พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 343 ทรงจ�ำแนกรูปเป็น ๑๑ ส่วนทั้งกึ่ง (คือ ๑๐ ส่วนครึ่ง) ฯ อุภยสมฺมุฬฺหานํ ธาตุคฺคหณํ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลงในนามและรูปทั้งสองจะก�ำหนดรู้ถึงธาตุได้ อุภเยสมฺปิ ตตฺถ วิตฺถารโต วิภตฺตตฺตา เพราะในธาตุทั้งหลายเหล ่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจ�ำแนกนามและรูปแม้ทั้งสองโดยพิสดาร ฯ ตถา ติกฺขินฺทฺริยานํ สงฺขิตฺตรุจิกานญฺจ ขนฺธคฺคหณนฺติอาทิ โยเชตพฺพํ บัณฑิตพึง ประกอบค�ำว่า เหล่าสัตว์จ�ำพวกมีอินทรีย์แก่กล้า และเหล่าสัตว์จ�ำพวกพอใจ ในความย่อ จะก�ำหนดรู้ถึงขันธ์ได้ ก็เหมือนกัน ดังนี้เป็นต้น ฯ ตมฺปเนตํ ฯเปฯ สจฺจคฺคหณนฺติทฏพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ปน ก็ ตํ เอตํ ติวิธมฺปิ ศัพท์แม้ทั้ง ๓ นี้นั้น ทิฏเมว อุปการาวหํ ย่อมน�ำอุปการะมาให้ทันตาเห็นทีเดียว ปวตฺตินิวตฺติตทุภยเหตุวเสน ด้วยอ�ำนาจทุกขสัจที่เป็นไปอยู่ นิโรธสัจที่ให้กลับ และเหตุแห่งทุกขสัจที่เป็นไปอยู่ (คือ สมุทัยสัจ) เหตุแห่งนิโรธสัจที่ไห้กลับ (คือ มรรคสัจ) ทั้งสองนั้น โน อญฺถา (อุปการาวห) ย่อมน� ํำอุปการะมาให้โดยประการ อื่นหาได้ไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น สจฺจคฺคหณํ เหล่าสัตว์จึงก�ำหนดรู้ถึงสัจจะ (คือ อริยสัจ ๔ ประการ)ได้ ฯ (จบ บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๓ และ ป.ธ.๙ ปี ๒๕๓๔) จบสัพพสังคหะ อิติอภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย สตฺตมปริจฺเฉทวณฺณนา นิฏตา พรรณนาความปริจเฉทที่ ๗ ในฏีกาอภิธัมมัตถสังหะ ชื่อว่าอภิธัมมัตถวิภาวินี จบแล้ว ด้วยประการฉะนี้
344 ปริเฉทที่ ๘ อฏฺฐมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๘ (๒๕๐๘) อิทานิ บัดนี้ (อาจริเยน) ท่านอาจารย์ ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดง ปจฺจเย ปัจจัย ยถาวุตฺตนามรูปธมฺมานํ ของธรรมคือรูปธรรมและนามธรรม ตามที่กล่าวแล้ว ปฏิจฺจสมุปฺปาทปฏฺฐานนยวเสน ด้วยอ�ำนาจปฏิจจสมุปปาทนัย และปัฏฐานนัย เยสนฺติอาทิมารทฺธํ จึงเริ่มค�ำว่า เยสํ ดังนี้เป็นต้น ฯ โยชนา ประกอบความว่า ปจฺจยธมฺมา ธรรมคือปัจจัย เย เหล่าใด ปจฺจยา เป็นปัจจัย อุปการกา คือเป็นสภาวะท�ำอุปการะ ฐิติยา แก่ความด�ำรงอยู่ อุปฺปตฺติยา จ และ ความอุบัติ สงฺขตานํ แห่งธรรมที่ชื่อว่าสังขตะ (ทั้งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง) ปจฺจเยหิ สงฺขตตฺตา เพราะอันปัจจัยทั้งหลายปรุงแต่ง ได้แก่ ปจฺจยุปฺปนฺนธมฺมานํ ธรรม อันเกิดขึ้นด้วยปัจจัย เยสํ เหล่าใด ยถา โดยประการใด คือ เยนากาเรน โดยอาการใด ปวกฺขามิ ข้าพเจ้าจักกล่าว ตํวิภาคํ วิภาคนั้น ๆ คือ ปเภทํ ประเภท ปจฺจยุปฺปนฺนานํ ของธรรมที่เกิดขึ้นจากปัจจัย เตสํ นั้น ๑ ปจฺจยานํ ประเภท ของปัจจัย เตสํ เหล่านั้น ๑ ปจฺจยาการสฺส ประเภทของอาการที่เป็นปัจจัย ตสฺส นั้น ๑ อิห ฐาเน ในที่นี้ คือ อิมสฺมึ สมุจฺจยสงฺคหานนฺตเร ในฐานะ อันเป็นล�ำดับแห่งสมุจจยสังคหะนี้ ยถารหํ ตามสมควร คือ ตํตํปจฺจยานํ ตํตํปจฺจยภาวาการานุรูปํ สมควรแก่อาการคือภาวะที่ปัจจัยนั้น ๆ เป็นปัจจัยนั้น ๆ ตตํ ปจฺจยุปฺปนฺนธมฺเม ํ ปติเฉพาะธรรมอันเกิดขึ้นด้วยปัจจัยนั้น ๆ อิทานิ ในบัดนี้ ฯ ตตฺถ ปฏิจฺจสมุปฺปาทนยาทีสุ วินิจฺฉโย วินิจฉัยในค�ำว่า ปฏิจจสมุปปาทนัยเป็นต้น นั้น ดังต่อไปนี้ ปจฺจยสามคฺคึปฏิจฺจ สมํ คนฺตฺวา ผลานมุปฺปาโท เอตสฺมาติ ปฏิจฺจสมุปฺปาโท ปจฺจโย ธรรมที่ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท ด้วยอรรถว่า เป็นแดนอาศัย ความพรั่งพร้อมแห่งปัจจัย ถึงพร้อมแล้ว เกิดผลทั้งหลายขึ้น ได้แก่ ปัจจัย (ปฏิจฺจสมุปฺปาโท ธรรมที่ชื่อว่าปฏิจจสมุปบาท อิติ ด้วยอรรถว่า เอตสฺมา เป็นแดน
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 345 ปฏิจฺจ อาศัย ปจฺจยสามคฺคึ ความพรั่งพร้อมแห่งปัจจัย สมํ คนฺตฺวา ถึงพร้อมแล้ว ผลานมุปฺปาโท เกิดผลทั้งหลายขึ้น ปจฺจโย ได้แก่ ปัจจัย) ฯ ปฏฺฐานํ ปกรณ์อัน ชื่อว่าปัฏฐาน เอตฺถาติอาทินา ด้วยอรรถเป็นต้นว่า ฐานานิ เป็นที่มีฐาน คือ ปจฺจยา ปัจจัย นานปฺปการานิ ประการต่าง ๆ ได้แก่ อนนฺตนยสมนฺตปฏฺฐานมหาปกรณํ มหาปกรณ์สมันตปัฏฐาน ซึ่งมีนัยไม่มีที่สุด ฯ เทสิตนโย นัยอันพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงไว้ ตตฺถ อนนฺตนยสมนฺตปฏฺฐานมหาปกรเณ ในมหาปกรณ์สมันตปัฏฐาน ซึ่งมีนัยไม่มีที่สุดนั้น ปฏฺฐานนโย ชื่อว่าปัฏฐานนัย ฯ (จบ ๒๕๐๘) บทว่า ตตฺถ ได้แก่ เตสุ ทฺวีสุ นเยสุ บรรดานัยทั้ง ๒ นั้น ฯ ภาโว ความเกิดมี ภวนสีลสฺส แห่งปัจจยุปันนธรรมซึ่งมีปกติ ภาเวน โดยความเกิดมี ปจฺจยธมฺมสฺส แห่งปัจจยธรรม ตสฺส นั้น ตพฺภาวภาวิภาโว ชื่อว่า ตัพภาวภาวิภาพ ฯ โสเยว อาการมตฺตํ ฯ เตน อุปลกฺขิโต นัยที่ท่านก�ำหนดแน่นอน โดยเพียง อาการ คือ ความเกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรม ซึ่งมีเป็นปกติ โดยความเกิดมีแห่ง ปัจจยธรรมนั้น ตพฺภาว ฯเปฯ ลกฺขิโต ชื่อว่าตัพภาวะ ฯ ล ฯ ลักขิตะ ฯ เอเตเนว (ตพฺภาวภาวิภาวาการมตฺโตปลกฺขิตฺโต อิติอาทินา ปเทน) ด้วยบทว่า ตพฺภาวภาวิภาวาการมตฺโตปลกฺขิตฺโต นี้นั่นแล ตทภาวาภาวิภาวาการมตฺโตปลกฺขิตตาปิอตฺถโต ทสฺสิตา โหติ โดยใจความ ย่อมเป็นอันท่านแสดงแม้ความที่ นัยที่ท่านก�ำหนดแน่นอน โดยเพียงอาการ คือ ความเกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรม ซึ่งมีเป็นปกติ โดยความเกิดมีแห่งปัจจยธรรมนั้น ฯ หิ ความจริง ปจฺจยลกฺขณํ ลักษณะแห่งปัจจยธรรม ทสฺสิตพฺพํ พึงแสดง อนฺวยพฺยติเรกวเสน ด้วยอ�ำนาจ นัยที่คล้อยตามและนัยที่ขัดแย้งกัน ฯ เตนาห ภควา เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสว่า อิมสฺมึ สติ เมื่อเหตุนี้มี อิทํ โหติผลนี้จึงมี อิมสฺสุปฺปาทา เพราะเหตุนี้ เกิดขึ้น อิทมุปฺปชฺชติ ผลนี้จึงเกิดขึ้น อิมสฺมึ อสติ เมื่อเหตุนี้ไม่มี อิทํ น โหติ ผลนี้ก็ไม่มี อิมสฺส นิโรธา เพราะเหตุนี้ดับ อิทํ นิรุชฺฌตีติผลนี้จึงดับ ฯ ปฏิจฺจ ผลํ เอตสฺมา เอตีติปจฺจโย ที่ชื่อว่าปัจจัย เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นแดนอาศัยเป็นไปแห่งผล (ปจฺจโย ที่ชื่อว่าปัจจัย ปฏิจฺจ ผลํ เอตสฺมา เพราะ
346 ปริเฉทที่ ๘ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นแดนอาศัย เอตีติ เป็นไปแห่งผล) ฯ ติฏฺฐติผลํ เอตฺถ ตทายตฺตวุตฺติตายาติฐิติ ที่ชื่อว่าฐิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่ตั้งอยู่แห่งผล เพราะมีความเป็นไปเนื่องกับปัจจยธรรมนั้น (ฐิติ ที่ชื่อว่าฐิติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ติฏฺฐติผลํ เอตฺถ เป็นที่ตั้งอยู่แห่งผล ตทายตฺตวุตฺติตาย เพราะมีความเป็นไป เนื่องกับปัจจยธรรมนั้น) ฯ ฐิติ ที่ตั้งอยู่แห่งผล ปจฺจยสงฺขาตา กล่าวคือปัจจัย อาหจฺจ วิเสเสตฺวา ปวตฺตา ที่เป็นไปตลอด ได้แก่ ไม่เหลือ อาหจฺจปจฺจยฏฺฐิติ ชื่อว่า อาหัจจปัจจยฐิติ ฯ หิ ความจริง ปฏิจฺจสมุปฺปาทนโย ปฏิจจสมุปปาทนัย เหตาทิปจฺจยนิยมวิเสสํ อนเปกฺขิตฺวา ไม่ค�ำนึงถึงความต่างกันแห่งการก�ำหนด ปัจจัยมีเหตุปัจจัยเป็นต้น อวิเสสโตว ปวตฺตติ ย่อมเป็นไปโดยไม่แปลกกันเลย ตพฺภาวภาวิภาวาการมตฺตํ อุปาทาย ปวตฺตตฺตา เพราะอาศัยเพียงอาการ คือความ เกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรมซึ่งมีปกติ โดยความเกิดมีแห่งปัจจยธรรมนั้น เป็นไป ปน ส่วน อยํ (ปฏฺฐานนโย) ปัฏฐานนัยนี้ ตํตํปจฺจยภาวสามตฺถิยาการวิเสสํ อุปาทาย อาศัยความต่างกันแห่งอาการ คือความสามารถในความที่แห่งปัจจัยนั้น ๆ มีเหตุปัจจัยเป็นต้นเป็นปัจจัยนั้น ๆ ตสฺส ตสฺส ธมฺมนฺตรสฺส แก่ธรรมอื่นนั้น ๆ วิเสเสตฺวา ปวตฺโต เป็นไปต่างกัน (อิติ) อาห เพราะเหตุนั้น ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวว่า อาหจฺจปจฺจยฏฺฐิตึอารพฺภ ปวุจฺจตีติทรงปรารภที่ตั้งอยู่แห่งผลกล่าว คือปัจจัยที่เป็นไปตลอด ตรัสเรียกว่า ปัฏฐานนัย ฯ ปน ส่วน เกจิ (อาจริยา) อาจารย์บางพวก วณฺเณนฺติ พรรณนาไว้ว่า อาหจฺจ กณฺฐตาลุอาทีสุ ปหริตฺวา วุตฺตา ที่ตั้งอันบุคคลพูดถึง คือกระทบ ที่คอและเพดานเป็นต้น อาหจฺจปจฺจยฏฺฐิติ ชื่อว่า อาหัจจปัจจยฐิติ ฯ ปน ก็ ตํ (วจนํ) ค�ำนั้น ปกาเสติ ย่อมประกาศ เตสํ อวหสิตพฺพวจนตํ ความที่ถ้อยค�ำของเกจิอาจารย์พวกนั้น เป็นธรรมชาตอันบุคคล พึงหัวเราะเยาะได้ สวนมตฺเตเนว ด้วยเหตุเพียงได้ยินเท่านั้น หิ เพราะว่า ปฏิจฺจสมุปฺปาทนโย ปฏิจจสมุปปาทนัย อญฺโญ วา โกจินโย หรือนัยอย่างอื่น อะไร ๆ ก็ตาม กณฺฐตาลุอาทีสุ อนาหจฺจ เทสิตุํ สกฺกา พระผู้มีพระภาคเจ้า ไม่สามารถจะทรงแสดงไม่ให้กระทบที่คอและที่เพดานเป็นต้นได้ อิติ ดังนี้แล ฯ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 347 อธิปฺปาโย อธิบายว่า อาจริยา อาจารย์ทั้งหลาย สงฺคหการาทโย คือท่านอาจารย์ ผู้แต่งสังคหะเป็นต้น โวมิสฺเสตฺวา ผสม ปกฺขิปิตฺวา ได้แก่ ใส่ ปฏฺฐานนยมฺปิ ปฏิจฺจสมุปฺปาเทเยว ปัฏฐานนัยเข้าในปฏิจจสมุปปาทนัยนั่นเอง มิสฺเสตฺวา แล้วผสม ตพฺภาวภาวิภาเวน ด้วยความเกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรมซึ่งมีปกติโดยความเกิดมี แห่งปัจจยธรรมนั้น ตาทิเหตาทิปจฺจยวเสน จ และด้วยอ�ำนาจเหตุปัจจัยเป็นต้น ปปญฺเจนฺติ พรรณนาไว้อย่างพิสดาร วิตฺถาเรนฺติ คือ ขยายออกอย่างกว้างขวาง ฯ ปน แต่ มยํ พวกข้าพเจ้า วิสุ วิสุเยว ทสฺสยิสฺสาม จักแสดงแยกกัน ฯ น วิชานาตีติ อวิชฺชา ธรรมชาติที่ชื่อว่า อวิชชา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่รู้แจ้ง (อวิชฺชา ธรรมชาติที่ชื่อว่า อวิชชา น วิชานาตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่รู้แจ้ง) ฯ อวินฺทิยํ วา กายทุจฺจริตาทึ วินฺทติ ปฏิลภติ วินฺทิยํ วา กายสุจริตาทิกํ น วินฺทติเวทิตพฺพํ วา จตุสจฺจาทิกํ น วิทิตํ กโรติอวิชฺชมาเน วา ชวาเปติ วิชฺชมาเน วา น ชวาเปตีติ อวิชฺชา อีกอย่างหนึ่ง ที่ชื่อว่า อวิชชา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ประสบ คือได้เฉพาะ ซึ่งกายทุจริตเป็นต้นที่ตน ไม่พึงประสบ ย่อมไม่ประสบกายสุจริตเป็นต้นที่ตนพึงประสบ ไม่กระท�ำสัจจะ ๔ เป็นต้นที่ตนพึงทราบให้ทราบชัด ย่อมให้สัตว์เป็นไปในอวิชชมานบัญญัติ หรือไม่ให้ เหล่าสัตว์เป็นไปในวิชชมานบัญญัติ (วา อีกอย่างหนึ่ง อวิชฺชา ที่ชื่อว่าอวิชชา วินฺทติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ประสบ ปฏิลภติ คือได้เฉพาะ อวินฺทิยํ กายทุจฺจริตาทึ ซึ่งกายทุจริตเป็นต้นที่ตนไม่พึงประสบ น วินฺทติ ย่อมไม่ประสบ วินฺทิยํ วา กายสุจริตาทิกํ กายสุจริตเป็นต้นที่ตนพึงประสบ เวทิตพฺพํ วา จตุสจฺจาทิกํ น วิทิตํ กโรติไม่กระท�ำสัจจะ ๔ เป็นต้นที่ตนพึงทราบให้ทราบชัด อวิชฺชมาเน วา ชวาเปติ ย่อมให้สัตว์เป็นไปในอวิชชมานบัญญัติ) วิชฺชมาเน วา น ชวาเปติ หรือไม่ให้เหล่าสัตว์เป็นไปในวิชชมานบัญญัติ ฯ เอตํ (อวิชฺชาติ) ค�ำว่า อวิชชา นี้ อญาณสฺส นามํ เป็นชื่อว่าของความไม่รู้ จตูสุ อริยสจฺเจสุ ในอริยสัจ ๔ ปุพฺพนฺตาทีสุ จ จตูสุ และในสภาวธรรม ๔ มีที่สุดเบื้องต้นเป็นอาทิ ฯ อวิชชานั่นเอง เป็นปัจจัย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าอวิชชาปัจจัย (อวิชฺชาว อวิชชา
