พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 393 ทั้งหลายให้แนบแน่นในอารมณ์ อปฺปนา ได้แก่ อัปปนา ฯ ตถา หิ จริงอย่างนั้น โส วิตกฺโก วิตกนั้น นิทฺทิฏฺโ ท่านชี้แจงไว้ ว่า พฺยปฺปนา อัปปนาที่แน่วแน่ โดยพิเศษ ฯ มหคฺคตานุตฺตรชฺฌานธมฺมา ฌานธรรมฝ่ายมหัคคตะและโลกุตตระ สพฺเพปิ แม้ทั้งหมด วุจฺจนฺติ ท่านเรียกว่า อปฺปนา อัปปนา ตปฺปมุขตาวเสน ด้วยอ�ำนาจความมีวิตกนั้นเป็นประธาน ฯ ปริกมฺมนิมิตฺตํ ที่ชื่อว่า บริกรรมนิมิต ปริกมฺมสฺส นิมิตฺตํ อารมฺมณตฺตาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่า นิมิตแห่ง บริกรรม เพราะเป็นอารมณ์ กสิณมณฺฑลาทิ ได้แก่ ดวงกสิณเป็นต้น ฯ อุคฺคหนิมิตฺตํ ที่ชื่อว่าอุคคหนิมิต ตเทว จกฺขุนา ทิฏฺฐํ วิย มนสา อุคฺคเหตพฺพํ นิมิตฺตํ อุคฺคหนฺตสฺส วา นิมิตฺตนฺติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันพระโยคาวจร พึงเพ่งบริกรรมนิมิตนั้นนั่นเองด้วยใจ คล้ายเห็นด้วยตา หรือเป็นนิมิตของ พระโยคาวจรผู้เพ่งนิมิต ฯ นิมิตฺตํ นิมิต ตปฺปฏิภาควณฺณาทิกสิณโทสรหิตํ เว้นจากโทษแห่งกสิณมีรูปที่คล้ายกับอุคคหนิมิตนั้นเป็นต้น ปฏิภาคนิมิตฺตํ ชื่อว่า ปฏิภาคนิมิต อุปจารปฺปนานมารมฺมณตฺตา เพราะเป็นอารมณ์ของอุปจารภาวนา และอัปปนาภาวนา ฯ ปวีกสิณํ ที่ชื่อว่าปฐวีกสิณ ปวีเยว กสิณํ เอกเทเส อตฺวา อนนฺตรสฺส ผริตพฺพตาย สกลฏฺเนาติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่า ปฐวีกสิณ เพราะอรรถว่า ทั่วไป โดยภาวะที่ไม่ด�ำรงอยู่ในส่วนหนึ่ง แล้วพึงแผ่ไปได้ ไม่มีที่สิ้นสุด คือ ปฐวี ฯ กสิณมณฺฑล ดวงกสิณ ๑ ํ ปฏิภาคนิมิตฺต ปฏิภาคนิมิต ๑ ํ ตทาลมฺพนฺ จ ฌานที่มีปฏิภาคนิมิตนั้นเป็นอารมณ์ ๑ วุจฺจติ ท่านเรียกว่า ปวีกสิณนฺติ ปฐวีกสิณ ฯ ตถา อาโปกสิณาทีสุปิแม้ในอาโปกสิณเป็นต้น ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ตตฺถ (ทสสุ กสิเณสุ) ในบรรดากสิณ ทั้ง ๑๐ เหล่านั้น ปวาทีนิ จตฺตาริ กสิณ ๔ มีปฐวีกสิณเป็นต้น ภูตกสิณานิ ชื่อว่าภูตกสิณ นีลาทีนิ จตฺตาริ กสิณ ๔ มีนีลกสิณเป็นต้น วณฺณกสิณานิ ชื่อว่า วรรณกสิณ ปริจฺฉินฺนากาโส อากาศที่ก�ำหนด อากาสกสิณ ชื่อว่าอากาสกสิณ ํ จนฺทาทิอาโลโก แสงสว่างมีแสงพระจันทร์เป็นต้น อาโลกกสิณ ชื่อว่าอาโลกกสิณ ฯ ํ
394 ปริเฉทที่ ๙ ฉวสรีร ซากศพ ํอุทฺธ ที่พอง ํธุมาตํ สูนํ คือ อืดขึ้น อุทฺธุมาต ชื่อว่าอุทธุมาตะ ฯ ํ ตเทว อุทธุมาตะนั้นนั่นเอง อุทฺธุมาตกํ ชื่อว่า อุทธุมาตกอสุภะ กุจฺฉิตฏฺเน เพราะอรรถว่าน่าเกลียด ฯ เอวํ เสเสสุปิแม้ในอสุภะที่เหลือทั้งหลายก็มีนัยอย่างนี้ ฯ เสตรตฺตาทิวิมิสฺสกํ ฉวสรีรํ ซากศพที่เจือด้วยสีขาวและสีแดงเป็นต้น เยภุยฺเยน โดยมาก นีลวณฺณํ มีสีเขียว วินีลกํ ชื่อว่าวินีลกอสุภะ วิเสสโต นีลกนฺติ กตฺวา เพราะกระท�ำอธิบายว่า มีสีเขียวโดยพิเศษ ฯ วิสฺสวนฺตํ ปุพฺพก ซากศพที่หนองไหล ํ ออกอยู่ วิปุพฺพกํ ชื่อว่าวิปุพพกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ ฉินฺนํ ที่ถูกตัด มชฺเฌ ท่ามกลาง ทฺวิธา ออกเป็น ๒ ท่อน วิจฺฉิทฺทกํ ชื่อว่าวิจฉิททกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ โสณสิงฺคาลาทีหิ ที่ถูกสุนัขบ้านและสุนัขจิ้งจอกเป็นต้น ขาทิตํ กัดกิน วิวิเธนากาเรน โดยอาการต่าง ๆ วิกฺขายิตกํ ชื่อว่าวิกขายิตกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ โสณสิงฺคาลาทีหิ ที่ถูกสุนัขบ้านและสุนัขจิ้งจอกเป็นต้น ขณฺฑิตฺวา กัดกิน วิวิเธนากาเรน โดยอาการต่าง ๆ ขิตฺตํ แล้วทิ้งไว้ ตตฺถ ตตฺถ ฐาเน ในที่นั้น ๆ วิกฺขิตฺตกํ ชื่อว่าวิกขิตตกอสุภะ ฯ ฉวสรีรํ ซากศพ สตฺเถน หนิตฺวา ที่เขาเอา ศัสตราตัด กากปทาทิอากาเรน โดยอาการอย่างกับตีนกาเป็นต้น ขิตฺตํ ทิ้ง วิวธ กระจัดกระจายไป ํ หตวิกฺขิตฺตก ชื่อว่าหตวิกขิตตกอสุภะ ฯ ํ ฉวสรีร ซากศพ ํ โลหิตปคฺฆรนก ที่มีโลหิตไหลออก ํ โลหิตก ชื่อว่า โลหิตกอสุภะ ฯ ํ ฉวสรีร ซากศพ ํ กิมิกุลปคฺฆรนกํ ที่มีหมู่หนอนไหลออก ปุฬุวกํ ชื่อว่าปุฬุวกอสุภะ ฯ อฏฺ กระดูก อนฺตมโส โดยที่สุด เอโกปิ แม้เพียงท่อนเดียว อฏฺกํ นาม ก็ชื่อว่าอัฏฐิกอสุภะ ฯ อนุอนุสฺสรณํ การระลึกเนือง ๆ อนุสฺสติ ชื่อว่า อนุสสติ ฯ อนุสฺสติ อนุสสติอรหตฺตาทิพุทฺธคุณารมฺมณา อันมีพุทธคุณมีความที่พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์เป็นต้นเป็นอารมณ์ พุทฺธานุสฺสติ ชื่อว่า พุทธานุสสติ ฯ อนุสฺสติ อนุสสติ สฺวากฺขาตตาทิธมฺมคุณารมฺมณา อันมีธรรมคุณมีความที่พระธรรม เป็นธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์ ธมฺมานุสฺสติ ชื่อว่า ธัมมานุสสติ ฯ อนุสฺสติ อนุสสติ สุปฏิปนฺนตาทิสงฺฆคุณารมฺมณา อันมีสังฆคุณมีความที่พระสงฆ์เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้วเป็นต้นเป็นอารมณ์ สงฺฆานุสฺสติ
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 395 ชื่อว่า สังฆานุสสติ ฯ อนุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ สีลคุณสฺส ถึงคุณแห่งศีล อตฺตโน ของตน สุปริสุทฺธสฺส อันบริสุทธิ์ด้วยดี อขณฺฑตาทินา โดยความเป็นศีล ไม่ขาดเป็นต้น สีลานุสฺสติ ชื่อว่า สีลานุสสติ ฯ จาคานุสฺสรณ การระลึกถึงเนือง ๆ ํ ถึงการบริจาค อตฺตโน ของตน วิคตมลมจฺเฉรตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็น ผู้ปราศจากความตระหนี่อันเป็นมลทินเป็นต้น จาคานุสฺสติ ชื่อว่า จาคานุสสติ ฯ สทฺธาทิคุณานุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ ถึงคุณมีศรัทธาเป็นต้นของตน เปตฺวา โดยยก เทวตา เทวดา สกฺขิฏฺาเน ไว้ในฐานะเป็นพยาน เอว อย่างนี้ว่า ํ เทวา เทพทั้งหลาย สมนฺนาคตา ผู้ประกอบ สทฺธาทีหิ(คุเณหิ) ด้วยคุณมีศรัทธา เป็นต้น เยหิ เหล่าใด คตา ถึง เทวตฺตํ ความเป็นเทพได้ คุณา คุณทั้งหลาย ตาทิสา เช่นนั้น สนฺติ มีอยู่ มยิ ในเรา ดังนี้ เทวตานุสฺสติ ชื่อว่า เทวตานุสสติ ฯ คุณานุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ ถึงคุณ นิพฺพานสฺส แห่งพระนิพพาน สพฺพทุกฺขูปสมภูตสฺส อันเป็นที่เข้าไปสงบระงับทุกข์ทั้งปวง อุปสมานุสฺสติ ชื่อว่า อุปสมานุสสติ ฯ อนุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ มรณสฺส ถึงความตาย ชีวิตินฺทฺริยุปจฺเฉทภูตสฺส อันเป็นเครื่องเข้าไปตัดชีวิตินทรีย์ มรณานุสฺสติ ชื่อว่า มรณานุสสติ ฯ สติ สติ คตา อันไปแล้ว ปวตฺตา คือ เป็นไปแล้ว เกสาทิกายโกฏฺาเส ในส่วนแห่งกายมีผมเป็นต้น กายคตาสติ ชื่อว่า กายคตาสติ ฯ อานฺ จ การหายใจเข้า อปานฺ จ และการหายใจออก อานาปาน ชื่อว่า อานาปานะ ํ อสฺสาสปสฺสาสา ได้แก่ ลมอัสสาสปัสสาสะ ฯ สติ สติ ตทารมฺมณา อันมีลมหายใจ เข้าและลมหายใจออกนั้นเป็นอารมณ์ อานาปานสฺสติ ชื่อว่า อานาปานัสสติ ฯ เมตฺตา ที่ชื่อว่า เมตตา มิชฺชติสินิยฺหตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า รักใคร่ คือเยื่อใย วา หรือ เมตฺตา ที่ชื่อว่า เมตตา มิตฺเตสุ ภวาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า มีในมิตรทั้งหลาย ฯ เมตฺตา เมตตา สา นั้น หิตสุขูปสํหรณลกฺขณา มีลักษณะน�ำประโยชน์สุขเข้าไปให้ สตฺตานํ แก่สัตว์ทั้งหลาย ฯ กรุณา กรุณา ปรทุกฺขาปนยนกามตาลกฺขณา มีลักษณะประสงค์จะบ�ำบัดทุกข์ของผู้อื่น ฯ มุทิตา มุทิตา ปรสมฺปตฺติสมฺโมทลกฺขณา มีลักษณะพลอยชื่นชมสมบัติของผู้อื่น ฯ
396 ปริเฉทที่ ๙ อุเปกฺขา อุเบกขา อิฏฺานิฏฺมชฺฌตฺตาการปฺปวตฺติลกฺขณา มีลักษณะเป็นไป โดยอาการวางตนเป็นกลางในอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ ฯ อปฺปมฺ า ที่ชื่อว่า อัปปมัญญา อปฺปมาณสตฺตารมฺมณตฺตา เพราะมีสัตว์อันหาประมาณมิได้เป็น อารมณ์ ฯ พฺรหฺมวิหาโร ที่ชื่อว่า พรหมวิหาร อุตฺตมวิหารภาวโต เพราะเป็นธรรม เครื่องอยู่อย่างสูงสุด วา หรือ วิหารภาวโต เพราะเป็นธรรมเครื่องอยู่ อุตฺตมานํ ของท่านผู้สูงสุด ฯ สฺ า สัญญา ปวตฺตา ที่เป็นไป กวฬีการาหาเร ในกวฬีการาหาร อิติ ว่า ปฏิกฺกูลนฺติ เป็นของปฏิกูล คมนปริเยสนปริโภคาทิปจฺจเวกฺขณวเสน ด้วยอ�ำนาจการพิจารณาถึงการไป การแสวงหา และการบริโภค เป็นต้น อาหาเร ปฏิกูลสฺ า ชื่อว่า อาหาเรปฏิกูลสัญญา ฯ ววตฺถานํ การก�ำหนด จตุนฺนํ ธาตูนํ ธาตุ ๔ ปวีธาตุอาทีนํ มีปฐวีธาตุเป็นต้น สลกฺขณโต โดยลักษณะของตน จ และ เกสาทิสมฺภาราทิโต โดยเครื่องประกอบมีผมเป็นต้นเป็นอาทิ จตุธาตุววตฺถานํ ชื่อว่าจตุธาตุววัฏฐาน ฯ ภาวนา ภาวนา ปวตฺตา อันเป็นไปแล้ว อรูเป ในอารมณ์ นามธมฺเม อันเป็นนามธรรม อารุปฺปา ชื่อว่า อารุปปภาวนา ฯ อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตํุ หวังจะแสดง กมฺมฏฺานํ กัมมัฏฐาน จริตานุกูลํ อันเหมาะแก่จริต ตสฺส ตสฺส ปุคฺคลสฺส ของบุคคลนั้น ๆ อาห จึงกล่าวบาลีมีว่า จริตาสุ ปน ดังนี้เป็นต้น ฯ จ ก็ ปุคฺคโล บุคคล ราคจริโต ที่ชื่อว่าเป็นราคจริต ราโค จ จริตํ ปกติ เอตสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีราคะเป็นจริต คือเป็นปกติราคพหุโล ปุคฺคโล ได้แก่ บุคคลผู้มากไปด้วยราคะ ฯ อสุภกมฺมฏฺาน อสุภกัมมัฏฐาน ํ สปฺปาย ชื่อว่าเหมาะ ํตสฺส แก่เขา อุชุวิปจฺจนีกภาวโต เพราะเป็นข้าศึกโดยตรง ราคสฺส ต่อราคะ ฯ อานาปานํ อานาปานกัมมัฏฐาน สปฺปายํ ชื่อว่าเหมาะ โมหจริตสฺส แก่คนโมหจริต จ และ วิตกฺกจริตสฺส แก่คน วิตกจริต โมหปฏิปกฺขตฺตา เพราะเป็นปฏิปักษ์ต่อโมหะ พุทฺธิวิสยภาเวน ด้วยความเป็นวิสัยแห่งปัญญา จ และ วิตกฺกสนฺธาวนนิวารกตฺตา เพราะเป็นเครื่อง ห้ามความแล่นไปของวิตก ฯ ฉ พุทฺธานุสฺสติอาทโย อนุสสติ ๖ มีพุทธานุสสติ เป็นต้น สปฺปายา ชื่อว่าเหมาะ สทฺธาจริตสฺส แก่คนสัทธาจริต สทฺธาพุทฺธิเหตุภาวโต
