The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(สำนวนสนามหลวง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Je Je, 2023-11-29 01:05:58

(สำนวนสนามหลวง)

(สำนวนสนามหลวง)

Keywords: บาลี

พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 93 ติวิธาปิเอตา วิรัติแม้ทั้ง ๓ ประการเหล่านั้น ปจฺเจกํ แต่ละอย่าง ติวิธา แยก ออกเป็น ๓ ประการ สมฺปตฺตสมาทานสมุจฺเฉทวิรติวเสน คือ สัมปัตตวิรัติ ๑ สมาทานวิรัติ ๑ สมุจเฉทวิรัติ ๑ ฯ วิรติโย นาม ที่ชื่อว่าวิรัติ ยถาวุตฺตทุจฺจริเตหิ วิรมณโต เพราะงดเว้นจากทุจริตตามที่กล่าวแล้ว ฯ กรุณา ที่ชื่อว่ากรุณา กโรติ ปรทุกฺเข สติสาธูน หทยเขท ชเนติกิรติวา วิกฺขิปติปรทุกฺข กิณาติวา ต หึสติกิริยติวา ทุกฺขิเตสุ ปสาริยตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมกระท�ำ คือ เมื่อทุกข์ของผู้อื่นมีอยู่ ย่อมยังความล�ำบากใจให้เกิดแก่สาธุชนทั้งหลายหรือเรี่ยราย ได้แก่ กระจายทุกข์ของผู้อื่นหรือเกลี่ย คือก�ำจัดทุกข์ของผู้อื่นนั้น หรือย่อมคลี่คลาย คือปลดเปลื้อง ในเมื่อสัตว์ทั้งหลายได้รับความทุกข์ ฯ สา กรุณาเจตสิกนั้น ปรทุกฺขาปนยนกามตาลกฺขณา มีลักษณะคือความประสงค์จะบ�ำบัดทุกข์ของผู้อื่น ฯ หิ ความจริง ตาย ปรทุกฺข อปนิยตุ วา กรุณาเจตสิกนั้น จะน�ำทุกข์ของผู้อื่น ออกไปได้ก็ตาม มา วา น�ำออกไปไม่ได้ก็ตาม สา กรุณาเจตสิกนั้น ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ตทากาเรเนว โดยอาการคือความบ�ำบัดทุกข์ของผู้อื่นนั้นนั่นเอง ฯ มุทิตา ที่ชื่อว่ามุทิตา โมทนฺติ เอตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องชื่นชม แห่งเหล่าชน ฯ สา มุทิตาเจตสิกนั้น ปรสมฺปตฺติอนุโมทนลกฺขณา มีลักษณะ พลอยยินดีสมบัติของผู้อื่น ฯ (เทฺว เจตสิกา) กรุณาเจตสิกและมุทิตาเจตสิก ทั้ง ๒ ประการ อปฺปมาณา ชื่อว่าหาประมาณมิได้ อปฺปมาณสตฺตารมฺมณตฺตา เพราะเป็นธรรมชาติมีสัตว์หาประมาณมิได้เป็นอารมณ์ ฯ ตา เอว กรุณาเจตสิกและ มุทิตาเจตสิกที่หาประมาณมิได้เหล่านั้นนั่นแหละ อปฺปมฺ า ชื่อว่าอัปปมัญญาเจตสิก ฯ (โจทนา) ถาม อิติ ว่า จ ก็ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วกฺขติ จักกล่าว อิติ ว่า จตสฺโส อปฺปมฺ า อัปปมัญญาเจตสิกมี ๔ ประการ ดังนี้ นนุ มิใช่หรือ ปน แต่ กสฺมา เพราะเหตุไร เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยการแสดง เจตสิกธรรมตามสภาวะนี้ (อนุรทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ เทฺวเยว วุตฺตา จึงกล่าวอัปปมัญญาไว้เพียง ๒ ประการเท่านั้น ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า อโทสตตฺรมชฺฌตฺตตาหิ เมตฺตุเปกฺขาน คหิตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้า


94 ปริเฉทที่ ๒ ทรงรวมเมตตาเข้ากับอโทสเจตสิก และอุเบกขาเข้ากับตัตตรมัชฌัตตตาเจตสิก ฯ หิความจริง อโทโสเยว อโทสเจตสิกนั่นแหละ สตฺเตสุ หิตชฺฌาสยวสปฺปวตฺโต ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจแห่งอัธยาศัยเกื้อกูลในสัตว์ทั้งหลาย เมตฺตา นาม ชื่อว่าเมตตา ฯ ตตฺรมชฺฌตฺตตาว ตัตตรมัชฌัตตตาเจตสิกนั่นเอง เตสุ ปฏิฆานุนยวูปสมวสปฺปวตฺตา ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจความสงบระงับความขัดเคือง และความยินดี (ความยินดีและ ความยินร้าย) ในหมู่สัตว์เหล่านั้น อุเปกฺขา นาม ชื่อว่าอุเบกขา ฯ เตน เพราะ เหตุนั้น โปราณา ท่านพระโบราณจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงกล่าวไว้ว่า หิความจริง ยสฺมา เพราะ อพฺยาปาเทน เมตฺตา คหิตา เมตตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงระบุ ด้วยอโทสเจตสิก ตตฺรมชฺฌตฺตตาย จ อุเปกฺขา คหิตา และอุเบกขา ทรงระบุ ด้วยตัตตรมัชฌัตตตาเจตสิก ตสฺมา ฉะนั้น น คหิตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงไม่ระบุ อุโภ เมตตาและอุเบกขา ทั้ง ๒ ประการนั้นไว้ในที่นี้ ฯ ปกาเรน ชานาติ ธรรมชาติใด ย่อมรู้โดยอาการทั่วถึง อนิจฺจาทิวเสน อวพุชฺฌติได้แก่ รู้ชัดด้วยอ�ำนาจไตรลักษณ์ มีอนิจจลักษณะเป็นต้น อิติ เหตุนั้น ธรรมชาตินั้น ปฺ า ชื่อว่าปัญญา ฯ สา เอว ปัญญานั้นนั่นแล อินฺทฺริยํ ชื่อว่า เป็นอินทรีย์ ยถาสภาวาวโพธเน อธิปจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ ในการรู้ชัดตามสภาวะ อิติ เพราะเหตุนั้น ปฺ ินฺทฺริยํ จึงชื่อว่าปัญญินทรีย์ ฯ (ปุจฺฉา) ถาม อิติ ว่า อถ เมื่อเป็นเช่นนั้น สฺ าวิฺ าณปฺ าน กินฺนานากรณํ สัญญา วิญญาณ และปัญญา ท�ำหน้าที่ต่างกันอย่างไร ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า ตาว ล�ำดับแรก สฺ า สัญญา นีลาทิวเสน สฺ ชานนมตฺต กโรติย่อมท�ำหน้าที่ เพียงหมายรู้ ด้วยอ�ำนาจอารมณ์มีสีเขียวเป็นต้น (ปน) (แต่) น สกฺโกติ ไม่สามารถ ลกฺขณปฏิเวธมฺปิกาตุํ จะท�ำแม้ความรู้แจ้งไตรลักษณ์ได้ ฯ วิฺ าณํ วิญญาณ ลกฺขณปฏิเวธมฺปิ สาเธติย่อมให้ส�ำเร็จแม้ความรู้แจ้งไตรลักษณะได้ ปน แต่ น สกฺโกติ ไม่สามารถ อุสฺสุกฺเกตฺวา มคฺค ปาเปตุํ จะให้ผ่านไปถึงแล้วบรรลุ มรรคได้ ฯ ปน ส่วน ปฺ า ปัญญา ติวิธมฺปิ กโรติย่อมท�ำหน้าที่ได้แม้


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 95 ทั้ง ๓ อย่าง ฯ เอตฺถ ในข้อนี้ กหาปณาวโพธนํ มีการสังเกตรู้กหาปณะ พาลคามิกเหรฺ ิกานํ ของเด็ก คนชาวบ้าน และเจ้าหน้าที่การเงิน นิทสฺสนํ เป็นตัวอย่าง อิติ แล ฯ จ ก็ เอตฺถ ในบรรดาสัญญา วิญญาณ และปัญญา ๓ ประการนี้ าณวิปฺปยุตฺตสฺ าย อาการคฺคหณวเสน อุปฺปชฺชนกาเล ในเวลาที่สัญญาเป็นญาณวิปปยุตเกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจก�ำหนดรู้อาการ วิฺ าณํ วิญญาณ อพฺโพหาริกํ ย่อมเป็นอัพโพหาริก (มีแต่ไม่ปรากฏ) ฯ เสสกาเล เอว ในเวลาที่เหลือนั่นแล วิฺ าณํ วิญญาณ พลวํ ย่อมมีพลัง ฯ ปน ส่วน าณ สมฺปยุตฺตา อุโภปิ สัญญากับวิญญาณแม้ทั้ง ๒ ประการ ที่เป็นญาณสัมปยุต ตทนุคติกา โหนฺติย่อมมีคติคล้อยตามปัญญานั้น ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า สพฺพถาปิแม้โดยประการทั้งปวง ปฺ จวีสติ โสภณเจตสิกมี ๒๕ ประการ ฯ เตรสฺ สมานาติอาทีหิด้วยค�ำว่า เตรสญฺสมานา เป็นต้น วุตฺตาน สงฺคโห เป็นการรวบรวมเจตสิกธรรมที่กล่าวไว้ ตีหิราสีหิโดยราศี ๓ ฯ อวิยุตฺตา ธรรมเหล่าใดไม่พราก จิตฺเตน สห กับจิต เจตสิกาติ วุตฺต โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายว่า เจตสิกธรรม อิติ เพราะเหตุนั้น จิตฺตาวิยุตฺตา ธรรมเหล่านั้น ชื่อว่าจิตตาวิยุตตา ฯ อุปฺปาโท สภาวะที่ชื่อว่าอุปปาทะ อุปฺปชฺชตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ย่อมเกิดขึ้น ฯ จิตฺตเมว อุปฺปาโท อุปปาทะ คือจิต จิตฺตุปฺปาโท ชื่อว่าจิตตุปปาทะ (จิตตุปบาท) ฯ ปน ส่วน อฺ ตฺถ ในที่อื่น สสมฺปยุตฺต จิตฺตํ จิตพร้อมทั้งสัมปยุตตธรรม วุจฺจติ ท่านเรียก อิติ ว่า จิตฺตุปฺปาโท จิตตุปปาทะ อุปฺปชฺชติ จิตฺต เอเตนาติ อุปฺปาโท ธมฺมสมูโห จิตฺตฺ จ ต อุปฺปาโท จาติจิตฺตุปฺปาโทติกตฺวา เพราะอธิบายว่า จิตย่อมเกิด ขึ้นด้วย หมวดธรรมนี้ เพราะเหตุนั้น หมวดธรรมนั้น จึงชื่อว่าอุปปาทะ ได้แก่ หมู่ธรรม จิตนั้นด้วย เป็นเหตุเกิดขึ้นด้วย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าจิตตุปปาทะ ฯ หิความจริง กตฺถจิ ในที่บางแห่ง สทฺทสตฺถวิทู ท่านอาจารย์ผู้รู้คัมภีร์ศัพทศาสตร์ ทั้งหลาย อิจฺฉนฺติย่อมปรารถนา ปุลฺลิงฺคํ ปุงลิงค์ สมาหารทฺวนฺเทฺวปิ แม้ใน สมาหารทวันทวสมาสได้บ้าง ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า อิโต ปร เบื้องหน้า


96 ปริเฉทที่ ๒ แต่นี้ไป ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) ปวุจฺจติ จักกล่าว สมฺปโยโค สัมปโยค เตสํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ แห่งเจตสิกธรรม ที่ไม่พรากกับจิตเหล่านั้น ปจฺเจกํ แต่ละ ประการ จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาททั้งหลาย ยถาโยคํ ตามที่ประกอบได้ ฯ ทฺวิปฺ จวิฺ าณานิ ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) วชฺชิตานิ เอเตหิ(จตุจตฺตาฬีสกามาวจรจิตฺเตหิ) อันกามาวจรจิต ๔๔ ดวงเหล่านี้เว้นแล้ว วา หรือว่า เอตานิ กามาวจรจิต ๔๔ ดวงเหล่านี้ เตหิ(ทฺวิปฺ จวิฺ าเณหิ) อันปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) เหล่านั้น วชฺชิตานิ เว้นแล้ว สภาเวน อวิตกฺกตฺตา เพราะปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่ายเหล่านั้นไม่มีวิตกเจตสิกตาม สภาวะ อิติ เพราะเหตุนั้น จตุจตฺตาฬีสกามาวจรจิตฺตานิ กามาวจรจิต ๔๔ ดวง ทฺวิปฺ จวิฺ าณวชฺชิตานิ ชื่อว่า เว้นปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย หรืออัน ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่ายเว้นแล้ว ฯ อธิปฺปาโย อธิบายความ อิติ ว่า (วิตกฺโก) วิตกเจตสิก (ชายติ) ย่อมเกิด เตสุ เจว ในกามาวจรจิต ๔๔ ดวง เหล่านั้นด้วย เอกาทสสุ ปมชฺฌานจิตฺเตสุ (จ) ในปฐมฌานจิต ๑๑ ดวงด้วย เสสาน (ทุติยชฺฌานาทีนํ) ภาวนาพเลน อวิตกฺกตฺตา เพราะจิตทั้งหลาย ที่เหลือมีทุติยฌานจิตเป็นต้น ไม่มีวิตกเจตสิก ด้วยก�ำลังแห่งภาวนา ฯ วิจาโร วิจารเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด ฉสฏฺิจิตฺเตสุ ในจิต ๖๖ ดวง อิติ คือ เตสุ เจว ปฺ จปณฺณาสวิตกฺกจิตฺเตสุ ในจิตที่สหรคตด้วยวิตกเจตสิก ๕๕ ดวง เหล่านั้นด้วย เอกาทสสุ ทุติยชฺฌานจิตฺเตสุ จ ในทุติยฌานจิต ๑๑ ดวงด้วย ฯ อธิโมกฺโข อธิโมกข์เจตสิก ชายติ ย่อมเกิด เอกาทสหิวชฺชิเตสุ อฏฺสตฺตติจิตฺเตสุ ในจิต ๗๘ ดวง เว้นจิต ๑๑ ดวง อิติ คือ ทฺวิปฺ จวิฺ าเณหิ ปัญจวิญญาณจิต ทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) วิจิกิจฺฉาสหคเตน จ และโมหมูลจิตที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาเจตสิก (๑ ดวง) ฯ วิริย วิริยเจตสิก ชายติย่อมเกิด โสฬสหิวชฺชิเตสุ เตสตฺตติยา จิตฺเตสุ ในจิต ๗๓ ดวงเว้นจิต ๑๖ ดวง อิติ คือ ปฺ จทฺวาราวชฺชเนน ปัญจทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) ทฺวิปฺ จวิฺ าเณหิ ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) สมฺปฏิจฺฉนฺนทฺวเยน สัมปฏิจฉันนจิต (๒ ดวง) สนฺตีรณตฺตเยน จ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 97 และสันตีรณจิต ๓ ดวง ฯ ปีติ ปีติเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด สตฺตติจิตฺเตหิ วชฺชิเตสุ เอกปฺ าส จิตฺเตสุ ในจิต ๕๑ ดวง เว้นจิต ๗๐ ดวง อิติ คือ โทมนสฺสสหคเตหิ ทฺวีหิ โทสมูลจิต ที่สหรคตด้วยโทมนัสเวทนา ๒ ดวง อุเปกฺขาสหคเตหิปฺ จปฺ าสจิตฺเตหิจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ๕๕ ดวง กายวิฺ าณทฺวเยน กายวิญญาณจิต ๒ ดวง เอกาทสหิจตุตฺถชฺฌาเนหิจ และจตุตถฌานจิต ๑๑ ดวง ฯ ฉนฺโท ฉันทเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด วีสติยา จิตฺเตหิวชฺชิเตสุ เอกูนสตฺตติจิตฺเตสุ ในจิต ๖๙ ดวง เว้นจิต ๒๐ ดวง อิติ คือ อเหตุเกหิ อฏฺารสหิอเหตุกจิต ๑๘ ดวง โมมูเหหิทฺวีหิจ และโมหมูลจิต ๒ ดวง ฯ เต ปนาติ บทว่า เต ปน ความว่า ปกิณฺณกวชฺชิตา (จิตฺตุปฺปาทา) จิตตุปบาทที่เวันปกิณณกเจตสิก (๖ ประการ) ตสหคตา จ (จิตฺตุปฺปาทา) แลจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยปกิณณกเจตสิก ๖ ประการนั้น ฯ ยถากฺกมนฺติ บทว่า ยถากฺกมํ ความว่า วิตกฺกาทิฉปกิณฺณกวชฺชิตสหิตกมานุรูปโต ตามสมควรแก่ ล�ำดับจิตตุปบาทที่เว้นปกิณณกเจตสิก ๖ ประการมีวิตกเจตสิกเป็นต้น และจิตตุปบาท ที่ประกอบด้วยปกิณณกเจตสิก ๖ ประการมีวิตกเจตสิกเป็นต้น ฯ ฉสฏฺี ปฺ จปฺ าสาติอาทิ ค�ำว่า ฉสฏฺ ปญฺจปญฺาส เป็นต้น โยเชตพฺพํ บัณฑิตพึงประกอบ เอกวีสสตคณนวเสน ด้วยอ�ำนาจจ�ำนวนจิต ๑๒๑ ดวง เอกูนนวุติคณนวเสน จ และด้วยอ�ำนาจจ�ำนวนจิต ๘๙ ดวง ยถารหํ ตามสมควร (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วตฺวา กล่าว อิติ ว่า สพฺพากุสลสาธารณา ดังนี้ สพฺเพสุปีติอาทิ วุตฺตํ แล้วกล่าวค�ำว่า สพฺเพสุปิ เป็นต้น ตเทวสมตฺเถตุํ เพื่อจะย�้ำถ้อยค�ำนั้นนั่นแหละให้มั่นคง ฯ หิ ความจริง โย โกจิ บุคคลใดใครก็ตาม ปฏิปชฺชติ ปฏิบัติ ปาณาติปาตาทีสุ ในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้น โส สพฺโพปิ บุคคลนั้นแม้ทั้งหมด น ตตฺถ อาทีนวทสฺสาวี มีปกติไม่เห็นโทษในอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาต เป็นต้นนั้น โมเหน เพราะโมหเจตสิก ตโต อชิคุจฺฉนฺโต ไม่รังเกียจอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้นนั้น อหิริเกน เพราะอหิริกเจตสิก อโนตฺตปฺเปนฺโต


98 ปริเฉทที่ ๒ ไม่เกรงกลัวอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้นนั้น อโนตฺตปฺเปน เพราะอโนตตัปปเจตสิก อวูปสนฺโต จ โหติและเป็นผู้ไม่สงบระงับจากอกุศล กรรมบถ ๑๐ ประการมีปาณาติบาตเป็นต้นนั้น อุทฺธจฺเจน เพราะอุทธัจจเจตสิก ตสฺมา เพราะฉะนั้น เต เจตสิกธรรม ๔ ประการเหล่านั้น อุปลพฺภนฺติ จึงหาได้ แน่นอน สพฺพากุสเลสุ ในอกุศลจิตทุกดวง(๑๒ ดวง) ฯ เอวกาโร เอว ศัพท์ โลภสหคตจิตฺเตเสฺววาติ ในบทว่า โลภสหคตจิตฺเตเสฺวว นี้ โหติ มีไว้ อธิการตฺถายปิ เพื่อต้องการท�ำให้เด่น อิติ เพราะเหตุนั้น ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็น อวธารณํ บทอวธารณะ ทิฏฺิสหคตจิตฺเตสูติอาทีสุปิแม้ในบทว่า ทิฏฺสหคตจิตฺเตสุ  เป็นต้น ฯ หิ ความจริง ทิฏฺิ ทิฏฐิเจตสิก ลพฺภติ ย่อมหาได้ โลภสหคตจิตฺเตเสฺวว เฉพาะในจิตที่สหรคตด้วยโลภะ (โลภมูลจิต ๔ ดวง) เท่านั้น สกฺกายาทีสุ อภินิวิสนฺตสฺส ตตฺถ มมายนสมฺภวโต เพราะบุคคลผู้ยึดมั่นในสังโยชน์ ๑๐ ประการ มีสักกายทิฏฐิเป็นต้น เกิดความยึดถือในสังโยชน์ ๑๐ ประการ มีสักกายทิฏฐิเป็นต้น นั้นว่าเป็นของเรา ฯ มาโนปิแม้มานเจตสิก ทิฏฺิสทิโสว ปวตฺตติก็เป็นไป คล้ายทิฏฐิเจตสิกนั่นแหละ อหมฺมานวเสน ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปในสังโยชน์ ๑๐ ประการ มีสักกายทิฏฐิเป็นต้นนั้น ด้วยอ�ำนาจถือตัวว่าเป็นเรา อิติ เพราะเหตุนั้น (มาโน) มานเจตสิกนั้น นปฺปวตฺตติ จึงไม่เป็นไป ทิฏฺิยา สห เอกจิตฺตุปฺปาเท ในจิตตุปบาทเดียวกันกับทิฏฐิเจตสิก เกสรสีโห วิย อปเรน ตถาวิเธน สห เอก คุหาย เปรียบเหมือนราชสีห์ชาติไกรสรไม่อยู่ในถ�้ำเดียวกัน กับราชสีห์ชาติไกรสร ตัวอื่นที่เหมือนกัน ฉะนั้น ฯ จาปิ(มาโน) และทั้งมานเจตสิกนั้น น อุปฺปชฺชติ ก็ไม่เกิดขึ้น โทสมูลาทีสุ ในจิตตุปบาททั้งหลายมีโทสมูลจิต (๒ ดวง) เป็นต้น เอกนฺตโลภปทฏฺานโต เพราะมานเจตสิกมีโลภะเป็นปทัฏฐานโดยแน่นอน อตฺตสิเนหสนฺนิสฺสยภาเวน โดยมีความเยื่อใยในตนเป็นที่อิงอาศัย อิติ เพราะเหตุนั้น โส มานเจตสิกนั้น ลพฺภติ จึงหาได้ ทิฏฺิวิปฺยุตฺเตเสฺวว เฉพาะในจิตตุปบาทที่เป็น ทิฏฐิวิปปยุต (โลภมูลจิต ๔ ดวง) เท่านั้น ฯ ตถา อนึ่ง อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจานิ อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก (ลพฺภนฺติ) ก็หาได้ ปฏิฆจิตฺเตเสฺวว


