว้ วิทิตาภิเธยฺยสฺเสว คนฺถสฺส วิฺ ูหิอุคฺคหณาทิวเสน ปฏิปชฺชิตพฺพภาวโต ก็เพราะคัมภีร์ซึ่งมีความย่อปรากฏ ชัดเจนแล้วเท่านั้น อันวิญญูชนทั้งหลายจะพึงปฏิบัติตามได้ ด้วยอ�ำนาจกิจมีการ
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 5 เรียนเป็นต้น ฯ จ อนึ่ง กรณปฺปการปฺปโยชนสนฺทสฺสนานิ การแสดงวิธีการแต่ง และประโยชน์ไว้ โสตุชนานํ สมุสฺสาหชนนตฺถํ ก็เพื่อให้เกิดความขะมักเขม้น แก่นักเรียนทั้งหลาย ฯ ปน ส่วน อภิธานกถนํ การกล่าวชื่อไว้ โวหารสุขตฺถนฺติ ก็เพื่อสะดวกแก่การเรียกแล ฯ อยํ นี้ สมุทายตฺโถ เป็นความรวม เอตฺถ ในคาถา เริ่มต้นปกรณ์นั้น ฯ ปน ส่วน อวยวตฺโถ ความเรียง อยํ มีดังต่อไปนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า (ข้าพเจ้า) อภิวาทิย ขออภิวาท สมฺมาสมฺพุทฺธํ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า อตุลํ ผู้ทรงพระคุณอันชั่งไม่ได้ สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ พร้อมทั้งพระสัทธรรมและหมู่อันสูงสุดแล้ว ภาสิสฺสํ จักกล่าว อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ปกรณ์ ชื่อว่าอภิธัมมัตถสังคหะ ฯ ขยายความบท สัมมาสัมพุทธะ ตตฺถ พึงทราบวิเคราะห์ในคาถาเริ่มต้นปกรณ์นั้น ดังต่อไปนี้ *(โย ภควา พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด) อภิสมฺพุทฺโธ ตรัสรู้พร้อมเฉพาะแล้ว สพฺพธมฺเม ซึ่งธรรมทั้งปวงทั้งหลาย สมฺมา (จ) โดยชอบด้วย สามฺ จ ด้วยพระองค์เองด้วย อิติ เหตุนั้น (โส ภควา) พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น สมฺมาสมฺพุทฺโธ จึงทรงพระนามว่า สัมมาสัมพุทธะ* ฯ หิ ความจริง โส พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น พุชฺฌิ ตรัสรู้แล้ว อฺ าสิ คือได้ทรงรู้ทั่วถึงแล้ว ธมฺมชาตํ ซึ่งธรรม สงฺขตาสงฺขตเภทํ ที่แยกเป็นสังขตธรรมและอสังขตธรรม สกลมฺปิ แม้ทั้งสิ้น ยาถาวสรสลกฺขณปฏิเวธวเสน ด้วยอ�ำนาจรู้แจ้งลักษณะ พร้อมทั้งกิจตาม ความเป็นจริง สมฺมา ชื่อว่าโดยชอบ สยมฺภุาเณน ด้วยพระสยัมภูญาณ วิจิโตปจิตปารมิตาสมฺภูเตน ที่เกิดพร้อมจากความที่พระองค์ทรงสั่งสม อบรม พระบารมีแล้ว สยํ ด้วยพระองค์เอง สามํ ชื่อว่า ด้วยพระองค์เอง ฯ ยถาห *...* หรือจะแปลว่า (บุคคลใด) อภิสมฺพุทฺโธ รู้พร้อมเฉพาะแล้ว สพฺพธมฺเม ซึ่งธรรมทั้งปวง ทั้งหลาย สมฺมา (จ) โดยชอบด้วย สามฺ จ ด้วยตนเองด้วย อิติ เหตุนั้น (บุคคลนั้น สมฺมาสมฺพุทฺโธ จึงชื่อว่า สัมมาสัมพุทธะ ภควา ได้แก่พระผู้มีพระภาคเจ้า
6 อารัมภคาถา สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ สยํ อภิฺ าย กมุทฺทิเสยฺยนฺติ ว่า เรารู้ ยิ่งเอง จะพึงอ้างใครเล่า ดังนี้เป็นต้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ พุธธาตุสฺส ชาครณวิกสนตฺเถสุปิ ปวตฺตนโต เพราะพุธธาตุใช้ในอรรถว่าตื่นก็มี ในอรรถว่า เบิกบาน ก็มี อตฺโถ จึงมีอธิบายความ อิติ ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ปฏิพุทฺโธ ทรงตื่นเฉพาะแล้ว สมฺมา โดยชอบ สามฺ จ และด้วยพระองค์เอง อนปฏิโพธิโต Ú หุตฺวา คือ มิใช่บุคคลอื่นปลุกให้ตื่น วิคโต ได้แก่ ทรงปราศจาก สวาสนสมฺโมหนิทฺทาย ความหลับคือความลุ่มหลงพร้อมทั้งวาสนา อจฺจนฺตํ อย่างเด็ดขาด สยเมว ด้วยพระองค์เองทีเดียว วิกสิโต ทรงเบิกบานแล้ว วิกาสมนุปฺปตฺโต คือทรงถึงความเบิกบานตามล�ำดับ สมฺมา โดยชอบ สยเมว จ และด้วยพระองค์เอง อปริมิตคุณคณาลงฺกตสพฺพฺ ุ ตาณปฺปตฺติยา โดยบรรลุ พระสัพพัญญุตญาณ อันประดับด้วยหมู่คุณอันนับไม่ถ้วน อคฺคมคฺคาณสมาคเมน เพราะบรรลุอรหัตตมรรคญาณ วิกสิตมิว ปทุมํ เปรียบเสมือนดอกประทุมที่แย้มบาน ปรมรุจิรสิริโสภคฺคปฺปตฺติยา โดยถึงความงามอันเลิศว่ามีสิริอันน่าชอบใจอย่างยิ่ง ทินกรกิรณสมาคเมน เพราะการต้องรัศมีพระอาทิตย์ ฉะนั้น ฯ ขยายความบท อตุละ ยถาวุตฺตวจนตฺถโยเคปิ แม้เมื่อจะมีการประกอบเนื้อความแห่งค�ำตามที่ กล่าวแล้ว สมฺมาสมฺพุทฺธสทฺทสฺส ภควติสมฺ าวเสน ปวตฺตตฺตา เพราะศัพท์ว่า สัมมาสัมพุทธะ ใช้ในพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยอ�ำนาจเป็นพระนาม วิเสเสติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงสดุดีพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นให้พิเศษออกไป อตุลนฺติ อิมินา ด้วยค�ำว่า อตุล นี้ ฯ สมฺมิโต บุคคลผู้อันเขาเปรียบเทียบได้ ตุลาย ด้วยปัญญาเป็นเครื่องพิจารณา ตุโลฺย ชื่อว่าตุลยะ ฯ โสเยว ตุลยะนั้น นั่นเอง วุตฺโต ท่านอาจารย์ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) กล่าว ตุโลติ ว่า ตุละ ยการโลปวเสน ด้วยอ�ำนาจลบ ย เสีย ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ อการปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจ อ ปัจจัย สมฺมิตตฺเถ ใช้ในความหมายว่า เปรียบเทียบ สมฺมิโต
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 7 บุคคลอันเขาเปรียบเทียบได้ ตุลาย ด้วยปัญญาเป็นเครื่องเปรียบเทียบ ตุโล ชื่อว่า ตุละ ฯ ตุโล พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นบุคคลอันบุคคลเปรียบเทียบได้ด้วยปัญญา เป็นเครื่องเปรียบเทียบ น หามิได้ อตุโล จึงทรงพระนามว่า อตุละ อสทิโส คือทรงเป็นผู้ไม่เหมือน เกนจิ กับใคร ๆ คุเณหิ ด้วยพระคุณทั้งหลาย สีลาทีหิ มีศีลเป็นต้น วา อีกอย่างหนึ่ง ตุโล บุคคลอันเขาเปรียบเทียบได้ ด้วยปัญญา เป็นเครื่องเปรียบเทียบ สทิโส คือบุคคลที่เหมือนกัน นตฺถิ ไม่มี เอตสฺส แก่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น อิติ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น อตุโล ทรงพระนามว่าอตุละ อคฺคปุคฺคลภาวโต เพราะพระองค์ ทรงเป็นบุคคลชั้นยอด โลเก ในโลก สเทวเก พร้อมทั้งเทวโลก ฯ ยถาห สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สตฺตา เหล่าสัตว์ อปทา วา ที่ไม่มีเท้าก็ตาม ทฺวิปทา วา สองเท้าก็ตาม จตุปฺปทา วา สี่เท้าก็ตาม ยาวตา มีประมาณเพียงใด ตถาคโต ตถาคต อคฺคมกฺขายติ ปรากฏว่าเลิศ เตสํ กว่าสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น (ตาวตา) มีประมาณเพียงนั้น อิติอาทิ ดังนี้เป็นต้น ฯ สรุปการสดุดีพระผู้มีพระภาคเจ้า จ ก็ เอตฺตาวตา ด้วยถ้อยค�ำมีประมาณเท่านี้ กตา โหติ ย่อมเป็นอัน ท่านพระอนุรุทธาจารย์กระท�ำ โถมนา การสดุดี ภควโต พระผู้มีพระภาคเจ้า ตีหากาเรหิ ด้วยอาการ ๓ อย่าง เหตุผลสตฺตูปการสมฺปทาวเสน คือ เหตุสัมปทา ๑ ผลสัมปทา ๑ สัตตูปการสัมปทา ๑ ฯ [อธิบายสัมปทา ๓] ตตฺถ ในบรรดาสัมปทาทั้ง ๓ ประการนั้น เหตุสมฺปทา นาม ที่ชื่อว่า เหตุสัมปทา มหากรุณาสมาโยโค ได้แก ่ความที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรง ประกอบพร้อมด้วยพระมหากรุณา โพธิสมฺภารสมฺภรณฺ จ และความอบรม
8 อารัมภคาถา พระโพธิสมภาร ฯ ปน ส่วน ผลสมฺปทา ผลสัมปทา จตุพฺพิธา มี ๔ อย่าง าณปหานานุภาวรูปกายสมฺปทาวเสน คือ ญาณสัมปทา ๑ ปหานสัมปทา ๑ อานุภาวสัมปทา ๑ รูปกายสัมปทา ๑ ฯ ตตฺถ บรรดาผลสัมปทา ๔ อย่างนั้น มคฺคาณํ มัคคญาณ สพฺพฺญุตาณปทฏฺานํ อันเป็นปทัฏฐานแห ่ง พระสัพพัญญุตญาณ ทสพลาทิาณานิจ และพระญาณมีทสพลญาณเป็นต้น ตมฺมูลกานิ ซึ่งมีมัคคญาณนั้นเป็นมูล าณสมฺปทา นาม ชื่อว่าญาณสัมปทาน ฯ สวาสนสกลสงฺกิเลสานมจฺจนฺตมนุปฺปาทธมฺมตาปาทนํ การท�ำสังกิเลสทั้งสิ้น พร้อมทั้งวาสนา ให้ถึงความไม่เกิดขึ้นอย่างเด็ดขาดเป็นธรรมดา ปหานสมฺปทา นาม ชื่อว่า ปหานสัมปทา ฯ อาธิปจฺจํ ความเป็นใหญ่ ยถิจฺฉิตนิปฺผาทเน ในการบันดาลให้ส�ำเร็จได้ตามที่ประสงค์ อานุภาวสมฺปทา นาม ชื่อว ่า อานุภาวสัมปทา ฯ ปน ส่วน อตฺตภาวสมฺปตฺติ ความสมบูรณ์แห่งพระอัตภาพ ลกฺขณานุพฺยฺ ชนปฏิมณฺฑิตา ที่ประดับด้วยพระลักษณะ (๓๒ ประการ) และพระอนุพยัญชนะ (๘๐ ประการ) สกลโลกนยนาภิเสกภูตา อันเป็นที่ น่าเพลิดเพลินเจริญนัยนาของชาวโลกทั้งสิ้น รูปกายสมฺปทา นาม ชื่อว่า รูปกายสัมปทา ฯ ปน ส่วน สตฺตูปกาโร สัตตูปการสัมปทา ทุวิโธ มี ๒ อย่าง อาสยปฺปโยควเสน คือ อาสยะ ๑ ปโยคะ ๑ ฯ ตตฺถ บรรดาสัตตูปการสัมปทาทั้ง ๒ อย่างนั้น เทวทตฺตาทีสุวิโรธิสตฺเตสุปิ นิจฺจํ หิตชฺฌาสยตา ภาวะที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีพระหฤทัยเกื้อกูลเป็นนิตย์ แม้ในเหล่าสัตว์ผู้มีความผิดมีพระเทวทัตเป็นต้น อินฺทฺริยปริปากกาลาคมนฺ จ และการรอคอยเวลาแก่กล้าแห่งอินทรีย์ อปริปากปฺ ินฺทฺริยานํ ของเหล่าสัตว์ ผู้มีปัญญินทรีย์ยังไม ่แก ่กล้า อาสโย นาม ชื่อว ่าอาสยะ ฯ ปน ส ่วน ลาภสกฺการาทินิรเปกฺขจิตฺตสฺส สพฺพทุกฺขนิยฺยานิกธมฺมเทสนา ความที่ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงมีพระหฤทัยมิได้เพ่งเล็งถึงลาภและสักการะเป็นต้น ทรงแสดงธรรมอันจะน�ำสัตว์ออกจากทุกข์ทั้งปวง ยานตฺตยมุเขน โดยหัวข้อ คือ ยาน ๓ ตทฺ สตฺตานํ แก่เหล่าสัตว์อื่นจากสัตว์ผู้มีความผิด มีพระเทวทัตต์
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 9 เป็นต้นนั้น ปโยโค นาม ชื่อว่า ปโยคะ ฯ ตตฺถ บรรดาสัมปทาทั้งหลาย มีเหตุสัมปทาเป็นต้นนั้น เทฺว ผลสมฺปทา ผลสัมปทา ๒ ประการ ปุริมา ข้างต้น สมฺมาสมฺพุทฺธนฺติ อิมินา ทสฺสิตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์แสดงแล้ว ด้วยค�ำว่า สมฺมาสมฺพุทฺธํ นี้ ฯ ปน ส่วน อิตรา เทฺว ผลสัมปทา ๒ ประการนอกนี้ สตฺตูปการสมฺปทา จ และสัตตูปการสัมปทา ตถา ก็เหมือนกัน อตุลนฺติ เอเตน คือ แสดงแล้วด้วยค�ำว่า อตุลํ นี้ ฯ ปน อนึ่ง เหตุสมฺปทา เหตุสัมปทา ตทุปายภูตา อันเป็นอุบายเข้าถึงผล สัมปทาและสัตตูปการสัมปทาทั้ง ๒ นั้น ทสฺสิตา เป็นอันท่านพระอนุรุทธาจารย์ แสดงแล้ว ทฺวีหิปิ แม้ด้วยบททั้ง ๒ สามตฺถิยโต โดยเป็นบทที่มีความสามารถ ตทุภยสมฺปตฺตีนมสมฺภวโต เพราะความถึงพร้อมแห่งสัมปทาทั้ง ๒ นั้น จะเกิดมี ไม่ได้ ตถาวิธเหตุพฺยติเรเกน โดยเว้นจากเหตุสัมปทาเช่นนั้นเสีย อเหตุกตฺเต สพฺพตฺถ ตาสํ สมฺภวปฺปสงฺคโต จ และเพราะเมื่อผลสัมปทาและสัตตูปการสัมปทา ทั้ง ๒ นั้น ไม่มีเหตุ (พึงเกิดได้เอง) ผลสัมปทาและสัตตูปการสัมปทาทั้ง ๒ เหล่านั้น ก็จะมีความเกี่ยวข้องกับความเกิดมีได้ ในบุคคลทุกจ�ำพวก ฯ ขยายความบท สสัทธัมมคณุตตมะ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วนฺทิตฺวา ครั้นกราบไหว้ พุทฺธรตนํ พระพุทธรัตนะ ตํ นั้น ติวิธาวตฺถาสงฺคหิตโถมนาปุพฺพงฺคมํ ซึ่งมีการสดุดีที่ประมวลไว้ ด้วย ข้อก�ำหนด ๓ อย่างเป็นเบื้องต้น เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ อารภนฺโต เมื่อจะเริ่ม ปณาม การนอบน้อม ํเสสรตนานมฺปิ แม้พระรัตนะที่เหลือ อาห สสทฺธมฺมคณุตฺตมนฺติ จึงกล่าวว่า สสทฺธมฺมคณุตฺตมํ ดังนี้เป็นต้น ฯ หิ ความจริง คุณีภูตานมฺปิธมฺมสงฺฆานํ อภิวาเทตพฺพภาโว ภาวะที่พระธรรม และพระสงฆ์ แม้เป็นผู้มีพระคุณอันพุทธศาสนิกชนพึงกราบไหว้ วิฺ ายติ บัณฑิตย่อมรู้ได้ สหโยเคน ด้วยการประกอบกับ สห ศัพท์ ยถา สปุตฺตทาโร อาคโตติ เปรียบเสมือนเมื่อพูดว่า เขามาพร้อมกับลูกและเมีย ปุตฺตทารสฺสาปิ