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 397 เพราะเป็นเหตุแห่งความเจริญศรัทธา ฯ มรณสฺสติ มรณสติ อุปสมานุสฺสติ อุปสมานุสสติ อาหาเรปกิกูลสฺ า อาหาเรปฏิกูลสัญญา จ และ จตุธาตุววตฺถานํ จตุธาตุววัฏฐาน สปฺปายา ชื่อว่าเหมาะ พุทฺธิจริตสฺส แก่คนพุทธิจริต วิสยตฺตา เพราะเป็นวิสัย พุทฺธิยา เอว แห่งปัญญาอย่างเดียว คมฺภีรภาวโต โดยความเป็นของ ลึกซึ้ง ฯ เสสานีติ บทว่า เสสานิ จตุพฺพิธภูตกสิณากาสาโลกกสิณารุปฺปจตุกฺกวเสน ทสวิธานิ ได้แก่ กัมมัฏฐาน ๑๐ อย่าง คือ ภูตกสิณ ๔ อากาสกสิณ ๑ อาโลกกสิณ ๑ และอรูปฌาน ๔ ฯ ตตฺถาปีติ บทว่า ตตฺถาปิเตสุ ททสุ กมฺมฏฺาเนสุ ได้แก่ บรรดากัมมัฏฐาน ๑๐ เหล่านั้น ฯ กมฺมฏฺาน กัมมัฏฐาน ํ ปุถุลํ ที่มีอารมณ์กว้างขวาง สปฺปายํ ชื่อว่าเหมาะ โมหจริตสฺส แก่คนโมหจริต สมฺพาเธ โอกาเส จิตฺตสฺส ภิยฺโยโส มตฺตาย เพราะในโอกาสคับแคบจิตมัวมลมากมาย ฯ กมฺมฏฺานํ กัมมัฏฐาน ขุทฺทกํ มีอารมณ์เล็กน้อย สปฺปายํ ชื่อว่าเหมาะ วิตกฺกจริตสฺส แก่คนวิตกจริต มหนฺตารมฺมณสฺส วิตกฺกสนฺธาวนปจฺจยตฺตา เพราะความที่อารมณ์กว้างใหญ่ เป็นปัจจัยแก่ความแล่นไปของวิตก ฯ จ ก็ เอตํ (วุตฺตวจนํ) ข้อความที่กล่าวมานี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺต กล่าวไว้ ํ อุชุวิปจฺจนีกโตเจว เพราะเป็นข้าศึกโดยตรง นั่นเอง จ อติสปฺปายตาย และเพราะเป็นกัมมัฏฐานที่เหมาะยิ่ง ฯ ปน แต่ กสิณาทิภาวนา นาม ชื่อว่ากสิณภาวนาเป็นต้น อวิกฺขมฺภิกา ที่ไม่ข่ม ราคาทีนํ กิเลสมีราคะเป็นต้น วา หรือ อนุปการิกา ที่ไม่ท�ำอุปการะ สทฺธาทีนํ แก่อินทรีย์ มีสัทธินทรีย์เป็นต้น นตฺถิ ย่อมไม่มี ฯ สพฺพตฺถาปีติ บทว่า สพฺพตฺถาปิจตฺตาฬีสกมมฏฺาเนสุปิ แม้ในกัมมัฏฐาน ทั้ง ๔๐ ประการ ฯ อปฺปนา อัปปนา นตฺถิ ชื่อว่าไม่มี พุทฺธานุสฺสติอาทีสุ ททสุ กมฺมฏฺาเนสุ ในกัมมัฏฐาน ๑๐ มีพุทธานุสสติเป็นต้น สมาธิสฺส ปติฏฺฐาตุมสกฺกุเณยฺยตฺตา เพราะสมาธิไม่สามารถตั้งมั่นได้ อปฺปนาวเสน ด้วยอ�ำนาจอัปปนา พุทฺธคุณาทีนํ ปรมตฺถภาวโต เหตุพุทธคุณเป็นต้นเป็นสภาวะมีอรรถยอดเยี่ยม อเนกวิธตตฺตา เหตุมีหลายประการ จ และ เอกสฺสาปิคมฺภีรภาวโต เหตุพุทธคุณ แม้บทเดียว ก็เป็นสภาวะลึกซึ้ง ฯ สมาธิ สมาธิ อปฺปนาภาวํ อปฺปตฺวา ที่ไม่ถึง
398 ปริเฉทที่ ๙ ความเป็นอัปปนา ปติฏฺาติ ย่อมตั้งมั่น อุปจารภาเวเนว โดยความเป็นอุปจารเท่านั้น ฯ ปน ส่วน โลกุตฺตรสมาธิ โลกุตตรสมาธิ จ และ ทุติยจตุตฺถารูปสมาธิ อรูปาวจร สมาธิที่ ๒ และที่ ๔ ปาปุณาติ ย่อมถึง อปฺปนํ อัปปนาได้ ภาวนาวิเสสวเสน ด้วยอ�ำนาจภาวนาพิเศษ สภาวธมฺเมปิ แม้ในสภาวธรรม ฯ หิ ความจริง โลกุตฺตโร โลกุตตรสมาธิ ปาปุณาติ ย่อมถึง อปฺปน อัปปนาได้ ํ วิสุทฺธิภาวนานุกฺกมภาวนาวเสน ด้วยอ�ำนาจก�ำลังตามล�ำดับแห่งวิสุทธิภาวนา ฯ อารุปฺปสมาธิ อรูปาวจรสมาธิ ปาปุณาติ ย่อมถึงอัปปนาได้ อารมฺมณสมติกฺกมภาวนาวเสน ด้วยอ�ำนาจภาวนา ที่ก้าวล่วงอารมณ์ ฯ หิ ความจริง อารมฺมณมตฺตสมติกฺกมนมตฺตํ เพียงความ ก้าวล่วงได้เพียงอารมณ์ โหติ ย่อมมี จตุตฺถชฺฌานสมาธิโน แก่จตุตถฌานสมาธิ อปฺปนาปฺปตฺตสฺเสว เฉพาะที่ถึงอัปปนาแล้ว ฯ ปฺ จกชฺฌานานิ ฌาน ๕ อตฺถิ มีอยู่ เอเตสํ แก่กสิณ ๑๐ และอานาปานัสสติเหล่านี้ (เพราะเหตุนั้น กสิณ ๑๐ และอานาปานัสสติเหล่านี้ จึงชื่อว่า ปัญจกฌานิกะ) วา อีกอย่างหนึ่ง (กสิณ ๑๐ และอานาปานัสสติ) นิยุตฺตานิ ประกอบ ตตฺถ ในฌาน ๕ เหล่านี้ อิติ เพราะเหตุ นั้น กสิณ ๑๐ และอานาปานัสสติ ปฺ จกชฺฌานิกานิ จึงชื่อว่า ปัญจกฌานิกะ ฯ อสุภภาวนาย ปฏิกฺกูลารมฺมณตฺตา เพราะอสุภภาวนามีสิ่งปฏิกูลเป็นอารมณ์ จิตฺตํ จิต ปวตฺตติ จึงเป็นไป ตตฺถ ในอสุภกัมมัฏฐานนั้นได้ วิตกฺกพเลเนว ด้วยก�ำลังวิตกเท่านั้น จณฺฑโสตาย นทิยา อริตฺตพเลน นาวา วิย เปรียบเสมือน เรือที่แล่นไปในแม่น�้ำที่มีกระแสเชี่ยวได้ด้วยก�ำลังถ่อ ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า (ทส อสุภา) อสุภะ ๑๐ (จ) และ กายคตาสติ กายคตาสติ (๑) ปมชฺฌานิกา ชื่อว่า มีเพียงปฐมฌาน อวิตกฺกชฺฌานาสมฺภวโต เพราะฌานที่ไม่มีวิตก (ทุติยฌานเป็นต้น) ไม่เกิดมี อสุภกมฺมฏฺาเน ในอสุภกัมมัฏฐาน ฯ เมตฺตากรุณามุทิตานํ สหคตตา ความที่เมตตา กรุณา และมุทิตา ที่ สหรคตโสมนสฺเสน สหรคตโสมนัส โทมนสฺสปฏิปกฺเขน อันชื่อว่าเป็นข้าศึกต่อ โทมนัสนั่นเอง โทมนสฺสสหคตพฺยาปาทวิหึสานภิรตีนํ ปหายกตฺตา เพราะเป็น
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 399 ธรรมชาติละพยาบาท วิหิงสา และอนภิรติที่สหรคตด้วยโทมนัส ยุตฺตา ควรแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น เมตฺตาทโย ตโย พรหมวิหารธรรมทั้ง ๓ ประการ มีเมตตา เป็นต้น (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) จึงกล่าวว่า จตุกฺกชฺฌานิกา มีได้ถึงฌาน ๔ ฯ อุเปกฺขา อุเบกขา (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺตา กล่าวว่า ปฺ จกชฺฌานิกา มีเฉพาะฌานที่ ๕ อุเปกฺขาพฺรหฺมวิหารสฺส สุขสหคตตาสมฺภวโต เพราะอุเบกขา พรหมวิหาร ไม่มีการสหรคตด้วยโสมนัส สพฺเพ สตฺตา สุขิตา โหนฺตุ ทุกฺขา มุจฺจนฺตุ ลทฺธสมฺปตฺติโต มา วิคจฺฉนฺตูติ เมตฺตาทิวสปฺปวตฺตํ พฺยาปารตฺตยํ ปหาย กมฺมสฺสกตาทสฺสเนน สตฺเตสุ มชฺฌตฺตาการปฺปวตฺตภาวนาย นิพฺพตฺตาย ตตฺรมชฺฌตฺตุเปกฺขาย พลวตรตฺตา เหตุตัตตรมัชฌัตตุเปกขา ที่บังเกิด ด้วยภาวนา อันละความพยายาม ๓ อย่าง ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจเมตตาเป็นต้นว่า ขอสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงจงเป็นผู้ถึงความสุข จงพ้นจากทุกข์ จงอย่าแคล้วคลาด จากสุขสมบัติที่ได้แล้ว ดังนี้ แล้วเป็นไปโดยอาการวางตนเป็นกลางในสัตว์ทั้งหลาย โดยเห็นความที่สัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน มีก�ำลังกว่า ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ตํตทารมฺมณานุรูปโต ได้แก่ โดยเหมาะแก่ อารมณ์นั้น ๆ ฯ (ท่านอาจารย์) วุตฺตํ กล่าวว่า ปริยาเยน ย่อมได้โดยปริยาย กสฺสจิ อารมฺมณสฺส อปริพฺยตฺตตาย เพราะอารมณ์บางอย่างไม่แจ่มแจ้งพอ ฯ หิ ความจริง ปริพฺยตฺตนิมิตฺตสมฺภโว นิมิตที่แจ่มแจ้งพอย่อมเกิดมีเฉพาะ กสิณาสุภโกฏฺาสานาปานสฺสตีเสฺวว ในกสิณ (๑๐) อสุภะ (๑) กายคตาสติ (๑) และอานาปานัสสติ (๑) เท่านั้น อิติ แล ฯ ปวีมณฺฑลาทีสุ นิมิตฺตํ อุคฺคณฺหนฺตสฺส ข้อว่า ปวีมณฺฑลาทีสุ นิมิตฺตํ อุคฺคณฺหนฺตสฺส ความว่า อาทิมฺหิ ในเบื้องต้น (โยคาวจรสฺส) เมื่อพระโยคาวจรผู้เริ่มบ�ำเพ็ญเพียร วิโสเธตฺวา ช�ำระ จตุปาริสุทฺธิสีลํ ปาริสุทธิศีล ๔ ให้หมดจด ตาว ก่อนแล้ว อุปจฺฉินฺทิตฺวา ตัด ปลิโพธํ ปลิโพธ ทสวิธํ ๑๐ ประการแล้ว อุปสงฺกมิตฺวา เข้าไปหา กลฺยาณมิตฺตํ กัลยาณมิตร ปิยครุภาวนียาทิคุณสมนฺนาคตํ ผู้ประกอบด้วยคุณมีความเป็นผู้เป็นที่รัก น่าเคารพ และน่ายกย่องเป็นต้นแล้ว คเหตฺวา เรียน กมฺมฏฺานํ กัมมัฏฐาน
400 ปริเฉทที่ ๙ ปกติจริยานุกูลํ อันเหมาะแก่ปกติจริต อตฺตโน ของตน ปหาย ละ วิหารํ วิหาร อนนุรูปํ อันไม่เหมาะสม อฏฺารสวิธํ ๑๘ แห่งเสียแล้ว วิหรนฺตสฺส อยู่ อนุรูปวิหาเร ในวิหารอันเหมาะสม ปญฺจงฺคสมนฺนาคเต ซึ่งประกอบด้วยองค์ ๕ กตฺวา กระท�ำ ขุทฺทกปลิโพธุปจฺเฉทํ การตัดปลิโพธิที่หยุมหยิม เกสนขหรณาทึ มีโกนผมและตัดเล็บเป็นต้นเสีย กตฺวา วาง กสิณมณฺฑลาทึ ดวงกสิณเป็นต้นไว้ ปุรโต ข้างหน้า นิสีทิตฺวา แล้วนั่ง เปตฺวา ตั้ง จิตฺตํ จิต อานาปานโกฏฺาทีสุ ไว้ในอานาปานัสสติและกายคตาสติเป็นต้น อุคฺคณฺหนฺตสฺส ก�ำหนด นิมิตฺตํ นิมิต ตํตทารมฺมเณสุ ในอารมณ์นั้น ๆ ปวีกสิณาทีสุ มีปฐวีกสิณเป็นต้น ตตํภําวนานุกฺกเมน ตามล�ำดับภาวนานั้น ๆ ปวีปวี ว่า ปฐวี ปฐวี ดังนี้เป็นต้น ฯ สงฺเขโป ความสังเขป เอตฺถ ในที่นี้ อยํ เพียงเท่านี้ ฯ ปน ส่วน ภาวนา การเจริญภาวนา วิตฺถารโต โดยพิสดาร คเหตพฺพา พึงค้นดู วิสุทฺธิมคฺคโต จากปกรณ์วิเสสชื่อว่าวิสุทธิมรรค ฯ หิ ความจริง ภาวนาวิธานํ วิธีเจริญภาวนา ทุวิธมฺปิ แม้ทั้ง ๒ อย่าง (ท่านอาจารย์) วุตฺตํ กล่าวไว้ อติสงฺเขปโต โดยย่อ เกินไป ฯ จ ก็ อาหริยมาเน เมื่อท่านจะน�ำ วิตฺถารนเย นัยอันพิสดารมา ตทตฺถทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงเนื้อความแห่งภาวนาวิธีทั้ง ๒ นั้น อติปปฺ โจ สิยา ก็จะพึงเยิ่นเย้อเกินไป อิติ เพราะเหตุนั้น มยมฺปิ แม้ข้าพเจ้า ตํ น วิตฺถาเรสฺสาม ก็จักไม่ท�ำภาวนาวิธีนั้นให้พิสดาร ฯ ยทา ฯเปฯ สมุคฺคหิตนฺติข้อว่า ยทา ฯเปฯ สมุคฺคหิตํ ความว่า ยทา ในกาลใด ปริกมฺมนิมิตฺตํ บริกรรมนิมิต ตํ นั้น จิตฺเตน อุคฺคหิตํ เป็นอันจิต ก�ำหนดได้ สมฺมา ดีแล้ว ปวตฺตานุปุพฺพภาวนาวเสน ด้วยอ�ำนาจภาวนาตามล�ำดับ ที่เป็นไปแล้ว เอว อย่างนั้น ฯ ํ มโนทฺวารสฺส อาปาถมาคตนฺติข้อว่า มโนทฺวารสฺส อาปาถมาคต ความว่า ํ (โยคาวจรสฺส) เมื่อพระโยคาวจร จกฺขํ นิมฺมิเลตฺวา หลับตา วา หรือ คนฺตฺวา ไป อฺ ตฺถ ในที่อื่น มนสิกโรนฺตสฺส มนสิการอยู่ นิมิตฺต นิมิต ํ ตํ นั้น กสิณมณฺฑลสทิสเมว เป็นเช่นดวงกสิณนั่นเอง อาปาถมาคตํ โหติ ย่อมมาปรากฏ มโนทฺวาริกชวนานํ แก่ชวนจิตที่เกิดทางมโนทวาร ฯ สมาธิยตีติ
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 401 บทว่า สมาธิยติ ความว่า ภาวนา ภาวนา สา นั้น สมาหิตา โหติ ย่อมตั้งมั่น จิตฺเตกคฺคตาปตฺติยา โดยถึงความที่จิตมีอารมณ์แน่วแน่ วิเสสโต โดยพิเศษ ฯ จิตฺตสมาธานวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจจิตตั้งมั่น ปุคฺคโลปิ แม้บุคคล สมาหิโตเยว ก็ย่อมเป็นผู้ตั้งมั่นเหมือนกัน อิติ เพราะเหตุนั้น (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า ตถา สมาหิตสฺส ผู้มีจิตตั้งมั่นแล้วอย่างนั้น ฯ ตปฺปฏิภาคนฺติ บทว่า ตปฺปฏิภาค อุคฺคหนิมิตฺตสทิสํ ได้แก่ เหมือนกันกับอุคคหนิมิต ฯ หิความจริง ตโต เพราะเหตุที่เหมือนกันกับอุคคหนิมิตนั้นนั่นเอง (ตํ อารมฺมณํ) อารมณ์นั้น วุจฺจติ บัณฑิตจึงเรียกว่า ปฏิภาคนิมิตฺตนฺติปฏิภาคนิมิต ฯ ปน แต่ ต ปฏิภาคนิมิตนั้น ํ อติปริสุทฺธํ โหติย่อมเป็นธรรมชาตบริสุทธิ์ยิ่ง อุคฺคหนิมิตฺตโต กว่าอุคหนิมิต ฯ วตฺถุธมฺมวิมุจฺจิตนฺติ บทว่า วตฺถุธมฺมวิมุจฺจิต ความว่า ํตํ อารมฺมณํ อารมณ์นั้น วินิมุตฺต พ้นแล้ว ํ ปรมตฺถธมฺมโต จากปรมัตถธรรม วา หรือ วินิมุตฺตํ พ้นแล้ว วตฺถุธมฺมโต จากวัตถุธรรม กสิณมณฺฑลคตกสิณโต คือ จากกสิณที่อยู่ ในดวงกสิณ ภาวนามยํ ชื่อว่า ส�ำเร็จแต่ภาวนา นิพฺพตฺตตฺตา เพราะบังเกิด ภาวนาย ด้วยภาวนา ฯ สมปฺปิตนฺติ บทว่า สมปฺปิตํ อปฺปิตํ ได้แก่ แน่วแน่ สุฏฺุ สนิทดี ฯ ตโต ปฏฺายาติข้อว่า ตโต ปฏฺาย ปฏฺาย ได้แก่ ตั้งแต่ ปฏิภาคนิมิตฺตุปฺปตฺติโต ปฏิภาคนิมิตเกิดขึ้น ฯ ฌานงฺคาวชฺชนตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถในการน้อมนึกถึงองค์ฌาน อปราปรํ กลับไปกลับมา ปรํ อคนฺตฺวา ไม่เลยไป จตุปฺ จชวนกติปยภวงฺคโต จากชวนจิต ๔ ดวง หรือ ๕ ดวง และภวังคจิต ๒ ดวง หรือ ๓ ดวง อุปฺปนฺนาว ชฺชนานนฺตร ในล� ํำดับต่อจากอาวัชชนจิตที่เกิดขึ้น เอเกการมฺมเณ ในอารมณ์แต่ละ อย่าง ฌานงฺเคสุ ในองค์ฌาน ปญฺจสุ ทั้ง ๕ อาวชฺชนวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการนึก ฯ สมตฺถตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถ สมาปชฺชิตํ จะเข้าฌานได้ อุปฺปนฺนาวชฺชนานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากอาวัชชนจิต ที่เกิดขึ้นแล้ว ปรํ อคนฺตฺวา ไม่เลยไป กติปยภวงฺคโต จากภวังคจิต ๒-๓ ดวง สมาปชฺชิตุกามตานนฺตรํ ในล�ำดับต ่อจากความเป็นผู้ประสงค์จะเข้าฌาน