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 99 เฉพาะในโทสมูลจิต (๒ ดวง) เท่านั้น ตตฺถ ตตฺถ ปฏิหนนวเสเนว ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปด้วยอ�ำนาจการกระทบกระทั่งในอารมณ์นั้น ๆ นั่นเอง ปรสมฺปตฺตึ อุสฺสุยนฺตสฺส แก่บุคคลผู้ริษยาสมบัติของผู้อื่น อตฺตสมฺปตฺติยา จ ปเรหิ สาธารณภาว อนิจฺฉนฺตสฺส แก่บุคคลผู้ไม่ปรารถนาภาวะแห่งสมบัติของตนทั่วไป กับชนอื่น กตากตทุจฺจริตสุจริเตสุ อนุโสจนฺตสฺส จ และแก่บุคคลผู้เศร้าโศก เนือง ๆ ในเพราะทุจริตที่ตนท�ำแล้ว และสุจริตที่ตนมิได้ท�ำ ฯ ถีนมิทฺธ ถีนเจตสิก ํ และมิทธเจตสิก ลพฺภติ ก็หาได้ สสงฺขาเรเสฺวว เฉพาะในอกุศลจิตที่เป็นสสังขาริก (๕ ดวง) เท่านั้น อกมฺมฺ ตาปกติกสฺส ตถาสภาวติกฺเขสุ อสงฺขาริเกสุ ปวตฺตนาโยคโต เพราะเจตสิกธรรมที่มีปกติไม่ควรแก่การงาน ไม่ประกอบด้วย ความเป็นไปในอกุศลจิตที่เป็นอสังขาริก (๕ ดวง) ซึ่งกล้าแข็งได้ ตามสภาวะ อย่างนั้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า จตฺตาโร เจตสิกา เจตสิกธรรม ๔ ประการ กตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์จัดไว้ สพฺพาปุฺ เเสฺวว เฉพาะใน อกุศลจิตทุกดวง (๑๒ ดวง) เท่านั้น ตโย เจตสิกธรรม ๓ ประการ กตา จัดไว้ โลภมูเลเยว เฉพาะในโลภมูลจิต (๘ ดวง) เท่านั้น ยถาสมฺภวํ ตามที่เกิดมีได้ จตฺตาโร เจตสิกธรรม ๔ ประการ กตา จัดไว้ โทสมูเลเสฺวว เฉพาะในโทสมูลจิต (๒ ดวง) เท่านั้น ตถา อนึ่ง ทฺวยํ เจตสิกธรรม ๒ ประการ (กตํ) จัดไว้ สสงฺขาเรเยว เฉพาะในอกุศลจิตที่เป็นสสังขาริก (๕ ดวง) เท่านั้น ฯ จสทฺโท จ ศัพท์ วิจิกิจฺฉาจิตฺเต จาติ ในบทว่า วิจิกิจฺฉาจิตเต จ นี้ อวธารเณ ใช้ใน อรรถอวธารณะ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฉาเจตสิก วิจิกิจฺฉาจิตฺเต จ หาได้เฉพาะในจิตที่สัมปยุตด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก (โมหมูลจิต ๑ ดวง) เท่านั้น ฯ โลกุตฺตรจิตฺเตสุ ในโลกุตตรจิต (๘ หรือ ๔๐ ดวง) กทาจิ บางคราว สมฺมาสงฺกปฺปวิรโห สิยา พึงเว้นวิตกเจตสิก ปาทกชฺฌานาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจฌานที่เป็นบาทเป็นต้น ปน แต่ น วิรตีน อภาโว จะไม่พึงมีวิรัติเจตสิก (๓ ประการ) ก็หามิได้ มคฺคสฺส กายทุจฺจริตาทีน สมุจฺเฉทวเสน ผลสฺส จ


100 ปริเฉทที่ ๒ ตทนุคุณวเสน ปวตฺตนโต เพราะมรรคจิต (๔ ดวง) เป็นไปด้วยอ�ำนาจตัดทุจริต มีกายทุจริตเป็นต้นได้เด็ดขาด และผลจิต (๔ ดวง) เป็นไปด้วยอ�ำนาจคุณที่คล้อย ตามมรรคจิตนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺต จึงกล่าว วิรติโย ปนาติอาทิ ค�ำว่า วิรติโย ปน ดังนี้เป็นต้น ฯ สพฺพถาปีติ บทว่า สพฺพถาปิ ได้แก่ สพฺเพหิปิ ตตทุจฺจริตวิธมนวสปฺปวตฺเตหิ อากาเรหิ โดยอาการแม้ทั้งปวง คือ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจก�ำจัดทุจริตนั้น ๆ ได้ ฯ หิ ความจริง น เอตาส โลกิเยสุ วิย โลกุตฺตเรสุปิ มุสาวาทาทีน วิสํุวิสํุปหานวเสน ปวตฺติโหติวิรัติเจตสิก ๓ ประการเหล่านั้น จะเป็นไปแม้ในโลกุตตรจิต (๘ ดวง หรือ ๔๐ ดวง) ด้วยอ�ำนาจละวจีทุจริต (๔ ประการ) มีมุสาวาทเป็นต้นได้แยก ๆ กัน เหมือนในโลกิยจิต (๘๑ ดวง) ก็หามิได้ สพฺเพสเมว ทุจฺจริตทุราชีวาน เตน เตน มคฺเคน เอกกฺขเณ สมุจฺฉินฺทนโต เพราะทุจริตและการเลี้ยงชีพผิดทั้งหมดนั่นแหละ อันมรรคจิตนั้น ๆ ตัดขาดได้ในขณะเดียวกัน เกสฺ จิ(ทิฏฺวิจิกิจฺฉ าทีนํ กิเลสาน)ํ สพฺพโส เกสฺ จิ (กามราคปฏิฆาทีนํ กิเลสานํ) อปายคมนิยาทิอวตฺถาย หานิวเสน ด้วยอ�ำนาจความละกิเลสบางเหล่ามีสักกายทิฏฐิและวิจิกิจฉาเป็นต้น ได้โดยประการทั้งปวง (และ) ด้วยอ�ำนาจการละความสามารถแห่งกิเลสบางเหล่า มีกามราคะและปฏิฆะเป็นต้น ที่เป็นสภาวะยังสัตว์ให้ไปสู่อบายภูมิเป็นต้น ฯ (ปุจฺฉา) ถาม อิติ ว่า จ ก็ อยมตฺโถ เนื้อความนี้ สิทฺโธ ส�ำเร็จแล้ว เอกโตวาติ อิมินาว ด้วยค�ำว่า เอกโต ว นี้แหละ นนุ มิใช่หรือ ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า ตํ น ข้อนั้นหาเป็นเช่นนั้นไม่ จตุพฺพิธวจีทุจฺจริตาทีน ปฏิปกฺขาการปฺปวตฺติยา อทีปิตตฺตา เพราะท่านพระอาจารย์ มิได้แสดงความเป็นไปตามอาการ คือความเป็น ข้าศึกต่อวจีทุจริต ๔ ประการเป็นต้น ติสฺสนฺนํ เอกโต วุตฺติปริทีปนมตฺเตน โดยเหตุเพียงแสดงว่า วิรัติเจตสิก ๓ ประการ อยู่ร่วมกัน ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก อิมมตฺถ อสลฺลกฺเขตฺวาว ยังมิทันพิจารณาเนื้อความนี้เลย สพฺพถาปีติอิท อติริตฺตนฺติวทนฺติก็พูดว่า ค�ำว่า สพฺพถาปิ นี้ ไม่มีประโยชน์ ฯ ตตฺถ ในค�ำนั้น เตสํ อาณเมว ความไม่รู้ของอาจารย์เหล่านั้นนั่นแหละ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 101 การณํ เป็นเหตุ ฯ นิยตาติ อิมินา ด้วยบทว่า นิยตา นี้ (อนุรุทฺโธ) ท่าน พระอนุรุทธาจารย์ นิวาเรติ ย่อมห้าม กทาจิ สมฺภวํ วิรัติเจตสิกเกิดมีในกาล บางคราว (โลกุตฺตรจิตฺเตสุ ในโลกุตตรจิต ๘ ดวงหรือ ๔๐ ดวง) โลกิเยสุ วิย เหมือนในโลกิยจิต (๘๑ ดวง) ฉะนั้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอตา วิรัติเจตสิก ๓ ประการเหล่านี้ (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า เทสิตา ทรงแสดงไว้ โลกิเยสุ ในโลกิยจิต (๘ ดวง หรือ ๔๐ ดวง) เยวาปนกวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็น เยวาปนกเจตสิก ปน ส่วน อิธ ในโลกุตตรจิตจิต (๘ ดวง หรือ ๔๐ ดวง) นี้ (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า เทสิตา ทรงแสดงไว้ สรูเปเนว ตามสภาวะ นั่นแหละ ฯ อวธารเณน ด้วยบทอวธาณะ กามาวจรกุสเลเสฺววาติ ในค�ำว่า กามาวจรกุสเลเสฺวว นี้ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ นิวาเรติ ย่อมห้าม กามาวจรวิปากกฺริยาสุ มหคฺคเตสุ จ สมฺภว วิรัติเจตสิก ๓ ประการเหล่านั้น เกิดมีในกามาวจรวิบากจิต (๘ ดวง) กามาวจรกิริยาจิต (๘ ดวง) และในมหัคคตจิต (๒๗ ดวง) ฯ จ ก็ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วกฺขติ จักกล่าว ตถา เอว ตามอาการนั่นแหละ อุปริ ไว้ข้างหน้า ฯ กทาจีติ บทว่า กทาจิ ได้แก่ มุสาวาทาทิเอเกกทุจฺจริเตหิ วิรมณกาเล ในเวลาเว้นจากทุจริตแต่ละอย่างมี มุสาวาทเป็นต้น ฯ (วิรติโย) ก็ วิรัติเจตสิก ๓ ประการเหล่านั้น อุปฺปชฺชนฺตาปิ แม้เกิดขึ้นอยู่ กทาจิ ในกาลบางคราว น เอกโต อุปฺปชฺชนฺติ ก็ไม่เกิดขึ้น พร้อมกัน วีติกฺกมิตพฺพวตฺถุสงฺขาตานํ อตฺตโน อาลมฺพนาน สมฺภวาเปกฺขตฺตา เพราะเพ่งถึงความเกิดแห่งอารมณ์ของตน กล่าวคือวัตถุที่จะพึงล่วงละเมิด อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺต จึงกล่าว วิสุํ วิสุํ อิติ ว่า วิสุํ วิสุํ ดังนี้ ฯ อปฺปนาปฺปตฺตานํ อปฺปมฺ านํ อัปปมัญญาเจตสิกที่ถึงอัปปนาแล้ว น กทาจิ โสมนสฺสรหิตา ปวตฺติ อตฺถิ ย่อมไม่มี ความเป็นไปอันปราศจาก โสมนัสเวทนาในกาลบางคราว อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวค�ำ ปฺ จม ฯเปฯ จิตฺเตสูติว่า ปญฺจมชฺฌานวชฺชิตมหคฺคตติตฺเตสุ ดังนี้ ฯ


102 ปริเฉทที่ ๒ มหคฺคตานิ จิตทั้งหลายที่ชื่อว่ามหัคคตะ วินีวรณาทิตาย มหตฺต คตานิ มหนฺเตหิวา ฌายีหิคตานิปวตฺตานีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ถึงความเป็นใหญ่ เพราะเป็นจิตปราศจากนิวรณ์ธรรมเป็นต้น หรืออันผู้ได้ฌานทั้งหลายซึ่งเป็นผู้ใหญ่ ถึงแล้ว คือบรรลุแล้ว ฯ นานา หุตฺวาติ สองบทว่า นานา หุตฺวา ความว่า (อปฺปมญฺาโย) อัปปมัญญาเจตสิก วิสุํ วิสุํ หุตฺวา (ชายนฺติ) ย่อมมีแยก ๆ กัน อตฺตโน อาลมฺพนภูตานํ ทุกฺขิตสุขิตสตฺตานํ อาปาถคมนาเปกฺขาย โดยเพ่งถึง เหล่าสัตว์ผู้ได้รับความทุกข์ หรือได้รับความสุข ที่เป็นอารมณ์ของตนมาปรากฏ ภินฺนาลมฺพนตฺตา เพราะกรุณาเจตสิกและมุทิตาเจตสิกมีอารมณ์ต่าง ๆ กัน ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ อิเมสุ กามาวจรจิตฺเตสุ ได้แก่ บรรดากามาวจรจิต (กามาวจรกุศลจิต ๘ ดวง และกามาวจรกิริยาจิตที่เป็นสเหตุกะ ๘ ดวง) เหล่านี้ ฯ ปริกมฺม การบริกรรม ํ อุเปกฺขาสหคตจิตฺเตหิปิ แม้ด้วยจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา อปฺปนาวีถิโต ปุพฺเพ ปริจยวเสน ด้วยอ�ำนาจความเคยชินในกาลก่อนแต่วิถีแห่ง อัปปนา โหติ ย่อมมีได้ กรุณามุทิตาภาวนากาเล ในเวลาเจริญกรุณาเจตสิกและ มุทิตาเจตสิก ยถาต ปคุณคนฺถ สชฺฌายนฺตสฺส กทาจิอฺ าวิหิตสฺสาปิสชฺฌายนํ ดุจคนที่สวดคัมภีร์ที่ช�ำนาญ บางคราว แม้จะส่งจิตไปในอารมณ์อื่น ก็ยังสวดได้ จ และ ยถา ปคุณวิปสฺสนาย สงฺขาเร สมฺมสนฺตสฺส กทาจิ ปริจยพเลน าณวิปฺปยุตฺตจิตฺเตหิปิ สมฺมสนํ ดุจพระโยคาวจรผู้พิจารณาสังขารธรรม ด้วยวิปัสสนาที่คล่องแคล่ว บางคราว ก็พิจารณาได้ ด้วยจิตที่เป็นาณวิปปยุต (ไม่ประกอบด้วยปัญญา) ด้วยก�ำลังแห่งความเคยชิน ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น อุเปกฺขาสหคตกามาวจเรสุ กรุณามุทิตานํ อสมฺภววาโท วาทะที่ว่า กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิกไม ่เกิดมีในกามาวจรจิตที่สหรคตด้วยอุบกขาเวทนา กโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงแต่งไว้ อิติ ว่า เกจิวาโท เป็นเกจิวาทะ ฯ ปน แต่ ทฏฺพฺโพ บัณฑิต พึงเห็น อปฺปนาวีถิยํ ตาส เอกนฺตโต โสมนสฺสสหคเตเสฺวว สมฺภโว กรุณาเจตสิกและมุทิตาเจตสิกทั้ง ๒ ประการเหล่านั้นเกิดมี เฉพาะใน กามาวจรจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา โดยส่วนเดียวในวิถีแห่งอัปปนา


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 103 ภินฺนเวทนสฺสาปิ อาเสวนปจฺจยาภาวโต เพราะจิตแม้ที่มีเวทนาต่างกัน ไม่มี อาเสวนปัจจัย ภินฺนชาติกสฺส วิย ดุจจิตที่มีชาติต่างกัน ฉะนั้น ฯ ตโย โสฬสจิตฺเตสูติ บาทคาถาว่า ตโย โสฬสจิตฺเตสุ เป็นต้น ความว่า สมฺมาวาจาทโย ตโย ธมฺมา เจตสิกธรรม ๓ ประการมีสัมมาวาจาเป็นต้น ชายนฺติ ย่อมเกิด อฏฺโลกุตฺตรกามาวจรกุสลวเสน โสฬสจิตฺเตสุ ในจิต ๑๖ คือ โลกุตตรจิต ๘ ดวง และกามาวจรกุศลจิต ๘ ดวง ฯ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดง นิยตานิยตสมฺปโยควเสน วุตฺเตสุ อนิยตธมฺเม อนิยตธรรมในบรรดาเจตสิกธรรมที่กล่าวไว้ ด้วยอ�ำนาจแห่งเจตสิกธรรม ที่มีการประกอบแน่นอน และการประกอบไม่แน่นอน เอกโต รวมกัน เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้แล้ว เสสาน นียตภาว ทีเปตุ เพื่อจะแสดงว่า เจตสิกธรรม ที่เหลือเป็นธรรมที่มีการประกอบแน่นอน อิสฺสามจฺเฉราติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อิสฺสามจฺเฉรา ดังนี้เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อิสฺสา ฯ เป ฯ กรุณาทโย อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิกกุกกุจจจเจตสิก วิรัติเจตสิก และ อัปปมัญญาเจตสิกมีกรุณาเจตสิก เป็นต้น กทาจิ บางคราว นานา หุตฺวา ชายนฺติ ก็เกิดแยกกัน จ ส่วน มาโน มานเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด กทาจิ ในกาลบางคราว เสยฺโยหมสฺมีติอาทิวสปฺปวตฺติยํ คือในเวลาเป็นไปด้วยอ�ำนาจถือตัวว่า เราเป็น ผู้ประเสริฐกว่า ดังนี้เป็นต้น ถีนมิทฺธ ถีนเจตสิกและมิทธเจตสิก ตถา ก็เหมือนกัน กทาจิ อกมฺมฺ วสปฺปวตฺติย สห อฺ มฺ  อวิปฺปโยควเสน ชายติ คือ ย่อมเกิดร่วมกัน คือด้วยอ�ำนาจไม่แยกกันและกันในกาลบางคราว คือในคราวที่ เป็นไปด้วยอ�ำนาจที่จิตไม่ควรแก่การงาน ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง (ปณฺฑิเตน) บัณฑิต โยเชตฺวา พึงประกอบ มาโน จาติ เอตฺถ จสทฺท จ ศัพท์ในค�ำว่า มาโน จ นี้ สหาติเอตฺถาปิเข้าแม้ในค�ำว่า สห นี้ โยชนา ทฏฺพฺพา แล้วพึงเห็น วาจาประกอบความ อิติ ว่า ถีนมิทฺธํ ถีนเจตสิกและมิทธเจตสิก ชายติ ย่อมเกิด สห ร่วมกัน จ สสงฺขาริกปฏิเฆ ทิฏฺิวิปฺปยุตฺตสสงฺขาริเกสุ จ อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺเจหิมาเนน จ สทฺธึคือร่วมกับอิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก


104 ปริเฉทที่ ๒ และกุกกุจจเจตสิกในปฏิฆจิตที่เป็นสสังขาริก (คือ โทสมูลจิตที่เป็นสสังขาริก ๑ ดวง) และร่วมกับมานเจตสิกในสสังขาริกจิตที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตทั้งหลาย (คือ โลภมูลจิตที่เป็น ทิฏฐิวิปปยุตซึ่งเป็นสสังขาริก ๒ ดวง) กทาจิ ในกาลบางคราว จ และ นานา ชายติ ย่อมเกิดแยกกัน กทาจิ ในกาลบางคราว ตทีตรสสงฺขาริกจิตฺตสมฺปโยคกาเล ตสมฺปโยคกาเลปิวา คือในกาลที่ประกอบกับจิตที่เป็นสสังขาริกนอกจากโทสมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก (๑ ดวง) และโลภมูลจิตที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตซึ่งเป็นสสังขาริก (๒ ดวง) นั้นหรือแม้ในกาลที่ประกอบกับโทสมูลจิตที่เป็นสสังขาริก (๑ ดวง) และโลภมูลจิต ที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตซึ่งเป็นสสังขาริก (๒ ดวง) นั้น ฯ ปน ส่วน อปเร อาจริยา อาจารย์อีกพวกหนึ่ง สมฺปโยเชสุ ประกอบ เอตฺตกเมว ถ้อยค�ำไว้เพียงเท่านี้ อิติ ว่า มาโน จ ถีนมิทฺธฺ จ ตถา กทาจินานา หุตฺวา กทาจิสห จ ชายติ มานเจตสิก ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก ก็เหมือนกัน คือ บางคราวก็เกิดแยกกัน และบางคราวก็เกิดร่วมกัน ฯ เสสาติ บทว่า เสสา ความว่า ยถาวุตฺเตหิเอกาทสหิ อนิยเตหิอิตเร เอกจตฺตาฬีส เจตสิกธรรม ๔๑ ประการ นอกจากอนิยตเจตสิกธรรม ๑๑ ประการ ตามที่กล่าวแล้ว ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก วณฺเณนฺติ พรรณนา อิติ ว่า ยถาวุตฺเตหิอนิยตเยวาปนเกหิเสสา เจตสิกธรรมที่เหลือจาก อนิยตเยวาปนกเจตสิกธรรม ตามที่กล่าวแล้ว นิยตเยวาปนกา เป็นนิยตเยวาปนกเจตสิกธรรม ฯ ต ค� ํำนั้น มติมตฺตํ เป็นเพียงมติ เตสํ ของอาจารย์พวกนั้น ปน ก็ อิธ เยวาปนกนาเมน เกสจิอนุทฺธฏตฺตา เพราะในที่นี้ท่านพระอนุรุทธาจารย์ มิได้ยกเจตสิกธรรมบางเหล่าขึ้นแสดงไว้ โดยชื่อว่าเยวาปนกเจตสิกธรรม ฯ หิความจริง เอตฺถ ในที่นี้ อาจริเยน ท่านอาจารย์ กตํ กระท�ำ นิยตานิยตวเสน จิตฺตุปฺปาเทสุ ยถารห ลพฺภมานเจตสิกมตฺตสนฺทสฺสนํ การชี้แจงเพียงเจตสิกธรรม ที่จะได้ตามสมควร ในจิตตุปบาททั้งหลาย ตามสมควรด้วยอ�ำนาจนิยตเจตสิกธรรม (เจตสิกธรรมที่ประกอบแน่นอน) และอนิยตเจตสิกธรรม (เจตสิกธรรมที่ประกอบ ไม่แน่นอน) เกวลํ อย่างเดียว น เยวาปนกนาเมน เกจิอุทฺธฏา มิได้ยกเจตสิกธรรม บางเหล่าขึ้นแสดงไว้ โดยชื่อว่า เยวาปนกเจตสิกธรรม อิติ แล ฯ