10 อารัมภคาถา อาคมนนฺติ ก็รู้ได้ว่า แม้ลูกและเมีย (ของเขา) ก็มาด้วย ฉะนั้น ฯ ตตฺถ บรรดาพระธรรมและพระสงฆ์นั้น ธมฺโม สภาวะที่ชื่อว่าธรรม อตฺตานํ ธาเรนฺเต จตูสุ อปาเยสุ วฏฺฏทุกฺเขสุจ อปตมาเน กตฺวา ธาเรตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า ย่อมทรงเหล่าสัตว์ผู้ทรงตนไว้ ไม่ให้ตกไปในอบายภูมิ ๔ และในวัฏฏทุกข์ ทั้งหลาย ฯ ธมฺโม พระธรรม นววิโธ มี ๙ ประการ จตุมคฺคผลนิพฺพานวเสน คือ มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ วา หรือว่า ปริยตฺติยา สห รวมกับปริยัติธรรม ทสวิโธ ก็มี ๑๐ ประการ ฯ จ ปน ก็แล ธารณํ ความด�ำรงอยู่ เอตสฺส แห่งพระธรรมนั้น อปายาทินิพฺพตฺตกกิเลสวิทฺธสนํ ก็คือ ความก� ํำจัดกิเลสที่ยังสัตว์ให้ บังเกิดในอบายภูมิเป็นต้น ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย อิติ ว่า จ ก็ ตํ ความก�ำจัดกิเลสที่ยังสัตว์ให้บังเกิดในอบายภูมิเป็นต้นนั้น นิปฺปริยายโต ว่าโดยตรง อริยมคฺคสฺส ลพฺภติ ได้แก่ อริยมรรค กิเลสสมุจฺเฉทกภาวโต โดยเป็นสภาวะตัดกิเลสได้เด็ดขาด นิพฺพานสฺส ลพฺภติ จ และได้แก่พระนิพพาน ตสฺส ตทตฺถสิทฺธิเหตุตาย โดยอริยมรรคนั้นเป็นเหตุส�ำเร็จประโยชน์ กล่าวคือ ความก�ำจัดกิเลสนั้น นิพฺพานสฺส อารมฺมณภาเวน โดยมีพระนิพพานเป็นอารมณ์ ปน แต่ว่า ปริยายโต โดยอ้อม อุภินฺนมฺปิ ลพฺภติ ย่อมได้แก่ผลและปริยัติ แม้ทั้งสอง ผลสฺส กิเลสานํ ปฏิปฺปสฺสมฺภนวเสน มคฺคานุคุณปฺปวตฺติโต โดยผล มีความเป็นไปแห่งคุณที่คล้อยตามมรรค ด้วยอ�ำนาจเป็นเครื่องสงบระงับกิเลส ทั้งหลายได้ ปริยตฺติยา ตทธิคมเหตุตาย จ และโดยที่ปริยัติธรรมเป็นเหตุบรรลุถึง มรรคผลและพระนิพพานนั้น ฯ ธมฺโม พระธรรม สตํ ของผู้สงบทั้งหลาย สปฺปุริสานํ คือสัปบุรุษทั้งหลาย อริยปุคฺคลานํ ได้แก่ พระอริยบุคคลทั้งหลาย อิติ เพราะเหตุนั้น สทฺธมฺโม ชื่อว่าสัทธรรม วา อีกอย่างหนึ่ง ธมฺโม พระธรรม สนฺโต ที่มีอยู่ สํวิชฺชมาโน คือ ปรากฏอยู่ น ติตฺถิยปริกปฺปิโต อตฺตา วิย ปรมตฺถโต อวิชฺชมาโน หาใช่ไม่มีอยู่ โดยปรมัตถ์ ดุจอัตตาที่พวกเดียรถีย์ พากันก�ำหนด ฉะนั้น ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น สทฺธมฺโม จึงชื่อว่าสัทธรรม วา อีกอย่างหนึ่ง ธมฺโม ธรรม สนฺโต ที่บัณฑิตยกย่อง ปสฏฺโ คือที่บัณฑิต
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 11 สรรเสริญ สฺวากฺขาตตาทิคุณโยคโต เพราะประกอบด้วยคุณมีความเป็นธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้วเป็นต้น น พาหิรกธมฺโม วิย เอกนฺตนินฺทิโต หาเป็นธรรมที่น่าติเตียนโดยส่วนเดียว ดุจธรรมของพาหิรกชน ฉะนั้น ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น สทฺธมฺโม จึงชื่อว่าสัทธรรม ฯ คโณ จ โส หมู่นั้นด้วย คโณ ชื่อว่าเป็นหมู่ สมูหภาวโต เพราะเป็นหมู่ อริยปุคฺคลานํ ของพระอริยบุคคล ทั้งหลาย อุตฺตโม จ ชื่อว่าสูงสุดด้วย สุปฏิปนฺนตาทิคุณวิเสสโยคโต เพราะ ประกอบด้วยคุณวิเศษ มีความเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น คณุตฺตโม จึงชื่อว่าคณุตตมะ วา อีกอย่างหนึ่ง อุตฺตโม หมู่ที่สูงสุด คณานํ กว่าหมู่ทั้งหลาย วา หรือว่า คเณสุ ในหมู่ทั้งหลาย เทวมนุสฺสาทิสมูเหสุ คือในหมู่เทวดาและมนุษย์เป็นต้น ยถาวุตฺตคุณวเสเนว ด้วยอ�ำนาจแห่งคุณ ตามที่กล่าวแล้วนั่นแหละ อิติ เพราะเหตุนั้น คณุตฺตโม จึงชื่อว่าคณุตตมะ ฯ สห สทฺธมฺเมน คณุตฺตเมน จ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด เป็นไป พร้อมกับพระสัทธรรมและหมู่อันสูงสุด อิติ เพราะเหตุนั้น สสทฺธมฺมคณุตฺตโม พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรงพระนามว่า สสัทธรรมคณุตตมะ ฯ ต ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ํสสทฺธมฺมคณุตฺตม พร้อมทั้งพระสัทธรรม ํ และหมู่อันสูงสุด ฯ ขยายความบท อภิวาทิยะ ภาสิสสัง อภิวาทิยาติ บทว่า อภิวาทิย วนฺทิตฺวา ได้แก่ ไหว้ วิเสสโต โดยพิเศษ ฯ อตฺโถ อธิบาย อิติ ว่า วนฺทิตฺวา ไหว้ กายวจีมโนทฺวาเรหิ ด้วยกายทวาร วจีทวาร และมโนทวาร สกฺกจฺจํ โดยเคารพ อาทเรน คือ โดยเอื้อเฟื้อ ภยลาภกุลาจา ราทิรหิเตน *เว้นความกลัว ลาภและมารยาทประจ�ำสกุลเป็นต้น* ฯ ภาสิสฺสนฺติ บทว่า ภาสิสฺส กเถสฺสามิ แปลว่า จักกล่าว ฯ *...* หรือจะแปลว่า เว้นความกลัว ลาภตระกูลและมารยาทเป็นต้น
12 อารัมภคาถา ขยายความบท อภิธัมมัตถสังคหะ นิพฺพตฺติตปรมตฺถภาเวน อภิวิสิฏฺา ธมฺมา เอตฺถาติอาทินา อภิธมฺโม ธมฺมสงฺคณิอาทิสตฺตปฺปกรณํ อภิธมฺมปิฏกํ ตตฺถ วุตฺตา อตฺถา อภิธมฺมตฺถา เต สงฺคยฺหนฺติ เอตฺถ เอเตนาติ วา อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ปกรณ์ ชื่อว่า อภิธัมมัตถสังคหะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่หรือเป็นเครื่องอันท่านอาจารย์ รวบรวมอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในคัมภีร์ที่ชื่อว่า อภิธรรม เพราะอรรถ วิเคราะห์เป็นต้นว่า เป็นที่อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมทั้งหลาย ที่พิเศษ อย่างยิ่งไว้ โดยเป็นปรมัตถธรรม อันพระองค์นั้นทรงให้บังเกิดแล้ว ได้แก่ พระอภิธรรมปิฎก ๗ คัมภีร์ มีพระธรรมสังคณีเป็นต้น ฯ (อภิธมฺมตฺถสงฺคหํ ปกรณ์ ชื่อว่า อภิธัมมัตถสังคหะ เอตฺถ เอเตนาติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่หรือเป็นเครื่อง สงฺคยฺหนฺติ อันท่านอาจารย์รวบรวม วุตฺตา อตฺถา อภิธมฺมตฺถา เต อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ตตฺถ ใน อภิธมฺโม คัมภีร์ ที่ชื่อว่า อภิธรรม เอตฺถาติอาทินา เพราะอรรถวิเคราะห์เป็นต้นว่า เป็นที่ อภิวิ สิฏฺา ธมฺมา อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสธรรมทั้งหลาย ที่พิเศษอย่างยิ่งไว้ นิพฺพตฺ ติตปรมตฺถภาเวน โดยเป็นปรมัตถธรรม อันพระองค์นั้นทรงให้บังเกิดแล้ว ธมฺม สงฺคณิอาทิสตฺตปฺปกรณํ อภิธมฺมปิฏกํ ได้แก่ พระอภิธรรมปิฎก ๗ คัมภีร์ มีพระ ธรรมสังคณีเป็นต้น ฯ) (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วิธาย ครั้นท�ำ รตนตฺตยปณามาทิกํ บุรพกิจ มีการนอบน้อมพระรัตนตรัยเป็นต้น ยถาธิปฺเปตปฺปโยชนนิมิตฺตํ ซึ่งมีประโยชน์ ตามที่ประสงค์เป็นเครื่องหมาย เอวํ ตาว อย่างนี้ก่อนแล้ว อิทํ ปกรณํ ปกรณ์นี้ ปฏปิยติ ท่านอาจารย์ตั้งไว้ สงฺคหนวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นเครื่องรวบรวม อภิธมฺมตฺถานํ อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม เยสํ เหล่าใด อิทานิ บัดนี้ เต อุทฺทิสนฺโต เมื่อจะยกอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ในพระอภิธรรมเหล่านั้น ขึ้นแสดง สงฺเขปโต โดยสังเขป ตาว ก่อน ตตฺถ วุตฺตาติอาทิอาห จึงกล่าวค�ำว่า ตตฺถ วุตฺตา ดังนี้เป็นต้น ฯ
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 13 อธิบายอรรถ ๔ อย่างแห่งพระอภิธรรม โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อภิธมฺมตฺถา อรรถแห่งพระอภิธรรม วุตฺตา ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ตตฺถ ในปกรณ์นั้น ตสฺมึ อภิธมฺเม คือ ในพระอภิธรรมนั้น สพฺพถา โดยประการทั้งปวง กุสลาทิวเสน คือด้วยอ�ำนาจ แห่งธรรมมีกุศลธรรมเป็นต้น ขนฺธาทิวเสน จ และด้วยอ�ำนาจแห่งสภาวธรรม มีขันธ์เป็นต้น ปรมตฺถโต ว่าโดยปรมัตถ์ นิพฺพตฺติตปรมตฺถวเสน คือด้วยอ�ำนาจ ปรมัตถ์ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงให้บังเกิดแล้ว สมฺมตึ เปตฺวา เว้นสมมติเสีย ิตา ด�ำรงอยู่ จตุธา โดยส่วน ๔ จตูหากาเรหิ คือโดยอาการ ๔ เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ จิตฺตํ จิต วิฺ าณกฺขนฺโธ ได้แก่ วิญญาณขันธ์ เจตสิกํ เจตสิก เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยํ ได้แก่ ขันธ์ ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น รูปํ รูป รูปกฺขนฺโธ ได้แก่ รูปขันธ์ ภูตุปาทายเภทภินฺโน แยกประเภทเป็นภูตรูปและอุปาทายรูป นิพฺพานํ นิพพาน อสงฺขตธมฺโม ได้แก่ อสังขตธรรม มคฺคผลานมาลมฺพนภูโต ซึ่งเป็นอารมณ์ของมรรคจิตและผลจิต ฯ วิเคราะห์ปรมัตถธรรม ๔ อย่าง ตตฺถ พึงทราบวิเคราะห์ ในคาถาที่ ๒ นั้น ดังต่อไปนี้ อตฺโถ อรรถ ปรโม อย่างยอดเยี่ยม อุตฺตโม คือสูงสุด อวิปริโต ได้แก่ ไม่วิปริต วา หรือว่า อตฺโถ อรรถ โคจโร คืออารมณ์ าณสฺส แห่งญาณ ปรมสฺส ที่ยอดเยี่ยม อุตฺตมสฺส คือสูงสุด อิติ เพราะเหตุนั้น ปรมตฺโถ จึงชื่อว่าปรมัตถ์ ฯ ตโต โดยปรมัตถ์นั้น ฯ จินฺเตตีติจิตฺตํ อารมฺมณํ วิชานาตีติอตฺโถ ฯ ธรรมชาติใด ย่อมคิด อธิบาย ความว่า ย่อมรู้แจ้งอารมณ์ เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตินั้น ชื่อว่า จิต ฯ ยถาห วิสยวิชานนลกฺขณํ จิตฺตนฺติสมจริงดังพระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ว่า จิตมีลักษณะ รู้แจ้งอารมณ์ ดังนี้ ฯ หิ ความจริง สติปิ นิสฺสยสมนนฺตราทิปจฺจเย แม้เมื่อ นิสสยปัจจัยและสมนันตรปัจจัยเป็นต้น ก็ยังมีอยู่ จิตฺตํ จิต อารมฺมเณน วินา เว้นจากอารมณ์ น อุปฺปชฺชติ ก็เกิดขึ้นไม่ได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส ตลกฺขณตํา
14 อารัมภคาถา วุตฺตา ท่านพระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวว่า จิตนั้นมีลักษณะรู้แจ้งอารมณ์นั้น ฯ เตน ด้วยค�ำว่า จิตมีลักษณะรู้แจ้งอารมณ์นั้น ดังนี้นั้น ปฏิกฺขิตฺตํ โหติย่อมเป็น อันท่านอาจารย์คัดค้าน นิราลมฺพนวาทิมตํ มติของท่านผู้มีปกติกล่าวว่า จิตไม่มี อารมณ์ ฯ วา หรือว่า สมฺปยุตฺตธมฺมา สัมปยุตธรรมทั้งหลาย จินฺเตนฺติ ย่อมคิด เอเตน ด้วยธรรมชาตินี้ กรณภูเตน อันเป็นเครื่องกระท�ำ อิติ เพราะเหตุนั้น จิตฺต ธรรมชาตินั้น ชื่อว่าจิต ฯ ํอถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ จินฺตนมตฺต เพียงความคิด ํ จิตฺตํ ก็ชื่อว่าจิต ฯ หิความจริง ยถาปจฺจยํ ปวตฺติมตฺตเมว เพียงความเป็นไป ตามปัจจัยนั่นแหละ ยทิทํ นี้ คือ สภาวธมฺโม นาม ชื่อว่า สภาวธรรม ฯ จ ก็ เอวํ กตฺวา เพราะอธิบายความดังกล่าวมาอย่างนี้ นิปฺปริยายโต ว่าโดยตรง สพฺเพสมฺปิ ปรมตฺถธมฺมานํ ภาวสาธนเมว ลพฺภติ ปรมัตถธรรมแม้ทั้งหมด บัณฑิตย่อมได้ความเป็นภาวสาธนะเท่านั้น ฯ ปน ส่วน นิพฺพจนํ รูปวิเคราะห์ กตฺตุกรณวเสน ที่เป็นกัตตุสาธนะและเป็นกรณสาธนะ ปริยายกถนนฺติทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นว่า เป็นการกล่าวโดยอ้อม ฯ หิ ความจริง ธมฺมานํ กตฺตุภาโว ภาวะที่ธรรมทั้งหลายเป็นกัตตา สกสกกิจฺเจสุ อตฺตปฺปธานตาสมาโรปเนน โดยยกตนขึ้นเป็นประธานในหน้าที่ของตน ๆ ปฏิปาเทตพฺพธมฺมสฺส กรณตฺตญฺจ และภาวะที่ธรรมอันบัณฑิตจะพึงให้ส�ำเร็จเป็นกรณะ กตฺตุภาวสมาโรปเนน โดยยกภาวะที่ตนเป็นกัตตาขึ้น สหชาตธมฺมสมูเห ในหมวดสหชาตธรรม ตทนุกุลภาเวน ด้วยภาวะที่คล้อยตามกัตตานั้น ปริยายโตว ลพฺภติ ย่อมได้ โดยอ้อมทั้งนั้น ฯ ปน ก็ ตถานิทสฺสนํ การแสดงเช่นนั้น เวทิตพฺพํ บัณฑิต พึงทราบ อิติ ว่า ธมฺมสภาววินิมุตฺตสฺส กตฺตาทิโน อภาวปริทีปนตฺถํ เพื่อจะ แสดงว่า กัตตาเป็นต้น ที่พ้นไปจากสภาวธรรม ไม่มี ฯ จิตฺตสทฺทสฺส อตฺถํ ปปฺ เจนฺติ ท่านอาจารย์ทั้งหลายย่อมพรรณนา อรรถแห่งจิตตศัพท์ให้พิสดาร วิจิตฺตกรณาทิโตปิแม้โดยอรรถมีความกระท�ำให้วิจิตรเป็นต้น ฯ ปน ก็ เอตถ ในอธิการนี้ สงฺคโห มีความย่อ อยํ ดังต่อไปนี้