402 ปริเฉทที่ ๙ สมาปชฺชนวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการเข้าฌาน ฯ สมตฺถตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถ อุปจฺฉินฺทิตฺวา จะตัด ภวงฺคเวคํ ก�ำลังแห่ง ภวังคจิต เปตํุ แล้วหยุด ฌานํ ฌานไว้ได้ ยถาปริจฺฉินฺนกาลํ ตามเวลาที่ก�ำหนด เสตุ วิย สีฆโสตาย นทิยา โอฆํ ดุจเขื่อนกั้นกระแสน�้ำในแม่น�้ำซึ่งมีกระแสน�้ำ เชี่ยว ฉะนั้น รกฺขณโยคฺยตา ความเป็นผู้พากเพียรรักษาชวนจิต ภวงฺคปาตโต จากการตกเป็นภวังคจิต อธิฏฺานวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการ อธิษฐาน ฯ วุฏฺานสมตฺถตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถออก ฌานโต จากฌาน อนติกฺกมิตฺวา ไม่เลย ยถาปริจฺฉินฺนกาลํ เวลาตามที่ก�ำหนดไว้ วุฏฺานวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการออก ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ปนสมตฺถตา ความที่พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถหยุดฌานไว้ อทตฺวา ไม่ให้ อุทฺธํ คนฺตุ เลยไป ํยถาปริจฺฉินฺนกาลโต จากเวลาตามที่ก�ำหนดไว้ อธิฏฺานวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการอธิษฐาน ฯ วุฏฺานสมตฺถตา ความที่ พระโยคาวจรเป็นผู้สามารถออกจากฌานได้ ยถากาลวเสน ด้วยอ�ำนาจเวลา ตามที่ก�ำหนดไว้ อวุฏฺหิตฺวา ไม่ออกจากฌาน อนฺโต ภายใน ปริจฺฉินฺนกาลโต เวลาที่ก�ำหนดไว้ วุฏฺานวสิตา นาม ชื่อว่า ความเป็นผู้ช�ำนาญในการออก อิติ เพราะเหตุนั้น อล พอที ํ อติปปญฺเจน ไม่ต้องให้พิศดารมากนัก ฯ ปน ส่วน ปจฺจเวกฺขณวสิตา ความเป็นผู้ช�ำนาญในการพิจารณา สิทฺธา ส�ำเร็จแล้ว อาวชฺชนวสิตาย เอว ด้วยความเป็นผู้ช�ำนาญในการน้อมนึกนั่นเอง ฯ หิ ความจริง ชวนาเนว ชวนจิตทั้งหลาย อาวชฺชนานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากอาวัชชนจิตนั่นแหละ ปจฺจเวกฺขณชวนานิ นาม ชื่อว่า ชวนจิตเป็นเครื่องพิจารณา ฯ วิตกฺกาทิโอฬาริกงฺค ปหานายาติ ข้อว่า วิตกฺกาทิโอฬาริกงฺค ปหานาย ความว่า ทุติยชฺฌานาทีหิ วิตกฺกาทิโอฬาริกงฺคานํ ฌานกฺขเน อนุปฺปาทาย เพื่อองค์ฌานที่หยาบกว่าทุติยฌานเป็นต้นมีวิตกเป็นอาทิไม่เกิดขึ้นในขณะแห่งฌาน ฯ ปทหนฺโตติ บทว่า ปทหนฺโต กโรนฺโต ได้แก่ ท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรมอยู่ ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ปน ก็ อุปจารภาวนา อุปจารภาวนา ตสฺส แห่ง
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 403 พระโยคาวจรนั้น (สิทฺธา) ชื่อว่าส�ำเร็จแล้ว ปฏฺาย จ�ำเดิม นิกนฺติวิกฺขมฺภนโต แต่การข่มความติดใจ วิตกฺกาทีสุ ในวิตกเป็นต้น ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ตตํฌํานิกกสิณาทิอารมฺมณานุรูป ได้แก่ เหมาะแก่อารมณ์มีกสิณเป็นต้น ที่ประกอบ ํ ในฌานนั้น ๆ ฯ อุคฺฆาเตตุมสกฺกุเณยฺยตฺตา ก็เพราะพระโยคาวจรไม่สามารถ จะเพิก อากาสกสิณสฺส อากาศกสิณได้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) จึงกล่าวค�ำว่า อากาสวชฺชิเตสุ ฯ บทว่า กสิณํ กสิณปฏิภาค นิมิตฺตํ ได้แก่ ปฏิภาคนิมิตแห่ง กสิณ ฯ บทว่า อุคฺฆาเฏตฺวา อุทฺธริตฺวา ได้แก่ ยกขึ้น อมนสิการวเสน ด้วยอ�ำนาจ ไม่ใส่ใจถึง ฯ อนนฺตวเสน ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺสาติ ข้อว่า อนนฺตวเสน ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺส ความว่า (เมื่อพระโยคาวจร) กโรนฺตสฺส กระท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรม อารพฺภ ปรารภถึง อากาสํ อากาศ ว่า อากาสํ อนนฺตํ อากาศไม่มีที่สุด อากาสํ อนนฺตํ อากาศไม่มีที่สุด ดังนี้ ปน แต่ (จะท�ำบริกรรม) ว่า อนนฺตํ ไม่มีที่สุด อนนฺตํ ไม่มีที่สุด ดังนี้ เกวลํ อย่างเดียว น หามิได้ ฯ วิฺ าณฺ จายตเนปิ แม้ในวิญญาณัญจายตนฌาน เอวํ ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย (วทนฺติ) กล่าวว่า อวตฺวาปิ การที่พระโยคาวจรแม้ไม่กล่าวว่า อนนฺตนฺติ ไม่มีที่สุด ดังนี้แล้ว กาตุํ กระท�ำ มนสิ ในใจว่า อากาโส อากาโส อากาศ อากาศ วิฺ าณํ วิฺ าณํ วิญญาณ วิญญาณ ดังนี้ วฎฺฏติ ก็ควร ฯ สนฺตเมตํ ปณีตเมตนฺติปริกมฺมํ กโรนฺตสฺสาติ ข้อว่า สนฺตเมตํ ปณีตเมตนฺติ ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺส ความว่า (โยคาวจรสฺส) เมื่อพระโยคาวจร ภาเวนฺตสฺส เจริญบริกรรมอยู่ว่า เอตํ อรูปฌานที่ ๓ นี้ สนฺตํ สงบ เอตํ อรูปฌานที่ ๓ นี้ ปณีตํ ประณีต อิติ ดังนี้ อภาวมตฺตารมฺมณตาย เพราะอรูปฌานที่ ๓ มีเพียง ความไม่มีเป็นอารมณ์ ฯ อวเสเสสุ จาติ บทว่า อวเสเสสุ จ ความว่า กมฺมฏฺาเนสุ ในบรรดากัมมัฏฐาน ทสสุ ๑๐ อิติ คือ อฏฺสุ ในกัมมัฏฐาน ๘ พุทฺธานุสฺสติอาทีสุ มีพุทธานุสสติเป็นต้น จ และ สฺ าววตฺถาเนสุ ในอาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑ จตุธาตุววัฏฐาน ๑ อวเสเสสุ ที่เหลือ กสิณาทิตึสปฺปนาวหกมฺมฏฺานโต จาก กัมมัฏฐานอันน�ำมาซึ่งอัปปนา ๓๐ มีกสิณเป็นต้น ฯ ปริกมฺมํ กตฺวาติ ข้อว่า
404 ปริเฉทที่ ๙ ปริกมฺมํ กตฺวา ความว่า กตฺวา ท�ำ ปริกมฺม บริกรรม ํ วุตฺตวิธาเนน โดยวิธีดังกล่าว แล้วเป็นต้นว่า โส ภควา พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น อรห เป็นพระอรหันต์ ํ อิติปิ แม้เพราะเหตุนี้ สมฺมาสมฺพุทโธ เป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ อิติปิ แม้เพราะเหตุนี้ ฯ สาธุกมุคฺคหิเตติ ข้อว่า สาธุกมุคฺคหิเต ความว่า (เมื่อพระโยคาวจร) อุคฺคหิเต ก�ำหนด (ตสฺมึ นิมิตฺเต) นิมิตนั้น สุฏฺฐุ ด้วยดี นินฺนโปณปพฺภารจิตฺตตาวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นผู้มีจิตน้อมไป โน้มไป และโอนไป พุทฺธาทิคุเณ ในพุทธคุณ เป็นต้น ฯ ปริกมฺมญฺจ สมาธิยตีติ ข้อว่า ปริกมฺมญฺจ สมาธิยติ ความว่า ปริกมฺมภาวนา บริกรรมภาวนา สมาหิตา ตั้งมั่นดีแล้ว นิปฺผชฺชติ ย่อมส�ำเร็จ ฯ อุปจาโร จ อุปฺปชฺชตีติ ข้อว่า อุปจาโร จ อุปฺปชฺชติ ความว่า จ และ อุปจารสมาธิ อุปจารสมาธิ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น วิกฺขมฺเภนฺโต ข่ม นีวรณาทีนิ นิวรณ์เป็นต้นได้ ฯ จตฺตาฬีสกมฺมฏฺานนโย นัยแห่งกัมมัฏฐาน ๔๐ ประการ นิฏฺโต จบแล้ว ฯ อภิฺ าวเสน ปวตฺตมานนฺติข้อว่า อภิฺ าวเสน ปวตฺตมานํ ความว่า ปวตฺตมานํ เป็นไปอยู่ อภิญฺาสงฺขาตอิทฺธิวิธาทิปญฺจโลกิยาภิญฺาวเสน ด้วยอ�ำนาจโลกิยอภิญญา ๕ มีอิทธิวิธญาณที่เรียกว่า อภิญญา เป็นต้น ชานนตฺเถน โดยอรรถว่า เป็นเครื่องรู้ อภิ ยิ่ง วิเสสโต คือ โดยพิเศษ ฯ อภิฺ าปาทก ฯเปฯ วุฏฺหิตฺวาติข้อว่า อภิฺ าปาทก ฯเปฯ วุฏฺหิตฺวา ความว่า เมื่อพระโยคาวจร ฝึกจิตโดยอาการ ๑๔ อย่าง มีกสิณานุโลมเป็นต้น ท�ำให้ควรแก่อภินิหารเข้า รูปาวจรปัญจมฌานนั่นแล เพราะประกอบด้วยอุเบกขาและเอกัคคตา และเพราะ เหมาะสม คือฌานที่ ๕ นั้น อันมีปฐวีกสิณเป็นต้นเป็นอารมณ์ซึ่งเป็นบท คือเป็น ที่ตั้งมั่นแห่งอภิญญา แล้วออกจากฌานที่ ๕ นั้น ฯ ข้อว่า อธิฏฺเยฺยาทิกมาวชฺชิตฺวาติ ข้อว่า อธิฏฺเยฺยาทิกมาวชฺชิตฺวา ความว่า อาวชฺชิตฺวา น้อมนึก รูปาทิกํ ถึงรูป เป็นต้น สตาทิกํ ซึ่งมีจ�ำนวนตั้ง ๑๐๐ เป็นอาทิ อธิฏฺาตพฺพํ ที่ตนพึงอธิษฐาน
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 405 วิกุพฺพนีย คือ พึงกระท� ํำให้พิเศษ ปริกมฺมกาเล ในคราวบริกรรม อิทฺธิวิธาณสฺส อิทธิวิธญาณ อาวชฺชิตฺวา น้อมนึก สทฺทํ ถึงเสียง ถูลสุขุมเภทํ ซึ่งแยกเป็น เสียงดังและเสียงค่อย ปริกมฺมกาเล ในคราวบริกรรม ทิพฺพโสตสฺส ทิพโสตญาณ อาวชฺชิตฺวา น้อมนึก จิตฺตํ ถึงจิต สราคาทิเภทํ แยกเป็นจิตที่มีราคะเป็นต้น ปรสฺส ของผู้อื่น หทยคตวณฺณทสฺสเนน ด้วยการเห็นรูปซึ่งอยู่ในหทัย ปริกมฺมกาเล ในคราวบริกรรม เจโตปริยาณสฺส เจโตปริยญาณ อาวชฺชิตฺวา น้อมนึก ปุพฺเพนิวุฏฺกฺขนฺธํ ถึงขันธ์ที่ตนเคยอยู ่อาศัยในกาลก ่อน จุติจิตฺตาทิเภทํ แยกเป็นจุติจิตเป็นต้น ปุริมภเว ในภพก่อน ปริกมฺมสมเย ในคราวบริกรรม ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติาณสฺส ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ วา หรือ อาวชฺชิตฺวา น้อมนึกถึง รูป รูป ํ โอภาสผริตฏฺานคต ที่อยู่ในที่แสงสว่างแผ่ไปถึง ํ ปริกมฺมสมเย ในคราวบริกรรม ทิพฺพจกฺขุสฺส ทิพพจักขุญาณ ฯ ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺสาติข้อว่า ปริกมฺมํ กโรนฺตสฺส ความว่า กโรนฺตสฺส เมื่อท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรมอยู่ อาทินา (นเยน) โดยนัยเป็นต้นว่า อหํ เรา สตํ โหมิ จงเป็น ๑๐๐ คน สหสฺสํ โหมิ เราจงเป็น ๑,๐๐๐ คน อิติ ดังนี้ ฯ รูปาทีสูติ บทว่า รูปาทีสุ อารมฺมเณสุ ได้แก่ ในอารมณ์ทั้งหลาย รูปปาทกชฺฌานสทฺทปรจิตฺตปุพฺเพนิวุฏฺกฺขนฺธาทิเภเทสุ แยกเป็นรูปฌานที่เป็นบาท เสียง จิตของผู้อื่น และขันธ์ที่ตนเคยอยู่อาศัยในกาล ก่อนเป็นต้น ปริกมฺมวิสยภูเตสุ อันเป็นอารมณ์แห่งบริกรรม ฯ หิความจริง เอตฺถ ในบรรดาอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้นเหล่านี้ ตาว อันดับแรก อิทฺธิวิธาณสฺส อิทธิวิธญาณ อาลมฺพนานิ มีอารมณ์ ฉ ๖ ประการ อิติ คือ ปาทกชฺฌานํ ฌานที่เป็นบาท ๑ กาโย กาย ๑ รูปาทีนิ อารมณ์ (จตฺตาริ) ๔ รูปาทีนิ มีรูปารมณ์เป็นต้น รูปาทิอธิฏฺาเน ในที่เป็นที่อธิษฐานรูปารมณ์เป็นอาทิ ฯ ตตฺถ ในบรรดาอารมณ์ ๖ นั้น ปาทกชฺฌานํ ฌานที่เป็นบาท อตีตเมว เป็นอดีต อย่างเดียว กาโย กาย ปจฺจุปฺปนฺโน เป็นปัจจุบัน อิตรํ อารมณ์ ๔ มีรูปารมณ์ เป็นต้นนอกนี้ ปจฺจุปฺปนฺนํ อนาคตํ เป็นปัจจุบัน วา ก็มี อนาคตํ เป็นอนาคต วา ก็มี ฯ ปน ส่วน ทิพฺพโสตสฺส ทิพพโสตญาณ สทฺโทเยว มีเสียงอย่างเดียว
406 ปริเฉทที่ ๙ เป็นอารมณ์ ฯ จ ก็ โส โข เสียงนั้นแล ปจฺจุปฺปนฺโน เป็นปัจจุบัน ฯ มหาอฏฺกถาจริยา อาจารย์ผู้แต่งมหาอรรถกถาทั้งหลาย อาหํสุ กล่าวว่า ปน แต่ ปรจิตฺตวิชานนาย ปรจิตตวิชาญาณ โหติย่อมมี จิตฺตเมว เฉพาะจิต ติกาลิกํ ที่เป็นไปใน ๓ กาล ยงฺกิญฺจิ ดวงใดดวงหนึ่ง ปริตฺตาทีสุ บรรดา กามาวจรจิตเป็นต้น ปวตฺตํ ที่เป็นไป อตีเต ในอดีต สตฺตทิวเสสุ ๗ วัน จ และ อนาคเต ในอนาคต สตฺตทิวเสสุ ๗ วัน อารมฺมณํ เป็นอารมณ์ ฯ (๒๕๓๒) ปน ส่วน สงฺคหการา พระอาจารย์ทั้งหลายผู้รจนาสังคหะ วทนฺติ กล่าวว่า (ปรจิตตวิชาญาณนั้น) ขนฺธา มีขันธ์ จตฺตาโร ๔ (เป็นอารมณ์) อิติปิ ดังนี้ก็มี ฯ (ถามว่า) ปน ก็ อสฺสา (ปรจิตฺตวิชานนาย) ปรจิตต-วิชาญาณนั้น สิยา จะพึงมี ปจฺจุปฺปนฺนจิตฺตาลมฺพนตา จิตปัจจุบันเป็นอารมณ์ กถํ ได้อย่างไร จิตฺตํ จิต อาวชฺชนาย ที่อาวัชชนจิต คหิตเมว รับมาแล้วนั่นแหละ อารมฺมณํ โหติ ย่อมเป็นอารมณ์ อิทฺธิจิตฺตสฺส ของจิตที่ประกอบด้วยฤทธิ์ได้ สตฺตทิวเส ๗ วัน (จ) ก็ (อาวชฺชนาย) เมื่ออาวัชชนจิต กตฺวา ท�ำ ปจฺจุปฺปนฺนจิตฺตาลมฺพนํ จิตปัจจุบันให้เป็นอารมณ์แล้ว นิรุชฺฌมานาย ดับลง จิตฺตมฺปิ แม้จิต ปรสฺส ของผู้อื่น นิรุชฺฌติ ก็ดับลง ตํสมกาลเมว มีเวลาเท่ากับอาวัชชนจิตนั้นนั่นเอง นนุ มิใช่หรือ อิติ เพราะเหตุนั้น อาวชฺชนชวนานํ อาวัชชนจิตกับชวนจิต น สิยา ไม่พึงมี เอการมฺมณตา อารมณ์อย่างเดียวกัน กาลวเสน ด้วยอ�ำนาจกาล กถญฺจิ ก็ไฉนเล่า (พระผู้มีพระภาคเจ้า) น อธิปฺเปตา จะไม่ทรงพระประสงค์ ชวนาวชฺชนาน ชวนจิตกับอาวัชชนจิต ํอญฺตฺถ ในวิถีอื่น มคฺคผลวีถิโต จากวิถี แห่งมรรคจิตและผลจิต นานารมฺมณตา ว่ามีอารมณ์ต่างกันเล่า อิติ ดังนี้ ฯ ตอบว่า ตาว อันดับแรก อฏฺกถายํ ในอรรถกถา (พระอรรถกถาจารย์) โยชิตา ประกอบความว่า สนฺตติอทฺธานปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพนตา (ปรจิตตวิชาญาณนั้น) มีจิตปัจจุบันคือสันตติและอัทธานะเป็นอารมณ์ ฯ ปน ส่วน อานนฺทาจริโย ท่านพระอานันทาจารย์ ภณติ กล่าวว่า (ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียร) วุฏฺาย ออก ปาทกชฺฌานโต จากฌานที่เป็นบาทแล้ว อกตฺวา ไม่ท�ำ ปจฺจุปฺปนฺนาทิวิภาคํ