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 105 (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดง สมฺปโยคํ การประกอบเจตสิกธรรม จิตฺตปริจฺเฉทวเสน ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดจิต อิติ ว่า ผสฺสาทีสุ อย ธมฺโม บรรดาเจตสิกธรรมมีผัสสเจตสิกธรรมเป็นต้น ธรรม (เจตสิกธรรม) นี้ อุปลพฺภติ ย่อมหาได้แน่นอน เอตฺตเกสุ จิตฺเตสุ ในจิตมี ประมาณเท่านี้ เอว ตาว ดังพรรณนามาฉะนี้ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุ หวังจะแสดง สงฺคหํ การรวบรวม (เจตสิกธรรม) เจตสิกราสิปริจฺเฉทวเสน ด้วย อ�ำนาจการก�ำหนดหมวดเจตสิกธรรม อิติ ว่า เอตฺตกา เจตสิกา เจตสิกธรรม มีประมาณเท ่านี้ย ่อมหาได้แน ่นอน อิมสฺมึ จิตฺตุปฺปาเท ในจิตตุปบาทนี้ สงฺคหฺ จาติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า สงฺคหญฺจ ดังนี้เป็นต้น ฯ ฉตฺตึสาติอาทิ ค�ำว่า ฉตฺตึส ดังนี้เป็นต้น สงฺคโห เป็นการรวบรวม ตตฺถ ตตฺถ ยถารหํ ลพฺภมานกธมฺมวเสน คณนวเสน ด้วยอ�ำนาจจ�ำนวน คือ ธรรมที่จะหาได้อยู่ ในจิตนั้น ๆ ตามสมควร ฯ ปมชฺฌานิกจิตฺตานิ ที่ชื่อว่า ปฐมัชฌานิกจิต ปมชฺฌาเน นิยุตฺตานิจิตฺตานิต วา เอเตส อตฺถีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า จิตประกอบในปฐมฌาน หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า จิตเหล่านี้มีปฐมฌานนั้น ฯ อปฺปมฺ าน สตฺตารมฺมณตฺตา เพราะอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) มีสัตว์ เป็นอารมณ์ โลกุตฺตรานฺ จ นิพฺพานารมฺมณตฺตา และเพราะโลกุตตรจิต (๘ ดวง) มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ อปฺปมฺ าวชฺชิตาติจึงกล่าวค�ำว่า โสภณเจตสิก ๒๓ ประการ เว้นอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) ฯ ตถาติ อิมินา ด้วยศัพท์ว่า ตถา นี้ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อากฑฺฒติ ย่อมชักความมา อิติ ว่า อฺ สมานา อัญญสมานเจตสิก (๑๓ ประการ) อปฺปมฺ าวชฺชิตโสภณเจตสิกา จ และ โสภณเจตสิก (๒๓ ประการ) ซึ่งเว้นอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ การรวมเข้า (ด้วยกัน) ฯ อุเปกฺขาสหคตาติ ค�ำว่า อุเปกฺขาสหคตา ความว่า (เตตฺตึส ธมฺมา) ธรรม ๓๓ ประการ วิตกฺกวิจารปีติสุขวชฺชา เว้น วิตก วิจาร ปีติ (และ) สุข สุขฏฺานํ ปวิฏฺุเปกฺขาย สหคตา สหรคตด้วย


106 ปริเฉทที่ ๒ อุเบกขา ซึ่งเข้าไปแทนที่สุข ฯ ปฺ จกชฺฌานวเสนาติในบทว่า ปญฺจกชฺฌานวเสน อธิปฺปาโย มีอธิบายความ อิติ ว่า ฌานปฺ จกสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจฌาน ๕ หมวด วิตกฺกวิจาเร วิสุํ วิสุํ อติกฺกมิตฺวา ภาเวนฺตสฺส นาติติกฺขาณสฺส วเสน เทสิตสฺส ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงแล้วด้วยอ�ำนาจพระโยคาวจรผู้มี ฌานไม่กล้านัก เจริญฌานล่วงวิตกและวิจารไปทีละอย่าง ฯ ปน แต่ เต เอกโต อติกฺกมิตฺวา ภาเวนฺตสฺส ติกฺขาณสฺส วเสน เทสิตจตุตฺถชฺฌานวเสน ด้วย อ�ำนาจฌาน ๔ หมวด ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ด้วยอ�ำนาจพระโยคาวจร ผู้มีฌานแก่กล้า เจริญฌานล่วงวิตกและวิจารเหล่านั้นไปพร้อมกัน สงฺคโห โหติ ย่อมมีการรวบรวม (เจตสิกธรรม) ได้ จตุธาว ๔ หมวดเท่านั้น ทุติยชฺฌานิเกสุ วิตกฺกวิจารวชฺชิตานํ สมฺภวโต เพราะเจตสิกธรรม ๓๔ ประการเว้นวิตกและ วิจารเสียเกิดมีในทุติยฌานิกจิต ฯ เตตฺตึสทฺวยํ เจตสิกธรรม ๓๓ ประการ ทั้ง ๒ หมวด (ลพฺภติ) ย่อมหาได้ จตุตฺถปฺ จมชฺฌานจิตฺเตสุ ในจตุตถฌานจิตและ ปัญจมฌานจิต ฯ ตีสูติ บทว่า ตีสุ ได้แก่ (ปมชฺฌานิกจิตฺเตสุ) ในปฐมฌานิกจิต ติวิเธสุ ๓ ดวง กุสลวิปากกฺริยาวเสน คือ กุศลจิต วิบากจิต และกิริยาจิต ฯ สุวิโสธิตกายวจีปโยคสฺส ส�ำหรับพระโยคาวจรผู้มีกายปโยคและวจีปโยคอันช�ำระ หมดจดดีแล้ว สีลวิสุทฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจสีลวิสุทธิ มหคฺคตชฺฌานานิ มหัคคตฌาน ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป เกวลํ จิตฺตสมาธานมตฺเตน ด้วยเหตุเพียงจิตตั้งมั่น อย่างเดียว ปน แต่ น (ปวตฺตนฺติ) หาเป็นไป กายวจีกมฺมานํ วิโสธนวเสน ด้วยอ�ำนาจการช�ำระกายกรรมและวจีกรรมให้หมดจดไม่ นาปิ (ปวตฺตนฺติ) ทั้งจะเป็นไป ทุจฺจริตทุราชีวานํ สมุจฺฉินฺทนวเสน ด้วยอ�ำนาจการตัดทุจริต และการเลี้ยงชีพผิดได้เด็ดขาด ก็หามิได้ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า วิรติวชฺชาติ เวันวิรติเจตสิก ฯ ปจฺเจก เมวาติ บทว่า ปจฺเจกเมว ได้แก่ วิสุํ วิสุํ เอว แยก ๆ กันนั่นเอง ฯ ปณฺณรสสูติ บทว่า ปณฺณรสสุ ความว่า (ปญฺจมชฺฌานิกจิตฺเตสุ) ในปัญจมัชฌานิกจิต ปณฺณรสสุ ๑๕ ดวง อิติ คือ รูปาวจรวเสน ตีสุ ด้วยอ�ำนาจรูปาวจรฌาน ๓ ดวง


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 107 อารุปฺปวเสน ทฺวาทสสุ ด้วยอ�ำนาจอรูปาวจรฌาน ๑๒ ดวง ฯ (อปฺปมญฺาโย น ลพฺภนฺตีติ) เอตฺถ ในค�ำว่า ย่อมไม่ได้อัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) นี้ (มยา) ข้าพเจ้า การณ วุตฺตเมว ได้กล่าวเหตุไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ฯ ปจฺเจกเมวาติ บทว่า ปจฺเจกเมว ได้แก่ เอเกกาเยว แต่ละอย่างเท่านั้น ฯ หิ ความจริง อปฺปมฺ านํ สตฺตารมฺมณตฺตา เพราะอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) มีสัตว์เป็นอารมณ์ วิรตีนฺ จ วีติกฺกมิตพฺพวตฺถุวิสยตฺตา และ เพราะวิรัติเจตสิก (๓ ประการ) มีวัตถุที่จะพึงล่วงละเมิดเป็นอารมณ์ นตฺถิ ตาสมฺปิเอกจิตฺตุปฺปาเท สมฺภโว อัปปมัญญาเจตสิก และวิรัติเจตสิกแม้เหล่านั้น จึงไม่เกิดในจิตตุปบาทเดียวกัน อิติ แล ฯ โลกิยวิรตีน เอกนฺตกุสลสภาวตฺตา เพราะวิรัติเจตสิกฝ่ายโลกิยะทั้งหลายมีสภาวะเป็นกุศลโดยส่วนเดียว นตฺถิ อพฺยากเตสุ สมฺภโวโลกิย วิรัติเหล่านั้นจึงไม่เกิดในกิริยาจิตและวิบากจิตทั้งหลาย ที่เป็นอัพยากฤต อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺต จึงกล่าวค�ำ วิรติวชฺชิตาติ ว่า วิรติวชฺชิตา ดังนี้ ฯ เตนาห เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ปฺ จ สิกฺขาปทา กุสลาเยวาติ สิกขาบท ๕ ล้วนเป็นกุศลทั้งนั้น ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ (ภควา) พระผู้มีพระภาคเจ้า วเทยฺย พึงตรัสว่า สทฺธาสติอาทโย วิย สิยา กุสลา สิยา อพฺยากตาติ โลกิยวิรัติทั้งหลาย พึงเป็นกุศลก็มี พึงเป็นอัพยากฤตก็มี เหมือนกับ สัทธาเจตสิกและสติเจตสิกเป็นต้น ฉะนั้น ฯ ปน ก็ ผลสฺส มคฺคปฏิพิมฺพภูตตฺตา เพราะผลจิตเป็นธรรมชาตเหมือนกับมรรคจิต ทุจฺจริตทุราชีวานํ ปฏิปฺปสฺสมฺภนโต จ และเพราะผลจิตเป็นเครื่องระงับทุจริตและการเลี้ยงชีพผิดทั้งหลาย โลกุตฺตรวิรตีน เอกนฺตกุสลตา ภาวะที่โลกุตตรวิรัติทั้งหลาย เป็นกุศลโดยส่วนเดียว น ยุตฺตา จึงไม่ถูก อิติ เพราะเหตุนั้น ท่านพระอรรถกถาจารย์ ตาส ตตฺถ อคหณํ จึงไม่ ระบุถึงโลกุตตรวิรัติเหล่านั้นไว้ ในสิกขาบทวิภังค์นั้น ฯ กามาวจรวิปากานํ เอกนฺตปริตฺตารมฺมณตฺตา เพราะกามาวจรวิบากจิต (๘ ดวง) มีอารมณ์ที่เป็น กามาวจรโดยส่วนเดียว อปฺปมฺ านํ สตฺตารมฺมณตา เพราะอัปปมัญญาเจตสิก


108 ปริเฉทที่ ๒ (๒ ประการ) มีสัตว์เป็นอารมณ์ จ และ วิรตีนมฺปิเอกนฺตกุสลตฺตา แม้เพราะ วิรัติเจตสิก (๓ ประการ) เป็นกุศลโดยส่วนเดียว (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อปฺปมฺ า วิรติวชฺชิตาติอปฺปมญฺญาวิรติวชฺชิตา ดังนี้ ฯ (โจทนา) ถาม อิติ ว่า กามาวจรกุสลํ กามาวจรกุศลจิต ปฺ ตฺตาทิอารมฺมณมฺปิ แม้ที่มีบัญญัติเป็นต้นอารมณ์ จ โหติ ก็มีได้ นนุ มิใช่หรือ อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส วิปาเกนปิแม้วิบากจิตของกามาวจรกุศลจิตนั้น กุสลสทิสารมฺมเณน ภวิตพฺพํ ก็พึงมีอารมณ์เหมือนกับกุศลจิต ยถาตํ มหคฺคตโลกุตฺตรวิปาเกหิเปรียบเหมือน มหัคคตวิบากจิตและโลกุตตรวิบากจิตทั้งหลาย ฉะนั้น ฯ (วิสชฺชนา) ตอบ อิติ ว่า อิทํ (กามาวจรวิปากํ) กามาวจรวิบากจิตนี้ น เอวํ (โหติ) หาเป็นเช่นนั้นไม่ กามตณฺหาธีนสฺส (กามสฺส) ผลภูตตฺตา เพราะเป็นผลของกามซึ่งเนื่องกับ กามตัณหา ฯ ยถา หิ ทาสิยา ปุตฺโต มาตรา อิจฺฉิตํ กาตุํ อสกฺโกนฺโต สามิเกนเยว อิจฺฉิติจฺฉิตํ กโรติเปรียบเหมือน ลูกชายของหญิงรับใช้ ไม่สามารถ จะกระท�ำสิ่งที่มารดาต้องการได้ ท�ำสิ่งที่เจ้านายเท่านั้นต้องการแล้ว ๆ ฉันใด เอว กามตณฺหายตฺตตาย ทาสีสทิสสฺส กามาวจรกมฺมสฺส วิปากภูต จิตฺต เตน คหิตารมฺมณ อคเหตฺวา กามตณฺหารมฺมณเมว คณฺหาติ จิตที่เป็นวิบากแห่ง กามาวจรกรรม ซึ่งเหมือนกับหญิงรับใช้ เพราะเนื่องกับกามตัณหา ก็ไม่รับอารมณ์ ที่กามาวจรกรรมนั้นรับมาแล้ว ย่อมรับเฉพาะอารมณ์ของกามตัณหาเท่านั้น ฉันนั้น ฯ ทฺวาทสธาติ บทว่า ทฺวาทสธา ความว่า (สงฺคโห โหติ) ทฺวาทสธา โดยมีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๑๒ หมวด (จิตฺเตสุ) ตีสุ ในจิต ๓ ประเภท กตฺวา เพราะอธิบายความ อิติ ว่า กุสลวิปากกฺริยาเภเทสุ ปจฺเจก จตฺตาโร จตฺตาโร ทฺวิกา ในประเภทแห่งกุศลจิต วิบากจิต และกริยาจิต มีการสงเคราะห์ เป็นคู่ ประเภทละ ๔ คู่ ฯ อิทานิ บัดนี้ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อิเมสุ ปมชฺฌานิกาทีหิ ทุติยชฺฌานิกาทีนํ เภทกรธมฺเม ทสฺเสตุ หวังจะแสดงธรรม (เจตสิกธรรม) ซึ่งท� ํำ จิตทั้งหลายมีทุติยฌานิกจิตเป็นต้น ให้ต่างจากจิตทั้งหลายมีปฐมฌานิกจิตเป็นต้น


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 109 ในบรรดาเจตสิกธรรมเหล่านี้ อนุตฺตเร ฌานธมฺมาติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อนุตฺตเร ฌานธมฺมา ดังนี้เป็นต้น ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า อนุตฺตเร จิตฺเต ในโลกุตตรจิต (๘ หรือ ๔๐ ดวง) วิตกฺกวิจารปีติสุขวเสน ฌานธมฺมา มีฌานธรรม คือ วิตก วิจาร ปีติ และสุข วิเสสกา ท�ำให้แปลกกัน เภทกา คือ ท�ำให้ต่างกัน ฯ มชฺฌิเม ในมัชฌิมจิต มหคฺคเต คือในมหัคคตจิต (๒๗ ดวง) อปฺปมฺ า จ ฌานธมฺมา จ มีอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) และฌานธรรม ทั้งหลาย วิเสสกา ท�ำให้แปลกกัน ปริตฺเตสุ ในปริตตจิตทั้งหลาย กามาวจเรสุ คือ ในกามาวจรจิต (๔๕ ดวง) วิรติาณปีติจ อปฺปมฺ า จ มีวิรัติเจตสิก (๓ ประการ) ปัญญินทรีย์เจตสิก ปีติเจตสิก และอัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) วิเสสกา ท�ำให้แปลกกัน ฯ ตตฺถ บรรดาเจตสิกธรรมเหล่านั้น วิรติ วิรัติเจตสิก (๓ ประการ) กุสเลหิวิปากกฺริยานํ วิเสสกา ท�ำวิบากจิตและกิริยาจิตทั้งหลาย ให้แปลกจากกุศลจิตทั้งหลาย อปฺปมฺ า อัปปมัญญาเจตสิก (๒ ประการ) กุสลกฺริยาหิ วิปากาน วิเสสกา ท�ำวิบากจิตทั้งหลายให้แปลกจากกุศลจิต และกิริยาจิตทั้งหลาย ปน ส่วน าณปีติ ปัญญินทรีย์เจตสิกและปีติเจตสิก ตีสุ (กุสลวิปากกิริยาจิตฺเตสุ) ปมยุคลาทีหิ ทุติยยุคลาทีนํ วิเสสกา ท�ำ กามาวจรโสภณจิตคู่ที่ ๒ เป็นต้น ให้แปลกจากกามาวจรโสภณจิตคู่ที่ ๑ เป็นต้น ในบรรดากุศลจิต วิบากจิต และกิริยาจิต ๓ ประเภท ฯ ทุติเย อสงฺขาริเกติ สองบทว่า ทุติเย อสงฺขาริเก สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า อฺ สมานา อัญญสมานาเจตสิก (๑๓ ประการ) อกุสลสาธารณา จ และอกุศลสาธารณเจตสิก (๔ ประการ) โลภมาเนน รวมกับโลภเจตสิกและมานเจตสิก เอกูนวีสติธมฺมา เป็นธรรม ๑๙ ประการ ตเถว ก็เหมือนกัน (สงฺคหํ คจฺฉนฺติ) คือ ย่อมถึง การรวมเข้า ทิฏฺิวิปฺปยุตฺเต อสงฺขาริเก ในโลภมูลจิตที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุต ซึ่งเป็นอสังขาริก ฯ ตติเยติ บทว่า ตติเย ได้แก่ อุเปกฺขาสหคตทิฏฺิคตสมฺปยุตฺเต อสงฺขาริเก ในโลภมูลจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเป็นทิฏฐิสัมปยุตซึ่งเป็น อสังขาริก ฯ จตุตฺเถติ บทว่า จตุตฺเถ ได้แก่ ทิฏฺิวิปฺปยุตฺเต อสงฺขาริเก


110 ปริเฉทที่ ๒ ในโลภมูลจิตที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตซึ่งเป็นอสังขาริก ฯ อธิปฺปาโย อธิบายความ อิติ ว่า ปน ก็ (ปณฺฑิเตน) บัณฑิต โยเชตพฺพานิ พึงประกอบ อิสฺสามจฺเฉรกุกฺกุจฺจานิ อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก (ปจฺเจกเมว) แต่ละประการ เท ่านั้น (เอตฺถ) เข้าในโทสมูลจิตที่เป็นปฏิฆสัมปยุต ซึ่งเป็นอสังขาริกนี้ ภินฺนาลมฺพนตฺตาเยว เพราะเจตสิกธรรมเหล่านั้นมีอารมณ์ต่างกันนั่นเอง ฯ อธิโมกฺขสฺส นิจฺฉยาการปฺปวตฺติโย เพราะอธิโมกข์เจตสิก เป็นไปโดยอาการที่ ตกลงใจแน่นอน เทฺวฬฺหกสภาเว วิจิกิจฺฉาจิตฺเต สมฺภโว นตฺถิอธิโมกข์เจตสิก นั้น จึงไม่เกิดมีในจิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก ซึ่งมีสภาวะเป็น ๒ ฝ่าย อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำ อธิโมกฺขวิรหิตาติว่าอธิโมกฺขวิรหิตา ดังนี้ ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อกุสเล ในอกุศลจิต (๑๒ ดวง) (ธมฺมา) มีเจตสิกธรรมทั้งหลาย สตฺตธา ิตา ด�ำรงอยู่โดย ๗ หมวด เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ เอกูนวีสติ (ธมฺมา) ปมทุติยอสงฺขาริเกสุ (ตา) ในโลภมูลจิต ที่เป็นอสังขาริกดวงที่ ๑ และดวงที่ ๒ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๙ ประการ หมวด ๑ อฏฺารส (ธมฺมา) ตติยจตุตฺถอสงฺขาริเกสุ (ตา) ในโลภมูลจิตที่เป็น อสังขาริกดวงที่ ๓ และดวงที่ ๔ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๘ ประการ หมวด ๑ วีส (ธมฺมา) ปฺ จเม อสงฺขาริเก (ตา) ในโทสมูลจิตที่เป็นอสังขาริกดวงที่ ๕ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๒๐ ประการ หมวด ๑ เอกวีส (ธมฺมา) ปมทุติยสสงฺขาริเกสุ (ตา) ในโลภมูลจิตที่เป็นสสังขาริกดวงที่ ๑ และดวงที่ ๒ มีเจตสิกธรรม ดวงละ ๒๑ ประการ หมวด ๑ วีสติ(ธมฺมา) ตติยจตุตฺถสสงฺขาริเกสุ (ตา) ในโลภมูลจิตที่เป็นสสังขาริกดวงที่ ๓ และดวงที่ ๔ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๒๐ ประการ หมวด ๑ ทฺวาวีส (ธมฺมา) ปฺ จเม สสงฺขาริเก (ตา) ในโทสมูลจิต ที่เป็นสสังขาริกดวงที่ ๕ มีเจตสิกธรรมดวงละ ๒๒ ประการ หมวด ๑ ปณฺณรส (ธมฺมา) โมมูหทฺวเย (ิตา) ในโมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๕ ประการ หมวด ๑ ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า เอเต จุทฺทส ธมฺมา ธรรม


พระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ แปล 111 (คือ เจตสิกธรรม) ๑๔ ประการเหล่านี้ อิติ คือ สาธารณา อกุสลาน สพฺเพสเมว สาธารณภูตา จตฺตาโร (ธมฺมา) เจตสิกธรรม ที่มีทั่วไป ได้แก่ ซึ่งเป็นสภาวะที่มี ทั่วไปแก่อกุศลจิตครบทุกดวง ๔ ประการ สมานา จ ฉนฺทปีติอธิโมกฺขวชฺชิตา อฺ สมานา อปเร ทสา (ธมฺมา) และเจตสิกธรรมที่มีเสมอกัน คือ มีเสมอกับ ธรรมอื่น เว้นฉันทเจตสิก ปีติเจตสิก และอธิโมกข์เจตสิกอื่นอีก ๑๐ ประการ (ปณฺฑิเตน) บัณฑิต ปวุจฺจนฺติ กล่าวว่า สพฺพากุสลโยคิโนติเป็นเจตสิกธรรมที่ ประกอบกับอกุศลจิตได้ทุกดวง (๑๒ ดวง) ฯ ตถาติ อิมินา ด้วยค�ำว่า ตถา นี้ (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ปจฺจามสติ ย่อมมุ่ง อฺ สมาเน เฉพาะ อัญญสมานาเจตสิก ฯ มโนธาตุ ธรรมชาติที่ชื่อว่ามโนธาตุ มโนวิฺ าณธาตุยา วิย วิสิฏฺมนนกิจฺจาโยคโต มนนมตฺตา ธาตูติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ธาตุอัน เป็นเพียงความรู้ เพราะไม่ประกอบด้วยหน้าที่ คือความรู้พิเศษเหมือนกับ มโนวิญญาณธาตุ ฯ อเหตุกปฏิสนฺธิยุคเลติ บทว่า อเหตุกปฏิสนฺธิยุคเล ได้แก่ อุเปกฺขาสนฺตีรณทฺวเย ในสันตีรณจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ๒ ดวง ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ อิติ ว่า อฏฺารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ ในจิตตุปบาทที่เป็นอเหตุกะ ๑๘ ดวง สงฺคโห จตุพฺพิโธ โหติ มีการรวบรวม เจตสิกธรรมไว้ ๔ หมวด อิติ คือ ทฺวาทส (ธมฺมา) หสนจิตฺเต (โหนฺติ) ใน หสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) มีเจตสิกธรรม ๑๒ ประการ หมวด ๑ เอกาทส (ธมฺมา) โวฏฺพฺพนสุขสนฺตีรเณสุ (โหนฺติ) ในมโนทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) และสันตีรณจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา (๑ ดวง) มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๑ ประการ หมวด ๑ ทส (ธมฺมา) มโนธาตุติกาเหตุกปฏิสนฺธิยุคลวเสน ปฺ จสุ (โหนฺติ) ในจิต ๕ ดวง คือ มโนธาตุจิต ๓ ดวง และอเหตุกปฏิสนธิจิต ๒ ดวง มีเจตสิกธรรมดวงละ ๑๐ ประการ หมวด ๑ สตฺต (ธมฺมา) ทฺวิปฺ จวิฺ าเณสุ (โหนฺติ) ในปัญจวิญญาณจิตทั้ง ๒ ฝ่าย (๑๐ ดวง) มีเจตสิกธรรมดวงละ ๗ ประการ หมวด ๑ ฯ เตตฺตึสวิธสงฺคหาติ บาทคาถาว่า เตตฺตึสวิธสงฺคหา ความว่า เตตฺตึสวิธา สงฺคหา มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้