348 ปริเฉทที่ ๘ นั่นเอง ปจฺจโย เป็นปัจจัย อิติ เพราะเหตุนั้น อวิชฺชาปจฺจโย จึงชื่อว่าอวิชชาปัจจัย) ฯ ตโต อวิชฺชาปจฺจยา เพราะอวิชชาปัจจัยนั้น จึงเกิดมี สังขารทั้งหลาย ฯ สงฺขตมภิสงฺขโรนฺตีติ สงฺขารา กุสลากุสลกมฺมานิ ที่ชื่อว่าสังขาร เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ปรุงแต่งสังขตธรรม ได้แก่ กุศลกรรมและอกุศลกรรม (สงฺขารา ที่ชื่อว่าสังขาร สงฺขตมภิสงฺขโรนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ปรุงแต่งสังขตธรรม กุสลากุสลกมฺมานิ ได้แก่ กุศลกรรมและอกุศลกรรม) ฯ เต ติวิธา สังขาร เหล่านั้นมี ๓ อย่าง ปุญฺญาภิสงฺขาโร อปุญฺญาภิสงฺขาโร อเนญฺชาภิสงฺขาโรติ คือ ปุญญาภิสังขาร ๑ อปุญญาภิสังขาร ๑ อเนญชาภิสังขาร ๑ ฯ ตตฺถ (ติวิเธสุ สงฺขาเรสุ) บรรดาสังขาร ๓ อย่างนั้น เตรส กุสลเจตนา กุศลจิต ๑๓ ดวง กามรูปาวจรา ทั้งฝ่ายกามาวจรและฝ่ายรูปาวจร ปุญฺญาภิสงฺขาโร ชื่อว่า ปุญญาภิสังขาร ทฺวาทส อกุสลเจตนา อกุศลจิต ๑๒ ดวง อปุญฺญาภิสงฺขาโร ชื่อว่า อปุญญาภิสังขาร จตสฺโส อรูปเจตนา อรูปาวจรจิต ๔ ดวง อเนญฺชาภิสงฺขาโร ชื่อว่า อเนญชาภิสังขาร อิติ เอวํ รวมความดังกล่าวมานี้ เอกูนตฺตึส เจตนา จิต ๒๙ ดวงเหล่านี้ สงฺขารา นาม ชื่อว่า สังขาร ฯ วิปากจิตฺตํ วิบากจิต ปฏิสนฺธิวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจปฏิสนธิกาล เอกูนวีสติวิธํ มี ๑๙ ดวง ปวตฺติวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจปวัตติกาล ทฺวตฺตึสวิธ มี ๓๒ ดวง ํ วิญฺญาณํ นาม ชื่อว่า วิญญาณ ฯ นามญฺจ รูปญฺจ นามและรูป นามรูป ชื่อว่านามรูป ฯ ํทฏฺฐพฺพ พึงเห็นความหมาย ํ ว่า ตตฺถ บรรดานามและรูปทั้ง ๒ นั้น นามํ อิธ นามในที่นี้ เวทนาทิกฺขนฺธตฺตยํ ได้แก่ ขันธ์ ๓ มีเวทนาขันธ์เป็นต้น ฯ ปน ส่วน รูปํ รูป ได้แก่ กมฺมสมุฏฺฐานรูปํ รูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน ทุวิธ มี ๒ อย่าง ํ ภูโตปาทายเภทโต โดยแยกเป็นภูตรูป และอุปาทายรูป ฯ ตทุภยมฺปิ (นามรูปํ) นามและรูปทั้ง ๒ นั้น อิธ ในที่นี้ ปฏิสนฺธิวิญฺญาณสหคตํ สหรคตด้วยปฏิสนธิวิญญาณจิต ฯ นามรูปปจฺจยาติ เอตฺถ ในค�ำว่า นามรูปปจฺจยา นี้ สรูเปกเสโส เวทิตพฺโพ บัณฑิตพึงทราบ สรูเปกเสสสมาสว่า นามญฺจ นามด้วย รูปญฺจ รูปด้วย นามรูปญฺจ นามและรูปด้วย นามรูปํ ชื่อว่านามรูป ฯ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 349 ฉ อชฺฌตฺติกายตนานิ อายตนะภายใน ๖ จกฺขฺวาทีนิ มีจักขวายตนะเป็นต้น ฉ พาหิรายตนานิปิวา หรือแม้อายตนะภายนอก ๖ รูปาทีนิ มีรูปายตนะเป็นต้น เกสญฺจิ(อาจริยานํ) มเตน ตามมติของอาจารย์บางพวก อายตนํ นาม ชื่อว่า อายตนะ ฯ ฉ อายตนานิจ อายตนะ ๖ ฉฏฺฐายตนญฺจ และอายตนะที่ ๖ สฬายตนํ ชื่อว่าสฬายตนะ ฯ ผสฺโส ผัสสะ ฉทฺวาริโก อันเกิดทางทวาร ๖ จกฺขุสมฺผสฺสาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจจักขุสัมผัสเป็นต้น ผสฺโส นาม ชื่อว่าผัสสะ ฯ ติวิธา เวทนา เวทนามี ๓ อย่าง สุขทุกฺขุเปกฺขาวเสน คือ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ อทุกขมสุขเวทนา ๑ ฯ ติติวิธาตณฺหา ตัณหามี ๓ อย่าง กามตณฺหา คือ กามตัณหา ๑ ภวตณฺหา ภวตัณหา ๑ วิภวตณฺหา วิภวตัณหา ๑ ฯ ปน แต่ ฉฬารมฺมณาทิวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจอารมณ์ ๖ เป็นต้น อฏฺฐสตปฺปเภทา โหนฺติ ตัณหาก็มี ๑๐๘ ประเภท ฯ อุปาทานา อุปาทาน จตฺตาโร มี ๔ อย่าง กามูปาทานาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกามุปาทานขันธ์เป็นต้น ฯ อยเมเตสํ วิเสโส ตัณหา และอุปาทานทั้ง ๒ นั้น มีความต่างกันดังนี้ คือ ปน ก็ เอตฺถ (ตณฺหุปาทาเนสุ) บรรดาตัณหาและอุปทานทั้ง ๒ นี้ ตณฺหา ความทะยานอยาก ทุพฺพลา ที่ไม่รุนแรง ตณฺหา นาม ชื่อว่าตัณหา พลวตี ความทะยานอยากที่รุนแรง อุปาทานํ ชื่อว่า อุปาทาน อสมฺปตฺตวิสยปตฺถนา วา อีกอย่างหนึ่ง ความปรารถนาถึงอารมณ์ที่ ยังมาไม่ถึง ตณฺหา ชื่อว่าตัณหา ตมสิโจรานํ หตฺถปฺปสารณํ วิย เปรียบเสมือน พวกโจรเหยียดมือออกไปในที่มืด ฉะนั้น สมฺปตฺตวิสยคฺคหณมุปาทานํ การยึด อารมณ์ที่มาถึงแล้ว ชื่อว่าอุปาทาน โจรานํ หตฺถปฺปตฺตสฺส คหณํ วิย เปรียบ เสมือนพวกโจรถือของที่อยู่ในมือ ฉะนั้น อปฺปิจฺฉตาปฏิปกฺขา ธรรมชาติอันเป็น ข้าศึกต่อความปรารถนาน้อย ตณฺหา ชื่อว่า ตัณหา สนฺโตสปฏิปกฺโข สภาวะ ที่เป็นข้าศึกต่อความสันโดษ อุปาทาน ชื่อว่าอุปาทาน ํ ปริเยสนาทุกฺขมูล ธรรมชาติ ํ ที่มีทุกข์ในการแสวงหาเป็นมูล ตณฺหา ชื่อว่าตัณหา อารกฺขาทุกฺขมูลํ ธรรมชาติ ที่มีทุกข์ในการรักษาเป็นมูล อุปาทานํ ชื่อว่าอุปาทาน ฯ
350 ปริเฉทที่ ๘ ทุวิโธ ภโว ภพมี ๒ อย่าง กมฺมภโว คือ กรรมภพ (๑) อุปปตฺติภโว อุปปัตติภพ (๑) ฯ ตตฺถ ในบรรดาภพทั้ง ๒ อย่างนั้น ปฐโม ภพที่ ๑ ภวติ เอตสฺมา ผลนฺติ ภโว ชื่อว่าภพ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นแดนเกิดแห่งผล ฯ โส (ภโว) ภพนั้น เอกูนตฺตึสวิโธ มี ๒๙ อย่าง กามาวจรกุสลากุสลาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกามาวจรกุศลและกามาวจรอกุศลเป็นต้น ฯ ปน ส่วน ทุติโย ภพที่ ๒ ภวตีติ ภโว ชื่อว่าภพ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เกิดมี ฯ โส (ภโว) ภาพนั้น นววิโธ มี ๙ อย่าง กามภวาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกามภพเป็นต้น ฯ เจตฺถ ก็ ในค�ำนี้ว่า อุปาทานปจฺจยา ภโวติ เพราะอุปาทานเป็นปัจจัยจึงเกิดมีภพ ดังนี้ อุปปตฺติภโวปิ อธิปฺเปโต ท่านประสงค์เอาแม้อุปปัตติภพ ฯ ภวปจฺจยา ชาตีติ ในค�ำว่า เพราะภพเป็นปัจจัยจึงเกิดมีชาติ กมฺมภโว ว ท่านประสงค์เอาเฉพาะ กรรมภพ ฯ หิ ความจริง โส (กมฺมภโว) กรรมภพนั้น ปจฺจโย โหติ ย่อมเป็น ปัจจัย ชาติยา แก่ชาติ อิตโร (อุปปตฺติภโว) อุปปัตติภพนอกนี้ น หาเป็นได้ไม่ ฯ หิ ความจริง โส (อุปปตฺติภโว) ปฐมาภินิพฺพตฺตกฺขนฺธสภาโว อุปปัตติภพ ซึ่งมีขันธ์ที่บังเกิดครั้งแรกเป็นสภาวะนั้น ชาติเยว ก็คือชาติ ฯ จ ก็ ตเทว (อุปปตฺติสงฺขาตํ ธมฺมชาตํ) ธรรมชาติกล่าวคืออุปปัตติภพนั้นนั่นแหละ ตสฺส (อุปปตฺติภวสฺส) การณํ เป็นเหตุของ อุปปัตติภพนั้น น ยุตฺตํ หาควรไม่ ฯ อตฺตภาวปฏิลาโภ การได้อัตภาพ ตํตํคติอาทีสุ ในคตินั้น ๆ เป็นต้น เตสํ เตสํ สตฺตานํ แห่งเหล่าสัตว์นั้น ๆ ชาติ ชื่อว่าชาติ ฯ จ อนึ่ง ตถานิพฺพตฺตสฺส อตฺตภาวสฺส โปราณภาโว ภาวะแห่งอัตภาพที่บังเกิดแล้วอย่างนั้น คร�่ำคร่าไป ชรา ชื่อว่าชรา ฯ เอตสฺเสว เอกภวปริจฺฉินฺนสฺส ปริโยสานํ ที่สุดแห่งอัตภาพนั้น นั่นแหละ ที่ก�ำหนดด้วยภพ ๑ มรณํ ชื่อว่า มรณะ ฯ ญาติพฺยสนาทีหิผุฏฺฐสฺส จิตฺตสนฺตาโป ความเร่าร้อนแห่งจิตของบุคคลผู้ถูกความพินาศแห่งญาติเป็นต้น ถูกต้อง โสโก ชื่อว่า โสกะ ฯ ตสฺเสว (ญาติพฺยสนาทีหิผุฏฺฐสฺส) วจีปลาโป ความบ่นเพ้อทางวาจาแห่งบุคคลผู้ถูกความพินาศแห่งญาติเป็นต้นนั้นถูกต้องแล้ว นั่นแล ปริเทโว ชื่อว่าปริเทวะ ฯ กายิกทุกฺขเวทนา ทุกขเวทนาที่เกิดทางกาย
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 351 ทุกฺขํ ชื่อว่าทุกข์ ฯ มานสิกทุกฺขเวทนา ทุกขเวทนาที่เกิดทางใจ โทมนสฺสํ ชื่อว่าโทมนัส ฯ ญาติพฺยสนาทีหิ ผุฏฺฐสฺส อธิมตฺตเจโตทุกฺขปฺปภาวิโต ภุโส อายาโส ความคับแค้นใจอย่างยิ่งที่ถูกทุกข์ทางใจเหลือประมาณท่วมทับ แห่งบุคคล ผู้ถูกความพินาศแห่งญาติเป็นต้นถูกต้องแล้ว อุปายาโส ชื่อว่า อุปายาส ฯ (๒๕๕๐) จ ก็ เอตฺถ (ปฏิจฺจสมุปฺปาทนเย) ในปฏิจจสมุปปาทนัยนี้ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิต พึงเห็นความหมายว่า อวิชฺชาทิเอเกกปฺปจฺจยคฺคหณ ท่านระบุถึงปัจจัยแต่ละอย่าง ํ มีอวิชชาเป็นต้น สติปิวตฺถารมฺมณาทิเก ปจฺจยนฺตเร แม้เมื่อปัจจัยอย่างอื่นมีวัตถุ และอารมณ์เป็นต้น ยังมีอยู่ ปธานภาวโต เพราะความเป็นปัจจัยที่เป็นประธาน ปากฏสภาวโต จ และเพราะเป็นปัจจัยที่ปรากฏชัด ฯ เอวเมเตสํ ตพฺภาวภาวิภาโว ทฏฺฐพฺโพ บัณฑิตพึงเห็นความเกิดมีแห่งปัจจยุปันนธรรมซึ่งเกิดมีปกติ ด้วยความเกิดมี แห่งปัจจยธรรมนั้น แห่งปัจจยาการทั้งหลายมีอวิชชาเป็นต้นเหล่านี้ อย่างนี้ว่า จ ก็ เอตฺถ (อวชฺชาทีสุ) บรรดาอวิชชาเป็นต้นเหล่านี้ สงฺขารา สังขารทั้งหลาย สมฺภวนฺติ ย่อมเกิดมี อวิชฺชาปจฺจยา เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย สงฺขารานํ วิปากธมฺมภาเวน ปวตฺตนโต เหตุสังขารทั้งหลายเป็นไปโดยความเป็นวิบากธรรม อวิชฺชานุสยิเตเยว สนฺตาเน ในสันดานที่อวิชชานอนแนบสนิทนั่นแล ฯ จ อนึ่ง วิญฺญาณํ วิญญาณ สงฺขารชนิตํ หุตฺวา เป็นธรรมชาตอันสังขารให้เกิดแล้ว ปติฏฺฐาติ ย่อมด�ำรงอยู่ ภวนฺตเร ในภพอื่น หิ เพราะ ชนกาภาเว เมื่อไม่มีสังขาร อันเป็นสภาวะให้เกิด น ตสฺสุปฺปตฺติ สิยา วิญญาณนั้นจะพึงเกิดขึ้นไม่ได้ ตสฺมา เพราะฉะนั้น วิญฺญาณํ วิญญาณจึงเกิดมี สงฺขารปจฺจยา เพราะสังขารเป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง นามรูปํ นามและรูป ปุพฺพงฺคมาธิฏฺฐานภูตวิญฺญาณูปตฺถทฺธ อันวิญญาณ ซึ่งเป็นธรรมชาต ํ น�ำหน้าและเป็นที่ตั้งอาศัยแห่งสหชาตธรรมทั้งหลายค�้ำจุนแล้ว ปติฏฺฐาติ ย่อมด�ำรง อยู่ได้ ปฏิสนฺธิปวตฺตีสุ ในปฏิสนธิกาล และปวัตติกาล อิติ เพราะเหตุนั้น นามรูปํ นามรูป วิญฺญาณปจฺจยา จึงเกิดมีเพราะวิญญาณเป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง สฬายตนํ สฬายตนะ นามรูปูปนิสฺสยเมว อันมีนามรูปเป็นที่อิงอาศัยนั่นแล ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป ยถารหํ ตามความสมควร ฉพฺพิธผสฺสสฺส ทฺวารภาเวน โดยความ
352 ปริเฉทที่ ๘ เป็นทวารแห่งผัสสะ ๖ อย่าง โน อญฺญถา หาเป็นไปโดยประการอื่นไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น สฬายตนํ สฬายตนะ นามรูปปจฺจยา จึงเกิดมีเพราะนามรูป เป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง ผสฺโส ผัสสะ อารมฺมณํ ผุสติย่อมถูกต้องอารมณ์ สฬายตนสมฺภเวเยว ในเพราะสฬายตนนะเกิดมีเท่านั้น หิเพราะ ทฺวาราภาเว เมื่อทวารไม่มี น ตสฺสุปฺปตฺติ สิยา ผัสสะนั้นจะพึงเกิดขึ้นไม่ได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ผสฺโส ผัสสะ สฬายตนปจฺจยา จึงเกิดมีเพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย ฯ อิฏฺฐานิฏฺฐมชฺฌตฺตญฺจ อารมฺมณํ ผุสนฺตา (สตฺตา) สัตว์ทั้งหลายเมื่อถูกต้อง อิฏฐารมณ์ อนิฏฐารมณ์ และมัชฌัตตารมณ์นั่นแหละ เวทนา เวทิยนฺติ ย่อมเสวยเวทนา โน อญฺญถา หาเสวยเวทนาโดยประการอื่นไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น เวทนา เวทนาจึงเกิดมี ผสฺสปจฺจยา เพราะผัสสะเป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง ตณฺหา ตัณหา เวทนาเหตุกา อันมีเวทนาเป็นเหตุ สมุฏฺฐาติ ย่อมตั้งขึ้น เวทนิเยสุ ธมฺเมสุ อสฺสาทานุปสฺสิโน แก่สัตว์ผู้มักตามเห็นความพอใจในธรรมเป็นที่ตั้ง แห่งเวทนา อิติ เพราะเหตุนั้น ตณฺหา ตัณหาจึงเกิดมี เวทนาปจฺจยา เพราะเวทนา เป็นปัจจัย ฯ จ อนึ่ง สิเนหปิปาสิตาเยว เฉพาะเหล่าสัตว์ผู้กระหายเพราะกิเลส เป็นยางเหนียว ตณฺหา คือตัณหา สํวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป อุปาทานาย เพื่อ ความยึดมั่น ทฬฺหภาเวน คือ ความถือมั่น ธมฺเมสุ ในธรรมทั้งหลาย อุปาทานิเยสุ อันเป็นที่ตั้งแห่งความยึดมั่น ฯ หิ ความจริง ตณฺหาย รูปาทีนิ อสฺสาเทตฺวา เหล่าสัตว์ชอบใจรูปารมณ์เป็นต้นด้วยตัณหาแล้ว กาเมสุ ปาตพฺยตํ อาปชฺชนฺติ ย่อมถึงความเป็นผู้ตกไปในกามทั้งหลาย อิติ เพราะเหตุนั้น ตณฺหา ตัณหา กามูปาทานสฺส ปจฺจโย จึงเป็นปัจจัยแก่กามุปาทาน ฯ ตถา อนึ่ง รูปาทิเภเท คธิโต (สตฺโต) สัตว์ผู้ก�ำหนัดในประเภทแห่งอารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้น คณฺหาติ นตฺถิ ทินฺนนฺติอาทินา มิจฺฉาทสฺสนํ ย่อมยึดถือมิจฉาทิฏฐิโดยนัยเป็นต้นว่า ทานที่บุคคลให้แล้วย่อมไม่มีผล ดังนี้ สสํารโต มุญฺจิตุกาโม (สตฺโต) สัตว์ผู้ต้องการ จะพ้นจากสังสารวัฏฏ์ (คณฺหาติ) ย่อมยึด อสุทฺธิมคฺเค สุทฺธิมคฺคปรามสนํ ความถือในหนทางแห่งความไม่บริสุทธิ์ว่าเป็นหนทางแห่งความบริสุทธิ์ ขนฺเธสุ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 353 อตฺตตฺตนิยคฺคาหภูตํ อตฺตวาททสฺสนทฺวยญฺจ และยึดถือวาทะและทิฏฐิทั้งสอง ของตน อันเป็นเครื่องยึดถือในขันธ์ทั้งหลายว่าเป็นตน และเนื่องด้วยตน ตสฺมา เพราะฉะนั้น ทิฏฺฐูปาทานาทีนมฺปิปจฺจโย ตัณหาจึงเป็นปัจจัยแม้แก่ทิฏฐุปาทาน เป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น อุปาทาน อุปาทานจึงเกิดมี ํตณฺหาปจฺจยา เพราะตัณหา เป็นปัจจัย ฯ สตฺตา สัตว์ทั้งหลาย สมฺปโยคานุสยวเสน อุปาทานปติฏฺฐิตาเยว ผู้ด�ำรงมั่นอยู่ในอุปาทาน ด้วยอ�ำนาจสัมปโยคและอนุสัยนั่นแล สวตฺตนฺติ ํ ย่อมเป็นไป กมฺมายูหนาย เพื่อความสั่งสมกรรม ยถารหํ ตามสมควร อิติ เพราะเหตุนั้น อุปาทานํ ภวสุ ปจฺจโย อุปาทานจึงเป็นปัจจัยแก่ภพ ฯ จ อนึ่ง ชาติ ชาติ อุปปตฺติภวสงฺขาตา กล่าวคืออุปปัตติภพ กมฺมภวเหตุกาเยว มีกรรมภพเป็นเหตุ นั่นแล ตตฺถ ตตฺถ สมุปลพฺภติ ย่อมหาได้แน่นอนในภพนั้น ๆ วีชโต องฺกุโร วิย เหมือนหน่อหาได้จากพืช ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ภโว ชาติปจฺจโย นาม ภพจึงชื่อว่าเป็นปัจจัยแก่ชาติ ฯ จ อนึ่ง สติ ชาติยา เอว เมื่อมีชาตินั่นเอง ชรามรณสมฺภโว ชราและมรณะจึงเกิดมี ฯ หิ เพราะว่า อชาตานํ เมื่อสัตว์ ทั้งหลายไม่เกิดแล้ว น ชรา วา มรณํ วา โหติจะมีชราหรือมรณะไม่ได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ชาติชรามรณานํ ปจฺจโย ชาติจึงเป็นปัจจัยแก่ชราและมรณะ ฯ (จบ ๒๕๕๐) เอว ฯเปฯ โหตีติข้อว่า เอว ฯเปฯ โหติความว่า ทุกฺขกฺขนฺธสฺส กองทุกข์ ทุกฺขราสิสฺส คือ หมวดทุกข์ เกวลสฺส ทั้งหมด สุขาทีหิ อมิสฺสสฺส ได้แก่ ไม่เจือด้วยสุขเป็นต้น สกลสฺส วา หรือทั้งสิ้น เอตสฺส นี้ วฏฺฏสงฺขาตสฺส คือ ที่เรียกว่าวัฏฏะ (สมุทโย) ย่อมมีความเกิดขึ้น (นิพฺพตฺติโหติ) คือความบังเกิด ยถาวุตฺเตน โดยนัยตามที่กล่าวแล้ว ปจฺจยปรมฺปราวิธินา คือ โดยวิธีสืบต่อกันมา แห่งปัจจัย น ปน อิสฺสรนิมฺมานาทีหิแต่หามีความเกิดขึ้น คือความบังเกิด เพราะอิสรชนเนรมิตเป็นต้นไม่ จ ส่วน น จ สุขสุภาทีนํ สมุทโย นิพฺพตฺติโหติ ความสุขและอารมณ์ที่สวยงามเป็นต้น หามีความเกิดขึ้น คือความบังเกิดไม่ ฯ เอตฺถ อิมสฺมึปจฺจยสงฺคหาธิกาเร ในที่นี้ คือ ในอธิการว่าด้วยปัจจยสังคหะนี้ ฯ
