The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(สำนวนสนามหลวง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Je Je, 2023-11-29 01:05:58

(สำนวนสนามหลวง)

(สำนวนสนามหลวง)

Keywords: บาลี

พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 43 [อธิบายกามาวจรกุศลจิต] (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดง สมตฺตึสจิตฺตานิ จิต ๓๐ ดวง ถ้วน ทฺวาทสากุสลาเหตุกฏฺารสวเสน คืออกุศลจิต ๑๒ ดวง อเหตุกจิต ๑๘ ดวง เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ ตพฺพินิมุตฺตานํ โสภณโวหารํ เปตุํ หวังจะตั้งชื่อจิตที่พ้นจากจิต ๓๐ ดวงถ้วนนั้นว่า โสภณจิต ปาปาเหตุกมุตฺตานีติ อาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า ปาปาเหตุกมุตฺตานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ อธิบายว่า จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย มุตฺตานิ ที่พ้น ปาเปหิ จากจิตที่ชื่อว่าปาปะ อตฺตนา อธิสยิตสฺส อปายาทิทุกฺขปาปนโต เพราะยังบุคคลที่ตนอาศัยอยู่ให้ถึงทุกข์มีทุกข์ในอบาย เป็นต้น เหตุกสมฺปโยคาภาวโต อเหตุเกหิ จ และจากจิตที่ชื่อว่าอเหตุกะ เพราะไม่มีสัมปโยคด้วยเหตุ เอกูนสฏฺ€ิปริมาณานิ มีจ�ำนวน ๕๙ ดวง จตุวีสติ- กามาวจรปญฺจตฺตึสมหคฺคตโลกุตฺตรวเสน คือ กามาวจรจริต ๒๔ ดวง มหัคคตจิต และโลกุตตรจิต ๓๕ ดวง อถวา อีกอย่างหนึ่ง เอกนวุติปิ จิตมี ๙๑ ดวงบ้าง อฏฺโลกุตฺตรานิปจฺเจกํ ปญฺจธา ปญฺจธา กตฺวา เพราะแยกโลกุตตรจิต ๘ ดวง แต่ละดวงออกเป็นอย่างละ ๕ ดวง ฌานงฺคโยคเภเทน โดยความต่างกันแห่ง การประกอบด้วยองค์ฌาน โสภณานีติ วุจฺจเร กถิยนฺติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ เรียกว่า คือกล่าวว่า โสภณจิต โสภณคุณาวหนโต เพราะเป็นเครื่องน�ำมา ซึ่งคุณอันงาม อโลภาทิอนวชฺชเหตุสมฺปโยคโต จ และประกอบด้วยเหตุที่ไม่มีโทษ มีอโลภเหตุเป็นต้น ตํเหตุกตฺตา เพราะมีการน�ำมาซึ่งคุณอันงามนั้นเป็นเหตุ ฯ โสภเณสุ กามาวจรานเมว ปมํ อุทฺทิฏฺตฺตา เพราะบรรดาโสภณจิต ทั้งหลาย (๕๙ หรือ ๙๑ ดวง) โสภณจิตเฉพาะฝ่ายกามาวจร (๒๔ ดวง) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ยกขึ้นแสดงก่อน (และ) เตสุปิอพฺยากตานํ กุสลปุพฺพกตฺตา เพราะแม้บรรดาโสภณจิตฝ่ายกามาวจรเหล่านั้น อัพยากตจิตทั้งหลาย (คือ วิบากจิต และกิริยาจิต) มีกุศลจิตน�ำหน้า (ฉะนั้น) อิทานิ บัดนี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย ทสฺเสตุํ หวังจะแสดง ปมํ กามาวจรกุสลํ กามาวจรกุศลจิตก่อน ตโต


44 ปริเฉทที่ ๑ ต่อแต่นั้น แสดง ตพฺพิปากํ จิตที่เป็นวิบากแห่งกามาวจรกุศลจิตนั้น ตทนนฺตรํ จ และในล�ำดับนั้น แสดง กฺริยาจิตฺตํ กิริยาจิต ตเทกภูมิปริยาปนฺนํ ซึ่งนับเนื่อง ในชั้นเดียวกันกับกามาวจรกุศลจิตนั้น ปจฺเจกํ อฏฺธา ประเภทละ ๘ ดวง เวทนาาณสงฺขารเภเทน โดยความต่างกันแห่งเวทนา ญาณ และสังขาร โสมนสฺสสหคตนฺติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า โสมนสฺสสหคต ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในค�ำว่า โสมนสฺสสหคต เป็นต้นนั้น พึงทราบอธิบายความมีอรรถ วิเคราะห์เป็นต้นดังต่อไปนี้ าณํ ธรรมชาติที่ชื่อว่าญาณ ชานาติ ยถาสภาวํ ปฏิวิชฺฌตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมรู้ คือย่อมรู้ตลอด (ธรรมทั้งหลาย) ตามสภาวะ ฯ เสสํ วุตฺตนยเมว ค�ำที่ยังเหลือ มีนัยดังกล่าวมาแล้วนั่นแหละ ฯ เอตฺถ จ ก็ในอธิการว่าด้วยกามาวจรกุศลจิตนี้ เวทิตพฺพา พึงทราบ โสมนสฺสสหคตตา ว่า จิตสหรคตด้วยโสมนัส การเณหิ ด้วยเหตุหลายประการ พลวสทฺธาย ทสฺสนสมฺปตฺติยา ปจฺจยปฏิคฺคาหกาทิสมฺปตฺติยาติ เอวมาทีหิ มีอาทิอย่างนี้ คือ ด้วยศรัทธาแก่กล้า ด้วยความเห็นอันบริสุทธิ์ ด้วยความพร้อมแห่งปัจจัยและ ปฏิคาหกเป็นต้น จ และพึงทราบ าณสมฺปยุตฺตตา ว่า จิตเป็นญาณสัมปยุต ปญฺาสวตฺตนิกกมฺมโต ํ โดยการกระท�ำที่เป็นไปร่วมกับปัญญา อพฺยาปชฺชโลกูปปตฺติโต โดยการเกิดในโลกที่ไม่ถูกเบียดเบียน อินฺทฺริยปริปากโต โดยอินทรีย์แก่กล้า กิเลสทูรีภาวโต จ และโดยกิเลสอยู่ห่างไกล พึงทราบ อุเปกฺขาสหคตตา เจว าณวิปฺปยุตฺตตา จ ว่า จิตสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา และว่าจิตเป็นญาณวิปยุต ตพฺพิปริยาเยน โดยบรรยายตรงกันข้ามกับเหตุที่กล่าวมาแล้วนั้น พึงทราบ อสงฺขาริกตา ว่าจิตเป็นอสังขาริก กายจิตฺตานํ กลฺลภาวโต โดยกายและจิต มีความสามารถ อาวาสสปฺปายาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจสัปปายะมีอาวาสสัปปายะเป็นต้น ปุพฺเพ ทานาทีสุ กตปริจยตาทีหิและโดยบุรพจริยาเป็นต้นว่าความเป็นผู้ได้เคย ท�ำการสั่งสมไว้ในบุญกิริยาวัตถุทั้งหลายมีทานเป็นต้นในปางก่อน สสงฺขาริกตา จ และพึงทราบว่าจิตเป็นสสังขาริก ตพฺพิปริยาเยน โดยบรรยายตรงกันข้ามกับเหตุ ที่กล่าวมาแล้วนั้น ฯ ตตฺถ บรรดากุศลจิต ๘ ดวงนั้น ยทา ปน ก็ ในกาลใด


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 45 โย บุคคลใด อาคมฺม อาศัย เทยฺยธมฺมปฏิคฺคาหกาทิสมฺปตฺตึ ความถึงพร้อม แห่งไทยธรรมและปฏิคาหกเป็นต้น อญฺ โสมนสฺสเหตุ วา หรือเหตุแห่งโสมนัส อย่างอื่น หฏฺปหฏฺโ ร่าเริง ยินดี อตฺถิทินฺนนฺติอาทินยปฺปวตฺตํ สมฺมาทิฏ€ึ ปุรกฺขิตฺวา เชิดชู สัมมาทิฏฐิอันเป็นไปโดยนัยว่า ทานที่บุคคลให้แล้วมีผลจริง ดังนี้เป็นต้น ไว้เบื้องหน้ อสํสีทนฺโต ไม่ท้อแท้ ปเรหิ อนุสฺสาหิโต ไม่ถูกผู้อื่น กระตุ้นเตือน ทานาทีนิปุญฺานิกโรติย่อมท�ำบุญมีทานเป็นต้น ตทาสฺส ตํ จิตฺตํ ในกาลนั้น จิตดวงนั้นของบุคคลนั้น โสมนสฺสสหคตํ สหรคตด้วยโสมนัส าณสมฺปยุตฺต เป็นญาณสัมปยุต ํอสงฺขาริกํ โหติเป็นอสังขาริก ฯ ยทา ปน ส่วน ในกาลใด บุคคลใด หฏฺตุฏฺโ ร่าเริงยินดี สมฺมาทิฏฺ€ึ ปุรกฺขิตฺวา เชิดชูสัมมาทิฏฐิไว้เบื้องหน้า วุตฺตนเยเนว โดยนัยดังกล ่าวแล้วนั่นแหละ สํสีทมาโน วา ท้อแท้อยู่ อมุตฺตจาคตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นผู้มีการสละ ไม่ขาดเป็นต้น ปเรหิอุสฺสาหิโต วา หรือถูกผู้อื่นกระตุ้นเตือน กโรติ จึงท�ำบุญ ตทา ในกาลนั้น อสฺส ตเทว จิตฺตํ จิตดวงนั้นนั่นแหละของบุคคลนั้น สสงฺขาริกํ โหติ เป็นสสังขาริก ฯ ยทา ปน ส่วน ในกาลใด พาลทารกา พวกเด็กไร้เดียงสา ชาตปริจยา เกิดความเคยชิน าติชนสฺส ปฏิปตฺติทสฺสเนน เพราะเห็นการปฏิบัติของชนผู้เป็นญาติ ภิกฺขู ทิสฺวา เห็นภิกษุทั้งหลายแล้ว โสมนสฺสชาตา เกิดความดีใจ สหสา ยงฺกิญฺจิเทว หตฺถคตํ ททนฺติ วา รีบถวายของที่อยู่ในมืออย่างใดอย่างหนึ่ง วนฺทนฺติ วา หรือไหว้ ตทา ในกาลนั้น ตติยํ จิตฺตํ จิตดวงที่ ๓ เตสํ ของเด็กเหล่านั้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ยทา ปน ส่วน ในกาลใด (พวกเด็กไร้เดียงสาเหล่านั้น) าตีหิ อุสฺสาหิตา ถูกหมู่ญาติกระตุ้นเตือน เทถ วนฺทถาติ ว่า พวกเจ้าจงถวาย จงไหว้ เอวํ ปฏิปชฺชนฺติ จึงปฏิบัติตามอย่างนั้น ตทา ในกาลนั้น จตุตฺถํ จิตฺตํ จิตดวงที่ ๔ ของเด็กเหล่านั้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ฯ ยทา ปน ส่วน ในกาลใด (คนทั้งหลาย) อาคมฺม อาศัยความ อสมฺปตฺตึ ไม่พรั่งพร้อม เทยฺยธมฺมปฏิคฺคาหกาทีนํ แห่งไทยธรรม และปฏิคาหกเป็นต้น อญฺเสํ โสมนสฺสเหตูนํ อภาวํ วา หรือ ความไม่มีเหตุ


46 ปริเฉทที่ ๑ แห่งโสมนัสเหล่าอื่น โสมนสฺสรหิตา โหนฺติ ย่อมเป็นผู้ปราศจากโสมนัส จตูสุ วิกปฺเปสุ ในข้อก�ำหนดทั้ง ๔ อย่าง ตทา ในกาลนั้น เสสานิ จตฺตาริ อุเปกฺขาสหคตานิจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ๔ ดวงที่เหลือ (ของชนเหล่านั้น) อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้น อิติ แล ฯ อฏฺปีติปิสทฺเทน ด้วย ปิ ศัพท์ในบทว่า อฏฺปิ นี้ สมฺปิณฺเฑติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมประมวล อเนกวิธตฺตํ ความที่ จิตมีหลายประเภท ทสปุญฺกิริยาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ เป็นต้น ฯ ตถาหิวทนฺติสมจริงดังที่ท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ อิติ ว่า นยโกวิโท ท่านผู้ฉลาดในการนับ คเณยฺย พึงนับจิตเหล่านี้ ปุญฺวตฺถูหิ โดยบุญกิริยาวัตถุทั้งหลาย ๑ โคจราธิปตีหิจ อารมณ์ ๑ อธิบดีธรรม ๑ กมฺมหีนาทิโต เจว กรรม ๑ ประเภทที่เลวเป็นต้น ๑ กเมน ตามล�ำดับ ฯ หิ ความจริง อิมานิ อฏฺ จิตฺตานิจิต ๘ ดวง เหล่านี้ อสีติจิตฺตานิ โหนฺติมี ๘๐ ดวง ปจฺเจกํ ทสทสาติกตฺวา เพราะอธิบายว่า แยกจิตแต่ละดวง ออกเป็น ๑๐ ดวง ทสปุญฺกิริยาวตฺถุวเสน ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปด้วย อ�ำนาจบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ ฯ จ ก็ ตานิ จิต ๘๐ ดวงเหล่านั้น ปจฺเจกํ ฉคุณิตานิแต่ละดวงเอา ๖ คูณ ฉสุ อารมฺมเณสุ ปวตฺตนโต เพราะเป็นไป ในอารมณ์ ๖ สาสีติกานิจตฺตาริ สตานิโหนฺติจึงรวมเป็นจิต ๔๘๐ ดวง ฯ ปน แต่ว่า อธิปติเภเทน โดยประเภทแห่งอธิบดีธรรม ญาณวิปฺปยุตฺตานํ จตฺตาฬีสาธิกทฺวิสตปริมาณานํ วีมสําธิปติสมาโยคาภาวโต เพราะจิตที่ปราศจากญาณ มีจ�ำนวน ๒๔๐ ดวง ไม่มีการประกอบด้วยวิมังสาธิบดีธรรม ตานิ จิต ๒๔๐ ดวง เหล่านั้น ติคุณิตานิ เอา ๓ คูณ ติณฺณํ อธิปตีนํ วเสน ด้วยอ�ำนาจแห่ง อธิบดีธรรม ๓ ประการ วีสาธิกานิ สตฺตสตานิ จึงรวมเป็นจิต ๗๒๐ ดวง ฯ ตถา าณสมฺปยุตฺตานิจ และจิตที่ประกอบด้วยญาณ มีจ�ำนวน ๒๔๐ ดวง ก็เหมือนกัน จตุคุณิตานิ คือ เอา ๔ คูณ จตุนฺนํ อธิปตีนํ วเสน ด้วยอ�ำนาจ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 47 อธิบดีธรรม ๔ ประการ สมสฏฺ€ิกานินวสตานิ จึงรวมเป็นจิต ๙๖๐ ดวงถ้วน อิติเอวํ รวมความดังว่ามานี้ อธิปติวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจอธิบดีธรรม สหสฺสํ สาสีติกานิ ฉสตานิจ โหนฺติ จึงมีจิต ๑,๖๘๐ ดวง ฯ ตานิ จิต ๑,๖๘๐ ดวงเหล่านั้น ติคุณิตานิ เอา ๓ คูณ กายวจีมโนกมฺมสงฺขาตกมฺมติกวเสน ด้วยอ�ำนาจกรรม ๓ คือกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม จตฺตาฬีสาธิกานิปญฺจสหสฺสานิโหนฺติ จึงมีจิต ๕,๐๔๐ ดวง ฯ ตานิ จ และจิต ๕,๐๔๐ ดวงเหล่านั้น ติคุณิตานิ เอา ๓ คูณ หีนมชฺฌิมปณีตเภทโต โดยประเภทแห่งจิตที่ต�่ำ ปานกลาง และที่ประณีต วีสสตาธิกปณฺณรสสหสฺสานิ โหนฺติ จึงรวมเป็นจิต ๑๕,๑๒๐ ดวง ฯ ยํ ปน ส่วนค�ำใด อาจริยพุทฺธทตฺตตฺเถเรน วุตฺตํ ที่ท่านอาจารย์พุทธทัตตเถระกล่าว อิติ ว่า วินิทฺทิเส บัณฑิตพึงแสดงไข กามาวจรปุญฺานิ กามาวจรกุศลจิต ภวนฺติ มีสตฺตรสสหสฺสานิเทฺวสตานิอสีติจ ๑๗,๒๘๐ ดวง ฯ ตํ ค�ำนั้น ทฏฺพฺพํ พึงเห็น อิติ ว่า อนาทิยิตฺวา ท่านไม่ค�ำนึงถึง คณนปริหานึ การลดจ�ำนวน อธิปติวเสน ด้วยอ�ำนาจอธิบดีธรรม โสตปติตวเสน วุตฺตํ กล่าวไว้ด้วยอ�ำนาจการนับเรื่อยไป ฯ ปน ส่วน เนสํ เภโท ประเภท แห่งกามาวจรกุศลจิตเหล่านั้น กาลเทสาทิเภเทน โดยความต่างแห่งกาละและ เทศะเป็นต้น อปฺปเมยฺโยว หาประมาณมิได้เลย ฯ กุสลานิ จิตทั้งหลายที่ชื่อว่า กุศล กุจฺฉิเต ปาปธมฺเม สลยนฺติ กมฺเปนฺติ หึเสนฺติ อปคเมนฺตีติ วา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมก�ำจัด คือ ยังอกุศลธรรมทั้งหลายที่น่าเกลียด ให้หวั่นไหว หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เบียดเบียน คือยังปาปธรรมทั้งหลาย ที่น่าเกลียดให้ปราศจากไป ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง กุสลานิ จิตทั้งหลายที่ชื่อว่า กุศล กุจฺฉิตากาเรน สนฺตาเน สยนโต ปวตฺตนโต กุสสงฺขาเต ปาปธมฺเม ลุนนฺติฉินฺทนฺตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า บั่นรอน คือตัดปาปธรรมที่ชื่อว่ากุสะ เพราะนอนเนื่องในสันดาน คือเป็นไปในสันดานโดยอาการที่น่าเกลียด ฯ อถวา


48 ปริเฉทที่ ๑ อีกอย่างหนึ่ง กุสลานิ จิตทั้งหลายที่ชื่อว่ากุศล อิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า าเณน อันญาณ สทฺธาทิธมฺมชาเตน วา หรือธรรมชาตมีศรัทธาเป็นต้น กุสสงฺขาเตน ที่ชื่อว่ากุสะ กุจฺฉิเต ปาปธมฺเม สานโต ตนุกรณโต เพราะเป็น เครื่องก�ำจัดอกุศลธรรมทั้งหลายที่น่าเกลียดท�ำให้เบาบาง โอสานกรณโต วา หรือเป็นเครื่องกระท�ำอกุศลธรรมทั้งหลายที่น่าเกลียดให้สิ้นสุด ลาตพฺพานิ พึงถือเอา ปวตฺเตตพฺพานิ คือพึงให้เป็นไป ยถารหํ ตามสมควร สหชาตอุปนิสฺสยภาเวน โดยเป็นสหชาตปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย ฯ ตาเนว กุศลจิตเหล่านั้นนั่นแหละ กามาวจรกุสลจิตฺตานิ ชื่อว่า กามาวจรกุศลจิต ยถาวุตฺตตฺเถน กามาวจรานิ จ จิตฺตานิ จาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นจิตที่ท่องเที่ยวไปในกามภพโดยอรรถ ตามที่กล่าวแล้ว ฯ ปน เหมือนอย่างว่า เอตานิ กามาวจรกุศลจิตเหล่านั้น ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป ปุญฺกิริยาวเสน ด้วยอ�ำนาจบุญกิริยาวัตถุ กมฺมทฺวารวเสน ด้วยอ�ำนาจกรรมทวาร กมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจกรรม อธิปติวเสน จ และด้วยอ�ำนาจ อธิบดีธรรม ยถา ฉันใด วิปากานิ กามาวจรวิบากจิตทั้งหลาย น เอวํ หาเป็น ฉันนั้นไม่ ทานาทิวเสน อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่เป็นไปด้วยอ�ำนาจบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ มีทานเป็นต้น วิญฺญตฺติสมุฏฺฐาปนาภาวโต เพราะไม่ให้วิญญัติ บังเกิดขึ้น อวิปากสภาวโต เพราะไม่มีวิบากเป็นสภาวะ ฉนฺทาทีนิ ปุรกฺขิตฺวา อวุตฺติโต จ และเพราะไม่ท�ำฉันทาธิบดีธรรมเป็นต้นไว้เบื้องหน้า เป็นไป ตสฺมา เพราะฉะนั้น ตํวเสน ปริหาเปตฺวา พึงลดจ�ำนวนด้วยอ�ำนาจวัตถุ ๔ ประการ มีความไม่เป็นไปด้วยอ�ำนาจบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการ มีทานเป็นต้นเป็นอาทินั้นแล้ว ยถารหํ คณนเภโท โยเชตพฺโพ ประกอบความต่างกันแห่งจ�ำนวน ตามสมควร ฯ อิมานิปิแม้กามาวจรวิบากจิตฝ่ายสเหตุกะ ๘ ดวงเหล่านี้ อิฏฺอิฏฺมชฺฌตฺตา รมฺมณวเสน โสมนสฺสุเปกฺขาสหิตานิก็สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ด้วยอ�ำนาจ อิฏฐารมณ์ และสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ด้วยอ�ำนาจอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ญาณสมฺปยุตฺตานิญาณวิปฺปยุตฺตานิจ โหนฺติเป็นญาณสัมปยุต และเป็นญาณวิปยุต กมฺมสฺส พลวาพลวภาวโต โดยกรรมมีพลัง และไม่มีพลัง