112 ปริเฉทที่ ๒ ๓๓ หมวด อิติ คือ อนุตฺตเร ปฺ จ ในโลกุตตรจิต (๘ หรือ ๔๐ ดวง) มีการ รวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๕ หมวด ตถา มหคฺคเต ในมหัคคตจิต (๒๗ ดวง) ก็เหมือนกัน คือ มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๕ หมวด กามาวจรโสภเณ ทฺวาทส ในกามาวจรโภณจิต (๒๔ ดวง) มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๑๒ หมวด อกุสเล สตฺต ในอกุศลจิต (๑๒ ดวง) มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๗ หมวด อเหตุเก จตฺตาโร ในอเหตุกจิต (๑๘ ดวง) มีการรวบรวมเจตสิกธรรมไว้ ๔ หมวด ฯ (ปณฺฑิโต) บัณฑิต ตฺวา ทราบ จิตฺตปริจฺเฉทวเสน วุตฺตํ สมฺปโยคฺ จ สัมปโยค ที่ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดจิต เจตสิกราสิปริจฺเฉทวเสน วุตฺต สงฺคหฺ จ และสังคหะที่กล่าวไว้ด้วยอ�ำนาจแห่งการก�ำหนดหมวดแห่ง เจตสิกธรรม จิตฺตาวิยุตฺตานํ แห่งสภาวธรรมทั้งหลายที่ไม่พรากกับจิต เจตสิกานํ คือ แห่งเจตสิกธรรมทั้งหลาย อิตฺถ ด้วยประการฉะนี้ ํยถาวุตฺตนเยน คือ โดยนัย ตามที่กล่าวมาแล้ว จิตฺเตน สมํ เภทํ อุทฺทิเส พึงยกประเภท (แห่งเจตสิกธรรม เหล่านั้น) ขึ้นแสดงให้เท่ากับจิต ยถาโยค ตามที่ประกอบได้ ฯ ํ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า (ปณฺฑิโต) บัณฑิต กเถยฺย พึงกล่าว อิติอาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า ตาว อันดับแรก สตฺต สพฺพจิตฺตสาธารณา เจตสิกธรรม ๗ ประการ ซึ่งมีทั่วไปกับ จิตทุกดวง เอกูนนวุติจิตฺเตสุ อุปฺปชฺชนโต ปจฺเจก เอกูนนวุติวิธา มีอย่างละ ๘๙ ประการ เพราะเกิดขึ้นในจิต ๘๙ ดวง ปกิณฺณเกสุ วิตกฺโก บรรดา ปกิณณกเจตสิก (๖ ประการ) วิตกเจตสิก ปฺ จปฺ าสจิตฺเตสุ อุปฺปชฺชนโต ปฺ จปฺ าสวิโธ มี ๕๕ ประการ เพราะเกิดขึ้นในจิต ๕๕ ดวง ดังนี้ ฯ อิติอภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ทุติยปริจฺเฉทวณฺณนา นิฏฺิตา ฯ พรรณนาความปริเฉทที่ ๒ ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี จบแล้ว ด้วยประการฉะนี้ ฯ โดยพระมหารุ่งสุริยา สุเมโธ ป.ธ.๙ ส�ำนักเรียนวัดเทพลีลา กทม.


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 113 ตติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๓ (ปกิณณกสังคหวิภาค) อิทานิ บัดนี้ (ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ทสฺเสตุ หวังจะแสดง ปกิณฺณกสงฺคหํ การรวบรวมข้อเบ็ดเตล็ด จิตฺตเจตสิกาน แห่งจิตและเจตสิก ํยถาวุตฺตาน ตามที่ กล่าวแล้ว เวทนาทิวิภาคโต โดยการจ�ำแนกข้อเบ็ดเตล็ดมีเวทนาเป็นต้น ตตเวทนาทิเภทภินฺนจิตฺตุปฺปาทวิภาคโต จ และโดยการจ�ำแนกจิตตุปบาท ซึ่งต่างกันโดยความต่างกันแห่งข้อเบ็ดเตล็ดมีเวทนาเป็นต้นนั้น ๆ สมฺปยุตฺตา ยถาโยคนฺติอาทิมารทฺธ จึงเริ่มค�ำว่า สมฺปยุตฺตา ยถาโยคํ ดังนี้เป็นต้น ฯ อตฺโถ มีอธิบายความ อิติ ว่า จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา ธรรมคือจิตและเจตสิก ยถาโยค สมฺปยุตฺตา ที่ประกอบกันตามที่ประกอบได้ เตปฺ าส โหนฺติย่อมมี ๕๓ ประการ สภาวโต โดยสภาวะ อตฺตโน อตฺตโน สภาววเสน คือ ด้วยอ�ำนาจสภาวะของตน ๆ อิติอาทินา ได้แก่ โดยสภาวะคือ เอกูนนวุติวิธมฺปิจิตฺต จิตแม้ทั้ง ๘๙ ดวง เอกวิธ ก็มีอย่างเดียว ํอารมฺมณวิชานนสภาวสามฺ เน โดยมีความรู้แจ้งอารมณ์ เหมือนกัน ผสฺโส ผัสสเจตสิก สพฺพจิตฺตสาธารโณ เกิดมีทั่วไปแก่จิตทุกดวง เอกวิโธ ก็อย่างเดียว ผุสนภาเวน โดยภาวะที่ถูกต้องอารมณ์เป็นต้น ฯ อิทานิ บัดนี้ นียเต ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) จักแนะน�ำ สงฺคโห นาม ชื่อสังคหะ เวทนาสงฺคหาทินามโก ปกิณฺณกสงฺคโห คือการรวบรวมข้อเบ็ดเตล็ดที่ชื่อว่า เวทนาสังคหะ เป็นต้น เตส ธมฺมานํ แห่งธรรมทั้งหลายเหล่านั้น เวทนา ฯเปฯ วตฺถุโต โดยเวทนาสังคหะ เหตุสังคหะ กิจจสังคหะ ทวารสังคหะ อารัมมณสังคหะ และวัตถุสังคหะ จิตฺตุปฺปาทวเสเนว ด้วยอ�ำนาจจิตตุปบาท เท่านั้น ตตเวทนาทิเภทภินฺนจิตฺตุปฺปาทาน วเสเนว คือด้วยอ�ำนาจ จิตตุปบาท ที่ต่างกัน โดยความต่างกันแห่งข้อเบ็ดเตล็ดมีเวทนาเป็นต้นนั้น ๆ เท่านั้น ยถารหํ


114 ปริเฉทที่ ๓ ตามสมควร น นียเต ย่อมไม่แนะน�ำ อุปนียเต คือเข้าไปแนะน�ำ อาหริยติ ได้แก่ ประมวล ตํวิรเหน โดยเว้นจากจิตตุปบาทนั้น กตฺถจิ ในกาลไหน ๆ ฯ ตตฺถาติ บทว่า ตตฺถ เตสุ ฉสุ สงฺคเหสุ ได้แก่บรรดาสังคหะ ๖ หมวดเหล่านั้น ฯ (อธิบายเวทนาสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวม สุขาทิเวทนานํ เวทนามีสุขเวทนาเป็นต้น ตํสหคตจิตฺตุปฺปาทานฺ จ และจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยเวทนามีสุขเวทนาเป็นต้นนั้น วิภาควเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการจ�ำแนก เวทนาสงฺคโห ชื่อว่าเวทนาสังคหะ ฯ อฺ า เวทนาอื่น ทุกฺขโต จ สุขโต จ จากทุกขเวทนา และสุขเวทนา อทุกฺขมสุขาติ ชื่อว่า อทุกขมสุขเวทนา มการาคมวเสน ด้วยอ�ำนาจลง ม อาคม ฯ ปุจฺฉา ถามว่า วจนโต จ ก็เพราะพระพุทธพจน์ อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เทฺวมา เวทนามี ๒ ประการ เหล่านี้ อิติ คือ สุขา สุขเวทนา ทุกฺขา ทุกขเวทนา ดังนี้เป็นต้น นนุ เทฺว เอว เวทนา เวทนามีเพียง ๒ ประการเท่านั้น มิใช่หรือ ฯ วิสชฺชนา ตอบว่า สจฺจ ค� ํำที่ท่านกล่าวแล้วนี้เป็นความจริง ตมฺปน แต่พระพุทธพจน์นั้น สงฺคเหตฺวา วุตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสรวบรวม อทุกฺขมสุขํ อทุกขมสุขเวทนา อนวชฺชปกฺขิก ซึ่งอยู่ในฝ่ายที่ไม่มีโทษ ํสุขเวทนายเข้าในสุขเวทนา สาวชฺชปกฺขิกฺ จ และรวม อทุกขมสุขเวทนา ซึ่งอยู่ในฝ่ายที่มีโทษ ทุกฺขเวทนาย เข้าในทุกขเวทนา ฯ ํ ยมฺปิวจนํ แม้พระพุทธพจน์ใด กตฺถจิ สุตฺเต ในบางพระสูตร ยงฺกิฺ จิเวทยิตํ อิติ ว่า ความเสวยอารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง อิทํ เอตฺถ ทุกฺขํ อสฺส นี้ พึงเป็น ทุกข์ในที่นี้ ดังนี้เป็นต้น ตํ พระพุทธพจน์นั้น วุตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสไว้ สพฺพเวทนาน ทุกฺขสภาวตฺตา เพราะเวทนาทั้งปวงมีสภาวะเป็นทุกข์ สงฺขารทุกฺขตาย โดยเป็นทุกข์ประจ�ำสังขาร ฯ ยถาห สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า อานนฺท ดูก่อนอานนท์ วจนํ ค�ำ อิติ ว่า เวทยิตํ การเสวยอารมณ์ ยงฺกิฺ จิ อย่างใดอย่างหนึ่ง อิทํ นี้ ทุกฺขํ อสฺส พึงเป็นทุกข์ เอตฺถ ในที่นี้ ดังนี้เป็นต้น มยา ภาสิตํ เรากล่าว สนฺธาย หมายถึง สงฺขารานิจฺจต ความไม่เที่ยงแห่งสังขาร


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 115 สงฺขารวิปริณามตฺ จ และความแปรปรวนแห่งสังขาร ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ทฏฺพฺพา บัณฑิตพึงเห็น ติสฺโสเยว เวทนาติ ว่าเวทนามี ๓ ประการเท่านั้น ฯ เตนาห ภควา เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัส อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ติสฺโส อิมา เวทนา เวทนามี ๓ ประการ เหล่านี้ คือ สุขา สุขเวทนา ทุกฺขา ทุกขเวทนา อทุกฺขมสุขา อทุกขมสุขเวทนา ดังนี้เป็นต้น ฯ ติวิธาปิ ปเนตา ก็ เวทนาแม้ทั้ง ๓ ประการเหล่านี้ เอว ดังพรรณนามาฉะนี้ ํ อินฺทฺริยเทสนาย ในอินทริยเทศนา ปฺ จธา เทสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงไว้ ๕ ประการ อิติ คือ สุขินฺทฺริยํ สุขินทรีย์ ทุกฺขินฺทฺริยํ ทุกขินทรีย์ โสมนสฺสินฺทฺริยํ โสมนัสสินทรีย์ โทมนสฺสินฺทฺริย โทมนัสสินทรีย์ ํ อุเปกฺขินฺทฺริยํ อุเปกขินทรีย์ อิติ เพราะเหตุนั้น ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดง วิภาคํ การจ�ำแนก ตวเสนําปิ เวทนาทั้งหลาย แม้ด้วยอ�ำนาจอินทรียธรรมนั้น เอตฺถ ในเวทนาสังคหะ นี้ วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวค�ำ สุขํ สุขเวทนา ทุกฺขํ ทุกขเวทนา อิติ อาทิ ว่าดังนี้ เป็นต้น ฯ หิ ความจริง วิภเชตฺวา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงจ�ำแนก สุขํ ทุกฺขฺ จ สุขเวทนาและทุกขเวทนา ปจฺเจกํ ทฺวิธา ออกเป็น อย่างละ ๒ ประการ กายิกมานสิกสาตาสาตเภทโต เพราะความต่างกัน แห่งความสุขทางกายและความสุขทางใจ และความทุกข์ทางกายความทุกข์ทางใจ เทสิตา แล้วแสดงเวทนาไว้ อิติ ว่า สุขินฺทฺริยํ สุขินทรีย์ โสมนสฺสินฺทฺริยํ โสมนัสสินทรีย์ ทุกฺขินฺทฺริยํ ทุกขินทรีย์ โทมนสฺสินฺทฺริยํ โทมนัสสินทรีย์ ฯ อุเปกฺขา ปน ส่วนอุกเปกขาเวทนา เอกธาว ทรงแสดงไว้ประการเดียวเท่านั้น อิติ ว่า อุเปกฺขินฺทฺริย อุเปกขินทรีย์ ํ เภทาภาวโต เพราะไม่มีความต่างกัน ฯ หิ เหมือนอย่างว่า สุขทุกฺขานิ อฺ ถา กายสฺส อนุคฺคหมุปฆาตฺ จ กโรนฺติ อฺ ถา มนโส สุขเวทนา ย่อมท�ำความอนุเคราะห์แก่ร่างกายอย่างหนึ่ง และย่อมท�ำความอนุเคราะห์ แก่ใจอีกอย่างหนึ่ง ทุกขเวทนา ย่อมท�ำความเบียดเบียน แก่ร่างกายอย่างหนึ่ง และย่อมท�ำความเบียดเบียนแก่ใจอีกอย่างหนึ่ง ยเถว ฉันใด น เอวมุเปกฺขา อุเปกขาเวทนา หาท�ำฉันนั้นไม่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น สา อุเบกขาเวทนานั้น


116 ปริเฉทที่ ๓ เอกธาว เทสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงไว้ เพียงประการเดียวเท่านั้น ฯ เตน เพราะเหตุนั้น โปราณา พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงกล่าว อิติ ว่า อินฺทฺริยเภทโต ว่าโดยประเภทแห่งอินทรียธรรม ปญฺจธา เวทนาย่อม มี ๕ ประการ อิติ คือ กายิก สุขํ จ สุขเวทนาทางกาย ๑ มานส สุขํ จ สุขเวทนาทางใจ ๑ กายิกํ ทุกฺข จ ทุกขเวทนาทางกาย ๑ มานสํ ทุกฺขํ จ ทุกขเวทนาทางใจ ๑ อุเปกฺขาเวทนา อุเปกขาเวทนา เอกมานสํเอว จ มีเฉพาะทางใจ อย่างเดียวเท่านั้น ๑ ฯ ตตฺถ ในบรรดาเวทนา ๕ นั้น สุขํ สุขเวทนา อิฏฺโผฏฺพฺพานุภวนลกฺขณ มีลักษณะเสวยโผฏฐัพพารมณ์ที่น่าปรารถนา ฯ ทุกฺขํ ทุกขเวทนา อนิฏฺโผฏฺพฺพานุภวนลกฺขณํ มีลักษณะเสวยโผฏฐัพพารมณ์ที่ไม่น่าปรารถนา ฯ โสมนสฺส โสมนัสสเวทนา อิฏฺานุภวนลกฺขณ มีลักษณะเสวยอิฏฐารมณ์ ํ สภาวโต ปริกปฺปโต วา โดยสภาวะ หรือโดยปริกัป ฯ โทมนสฺสํ โทมนัสสเวทนา อนิฏฺานุภวนลกฺขณํ มีลักษณะเสวยอนิฏฐารมณ์ ตถา เหมือนอย่างนั้น คือโดยสภาวะ หรือโดยปริกัปป์ ฯ อุเปกฺขา อุเปกขาเวทนา มชฺฌตฺตานุภวนลกฺขณา มีลักษณะเสวยอารมณ์ที่เป็น กลาง ฯ จตุจตฺตาฬีส มหัคคตจิตและโลกุตตรจิต ชื่อว่ามี ๔๔ ดวง ปจฺเจกํ โลกิยโลกุตฺตรเภเทน เอกาทสวิธตฺตา เพราะแต่ละอย่างมีอย่างละ ๑๑ ดวง โดยความต่างกันแห่งฌานที่เป็นโลกิยะ (๓ ดวง) และฌานที่เป็นโลกุตตระ (๘ ดวง) ฯ เสสานีติ บทว่าเสสานิ อวเสสานิ ความว่าจิตทั้งหลายที่เหลือ สุขทุกฺขโสมนสฺสโทมนสฺสสหคเตหิ จากจิตที่สหรคตด้วยสุขเวทนา (๑ ดวง) ที่สหรคตด้วยทุกขเวทนา (๑ ดวง) ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา (๖๒ ดวง) และ สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา (๒ ดวง) สพฺพานิปิ แม้ทั้งหมด ปฺ จปฺ าส มี ๕๕ ดวง อิติ คือ อกุสลโต ฉ จิตที่เหลือจากฝ่ายอกุศลจิต ๖ ดวง อเหตุกโต จุทฺทส จิตที่เหลือจากฝ่ายอเหตุกจิต ๑๔ ดวง กามาวจรโสภณโต ทฺวาทส จิตที่เหลือจากกามาวจรโสภณจิต ๑๒ ดวง ปฺ จมชฺฌานิกานิเตวีสา จิตที่เกิด ในปัญจมฌาน ๒๓ ดวง ฯ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 117 (อธิบายเหตุสังคหะ) โลภาทิเหตูน สงฺคโห การรวบรวมเหตุธรรมมีโลภเหตุเป็นต้น วิภาควเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการจ�ำแนก ตสมฺปยุตฺตาทีน วเสน จ และด้วยอ�ำนาจแห่งธรรมที่ ประกอบด้วยเหตุธรรมมีโลภเหตุเป็นต้นนั้นเป็นอาทิ เหตุสงฺคโห ชื่อว่า เหตุสังคหะ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อความ อิติ ว่า เหตุโย นาม ชื่อว่าเหตุธรรม ฉพฺพิธา ภวนฺติมี ๖ ประการ ฯ ปน ก็ เหตุภาโว ความเป็นเหตุ เนส มูลภาโว คือ ความที่เหตุธรรม (๖ ประการ) เหล่านั้น เป็นมูลราก สมฺปยุตฺตาน สุปติฏฺิตภาวสาธนสงฺขาโต กล่าวคือความท�ำสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย ให้ส�ำเร็จความด�ำรงมั่น ด้วยดี ฯ หิ ความจริง ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ลทฺธเหตุปจฺจยา ได้เหตุปัจจัยแล้ว ถิรา โหนฺติ ย่อมเป็นสภาวะที่มั่นคง วิรุฬฺหมูลา วิย เปรียบเสมือนต้นไม้ทั้งหลาย ที่มีราก งอกงามแล้วย่อมมั่นคง ฉะนั้น น อเหตุกา วิย หาเป็นเหมือนธรรมที่ไม่มีเหตุ ชลตเล เสวาลสทิสา เช่นกับสาหร่ายบนพื้นน�้ำไม่ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะ อธิบายความดังกล่าวมาอย่างนี้ เอเต เหตุธรรม ๖ ประการ เหล่านี้ มูลานีติ วุจฺจนฺติ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกว่า เป็นมูลราก มูลสทิสตาย เพราะเป็น เช่นกับมูลราก ฯ อปเร ปน ส่วนอาจารย์อีกพวกหนึ่ง วทนฺติ กล่าว อิติ ว่า กุสลาทีนํ กุสลาทิภาวสาธนํ ความท�ำธรรมทั้งหลายมีกุศลธรรมเป็นต้น ให้ส�ำเร็จ เป็นกุศลธรรมเป็นต้น เหตุภาโว ชื่อว่า ความเป็นเหตุ ฯ เอวํ สติ เมื่อเป็น อย่างนั้น อฺ โ เหตุ มคฺคิตพฺโพ สิยา บัณฑิต พึงค้นหาเหตุอื่น เหตูนํ อตฺตโน กุสลาทิภาวสาธโน ที่ท�ำตัวของเหตุทั้งหลาย ให้ส�ำเร็จเป็นกุศลธรรม เป็นต้น ฯ อถ เตสํ กุสลาทิภาโว ถ้าความที่เหตุเหล่านั้นเป็นกุศลธรรมเป็นต้น เสสสมฺปยุตฺตเหตุปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยสัมปยุตเหตุธรรมที่เหลือไซร้ เอวมฺปิ แม้เมื่อเป็นอย่างนั้น โมมูหจิตฺตสมฺปยุตฺตสฺส เหตุโน อกุสลภาโว ความที่เหตุธรรม สัมปยุตด้วยโมหมูลจิต อปฺปฏิพทฺโธ สิยา ก็จะไม่พึงเนื่องกัน ฯ อถสฺส สภาวโต กุสลภาโว สิยา ถ้าเหตุธรรมนั้น พึงเป็นกุศลธรรมได้ตามสภาวะไซร้ เอว สติ เมื่อเป็นเช่นนั้น เสสเหตูนมฺปิ แม้เหตุธรรมที่เหลือทั้งหลาย อกุสลาทิภาโว ก็พึงเป็น