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 407 การจ�ำแนกจิตปัจจุบันเป็นต้น กตฺวา ท�ำ ปริกมฺมํ บริกรรม เกวลํ ล้วน ๆ ว่า อหํ เรา ชานามิ จะรู้ จิตฺตํ จิต อิมสฺส ของผู้นี้ อิติ ดังนี้เท่านั้น สมาปชฺชิตฺวา เข้า ปาทกชฺฌานํ ฌานที่เป็นบาท ปุนปิ ซ�้ำอีก วุฏฺาย ออกจากฌานที่เป็น บาทนั้น อาวชฺเชตฺวา แล้วค�ำนึง จิตฺตํ ถึงจิต อวิเสเสน โดยไม่แปลกกันเลย ปฏิวิชฺฌเติย่อมรู้แจ้ง จิตฺตํ จิต ปรสฺส ของผู้อื่นได้ เจโตปริยาเณน ด้วย เจโตปริยญาณ ปริกมฺมานมนนฺตรํ ในล�ำดับบริกรรม ติณฺณํ ๓ วา หรือ จตุนฺนํ ๔ ครั้ง รูปํ วิย ทิพฺพจกฺขุนา คล้ายกับผู้ที่เห็นรูปได้ด้วยทิพจักษุ ฉะนั้น ปจฺฉา ภายหลัง กโรติ จึงท�ำ สราคาทิววตฺถานํ การก�ำหนดรู้ถึงจิตที่มีราคะเป็นต้นได้ กามาวจรจิตฺเตน ด้วยกามาวจรจิต นีลาทิววตฺถานํ วิย คล้ายกับผู้ท�ำการก�ำหนดรู้ ถึงสีเขียวเป็นต้นได้ ฉะนั้น จ ก็ ตานิ สพฺพานิ จิตทั้งหลายมีบริกรรมจิตเป็นต้น เหล่านั้นทั้งหมด อภิมุขีภูตจิตฺตาลมฺพนาเนว มีจิตที่ปรากฏเฉพาะหน้าเป็นอารมณ์ เท่านั้น จ อนึ่ง าเน ในที่ อนิฏฺเว ไม่ประสงค์นั่นแหละ นตฺถิ ย่อมไม่มี นานาลมฺพตาโทโส ความผิดคือความที่ชวนจิตกับอาวัชชนจิตมีอารมณ์ต่างกัน อภินฺนาการปฺปวตฺติโต เพราะจิตทั้งหลายมีบริกรรมจิตเป็นต้นเป็นไปโดยอาการ ไม่ต่างกัน อิติ ดังนี้ ฯ (จบ ๒๕๓๒) ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติาณสฺส ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ปุพฺเพนิวุฏฺกฺขนฺธา มีขันธ์ที่ตนเคยอยู่อาศัยในกาลก่อน นามโคตฺตานิ นามและโคตร ขนฺธปฏิพทฺธานิ ที่เนื่องกับขันธ์ จ และ นิพฺพานํ พระนิพพาน อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ปน ส่วน ทิพฺพจกฺขุสฺส ทิพพจักขุญาณ รูปเมว มีรูป ปจฺจุปฺปนฺนํ ซึ่งเป็นปัจจุบัน อย่างเดียว (เป็นอารมณ์) อิติ แล ฯ อยํ นี้ อารมฺมณวิภาโค เป็นการจ�ำแนก อารมณ์ เอเตสํ ของอภิญญาจิตเหล่านี้ ฯ ยถารหมปฺเปตีติข้อว่า ยถารหมปฺเปติ อปฺเปติ ได้แก่ ย่อมแน่วแน่ ตํตํปริกมฺมานุรูปโต โดยสมควรแก่บริกรรมนั้น ๆ ฯ อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตุ หวังจะแสดง ํเภท ความต่าง ํ อภิฺ าน แห่งอภิญญาทั้งหลาย ํเภเทเนว โดยประเภท อารมฺมณาน แห่งอารมณ์ ํ ทั้งหลายนั่นแล อาห จึงกล่าวว่า อิทฺธิวิธาติอาทึ อิทฺธิวิธา ดังนี้เป็นต้น ฯ (อภิญญา)
408 ปริเฉทที่ ๙ อิทฺธิวิธา ชื่อว่าอิทธิวิธา อิทฺธิปเภโท เอติสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีประเภท แห่งฤทธิ์มีการอธิษฐานเป็นต้น ฯ ทิพฺพโสต ชื่อว่า ทิพพโสตะ ํ ทิพฺพานํ โสตสทิสตาย ทิพฺพวิหารสนฺนิสฺสยตาย ทิพฺพญฺจ ตํ โสตญฺจาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า โสตนั้นด้วย ชื่อว่าเป็นทิพย์ เพราะเป็นเช่นกับโสตะของพวกเทวดาผู้เป็นทิพย์ และเพราะเป็นที่อยู่อาศัยของทิพพวิหารธรรมด้วย ฯ ปรจิตฺตวิชานนา ชื่อว่า ปรจิตตวิชาญาณ ปเรสํ จิตฺตํ วิญฺายติ เอตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องอันพระโยคาวจรรู้แจ้งจิตของผู้อื่น ฯ อนุสฺสรณํ การระลึกถึงเนือง ๆ ขนฺธาทีนํ ถึงขันธ์เป็นต้น ปุพฺเพ ในปางก่อน อตีตภเวสุ คือในอดีตภพ วุฏฺวเสน ด้วยอ�ำนาจขันธ์ที่อยู่ สนฺตาเน ในสันดาน อตฺตโน ของตน จ และ โคจรนิวาสนวเสน ด้วยอ�ำนาจขันธ์อันเป็นที่อยู่อาศัยด้วยอ�ำนาจอารมณ์ ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติ ชื่อว ่าปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ฯ ทิพฺพจกฺขุ ชื่อว ่า ทิพยจักษุ ทิพฺพญฺจ ตํ จกฺขุญฺจาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า จักษุนั้นด้วย ชื่อว่า เป็นทิพย์ วุตฺตนเยน โดยนัยดังกล่าวแล้วด้วย ฯ ปน แต่ ทิพฺพจกฺขุเมว เฉพาะทิพพจักขุญาณ วุจฺจติ ท่านเรียกว่า จุตูปปาตานนฺติจุตูปปาตญาณ ฯ ยถากมฺโมปคาณอนาคตสําณานิปิ แม้ยถากัมโมปคญาณและอนาคตังสญาณ อิชฺฌนฺติ ก็ย่อมส�ำเร็จได้ ทิพฺพจกฺขุวเสเนว ด้วยอ�ำนาจทิพพจักขุญาณนั่นเอง ฯ หิ ความจริง เตสํ (าณานํ)ญาณเหล่านั้น นตฺถิ ไม่มี ปริกมฺมํ บริกรรม วิสุํ เป็นแผนกหนึ่ง ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ตตฺถ (ทฺวีสุ าเณสุ) บรรดาญาณทั้ง ๒ นั้น ตาว อันดับแรก อนาคตสําณสฺส ส�ำหรับอนาคตังสญาณ ปวตฺตนจิตฺตเจตสิกํ มีจิตและเจตสิกที่เป็นไป อนาคเต ในอนาคต ปรํ ต่อ สตฺตทิวสโต จาก ๗ วันไป จ และ ยงฺกิญฺจิ มีจิตและเจตสิกอย่างใดอย่างหนึ่ง ปวตฺตนกํ ซึ่งเป็นไป ปฏฺาย ตั้งแต่ ทิตุยทิวสโต วันที่ ๒ อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ฯ หิความจริง ตํ อนาคตังสญาณนั้น วุตฺตํ (ท่านอาจารย์ทั้งหลาย) กล่าวว่า สพฺพฺ ุ ตาณคติกํ มีคติเหมือนสัพพัญญุตญาณ สวิสเย ในอารมณ์ ของตน ฯ ปน ส่วน ยถากมฺโมปคาณสฺส ยถากัมโมปคญาณ เจตนา มีเจตนา
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 409 (จิต) กุสลากุสลสงฺขาตา คือกุศลจิตและอกุศลจิต วา หรือ ขนฺธา ขันธ์ จตฺตาโร ทั้ง ๔ อารมฺมณํ เป็นอารมณ์ ฯ เภโท ความต่างกัน โคจรวเสน ด้วยอ�ำนาจอารมณ์ โคจรเภโท ชื่อว่า โคจรเภท ฯ สมถกมฺมฏฺานนโย นัยแห่งสมถกัมมัฏฐาน นิฏฺโต จบแล้ว ฯ วิปสฺสนา ธรรมชาติที่ชื่อว่าวิปัสสนา อนิจฺจาทิวเสน วิวิธากาเรน ปสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เห็นสังขารธรรมโดยอาการต่าง ๆ ด้วยอ�ำนาจอนิจจลักษณะ เป็นต้น ภาวนาปญฺา ได้แก่ ภาวนาปัญญา อนิจฺจานุปสฺสนาทิกา มีอนิจจานุปัสสนา เป็นต้น ฯ กมฺมฏฺฐานํ ฐานะเป็นที่ตั้งแห่งการบ�ำเพ็ญ ตสฺสา วิปัสสนานั้น วา หรือ กมฺมฏฺานํ ฐานะเป็นที่ตั้งแห่งการบ�ำเพ็ญ สาเยว คือวิปัสสนานั้น อิติ เพราะเหตุนั้น วิปสฺสนากมฺมฏฺานํ จึงชื่อว่า วิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ ตสฺมึ ในปัสสนากัมมัฏฐานนั้น ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า วิสุทฺธิสงฺคโห พึงทราบ วิสุทธิสังคหะ สตฺตวิเธน โดยธรรม ๗ อย่าง ในวิปัสสนากัมมัฏฐานนั้น ฯ อนิจฺจลกฺขณํ ที่ชื่อว่าอนิจจลักษณะ อนิจฺจตาเยว ลกฺขณํ ลกฺขิตพฺพํ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ลักษณะคือความเป็นสภาวะไม่เที่ยง อันพระโยคาวจร พึงก�ำหนด วา หรือ ลกฺขิยติ อเนนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องอัน พระโยคาวจรก�ำหนดธรรม ฯ ทุกฺขลกฺขณํ ที่ชื่อว่า ทุกขลักษณะ อุทยวยปฏิ- ปีฬนสงฺขาตทุกฺขภาโวเยว ลกฺขณนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ลักษณะคือความ เป็นทุกข์ กล่าวคือความบีบคั้น คือความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป ฯ อภาโว ความไม่มี ปรปริกปฺปิตสฺส แห่งสภาวะที่ผู้อื่นก�ำหนดแล้ว จ และ อตฺตโน แห่งตน อนตฺตตา ชื่อว่าความเป็นอนัตตา ฯ อนตฺตลกฺขณํ ชื่อว่า อนัตตลักษณะ ตเทว ลกฺขณนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ลักษณะคือความเป็นอนัตตานั้น ฯ อนุปสฺสนา การพิจารณาเห็นเนือง ๆ ติณฺณํ ลกฺขณานํ ถึงไตรลักษณ์ อนิจฺจานุปสฺสนาทิกา ชื่อว่า อนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ฯ
410 ปริเฉทที่ ๙ าณํ ญาณ สมฺมสนวสปฺปวตฺตํ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจพิจารณา ขนฺธาทีนํ ธรรมมีขันธ์เป็นต้น กลาปโต โดยความเป็นกลาป สมฺมสนาณ ชื่อว่า สัมมสนญาณ ฯ ํ าณ ญาณ ํ อุปฺปาทภงฺคานุปสฺสนาวสปฺปวตฺต ที่เป็นไปด้วยอ� ํำนาจพิจารณาเนือง ๆ ถึงความเกิดขึ้นและความดับไป แห่งสังขารทั้งหลาย อุทยพฺพยาณํ ชื่อว่า อุทยัพพยญาณ ฯ าณํ ญาณ มุญฺจิตฺวา ที่ปล่อยวาง อุทยํ ความเกิดขึ้นแล้ว ปวตฺตํ เป็นไป วเย ในความดับ ภงฺคาณํ ชื่อว่า ภังคญาณ ฯ าณํ ญาณ ปวตฺตํ เป็น ที่เป็นไป อนุปสฺสนาวเสน ด้วยอ�ำนาจการพิจารณาเห็นเนือง ๆ สงฺขารานํ ถึงสังขารทั้งหลาย ภยโต โดยความเป็นของน่ากลัว ภยาณํ ชื่อว่า ภยญาณ ฯ าณํ ญาณ ปวตฺตํ ที่เป็นไป เปกฺขนวเสน ด้วยอ�ำนาจเพ่งถึง ทิฏฺภยาน สังขารทั้งหลายที่เป็นของน่ากลัว ซึ่งตนเห็นแล้ว ํ อาทีนวโต โดยความ เป็นโทษ อาทีนวาณํ ชื่อว่า อาทีนวญาณ ฯ าณํ ญาณ นิพฺพินฺทนวสปฺปวตฺตํ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจความเบื่อหน่าย ทิฏฺาทีนเวสุ ในสังขารทั้งหลาย ที่มีโทษ อันตนเห็นแล้ว นิพฺพิทาาณ ชื่อว่า นิพพิทาญาณ ฯ ํ าณ ญาณ ํ ปวตฺต ที่เป็นไป ํ นิพฺพินฺทิตฺวา สงฺขาเรหิมุญฺจิตุกมฺยตาวเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นผู้เบื่อหน่ายแล้ว ต้องการจะหลุดพ้น จากสังขารธรรมทั้งหลาย มฺุ จิตุกมฺยตาาณํ ชื่อว่า มุญจิตุกัมยตาญาณ ฯ าณ ญาณ ํ ปริคฺคหวสปฺปวตฺต ที่เป็นไปด้วยอ� ํำนาจก�ำหนด สงฺขารานํ สังขารทั้งหลาย ปุน ซ�้ำอีก อุปายสมฺปฏิปาทนตฺถํ เพื่อจะให้ถึงอุบาย มุญฺจนสฺส แห่งการหลุดพ้น ปฏิสงฺขาราณ ชื่อว่า ปฏิสังขาญาณ ฯ ํ าณ ญาณ ํ อชฺฌุเปกฺขิตฺวา ที่เพ่งเฉย ภยนนฺทิวิวชฺชนวเสน ด้วยอ�ำนาจเว้นความกลัว และ ความเพลิดเพลิน ปฏิสงฺขาตธมฺเมสุ ในธรรมที่ตนพิจารณาแล้วทั้งหลายได้เด็ดขาด ปวตฺตํ เป็นไป สงฺขารุเปกฺขาาณํ ชื่อว่า สังขารุเปกขาญาณ ฯ าณํ ญาณ อนุกูล ที่คล้อยตาม ํ กิจฺจนิปฺผตฺติยา ความส�ำเร็จกิจ นวนฺน แห่งวิปัสสนาญาณ ๙ ํ ปุริมานํ ข้างต้น จ และ โพธิปกฺขิยธมฺมานํ โพธิปักขิยธรรม สตฺตตฺตึสาย ๓๗ ประการ อุปริ สูงขึ้นไป อนุโลมาณํ ชื่อว่า อนุโลมญาณ ฯ