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 15 จิตฺตํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าจิต วิจิตฺตกรณา เพราะกระท�ำให้วิจิตร อตฺตโน จิตฺตตาย วา หรือว่า เพราะภาวะที่ตนวิจิตร จิตฺตํ กมฺมกิเล เสหิวา หรือว่า เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันกรรมและกิเลสทั้งหลาย สั่งสมไว้ จิตฺตํ ตายติวา ตถา ก็หรือว่า เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมรักษาตนอันกรรมและกิเลสสั่งสมไว้ จิโนติ อตฺตสนฺตานํ วา หรือว่า เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมสั่งสมความสืบต่อแห่งตน วิจิตฺตารมฺมณนฺติ วา หรือว่า เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีอารมณ์ อันวิจิตร ดังนี้ ฯ เจตสิ ภวํ ธรรมชาตใดมีในจิต ตทายตฺตวุตฺติตาย โดยมีความเป็นไปเนื่องกับ จิตนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น เจตสิกํ ธรรมชาตนั้น ชื่อว่าเจตสิก ฯ หิ ความจริง ตํ เจตสิกนั้น จิตฺเตน วินา เว้นจากจิตเสีย น อารมฺมณคฺคหณสมตฺถํ ก็ไม่ สามารถจะรับอารมณ์ได้ อสติจิตฺเต สพฺเพน สพฺพํ อนุปฺปชฺชนโต เพราะเมื่อ ไม่มีจิต เจตสิกก็เกิดขึ้นไม่ได้ทั้งหมด ฯ ปน ส่วน จิตฺตํ จิต เกนจิ เจตสิเกน วินาปิแม้จะเว้นจากเจตสิกบางประการเสีย ปวตฺตติ ก็ยังเป็นไป อารมฺมเณ ในอารมณ์ได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ตเมว เจตสิกนั้นเท่านั้น จิตฺตายตฺตวุตฺติกํนาม ชื่อว่า มีความเป็นไปเนื่องกับจิต ฯ เตนาห ภควา เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสไว้ อิติ ว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นประธาน ดังนี้ เป็นต้น ฯ (ตทายตฺตวุตฺติตายาติ) เอเตน ด้วยบท ตทายตฺตวุตฺติตาย นี้ สุขาทีนมเจตนตฺตนิจฺจตฺตาทโย วิปฺปฏิปตฺติโยปิ ปฏิกฺขิตฺตา ย่อมเป็นอันท่าน พระอนุรุทธาจารย์ คัดค้านความปฏิบัติผิด มีความที่เวทนา ๕ ประการ มีสุขเวทนา เป็นต้น ไม่มีจิต และความที่เวทนา ๕ ประการมีสุขเวทนาเป็นต้น เป็นธรรมชาติ เที่ยงแท้เป็นต้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง นิยุตฺตํ ธรรมชาตที่ประกอบ เจตสิ ในจิต เจตสิกํ ชื่อว่า เจตสิก ฯ
16 อารัมภคาถา [ลักษณะรูปและนิพพาน] รุปฺปตีติ รูปํ สีตุณฺหาทิวิโรธิปจฺจเยหิ วิการมาปชฺชติ อาปาทิยตีติ วา อตฺโถ ธรรมชาตใด ย่อมเปลี่ยนแปร อธิบายว่า ย่อมถึงความเปลี่ยนแปร ด้วยปัจจัยที่เป็นข้าศึกมีความหนาวและความร้อนเป็นต้น หรืออันปัจจัยที่เป็น ข้าศึกมีความหนาวและความร้อนเป็นต้นให้ถึงความเปลี่ยนแปร เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตนั้น ชื่อว่ารูป ฯ เตนาห ภควา สีเตนปิรุปฺปติอุเณฺหนปิรุปฺปตีติอาทิ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ย่อมเปลี่ยนแปร เพราะความหนาวบ้าง ย่อมเปลี่ยนแปร เพราะความร้อนบ้าง ดังนี้เป็นต้น ฯ จ ก็ วิสทิสุปฺปตฺติเยว ความเกิดขึ้นที่ไม่เหมือนเดิมนั่นเอง สีตาทิวิโรธิปจฺจยสมวาเย ในเมื่อมีการประชุม แห่งปัจจัยที่เป็นข้าศึกมีความหนาวเป็นต้น รุปฺปนํ ชื่อว่าความเปลี่ยนแปร เอตฺถ ในที่นี้ ฯ ยทิเอวํ อรูปธมฺมานมฺปิรูปโวหาโร อาปชฺชตีติถามว่า ถ้าเมื่อเป็น อย่างนั้น แม้อรูปธรรมก็ควรเรียกว่ารูปได้ มิใช่หรือ ฯ นาปชฺชติ เฉลยว่า เรียกว่ารูปไม่ได้ อธิปฺเปตตฺตา เพราะท่านประสงค์ รุปฺปนสฺส ความเปลี่ยนแปร วิภูตตรสฺเสว ที่ปรากฏชัดแล้วนั่นแล สีตาทิคหณสามตฺถิยโต โดยความสามารถ แห่งศัพท์ มีสีตศัพท์เป็นต้น ฯ หิ ความจริง อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความ นอกไปจากนี้ (ความเปลี่ยนแปร) ปริยตฺตํ ก็ส�ำเร็จ อวิเสสวจเนเนว ด้วยค�ำที่ ไม่แปลกกันเลย รุปฺปตีติ ว่า รุปฺปติ ดังนี้ อิติ เพราะฉะนั้น กึ จะมีประโยชน์ อะไร สีตาทิคหเณน ด้วยศัพท์ มีสีตศัพท์ เป็นต้นเล่า ฯ ปน ก็ ตํ ศัพท์มี สีตศัพท์เป็นต้นนั้น าปนตฺถํ มีประโยชน์ให้รู้ อิติ ว่า รุปฺปนํ ความเปลี่ยนแปร สีตาทินา ผุฏฺสฺส แห่งรูปอันปัจจัยที่เป็นข้าศึกมีความหนาวเป็นต้นถูกต้องแล้ว วิภูตตร ปรากฏชัดกว่า ํตสฺมา เพราะฉะนั้น ตเทว ความเปลี่ยนแปรนั้นนั่นแหละ อธิปฺเปตํ ท่านประสงค์เอาแล้ว เอตฺถ ในบทว่า รุปฺปติ นี้ ฯ (ถาม) อิติ ว่า ยทิเอวํ ถ้าเมื่อเป็นเช่นนั้น กถํ ท�ำไม พฺรหฺมโลเก ในพรหมโลก รูปโวหาโร จึงเรียกว่ารูป (เพราะว่า) หิ ความจริง อุปฆาตกา ปัจจัยที่เป็นตัวเบียดเบียน
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 17 สีตาทโย มีความหนาวเป็นต้น ตตฺถ น อตฺถิ ไม่มีในพรหมโลกนั้น ฯ (เฉลย) อิติ ว่า อุปฆาตกา ปัจจัยที่เป็นตัวเบียดเบียน นตฺถิ ไม่มี กิญฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น อนุคฺคาหกา อตฺถิ ปัจจัยที่เป็นตัวสนับสนุน ก็มีอยู่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น รุปฺปนํ ความเปลี่ยนแปร เอตถ ในพรหมโลกนี้ สมฺภวติ ย่อมเกิด มี ตํวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัยที่เป็นตัวสนับสนุนนั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ รูปโวหาโร มีการเรียกว่ารูปได้ ตตฺถ ในพรหมโลกนั้น ตํสภาวานาติวตฺตนโต เพราะไม่ล่วงเลยความเปลี่ยนแปรนั้นไปได้ อิติ แล ฯ อลมติปปญฺเจน พอที ด้วยการกล่าวอย่างเยิ่นเย้อ ฯ นิพฺพานํ ธรรมชาตที่ชื่อว ่านิพพาน ภวาภวํ วินนโต สํสิพฺพนโต วานสงฺขาตาย ตณฺหาย นิกฺขนฺตํ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ออกไปแล้วจากตัณหา ที่เรียกว่า วานะ เพราะร้อยรัด คือเย็บไว้ ซึ่งภพน้อยภพใหญ่ นิพฺพาติ วา เอเตน ราคคฺคิอาทิโกติ หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่าเป็นเครื่องดับไฟ มีไฟคือ ราคะเป็นต้น ฯ
18 ปริเฉทที่ ๑ ปมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๑ ยสฺมา เพราะ ธมฺมานํ สภาววิภาวนํ การอธิบายสภาวธรรม วิภาควนฺตานํ ที่มีการจ�ำแนก วิภาเคน วินา เว้นการจ�ำแนกเสีย น โหติย่อมมีไม่ได้ ตสฺมา ฉะนั้น อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตุ หวังจะแสดง วิภาคํ การจ�ำแนก อภิธมฺมตฺถานํ อรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม ยถาอุทฺทิฏฺานํ ตามที่ยกขึ้นแสดงไว้ อุทฺเทสกฺกเมน ตามล�ำดับอุเทส วิภชิตฺวา นิทฺทิสิตุมารภนฺโต เมื่อจะเริ่มจ�ำแนกแสดง จิตฺตํ จิต ภูมิชาติสมฺปโยคาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจข้อเบ็ดเตล็ดมี ภูมิ ชาติ และสัมปโยคเป็นต้น ตาว ก่อน อาห ตตฺถ จิตฺตํ ตาวาติอาทิ จึงกล่าวค�ำว่า ตตฺถ จิตฺต ตาว ดังนี้เป็นต้น ฯ ตาวสทฺโท ตาวศัพท์ อตฺเถ ใช้ในความหมาย ปมนฺติ เอตสฺส แห่งค�ำว่า ปม นี้ ฯ หิ ความจริง เอตฺถ ในนิเทศนี้ อตฺโถ มีอธิบายความ อยํ ดังนี้ อิติ ว่า อภิธมฺมตฺเถสุ บรรดาอรรถที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระอภิธรรม จตูสุ ๔ ประการ ยถาอุทฺทิฏฺเสุ ตามที่ยกขึ้นแสดงไว้ นิทฺทิสิยติ ข้าพเจ้าจะแสดง จิตฺตํ จิต ปมํ ก่อน ฯ จตุพฺพิธํ จิตชื่อว่า ๔ อย่าง จตฺตาโร วิธา ปการา อสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีอย่าง คือประการ ๔ ฯ ปน ก็ ยสฺมา เพราะ ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย จตุภูมิกา ที่เป็นไปในภูมิ ๔ เอเต เหล่านี้ อนุปุพฺพปณีตา ประณีตขึ้นตามล�ำดับ ตสฺมา ฉะนั้น นิทฺเทโส กโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกระท�ำการแสดง เตสํ จิตเหล่านั้น หีนุกฺกฏฺอุกฺกฏฺตรอุกฺกฏฺตมานุกฺกเมน ตามล�ำดับที่ต�่ำ สูง สูงกว่า และสูงที่สุด ฯ
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 19 [อธิบายกามาวจรจิตเป็นต้น] ตตฺถ พึงทราบวิเคราะห์ในค�ำว่า กามาวจรํ เป็นต้นนั้น ดังต่อไปนี้ กาโม สภาวะที่ชื่อว่ากาม กาเมตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังจิตให้ใคร่ กามตณฺหา คือ กามตัณหา ฯ กามาวจรํ จิตชื่อว่ากามาวจร สา เอตฺถ อวจรติ อาลมฺพนกรณวเสนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่ท่องเที่ยวไปแห่งกามตัณหานั้น ด้วยอ�ำนาจ กระท�ำให้เป็นอารมณ์ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง กาโม สภาวะที่ชื่อว่ากาม กามิยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันจิตใคร่ เอกาทสวิโธ กามภโว ได้แก่กามภพ ๑๑ ฯ กามาวจรํ จิตที่ชื่อว่ากามาวจร ตสฺมึ เยภุยฺเยน อวจรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ท่องเที่ยวไปโดยมาก ในกามภพนั้น ฯ หิ ความจริง อธิปฺเปตตฺตา เพราะท่าน ประสงค์เอา จรณสฺส การท่องเที่ยวไป เยภุยฺเยน โดยมาก อิมสฺส กามาวจรจิตนี้ รูปารูปภเว ปวตฺตสฺสาปิ แม้จะเป็นไปในรูปภพ หรืออรูปภพได้บ้าง กามาวจรภาโว อุปฺปนฺโน โหติ ก็จะเกิดเป็นกามาวจร (อยู่นั่นเอง) ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง กามภโวเยว กามภพนั่นเอง กาโม ชื่อว่ากาม ฯ กามาวจโร กามภพ ชื่อว่า กามาวจร โส เอตฺถ อวจรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่ท่องเที่ยวไป แห่งกามนั้น ฯ จิตฺตํ จิต ปวตฺตมฺปิแม้เป็นไปแล้ว ตตฺถ ในกามาวจรนั้น กามาวจรํ ชื่อว่ากามาวจร นิสฺสยโวหาเรน โดยระบุชื่อภพเป็นที่อาศัย นิสฺสิเต ในจิตผู้อาศัย มญฺจา อุกฺกฏฺึกโรนฺตีติอาทีสุ วิยาติ ดุจในประโยคเป็นต้นว่า เตียงทั้งหลาย ย่อมกระท�ำเสียงโห่ ดังนี้แล ฯ อลมติวิสารณิยา กถาย พอทีด้วยการกล่าว อย่างพิสดาร ฯ โหติเจตฺถ ก็ ในอธิการนี้ มีคาถารวมความ อิติ ว่า ตํ จิตนั้น กามาวจรํ ภเว พึงชื่อว่าเป็นกามาวจร กาโมว จรตีเตตฺถ กาเมวจรตีติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่ท่องเที่ยว ไปแห่งกาม หรือท่องเที่ยวไปในกาม านูปจารโต วาปิ หรือโดย ฐานูปจาร ฯ