118 ปริเฉทที่ ๓ อกุศลธรรมเป็นต้นได้ สภาวโต ตามสภาวะ อิติ เพราะเหตุนั้น สมฺปยุตฺตธมฺมานมฺปิ กุสลาทิภาโว แม้สัมปยุตธรรมทั้งหลาย เป็นกุศลธรรมเป็นต้นได้ เตสํ วิย เหมือนอย่างเหตุธรรมทั้งหลายเหล่านั้น โส นั้น เหตุปฏิพทฺโธ น สิยา ก็จะไม่พึง เนื่องด้วยเหตุธรรม ฯ ยทิ จ ก็ ถ้า กุสลาทิภาโว ภาวะที่สัมปยุตตธรรมทั้งหลาย เป็นกุศลธรรมเป็นต้น เหตุปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยเหตุธรรมไซร้ ตทา ในกาลนั้น อเหตุกาน อพฺยากตภาโว น สิยา อเหตุกจิต (๑๘ ดวง) ทั้งหลาย ก็จะไม่พึง เป็นอัพยากฤต อิติ เพราะเหตุนั้น อลมติปีฬเนน พอทีอย่าบีบคั้นกันมากนัก ฯ ปน อนึ่ง กุสลากุสลานํ กุสลาทิภาโว ความที่กุศลธรรมและอกุศลธรรมทั้งหลาย เป็นกุศลธรรมเป็นต้น โยนิโสอโยนิโสมนสิการปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยโยนิโสมนสิการ และอโยนิโสมนสิการ ฯ ยถาห สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ อิติ ว่า ภิกฺขเว ดูกรภิกษุทั้งหลาย มนสิกโรโต เมื่อบุคคลกระท�ำไว้ในใจ โยนิโส โดยอุบาย อันแยบคาย อนุปฺปนฺนา กุสลา ธมฺมา อุปฺปชฺชนฺติ เจว กุศลธรรมทั้งหลาย ที่ยังไม่เกิด ย่อมเกิดขึ้น อุปฺปนฺนา กุสลา ธมฺมา อภิวฑฺฒนฺติ จ และกุศลธรรม ทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญยิ่งขึ้น อาทิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิต พึงเห็นความหมาย อิติ ว่า ปน ก็ อพฺยากตานํ อพฺยากตภาโว ความที่อัพยากตธรรม ทั้งหลาย เป็นอัพยากฤต นิรานุสยสนฺตานปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยสันดานที่ปราศจาก อนุสัยกิเลส (คือ สันดานของพระขีณาสพ) กมฺมปฏิพทฺโธ เนื่องด้วยกรรม อวิปากสภาวปฏิพทฺโธ จ และเนื่องด้วยสภาวะที่หาวิบากมีได้ ดังนี้ ฯ อิทานิ บัดนี้ เหตูนํ ชาติเภทํ ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะแสดง ความต่างกันโดยชาติแห่งเหตุทั้งหลาย โลโภ โทโส จาติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า โลโภ โทโส จ ดังนี้เป็นต้น ฯ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 119 (อธิบายกิจจสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวม ปฏิสนฺธาทีน กิจฺจานํ กิจทั้งหลายมีปฏิสนธิกิจเป็นต้น วิภาควเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการจ�ำแนก ตกิจฺจวนฺต ํานฺ จ และซึ่งจิตทั้งหลาย ซึ่งมี กิจนั้น ปริจฺเฉทวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการก�ำหนด กิจฺจสงฺคโห ชื่อว่ากิจจสังคหะ ฯ ปฏิสนฺธานํ การสืบต่อ ภวสฺส แห่งภพ ภวโต จากภพ ปฏิสนฺธิกิจฺจํ ชื่อว่า ปฏิสนธิกิจ ฯ องฺคภาโว ความเป็นองค์ ภวสฺส แห่งภพ อวิจฺเฉทปวตฺติเหตุภาเวน โดยความเป็นเหตุเป็นไปไม่ขาดสาย ภวงฺคกิจฺจํ ชื่อว่า ภวังคกิจ ฯ โยเชตพฺพานิ บัณฑิตพึงประกอบ อาวชฺชนกิจฺจาทีนิ อาวัชชนกิจเป็นต้น ยถารหํ ตามสมควร เหฏฺาวุตฺตวจนตฺถานุสาเรน โดยท�ำนองแห่งเนื้อความแห่งค�ำตามที่กล่าวแล้วในหนหลัง ฯ ปวตฺติ ความเป็นไปของจิต อารมฺมเณ อเนกกฺขตฺตุํ เอกกฺขตฺตุํ วา ชวมานสฺส วิย ดุจแล่นไปในอารมณ์นั้น มากครั้ง หรือครั้งเดียว ตํตํกิจฺจสาธนวเสน ด้วย อ�ำนาจยังกิจนั้น ๆ ให้ส�ำเร็จได้ ชวนกิจฺจ ชื่อว่า ชวนกิจ ฯ ํตตํ ชวนคฺคหิต ํารมฺมณสฺส อารมฺมณกรณํ การท�ำอารมณ์ที่ชวนกิจนั้น ๆ รับมาแล้ว ให้เป็นอารมณ์ ตทารมฺมณกิจฺจํ ชื่อว่า ตทาลัมพนกิจ ฯ นิพฺพตฺตภวโต ปริคฬนํ การเคลื่อนจาก ภพที่บังเกิดแล้ว จุติกิจฺจํ ชื่อว่าจุติกิจ ฯ ปน ก็ อิมานิ กิจฺจานิ กิจเหล่านี้ ปากฏานิโหนฺติย่อมปรากฏ านวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งฐาน อิติ เพราะเหตุนั้น อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หวังจะแสดง ตํ ฐานนั้น ปเภทโต โดยประเภท วุตฺตํ จึงกล่าว วจนํ ค�ำ ปฏิสนฺธิ อิติ อาทิ ว่า ปฏิสนฺธิ ดังนี้ เป็นต้น ฯ ตตฺถ ในค�ำว่า ปฏิสนฺธิ เป็นต้นนั้น พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้ านํ ฐาน ปฏิสนฺธิยา แห่งปฏิสนธิ ปฏิสนฺธิฏฺาน ชื่อว่าปฏิสนธิฐาน ฯ ํ านํ นาม ชื่อว่าฐาน ปฏิสนฺธิวินิมุตฺต ที่พ้นจากปฏิสนธิฐาน ํ นตฺถิ ย่อมไม่มี กาม ก็จริง ํ ปน ถึงอย่างนั้น สุขคฺคหณตฺถํ เพื่อความเข้าใจง่ายขึ้น ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมาย อิติ ว่า อเภเทปิ แม้เมื่อมีความเข้าใจไม่ต่างกัน เภทปริกปฺปนา ก็มีการก�ำหนดความต่างกันไว้ สิลาปุตฺตกสฺส สรีรนฺติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า ร่างของลูกหินเล็กๆ ฯ เอวํ เสเสสุปิแม้ในฐานที่เหลือ ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ าน ฐาน ํทสฺสนาทีนํ ปฺ จนฺนํ


120 ปริเฉทที่ ๓ วิฺ าณานํ แห่งวิญญาณ ๕ มีทัสสนะเป็นต้น ปฺ จวิฺ าณฏฺานํ ชื่อว่า ปัญจวิญญาณฐาน ฯ อาทิสทฺเทน ด้วยอาทิศัพท์ สงฺคโห จึงมีการรวบรวม สมฺปฏิจฺฉนฺนาทีนํ ฐานทั้งหลายมีสัมปฏิจฉันนฐานเป็นต้น ฯ ตตฺถ ในฐาน ๑๐ นั้น านํ ฐาน อนฺตรา ระหว่าง จุติภวงฺคานํ จุติกิจกับ ภวังคกิจ ปฏิสนฺธิฏฺานํ ชื่อว่า ปฏิสนธิฐาน ฯ ปฏิสนฺธิอาวชฺชนานํ ฐานระหว่าง ปฏิสนธิกิจกับอาวัชชนกิจ ๑ ชวนาวชฺชนานํ ระหว่างชวนกิจกับอาวัชชนกิจ ๑ ตทารมฺมณาวชฺชนาน ระหว่างตทาลัมพนกิจกับอาวัชชนกิจ ๑ ํ โวฏฺพฺพนาวชฺชนานํ ระหว่างโวฏฺฐัพพนกิจกับอาวัชชนกิจ ๑ กทาจิ บางคราว ชวนจุตีน ระหว่างชวนกิจกับ ํ จุติกิจ ๑ ตทารมฺมณจุตีนฺ จ อนฺตรา ระหว่างตทาลัมพนกิจกับจุติกิจ ๑ ภวงฺคฏฺานํ ชื่อว่า ภวังคฐาน ฯ ภวงฺคปฺ จวิฺ าณาน ฐานระหว่างภวังคกิจกับปัญจวิญญาณกิจ ๑ ํ ภวงฺคชวนานฺ จ อนฺตรา ระหว่างภวังคกิจกับชวนกิจ ๑ อาวชฺชนฏฺานํ ชื่อว่า อาวัชชนฐาน ฯ ปฺ จทฺวาราวชฺชนสมฺปฏิจฺฉนฺนานํ อนฺตรา ฐานระหว่างปัญจทวาราวัชชนกิจกับสัมปฏิจฉันนกิจ ปฺ จวิฺ าณฏฺานํ ชื่อว่า ปัญจวิญญาณฐาน ฯ ปฺ จวิฺ าณสนฺตีรณานมนฺตรา ฐานระหว่างปัญจวิญญาณกิจกับสันตีรณกิจ สมฺปฏิจฺฉนฺนฏฺาน ชื่อว่า สัมปฏิจฉันนฐาน ฯ ํ สมฺปฏิจฺฉนฺนโวฏฺพฺพนานมนฺตรา ฐานระหว่างสัมปฏิจฉันนกิจกับโวฏฐัพพนกิจ สนฺตีรณฏฺานํ ชื่อว่าสันตีรณฐาน ฯ สนฺตีรณชวนานํ ฐานระหว่างสันตีรณกิจกับชวนกิจ ๑ สนฺตีรณภวงฺคานฺ จ อนฺตรา ระหว่างสันตีรณกิจกับภวังคกิจ ๑ โวฏฺพฺพนฏฺาน ชื่อว่า โวฏฐัพพนฐาน ฯ ํ โวฏฺพฺพนตทารมฺมณานํ ฐานระหว ่างโวฏฐัพพนกิจกับ ตทาลัมพนกิจ ๑ โวฏฺพฺพนภวงฺคานํ ระหว่างโวฏฐัพพนกิจกับภวังคกิจ ๑ โวฏฺพฺพนจุตีนํ ระหว่างโวฏฐัพพนกิจกับจุติกิจ ๑ มโนทฺวาราวชฺชนตทารมฺมณานํ ระหว่าง มโนทวาราวัชชนกิจกับตทาลัมพนกิจ ๑ มโนทฺวาราวชฺชนภวงฺคานํ ระหว่าง มโนทวาราวัชชนกิจกับภวังคกิจ ๑ มโนทฺวาราวชฺชนจุตีนฺ จ อนฺตรา และระหว่าง มโนทวาราวัชชนกิจกับจุติกิจ ๑ ชวนฏฺานํ ชื่อว่า ชวนฐาน ฯ ชวนภวงฺคาน อนฺตรา านํ ฐานระหว่างชวนกิจกับภวังคกิจ ๑ ชวนจุตีนฺ จ อนฺตรา ระหว่าง


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 121 ชวนกิจกับจุติกิจ ๑ ตทารมฺมณฏฺานํ ชื่อว่า ตทาลัมพนฐาน ฯ ชวนปฏิสนฺธีนํ ฐานระหว่างชวนกิจกับปฏิสนธิกิจ ๑ ตทารมฺมณปฏิสนฺธีนํ ระหว่างตทาลัมพนกิจ กับปฏิสนธิกิจ ๑ ภวงฺคปฏิสนฺธีนํ อนฺตรา านํ วา หรือฐานระหว่างภวังคกิจ กับปฏิสนธิกิจ จุติฏฺานํ นาม ชื่อว่า จุติฐาน ฯ (อธิบายจิตโดยกิจและฐาน) อธิปฺปาโย อธิบายความ อิติ ว่า เทฺว อุเปกฺขาสหคตสนฺตีรณานิสันตีรณกิจ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ๒ ดวง ปฏิสนฺธิภวงฺคจุติกิจฺจานิ นาม ชื่อว่า ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ และจุติกิจ สุขสนฺตีรณสฺส ปฏิสนฺธิวสปฺปวตฺติสภาวาภาวโต เพราะสันตีรณกิจที่สหรคตด้วยโสมนัส ไม่มีสภาวะเป็นไปด้วยอ�ำนาจสนธิ ดังนี้ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังว่ามานี้ เอวมาคตสฺส อุเปกฺขาสหคตปทสฺสวิภงฺเค ในวิภังค์แห่งบทว่า อุเปกฺขาสหคต ซึ่งมาแล้ว อย่างนี้ อิติ ว่า อุเปกฺขาสหคโต ธมฺโม ธรรมที่สหรคตด้วยอุเบกขา ปฏิจฺจ อาศัย ธมฺมํ ธรรม อุเปกฺขาสหคตํ ที่สหรคตด้วยอุเบกขา อุปฺปชฺชติ เกิดขึ้น น เหตุปจฺจยา ไม่ใช่ เกิดเพราะเหตุปัจจัย ดังนี้ ปฏิจฺจนโย อุทฺธโฏ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยก ปฏิจจนัยขึ้นไว้ ปฏฺฐาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน ปวตฺติปฏิสนฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจ ปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล เอวํ อย่างนี้ ว่า ตโย ขนฺธา ขันธ์ ๓ ปฏิจฺจ อาศัย เอกํ ขนฺธํ ขันธ์ ๑ อเหตุกํ อุเปกฺขาสหคตํ สหรคตด้วยอุเบกขา เป็นอเหตุกะ เอโก ขนฺโธ ขันธ์ ๑ ตโย ขนฺเธ ปฏิจฺจ อาศัยขันธ์ ๓ เทฺว ขนฺธา ขันธ์ ๒ เทฺว ขนฺเธ ปฏิจฺจ อาศัยขันธ์ ๒ ตโย ขนฺธา ขันธ์ ๓ เอกํ ขนฺธํ ปฏิจฺจ อาศัยขันธ์ ๑ อุเปกฺขาสหคตํ อันสหรคตด้วยอุเบกขา อเหตุกปฏิสนฺธิกฺขเณ ในขณะปฏิสนธิอันเป็นอเหตุกะ ฯลฯ เทฺว ขนฺธา ขันธ์ ๒ ดังนี้ ฯ ปน ก็ ปีติสหคตสุขสหคตปทวิภงเค ในวิภังค์แห่งบทว่าปีติสหคตะและสุขสหคตะ ปวตฺติวเสเนว อุทฺธโฏ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงยกปฏิจจนัยขึ้น ด้วยอ�ำนาจ ปวัตติกาลเท่านั้น อิติ ว่า ตโย ขนฺธา ขันธ์ ๓ ปฏิจฺจ อาศัย เอกํ ขนฺธํ


122 ปริเฉทที่ ๓ ขันธ์ ๑ อเหตุกํ ปีติสหคต อันสหรคตด้วยปีติ เป็นอเหตุกะ ฯลฯ เทฺว ขนฺธา ขันธ์ ๒ ฯลฯ ตโย ขนฺธา ขันธ์ ๓ ปฏิจฺจ อาศัยขันธ์ เอกํ ขนฺธํ ขันธ์ ๑ อเหตุกํ สุขสหคตํ อันสหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา เป็นอเหตุ ฯลฯ เทฺว ขนฺธา ขันธ์ ๒ ดังนี้ ฯ ปน แต่ น อเหตุกปฏิสนฺธิกฺขเณติอาทินา ปฏิสนฺธิวเสน หายกขึ้นด้วยอ�ำนาจปฏิสนธิกาล โดยนัยเป็นต้นว่า ในขณะปฏิสนธิอันเป็นอเหตุกะ ดังนี้ไม่ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ยถาธมฺมสาสเน ลพฺภมานธมฺมสฺส อวจนมฺปิ แม้การไม่ตรัสถึงธรรมที่จะหาได้อยู่ในพระอภิธรรม อภาวเมว ทีเปติ ก็แสดงว่า ไม่มีนั้นเอง อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส สนฺตีรณจิตฺตสฺส สันตีรณจิตที่สหรคต ด้วยโสมนัสสเวทนานั้น น ปวตฺติ อตฺถิ จึงไม่มีความเป็นไป ปฏิสนฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจปฏิสนธิกิจ ฯ ปน ก็ อวจนํ การไม่ตรัส กสฺสจิ ธมฺมสฺส ธรรม บางอย่าง ลพฺภมานสฺสาปิ แม้จะหาได้อยู่ ภวิสฺสติ จักมี ยตฺถ าเน ในที่ใด การณํ เหตุ อวจนสฺส แห่งการไม่ตรัส ตตฺถ าเน ในที่นั้น อาวิภวิสฺสติ จักมีแจ้ง อุปริ ข้างหน้า ฯ มโนทฺวาราวชฺชนสฺส มโนทวาราวัชชนจิต (คือ โวฏฐัพพนจิต) ปวตฺตมานสฺสาปิ แม้ที่เป็นไปอยู่ ปริตฺตารมฺมเณ ในปริตตารมณ์วิถี ทฺวิตฺติกฺขตฺตุํ ๒ หรือ ๓ ครั้ง นตฺถิชวนกิจฺจํ ก็ย่อมไม่มีชวนกิจ ตอํารมฺมณรสานุภวนาภาวโต เพราะไม่มีความเสวยรสแห่งอารมณ์นั้น อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ํ จึงกล่าวว่า อาวชฺชนทฺวยวชฺชิตานิ (เว้นอาวัชชนจิต ๒ ดวง คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต และมโนทวาราวัชชนจิต) อิติ ดังนี้ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังว่า มานี้ อฏฺกถายํ ในอรรถกถา วุตฺตํ พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าว ว่า ชวนฏฺาเน ตฺวา ด�ำรงอยู่ในฐานเป็นชวนกิจ อิติ ดังนี้ ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอก ไปจากนี้ วตฺตพฺพํ สิยา ก็พึงต้องกล่าว ว่า ชวนํ หุตฺวา เป็นชวนกิจ อิติ ดังนี้ ฯ ปทํ บท กุสลากุสลผลกฺริยาจิตฺตานิ อิติ ว่า กุสลากุสลผลกฺริยาจิตฺตานิ โลกิยโลกุตฺตรกุสลานิ ความว่า โลกิยกุศลจิต (๑๗ ดวง) และโลกุตตรกุศลจิต (๔ ดวง) เอกวีสติ รวม ๒๑ ดวง อกุสลานิ อกุศลจิต ทฺวาทส ๑๒ ดวง โลกุตฺตรผลจิตฺตานิ โลกุตตรผลจิต จตฺตาริ ๔ ดวง เตภูมิกกฺริยาจิตฺตานิ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 123 กิริยาจิตที่เกิดในภูมิ ๓ อฏฺารส ๑๘ ดวง ฯ หิ ความจริง โลกุตฺตรมคฺคาทิกํ โลกุตตรมรรคจิต (มีโสดาปัตติมรรค) เป็นต้น เอกจิตฺตกฺขณมฺปิ แม้เกิดขณะจิตเดียว ชวนกิจฺจํนาม ก็ชื่อว่าชวนกิจ ตํสภาววนฺตตาย เพราะมีสภาวะแห่งชวนกิจนั้น ยถา สพฺพฺ ุ ตาณํ เปรียบเหมือนพระสัพพัญญุตญาณ เอเกกโคจรวิสยมฺปิ แม้มีอารมณ์ทีละอย่างเป็นอารมณ์ น ตนฺนามํ วิชหติ ก็ยังไม่ละ ชื่อว่า พระสัพพัญญุตญาณนั้น กทาจิ ในกาลบางคราว สกลวิสยาวโพธนสามตฺถิยโยคโต เพราะประกอบไปด้วยความสามารถในอันรู้ชัดอารมณ์ได้ทั้งสิ้นแล ฯ สมฺปิณฺเฑตฺวา ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะประมวลแสดง จิตฺตานิ จิตทั้งหลาย กิจฺจเภเทน วุตฺตาเนว ที่กล่าวแล้ว โดยความต่างกันแห่งกิจนั่นแล ลพฺภมานกิจฺจคณนวเสน ด้วยอ�ำนาจจ�ำนวนกิจที่จะได้อยู่ ยถาสกํ ตามสมควรแก่ตน เอวํ ดังพรรณนามา ฉะนี้ วุตฺตํ จึงกล่าว วจนํ ค�ำ เตสุ ปน อิติ อาทิ ว่า เตสุ ปน ดังนี้ เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ ว่า จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาททั้งหลาย ปฏิสนฺธาทโย มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น ปกาสิตา บัณฑิตประกาศแล้ว นามกิจฺจเภเทน โดยความต่างกัน แห่งนามและกิจ เภเทน คือ โดยความต่างกัน ปฏิสนฺธาทีนํ นามานํ แห่งนาม ทั้งหลาย มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น ปฏิสนฺธิกิจฺจาทีนํ กิจฺจานฺ จ และแห่งกิจทั้งหลาย มีปฏิสนธิกิจเป็นต้น ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาททั้งหลาย ปฏิสนฺธาทโย นาม ชื่อว่ามีปฏิสนธิจิตเป็นต้น ตํนามกา คือ มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น นั้นเป็นชื่อ จุทฺทส ปกาสิตา บัณฑิต ประกาศแล้ว ว่ามี ๑๔ ประการ เภเทน โดยความต่างกัน กิจฺจานํ แห่งกิจทั้งหลาย ปฏิสนฺธาทีนํ มีปฏิสนธิกิจเป็นต้น ทสธา ปกาสิตา ประกาศแล้วว่ามี ๑๐ ประการ านเภเทน โดยความต่างกัน แห่งฐาน ปเภเทน คือ โดยประเภท ปฏิสนฺธาทีนํเยว านานํ แห่งฐานทั้งหลาย มีปฏิสนธิฐานเป็นต้นนั่นแล อิติ ดังนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ ว่า ปณฺฑิโต บัณฑิต นิทฺทิเส พึงแสดง จิตฺตานิ จิต เอกกิจฺจฏฺานิ ที่มีกิจ ๑ และมี ฐาน ๑ อฏฺสฏฺีอิติ ว่ามี ๖๘ ดวง ตถา อนึ่ง นิทฺทิเส บัณฑิตพึงแสดง จิตฺตานิ จิต ทฺวิกิจฺจฏฺานิ ที่มีกิจ ๒ และมีฐาน ๒ เทฺว อิติ จ ว่ามี ๒ ดวง จิตตานิ จิต