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 49 ปฏิสนฺธาทิวสปฺปวตฺติย ในเวลาเป็นไปด้วยอ� ํำนาจกิจมีปฏิสนธิกิจเป็นต้น เยภุยฺเยน ชวนานุรูปโต โดยสมควรแก่ชวนกิจโดยมาก ตทาลมฺพนปวตฺติยํ ในเวลาเป็นไป กับด้วยตทาลัมพนกิจ กมฺมนุรูปโต จ และโดยสมควรแก่กรรม ตตฺถาปิ แม้ในเวลา เป็นไปกับด้วยตทาลัมพนกิจนั้น กทาจิ ในกาลบางคราว ฯ อสงฺขาริกานิโหนฺติ เป็นอสังขาริก กมฺมาทิปจฺจเยหิ โดยปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น ยถาอุปฏฺ€ิเตหิ ตามที่ปรากฏ ยถาปโยคํ วินา เว้นถูกกระตุ้นเตือน อุตุโภชนาทิสปฺปายวเสน และด้วยอ�ำนาจปัจจัยที่เป็นสัปปายะมีฤดูและโภชนะเป็นต้น สสงฺขาริกานิจ โหนฺติ และเป็นสสังขาริก กมฺมาทิปจฺจเยหิ โดยปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น ยถาอุปฏฺ€ิเตหิ ตามที่ปรากฏ สมฺปโยคญฺจ พร้อมกับถูกกระตุ้นเตือน อุตุโภชนาทิอยาสฺปฺปายวเสน จ และด้วยอ�ำนาจปัจจัยที่ไม่เป็นสัปปายะมีฤดูและโภชนะเป็นต้น ฯ เวทิตพฺพา บัณฑิต พึงทราบ กฺริยาจิตฺตานมฺปิ โสมนสฺสสหคตตาทิตา แม้กามาวจรกิริยาจิตฝ่าย สเหตุกะ (๘ ดวง) ว่าสหรคตด้วยโสมนัสสเวทนาเป็นต้น ยถารหํ ตามสมควร กุสเล วุตฺตนเยเนว ตามนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้ ในกามาวจรกุศลจิต (๘ ดวง) นั่นแหละ ฯ สเหตุกคหณ ศัพท์ว่า สเหตุกะ ํสเหตุก ฯเปฯ กฺริยาจิตฺตานีติเอตฺถ ในค�ำว่า สเหตุกกามาวจรกุสลวิปากกฺริยาจิตฺตานิ นี้ วิเสสนํ เป็นบทวิเสสนะ วิปากกิริยาเปกฺขํ เพ่งถึงวิบากจิตและกิริยาจิต กุสลสฺส เอกนฺตสเหตุกตฺตา เพราะกุศลจิตเป็นสเหตุกะโดยส่วนเดียว ฯ หิ ความจริง ยถาลาภโยชนา การประกอบความตามที่จะรู้ได้ โหติ มีอยู่ ฯ สกฺขรกถลิกมฺปิ มจฺฉคุมฺพมฺปิ จรนฺตมฺปิติฏฺนฺตมฺปีติอาทีสุ ดุจในประโยคว่า ก้อนกรวดและกระเบื้องถ้วยบ้าง ฝูงปลาบ้าง เที่ยวไปก็มี หยุดอยู่ก็มี ดังนี้เป็นต้น จรณํ โยชิยติพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงประกอบกิริยาเที่ยวไป มจฺฉคุมฺพาเปกฺขาย โดยทรงมุ่งถึงฝูงปลา สกฺขรกถลิกสฺส จรณาโยคโต เพราะก้อนกรวดและกระเบื้องถ้วยไม่ประกอบกับกิริยาเที่ยวไป ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า สเหตุกามาวจรปุญฺปากกิริยา กุศลจิต วิบากจิต และกิริยาจิตที่เป็นกามาวจรฝ่ายสเหตุกะ สมฺปิณฺเฑตฺวา จตุวีสติมตา บัณพิตประมวลมากล่าวไว้ ๒๔ ดวง เวทนา ฯเปฯ เภเทน โดยความต่างกัน


50 ปริเฉทที่ ๑ แห่งเวทนา ญาณ และสังขาร ปจฺเจกํ เวทนาเภทโต ทุวิธตฺตา เพราะว่าโดย ความต่างกันแห่งเวทนา แต่ละอย่าง มีอย่างละ ๒ ดวง ปจฺเจกํ าณเภทโต จตุพฺพิธตฺตา เพราะว่าโดยความต่างกันแห่งญาณ แต่ละอย่างมีอย่างละ ๔ ดวง ปจฺเจกํ สงฺขารเภทโต อฏฺวิธตฺตา จ และเพราะว่าโดยความต่างกันแห่งสังขาร แต่ละอย่าง จึงมีอย่างละ ๘ ดวง ฯ (ถาม) อิติ ว่า จ ก็ เวทนาเภโท ความต่างกัน แห่งเวทนา ยุตฺโต เหมาะสมแล้ว ตาว ก่อน ตาสํ ภินฺนสภาวตฺตา เพราะเวทนา เหล่านั้นมีสภาวะต่างกัน นนุ มิใช่หรือ ? ปน ส่วน าณสงฺขารเภทโต ความ ต่างกันแห่งญาณและสังขาร กถํ ยุตฺโต จะเหมาะสมอย่างไร ? ฯ (ตอบ) อิติ ว่า เภโท ความต่างกัน าณสงฺขารานํภาวาภาวกโตปิ แม้อันความมี และความไม่มีแห่งญาณและสังขารกระท�ำแล้ว าณสงฺขารกโตว ก็ชื่อว่า อันญาณและสังขารกระท�ำแล้วนั่นเอง ยถา วสฺสกโต สุภิกฺโข ทุพฺภิกฺโข เปรียบเหมือน ข้าวดี (และ) ข้าวเสียอันฝนกระท�ำแล้ว ฉะนั้น อิติ ตสฺมา เพราะเหตุดังนี้นั้น เภโท ความต่างกัน ญาณสงฺขารกโต อันญาณและ สังขารกระท�ำแล้ว าณสงฺขารเภโท ชื่อว่าความต่างแห่งญาณและสังขาร อิติ เพราะเหตุนั้น น เอตฺถ โกจิ วิโรโธในเรื่องนี้ จึงไม่มีอะไรผิด ฯ อิทานิ บัดนี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ สมฺปิณฺฑิตฺวา ทสฺเสตุํ หวังจะ ประมวลแสดง สพฺพานิปิกามาวจรจิตฺตานิกามาวจรจิตแม้ทั้งปวง กาเม เตวีสา ติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า กาเม เตวีส ดังนี้เป็นต้น ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า กาเม ภเว ในกามภพ อเนกวิธภาเวปี แม้เมื่อกามาวจรจิตจะมี อเนกประการ กาลทฺวารสนฺตานาทิเภเทน โดยความต่างกันแห่งข้อเบ็ดเตล็ด มี กาล ทวาร และสันดาน เป็นต้น สพฺพถาปิ ว่าแม้โดยประการทั้งปวง กุสลากุสล วิปากกิริยานํ อนฺโตคธเภเทน คือโดยประเภทที่มีอยู่ภายในอกุศลจิต กุศลจิต วิบากจิต และกิริยาจิต จตุปญฺาเสว กามาวจรจิตก็มี ๕๔ ดวงเท่านั้น อิติ คือ เตวีสติ วิปากานิ วิบากจิต ๒๓ ดวง เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ สตฺต อกุสลวิปากานิ อกุศลวิบากจิต ๗ ดวง สเหตุกาเหตุกานิโสฬส กุสลวิปากานิกุศลวิบากจิต


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 51 ทั้งฝ่ายสเหตุกะและอเหตุกะ ๑๖ ดวง ปุญฺญาปุญฺญานิ วีสติกุศลจิต และอกุศลจิต ๒๐ ดวง อิติ คือ ทฺวาทส อกุสลานิ อกุศลจิต ๑๒ ดวง อฏฺ กุสลานิ กุศลจิต ๘ ดวง เอกาทส กิริยา จ และกิริยาจิต ๑๑ ดวง อิติ คือ อเหตุกา ติสฺโส กิริยาจิต ฝ่ายอเหตุกะ ๓ ดวง สเหตุกา อฏฺฐ กิริยาจิต ฝ่ายสเหตุกะ ๘ ดวง ฯ กามาวจรวณฺณนา พรรณนาความกามาวจรจิต นิฏฺ€ิตา จบ ฯ [พรรณนาความรูปาวจรจิต] อิทานิ บัดนี้ นิทฺเทสกฺกโม อนุปฺปตฺโต ถึงล�ำดับแห ่งการแสดงไข รูปาวจรสฺส รูปาวจรจิต (๑๕ ดวง) ตทนนฺตรุทฺทิฏฺสฺส ที่ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ยกขึ้นแสดงไว้ในล�ำดับต่อจากกามาวจรจิต (๔๕ ดวง) นั้นแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส วิภาคํ ทสฺเสตุ ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะแสดงการจ�ำแนกรูปาวจรจิต นั้นออก ปญฺจธา เป็น ๕ ดวง ฌานงฺคโยคเภเทน โดยความต ่างกัน แห่งการประกอบด้วยองค์ฌาน วิตกฺก ฯเปฯ สหิตนฺติอาทิมาห จึงกล่าวค�ำว่า วิตกฺกวิจารปีติสุเขกคฺคตาสหิต ดังนี้เป็นต้น ฯ อิเมหิ สหิตํ จิตที่สหรคตด้วย สภาวธรรมเหล่านี้ อิติ คือ วิตกฺโก จ วิจาโร จ ปีติจ สุขญฺจ เอกคฺคตา จ วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา วิตกฺก ฯเปฯ สหิตํ ชื่อว่า เกิดพร้อมด้วย วิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตา ฯ [อธิบายองค์ฌาน] ตตฺถ บรรดาสภาวธรรม ๕ ประการเหล่านั้น วิตกฺโก สภาวธรรมที่ชื่อว่า วิตก อารมฺมณํ วิตกฺเกติสมฺปยุตฺตธมฺเม อภินิโรเปตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมตรึก คือยกสัมปยุตธรรมทั้งหลายขึ้นสู่อารมณ์ ฯ โส วิตกนั้น สหชาตานํ อารมฺมณาภินิโรปนลกฺขโณ มีลักษณะยกสหชาตธรรมทั้งหลายขึ้นสู่อารมณ์ ฯ หิ เปรียบเหมือน โกจิ คามวาสี ปุริโส คนชาวบ้านบางคน นิสฺสาย อาศัย


52 ปริเฉทที่ ๑ ราชวลฺลภํ บุคคลผู้เป็นที่โปรดปราณของพระราชา ราชสมฺพนฺธินํ มิตฺตํ วา หรือมิตรผู้สนิทสนมกับพระราชา ราชเคหํ อนุปวิสติ ย่อมเข้าไปสู่พระราชมณเฑียร ได้เนืองนิตย์ ยถา ฉันใด จิตฺตํ จิต วิตกฺกํ นิสฺสาย อาศัยวิตกแล้ว อารมฺมณํ อาโรหติก็ย่อมขึ้นสู่อารมณ์ได้ เอวํ ฉันนั้น ฯ (ถาม) อิติ ว่า ยทิเอวํ ถ้าเมื่อ เป็นเช่นนั้น อวิตกฺกํ จิตฺตํ จิตที่ไม่มีวิตก อารมฺมณํ อาโรหติจะขึ้นสู่อารมณ์ได้ กถํ อย่างไร ฯ (ตอบ) อิติ ว่า ตมฺปิ จิตที่ไม่มีวิตกแม้นั้น อภิโรหติ ก็ขึ้นสู่ อารมณ์ได้ วิตกฺกพเลเนว ด้วยก�ำลังแห่งวิตกนั่นเอง ฯ หิ เปรียบเหมือน โส ปุริโส คนผู้นั้น เตน วินาปิ แม้จะเว้นบุคคลผู้เป็นที่โปรดปราณของพระราชา หรือมิตรผู้สนิทสนมกับพระราชานั้น นิราสงฺโก ก็เป็นผู้ปราศจากความระแวง ราชเคหํ ปวิสติ เข้าไปสู่พระราชมณเฑียรได้ ปริจเยน เพราะความเคยชิน ยถา ฉันใด อวิตกฺกํ จิตฺต จิตที่ไม่มีวิตก ํ วิตกฺเกน วินาปิแม้จะเว้นจากวิตกเสีย อารมฺมณํ อภินิโรหติก็ขึ้นสู่อารมณ์ได้ ปริจเยน เพราะความเคยชิน เอว ฉันนั้น ฯ ํ จ ก็ จิตฺตภาวนา การอบรมจิต นิพฺพตฺตา อันบังเกิด อภิณฺหมฺปวตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นไปเนือง ๆ สนฺตาเน ในสันดาน สวิตกฺกจิตฺตสฺส แห่งจิตที่มีวิตก ปริจโยติ ชื่อว่าความเคยชิน เอตฺถ ในอธิการนี้ ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง เอตฺถ บรรดาจิตที่ไม่มีวิตกนี้ ปญฺจวิญฺาณํ ปัญจวิญญาณจิต อวิตกฺกมฺปิ แม้ไม่มีวิตก อภิโรหนฺติ ก็ย่อมขึ้นสู่อารมณ์ได้ วตฺถาลมฺพนสงฺฆฏนพเลน ด้วยก�ำลังแห่งกิริยา ที่วัตถุกับอารมณ์กระทบกัน ทุติยชฺฌานาทีนิจ และทุติยฌานจิตเป็นต้น อภิโร หนฺติ ย่อมขึ้นสู่อารมณ์ได้ เหฏฺ€ิมภาวนาพเลน ด้วยก�ำลังแห่งภาวนาเบื้องต�่ำ ฯ [วิจาร] วิจาโร สภาวธรรมที่ชื่อว่าวิจาร อารมฺมเณ เตน จิตฺตํ วิจรตีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว ่า เป็นเครื่องค้นคว้าในอารมณ์แห ่งจิต ฯ โส วิจารนั้น อารมฺมณานุมชฺชนลกฺขโณ มีลักษณะเคล้าอารมณ์ ฯ ตถาห จริงอย่างนั้น เอส วิจารนี้ นิทฺทิฏฺโ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงไขไว้ อิติ ว่า อนุสนฺธานตา


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 53 ความสืบเนื่องกัน ฯ เอตฺถ จ ก็บรรดาวิตกและวิจารเหล่านี้ เจตโส ปมาภินิปาโต สภาวธรรมที่ยังจิตให้ตกลงก่อน วิตกฺโก ชื่อว่าวิตก ปมฆณฺฑาภิฆาโต วิย เปรียบเสมือนการเคาะระฆังครั้งแรก ฉะนั้น วิจารโต โอฬาริกฏฺเน เพราะอรรถว่า หยาบกว่าวิจาร ตสฺเสว ปุพฺพงฺคมฏฺเน จ และเพราะอรรถว่า น�ำหน้าวิจารนั้น นั่นเอง อนุสญฺจรณํ สภาวธรรมที่ค้นคว้าเนือง ๆ วิจาโร ชื่อว่าวิจาร อนุรโว วิย เปรียบเสมือนเสียงครวญแห่งระฆัง ฉะนั้น ฯ จ อนึ่ง วิปฺผารวา วิตกฺโก วิตก มีการแผ่ขยายไป จิตฺตสฺส ปริปฺผนฺทภูโต เป็นสภาวะกวัดแกว่งแห่งจิต อากาเส อุปฺปติตุกามสฺส สกุณสฺส ปกฺขวิกฺเขโป วิย เปรียบเสมือน การกระพือปีกออก ของนกตัวต้องการจะโผบินขึ้นไปในอากาศ ฉะนั้น คนฺธานุพนฺธเจตโส ภมรสฺส ปทุมาภิมุขปาโต วิย จ และเปรียบเสมือน การมุ่งหน้าโฉบลงตรงดอกปทุม ของแมลงผึ้งตัวมีจิตติดพันในกลิ่น ฉะนั้น สนฺตวุตฺติ วิจาโร วิจารมีความเป็นไป สงบ จิตฺตสฺส นาติปริปฺผนฺทภูโต เป็นสภาวะไม่กวัดแกว่งนักแห่งจิต อากาเส อุปฺปติตสฺส สกุณสฺส ปกฺขปฺปสารณํ วิย เปรียบเหมือน การกางปีกออกของนก ตัวที่บินขึ้นไปในอากาศแล้วฉะนั้น ปทุมาภิมุขปติตสฺส ภมรสฺส ปทุมสฺส อุปริภาเค ปริพฺภมนํ วิย จ และเปรียบเสมือน การบินวนบนส่วนเบื้องบน แห ่งดอกปทุม ของแมลงผึ้งตัวมุ ่งหน้าโฉบลงตรงดอกปทุมแล้วฉะนั้น ฯ ปีติ ธรรมชาติที่ชื่อว่าปีติ ปินยติ กายจิตฺตํ ตปฺเปตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ท�ำกายและจิตให้อิ่มเอิบ คือ ให้เต็ม กายจิตฺตํ วฑฺเฒตีติ วา หรือเพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ท�ำกายและจิตให้เจริญ ฯ สา ปีตินั้น สมฺปิยายนลกฺขณา มีลักษณะท�ำกายและจิตให้อิ่มเอิบ ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ อิติ ว่า อารมฺมณํ กลฺลโต คหณลกฺขณา ปีตินั้นมีลักษณะรับอารมณ์โดยเต็มที่ ฯ สุขํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าสุข สมฺปยุตฺตธมฺเม สุขยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังสัมปยุตธรรมทั้งหลายให้สบาย ฯ ตํ สุขนั้น อิฏฺานุภวนลกฺขณํ มีลักษณะ เสวยอิฏฐารมณ์ สุโภชนรสสฺสาทโก ราชา วิย เปรียบเสมือนพระราชาทรง โปรดปรานรสสุธาโภชน์ ฉะนั้น ฯ ตตฺถ บรรดาปีติและสุขนั้น ปีติยา วิเสโส


54 ปริเฉทที่ ๑ ความแปลกกันแห่งปีติ ปากโฏ ปรากฏแล้ว อารมฺมณปฏิลาเภ ในการได้รับอารมณ์ กนฺตารขินฺนสฺส วนนฺโตทกาทิทสฺสเน วิย เปรียบเสมือนความอิ่มใจ ในเพราะได้ พบน�้ำที่ชายป่าเป็นต้นของคนผู้อ่อนเพลีย ในทางกันดาร ฉะนั้น ฯ สุขสฺส วิเสโส ความแปลกกันแห่งสุข ปากโฏ ปรากฏแล้ว ยถาลทฺธสฺส อนุภวเน ในเพราะ การเสวยอารมณ์ตามที่ได้แล้ว ยถาทิฏฺโทกสฺส ปานาทีสุ วิย เปรียบเสมือน ความสบายกายในเพราะการได้ดื่มน�้ำตามที่ได้พบแล้วเป็นต้น ฉะนั้น อิติ แล ฯ เอกคฺคํ จิตฺตํ จิตที่ชื่อว่าเอกัคคะ นานาลมฺพนวิกฺเขปาภาเวน เอกํ อารมฺมณํ อคฺคํ อิมสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีอารมณ์เดียวเป็นเลิศ เพราะจิตไม่มีความฟุ้งซ่านไปในอารมณ์ต่าง ๆ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งเอกัคคะนั้น เอกคฺคตา ชื่อว่าเอกัคคตา สมาธิ ได้แก่ สมาธิ ฯ โส สมาธินั้น อวิกฺเขปลกฺขโณ มีลักษณะที่จิตไม่ฟุ้งซ่าน ฯ หิ ความจริง ตสฺส วเสน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่สัมปยุต ด้วยอ�ำนาจสมาธินั้น อวิกฺขิตฺตํ โหติ ย่อมเป็นธรรมชาตที่ไม่ฟุ้งซ่าน ฯ [อธิบายฌาน] ปมชฺฌาน ที่ชื่อว่าปฐมฌาน ํ อิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ฌาน ชื่อว่าฌาน ํ อาลมฺพนูปนิชฺฌานโต จ เพราะเพ่งอารมณ์แน่วแน่ ปจฺจนิกชฺฌาปนโต จ และ เพราะแผดเผาธรรมที่เป็นข้าศึกด้วย ปมญฺจ และชื่อว่าที่หนึ่ง อาทิภูตตฺตา เพราะเป็นเบื้องต้น เทสนากฺกมโต เจว โดยล�ำดับแห่งเทศนา อุปฺปตฺติกฺกมโต จ และโดยล�ำดับแห่งความเกิดขึ้น วิตกฺกาทิปญฺจก ได้แก่ ฌานมีองค์ ๕ มีวิตกเจตสิก ํ เป็นต้น ฯ หิ ความจริง ฌานงฺคสมุทาเยว เมื่อมีการประชุมแห่งองค์ฌาน นั่นแหละ ฌานโวหาโร จึงเรียกว่า ฌานได้ เนมิอาทิองฺคสมุทาเย รถโวหาโร วิย เปรียบเสมือน เมื่อมีการประชุมแห่งองค์ประกอบมีกงเป็นต้น จึงเรียกว่ารถได้ ฉะนั้น ฯ ตถาหิวุตฺตํ วิภงฺเค สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ในคัมภีร์วิภังค์ อิติ ว่า ฌานนฺติ ที่ชื่อว่า ฌาน วิตกฺโก วิจาโร ปีติ สุขํ จิตฺเตกคฺคตา ได้แก่ วิตก วิจาร ปีติ สุข จิตเตกัคคตา ฯ ปมชฺฌาเนน สมฺปยุตฺตํ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 55 กุสลจิตฺตํ กุศลจิตที่สัมปยุตด้วยปฐมฌาน ปมชฺฌานกุสลจิตฺตํ ชื่อว่า ปฐมฌาน กุศลจิต ฯ (ถาม) อิติ ว่า กสฺมา ปน ก็เพราะเหตุอะไร ผสฺสาทีสุ สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ เมื่อสัปยุตธรรมทั้งหลายมีผัสสะเป็นต้น อญฺเสุปิ แม้เหล่าอื่น วิชฺชมาเนสุ ก็ยังมีอยู่ อิเมเยว สภาวธรรม ๕ ประการนี้เท่านั้น ปญฺจชฺฌานงฺควเสน วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่าเป็นองค์ฌาน ๕ ฯ วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย ฯ อุปนิชฺฌานกิจฺจวนฺตตาย จ เพราะสภาวธรรม ๕ ประการนั้นมีหน้าที่เพ่งอารมณ์ ที่แน่วแน่ กามฉนฺทาทีนํ อุชุปฏิปกฺขภาวโต จ และเป็นข้าศึกโดยตรงต่อนิวรณ์ธรรม ๕ ประการมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น ฯ หิ ความจริง วิตกฺโก วิตกเจตสิก อารมฺมเณ จิตฺตํ อภินิโรเปติ ย่อมยกจิตขึ้นไว้ในอารมณ์ วิจาโร วิจารเจตสิก จิตฺตํ อนุปฺปพนฺเธติ ย่อมตามผูกพันจิต ปีติ ปีติเจตสิก อสฺส ปินนํ กโรติ ย่อมท�ำ ความอิ่มเอิบแก่จิตนั้น สุขํอุปพฺรูหนํ กโรติจ และสุขเวทนาย่อมท�ำความพอกพูน แก่จิตนั้น อถ อนึ่ง เอกคฺคตา เอกัคคตาเจตสิก เอเตหิ อันสัมปยุตธรรม ๔ ประการ เหล่านี้ อนุคฺคหิตา สนับสนุนแล้ว อภินิโรปนานุปฺปพนฺธนปินนอุปพฺรูหเนหิ โดยการยกจิตไว้ในอารมณ์ ตามผูกพันจิต ท�ำจิตให้เอิบอิ่มและท�ำความพอกพูน แก่จิต นํ สสมฺปยุตฺตธมฺมํ อตฺตานํ อนุปวตฺตาเปนฺตีก็ยังจิตดวงนั้นพร้อมทั้ง สัมปยุตธรรมให้เป็นไปตามตน สมาธานกิจฺเจน ด้วยกิจคือความตั้งมั่น อาธิยติ ย่อมตั้งจิตนั้นไว้ เอกคฺคารมฺมเณ ในอารมณ์เดียวเป็นเลิศ สมํ สมฺมา จ โดยสม�่ำเสมอ และโดยชอบ เปติ คือตั้งจิตไว้ อินฺทฺริยสมตาวเสน ด้วยอ�ำนาจ ภาวะที่อินทรียธรรมเสมอกัน สมํ ชื่อว่าสม�่ำเสมอ เปติ จ และตั้งจิตไว้ ลีนุทฺธจฺจาภาเวน โดยไม่มีความหดหู่และฟุ้งซ่าน ปฏิปกฺขธมฺมานํ ทูริภาเวน เพราะธรรมที่เป็นข้าศึกทั้งหลายอยู่ห่างไกล สมฺมา ชื่อว่าโดยชอบ อิติ เอวํ รวมความดังว่ามานี้ เอเตสเมว อุปนิชฺฌานกิจฺจํ สภาวธรรม ๕ ประการ เหล่านั้นนั่นแหละมีหน้าที่เพ่งอารมณ์ที่แน่วแน่ อาเวณิกํ เป็นแผนก ๆ กัน ฯ กามฉนฺทาทิปฏิปกฺขภาเว ปน ก็ ในความที่สภาวธรรม ๕ ประการเป็นข้าศึก ต่อนิวรณ์ธรรมมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น บัณฑิตพึงทราบความต่างกันแห่งสภาวธรรม