354 ปริเฉทที่ ๘ อตติ สตตํ คจฺฉติ ปวตฺตตีติ อทฺธา กาโล ที่ชื่อว่าอัทธา เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า ไป คือ ไปติดต่อ ได้แก่ เป็นไปเนือง ๆ ได้แก่กาล (อทฺธา ที่ชื่อว่า อัทธา อตติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไป สตตํ คจฺฉติคือไปติดต่อ ได้แก่ เป็นไป เนือง ๆ ปวตฺตตีติ กาโล ได้แก่ กาล) ฯ อวิชฺชาสงฺขารา อวิชชาและสังขาร อตีโต อทฺธา ชื่อว่าอตีตัทธา อตีตภวปริยาปนฺนเหตูนเมเวตฺถ อธิปฺเปตตฺตา เพราะความที่เหตุซึ่งนับเนื่องในอดีตภพนั่นเอง ท่านประสงค์เอาในอธิการว่าด้วย ปฏิจจสมุปปาทนัยนี้ ฯ จ ก็ อทฺธาคหเณน ด้วยศัพท์ว่าอัทธา อวิชฺชาทีนํ ธมฺมานเมว คหณํ ท่านระบุถึงเฉพาะธรรมมีอวิชชาเป็นต้นเท่านั้น ตพฺพินิมุตฺตสฺส กสฺสจิ กาลสฺส อนุปลพฺภนโต เพราะกาลอะไร ๆ ที่จะพ้นไปจากอวิชชานั้น หาไม่ได้เลย ฯ หิ ความจริง (ปณฺฑิเตน) โวหริยนฺติบัณฑิตย่อมบัญญัติ ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย นิรุทฺธานุปฺปนฺนาเอว เฉพาะที่ดับไปแล้ว และที่ยังไม่เกิดขึ้น อตีตานาคตกาลวเสน ด้วยอ�ำนาจอดีตกาลและอนาคตกาล อุปฺปาทาทิกฺขณตฺตยปริยาปนฺนา จ และย ่อมบัญญัติธรรมทั้งหลายที่นับเนื่องในขณะ ๓ มีอุปาทขณะเป็นต้น ปจฺจุปฺปนฺนกาลวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจุบันกาล ฯ ชาติชรามรณ ชาติชราและมรณะ ํ อนาคโต อทฺธา ชื่อว่าอนาคตัทธา อนาคเต นิพฺพตฺตนโต เพราะบังเกิดในอนาคต ปจฺจุปฺปนฺนเหตุโต จากเหตุที่เป็นปัจจุบัน ฯ มชฺเฌ อฏฺฐ ปจฺจุปฺปนฺโน อทฺธาติ ข้อว่า มชฺเฌ อฏฺ ปจฺจุปนฺโน อทฺธา ความว่า อฏฺฐงฺคานิ องค์ ๘ วิญฺญาณาทีนิ มีวิญญาณเป็นต้น มชฺเฌ ในท่ามกลาง ปจฺจุปฺปนฺโน อทฺธา ชื่อว่าปัจจุปันนัทธา อิธ นิพฺพตฺตกผลภาวตฺตา เพราะความที่องค์เหล่านั้นเป็นผลที่บังเกิดในภพนี้ อตีตเหตุโต จากอดีตเหตุ อนาคตผลสฺส อิธ เหตุสภาวตฺตา จ และเพราะอนาคตผล มีเหตุในภพนี้เป็นสภาวะ ฯ นนุ โสกปริเทวาทโยปิ องฺคภาเวน วตฺตพฺพาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงค�ำท้วงว่า แม้โสกะและปริเทวะเป็นต้น พระผู้มีพระภาค ก็พึงตรัสไว้ โดยความเป็นองค์ มิใช่หรือ ดังนี้ อาห โสกาทิวจนนฺติอาทิจึงกล่าวว่า โสกาทิวจนํ ดังนี้เป็นต้น ฯ อตฺโถ อธิบายว่า โสกาทิวจนํ ค�ำว่า โสกะ เป็นต้น ชาติยา นิสฺสนฺทสฺส อมุขฺยผลมตฺตสฺส นิทสฺสนํ เป็นการชี้ถึงเพียงผลที่ไม่ใช่
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 355 ผลโดยตรง ต่อผลแห่งชาติ ฯ น ปน วิสุํ องฺคทสฺสนํ แต่หาเป็นการแสดงถึง องค์แผนกหนึ่งไม่ ฯ ตณฺหูปาทานภวาปิคหิตา โหนฺตีติค�ำว่า ตณฺหูปาทานภวาปิคหิตา โหนฺติ ความว่า ตณฺหูปาทานา ท่านระบุถึงตัณหาและอุปาทาน อวิชฺชาคหเณน ด้วย อวิชชาศัพท์ กิเลสสภาวสามญฺญโต เพราะมีสภาวะเป็นกิเลสเหมือนกัน กมฺมภโว คหิโต ระบุถึงกรรมภพ สงฺขารคฺคหเณน ด้วยสังขารศัพท์ กมฺมภวสามญฺญโต เพราะเป็นกรรมภพเหมือนกัน ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า จ อนึ่ง อวิชฺชาสงฺขารา คหิตา ท่านระบุถึงอวิชชาและสังขาร ตถา ตณฺหูปาทานภวคฺคหเณน ด้วยศัพท์ว่า ตัณหาอุปาทานและภพเหมือนกัน ฯ เอตฺถาปิ(ตถาตฺยาทิวจเน) แม้ในค�ำว่า ตถา เป็นต้นนี้ เตสํ (อวิชฺชาสงฺขารานํ) สงฺคโห ทฏฺฐพฺโพ ก็พึงเห็นการรวบรวมอวิชชา และสังขารเหล่านั้น วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวแล้ว เตสํ (ตณฺหูปาทานภวานํ) คหเณน คือ โดยการระบุถึงตัณหาอุปาทานและภพเหล่านั้น ฯ (อนุรุทฺธาจริโย มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า จ ก็ ชาติชราภงฺคาว เฉพาะ ความเกิด ความแก่ และความแตกสลาย วิญฺญาณนามรูปสฬายตนผสฺสเวทนานํ แห่งวิญญาณ นามรูป สฬายตนะ ผัสสะ และเวทนา (ภควตา) วุตฺตา พระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า ชาติชรามรณนฺติ ชาติ ชรา และมรณะ ดังนี้ อาห ชาติชรามรณคฺคหเณนาติอาทิ จึงกล่าวว่า ชาติชรามรณคฺคหเณน ดังนี้เป็นต้น ฯ อตีเต เหตโว ปญฺจาติ บาทคาถาว่า อตีเต เหตโว ปญฺจ ความว่า อตีตภเว นิพฺพตฺตา เหตโว เหตุที่บังเกิดในอดีตภพ ปจฺจุปฺปนฺนผลสฺส ปจฺจยา อันเป็น ปัจจัยแก่ปัจจุบันผล สรูปโต วุตฺตานํ ทฺวินฺนํ อวิชฺชาสงฺขารานํ วเสน คือ อวิชชา และสังขารทั้ง ๒ ที่ท่านกล่าวไว้แล้วโดยสรูป ติณฺณํ ตณฺหูปาทานภวานญฺจ และตัณหา อุปาทาน และภพทั้ง ๓ สงฺคหวเสน คหิตานํ ที่ท่านก�ำหนดด้วย อ�ำนาจสังคหนัย ปญฺจ มี ๕ อย่าง ฯ อิทานิผลปญฺจกนฺติบาทคาถาว่า อิทานิ ผลปญฺจกํ ความว่า วิญฺญาณาทิผลปญฺจกํ ผล ๕ อย่างมีวิญญาณเป็นต้น อิธ ปจฺจุปฺปนฺเน นิพฺพตฺตํ ที่บังเกิดในปัจจุบันนี้ อตีตเหตุปจฺจยา เพราะมีอดีตเหตุ
356 ปริเฉทที่ ๘ เป็นปัจจัย ฯ อิทานิเหตโว ปญฺจาติ บาทคาถาว่า อิทานิเหตโว ปญฺจ ความว่า อิทานิเหตโว ปัจจุบันนเหตุ อายตึ ผลสฺส ปจฺจยา ซึ่งเป็นปัจจัยแก่อนาคตผล สรูปโต วุตฺตานํ ตณฺหาทีนํ ติณฺณํ วเสน คือ เหตุทั้ง ๓ มีตัณหาเป็นต้น ที่กล่าวแล้วโดยสรูป สงฺคหโต ลทฺธานํ อวิชฺชาสงฺขารานํ ทฺวินฺนญฺจ และอวิชชา กับสังขารทั้ง ๒ ที่ได้โดยสังคหนัย ปญฺจ มี ๕ อย่าง ฯ อายตึผลปญฺจกนฺติ บาทคาถาว่า อายตึผลปญฺจกํ ความว่า วิญฺญาณาทิผลปญฺจกํ ผล ๕ อย่างมี วิญญาณเป็นต้น วุตฺต ที่กล่าวแล้ว ํชาติชรามรณคฺคหเณน ด้วยศัพท์ว่า ชาติ ชรา และมรณะ อนาคเต นิพฺพตฺตนก ซึ่งจะบังเกิดในอนาคต ํ ปจฺจุปฺปนฺนเหตุปจฺจยา เพราะมีปัจจุบันนเหตุเป็นปัจจัย ฯ วีสติ อาการย่อมมี ๒๐ อย่าง อิติ ด้วยประการฉะนี้ เอวํ คือ ด้วยอาการ อย่างนี้ ฯ อตีตาทีสุ ตตฺถ ตตฺถ อากีริยนฺตีติ อาการา ที่ชื่อว่าอาการ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ถูกเรี่ยรายอยู่ในภพนั้น ๆ มีอดีตภพเป็นต้น (อาการา ที่ชื่อว่า อาการ อตีตาทีสุ ตตฺถ ตตฺถ อากีริยนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ถูกเรี่ยราย อยู่ในภพนั้น ๆ มีอดีตภพเป็นต้น) ฯ เอวํ ติสนฺธีสนธิมี ๓ อย่างนี้ อตีตเหตูนํ อิทานิผลปญฺจกสฺส จ อนฺตรา คือ ระหว่างอดีตเหตุกับปัจจุบันผล ๕ อย่าง เอโก สนฺธิ จัดเป็นสนธิอัน ๑ อิทานิผลปญฺจกสฺส อิทานิเหตูนญฺจ อนฺตรา ระหว่างปัจจุบันผล ๕ อย่างกับปัจจุบันนเหตุ เอโก จัดเป็นสนธิอัน ๑ อิทานิ เหตูนญฺจ อายตึผลสฺส จ อนฺตรา ระหว่างปัจจุบันนเหตุกับอนาคตผล เอโก จัดเป็นสนธิอัน ๑ ฯ วุตฺตญฺเหตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ดังนี้ว่า สงฺขารวิญฺญาณานมนฺตรา ระหว่างสังขารกับวิญญาณ เอโก จัดเป็น สนธิอัน ๑ เวทนาตณฺหานมนฺตรา ระหว่างเวทนากับตัณหา เอโก จัดเป็นสนธิอัน ๑ ภวชาตีนมนฺตรา ระหว่างภพกับชาติ เอโก สนฺธีติ จัดเป็นสนธิอัน ๑ ฯ หิความจริง เอตฺถ (ตีสุ สนฺธีสุ) ในบรรดาสนธิทั้ง ๓ นี้ ปฐโม สนฺธิ สนธิที่ ๑ เหตุผลสมฺพนฺธภูโต เป็นสภาวะที่เชื่อมเหตุกับผลให้เนื่องถึงกัน เหตุโต ผลสฺส อวิจฺเฉทปฺปวตฺติภาวโต โดยความที่ผลมีความเป็นไปไม่ขาดสายจากเหตุ ฯ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 357 ตถา ตติโย สนธิที่ ๓ ก็เหมือนกัน ฯ ปน ส่วน ทุติโย สนธิที่ ๒ ผลเหตุสมฺพนฺธภูโต เป็นสภาวะที่เชื่อมผลกับเหตุให้เนื่องถึงกัน ผลโต เหตุโน อวิจฺเฉทปฺปวตฺติ ภาวโต โดยความที่เหตุมีความเป็นไปไม่ขาดสายจากผล ฯ หิ ความจริง ผลภูโตปิ ธมฺโม ธรรมแม้ที่เป็นตัวผล อญฺญสฺส เหตุสภาวสฺส ธมฺมสฺส ปจฺจโยติ ก็เป็น ปัจจัยแก่ธรรมอย่างอื่น ที่มีสภาวะเป็นเหตุ แล ฯ สงฺขิปิยนฺติเอตฺถ อวิชฺชาทโย วิญฺญาณาทโย จาติสงฺเขปา ที่ชื่อว่าสังเขป เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงย่อเหตุ ๕ อย่าง มีอวิชชาเป็นต้น และผล ๕ อย่างมีวิญญาณเป็นต้น (สงฺเขปา ที่ชื่อว่า สังเขป สงฺขิปิยนฺติเอตฺถ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงย่อ อวิชฺชาทโย วิญฺญาณาทโย จาติเหตุ ๕ อย่างมีอวิชชาเป็นต้น และผล ๕ อย่าง มีวิญญาณเป็นต้น) ฯ จตฺตาโร สงฺเขปา สังเขป ๔ อย่าง อตีเต เหตุ คือ อดีตเหตุ ๑ เอตรหิวิปาโก ปัจจุบันนผล ๑ เอตรหิเหตุ ปัจจุบันนเหตุ ๑ อายตึ วิปาโก อนาคตผล ๑ อิติ จตุสงฺเขปา เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าสังเขป ๔ ฯ กมฺมภวสงฺขาโต ภเวกเทโสติ เอตฺถ (วจเน) ในค�ำว่า กมฺมภวสงฺขาโต ภเวกเทโส นี้ อายตึปฏิสนฺธิยา ปจฺจยเจตนา เจตนาที่เป็นปัจจัยแก่ปฏิสนธิจิต ในอนาคต ภโว นาม ชื่อว่าภพ ฯ ปุริมกมฺมภวสฺมึ อิธ (ภเว) ปฏิสนฺธิยา ปจฺจยเจตนา เจตนาในกรรมภพก่อน ที่เป็นปัจจัยแก่ปฏิสนธิจิตในภพนี้ เวทิตพฺพา พึงทราบว่า สงฺขาราติ เป็นสังขาร ฯ อวเสสาติ บทว่า อวเสสา ความว่า วุตฺตธมฺมา ธรรมที่ตรัสไว้ ปจฺจุปฺปนฺนผลวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจุบันนผล สตฺตวิธา มี ๗ อย่าง วิญฺญาณาทิปญฺจกชาติชรามรณวเสน คือ ผล ๕ อย่างมีวิญญาณเป็นต้น ๑ ชาติ ๑ ชราและมรณะ ๑ ฯ ปน ส่วน อนาคตปริยาปนฺนา ธรรมที่นับเนื่อง ในอนาคต เวทิตพฺพา พึงทราบว่า ภวาติ ภพ อุปปตฺติภวสงฺขาโต ภเวกเทโสติ ในค�ำว่า อุปปตฺติภวสงฺขาโต ภเวกเทโส ฯ ภวสทฺเทน ด้วยศัพท์ว่า ภพ ภเวกเทสสทฺโท วุตฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวศัพท์ว่า ภเวกเทส กมฺมภวสฺสาปิ วุจฺจมานตฺตา เพราะจะกล่าวถึงแม้กรรมภพ ฯ ปุพฺพนฺตสฺส อวิชฺชา มูลํ อวิชชา
358 ปริเฉทที่ ๘ เป็นมูลของที่สุดเบื้องต้น อปรนฺตสฺส ตณฺหา มูลนฺติ ตัณหาเป็นมูลของที่สุด เบื้องปลาย เพราะเหตุนั้น อาห อวิชฺชาตณฺหาวเสน เทฺว มูลานีติ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า พึงทราบมูล ๒ อย่าง คือ อวิชชาและตัณหา ดังนี้ ฯ เตสเมว อวิชฺชาตณฺหาสงฺขาตานํ วฏฺฏมูลานํ นิโรเธน เพราะธรรมที่ เป็นมูลแห่งวัฏฏะเหล่านั้นนั่นแล ได้แก่ กล่าวคืออวิชชาและตัณหา ดับไป อนุปฺปาทธมฺมตาปตฺติยา คือ ถึงความไม่เกิดขึ้นเป็นธรรมดา สจฺจปฏิเวธโต สิทฺธาย อปฺปวตฺติยา ได้แก่ ความไม่เป็นไป ซึ่งส�ำเร็จมาจากความรู้แจ้งสัจจะ วฏฺฏํ นิรุชฺฌติ วัฏฏะจึงดับลง ฯ จ และ กามาสวาทิอาสวสมุปฺปาทโต เพราะ ความเกิดขึ้นแห่งอาสวะมีกามาสวะเป็นต้น ปุน อวิชฺชา ปวฑฺฒติ อวิชชา จึงเจริญขึ้นอีก อภิณฺหโส อภิกฺขณํ ชรามรณสงฺขาตาย มุจฺฉาย ปีฬิตานํ สตฺตานํ แก่เหล่าสัตว์ผู้ถูกความสยบ กล่าวคือชราและมรณะบีบคั้นเนือง ๆ คือ ร�่ำไป โสกาทิสมปฺปิตานํ ได้แก่ ผู้เพียบพร้อมด้วยความโศกเป็นต้น ฯ หิวุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า อาสวสมุทยา อวิชฺชาสมุทโยติ เพราะอาสวะเกิดขึ้น อวิชชาจึงเกิดขึ้น ดังนี้ ฯ เอเตน (อาสวสมุทยา อวิชฺชาสมุทโยติ วจเนน) ด้วยพระด�ำรัสว่า อาสวสมุทยา อวิชฺชาสมุทโย นี้ อวิชฺชายปิปจฺจโย ทสฺสิโต โหติ ย่อมเป็นอันทรงแสดงถึงปัจจัยแม้แห่งอวิชชา ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนด เนื้อความนอกไปจากนี้ ปฏิจฺจสมุปฺปาทจกฺกํ จักรคือปฏิจจสมุปบาท อพนฺธํ สิยาติ จะไม่พึงเนื่องถึงกันแล ฯ มหามุนิ พระมหามุนี สมฺมาสมฺพุทฺโธ คือ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ปตฺถเปสิ ทรงบัญญัติ ปญฺญาเปสิ คือทรงแต่งตั้ง วฏฺฏํ ติวฏฺฏภูตํ ซึ่งวัฏฏะ อันเป็นไตรวัฏฏ์ กิเลสกมฺมวิปากวเสน คือกิเลส ๑ กรรม ๑ วิบาก ๑ อาวทฺธํ อันเกี่ยวเนื่องกัน อวิจฺฉินฺนํ คือ อันไม่ขาดสาย อนาทิกํ อันหาเบื้องต้นมิได้ อาทิรหิตํ คือเว้นจากเบื้องต้น เตภูมิกํ ชื่อว่าเป็นไปในภูมิ ๓ ติภูมิกปริยาปนฺนตฺตา เพราะนับเนื่องในธรรมที่เป็นไปในไตรภูมิว่า ปฏิจฺจสมุปฺปาโทติ ปฏิจจสมุปบาท อิจฺเจว ดังพรรณนามาฉะนี้ ํวุตฺตนเยน คือ โดยนัยดังที่กล่าวแล้ว ฯ [๒๕๑๑] เอวํ ปฏิจฺจสมุปฺปาทนยํ วิภาคโส ทสฺสิตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 359 ครั้นแสดงปฏิจจสมุปปาทนัย โดยวิภาคอย่างนี้แล้ว อิทานิ ปฏฐานนยํ ทสฺเสตุํ บัดนี้ เพื่อจะแสดงปัฏฐานนัย เหตุปจฺจโยติอาทิ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำเป็นอาทิว่า เหตุปัจจัย ดังนี้ ฯ ตตฺถ (เหตุปจฺจโยติอาทิวจเน วินิจฺฉโย) วินิจฉัยในค�ำว่า เหตุปัจจัย เป็นต้นนั้น ดังต่อไปนี้ หิโนติปติฏฺฐาติเอเตนาติเหตุ ปัจจัยชื่อว่าเหตุ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องก่อ คือ ตั้ง แห่งสภาวธรรม ฯ อเนกตฺถตฺตา ธาตุสทฺทานํ เพราะศัพท์คือธาตุมีอรรถเป็นเอนก หิสทฺโท ศัพท์ว่าหิ อิธ (ฐาเน) ในที่นี้ ปติฏฺฐตฺโถติทฏฺฐพฺโพ จึงพึงเห็นว่า มีอรรถว่า ตั้ง ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ตปฺปจฺจยํ ผลํ ผลอันมีเหตุคือกรรมนั้นเป็นปัจจัย หิโนติ ย่อมด�ำเนิน คจฺฉติ คือ ไป ปวตฺตติ ได้แก่ เป็นไป วุฑฺฒึวิรุฬฺหึอาปชฺชติ ถึงความเจริญงอกงาม เอเตน กมฺมนิทานภูเตน ด้วยปัจจัยอันเป็นเหตุคือกรรมนี้ อุทฺธํ โอชํ อภิหรนฺเตน มูเลน วิย ปาทโป ดุจต้นไม้เจริญขึ้นไปได้ด้วยรากอันดื่มโอชะขึ้นไปข้างบน ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น เหตุ ปัจจัยอันเป็นเหตุคือกรรมนี้ จึงชื่อว่าเหตุ (เป็นเหตุ ด�ำเนินแห่งผล) ฯ โส ปจฺจโย จ ปัจจัยนั้นด้วย เหตุ จ เป็นเครื่องก่อสภาวธรรม หรือเป็นเหตุด�ำเนินแห่งผลด้วย วุตฺตํ โหติ ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า เหตุ หุตฺวา ปจฺจโย เหตุภาเวน ปจฺจโย ปัจจัย คือธรรมเป็นเครื่องอาศัยเป็นไป โดยเป็นเหตุ เป็นตัวเหตุ (อิติ) เหตุปจฺจโย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า เหตุปัจจัย ฯ มูลฏฺเฐน เหตุ สภาวธรรมชื่อว่า เหตุ เพราะอรรถว่า เป็นรากเหง้า อุปการฏฺเฐน ปจฺจโย ชื่อว่าปัจจัย เพราะอรรถว่า เป็นอุปการะ (อิติ) สงฺเขปโต มูลฏฺเฐน อุปการโก ธมฺโม เพราะเหตุนั้น โดยสังเขป ธรรมอันท�ำอุปการะ ด้วยอรรถว่า เป็นรากเหง้า เหตุปจฺจโย ชื่อว่า เป็นเหตุปัจจัย ฯ ทฏฺฐพฺพ พึงเห็นรูปความว่า ํ โส (เหตุปจฺจโย) ปน อันเหตุปัจจัยนั้น ฉ ธมฺมา ได้แก่ ธรรม ๖ ประการ (คือเหตุ ๖ มีโลภเหตุ เป็นต้น) สุปติฏฺฐิตภาวสาธนสงฺขาตมูลฏฺเฐน อุปการกา ที่ท�ำอุปการะ ด้วยอรรถว่า เป็นรากเหง้า กล ่าวคือเป็นเหตุให้ส�ำเร็จความตั้งมั่นด้วยดี รูปานํ แก่รูป จิตฺตสมุฏฺฐานานํ ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ปวตฺเต ในปวัตติขณะ กมฺมสมุฏฐานานํ (รูปานํ) แก่รูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน ปฏิสนฺธิยํ ในปฏิสนธิขณะ อุภยตฺถ