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 411 สฺุ โต สภาวธรรม ชื่อว่าสุญญตะ อตฺตสฺุ ตาย เพราะว่างจากตน วิโมกฺโข สภาวะที่ชื่อว ่า วิโมกข์ วิมุญฺจนตฺเถน เพราะอรรถว ่าหลุดพ้น สญฺโชนาทีหิ จากสังโยชน์เป็นต้น ฯ อนิมิตฺตโต สภาวะที่ชื่อว่า อนิมิตตะ อภาวโต เพราะไม่มี นิจฺจนิมิตฺตาทิโน นิจจนิมิตเป็นต้น ฯ อปฺปณิหิโต สภาวะ ที่ชื่อว่า อัปปณิหิตะ อภาวโต เพราะไม่มี ปณิหิตสฺส สิ่งที่สัตว์ปรารถนา ตณฺหา ปณิธิสฺส คือ กิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่นคือตัณหา ฯ ปาฏิโมกฺโข ธรรมชาตที่ชื่อว่า ปาฏิโมกข์ โย นํ ปาติตํ ปาตึโมกฺเขติ อปายาทีหิ ทุกฺเขหีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังผู้รักษาให้พ้นจากทุกข์มีอบาย เป็นต้น ฯ สีลํ ชื่อว่า ศีล สโมธาโนปธานตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นที่ประชุมและ เป็นเครื่องรองรับ จ และ สํวโร ชื่อว่า สังวร สํวรณโต เพราะเป็นเครื่องส�ำรวม กายทุจฺจริตาทีหิ จากทุจจริตมีกายทุจจริตเป็นต้น ตเทว คือปาฏิโมกข์นั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ปาฏิโมกฺขสํวรสีลํ จึงชื่อว่า ปาฏิโมกขสังวรศีล ฯ สีลํ ศีล ปวตฺตํ ที่เป็นไป สํวรณวเสน ด้วยอ�ำนาจความส�ำรวม อินฺทฺริยานํ อินทรีย์ทั้งหลาย มนจฺฉฏฺานํ มีมนินทรีย์เป็นที่ ๖ รูปาทีสุ ในรูปารมณ์เป็นต้น อินฺทฺริยสํวรสีลํ ชื่อว่า อินทรียสังวรศีล ฯ สีลํ ศีล ปริสุทฺธิวสปฺปวตฺตํ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจ ความบริสุทธิ์ อาชีวสฺส แห่งอาชีวะ มิจฺฉาชีววิวชฺชเนน โดยเว้นจากมิจฉาชีพ ได้เด็ดขาด อาชีวปาริสุทฺธิสีลํ ชื่อว่า อาชีวปาริสุทธิศีล ฯ สีลํ ศีล สนฺนิสฺสิตํ ที่อาศัย ปจฺจเย ปัจจัยทั้งหลาย ปจฺจเวกฺขณสีลํ คือ ศีลเป็นเครื่องพิจารณา เตสํ ปัจจัยทั้งหลายเหล่านั้น อิทมตฺถิกตาย โดยความที่ปัจจัยเหล่านั้นมี อาชีวปาริสุทธิศีลเป็นประโยชน์ ปจฺจยสนฺนิสฺสิตสีลํ ชื่อว่า ปัจจยสันนิสสิตศีล ฯ จตุปาริสุทฺธิสีลํ ชื่อว่าปาริสุทธิศีล ๔ จตุพฺพิธตฺตา เพราะมี ๔ ประการ จ และ ปริสุทฺธตฺตา เพราะบริสุทธิ์ได้ เทสนาสํวรปริเยฏฺปจฺจเวกฺขณวเสน ด้วยอ�ำนาจ การแสดง ความส�ำรวม การแสวงหา และการพิจารณา ฯ สมาธิ สมาธิ จิตฺตวิสุทฺธิ นาม ชื่อว่าจิตตวิสุทธิ จิตฺตสฺส วิโสธนโต เพราะเป็นเครื่องช�ำระจิตให้หมดจด วินีวรณภาวาปาทนวเสน ด้วยอ�ำนาจการยังจิต
412 ปริเฉทที่ ๙ ให้ถึงความเป็นธรรมชาตปราศจากนิวรณ์ วา หรือ กตฺวา เพราะท�ำอธิบายว่า นิทฺทิฏฺตฺตา เพราะทรงแสดง จิตฺตสีเสน โดยยกจิตขึ้นเป็นประธาน จ และ วิสุทฺธตฺตา เพราะเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ ฯ ปริคฺคโห การก�ำหนด ปริจฺฉิชฺช คหณํ คือ การก�ำหนดถือเอา ปจฺจตฺตลกฺขณาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจลักษณะเฉพาะตน เป็นต้น ลกฺขณาทีนํ ถึงลักษณะเป็นอาทิ วุตฺตานํ ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ เอวํ อย่างนี้ว่า สามฺ สภาโว สภาวะที่เสมอกัน ธมฺมานํ แห่งธรรมทั้งหลาย ลกฺขณํ ชื่อว่าลักษณะ กิจฺจสมฺปตฺติโย หน้าที่ และสมบัติ รโส ชื่อว่ากิจ อุปฏฺานากาโร อาการที่ปรากฏ ผลฺ จ และผล ปจฺจุปฏฺาน ชื่อว่าปัจจุปัฏฐาน ํ วิตฺถารโต โดยพิสดาร อาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า ผสฺโส ผัสสะ ผุสนลกฺขโณ มีลักษณะถูกต้องอารมณ์ ปวี ปฐวีธาตุ กกฺขลลกฺขณา มีลักษณะแข้นแข็ง จ และ สงฺเขปโต โดยย่อ (นเยน) โดยนัย อาทินา เป็นต้นว่า นามํ นาม นมนลกฺขณํ มีลักษณะน้อมไป รูปํ รูป รุปฺปนลกฺขณํ มีลักษณะเปลี่ยนแปร อิติ ดังนี้ ทุกฺขสจฺจววตฺถานํ ได้แก่ การก�ำหนดทุกขสัจ ทิฏฺิวิสุทฺธินาม ชื่อว่า ทิฏฐิวิสุทธิ กตฺวา เพราะท�ำอธิบายว่า ทิฏฺิ ชื่อว่าทิฏฐิ ทสฺสนโต เพราะเห็นว่า อตฺตา นาม ชื่อว่าตน อฺ โ อื่น นามรูปโต จากนามและรูป นตฺถิ ย่อมไม่มี อิติ ดังนี้ จ และ วิสุทฺธิ ชื่อว่าวิสุทธิ อตฺตทิฏฺมลวิโสธนโต เพราะช�ำระมลทิน คือความเห็นว่าเป็นตนได้ ฯ ปจฺจยปริคฺคโหติ บทว่า ปจฺจยปริคฺคโห เป็นต้น ความว่า ปริคฺคหณํ การก�ำหนด กมฺมาทิปจฺจยสฺส ปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น ปจฺจกฺขาทิสิทฺธสฺส ที่ส�ำเร็จโดยประจักษ์เป็นอาทิ นามรูปปฺปวตฺติยา แห่งความเป็นไปแห่งนามรูป อทฺธาสุ ในอัทธา ตีสุ ๓ สาธารณาสาธารณวเสน ด้วยอ�ำนาจที่ทั่วไป และไม่ทั่วไป เอวํ อย่างนี้ว่า ตาว อันดับแรก นามรูปํ นามรูป นิพฺพตฺตติ ย่อมบังเกิด ปฏิสนฺธิย ในปฏิสนธิกาล ํ อวิชฺชาตณฺหาอุปาทานกมฺมเหตุวเสน ด้วยอ�ำนาจเหตุ คืออวิชชา ตัณหา อุปทาน กรรม รูปํ รูป (ย่อมบังเกิด) ปวตฺติยํ ในปวัตติกาล กมฺมจิตฺตอุตุอาหารปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัยคือกรรม จิต อุตุ และอาหาร
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 413 จ อนึ่ง นามํ นาม (ย่อมบังเกิด) จกฺขุรูปาทินิสฺสยารมฺมณาทิปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจจักขุปสาทรูปและรูปารมณ์เป็นต้น และปัจจัยมีนิสสยปัจจัยและ อารัมมณปัจจัยเป็นอาทิ จ แต่ วิเสสโต เมื่อว่าโดยพิเศษ กุสลํ กุศลจิต (ย่อมเกิดขึ้น) โยนิโสมนสการาทิจตุกฺกสมฺปตฺติยา ด้วยความถึงพร้อมแห่งเหตุ ๔ ประการมีโยนิโสมนสิการเป็นต้น อกุสล อกุศลจิต (ย่อมเกิดขึ้น) ํ ตพฺพิปริยาเยน โดยปริยายอันตรงกันข้ามจากกุศลจิตนั้น วิปากโก วิบากจิต (ย่อมเกิดขึ้น) กุสลากุสลวเสน ด้วยอ�ำนาจกุศลจิตและอกุศลจิต อาวชฺชนํ อาวัชชนจิต (ย่อมเกิดขึ้น) ภวงฺคาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจภวังคจิตเป็นต้น จ และ กฺริยาชวนํ กิริยาชวนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ขีณาสวสนฺตานวเสน ด้วยอ�ำนาจสันดาน ของพระขีณาสพ อิติ ดังนี้ สมุทยสจฺจววตฺถาน ได้แก่ การก� ํำหนด สมุทยสัจ กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ นาม ชื่อว่า กังขาวิตรณวิสุทธิ กตฺวา เพราะท�ำอธิบายว่า วิสุทฺธิ นาม ชื่อว่าวิสุทธิ อเหตุกวิสมเหตุทิฏฺมลวิโสธนโต เพราะเป็นเครื่อง ช�ำระมลทินคือทิฏฐิอันหาเหตุมิได้และมีเหตุไม่สม�่ำเสมอกัน และ กงฺขาวิตรณา ชื่อว่า กังขาวิตรณะ วิตรณโต เพราะข้ามพ้น อติกฺกมนโต คือก้าวล่วง กงฺขาย ความสงสัย โสฬสวิธาย ๑๖ อย่าง อาทิกาย มีอาทิว่า อตีตมทฺธาน ในอดีตกาล ํ นานมาแล้ว อหํ เรา อโหสึ ได้มีแล้ว นุ โข หรือหนอแล อิติ ดังนี้ จ และ กงฺขาย ความสงสัย อฏฺวิธาย ๘ อย่าง อาทิกาย มีอาทิว่า กงฺขา ความสงสัย สตฺถริ ในพระศาสดา อิติ ดังนี้ ฯ ตโต ปรํ ต่อจากนั้น ปจฺจยปริคฺคหโต คือ ต่อจากการก�ำหนดปัจจัยไป โยคิโน การที่พระโยคาวจร อารพฺภ ผู้ปรารภ ขนฺธาทินยํ นัยมีขันธ์เป็นต้น อารพฺภ คือ ปรารภ ขนฺธาทินยํ นัยมีขันธ์เป็นต้น อาคตํ ซึ่งมาแล้ว ปญฺจกฺ- ขนฺธฉทฺวารฉฬารมฺมณฉทฺวารปฺปวตฺตธมฺมาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจขันธ์ ๕ ทวาร ๖ อารมณ์ ๖ และธรรมที่เป็นไปในทวาร ๖ เป็นต้น นามรูเปสุ ในนาม และรูป อตีตาทิเภทภินฺเนสุ อันต่างด้วยประเภทแห่งนามรูปที่เป็นอดีตเป็นต้น ติภูมิปริยาปนฺเนสุ ซึ่งนับเนื่องในภูมิ ๓ โลกุตฺตรวชฺเชสุ เว้นโลกุตตระเสีย
414 ปริเฉทที่ ๙ ปริคฺคหิเตสุ ที่ตนก�ำหนดแล้ว ตถา อย่างนั้น ปริคฺคหิเตสุ คือ ที่ตนก�ำหนดแล้ว ปจฺจตฺตลกฺขณาทิววตฺถานวเสน ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดลักษณะเฉพาะตนเป็นต้น จ และ ปจฺจยววตฺถานวเสน ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดปัจจัย สงฺขิปิตฺวา ย่อเข้า กลาปวเสน ด้วยอ�ำนาจกลาป ปิณฺฑวเสน คือ ด้วยอ�ำนาจหมวด สมฺมสนฺตสฺส แล้วจึงพิจารณา ปริมชฺชนฺตสฺส คือ ใคร่ครวญ ลกฺขณตฺตยํ ถึงไตรลักษณ์ สมฺมสนาเณน ด้วย สัมมสนญาน กลาปสมฺมสนาเณน คือ ด้วยญาณเป็นเครื่องพิจารณากลาป หุตฺวาอภาวอุทยพฺพยปฏิปีฬนอวสวตฺตนาการสงฺขาตลกฺขณตฺตยสมฺมสนวสปฺปวตฺเตน อันเป็นไปด้วยอ�ำนาจการพิจารณาไตรลักษณ์ กล่าวคืออาการที่มีแล้วไม่มี อาการ ที่บีบคั้น คือความเกิดขึ้นและความเสื่อมไป และอาการที่ไม่เป็นไปในอ�ำนาจ อตีตาทิอทฺธานวเสน ด้วยอ�ำนาจอัทธานะที่เป็นอดีตเป็นต้น อตีตาทิสนฺตานวเสน ด้วยอ�ำนาจความสืบต่อที่เป็นอดีตเป็นต้น จ และ อตีตาทิกฺขณวเสน ด้วยอ�ำนาจ ขณะที่เป็นอดีตเป็นต้น อาทินา โดยนัยว่า ยํ รูปํ รูปใด ชาตํ ที่เกิด อตีเต ในอดีต ตํ รูปนั้น นิรุทฺธํ ดับไปแล้ว อตีเตเยว ในอดีตนั่นเอง ยํ รูปใด ภวิสฺสติ จักมี อนาคเต ในอนาคต รูปํ แม้รูป ตมฺปิ นั้น นิรุชฺฌิสฺสติ ก็จักดับ ตตฺเถว ไปในอนาคตนั่นเอง ยํ รูปใด ปจฺจุปฺปนฺนํ เป็นปัจจุบัน ตํ รูปนั้น อปฺปตฺวา ยังไม่ถึงอนาคต นิรุชฺฌิสฺสติ จักดับ เอตฺเถว ในปัจจุบันนี้เอง อชฺฌตฺตพหิทฺธาสุขุมโอฬาริกหีนปณีตาทโย รูปภายใน รูปภายนอก รูปละเอียด รูปหยาบ รูปเลว และรูปประณีตเป็นต้น ตถา ก็เหมือนกัน ตสฺมา เพราะฉะนั้น (รูปํ) รูป อนิจฺจํ ชื่อว่าไม่เที่ยง น อิจฺฉิตพฺพํ คือ ใคร ๆ ไม่พึงปรารถนา อนุปคนฺตพฺพํ ได้แก่ ไม่พึงยึดมั่น อตฺตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นอัตตาเป็นต้น ขยตฺเถน เพราะอรรถว่า สิ้นไป ขยคมนโต คือเพราะถึงความสิ้นไป ทุกฺขํ ชื่อว่าเป็นทุกข์ ภยตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นสิ่งน่ากลัว ภยกรณโต คือเพราะกระท�ำความน่ากลัว อนตฺตา ชื่อว่าเป็นอนัตตา อสารกตฺเถน เพราะอรรถว่าไม่มีแก่นสาร อตฺตสาราทิอภาเวน คือ เพราะไม่มีสาระในตนเป็นอาทิ อิติ ดังนี้ จ และ (นเยน) โดยนัย อาทินา เป็นต้นว่า จกฺขุํ จักษุ อนิจฺจํ ไม่เที่ยง ทุกฺขํ เป็นทุกข์ อนตฺตา เป็นอนัตตา ฯลฯ
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 415 มโน รูปํ ฯเปฯ ธมฺมา จกฺขุวิญฺาณํ ฯเปฯ มโนวิญฺาณํ อนิจฺจํ ทุกฺขํ อนตฺตาติ มนะ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ รูปไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ ธรรมทั้งหลายไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ จักขุวิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ มโนวิญญาณ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ดังนี้ ปน ก็ สมฺมสนาเณ เมื่อสัมมสนญาณ อุปฺปนฺเน เกิดขึ้นแล้ว สมนุปสฺสนฺตสฺส พิจารณาเนือง ๆ อุทยพฺพยย ถึงความเกิดขึ้นและความดับไป ํ สงฺขาเรสุ ในสังขาร เตเสฺวว เหล่านั้นนั่นแล ปุน ซ�้ำอีก อุทยพฺพยาเณน ด้วยอุทยัพยญาณ สมปฺ าสากาเรหิ โดยอาการ ๕๐ ถ้วน ทสทสอุทยพฺพยทสฺสนวเสน ด้วยอ�ำนาจเห็นความเกิดขึ้น และความเสื่อมไปขันธ์ละ ๑๐ อิติ คือ อุทยํ ความเกิดขึ้น ปฺ จธา โดยอาการ ๕ อย่าง วยํ ความเสื่อมไป ปฺ จธา โดยอาการ ๕ อย่าง อิติ คือ ปจฺจยวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัย จตุธา ๔ อย่าง ขณวเสน ด้วยอ�ำนาจขณะ เอกธา ๑ อย่าง ขนฺเธ ในขันธ์ เอเกกสฺมึ แต่ละขันธ์ อิติ คือ รูปกฺขนฺเธ ในรูปขันธ์ (เห็นความเกิดขึ้นและความดับไป) ทสฺสเนน โดยเห็น นิพฺพตฺติลกฺขณมตฺตสฺส เพียงลักษณะการบังเกิด จ และ วิปริณามลกฺขณมตฺตสฺส เพียงลักษณะที่เปลี่ยนแปร ปจฺจุปฺปนฺนกฺขเณสุ ในขณะปัจจุบัน อนามสิตฺวา ไม่ค�ำนึงถึง ปจฺจเย ปัจจัยทั้งหลาย ปจฺจยสมุทยวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัยเกิด จ และ ปจฺจยนิโรธวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจัยดับ จ และ ขณวเสน ด้วยอ�ำนาจขณะ เอวํ อย่างนี้ว่า อวิชฺชาสมุทยา เพราะอวิชชาเกิด รูปสมุทโย รูปจึงเกิด ตณฺหากมฺมอาหารสมุทยา เพราะตัณหา กรรม และอาหารเกิด รูปสมุทโย รูปจึงเกิด จ อนึ่ง อวิชฺชานิโรธา เพราะอวิชชาดับ รูปนิโรโธ รูปจึงดับ ตณฺหากมฺมอาหารนิโรธา เพราะตัณหา กรรม และอาหารดับ รูปนิโรโธ รูปจึงดับ อิติ ดังนี้ เวทนาสญฺาสงฺขารกฺขนฺเธสุปิ แม้ในเวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ และ สังขารขันธ์ อปเนตฺวา ก็น�ำ อาหารํ อาหารออก ปกฺขิปิตฺวา ผสฺสํ แล้วใส่ผัสสะ เข้าไป เอว อย่างนี้ว่า ํผสฺสสมุทยา เพราะผัสสะเกิด ผสฺสนิโรธา เพราะผัสสะดับ อิติ ดังนี้ (เห็นความเกิดขึ้นและความดับไป โดยเห็นเพียงลักษณะการบังเกิด