56 ปริเฉทที่ ๑ ๕ ประการเหล่านี้ ดังต่อไปนี้ ฯ สมาธิเอกัคคตาเจตสิก กามฉนฺทสฺส ปฏิปกฺโข ชื่อว่าเป็นข้าศึกต่อกามฉันทนิวรณ์ ราคปฺปณิธิยา อุชุวิปจฺจนิกภาวโต เพราะเป็น ข้าศึกโดยตรงต่อกิเลสเป็นเหตุตั้งมั่นคือราคะ ฯ หิความจริง จิตฺตสฺส สมาธานํ ความตั้งมั่นแห่งจิต กามฉนฺทวเสน นานารมฺมเณหิปโลภิตสฺส ปริพฺภมนฺตสฺส ที่ถูกอารมณ์ต่าง ๆ ประเล้าประโลมแล้วหมุนเวียนเปลี่ยนไป ด้วยอ�ำนาจ กามฉันทนิวรณ์ โหติย่อมมี เอกคฺคตาย เพราะความที่จิตมีอารมณ์เดียวเป็นเลิศ ฯ ปีติ ปีติเจตสิก พฺยาปาทสฺส ชื่อว ่าเป็นข้าศึกโดยตรงต ่อพยาบาทนิวรณ์ ปามุชฺชสภาวตฺตา เพราะมีสภาวะที่จิตเบิกบาน ฯ วิตกฺโก วิตกเจตสิก ถีนมิทฺธสฺส ชื่อว่าเป็นข้าศึกโดยตรงต่อถีนมิทธนิวรณ์ สวิปฺผารปฺปวตฺติโต เพราะมีความเป็นไปแผ่ขยาย โยนิโส สงฺกปฺปนวเสน ด้วยอ�ำนาจความด�ำริ โดยแยบคาย ฯ สุขํ สุขเวทนา อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจสฺส ชื่อว่าเป็นข้าศึกโดยตรง ต่ออุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ อวูปสมานุตาปสภาวสฺส ซึ่งมีสภาวะที่จิตไม่สงบระงับ และเร่าร้อนในภายหลัง วูปสนฺตสีตลสภาวตฺตา เพราะมีสภาวะสงบและเยือกเย็น ฯ วิจาโร วิจารเจตสิก วิจิกิจฺฉาย ชื่อว่าเป็นข้าศึกโดยตรงต่อวิจิกิจฉานิวรณ์ ปญฺาปฏิรูปสภาวตฺตา เพราะมีสภาวะเปรียบเสมือนกับปัญญา อารมฺมเณ อนุมชฺชนวเสน ด้วยอ�ำนาจคลุกเคล้าอารมณ์ ฯ อุปนิชฺฌานกิจฺจวนฺตตาย เพราะธรรม ๕ ประการเหล่านั้น มีหน้าที่เพ่งอารมณ์ที่แน่วแน่ กามฉนฺทาทีนํ อุชุปฏิปกฺขภาวโต จ และเพราะเป็นข้าศึกโดยตรงต่อนิวรณ์ธรรม ๕ ประการ มีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น เอวํ โดยประการดังกล่าวมานี้ อิเมเยว สภาวธรรม ๕ ประการนี้เท่านั้น ปญฺจชฺฌานงฺภาเวน ววตฺถิตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงก�ำหนดไว้ โดยความเป็นองค์ฌาน ๕ อิติ แล ฯ ยถาหุ สมจริงดังที่พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย กล่าวไว้ อิติ ว่า อุปนิชฺฌานกิจฺจตฺตา เพราะมีหน้าที่เพ่งอารมณ์ที่แน่วแน่ และ กามาทิปฏิปกฺขโต จ เพราะเป็นข้าศึกโดยตรงต่อนิวรณ์ธรรม ๕ ประการมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น ปญฺเจว สภาวธรรม ๕ ประการ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 57 เท่านั้น ฌานสญฺญิตา อาจารย์ทั้งหลายจึงก�ำหนดว่าเป็นฌาน สนฺเตสุปิอญฺเสุ ทั้งในเมื่อสัมปยุตธรรมเหล่าอื่น ก็ยังมีอยู่ ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมาย อิติ ว่า ปน เอตฺถ ก็ บรรดาองค์ฌาน ๕ มีวิตกเป็นต้นนี้ อุเปกฺขา อุเบกขา สุเขเยว อนฺโตคธา ชื่อว่าอยู่ภายในความสุข นั่นเอง สนฺตวุตฺติสภาวตฺตา เพราะมีสภาวะเป็นไปสงบ ฯ เตน เพราะเหตุนั้น อาหุ ท่านอาจารย์ทั้งหลาย จึงกล่าว อิติ ว่า อุเปกฺขา อุเบกขา สุขมิจฺเจว ภาสิตา ท่านกล่าวว่า สุขนั่นเอง สนฺตวุตฺติตฺตา เพราะมีความเป็นไปสงบ ฯ ปน ส่วน อสฺส วิเสโส ความแปลกกันแห่งฌานนั้น ปหานงฺคาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจองค์ที่ละได้เป็นต้น อุปริ อาวิภวิสฺสติ จักมีแจ้งข้างหน้า ฯ ลพฺภมานกวิเสโส ความแปลกกันที่จะได้ อรูปาวจรโลกุตฺตเรสุปิ แม้ในอรูปาวจรจิต และโลกุตตรจิต ตถา ก็เหมือนกัน คือ จักมีแจ้งข้างหน้า ฯ ปุจฺฉา (ถาม) อิติ ว่า กสฺมา เพราะเหตุไร เอตฺถ ในรูปาวจรกุศลจิตนี้ สงฺขารเภโท น คหิโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงไม่ระบุความต่างกันแห่งสังขารไว้ กามาวจรกุสเลสุ วิย เหมือนในกามาวจรกุศลจิตทั้งหลาย หิ ความจริง อิทมฺปิ รูปาวจรกุศลจิตแม้นี้ ปฏิลทฺธํ ที่ได้พระโยคาวจรได้ เกวลํ สมถานุโยควเสน ด้วยอ�ำนาจประกอบ สมถะล้วน ๆ สกฺกา วตฺตุ ก็สามารถจะเรียกได้ว่า สสงฺขาริกํ เป็นสสังขาริก ปฏิลทฺธํ ที่พระโยคาวจรได้ มคฺคาธิคมนวเสน ด้วยอ�ำนาจ บรรลุมรรค อสงฺขาริก ก็สามารถจะเรียกได้ว่า เป็นอสังขาริก ํอถ มิใช่หรือ ฯ (ตอบ) อิติ ว่า อิทํ รูปาวจรกุศลจิตนี้ น เอวํ หาเป็นอย่างนั้นไม่ มคฺคาธิคมนวเสน สตฺติโต ปฏิลทฺธสฺส สพฺพสฺสาปิฌานสฺส อปรภาเค ปริกมฺมวเสเนว อุปฺปชฺชนโต เพราะฌานแม้ทั้งหมด ที่พระโยคาวจรได้ โดยความต่อเนื่องกัน ด้วยอ�ำนาจ บรรลุมรรค ในกาลต่อมา ก็เกิดขึ้นได้ ด้วยอ�ำนาจบริกรรมนั่นเอง ตสฺมา ฉะนั้น น สกฺกา วตฺตุํ ใคร ๆ จึงไม่สามารถจะเรียกได้ว่า อสงฺขารนฺติปิ เป็นอสังขาริก


58 ปริเฉทที่ ๑ สพฺพสฺสาปิฌานสฺส ปริกมฺมสงฺขาตปุพฺพาภิสงฺขาเรน วินา เกวลํ อธิการวเสน อนุปฺปชฺชนโต เพราะฌานแม้ทั้งหมด เว้นความปรุงแต่งเบื้องต้นกล่าวคือ บริกรรมเสีย จะเกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจความตั้งใจล้วน ๆ หาได้ไม่ สสงฺขารนฺติปิจ และทั้งไม่สามารถจะเรียกได้ว่า เป็นสสังขาริก สพฺพสฺสาปิฌานสฺส อธิกาเรน วินา เกวลํ ปริกมฺมาภิสงฺขาเรเนว อนุปฺปชฺชนโต เพราะฌานแม้ทั้งหมด เว้นความตั้งใจเสีย จะเกิดขึ้นด้วยการปรุงแต่ง คือบริกรรมล้วน ๆ เท่านั้น ก็หาได้ไม่ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง (ตอบ) อิติ ว่า ปุพฺพาภิสงฺขารวเสเนว อุปฺปชฺชมานสฺส กทาจิ อสงฺขาริกภาโว น สมฺภวติ ฌานที่เกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจการปรุงแต่งเบื้องต้น อย ่างเดียว เป็นอสังขาริกในกาลบางคราว ก็ไม ่ได้ อิติ เพราะเหตุนั้น อสงฺขาริกนฺติน วุตฺตํ จ ท่านจึงไม่เรียกว่า อสังขาริก สสงฺขาริกนฺติน วุตฺตํ จ และว่า สสังขาริก พฺยภิจาราภาวโต เพราะไม่มีความเป็นไปต่างกัน ฯ จ ก็ ปิสทฺเทน ด้วย ปิ ศัพท์ เอตฺถ ในบทว่า ปญฺจปิ นี้ สงฺคณฺหาติ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์รวบรวม เอวมาทิเภทํ นัยที่ต่างกัน มีอาทิอย่างนี้ อิติ คือ สุทฺธิกนวโก นวกนัยล้วน ๆ จตุกฺกปฺ จกนยวเสน ด้วยอ�ำนาจจตุกกนัยและ ปัญจกนัย จตฺตาโร นวกา นวกนัย ๔ หมวด โยเชตฺวา เทสิตตฺตา เพราะท่าน ประกอบแสดง ตํ นวกนัยล้วน ๆ นั้น ปฏิปทาจตุกฺเกน ด้วยปฏิปทา ๔ หมวด ทุกฺขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา ทุกฺขาปฏิปทา ขิปฺปาภิฺ า สุขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา สุขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺาวเสน คือ ทุกฺขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา ทุกฺขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา สุขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา สุขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา จตฺตาโร นวกา นวกนัย ๔ หมวด อารมฺมณจตุกฺเกน โยชิตตฺตา เพราะท่าน ประกอบด้วยอารมณ์ ๔ หมวด ปริตฺตํ ปริตฺตารมฺมณํ ปริตฺตํ อปฺปมาณารมฺมณํ อปฺปมาณํ ปริตฺตารมฺมณํ อปฺปมาณํ อปฺปมาณารมฺมณนฺติคือ ปริตฺต ปริตฺตารมณ ปริตฺต อปฺปมาณารมฺมณ อปฺปมาณ ปริตฺตารมฺมณ อปฺปมาณ อปฺปมาณารมฺมณ โสฬสนวกา จ และนวกนัย ๑๖ หมวด อารมฺมณปฏิปทามิสฺสกนยวเสน ด้วยอ�ำนาจ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 59 แห่งนัยที่อารมณ์และปฏิปทาเจือปนกัน ทุกฺขาปฏิปทํ ทนฺธาภิญฺญํ ปริตฺตํ ปริตฺตารมฺมณํ ทุกฺขาปฏิปทํ ทนฺธาภิญฺญํ ปริตฺตํ อปฺปมาณารมฺมณนฺติอาทินา โดยนัยมีอาทิว่า ทกฺขาปฏิปท ทนฺธาภิญฺ ปริตฺต ปริตฺตารมณ ทุกฺขาปฏิปท ทนฺธาภิฺ  ปริตฺต อปฺปมาณารมฺมณ อิติ รวมความว่า ปญฺจวีสติ นวกา นวกนัยมี ๒๕ หมวด ฯ ฌานวิเสเสน นิพฺพตฺติตวิปาโก วิบากอันฌานพิเศษ ให้บังเกิด ตํตํฌานสทิโส ว ย่อมเป็นเหมือนกับฌานนั้น ๆ นั่นเอง เอกนฺตโต โดยแน่นอน อิติ เพราะเหตุนั้น วิปากํ วิบากจิต ฌานสทิสเมว วิภตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงจ�ำแนกไว้เหมือนกับฌานนั่นเอง ฯ หิ ความจริง อิมเมว อตฺถํ ทีเปตุํ เพื่อแสดงเนื้อความนี้นั่นแหละ ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า วิปากนิทฺเทเสปิ กุสลํ อุทฺทิสิตฺวาว จึงทรงยกกุศลจิตขึ้นแสดงไว้แม้ในนิเทศ แห่งวิบากจิต มหคฺคตโลกุตฺตรวิปากา วิภตฺตา แล้วทรงจ�ำแนกมหัคคตวิบากจิต และโลกุตตรวิบากจิตไว้ ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต ่อจากกุศลจิตนั้น ฯ อตฺโถ มีอธิบายความ อิติ ว่า รูปาวจรมานสํ รูปาวจรจิต ปญฺจธา โหติ มี ๕ ดวง ฌานเภเทน โดยความต่างกันแห่งฌาน ปญฺจหิจตูหิ ตีหิทฺวีหิปุน ทฺวีหิจ ฌานงฺเคหิสมฺปโยคเภเทน คือ โดยความต่างแห่งการประกอบด้วยองค์ฌาน ๕ องค์ฌาน ๔ องค์ฌาน ๓ องค์ฌาน ๒ และองค์ฌาน ๒ ซ�้ำอีก ปญฺจวิธํ โหติ ได้แก่ มี ๕ ดวง ปญฺจงฺคิกํ จตุรงฺคิกํ ติวงฺคิกํ ทุวงฺคิกํ ปุน ทุวงฺคิกนฺติ คือ ฌานที่มีองค์ ๕ มีองค์ ๔ มีองค์ ๓ มีองค์ ๒ และมีองค์ ๒ ซ�้ำอีก ฯ อวิเสเสน ว่าโดยความไม่แปลกกัน ตํ รูปาวจรจิตนั้น ปญฺจทสธา ภเว พึงมี ๑๕ ดวง ปเภทา โดยประเภท ปุญฺปากกิริยานํ แห่งกุศลจิต วิบากจิต และ กิริยาจิต ปุน ปจฺเจกํ ปญฺจนฺนํ ปญฺจนฺนํ แต่ละอย่าง แยกออกเป็นอย่างละ ๕ ดวงอีก ฯ รูปาวจรวณฺณนา พรรณนาความรูปาวจรจิต นิฏฺ€ิตา จบ ฯ


60 ปริเฉทที่ ๑ [วรรณนาความอรูปาวจรจิต] อิทานิ บัดนี้ วิภชิตฺวา ทสฺเสนฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์เมื่อจะจ�ำแนกแสดง อรูปาวจรํ อรูปาวจรจิต จตุธา เป็น ๔ อย่าง อารมฺมณเภเทน โดยความต่างกัน แห่งอารมณ์ อากาสานญฺจายตนนฺติอาทิอาห จึงกล่าวค�ำว่า อากาสานญฺจายตน ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในค�ำว่า อากาสานญฺจายตน เป็นต้นนั้น พึงทราบวิเคราะห์ ดังต่อไปนี้ ฯ อนนฺต อากาศชื่อว่าอนันตะ ํ อุปฺปาทาทิอนฺตรหิตตาย นาสฺส อนฺโตติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีที่สุด เพราะเว้นจากที่สุดมีอุปปาทขณะเป็นต้น ฯ ตํ อากาสญฺจ อากาศนั้นด้วย อนนฺตญฺจ ไม่มีที่สุดด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น อากาสานนฺต จึงชื่อว่า อากาสานันตะ ํ กสิณุคฺฆาฏิมากาโส ได้แก่ อากาศที่เพิกกสิณ ฯ จ ก็ อนนฺตากาสนฺติ วตฺตพฺเพ เมื่อควรจะกล่าวว่า อนนฺตากาสํ อากาสานนฺตนฺติ วุตฺตํ ท่านอาจารย์ก็กล่าวเสียว่า อากาสานนฺตํ วิเสสนสฺส ปรนิปาตวเสน ด้วยอ�ำนาจการวางบทวิเสสนะไว้ข้างหลัง อคฺยาหิโตติอาทีสุ วิย ดุจในประโยค มีอาทิว่า อคฺยาหิโต ฉะนั้น ฯ อากาสานนฺตเมว อากาสานันตะนั่นแล อากาสานญฺจํ เป็นอากาสานัญจะ สกตฺเถ ภาวปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจภาวะปัจจัย ใช้ในอรรถ แห่งตน ฯ อากาสานญฺจเมว อากาสานัญจะนั่นเอง อายตนํ ชื่อว่าเป็นอายตนะ อสฺส สสมฺปยุตฺตธมฺมสฺส ฌานสฺส อธิฏฺานฏฺเน เพราะอรรถว่าเป็นที่ตั้ง อาศัยแห่งฌานนั้น พร้อมทั้งสัมปยุตธรรม เทวานํ เทวายตนํ วิย ดุจเทวายตนะ ของทวยเทพฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น อากาสานญฺจายตนํ ฌานนี้ จึงชื่อว่า อากาสานัญจายตนะ ฯ ปมารูปชฺฌานมฺปิ แม้อรูปาวจรฌานที่ ๑ อปฺปนาปฺปตฺตํ ที่ถึงอัปปนา ตสฺมึ ในอากาสนัญจายตนะนั้น อากาสานญฺจายตนนฺติ วุตฺตํ ท่านอาจารย์ก็เรียกว่า อากาสานัญจายตนะ อิธ ในอธิการว่าด้วยอรูปฌานนี้ ยถา ปวีกสิณารมฺมณํ ฌานํ ปวีกสิณนฺติ วุตฺตํ เหมือนฌานที่มีปฐวีกสิณ เป็นอารมณ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสเรียกว่า ปฐวีกสิณ ฉะนั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง อากาสานญฺจํ อากาศไม่มีที่สุด อายตนํ เป็นบ่อเกิด อสฺส แห่งฌานนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น อากาสานญฺจายตนํ ฌานํ ฌานนี้จึงชื่อว่าอากาสานัญจายตนะ ฯ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 61 เตน สมฺปยุตฺตํ กุสลจิตฺตํ กุศลจิตที่สัมปยุตด้วยอากาสานัญจายตนฌานนั้น อากาสานญฺจายตนกุสลจิตฺตํ ชื่อว่าอากาสานัญจายตนกุศลจิต ฯ [วิเคราะห์วิญญาณณัญจายตฌาน] วิญฺาณเมว วิญญาณนั่นเอง อนนฺตํ ไม่มีที่สุด วิญฺาณานนฺตํ ชื่อว่า วิญญาณานันตะ ปมารูปวิญฺาณํ คือ อรูปวิญญาณที่ ๑ ฯ หิ จริงอยู่ ต อรูปวิญญาณที่ ๑ นั้น ํ อุปฺปาทาทิอนฺตวนฺตมฺปิ แม้มีที่สุดมีอุปปาทขณะเป็นต้น อนนฺตนฺติ วุจฺจติ ท่านก็เรียกว่า อนันตะ อนนฺตากาเส ปวตฺตนโต เพราะเป็นไป ในอากาศอันไม่มีที่สุด อตฺตานํ อารพฺภ ปวตฺตาย ภาวนาย อุปฺปาทาทิอนฺตํ อคฺคเหตฺวา อนนฺตโต ผรณวเสน ปวตฺตนโต จ และเพราะภาวนาซึ่งปรารภตน เป็นไปไม่ถือเอาที่สุดมีอุปปาทขณะเป็นต้นเป็นไปด้วยอ�ำนาจแผ่ไปโดยไม่มีที่สุด ฯ วิญฺาณานนฺตเมว วิญญาณานันตะนั่นเอง วิญฺาณญฺจํ เป็นวิญญาณัญจะ อาการสฺส รสฺสตฺตํ นการโลปญฺจ กตฺวา เพราะรัสสะ อา เป็น อะ และลบ น ทิ้งเสีย ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง วิฺ าณญฺจํ ฌานที่ชื่อว่า วิญญาณัญจะ ทุติยารูปวิญฺาเณน อญฺจิตพฺพํ ปาปุณิตพฺพนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันอรูปวิญญาณที่ ๒ พึงถึง คือพึงบรรลุ ฯ ตเทว วิญญาณัญจะนั้นนั่นแหละ อายตนํ ชื่อว่าเป็นอายตนะ อธิฏฺานตฺตา เพราะเป็นที่ตั้งอาศัย ทุติยารูปสฺส แห ่งอรูปวิญญาณที่ ๒ อิติ เพราะเหตุนั้น วิญฺาณญฺจายตนํ จึงชื่อว ่า วิญญาณัญจายตนะ (ได้แก่ อรูปฌานที่ ๒) ฯ เสสํ ปุริมสมํ ค�ำที่เหลือเหมือนกับ ค�ำที่มีมาก่อน ฯ [วิเคราะห์อากิญจัญญายตนณาน] กิญฺจนํ กิเลสเป็นเครื่องย�่ำยี อสฺส ปมารูปสฺส แห่งอรูปวิญญาณที่ ๑ นั้น อปฺปมตฺตกํ มีประมาณน้อย อวสิฏฺํ คือเหลือลง อนฺตมโส โดยที่สุด ภงฺคมตฺตมฺปิแม้เพียงภังคขณะ อตฺถิ มีอยู่ น ก็หามิได้ อิติ เพราะเหตุนั้น