20 ปริเฉทที่ ๑ รูปารูปาวจเรสุปิ แม้ในรูปวจรจิต และอรูปาวจรจิต เอเสว นโย ทฏฺพฺโพ บัณฑิตพึงเห็นนัยเช่นเดียวกันนี้นั่นแหละ ยถารหํ ตามสมควร ฯ (จิต) โลกุตฺตรํ ชื่อว่าโลกุตตระ อุปาทานกฺขนฺธสงฺขาต โลกโต อุตฺตรติ อนาสวภาเวนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมข้ามขึ้นจากโลกกล่าวคืออุปาทานขันธ์ โดยไม่มีอาสวะ มคฺคจิตฺตํ ได้แก่มรรคจิต ฯ ผลจิตฺตมฺปน ส่วนผลจิต โลกุตฺตรํ ชื่อว่าโลกุตตระ ตโต อุตฺติณฺณนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ข้ามขึ้นแล้วจากโลกกล่าวคืออุปาทาน ขันธ์นั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อุภยมฺปิ มรรคจิตและผลจิตแม้ทั้งสองนั้น สห นิพฺพาเนน พร้อมกับพระนิพพาน โลกุตฺตร ชื่อว่าโลกุตตระ ํ โลกโต อุตฺตรํ อธิกํ ยถาวุตฺตคุณวเสเนวาติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า สูง คือยิ่งกว่าโลก ด้วยอ�ำนาจ แห่งคุณตามที่กล่าวแล้วนั่นเอง ฯ ปน ก็ อิเมสุ จตูสุ ในบรรดาจิต ๔ ภูมิเหล่านี้ กามาวจรจิตฺตสฺส จตุพฺพิธภาเวปิ แม้เมื่อกามาวจรจิตมีถึง ๔ ประการ กุสลากุสลวิปากกฺริยาเภเทน โดยแยกเป็นกุศลจิต อกุศลจิต วิปากจิต และ กิริยาจิต ทสฺเสนฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ เมื่อจะแสดง ปาปาเหตุเกเยว ปมํ เฉพาะปาปจิต (อกุศลจิต) และอเหตุจิตก่อน เอวํ วกฺขมานนยสฺส อนุรูปโต โดยคล้อยตามนัยที่จะกล่าวอยู่อย่างนี้ อิติ ว่า ปาปาเหตุกมุตฺตานิ จิตทั้งหลาย ที่พ้นจากอกุศลจิตและอเหตุกจิต โสภณานีติ วุจฺจเร ท่านเรียกว่า โสภณจิต ดังนี้ โวหารกรณตฺถ เพื่อจะตั้งชื่อ ํ เอกูนสฏฺิยา วา เอกนวุติยา วา จิตฺตานํ จิต ๕๙ ดวง หรือ ๙๑ ดวง ปาปาเหตุกวชฺชาน ซึ่งเว้นจากอกุศลจิต (๑๒ ดวง) และอเหตุกจิต ํ (๑๘ ดวง) เสีย โสภณนาเมน โดยนามว่า โสภณจิต วิภชิตฺวา ทสฺเสสิ จึงจ�ำแนก แสดง โลภมูลํ โลภมูลจิต อฏฺธา เป็น ๘ ดวง เวทนาทิฏฺิสงฺขารเภเทน โดย ความต่างกันแห่งเวทนา ทิฏฐิ และสังขาร ตาว ก่อน โสมนสฺสสหคตนฺติอาทินา ด้วยค�ำว่า โสมนสฺสสหคต ดังนี้เป็นต้น เตสุ จ ภเวสุ คหิตปฏิสนฺธิกสฺส สตฺตสฺส อาทิโต วีถิจิตฺตวเสน โลภสหคตจิตฺตุปฺปาทานเมว สมฺภวโต เตเยว ปมํ ทสฺเสตฺวา ตทนนฺตรํ ทฺวิเหตุกภาวสามญฺเน โทมนสฺสสหคเต ตทนนฺตรํ เอกเหตุเก จ ทสฺเสตํ ก็ เพื่อจะแสดงเฉพาะจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะ
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 21 เหล่านั้น (โลภมูลจิต ๘ ดวง) ก่อน เพราะในบรรดาอกุศลจิตและอเหตุกจิต เหล่านั้น เฉพาะเหล่าจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะ เกิดแก่สัตว์ผู้ถือปฏิสนธิในภพ ทั้งหลายในเบื้องต้น ด้วยอ�ำนาจวิถีจิต แล้วจึงแสดงเหล่าจิตตุปบาทที่สหรคตด้วย โทมนัส (โทสมูลจิต ๒ ดวง) ในล�ำดับต่อจากจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะนั้น โดยภาวะที่เป็นทวิเหตุกจิตเท่ากัน และแสดงเหล่าจิตตุปบาทที่เป็นเอกเหตุกะ (โมหมูลจิต ๒ ดวง) ในล�ำดับต่อจากจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโทมนัสนั้น ฯ จ ก็ ทสฺเสตฺวา เพื่อจะแสดง (เพื่อจะ ออกจาก ตุํ ศัพท์) เตเยว เฉพาะ จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะเหล่านั้น (โลภมูลจิต ๘ ดวง) ปมํ ก่อน เตสุ (ปาปาเหตุเกสุ) โลภสหคตจิตฺตุปฺปาทานเมว สมฺภวโต เพราะในบรรดาอกุศลจิต และอเหตุกจิตเหล่านั้น เฉพาะเหล่าจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะเกิด ภเวสุ คหิตปฏิสนฺธิกสฺส สตฺตสฺส แก่สัตว์ผู้ถือปฏิสนธิในภพทั้งหลาย อาทิโต ในเบื้องต้น วีถิจิตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจวิถีจิต แล้ว (ทสฺเสตฺวา) จึงแสดง โทมนสฺสสหคเต เหล่าจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโทมนัส (โทสมูลจิต ๒ ดวง) ตทนนฺตรํ ในล�ำดับ ต่อจากจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโลภะนั้น ทฺวิเหตุกภาวสามญฺเญน โดยภาวะ ที่เป็นทวิเหตุกจิตเท่ากัน ทสฺเสตุํ จ และแสดง เอกเหตุเก เหล่าจิตตุปบาท ที่เป็นเอกเหตุกะ (โมหมูลจิต ๒ ดวง) ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากจิตตุปบาท ที่สหรคตด้วยโทมนัสนั้น ฯ ตตฺถ พึงทราบอธิบายความในค�ำว่า โสมนสฺสหคต เป็นต้นนั้น ดังต่อไปนี้ สุนฺทรํ มโน ใจดี สุมโน ชื่อว่าสุมนะ วา อีกอย่างหนึ่ง ตํ ใจดีนั้น อตฺถิ มีอยู่ เอตสฺส แก่บุคคลนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น สุมโน บุคคลนั้น ชื่อว่าผู้มีใจดี จิตฺตํ ได้แก่ จิต วา หรือ ตํสมงฺคีปุคฺคโล บุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยใจดีนั้น ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งใจดี หรือแห่งบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยใจดีนั้น ปวตฺติเหตุตาย โดยเป็น เหตุเป็นไป อภิธานพุทฺธีนํ แห่งชื่อ และความรู้ ตสฺมึ ในจิตหรือในบุคคลที่ชื่อว่า สุมนะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น โสมนสฺสํ จึงชื่อว่าโสมนัส ฯ ตํ ค�ำว่า โสมนัส นี้ อธิวจนํ เป็นชื่อ มานสิกสุขเวทนาย แห่งสุขเวทนาทางใจ ฯ
22 ปริเฉทที่ ๑ สหคตํ จิตที่สหรคต สํสฏฺ คือที่ระคน เอกุปฺปาทาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจ อาการ ๔ อย่างมีขึ้นพร้อมกันเป็นต้น เตน กับโสมนัสนั้น วา หรือ คตํ ที่ถึง เตน สห เอกุปฺปาทาทิภาวํ ภาวะมีความเกิดขึ้นพร้อมกันเป็นต้นกับโสมนัสนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น โสมนสฺสสหคตํ จิตดวงนั้น จึงชื่อว่า โสมนัสสสหคตจิต ฯ ทิฏฺิ ธรรมชาติที่ชื่อว่าทิฏฐิ มิจฺฉา ปสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมเห็นผิด ฯ หิ ความจริง สามญฺวจนสฺสาปิวิเสสวิสยตา โหติแม้ถ้อยค�ำสามัญ ก็ยังมี วิสัยแปลกกันได้ อตฺถปฺปกรณาทินา โดยเนื้อความและความหมายเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น อิธ ในอธิการว่าด้วยกุศลจิตนี้ มิจฺฉาทสฺสนเมว ทิฏฺีติ วุจฺจติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวเฉพาะความเห็นผิดเท่านั้นว่า ทิฏฐิ ฯ ทิฏฺิเยว ทิฏฐินั่นเอง ทิฏิคตํ ชื่อว่าทิฏฐิคตะ คตสทฺทสฺส ตพฺภาววุตฺติตฺตา เพราะ คตศัพท์ มีความเป็นไปในภาวะแห่งทิฏฐิศัพท์นั้น สงฺขารคตํ ตมคตนฺติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า สงฺขารคต ตมคต ดังนี้ ฉะนั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง คตํ ทิฏฐิที่เป็นไป อนฺโตคธ คือหยั่งลงภายใน ํทฺวาสฏฺิยา ทิฏฺ€ีสุ ทิฏฐิ ๖๒ ประการ วา หรือว่า คมนมตฺตํ เพียงความเป็นไป ทิฏฺ€ิยา แห่งทิฏฐิ น เอตฺถ คนฺตพฺโพ อตฺตาทิโก โกจิ อตฺถิ คือไม่มีสภาวะอะไร ๆ มีตัวตนเป็นต้นที่จะพึงไปในทิฏฐินี้ อิติ เพราะเหตุนั้น ทิฏฺ€ิคตํ จึงชื่อว่าทิฏฐิคตะ อตฺตตฺตนิยาทิอภินิเวโส ได้แก่ ความถือมั่น (ในสัตว์และสังขารทั้งหลาย) ว่าเป็นตัวตนหรือเป็นของเนื่องด้วยตน เป็นต้น ปวตฺโต ที่เป็นไปแล้ว อิทเมว สจฺจํ โมฆมญฺนฺติว่า ค�ำนี้เท่านั้นจริง ค�ำอื่นเปล่า ฯ (จิตดวงใด) ยุตฺตํ ประกอบแล้ว ปกาเรหิ ด้วยประการทั้งหลาย เอกุปฺปาทาทีหิ มีความเกิดขึ้นร่วมกันเป็นต้น เตน สมํ พร้อมกับทิฏฐินั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ทิฏฺ€ิคตสมฺปยุตฺตํ จิตดวงนั้น ชื่อว่า ทิฏฐิคตสัมปยุต ฯ สงฺขโรติ สภาวะใดย่อมปรุงแต่ง สชฺเชติ คือย่อมจัดแจง จิตฺตํ จิต ติกฺขภาวสงฺขาตมณฺฑนวิเสเสน ด้วยเครื่องปรุงแต่งพิเศษ กล่าวคือสภาวะที่จิตกล้าแข็ง วา หรือ ตํ จิตนั้น เอเตน อันสภาวะนี้ สงฺขาริยติ ปรุงแต่ง สชฺชิยติ คือจัดอยู่
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 23 วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น สงฺขาโร สภาวะนั้นชื่อว่าสังขาร อตฺตโน วา ปเรสํ วา ปวตฺตปุพฺพปโยโค ได้แก่ บุรพประโยคของตนหรือของคน เหล่าอื่นที่เป็นไป อนุพลปฺปทานวเสน ด้วยอ�ำนาจสนับสนุน สํสีทมานสฺส แก่จิต หรือบุคคลที่ท้อแท้อยู่ ตตฺถ ตตฺถ กิจฺเจ ในหน้าที่นั้น ๆ ฯ ปน ก็ โส บุรพประโยค นั้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อตฺตโน ปุพฺพภาคปฺปวตฺตจิตฺตสนฺตาเนเจว ในจิต สันดานของตนที่เป็นไปในส่วนเบื้องต้น ปรสนฺตาเน จ และในสันดานของบุคคล อื่น อิติ เพราะเหตุนั้น วิเสโสว เฉพาะอาการพิเศษ จิตฺตสฺส ติกฺขภาวสงฺขาโต กล่าวคือภาวะที่จิตกล้าแข็ง ตนฺนิพฺพตฺติโต อันบุรพประโยคนั้นให้บังเกิดแล้ว สงฺขาโร จึงชื่อว่าสังขาร อิธ ในอธิการว่าด้วยจิตนี้ ฯ โส สังขารนั้น นตฺถิ ไม่มี ยสฺส แก่จิตดวงใด ต จิตดวงนั้น ํอสงฺขาร ชื่อว่าเป็นอสังขาระ ฯ ํตเทว อสังขาระ นั้นนั่นเอง อสงฺขาริกํ เป็นอสังขาริก ฯ [จิตฺตํ] จิต สงฺขาเรน สหิตํ ที่ประกอบ แล้วด้วยสังขาร สสงฺขาริกํ ชื่อสสังขาริก ฯ ตถาหิ วทนฺติ สมจริงดังที่พระ โบราณาจารย์ทั้งหลาย กล่าวไว้ อิติ ว่า วิเสโส อาการพิเศษ ปุพฺพปโยคสมฺภูโต ที่เกิดแต่บุรพประโยค จิตฺตสมฺภวี เกิดมีในจิต สงฺขาโร ชื่อว่าสังขาร อสงฺขาริกาทิตา ภาวะ ที่จิตเป็นอสังขาริกเป็นต้น โหติ ย่อมมีได้ ตวเสเนตฺถํ ในจิตตวิสัยนี้ ด้วยอ�ำนาจสังขารนั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ สสงฺขาริกมสงฺขาริกนฺติจ เอตํ ค�ำว่า สสงฺขาริกํ และว่า อสงฺขาริก นี้ สงฺขารสฺส สนฺธาย วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าว หมายถึงความมีและความไม่มีแห่งสังขาร เกวลํ ล้วน ๆ น ตสฺส สหปฺปวตฺติ สพฺภาวาภาวโต หากล่าวเพราะความมีและความไม่มีความเป็นไปร่วมกันแห่งสังขาร นั้นไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น ภินฺนสนฺตานปฺปวตฺติโนปิ สงฺขารสฺส อิทมตฺถิตาย เพราะสังขารแม้ที่มีปกติเป็นไปในสันดานที่ต่างกัน ก็มีจิตนี้เป็นความมุ่งหมาย นิพฺพตฺตํ จิตฺตํ จิตที่บังเกิดแล้ว ตํวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งสังขารนั้น สสงฺขาริกํ ชื่อว่า สสังขาริก สสงฺขาโร อสฺส อตฺถีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีสังขาร
24 ปริเฉทที่ ๑ สหสทฺทสฺส วิชฺชมานตฺถปริทีปนโต เพราะสหศัพท์แสดงอรรถว่า มี สโลมโก สปกฺขิโกติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคว ่า สโลมโก สปกฺขิโก๑ เป็นต้น ฯ ตพฺพิปริตมฺปน ส่วนจิตที่ตรงกันข้ามกับสสังขาริกจิตนั้น อสงฺขาริกํ ชื่อว่า อสังขาริก วุตฺตนเยเนว โดยนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้เสร็จแล้วนั่นแหละ ตทภาวโต เพราะไม่มีสังขารนั้น ฯ [ว่าด้วยสัมปยุตธรรมเป็นต้น] จิตดวงใด วิปฺปยุตฺตํ พราก วิสํสฏฺํ คือ แยก ทิฏฺ€ิคเตน จากทิฏฐิ อิติ เพราะเหตุนั้น ทิฏฺ€ิคตวิปฺปยุตฺตํ จิตดวงนั้น ชื่อว่าทิฏฐิคตวิปปยุต ฯ อุเปกฺขา ธรรมชาติที่ชื่อว่าอุเบกขา อุปปตฺติโต ยุตฺติโต อิกฺขติ อนุภวติ เวทิยมานาปิ มชฺฌตฺตาการสณฺ€ิติยาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมเพ่ง คือเสวยอารมณ์ โดยเหมาะสม คือโดยสมควร ได้แก่ แม้เมื่อเสวยอารมณ์ ก็เสวยด้วยอาการที่ ด�ำรงอยู่โดยอาการที่เป็นกลาง ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อิกฺขา ความเพ่ง อนุภวนนํ คือการเสวยอารมณ์ อุเปตา เหมาะ ยุตฺตา คือ ควร สุขทุกฺขานํ แก่สุขเวทนา และทุกขเวทนา อวิรทฺธา ได้แก่ ไม่เป็นข้าศึก อิติ เพราะเหตุนั้น อุเปกฺขา จึงชื่อว่าอุเบกขา ฯ หิ ความจริง เอสา อุเบกขาเวทนานี้ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อนนฺตรมฺปิ แม้ในล�ำดับติดต่อกัน เตสํ แห่งสุขเวทนาและทุกขเวทนาเหล่านั้น สุขทุกฺขาวิโรธิตาย เพราะไม่เป็นข้าศึกต่อสุขเวทนาและทุกขเวทนา ฯ อุเปกฺขาสหคตนฺติอิทํ ค�ำว่า อุเปกฺขาสหคตํ นี้ วุตฺตนยเมว มีนัยดังที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ เสร็จแล้ว ฯ ถามว่า กสฺมา ปเนตฺถ ก็เพราะเหตุไร ในโลภมูลจิต ๘ ดวงนี้ สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ เมื่อสัมปยุตธรรมทั้งหลาย ผสฺสาทีสุ มีผัสสเจตสิกเป็นต้น อญฺเญสุปิ แม้เหล่าอื่น วิชฺชมาเนสุ ก็ยังมีอยู่ โสมนสฺสสหคตาทิภาโวว วุตฺโต ท ่านพระอนุรุทธาจารย์กล ่าวว ่า จิตสหรคตด้วยโสมนัสเท ่านั้น ฯ ตอบว ่า ๑ สโลโก สัตว์มีขน สปกฺขิโก สัตว์มีปีก