416 ปริเฉทที่ ๙ และเพียงลักษณะที่เปลี่ยนแปรในขณะปัจจุบัน ไม่ค�ำนึงถึงปัจจัยทั้งหลาย ด้วย อ�ำนาจปัจจัยเกิด และด้วยอ�ำนาจปัจจัยดับ และด้วยอ�ำนาจขณะ) วิฺ านกฺขนฺเธ ในวิญญาณขันธ์ นามรูปํ ปกฺขิปิตฺวา ใส่นามรูปเข้าไป เอว อย่างนี้ว่า ํ นามรูปสมุทยา เพราะนามรูปเกิด นามรูปนิโรธา เพราะนามรูปดับ อิติ ดังนี้ (เห็นความเกิดขึ้น และความดับไป โดยเห็นเพียงลักษณะการบังเกิด และเพียงลักษณะที่เปลี่ยนแปร ในขณะปัจจุบัน ไม่ค�ำนึงถึงปัจจัยทั้งหลาย ด้วยอ�ำนาจปัจจัยเกิด และด้วยอ�ำนาจปัจจัยดับ และด้วยอ�ำนาจขณะ) อารทฺธวิปสฺสกสฺส ปรารภวิปัสสนาแล้ว (๒๕๑๐ การที่ท่าน ผู้บ�ำเพ็ญเพียรปรารภวิปัสสนาแล้ว) วิปสฺสนูปกิเลเสสุ เมื่อวิปัสสนูปกิเลส ทสสุ ๑๐ โอภาสาทีสุ มีโอภาสเป็นต้น อิติ คือ โอภาโส โอภาส นิจฺฉรณาโลกสงฺขาโต กล่าวคือแสงสว่างที่เปล่งออก สรีรโต จากสรีระ วิปสฺสนาจิตฺตสมุฏฺาโน มี วิปัสสนาจิตเป็นสมุฏฐาน ๑ ปีติ ปีติ ขุทฺทกาทิปญฺจวิธา ๕ อย่าง มีขุททกาปีติ เป็นต้น วิปสฺสนาจิตฺตสหชาตา อันเกิดร่วมกับวิปัสสนาจิต ๑ ปสฺสทฺธิ ปัสสัทธิ ทุวิธา ๒ อย่าง กายจิตฺตวเสน ด้วยสามารถแห่งกายปัสสัทธิและจิตตปัสสัทธิ กายจิตฺตทรถวูปสมนลกฺขณา อันมีลักษณะสงบระงับความกระวนกระวาย ทางกาย และทางจิต ตถา ซึ่งเป็นอย่างนั้น ๑ อธิโมกฺโข อธิโมกข์ พลวสทฺธินฺทฺริยสงฺขาโต กล่าวคือสัทธินทรีย์ ที่มีก�ำลัง ๑ ปคฺคโห ปัคคหะ วิริยสมฺโพชฺฌงฺคสงฺขาโต กล่าวคือ วิริยสัมโพชฌงค์ สมฺมปฺปธานกิจฺจสาธโก อันยังกิจแห่งสัมมัปปธานให้ส�ำเร็จ ๑ สุขํ สุข อติปณีตํ อันประณีตยิ่งนัก ๑ าณํ ญาณ ติลกฺขณวิปสฺสนาภูตํ ที่เป็นวิปัสสนาในพระไตรลักษณ์ อินฺทวิสฏฺวชิรสทิสํ เช่นกับด้วยวชิระที่ พระอินทร์ กวัดแกว่งไป ๑ สติ สติ อุปฏฺานสงฺขาตา อันท่านเรียกว่าอุปัฏฐาน จิรกตาทิอนุสฺสรณสมตฺถา สามารถระลึกถึงกิจที่ตนท�ำไว้นานเป็นต้นได้ สติปฏฺานภูตา อันเป็นสติปัฏฐาน ๑ อุเปกฺขา อุเบกขา ทุวิธาปิ ทั้ง ๒ คือ ตตฺรมชฺฌตฺตุเปกขา ตัตรมัชฌัตตุเบกขา อุเปกฺขาสมฺโพชฺฌงฺคภูตา อันเป็นอุเบกขาสัมโพชฌงค์ สมฺมปฺปวตฺตวิปสฺสนาสหชาตา ที่เกิดร่วมกันกับวิปัสสนาอันเป็นไปโดยชอบ จ และ อาวชฺชนุเปกฺขา อาวัชชนุเปกขา มโนทฺวาเร ในมโนทวาร ๑ วิปสฺสนูปกิเลเสสุ
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 417 เมื่อวิปัสสนูปกิเลสทั้ง นวสุ ๙ โอภาสาทีสุ มีโอภาสเป็นต้น อิติ ดังกล่าวนี้ อุปฺปนฺเนสุ บังเกิดขึ้นแล้ว รูปนิกนฺติ ความติดใจในรูป สุขุมตณฺหา อันเป็นตัณหา อย่างละเอียด กุรุมานา กระท�ำ อาลย ความอาลัย ํตตฺถ ในโอภาสเป็นต้นเหล่านั้น นเยน โดยนัย อาทินา มีอาทิว่า โอภาโส โอภาส เอวรูโป เช่นนี้ น อุปฺปนฺนปุพฺโพ ไม่เคยบังเกิด เม แก่เรา ปุพฺเพ ในกาลก่อน อิโต แต่กาลนี้เลย อิติ ดังนี้ ๑ อุปฺปนฺเนสุ เกิดขึ้นแล้ว อคฺคเหตฺวา ไม่ถือเอาว่า โอภาสาทโย โอภาสเป็นต้น เอวรูปา เช่นนี้ น อุปฺปนฺนปุพฺพา ไม่เคยบังเกิดแล้ว เม แก่เราเลย วต หนอ อห เรา ํ มคฺคปฺปตฺโตสฺมิ เป็นผู้บรรลุมรรค ผลปฺปตฺโตสฺมิ เป็นผู้บรรลุผล อทฺธา แน่นอนแล้ว อิติ ดังนี้แล้ว ววตฺถาน ก� ํำหนด นิจฺฉยน คือ ตัดสิน ํมคฺคลกฺขณสฺส ลักษะทางได้ เอว อย่างนี้ว่า ํ โอภาสาทโย โอภาสเป็นต้น อิเม เหล่านี้ น มคฺโค ไม่ใช่ทาง ตณฺหามานวตฺถุตาย เพราะเป็นที่ตั้งแห่งตัณหาและมานะ อถโข ที่แท้ วิปสฺสนาอุปกิเลสา เอว เป็นอุปกิเลสแห่งวิปัสสนาเท่านั้น ปน ส่วน วิปสฺสนาาณํ วิปัสสนาญาณ วีถิปฏิปนฺน อันด� ํำเนินไปสู่วิถี ตพฺพินิมุตฺต อันพ้นขาดจากอุปกิเลส ํ แห่งวิปัสสนานั้น มคฺโค เป็นทาง อิติ ดังนี้ นาม ชื่อว่า มคฺคามคฺคาณทสฺสนวิสุทฺธิ มัคคามัคคญาณทัสสนวิสุทธิ ชานนโต เพราะรู้ ทสฺสนโต เพราะเห็น มคฺคามคฺคสฺส ทางและมิใช่ทาง จ และ อมคฺเค มคฺคสญฺาวิโสธนโต เพราะยังความส�ำคัญว่า ทางในสิ่งที่มิใช่ทางให้บริสุทธิ์ได้ ฯ (จบ ๒๕๑๐) ยาวานุโลมาติ บทว่า ยาวานุโลมา ยาว ได้แก่ จนถึง สจฺจานุโลมาณา สัจจานุโลมญาณ ฯ นว วิปสฺสนาาณานีติ ข้อว่า นว วิปสฺสนาาณานิาณานิ ได้แก่ ญาณ นว ๙ อิมานิ เหล่านี้ อิติ คือ าณํ ญาณ ชานนกํ ที่รู้ อุทยํ ความเกิดขึ้น จ และ วยํ ความดับไป ขนฺธานํ แห่งขันธ์ทั้งหลาย อุทยพฺพยาณํ ชื่อว่า อุทยัพพยญาณ าณํ ญาณ มฺุ จิตฺวา ที่ปล่อย อุทยํ ความเกิดขึ้น ภงฺคมตฺตานุเปกฺข แล้วเพ่งถึงเพียงความดับอย่างเดียว ํภงฺคาณํ ชื่อว่า ภังคญาณ าณ ญาณ ํภงฺควเสน ภายิตพฺพาการานุเปกฺขก ที่เพ่งถึงขันธ์ทั้งหลายที่ปรากฏ ํ ด้วยอ�ำนาจความแตกสลายโดยอาการน่าสะพึงกลัว อุปฏฺตานํ สีหาทีนํ วิย
418 ปริเฉทที่ ๙ ดุจคนผู้มองดูสัตว์ร้ายมีราชสีห์เป็นต้น โดยอาการน่าสะพึงกลัว ฉะนั้น ภยาณํ ชื่อว่า ภยญาณ ตถานุเปกฺขิตานํ อาทีนวาการานุเปกฺขกํ ญาณที่เพ่งถึงขันธ์ ทั้งหลาย ที่เล็งเห็นแล้วเช่นนั้นว่ามีอาการเป็นโทษ อาทิตฺตฆรสฺส วิย ดุจชนผู้มองดู เรือนที่ถูกไฟไหม้แล้วว่า มีอาการเป็นโทษ ฉะนั้น อาทีนวญาณ ชื่อว่า อาทีนวญาณ ํ าณํ ญาณ ปวตฺตํ ที่เป็นไป นิพฺพินฺทนวเสน ด้วยอ�ำนาจ ความเบื่อหน่าย ทิฏฺาทีนเวสุ ในสังขารทั้งหลายที่มีโทษอันตนเห็นแล้ว นิพฺเพทาณ นิพเพทญาณ ํ ปวตฺตํ ญาณที่เป็นไป มุญฺจิตุกมฺยตาวเสน ด้วยอ�ำนาจความต้องการจะพ้น เตภูมิกธมฺเมหิ จากธรรมอันเป็นไปในภูมิ ๓ เตหิเตหิ เหล่านั้น ๆ ชาลาทิโต มจฺฉาทิโก วิย ดุจปลาเป็นต้นต้องการจะพ้นจากข่ายเป็นต้น ฉะนั้น มุญฺจิตุกมฺยตาาณํ ชื่อว่า มุญจิตุกัมมยตาญาณ าณ ญาณ สมฺมสนวสปวตฺตํ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจการพิจารณา ปุนปฺปุน บ่อย ๆ ํ ทิฏฺาทีนเวสุ แม้ในสังขารธรรม ทั้งหลายที่มีโทษอันตนเห็นแล้ว มุจนุปายสมฺปาทนตฺถํ เพื่อจะได้ลุถึงอุบาย แห ่งความหลุดพ้น สมุทฺทสกุณี วิย เปรียบเหมือนนกทะเล ฉะนั้น ปฏิสงฺขานุปสฺสนาาณํ ชื่อว ่า ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ าณ ญาณ อุเปกฺขนาการปฺปวตฺตํ ที่เป็นไปโดยอาการวางเฉย สงฺขาเรสุ ในสังขารธรรม เตสุ เหล่านั้น ทิฏฺาทีนเวสุ มีโทษอันตนเห็นแล้ว จตฺตภริโย ปุริโส วิย ดุจบุรุษผู้หย่าขาดจากภรรยา ฉะนั้น สงฺขารุเปกฺขาาณ ชื่อว่า สังขารุเปกขาญาณ ํ าณํ ญาณ นวมํ ที่ ๙ สจฺจานุโลมิกาณสงฺขาตํ กล่าวคือสัจจานุโลมิกญาณ ปวตฺตํ ซึ่งเป็นไป ปุพฺเพ ในกาลก่อน โคตฺรภูโต แต่โคตรภูญาณ มคฺควีถิยํ ในมรรควิถี อนุโลมโต โดยอนุโลม วิปสฺสนาาณานํ แก่วิปัสสนาญาณ อฏฺนฺนํ ๘ ปวตฺตานํ ที่เป็นไปแล้ว เหฏฺา ข้างต้น อนิจฺจาทิลกฺขณวิสยตาย โดยมีลักษณะอนิจจลักษณะเป็นต้นเป็นอารมณ์ จ และ สตฺตตึสโพธิปกฺขิยธมฺมานํ แก่โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ อธิคนฺตพฺพานํ อันพระโยคาวจรจะพึงบรรลุ มคฺคกฺขเณ ในขณะแห่งมรรคจิต อุทฺธ เบื้องสูง ํ อนุโลมาณ ชื่อว่า อนุโลมญาณ ํ ดังนี้ ปฏิปทาาณทสฺสนวิสุทฺธิ นาม ชื่อว ่า ปฏิปทาญาณทัสสนวิสุทธิ
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 419 ปฏิปทาภาวโต เพราะเป็นปฏิปทา ญาณทสฺสนวิสุทฺธิยา แห่งญาณทัสสนวิสุทธิ ติลกฺขณชานนตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องรู้ไตรลักษณ์ ทสฺสนตฺเถน เพราะ อรรถว่าเป็นเครื่องเห็นไตรลักษณ์ ปจฺจกฺขโต โดยประจักษ์ จ และ วิสุทฺธตฺตา เพราะหมดจด ปฏิปกฺขโต จากธรรมอันเป็นข้าศึก ฯ ฉวิสุทฺธินโย นัยแห่งวิสุทธิ ๖ ประการ นิฏฺโต จบแล้ว ปริปาโก ความแก่กล้า วิปสฺสนาย แห่งวิปัสสนา สงฺขารุเปกฺขาาณ ได้แก่ ํ สังขารุเปกขาญาณ (วิปัสสนาจิต ๒-๓ ดวง) อาคมฺม มาถึง ปฏิจฺจ คืออาศัย ตํ สังขารุเปกขาญาณนั้น ฯ อิทานิ อปฺปนา อุปฺปชฺชิสฺสตีติ ข้อว่า อิทานิ อปฺปนา อุปฺปชฺชิสฺสติ ความว่า วตฺตพฺพกฺขเณ ในขณะที่ควรจะกล่าวว่า โลกุตฺตรมคฺโค โลกุตตรมรรค อปฺปนาสงฺขาโต กล่าวคืออัปปนา อุปฺปชฺชิสฺสติ จักเกิดขึ้น อิทานิ ในบัดนี้ ฯ ยงฺกิญฺจีติ บทว่า ยงฺกิญฺจิ ความว่า เอก ซึ่งลักษณะ ํ อย่างหนึ่ง ตีสุ ในบรรดาลักษณะทั้ง ๓ สงฺขารุเปกฺขาย อันสังขารุเปกขาญาณ คหิเตสุ ก�ำหนดไว้แล้ว ยงฺกิญฺจิ ชื่อว่าลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่ง ฯ (วิปัสสนา) สิขปฺปตฺตา ที่ถึงความเป็นยอด มตฺถกปฺปตฺติยา โดยถึงที่สุด วิปสฺสนาย แห่ง วิปัสสนา สานุโลมา ชื่อว่าเป็นไปกับด้วยอนุโลม อนุโลมาณสหิตาย เพราะ เป็นไปกับด้วยอนุโลมญาณ ฯ สา เอว วิปัสสนานั้นนั่นแล สงฺขารุเปกฺขา ชื่อว่า สังขารานุเปกขา อุทาสีนตฺตา เพราะวางเฉย สงฺขาเรสุ ในสังขารทั้งหลาย วุฏฺานคามินี ชื่อว่าวุฏฐานคามินี ยถานุรูปํ อปายาทิโต สงฺขารนิมิตฺตโต จ วุฏฺหนโต วุฏฺานสงฺขาตํ มคฺคํ คจฺฉตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ถึงทางที่เรียกว่า วุฏฐาน เพราะออกจากอบายภูมิเป็นต้น และจากนิมิตคือสังขาร ตามสมควร ฯ อภิสมฺโภนฺตนฺติ บทว่า อภิสมฺโภนฺตํ ปาปุณนฺต ได้แก่ บรรลุอยู่ ฯ ํ ปริชานนฺโตติ บทว่า ปริชานนฺโต ปริจฺฉิชฺช ชานนฺโต ได้แก่ ก�ำหนดรู้ว่า ทุกฺขํ ทุกข์ เอตฺตกํ มีประมาณเท่านี้ น อิโต อูนาธิกํ หาหย่อนหรือยิ่งไปกว่านี้ไม่ ฯ สจฺฉิกโรนฺโตติ บทว่า สจฺฉิกโรนฺโต กโรฺนโต ได้แก่ กระท�ำ ปจฺจกฺขํ ให้เห็นประจักษ์ อารมฺมณกรณวเสน ด้วยอ�ำนาจกระท�ำให้เป็นอารมณ์ ฯ มคฺคสจฺจภาวนาวเสนาติ