62 ปริเฉทที่ ๑ อกิญฺจนํ ชื่อว่า อกิญจนะ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งอกิญจนะนั้น อากิญฺจญฺญํ ชื่อว่า อากิญจัญญะ ปมารูปวิญฺาณาภาโว ได้แก่ ความไม่มีแห่งอรูปาวจรวิญญาณที่ ๑ ฯ ตเทว อายตนนฺติอาทิ ค�ำว่า ตเทว อายตน ดังนี้ เป็นต้น ปุริมสมํ เหมือนกับค�ำที่มีมาก่อน ฯ [วิเคราะห์เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน] สญฺา สัญญา อสฺส แห่งอรูปาวจรฌานนั้น สสมฺปยุตฺตธมฺมสฺส พร้อมทั้ง สัมปยุตธรรม เนว อตฺถิ ชื่อว่ามีอยู่ ก็หามิได้ โอฬาริกาย สญฺาย อภาวโต เพราะสัญญาที่หยาบไม่มี อสญฺญํ อวิชฺชมานสญฺํ นาปิจ และทั้งอรูปาวจรฌาน นั้น พร้อมทั้งสัมปยุตธรรม ชื่อว่า ไม่มีสัญญา คือ สัญญาไม่มีอยู่ ก็หามิได้ สุขุมาย สญฺาย อตฺถิตาย เพราะสัญญาที่ละเอียดยังมีอยู่ อิติ เพราะเหตุนั้น เนวสญฺานาสญฺญ อรูปาวจรฌานนั้น ชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญะ ํจตุตฺถารูปชฺฌานํ ได้แก่ อรูปาวจรฌานที่ ๔ ฯ ปน แต่ ทีฆํ กตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ กระท�ำ ทีฆะ แล้ว เนฺวสญฺานาสญฺนฺติ วุตฺตํ กล่าวว่าเนวสัญญานาสัญญะ ฯ เนวสญฺานาสญฺเมว เนวสัญญานาสัญญะนั่นแหละ อายตนํ ชื่อว่าเป็น อายตนะ มนายตนธมฺมายตนปริยาปนฺนตฺตา เพราะนับเนื่องในมนายตนะและ ในธรรมมาตนะ อิติ เพราะเหตุนั้น เนวสญฺานาสญฺายตนํ อรูปาวจรฌานที่ ๔ นั้น จึงชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญายตนะ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง สญฺาว สัญญานั่นเอง เนว สญฺญา ชื่อว่า เป็นสัญญา ก็หามิได้ วิปสฺสนาย โคจรภาวํ คนฺตฺวา นิพฺเพทชนนสงฺขาตสฺส ปฏุสญฺากิจฺจสฺส อภาวโต เพราะกิจแห่งสัญญา ที่แจ่มชัด กล่าวคือ ความถึงภาวะเป็นอารมณ์แห่งวิปัสสนาแล้วให้เกิดความเบื่อหน่าย ไม่มี อสญฺญา จ และชื่อว่า ไม่มีสัญญา น ก็หามิได้ วิชฺชมานตฺตา เพราะ สัญญายังมีอยู่ สงฺขาราวเสสสุขุมภาเวน โดยเป็นธรรมชาติที่ละเอียด ซึ่งยังเหลือ จากสังขาร อุณฺโหทเก เตโชธาตุ วิย ดุจเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) ในน�้ำร้อน ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น เนวสญฺานาสญฺา จึงชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญา ฯ สา เอว


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 63 เนวสัญญานาสัญญานั้นนั่นแหละ อายตนํ ชื่อว่าเป็นอายตนะ นิสฺสยาทิภาวโต เพราะที่อาศัยเป็นต้น อิมสฺส ฌานสฺส แห่งฌานนี้ สสมฺปยุตฺตธมฺมสฺส พร้อมทั้ง สัมปยุตตธรรม อิติ เพราะเหตุนั้น เนวสญฺานาสญฺายตน อรูปาวจรฌานนั้น ํ จึงชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญาตนะ ฯ จ ก็ ฌานูปลกฺขณํ การก�ำหนดฌาน สญฺาวเสน ด้วยอ�ำนาจสัญญา เอตฺถ ใน อรูปาวจรฌานที่ ๔ นี้ นิทสฺสนมตฺตํ เป็นเพียงตัวอย่าง เวทนาทโยปิ แม้สภาวธรรมทั้งหลายมีเวทนาเจตสิกเป็นต้น ตสฺมึฌาเน ในฌานนั้น เนวเวทนานาเวทนาทิกาเยว ก็เป็นเนวเวทนานาเวทนา เป็นต้น เหมือนกัน อิติ แล ฯ เนวสญฺญานาสญฺายตเนน สมฺปยุตฺตํ กุสลจิตฺตํ กุศลจิตสัมปยุตด้วยเนวสัญญาสัญญายตนฌาน เนวสญฺานาสญฺายตนกุสลจิตฺตํ ชื่อว่า เนวสัญญานาสัญญายตนกุศลจิต ฯ ปิสทฺเทน จ ก็ด้วย ปิ ศัพท์ เอตฺถ ในบทว่า จตฺตาริปิ นี้ โสฬสกฺขตฺตุกเทสนํ สงฺคณฺหาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ย่อมรวบรวมเทศนา ๑๖ ครั้ง อารมฺมณปฏิปทามิสฺสกนยวเสน คือ นัยที่อารมณ์ กับปฏิปทาเจือปนกัน อญฺมฺปิ ปาลิยํ อาคตนยเภทํ จ และประเภทแห่งนัย ที่มาในพระบาลี แม้อื่น ฯ อารุปฺปมานสํ อรูปาวจรจิต จตุธา โหติย่อมมี ๔ ประการ ปเภเทน โดยประเภท อาลมฺพนานํ แห ่งอารมณ์ทั้งหลาย กสิณากาสวิญฺาณตทภาวสงฺขาตานํโคจราน คือ แห่งอารมณ์ทั้งหลาย กล่าวคือ ํ กสิณ อากาศ วิญญาณและความ ไม่มีแห่งวิญญาณนั้น อติกฺกมิตพฺพานํ ที่ท่าน ผู้บ�ำเพ็ญเพียรพึงล่วงเลยไป อาลมฺพิตพฺพานํ อากาสาทิจตุนฺนํ โคจรานํ จ และ แห่งอารมณ์ทั้งหลาย ๔ มีอากาศเป็นต้นที่ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรพึงหน่วงเหนี่ยว ฯ หิ ความจริง ตํ อรูปาวจรจิตนั้น กสิณนิมิตฺตํ อติกฺกมฺม ล่วงเลยกสิณนิมิต ปญฺจมชฺฌานาลมฺพนํ อันเป็นอารมณ์แห่งปัญจมฌานไป อากาสมาลมฺพิตฺวา หน่วงเหนี่ยวอากาศ ตทุคฺฆาฏนลทฺธํ ที่ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรได้มาด้วยการเพิกกสิณ นั้นแล้ว ตมฺปิอฺติกฺกมฺม ล่วงเลยอากาศแม้นั้น ตตฺถ ปวตฺตํ วิญฺาณมาลมฺพิตฺวา ไปหน่วงเหนี่ยววิญญาณที่เป็นไปในอากาศนั้น แล้ว ตมฺปิ อติกฺกมฺม ล่วงเลย แม้วิญญาณนั้น ตทภาวภูตํ อากิญฺจนภาวมาลมฺพิตฺวา ไปหน่วงเหนี่ยวความไม่มี


64 ปริเฉทที่ ๑ กิเลสเป็นเครื่องย�่ำยีอันเป็นความไม่มีแห่งวิญญาณนั้น แล้ว ตมฺปิ อติกฺกมฺม ล่วงเลยแม้ความไม่มีกิเลสเป็นเครื่องย�่ำยีนั้น ตตฺถ ปวตฺตํ ตติยารูปวิญฺาณมาลมฺพิตฺวา ไปหน่วงเหนี่ยวอรูปาวจรวิญญาณที่ ๓ ที่เป็นไปในความไม่มีกิเลสเป็น เครื่องย�่ำยีนั้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ปน แต่ อารมฺมณํ คเหตฺวา จะยึดอารมณ์ ปุริมปุริมสฺสาปิ แม้แห่งอรูปาวจรฌานที่มีมาก่อน ๆ ปุริมปุริมองฺคาติกฺกมนวเสน ด้วยอ�ำนาจล่วงเลยองค์ที่มีมาก่อน ๆ ปวตฺตติ เป็นไป รูปาวจรกุสลํ วิย ดุจรูปาจรกุศลจิต น ก็หามิได้ ฯ เตน เพราะเหตุนั้น อาจริยา อาหุ ท่านอาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าว อิติ ว่า จตสฺโสปิ อรูปสมาบัติแม้ทั้ง ๔ อิมา นี้ ภวนฺติ ย่อมมี อารมฺมณาติกฺกมโต โดยการล่วงเลยอารมณ์ วิภาวิโน บัณฑิต ทั้งหลาย น อิจฺฉนฺติ ย่อมไม่ปรารถนา องฺคาติกฺกม ความล่วงเลยองค์ ํ เอตาสํ แห่งอรูปสมาบัติ ๔ ประการ เหล่านี้ ฯ อรูปาวจรวณฺณนา พรรณนาความอรูปาวจรจิต นิฏฺ€ิตา จบแล้ว ฯ อธิบาย โลกุตตรจิต อิทานิ บัดนี้ วิภชิตฺวา ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะจ�ำแนก แสดง โลกุตตรกุสลํ โลกุตตรกุศลจิต จตุธา ออกเป็น ๔ ดวง จตุมคฺคโยคโต โดยการประกอบด้วยมรรค ๔ ผลญฺจ และโลกุตตรวิปากจิต จตุธา ออกเป็น ๔ ดวง ตทนุรูปปฺปวตฺติยา โดยความเป็นไปคล้อยตามโลกุตตรกุศลจิตนั้น โสตาปตฺติมคฺคจิตฺตนฺติอาทิวุตฺต จึงกล่าวค� ํำว่า โสตาปตฺติมคฺคจิตฺต ดังนี้เป็นต้น ฯ อริโย อฏฺงฺคิโก มคฺโค อริยมรรคมีองค์ ๘ โสโต วุจฺจติ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกว่า โสตะ นิพฺพานมฺปติสวนโต เพราะไหลไปสู่พระนิพพาน อุปคมนโต คือเพราะเข้าถึงพระนิพพาน นิพฺพานมหาสมุทฺทนินฺนตาย โสตสทิสตฺตา วา หรือเพราะเป็นเหมือนกระแสน�้ำ โดยไหลไปสู่มหาสมุทร คือพระนิพพาน ฯ ตสฺส อาปตฺติ การบรรลุอริยมรรคมีองค์ ๘ ที่พระองค์ตรัสเรียกว่า โสตะ นั้น


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 65 ปชฺชนํ คือ ความด�ำเนินถึง ปาปุณนํ ได้แก่ บรรลุถึง ตสฺส อริยมรรคมีองค์ ๘ ที่พระองค์ตรัสเรียกว่า โสตะ นั้น อาทิโต แต่ต้น ปมสมาคโม คือ ได้ประสพ ครั้งแรก ชื่อว่า โสตาปัตติอาอุปสคฺคสฺส อาทิกมฺมนิปวตฺตนโต เพราะ อา อุปสัค เป็นไปในกรรมเบื้องต้น ฯ มคฺโค ธรรมที่ชื่อว่า มรรค นิพฺพานํ มคฺเคตีติวา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า แสวงหาพระนิพพาน นิพฺพานตฺถิเกหิ มคฺคิยตีติ วา หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันบุคคลทั้งหลายผู้มีความต้องการพระนิพพาน แสวงหาอยู่ กิเลเส มาเรนฺโต คจฺฉตีติ วา หรือว่าเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ฆ่ากิเลสทั้งหลายไปพระนิพพาน ฯ เตน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่สัมปยุตด้วย มรรคนั้น มคฺคจิตฺตํ ชื่อว่า มรรคจิต โสตาปตฺติยา ลทฺธํ มคฺคจิตฺตํ มรรคจิต ที่ได้ด้วยการถึงอริยมรรคมีองค์ ๘ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า โสตะ ครั้งแรก โสตาปตฺติมคฺคจิตฺต ชื่อว่า โสดาปัตติมรรคจิต ฯ ํอถวา อีกอย่างหนึ่ง ปุคฺคโล บุคคล โสตาปตฺติ ชื่อว่า โสตาปัตติ อริยมคฺคโสตสฺส อาทิโต ปชฺชนํ เอตสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีความด�ำเนินถึงกระแสอริยมรรคครั้งแรก ฯ ตสฺส มคฺโค มรรคแห่งบุคคล ผู้มีการด�ำเนินถึงกระแสครั้งแรกนั้น โสตาปตฺติมคฺโค ชื่อว่า โสดาปัตติมรรค ฯ เตน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่ประกอบด้วยโสดาปัตติมรรคนั้น โสตาปตฺติมคฺคจิตฺตํ ชื่อว่าโสดาปัตติมรรจิต ฯ สกทาคามีพระอริยบุคคลผู้ชื่อว่า สกทาคามี สกึเอกวารํ ปฏิสนฺธิวเสน อิมํ มนุสฺสโลกํ อาคจฺฉตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มาสู่มนุษยโลกนี้ด้วยอ�ำนาจ ปฏิสนธิครั้งเดียว คือวาระเดียว ฯ ปญฺจสุ สกทาคามีสุ บรรดาพระสกทาคามี ๕ ประเภท อิติ คือ อิธ ปตฺวา อิธ ปรินิพฺพายิ ท่านผู้บรรลุความเป็นพระสกทาคมี ในมนุษยโลกนี้ แล้วปรินิพพานในมนุษยโลกนี้ ๑ ตตฺถ ปตฺวา ตตฺถ ปรินิพฺพายิ ท่านผู้บรรลุความเป็นพระสกทาคมีในเทวโลกนั้นแล้วปรินิพพานในเทวโลกนั้น ๑ อิธ ปตฺวา ตตฺถ ปรินิพฺพายิ ท่านผู้บรรลุความเป็นพระสกทาคมีในมนุษยโลกนี้ แล้วปรินิพพานในเทวโลกนั้น ๑ ตตฺถ ปตฺวา อิธ ปรินิพฺพายิ ท่านผู้บรรลุ ความเป็นพระสกทาคมีในเทวโลกนั้น แล้วปรินิพพานในมนุษยโลกนี้ ๑


66 ปริเฉทที่ ๑ อิธ ปตฺวา ตตฺถ นิพฺพตฺเตตฺวา อิธ ปรินิพฺพายิ ท่านผู้บรรลุความเป็น พระสกทาคมีในมนุษยโลกนี้ แล้วบังเกิดในเทวโลกนั้น ปรินิพานในมนุษยโลกนี้ ๑ อิธ ในที่นี้ ปญฺจมโก อธิปฺเปโต ท่านประสงค์ถึงพระสกทาคามีประเภทที่ ๕ ฯ หิ ความจริง โส พระสกทาคามีประเภทที่ ๕ นั้น อิโต คนฺตฺวา ไปจากมนุษยโลกนี้ ปุน สกึ อิธ อาคจฺฉตีติแล้วกลับมาในมนุษยโลกนี้อีกครั้งเดียว อิติ แล ฯ ตสฺส มคฺคจิตฺตํ มรรคจิตของพระสกทาคามีนั้น สกทาคามิมคฺคจิตฺตํ ชื่อว่า สกทาคามีมรรคจิต ฯ มคฺคสมงฺคิโน ตถา อาคมนาสมฺภวโต เพราะท่าน ผู้พร้อมเพรียงด้วยมรรค จะกลับมาด้วยอ�ำนาจปฏิสนธิอย่างเดียวกันนั้นไม่ได้ ผลฏฺโเยว ท่านผู้ตั้งอยู่ในผลนั้นเท่านั้น สกทาคามี นาม ชื่อว่าสกทาคามี กิญฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น ปุริมุปฺปนฺโน มคฺโค มรรคที่เกิดขึ้นก่อน ตสฺส การณภูโต อันเป็นเหตุแห่งผลนั้น ผลฏฺเน วิเสเสตฺวา วุจฺจติท่านก็กล่าว ให้แปลกออกไป จากท่านผู้ตั้งอยู่ในผล สกทาคามิมคฺโคติว่า สกทาคามีมรรค มคฺคนฺตราวจฺเฉทนตฺถํ เพื่อตัดขาดจากมรรคอื่นเสีย ฯ เอวมนาคามิมคฺโค อนาคามิมรรคบัณฑิตก็พึงทราบอย่างนี้ อิติ แล ฯ สกทาคามิมคฺเคน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่ประกอบด้วยสกทาคามิมรรค สกทาคามิมคฺคจิตฺตํ ชื่อว่าสกทาคามิ- มรรคจิต ฯ อนาคามี พระอริยบุคคลผู้ที่ชื่อว่าอนาคามี ปฏิสนฺธิวเสน อิมํ กามธาตุํ น อาคจฺฉตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่กลับมาสู่กามธาตุนี้ด้วยอ�ำนาจ ปฏิสนธิ ฯ ตสฺส มคฺโค มรรคของพระอนาคามีนั้น อนาคามิมคฺโค ชื่อว่า อนาคามิมรรค ฯ เตน สมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่ประกอบด้วยอนาคามิมรรคนั้น อนาคามิมคฺคจิตฺต ชื่อว่าอนาคามิมรรคจิต ฯ ํอรหา พระอริยบุคคลชื่อว่าพระอรหันต์ อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวน ปูชาวิเสสํ อรหตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมควร ซึ่งการบูชาพิเศษ โดยความเป็นทักขิไณยบุคคลผู้เลิศ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง อรหา พระอริยบุคคลชื่อว่าอรหันต์ กิเลสสงฺขาตา อรโย สํสารจกฺกสฺส วา อรา กิเลสา หตา อเนนาติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ก�ำจัดข้าศึก กล่าวคือกิเลส


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 67 หรือก�ำแห่งสังสารจักรคือกิเลสได้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ปาปกรเณ รหาภาวโต อรหา พระอริยบุคคลชื่อว่า พระอรหันต์ เพราะไม่มีความลับในการท�ำบาป อฏฺมโก อริยปุคฺคโล คือ พระอริยบุคคลที่ ๘ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่ง พระอรหันต์นั้น อรหตฺตํ ชื่อว่าอรหัตต์ ฯ เสตํ อธิวจนํ ค�ำว่า อรหัตต์ นี้เป็นชื่อ จตุตฺถผลสฺส แห่งผลที่ ๔ ฯ ตสฺส อาคมนภูโต มคฺโค มรรคอันเป็นเครื่อง มาแห่งอรหัตต์นั้น อรหตฺตมคฺโค ชื่อว่าอรหัตตมรรค ฯ เตนสมฺปยุตฺตํ จิตฺตํ จิตที่ประกอบด้วยอรหัตตมรรคนั้น อรหตฺตมคฺคจิตฺตํ ชื่อว่า อรหัตตมรรคจิต ฯ ปิสทฺเทน ด้วย ปิ ศัพท์ สงฺคณฺหาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมรวบรวม นยํ ซึ่งนัย จตุนฺนํ แห่งมรรค ๔ จตุสหสฺสเภทํ ซึ่งแยกออกเป็น ๔,๐๐๐ นัย เอเกกสฺส มคฺคสฺส นยสหสฺสวเสน คือแต่ละมรรค มี ๑,๐๐๐ นัย สจฺจวิภงฺเค อาคตํ นยํ นัยที่มาในสัจจวิภังค์ สฏฺ€ิสหสฺสเภทํ แยกเป็น ๖๐,๐๐๐ นัย อเนกวิธตฺตมฺปิ แม้ซึ่งความที่โสดาปัตติมรรค แยกออกเป็นเอนกประการ เหฏฺฐา วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวไว้แล้วในหนหลัง ฯ ตตฺถ ในค�ำว่า นยสหสฺสวเสน นั้น นยสหสฺสปริทีปนา มีวาจาก�ำหนดแสดงนัยพันหนึ่ง อยํ ดังต ่อไปนี้ ฯ กถํ อย่างไร ฯ ตาว อันดับแรกว่า ฌานนาเมน โดยชื่อว่าฌาน โสตาปตฺติมคฺโค โสดาปัตติมรรค ปฏิปทาเภทํ อนามสิตฺวา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงไม่พาดพิงถึง ความต่างแห่งปฏิปทา ทฺวิธา วิภตฺโต ทรงจ�ำแนกไว้ ๒ อย่าง เกวลํ ล้วน ๆ สุญฺโต อปฺปณิหิโตติคือ สุญญตะ อัปปณิหิตะ ปฏิปทาจตุกฺเกน โยเชตฺวา ทรงประกอบด้วยปฏิปทา ๔ หมวด ปจฺเจกํ จตุธา วิภตฺโต แล้วทรงจ�ำแนก แต่ละอย่างออกเป็น ๔ ปุน อีก อิติ เอวํ รวมความดังว่ามานี้ ฌานนาเมน โดยชื่อว่าฌาน โสตาปตฺติมคฺโค ทสธา วิภตฺโต ทรงจ�ำแนกโสดาปัตติมรรคไว้ ๑๐ อย่าง มคฺคสติปฏฺานสมฺมปฺปธานอิทฺธิปาทอินฺทฺริยพลโพชฺฌงฺคสจฺจสมถ วิปสฺสนาธมฺมกฺขนฺธอายตนธาตุอาหารผสฺสเวทนาสญฺาเจตนาจิตฺตนาเมหิปิ แม้ว่าโดยชื่อว่า มรรค สติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ โพชฌงค์ สัจจะ สมถะ วิปัสสนา ธรรมขันธ์ อายตนะ ธาตุ อาหาร ผัสสะ เวทนา สัญญา