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 25 โสมนสฺสาทีนเมว อสาธารณภาวโต เพราะสัมปยุตธรรมทั้งหลายมีโสมนัสสเวทนา เป็นต้นนั่นแหละ มีไม่ทั่วไป (แก่จิตทุกดวง) ฯ หิความจริง เกจิ เจสิตกธรรม บางเหล่า (๗ ประการ) ผสฺสาทโยปิ มีผัสสเจตสิกเป็นต้น สพฺพจิตฺตสาธารณา มีทั่วไปแก่จิตทุกดวง เกจิ เจสิตกธรรมบางเหล่า (๑๙ ประการ) กุสลาทิสาธารณา มีทั่วไปแก่กุศลจิตเป็นต้น โมหาทโย จ และเจสิตกธรรมทั้งหลาย (๔ ประการ) มีโมหเจตสิกเป็นต้น สพฺพากุสลสาธารณา มีทั่วไปแก่อกุศลจิตทุกดวง อิติ เพราะ เหตุนั้น จิตฺตํ วิเสเสตุํ น สกฺกา ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงไม่สามารถจะอธิบายจิต ให้ต่างกันได้ เตหิ โดยเจตสิกธรรมมีผัสสเจตสิกเป็นต้นเหล่านั้น ฯ ปน ส่วน โสมนสฺสาทโย เจตสิกทั้งหลาย มีโสมนัสเวทนาเป็นต้น กตฺถจิจิตฺเต โหนฺติ เกิดในจิตบางดวง กตฺถจิ น โหนฺติ ไม่เกิดในจิตบางดวง อิติ เพราะเหตุนั้น จิตฺตสฺส วิเสโส ความต่างกันแห่งจิต ตํวเสน ด้วยอ�ำนาจเจตสิกธรรมมีโสมนัส เวทนาเป็นต้นนั้น ปากโฏว จึงปรากฏชัดแล้ว ฯ ถามว่า กสฺมา ปเนเต ก็เพราะ เหตุไร เจตสิกธรรมมีโสมนัสเป็นต้นเหล่านี้ กตฺถจิโหนฺติจึงเกิดในจิตบางดวง กตฺถจิน โหนฺติไม่เกิดในจิตบางดวง ฯ ตอบว่า การณสฺส สนฺนิหิตาสนฺนิหิตภาวโต เพราะมีเหตุเกิดร่วมและไม่เกิดร่วม ฯ ถามว่า กึ ปน เนสํ การณํ ก็อะไรเล่า เป็นเหตุแห่งเจตสิกธรรมมีโสมนัสเวทนาเป็นต้นเหล่านั้น ฯ วุจฺจเต ข้าพเจ้า จะกล่าวเฉลย ฯ หิความพิศดารว่า สภาวโต ปริกปฺปโต วา อิฏฺารมฺมณํ จ อิฏฐารมณ์โดยสภาวะ หรือโดยปริกัปป์ ๑ โสมนสฺสปฏิสนฺธิกตา จ ความที่บุคคล มีปฏิสนธิจิตสหรคตด้วยโสมนัส ๑ อคมฺภีรสภาวตา จ ความที่บุคคลมีปกติไม่ ลึกซึ้ง ๑ โสมนสฺสสฺส การณํ เป็นเหตุแห่งโสมนัส อิธ ในอธิการว่าด้วยอกุศลจิตนี้ ฯ อิฏฺมชฺฌตฺตารมฺมณํ จ อิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ๑ อุเปกฺขาปฏิสนฺธิกตา จ ความที่ บุคคลมีปฏิสนธิจิตสหรคตด้วยอุเบกขา ๑ คมฺภีรสภาวตา จ ความที่บุคคลมีปกติ ลึกซึ้ง ๑ อุเปกฺขาย การณํ เป็นเหตุแห่งอุเบกขา ฯ ทิฏฺฐิวิปนฺนปุคฺคลเสวนา จ การคบหาบุคคลผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ ๑ สสฺสตุจฺเฉทาสยตา จ ความที่บุคคลเป็นผู้มี สัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิเป็นเจ้าเรือน ๑ ทิฏฺฐิยา การณํ เป็นเหตุแห่งทิฏฐิ
26 ปริเฉทที่ ๑ (เป็นมิจฉาทิฏฐิ) ฯ ปน ส่วน พลวอุตุโภชนาทโย ปจฺจยา ปัจจัยทั้งหลายมีอุตุ และโภชนะที่เหมาะสมเป็นต้น อสงฺขาริกภาวสฺส การณํ เป็นเหตุแห่งความที่จิต เป็นอสังขาริก อิติ ตสฺมา เพราะเหตุดังนี้นั้น กตฺถจิจิตฺเตเยว เนสํ สมฺภโว เจตสิกธรรมมีโสมนัสเป็นต้นเหล่านั้น จึงเกิดเฉพาะในจิตบางดวง อตฺตโน อนุรูป การณวเสน เนสํ อุปฺปชฺชนโต เพราะเจตสิกธรรมมีโสมนัสเป็นต้นเหล่านั้นเกิดขึ้น ได้ด้วยอ�ำนาจเหตุที่เหมาะแก่ตน อิติ เพราะเหตุนั้น สกฺกา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงสามารถ จิตฺตสฺส วิเสโส ปญฺาเปตุ บัญญัติความต่างกันแห่งจิตได้ เอเตหิ โดยเจตสิกธรรมมีโสมนัสเป็นต้นเหล่านี้ อิติ แล ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบาย ความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ นิคมเน ในค�ำลงท้าย วุตฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึง กล่าว เนสํ โลภสหคตภาโวว ว่า จิต (๘ ดวง) เหล่านั้น สหรคตด้วยโลภเจตสิก ไว้แน่ชัด เนสํ โมหเหตุกภาเว สติปิทั้งที่จิต (๘ ดวง) เหล่านั้น ก็ยังมีโมหเจตสิก เป็นเหตุร่วมอยู่ด้วย ฯ ปน แต่ อิเมสํ อฏฺนฺนมฺปิอยมุปฺปตฺติกฺกโม เวทิตพฺโพ โลภมูลจิตแม้ทั้ง ๘ ดวงเหล่านี้ บัณฑิตพึงทราบตามล�ำดับความเกิดขึ้นดังต่อไปนี้ ฯ หิจริงอยู่ ยทา ในกาลใด (ปุคฺ คโล) บุคคล จิตฺเตน มีจิต สภาวติกฺเขเนว กล้าแข็งเองตามสภาวะ อนุสฺสาหิเตน ไม่ถูกกระตุ้นเตือน มิจฺฉาทิฏฺึปุรกฺขิตฺวา เชิดชูมิจฉาทิฏฐิ นตฺถิ กาเมสุ อาทีนโวติอาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า โทษในกามทั้งหลายไม่มี หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดี กาเม ปริภุญฺชติวา บริโภคกาม สารโต ทิฏฺมงฺคลาทีนิปจฺเจติวา หรือเชื่อทิฏฐมงคลเป็นต้น โดยความเป็นสาระ ตทา ในกาลนั้น ปมํ อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิตดวงที่ ๑ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ปน ส่วน ยทา ในกาลใด (ปุคคโล) บุคคล จิตฺเตน มีจิต มนฺเทน อ่อน สมุสฺสาหิเตน ถูกกระตุ้นเตือน มิจฺฉาทิฏฺึ ปุรกฺขิตฺวา เชิดชูมิจฉาทิฏฐิ นตฺถิ กาเมสุ อาทีนโวติอาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า โทษในกามทั้งหลายไม่มี หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดี กาเม ปริภุญฺชติวา บริโภคกาม สารโต ทิฏฺมงฺคลาทีนิ ปจฺเจติ วา หรือเชื่อทิฏฐมงคลเป็นต้น โดยความเป็นสาระ ตทา ในกาลนั้น ทุติยํ อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิตดวงที่ ๒ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ปน ส่วน ยทา ในกาลใด
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 27 (ปุคคโล) บุคคล จิตฺเตน มีจิต สภาวติกฺเขเนว กล้าแข็งเองตามสภาวะ อนุสฺสาหิเตน ไม่ถูกกระตุ้นเตือน มิจฺฉาทิฏฺึ อปุรกฺขิตฺวา ไม่เชิดชูมิจฉาทิฏฐิ เกวลํ หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดีอย่างเดียว เมถุนํ เสวติวา เสพเมถุน ปรสมฺปตฺตึ อภิชฺฌายติวา เพ่งอยากได้สมบัติของผู้อื่น ปรภณฺฑํ หรติวา หรือลักของ ผู้อื่นไป ตทา ในกาลนั้น ตติยํ อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิตดวงที่ ๓ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ปน ส่วน ยทา ในกาลใด (ปุคคโล) บุคคล จิตฺเตน มีจิต มนฺเทน อ่อน สมุสฺสาหิเตน ถูกกระตุ้นเตือน มิจฺฉาทิฏฺึอปุรกฺขิตฺวา ไม่เชิดชู มิจฉาทิฏฐิ เกวลํ หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดี อย่างเดียว เมถุนํ เสวติวา เสพเมถุน ปรสมฺปตฺตึ อภิชฺฌายติ วา เพ่งอยากได้สมบัติของผู้อื่น ปรภณฺฑํ หรติ วา หรือลักของผู้อื่นไป ตทา ในกาลนั้น จตุตฺถํ อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิตดวงที่ ๔ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ปน แต่ ยทา ในกาลใด (ปุคคลา) บุคคลทั้งหลาย โสมนสฺสรหิตา โหนฺติ ปราศจากโสมนัสสเวทนา จตูสุปิวิกปฺเปสุ ในข้อก�ำหนด แม้ทั้ง ๔ อย่าง กามานํ อสมฺปตฺตึอาคมฺม วา เพราะอาศัยความไม่ถึงพร้อม แห่งกามทั้งหลาย อญฺเสํ โสมนสฺสเหตูนํ อภาเวน วา หรือเพราะไม่มีเหตุ แห่งโสมนัสสเวทนาเหล่าอื่น ตทา ในกาลนั้น เสสานิ จตฺตาริ โลภมูลจิต ๔ ดวง ที่เหลือ อุเปกฺขาสหคตานิ ซึ่งสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้น อิติ แล ฯ อฏฺฐปีติปิสทฺโท ปิศัพท์ ในค�ำว่า อฏฺปิ นี้ สมฺปิณฺฑนตฺโถ เป็นสัมปิณฑนัตถะ (มีความประมวลมาเป็นอรรถ) ฯ เตน ด้วย ปิ ศัพท์นั้น สงฺคณฺหาติ ท่านพระ อนุรุทธาจารย์ย่อมรวบรวม เนสํ อเนกวิธตฺตมฺปิแม้ความที่จิตสหรคตด้วยโลภะ เหล่านั้นมีหลายประการ อกุสลกมฺมปเถสุ ลพฺภมานกมฺมปถานุรูปโต ปวตฺติเภทโดยความต่างกันแห่งความเป็นไป โดยสมควรแก่กรรมบถที่ได้อยู่ในอกุศลกรรมบถ ทั้งหลาย -กาลเทสสนฺตานารมฺมณาทิเภเทน และความต่างกันแห่งกาละ เทศะ สันดาน และอารมณ์เป็นต้น วกฺขมานนเยน ตามนัยที่จะกล่าวต่อไป ฯ
28 ปริเฉทที่ ๑ [อธิบายโทมนัสและปฏิฆะ] ทุฏฺฐุมโน ใจชั่ว ทุมโน ชื่อว่าทุมนะ วา อีกอย่างหนึ่ง ตํ ใจชั่วนั้น (อตถิ) มีอยู่ เอตสฺส แก่บุคคลนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น บุคคลนั้น ทุมโน ชื่อว่าผู้มีใจชั่ว ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งใจชั่ว หรือบุคคลผู้มีใจชั่วนั้น โทมนสฺสํ ชื่อว่าโทมนัส ฯ เอตํ ค�ำว่า โทมนัสนั้น อธิวจนํ เป็นชื่อ มานสิกทุกฺขเวทนาย แห่งทุกขเวทนา ทางใจ ฯ จิตดวงใด เตน สหคตํ สหรคตด้วยโทมนัสนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น จิตดวงนั้น โทมนสฺสสหคตํ จึงชื่อว่า โทมนัสสสหคตะ ฯ ปฏิโฆ สภาวะที่ชื่อว่า ปฏิฆะ อารมฺมเณ ปฏิหญฺตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า กระทบอารมณ์ โทโส ได้แก่โทสะ ฯ หิ ความจริง เอส ปฏิฆะนี้ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อารมฺมณํ ปฏิหนนฺโต วิย คล้ายกระทบอารมณ์ จณฺฑิกฺกสภาวตาย เพราะเป็นสภาวะดุร้าย ฯ โทมนสฺสสหคตสฺส อเภเทปิ แม้เมื่อจิตที่สหรคตด้วยโทมนัส จะไม่ต่างกัน เวทนาวเสน ด้วยอ�ำนาจเวทนา โทมนสฺสคฺคหณํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ กล่าวศัพท์ว่าโทมนัสไว้ จิตฺตสฺส อุปลกฺขณตฺถํ เพื่อเป็นเครื่องก�ำหนดจิต อสาธารณธมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมที่มีไม่ทั่วไป (แก่จิตทุกดวง) ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย อิติ ว่า ปน ก็ ปฏิฆสมฺปยุตฺตภาโว ภาวะที่จิตสัมปยุต ด้วยปฏิฆะ วุตฺโต ท่านอาจารย์กล่าวไว้ อุภินฺนํ เอกนฺตสหจาริตาทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงความที่โทมนัสและปฏิฆทั้งสอง มีปกติไปร่วมกัน โดยแน่นอน ฯ เอเตสํ โทมนัสและปฏิฆะทั้งสองเหล่านี้ วิเสโส มีความต่างกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ จ ก็ เอตฺถ บรรดาโทมนัสและปฏิฆะทั้งสองนี้ โทมนสฺสํ โทมนัส เอโก ธมฺโม เป็นธรรมอย่างหนึ่ง เวทนากฺขนฺธปริยาปนฺโน นับเนื่องในเวทนาขันธ์ อนิฏฺารมฺมณานุภวนลกฺขโณ มีลักษณะเสวยอนิฏฐารมณ์ ปฏิโฆ ปฏิฆะ เอโก ธมฺโม เป็นธรรมอย่างหนึ่ง สงฺขารกฺขนฺธปริยาปนฺโน นับเนื่องในสังขารขันธ์ จณฺฑิกฺกสภาโว มีสภาวะดุร้าย ฯ ทฏฺ€พฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย อิติ ว่า จ ก็ เอตฺถ บรรดาโทมนัสและปฏิฆะทั้งสองนี้ ยงฺกิญฺจิอนิฏฺารมฺมณํ อนิฏฐารมณ์