420 ปริเฉทที่ ๙ บทว่า มคฺคสจฺจภาวนาวเสน ความว่า มคฺคสจฺจสงฺขาตสฺส สมฺปยุตฺตมคฺคงฺคสงฺขาตสฺส จตุตฺถสจฺจสฺส าณสฺส สหชาตาทิปจฺจโย หุตฺวา วฑฺฒนวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็น สหชาตปัจจัยเป็นต้น ยังสัจจะที่ ๔ กล่าวคือมัคคสัจ ได้แก่ กล่าวคือองค์มรรค ที่ประกอบร่วมให้เจริญ ฯ าณสฺส ญาณ เอเกสฺส แต่ละอย่าง จตุกิจฺจสาธนํ ให้ส�ำเร็จหน้าที่ได้ ๔ ประการ สมฺปฏิจฺฉิตพฺพํ อันบัณฑิตพึงรับรอง วฏฺฏิฑาหาทิ- จตุกิจฺจทสฺสนโต เพราะแสดงถึงหน้าที่ ๔ อย่าง มีการไหม้ไส้เป็นต้น ปทีปาทีนํ แห่งประทีปเป็นอาทิ จ และ อาทิอาคมโต เพราะพระด�ำรัสที่มาเป็นต้นว่า ภิกฺขเว ภิกษุทั้งหลาย โย ผู้ใด ปสฺสติ เห็น ทุกฺขํ ทุกข์ อิติ ดังนี้ ฯ เทฺว ตีณิ ผลจิตฺตานิ ปวตฺติตฺวา ข้อว่า เทฺว ตีณิ ผลจิตฺตานิ ปวตฺติตฺวา ความว่า ผลจิตฺตานิ ผลจิต เทฺว ๒ ดวง วา หรือ ตีณิ ๓ ดวง ทรถปฏิปฺปสฺสมฺภกานิ หุตฺวา เป็นธรรมชาตสงบระงับความกระวนกระวายภาย สนฺตาเน ในสันดานแล้ว ปวตฺติตฺวา เป็นไป อนุรูปโต โดยเหมาะสม มคฺคุปฺปตฺติยา แก่ความเกิดขึ้นแห่งมรรคจิต (ในเมื่อพระโยคาวจร) สมุจฺฉินฺเน กิเลเสปิตัดแม้ กิเลสได้เด็ดขาดแล้ว อปนีตคฺคิมหิ าเน อุณฺหตฺตนิพฺพาปนตฺถาย ฆเฏหิ อภิสญฺจิยมานุมุทกํ วิย ดุจบุคคลเอาหม้อตักรดในที่ซึ่งน�ำไฟออกแล้ว เพื่อต้องการ ให้ความร้อนดับไป ฉะนั้น ฯ วุตฺตํ โหติมีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ปวตฺติยา เพราะความเป็นไป เตสํ แห่งผลจิตเหล่านั้น ฯ ปจฺจเวกฺขณาณานีติ บทว่า ปจฺจเวกฺขณาณานิ ความว่า กามาวจราณานิ ญาณฝ่ายกามาวจร มคฺคผลาทิวิสยานิ อันมีมรรคจิตและผลจิตเป็นต้นเป็นอารมณ์ ยานิ สนฺธาย ที่พระผู้มีกระภาคเจ้า ทรงหมายถึง วุตฺต ตรัสไว้ว่า ํ วิมุตฺตสฺมึวิมุตฺตมิติาณํ โหตีติเมื่อจิตหลุดพ้น แล้ว ย่อมรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว ดังนี้ ฯ อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตํุ หวังจะแสดง ภูมึ ภูมิ ปจฺจเวกฺขณาย แห่งปัจจเวกขณญาณ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า จึงกล่าวค�ำว่า มคฺคํ ผลญฺจาติอาทิ มคฺคํ ผลญฺจ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในบรรดามรรคเป็นต้นนั้น (พระอริยบุคคลผู้เป็นบัณฑิต) ปจฺจเวกฺขติ ย่อมพิจารณา มคฺคํ ถึงมรรคว่า
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 421 อิมินาหํ มคฺเคนาคโต เรามาแล้วด้วยมรรคนี้ ฯ ตโต ต่อแต่นั้น (ปจฺจเวกฺขติ) ย่อมพิจารณาถึง ผลํ ผล ตสฺส แห่งมรรคนั้นว่า อยํ นาม เม อานิสํโส ลทฺโธติ เราได้อานิสงส์ชื่อนี้แล้ว ฯ จ และ ตโต ต่อแต่นั้น ปณฺฑิโต พระอริยบุคคล ผู้เป็นบัณฑิต ปจฺจเวกฺขติ ย่อมพิจารณา นิพฺพานํ ถึงพระนิพพานว่า อยํ นาม เม ธมฺโม อารมฺมณโต สจฺฉิกโต ธรรมชื่อนี้ เราท�ำให้แจ้งแล้ว โดยความเป็น อารมณ์ ฯ ตโต ต่อแต่นั้น (ปจฺจเวกฺขติ) ย่อมพิจารณา ปหีนกิเลเส ถึงกิเลส ที่ละได้แล้วว่า อิเม นาม เม กิเลสา ปหีนา กิเลสชื่อเหล่านี้ เราละได้แล้ว ฯ (ปจฺจเวกฺขติ) พิจารณา อวสิฏฺกิเลเส กิเลสที่ยังเหลืออยู่ว่า อิเม นาม กิเลสา ชื่อเหล่านี้ อวสิฏฺา ยังเหลืออยู่ ฯ ปจฺจเวกฺขติ วา น วาติ ข้อว่า ปจฺจเวกฺขติ วา น วา ความว่า โกจิ เสกฺโข พระอริยบุคคลผู้เสขะบางท่าน ปจฺจเวกฺขติ ย่อมพิจารณา โกจิ น ปจฺจเวกฺขติ บางท่านย่อมไม่พิจารณา ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ตตฺถ กามาวจโร ในบรรดาพระเสขบุคคลทั้งหลายบุคคลทั้ง ๒ พวกนั้น พระเสขบุคคลยังท่องเที่ยวอยู่ในกามภพ (ย่อมไม่พิจารณาถึงกิเลสที่ละได้แล้ว และ กิเลสที่ยังเหลืออยู่) ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น มหานามสกฺโย เจ้าศากยะพระนามว่า มหานามะ ปุจฺฉิ ทูลถาม กิเลเส ถึงกิเลสทั้งหลาย อปฺปหีเน ที่ละไม่ได้ว่า ภนฺเต ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ ธมฺโม ธรรมชาติ โก สุ นาม เม ไหนแล อชฺฌตฺตํ ที่เป็นไปภายใน เม ที่ข้าพระองค์ อปฺปหีโน ยังละไม่ได้ ฯ ปน ส่วน อวสิฏฺกิเลสปจฺจเวกฺขณํ การพิจารณากิเลสที่ยังเหลือ นตฺถิ ชื่อว่าย่อมไม่มี อรหโต แก่พระอรหันต์ สพฺพกิเลสานํ ปหีนตฺตา เพราะกิเลสทั้งหมดท่านละได้แล้ว ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า เอกูนวีสติปจฺจเวกฺขณาณานิ ปัจจเวกขณญาณ มี ๑๙ อย่าง อิติ คือ เสกฺขาน ของพระเสขบุคคลคือ ํ ติณฺณ ๓ จ� ํำพวก ปณฺณรส ๑๕ อย่าง อรหโต ของพระอรหันต์ จตฺตาริ ๔ อย่าง ฯ ฉพฺพิสุทฺธิกฺกเมนาติ บทว่า ฉพฺพิสุทฺธิกฺกเมน ความว่า กเมน ตามล�ำดับ วิสุทฺธีน แห่งวิสุทธิ ํฉนฺน ๖ ํ เอตาส เหล่านี้ ํ อิติ คือ มูลภูตาน วิสุทธิที่เป็นมูล ํ สีลจิตฺตวิสุทฺธิวเสน ๒ ประการ
422 ปริเฉทที่ ๙ คือ สีลวิสุทธิ ๑ จิตตวิสุทธิ ๑ สรีรภูตานํ วิสุทธิที่เป็นตัว จตุนฺนํ ๔ ประการ วเสน ด้วยอ�ำนาจ ทิฏฺิวิสุทฺธิอาทีนํ ทิฏฐิวิสุทธิเป็นต้น ฯ (มคฺโค) มรรค าณทสฺสนวิสุทฺธินาม ชื่อว่าญาณทัสสนวิสุทธิ ชานนโต เพราะรู้ ปจฺจเวกฺขณกรณโต เพราะกระท�ำการพิจารณา สจฺจานํ จตุนฺนํ สัจจะ ๔ จ และ วิสุทฺธตฺตา เพราะหมดจด กิเลสมเลหิ จากมลทินคือกิเลสทั้งหลาย ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ วิปสฺสนากมฺมฏฺาเน ได้แก่ ในวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฯ สตฺตวิสุทฺธินิทฺเทโส นิเทศแห่งวิสุทธิ ๗ ประการ นิฏฺโต จบแล้ว ฯ ตตฺถาติ บทว่า ตตฺถ ได้แก่ อุทฺเทเส ในอุทเทส ตสฺมึ นั้น ฯ อนุปสฺสนาเอว เฉพาะอนุปัสสนา มุญฺจนฺตี อันละอยู่ โย อตฺตาภินิเวโส ซึ่งความยึดถือว่า เป็นตน อภินิเวโส คือ ความยึดมั่น ทฬฺหคฺคาโค ได้แก่ ความถือมั่น สงฺขาเรสุ ในสังขารทั้งหลาย เอวํ อย่างนี้ว่า อตฺตา ตน เม ของเรา เอโส นี้ การโก เป็นผู้กระท�ำ กมฺมสฺส กรรม จ และ เวทโก เสวย ผลสฺส ผลแห่งกรรม อิติ ดังนี้ ปวตฺตา เป็นไปว่า อนตฺตา อนัตตา สุญฺตานุปสฺสนา ชื่อว่า สุญญตานุปัสสนา อตฺตสุญฺตาการานุปสฺสนโต เพราะพิจารณาเห็นเนือง ๆ ถึงอาการคือความว่างจากตน วิโมกฺขมุขํ เป็นทางแห่งวิโมกข์ ทฺวารํ โหติ คือ เป็นประตู โลกุตฺตรมคฺคผลสฺส แห่งโลกุตตรมรรคและโลกุตตรผล วิโมกฺขสงฺขาตสฺส กล่าวคือวิโมกข์ วิมุตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจความหลุดพ้น ปฏิปกฺขโต จากธรรม อันเป็นข้าศึก ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า อนุปสฺสนา อนุปัสสนา ปวตฺตา ที่เป็นไป สงฺขาเรสุ ในสังขารทั้งหลายว่า อนิจฺจํ ไม่เที่ยง มุญฺจนฺตี ปล่อยวาง ปชหนฺตี คือ ละอยู่ วิปลฺลาสนิมิตฺต ซึ่งนิมิตคือวิปัลลาส ํสฺ าจิตฺตทิฏฺวิปลฺลาสสงฺขาตํ กล่าวคือสัญญาวิปัลลาส จิตตวิปัลลาส และทิฏฐิวิปัลลาส ปวตฺตํ อันเป็นไป อนิจฺเจ ในสิ่งที่ไม่เที่ยง นิจฺจํ ว่าเที่ยง อนิมิตฺตานุปสฺสนา นาม ชื่อว่า อนิมิตตานุปัสสนา วิปลฺลาสนิมิตฺตรหิตาการานุปสฺสนโต เพราะพิจารณาเห็น
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 423 เนือง ๆ ถึงอาการอันเว้นจากนิมิตวิปัลลาส วิโมกฺขมุขํ โหติ ย่อมเป็นทางแห่ง วิโมกข์ ฯ อนุปสฺสนา อนุปัสสนา ปวตฺตา อันเป็นไปว่า ทุกฺขํ เป็นทุกข์ อิติ ดังนี้ มุญฺจนฺตี ปล่อยวางอยู่ ปริจฺจชนฺตี คือ สละอยู่ ทุกฺขาการทสฺสเนน โดยเห็น อาการว่าเป็นทุกข์ ตณฺหาปณิธึ ซึ่งกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่น คือตัณหา ตณฺหาปตฺถนํ ได้แก่ความปรารถนา คือตัวตัณหา กามภวตณฺหาสงฺขาตํ กล่าวคือกามตัณหา และภวตัณหา ปวตฺตํ ที่เป็นไป สงฺขาเรสุ ในสังขารทั้งหลาย นเยน โดยนัย อาทินา เป็นต้นว่า เอตํ นี้ มม เป็นของเรา เอตํ นี้ สุขํ เป็นสุข อิติ ดังนี้ อปฺปณิหิตานุปสฺสนา นาม ชื่อว่าอัปปณิหิตานุปัสสนา ปณิธิรหิตาการานุปสฺสนโต เพราะพิจารณาเห็นเนือง ๆ ถึงอาการอันเว้นจากกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่น ฯ ตสฺมาติ บทว่า ตสฺมา ความว่า ยสฺมา เพราะ ติสฺสนฺนํ อนุปัสสนาทั้ง ๓ เอตาสํ เหล่านี้ นามานิ มีชื่อ ตีณิ ๓ อย่าง เอตานิ เหล่านี้ ตสฺมา ฉะนั้น ยทิ ถ้า วุฏฺานคามินีวิปสฺสนา วุฏฐานคามินีวิปัสสนา วิปสฺสติ ย่อมเห็นแจ้ง อนตฺตโต โดยความเป็นอนัตตาไชร้ ฯ มคฺโค มรรค สุญฺโต นาม วิโมกฺโข โหติ ย่อมชื่อว่าสุญญตวิโมกข์ ลทฺธนามตฺตา เพราะได้ชื่อ อาคมนวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมที่เป็นเครื่องมาแห่งมรรค ฯ วิปสฺสนาคมนวเสนาติ บทว่า วิปสฺสนาคมนวเสน วิปสฺสนาสงฺขาตาคมนวเสน ได้แก่ ด้วยอ�ำนาจธรรมเป็นเครื่อง มาแห่งมรรคและผล กล่าวคือวิปัสสนา ฯ อิธ ในค�ำว่า วิปสฺสนาคมนวเสน นี้ วิปสฺสนามคฺโค วิปัสสนาและมรรค อาคมนํ นาม ชื่อว่า อาคมนะ อาคจฺฉติ เอเตน มคฺโค ผลํ จ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องมาแห่งมรรคและผล ฯ ยถาวุตฺตนเยนาติ บทว่า ยถาวุตฺตนเยน วุตฺตานตฺตานุปสฺสนาทิวเสน ได้แก่ ด้วยอ�ำนาจอนัตตานุปัสสนาเป็นต้นที่กล่าวแล้ว ปุพฺเพ ในกาลก่อน ฯ ยถาสกํ ผลมุปฺปชฺชมานมฺปีติ ข้อว่า ยถาสกํ ผลมุปฺปชฺชมานมฺปิ ความว่า ผลํ ผล อตฺตโน อตฺตโน ของตนๆ ผลภูตํ อันเป็นผล ยถาลทฺธสฺส แห่งมรรคตามที่ได้ แล้ว อุปฺปชฺชมานมฺปิ แม้เกิดขึ้นอยู่ อลภิตฺวา ก็ไม่ได้(ชื่อ) มคฺคาคมนวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมเป็นเครื่องมาคือมรรค ลภติ ย่อมได้ นามานิ ชื่อ ตีณิ ๓ อย่าง
424 ปริเฉทที่ ๙ วิปสฺสนาคมนวเสเนว ด้วยอ�ำนาจธรรมเป็นเครื่องมาแห่งมรรคและผลคือวิปัสสนา เท่านั้น ตสฺส ทฺวารภาวาโยคโต เพราะมรรคนั้นไม่ประกอบด้วยความเป็นทวาร มคฺคปฺปวตฺติอภาเวน โดยไม่มีความเป็นไปแห่งมรรค ตทา ในกาลนั้น ฯ อาลมฺพนวเสนาติ บทว่า อาลมฺพนวเสน ความว่า วเสน ด้วยอ�ำนาจ ตสฺส อารมณ์นั้น อารพฺภ ปวตฺตตฺตา เพราะปรารภ นิพฺพาน พระนิพพาน ํสุญฺญตนามวนฺต อันมีชื่อว่า ํ สุญญตะ สพฺพสงฺขารสุญฺญตฺตา เพราะว่างจากสังขารทั้งปวง อนิมิตฺตนามวนฺตํ ชื่อว่า อนิมิตตะ สงฺขารนิมิตฺตรหิตตฺตา เพราะว่างจากสังขารนิมิต จ และ อปฺปณิหิตนามวนฺตํ ชื่อว่าอัปปณิหิตะ ตณฺหาปณิธิรหิตฺตา เพราะเว้นจากกิเลส เป็นเครื่องตั้งมั่นคือตัณหา เป็นไป (ตรงนี้เป็นการแปลฉีกศัพท์เพื่อจับคู่) ฯ บทว่า สรสวเสน ความว่า คุณวเสน ด้วยอ�ำนาจคุณ อตฺตโน ของตน ราคาทิสุญฺตฺตา เพราะว่างจากราคะเป็นต้น รูปนิมิตฺตาทิอารมฺมณรหิตตฺตา เพราะเว้นจากอารมณ์ มีรูปนิมิตเป็นต้น กิเลสปณิธิรหิตตฺตา เพราะเว้นจากกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่น ฯ สพฺพตฺถาปีติ บทว่า สพฺพตฺถาปิ มคฺควีถิยํ ได้แก่ ในบรรดามรรควิถี จ และ ผลสมาปตฺติวีถิยํ ในผลสมาบัติวิถี ฯ สพฺเพสมฺปีติ บทว่า สพฺเพสมฺปิ ได้แก่ มคฺคสฺส ทั้งมรรค ผลสฺสปิ ทั้งผล ฯ (พระโสดาบัน) สตฺตกฺขตฺตุปรโม ที่ชื่อว่า สัตตักขัตตุปรมะ สตฺตกฺขตฺตุํ สตฺต วาเร กามสุคติยํ ปฏิสนฺธิคหณํ ปรมํ เอตสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีการถือปฏิสนธิในสุคติภพอันเป็นกามาวจร ๗ ครั้ง คือ ๗ วาระเป็นอย่างยิ่ง ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ปน แต่ อฏฺมาทิกามภวงฺคามีติ ท่านหาไปสู่กามภพมีภพที่ ๘ เป็นต้น น ไม่ ฯ ยํ สนฺธาย วุตฺต มีค� ํำที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงหมายถึงตรัสไว้ว่า เต พระโสดาบันเหล่านั้น น อาทิยนฺติ ย่อมไม่ถือเอา ภวํ อฏฺํ ภพที่ ๘ ฯ อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย อาหํสุ กล่าวว่า ปน แต่ (พระโสดาบันสัตตักขัตตุปรมะ) คจฺฉติ ยังไป รูปารูปสุคติภวํ สู่สุคติภพที่เป็นรูปาวจร และอรูปาวจร ปรมฺปิ ยิ่ง สตฺตวารโต กว่า ๗ วาระได้บ้าง ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ราคโทสโมหานนฺติ ในค�ำว่า ราคโทสโมหานํ ท่านระบุถึง โมหคฺคหณํ โมหะ สนฺธาย