68 ปริเฉทที่ ๑ เจตนา และจิต ตถา ก็เหมือนกัน ปจฺเจกํ ทสทสากาเรหิวิภตฺโต คือ ทรงจ�ำแนก แต่ละอย่างออกเป็น ๑๐ ประการ ตถาตถาพุชฺฌนกานํ ปุคฺคลานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจบุคคลผู้ตรัสรู้ โดยอาการนั้น ๆ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ฌานวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจฌาน ทส มี ๑๐ นัย มคฺคาทีนํ เอกูนวีสติยา วเสน ว่าด้วย อ�ำนาจธรรม ๑๙ ประการ มีมรรคเป็นต้น ทสทส มีอย่างละ ๑๐ นัย อิติ รวมความว่า วีสติยา าเนสุ ในฐานะ ๒๐ เทฺวนยสตานิโหนฺติ มี ๒๐๐ นัย ตานิ ๒๐๐ นัยเหล่านั้น จตูหิอธิปตีหิโยเชตฺวา ประกอบด้วยอธิบดีธรรม ๔ ปจฺเจกํ จตุธา วิภตฺตานิ แต่ละอย่างจ�ำแนกไว้อย่างละ ๔ ปุน อีก อิติเอวํ รวมความดังกล่าวมานี้ อธิปตีหิอมิสฺเสตฺวา นัยที่ไม่เจือกับอธิบดีธรรมทั้งหลาย เทฺวสตานิ มี ๒๐๐ นัย อธิปตีหิ มิสฺเสตฺวา ที่เจือปนกับอธิบดีธรรมทั้งหลาย อฏฺสตานิ มี ๘๐๐ นัย อิติ รวมความว่า โสตาปตฺติมคฺเค ในโสดาปัตติมรรค นยสหสฺสํ โหติ มี ๑,๐๐๐ นัย ฯ สกทาคามิมคฺคาทีสุปิ แม้ในสกทาคามิมรรค เป็นต้น ตถา ก็เหมือนกัน นยสหสฺสํ โหติ คือ มีอย่างละ ๑,๐๐๐ นัย ฯ ผลจิตฺตํ ผลจิต วิปากภูตํ จิตฺตํ คือจิตที่เป็นวิบาก โสตาปตฺติยา ลทฺธํ ที่บุคคล ได้ด้วยการด�ำเนินถึงกระแสเบื้องต้น โสตาปตฺติสฺส วา หรือของบุคคลผู้ด�ำเนิน ถึงกระแสเบื้องต้น โสตาปตฺติผลจิตฺตํ ชื่อว่าโสดาปัตติผลจิต ฯ ตํ ผลจิตฺตญฺจ ผลจิตนั้น ด้วย อรหตฺตญฺจ ความเป็นแห่งอรหัตต์ ด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น อรหตฺตผลจิตฺตํ จึงชื่อว่า อรหัตตผลจิต ฯ จตุมคฺคปฺปเภเทนาติ บาทคาถาว่า จตุมคฺคปฺปเภเทน เป็นต้น โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อนุตฺตรํ อนุตตรจิต โลกุตฺตรจิตฺตํ คือ โลกุตตรจิต อนุตฺตรสงฺขาตํ กล่าวคือชื่อว่าอนุตตระ อตฺตโน อุตฺตริตราภาเวน เพราะไม่มี จิตอื่นยิ่งกว่าตน อฏฺธา มตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ๘ ดวง เอวํ อย่างนี้ อิติ ว่า โลกุตฺตรกุสลํ โลกุตตรกุศลจิต จตุมคฺคสงฺขาต กล่าวคือมรรค ๔ ํจตุธา โหติ มี ๔ ดวง สมฺปโยคเภเทน โดยประเภทแห่งสัมปโยค อฏฺงฺคิกมคฺคานํ แห่งมรรคมีองค์ ๘ จตุพฺพิธาน มี ๔ อย่าง ํ โสตาปตฺติมคฺคาทีน คือ มีโสดาปัตติมรรค ํ


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 69 เป็นต้น สญฺโชนปฺปหานวเสน ด้วยอ�ำนาจละสังโยชน์ได้ เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ สกฺกายทิฏฺ€ิวิจิกิจฺฉาสีลพฺพตปรามาสานํ นิรวเสสปฺปหานํ ละสักกายทิฏฐิ วิกิจฉา และสีลัพพตปรามาส ได้เด็ดขาด กามราคพฺยาปาทานํ ตนุภาวาปาทนํ ท�ำกามราคะและพยาบาทให้ถึงความเบาบาง เตสเมว นิรวเสสปฺปหานํ ละกามราคะและพยาบาทเหล่านั้นแหละได้เด็ดขาด รูปารูปราคมานุทฺธจฺจาวิชฺชานํ อนวเสสปฺปหานํ ละรูปราคะ อรูปราคะ มานะ อุทธัจจะ และอวิชชา ได้เด็ดขาด อินฺทฺริยานํ ภินฺนสามตฺถิยตาย เพราะอินทรีย์ธรรมทั้งหลายมีความสามารถต่างกัน อินฺทฺริยานํ อปาฏวปาฏวปาฏวตรปาฏวตมเภเทน โดยความต่างกันแห่งอินทรีย์ ธรรมที่ยัง ไม่แก่กล้า แก่กล้า แก่กล้ากว่า และแก่กล้าที่สุด ปน ส่วน ปากํ โลกุตตรวิบากจิต ตถา ก็เหมือนกัน จตุธา คือ มี ๔ ดวง ตสฺเสว กุสลสฺส ผลตฺตา เพราะเป็นผลแห่ง โลกุตตรกุศลจิตนั้นนั่นแหละ ตทนุรูปโต คือ เพราะคล้อยตามโลกุตตรกุศลจิตนั้น ฯ ปน ก็ กิริยานุตฺตรสฺส อสมฺภวโต เพราะกิริยาจิตฝ่ายโลกุตตระ ไม่เกิดมี ทฺวาทสวิธตา น วุตฺตา ท่านอาจารย์ จึงไม่กล่าวโลกุตตรจิตนั้นว่า มี ๑๒ ดวง ฯ (ถาม) อิติ ว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุะไร ตสฺส อสมฺภโว กิริยาจิตฝ่ายโลกุตตระ จึงไม่เกิดมี ฯ ตอบว่า มคฺคสฺส เอกจิตฺตกฺขณิกตฺตา เพราะมรรคจิตเกิดขึ้นชั่วขณะจิตเดียว ฯ หิก็ ยทิ ถ้า มคฺคจิตฺตํ มรรคจิต ปุนปฺปุนํ อุปฺปชฺเชยฺย จะพึงเกิดขึ้นบ่อย ๆ ไซร้ ตทา ในกาลนั้น ตสฺส กิริยาภาโว สกฺกา วตฺตุํ บัณฑิตก็จะสามารถเรียกมรรคจิต นั้นว่า เป็นกิริยาได้ อรหโต อุปฺปตฺติยา เพราะเกิดขึ้นแก่พระอรหันต์ ฯ ตมฺปน แต่มรรคจิตนั้น อุปฺปชฺชติ จะเกิดขึ้น เสกฺขานํ อเสกฺขานํ วา แก่พระเสขบุคคล ทั้งหลาย หรือแก่พระอเสขบุคคลทั้งหลาย กทาจิ ในกาลบางคราว น ก็หามิได้ ปุน อปฺปชฺชเนปิกาตพฺพาภาวโต โดยไม่มีกิจที่จะพึงกระท�ำ แม้ในความเกิดขึ้น แห่งมรรคจิตนั้นซ�้ำอีก อุปลภิตพฺพโต เพราะมรรคจิตนั้น อันท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียร จะพึงได้แน่นอน กิเลสสมุจฺเฉทกวเสเนว ด้วยอ�ำนาจตัดกิเลสได้เด็ดขาดเท่านั้น เอกวารปฺปวตฺเตเนว เตน ตํตํกิเลสานมจฺจนฺตมปฺปวตฺติยา สาธิตตฺตา จ


70 ปริเฉทที่ ๑ และเพราะมรรคจิตนั้น ซึ่งเป็นไปเพียงวาระเดียวเท่านั้น ก็ให้ส�ำเร็จความไม่เป็นไป แห่งกิเลสนั้น ๆ ได้เด็ดขาด เอกวารปฺปวตฺเตเนว อสนิสมฺปาเตน ตรุอาทีนํ สมูลวิทธํสนสฺส วิย เปรียบเสมือนอสนีบาตที่ฟาดลงเพียงครั้งเดียวก็ให้ส�ำเร็จ การถอนต้นไม้เป็นต้น ขึ้นได้พร้อมทั้งราก ฉะนั้น ผลสมาปตฺติยา เอว นิพฺพานารมฺมณวเสน ปวตฺตนโต และโดยผลสมาบัตินั่นแล เป็นไปด้วยอ�ำนาจ มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ ทิฏฺ€ธมฺมสุขวิหารตฺถญฺจ เพื่ออยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ตสฺมา เพราะฉะนั้น โลกุตฺตรกิริยาจิตฺตํ กิริยาจิตฝ่ายโลกุตตระ นตฺถิ จึงไม่มี สพฺพถาปิ แม้โดยประการ ทั้งปวง อิติ แล ฯ ทฺวาทสากุสลานีติอาทิ ค�ำว่า ทฺวาทสากุสลานิ เป็นต้น จตุภูมิกจิตฺตานํ คณนสงฺคโห เป็นการรวบรวมจ�ำนวน จิตที่เป็นไปในภูมิ ๔ ยถาวุตฺตานํ ตามที่กล่าวแล้ว ฯ สงฺคหํ ทสฺเสตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ครั้นแสดงการรวบรวมจิต ชาติวเสน ด้วยอ�ำนาจชาติ เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดงการรวบรวม ปุน ภูมิวเสน ด้วยอ�ำนาจภูมิอีก จตุปญฺาสธา กาเมติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า จตุปญฺาสธา กาเม ดังนี้เป็นต้น ฯ อตฺโถ มีอธิบายความ อิติ ว่า กาเม ภเว ในกามภพ จิตฺตานิจตุปญฺาสธา อีริเย บัณฑิตพึงกล่าวจิตว่ามี ๕๔ ดวง รูเป ภเว ในรูปภพ จิตฺตานิ ปณฺณรส อีริเย พึงกล่าวจิตว่ามี ๑๕ ดวง อรูเป ภเว ในอรูปภพ จิตฺตานิ ทฺวาทส อีริเย พึงกล่าวจิตว่ามี ๑๒ ดวง ปน ส่วน อนุตฺตเร ในโลกุตตรธรรม นววิเธ ธมฺมสมุทาเย คือในหมวดธรรม ๙ ประการ จิตฺตานิอฏฺธา อีริเย กเถยฺย บัณฑิตพึงกล่าว คือพึงแสดงจิตว่ามี ๘ ดวง ฯ เอตฺถ จ ก็ในคาถานี้ จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย กามภวาทิปริยาปนฺนานิ ที่นับเนื่องในกามภพเป็นต้น กามตณฺหาทิวิสยภาเวน โดยภาวะที่มีตัณหามีกามตัณหาเป็นต้นเป็นอารมณ์ สกสกภูมิโต อญฺตฺถ ปวตฺตมานานิปิ แม้จะเป็นไปในภูมิอื่นจากภูมิของตน ๆ บ้าง กามภวาทีสุ จิตฺตานีติ วุตฺตานิ ท่านก็เรียกว่า จิตในกามภพเป็นต้น ยถา เปรียบเสมือน ติรจฺฉานคโต สัตว์ดิรัจฉาน นิพฺพตฺโตปิ แม้บังเกิด มนุสฺสิตฺถิยา กุจฺฉิสฺมึในท้องของหญิงมนุษย์


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 71 ติรจฺฉาเนเสฺวว สงฺคยฺหติ ท่านก็รวมไว้ในพวกสัตว์ดิรัจฉานนั่นเอง ติรจฺฉานโยนิยา ปริยาปนฺนตฺตา เพราะนับเนื่องในก�ำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน ฯ กตฺถจิ อปริยาปนฺนานิ จิตที่ไม่นับเนื่องในภูมิไหน ๆ นววิธโลกุตฺตรธมฺมสมูเหกเทสภูตานิ เป็นส่วนหนึ่ง แห่งหมวดโลกุตตรธรรม ๙ ประการ อนุตฺตเร จิตฺตานีติ วุตฺตานิ ท่านเรียกว่า จิตในโลกุตตรธรรม รุกฺเข สาขาติ อาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า กิ่งทั้งหลาย ในต้นไม้ ฉะนั้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง กาเม รูเปติ จ ศัพท์ว่า กาเม และว่า รูเป นี้ อุตฺตรปทโลปนิทฺเทโส เป็นการแสดงการลบบทเบื้องหลัง ฯ อุปโยคพหุวจนวเสน ด้วยอ�ำนาจทุติยาวิภัตติพหุวจนะ คือ อรูเป ภวานิ ซึ่งจิต ที่มีในอรูปภพ อารุปฺปานิ ชื่อว่าอรูปาวจรจิต อนุตฺตรานิ ซึ่งจิตชื่อว่าอนุตตระ นตฺถิเอเตสํ อุตฺตรํ จิตฺตนฺติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า เอตฺถ ในคาถานี้ สมฺพนฺโธ ทฏฺพฺโพ บัณฑิตพึงเห็นการเชื่อมความ เอว อย่างนี้ ํ อิติ ว่า อีริเย บัณฑิตพึงกล่าว จิตฺตานิ จิตทั้งหลายที่มี กาเม ในกามภพ กามาวจรานิ คือ ที่เป็นกามาวจร จตุปญฺาสธา ว่ามี ๕๔ ดวง อีริเย พึงกล่าว จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย ที่มี รูเป ในรูปภพ รูปาวจรานิ คือ ที่เป็นรูปาวจร ปณฺณรส ว่ามี ๑๕ ดวง อีริเย พึงกล่าว จิตฺตานิ จิตทั้งหลายที่มี อารุปฺเป ในอรูปภพ อรูปาวจรานิ คือ ที่เป็นอรูปาวจร ทฺวาทส ว่ามี ๑๒ ดวง จิตฺตานิ อีริเย พึงกล่าวจิตทั้งหลายที่มี อนุตฺตเร ในอนุตตรธรรม โลกุตฺตรานิ คือ ที่เป็นโลกุตตระ อฏฺธา ว่ามี ๘ ดวง ฯ ปณฺฑิตา บัณฑิตทั้งหลาย วิจกฺขณา ผู้มีปัญญาเห็นประจักษ์ วิเสเสน อตฺถานํ จกฺขณสภาวา คือ มีสภาวะบอกเนื้อความทั้งหลายโดยพิเศษ วิภชนฺติ ย่อมจ�ำแนก มานสํ มนัส จิตฺต คือ จิต ํ เอกูนนวุติปฺปเภทํ กตฺวา แยกประเภทเป็น ๘๙ ดวง อิตฺถํ ด้วยประการฉะนี้ ชาติเภทภินฺนจตุภูมิกจิตฺตเภทวเสน คือ ด้วยอ�ำนาจ ประเภทแห่งจิตที่เป็นไปในภูมิ ๔ ที่ต่างกันโดยความต่างกันแห่งชาติ ยถาวุตฺเตน ตามที่กล่าวมาแล้ว ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง วิภชนฺติ บัณฑิตทั้งหลายย่อมจ�ำแนก เอกวีสสต จิต ๑๒๑ ดวง ํ เอกุตฺตรวีสาธิกํสต คือ ๑๐๐ ยิ่งด้วย ๒๐ เกินไป ๑ ฯ ํ


72 ปริเฉทที่ ๑ ตํ โสตาปตฺติมคฺคจิตฺตํ จ โสดาปัตติมรรคจิตนั้นด้วย ฌานงฺควเสน ปมชฺฌานาทิสทิสตฺตา ปมชฺฌานํ จ ชื่อว่า เป็นปฐมฌาน เพราะเป็นเสมือนกับ ปฐมฌานเป็นต้น ด้วยอ�ำนาจองค์แห่งองค์ฌานนั้นด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น ปมชฺฌานโสตาปตฺติมคฺคจิตฺต จึงชื่อว่าปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิต ฯ ํ หิความจริง จตฺตาโรปิ มคฺคา มรรคทั้ง ๔ ปมชฺฌานาทิโวหารํ ลภนฺตา ได้การบัญญัติว่า ปฐมฌานเป็นต้น ปจฺเจกํ แต่ละอย่าง ปญฺจธา วิภชฺชนฺติแยกออกเป็น ๕ ตํตํฌานสทิสวิตกฺกาทิองฺคปาตุภาเวน เพราะความปรากฏแห่งองค์มีวิตกเป็นต้น อันเหมือนกับฌานนั้น ๆ ปาทกชฺฌานสมฺมสิตชฺฌานปุคฺคลชฺฌาสเยสุ อญฺตรวเสน ด้วยอ�ำนาจฌานที่เป็นบาท ฌานที่พระโยคาวจรพิจารณาแล้ว และอัชฌาศัยแห่งบุคคล อย่างใดอย่างหนึ่ง ฯ เตน เพราะเหตุนั้น อาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าว ฌานงฺคโยคเภเทนาติอาทิ ว่า ฌานงฺคโยคเภเทน ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ บรรดา ฌานที่เป็นบาทฌานที่พระโยคาวจรพิจารณาแล้ว และอัชฌาศัยแห่งบุคคลนั้น ปมชฺฌานาทีสุ ยํ ยํ ฌานํ สมาปชฺชิตฺวา ตโต วุฏฺาย สงฺขาเร สมฺมสนฺตสฺส เมื่อพระโยคาวจรเข้าฌานใด ๆ บรรดาปฐมฌานเป็นต้น ออกจากฌานนั้นแล้วพิจารณา สังขารธรรมทั้งหลายอยู่ วุฏฺฐานคามินิวิปสฺสนา วุฏฐานคามินีวิปัสสนา ปวตฺตา เป็นไป ตํ ตํ ปาทกชฺฌานํ ฌานนั้น ๆ ชื่อว่าฌานที่เป็นบาท วุฏานคามินิวิปสฺสนาย ปทฏฺานภาวโต เพราะเป็นปทัฏฐานแห่งวุฏฐานคามินีวิปัสสนา ฯ ยํ ยํ ฌานํ สมฺมสนฺตสฺส เมื่อพระโยคาวจรพิจารณาฌานใด ๆ สาว ปวตฺตา วุฏฐานคามินีวิปัสสนา นั้นนั่นแหละ เป็นไป ตํ ตํ สมฺมสิตชฺฌานํ ฌานนั้น ๆ ชื่อว่า ฌานที่พิจารณาแล้ว ฯ อุปฺปนฺนชฺฌาสโย อัชฌาศัยที่เกิดขึ้น เอวํ โยคาวจรสฺส แก่พระโยคาวจรอย่างนี้ อิติ ว่า อโห วต ไฉนหนอ ปญฺจงฺคิโก มคฺโค มรรคที่ประกอบด้วยองค์ ๕ ปมชฺฌานสทิโส ที่เหมือนกับปฐมฌาน ภเวยฺย พึงมี เม แก่เรา วา หรือว่า จตุรงฺคาทิเภโท มคฺโค มรรคอันต่างด้วยมรรคมีองค์ ๔ เป็นต้น ทุติยชฺฌานาทีสุ อญฺตรสทิโส ที่เหมือนกับทุติยฌานเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง ภเวยฺย พึงมี เม แก่เรา ปุคฺคลชฺฌาสโย นาม ชื่อว่าอัชฌาศัยแห่งบุคคล ฯ ตตฺถ บรรดา


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 73 ฌานที่เป็นบาทเป็นต้น เยน พระโยคาวจรรูปใด ปมชฺฌานาทีสุ อญฺตรํ ฌานํ สมาปชฺชิตฺวา เข้าฌานอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาปฐมฌานเป็นต้น ตโต วุฏฺาย ออกจากฌานนั้นแล้ว ปกิณฺณกสงฺขาเร สมฺมสิตฺวา พิจารณาปกิณณกสังขารธรรม ทั้งหลาย มคฺโค อุปฺปาทิโต โหติย่อมให้มรรคเกิดขึ้น โส มคฺโค มรรคนั้น ตสฺส ของพระโยคาวจรรูปนั้น ปมชฺฌานาทิตตํ ปําทกชฺฌานสทิโส โหติย่อมเป็น เหมือนฌานที่เป็นบาทนั้น ๆ มีปฐมฌานเป็นต้น ฯ ปน ก็ สเจ ถ้า วิปสฺสนาปา ทกํ ยงฺกิญฺจิ ฌานํ ฌานที่เป็นบาทแห่งวิปัสสนาอย่างใดอย่างหนึ่ง นตฺถิ ไม่มี ปมชฺฌานาทีสุ อญฺตรํ ฌานํ สมฺมสิตฺวา พระโยคาวจรพิจารณาฌานอย่างใด อย่างหนึ่ง บรรดาปฐมฌานเป็นต้น เกวลํ อย่างเดียว มคฺโค อุปฺปาทิโต โหติ ย่อมให้มรรคเกิดขึ้น ตสฺส โส มรรคนั้น ของพระโยคาวจรนั้น สมฺมสิตชฺฌานสทิโส โหติก็เหมือนฌานที่พิจารณาแล้ว ฯ ปน ก็ ยทิ ถ้า ยงฺกิญฺจิฌานํ สมาปชฺชิตฺวา พระโยคาวจรเข้าฌานอย่างใดอย่างหนึ่ง ตโต อญฺญํ สมฺมสิตฺวา พิจารณาฌานอื่น จากฌานนั้น มคฺโค อุปฺปาทิโต โหติย่อมให้มรรคเกิดขึ้น ตทา ในกาลนั้น มรรคของพระโยคาวจรนั้น ทฺวีสุ อญฺตรสทิโส โหติย่อมเป็นเหมือนฌานที่เป็นบาท และฌานที่พิจารณาแล้ว ๒ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง ปุคฺคลชฺฌาสยวเสน ด้วยอ�ำนาจ อัชฌาศัยแห่งบุคคล ฯ สเจ ปน ก็ถ้าว่า ตถาวิโธ ปุคฺคลสฺส อชฺฌาสโย อัชฌาศัย แห่งบุคคลเช่นนั้น นตฺถิ ไม่มี ฯ เหฏฺ€ิมเหฏฺ€ิมชฺฌานโต วุฏฺาย อุปรูปริชฺฌาน ธมฺเม สมฺมสิตฺวา อุปฺปาทิตมคฺโค มรรคที่พระโยคาวจรออกจากฌานชั้นต�่ำ ๆ แล้ว พิจารณาฌานธรรมชั้นสูง ๆ ให้เกิดขึ้น สมฺมสิตชฺฌานสทิโส ย่อมเป็นเหมือนฌาน ที่พิจารณาแล้ว ปาทกชฺฌานมนเปกฺขิตฺวา ไม่ค�ำนึงถึงฌานที่เป็นบาท ปน ส่วน อุปรูปริชฺฌานโต วุฏฺาย เหฏฺ€ิมเหฏฺ€ิมชฺฌานธมฺเม สมฺมสิตฺวา อุปฺปาทิตมคฺโค มรรคที่พระโยคาวจรออกจากฌานชั้นสูง ๆ แล้วพิจารณาฌานธรรมชั้นต�่ำ ๆ ให้เกิดขึ้น ปาทกชฺฌานสทิโส โหติ ย่อมเป็นเหมือนฌานที่เป็นบาท สมฺมสิตชฺฌานมนเปกฺขิตฺวา ไม่ค�ำนึงถึงฌานที่พิจารณาแล้ว ฯ หิ ความจริง อุปรูปริชฺฌานํ ฌานชั้นสูง ๆ พลวตรนฺติ ย่อมมีก�ำลัง เหฏฺ€ิมเหฏฺ€ิมชฺฌานโต กว่าฌานที่ต�่ำ ๆ อิติ แล ฯ