360 ปริเฉทที่ ๘ สมฺปยุตฺตานํ นามธมฺมานญฺจ และแก่นามธรรมที่สัมปยุต ในขณะทั้ง ๒ รุกฺขสฺส มูลา วิย ดุจรากไม้ท�ำอุปการะแก่ต้นไม้ฉะนั้น ดังนี้ ฯ (๒๕๑๘, ๒๕๓๑) อาลมฺพิยติทุพฺพเลน วิย ทณฺฑาทิกํ จิตฺตเจตสิเกหิ คณฺหิยตีติอาลมฺพนํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าอาลัมพนะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันจิต และเจตสิกหน่วงเหนี่ยว คือยึดถือ ดุจคนทุพพลภาพยึดถือไม้เท้าเป็นต้น ฉะนั้น ฯ หิ ความจริง จิตฺตเจตสิกา จิตและเจตสิก ยํ ยํ ธมฺมํ อารพฺภ ปวตฺตนฺติ ย่อมปรารภธรรมใด ๆ เป็นไป เต เต ธมฺมา ธรรมนั้น ๆ เตสํ เตสํ ธมฺมานํ อารมฺมณปจฺจยา นาม ชื่อว่าเป็นอารัมมณปัจจัยแก่ธรรมนั้น ๆ ฯ (จบ ๒๕๑๑) น หิโส ธมฺโม อตฺถิโย จิตฺตเจตสิกานํ อารมฺมณปจฺจยภาวํ น คจฺเฉยฺย เพราะธรรมที่ไม่พึงถึงความเป็นอารัมมณปัจจัยแก่จิตและเจตสิก ไม่มีเลย ฯ ปจฺจโย ธรรมอันเป็นปัจจัย ปติภูโต ซึ่งเป็นใหญ่ อตฺตาธีนปฺปวตฺตีน กว่าเหล่าธรรม ํ ที่มีความเป็นไปเนื่องกับตน อธิปติปจฺจโย ชื่อว่าอธิปติปัจจัย ฯ น วิชฺชติ ปจฺจยุปฺปนฺเนน สห อนฺตรํ เอตสฺส ปจฺจยสฺสาติอนนฺตรปจฺจโย ธรรมที่ชื่อว่า อนันตรปัจจัย เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีระหว่างคั่นปัจจัยนี้กับปัจจยุปปันนธรรม (คือ ไม่มีปัจจยธรรมอื่นเกิดแทรกในระหว่าง) ฯ สํ สุฏฺฐุ อนนฺตรปจฺจโย ธรรมอันเป็นปัจจัยไม่มีระหว่างคั่นพร้อม คือด้วยดี สณฺฐานาภาเวน เพราะไม่มีสัณฐาน สมนนฺตรปจฺจโย ชื่อว่าสมนันตรปัจจัย ฯ ปุริมปุริมนิรุทฺโธ ธมฺโม ธรรมที่เกิดขึ้นแล้วดับไปก่อน ๆ อนุรูปจิตฺตุปฺปาทชนนสมตฺโถ สามารถให้จิตตุปบาทที่เหมาะสมเกิด อตฺตโน อนนฺตร ในล� ํำดับตน อนนฺตรปจฺจโย สมนนฺตรปจฺจโยติ จ วุจฺจติ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า อนันตรปัจจัย และว่า สมนันตรปัจจัย ฯ หิความจริง พฺยญฺชนมตฺเตเนว หิเนสํ (ปจฺจยานํ) วิเสโส ปัจจยธรรมทั้งสองนั้น ต่างกันเพียงพยัญชนะเท่านั้น ฯ ปน แต่ อตฺถโต อุภยมฺปิ สมนนฺตรนิรุทฺธสฺเสวาธิวจน ว่าโดยความหมาย ค� ํำแม้ทั้งสองเป็นชื่อของปัจจยธรรม ที่ดับไปโดยไม่มีธรรมอื่นคั่นในระหว่างด้วยดี อย่างเดียวกันนั่นเอง ฯ หิ ความจริง น เนสํ (ปจฺจยานํ) อตฺถโต เภโท ความต่างกันโดยความหมายของปัจจยธรรม
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 361 ทั้งสองนั้น หาไม่พบแน่แท้ ฯ ยมฺปน เกจิ วทนฺต อตฺถานนฺตรตาย อนนฺตรปจฺจโย กาลานนฺตรตาย สมนนฺตรปจฺจโยติ ตํ ส่วน ค�ำที่ท่านอาจารย์บางพวกกล่าวว่า ธรรมที่ชื่อว่าอนันตรปัจจัย เพราะไม่มีระหว่างโดยอรรถ (และ) ธรรมที่ชื่อว่า สมนันตรปัจจัย เพราะไม ่มีระหว ่างโดยกาล ดังนี้ นิโรธา วุฏฺฐหนฺตสฺส เนวสญฺญานาสญฺญายตนํ ผลสมาปตฺติยา สมนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโยติอาทีหิ วิรุชฺฌติ ย่อมผิดกับพระบาลีว่า เนวสัญญานาสัญญายตนฌานแห่งพระอริยบุคคล ผู้ออกจากนิโรธสมาบัติ ย่อมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยสมนันตรปัจจัย ดังนี้ เป็นต้น ฯ (จบ ๒๕๑๘, ๒๕๓๑) (๒๕๑๙) เนวสญฺญานาสญฺญายตนญฺหิ เพราะเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน สตฺตาหาทิกาลนิรุทฺธํ ซึ่งดับไปแล้วในกาลมี ๗ วันเป็นต้น ผลสมาปตฺติยา สมนนฺตรปจฺจโย ก็ยังเป็นสมนันตรปัจจัยแก่ผลสมาบัติได้ ตสฺมา ฉะนั้น อภินิเวสํ อกตฺวา บัณฑิตอย่าท�ำความยึดมั่น พฺยญฺชนมตฺตโต เจตฺถ นานากรณํ ปจฺเจตพฺพํ พึงเชื่อความต่างกันในปัจจัยทั้งสองนี้ แต่โดยเพียงพยัญชนะเท่านั้น น อตฺถโต ไม่พึงเชื่อโดยอรรถ ฯ หิ ความจริง เอวํ พฺยญฺชนมตฺตโตว เภโท มีความต่างกันโดยเพียงพยัญชนะเท่านั้นอย่างนี้ว่า อุปฺปาทสมตฺถตาย นิโรโธ ความดับแห ่งธรรมโดยสามารถให้ธรรมอื่นเกิดขึ้นได้ ปุพฺพธมฺมนิโรธสฺส ปจฺฉาชาตธมฺมุปฺปาทสฺส จ อนฺตราภาเวน โดยไม่มีธรรมอะไรคั่นในระหว่างธรรม ที่เกิดก่อนดับไป และธรรมที่เกิดภายหลังเกิดขึ้น อนนฺตรปจฺจยตา ชื่อว่า ความเป็นอนันตรปัจจัย สุฏฺฐุ อนนฺตรภาเวน อุปฺปาเทตุํ สมตฺถํ หุตฺวา นิโรโธ ความดับแห่งธรรมที่สามารถเพื่อจะให้ธรรมอื่นเกิดขึ้นได้ โดยไม่มีธรรมอะไรคั่น ในระหว่างด้วยดี อตฺตนา เอกตฺตํ อุปเนตฺวา วิย คล้ายกับน�ำเข้าไปรวมกันกับตน วิภาคาภาเวน โดยไม่มีการแบ่งแยกว่า อิทมิโต อุทฺธํ อิทํ เหฏฺฐา อิทํ สมนฺตโต ธรรมนี้อยู ่ข้างบนแต ่ธรรมนี้ ธรรมนี้อยู ่ข้างล ่าง ธรรมนี้อยู ่โดยรอบ ดังนี้ สมนนฺตรปจฺจยตาติ ชื่อว่าความเป็นสมนันตรปัจจัย ฯ หิ ก็ นิโรธปจฺจยสฺสาปิหิ เนวสญฺญานาสญฺญายตนสฺส อสญฺญุปฺปตฺติยา ปุริมสฺส จ จุติจิตฺตสฺส
362 ปริเฉทที่ ๘ กาลนฺตเรปิ อุปฺปชฺชนฺตานํ ผลปฏิสนฺธีนํ (อุปฺปาทเน) สมตฺถตา ภาวะที่ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน แม้ที่เป็นปัจจัยแก่นิโรธสมาบัติ และจุติจิตซึ่งเกิดขึ้น ก่อนแต่การเกิดขึ้นในอสัญญีภพ มีความสามารถในการยังผลจิต (คือ อนาคามีผลจิต หรืออรหัตตผลจิต) และปฏิสนธิจิต ซึ่งแม้จะเกิดขึ้นในกาลอื่น ก็ให้เกิดขึ้นได้ โดยติดต ่อกัน อนนฺตรา สมานชาติเยน อรูปธมฺเมน พฺยวธานาภาวโต ภินฺนชาติกานญฺจ รูปธมฺมานํ พฺยวธานกรเณ อสมตฺถตาย นิรนฺตรุปฺปาทเน เอกตฺตํ อุปเนตฺวา วิย อุปฺปาทเน จ สมตฺถตา อตฺถิ และในการให้เกิดขึ้น คล้ายกับน�ำเข้าไปรวมเป็นอันเดียวกัน ย่อมมีได้ เพราะไม่มีอรูปธรรมที่มีชาติ เสมอกันเข้าแทรกแซงในระหว่าง และเพราะรูปธรรมทั้งหลายที่มีชาติต่างกัน ไม่สามารถจะแทรกแซงในระหว่างได้ อิติ เตสมฺปิ อนนฺตรสมนนฺตรปจฺจยตา ลพฺภติ เพราะเหตุนั้น แม้เนวสัญญานาสัญญายตนฌานและจุติจิตทั้งสองนั้น จึงเป็นอนันตรปัจจัยและสมนันตรปัจจัยได้ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น อวิเสเสปิ ถึงแม้จะไม่มีความแตกต่างกัน ธมฺมโต โดยธรรม ปเภโท ปจฺเจตพฺโพติ บัณฑิต ก็พึงเชื่อว่าความแตกต่างกัน อุปสคฺคตฺถวิเสสมตฺตโต โดยเพียงอรรถแห่งอุปสรรค ที่ต่างกัน ตถา ตถา พุชฺฌนกานํ วิเนยฺยานํ วเสน ด้วยสามารถเวไนยสัตว์ ทั้งหลาย ผู้จะรู้ได้โดยประการนั้น ๆ แล ฯ (จบ ๒๕๑๙) (บ.ศ. ๙ ๒๕๓๓, ๒๕๓๘ และ ป.ธ. ๙ ๒๕๔๔) สหุปฺปนฺนานํ สหุปฺปาทภาเวน ปจฺจโย สภาวธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมทั้งหลาย ที่เกิดขึ้นร่วมกัน โดยภาวะที่เกิดขึ้นร่วมกัน ปกาสสฺส ปทีโป วิย เปรียบเสมือนดวงประทีปเป็นปัจจัยแก่แสงสว่าง ฉะนั้น อตฺตโน อนุปฺปตฺติยา สหุปฺปนฺนานมฺปิ อนุปฺปตฺติโต เพราะเมื่อตนไม่เกิดขึ้น แม้ธรรม ทั้งหลายที่เกิดขึ้นร่วมกันก็เกิดขึ้นไม่ได้ สหชาตปจฺจโย ชื่อว่าสหชาตปัจจัย อรูปิโน จตุกฺขนฺธา จตฺตาโร มหาภูตา ปฏิสนฺธิกฺขเณ วตฺถุวิปากา จ ธมฺมา ได้แก่ ธรรมทั้งหลาย คือ นามขันธ์ ๔ ประการ มหาภูตรูป ๔ หทัยวัตถุและวิบากจิต ทั้งหลายในขณะปฏิสนธิ ฯ อตฺตโน อุปการกธมฺมานํ อุปตฺถมฺภกภาเวน ปจฺจโย สภาวธรรมที่เป็นปัจจัยแก่เหล่าธรรมที่กระท�ำอุปการะแก่ตน โดยภาวะที่ช่วยอุดหนุน
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 363 กันและกัน อญฺญมญฺญํ อุปตฺถมฺภิยมานํ ติทณฺฑํ วิย เปรียบเสมือนไม้ ๓ อัน ช่วยค�้ำยันกันและกันไว้ ฉะนั้น อญฺญมญฺญปจฺจโย ชื่อว่าอัญญมัญญปัจจัย ฯ อยเมเตสํ ทฺวินฺนํ วิเสโส สหชาตปัจจัยกับอัญญมัญญปัจจัย ๒ ประการเหล่านี้ มีความต่างกันดังนี้ จ ก็ อญฺญมญฺญภาววเสเนว อุปการกตา ภาวะที่ธรรม ท�ำอุปการะ ด้วยอ�ำนาจความมีอุปการะแก่กันและกันนั่นแหละ อญฺญมญฺญปจฺจยตา ชื่อว่าความเป็นอัญญมัญญปัจจัย (ส่วน) น สหชาตมตฺเตน ภาวะที่ธรรมท�ำอุปการะ แก่กันและกัน ด้วยเหตุเพียงเกิดร่วมกัน ไม่ชื่อว่าความเป็นอัญญมัญญปัจจัย ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น สหชาตปจฺจยภาวีเยว โกจิ ปัจจยธรรมบางอย่างซึ่งมีปกติ เป็นสหชาตปัจจัยนั่นแหละ อญฺญมญฺญปจฺจโย น โหติ ก็ไม ่ชื่อว ่าเป็น อัญญมัญญปัจจัย จิตฺตชรูปานํ สหชาติปจฺจยภาวิโน นามสฺส อุปาทารูปานํ สหชาตปจฺจยภาวีนํ มหาภูตานญฺจ อญฺญมญฺญปจฺจยภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา เพราะ พระผู้มีพระภาคเจ้า มิได้ทรงยกนามธรรมซึ่งมีปกติเป็นสหชาตปัจจัยแก ่ จิตตชรูปทั้งหลาย ขึ้นแสดงว่าเป็นอัญญมัญญปัจจัยแก่จิตตชรูปทั้งหลาย และ เพราะมิได้ทรงยกมหาภูตรูปทั้งหลาย (๔ ประการ) ซึ่งมีปกติเป็นสหชาตปัจจัย แก่อุปาทายรูปทั้งหลายขึ้นแสดงว่าเป็นอัญญมัญญปัจจัยแก่อุปาทายรูปทั้งหลาย ฯ ยทิ หิ ก็ ถ้าว่า สหชาตภาเวเนว อตฺตโน อุปการกานํ อุปการกตา ภาวะ ที่ธรรมท�ำอุปการะแก่เหล่าธรรมที่ท�ำอุปการะแก่ตน โดยภาวะที่เกิดร่วมกัน เท่านั้น อญฺญมญฺญปจฺจยตา สิยา พึงเป็นอัญญมัญญปัจจัยไซร้ ฯ ตทา สหชาตอญฺญมญฺญปจฺจเยหิ สมาเนหิ ภวิตพฺพนฺติในกาลนั้น สหาชาตปัจจัย กับอัญญมัญญปัจจัยก็ต้องเหมือนกัน แล ฯ [๒๕๒๖] อิเม (ธมฺมา) ธรรมเหล่านี้ คือ จตุกฺขนฺธา ขันธ์ ๔ ประการ สหชาตนามรูปานํ นิสฺสยภูตา เป็นที่อาศัยแก่นามธรรมและรูปธรรมที่เกิดร่วมกัน จิตฺตกมฺมสฺส ปโฏ วิย ดุจผืนผ้าเป็นที่อาศัยแก่จิตรกรรม ฉะนั้น อาธาราการโตเยว สหชาตรูปสตฺตวิญฺญาณธาตูนํ ยถากฺกมํ นิสฺสยา ภูตรูปํ วตฺถุ จ มหาภูตรูป (๔ ประการ) เป็นที่อาศัยแก่รูปธรรมที่เกิดร่วมกัน และวัตถุ (๖ ประการ) เป็นที่
364 ปริเฉทที่ ๘ อาศัยแก่วิญญาณธาตุจิตทั้ง ๗ ประการตามล�ำดับ โดยอาการเป็นที่รองรับนั่นเอง ตรุปพฺพตาทีนํ ปฐวี วิย ดุจพื้นดินเป็นที่อาศัยรองรับต้นไม้และภูเขาเป็นต้น ฉะนั้น นิสฺสยปจฺจยา นาม ชื่อว่า นิสสยปัจจัย กตฺวา เพราะอธิบายว่า นิสฺสยติ นิสฺสิตเกหิอันธรรมทั้งหลายที่อาศัย อาศัยอยู่ ฯ พลวภาเวน นิสฺสโย ปจฺจโย สภาวธรรมเป็นปัจจัยเป็นที่อาศัย โดยภาวะที่มั่นคง อุปนิสฺสยปจฺจโย ชื่อว่า อุปนิสสยปัจจัย อุปสทฺทสฺส อติสยโชตกตฺตา เพราะอุป ศัพท์ ส่องถึงความหมาย ว่าดียิ่ง ฯ ปน ก็ ตสฺส (อุปนิสฺสยปจฺจยสฺส) เภทํ (อาจริโย) วกฺขติท่านอาจารย์ จักกล่าวประเภทแห่งอุปนิสสยปัจจัยนั้น(เอง) ฯ อิเม (ธมฺมา) ธรรมทั้งหลายเหล่านี้ ฉ วตฺถูนิ ฉาลมฺพนานิจาติ คือ วัตถุ ๖ ประการ และอารมณ์ ๖ ประการ ปจฺจุปฺปนฺนโต ปฐมํ อุปฺปชฺชิตฺวา ปวตฺตมานภาเวน อุปการกา ท�ำอุปการะโดยภาวะที่เกิดขึ้นเป็นไปอยู่ ก่อนจิต และเจตสิกที่เป็นปัจจุบันนธรรม ปุเรชาตปจฺจโย ชื่อว่าปุเรชาตปัจจัย ฯ ปจฺฉาชาตา จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา ธรรมทั้งหลายคือจิตและเจตสิก ที่เกิดภายหลัง กายสฺส อุปตฺถมฺภนภาเวน อุปการกา ช่วยท�ำอุปการะ โดยภาวะที่ช่วยเป็นอุปถัมภ์ร่างกาย ปจฺฉาชาตปจฺจเย อสติ ซึ่งเมื่อไม่มีปัจฉาชาตปัจจัย สนฺตานฏฺฐิติเหตุภาวํ อคจฺฉนฺตสฺส ก็ไปไม่ถึงความเป็นเหตุด�ำรงอยู่ของความสืบต่อกัน ปจฺฉาชาตปจฺจโย ชื่อว่าปัจฉาชาตปัจจัย ฯ โส (ปจฺฉาชาตปจฺจโย) ปัจฉาชาตปัจจัยนั้น คิชฺฌโปตกสรีรานํ อาหาราสา เจตนา วิย ทฏฺฐพฺโพ บัณฑิตพึงเห็น ดุจเจตนาที่มุ่งหวังอาหาร เป็นปัจจัยแก่ร่างกายของลูกแร้ง ฉะนั้น ฯ [จบ บ.ศ. ๒๕๓๓, ๒๕๓๘ และ ป.ธ. ๙ ๒๕๔๔] อุตฺตรุตฺตรสฺส คนฺถสฺส กุสลาทิภาเวน อตฺตสทิสสฺส ปคุณพลวภาววิสิฏฺฐอตฺตสชาติยตาคหณํ ความยอมรับธรรมที่เหมือนกับตน โดยภาวะเป็นกุศลธรรม เป็นต้น ว่าเป็นธรรมที่มีชาติเสมอกับตน อันพิเศษ โดยภาวะเป็นธรรมที่มีพลัง คล่องแคล่ว อาเสวน ชื่อว่าอาเสวนะ ํ ปุริมปริจิตคนฺโถ วิย ดุจศาสตร์ที่สะสมไว้ก่อน เป็นปัจจัยแก่ศาสตร์ที่สูง ๆ ขึ้นไป ฉะนั้น ฯ สชาติยธมฺมาว เฉพาะเหล่าธรรมที่มี
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 365 ชาติเสมอกัน เตน (อาเสวเนน) ปจฺจยา เป็นปัจจัยโดยอาเสวนะนั้น สชาติยธมฺมานํ แก่เหล่าธรรมที่มีชาติเสมอกัน อาเสวนปจฺจโย ชื่อว่าอาเสวนปัจจัย ฯ หิ ความจริง ภินฺนชาติกา ธรรมทั้งหลายที่มีชาติต่างกัน ภินฺนชาติกาหิอตฺตโน คตึคาหาเปตุํ น สกฺโกนฺติ ย่อมไม่สามารถจะยังธรรมทั้งหลายที่มีชาติต่างกันให้ยอมรับคติของตน ปคุณพลวภาววิสิฏฺฐํ กุสลาทิภาวสงฺขาตํ กล่าวคือภาวะที่เป็นกุศลธรรมเป็นต้น อันพิเศษ โดยภาวะเป็นธรรมที่มีพลังคล่องแคล่วได้ อาเสวนคุเณน ด้วยคุณคือ อาเสวนะ น จ สยํ ตโต คณฺหนฺติและตนเองก็ไม่ยอมรับคติจากธรรมที่มีชาติ ต่างกันนั้น ด้วยคุณคืออาเสวนะนั้น ฯ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า เต (ภินฺนชาติกา) ปน ก็ธรรมที่มีชาติต่างกันเหล่านั้น โลกิยกุสลากุสลานิ เจว คือ กุศลจิตฝ่ายโลกิยะ (๑๗ ดวง) อกุศลจิต (๑๒ ดวง) อนาวชฺชนกฺริยาชวนานิ จาติ และกิริยาชวนจิตที่ไม่ใช่อาวัชนจิต (๑๘ ดวง) อนนฺตราตีตานิ ที่ล่วงเลยล�ำดับ ไปแล้ว ฯ อุปการิกา เจตนา เจตนาที่ช่วยอุปการะ จิตฺตปฺปโยคสงฺขาตกฺริยาภาเวน สหชาตานํ แก่ปัจจยุปปันนธรรม ที่เกิดร่วมกัน โดยภาวะที่เป็นกิริยากล่าวคือ ความพยายามแห่งจิต นานากฺขณิกานญฺจ และแก่ปัจจยุปปันนธรรมที่เกิดในขณะ ต่าง ๆ กัน กมฺมปจฺจโย ชื่อว่ากัมมปัจจัยฯ วิปากจิตฺตเจตสิกา วิบากจิตและเจตสิก ธรรมทั้งหลาย อุปการกา ช่วยอุปการะ นิรุสฺสาหสนฺตภาวาย โดยภาวะเป็นธรรม ที่สงบปราศจากความพยายาม สหชาตนามรูปานํ แก่นามธรรมและรูปธรรมที่เกิด ร่วมกัน อตฺตโน นิรุสฺสาหสนฺตภาเวน โดยภาวะที่ตนสงบปราศจากความพยายาม วิปากปจฺจโย ชื่อว่าวิปากปัจจัย ฯ หิ ความจริง ภวงฺคาทโย วิบากจิตทั้งหลาย มีภวังคจิตเป็นต้น ทุวิญฺเญยฺยา ชื่อว่า พึงรู้ได้ยาก นิรุสฺสาหสนฺตานสนฺตภาวโตเยว เพราะเป็นภาวะที่มีความสืบเนื่องกัน สงบปราศจากความพยายาม เตหิปโยเคน อสาเธตพฺพตาย กมฺมสฺส กตตฺตา นิปฺปชฺชนมตฺตโต เหตุเป็นเพียงสภาวธรรม ที่ส�ำเร็จมาจากกรรมที่สัตว์กระท�ำแล้ว เพราะวิบากจิตเหล่านั้น อันบุคคลไม่พึงให้ ส�ำเร็จได้ด้วยความพยายาม ฯ ปน ส่วน วิปากา วิบากจิตทั้งหลาย อภินิปาตสมฺปฏิจฺฉนฺนสนฺตีรณมตฺตา ซึ่งเป็นเพียงกิริยาที่ปัญจวิญญาณจิตตกไปในรูปารมณ์