124 ปริเฉทที่ ๓ ติกิจฺจฏฺานิ ที่มีกิจ ๓ และมีฐาน ๓ นว อิติ จ ว่ามี ๙ ดวง จิตฺตานิ จิต จตุกิจฺจฏฺานิที่มีกิจ ๔ และมีฐาน ๔ อฏฺ อิติจ ว่ามี ๘ ดวง จิตฺตานิ จิต ปฺ จกิจฺจฏฺานานิที่มีกิจ ๕ และมีฐาน ๕ เทฺว อิติ จ ว่ามี ๒ ดวง ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ดังนี้ ฯ (อธิบายทวารสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวม ทฺวารานํ ทวารทั้งหลาย ทฺวารปฺปวตฺตจิตฺตานฺ จ และจิตที่เป็นไปในทวารทั้งหลาย ปริจฺเฉทวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งการก�ำหนด ทฺวารสงฺคโห ชื่อว่า ทวารสังคหะ ฯ เย ธมฺมา ธรรมเหล่าใด ทฺวารานิ วิย เป็นดุจประตู อาวชฺชนาทีนํ อรูปธมฺมานํ ปวตฺติมุขภาวโต เพราะเป็นทางเป็นไป แห่งอรูปธรรมทั้งหลาย มีอาวัชชนจิตเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น เต ธมฺมา ธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ทฺวารานิ ชื่อว่า ทวาร ฯ ปทํ บท จกฺขุเมว อิติ ว่า จกฺขุ ดังนี้ ปสาทจกฺขุเมว ได้แก่ จักขุปสาทรูปนั่นเอง ฯ ทวารํ ทวาร มนานํ แห่งใจ ทั้งหลาย อาวชฺชนาทีนํ มีอาวัชชนจิตเป็นต้น มโนเยว วา ทฺวารํ หรือว่า ทวาร คือใจ อิติ เพราะเหตุนั้น มโนทฺวารํ จึงชื่อว่า มโนทวาร ฯ ปทํ บท ภวงฺคํ อิติ ว่า ภวงฺคํ ดังนี้ ภวงฺคํ ได้แก่ ภวังคจิต อาวชฺชนานนฺตรํ ที่เกิดขึ้นในล�ำดับก่อน อาวัชชนจิต ฯ เตน เพราะเหตุนั้น โปราณา พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงกล่าวไว้ว่า ตุ ก็ ภวงฺคํ ภวังคจิต สาวชฺชนํ พร้อมอาวัชชนจิต วุจฺจติ บัณฑิต ทั้งหลายเรียก อิติ ว่า มโนทวารํ มโนทวาร ฯ ปทํ บท ตตฺถ อิติ ว่า ตตฺถ ดังนี้เป็นต้น สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า เตสุ จกฺขฺวาทิทฺวาเรสุ บรรดาทวารมีจักขุทวารเป็นต้นเหล่านั้น จกฺขุทฺวาเร ในจักขุทวาร จิตฺตานิ จิต ฉจตฺตาฬีส ๔๖ ดวง อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้นได้ ยถารหํ ตามสมควร อิติ ดังนี้ ฯ ฉจตฺตาฬีส จิต ๔๖ ดวง อิติ คือ ปฺ จทฺวาราวชฺชนเมก ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง สตฺต จิต ๗ ดวง จกฺขุวิฺ าณาทีนิ คือ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 125 วิปากจิตทั้ง ๒ ฝ่าย มีจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น โวฏฺวนเมกํ โวฏฐัพพนจิต ๑ ดวง กามาวจรชวนานิ จ กามาวจรชวนจิต เอกูนตึส ๒๙ ดวง กุสลากุสลนิราวชฺชนกฺริยาวเสน คือ กุศลชวนจิต (๘ ดวง) อกุศลชวนจิต (๑๒ ดวง) กามาวจรกิริยาจิต เว้นอาวัชชนจิตเสีย (๒ ดวง) (เหลือ ๙ ดวง) ตทาลมฺพนานิ จ และตทาลัมพนจิต อฏฺเว ๘ ดวงเท่านั้น อคหิตคฺคหเณน โดยระบุถึงตทาลัมพนจิตที่ยังมิได้ระบุถึง ฯ ปท บท ํยถารหํ อิติ ว่า ยถารห ดังนี้ ํ อิฏฺาทิอารมฺมณโยนิโสอโยนิโสมนสิการนิรานุสยสนฺตานาทีนอนุรูปวเสน ได้แก่ ด้วยอ�ำนาจสมควรแก่อารมณ์มีอิฏฐารมณ์เป็นต้น โยนิโสมนสิการ อโยนิโสมนสิการ และแก่ภูมิและบุคคลที่มีสันดานปราศจากอนุสัย เป็นต้น ฯ ปทํ บท สพฺพถาปิ อิติ ว่า สพฺพถาปิดังนี้ โยชนา มีวาจาประกอบความ ว่า จิตฺตานิ จิต จตุปฺปญฺาส ๕๔ ดวง ปกาเรน โดยประการ อาวชฺชนาทิตทาลมฺพนปริโยสาเนน มีอาวัชชนจิต เป็นต้น มีตทาลัมพนจิตเป็นที่สุด สพฺเพนปิ แม้ทั้งปวง เวทิตพฺพานิ บัณฑิต พึงทราบ กามาวจราเนวา อิติ ว่าล้วนเป็นกามาวจรจิต อิติ ดังนี้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า จตุปฺ าส จิตฺตานิ จิต ๕๔ ดวง สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวงเป็นกามาวจรจิต อิติ ดังนี้ ฯ อตฺโถ อธิบาย ความว่า ตํตํทฺวาริกวเสน ิตานิจิตทั้งหลายที่ด�ำรงอยู่ ด้วยอ�ำนาจจิตที่เกิดทาง ทวารนั้น ๆ สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง จตุปฺ าส ย่อมมี ๕๔ ดวง โสตวิฺ าณาทีน จตุนฺน ยุคลาน ปกฺเขเปน โดยเพิ่มจิต ๔ คู่ มีโสตวิญญาณจิต เป็นต้น ฉจตฺตาฬีสจิตฺเตสุ เข้าในจิต ๔๖ ดวง จกฺขุทฺวาริเกสุ ที่เกิดทางจักขุทวาร อคหิตคฺคหเณน โดยระบุถึงจิตที่ยังมิได้ระบุถึง ฯ เอกูนวีสติ จิต ๑๙ ดวง ปฏิสนฺธาทิวเสน ปวตฺตานิ ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจกิจมีปฏิสนธิกิจเป็นต้น ทฺวารวินิมุตฺตานิ ชื่อว่าจิตที่พ้นจากทวาร จกฺขฺวาทิทฺวาเรสุ อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่เป็นไปในทวาร มีจักขุทวารเป็นต้น มโนทฺวารสงฺขาตภวงฺคโต อารมฺมณนฺตรคฺคหณวเสน อปฺปวตฺติโต จ และเพราะไม่เป็นไปด้วยอ�ำนาจรับอารมณ์อื่น จากภวังคจิตกล่าวคือ มโนทวาร ฯ ฉตฺตึส จิตฺตานิ จิต ๓๖ ดวง คือ ทฺวิปฺ จวิฺ าณานิ ปัญจวิญญาณจิต


126 ปริเฉทที่ ๓ ทั้ง ๒ ฝ่าย (ฝ่ายละ ๑๐ ดวง) เอกทฺวาริกจิตฺตานิ ชื่อว่า จิตเกิดทางทวารเดียว สกสกทฺวาเร อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้นในทวารของตน ๆ ยถารหํ ตามสมควร สกสกทฺวารานุรูป คือ สมควรแก่ทวารของตน ๆ ฉพฺพีสติมหคฺคตโลกุตฺตรชวนานิ และคือมหัคคตชวนจิตและโลกุตตรชวนจิต ๒๖ ดวง เอกทฺวาริกจิตฺตานิ ชื่อว่า จิตเกิดทางทวารเดียว มโนทฺวาเรเยว จ อุปฺปชฺชนโต เพราะเกิดขึ้นในมโนทวาร เท่านั้น ฯ อุเปกฺขาสหคตสนฺตีรณมหาวิปากานิ สันตีรณจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา (๒ ดวง) และมหาวิบากจิต (๘ ดวง) ฉทฺวาริกานิเจว ชื่อว่า จิตเกิดทาง ทวาร ๖ ปฺ จทฺวาเรสุ สนฺตีรณตทาลมฺพนวเสน มโนทฺวาเร จ ตทาลมฺพนวเสน ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปในทวาร ๕ ด้วยอ�ำนาจสันตีรณกิจ และตทาลัมพนกิจ และเพราะเป็นไปในมโนทวาร ด้วยอ�ำนาจตทาลัมพนกิจ ปฏิสนฺธาทิวเสน ปวตฺติยา ทฺวารวินิมุตฺตานิ จ และชื่อว่าจิตพ้นจากทวาร เพราะเป็นไปด้วย อ�ำนาจกิจ มีปฏิสนธิกิจเป็นต้น ฯ เอกเทสสรูเปกเสโส ทฏฺพฺโพ บัณฑิตพึงเห็น สรูเปกเสสสมาส ซึ่งมีศัพท์เป็นเครื่องปรากฏอยู่ศัพท์เดียว ว่า ปฺ จทฺวาริกานิจ จิตเกิดทางทวร ๕ ฉทฺวาริกานิจ และจิตเกิดทางทวาร ๖ อิติ เพราะเหตุนั้น ปฺ จฉทฺวาริกานิ จึงชื่อว่า ปัญจทวาริกะ ฯ ฉทฺวาริกานิจ ตานิ จิตเหล่านั้น เกิดทางทวาร ๖ กทาจิ ทฺวารวินิมุตฺตานิ จ และบางคราวก็พ้นจากทวาร อิติ เพราะเหตุนั้น ฉทฺวาริกวินิมุตฺตานิ จึงชื่อว่า ฉัทวาริกวินิมุตตะ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ฉทฺวาริกานิจ จิตเกิดทางทวาร ๖ ฉทฺวาริกวินิมุตฺตานิจ และ พ้นจากจิตที่เกิดทางทวาร ๖ ฉทฺวาริกวินิมุตฺตานิ ฉัทวาริกวินิมุตตะ อิติ ดังนี้ ฯ (อธิบายอารัมมณสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวม อาลมฺพนานํ อารมณ์ทั้งหลาย สรูปโต โดยรวบยอด วิภาคโต โดยวิภาค ตตํ วิสยจิตฺตโต ํจ และโดยจิตที่มีอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้นนั้นๆ เป็นอารมณ์ อาลมฺพนสงฺคโห ชื่อว่า อาลัมพนสังคหะ ฯ รูป อารมณ์ที่ชื่อว่ารูป เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า วณฺณวิการ อาปชฺชมานํ ถึงอาการต่าง ๆ แห่งสี


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 127 รูปยติ เปิดเผย หทยคตภาวํ ปกาเสติ คือประกาศภาวะที่อยู่ในหทัย อิติ ดังนี้ ฯ ตเทว รูปํ รูปนั้นนั่นแล อาลมฺพนํ ชื่อว่า อารมณ์ เพราะอรรถวิเคราะห์ อิติ ว่า จิตฺตเจตสิเกหิอาลมฺพิยติ อันจิตแลเจตสิกอาศัย ทุพฺพลปุริเสน ทณฺฑาทิ วิย ดุจคนทุพพลภาพ อาศัยไม้เท้าเป็นต้น ฉะนั้น อาคนฺตฺวา เอตฺถ รมนฺติอิติวา หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่มายินดีแห่งจิตและเจตสิกเหล่านั้น ฯ รูปเมว อารมฺมณ อารมณ์คือรูป รูปารมฺมณ ชื่อว่ารูปารมณ์ ฯ สทฺโท อารมณ์ชื่อว่า สัททะ เพราะอรรถวิเคราะห์ อิติ ว่า สทฺทิยติ อันบุคคลเปล่ง กถิยติ คือ กล่าว ฯ โสเยว อารมฺมณํ อารมณ์ คือสัททะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น สทฺทารมฺมณํ จึงชื่อว่า สัททารมณ์ ฯ คนฺโธ อารมณ์ชื่อว่า คันธะ เพราะอรรถวิเคราะห์ อิติ ว่า คนฺธยติ ฟุ้งไป อตฺตโน วตฺถุํ สูเจติ คือ ชี้วัตถุของตน อิทเมตฺถ อตฺถีติ เปสุฺ ํ กโรนฺตํ วิย โหติ ได้แก่ เป็นดุจท�ำการสื่อข่าวว่าอารมณ์นี้ มีอยู่ในที่นี้ ฯ โสเยว อารมฺมณํ อารมณ์ คือ คันธะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น คนฺธารมฺมณํ จึงชื่อว่า คันธารมณ์ ฯ รโส อารมณ์ ชื่อว่า รสะ รสนฺติต สตฺตา อสฺสาเทนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นที่มายินดี คือพอใจแห่งเหล่าสัตว์ ฯ โสเยว อารมฺมณํ อารมณ์ คือรสะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น รสารมฺมณ จึงชื่อว่า รสารมณ์ ฯ ํ โผฏฺพฺพํ อารมณ์ที่ชื่อว่า โผฏฐัพพะ ผุสิยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันสัตว์ ถูกต้องได้ ฯ ตเทว อารมฺมณํ อารมณ์คือโผฏฐัพพะนั้น โผฏฺพฺพารมฺมณํ ชื่อว่าโผฏฐัพพารมณ์ ฯ ธมฺโมเยว อารมฺมณํ อารมณ์คือธรรม ธมฺมารมฺมณํ ชื่อว่าธรรมารมณ์ ฯ ปทํ บท ตตฺถ อิติ ว่า ตตฺถ ดังนี้ เตสุ อารมฺมเณสุ ได้แก่ บรรดาอารมณ์เหล่านั้น ฯ รูปเมวาติ ชื่อว่า รูปนั้นแหละ รูปเมว ได้แก่รูป วณฺณายตนสงฺขาตํ กล่าวคือรูปายตนะนั่นเอง ฯ สทฺทาทโยติ ชื่อว่า สัททารมณ์ เป็นต้น สทฺทาทโย ได้แก่ โคจรรูปมีสัททะเป็นต้น สทฺทายตนาทิสงฺขาตา กล่าวคือสัททายตนะเป็นต้น อาโปธาตุวชฺชิตํ ภูตตฺตยสงฺขาตํ โผฏฺพฺพายตนฺ จ และโผฏฐัพพายตนะ กล่าวคือ ภูตรูป ๓ เว้น อาโปธาตุ ฯ โสฬส รูป ๑๖ ประการ เสสานิ ที่เหลือ อารมฺมณปสาทานิ เปตฺวา เว้นโคจรรูปและปสาทรูป สุขุมรูปานิ


128 ปริเฉทที่ ๓ ชื่อว่า สุขุมรูป ฯ ปทํ บท ปจฺจุปฺปนฺนํ อิติ ว่า ปจฺจุปฺปนฺนํ ดังนี้ วตฺตมานํ ได้แก่ ก�ำลังเป็นไปอยู่ ฯ ปท บท ํ ฉพฺพิธมฺปิอิติ ว่า ฉพฺพิธมฺปิ ดังนี้ รูปาทิวเสน ฉพฺพิธมฺปิ แม้อารมณ์ ๖ คือ รูปารมณ์เป็นต้น ฯ นิพฺพานํ ปฺ ตฺติจ นิพพาน และบัญญัติ กาลวินิมุตฺตํ นาม ชื่อว่าเป็นอารมณ์ที่พ้นจากกาล น วตฺตพฺพา เพราะเป็นอารมณ์อันไคร ๆ พึงกล่าวไม่ได้ อตีตาทิกาลวเสน ด้วยอ�ำนาจอดีตกาล เป็นต้น วินาสาภาวโต เพราะไม่มีความพินาศ ฯ ปท บท ํยถารหํ อิติ ว่า ยถารหํ ดังนี้ อนุรูปโต ได้แก่ โดยสมควร กามาวจรชวนอภิฺ าเสสมหคฺคตาทิชวนานํ แก่กามาวจรชวนจิต อภิญญาชวนจิต และมหัคคตชวนจิตที่เหลือเป็นต้น ฯ หิความจริง ฉพฺพิธมฺปิติกาลิกํ อารมฺมณํ อารมณ์ แม้ทั้ง ๖ เป็นไปในกาล ๓ กาลวิมุตฺตฺ จ และพ้นจากกาล อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ กามาวจรชวนานํ ของกามาวจรชวนจิต หสิตุปฺปาทวชฺชานํ ที่เว้นหสิตุปปาทจิต ฯ ติกาลิกเมว อารมณ์ ๖ ที่เป็นไปในกาล ๓ เท่านั้น หสิตุปฺปาทสฺส เป็นอารมณ์ของ หสิตุปปาทจิต ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าว อสฺส เอกนฺตปริตฺตาลมฺพนต ว่า หสิตุปปาทจิตนั้น มีอารมณ์ที่เป็นกามาวจร โดยส่วนเดียวเป็นอารมณ์ ฯ ปน ส่วน อภิฺ าชวนสฺส อภิญญาชวนจิต ทิพฺพจกฺขฺวาทิวสปฺปวตฺตสฺส ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจทิพยจักษุเป็นต้น ฉพฺพิธมฺปิ ติกาลิกํ มีอารมณ์ทั้ง ๖ ที่เป็นไปในกาล ๓ กาลวิมุตฺตฺ จ และพ้นจากกาล อารมฺมณํ โหติเป็นอารมณ์ ยถารหํ ตามสมควร ฯ ปน ส่วน วิภาโค วิภาค เอตฺถ ในอภิญญาชวนจิตนี้ อวิภวิสฺสติ จักปรากฏ นวมปริจฺเฉเท ในปริเฉทที่ ๙ อิติ แล ฯ ปน ส่วน เสสานํ มหัคคตชวนจิตที่เหลือ กาลวิมุตฺตํ อตีตฺ จ อาลมฺพนํ โหติ มีอารมณ์ที่พ้นจากกาล และที่เป็นอดีตเป็นอารมณ์ ยถารหํ ตามสมควร ฯ สมพนฺโธ เชื่อมความว่า ฉพฺพิธมฺปิอารมฺมณํ อารมณ์แม้ทั้ง ๖ อารมฺมณํ โหติย่อมเป็นอารมณ์ จิตฺตานํ ของจิตทั้งหลาย ทฺวารวินิมุตฺตานญฺจ ปฏิสนฺธิภวงฺคจุติสงฺขาตานํ กล่าวคือ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต ที่พ้นจาก ทวาร ฯ ปน ก็ ตํ อารมฺมณํ อารมณ์นั้น เกนจิอคฺคหิตเมว อันชวนจิตบางดวง


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 129 ยังมิได้รับมาเลย โคจรภาวํ คจฺฉติจะถึงความเป็นอารมณ์ เนสํ แก่จิตที่พ้นจาก ทวารเหล่านั้น อารมฺมณํ อาวชฺชนสฺส วิย ดุจอารมณ์ของอาวัชชนจิต น หาได้ไม่ น จ ปฺ จทฺวาริกชวนานํ วิย เอกนฺตปจฺจุปฺปนฺนํ และจะเป็นอารมณ์ที่เป็น ปัจจุบันโดยส่วนเดียว ดุจอารมณ์ของชวนจิตที่เกิดทางทวาร ๕ ก็หามิได้ นาปิ มโนทฺวาริกชวนานํ วิย ติกาลิกเมว อวเสเสน กาลวินิมุตฺตํ วา ทั้งจะเป็นไป ในกาล ๓ เท่านั้น หรือพ้นจากกาลโดยไม่แปลกกัน ดุจอารมณ์ของชวนจิตที่เกิดทาง มโนทวารก็ไม่ได้ นาปิมรณาสนฺนโต ปุริมภาคชวนานํ วิย กมฺมกมฺมนิมิตฺตาทิวเสน อาคมสิทฺธโวหารวินิมุตฺตํ ทั้งจะเป็นอารมณ์ที่พ้นจากบัญญัติ ซึ่งส�ำเร็จด้วยกรรม เป็นที่มายินดีแห่งผล ด้วยอ�ำนาจกรรมและกรรมนิมิตเป็นต้น ดุจอารมณ์ของชวนจิต ที่เป็นไปในส่วนเบื้องต้น ก่อนแต่ในเวลาใกล้ตาย ก็หามิได้ อิติ เพราะเหตุนั้น อาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าว ยถาสมฺภวํ ฯเปฯ สมฺมตํ อิติ ว่า ยถาสมฺภวํ ฯลฯ สมฺมตํ ดังนี้ ฯ ตตฺถ บรรดาบทเหล่านั้น ปทํ บท ยถาสมฺภวํ อิติว่า ยถาสมฺภวํ ดังนี้ สมฺภวานุรูปโต ความว่า โดยสมควรแก่ความเกิดมี ตํตํภูมิกปฏิสนฺธิภวงฺคจุตีนํ แห่งปฏิสนธิจิตภวังคจิตและจุติจิตที่เกิดในภูมินั้น ๆ ตํตํทฺวารคฺคหิตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจอารมณ์ที่ชวนจิตรับมาทางทวารนั้น ๆ เป็นต้น ฯ หิ ความจริง ตาว อันดับแรก กามาวจรานํ ปฏิสนฺธิภวงฺคานํ ปฏิสนธิจิตและภวังคจิตอันเป็น ฝ่ายกามาวจร รูปาทิปฺ จาลมฺพน มีอารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น ํฉทฺวารคฺคหิตํ ที่ชวนจิตรับมาทางทวาร ๖ ยถารหํ ปจฺจุปฺปนฺนมตีตฺ จ เป็นปัจจุบันและเป็นอดีต ตามสมควร กมฺมกมฺมนิมิตฺตสมฺมตมารมฺมณํ โหติ ที่สมมติว่าเป็นกรรมและ กรรมนิมิตเป็นอารมณ์ ตถา จุติจิตฺตสฺส จุติจิตอันเป็นฝ่ายกามาวจรก็เหมือนกัน คือมีอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น ที่ชวนจิตรับมาทางทวาร ๖ อตีตเมว เฉพาะที่ เป็นอดีตเท่านั้น ที่สมมติว่าเป็นกรรมและกรรมนิมิตเป็นอารมณ์ ธมฺมารมฺมณํ ปน ส่วนธรรมารมณ์ มโนทฺวารคฺคหิตเมว เฉพาะที่ชวนจิตรับมาทางมโนทวารเท่านั้น อตีตํ ที่เป็นอดีต กมฺมกมฺมนิมิตฺตสมฺมตํ ที่สมมติว่าเป็นกรรมและกรรมนิมิต