74 ปริเฉทที่ ๑ ปน ส่วน เวทนานิยโม การก�ำหนดเวทนา สพฺพตฺถาปิ แม้ในมรรคทั้งหมด วุฏฺานคามินิวิปสฺสนานิยเมน โหติ ย่อมมีโดยการก�ำหนดวุฏฐานคามินีวิปัสสนา ฯ สกลชฺฌานงฺคนิยโม การก�ำหนดองค์ฌานทั้งสิ้น สุกฺขวิปสฺสกสฺส ของพระอรหันต์ สุกขวิปัสสกะ ตถา ก็เหมือนกัน คือ ย่อมมีโดยการก�ำหนดวุฏฐานคามินีวิปัสสนา ฯ หิ จริงอยู่ เตสํ วเสน นิยมาภาวโต เพราะไม่มีการก�ำหนดด้วยอ�ำนาจฌานที่เป็นบาท เป็นต้นเหล่านั้น ตสฺส ปาทกชฺฌานาทีนํ อภาเวน โดยที่พระอรหันต์สุกขวิปัสสกะ นั้น ไม่มีฌานที่เป็นบาทเป็นต้น ปญฺจงฺคิโกว มคฺโค มรรคที่ประกอบด้วยองค์ ๕ เท่านั้น วิปสฺสนานิยเมน โหติจึงมี โดยการก�ำหนดวิปัสสนา ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยการก�ำหนดองค์ฌานนี้ อุทฺธโฎ วินิจฺฉยสาโร ท่านอาจารย์ ยกการวินิจฉัยที่เป็นสาระขึ้น อฏฺกถาทิโต จากปกรณ์มีอรรถกถาเป็นต้น อย ดังนี้ ํ อิติ ว่า สมาปตฺติลาภิโนปิฌานํ ปาทกํ อกตฺวา ปกิณฺณกสงฺขาเร สมฺมสิตฺวา อุปฺปาทิตมคฺโคปิ แม้มรรคที่พระโยคาวจรผู้ปกติได้สมาบัติ ไม่กระท�ำฌานให้ เป็นบาท พิจารณาปกิณณกสังขารธรรมทั้งหลายแล้ว ให้เกิดขึ้น ปญฺจงฺคิโก โหติ ย่อมประกอบด้วยองค์ ๕ วิปสฺสนานิยเมเนว โดยการก�ำหนดวิปัสสนาเท่านั้น ฯ ปน ส่วน อติปปญฺโจ ความพิสดารอย่างยิ่ง เถรวาททสฺสนาทิวสปฺปวตฺโต ที่เป็น ไปด้วยอ�ำนาจการแสดงเถรวาทเป็นต้น วุตฺตนเยน เวทิตพฺโพ บัณฑิตพึงทราบ ตามนัยที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้แล้ว อฏฺกถาทีสุ ในคัมภีร์ทั้งหลายมีอรรถกถา เป็นต้น ฯ จ อนึ่ง วิตฺถารนโย นัยโดยพิสดาร สพฺพตฺถาปิ ในการก�ำหนดโพชฌงค์ และองค์มรรคเป็นต้นแม้ทั้งหมด ตตฺถ ตตฺถ วุตฺตนเยน คเหตพฺโพ บัณฑิต พึงค้นดูตามนัยที่กล่าวไว้ในปกรณ์นั้น ๆ ยถา เอตฺถ เอวํ เหมือนอย่างในองค์ฌานนี้ ฯ ปน ส่วน เอตฺถ ในปกรณ์นี้ คนฺถภิรุกชนานุคฺคหณตฺถํ เพื่อจะอนุเคราะห์ชน ผู้ขลาดต่อคัมภีร์ สงฺเขปกถา อธิปฺเปตา ข้าพเจ้าจึงประสงค์การกล่าวโดยย่อ ฯ จ เปรียบเหมือน รูปาวจรํ จิตฺตํ รูปาวจรจิต ปมาทิปญฺจวิธชฺฌานเภเท คยฺหติ ท่านจัดไว้ในประเภทแห่งฌาน ๕ มีปฐมฌานเป็นต้น ปมชฺฌานนฺติอาทินา วุจฺจติ คือ ท่านเรียกว่า ปฐมฌานเป็นต้น ยถา ฉันใด อนุตฺตรมฺปิจิตฺตํ แม้โลกุตตรจิต


พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 75 ปมชฺฌานโสตาปตฺติมคฺคจิตฺตนฺติอาทินา คยฺหติ บัณฑิตก็ย่อมก�ำหนดรู้ตามนัยว่า ปฐมฌานโสดาปัตติมรรคจิตเป็นต้น ตถา ฉันนั้น จ อนึ่ง อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรฌาน ปญฺจมชฺฌาเน คยฺหติ ท่านก็จัดไว้ในฌานที่ ๕ องฺคสมตาย เพราะมีองค์เสมอกัน อุเปกฺเขกคฺคตาโยเคน โดยประกอบด้วยอุเบกขาและ เอกัคคตา ฯ อตฺโถ อธิบาย อิติ ว่า ปญฺจมชฺฌานโวหารํ ลภติย่อมได้การเรียกว่า ปัญจมฌาน ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า จ ก็ รูปาวจรํ จิตฺตํ อนุตฺตรํ จ รูปาวจรจิตและโลกุตตรจิต ปมาทิชฺฌานเภเท คยฺหติ ท ่านจัดไว้ในประเภทแห ่งฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น ปมชฺฌานกุสลจิตฺตํ ปมชฺฌานโสตาปตฺติมคฺคจิตฺตนฺติอาทินา โดยนัยว่า ปฐมฌานกุศลจิต ปฐมฌาน โสดาปัตติมรรคจิต ดังนี้เป็นต้น ยถา ฉันใด อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรจิต ปญฺจเม ฌาเน คยฺหติ ท่านก็จัดไว้ในฌานที่ ๕ ตถา ฉันนั้น ฯ หิ ความจริง โยชนา วาจาประกอบความ อยเมว นี้แหละ อาจริยสฺสาปิอธิปฺเปตาติทิสฺสติ ปรากฏว่า แม้ท่านอาจารย์ก็ประสงค์แล้ว นามรูปปริจฺเฉเท อุชุกเมว ตถา วุตฺตตฺตา เพราะในคัมภีร์นามรูปปริเฉท ท่านกล่าวไว้อย่างนั้นชัดเจนทีเดียว ฯ วุตฺตญฺหิตตฺถ สมจริงดังที่ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ในคัมภีร์นามรูปปริเฉท อิติ ว่า จ ก็ รูปาวจรจิตฺตานิ รูปาวจรจิต อนุตฺตรานิ จ และโลกุตตรจิต คยฺหนฺติ ท่านจัดไว้ ปมาทิชฺฌานเภเท ในประเภทแห่งฌานมี ปฐมฌานเป็นต้น (ฉันใด) อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรจิต คยฺหนฺติ ท่านก็จัดไว้ ปญฺจเม ในฌานที่ ๕ (ฉันนั้น) ฯ ตสฺมาติ บทว่า ตสฺมา เป็นต้น อตฺโถ มีอธิบายความ อิติ ว่า ยสฺมา เพราะ อนุตฺตรมฺปิแม้โลกุตตรจิต คยฺหติ ท่านจัดไว้ ปมาทิชฺฌานเภเท ในประเภท แห่งฌาน มีปฐมฌานเป็นต้น รูปาวจรํ วิย เหมือนรูปาวจรจิต จ และ (ยสฺมา เพราะ) อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรจิต คยฺหติ ท่านจัดไว้ ปญฺจเม ในปัญจฌาน วา หรือ ยสฺมา เพราะ อนุตฺตรํ จิตฺตํ โลกุตตรจิต จตฺตาฬีสวิธนฺติ วุจฺจติ


76 ปริเฉทที่ ๑ ท่านกล่าวว่ามี ๔๐ ดวง เอเกกํ ปญฺจธา กตฺวา เพราะแยกแต่ละดวงออกเป็น ๕ ดวง ฌานงฺคโยคเภเทน โดยความต่างกันแห่งการประกอบด้วยองค์ฌาน จ และ อปิ แม้ อารุปฺปํ อรูปาวจรจิต คยฺหติ ท่านจัดไว้ ปญฺจเม ในฌานที่ ๕ ปมาทิชฺฌานเภเท อนุตฺตรํ จิตฺตํ รูปาวจรโลกุตฺตรานิจ วิย เหมือนรูปาวจรจิต และโลกุตตรจิตที่ท่านจัดไว้ในประเภทแห่งฌานมีปฐมฌานเป็นต้น ฉะนั้น ตสฺมา เหตุนั้น ปมาทิกเมเกกํ ฌานํ ฌานแต่ละอย่างมีปฐมฌานเป็นต้น เอกาทสวิธํ จึงมี ๑๑ ดวง โลกิยํ ติวิธํ โลกุตฺตรมฏฺวิธนฺติคือ เป็นโลกิยะ ๓ ดวง เป็น โลกุตตระ ๘ ดวง ตุ ส่วน อนฺเต ฌานํ ฌานในที่สุด เตวีสติวิธํ มี ๒๓ ดวง ติวิธรูปาวจรทฺวาทสวิธารูปาวจรอฏฺโลกุตฺตรวเสน คือ รูปาวจรจิต ๓ ดวง อรูปาวจรจิต ๑๒ ดวง และโลกุตตรจิต ๘ ดวง ฯ ปาทกชฺฌานาทิวเสน คณนวุทฺธิ การเพิ่มจ�ำนวนจิต ด้วยอ�ำนาจฌานที่เป็นบาทเป็นต้น สมฺภวติ ย่อมมี กุสลวิปาเกเสฺวว ในเพราะกุศลจิตและวิบากจิตฝ่ายโลกุตตระเท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ทสฺเสนฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์เมื่อจะแสดง เตสเมว คณนํ จ�ำนวนกุศลจิตและวิบาจิตที่เป็น โลกุตตระเหล่านั้นนั่นแหละ เอกวีสสตคณนาย องฺคภาเวน โดยความเป็นองค์แห่งจ�ำนวนจิต ๑๒๑ สตฺตตึสาติอาทิ อาห จึงกล่าวค�ำว่า สตฺตตึส ดังนี้เป็นต้น ฯ ปมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๑ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินีนิฏฺ€ิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ (จิตมี ๘๙ ดวง หรือ ๑๒๑ ดวง เพราะเป็นโลกุตตรจิตมี ๘ หรือ ๔๐ ดวง คือถ้านับเพียง ๘ ก็ได้จิต ๘๙ ดวง ถ้านับ ๔๐ ก็ได้จิต ๑๒๑ ดวง คือ อกุศลจิต ๑๒ ดวง อเหตุกจิต ๑๘ ดวง กามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวง รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง อรูปาวจรจิต ๑๒ ดวง และโลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ ดวง ฯ)


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 77 ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๒ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วิภชิตฺวา ครั้นจ�ำแนก จิตฺต จิต ภูมิชาติสมฺปโยคสงฺขารฌานาลมฺพนมคฺคเภเทน โดยความต่างกันแห่งภูมิชาติ- สัมปโยค สังขาร ฌาน อารมณ์ และมรรค ยถารห ตามสมควร เอว ตาว ดังพรรณนามาฉะนี้ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ เจตสิกวิภาคสฺส อนุปฺปตฺตตฺตา เพราะมาถึงการจ�ำแนกเจตสิกธรรม ตามล�ำดับ ปม อันดับแรก ตาว จตุพฺพิธสมฺปโยคลกฺขณสนฺทสฺสนวเสน เจตสิกลกฺขณ เปตฺวา ตทนนฺตร อฺ สมานอกุสลโสภณวเสน ตีหิ ราสีหิ เจตสิกธมฺเม อุทฺทิสิตฺวา เตส โสฬสหากาเรหิสมฺปโยค เตตฺตึสวิเธน สงฺคหฺ จ ทสฺเสตุ หวังจะตั้งลักษณะ แห่งเจตสิก คือ การชี้ลักษณะแห่งสัมปโยค ๔ ประการ ก่อน ในล�ำดับต่อแต่นั้น จึงยกเจตสิกธรรมทั้งหลายขึ้นแสดงโดยราสี ๓ คือ อัญญสมานราสี อกุศลราสี และโสภณราสี แล้วจึงแสดงสัมปโยคแห่งเจตสิกธรรมเหล่านั้นโดยอาการ ๑๖ และสังคหะแห่งเจตสิกธรรมเหล่านั้น โดยอาการ ๓๓ อย่าง เอกุปฺปาทนิโรธา จาติอาทิมารทฺธ จึงเริ่มค�ำว่า เอกุปฺปาทนิโรธา จ ดังนี้ ฯ อุปฺปาโท จ นิโรโธ จ เยสํ ธรรมเหล่าใด มีความเกิดขึ้นและความดับลง เอกโต พร้อมกัน จิตฺเตน สห กับจิต เต ธรรมเหล่านั้น เอกุปฺปาทนิโรธา ชื่อว่า เอกุปปาทนิโรธ ฯ เอก อาลมฺพนฺ จ วตฺถุ จ เยสํ ธรรมเหล่าใด มีอารมณ์และวัตถุเป็นอย่างเดียวกัน กับจิต เต ธรรมเหล่านั้น เอกาลมฺพนวตฺถุกา ชื่อว่า เอกาลัมพนวัตถุ ฯ สลกฺขณธารณโต ธมฺมา สภาวะที่ชื่อว่าธรรม เพราะทรงไว้ซึ่งลักษณะของตน ทฺวิปฺ าส มี ๕๒ ประการ เจโตยุตฺตา ประกอบกับจิต จิตฺเตน สมฺปยุตฺตา คือ สัมปยุตกับจิต จตูหิลกฺขเณหิโดยลักษณะ ๔ ประการ เอว ดังพรรณนามาฉะนี้ ํ มตา บัณฑิตลงมติ อิติ ว่า เจตสิกา เจตสิกธรรม นิยตโยคิโน อนิยตโยคิโน จ


78 ปริเฉทที่ ๒ ทั้งที่มีการประกอบแน่นอน และการประกอบไม่แน่นอน ฯ ตตฺถ ในบรรดาลักษณะ ๔ ประการนั้น ยทิ ถ้า อธิปฺเปตา อธิบายเจตสิกธรรม อิติ ว่า เจโตยุตฺตา ประกอบ กับจิต เอกุปฺปาทมตฺเตเนว ด้วยเหตุเพียงเกิดขึ้นพร้อมกันเท่านั้น ไซร้ ตทา ในกาลนั้น รูปธมฺมานมฺปิ แม้รูปธรรมทั้งหลาย จิตฺเตน สห อุปฺปชฺชมานานํ ที่เกิดพร้อมกันกับจิต เจโตยุตฺตตา อาปชฺเชยฺย ก็จะต้องพลอยประกอบกับจิต ไปด้วย อิติ เพราะฉะนั้น เอกนิโรธคหณ ท่านจึงใส่ เอกนิโรธ ศัพท์ไว้ด้วย ฯ เอวมฺปิ แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น ปสงฺโค น สกฺกา นิวาเรตุ ใครๆ ก็ไม่สามารถจะห้าม ความพ้องกัน จิตฺตานุปริวตฺติโน วิฺ ตฺติทฺวยสฺส แห่งวิญญัตติรูป ๒ ที่มีปกติ เปลี่ยนไปตามจิต ตถา อนึ่ง (ปสงฺโค น สกฺกา นิวาเรตุ) ใคร ๆ ไม่สามารถจะ ห้ามความพ้องกัน รูปธมฺมานํ แห่งรูปธรรมทั้งหลาย ปุเรตรมุปฺปชฺชิตฺวา จิตฺตสฺส ภงฺคกฺขเณ นิรุชฺฌมานานมฺปิ แม้ที่เกิดขึ้นก่อนแล้วดับลงในภังคขณะแห่งจิต ปริกปฺเปนฺตสฺส แก่บุคคลผู้ก�ำหนดอยู่ อิติ ว่า เอกโต อุปฺปาโท วา นิโรโธ วา เอเตสนฺติ เอกุปฺปาทนิโรธา ธรรมชื่อว่า เอกุปปาทนิโรธ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีความเกิดขึ้นหรือดับลงพร้อมกัน (กับจิต) อิติ เพราะเหตุนั้น เอกาลมฺพนคหณํ ท่านจึงใส่ศัพท์ว่า เอกาลัมพนะ ไว้ด้วย ฯ เย เอว ติวิธลกฺขณา ธมฺมา เต นิยมโต เอกวตฺถุกาเยวาติทสฺสนตฺถ เพื่อจะแสดงว่า ธรรมทั้งหลายมีลักษณะ ๓ ประการ อย่างนี้ เหล่าใด ธรรมเหล่านั้นก็มีวัตถุที่ตั้งที่เกิดเป็นอันเดียวกัน โดยแน่นอนนั่นเอง เอกวตฺถุคหณํ ท่านจึงใส่ศัพท์ว่า เอกวัตถุ ไว้ด้วย อิติ แล ฯ อลมติปปฺ เจน พอที่ไม่ต้องให้พิสดารมากนัก ฯ [อธิบายอัญญาสมานาเจตสิก] กถนฺติ ค�ำว่า กถ สรูปสมฺปโยคาการาน กเถตุกมฺยตาปุจฺฉา เป็นค�ำถาม เพื่อต้องการจะกล่าวอาการแห่งสัมปโยคตามสภาวะ ฯ ผสฺโส สภาวธรรมที่ชื่อว่า ผัสสะ ผุสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมถูกต้อง (อารมณ์) ฯ สฺวาย ผัสสเจตสิกนี้นั้น ผุสนลกฺขโณ มีลักษณะถูกต้องอารมณ์ ฯ หิ ความจริง อยํ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 79 ผัสสเจตสิกนี้ อรูปธมฺโมปิ สมาโน แม้เป็นนามธรรม ผุสนากาเรเนว ปวตฺตติ ก็เป็นไปโดยอาการถูกต้องอารมณ์นั่นเอง จ และ สา ผุสนาการปฺปวตฺติ ความเป็นไป โดยอาการถูกต้องอารมณ์นั้น อสฺส แห่งผัสสเจตสิกนั้น ทฏฺพฺพา บัณฑิตพึงเห็น อมฺพิลขาทกาทีน ปสฺสนฺตสฺส ปรสฺส เขฬุปฺปาทาทิวิย คล้ายอาการที่คนอื่น มองเห็นคนเคี้ยวกินของเปรี้ยวเป็นต้น ก็เกิดน�้ำลายสอเป็นอาทิ ฉะนั้น ฯ เวทนา ธรรมชาติที่ชื่อว่าเวทนา เวทิยติอาลมฺพนรส อนุภวตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เสวย คือ กินรสของอารมณ์ ฯ สา เวทนาเจตสิกนั้น เวทยิตลกฺขณา มีลักษณะ เสวยอารมณ์ ฯ หิความจริง เสสสมฺปยุตฺตธมฺมา สัมปยุตธรรมที่เหลือทั้งหลาย อารมฺมณรสานุภวนํ ปตฺวา ถึงการเสวยรสของอารมณ์แล้ว อนุภวนฺติ ย่อมเสวยได้ เอกเทสมตเตเนว โดยเพียงส่วนหนึ่งเท่านั้น ฯ ปน ส่วน เวทนาว เวทนาเจตสิก เท่านั้น อนุภวนฺติ ย่อมเสวยได้ เอกสโต โดยทั้งหมด อิสฺสรวตาย เพราะเป็น ธรรมชาติมีอิสระ ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอสา เวทนาเจตสิกนั้น วุตฺตา ท่านกล่าวไว้ อิติ ว่า สุโภชนรสานุภวนกราชา วิย เปรียบเสมือนพระราชาผู้เสวย รสสุธาโภชน์ ฉะนั้น ฯ ปน ก็ วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าว เภทํ ประเภท อสฺสา แห่งเวทนาเตสิกนั้น สุขาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจสุขเวทนาเป็นต้นไว้ สยเมว เองทีเดียว ฯ สฺ า ธรรมชาติที่ชื่อว่าสัญญา นีลาทิเภทารมฺมณ สฺ ชานาติ สฺ  กตฺวา ชานาตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า หมายรู้ คือ ท�ำความหมายรู้แล้วย่อมรู้อารมณ์ ต่างโดยสีเขียวเป็นต้น ฯ สา สัญญาเจตสิกนั้น สฺ ชานนลกฺขณา มีลักษณะหมายรู้อารมณ์ ฯ หิ ความจริง สา สัญญาเจตสิกนั้น อุปฺปชฺชมานา เมื่อเกิดขึ้น การณภูตํ อาการ คเหตฺวา อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ก�ำหนดอาการอันเป็นเหตุ ปจฺฉา สฺ ชานนสฺส แห่งความหมายรู้ในภายหลัง ทารุอาทีสุ วฑฺฒกีอาทีน สฺ ากรณ วิย เปรียบเหมือนนายช่างไม้เป็นต้น ท�ำเครื่องหมายไว้ที่ไม้เป็นต้น ฉะนั้น ฯ (โจทนา) ถาม อิติ ว่า ปน ก็ เอตํ ค�ำที่กล่าวมานี้ ยุชฺชติ เหมาะ นิมิตฺตการิกาย แก่สัญญาที่ท�ำเครื่องหมาย ตาว ก่อน ปน แต่ นิมิตฺเตน สฺ ชานนฺติยา ส�ำหรับสัญญาที่หมายรู้ตามด้วย