366 ปริเฉทที่ ๘ เป็นต้น สัมปฏิจฉันนจิตรับรู้รูปารมณ์เป็นต้น และสันตีรณจิตพิจารณารูปารมณ์ เป็นต้น ทุวิญฺเญยฺยาว เป็นสภาวะที่จะพึงรู้ได้ยากแท้ ฯ เนสํ รูปาทิคหิตตา ภาวะที่ปัญจวิญญาณจิต สัมปฏิจฉันนจิต และสันตีรณจิตเหล่านั้น รับรูปารมณ์ เป็นต้น วิญฺญายตีติ บัณฑิตย่อมรู้ได้ ชวนปฺปวตฺติยาว โดยความเป็นไปแห่งชวนจิต เท่านั้น แล ฯ จตฺตาโร อาหารา อาหาร ๔ อย่าง รูปารูปานํ อุปตฺถมฺภกตฺเตน อุปการกา ช่วยอุปการะ โดยภาวะที่ช่วยอุปถัมภ์แก่รูปธรรมและอรูปธรรมทั้งหลาย อาหารปจฺจโย ชื่อว่าอาหารปัจจัย ฯ หิ ความจริง สติปิกมฺมชนกภาเว เมื่อภาวะ แห่งกรรมที่ให้รูปธรรมและอรูปธรรมเกิด แม้มีอยู่ อุปตฺถมฺภกตฺตเมว เฉพาะ ภาวะที่ช่วยอุปถัมภ์รูปธรรมและอรูปธรรมเท่านั้น อาหารสฺส ปธานกิจฺจ เป็นหน้าที่หลัก ํ ของอาหาร ฯ ชนยนฺโตปิอาหาโร อาหารแม้เมื่อจะให้รูปธรรมและอรูปธรรมเกิด อวิจฺเฉทวเสน อุปตฺถมฺเภนฺโตว ชเนตีติก็ให้รูปธรรมและอรูปธรรมเกิด คอยช่วย อุปถัมภ์ไว้ด้วยอ�ำนาจไม่ขาดสายนั่นเอง เพราะเหตุนั้น อุปตฺถมฺภกภาโวว ภาวะที่ ช่วยอุปถัมภ์รูปธรรมและอรูปธรรมนั่นแหละ อาหารภาโว เป็นภาวะแห่งอาหารฯ เตสุเตสุกิจฺเจสุปจฺจยุปฺปนฺนธมฺเมหิอตฺตานํ อนุวตฺตาปนสงฺขาตอธิปจฺจตฺเถน ปจฺจโย ธรรมที่เป็นปัจจัย โดยอรรถว่า เป็นใหญ่ กล่าวคือการยังปัจจยุปปันนธรรม ทั้งหลาย ให้เป็นไปตามตนในหน้าที่นั้น ๆ อินฺทฺริยปจฺจโย ชื่อว่าอินทรียปัจจัย ฯ อาลมฺพนูปนิชฺฌานลกฺขณูปนิชฺฌานวเสน อุปคนฺตฺวา อาลมฺพนํ นิชฺฌานกา วิตกฺกาทโย ธรรมที่เป็นองค์ฌานทั้งหลายมีวิตกเป็นต้น เพ่งอารมณ์อย่างแน่วแน่ คือเพ่งแน่วแน่ซึ่งอารมณ์ และเพ่งแน่วแน่ซึ่งลักษณะ (ไตรลักษณ์) ฌานปจฺจโย ชื่อว่าฌานปัจจัย ฯ สุคติโต ทุคฺคติโต ปุญฺญโต ปาปโต วา นิยฺยานตฺเถน อุปการกา สมฺมาทิฏฺฐาทโย ธรรมที่เป็นองค์มรรคทั้งหลายมีสัมมาทิฏฐิเป็นต้น ช่วยอุปการะโดยอรรถว่า น�ำเหล่าสัตว์ออกจากสุคติ จากทุคคติ จากบุญ หรือจากบาป มคฺคปจฺจโย ชื่อว่ามัคคปัจจัย ฯ นามธมฺมาว เฉพาะนามธรรมทั้งหลาย ปรมตฺถโต ภินฺนาปิแม้จะต่างกันโดยปรมัตถ์ เอกีภาวํคตา วิย ก็เป็นดุจถึงความเป็นอันเดียวกัน
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 367 เอกุปฺปาทาทิสงฺขาตสมฺปโยคลกฺขเณน อุปการกา ช่วยอุปการะโดยลักษณะ แห่งสัมปโยค กล่าวคืออาการ ๔ อย่างมีเกิดขึ้นพร้อมกันเป็นต้น สมฺปยุตฺตปจฺจโย ชื่อว่าสัมปยุตตปัจจัย ฯ (จบ ๒๕๒๖) วตฺถุจิตฺตเจตสิกา วัตถุ (หทัย) รูป จิต เจตสิก ยุตฺตาปิ สมานา แม้เป็นสภาวะที่ประกอบ อญฺญมญฺญสมฺพนฺธตาย ด้วยความเกี่ยวเนื่องกันและกัน อุปการกา ก็ท�ำอุปการะ นานตฺตูปคมเนน โดยเข้าถึง ความต่างกัน วิปฺปยุตฺตภาเวน วิสํสฏฺฐตาย เพราะไม่เกี่ยวข้องกันโดยความเป็น สภาวะพรากจากกัน วิปฺปยุตฺตปจฺจโย ชื่อว่า วิปปยุตตปัจจัย ฯ วกฺขมานธมฺมา ธรรมที่จะกล่าวอยู่ สหชาตํ ปุเรชาตนฺติอาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า สหชาตํ ปุเรชาตํ ดังนี้ อุปการกา ที่ท�ำอุปการะ ตาทิสสฺเสว ธมฺมสฺสุปตฺถมฺภกตฺเตน แก่ธรรมเช่นนั้นนั่นแล โดยภาวะที่ค�้ำจุนไว้ อตฺถิภาเวน โดยภาวะที่มีอยู่ ปจฺจุปฺปนฺนสภาเวน ซึ่งมีสภาวะเป็นปัจจุบัน อตฺถิปจฺจโย ชื่อว่าอัตถิปัจจัย ฯ สติปิชนกตฺเต เมื่อความที่กรรมเป็นธรรมชาตให้เกิดแม้มีอยู่ ฐิติยเยวํสาติสโย อตฺถิปจฺจยานํ พฺยาปาโรติ อัตถิปัจจัยทั้งหลายย่อมมีความพยายามดียิ่ง เฉพาะ ในฐิติขณะเท่านั้น เพราะเหตุนั้น อุปตฺถมฺภกตาว เตสํ คหิตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงระบุเฉพาะความที่อัตถิปัจจัยเหล่านั้น เป็นสภาวะที่ค�้ำจุนเท่านั้น ฯ จิตฺตเจตสิกา จิตและเจตสิก อนนฺตรนิรุทฺธา ซึ่งดับไปไม่มีธรรมอื่นคั่น อุปการกา ที่ท�ำอุปการะ อุปฺปชฺชมานกจิตฺตเจตสิกานํ โอกาสทานวเสน ด้วยอ�ำนาจให้โอกาสแก่จิตและเจตสิก ซึ่งจะเกิดขึ้น อนนฺตรํ ในล�ำดับติดต่อกัน โอกาสมลภนฺตานํ ที่ไม่ได้โอกาส อตฺตโน ฐิติยา เพื่อความตั้งมั่นอยู่แห่งตน เอกสฺมึ ผสฺสาทิสมุทาเย ปวตฺตมาเน ทุติยสฺส อภาวโต เพราะเมื่อหมวดธรรม มีผัสสเจตสิกเป็นต้น หมวดหนึ่ง ก�ำลังเป็นไปอยู่ หมวดธรรมมีผัสสเจตสิก เป็นต้นที่สอง ก็มีไม่ได้ นตฺถิปจฺจโย ชื่อว่านัตถิปัจจัย ฯ อุปการกาเยว ธมฺมา ธรรมทั้งหลายเฉพาะที่ท�ำอุปการะ อปฺปวตฺตมานานํ วิคตภาเวน โดยภาวะที่ไป ปราศแก่ธรรมทั้งหลายที่เป็นไปไม่ได้ อตฺตโน สภาวาวิคเมน เพราะสภาวะของตน ยังไม่ไปปราศ วิคตปจฺจโย ชื่อว่าวิคตปัจจัย ฯ อตฺถิปจฺจยาว อัตถิปัจจัยนั่นเอง
368 ปริเฉทที่ ๘ นิโรธานุปคมนวเสน อุปการกา ที่ท�ำอุปการะ ด้วยอ�ำนาจไม่เข้าถึงความดับ อวิคตปจฺจโย ชื่อว่าอวิคตปัจจัย ฯ ธมฺมานวิเสเสปิแม้เมื่อความไม่แปลกกัน แห่งธรรมทั้งหลายมีอยู่ ทฏฺฐพฺโพ บัณฑิตก็พึงเห็น เนสํ ปจฺจยตาวิเสโส ความแปลกกันแห่งความที่ธรรมเหล่านั้นเป็นปัจจัยว่า สสฺสภาวตามตฺเตน อุปการกตา ความที่ธรรมทั้งหลายท�ำอุปการะด้วยเหตุเพียงความมีสภาวะ อตฺถิปจฺจยตา ชื่อว่าความเป็นอัตถิปัจจัย นิโรธานุปคมนวเสน อุปการกตา ภาวะที่ธรรมทั้งหลายท�ำอุปการะ ด้วยอ�ำนาจไม่เข้าถึงความดับ อวิคตปจฺจยตา (อิติ) ชื่อว่าความเป็นอวิคตปัจจัย ฯ สุตมยญาณํ อุปฺปาเทตฺวา บัณฑิตพึงยังสุตมยปัญญาให้เกิดขึ้นว่า ภควติ สทฺธาย เอววิเสส ํา เอเต ธมฺมาติธรรมเหล่านี้มีความแปลกกันอย่างนี้ ด้วยศรัทธา ในพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ธมฺมานญฺหิ สมตฺถภาววิเสสํ สพฺพากาเรน ญตฺวา ภควตา จตุวีสติ ปจฺจยา เทสิตาติ ความจริง พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบ ความแปลกกันแห่งความที่ธรรมทั้งหลายมีความสามารถ โดยอาการทั้งปวงแล้ว จึงทรงแสดงปัจจัย ๒๔ อย่างไว้ ดังนี้ จินฺตาภาวนามยญาเณหิ ตทภิสมยาย โยโค กรณีโย พึงท�ำความเพียรเพื่อความรู้ความต่างกันแห่งปัจจยธรรมนั้น ด้วยจินตามยปัญญา และภาวนามยปัญญา ฯ ทฏฺฐพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า อวิเสเสปิธมฺมสามตฺถิยสฺส แม้เมื่อมีความไม่แปลกกันแห่งธรรมที่มีความสามารถ เหฏฺฐา วุตฺโตปิปจฺจโย ปัจจัยแม้ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ข้างต้น ตถา ตถา วิเนตพฺพปุคฺคลานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจบุคคลที่จะพึงแนะน�ำ โดยประการนั้น ๆ ปุน ปการนฺตเรน วุจฺจติ ก็ตรัสโดยประการอื่นอีก อเหตุกทุกํ วตฺวาปิ เหตุวิปฺปยุตฺตทุกํ วิยาติ เปรียบเสมือนแม้ตรัสถึงทุกะที่ก�ำหนดด้วยเหตุกจิตแล้ว ก็ตรัสถึงทุกะที่ท่านก�ำหนดด้วยจิตที่ปราศจากเหตุไว้อีก ฉะนั้น ฯ นามํ นาม จตุกฺขนฺธสงฺขาตํ นามํ นาม ได้แก่นาม กล่าวคือขันธ์ ๔ ตาทิสสฺเสว นามสฺส ฉธา ฉหากาเรหิปจฺจโย โหติเป็นปัจจัยแก่นามเช่นนั้นนั่นแล โดยประการ ๖ คือ อาการ ๖ ฯ ตเทว (นามํ) นามนั่นแล นามรูปีนํ สมุทิตานํ ปญฺจธา ปจฺจโย
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 369 โหติ เป็นปัจจัยแก่นามและรูปที่เกิดขึ้นร่วมกัน โดยประการ ๕ ฯ รูปสฺส ปุน ภูตุปาทายเภทสฺส เอกธา ปจฺจโย โหตินามนั่นแล เป็นปัจจัยแก่รูป ที่แยกเป็น ภูตรูปและอุปาทายรูป โดยประการหนึ่งซ�้ำอีก ฯ รูปญฺจ นามสฺส เอกธาว ปจฺจโย อนึ่ง รูปเป็นปัจจัยแก่นามโดยประการหนึ่งเท่านั้น ฯ ปญฺญตฺตินามรูปานิ บัญญัติธรรม นามและรูป นามสฺส ทฺวิธา ทฺวิปการา ปจฺจยา โหนฺติเป็นปัจจัย แก่นามโดยอาการ ๒ คือโดยประการ ๒ ฯ ปน อนึ่ง ทฺวยํ นามและรูปทั้ง ๒ นามรูปทฺวยํ คือ หมวด ๒ แห่งนามและรูป สมุทิตํ ที่เกิดขึ้นร่วมกัน ทฺวยสฺส ตาทิสสฺเสว นามรูปทฺวยสฺส นวธา ปจฺจโย เจ เป็นปัจจัยแก่นามและรูป ๒ คือ แก่หมวด ๒ แห่งนามและรูปเช่นนั้นแล โดยประการ ๙ (อิติ) เอวํ รวมความ ดังกล่าวมานี้ ปจฺจยา ฉพฺพิธา ฐิตา ปัจจัยทั้งหลายด�ำรงอยู่แล้วโดย ๖ หมวด ฯ (๒๔๙๑, ๒๕๑๗) (อาจริโย กตฺวา) ท่านอาจารย์ค�ำนึงถึงว่า วิปากาพฺยากตํ วิบากจิตฝ่ายอัพยากฤต (คือ อกุสลวิบากจิต ๗ ดวง และกุสลวิบากอเหตุกจิต ๘ ดวง) วิปากภาวปฺปตฺตํ ถึงความเป็นวิบาก กมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจกรรม กมฺมเวคุกฺขิตฺตํ ถูกก�ำลังกรรมซัดไป ปติตํ วิย หุตฺวา ปวตฺตมานํ เป็นไปประดุจ ตกลง อตฺตโน สภาวํ คเหตฺวา ปริภาเวตฺวา รับสภาพของตนให้เกิดมีเต็มที่แล้ว เนว อญฺญํ ปวตฺเตติย่อมไม่ให้วิบากอื่นเป็นไป น จ ปุริมวิปากานุภาวํ คเหตฺวา อุปฺปชฺชติ และย่อมไม่รับอานุภาพวิบากเดิมเกิด วจนโต จ ก็เพราะพระบาลีว่า น มคฺคปจฺจยา อาเสวเน เอกนฺติ เพราะธรรมที่ไม่ใช่มรรคเป็นปัจจัย ใน อาเสวนปัจจัย จึงได้ปัญหาพยากรณ์ข้อหนึ่ง ดังนี้เป็นต้น อเหตุกฺริยาสุ บรรดา กิริยาจิตฝ่ายอเหตุกะทั้งหลาย (๓ ดวง) หสิตุปฺปาทสฺเสว อาเสวนตาอุทฺธรเณน เพราะยกเฉพาะหสิตุปปาทจิตดวงเดียวเท่านั้นขึ้นเป็นอาเสวนปัจจัยได้ อาวชฺชนทฺวยํ อาวัชชนจิต ๒ ดวง (คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง มโนทวาราวัชชนจิต ทั้ง ๑ ดวง) อาเสวนปจฺจโย น โหติจึงเป็นอาเสวนปัจจัยไม่ได้ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ชวนาเนว เฉพาะชวนจิตทั้งหลายเท่านั้น อาเสวนปจฺจยภาวํ คจฺฉนฺตีติ จึงถึง ความเป็นอาเสวนปัจจัยได้ ดังนี้ อาห ปุริมานิชวนานีติอาทิจึงกล่าวค�ำว่า ปุริมานิ
370 ปริเฉทที่ ๘ ชวนานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ จ ก็ อวิเสสวจเน เมื่อมีถ้อยค�ำที่ไม่ต่างกัน เอตฺถ (ปุริมานิ ชวนานีติ วจเน) ในค�ำว่า ปุริมานิ ชวนานิ นี้ โลกุตฺตรชวนานํ อาเสวนภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา เพราะมิได้ทรงยกโลกุตตรชวนจิตทั้งหลายขึ้นเป็น อาเสวนปัจจัย โลกิยกุสลากุสลาพฺยากตชวนาเนว ทฏฺฐพฺพานิ บัณฑิต พึงเห็นเฉพาะกุศลชวนจิตฝ่ายโลกิยะ (๑๗ ดวง) อกุศลชวนจิต (๑๒ ดวง) และ อัพยากตชวนจิต (๑๘ ดวง) เท่านั้น (ว่าเป็นอาเสวนปัจจัยได้) ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็ เพราะแต่งอธิบายความไว้อย่างนี้ วุตฺตํ ปฏฺฐานฏฺฐกถายํ ในอรรถกถา คัมภีร์ปัฏฐานพระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า ปน ส่วน โลกุตฺตโร โลกุตตรธรรม (ชวนจิต) อาเสวนปจฺจโย นาม ที่ชื่อว่าเป็นอาเสวนปัจจัยได้ นตฺถีติ ย่อมไม่มี ฯ หิ ความจริง ตตฺถ (โลกตฺตเรสุ) บรรดาโลกุตตรกุศลชวนจิตนั้น กุสลํ โลกุตตรชวนจิต (๔ ดวง) น เตน (ผเลน) อาเสวนคุณํ คณฺหาเปติย่อมไม่ ยังโลกุตตรผลจิตนั้นให้รับเอาคุณคืออาเสวนะ ภินฺนชาติกสฺส ปุเรจรตฺตา เพราะภาวะที่โลกุตตรกุศลชวนจิตนั้น เป็นไปก่อนโลกุตตรผลจิตที่ต่างชาติกัน ฯ จ ส่วน ผลจิตฺตานิ ผลจิตทั้งหลาย (คือโลกุตตรวิบากจิต ๔ ดวง) ชวนวเสน อุปฺปชฺชมานานิปิแม้จะเกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจเป็นชวนจิต อาเสวนํ น คณฺหนฺติ ก็ไม่รับอาเสวนะ น จ อญฺญํ คาหาเปนฺติและไม่ยังวิบากจิตอื่นให้รับเอาอาเสวนะ วิปากาพฺยากเต วุตฺตนเยเนว โดยนัยที่กล่าวแล้ว ในวิบากจิตฝ่ายอัพยากฤตนั่น แหละ ฯ ยมฺปิ อาเสวนวินิมุตฺตํ ชวนํ นตฺถีติ อาจริยธมฺมปาลตฺเถเรน วุตฺตํ ตมฺปิแม้ค�ำที่ท่านอาจารย์ธรรมปาลเถระกล่าวไว้ว่า ชวนจิตที่พ้นไปจากอาเสวนะ ย่อมไม่มี ดังนี้นั้น เยภุยฺยวเสน วุตฺตนฺติ วิญฺญายติ บัณฑิตย่อมเข้าใจว่า ท่านกล่าวไว้แล้วด้วยอ�ำนาจโวหารที่เป็นส่วนมาก ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความ นอกไปจากนี้ อาจริยสฺส อสมเปกฺขิตาภิธายกตฺตปฺปสงฺโค สิยา ท่านอาจารย์ จะพึงเกี่ยวเนื่องถึงความเป็นผู้พูด โดยไม่พิจารณาให้รอบคอบ ฯ ภูมิอาทิวเสน นานาชาติตาย อนธิปฺเปตตฺตา เพราะไม่ทรงหมายถึงภาวะแห่งธรรมที่ต่างชาติกัน ด้วยอ�ำนาจภูมิเป็นต้น นตฺถิ จึงไม่มีถ้อยค�ำว่า ปน แต่ มคฺโค มรรคจิต น คณฺหาติ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 371 ย่อมไม่รับเอา อาเสวนํ อาเสวนะ โคตฺรภูโต จากโคตรภูจิต อิติ ดังนี้ ฯ ตถาหิ วุตฺตํ ปฏฺฐาเน สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในคัมภีร์ปัฏฐานว่า โคตฺรภู มคฺคสฺส อาเสวนปจฺจเยน ปจฺจโย โวทานํ มคฺคสฺส อาเสวนปจฺจเยน ปจฺจโยติ โคตรภูจิตย่อมเป็นปัจจัยแก่มรรคจิต (คือ โสดาปัตติมรรคจิต) โดย อาเสวนปัจจัย โวทานจิตย่อมเป็นปัจจัยแก่มรรคจิต (คือสกทาคามิมรรคจิตเป็นต้น) โดยอาเสวนปัจจัย ดังนี้ (จบ ๒๔๙๑, ๒๕๑๗)ฯ (อาจริเยน มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า สหุปฺปนฺนานมฺปิ รูปธมฺมานํ สมฺปยุตฺตปจฺจยตา ความที่รูปธรรมทั้งหลายแม้ที่เกิดขึ้นร่วมกัน เป็น สัมปยุตตปัจจัย นตฺถิ ชื่อว่าย่อมไม่มี เอกุปฺปาทาทิจตุพฺพิธสมฺปโยคลกฺขณาภาวโต เพราะไม่มีลักษณะแห่งสัมปโยค ๔ ประการ มีความเกิดขึ้นร่วมกันเป็นต้น อิติ ดังนี้ วุตฺตํ จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา อญฺญมญฺญนฺติ จึงกล่าวค�ำว่า จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา อญฺมฺ ดังนี้เป็นต้น ฯ เหตุฯเปฯ นามรูปานนฺติข้อว่า เหตุฯเปฯ นามรูปานํ ความว่า ตโยเปเต (เหตุชฺฌานมคฺคา) เหตุธรรม องค์ฌาน และองค์มรรค ทั้ง ๓ ประการนี้ เหตาทิปจฺจเยน ปจฺจยา โหนฺติ เป็นปัจจัยโดยเป็นเหตุปัจจัย เป็นต้น ปฏิสนฺธิยํ กมฺมสมุฏฺฐานานํ ปวตฺติยํ จิตฺตสมุฏฺฐานานญฺจ รูปานํ แก่รูป ทั้งหลายที่มีกรรมเป็นสมุฏฐานในปฏิสนธิกาล ที่มีจิตเป็นสมุฏฐานในปวัตติกาล อุภยตฺถ สหชาตานํ นามานญฺจ และแก่นามทั้งหลายที่เกิดร่วมกันในกาลทั้ง ๒ ฯ หิความจริง สหชาตรูปนฺติ ในค�ำว่า สหชาตรูป ดังนี้ สพฺพตฺถ (วจเน) ทั้งหมด วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าวว่า ปฏิสนฺธิยํ กมฺมสมุฏฺฐานํ ปวตฺติยํ จิตฺตสมุฏฺฐานํ (รูปํ เวทิตพฺพํ) อิติรูป บัณฑิตพึงทราบว่า รูปมีกรรมเป็นสมุฏฐาน ในปฏิสนธิกาล มีจิตเป็นสมุฏฐานในปวัตติกาล ฯ สหชาตา เจตนาติ ข้อว่า สหชาตา เจตนา ได้แก่ เจตนาที่เกิดร่วมกัน อนฺตมโส จกฺขุวิญฺญาณาทีหิปิ โดยที่สุดแม้ร่วมกับจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น ฯ สหชาตานํ นามรูปานนฺติ ข้อว่า สหชาตานํ นามรูปานํ ความว่า สพฺพาปิ เจตนา เจตนาแม้ทั้งหมด นามานํ ย่อมเป็นปัจจัยแก่นาม ปฏิสนฺธิสหคตา เจตนา เจตนาที่เกิดพร้อมในปฏิสนธิกาล