130 ปริเฉทที่ ๓ เป็นอารมณ์ เตสํ ติณฺณมฺปิของปฏิสนธิจิต ภวังคจิตและจุติจิต แม้ทั้ง ๓ ประเภท เหล่านั้น รูปารมฺมณํ รูปารมณ์ เอกเมว อย่างเดียวเท่านั้น มโนทฺวารคฺคหิตํ ที่ชวนจิตรับมาทางมโนทวาร เอกนฺตํ ปจฺจุปฺปนฺนํ ที่เป็นปัจจุบันโดยส่วนเดียว คตินิมิตฺตสมฺมตํ ที่สมมติว่าเป็นคตินิมิต ตถา ก็เหมือนกัน คือเป็นอารมณ์ของ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต แม้ทั้ง ๓ ประเภทเหล่านั้น อิติเอวํ รวมความ ดังกล่าวมานี้ รูปาทิปญฺจาลมพนํ อารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น ฉทฺวารคฺคหิตํ ที่ชวนจิตรับมาทางทวาร ๖ ยถาสมฺภว ตามที่เกิดมีได้ ํ ปจฺจุปฺปนฺนมตีตฺ จ ที่เป็น ปัจจุบันและที่เป็นอดีต กมฺมกมฺมนิมิตฺตคตินิมิตฺตสมฺมตํ ที่สมมติว่าเป็นกรรม กรรมนิมิต และคตินิมิต กามาวจรปฏิสนฺธาทีนํ อารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ของจิต ๓ ประเภท มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น อันเป็นฝ่ายกามาวจร ฯ ปน ส่วน มหคฺคตปฏิสนฺธาทีสุ บรรดาจิต ๓ ประเภท มีปฏิสนธิจิตเป็นต้น อันเป็นฝ่าย มหัคคตะ รูปาวจรานํ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต อันเป็นฝ่ายรูปาวจร ปมตติยารูปานฺ จ และอันเป็นฝ่ายอรูปาวจรจิตดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๓ ธมฺมารมฺมณเมว มีเฉพาะธรรมารมณ์เท่านั้น มโนทฺวารคฺคหิต ที่ชวนจิตรับมาทางมโนทวาร ํ ปฺ ตฺติภูตํ ที่เป็นบัญญัติธรรม กมฺมนิมิตฺตสมฺมต ที่สมมติว่าเป็นกรรมนิมิต ํอารมฺมณํ โหติ เป็นอารมณ์ ตถา ทุติยจตุตฺถารูปานํ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต อันเป็น ฝ่ายอรูปาวจรจิตดวงที่ ๒ กับดวงที่ ๔ ก็เหมือนกัน คือมีเฉพาะธรรมารมณ์เท่านั้น ที่ชวนจิตรับมาทางมโนทวาร ที่เป็นบัญญัติธรรม ที่สมมติว่าเป็นกรรมนิมิต อตีตเมว เฉพาะที่เป็นอดีตเท่านั้น อารมฺมณํ โหติเป็นอารมณ์ อิติเอวํ รวมความดังกล่าว มานี้ มหคฺคตปฏิสนฺธิภวงฺคจุตีน ปฏิสนธิจิตภวังคจิต และจุติจิต อันเป็นฝ่ายมหัคคตะ ํ มโนทฺวารคฺคหิตํ มีธรรมารมณ์ที่ชวนจิตรับมาทางมโนทวาร ปฺ ตฺติภูตํ ที่เป็น บัญญัติธรรม อตีตํ วา หรือที่เป็นอดีต กมฺมนิมิตฺตสมฺมตเมว เฉพาะที่สมมติว่า เป็นกรรมนิมิตเท่านั้น อารมฺมณ โหติเป็นอารมณ์ ฯ ข้อว่า เยภุยฺเยน ภวนฺตเร ฉทฺวารคฺคหิตํ อิติดังนี้ มรณาสนฺนปฺปวตฺตฉทฺวาริกชวเนหิคหิตํ ความว่า อารมณ์ทั้ง ๖ ที่ชวนจิตเกิดทางวาร ๖ ที่เป็นไป ค�ำสั่งแก้ คือให้ตัดข้อความนี้ออกใช่ไม๊ค่ะ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 131 ในเวลาใกล้ตาย รับมาแล้ว พาหุลฺเลน อตีตานนฺตรภเว ในภพอันเป็นล�ำดับ ติดต่อกันจากอดีตภพโดยมาก ฯ หิ ความจริง ปฏิสนฺธิวิสยสฺส อารมณ์แห่ง ปฏิสนธิจิต อสฺ ีภวโต จุตานํ ของเหล่าสัตว์ผู้จุติจากอสัญญีภพ เกนจิ ทฺวาเรน คหณํ อันทวารอะไร ๆ จะรับมา อนนฺตราตีตภเว ในอดีตภพอันเป็น ล�ำดับติดต่อกัน อตฺถิ มีอยู่ น ก็หาได้ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ อารมณ์แห่ง ปฏิสนธิจิตนั้น พฺยภิจาริตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวให้แปลกออกไป เยภุยฺยคฺคหเณน ด้วย เยภุยฺ ศัพท์ เอตฺถ ในค�ำว่า เยภุยฺเยน ภวนฺตเร ฉทฺวารคฺคหิตํ นี้ ฯ หิความจริง กมฺมนิมิตฺตาทิกมารมฺมณํ อารมณ์มีกรรมนิมิต เป็นต้น อุปฏฺาติ ย่อมปรากฏ ปฏิสนฺธิยา แก่ปฏิสนธิจิต เตสํ ของอสัญญีสัตว์ เหล่านั้น เกวลํกมฺมพเลเนว ได้ด้วยก�ำลังกรรมล้วน ๆ เท่านั้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น สจฺจสงฺเขเป ในคัมภีร์สัจจสังเขป ปุจฺฉิตฺวา ท่านธรรมปาลาจารย์ ถามถึง ปฏิสนฺธินิมิตฺตํ นิมิตแห่งปฏิสนธิจิต อสฺ ีภวโต จุตสฺส ของสัตว์ผู้จุติ จากอสัญญีภพ วุตฺตํ แล้วกล่าว อุปฏฺานํ ความปรากฏ ปฏิสนฺธิโคจรสฺส แห่งอารมณ์ของปฏิสนธิจิต เกวลํ กมฺมพเลเนว ด้วยก�ำลังกรรมล้วน ๆ เท่านั้น ว่า ยํ กมฺมํ กรรมใด ภวนฺตรกต ที่สัตว์กระท�ำแล้วในภพอื่น ลเภ พึงได้ โอกาสํ โอกาส ตโต เพราะกรรมนั้น สา สนฺธิ ปฏิสนธิจิตนั้น โหติ ย่อมมีได้ เตเนว อุปฏฺาปิตโคจเร ในอารมณ์อันกรรมนั้นนั่น แหละให้ปรากฏแล้ว อิติ ดังนี้ ฯ หิความจริง อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ ชวนคฺคหิตสฺสาปิ อารมฺมณสฺส กมฺมพเลเนว อุปฏฺาปิยมานตฺตา เพราะอารมณ์แม้ที่ชวนจิต รับมาแล้วอันก�ำลังกรรมนั่นเอง ให้ปรากฏอยู่ เตเนวาติ สาวธารณวจนสฺส อธิปฺปายสุฺ ตา อาปชฺเชยฺย ค�ำที่มีบทอวธารณในค�ำว่า เตเนว นี้ ก็พึงต้อง ไร้ความหมาย อิติ แล ฯ ถามว่า จ ก็ ปฏิสนฺธิโคจโร อารมณ์แห่งปฏิสนธิจิต เตสมฺปิ แม้ของ อสัญญีสัตว์เหล่านั้น เกนจิ ทฺวาเรน อันทวารอะไร ๆ คหิโต รับมาแล้ว กมฺมภเว ในกรรมภพ สมฺภวติ ย่อมเกิดมีได้ นนุ มิใช่หรือ ฯ


132 ปริเฉทที่ ๓ ตอบว่า สจฺจํ ค�ำที่ท่านกล่าวมาแล้วนี้ เป็นความจริง ปฏิสนฺธิโคจโร อารมณ์ แห่งปฏิสนธิจิต เตสํ ของอสัญญีสัตว์เหล่านั้น กมฺมกมฺมนิมิตฺตสมฺมโต ที่สมมติ ว่าเป็นกรรมและกรรมนิมิต สมฺภวติ ย่อมเกิดมีได้ ฯ ปน ส่วน ปฏิสนฺธิโคจโร อารมณ์แห่งปฏิสนธิจิต คตินิมิตฺตสมฺมโต ที่สมมติว่าเป็นคตินิมิต อุปฏฺาติ ย่อมมี สพฺเพสมฺปิ แม้แก่สัตว์ทุกจ�ำพวก มรณกาเลเยว เฉพาะในเวลาใกล้ตาย เท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น กุโต ตสฺส กมฺมภเว คหณสมฺภโว การจะรับคตินิมิต นั้น ในกรรมภพ จักเกิดมีได้แต่ที่ไหน ฯ อปิจ อนึ่ง เอตฺถ ในอธิการนี้ วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวว่า ฉทฺวารคฺคหิตํ อิติ ดังนี้ สนธาย หมายถึง มรณา สนฺนปฺปวตฺตชวเนหิ คหิตเมว เฉพาะอารมณ์ที่ชวนจิตซึ่งเป็นไปในเวลาใกล้ตาย รับมาแล้วเท่านั้น ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวมานี้ อาจริเยน ท่านอาจารย์ วุตฺต จึงกล่าวไว้ ํ ปรมตฺถวินิจฺฉเย ในปกรณ์ปรมัตถวินิจฉัย อธิกาเร ในอธิการ อิมสฺมึเยว นี้นั่นแหละว่า ปฏิสนฺธิ ปฏิสนธิจิต อารพฺภ ปรารภ ยโถปฏฺิตโคจรํ ถึงอารมณ์ ตามที่ปรากฏ ฉทฺวาเรสุ ในทวาร ๖ มรณาสนฺนสตฺตสฺส แก่สัตว์ ผู้ใกล้ตาย ตํ นั้น ภวนฺตเร ย่อมเกิดมีในภพอื่นได้ อิติ ดังนี้ ฯ ปจฺจุปฺปนฺนํ อิติ อาทินา ด้วยค�ำว่า ปจฺจุปฺปนฺนํ ดังนี้เป็นต้น นิวาเรติ ท่านพระอนุรุทธจารย์ ย่อมห้าม อนาคตสฺส ปฏิสนฺธิโคจรภาวํ ว่าอารมณ์ ๖ ที่เป็นอารมณ์ของปฏิสนธิจิตได้ ฯ หิ ความจริง ตํ อารมณ์ที่เป็นอนาคตนั้น อนุภูตํ อันปฏิสนธิจิตเสวยได้ อตีตกมฺมกมฺมนิมิตฺตานิ วิย เหมือนกับกรรมและ กรรมนิมิตที่เป็นอดีต น หาได้ไม่ ปจฺจุปฺปนฺนกมฺมนิมิตฺตคตินิมิตฺตานิ วิย อาปาถมาคตฺ จ โหติ ทั้งจะมาปรากฏได้เหมือนกับกรรมนิมิต และคตินิมิตที่เป็น ปัจจุบัน นาปิ ก็หาได้ไม่ อิติ แล ฯ จ ก็ วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าว สรูปํ สภาวะ กมฺมกมฺมนิมิตฺตาทีนฺ จ แห่งกรรมและกรรมนิมิตเป็นต้น สยเมว เองทีเดียว ฯ ปท บท ํ เตสุ อิติ ว่า เตสุ ดังนี้ รูปาทิปจฺจุปฺปนฺนาทิกมฺมาทิอาลมฺพเนสุวิฺ าเณสุ ได้แก่ บรรดาวิญญาณจิตที่มีอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น มีอารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 133 เป็นต้น และที่มีอารมณ์มีกรรมเป็นต้น เป็นอารมณ์ ฯ เอเกก อารมฺมณํ อารมณ์ แต่ละอย่าง รูปาทีสุ บรรดารูปารมณ์เป็นต้น อารมฺมณ เป็นอารมณ์ ํเอเตส ของํ ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่ายเหล่านี้ อิติ เพราะเหตุนั้น รูปาทิเอเกกาลมฺพนานิ ปัญจวิญญาณจิตทั้งสองฝ่ายเหล่านั้น ชื่อว่า มีอารมณ์แต่ละอย่างมีรูปารมณ์เป็นต้น เป็นอารมณ์ ฯ รูปาทิกํปฺ จวิธมฺปิอาลมฺพนํ อารมณ์แม้ทั้ง ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น เอตสฺส เป็นอารมณ์ของมโนธาตุจิต ๓ ดวงนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น รูปาทิปฺ จาลมฺพนํ มโนธาตุจิต ๓ ดวงนั้น ชื่อว่า มีอารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น เป็นอารมณ์ ฯ ปท บท ํ เสสานิ อิติ ว่า เสสานิดังนี้ กามาวจรวิปากานิ ความว่ากามาวจรวิปากจิต เอกาทส ๑๑ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ทฺวิปฺ จวิฺ าณสมฺปฏิจฺฉนฺเนหิ จาก ปัญจวิญญาณจิตทั้ง ๒ ฝ่าย (๑๐ ดวง) และสัมปฏิจฉันนจิต (๒ ดวง) ฯ สพฺพถาปิ กามาวจราลมฺพนานิ อิติ ข้อว่า สพฺพถาปิ กามาวจราลมฺพนานิ ดังนี้ สพฺเพนปิ ความว่า กามาวจรวิบากจิตที่เหลือและหสิตุปปาทจิต ว่าแม้โดยประการทั้งปวง นิพฺพตฺตานิปิ คือแม้ที่บังเกิดแล้ว ฉทฺวาริกฉทฺวารวิมุตฺตฉฬารมฺมณวสปฺปวตฺตากาเรน โดยอาการที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจที่เกิดทางทวาร ๖ จิตที่พ้นจากทวาร ๖ และจิตที่มี อารมณ์ ๖ เอกนฺตกามาวจรสภาวฉฬารมฺมณโคจรานิย่อมมีอารมณ์ ๖ ซึ่งมี สภาวะเป็นกามาวจรส่วนเดียวเป็นอารมณ์ ฯ หิความจริง เอตฺถ ในบรรดากามาวจรวิบากจิต (๑๒ ดวง) และหสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) นี้ ตาว อันดับแรก วิปากานิ กามาวจรวิบากจิต ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป รูปาทิปฺ จาลมฺพเน ในอารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น สนฺตีรณาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกิจ มีสันตีรณกิจเป็นต้น ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป กามาวจราลมฺพเนเยว เฉพาะใน อารมณ์ที่เป็นกามาวจร ฉฬารมฺมณสงฺขาเต กล่าวคืออารมณ์ ๖ ปฏิสนฺธาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกิจมีปฏิสนธิกิจเป็นต้น ฯ หสนจิตฺตมฺปิ แม้หสิตุปปาทจิต ปวตฺตติ ก็ย่อมเป็นไป ฉสุ อารมฺมเณสุ ในอารมณ์ ๖ ปริตฺตธมฺมปริยาปนฺเนเสฺวว เฉพาะที่นับเนื่องในกามาวจรธรรม เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ ปธานสารูปฏฺานํ ทิสฺวา ตุสฺสนฺตสฺส รูปารมฺมเณ เป็นไปในรูปารมณ์ แก่พระขีณาสพ ผู้พบสถานที่


134 ปริเฉทที่ ๓ อันเหมาะสมแก่การบ�ำเพ็ญเพียรแล้วยินดีอยู่ ภณฺฑภาชนฏฺาเน มหาสทฺทํ สุตฺวา เอวรูปา โลลุปฺปตณฺหา เม ปหีนาติตุสฺสนฺตสฺส สทฺทารมฺมเณ เป็นไปในสัททารมณ์ แก่พระขีณาสพ ผู้ได้ยินเสียงอึกทึกในสถานที่แจกของ แล้วคิดว่า เราละตัณหา คือความโลภจัด เห็นปานนี้ได้แล้ว ยินดีอยู่ คนฺธาทีหิเจติยปูชนกาเล ตุสฺสนฺตสฺส คนฺธารมฺมเณ เป็นไปใน คันธารมณ์แก่พระขีณาสพ ผู้ยินดีในเวลาที่บูชาพระเจดีย์ ด้วยของหอมเป็นต้น รสสมฺปนฺนํ ปิณฺฑปาตํ สพฺรหฺมจารีหิภาเชตฺวา ปริภุฺ ชนกาเล ตุสฺสนฺตสฺส รสารมฺมเณ เป็นไปในรสารมณ์แก่พระขีณาสพผู้ยินดีในกาลแบ่งบิณฑบาต ที่มีรสอร่อยกับเพื่อนสพรหมจารีทั้งหลายแล้วฉัน อภิสมาจาริกวตฺตปริปูรณกาเล ตุสฺสนฺตสฺส โผฏฺพฺพารมฺมเณ เป็นไปในโผฏฐัพพารมณ์แก่พระขีณาสพ ผู้ยินดี ในเวลาบ�ำเพ็ญอภิสมาจาริกวัตร ปุพฺเพนิวาสาณาทีหิ คหิตกามาวจรธมฺมํ อารพฺภ ตุสฺสนฺตสฺส ธมฺมารมฺมเณ เป็นไปในธรรมารมณ์แก่พระขีณาสพ ผู้ปรารภ ถึงกามาวจรธรรม ที่ตนก�ำหนดแล้ว ด้วยปุพเพนิวาสญาณเป็นต้น แล้วยินดีอยู่ ฯ มนสิกริตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ใส่ใจว่า จิตตานิ จิตวีสติ ๒๐ ดวง ทฺวาทสากุสลอฏฺาณวิปฺปยุตฺตชวนวเสน คือ อกุศลชวนจิต ๑๒ ดวง และ ชวนจิตที่เป็นญาณวิปปยุต ๘ ดวง (กามาวจรโสภณจิต) โลกุตฺตรธมฺเม อารพฺภ ปวตฺติตุํ น สกฺโกนฺติย่อมไม่สามารถเพื่อจะยึดโลกกุตตรธรรมเป็นไปได้ อตฺตโน ชฑภาวโต เพราะความที่ตนมีอานุภาพน้อย อิติ เพราะเหตุนั้น ตานิ จิตตานิ จิต ๒๐ ดวงเหล่านั้น นววิธโลกุตฺตรธมฺเม วชฺชิตฺวา เตภูมิกานิ ปฺ ตฺติฺ จ อารพฺภ ปวตฺตนฺติ จึงเว้นโลกุตตรธรรม ๙ ประการเสีย แล้วยึดอารมณ์ที่เป็นไป ในภูมิ ๓ และบัญญัติธรรม เป็นไป อิติ ดังนี้ อาห จึงกล่าว วจน ค� ํำว่า อิติ อาทิ อกุสลานิ เจวา ดังนี้ เป็นต้น ฯ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความตกลงใจ อิติ ว่า หิ ความจริง อิเมสุ ในจิต ๒๐ ดวงเหล่านี้ ทิฏฺิสมฺปยุตฺตจิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทที่สัมปยุตด้วยทิฏฐิ จตฺตาโร ๔ ดวง อกุสลโต ฝ่ายอกุศล กามาวจราลมฺพนา มีกามาวจรธรรมเป็นอารมณ์ ปริตฺตธมฺเม อารพฺภ ปรามสนอสฺสาทนาภินนฺทนกาเล ในเวลาที่ยึดกามาวจรธรรม


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 135 ถูกต้อง ยินดี และเพลิดเพลิน มหคฺคตารมฺมณา มีมหัคคตธรรมเป็นอารมณ์ สตฺตวีสติ มหคฺคตธมฺเม อารพฺภ ปวตฺติย ในเวลาที่ยึดมหัคคตธรรม ๒๗ เป็นไป ํเตเนวากาเรน โดยอาการนั้นนั่นเอง ปฺ ตฺตาลมฺพนา มีบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ สมฺมติธมฺเม อารพฺภ ปวตฺติยํ ในเวลาที่ยึดสมมติธรรมเป็นไป ฯ ทิฏฺิวิปฺปยุตฺตจิตฺตุปฺปาทาปิ แม้จิตตุปบาทที่เป็นทิฏฐิวิปปยุต ปริตฺตมหคฺคตปฺ ตฺตารมฺมโณ ก็มีกามาวจรธรรม มหัคคตธรรม และบัญญัติธรรม เป็นอารมณ์ เตเยว ธมฺเม อารพฺภ เกวลํ อสฺสาทนาภินนฺทนวเสน ปวตฺติยํ ในเวลาเป็นไปด้วยอ�ำนาจยึดธรรมเหล่านั้น นั่นแล ยินดีและความเพลิดเพลินอย่างเดียว จ แต่ ปฏิฆสมฺปยุตฺตา จิตตุปบาท ที่สัมปยุตด้วยปฏิฆะ ปริตฺตมหคฺคตปฺ ตฺตารมฺมโณ มีกามาวจรธรรม มหัคคตธรรม และบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ ทุสฺสนวิปฺปฏิสารวเสน ปวตฺติยํ ในเวลาที่เป็นไป ด้วยอ�ำนาจประทุษร้ายและความเดือดร้อนใจ วิจิกิจฺฉาสหคโต จิตตุปบาทที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉา ปริตฺตมหคฺคตปฺ ตฺตารมฺมโณ มีกามาวจรธรรม มหัคคตธรรม และบัญญัติธรรม เป็นอารมณ์ อนิฏฺงฺคมนวเสน ปวตฺติยํ ในเวลาเป็นไปด้วย อ�ำนาจไม่ถึงความตกลงใจ อุทฺธจฺจสหคโต จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ปริตฺตมหคฺคตปฺ ตฺตารมฺมโณ มีกามาวจรธรรม มหัคคตธรรม และบัญญัติธรรม เป็นอารมณ์ วิกฺขิปนวเสน อวูปสมวเสน จ ปวตฺติยํ ในเวลาเป็นไป ด้วยอ�ำนาจ ความฟุ้งซ่าน และด้วยอ�ำนาจความไม่สงบ ฯ อฏฺาณวิปฺปยุตฺตจิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทที่เป็นญาณวิปปยุต ๘ ดวง อิติ คือ กุสลโต จตฺตาโร ฝ่ายกุศลจิต ๔ ดวง กฺริยโต จตฺตาโร ฝ่ายกิริยาจิต ๔ ดวง กามาวจราลมฺพนา มีกามาวจรธรรม เป็นอารมณ์ อสกฺกจฺจทานปจฺจเวกฺขณธมฺมสฺสวนาทีสุ ปริตฺตธมฺเม อารพฺภ ปวตฺตกาเล ในเวลาที่ยึดกามาวจรธรรมเป็นไปในกิจมีการให้ การพิจารณา และ การฟังธรรมโดยไม่เคารพเป็นต้น เสกฺขปุถุชฺชนขีณาสวานํ ของพระเสขบุคคล ปุถุชน และพระขีณาสพ มหคฺคตารมฺมณา มีมหัคคตธรรมเป็นอารมณ์ อติปคุณชฺฌานปจฺจเวกฺขณกาเล ในเวลาที่พิจารณาฌานที่ช�ำนาญยิ่ง ปฺ ตฺตารมฺมณา มีบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ กสิณนิมิตฺตาทีสุ ปริกมฺมาทิกาเล ในเวลาที่บริกรรม