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 29 อย่างใดอย่างหนึ่ง โทมนสฺสการณํ เป็นเหตุแห่งโทมนัส นววิธอาฆาตวตฺถูนิ จ และอาฆาตวัตถุ ๙ ประการ ปฏิฆการณญฺจ เป็นเหตุแห่งปฏิฆะ ฯ ปน ก็ เวทิตพฺพา บัณฑิตพึงทราบ อุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้น เนสํ ทฺวินฺนํ จิตฺตานํ แห่งจิต ๒ ดวงเหล่านั้น ติกฺขมนฺทปฺปวตฺติกาเล ในกาลเป็นไปกล้าแข็งและอ่อน ปาณาติปาตาทีสุ ในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ มีปาณาติบาตเป็นต้น ฯ ปิสทฺทสฺส อตฺโถ เนื้อความแห่ง ปิ ศัพท์ นิคมเน ในค�ำลงท้าย เอตฺถาปิ แม้นี้ ทฏฺพฺโพ บัณฑิตก็พึงเห็น วุตฺตนยานุสาเรน ตามท�ำนองแห่งนัยที่ข้าพเจ้ากล่าว ไว้แล้ว ฯ [อธิบายจิตประกอบด้วยวิจิกิจฉาและอุทธัจจะเป็นต้น] วิจิกิจฺฉา ธรรมชาติที่ชื่อว่าวิจิกิจฉา สภาวํ วิจินนฺโต ตาย กิจฺฉติกิลมตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุยาก คือล�ำบาก แห่งบุคคลผู้ค้นสภาวธรรม ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ วิจิกิจฺฉา ธรรมชาติที่ชื่อว่าวิจิกิจฉา จิกิจฺฉิตุ ทุกฺกรตาย วิคตา จิกิจฺฉา าณปฏิกาโร อิมิสฺสาติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีการแก้ไข คือ การกระท�ำคืนคือญาณ ไปปราศแล้ว โดยเป็นธรรมชาติกระท�ำได้ยาก เพื่อจะแก้ไข ฯ ตาย สมฺปยุตฺตํ จิตที่สัมปยุตด้วยวิจิกิจฉานั้น วิจิกิจฺฉาสมฺปยุตฺตํ ชื่อว่า วิจิกิจฉา สัมปยุตจิต ฯ อุทฺธตสฺส ภาโว ภาวะแห่งจิต หรือแห่งบุคคล ที่ฟุ้งซ่าน อุทฺธจฺจํ ชื่อว่าอุทธัจจะ ฯ อุทฺธจฺจสฺส สพฺพากุสลสาธารณภาเวปิแม้เมื่ออุทธัจจเจตสิก จะมีทั่วไปแก่อกุศลจิตทุกดวง อิธ ในจิตดวงสุดท้ายนี้ ปธานํ หุตฺวา อุทธัจจเจตสิก เป็นประธาน สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ ในสัมปยุตธรรมทั้งหลาย ปวตฺตติ เป็นไป อิติ เพราะเหตุนั้น อิทเมว จิตดวงสุดท้ายนี้เท่านั้น วิเสเสตฺวา วุตฺตํ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวให้ต่างกัน เตน โดยอุทธัจจเจตสิกนั้น ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความอย่างนี้ ธมฺมุทฺเทสปาลิยํ ในบาลีธัมมุทเทส อุทฺธจฺจํ วุตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสอุทธัจจเจตสิกไว้ เสสากุสเลสุ ในอกุศลจิต ที่เหลือ เยวาปนกวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นเยวาปนกเจตสิก ปน ส่วน อิธ ในจิต
30 ปริเฉทที่ ๑ ดวงสุดท้ายนี้ อุทฺธจฺจํ สรูเปเนว เทสิตํ ทรงแสดงอุทธัจจเจตสิกตามสภาวะไว้ แน่นอน อุทฺธจฺจํ อุปฺปชฺชตีติ ว่า อุทธัจจเจตสิกย่อมเกิดขึ้น ดังนี้ ฯ โหนฺติจ ก็ เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยการกล่าวอุทธัจจเจตสิก ตามสภาวะนี้ มีคาถารวมความไว้ ดังต่อไปนี้ อุทฺธจฺจํ อุทธัจจเจตสิก สพฺพากุสลยุตฺตมฺปิ แม้ประกอบกับ อกุศลจิตได้ทุกดวง อนฺตมานเส ในจิตดวงสุดท้าย พลว มีความรุนแรง ํ อิติ เพราะเหตุนั้น ตเยวํ จิตดวงสุดท้ายนั้นเท่านั้น วุตฺตมุทฺธจฺจโยคโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า อุทธัจจสัมปยุตจิต เพราะประกอบ ด้วยอุทธัจจเจตสิก ฯ หิความจริง เตเนว เพราะเหตุที่อุทธัจจเจตสิก เป็นประธานนั่นแหละ มุนินฺเทน พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นจอมมุนี วตฺวา จึงตรัส (อุทธัจจเจตสิก)ไว้ เสเสสุ ในอกุศลจิตทั้งหลายที่เหลือ เยวาปนกนามโต โดยชื่อว่าเยวาปนกเจตสิก แล้ว ตํ สรูเปน เทสิตํ ทรงแสดงอุทธัจจเจตสิกนั้น ตามสภาวะไว้ เอตฺเถว ในจิตดวงสุดท้าย นี้เท่านั้น ฯ ปน ก็ อิมานิ เทฺว จิตฺตานิ จิต (โมหมูลจิต) ๒ ดวง เหล ่านี้ รชนทูสนวิรหิตานิ เว้นแล้วจากโลภมูลและโทสมูล สพฺพตฺถาปิ แม้ในอารมณ์ทั้งปวง อติสมฺมูฬฺหตาย เพราะมัวมล อย่างยิ่ง มูลนฺตรวิรหโต โดยเว้นจากมูลอื่น (คือ โลภมูลและโทสมูล) สํสปฺปนวิกฺขิปนวสปฺปวตฺตวิจิกิจฺฉุทฺธจฺจสมาโยเคน จญฺจลตาย จ และเพราะโยกโคลง โดยประกอบด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก ซึ่งเป็นไป ด้วยอ�ำนาจความกระสับกระส่าย และอุทธัจจเจตสิกซึ่งเป็นไปด้วย อ�ำนาจความฟุ้งซ่าน อุเปกฺขาสหคตาเนว จึงสหรคตด้วยอุเบกขา เวทนาเท่านั้น ปวตฺตนฺติ เป็นไป ฯ จ ก็ ตโตเยว เพราะเหตุนั้น นั่นเอง สงฺขารเภโทปิ เนสํ นตฺถิ โมหมูลจิต ๒ ดวงเหล่านั้น จึงไม่มีแม้ความต่างกันแห่งสังขาร สภาวติกฺขตาย อุสฺสาเหตพฺพตาย จ อภาวโต เพราะไม่มีภาวะที่จะกล้าแข็งได้ตามสภาวะและภาวะ
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 31 ที่จะพึงให้อาจหาญ (สามารถ) ฯ โหนฺติ เจตฺถ ก็ในที่นี้ มีคาถา รวมความไว้ อิติ ว่า มูฬฺหตฺตา เจว เพราะเป็นธรรมชาติมัวมล สํสปฺปวิกฺเขปา จ และเพราะกระสับกระส่ายและฟุ้งซ่าน (โมหมูลจิต ๒ ดวงนี้) เอกเหตุกํ จึงเป็นเอกเหตุกจิต โสเปกฺขํ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา โน ภินฺนํ จ และไม่ต่างกัน สงฺขารเภทโต โดยความต่างกันแห่งสังขาร สพฺพทา ในกาลทุกเมื่อ ฯ หิ ความจริง ตสฺส โมหมูลจิต ๒ ดวงนั้น สํสปฺปมานสฺส กระสับกระส่ายอยู่ วิกฺขิปนฺตสฺส ฟุ้งซ่านอยู่ น อตฺถิ จึงไม่มี สภาเวน ติกฺขตฺตา- ภาวะที่จะกล้าแข็งได้ ตามสภาวะ -อุสฺสาหนียตา และ ภาวะที่จะพึงให้อาจหาญ (สามารถ) สพฺพทา ในกาลทุกเมื่อ ฯ [วิเคราะห์อกุศลมูล] (จิตเหล่าใด) มุยฺหนฺติ ย่อมลุ่มหลง สมฺมุยฺหนฺติ คือย่อมมัวมล อติสเยน อย่างยิ่ง โมเหน โดยโมหะ มูลนฺตรวิรหโต เพราะเว้นจากมูลอื่น อิติ เพราะ เหตุนั้น จิตเหล่านั้น โมมูหานิ จึงชื่อว่าโมมูหจิต ฯ อิจฺเจวนฺติอาทิ ค�ำว่า อิจฺเจว เป็นต้น ทฺวาทสากุสลจิตฺตานํ นิคมนํ เป็นการกล่าวย�้ำถึงอกุศลจิต ๑๒ ดวง ยถาวุตฺตานํ ตามที่กล่าวแล้ว ฯ อิติสทฺโท อิติ ศัพท์ ตตฺถ ในค�ำว่า อิจฺเจว นั้น วจนวจนียสมุทายนิทสฺสนตฺโถ มีอรรถแสดงการรวมค�ำพูดและค�ำที่ควรพูด ฯ เอวํสทฺโท เอว ศัพท์ วจนวจนียปฏิปาฏิสนฺทสฺสนตฺโถ มีอรรถแสดงล�ำดับ แห่ง ค�ำพูด และค�ำที่ควรพูด ฯ วา หรือ เอส เอว ศัพท์นี้ นิปาตสมุทาโย เป็นนิบาตรวมความ วจนวจนียนิคมนารมฺเภ ใช้ในการเริ่มค�ำลงท้ายแห่งค�ำพูด และค�ำที่ควรพูด ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า ทฺวาทส อกุสลจิตฺตานิ อกุศลจิต ๑๒ ดวง สมตฺตานิ จบบริบูรณ์แล้ว ปรินิฏฺฐิตานิ คือจบเรียบร้อยแล้ว สงฺคเหตฺวา อตฺตานิ วา หรือว่าท่านอาจารย์รวบรวมไว้แล้ว คหิตานิ คือ
32 ปริเฉทที่ ๑ ก�ำหนดแล้ว วุตฺตานิ ได้แก่ กล่าวไว้แล้ว สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง สมฺปโยคาทินา อากาเรน คือโดยอาการมีสัมปโยคเป็นต้น สพฺเพนปิ แม้ทั้งปวง อิติ คือ โสมนสฺสุเปกฺขาทิฏฺฐิสมฺปโยคาทินา สัมปโยคด้วยโสมนัสเวทนา อุเบกขาเวทนา และทิฏฐิเป็นต้น (คือ โลภมูลจิต ๘ ดวง) ปฏิฆสมฺปโยคาทินา สัมปโยคด้วยปฏิฆะเป็นต้น (คือ โทสมูลจิต ๒ ดวง) วิจิกิจฉุทฺธจฺจโยเคน และ สัมปโยคด้วยวิจิกิจฉาเจตสิกและอุทธัจจเจตสิก (คือ โมมูหจิต ๒ ดวง) อิจฺเจวํ อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้ ยถาวุตฺตนเยน คือโดยนัยตามที่กล่าวแล้ว ฯ ตตฺถ ในบทว่า อกุศลจิตฺตานิ นั้น บัณฑิตพึงทราบอธิบายความ ดังต่อไปนี้ กุสลปฏิปกฺขานิ จิตทั้งหลายที่เป็นปฏิปักษ์ต่อกุศลจิต อกุสลานิ ชื่อว่าอกุศลจิต มิตฺตปฏิปกฺโข อมิตฺโต วิย ดุจคนที่เป็นปฏิปักษ์ต่อมิตร ชื่อว่า อมิตร ฉะนั้น ฯ จ ก็ กุสลากุสลานํ ปฏิปกฺขภาโว ภาวะที่กุศลจิตกับอกุศลจิตเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน เวทิตพฺโพ บัณฑิตพึงทราบ กุสลากุสลานํ ปหายกปหาตพฺพภาเวน โดยภาวะ ที่กุศลจิตเป็นธรรมชาตละ และอกุศลจิตเป็นธรรมชาตจะพึงถูกละ ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ อฏฺฐธาติอาทิ ค�ำว่า อฏฺธา เป็นต้น สงฺคหคาถา เป็นคาถา รวมความ ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า อกุสลา อกุศลจิต ทฺวาทส สิยุํ พึงมี ๑๒ ดวง อิติ คือ จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย โลภมูลานิ ชื่อว่ามีโลภะเป็นมูล โลโภ จ โส สุปฺปติฏฺ€ิตภาวสาธเนน มูลสทิสตฺตา มูลญฺจ ตํ เอเตสนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีโลภะนั้นด้วย ชื่อว่าเป็นมูล เพราะเป็นเช่นกับมูลราก โดยให้ส�ำเร็จภาวะแห่งสัมปยุตธรรมทั้งหลายด�ำรงมั่นอย่างดีด้วย อฏฺ€ธา สิยุํ พึงมี ๘ ดวง เวทนาทิเภทโต โดยความต่างกันแห่งเวทนาเป็นต้น, จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย โทสมูลานิ ชื่อว่ามีโทสะเป็นมูล ตถา ก็เหมือนกัน โทโส จ โส สุปฺปติฏฺ€ิตภาวสาธเนน มูลสทิสตฺตา มูลญฺจ ตํ เอเตสนฺติ คือ เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า มีโทสะนั้นด้วย ชื่อว่าเป็นมูล เพราะเป็นเช่นกับมูลราก โดยให้ส�ำเร็จ ภาวะแห่งสัมปยุตธรรมทั้งหลายด�ำรงมั่นอย่างดีด้วย ทฺวิธา สิยุํ พึงมี ๒ ดวง สงฺขารเภทโต โดยความต่างแห่งสังขาร, จิตฺตานิ จ และจิตทั้งหลาย โมหมูลานิ
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 33 ชื่อว่ามีโมหะเป็นมูล โมหมูลสงฺขาตานิ ได้แก่ กล่าวคือชื่อว่า มีโมหะเป็นมูล สุทฺโธ โมโหเยว มูลเมเตสนฺติเจติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีโมหะล้วน ๆ เท่านั้น เป็นมูล เทฺว สิยุํ พึงมี ๒ ดวง สมฺปโยคเภทโต โดยความต่างแห่งสัมปโยค ฯ อกุสลวณฺณนา นิฏฺ€ิตา พรรณนาความอกุศลจิต จบแล้ว ฯ (อธิบายอเหตุกจิต) ๑ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วิภชิตฺวา ครั้นจ�ำแนก ติวิธมฺปิอกุสลํ อกุศลจิต แม้ทั้ง ๓ อย่าง มูลเภทโต โดยความต่างกันแห่งมูล ทฺวาทสวิธา แยกเป็น ๑๒ ดวง สมฺปโยคาทิเภทโต โดยความต่างกันแห่งธรรมที่สัมปโยคเป็นต้น เอวํ ดังพรรณนา มาฉะนี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ นิทฺทิสนฺโต เมื่อจะแสดง อเหตุกจิตฺตานิ อเหตุกจิต (๑๘ ดวง) เตสํ ติวิธภาเวปิแม้เมื่ออเหตุกจิตเหล่านั้น ก็มี ๓ อย่าง อกุสลวิปากาทิวเสน คือเป็นอกุศลวิบากจิตเป็นต้น วิภชิตุํ หวังจะจ�ำแนก อกุสลวิปาเกเยว เฉพาะ อกุศลวิบากจิต สตฺตธา เป็น ๗ ดวง จกฺขฺวาทินิสฺสยสมฺปฏิจฺฉนฺนาทิกิจฺจเภเทน โดยความต่างกันแห่งที่อาศัยมีจักขุวัตถุเป็นต้น และกิจมีสัมปฏิจฉันนกิจเป็นต้น อกุสลานนฺตร ในล� ํำดับต่อจากอกุศลจิต อุเปกฺขาสหคตํ จกฺขุวิญฺาณนฺติอาทิมาห จึงกล่าวค�ำว่า อุเปกฺขาสหคตํ จกฺขุวิญฺญาณํ ดังนี้ เป็นต้น ฯ ตตฺถ พึงทราบวิเคราะห์ ในค�ำว่า อุเปกฺขาสหคตํ จกฺขุวิญฺญาณํ เป็นต้นนั้น ดังต่อไปนี้ จกฺขุ ธรรมชาต ที่ชื่อว่าจักขุ จกฺขติวิญฺาณาธิฏฺ€ิตํ หุตฺวา สมวิสมํ อาจิกฺขนฺตํ วิย โหตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมชี้แจงคือเป็นที่ตั้งอาศัยแห่งวิญญาณจิต เป็นดุจบอกรูป ที่เสมอ และที่ไม่เสมอ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ จกฺขุ ธรรมชาตที่ชื่อว่าจักขุ จกฺขติรูปํ อสฺสาเทนฺตํ วิย โหตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมชอบใจ คือเป็น ดุจพอใจรูป ฯ หิความจริง จกฺขตีติอยํ สทฺโท จกฺขติ ศัพท์นี้ อสฺสาทนตฺโถ โหติมีอรรถว่าชอบใจ มธุํ จกฺขติพฺยญฺชนํ จกฺขตีติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคว่า ผึ้งชอบน�้ำหวาน คนชอบกับข้าว ดังนี้เป็นต้น ฯ เตนาห ภควา เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า มาคนฺทิย ดูก่อนมาคันทิยะ จกฺขุ โข จักขุแล