80 ปริเฉทที่ ๒ เครื่องหมาย (ยุชฺชติ) กถํ จะเหมาะสมได้อย่างไร ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า สาปิ แม้สัญญาที่หมายรู้ ตามเครื่องหมายนั้น อปราย สฺ าย สฺ ชานนสฺส นิมิตฺต อาการ คเหตฺวา อุปฺปชฺชติก็เกิดขึ้นก�ำหนดอาการอันเป็นเครื่องหมาย แห่งความรู้ ด้วยสัญญาอื่น ปุน อีก อิติ เพราะเหตุนั้น เอตฺถ ในสัญญาที่ หมายรู้จ�ำตามเครื่องหมายนี้ น โกจิ อสมฺภโว จึงไม่มีอะไรที่ไม่เหมาะสม ฯ เจตนา ธรรมชาติที่ชื่อว่าเจตนา เจเตติ อตฺตนา สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมเณ อภิสนฺทหติสงฺขตาภิสงฺขรเณ วา พฺยาปารมาปชฺชตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ตั้งใจ คือ ตั้งธรรมอันประกอบกับตนไว้มั่นในอารมณ์ หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีความขวนขวายในการปรุงแต่งสังขตธรรม ฯ ตถาหิจริงอย่างนั้น อภิสงฺขรเณ ปธานตฺตา เพราะเป็นประธานในการปรุงแต่ง อยเมว เจตนาเจตสิกนี้แล วิภชนฺเตน พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงจ�ำแนก สงฺขารกฺขนฺธ สังขารขันธ์ ํวตฺวา จึงตรัสไว้ อิติ ว่า สงฺขารา สภาวธรรมทั้งหลายที่ชื่อว่าสังขาร สงฺขตมภิสงฺขโรนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ปรุงแต่สังขตธรรม นิทฺทิฏฺา แล้วทรงแสดงไว้ วิภงฺเค สุตฺตนฺตภาชนีเย ในสุตตันตภาชนีย์ ในคัมภีร์วิภังค์ จกฺขุสมฺผสฺสชาเจตนาติอาทินา ด้วยพระพุทธพจน์ว่า จกฺขุสมฺผสฺสชาเจตนา ดังนี้เป็นต้น ฯ สา เจตนาเจตสิกนั้น เจตยิตลกฺขณา มีลักษณะตั้งใจ ทฏฺพฺพา พึงเห็น อิติ ว่า สกิจฺจปรกิจฺจสาธิกา ให้ส�ำเร็จหน้าที่ของตนและหน้าที่ของผู้อื่นได้ เชฏฺสิสฺสมหาวฑฺฒกีอาทโย วิย เปรียบเสมือนหัวหน้าศิษย์และนายช่างใหญ่เป็นต้น ฉะนั้น ฯ เอกคฺคตาวิตกฺกวิจารปีตีน สรูปวิภาวนํ การอธิบาย เอกัคคตาเจตสิกวิตกเจตสิก วิจารเจตสิก และปีติเจตสิก ตามสภาวะ เหฏฺา อาคตเมว มาแล้วในข้างต้นนั่นแล ฯ ชีวิต ธรรมชาตที่ชื่อว่าชีวิต ชีวนฺติ เตน สมฺปยุตฺตธมฺมาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องอยู่แห่งสัมปยุตธรรมทั้งหลาย ฯ ตเทว ชีวิตนั้นแล อินฺทฺริยํ ชื่อว่า เป็นอินทรีย์ สหชาตานุปาลเน อธิปจฺจโยเคน เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ ในการหล่อเลี้ยงสหชาตธรรมทั้งหลาย อิติ เพราะเหตุนั้น ชีวิตินฺทฺริยํ จึง ชื่อว่า ชีวิตนทรีย์ ฯ ตํ ชีวิตินทรีย์เจตสิกนั้น อนุปาลนลกฺขณํ มีลักษณะหล่อเลี้ยง


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 81 สหชาตธรรม อุปฺปลาทีนิอนุปาลก อุทก วิย เสมือนน�้ำหล่อเลี้ยงอุบลเป็นต้น ฉะนั้น ฯ กรณํ การกระท�ำ กาโร ชื่อว่าการ ฯ มนสฺมึ กาโร การกระท�ำไว้ในใจ มนสิกาโร ชื่อว่ามนสิการ ฯ โส มนสิการเจตสิกนั้น เจตโส อารมฺมเณ สมนฺนาหารลกฺขโณ มีลักษณะหน่วงใจมาในอารมณ์ ฯ เอเตส วิตกเจตสิก เจตนาเจตสิก และมนสิการเจตสิก ทั้ง ๓ ประการ เหล่านี้ วิเสโส มีความแปลกกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ วิตกฺโก วิตกเจตสิก เต ตตฺถ ปกฺขิปนฺโต วิย โหติย่อมเป็นเหมือนใส่เข้าซึ่งสหชาตธรรมเหล่านั้น ไว้ในอารมณ์นั้น สหชาตธมฺมาน อารมฺมเณ อภินิโรปนสภาวตฺตา เพราะเป็น สภาวะยกสหชาตธรรมทั้งหลายขึ้นไว้ในอารมณ์ เจตนา เจตนาเจตสิก นิโยเชนฺตี ประกอบ ยถารุฬฺเห ธมฺเมปิ แม้ซึ่งธรรมทั้งหลายตามที่เกิดขึ้นไว้ ตตฺถ ในอารมณ์ นั้น อตฺตนา อาลมฺพนคฺคหเณน โดยการยึดถืออารมณ์ด้วยตน พลนายโก วิย โหติ ย่อมเป็นเหมือนแม่ทัพ ฉะนั้น มนสิกาโร มนสิการเจตสิก อาชานียาน ปโยชนกสารถิ วิย เปรียบเหมือนนายสารถีผู้คอยควบคุมม้าอาชาไนยทั้งหลาย เต อารมฺมณาภิมุขปฺปโยชนโต เพราะควบคุมสหชาตธรรมเหล่านั้น ให้มุ่งตรง ต่ออารมณ์ ฯ หิ ความจริง เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยความต่างกันนี้ อาจริยาน อนุสาสนี มีถ้อยค�ำเป็นเครื่องพร�่ำสอนของอาจารย์ทั้งหลาย อยํ ดังนี้ อิติ ว่า (ปุคฺคเลน) บุคคล โอกปฺเปตฺวา ปลงใจ อิติ ว่า เอว วิเสสา อิเม ธมฺมา ธรรมเหล่านี้ แปลกกันอย่างนี้ ภควติสทฺธาย ด้วยความเชื่อในพระผู้มีพระภาคเจ้า อิติ ว่า ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิวิชฺฌิตฺวา ทรงรู้แจ้ง ธมฺมานํ ตตยาถาวสรสลกฺขณํ ลักษณะพร้อมทั้งกิจตามเป็นจริงนั้น ๆ แห่งธรรมทั้งหลาย สภาวโต ตามสภาวะ เต เต ธมฺมา วิภตฺตา แล้วจึงทรงจ�ำแนกธรรมเหล่านั้นๆ ไว้ดังนี้ โยโค กรณีโย พึงท�ำความพากเพียร เตส สภาวสมธิคมาย เพื่อรู้ สภาวะแห่งธรรมเหล่านั้น อุคฺคหณปริปุจฺฉาทิวเสน ด้วยสามารถแห่งกิจมีการเรียน และการสอบถามเป็นต้น ปน แต่ น ตตฺถ ตตฺถ วิปฺปฏิปชฺชนฺเตหิ สมฺโมโห อาปชฺชิตพฺโพ ไม่พึงปฏิบัติผิด ถึงความงมงายในธรรมเหล่านั้น ๆ ฯ (ผสฺสาทโย


82 ปริเฉทที่ ๒ สตฺต เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๗ ประการมีผัสสเจตสิกเป็นต้น เหล่าใด สาธารณา เกิดมีทั่วไป สพฺเพสมฺปิ เอกูนนวุติจิตฺตาน แก่จิต ๘๙ ดวงแม้ทั้งหมด เตสุ อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้นในจิต เหล่านั้น นิยมโต โดยแน่นอน อิติ เพราะ เหตุนั้น สพฺพจิตฺตสาธารณา นาม เจตสิกธรรม ๗ ประการเหล่านั้น จึงชื่อว่า สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ฯ อธิมุจฺจนํ ความน้อมใจเชื่อมั่น อธิโมกฺโข ชื่อว่าอธิโมกข์ ฯ หิ ความจริง โส อธิโมกขเจตสิกนั้น สนฺนิฏฺานลกฺขโณ มีลักษณะความตกลงใจ อินฺทขีโล วิย ทฏฺพฺโพ พึงเห็นว่าเปรียบเสมือนเสาเขื่อน อารมฺมเณ นิจฺจลภาเวน เพราะเป็นสภาวะไม่หวั่นไหวในอารมณ์ ฯ ภาโว ภาวะ กมฺม วา หรือการงาน วีรานํ ของคนทั้งหลายผู้แกล้วกล้า วิริยํ ชื่อว่าวิริยะ วา หรือว่า อีรยิตพฺพ ธรรมชาติใด อันบุคคลพึงด�ำเนินไป ปวตฺเตตพฺพํ คือ พึงให้เป็นไป วิธินา ตามวิธีการ อิติ เพราะเหตุนั้น ธรรมชาตินั้น วิริยํ ชื่อว่าวิริยะ อุสฺสาโห ได้แก่ ความอุตสาหะ ฯ โส ความอุตสาหะนั้น สหชาตาน อุปตฺถมฺภนลกฺขโณ มีลักษณะช่วยสนับสนุนสหชาตธรรมทั้งหลาย ฯ หิ ความจริง วิริยวเสน ด้วยอ�ำนาจวิริยเจตสิก เตส โอลีนวุตฺติตา น โหติ สหชาตธรรมเหล่านั้น ย่อมไม่มีความเป็นไปย่อหย่อนเลย ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความ ดังกล่าวมาอย่างนี้ อิมสฺส วิริยเจตสิกนี้ วิตกฺกาทีหิ วิเสโส สุปากโฏ โหติ จึงมีความต่างกับเจตสิกธรรมทั้งหลายมีวิตกเจตสิกเป็นต้น ปรากฏชัดเจนดีแล้ว ฯ ฉนฺทนํ ความพอใจ ฉนฺโท ชื่อว่าฉันทะ อาลมฺพเนนาตฺถิกตา คือความต้องการ อารมณ์ ฯ โส ฉันทเจตสิกนั้น กตฺตุกมฺยตาลกฺขโณ มีลักษณะต้องการจะท�ำ ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอส ฉันทเจตสิกนี้ วุจฺจติ ท่านอาจารย์กล่าว อิติ ว่า อารมฺมณคฺคหเณ เจตโส หตฺถปฺปสารณ วิย ในเวลาที่จิตรับอารมณ์ คล้ายจะ ยื่นมือออกไป ฉะนั้น ฯ จ อนึ่ง ทานวตฺถุวิสฺสชฺชนวเสน ปวตฺตกาเลปิ แม้ในเวลาที่ฉันทเจตสิกนั้นเป็นไปด้วยอ�ำนาจสละทานวัตถุ เอส ฉันทเจตสิกนี้ วิสฺสชฺชิตพฺเพน เตน อตฺถิโกว ก็มีความต้องการด้วยทานวัตถุที่จะพึงสละนั้น


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 83 นั่นแหละ ขิปิตพฺพอุสูน คหเณ อตฺถิโก อิสฺสาโส วิย เปรียบเสมือนนายขมังธนู มีความต้องการในการหยิบลูกธนูที่จะพึงยิงไป ฉะนั้น ฯ (เย เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๖ ประการเหล่าใด กิณฺณา เกลื่อนกล่นแล้ว วิปฺปกิณฺณา คือเรี่ยรายแล้ว ปกาเรน โดยประการทั่วไป โสภเณสุ ในโสภณจิต (๕๙ ดวง หรือ ๙๑ ดวง) ทั้งหลาย ตทีตเรสุ จ และในอโสภณจิต (๓๐ ดวง) ทั้งหลาย อื่นจากโสภณจิตนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (เต เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๖ ประการเหล่านั้น ปกิณฺณกา จึงชื่อว่าปกิณณกเจตสิก ฯ อิตเร จิตตุปบาทที่เป็นอโสภณทั้งหลายนอกนี้ อฺ เ นาม ชื่อว่าอื่น โสภณาเปกฺขาย เพราะเพ่งถึงจิตตุปบาทที่เป็นโสภณ (๕๙ ดวง หรือ ๙๑ ดวง) จ และ โสภณา จิตตุปบาทที่เป็นโสภณทั้งหลาย อฺ เ นาม ชื่อว่าอื่น อิตราเปกฺขาย เพราะเพ่งถึงจิตตุปบาทที่เป็นอโสภณ (๓๐ ดวง) นอกนี้ ฯ (เย เตรส เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๑๓ ประการเหล่าใด สมานา มีทั่วไป เตสํ แก่อโสภณจิตตุปบาทที่ชื่อว่าอื่น และโสภณจิตตุปบาทที่ชื่อว่าอื่นทั้งหลายเหล่านั้น น อุทฺธจฺจาทิสทฺธาทโย วิย อกุสลาทิสภาวาเยว จะมีสภาวะเป็นอกุศลเจตสิกธรรม เป็นต้นล้วน ๆ เหมือนอย่างอกุศลเจตสิกธรรม มีอุทธัจจเจตสิกเป็นต้น และ โสภณเจตสิกธรรม มีสัทธาเจตสิกเป็นต้น ก็หามิได้ อิติ เพราะเหตุนั้น (เต เตรส เจตสิกา) เจตสิกธรรม ๑๓ ประการเหล่านั้น อฺ สมานา จึงชื่อว่า อัญญสมานา เจตสิก ฯ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ สพฺพจิตฺตสาธารณวเสน จ ปกิณฺณกวเสน จ โสภเณตรสภาเว เตรส ธมฺเม อุทฺทิสิตฺวา ครั้นยกเจตสิกธรรม ๑๓ ประการ คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (๗ ประการ) และ คือ ปกิณณก เจตสิกธรรม (๖ ประการ) ซึ่งมีสภาวะเป็นโสภณเจตสิกธรรม และเป็นอโสภณ เจตสิกธรรมนอกนี้ ขึ้นแสดง เอว ตาว ดังพรรณนามา อย่างนี้ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ อกุสลธมฺมปริยาปนฺเน ปม ตโต โสภณธมฺมปริยาปนฺเน จ ทสฺเสตุ หวังจะแสดงเจตสิกธรรมทั้งหลายที่นับเนื่องกับอกุศลธรรมก่อน และต่อแต่นั้น แสดงเจตสิกธรรมทั้งหลายที่นับเนื่องกับโสภณธรรม เหฏฺา จิตฺตวิภาเค


84 ปริเฉทที่ ๒ นิทฺทิฏฺานุกฺกเมน ตามล�ำดับเนื้อความที่ยกขึ้นแสดงไว้ ในการจ�ำแนกจิต ข้างต้น โมโหติอาทิวุตฺต จึงกล่าวค�ำว่า โมโห ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ก็ อเหตุเก ในอเหตุกจิต (๑๘ ดวง) อาเวณิกธมฺมา นตฺถิ ไม่มี เจตสิกธรรมแยกไว้แผนกหนึ่ง อิติ เพราะเหตุนั้น น เต วิสุ วุตฺตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงมิได้กล่าวแยกอเหตุกเจตสิกธรรมทั้งหลายเหล่านั้นไว้ ฯ อารมฺมเณ มุยฺหติ สภาวธรรมใด ย่อมลุ่มหลงในอารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น โมโห สภาวธรรมนั้นชื่อว่าโมหะ อฺ าณ ได้แก่ ความไม่รู้ ฯ ํ โส โมหเจตสิกนั้น อารมฺมณสภาวจฺฉาทนลกฺขโณ มีลักษณะปกปิดสภาวะแห่งอารมณ์ ฯ หิความจริง เอส โมหเจตสิกนี้ อารมฺมณคฺคหณวสปฺปวตฺโตปิ แม้ที่เป็นไป ด้วยอ�ำนาจ ความรับอารมณ์ ปวตฺตติ ก็ย่อมเป็นไป ตสฺส ยถาสภาวปฏิจฺฉาทนากาเรเนว โดยอาการที่ปกปิดความเป็นจริงแห่งอารมณ์นั้นนั่นเอง ฯ ปุคฺคโล ธมฺมสมูโห วา บุคคล หรือหมู่ธรรม อหิริโก ชื่อว่าอหิริกะ น หิริยติ น ลชฺชิยตีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมไม่ละอาย คือย่อมไม่กระดากอาย ฯ อหิริกสฺส ภาโว ภาวะแห ่งบุคคลหรือหมู ่ธรรมที่ไม ่ละอาย อหิริกฺกํ ชื่อว ่าอหิริกกะ ตเทว อหิริกกะนั้นนั่นเอง อหิริกํ เป็นอหิริกะ ฯ น โอตฺตปฺปติ ธรรมชาตใด ย่อมไม่ สะดุ้งกลัว อิติ เพราะเหตุนั้น อโนตฺตปฺป ธรรมชาตนั้น ชื่อว่าอโนตตัปปะ ฯ ํ ตตฺถ บรรดาอหิริกเจตสิกและอโนตตัปปเจตสิกทั้ง ๒ ประการนั้น อหิริกํ อหิริกเจตสิก กายทุจฺจริตาทิโต อชิคุจฺฉนลกฺขณํ มีลักษณะไม่รังเกียจทุจริต มีกายทุจริตเป็นต้น คูถโต คามสูกโร วิย เปรียบเสมือนสุกรบ้านไม่รังเกียจคูถ ฉะนั้น ฯ อโนตฺตปฺป อโนตตัปปเจตสิก ตโต อนุตฺตาสลกฺขณ มีลักษณะไม่สะดุ้ง กลัวทุจริตมีกายทุจริตเป็นต้นนั้น อคฺคิโต สลโภ วิย เปรียบเสมือนแมลงเม่า ไม่เกรงกลัวไฟ ฉะนั้น ฯ เตน เพราะเหตุนั้น โปราณา พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงกล่าวไว้ อิติ ว่า อหิริโก คนไม่มีความละอาย (คนมีอหิริกเจตสิก) ชิคุจฺฉติน ปาปา ย่อมไม่รังเกียจบาป คูถาว สูกโร เปรียบเสมือนสุกรบ้านไม่รังเกียจคูถ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 85 ฉะนั้น อโนตฺตาปี คนไม่มีความสะดุ้งกลัว (คนมีอโนตตัปปเจตสิก) น ภายติ (ปาปา) ย่อมไม่สะดุ้งกลัวบาป สลโภ วิย ปาวกา เปรียบ เสมือนแมลงเม่าไม่เกรงกลัวไฟ ฉะนั้น ฯ อุทฺธตสฺส ภาโว ภาวะแห่งจิตหรือบุคคลที่ฟุ้งซ่าน อุทฺธจฺจ ชื่อว่าอุทธัจจะ ฯ ต อุทธัจจเจตสิกนั้น จิตฺตสฺส อวูปสมลกฺขณ มีลักษณะที่จิตไม่สงบระงับ ปาสาณาภิฆาตสมุทฺธตภสฺมวิย เปรียบเหมือนผงธุลีที่ฟุ้งขึ้น เพราะถูกแผ่นหินทุ่ม ฉะนั้น ฯ โลโภ สภาวะที่ชื่อว่าโลภะ ลุพฺภตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ละโมบ ฯ โส โลภเจตสิกนั้น อารมฺมเณ อภิสงฺคลกฺขโณ มีลักษณะติดแน่นในอารมณ์ มกฺกฏาเลโป วิย เปรียบเสมือนลิงติดตัง ฉะนั้น ฯ เอเตส ฉันทเจตสิกและ โลภเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านี้ วิเสโส มีความแปลกกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ จิตฺตสฺส อาลมฺพิตุกามตามตฺตํ ลักษณะเพียงความที่จิตต้องการจะหน่วงอารมณ์ไว้ ฉนฺโท ชื่อว่า ฉันทะ ตตฺถ อภิคิชฺฌนํ ความติดแน่นในอารมณ์นั้น โลโภ ชื่อว่า โลภะ ฯ ทิฏฺ ทิฏฐิเจตสิก มิจฺฉาภินิเวสลกฺขณา มีลักษณะยึดมั่นผิดอย่างยิ่ง อิติ ว่า อิทเมว สจฺจ โมฆมฺ  ค�ำนี้เท่านั้นจริง ค�ำอื่นเปล่า ดังนี้ ฯ หิจริงอยู่ เอเตสํ ญาณและทิฏฐิเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านี้ วิเสโส มีความแปลกกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ าณํ ญาณ อารมฺมณ ยถาสภาวโต ชานาติย่อมรู้อารมณ์ ตามสภาวะที่เป็นจริง ทิฏฺ ทิฏฐิเจตสิก ยถาสภาว วิชหิตฺวา อยาถาวโต คณฺหาติ ละสภาวะตามที่เป็นจริง ย่อมยึด (อารมณ์) โดยความไม่เป็นจริง ฯ มาโน สภาวะที่ชื่อว่ามานะ เสยฺโยหมสฺมีติอาทินา มฺ ตีติ เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า ย่อมส�ำคัญซึ่งตนโดยอาการเป็นต้นว่า เราเป็นผู้ประเสริฐกว่า ดังนี้ ฯ โส มานเจตสิกนั้น อุนฺนติลกฺขโณ มีลักษณะพองตัว ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอส มานเจตสิกนี้ เกตุกมฺยตาปจฺจุปฏฺาโน วุตฺโต ท่านกล่าวว่า มีความประสงค์ จะท�ำตัวให้เหมือนธงเป็นอาการปรากฏเฉพาะ ฯ โทโส สภาวะที่ชื่อว่าโทสะ ทุสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ประทุษร้าย ฯ โส โทสเจตสิกนั้น จณฺฑิกฺกลกฺขโณ มีลักษณะดุร้าย ปหตาสีวิโส วิย คล้ายอสรพิษที่ถูกตี ฉะนั้น ฯ อิสฺสา ธรรมชาติ