136 ปริเฉทที่ ๓ ในกสิณนิมิตเป็นต้น เป็นอาทิ ฯ จิต ๕ ดวงเหล่านี้ คือ าณสมฺปยุตฺตกามาวจรกุสลานิ กามาวจรกุศลจิต ที่เป็นญาณสัมปยุต (๔ ดวง) อภิญฺญากุสลญฺจ และอภิญญากุศลจิต (ปญฺจมฌานสงฺขาต ปัญจมฌานกุศลจิต ๑ ดวง) ํ อรหตฺตมคฺคผลวชฺชิตาลมฺพนานิ ชื่อว่ามีอารมณ์เว้นอรหัตตมรรคจิต และอรหัตตผลจิต เป็นอารมณ์ เสกฺขปุถุชฺชนสนฺตาเนเสฺวว ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปเฉพาะในสันดานของพระเสขบุคคล และ ปุถุชนทั้งหลายเท่านั้น ฯ หิ ความจริง เสกฺขาปิ แม้พระเสขบุคคลทั้งหลาย น สกฺโกนฺติ ย่อมไม่อาจ ชานิตุํ เพื่อจะรู้ จิตฺต จิต ํ ปาฏิปุคฺคลิก ที่เกิดเฉพาะบุคคล ํ อรหตฺตมคฺคผลสงฺขาต กล่าวคืออรหัตตมรรคจิตและอรหัตตผลจิต ํ เปตฺวา เว้น โลกิยจิตฺต โลกิยจิตเสีย ํ อนธิคตตฺตา เพราะตนยังมิได้บรรลุ ตถา ปุถุชฺชนาทโยปิ แม้บุคคลทั้งหลายมีปุถุชนเป็นต้น ก็เหมือนกัน โสตาปนฺนาทีน คือย่อมไม่สามารถ ํ รู้มรรคจิตและผลจิต ของพระอริยบุคคลทั้งหลาย มีพระโสดาบันเป็นต้น ฯ ปน แต่ อตฺตโน มคฺคผลปจฺจเวกฺขเณสุ ในกาลพิจารณามรรคและผลของตน อภิฺ าย ปริกมฺมกาเล ในกาลบริกรรมอภิญญา ปรสนฺตานคตมคฺคผลารมฺมณาย ซึ่งมีมรรคจิต และผลจิตที่อยู่ในสันดานของผู้อื่นเป็นอารมณ์ อภิฺ าจิตฺเตเนว มคฺคผลานํ ปริจฺฉินฺทนกาเล จ และในกาลก�ำหนดมรรคตจิตและผลจิตด้วยจิตที่สัมปยุตด้วย อภิญญานั่นแล กุสลชวนาน กุศลชวนจิตทั้งหลาย ํอารพฺภ ปรารภ มคฺคผลธมฺเม ธรรมคือมรรคและผล อตฺตโน อตฺตโน ของตน ๆ สมานานํ เสขานํ ของ พระเสขบุคคลทั้งหลายผู้เสมอกัน เหฏฺิมานฺ จ และของพระเสขบุคคลทั้งหลาย ผู้ต�่ำกว่า ปวตฺติ เป็นไป อตฺถิ ย่อมมี เสขานํ แก่พระเสขบุคคลทั้งหลายได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อรหตฺตมคฺคผลสฺเสว ปฏิกฺเขโป กโต จึงท�ำการห้ามเฉพาะอรหัตตมรรคจิต และอรหัตตผลจิตเท่านั้น ฯ ปน ส่วน สกฺกจฺจทานปจฺจเวกฺขณธมฺมสฺสวนสงฺขารสมฺมสนกสิณปริกมฺมาทีสุ ในการให้ การพิจารณา การฟังธรรม การพิจารณาสังขารธรรม และการบริกรรมกสิณ ที่ท�ำ ด้วยความเคารพเป็นต้น เสกฺขปุถุชฺชนานํ แห่งพระเสขบุคคลและปุถุชนทั้งหลาย ตํตทารมฺมณิกอภิฺ าน ปริกมฺมกาเล ในกาลบริกรรมแห่งอภิญญาซึ่งเป็นไป


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 137 ในอารมณ์นั้น ๆ โคตฺรภูโวทานกาเล ในกาลแห่งโคตรภูจิตและโวทานจิต ทิพฺพจกฺขฺวาทีหิรูปวิชานนาทิกาเล จ และในกาลที่รู้แจ้งรูป ด้วยทิพยจักขุญาณ เป็นต้น เป็นอาทิ กามาวจรมหคฺคตปฺ ตฺตินิพฺพานานิ กามาวจรจิต มหัคคตจิต บัญญติธรรม และนิพพาน คจฺฉนฺติ ย่อมถึง โคจรภาวํ ความเป็นอารมณ์ กุสลชวนานํ แก่กุศลชวนจิตทั้งหลายได้ ฯ สพฺพถาปิ สพฺพาลมฺพนานิ อิติ ข้อว่า สพฺพถาปิ สพฺพาลมฺพนานิ ดังนี้ าณสมฺปยุตฺตกามาวจรกฺริยานิ เจว ความว่า จิต ๖ ดวงเหล่านี้ คือ กามาวจรกิริยาจิตที่เป็นญาณสัมปยุต (๔ ดวง) กฺริยาภิญฺาโวฏฺฐวนญฺจ อภิญญากริยาจิต (ปัญจมฌานกิริยาจิต ๑ ดวง) และ โวฏฐัพพนจิต (มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง) สพฺพาลมฺพนานิ มีอารมณ์ทั้งปวง เป็นอารมณ์ กามาวจรมหคฺคตสพฺพโลกุตฺตรปฺ ตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจกามาวจรจิต มหัคคตจิต โลกุตตรจิตทั้งปวง และบัญญัติธรรม สพฺพถาปิ ชื่อว่าโดยประการ ทั้งปวง ฯ อตฺโถ อธิบายความ อิติ ว่า ปน แต่ ปเทสสพฺพาลมฺพนานิ แต่จะมี อารมณ์ทั้งปวงเฉพาะส่วนเป็นอารมณ์ อกุสลาทโย วิย ดุจอกุศลจิตเป็นต้น น ก็หามิได้ ฯ หิ ความจริง กฺริยาชวนานํ สพฺพฺ ุ ตาณาทิวสปฺปวตฺติยํ ในเวลาที่กิริยาชวนจิตเป็นไปด้วยอ�ำนาจพระสัพพัญญุตญาณเป็นต้น โวฏฺพฺพนสฺส จ ตํปุเรจาริกวสปฺปวตฺติยฺ จ และในเวลาที่โวฏฐัพพนจิต (มโนทวาราวัชชนจิต) เป็นไป ด้วยอ�ำนาจมีกิริยาจิตนั้นน�ำหน้า กิญฺจิ อารมณ์อะไร ๆ อโคจรํนาม ชื่อว่าเป็นอารมณ์ไม่ได้ น อตฺถิ ไม่มี ฯ อรูเปสุ บรรดาอรูปาวจรจิตทั้งหลาย ทุติยจตุตฺถานิ อรูปาวจรจิตดวงที่ ๒ และดวงที่ ๔ มหคฺคตาลมฺพนานิ ชื่อว่า มีมหัคคตจิตเป็นอารมณ์ ปมตติยารูปาลมฺพนตฺตา เพราะอรูปาวจรจิตดวงที่ ๒ มีอรูปาวจรจิตดวงที่ ๑ เป็นอารมณ์ และอรูปาวจรจิตดวงที่ ๔ มีอรูปาวจรจิต ดวงที่ ๓ เป็นอารมณ์ ฯ เสสานิฯเปฯ ลมฺพนานิอิติ ข้อว่า เสสานิ ฯลฯ ลมฺพนานิ ดังนี้ เอกวีสติ มหัคคจิต ๒๑ ดวง อิติ คือ ปณฺณรส รูปาวจรานิ รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง ปมตติยารูปานิ จ และอรูปาวจรจิตที่ ๑ (๓ ดวง) และอรูปาวจรจิตที่ ๓ (๓ ดวง) ปฺ ตฺตารมฺมณานิ ชื่อว่ามีบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ กสิณาทิปฺ ตฺตีสุ


138 ปริเฉทที่ ๓ ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปในบัญญัติธรรมมีกสิณเป็นต้น ฯ ปฺ จวีสติจิตฺตานิ จิต ๒๕ ดวง เตวีสติกามาวจรวิปากปฺ จทฺวาราวชฺชนหสนวเสน กามาวจรวิบากจิต ๒๓ ดวง ปัญจทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) และหสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) ภวนฺติ ย่อมเกิดมี ปริตฺตมฺหิ ในอารมณ์ที่เป็นปริตตะ กามาวจราลมฺพเนเยว คือในอารมณ์ ที่เป็นกามาวจรเท่านั้น ฯ หิความจริง กามาวจรํ อารมณ์ที่เป็นกามาวจร ปริตฺตํ ชื่อว่า ปริตตะ มหคฺคตาทโย อุปาทาย มนฺทานุภาวตาย ปริโต อตฺตํ ขณฺฑิตํ วิย อิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นดุจถูกถือเอา (อตฺตํ) คือถูกแบ่งออกโดยรอบ (ขณฺฑิตํ) โดยมีอานุภาพน้อย เพราะเปรียบเทียบมหัคคตธรรมเป็นต้น ฯ ฉ จิตฺตานิมหคฺคเตเยว อิติอาทินา วจเนน ด้วยค�ำว่า จิต ๖ ดวง ย่อมเกิดมี เฉพาะในอารมณ์ที่เป็นมหัคคตธรรมเท่านั้น ดังนี้เป็นต้น ทฏฺพฺพา บัณฑิตพึงเห็น สาวธารณโยชนา การประกอบความที่มีบทอวธารณะ สพฺพตฺถ ในทุกบท มีบทว่า เอกวีสติ เป็นต้น ฯ (อธิบายวัตถุสังคหะ) สงฺคโห การรวบรวบจิต วตฺถุวิภาคโต โดยการจ�ำแนกวัตถุ ตพฺพตฺถุกจิตฺตปริจฺเฉทวเสน จ และด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดจิตที่มีจักขุวัตถุเป็นต้นนั้นเป็นที่อาศัยเกิด วตฺถุสงฺคโห ชื่อว่า วัตถุสังคหะ ฯ วสนฺติ เอเตสุ จิตฺตเจตสิกา ตนฺนิสฺสยตฺตาติ วตฺถูนิ ธรรมชาติที่ชื่อว่า วัตถุ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่อยู่อาศัยแห่งจิต และเจตสิกทั้งหลาย เพราะมีจักขุวัตถุเป็นต้นนั้น เป็นที่อาศัยอยู่ ฯ กามโลเก ในโลก ที่เป็นกามาวจร สพฺพานิปิ ลพฺภนฺติ ชื่อว่า ย่อมหาวัตถุทั้งหลายได้ แม้ทั้งหมด ปริปุณฺณินฺทฺริยสฺส ตตฺเถว อุปลพฺภนโต เพราะสัตว์ที่มีอินทรีย์บริบูรณ์หาได้ แน่นอน ในโลกที่เป็นกามาวจรนั้นและ ฯ ปน ก็ ปิสทฺเทน ด้วยปิศัพท์ เอตฺถ ในค�ำว่า สพฺพานิปิ นี้ ทีเปติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์แสดง อนฺธพธิราทิวเสน เกสฺ จิอสมฺภวํ ว่าวัตถุบางอย่าง มีจักขุวัตถุเป็นต้น ไม่เกิดมี ด้วยอ�ำนาจสัตว์ ผู้พิการ มีตาบอดและหูหนวกเป็นต้น ฯ ฆานาทิตฺตย วัตถุ ๓ ประการมีฆานวัตถุ ํ


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 139 เป็นต้น นตฺถิ ชื่อว่า ย่อมไม่มี (ในโลกที่เป็นรูปาวจร) ตพฺพิสยปสาเทสุปิ วิราคสพฺภาวโต เพราะพวกพรหมเป็นผู้มีความคลายก�ำหนัด แม้ในประสาทที่มี กลิ่น รส และโผฏฐัพพะนั้นเป็นอารมณ์ พฺรหฺมานํกามวิราคภาวนาวเสน คนฺธรสโผฏฺพฺเพสุ วิรตฺตตาย เหตุที่พวกพรหมเป็นผู้คลายก�ำหนัดแล้ว ในกลิ่น รส และโผฏฐัพพะทั้งหลาย ด้วยอ�ำนาจภาวนาเป็นเครื่องส�ำรอกกาม ฯ ปน ส่วน จกฺขฺวาทิทฺวยํ วัตถุ ๒ ประการ มีจักขุวัตถุเป็นต้น พุทฺธทสฺสนธมฺมสฺสวนาทิอตฺถํ ซึ่งมีประโยชน์ส�ำหรับเห็นพระพุทธเจ้าและฟังธรรมเป็นต้น อุปลพฺภติ ย่อมหาได้ แน่นอน ตตฺถ ในโลกที่เป็นรูปาวจรนั้น จกฺขุโสเตสุ อวิรตฺตภาวโต เพราะพวก พรหมยังไม่เบื่อหน่ายในจักขุวัตถุและโสตวัตถุทั้งหลาย ฯ อรูปโลเก ในโลกที่เป็น อรูปาวจร วตฺถูนิ วัตถุ ฉ ๖ ประการ สพฺพานิ ทั้งปวง น สํวิชฺชนฺติชื่อว่า ย่อมไม่มี อรูปีนํ รูปวิราคภาวนาพเลน ตตฺถ สพฺเพน สพฺพํ รูปปฺปวตฺติยา อภาวโต เพราะในโลกที่เป็นอรูปาวจรนั้น ความเป็นไปแห่งรูปไม่มีแก่พวกอรูปพรหม โดยประการทั้งปวง ด้วยก�ำลังภาวนาเป็นเครื่องส�ำรอกรูป ฯ ปฺ จวิฺ าณาเนว นิสฺสตฺตนิชฺชีวตฺเถน ธาตุโย ธรรมชาติที่ชื่อว่า ธาตุ เพราะอรรถว่า ไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่ชีวะ คือ ปัญจวิญญาณจิต อิติ เพราะเหตุนั้น ปฺ จวิฺ าณธาตุโย จึงชื่อว่า ปัญจวิญญาณธาตุจิต มนนมตฺตา ธาตุ ธาตุอัน เป็นเพียงความรู้ มโนธาตุ ชื่อว่า มโนธาตุจิต ฯ ธาตุ จ ธรรมชาติที่ชื่อว่า ธาตุ นิสฺสตฺตนิชฺชีวตฺเถน เพราะอรรถว่า ไม่ใช่สัตว์ไม่ใช่ชีวะ วิญฺาณ ชื่อว่า วิญญาณ ํ วิสิฏฺวิชานนกิจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยหน้าที่ คือ ความรู้แจ้งอย่าง ประเสริฐสุด มโนเยว คือ ใจ อิติ เพราะเหตุนั้น มโนวิฺ าณธาตุ จึงชื่อว่า มโนวิญญาณธาตุจิต วา อีกอย่างหนึ่ง มโนวิฺ าณธาตุ ที่ชื่อว่า มโนวิญญาณธาตุจิต มนโส วิฺ าณธาตู อิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ธาตุอันเป็นเพียง ความรู้แจ้ง แห่งใจ ฯ หิ ความจริง สา มโนวิญญาณธาตุจิตนั้น มนโตเยว อนนฺตรปจฺจยโต สมฺภูย มนโสเยว ปจฺจยภูตา เกิดแต่ใจ อันเป็นอนันตรปัจจัย นั่นแหละ แล้วเป็นปัจจัยแก่ใจนั่นเอง อิติ เพราะเหตุนั้น มนโส สมฺพนฺธินีโหติ


140 ปริเฉทที่ ๓ จึงมีความสัมพันธ์กับใจ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความ อิติ ว่า ตึสธมฺมา ธรรม ๓๐ ประการ มโนวิฺ าณธาตุสงฺขาตา กล่าวคือมโนวิญญาณธาตุ ยถาวุตฺตมโนธาตุวิฺ าณธาตูหิ อวเสสา ซึ่งเหลือจากมโนธาตุ และปัญจวิญญาณธาตุจิตตามที่กล่าวแล้ว ปวตฺตา ที่เป็นไป วเสน คือ สนฺตีรณตฺตยสฺส สันตีรณจิต ๓ ดวง อฏฺมหาวิปากานํ มหาวิบากจิต ๘ ดวง ปฏิฆทฺวยสฺส โทสมูลจิต ๒ ดวง ปมมคฺคสฺส โสดาปัตติมรรคจิต (๑ ดวง) หสิตุปฺปาทสฺส หสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) ปณฺณรสรูปาวจรานฺ จ และรูปาวจรจิต ๑๕ ดวง น เกวล มโนธาตุเยว ตถา หทยํ นิสฺสาเยว ปวตฺตนฺติ ย่อมอาศัยหทัยวัตถุอย่างเดียวเท่านั้น เป็นไป เหมือนอย่างมโนธาตุจิตนั่นแหละ ก็หามิได้ ฯ หิ ความจริง สนฺตีรณมหาวิปากานิ สันตีรณจิตและมหาวิปากจิต เอกาทส ๑๑ ดวง น อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมไม่เกิดขึ้น อารุปฺเป ในโลกที่เป็นอรูปาวจร ทฺวาราภาวโต เพราะไม่มีทวาร กิจฺจาภาวโต จ และเพราะไม่มีหน้าที่ ฯ ปฏิฆสฺส อนีวรณาวตฺถสฺส อภาวโต เพราะปฏิฆะที่ก�ำหนด ว่าไม่เป็นนิวรณ์ไม่มี ตสหคตจิตฺตทฺวยํ จิต ๒ ดวง ที่สหรคตด้วยปฏิฆะนั้น นตฺถิ จึงไม่มี รูปโลเกปิ แม้ในโลกที่เป็นรูปาวจร ฯ ปเคว อารุปฺเป ในโลกที่เป็นอรูปาวจร ไม่จ�ำเป็นจะต้องพูดถึงเลย ฯ ปมมคฺโคปิ แม้โสดาปัตติมรรคจิต น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิดขึ้น อารุปฺเป ในภพที่เป็นอรูปาวจร ปรโตโฆสปจฺจยาภาเวน สาวกานํ อนุปฺปชฺชนโต เพราะพระสาวกทั้งหลายเกิดขึ้นไม่ได้ โดยไม่มีปัจจัยคือเสียงจาก ผู้อื่น พุทฺธปจฺเจกพุทฺธานํ จ มนุสฺสโลกโต อฺ ตฺถ อนิพฺพตฺตนโต และเพราะ พระพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ไม่บังเกิดในภพอื่น จากมนุษยโลก ฯ จ อนึ่ง หสนจิตฺตํ หสิตุปปาทจิต น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิดขึ้น อรูปภเว ในภพ ที่เป็นอรูปาวจร กายาภาวโต เพราะไม่มีกายปสาทรูป รูปาวจรานิ รูปาวจรจิต (๑๕ ดวง) น อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมไม่เกิดขึ้น อรูปภเว ในภพที่เป็นอรูปาวจร อรูปีน รูปวิราคภาวนาวเสน ตทารมฺมเณสุ ฌาเนสุปิวิรตฺตภาวโต เพราะพวกอรูปพรหม เป็นผู้เบื่อหน่ายแล้ว แม้ในฌานทั้งหลาย ที่มีรูปนั้นเป็นอารมณ์ ด้วยอ�ำนาจภาวนา เป็นเครื่องส�ำรอกรูป อิติ เพราะเหตุนั้น เตจตตาฬีสจิตฺตานิ จิต ๔๓ ดวง


พระมหาวิฑูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙ แปล 141 เอตานิ เหล่านี้ สพฺพานิปิ แม้ทั้งหมด หทยํ นิสฺสาเยว ปวตฺตนฺติจึงอาศัย หทัยวัตถุเท่านั้น เป็นไป ฯ ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย มโนวิฺ าณธาตุสงฺขาตา กล่าวคือ มโนวิญญาณธาตุจิต เทฺวจตฺตาฬีสวิธา ๔๒ ประการ วเสน คือ อิเมส จิตทั้งหลาย ํ เหล่านี้ อิติ คือ ทฺวาทสโลกิยกุสลานิ โลกิยกุศลจิต ๑๒ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ปฺ จรูปาวจรโต จากรูปาวจรกุศลจิต ๕ ดวง ทสากุสลานิ อกุศลจิต ๑๐ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ปฏิฆทฺวยโต จากโทสมูลจิต ๒ ดวง เตรสกฺริยาจิตฺตานิ กิริยาจิต ๑๓ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ปฺ จทฺวาราวชฺชนหสนรูปาวจรกฺริยาหิ จากปัญจทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) หสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) และรูปาวจรกิริยาจิต (๕ ดวง) สตฺตานุตฺตรานิ จ และโลกุตตรจิต ๗ ดวง อวเสสานิ ที่เหลือ ปมมคฺคโต จากโสดาปัตติมรรคจิต (๑ ดวง) ปฺ จโวการภววเสน หทยํ นิสฺสาย ปวตฺตนฺติ วา อาศัยหทัยวัตถุเป็นไปด้วยอ�ำนาจปัญจโวการภพ (ภพ หรือ ภูมิ เป็นที่อยู่ของสัตว์ที่มีขันธ์ ๕ ครบบริบูรณ์) ก็มี จตุโวการภววเสน อนิสฺสาย ปวตฺตนฺติ วา ไม่อาศัยหทัยวัตถุเป็นไปด้วยอ�ำนาจจตุโวการภพ (ภพ หรือ ภูมิ เป็นที่อยู่ของสัตว์ที่มีขันธ์ ๔) ก็มี ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความ ว่า วิฺ าณธาตุโย วิญญาณธาตุจิต สตฺต ๗ ประการ ฉวตฺถุนิสฺสิตา อาศัยวัตถุ ๖ มตา ท่านกล่าวไว้ กาเม ภเว ในกามภพ ฯ วิฺ าณธาตุโย วิญญาณธาตุจิต จตุพฺพิธา ๔ ฆานวิฺ าณาทิตฺตยวชฺชิตา เว้นวิญญาณธาตุจิต ๓ มีฆานวิญญาณธาตุจิตเป็นต้น ติวตฺถุนิสฺสิตา อาศัยวัตถุ ๓ มตา ท่านกล่าวไว้ รูเป ภเว ในรูปภพ ฯ มโนวิฺ าณธาตุ มโนวิญญาณธาตุจิต เอกา อย่างเดียว อนิสฺสิตา ไม่อาศัยวัตถุอะไร ๆ มตา ท่านกล่าวไว้ อารุปฺเป ภเว ในอรูปภพ อิติ ดังนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า เตจตฺตาฬีส ธรรม คือจิต ๔๓ ดวง อิติ คือ กามาวจรานิ กามาวจรจิต สตฺตวีสติ ๒๗ ดวง กามาวจรวิปากปฺ จทฺวาราวชฺชนปฏิฆทฺวยหสนวเสน ได้แก่ กามาวจรวิปากจิต (๒๓ ดวง) ปัญจทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) โทสมูลจิต ๒ ดวง และหสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) รูปาวจรานิ รูปาวจรจิต ปณฺณรส ๑๕ ดวง ปมมคฺโค และ


142 ปริเฉทที่ ๓ โสดาปัตติมรรคจิต (๑ ดวง) นิสฺสาเยว ชายเร อาศัยหทัยวัตถุเท่านั้น จึงเกิดได้ เทฺวจตฺตาฬีส จิต ๔๒ ดวง ตโตเยวาวเสสา อารุปฺปวิปากวชฺชิตา เว้น อรูปาวจรวิบากจิต (๔ ดวง) ที่เหลือจากจิต ๔๓ ดวงเหล่านั้นนั่นแหละ นิสฺสาย ชายเร จ อาศัยหทัยวัตถุเกิดก็มี อนิสฺสาย ชายเร จ ไม่อาศัยหทัยวัตถุเกิดก็มี ปาการูปา อรูปาวจรวิบากจิต จตฺตาโร ๔ ดวง อนิสฺสิตาเยว ชายเร ไม่อาศัย หทัยวัตถุเลย ก็เกิดได้ ฯ ตติยปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๓ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธรรมมัตถสังคหะ ชื่อ อภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺฐิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ แปลโดย พระมหาวิทูร สิทฺธิเมธี ป.ธ.๙, ศศ.ม. วัดพระงาม พระอารามหลวง นครปฐม


Click to View FlipBook Version