34 ปริเฉทที่ ๑ รูปารามํ มีรูปเป็นที่มายินดี รูปรตํ ยินดีแล้วในรูป รูปสมฺมุทิตํ อันรูปให้บันเทิง พร้อมแล้ว อิติอาทิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ถามว่า ยทิ เอวํ ถ้าเมื่อเป็นเช่นนั้น โสตํ โข มาคนฺทิย สทฺทารามํ สทฺทรตํ สทฺทสมฺมุทิตนฺติอาทิวจนโต เพราะ พระบาลีว่า ดูก่อนมาคันทิยะ โสตะแล มีเสียงเป็นที่มายินดี ยินดีแล้วในเสียง อันเสียงให้บันเทิงพร้อมแล้ว ดังนี้เป็นต้น โสตาทีนมฺปิสทฺทาทิอสฺสาทนํ อตฺถิ แม้โสตะเป็นต้นก็มีความชอบใจในเสียงเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น เตสมฺปิ จกฺขุสทฺทาภิเธยฺยตา การจะเรียกโสตะเป็นต้นแม้เหล่านั้น ด้วยศัพท์ว่า จักขุ อาปชฺชติ ก็ย่อมถูกต้อง มิใช่หรือ ฯ นาปชฺชติ ตอบว่า ไม่ถูกต้อง นิรุฑฺฒตฺตา เพราะศัพท์ว่า จักขุ นั้นเป็นศัพท์จ�ำกัดความหมาย ฯ หิ ความจริง เอส จกฺขุสทฺโท ศัพท์ว่า จักขุ นี้ นิรุฑฺโฒ เป็นศัพท์ที่จ�ำกัดความหมาย จกฺขุปฺปสาเทเยว เฉพาะ จักขุประสาทรูป ทฏฺฐุกามตานิทานกมฺมชภูตปฺปสาทลกฺขเณ ที่มีลักษณะท�ำภูตรูป ที่เกิดแต่กรรมซึ่งมีความต้องการจะดูเป็นแดนเกิดให้ผ่องใส มยุราทิสทฺทา สกุณวิเสสาทีสุ วิย ดุจศัพท์มี มยุรศัพท์เป็นต้นจ�ำกัดความหมายในนกวิเศษ เป็นต้น ฉะนั้น ฯ ปน อีกอย่างหนึ่ง มํสปิณฺโฑปิ แม้ก้อนเนื้อ ภมุกฏฺ€ิปริจฺฉินฺโน ที่ก�ำหนดด้วยกระดูกคิ้ว จกฺขุนฺติ วุจฺจติ ท่านก็เรียกว่า จักขุ จกฺขุสหวุตฺติยา เพราะอยู่ร่วมกับจักขุ ฯ ปน ส่วน อฏฺ€กถายํ ในอรรถกถาพระอรรถกถาจารย์ ค�ำนึงถึง อิติ ว่า ธาตูนํ อเนกตฺถตฺตา เพราะธาตุทั้งหลายมีเนื้อความเป็น เอนกประการ จกฺขติสทฺทสฺส วิภาวนตฺถตาปิสมฺภวติแม้ศัพท์ว่า จกฺขติ ย่อมมี ความหมายว่า ชี้แจงก็ได้ อิติ ดังนี้ จกฺขูติวุตฺตํ จึงกล่าวว่า ธรรมชาตที่ชื่อว่า จักขุ จกฺขติรูปํ วิภาเวตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมเห็น คือชี้แจงรูป ฯ จกฺขุวิญฺาณํ ที่ชื่อว่า จักขุวิญญาณ จกฺขุสฺมึวิญฺาณํ ตนฺนิสฺสิตตฺตาติเพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า วิญญาณในจักขุ เพราะอาศัยจักขุนั้นอยู่ ฯ ตถาเหตํ วุตฺตํ สมจริง ดังค�ำที่พระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ อิติ ว่า เอตํ จกฺขุสนฺนิสฺสิตรูปวิชานนลกฺขณ ค� ํำว่า จักขุวิญญาณนี้ มีลักษณะอาศัยจักขุปสาทรูป และรู้แจ้งรูปได้ ฯ โสตวิญฺาณาทีสุปิ แม้ในโสตวิญญาณจิตเป็นต้น ทฏฺพฺพํ บัณฑิตก็พึงเห็น ยถารหํ ตามสมควร
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 35 เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ฯ ตถาติ อิมินา ด้วยค�ำว่า ตถา นี้ อุเปกฺขาสหคตภาวํ อติทิสฺสติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ย่อมแสดงว่า จิตสหรคตด้วยอุเบกขา ฯ [วิเคราะห์โสตะ เป็นต้น] โสตํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าโสตะ วิญฺาณาธิฏฺ€ิตํ หุตฺวา สุณาตีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่ตั้งอาศัยแห่งวิญญาณจิต ได้ยิน ฯ ฆานํ ธรรมชาตที่ชื่อว่า ฆานะ ฆายติคนฺโธปาทานํ กโรตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมสูดกลิ่น คือ ท�ำการถือเอากลิ่น ฯ ชีวิตนิมิตฺตํ นิมิตแห่งชีวิต รโส คือรส ชีวิตํ ชื่อว่าชีวิต ฯ นิรุตฺตินเยน โดยนิรุตตินัย ชิวฺหา ธรรมชาตที่ชื่อว่าชิวหา ตํ อวฺหยติ ตสฺมึ นินฺนตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เรียกร้องชีวิตนั้น เพราะน้อมไปในชีวิตนั้น ฯ กาโย สภาวะที่ชื่อว่ากาย กุจฺฉิตานํ ปาปธมฺมานํ อาโย ปวตฺติฏฺ€านนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นบ่อเกิด คือเป็นที่เป็นไปแห่งปาปธรรมทั้งหลายที่ น่าเกลียด ฯ กายินฺทฺริยญฺหิ ความจริง กายินทรีย์ วิเสสการณํ เป็นเหตุพิเศษ ปาปธมฺมานํ แห่งปาปธรรมทั้งหลาย ตทสฺสาทวสปฺปวตฺตานํ ที่เป็นไปด้วย อ�ำนาจความพอใจโผฏฐัพพารมณ์นั้น ตํมูลิกานญฺจ และมีกายปสาทรูปนั้นเป็นมูล โผฏฺ€พฺพคหณสภาวตฺตา เพราะเป็นสภาวะรับโผฏฐัพพารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น เตสํ ปวตฺติฏฺ€านํ วิย คยฺหติกายินทรีย์ ท่าน (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) จึงถือเอา ดุจที่เป็นไปแห่งปาปธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ฉะนั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง สสมฺภารกาโย กายพร้อมทั้งเครื่องปรุง กาโย ก็ชื่อว่ากาย กุจฺฉิตานํ เกสาทีนํ อาโยติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นบ่อเกิดแห่งอาการ ๓๒ มีผมเป็นต้น ที่น่าเกลียด ฯ ปน อนึ่ง ปสาทกาโยปิ แม้ปสาทกาย ตถา วุจฺจติ ท่านก็เรียกว่ากายเหมือนกัน ตํสหจริตตฺตา เพราะไปร่วมกันกับสัมภารกายนั้น ฯ ทุกฺขํ ธรรมชาติที่ชื่อว่าทุกข์ กุจฺฉิตํ หุตฺวา ขนติกายิกสุขํ ทุกฺขมนฺติวา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นสิ่งที่ น่าเกลียดขุดความสุขทางกาย หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันสัตว์ทนได้ยาก ฯ อปเร อาจารย์ อีกพวกหนึ่ง ทุกฺกรโมกาสทานํ เอตสฺสาติทุกฺขนฺติปิกล่าวว่า
36 ปริเฉทที่ ๑ ธรรมชาตชื่อว่าทุกข์ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีการให้โอกาสที่ท�ำได้ยาก ดังนี้ก็มี ฯ สมฺปฏิจฺฉนฺน จิตชื่อว่าสัมปฏิจฉันนะ ํ ปญฺจวิญฺาณคหิตํ รูปาทิอารมฺมณํ สมฺปฏิจฺฉติ ตทาการปฺปวตฺติยาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมรับอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น ที่ปัญจวิญญาณจิตรับไว้แล้ว เพราะมีความเป็นไปตามอาการที่รับมานั้น ฯ สนฺตีรณํ จิตที่ชื่อว่า สันตีรณะ สมฺมา ตีเรติ ยถาสมฺปฏิจฺฉิตํ รูปํ วีมํสตีติเพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า ย่อมพิจารณาโดยชอบ คือสอดส่องรูปตามที่สัมปฏิจฉันนจิตรับไว้แล้ว ฯ วิปากานิ จิตที่ชื่อว่าวิบาก วรุทฺธานํ กุสลากุสลานํ ปากานีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นผลของกุศลจิตและอกุศลจิต ที่ขัดแย้งกันและกัน ฯ เอตํ ค�ำว่า วิบาก นี้ อธิวจนํ เป็นชื่อ อรูปธมฺมานํ ของอรูปธรรม วิปกฺกภาวมาปนฺนานํ ที่ถึงภาวะ ซึ่งให้ผลแล้ว ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความ ดังว่ามานี้ กฏตฺตารูปานํ กตัตตารูปทั้งหลาย กุสลากุสลกมฺมสมุฏฺานานมฺปิ แม้ที่มีกุศลกรรมและอกุศลกรรม เป็นสมุฏฐาน นตฺถิวิปากโวหาโร ก็ไม่เรียกว่า เป็นวิบาก ฯ วิปากจิตฺตานิ จิตที่ เป็นวิบาก อกุสลสฺส ของอกุศลจิต อกุสลวิปากจิตฺตานิ ชื่อว่าอกุศลวิบากจิต ฯ สุข ธรรมชาตที่ชื่อว่าสุข ํ สุขยติกายจิตฺตนติวา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมยัง กายและจิตให้สบาย สุฏฺฐุขนติกายจิตฺตาพาธนติวา หรือ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมขุดความเบียดเบียนกายและจิต ด้วยดี สุเขน ขมิตพฺพนฺติ วา หรือเพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า อันสัตว์พึงทนได้โดยง่าย ฯ อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า สุกรโมกาสทานํ เอตสฺสาติสุขนฺติปิธรรมชาตที่ชื่อว่าสุข เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีการให้โอกาสที่ท�ำได้โดยง่าย ดังนี้ก็มี ฯ (ปุจฉา) ถาม อิติ ว่า กสฺมา ปน ก็เพราะ เหตุไร อกุสลวิปากสนฺตีรณํ สันตีรณจิตฝ่ายอกุศลวิบาก ยถา เอกเมว วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวไว้เพียงดวงเดียวเท่านั้น ฉันใด กุสลวิปากสนฺตีรณํ สันตีรณจิตฝ่ายกุศลวิบาก เอวํ อวตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ไม่กล่าวไว้ฉันนั้น ทฺวิธา วุตฺต กล่าวไว้ถึง ๒ ดวง ฯ (ตอบว่า) ํ เวทนาเภทสมฺภวโต เพราะสันตีรณจิต ฝ่ายกุศลวิบากนั้นมีความต่างกันแห่งเวทนา อิฏฺอิฏฺมชฌตฺตารมฺมณวเสน ด้วยอ�ำนาจ อิฏฐารมณ์และอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ฯ (ปุจฉา ถาม) อิติ ว่า
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 37 ยทิ เอวํ ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น ตตฺถาปิ แม้ในสันตีรณจิต ฝ่ายอกุศลวิบากนั้น เวทนาเภเทน ภวิตพฺพํ ก็ต้องมีความต่างกันแห่งเวทนา อนิฏฺานิฏฺมชฺฌตฺตา รมฺมณวเสน ด้วยอ�ำนาจอนิฏฐารมณ์และอนิฏฐมัชฌัตตารมณ์บ้าง (มิใช่หรือ) ฯ (ตอบว่า) นยิทเมว สันตีรณจิตฝ่ายอกุศลวิบากนี้ หาเป็นเช่นนั้นไม่ ํ อนิฏฺารมฺมเณ อุปฺปชฺชิตพฺพสฺสาปิโทมนสฺสสฺส ปฏิเฆน วินา อนุปฺปชฺชนโต เพราะโทมนัสแม้ที่ จะพึงเกิดขึ้นในอนิฏฐารมณ์ เว้นปฏิฆะเสีย ก็เกิดขึ้นไม่ได้ เอกนฺตมกุสลสภาวสฺส ปฏิฆสฺส อพฺยากเตสุ อสมฺภวโต จ และเพราะปฏิฆะซึ่งมีสภาวะเป็นอกุศลโดย ส่วนเดียว ไม่เกิดในอารมณ์ที่เป็นอัพยากฤตทั้งหลาย ฯ หิเพราะว่า ภินฺนชาติโก ธมฺโม ธรรมที่มีชาติต่างกัน น อุปลพฺภติ หาไม่ได้แน่นอน ภินฺนชาติเกสุ ในหมวด ธรรมที่มีชาติต่างกัน ตสฺมา ฉะนั้น โทมนสฺสํ น สมฺภวติ โทมนัสจึงไม่เกิด อกุสลวิปาเกสุ ในอกุศลวิบากจิตทั้งหลาย อตฺตนา สมานโยคกฺขมสฺส อสมฺภวโต เพราะปฏิฆะอันควรแก่การประกอบที่เสมอกันกับตนไม่เกิดมี อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส ตํสหคตตา น วุตฺตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงไม่กล่าวสันตีรณจิตฝ่าย อกุศลวิบากนั้นว่าสหรคตด้วยโทมนัสสเวทนานั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฯ โกจิ ทุพฺพลปุริโส คนมีก�ำลัง (พลัง) อ่อนแอบางคน พลวตา พาธิยมาโน ถูกคนแข็งแรงเบียดเบียนอยู่ ตสฺส ปฏิปฺผริตุํ อสกฺโกนฺโต เมื่อไม่สามารถ จะโต้ตอบเขาได้ ตสฺมึ อุเปกฺขโกว โหติย่อมเป็นผู้วางเฉยในผู้นั้นเสีย ยถา ฉันใด อกุสลวิปากานํ ปริทุพฺพลภาวโต เพราะอกุศลวิบากจิต (๗ ดวง) มีก�ำลัง (พลัง) น้อย รอบด้าน อนิฏฺารมฺมเณปิ โทมนสฺสุปฺปาโท นตฺถิ โทมนัสจึง ไม่เกิดมี แม้ในอนิฏฐารมณ์ เอวเมว ฉันนั้นเหมือนกัน อิติ เพราะเหตุนั้น สนฺตีรณํ อุเปกฺขาสหคตเมว สันตีรณจิต จึงสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น ฯ ปน อนึ่ง อุภยวิปากานิปิ แม้วิบากจิตทั้ง ๒ ฝ่าย จตฺตาริ ฝ่ายละ ๔ ดวง จกฺขุวิญฺาณาทีนิ มีจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น อุเปกฺขาอุเปกฺขาสหคตานิ ก็สหรคต ด้วยอุเบกขาเวทนา อนิฏฺเ€ปิอิฏฺเ€ปิจ อารมฺมเณ ทั้งในอนิฏฐารมณ์ และทั้ง ในอิฏฐารมณ์ วตฺถารมฺมณฆฏนาย ทุพฺพลภาวโต เพราะกิริยาที่วัตถุกับอารมณ์