372 ปริเฉทที่ ๘ กมฺมสมุฏฺฐานรูปานํ ย ่อมเป็นปัจจัยแก ่รูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน ปวตฺติยํ รูปสมุฏฺฐาปกจิตฺตสหคตา เจตนา และเจตนาที่เกิดพร้อมด้วยจิตซึ่งเป็นตัวให้ รูปตั้งขึ้นในปวัตติกาล จิตฺตสมุฏฺฐานรูปานญฺจ ย่อมเป็นปัจจัยแก่รูปที่มีจิตเป็น สมุฏฐาน ฯ นานากฺขณิกา เจตนาติ ข้อว่า นานากฺขณิกา เจตนา ความว่า กุสลากุสลเจตนา กุศลเจตนาและอกุศลเจตนา วิปากกฺขณโต นานากฺขเณ อตีตภวาทีสุ นิพฺพตฺตา ที่บังเกิดในขณะต่าง ๆ กัน จากขณะแห่งวิบาก คือ ในอดีตภพเป็นต้น ฯ นามรูปานนฺติ ข้อว่า นามรูปานํ คือ นามรูปานํ แก่นาม และรูป อุภยตฺถาปิ(ปฏิสนฺธิปวตฺตีสุ) ในปฏิสนธิกาลและ ปวัติกาลแม้ทั้ง ๒ ฯ วิปากกฺขนฺธาติ ที่ชื่อว่าวิบากขันธ์ ได้แก่ ปฏิสนฺธิวิญฺญาณาทิกา วิปากา อรูปกฺขนฺธา อรูปขันธ์ที่เป็นตัววิบากมีปฏิสนธิวิญญาณเป็นต้น ฯ หิ ความจริง ฯ กมฺมสมุฏฺฐานมฺปิ รูปํ แม้รูปที่มีกรรมเป็นสมุฏฐาน วิปากโวหารํ น ลภติ ย่อมไม่ได้การบัญญัติว่าวิบาก อรูปธมฺมภาเวน สาลมฺพนภาเวน จ กมฺมสทิเสสุ อรูปธมฺเมเสฺวว วิปากสทฺทสฺส นิรุทฺธตฺตา เพราะความที่ศัพท์ว่า วิบาก จ�ำกัดความ ในอรูปธรรมที่เหมือนกับกรรมนั่นเอง โดยความเป็นอรูปธรรม และโดยความเป็น สภาวธรรมที่มีอารมณ์ ฯ ปุเรชาตสฺส อิมสฺส กายสฺสาติ ข้อว่า ปุเรชาตสฺส อิมสฺส กายสฺส ความว่า อิมสฺส รูปกายสฺส แก่รูปกายนี้ ปจฺจยธมฺมโต ปุเร อุปฺปนฺนสฺส ที่เกิดขึ้นก่อนแต่ปัจจยธรรม ฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า ปน ก็ กถํ ปจฺจุปฺปนฺนสฺส ปุเร นิพฺพตฺติยํ ปจฺฉาชาตสฺส ปจฺจยตาติ ความที่ปัจจุปปันนธรรมเป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เกิดในภายหลัง ในเมื่อตน เกิดก่อน จะมีได้อย่างไร ฯ (วิสชฺชนํ) ตอบว่า นนุ (วจนํ มยา) วุตฺตํ ข้าพเจ้า ได้กล่าวไว้แล้วมิใช่หรือว่า (กายสฺส อุปตฺถมฺภนภาเวน อุปการกา ปจฺฉาชาตา จิตฺตเจตสิกา ธมฺมา) ธรรมคือจิตและเจตสิกที่เกิดในภายหลังท�ำอุปการะ โดยภาวะที่ค�้ำจุนร ่างกาย อสติ ปจฺฉาชาเต ซึ่งเมื่อไม ่มีปัจฉาชาตปัจจัย สนฺตานฏฺฐิติเหตุภาวํ อคจฺฉนฺตสฺสาติ ก็ไปไม่ถึงความเป็นเหตุแห่งความด�ำรงอยู่ แห่งความสืบต่อ ปจฺฉาชาตปจฺจโย ชื่อว่าปัจฉาชาตปัจจัย ดังนี้ ตสฺมา เพราะฉะนั้น
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 373 สนฺตานปฺปวตฺตนสฺส เหตุภาวูปตฺถมฺภเน อิมสฺส (ปจฺฉาชาตปจฺจยสฺส) พฺยาปาโรติ ปัจฉาชาตปัจจัยนี้ จึงมีความพยายามในการค�้ำจุน ความเป็นเหตุแห่ง ความเป็นไปแห่งความสืบต่อ เพราะเหตุนั้น น โกจิ วิโรโธ จึงไม่มีความผิดอะไร ฯ ปฏิสนฺธิยํ จกฺขฺวาทิวตฺถูนํ อสมฺภวโต เพราะวัตถุมีจักขุวัตถุเป็นต้น ไม่เกิดมี ในปฏิสนธิกาล สติจ สมฺภเว ตํตํวิญฺญาณานํ ปจฺจยภาวานุปคมนโต เพราะ เมื่อวัตถุมีจักขุวัตถุเป็นต้นเกิดมี ก็ไม่เข้าถึงความเป็นปัจจัยแก่วิญญาณจิตนั้น ๆ หทยวตฺถุโน จ ปฏิสนฺธวิญฺญาเณน สหุปฺปนฺนสฺส ปุเรชาตกตาภาวโต และ เพราะหทัยวัตถุซึ่งเกิดขึ้นร่วมกันกับปฏิสนธิวิญญาณจิต ไม่มีความเป็นปุเรชาตปัจจัย วุตฺตํ ฉ วตฺถูนิปวตฺติยนฺติท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ฉ วตฺถูนิปวตฺติยํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปญฺจาลมฺพนานิปญฺจวิญฺญาณวีถิยาติจ อิทํ ก็ค�ำว่า ปญฺจาลมฺ พนานิปญฺจวิญฺาณวีถิยา นี้ อารมฺมณปุเรชาตนิทฺเทเส อาคตํ สนฺธาย วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวหมายถึงนัยที่มาแล้วในนิเทศว่าด้วยอารมณ์ที่เกิดก่อน ฯ ปน แต่ ปญฺหาวาเร ในปัญหาวาระ ปจฺจุปฺปนฺนจกฺขฺวาทีนมฺปิคหิตตฺตา เพราะแม้ความที่จักขุปสาทรูปที่เป็นปัจจุบันเป็นต้น ท่านระบุ เสกฺโข วา ปุถุชฺชโน วา จกฺขุ อนิจฺจโต ทุกฺขโต อนตฺตโต วิปสฺสตีติอาทินา อวิเสเสน โดยความไม่ แปลกกันโดยนัยเป็นต้นว่า เสขบุคคล หรือปุถุชน ย่อมเห็นแจ้งจักขุปสาทรูป โดย ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ดังนี้ ธมฺมารมฺมณมฺปิอารมฺมณปุเรชาตํ แม้ ธรรมารมณ์ซึ่งเป็นอารมณ์ที่เกิดก่อน มโนวิญฺญาณวีถิยา ลพฺภติย่อมได้แก่วิถีจิต ที่เกิดทางมโนทวาร ฯ หิ ความจริง อตฺถโตปิ แม้โดยใจความ เอตํ (วจน)ํ สิทฺธํ ย่อมเป็นอันส�ำเร็จค�ำนี้ว่า ยํ ปจฺจุปฺปนฺนํ อารมฺมณํ คเหตฺวา มโนทฺวาริกวีถิปวตฺ ตติตํ ตสฺสา อารมฺมณปุเรชาตํ โหตีติวิถีจิตที่เกิดทางมโนทวาร ยึดธรรมารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันใด เป็นไป ธรรมารมณ์ที่เป็นปัจจุบันนั้น ย่อมเป็นอารมณ์ที่เกิดก่อน เพื่อวิถีจิตที่เกิดทางมโนทวารนั้น ฯ ปกติยา เอว ปจฺจยนฺตรรหิเตน อตฺตโน สภาเวเนว อุปนิสฺสโย ธรรมซึ่ง เป็นที่เข้าไปอาศัยตามปกตินั่นแล คือ ตามสภาวะของตน ที่เว้นจากปัจจัยอื่นนั่นเอง
374 ปริเฉทที่ ๘ ปกตูปนิสฺสโย ชื่อว่าปกตูปนิสสยปัจจัย ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบาย ไว้ว่า อารมฺมณนฺตเรหิอมิสฺโส ปุถเคว โกจิ(ธมฺโม) ธรรมบางอย่างซึ่งเป็นที่ อิงอาศัยแผนกหนึ่งนั่นเอง ไม่เจือปนกับอารมณ์อย่างอื่น อุปนิสฺสโยติ ชื่อว่า ปกตูปนิสสยปัจจัย ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ปกโต อุปนิสฺสโย ธรรมซึ่งเป็น ที่อิงอาศัยซึ่งเป็นปกติ ปกตูปนิสฺสโย ชื่อว่าปกตูปนิสสยปัจจัย ฯ ปกโตติ เจตฺถ (วจเน) ปกาโร ก็ ป อักษร ในค�ำว่า ปกโต นี้ อุปสคฺโค เป็นอุปสัค ฯ โส (อุปสคฺโค) อุปสัคนั้น สนฺตาเน นิปฺผาทิตภาวํ อาเสวิตภาวญฺจ ทีเปติย่อมแสดงถึง ความเป็นภาวะที่สัตว์ให้ส�ำเร็จในสันดาน และความเป็นสภาวะที่สัตว์ส้องเสพแล้ว อตฺตโน ผลสฺส อุปฺปาทนสมตฺถภาเวน โดยความเป็นสภาวะที่มีความสามารถให้ ผลของตนเกิดขึ้นได้ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ราคาทิสทฺธาทิ กิเลสมีราคะเป็นต้น และคุณธรรมมีศรัทธาเป็นต้น อตฺตโน สนฺตาเน นิปฺผนฺโน ที่ส�ำเร็จแล้วในสันดาน ของตน วา อุตุโภชนาทิ หรือปัจจัยมีอุตุและโภชนะเป็นต้น อุปเสวิโต ที่สัตว์ ส้องเสพแล้ว ปกตูปนิสฺสโย ชื่อว่าปกตูปนิสสยปัจจัย ฯ ตถา เจว นิทฺทิสติ ก็ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ได้ชี้แจงไว้แล้ว อย่างนั้นเหมือนกัน ฯ ครุกตนฺติ บทว่า ครุกตํ ได้แก่ ครุ กตฺวา ปจฺจเวกฺขิตํ อารมณ์ที่ พระโยคาวจรพิจารณาท�ำให้หนักแน่น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น นิทฺเทโส นิเทศ ปวตฺโต เป็นไปแล้ว ปจฺจเวกฺขณวเสน ด้วยอ�ำนาจการพิจารณา ทานสีลอุโปสถกมฺมปุพฺเพกตสุจิณฺณชฺฌานโคตฺรภูโวทานมคฺคาทีนิ ครุ กตฺวา ถึงทาน ศีล อุโบสถกรรม ฌานที่ตนบ�ำเพ็ญและประพฤติมาดีในกาลก่อน โคตรภูญาณ โวทานธรรม และมรรคเป็นต้น ท�ำให้หนักแน่น ทานํ ทตฺวา สีลํ สมาทยิตฺวา อุโปสถกมฺมํ กริตฺวา ตํ ครุ กตฺวา ปจฺจเวกฺขตีติอาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า บุคคลให้ทาน สมาทานศีล กระท�ำอุโบสถกรรมแล้ว ย่อมพิจารณาถึงทานเป็นต้น นั้น ท�ำให้หนักแน่น ดังนี้ ฯ อนนฺตรปจฺจเยน สทฺธึนานตฺตํ อกตฺวา อนนฺตรู ปนิสฺสยสฺส อาคตตฺตา เพราะความที่อนันตรูปนิสสยปัจจัย ไม่ท�ำความต่างกันกับ อนันตรปัจจัย มาแล้ว ปุริมา ปุริมา กุสลา ขนฺธา ปจฺฉิมานํ ปจฺฉิมานํ กุสลานํ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 375 ขนฺธานํ อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโยติอาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า กุศลขันธ์ ก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กุศลขันธ์หลัง ๆ โดยอนันตรปัจจัย ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวว่า อนนฺตรนิรุทฺธา ดังนี้เป็นต้น ฯ เอวํ สนฺเตปิแม้เมื่อเป็นอย่างนั้น อยเมเตสํ (ทฺวินฺนํ ปจฺจยานํ) วิเสโส ปัจจัยทั้ง ๒ อย่างนี้ มีความต่างกัน ดังนี้ อนนฺตรปจฺจโย คือ ธรรมที่เป็นอนันตรปัจจัย อตฺตโน อนนฺตรา อนุรูปจิตฺตุปฺปาทวเสน ก็ด้วยอ�ำนาจยังจิตที่เหมาะสมให้เกิดขึ้นในล�ำดับต่อจากตน อนนฺตรูปนิสฺสยปจฺจโยติ ธรรมที่เป็นอนันตรูปนิสสยปัจจัย พลวการณวเสน ก็ด้วยอ�ำนาจเหตุที่มีก�ำลังรุนแรง ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ยถารหํ อชฺฌตฺตญฺจ พหิทฺธา จ ราคาทโย ฯเปฯ เสนาสนญฺจาติธรรมทั้งหลายมีราคะ เป็นต้น (และมีศรัทธาเป็นต้น สุขเวทนา ทุกขเวทนา บุคคล โภชนะ อุตุ) และ เสนาสนะทั้งที่มีภายในและภายนอก ย่อมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมเป็นต้น และ แก่วิบากแห่งกรรมตามสมควร ฯ หิ ความจริง ราคาทโย ธรรมมีราคะเป็นต้น อชฺฌตฺตํ นิปฺผาทิตา อันบุคคลให้ส�ำเร็จแล้วในภายใน ปุคฺคลาทโย บุคคลเป็นต้น พหิทฺธา เสวิตา อันบุคคลส้องเสพแล้วในภายนอก ฯ ตถาหิวุตฺตํ อาจริเยน สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ว่า ราคสทฺธาทโย ธมฺมา ธรรมทั้งหลายมีราคะและศรัทธาเป็นต้น อชฺฌตฺตมนุวาสิตา อันบุคคลให้นอนแนบสนิทแล้ว ในภายใน จ ส่วน สตฺตสงฺขารธมฺมา สัตว์และสังขารธรรม ปฏิเสวิตาติ อันบุคคล ส้องเสพ อาศัยแล้ว พหิทฺธา ในภายนอก ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ยถาฏฺฐิติวเสเนว โยชนา มีวาจาประกอบความด้วย อ�ำนาจแห่งข้อความตามที่ตั้งอยู่นั่นแลว่า ปน ก็ ธมฺมา ราคาทโย สทฺธาทโย ธรรมทั้งหลายมีราคะเป็นต้นและศรัทธาเป็นต้น สุขทุกฺขํ ปุคฺคโล โภชนํ อุตุ เสนาสนํ สุขเวทนา และทุกขเวทนา บุคคล โภชนะ อุตุ เสนาสนะ อชฺฌตฺตญฺจ พหิทฺธา จ กุสลาทิธมฺมานนฺติ เป็นที่อยู่อาศัยแห่งธรรมมีกุศลธรรมเป็นต้น ทั้งภายในทั้งภายนอก ฯ อตฺตโน ราคาทโย สทฺธาทโย จ ธรรมทั้งหลายมีราคะ
376 ปริเฉทที่ ๘ เป็นต้นและมีศรัทธาเป็นต้นของตน อตฺตโน กุสลาทิธมฺมานํ กลฺยาณมิตฺตสฺส สทฺธาทิเก นิสฺสาย กุสลํ กโรนฺตานํ ปเรสญฺจ นิสฺสยา โหนฺติย่อมเป็นที่อาศัย แห่งกุศลธรรมเป็นต้นของตน และของชนเหล่าอื่นผู้อาศัยคุณธรรมมีศรัทธาเป็นต้น ของกัลยาณมิตรแล้วจึงท�ำกุศล ฯ ยถารหํ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย ตามสมควรว่า ตตฺถ กามราคาทโย นิสฺสาย กามภวาทีสุ นิพฺพตฺตนตฺถํ ราคาทิวูปสมนตฺถญฺจ ทานสีลอุโปสถชฺฌานาภิญฺญาวิปสฺสนามคฺคภาวนา ราคาทิเหตุกา จ อุปรูปริราคาทโย โหนฺตีติทาน ศีล อุโบสถ ฌาน อภิญญา วิปัสสนาภาวนา มรรคภาวนา และกิเลสมีราคะเป็นต้นที่สูง ๆ ขึ้นไป อันมีราคะเป็นต้น เป็นมูลเหตุ ย่อมมี เพื่อบุคคลอาศัยกามราคะเป็นต้น ในบรรดาราคะเป็นต้นเหล่านั้น แล้วบังเกิดในกามภพเป็นต้น และเพื่อให้กิเลสมีราคะเป็นต้นสงบระงับ ฯ ยํ ยญฺหิ (ธมฺมชาตํ) นิสฺสาย ยสฺส ยสฺส (ธมฺมชาตสฺส) สมฺภโว ความจริง ธรรมใด ๆ อาศัยธรรมใด ๆ เกิดมี ตํ (ธมฺมชาตํ) ตสฺส (ธมฺมชาตสฺส) ปกตูปนิสฺสโย โหติ ธรรมนั้น ๆ ย่อมเป็นปกตูนิสสยปัจจัยแก่ธรรมนั้น ๆ ฯ หิ(วจนํ อาจริเยน) วุตฺตํ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ว่า ปจฺจยมหาปเทโส เหส (ปจฺจโย) ยทิทํ อุปนิสฺสยปจฺจโยติ ความจริง ปัจจยธรรมนี้ คืออุปนิสสยปัจจัย เป็นข้ออ้างใหญ่ แห่งปัจจัย ฯ ตถา จาห จริงอย่างนั้น ท่านพระอนุรุทธาจารย์ได้กล่าวไว้ว่า พหุธา โหติปกตูปนิสฺสโยติปกตูปนิสสยปัจจัย มีมากอย่าง ดังนี้เป็นต้น ฯ สทฺธาทโยติ บทว่า สทฺธาทโย ได้แก่ สีลจาคปญฺญา ศีล จาคะ และปัญญา ฯ อตฺตโน สทฺธาทิกญฺหิ อุปนิสฺสาย อตฺตโน ทานสีลาทโย ตถา กลฺยาณมิตฺตานํ สทฺธาสีลาทโย นิสฺสาย ปเรสญฺจ ทานสีลาทโย โหนฺตีติ ปากฏเมตํ (วจนํ) ค�ำนี้ว่า ก็ คุณธรรมทั้งหลายมีทานและศีลเป็นต้นของตน อิงอาศัยคุณธรรมมีศรัทธา เป็นต้นของตน ย่อมมีได้ และคุณธรรมทั้งหลายมีทานและศีลเป็นต้นของชนเหล่าอื่น อาศัยคุณธรรมมีศรัทธาและศีลเป็นต้นของเหล่ากัลยาณมิตร ย่อมมีได้เหมือนกัน ดังนี้ ปรากฏชัดแล้ว ฯ สุขทุกฺขนฺติ ที่ชื่อว่าสุขเวทนาและทุกขเวทนา ได้แก่ กายิกสุขทุกฺขํ สุขทางกายและทุกข์ทางกาย ฯ ปุคฺคโลติ ที่ชื่อว่าบุคคล ได้แก่