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 425 หมายเอา ราคโทเสกฏฺโมหํ โมหะที่ตั้งอยู่ในฐานะเดียวกับราคะและโทสะ ฯ (พระอริยบุคคล) ขีณาสโว ที่ชื่อว่าขีณาสพ ขีณา จตฺตาโร อาสวา เอตสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีอาสวะ ๔ หมดสิ้นแล้ว ฯ (พระขีณาสพ) อคฺคทกฺขิเณยฺโย ชื่อว่าเป็นอัครทักขิไนยยะ อคฺคตฺตา เพราะความที่ท่านเป็นผู้เลิศ ทกฺขิณารเหสุ ในบรรดาท่านผู้ควรทักษิณาทั้งหลาย ฯ สพฺเพสมฺปีติ บทว่า สพฺเพสมฺปิ อริยปุคฺคลานํ คือ แก่พระอริยบุคคล จตุนฺนมฺปิ แม้ทั้ง ๔ จ�ำพวก ฯ สมาปตฺติ การเข้า นิโรธสฺส นิโรธ อปฺปวตฺติสงฺขาตสฺส กล่าวคือความไม่เป็นไป จิตฺตเจตสิกาน แห่งจิตและเจตสิก ํ นิโรธสมาปตฺติ ชื่อว่า นิโรธสมาบัติ ทิฏฺเว ธมฺเม จิตฺตนิโรธํ ปตฺวา วิหรณ คือ การถึงความดับแห่งจิต ํ แล้วอยู่ในปัจจุบันนั่นเอง ฯ อนาคามีนญฺจาติ บทว่า อนาคามีนญฺจ อนาคามีนํ คือ แก่พระอนาคามีทั้งหลาย อฏฺฐสมาปตฺติลาภีนเมว เฉพาะผู้มีปกติได้สมาบัติ ๘ กามรูปภวฏฺาน ซึ่งยังด� ํำรงอยู่ในกามภพและรูปภพ ฯ จ และ ขีณาสวาน ส� ํำหรับ พระขีณาสพทั้งหลายก็เหมือนกัน ฯ ตตฺถ บทว่า ตตฺถ นิโรธสมาปตฺติยํ ได้แก่ ในนิโรธสมาบัติ ฯ ยาวากิญฺจญฺายตนํ คนฺตฺวาติ ข้อว่า ยาวากิญฺจญฺายตนํ คนฺตฺวา ความว่า ยาวากิญฺจญฺายตนํ ตาว คนฺตฺวา ไปจนถึงอากิญจัญญาตน สมาบัติ สมถวิปสฺสนานํ ยุคนทฺธภาวาปาทนวเสน ด้วยอ�ำนาจยังสมถะและ วิปัสสนาให้ถึงความเป็นธรรมชาติเนื่องกันเป็นคู่ เอวํ อย่างนี้ ฯ อทิฏฺเยฺยาทิกํ บทว่า อทิฏฺเยฺยาทิกํ ความว่า กตฺวา ท�ำ ปุพฺพกิจฺจํ บุพพกิจ จตุพฺพิธํ ๔ อย่าง อธิฏฺานาทิกํ มีการอธิษฐาน เป็นต้น อิติ คือ กายปฏิพทฺธํ เปตฺวา วิสํุวิสํุิติจีวราทิปริกฺขารเคหาทีนํ อคฺคิอาทินา อวินาสนาธิฏฺานํ การอธิษฐานบริขาร มีจีวรเป็นต้นที่อยู่แผนกหนึ่ง เว้นบริขารที่เนื่องด้วยกาย และ เรือนเป็นต้น เพื่อไม่ให้พินาศไปด้วยไฟเป็นต้น วุฏฺานํ การออก ปุเรตรํ ก่อนกว่า สงฺฆปฏิมานนสตฺถุปกฺโกสนานํ สงฆ์รอคอย และพระศาสดารับสั่งหา อายุสงฺขารปฺปวตฺติโอโลกน การตรวจดูความเป็นไปแห่งอายุสังขาร ํสตฺตาหพฺภนฺตเร ในภายใน ๗ วัน ฯ ปฏิปตฺติรสสฺสาทนฺติ บทว่า ปฏิปตฺติรสสฺสาทํ สมถวิปสฺสนา-
426 ปริเฉทที่ ๙ ปฏิปตฺติรสฺสาทํ ได้แก่ ซึ่งความพอใจในรสแห่งการปฏิบัติสมถะและวิปัสสนา ฌานสุขผลสุขาทิเภทํ อันต่างด้วยสุขอันสัมปยุตด้วยฌานและสุขอันสัมปยุต ด้วยผลเป็นต้น ฯ นวมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๙ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่อว่าอภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 427 ปกรณาวสานวณฺณนา พรรณนาความสุดท้ายปกรณ์ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ปกรณํ ปกรณ์ ยํ ใด อุปาสเกน อันอุบาสก นมฺพวฺหเยน ผู้ชื่อว่านัมพะ นมฺพนามเกน คือ มีนามว่านัมพะ จาริตฺเตน กุลาจาเรน โสภิเต วิสาลกุเล อุทโย นิพฺพตฺติยสฺส, กมฺมาทิวิสยาย สทฺธาย อภิวุทฺโธ ปริสุทฺโธ จ ทานสีลาทิคุณานํ อุทโย ยสฺส, เตน ผู้มีก�ำเนิด คือมีความบังเกิดในตระกูลที่ไพศาล ซึ่งงดงามด้วยจารีต คือมารยาทประจ�ำตระกูล ผู้มีความเกิดขึ้นแห่งคุณมีทานและศีลเป็นต้น อันเจริญยิ่งและบริสุทธิ์ด้วยศรัทธา ซึ่งมีกรรมเป็นต้นเป็นอารมณ์ ปณิธาย ตั้งไว้แล้ว ปตฺเถตฺวา คือปรารถนาแล้ว ปรานุกมฺปํ ซึ่งความเอ็นดูผู้อื่น ปรานุคฺคหํ ได้แก่ ความอนุเคราะห์ผู้อื่น สาสเน สุโขตรณปริปาจนลกฺขณ ซึ่งมีความหยั่งรู้ได้ง่ายและการอบรมปัญญาในพระศาสนา ํ เป็นลักษณะ ปตฺถิตํ ปรารถนาแล้ว อภิยาจิตํ คือ เชื้อเชิญแล้ว ตํ ปกรณํ ปกรณ์นั้น ปรินิฏฺต จบบริบูรณ์แล้ว ํเอตฺตาวตา ด้วยเนื้อความมีประมาณเท่านี้ ฯ ตุ ก็ ปุญฺเน ด้วยบุญ วิปุเลน อันไพบูลย์ เตน นั้น คือ ปกรณปฺปสุเตน ที่ขวนขวายในการแต ่งปกรณ์ ภิกฺขู ขอภิกษุทั้งหลาย โสภิตา ผู้งาม สีลาทิคุเณน ด้วยคุณมีศีลเป็นต้น ปญฺาวทาเตน ผ่องแผ้วด้วยปัญญา อริยมคฺคปญฺาปริสุทฺเธน คือ บริสุทธิ์ด้วยปัญญาในอริยมรรค ลชฺชิโน ผู้ชื่อว่า เป็นลัชชี (สีลาทิคุณโต) เพราะคุณมีศีลเป็นต้น ตโตเยว นั้นนั่นเอง มฺ นฺตุ จงส�ำคัญ มูลโสมํ นาม วิหารํ มูลโสมวิหาร อธิวาสภูตํ อันเป็นที่อยู่ประจ�ำ (สมณานํ) ของพระสมณะทั้งหลาย ธฺ านํ ผู้มีบุญ อุทิโตทิตํ อันมีชื่อเสียง ขจรขจายไป อจฺจนฺตปฺปสิทฺธํ คือ เป็นที่ประสิทธิ์ประสาท ความรู้อย่างดียิ่ง มงฺคลตฺถาย เพื่อประโยชน์ แก่ความเป็นมงคล อุทยสงฺขาตาย กล่าวคือ ความเกิดขึ้น ปุญฺวิภวสฺส แห่งบุญสมบัติ อายุคนฺตํ ตลอดกาลก�ำหนดสิ้นสุด
428 ปกรณาวสานวัณณนา แห่งอายุ (ของพระศาสนา) เทอญ ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ภิกฺขู ขอภิกษุ ทั้งหลาย นิวาสิโน ผู้อยู่ประจ�ำ (วิหาเร) ในวิหาร ตตฺถ นั้น อีทิสา โหนฺตูติ จงเป็นผู้เช่นนี้เทอญ ฯ อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา ฏีกาอภิธัมมัตถสังคหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี อยํ นี้ นิฏฺตา จบแล้ว ฯ สารีปุตฺตตฺเถโร พระสารีบุตรเถระ โย รูปใด วสิคเณหิ ผู้อันคณะสงฆ์ ผู้มีความเชี่ยวชาญ สมฺปนฺนสีลทมสยมโตสิเตหิ ํ ผู้มีศีล ทมะ สังยมะ และสันโดษ สมบูรณ์แล้ว คุณากเรหิ ผู้เป็นบ่อเกิดแห่งคุณ สมฺมานิโต นับถือพร้อมแล้ว โดยชอบ ปตฺโต ถึง อาจริยตํ ความเป็นอาจารย์ (คณฺเสุ) ในคัมภีร์ทั้งหลาย มุนินฺทวจนาทิสุ มีพระพุทธพจน์เป็นต้น จ และ อเนกคณฺเสุ ในคัมภีร์ เอนกประการ วิทูหิ อันวิญญูชนทั้งหลาย มหิตํ บูชาแล้ว วสติ อยู่ เชตวเน วิหาเร ในพระเชตวันวิหาร รมฺมหมฺมิยวรูปวนาภิราเม ซึ่งมีปราสาทอันสวยงาม น่ารื่นรมย์ และมีป่าที่น่ารื่นรมย์อย่างยิ่งอยู่ใกล้เคียง รญฺา ปรกฺกมภุเชน มหาภุเชน อันพระเจ้าปรักกมภุชมหานาค การาปิเต ทรงรับสั่งให้สร้างถวาย นคราธิราเช ในพระนครหลวง ปุลตฺถินคเร ชื่อปุลัตถินคร รมฺเม อันน่ารื่นรมย์ จ ก็ สํวณฺณนา ฏีกา วินยฏฺกถาทิกานํ แห่งอรรถกถาทั้งหลายมีอรรถกถา พระวินัยเป็นต้น สารตฺถทีปนิมุขา ซึ่งมีคัมภีร์สารัตถทีปนีเป็นประธาน สูจยนฺตี อันส ่องอยู ่ าณานุภาวํ ซึ่งอานุภาพแห ่งญาณ สารีปุตฺตตฺเถรสฺส ของ พระสารีบุตรเถระ ยสฺส รูปใด (สาสเน) ในพระศาสนา อิห นี้ จ และ สุชนํ ยังสุภาพชน ปริโตสยนฺตี ให้ยินดีรอบด้าน สนฺทีปเนน โดยการแสดงด้วยดี มธุรตฺถสารํ ถึงอรรถที่เป็นสาระอันไพเราะ (อหํ) ข้าพเจ้า โย ใด อวลมฺพิย อาศัย อนุกมฺปํ ความเอ็นดู สาริปุตฺตเถรสฺส ของพระสารีบุตรเถระ ตสฺส รูปนั้น ถามคตสารคุณากรสฺส ผู้เป็นบ่อเกิดแห่งคุณอันเป็นสาระซึ่งถึงความมั่นคง
พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร ป.ธ.๙) แปล 429 อลตฺถ ได้แล้ว ํ ปฏุต ซึ่งความแตกฉาน ํ อเนกคณฺวิสย อันมีคัมภีร์เอนกประการ ํ เป็นวิสัย าณวิภโว ญาณสมบัติ (มม) ของข้าพเจ้า เอส นี้ วิภเวกเหตุ เป็นเหตุ อย่างหนึ่งแห่งสมบัติคือพระนิพพาน (สาริปุตฺตเถรสฺส) ของพระสารีบุตรเถระ ตสฺส รูปนั้น (อหํ) ข้าพเจ้า โส นั้น สาสนทายาโท เหสฺสํ จักเป็นศาสนทายาท เมตฺเตยฺยสตฺถุโน ของพระเมตไตยศาสดา อทฺธา แน่แท้ สสุทฺธวํายามสฺสานุภาวโต เพราะอานุภาพแห่งความพยายามอันบริสุทธิ์ เอตสฺส นี้ ตทา ในกาลนั้น (อหํ) ขอข้าพเจ้า ปสฺเสยฺย พึงพบ ํจ และ สกฺกเรยฺย พึงสักการะ ํสาสน พระศาสนา ํ (เมตฺเตยฺยสตฺถุโน) ของพระเมตไตยศาสดา ตสฺส นั้น โชตยนฺตํ ซึ่งก�ำลัง รุ่งเรืองอยู่ (ปสฺเสยฺยํ พึงพบ จ และ สกฺกเรยฺยํ พึงสักการะ) สาริสมฺภวํ พระสารีบุตรเถระ สุทฺธมานสํ ผู้มีใจหมดจด ครุํ ผู้เป็นครู เม ของข้าพเจ้า ฏีกา ฏีกา อยํ นี้ นิฏฺตา จบแล้ว ทิเนหิจตุวีเสหิ โดย ๒๔ วัน ยถา ฉันใด กลฺยาณสงฺกปฺปา ขอความด�ำริอันดีงามทั้งหลาย ปาณินํ ของเหล่าสัตว์ อิชฺฌตุ จงส�ำเร็จ สีฆํ พลัน ตถา ฉันนั้นเทอญ ฯ ปกรณาวสานวณฺณนา พรรณนาความสุดท้ายปกรณ์ นิฏฺตา จบแล้ว ฯ อภิธมฺมตฺถสงฺคหฏีกา อภิธัมมัตถสังคหะฏีกา อภิธมฺมตฺถวิภาวินี นาม ชื่ออภิธัมมัตถสังคหวิภาวินี สมตฺตา จบบริบูรณ์แล้ว ฯ หากพบเห็น ข้อบกพร่อง ต้องแก้ไข โปรดบอกได้ หรือให้ ใครไปหา พระราชปริยัติสุธี หรือโทรมา ตามหมายเลข ข้างหน้า โทรได้เลย โทร. ๐๘๑-๒๕๑-๘๔๔๐
รายชื่อคณะท�ำงานแปลยกศัพท์ อภิธัมมัตถวิภาวินี ปริเฉทที่ ๑ พระราชปริยัติสุธี (ชลอ ปิยาจาโร) วัดธรรมามูล วรวิหาร จ.ชัยนาท ๐๘๑-๒๕๑-๘๔๔๐ ครูสอนบาลีชั้นประโยค ป.ธ.๘ โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลี ของคณะสงฆ์ ปริเฉทที่ ๒ พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ วัดเทพลีลา ๐๘๗-๐๓๑-๐๒๐๓ ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดเทพลีลา ปริเฉทที่ ๓ พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ ผจล.วัดพระงาม ๐๘๙-๑๕๐-๒๒๙๖ ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ ส�ำนักเรียนสหศึกษาบาลี จ.นครปฐม ปริเฉทที่ ๔ พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ ผจล.วัดชนะสงคราม ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดหัวล�ำโพง ๐๘๔-๖๘๐-๐๔๙๖ ปริเฉทที่ ๕ พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ ผจล.วัดปากน�้ำ ๐๘๙-๒๑๒-๖๖๗๘ ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดปากน�้ำ ปริเฉทที่ ๖ พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ ผจล.วัดโมลีโลกยาราม ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดโมลีโลกยาราม ๐๘๙-๑๗๓-๗๒๐๕ ปริเฉทที่ ๗ พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ ผจล.วัดสร้อยทอง ครูสอนวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้น ป.ธ.๙ วัดสร้อยทอง ๐๒-๙๑๒-๖๖๓๕ ปริเฉทที่ ๘ พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ วัดชนะสงคราม วิทยากรพิเศษ วิชาแปลมคธเป็นไทย ในการอบรมก่อนเรียน ป.ธ.๙ วัดปากน�้ำ ๐๘๑-๒๕๒-๙๖๐๑ ปริเฉทที่ ๙ พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ วัดชนะสงคราม ๐๘๑-๐๗๖-๔๒๔๙ ครูสอนวิชาแปลไทยเป็นมคธ ชั้น ป.ธ.๙ วัดชนะสงคราม ปัจจุบัน ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้าคณะอ�ำเภอเมืองชัยนาท เจ้าอาวาสวัดท่าช้าง อ�ำเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท 430