38 ปริเฉทที่ ๑ กระทบกัน มีพลังอ่อน ฯ หิ ความจริง จกฺขฺวาทีนิ วัตถุทั้งหลาย มีจักขุวัตถุ เป็นต้น วตฺถุภูตานิ อันเป็นที่ตั้งที่เกิด เตสํ จตุนฺนมฺปิแห่งวิญญาณจิตแม้ทั้ง ๔ ดวงเหล่านั้น อุปาทารูปาเนว ก็เป็นอุปาทายรูปนั่นเอง ฯ รูปาทีนิ อารมณ์ ทั้งหลาย มีรูปารมณ์เป็นต้น อารมฺมณภูตานิปิ แม้ที่เป็นอารมณ์แห่งวิญญาณจิต แม้ทั้ง ๔ ดวงเหล่านั้น ตถา ก็เหมือนกัน คือ เป็น อุปาทายรูปนั่นเอง ฯ จ ก็ อุปาทารูปเกน อุปาทารูปสฺส สงฺฆฏนํ กิริยาที่อุปทายรูปกับอุปาทายรูปกระทบกัน อติทุพฺพลํ มีพลังอ่อนอย่างยิ่ง ปิจุปิณฺฑเกน ปิจุปิณฺฑกสฺส ผุสนํ วิย คล้ายกับ กิริยาที่ปุยนุ่นกับปุยนุ่นกระทบกัน ฉะนั้น ตสฺมา เพราะฉะนั้น ตานิ วิญญาณจิต ๔ ดวงเหล่านั้น อุเปกฺขาสหคตาเนว จึงสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น สพฺพตฺถาปิ แม้ในอารมณ์ทั้งปวง ฯ ปน ส่วนว่า กายวิญฺาณสฺส โผฏฺพฺพสงฺขาตํ ภูตตฺตยเมว อารมฺมณ กายวิญญาณจิต มีเฉพาะภูตรูป ๓ ประการ กล่าวคือ โผฏฐัพพารมณ์เท่านั้นเป็นอารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ภูตรูป ๓ ประการนั้น กายปฺปสาเท สงฺฆฏิตมฺปิ แม้กระทบกายปสาทรูปแล้ว ตํ อติกฺกมิตฺวา ก็เลย กายปสาทรูปนั้น มหาภูเตสุ ปฏิหญฺติ ไปกระทบมหาภูตรูป ตนฺนิสฺสเยสุ ซึ่งเป็นที่อาศัยแห่งกายปสาทรูปนั้น ฯ จ ก็ ภูตรูเปหิภูตรูปานํ สงฺฆฏนํ กิริยา ที่ภูตรูปกับภูตรูปกระทบกัน พลวตรํ มีพลังแรงกว่า อธิกรณีมตฺถเก ปิจุปิณฺฑกํ เปตฺวา กูเฏน ปหตกาเล กูฏสฺส ปิจุปิณฺฑกํ อติกฺกมิตฺวา อธิกรณีคหณํ วิย คล้ายกับเวลาที่บุคคลวางปุยนุ่นไว้บนทั่ง แล้วเอาฆ้อนทุบ ฆ้อนเลยปุยนุ่นไปกระทบทั่ง ฉะนั้น ตสฺมา เพราะฉะนั้น กายวิญฺาณํ กายวิญญาณจิต อนิฏฺเ ทุกฺขสหคตํ จึงสหรคตด้วยทุกขเวทนา ในอนิฏฐารมณ์อิฏฺเ สุขสหคตํ สหรคตด้วยสุขเวทนา ในอิฏฐารมณ์ วตฺถารมฺมณฆฏนาย พลวภาวโต เพราะกิริยาที่วัตถุกับอารมณ์ กระทบกันมีพลังรุนแรง อิติ ดังนี้แล ฯ สมฺปฏิจฺฉนฺนยุคลมฺปิ แม้สัมปฏิจฉันนจิตทั้งคู่ (คือ สัมปฏิจฉันนจิต ฝ่ายอกุศลวิบาก ๑ ดวง สัมปฏิจฉันนจิต ฝ่ายกุศลวิบากอเหตุกจิต ๑ ดวง) อุปฺปชฺชติ ก็เกิดขึ้น จกฺขุวิญฺาณาทีนมนฺตรํ ในล�ำดับจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 39 อตฺตนา อสมานนิสฺสยานํ ซึ่งมีวัตถุที่อาศัยไม่เสมอกับตน อิติ เพราะเหตุนั้น นาติพลวํ จึงมีพลังไม่มากนัก อลทฺธานนฺตรปจฺจยตาย เพราะไม่ได้อนันตรปัจจัย สมานนิสฺสยโต จากจิตที่มีวัตถุที่อาศัยเสมอกัน สภาคุปตฺถมฺภนรหิโต ปุริโส วิย เปรียบเหมือนคนผู้ปราศจากสหายผู้คอยช่วยเหลือที่เป็นพวกเดียวกัน ฉะนั้น วิสยรสมนุภวิตุํ น สกฺโกติจึงไม่สามารถเสวยรสอารมณ์ได้ สพฺพถาปิ แม้โดย ประการทั้งปวง อิติ เพราะเหตุนั้น อุเปกฺขาสหคตเมว จึงสหรคตด้วยอุเบกขา เวทนาเท่านั้น สพฺพตฺถาปิ แม้ในอารมณ์ทั้งปวง ฯ วุตฺตวิปริยายโต โดยปริยาย อันตรงกันข้ามจากค�ำที่กล่าวแล้ว กุสลวิปากสนฺตีรณํ สันตีรณจิตฝ่ายกุศลวิบาก อิฏฺฐอิฏฺฐมชฺฌตฺตารมฺเณสุ สุโขเปกฺขาสหคตํ จึงสหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ในอิฏฐารมณ์ และสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ในอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ อิติ แล ฯ (ถาม) อิติ ว่า ยทิเอว ถ้าเมื่อเป็นอย่างนั้น ํกสฺมา เพราะเหตุไร อาวชฺชนทฺวยสฺส อุเปกฺขาสมฺปโยคํ วกฺขติท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าวอาวัชชนจิตทั้ง ๒ ดวง ว่าสัมปโยคด้วยอุเบกขาเวทนาไว้เล่า ตมฺปิ อาวัชชนจิตทั้ง ๒ ดวงแม้นั้น สมานนิสฺสยานนฺตรมฺปวตฺตติ ก็เป็นไป (เกิด) ในล�ำดับจิตที่มีวัตถุที่อาศัยเสมอกัน นนุ มิใช่หรือ ฯ (ตอบ) อิติ ว่า สจฺจํ ค�ำที่ท่านกล่าวแล้วนั้น เป็นความจริง ปน แต่ว่า ตตฺถ บรรดาอาวัชชนจิตทั้ง ๒ ดวงนั้น ปุริม ปัญจทวาราวัชชนจิต ํ ดวงต้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ปุพฺเพว เกนจิอคฺคหิเตเยว อารมฺมเณ ในอารมณ์ ที่จิตดวงไหน ๆ ยังไม่เคยรับมาก่อนเลย เอกวารเมว เพียงวาระเดียวเท่านั้น ปจฺฉิมมฺปิ แม้มโนทวาราวัชชนจิตดวงหลัง พฺยาปารนฺตรสาเปกฺขํ ก็มีความเพ่ง ถึงความพยายามอย่างอื่น วิสทิสจิตฺตสนฺตานปราวตฺตนวเสน คือความเปลี่ยนไป แห่งจิตตสันดานที่ไม่เหมือนกัน อิติ เพราะหตุนั้น น สกฺโกติ จึงไม่สามารถ วิสยรสมนุภวิตุํ เสวยรสอารมณ์ได้ สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง ตสฺมา เพราะฉะนั้น มชฺฌตฺตเวทนาสมฺปยุตฺตเมว จึงสัมปยุตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น ฯ โหนฺติเจตฺถ ก็ ในอธิการนี้ มีคาถารวมความว่า ฯ
40 ปริเฉทที่ ๑ หิ เพราะ วตฺถาลมฺพสภาวานํ ภูติกานํ ฆฏฺฏนํ กิริยาที่ อุปาทายรูปทั้งหลาย ซึ่งมีสภาวะเป็นวัตถุและอารมณ์กระทบกัน ทุพฺพล มีพลังอ่อน ํ อิติ เพราะเหตุนั้น จกฺขฺวาทิจตุจิตฺต จิต ๔ ดวง ํ มีจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น อุเปกฺขกํ จึงสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ฯ ตุ แต่ กายนิสฺสยโผฏฺ€พฺพภูตานํ ฆฏฺฏนาย พลวตฺตา เพราะกิริยาที่ภูตรูปซึ่งเป็นที่อาศัยแห ่งกายประสาทและเป็น โผฏฐัพพารมณ์กระทบกัน มีพลังรุนแรง วิญฺาณํ กายิกํ กายวิญญาณจิต น มชฺฌเวทนํ จึงไม่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ฯ ยสฺมา เพราะ นตฺถานนฺตรปจฺจโย สัมปฏิจฉันนจิตทั้ง ๒ ดวง ไม่มีอนันตรปัจจัย สมานนิสฺสโย ทีมีวัตถุที่อาศัยเสมอกัน ตสฺมา ฉะนั้น สมฺปฏิจฺฉนํ สัมปฏิจฉันนจิต(ทั้ง ๒ ดวง) ทุพฺพลํ จึงมี พลังอ่อน โสเปกฺขํ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา อาลมฺเพ ในอารมณ์ (ทั้งปวง) ฯ อเหตุกจิตฺตานิ จิตที่เป็นอเหตุกะ สมฺปยุตฺตเหตุวิรหโต จ เพราะเว้น จากสัมปยุตเหตุด้วย กุสลสฺส วิปากานิ จ เป็นวิบากแห่งกุศลจิตด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น กุสลวิปากาเหตุกจิตฺตานิ จึงชื่อว่าอเหตุกจิตฝ่ายกุศลวิบาก ฯ หิ ความจริง เอตานิ อเหตุกจิตฝ่ายกุศลวิบากนี้ นิปฺผนฺนานิปิ แม้ส�ำเร็จแล้ว นิพฺพตฺตกเหตุกวเสน ด้วยอ�ำนาจนิพพัตตกเหตุ อเหตุกโวหารํ ลภนฺติ ย่อมเรียกได้ว่า เป็นอเหตุกะ สมฺปยุตฺตเหตุวเสเนว ด้วยอ�ำนาจสัมปยุตเหตุ นั่นเอง อิตรถา มหาวิปาเกหิ อิเมสํ นานตฺตาสมฺภวโต เพราะเมื่อก�ำหนด เนื้อความนอกไปจากนี้ อเหตุกจิตฝ่ายกุศลวิบากเหล่านี้จะไม่มีความต่างกันจาก มหาวิบากจิตทั้งหลาย ฯ (ถาม) อิติ ว่า ปน ก็ เอตฺถ ในกุศลวิบากจิตและ อกุศลวิบากจิตเหล่านี้ กึ การณํ มีอะไรเป็นเหตุ อเหตุกคฺคหณํ น กตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงมิได้ลงศัพท์ว่า อเหตุกะ ไว้ อกุสลวิปากนิคมเน ในค�ำ ลงท้ายแห่งอกุศลวิบากจิต ยถา อิธ เอวํ เหมือนในค�ำลงท้ายแห่งกุศลวิบากจิต
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 41 นี้เล่า ฯ ตอบว่า พฺยภิจาราภาวโต เพราะไม่มีปรากฏที่ไหนอีก ฯ หิ ความจริง สติ สมฺภเว พฺยภิจาเร จ เมื่อความเกิดและความเป็นไปต่างกัน มีอยู่ วิเสสนํ สาตฺถกํ สิยา บทวิเสสนะก็พึงมีประโยชน์ ฯ ปน ก็ อกุสลวิปากานํ สเหตุกตาย สมฺภโว นตฺถิ อกุศลวิบากจิต (๗ ดวง) ย่อมไม่มีความเกิดโดยความเป็นสเหตุกะ กทาจิปิ แม้ในกาลบางคราว อโลภาทีหิ สมฺปโยคาโยคโต เพราะไม่เกี่ยวเนื่อง กับการประกอบด้วยสัมปโยคเหตุทั้งหลายมีอโลภะเป็นต้น ตพฺพิธุเรหิ อันเป็น ข้าศึก ต่อธรรมที่มีโทษมีโลภะเป็นต้นนั้น โลภาทิสาวชฺชธมฺมวิปากภาเวน โดย ความเป็นวิบากแห่งธรรมที่มีโทษมีโลภะเป็นต้น สยํ อพฺยากตนิรวชฺชสภาวานํ โลภาทิอกุสลธมฺมสมฺปโยควิโรธโต จ และเพราะธรรมทั้งหลายที่มีสภาวะไม่มีโทษ เป็นอัพยากฤตโดยตน ผิดจากสัมปโยคด้วยอกุศลธรรมมีโลภะเป็นต้น อิติ เพราะ เหตุนั้น ตานิ อกุศลวิบากจิต ๗ ดวงเหล่านั้น อเหตุกปเทน น วิเสสิตพฺพานิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงไม่ให้ต่างไป ด้วยบทว่า อเหตุกะ อเหตุกภาวาพฺยภิจารโต เพราะไม่มีความเป็นไปต่างจากความเป็นอเหตุกะ อิติ แล ฯ [อธิบายอเหตุกิริยาจิต] อิทานิ บัดนี้ ท ่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตุํ ประสงค์จะแสดง อเหตุกกฺริยาจิตฺตานิปิแม้กิริยาจิตฝ่ายอเหตุกะทั้งหลาย ติธา เป็น ๓ ดวง กิจฺจเภเทน โดยความต่างกันแห่งกิจ (หน้าที่) อเหตุกาธิกาเร ในอธิการว่าด้วย 40อเหตุกจิต อุเปกฺขาสหคตนฺติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อุเปกฺขาสหคต ดังนี้ เป็นต้น ฯ (จิตดวงใด) อาวชฺเชติ ย่อมนึกถึง จกฺขฺวาทิปญฺจทฺวาเร ฆฏิตมารมฺมณํ อารมณ์ ที่กระทบปัญจทวารมีจักขุทวารเป็นต้น ตตฺถ อาโภคํ กโรติ คือ กระท�ำ ความค�ำนึงในอารมณ์ที่กระทบนั้น จิตฺตสนฺตานํ ภวงฺควเสน ปวตฺติตุํ อทตฺวา วีถิจิตฺตภาวาย ปริณาเมติ วา หรือย่อมไม่ให้จิตสันดานเป็นไปด้วยอ�ำนาจ เป็นภวังคจิต แล้วให้เปลี่ยนไปเพื่อเป็นวิถีจิต อิติ เพราะเหตุนั้น (จิตดวงนั้น) ปญฺจทฺวาราวชฺชนํ ชื่อว่า ปัญจทวาราวัชชนะ กฺริยาเหตุกมโนธาตุจิตฺตํ ได้แก่
42 ปริเฉทที่ ๑ มโนธาตุจิตฝ่ายอเหตุกกิริยา ฯ ภวงฺคจิตฺตํ ภวังคจิต (คือ ภวังคุปัจเฉทะ) อาวชฺชนสฺส อนนฺตรปจฺจยภูตํ ซึ่งเป็นอนันตรปัจจัยแก ่อาวัชชนจิต (คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต และ มโนทวาราวัชชนจิต) มโนทฺวารํ ชื่อว่า มโนทวาร วีถิจิตฺตานมฺปวตฺติมุขภาวโต เพราะเป็นทางเป็นไปแห่งวิถีจิตทั้งหลาย ฯ (จิต ดวงใด) อาวชฺเชติ ย่อมค�ำนึงถึง อาปาถํ คตมารมฺมณํ อารมณ์ที่มาปรากฏ ทิฏฺสุตมุตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจอารมณ์มีรูปารมณ์ที่ได้เห็น สัททารมณ์ ที่ได้ยิน และคันธารมณ์เป็นต้นที่ได้ทราบเป็นต้น ตสฺมึ ในมโนทวารนั้น วุตฺตนเยเนว จิตฺตสนฺตานํ ปริณาเมติวา หรือย่อมให้จิตตสันดานเปลี่ยนไปโดยนัยที่กล่าวแล้ว นั่นแหละ อิติ เพราะเหตุนั้น (จิตดวงนั้น) มโนทวาราวชฺชน ชื่อว่า มโนทวาราวัชชนะ ํ กฺริยาเหตุกมโนวิฺ าณธาตุอุเปกฺขาสหคตจิตฺตํ ได้แก่ จิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา เวทนาอันเป็นมโนวิญญาณธาตุฝ่ายอเหตุกกิริยา ฯ จ ก็ อิทเมว มโนทวาราวัชชนจิต ดวงนี้แหละ ปญฺจทฺวาเร ยถาสนฺตีริตมาลมฺพนํ ววตฺถเปติย่อมตัดสินอารมณ์ ตามที่ได้พิจารณาแล้ว ในปัญจทวาร อิติ เพราะเหตุนั้น โวฏฺ€พฺพนนฺติปวุจฺจติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงเรียกว่า โวฏฐัพพนจิต ฯ (จิตดวงใด) หสิตํ อุปฺปาเทติ ย่อมยังการแย้มให้เกิดขึ้น อิติ เพราะเหตุนั้น (จิตดวงนั้น) หสิตุปฺปาทํ ชื่อว่า หสิตุปปาทะ กฺริยาเหตุกมโนวิญฺาณธาตุโสมนสฺสสหคตจิตฺต ได้แก่ จิตที่สหรคต ํ ด้วยโสมนัสสเวทนา อันเป็นมโนวิญญาณธาตุฝ่ายอเหตุกกิริยา ปหฏฺาการมตฺตเหตุกํ อันเป็นเหตุเพียงอาการร่าเริง ขีณาสวานํ อโนฬาริการมฺมเณสุ ในเพราะ อารมณ์ที่ละเอียดแห่งพระขีณาสพทั้งหลาย ฯ สพฺพถาปีติ ค�ำว่า สพฺพถาปิ อกุสลวิปากกุสลวิปากกฺริยาเภเทน ได้แก่โดยความต่างกันแห่งอกุศลวิบากจิต กุศลวิบากจิต และกิริยาจิต ฯ อฏฺารสาติ บทว่า อฏฺารส คณนปริจฺเฉโท เป็นการ ก�ำหนดจ�ำนวน ฯ อเหตุกจิตฺตานีติ บทว่า อเหตุกจิตตฺานิ ปริจฺฉินฺนธมฺมนิทสฺสนํ เป็นการแสดงธรรมที่ก�ำหนดไว้แล้ว ฯ อเหตุกวณฺณนา นิฏฺ€ิตา พรรณนาความอเหตุกจิต จบ ฯ