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 377 กลฺยาณมิตฺตาทิปุคฺคโล บุคคลมีกัลยาณมิตรเป็นต้น ฯ โภชนนฺติ ที่ชื่อว่าโภชนะ ได้แก่ สปฺปายาทิโภชนํ โภชนะที่เหมาะสมเป็นต้น ฯ อุตุปิตาทิโสเยว แม้อุตุ ก็เช่นนั้นเหมือนกัน ฯ ฯ อธิปติฯเปฯ ปจฺจยา โหนฺตีติสงฺเขเปน วุตฺตมตฺถํ วิตฺถาเรตุํ เพื่อจะขยายเนื้อความที่กล่าวไว้โดยย่อว่า อธิปติ ฯเปฯ ปจฺจยา โหนฺติดังนี้ ตตฺถ ครุกตมาลมฺพนนฺติอาทิวุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ตตฺถ ครุกตมาลมฺพนํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ครุกตมาลมฺพนนฺติ บทว่า ครุกตมาลมฺพนํ ได้แก่ ครุกตมาลมฺพนํ อารมณ์ที่พระโยคาวจรพิจารณาท�ำให้หนักแน่น ปจฺจเวกฺขณอสฺสาทาทินา ด้วยกิจ มีความคล่องใจในการพิจารณาเป็นต้น ฯ ตญฺหิ(อาลมฺพนํ) ความจริง อารมณ์นั้น ฌานมคฺคผลวิปสฺสนานิพฺพานาทิเภทํ แยกออกเป็นฌาน มรรค ผล วิปัสสนา และพระนิพพานเป็นต้น อาลมฺพนาธิปติ นาม ชื่อว่าอาลัมพนาธิปติปัจจัย ปจฺจเวกฺขณอสฺสาทมคฺคผลาทิธมฺเม อตฺตาธิเน กโรตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า กระท�ำธรรมมีมรรคและผลเป็นต้น อันเป็นความคล่องใจในการพิจารณาให้เนื่อง กับตน ฯ อยเมเตสํ (ทฺวินฺนํ ปจฺจยานํ) วิเสโส ปัจจัย ๒ นี้ มีความต่างกันดังนี้ ครุกาตพฺพตามตฺเตน อาลมฺพนาธิปติครุกโตปิพลวกรณตฺเถน อาลมฺพนูปนิสฺสโยติ คือ อาลัมพนาธิปติปัจจัย ย่อมมีได้ ด้วยเหตุเพียงความเป็นอารมณ์ อันพระโยคาวจร พึงท�ำให้หนักแน่น อาลัมพนูปนิสสยปัจจัย ย่อมมีได้ ด้วยอรรถว่า กระท�ำให้มีก�ำลังแรง แม้กว่าอาลัมพนาธิปติปัจจัย ที่พระโยคาวจรท�ำให้หนักแน่น ฯ สหชาตา ฯเปฯ นามรูปานนฺติ ข้อว่า สหชาตา ฯเปฯ นามรูปานํ ความว่า สหชาตาธิปติ สหชาตาธิปติปัจจัย จตุพฺพิโธปิ แม้มี ๔ อย่าง ฉนฺทวิริยจิตฺตวีมํสาวเสน คือ ฉันทาธิบดี วิริยาธิบดี จิตตาธิบดี และวีมังสาธิบดี ยถารหํ สหชาตนามรูปานํ ปวตฺติยํเยว สหชาตาธิปติวเสน ปจฺจโย ย่อมเป็นปัจจัยแก่นามและรูปที่เกิด ร่วมกันด้วยอ�ำนาจสหชาตาธิปติปัจจัย เฉพาะในปวัตติกาล ตามสมควร ฯ รูปธมฺมสฺส อรูปธมฺมํ ปติสหชาตปจฺจยตา ความที่รูปธรรมอาศัยอรูปธรรมเป็น สหชาตปัจจัย ปฏิสนฺธิยํ วตฺถุวเสเนว วุตฺตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้
378 ปริเฉทที่ ๘ ด้วยอ�ำนาจหทัยวัตถุ ในปฏิสนธิกาลเท่านั้น เพราะเหตุนั้น อาห วตฺถุวิปากา อญฺญมญฺญนฺติท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า วตฺถุวิปากา อญฺมญฺํ ดังนี้ ฯ [๒๕๕๒] ยสฺมา ปน ก็เพราะ อญฺญมญฺญปจฺจยตา จิตกับเจตสิกมีภาวะ เป็นอัญญมัญญปัจจัย อญฺญมญฺญูปตฺถมฺภนวเสเนว คือ ช่วยอุปถัมภ์กันและกัน ทีเดียว น สหชาตมตฺตโตติไม่ใช่มีภาวะเป็นอัญญมัญญปัจจัย โดยเหตุเพียงเกิด ร่วมกัน เพราะเหตุนั้น ปวตฺติยํ รูปํ นามานํ อญฺญมญฺญปจฺจโย น โหติ รูปจึงไม่เป็นอัญญมัญญปัจจัยแก่นามทั้งหลาย ในปวัตติกาล ตสฺมา ฉะนั้น วุตฺตํ จิตฺตเจตสิกา อญฺญมญฺญนฺติท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า จิตฺตเจตสิกา อญฺมฺ ดังนี้เป็นต้น ฯ จ และ อุปาทายรูปานิ อุปาทายรูปทั้งหลาย ตถา ก็เหมือนกัน ภูตรูปานํ อญฺญมญฺญปจฺจยา น โหนฺตีติ คือ ไม่เป็น อัญญมัญญปัจจัยแก่ภูตรูปทั้งหลาย เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ มหาภูตา อญฺญมญฺญนฺติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า มหาภูตา อฺ มฺ ดังนี้เป็นต้น ฯ (ปจฺฉา) ถามว่า จ ก็ นนุ อรูปิโน อาหารา สหชาตานํ นามรูปานนฺติ วุตฺตํ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์ได้กล่าวไว้ว่า อาหารที่เป็นอรูป (เป็นนาม) เป็นปัจจัยแก่นาม และรูปที่เกิดร่วมกัน ดังนี้ มิใช่หรือ เอวญฺจ สติก็เมื่อเป็นอย่างนั้น สพฺเพ สตฺตา อาหารฏฺฐิติกาติกถมิทํ (วจนํ) นิยตีติพระพุทธพจน์นี้ว่า สัตว์ทั้งหลาย ทั้งปวงด�ำรงอยู่ได้ด้วยอาหาร ดังนี้ พวกเราจะรู้ได้อย่างไร อสญฺญีนํ สหชาตาหารสฺส อสมฺภวโต เพราะอาหารที่เกิดร่วมกันไม่เกิดมีแก่พวกอสัญญีสัตว์ ฯ (ปริหาโรมยา) วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย มโนสญฺเจตนาหารวสปฺปวตฺตสฺส กมฺมสฺส ตํสหคตานมฺปิ วา เสสาหารานํ กมฺมูปนิสฺสยปจฺจเยหิ ปจฺจยตฺตปริยายํ คเหตฺวา (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงก�ำหนดถึงความหมายว่า กรรมที่เป็น ไปตามอ�ำนาจมโนสัญเจตนาหาร เป็นปัจจัยโดยกรรมปัจจัย หรือว่าอาหารทั้งหลาย ที่เหลือ แม้ที่เกิดร่วมกับกรรมนั้น เป็นปัจจัย โดยอุปนิสสยปัจจัย สพฺพสตฺตานํ อาหารฏฺฐิติกตา วุตฺตา แล้วตรัสว่า สัตว์ทั้งปวงด�ำรงอยู่ได้ด้วยอาหาร น อาหารปจฺจยภาวโตติ มิใช่ตรัสไว้โดยความเป็นอาหารปัจจัย ฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า ปญฺจ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 379 ปสาทาติอาทีสุ ในค�ำว่า ปญฺจ ปสาทา ดังนี้เป็นต้น นนุ อิตฺถินฺทฺริยปุริสินฺทฺริยา น คหิตาติท่านพระอนุรุทธาจารย์มิได้ระบุถึงอิตถินทรีย์ และปุริสินทรีย์ไว้มิใช่หรือ ฯ (วิสชฺชนํ) ตอบว่า สจฺจํ จริง น คหิตา ท่านมิได้ระบุไว้ ฯ ยทิปิ แม้ถ้าว่า เตสํ (อิตฺถินฺทฺริยปุริสินฺทฺริยานํ) อิตถินทรีย์และปุริสินทรีย์เหล ่านั้น ลิงฺคาทีหิ อนุวตฺตนิยตา อตฺถิ จะมีภาวะให้อาการมีเพศเป็นต้นเป็นไปตามตนได้ ปน แต่ สา (ลิงฺคาทีหิ อนุวตฺตนิยตา) การให้อาการมีเพศเป็นต้นเป็นไปตามตนได้นั้น ปจฺจยภาวโต ก็มิใช่มีโดยความเป็นปัจจัย ฯ หิ เปรียบเหมือนอย่าง ชีวิตาหารา ชีวิตและอาหาร (ชีวิตรูปและอาหารรูป) เยสํ (ธมฺมานํ) ปจฺจยา โหนฺติ ย่อมเป็นปัจจัยแก่ธรรมเหล่าใด เตสํ (ธมฺมาน)ํ อนุปาลกา ก็ย่อมคอยเลี้ยงอุปถัมภ์ ธรรมเหล่านั้น (เตสํ ธมฺมานํ) อตฺถิอวิคตปจฺจยภูตา จ เป็นอัตถิปัจจัยและ วิคตปัจจัยแก่ธรรมเหล่านั้นด้วย ยถา ฉันใด อิตฺถีปุริสภาวา ความเป็นหญิงและ ความเป็นชาย (อิตถีภาวรูปและปุริสภาวรูป) น เอวํ ลิงฺคาทีนํ เกนจิอุปกาเรน อุปการกา โหนฺติ จะช่วยอุปการะแก่อาการมีเพศเป็นต้น โดยอุปการะอะไร ๆ ฉันนั้น ก็หามิได้ ฯ เกวลมฺปน ยถาสเกเหว กมฺมาทิปจฺจเยหิ ปวตฺตมานานํ ลิงฺคาทีนํ ยถิตฺถิคฺคหณสฺส ปจฺจยภาโว โหติ แต่ว่า อาการมีเพศเป็นต้น ซึ่งเป็น ไปได้ เพราะปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น ตามที่เหมาะแก่ตนนั่นเองฝ่ายเดียว ย่อมเป็นปัจจัยแก่การก�ำหนดรู้ได้ว่า เป็นหญิง เป็นชาย โดยอาการใด ตโต (อิตฺถิคฺคหณาการโต) อญฺเญนากาเรน ตํสหิตสนฺตาเน อปฺปวตฺติโต เพราะ อาการมีเพศเป็นต้นนั้นไม่เป็นไปในสันดานที่เป็นไปร่วมกับความเป็นหญิงและ ความเป็นชายนั้น โดยอาการอื่นจากอาการที่ก�ำหนดรู้ได้ว่าเป็นหญิงเป็นชายนั้น ลิงฺคาทีหิ อนุวตฺตนิยตา อินฺทฺริยตา จ เนสํ วุจฺจติ บัณฑิตจึงกล่าวความ เป็นหญิงและความเป็นชายนั้นว่า มีหน้าที่ให้อาการมีเพศเป็นต้นเป็นไปตามตน และว่าเป็นอินทรีย์ ตสฺมา เพราะฉะนั้น น เตสํ อินฺทฺริยปจฺจยภาโว วุตฺโต พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสความเป็นหญิงและความเป็นชายนั้นว่าเป็นอินทรียปัจจัย ฯ (จบ ๒๕๒๒)
380 ปริเฉทที่ ๘ (มนสิกตฺวา อาจริโย) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า เยสํ นามานํ นามเหล่าใด วตฺถาทีนํ อพฺภนฺตรโต นิกฺขมนฺตานํ วิย ปวตฺติ มีความเป็นไป คล้ายจะออกไปจากภายในวัตถุรูปมีหทัยวัตถุเป็นต้น เยสญฺจ รูปานํ และรูป เหล่าใด นามสนฺนิสฺสเยเนว อุปฺปชฺชมานานํ ซึ่งเกิดขึ้นได้โดยอิงอาศัยนามนั่นเอง สมฺปโยคาสงฺกา โหติมีความเกี่ยวเนื่องในสัมปโยค (มีเอกุปฺปาทเกิดขึ้นพร้อมกัน เป็นต้น) เตสเมว (นามรูปานํ) นามและรูปเหล่านั้นนั่นแหละ วิปฺปยุตฺตปจฺจยตา เป็นวิปปยุตตปัจจัย (แก่กันและกัน) ปน ส่วน รูปานํ รูปทั้งหลาย รูเปหิ สาสงฺกา นตฺถิ ไม่มีความเกี่ยวเนื่องในสัมปโยคกับรูปทั้งหลาย วตฺถุสนฺนิสฺสเยเนว ชายนฺตานํ วิสยภาวมตฺตํ อาลมฺพนนฺติ รูปเพียงเป็นอารมณ์แก่นามซึ่งเกิดได้ เพราะอิงอาศัยวัตถุรูปนั่นเอง ชื่อว่าเป็นอาลัมพนะ เพราะเหตุนั้น เตนาปิ (อาลมฺพเนน) เตสํ (นามานํ) สมฺปโยคาสงฺกา นตฺถีตินาม ทั้งหลายเหล่านั้น จึงไม่มีความเกี่ยวเนื่องในสัมปโยคกับรูปอันเป็นอาลัมพนะแม้นั้น เพราะเหตุนั้น เยสํ (ธมฺมาน)ํ ธรรมเหล่าใด สมฺปโยคาสงฺกา อตฺถิมีความเกี่ยวเนื่องในสัมปโยค เตสเมว (ธมฺมาน)ํ ธรรมเหล่านั้นนั่นแหละ วิปฺปยุตฺตปจฺจยตาปิ(ภควตา) วุตฺตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เป็นวิปปยุตตปัจจัย ดังนี้ อาห โอกฺกนฺติกฺขเณ วตฺถูติอาทิ จึงกล่าวค�ำว่า โอกฺกนฺติกฺขเณ วตฺถุ ดังนี้เป็นต้น ฯ อยํ ปญฺจวิโธปิ อตฺถิปจฺจโย อวิคตปจฺจโย จ โหติ อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัยนี้ มีอย่างละ ๕ ประเภท คือ ติวิธํ สหชาตํ สหชาตปัจจัย ๓ ประการ ๑ ทุวิธํ ปุเรชาต ปุเรชาตปัจจัย ๒ ประการ ๑ ํ เอกวิธํ ปจฺฉาชาตญฺจ ปัจฉาชาตปัจจัย ๑ ประการ ๑ สพฺพถา สพฺพากาเรน ยถารหํ นามรูปวเสน วุตฺตํ ที่ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ด้วยอ�ำนาจนามและรูปตามสมควร โดยประการ ทั้งปวง คือ โดยอาการทั้งปวง อาหาเรสุ ในบรรดาอาหารทั้งหลาย กวฬีกาโร กวฬีการาหาร ๑ รูปชีวิตินฺทฺริยนฺติ รูปชีวิตินทรีย์ ๑ ฯ (จบ ๒๕๒๑) จ ก็ อุปการกตา ความที่ธรรมท�ำอุปการะ อตฺถิภาเวน โดยภาวะที่มีอยู่ อนุปการกานเมว เฉพาะแก่เหล่าธรรมที่ไม่ท�ำอุปการะ อตฺถิภาวาภาเวน โดยความไม่มีภาวะที่มีอยู่
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 381 อุปตฺถมฺภกตฺตา เพราะความที่ธรรมเหล่านั้นเป็นสภาวะค�้ำจุน ตาทิสสฺเสว ธมฺมสฺส ธรรมเช่นนั้นนั่นแล อตฺถิสภาเวน โดยภาวะแห่งตนที่มีอยู่ ปจฺจุปฺปนฺนสภาเวน ซึ่งมีสภาวะเป็นปัจจุบัน อตฺถิปจฺจยภาโวติ ชื่อว่าความเป็นอัตถิปัจจัย เพราะเหตุนั้น นตฺถินิพฺพานสฺส สพฺพทา ภาวิโน อตฺถิปจฺจยตา อวิคตปจฺจยตา จ พระนิพพาน ซึ่งมีได้ทุกกาล จึงไม่มีความเป็นอัตถิปัจจัยและอวิคตปัจจัย ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อุปฺปาทาทิยุตฺตานํ นตฺถิภาโวปการกตาวิรุทฺโธ วิคตภาโวปการกตาวิรุทฺโธ จ อุปการกภาโว ความที่ธรรมทั้งหลายซึ่งประกอบด้วยอุปาทขณะเป็นต้น เป็นสภาวะ กระท�ำอุปการะซึ่งผิดจากความที่ธรรมซึ่งท�ำอุปการะโดยภาวะที่ไม่มี และซึ่งผิดจาก ความที่ธรรมซึ่งกระท�ำอุปการะโดยภาวะที่ไปปราศ อตฺถิปจฺจยาทิตาติ ชื่อว่า ความเป็น อัตถิปัจจัยเป็นต้น เพราะเหตุนั้น น ตสฺส (นิพฺพานสฺส) ตปฺปจฺจยตฺตปฺปสงฺโค พระนิพพานนั้นจึงไม่มีความเกี่ยวเนื่องกับความเป็นอัตถิปัจจัยและอวิคตปัจจัยนั้น ฯ จ ก็ เอตฺถ (ปยฺจวิเธ อตฺถิปจฺจเย) บรรดาอัตถิปัจจัย ๕ อย่างนี้ รูปชีวิตินฺทฺริยํ รูปชีวิตินทรีย์ (ภควตา) สหชาตปจฺจเยสุ น คยฺหติ พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรง ถือเอาในสหชาตปัจจัย ฐิติกฺขเณเยว อุปการกตฺตา เพราะความเป็นธรรมชาต กระท�ำอุปการะเฉพาะในฐิติขณะ โอชา วิย เปรียบเหมือนโอชา ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น วิสุ (อาจริเยน) วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวรูปชีวิตินทรีย์ นั้นไว้แผนกหนึ่ง ฯ อิทานิ บัดนี้ สพฺเพปิ ปจฺจยา สงฺเขปโต จตุพฺพิธาเยวาติ ทสฺเสตุํ (อาจริเยน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะแสดงว่า ปัจจยธรรมแม้ทั้งหมด ว่าโดยย่อ มี ๔ อย่างเท่านั้น อาลมฺพนูป ฯเปฯ คจฺฉนฺตีติ(วจนํ) วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อาลมฺพนูป ฯเปฯ คจฺฉติดังนี้ ฯ หิ ความจริง น โส โกจิ ปจฺจโย อตฺถิ โย จิตฺตเจตสิกานํ อารมฺมณภาวํ น คจฺเฉยฺย สกสกปจฺจยุปฺปนฺนสฺส จ อุปนิสฺสยภาวํ น คจฺฉติ ปัจจัยอะไร ๆ ที่ไม่ถึงความเป็นอารมณ์แก่จิตและเจตสิกทั้งหลาย และ ไม่ถึงความเป็นอุปนิสสยปัจจัยแก่ธรรมที่อาศัยปัจจัยของตน ๆ เกิดขึ้นมีอยู่ หามิได้ ฯ จ ก็ กมฺมเหตุกตฺตา โลกปฺปวตฺติยา เพราะความเป็นไปแห่งโลกมีกรรมเป็นมูลเหตุ