86 ปริเฉทที่ ๒ ที่ชื่อว่าอิสสา อิสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ริษยา ฯ สา อิสสาเจตสิกนั้น ปรสมฺปตฺติอุสฺสุยนลกฺขณา มีลักษณะริษยาสมบัติของผู้อื่น ฯ มจฺเฉรสฺส ภาโว ภาวะแห่งบุคคลผู้ตระหนี่ มจฺฉริยํ ชื่อว่ามัจฉริยะ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง มา อิท อจฺฉริย อฺ เสโหตุ มยฺหเมว โหตูติปวตฺตํ (ธมฺมชาตํ) ธรรมชาต (ความคิด) ที่เป็นไปว่า ขอความอัศจรรย์นี้ จงอย่ามีแก่ชนเหล่าอื่น จงมีแก่เราเท่านั้น ดังนี้ มจฺฉริยํ ชื่อว่ามัจฉริยะ ฯ ตํ มัจฉริยเจตสิกนั้น อตฺตสมฺปตฺตินิคฺคุยฺหนลกฺขณํ มีลักษณะซ่อนสมบัติของตนไว้ ฯ กุกฺกตํ กรรมชื่อว่ากุกกตะ กุจฺฉิต กตนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า กรรมที่น่าเกลียดอันบุคคลกระท�ำแล้ว กตากต ทุจฺจริตสุจริตํ ได้แก่ ทุจริตอันตนกระท�ำแล้วและสุจริตอันตนมิได้กระท�ำไว้ ฯ หิ ความจริง (ชนา) ชนทั้งหลาย โวหรนฺติ ย่อมเรียก อกตมฺปิ กรรมแม้ที่มิได้กระท�ำไว้ กุกฺกตนฺติ ว่า เป็นกุกกตกรรม ย มยา อกต ต กุกฺกตนฺติ (โวหรนฺติ) คือ กล่าวว่า กรรมที่เรามิได้กระท�ำไว้ ชื่อว่ากุกกตกรรม ฯ ปน แต่ อิธ ในอธิการแห่ง อกุศลเจตสิกนี้ วิปฺปฏิสารจิตฺตุปฺปาโท จิตตุปบาทที่เดือดร้อน กตากต อารพฺภ อุปฺปนฺโน ซึ่งเกิดขึ้นปรารภทุจริตอันตนกระท�ำแล้ว และสุจริตอันตนมิได้กระท�ำไว้ กุกฺกต ชื่อว่ากุกกตะ ฯ ํ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งกุกกตะนั้น กุกฺกุจฺจ ชื่อว่ากุกกุจจะ ฯ ํ ต กุกกุจจเจตสิกนั้น กตากตทุจฺจริตสุจริตานุโสจลกฺขณํ มีลักษณะเศร้าโศก เนือง ๆ ถึงทุจริตอันตนกระท�ำแล้ว และสุจริตอันตนมิได้กระท�ำไว้ ฯ ถินน ความท้อแท้ ถีน ชื่อว่าถีนะ ฯ อนุสฺสาหนาวสีทนวเสน สหตภาโว ความที่จิต ถูกอ�ำนาจความไม่อาจหาญและความท้อแท้ขจัดแล้ว ถีน ชื่อว่าถีนะ ฯ มิทฺธนํ ความซบเซา มิทฺธํ ชื่อว่ามิทธะ วิคตสามตฺถิยตา ได้แก่ ความที่จิตปราศจาก ความสามารถ ฯ เอเตส ถีนเจตสิกและมิทธเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านี้ วิเสโส มีความแปลกกัน อยํ ดังนี้ อิติ คือ ตตฺถ บรรดาถีนเจตสิกและมิทธเจตสิก เหล่านั้น ถีนํ ถีนเจตสิก จิตฺตสฺส อกมฺมฺ ตาลกฺขณํ มีลักษณะคือความที่จิต ไม่ควรแก่การงาน มิทฺธํ มิทธเจตสิก เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยสฺส (อกมฺมฺ ตาลกฺขณ)ํ มีลักษณะคือความที่ขันธ์ทั้ง ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น ไม่ควรแก่การงาน ฯ ตถาหิ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 87 นิทฺเทโส สมจริงดังนิเทศ อิเมสํ แห่งถีนเจตสิกและมิทธเจตสิกทั้ง ๒ ประการ เหล่านี้ ปวตฺโต ที่เป็นไป ปาลิยํ ในพระบาลี ตตฺถ กตม ถีน ยา จิตฺตสฺส อกลฺยตาอกมฺมฺ ตา ตตฺถ กตม มิทฺธ ยา กายสฺส อกลฺยตาอกมฺมฺ ตาติอาทินา โดยนัยมีอาทิว่า บรรดาถีนะและมิทธะทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น ถีนะ เป็นไฉน คือความที่จิตไม่คล่อง ไม่ควรแก่การงาน ชื่อว่าถีนะ บรรดาถีนะและ มิทธะทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น มิทธะ เป็นไฉน คือความที่กายไม่สะดวก ไม่ควร แก่การงาน ชื่อว่ามิทธะ ฯ (โจทนา) ถาม อิติ ว่า จ ก็ กายสฺสาติ วจนโต เพราะพระพุทธพจน์ว่า กายสฺส ดังนี้ รูปกายสฺสาปิ อกมฺมฺ ตา แม้ความที่ รูปกายไม่ควรแก่การงาน มิทฺธํ ก็ชื่อว่ามิทธะ อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส รูปภาโวปิ แม้ความที่มิทธะนั้นเป็นรูป อาปชฺชติ จึงจะถูก มิใช่หรือ ฯ (วิสชฺชนา) ตอบว่า นาปชฺชติ ไม่ถูก ตตฺถ ตตฺถ อาจริเยหิอานีตการณวเสเนวสฺส ปฏิกฺขิตฺตตฺตา เพราะความที่มิทธะเป็นรูปนั้น ถูกอาจารย์ทั้งหลายคัดค้านแล้วในปกรณ์นั้น ๆ ด้วยอ�ำนาจแห่งเหตุที่ท่านน�ำมาอ้างแล้วนั่นแล ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย วิตฺถาเรนฺติ บรรยาย เตส วาทนิกฺเขปปุพฺพกํ ค�ำที่ยก วาทะของท่านที่กล่าวว่ามิทธะเป็นรูปเหล่านั้นตั้งขึ้นเป็นประธานไว้ อฏฺกถาทีสุ ในคัมภีร์อรรถกถาเป็นต้น พหุธา มากมาย มิทฺธวาทิมตปฏิกฺเขปตฺถํ เพื่อจะ คัดค้านมติของมิทธวาทีบุคคล ฯ ปน แต่ เอตฺถ (มิทฺธกถนาธิกาเร) ในอธิการว่า ด้วยเรื่องมิทธะนี้ สงฺคโห มีการรวบรวมถ้อยค�ำที่จะพึงขยายให้พิสดารไว้ อยํ ดังต่อไปนี้ อิติ ว่า เกจิ บุคคลบางพวก วทนฺติ กล่าว มิทฺธมฺปิรูปนฺติว่า แม้มิทธะ ก็เป็นรูป ดังนี้ ต ค�ำนั้น น ยุชฺชติ ย่อมไม่ถูก ปหาตพฺเพสุ (อกุสล ธมฺเมสุ) วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสมิทธะนั้นไว้ใน หมวดอกุศลธรรมที่พึงละ กามฉนฺทาทโย วิย เหมือนกับนิวรณ์ธรรม ทั้งหลายมีกามฉันทนิวรณ์เป็นต้น ฉะนั้น ฯ


88 ปริเฉทที่ ๒ หิความจริง เอต มิทธะนี้ อกฺขาต พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ํ ปหาตพฺเพสุ นีวรเณสุในหมวดนิวรณ์ธรรมที่พึงละ ตุ ส่วน รูปํ รูป น อกฺขาต พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัสไว้ ว่า ปหาตพฺพํ ทสฺสนาทินา อันโสดาปัตติมรรคเป็นต้นจะพึงละ ฯ รูปสฺส ปเหยฺยภาวเลโสปิ แม้ข้ออ้างที่ว่า รูปเป็นธรรมชาต ที่พึงละ ทิสฺสติ ปรากฏอยู่ ยตฺถ ในพระบาลีใด น ตุยฺหํ ภิกฺขเว รูป ชหเถตนฺติ ปาโต เพราะพุทธพจน์ว่า ภิกษุทั้งหลาย รูปมิใช่ ของพวกเธอ พวกเธอจงละรูปนั้นเสีย ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในพระบาลีนั้น ปกาสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ทรง ประกาศ ตพฺพิสยจฺฉนฺทราคหานิ ถึงการละฉันทราคะ ซึ่งมีรูปนั้น เป็นอารมณ์ วุตฺตฺ หิ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ ตตฺถ ในพระบาลีนั้น อิติ ว่า โย ฉนฺทราคกฺเขโปติอาทิกํ การละฉันทราคะใด ดังนี้เป็นต้น ฯ เจ หากว่า (มิทฺธวาที) มิทธวาทีบุคคล (วเทยฺย) พึงกล่าว อิติ ว่า รูปารูเปสุ มิทฺเธสุ อรูป บรรดามิทธะที่เป็นรูปและเป็นนาม มิทธะที่เป็นนาม เทสิต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้แล้ว ตตฺถ ในพระบาลีนั้น ดังนี้ไซร้ ตํ ค�ำนั้น นตฺถิ ก็ไม่มี ตตฺถ อวิเสเสน ปาโต เพราะในพระบาลีนั้น ตรัสมิทธะไว้โดยไม่แปลกกัน ฯ หิความจริง ย มิทฺธ รูปนฺติจินฺติต ตมฺปิแม้มิทธะที่พวก มิทธวาทีบุคคลพากันคิดว่าเป็นรูป สกฺกา บัณฑิตก็สามารถ อนุมาตุ จะอนุมานได้ว่า นีวรณํ เป็นนิวรณ์ มิทฺธภาวโต เพราะมิทธะที่พวก มิทธวาทีบุคคลพากันคิดว่าเป็นรูป เป็นมิทธะ อิตร วิย เหมือนกับ มิทธะที่เป็นนามนอกนี้ ฯ จ ก็ สมฺปโยคาภิธานา เพราะตรัสถึงสัมปโยค (แห่งมิทธะ) นิจฺฉโย จึงแน่ใจได้ว่า น ต รูปนฺติมิทธะนั้นไม่ใช่รูป หิความจริง


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 89 (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า ปวุจฺจติ ตรัส สมฺปโยโค สัมปโยค อรูปีนํ ขนฺธานแห่งอรูปขันธ์ (นามขันธ์) ทั้งหลาย (เท่านั้น) ฯ ตถา อนึ่ง อารุปฺเป สมุปฺปตฺติปาโต เพราะตรัสไว้ว่า มิทธะ เกิดร่วมในอรูปธรรม (นามธรรม) รูปตา มิทธะที่เป็นรูป นตฺถิ จึงไม่มี ตุ ส่วน นิทฺทา ความหลับ ขีณาสวานํ แห่งพระขีณาสพทั้งหลาย สิยา พึงมีได้ กายเคลฺ โต เพราะความอ่อนเพลียแห่งร่างกาย ฯ สทฺธา ธรรมชาติที่ชื่อว่า สัทธา สทฺทหตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เชื่อ พุทฺธาทีสุ ปสาโท คือ เลื่อมใสในพระรัตนตรัยมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ฯ สา สัทธาเจตสิกนั้น สมฺปยุตฺตาน ปสาทนลกฺขณา มีลักษณะท�ำสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ให้ผ่องใส อุทกปฺปสาทกมณิ วิย เปรียบเสมือนแก้วมณีท�ำน�้ำให้ใส ฉะนั้น ฯ สรณ ความระลึกได้ สติ ชื่อว่าสติ อสมฺโมโส ได้แก่ ความไม่หลงลืม ฯ สา สติเจตสิกนั้น สมฺปยุตฺตาน สารณลกฺขณา มีลักษณะยังสัมปยุตธรรม ทั้งหลายให้แล่นไป ฯ หิริ ธรรมชาติที่ชื่อว่าหิริ หิริยติกายทุจฺจริตาทีหิชิคุจฺฉตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ละอาย คือ รังเกียจทุจริต ๓ มีกายทุจริตเป็นต้น ฯ สา หิริเจตสิกนั้น ปาปโต ชิคุจฺฉนลกฺขณา มีลักษณะรังเกียจบาป ฯ โอตฺตปฺปํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าโอตตัปปะ โอตฺตปฺปตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เกรงกลัว (บาป) ฯ ต โอตตัปปเจตสิกนั้น ปาปโต อุตฺตาสลกฺขณํ มีลักษณะสะดุ้งกลัวต่อบาป ฯ หิริ หิริเจตสิก กุลวธู วิย เปรียบเสมือนหญิงสาวในตระกูล อตฺตคารววเสน ปาปโต ชิคุจฺฉนโต เพราะเกลียดสิ่งที่ชั่ว ด้วยอ�ำนาจความเคารพตน ฯ โอตฺตปฺปํ โอตตัปปเจตสิก เวสิยา วิย เปรียบเสมือนหญิงแพศยา ปรคารววเสน ปาปโต โอตฺตาสนโต เพราะสะดุ้งกลัวสิ่งที่ชั่ว ด้วยอ�ำนาจเคารพผู้อื่น ฯ โลภปฏิปกฺโข ธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อโลภะ อโลโภ ชื่อว่าอโลภะ ฯ โส อโลภเจตสิกนั้น อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อลคฺคตาลกฺขโณ มีลักษณะคือความที่จิตไม่ติดในอารมณ์ มุตฺตภิกฺขุ วิย เปรียบเสมือนภิกษุผู้หลุดพ้นแล้ว ฉะนั้น ฯ โทสปฏิปกฺโข ธรรมที่เป็นปฏิปักษ์ต่อ โทสะ อโทโส ชื่อว่า อโทสะ ฯ โส อโทสเจตสิกนั้น อจณฺฑิกฺกลกฺขโณ มีลักษณะ


90 ปริเฉทที่ ๒ ไม่ดุร้าย อนุกุลมิตฺโต วิย เปรียบเสมือนมิตรผู้คอยช่วยเหลือ ฉะนั้น ฯ มชฺฌตฺตตา ความเป็นกลาง เตสุ เตสุ ธมฺเมสุ ในธรรมเหล่านั้น ๆ ตตฺรมชฺฌตฺตตา ชื่อว่า ตัตรมัชฌัตตตา ฯ สา ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิกนั้น จิตฺตเจตสิกาน อชฺฌุเปกฺขนลกฺขณา มีลักษณะวางเฉยจิตและเจตสิก สมฺปวตฺตาน อสฺสาน สารถิวิย เปรียบเสมือน นายสารถีวางใจม้าที่วิ่งไปเรียบ ฉะนั้น ฯ กายสฺส ปสฺสมฺภนํ ความสงบกาย กายปสฺสทฺธิ ชื่อว่ากายปัสสัทธิ ฯ จิตฺตสฺส ปสฺสมฺภนํ ความสงบจิต จิตฺตปสฺสทฺธิ ชื่อว่าจิตตปัสสัทธิ ฯ ปน ก็ อุโภปิเอตา กายปัสสัทธิเจตสิกและจิตตปัสสัทธิ- เจตสิกแม้ทั้ง ๒ ประการนั้น กายจิตฺตาน ทรถวูปสมลกฺขณา มีลักษณะที่กาย และจิตสงบระงับความกระวนกระวายได้ ฯ กายสฺส ลหุภาโว ความเบาแห่งกาย กายลหุตา ชื่อว่ากายลหุตา ฯ (จิตฺตสฺส ลหุภาโว) ความเบาแห่งจิต ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตลหุตา คือ ชื่อว่า จิตตลหุตา ฯ ตา กายลหุตาเจตสิกและจิตตลหุตาเจตสิก ทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น กายจิตฺตครุภาววูปสมลกฺขณา มีลักษณะสงบระงับ ความหนักแห่กายและจิต ฯ กายสฺส มุทุภาโว ความอ่อนโยนแห่งกาย กายมุทุตา ชื่อว่ากายมุทุตา ฯ (จิตฺตสฺส มุทุภาโว) ความอ่อนโยนแห่งจิต ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตมุทุตา คือ ชื่อว่าจิตตมุทุตา ฯ ตา กายมุทุตาเจตสิกและจิตตมุทุตาเจตสิก ทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น กายจิตฺตถทฺธภาววูปสมลกฺขณา มีลักษณะสงบระงับ ความกระด้างแห่งกายและจิต ฯ กมฺมนิ สาธุ ความส�ำเร็จในการงาน กมฺมฺ  ชื่อว่ากัมมัญญะ ฯ ตสฺส ภาโว ภาวะแห่งกัมมัญญะนั้น กมฺมฺ ตา ชื่อว่า กัมมัญญตา ฯ กายสฺส กมฺมฺ ตา ความที่กายเป็นกัมมัญญะ กายกมฺมฺ ตา ชื่อว่ากายกัมมัญญตา ฯ (จิตฺตสฺส กมฺมฺ ตา) ความที่จิตเป็นกัมมัญญะ ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตกมฺมฺ ตา คือชื่อว่าจิตตกัมมัญญตา ฯ ตา กายกัมมัญญตาเจตสิก และจิตตกัมมัญญตาเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น กายจิตฺตาน อกมฺมฺ ภาววูปสมลกฺขณา มีลักษณะสงบระงับความไม่ส�ำเร็จประโยชน์ ในการงานแห่งกายและจิต ฯ ปคุณสฺส ภาโว ภาวะแห่งความคล่องแคล่ว ปาคุฺ  ชื่อว่าปาคุญญะ ฯ ตเทว ปาคุญญะนั้นนั่นแล ปาคุฺ ตา ชื่อว่าปาคุญญตา ฯ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 91 กายสฺส ปาคุฺ ตา ความคล่องแคล่วแห่งกาย กายปาคุฺ ตา ชื่อว่ากายปาคุญญตา ฯ (จิตฺตสฺส ปาคุฺ ตา) ความคล่องแคล่วแห่งจิต ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตปาคุฺ ตา คือชื่อว่าจิตตปาคุญญตา ฯ ตา กายปาคุญญตาเจตสิกและจิตตปาคุญญตาเจตสิก ทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น กายจิตฺตาน เคลฺ วูปสมลกฺขณา มีลักษณะสงบระงับ ความขัดข้องแห่งกายและจิต ฯ กายสฺส อุชุกภาโว ความตรงแห่งกาย กายุชุกตา ชื่อว่ากายุชุกตา ฯ (จิตฺตสฺส อุชุกภาโว) ความตรงแห่งจิต ตถา ก็เหมือนกัน จิตฺตุชุกตา คือชื่อว่าจิตตุชุกตา ฯ ตา กายุชุกตาเจตสิกและจิตตุชุกตาเจตสิก ทั้ง ๒ ประการเหล่านั้น กายจิตฺตาน อาชฺชวลกฺขณา มีลักษณะที่กายและจิตตรง ฯ ปน ก็ เอตา (กายปสฺสทฺธิอาทโย ฉยุคลา) เจตสิกธรรม ๖ คู่เหล่านี้ กายจิตฺตาน สารมฺภาทิกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฺานา มีปัจจัยอันเป็น ปฏิปักษ์ต่อความก�ำเริบแห่งธาตุที่กระท�ำความกระสับกระส่าย เป็นต้นแห่งกาย และจิตเป็นสมุฏฐาน ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ ปน ก็ กาโยติ เอตฺถ ในค�ำว่า กาโย นี้ เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยสฺส คหณํ ท่านระบุถึงขันธ์ ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น ฯ ยสฺมา จ ก็เพราะ เอเต เทฺว เทฺว ธมฺมา เอกโต หุตฺวา เจตสิกธรรมเหล่านี้ รวมกันเป็นคู่ ๆ หนนฺติ ย่อมก�ำจัด ปฏิปกฺขธมฺเม ธรรมที่เป็นข้าศึกได้ ยถาสกํ ตามสภาวะของตน ตสฺมา ฉะนั้น วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส ทุวิธตา เจตสิกธรรมไว้เป็นคู่ ๆ อิเธว ในปัสสัทธิ เป็นต้นนี้เท่านั้น น สมาธิอาทีสุ หาตรัสไว้ในสมาธิเป็นต้นไม่ ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง จิตฺตสฺเสว ปสฺสทฺธาทิภาโว ความที่จิตสงบเป็นต้นนั่นแหละ โหติย่อมมีได้ จิตฺตปสฺสทฺธิอาทีหิ ด้วยจิตตปัสสัทธิเป็นต้น ปน ส่วน รูปกายสฺสาปิ(ปสฺสทฺธาทิภาโว) ความที่แม้รูปกายสงบเป็นต้น (โหติ) ย่อมมีได้ กายปสฺสทฺธิอาทีหิ ด้วยกายปัสสัทธิ เป็นต้น ตสมุฏฺานปณีตรูปผรณวเสน ด้วยอ�ำนาจความแผ่ไปแห่งรูปอันประณีต ซึ่งมีกายปัสสัทธินั้นเป็นสมุฏฐาน อิติ เพราะเหตุนั้น จ ก็ ตทตฺถสนฺทสฺสนตฺถํ เพื่อจะชี้แจงเนื้อความนั้น วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส ทุวิธตา เจตสิกธรรม เป็นคู่ ๆ ไว้ เอตฺถ ในที่นี้ ฯ สาธารณา เจตสิกธรรม ๑๙ ประการ ชื่อว่าเกิดมี


92 ปริเฉทที่ ๒ ทั่วไป โสภณาน สพฺเพสมฺปิ แก่โสภณจิตแม้ทุกดวง (๕๙ หรือ ๙๑ ดวง) เตสุ อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้น ในโสภณจิตเหล่านั้น นิยเมน โดยแน่นอน อิติ เพราะเหตุนั้น โสภณสาธารณา เจตสิกธรรม ๑๙ ประการเหล่านั้น จึงชื่อว่า โสภณสาธารณเจตสิก ฯ สมฺมาวาจา ที่ชื่อว่าสัมมาวาจา สมฺมา วทนฺติ เอตายาติ เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องกล่าวโดยชอบแห่งเหล่าชน วจีทุจฺจริตวิรติ คือ เจตนา เป็นเครื่องงดเว้นจากวจีทุจริต ฯ สา เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากวจีทุจริตนั้น จตุพฺพิธา มี ๔ ประการ อิติ คือ มุสาวาทา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้น จากการกล่าวเท็จ ๑ ปิสุณาวาจา เวรมณีเจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการกล่าว ส่อเสียด ๑ ผรุสวาจา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการกล่าวค�ำหยาบ ๑ สมฺผปฺปลาปา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากการกล่าวเพ้อเจ้อ ๑ ฯ กมฺมเมว การงานนั่นเอง กมฺมนฺโต ชื่อว่ากัมมันตะ สุตฺตนฺตวนนฺตาทโย วิย ดุจศัพท์มี สุตฺตนฺต ศัพท์และ วนนฺต ศัพท์เป็นต้น ฉะนั้น ฯ กมฺมนฺโต การงาน สมฺมา ปวตฺโต เป็นไปแล้ว โดยชอบ สมฺมากมฺมนฺโต ชื่อว่า สัมมากัมมันตะ กายทุจฺจริตวิรติ ได้แก่ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากกายทุจริต ฯ สา เจตนา เป็นเครื่องงดเว้นจากกายทุจริตนั้น ติวิธา มี ๓ ประการ อิติ คือ ปาณาติปาตา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากปาณาติบาต ๑ อทินฺนาทานา เวรมณี เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากอทินนาทาน ๑ กาเมสุมิจฺฉาจารา เวรมณี เจตนา เป็นเครื่องงดเว้นจากกาเมสุมิจฉาจาร ๑ ฯ สมฺมาอาชีโว ที่ชื่อว่าสัมมาอาชีวะ สมฺมา อาชีวนฺติ เอเตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องเป็นอยู่โดยชอบ แห่งเหล่าชน มิจฺฉาชีววิรติ ได้แก่ เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นจากมิจฉาชีพ ฯ ปน ก็ โส สัมมาอาชีวะนั้น สตฺตวิโธ มี ๗ ประการ วิรมณวเสน ด้วยอ�ำนาจ การงดเว้น อาชีวเหตุกายวจีทุจฺจริตโต จากกายทุจริตและวจีทุจริตอันมีอาชีวะ เป็นเหตุ วา หรือว่า พหุวิโธ มีมากอย่าง กุหนาลปนาทิมิจฺฉาชีววิรมณวเสน ด้วยอ�ำนาจงดเว้นจากมิจฉาชีวะมีการโกหกและการหลอกลวงเป็นต้น ฯ ปน ก็


Click to View FlipBook Version