382 ปริเฉทที่ ๘ สพฺเพปิปจฺจยา ปัจจยธรรมทั้งหมด กมฺมสภาวํ นาติวตฺตนฺติจึงไม่พ้นสภาวะ แห่งกรรม ผลเหตูปจารวเสน ด้วยอ�ำนาจผลเป็นไปในเหตุ ฯ จ ก็ เต (ปจฺจยา) ปัจจยธรรมเหล่านั้น วิชฺชมานาเยว มีอยู่แน่แท้ ปรมตฺถโต โลกสมฺมติวเสน จ ทั้งโดยปรมัตถ์และด้วยอ�ำนาจโลกสมมติ อิติ เพราะเหตุนั้น สพฺเพปิ(ปจฺจยา) ปัจจยธรรมแม้ทั้งหมด จตูสุ สโมธานํ คจฺฉนฺติย่อมถึงการประมวลลงในปัจจยธรรม ๔ ประการ ฯ อิทานิ บัดนี้ อิทานิ ยํ วุตฺตํ ตตฺถ ตตฺถ สหชาตรูปนฺติ ตํ สพฺพํ อวิเสสโต ทฏฺฐพฺพนฺติ ทสฺเสตุํ (อาจริเยน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะแสดงว่า ค�ำที่อาจารย์กล่าวไว้ในฐานะแห่งปัจจัยนั้น ๆ ว่า สหชาตรูปํ ทั้งหมด บัณฑิตพึง เห็นโดยความไม่แปลกกัน สหชาตรูปนฺติอาทิ(วจนํ) วุตฺตํ จึงได้กล่าวค�ำมีค�ำว่า สหชาตรูป ดังนี้เป็นต้น ฯ หิ ความจริง สหชาตรูปนฺติ รูปที่ชื่อว่าสหชาตรูป สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง ทุวิธํ โหติย่อมมี ๒ อย่าง วเสน คือ ปวตฺเต จิตฺตสมุฏฺฐานานํ รูปานํ รูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐานในปวัตติกาล ปฏิสนฺธิยํ กตตฺตา รูปสงฺขาตกมฺมชรูปานญฺจ และกัมมชรูปกล่าวคือกตัตตารูปในปฏิสนธิกาล ปฏิสนฺธิยํ จิตฺตสมุฏฺฐานรูปาภาวโต เพราะความที่รูปมีจิตเป็นสมุฏฐานไม่เกิดมีในปฏิสนธิกาล ปวตฺติยํ กมฺมสมุฏฺฐานานญฺจ จิตฺตเจตสิเกหิสหุปฺปตฺตินิยมาภาวโต และเพราะ รูปมีกรรมเป็นสมุฏฐานในปวัตติกาล ไม่มีการก�ำหนดแน่นอนว่าเกิดขึ้นร่วมกันกับ จิตและเจตสิกฯ นิพฺพตฺตมานานิ รูปานิ รูปทั้งหลายที่บังเกิดอยู่ กมฺมสฺส กตตฺตา เพราะความที่กรรมอันสัตว์ท�ำแล้ว กตตฺตารูปานิ ชื่อว่ากตัตตารูป ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย เตกาลิกา อันเป็น ไปในกาล ๓ กาลตฺตยวนฺโต คือ มีกาล ๓ วเสน ด้วยอ�ำนาจ ปญฺจนฺนํ อตีตกาลิกานํ ปัจจยธรรมที่เป็นไปในอดีตกาล ๕ อย่าง อนนฺตรสมนนฺตราเส วนนตฺถิวิคตวเสน คือ อนันตรปัจจัย ๑ สมนันตรปัจจัย ๑ อาเสวนปัจจัย ๑ นัตถิปัจจัย ๑ วิคตปัจจัย ๑ ทฺวิกาลิกสฺส แห่งกรรมปัจจัยที่เปันไปในกาล ๒ อตีตวตฺตมานวเสน คือ อดีตกาล ๑ ปัจจุบันกาล ๑ อารมฺมณาธิปติอุปนิสฺสยปจฺจยานํ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 383 ติกาลิกานํ แห่งอารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัยที่เป็นไปในกาล ๓ อิตเรสํ ปณฺณรสนฺนํ ปจฺจุปฺปนฺนกาลิกานญฺจ และแห่งปัจจยธรรม ๑๕ ประการ นอกนี้ ที่เป็นไปในปัจจุบันนกาล กาลวินิมุตฺตา จ ที่พ้นจากกาล นิพฺพานปญฺญตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจพระนิพพานและบัญญัติธรรม จกฺขฺวาทิราคสทฺธาทิวเสน อชฺฌตฺติกา จ ทั้งที่เป็นภายใน ด้วยอ�ำนาจจักขุปสาทรูปเป็นต้น และธรรมมีราคะและศรัทธาเป็นต้น ปุคฺคลอุตุโภชนาทิวเสน ตโต (อชฺฌตฺตโต) พหิทฺธา จ ทั้งที่มีในภายนอกจากที่ เป็นภายในนั้น คือ บุคคล อุตุ และโภชนะเป็นต้น ปจฺจยุปฺปนฺนภาเวน สงฺขตา จ ทั้งที่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง โดยความเป็นปัจจยุปปันนธรรม ตถา ตปฺปฏิปกฺขภาเวน อสงฺขตา จ ทั้งที่ไม่ถูกปัจจัยปรุงแต่ง โดยภาวะที่ตรงข้ามจากสังขตธรรมนั้นเหมือนกัน สมฺภวา ตามก�ำเนิด ยถาสมฺภวํ คือ ตามความเหมาะสมแก่ก�ำเนิด สงฺเขปโต ว่าโดยสังเขป ติวิธา ฐิตา ด�ำรงอยู่แล้วโดย ๓ ประการ ปญฺญตฺตินามรูปานํ วเสน คือ บัญญัติธรรม นามธรรมและรูปธรรม ปจฺจยา นามาติ ชื่อว่าปัจจัย จตุวีสติสงฺขาตา กล่าวคือปัจจัย ๒๔ อย่าง ปฏฺฐาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน อนนฺตนยสมนฺตปฏฺฐาเน ปกรเณ คือ ในปกรณ์ชื่อว่าสมันตปัฏฐาน อันมีนัยไม่มีที่สุด สพฺพถา โดยประการ ทั้งปวง อิติ ดังพรรณนามาฉะนี้ เอวํ วุตฺตนเยน คือ โดยนัยดังกล่าวแล้วอย่างนี้ ฯ ตตฺถาติ บทว่า ตตฺถ ได้แก่ เตสุ ปญฺญตฺตินามรูเปสุ ในบรรดาบัญญัติธรรม นามและรูปเหล่านั้น ฯ วจนียวาจกเภทา ทุวิธา ปญฺญตฺตีติ บัญญัติธรรมมี ๒ อย่าง แยกเป็นวจีบัญญัติ ๑ วาจกบัญญัติ ๑ เพราะเหตุนั้น (อาจริเยน วจนํ) วุตฺตํ ปญฺญาปิยตฺตาติอาทิท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า ปญฺาปิยตฺตา ดังนี้เป็นต้น ฯ ปญฺญาปิยตฺตาติ บทว่า ปญฺาปิยตฺตา ความว่า ญาเปตพฺพตฺตา เพราะความที่บัญญัติที่จะพึงให้ทราบได้ เตน เตน ปกาเรน โดยประการนั้น ๆ ฯ อิมินา (กมฺมสาธนวจเนน) ด้วยค�ำที่เป็นกัมมสาธนะนี้ อตฺถปญฺญตฺติ(อาจริเยน) วุตฺตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวถึงอรรถบัญญัติ อุปาทาปญฺญตฺติสงฺขาตา กล่าวคือการอาศัยความเปลี่ยนแปลงบัญญัติไว้ สมฺมติสจฺจภูตา ซึ่งเป็นสมมติสัจจะ สมูหสนฺตานาทิอวตฺถาวิเสสาทิเภทา ต่างโดยการก�ำหนดพิเศษเป็นต้น คือ
384 ปริเฉทที่ ๘ ความประชุม และความสืบต่อ รูปาทิธมฺมานํ แห่งรูปธรรมเป็นต้นเป็นอาทิ ฯ หิความจริง สา (อตฺถปญฺญตฺติ) อรรถบัญญัตินั้น นามปญฺญตฺติยา ปญฺญาปิยติ บัณฑิตย่อมรู้ได้ด้วยนามบัญญัติ ฯ ปญฺญาปนโตติ บทว่า ปญฺาปนโต ความว่า อตฺถปญฺญตฺติยา ญาปนโต เพราะเป็นเหตุให้บุคคลรู้ถึงอรรถบัญญัติได้ ปกาเรหิ โดยประการทั้งหลาย ฯ หิ ความจริง อิมินา (กตฺตุสาธนวจเนน) ด้วยค�ำที่เป็น กัตตุสาธนะนี้ นามปญฺญตฺติ (อาจริเยน) วุตฺตา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ได้ กล่าวถึงนามบัญญัติ ปญฺญตฺตีติลทฺธนามานํ อตฺถานํ อภิธานสงฺขาตา กล่าวคือ ชื่อของอรรถทั้งหลายอันได้ชื่อว่าบัญญัติ ปญฺญาเปตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ให้ทราบความหมาย ฯ ภูตปริณามาการมุปาทายาติ ข้อว่า ภูตปริณามาการมุปาทาย ความว่า ปริณามาการํ ปริณามสภาวสงฺขาตํ อาการมุปาทาย อาศัยการเปลี่ยนแปลง ได้แก่อาการกล่าวคือสภาวะที่แปรผัน ปตฺถฏสงฺคตาทิอากาเรน โดยอาการมี ความเกี่ยวเนื่องด้วยความแข้นแข็งเป็นต้น ปฐวาทิกานํ มหาภูตาน แห่งมหาภูตรูป ํ ทั้งหลายมีปฐวีธาตุเป็นต้น ปวตฺตมานานํ ซึ่งเป็นไปอยู่ ปพนฺธวเสน ด้วยอ�ำนาจ ความเกี่ยวเนื่องกัน นิสฺสยํ กตฺวา คือท�ำให้เป็นที่อิงอาศัย ฯ ตถา ตถาติ ข้อว่า ตถา ตถา ได้แก่ ภุมฺมาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจภาคพื้นเป็นต้น ฯ ภูมิปพฺพตาทิกาติ บทว่า ภูมิปพฺพตาทิกา ได้แก่ ภูมิปพฺพตรุกฺขาทิกา บัญญัติว่า แผ่นดิน ภูเขาและ ต้นไม้เป็นต้น สนฺตานปญฺญตฺติ ชื่อว่าสันตานบัญญัติ ฯ สมฺภารสนฺนิเวสาการนฺติ บทว่า สมฺภารสนฺนิเวสาการ ความว่า ํ สนฺนิเวสาการ อาศัยการประชุม ํสมฺภารานํ แห่งเครื่องประกอบ อุปกรณานํ คือ เครื่องอุปกรณ์ ทารุมตฺติกาตนฺตุอาทีนํ มีไม้ ดินเหนียว และเส้นด้ายเป็นต้น ตํตํสณฺฐานาทิอาการํ ได้แก่อาการมีความ ตั้งอยู่ร่วมกันเป็นต้นนั้นๆ รจนาวิสิฏฺฐํ อันพิเศษกว่ารูปเขียน ฯ รถสกฏาทิกาติ บทว่า รถสกฏาทิกา ได้แก่ รถสกฏคามฆฏปฏาทิกา บัญญัติว่า รถ เกวียน บ้าน หม้อ และผืนผ้าเป็นต้น สมูหปญฺญตฺติ ชื่อว่าสมูหบัญญัติ ฯ จนฺทาวฏฺฏนาทิกนฺติ บทว่า จนฺทาวฏฺฏนาทิกํ ความว่า อุทยาทิอาวฏฺฏนาการ ซึ่งอาการคือความหมุนเวียน ํ มีความขึ้นไปเป็นต้น จนฺทิมสุริยนกฺขตฺตานํ แห่งดวงจันทร์ พระอาทิตย์ และ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 385 ดาวนักขัตตฤกษ์ทั้งหลาย สิเนรุปทกฺขิณวเสน ด้วยอ�ำนาจ เวียนรอบภูเขาสิเนรุ ฯ ทิสากาลาทิกาติ บทว่า ทิสากาลาทิกา ความว่า ปุรตฺถิมทิสาทิกา บัญญัติว่า ทิศตะวันออกเป็นต้น ทิสาปญฺญตฺติ ชื่อว่าทิสาบัญญัติ ปุพฺพณฺหาทิกา บัญญัติว่า เวลาเช้าเป็นต้น กาลปญฺญตฺติ ชื่อว่ากาลบัญญัติ มาโสตุวิสาขมาสาทิกา และ บัญญัติว่า เดือน ฤดู และเดือนวิสาขะเป็นต้น ตตํนํามวิสิฏฺฐา มาสาทิปญฺญตฺติจ ชื่อว่ามาสบัญญัติเป็นต้น ซึ่งเป็นบัญญัติพิเศษกว่าชื่อนั้น ๆ ฯ อสมฺผุฏฺฐาการนฺติ บทว่า อสมฺผุฏฺาการ ได้แก่ ํ สุสิราทิอาการ ซึ่งอาการมีโพรงเป็นต้น ํตตํ รูปกล ําเปหิ อสมฺผุฏฺฐํ ที่รูปกลาปนั้น ๆ ถูกต้องไม่ได้ ฯ กูปคุหาทิกาติ บทว่า กูปคุหาทิกา ได้แก่ กูปคุหาฉิทฺทาทิกา บัญญัติว่า หลุม ถ�้ำ และช่องว่างเป็นต้น อากาสปญฺญตฺติ ชื่อว่าอากาสบัญญัติ ฯ ตตํ ภูตนิมิตฺตนฺติ ํ บทว่า ตตํ ภูตนิมิตฺต ํ ได้แก่ ํตตํ ภูตนิมิตฺต ํ ํ ซึ่งนิมิตแห่งภูตรูปนั้น ๆ ปฐวีกสิณาทิ มีปฐวีกสิณเป็นต้น ฯ ภาวนาวิเสสนฺติ บทว่า ภาวนาวิเสสํ ได้แก่ ภาวนาย ปพนฺธวิเสสํ ความสืบเนื่องอันพิเศษแห่ง ภาวนา ปริกมฺมาทิเภทํ ต่างโดยบริกรรมเป็นต้น ฯ กสิณนิมิตฺตาทิกาติ บทว่า กสิณนิมิตฺตาทิกา ความว่า กสิณาสุภนิมิตฺตาทิเภทา บัญญัติที่แยกเป็นกสิณนิมิต และอสุภนิมิต เป็นต้น โยคีนมุปฏฺฐิตา อุคฺคหปฏิภาคเภทา แยกเป็นอุคคหนิมิต และปฏิภาคนิมิตซึ่งปรากฏแก่พระโยคาวจรทั้งหลาย นิมิตฺตปญฺญตฺติ ชื่อว่า นิมิตบัญญัติ ฯ เอวมาทิเภทาติ บทว่า เอวมาทิเภทา ได้แก่ กสิณุคฺฆาฏิมากาสนิโรธกสิณาทิเภทา จ และบัญญัติที่แยกเป็นอากาศที่เพิกกสิณ และกสิณดับเป็นต้น ฯ อตฺถจฺฉายากาเรนาติ บทว่า อตฺถจฺฉายาการเรน ความว่า ฉายากาเรน โดยอาการ คือเงา ปฏิภาคากาเรน ได้แก่ โดยอาการคือส่วนเปรียบเทียบ ปรมตฺถธมฺมสฺส แห่งปรมัตถธรรม ฯ นามนามกมฺมาทินาเมนาติ บทว่า นามนามกมฺมาทินาเมน ความว่า อิเมหิฉหินาเมหิโดยนามทั้ง ๖ เหล่านี้ นามํ นามกมฺมํ นามเธยฺยํ นิรุตฺติ พฺยญฺชนมภิลาโปติคือ นาม นามกรรม นามเธยยะ นิรุตติ พยัญชนะ อภิลาปะ ฯ ตตฺถ (นามาทีสุ) ในบรรดานามเป็นต้นเหล่านั้น นาม สัททรูปที่ชื่อว่านาม ํอตฺเถสุ
386 ปริเฉทที่ ๘ นมตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า น้อมไปในอรรถทั้งหลาย ฯ ตํ (นามํ) นามนั้น ทุวิธํ มี ๒ อย่าง อนฺวตฺถรุฬฺหิวเสน คือ นามที่ตั้งตามความหมาย ๑ นามที่ เรียกกันดาษดื่น ๑ จตุพฺพิธํ มี ๔ อย่าง สามญฺญคุณกฺริยายถิจฺฉาวเสน คือ สามัญญนาม ๑ คุณนาม ๑ กิริยานาม ๑ นามที่ตั้งตามความปรารถนา ๑ ฯ นามเมว กมฺมํ กรรมคือนาม นามกมฺมํ ชื่อว่านามกรรม ฯ ตถา นามเธยฺยํ นามเธยยะ ก็เหมือนกัน ฯ อุตฺติ การเปล่ง กถน คือการกล่าว ํอกฺขรทฺวาเรน อตฺถํ นีหริตฺวา ความประสงค์ออกทางทวารของอักขระ นิรุตฺติ ชื่อว่า นิรุตติ ฯ พฺยญฺชน ที่ชื่อว่า ํ พยัญชนะ อตฺถํ พฺยญฺชยตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ท�ำเนื้อความให้ปรากฏ ฯ อภิลาโป เสียงชื่อว่าอภิลาปะ อภิลปิยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันชนเจรจา สทฺทคตกฺขรสนฺนิเวสกฺกโม ได้แก่ ล�ำดับที่ตั้งอยู่แห่งอักขระที่ไปตามเสียง ฯ สา ปนายํ นามปญฺญตฺติวิชฺชมานาวิชฺชมานตทุภยสํโยควเสน ฉพฺพิธา โหตีติ ทสฺเสตุ เพื่อแสดงว่า ก็ นามบัญญัตินี้นั้น มีอยู่ ๖ อย่าง ด้วยอ�ำนาจ วิชชมานบัญญัติ อวิชชมานบัญญัติ และบัญญัติทั้ง ๒ อย่างนั้นระคนกัน วิชฺชมานปญฺญตฺตีติอาทิ (อาจริเยน วจนํ) วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า วิชฺชมานปญฺตฺติ ดังนี้เป็นต้น ฯ เอตาย ปญฺญาเปนฺตีติ ข้อว่า เอตาย ปฺ าเปนฺติ ความว่า (ปณฺฑิตา) ปกาเสนฺติ บัณฑิตทั้งหลายย่อมประกาศ รูปเวทนาติอาทินา ด้วยค�ำ ว่า รูป และเวทนา ดังนี้เป็นต้น ฯ อุภินฺนนฺติ บทว่า อุภินฺนํ ได้แก่ ทฺวินฺนํ (ปญฺญตฺตีนํ) แห่งบัญญัติทั้ง ๒ วิชฺชมานาวิชฺชมานานํ คือ วิชชมานบัญญัติและ อวิชชามานบัญญัติ ฯ ฉ อภิญฺญา อภิญญา ๖ ปญฺจาภิญฺญา อาสวกฺขยญาณนฺ ติ คือ อภิญญา ๕ อาสวักขยญาณ ๑ อสฺสาติ ของบุคคลนั้น มีอยู่ เพราะเหตุ นั้น ฉฬภิญฺโญ บุคคลนั้นจึงชื่อว่าผู้มีอภิญญา ๖ ฯ จ ก็ เอตฺถ (วิชฺชมาเนนอวิชฺชมานปญฺญตฺติอาทีสุ) ในบรรดาวิชชมาเนนอวิชชมานบัญญัติเป็นต้นนี้ (อยํ ฉฬภิญฺโญติปญฺญตฺติ) บัญญัติว่า ผู้มีอภิญญา ๖ นี้ วิชฺชมาเนนาวิชฺชมานปญฺญตฺติ นาม ชื่อว่า วิชชามาเนนอวิชชมานบัญญัติ อภิญฺญานํ วิชฺชมานตฺตา เพราะอภิญญาทั้งหลาย มีอยู่ ตปฺปฏิลาภิโน ปุคฺคลสฺส
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 387 อวิชฺชมานตฺตา จ และเพราะบุคคลผู้มีปกติได้อภิญญานั้น ไม่มี ฯ ตถา อนึ่ง อิตฺถีสทฺโทติ(ปญฺญตฺติ) บัญญัติว่า เสียงหญิง อวิชฺชมาเนนวิชฺชมานปญฺญตฺติ ชื่อว่าอวิชชามาเนนวิชชมานบัญญัติ อิตฺถิยา อวิชฺชมานตฺตา เพราะหญิงไม่มี สทฺทสฺส จ วิชฺชมานตฺตา และเพราะเสียงมีอยู่ฯ จกฺขุวิญฺญาณนฺติ(ปญฺญตฺติ) บัญญัติว่า จักขุวิญญาณ วิชฺชมาเนนวิชฺชมานปญฺญตฺติ ชื่อว่าวิชชมาเนนวิชชมานบัญญัติ ปสาทจกฺขุโน ตนฺนิสฺสิตวิญฺญาณสฺส จ วิชฺชมานตฺตา เพราะจักขุปสาทรูป และวิญญาณที่อาศัยจักขุปสาทรูปนั้น มีอยู่ ฯ ราชปุตฺโตติ(ปญฺญตฺติ) บัญญัติว่า ราชโอรส อวิชฺชมาเนนาวิชฺชมานปญฺญตฺติ ชื่อว่า อวิชชามาเนนอวิชชมานบัญญัติ รญฺโญ จ ปุตฺตสฺส จ สมฺมติธมฺมภูตตฺตา เพราะพระราชาและพระราชโอรสเป็น สมมติธรรม ฯ (๒๕๒๔) วจีโฆสานุสาเรนาติ บาทคาถาว่า วจีโฆสานุสาเรน เป็นต้น ความว่า อตฺถา อรรถทั้งหลาย สมฺมติปรมตฺถเภทา ที่แยกเป็นสมมติและปรมัตถ์ โคจรา อันเป็นโคจร อารมฺมณภูตา คือ เป็นอารมณ์ มโนทฺวารสฺส แก่มโนทวาร มโนทฺวาริกวิญฺญาณสนฺตานสฺส คือแก่ความสืบต่อแห่งวิญญาณจิต ที่เกิดทาง มโนทวาร นามจินฺตนาการปฺปวตฺตสฺส ซึ่งเป็นไปตามอาการ คือ ความคิดถึงชื่อ ปุพฺเพเยว คหิตสงฺเกโตปนิสฺสยสฺส อันมีความสังเกตที่บุคคลก�ำหนดรู้กันไว้ก่อน แล้วทีเดียวว่า อิทมีทิสตฺถสฺส นามนฺติ ถ้อยค�ำนี้เป็นชื่อของความหมายเช่นนี้ ดังนี้ โสตวิญฺญาณวีถิยา ปวตฺติโต อนนฺตรํ อุปฺปนฺนสฺส เป็นเครื่องอิงอาศัย ซึ่งเกิดขึ้นในล�ำดับต่อจากความเป็นไปแห่งโสตวิญญาณวิถี ภูมิปพฺพตรูปเวทนาทิ- วจีมยสทฺทสฺส อนุสาเรน อนุคมเนน อันเป็นไปตามความหวนระลึกถึง คือ ไปตามเสียงซึงส�ำเร็จมาจากค�ำพูดว่า แผ่นดิน ภูเขา รูป และเวทนาเป็นต้น อาลมฺพนกรเณน ได้แก่ โดยการท�ำให้เป็นอารมณ์ (ปณฺฑิเตน) วิญฺญายนฺติ อันบัณฑิตย่อมรู้ได้ ตโต นามคหณโต ปรํ ต่อจากการก�ำหนดรู้ชื่อนั้น ยสฺสา สมฺมติปรมตฺถวิสยาย นามปญฺญตฺติยา อนุสาเรน อนุคมเนน โดยความหวน ระลึกถึงคือโดยความไปตามนามบัญญัติซึ่งมีสมมติและปรมัตถ์เป็นอารมณ์ใดฯ
388 ปริเฉทที่ ๘ สายํ นามปญฺญตฺติ นามบัญญัตินี้นั้น ปญฺญาเปตพฺพตฺถทีปิกา คือบัญญัติที่ แสดงถึงอรรถที่จะพึงบัญญัติ ภูมิปพฺพตรูปเวทนาทิกา มีแผ่นดิน ภูเขา รูป และ เวทนาเป็นต้น นิมฺมิตา อันบัณฑิตก�ำหนดหมายรู้ โลกสงฺเกเตน ตามความสังเกต ของชาวโลก โลกโวหารสิทฺธา คือ อันส�ำเร็จความหมายตามโวหารของชาวโลก มโนทฺวารคฺคหิตกฺขราวลีภูตา อันเป็นระเบียบแห่งอักษรที่บุคคลก�ำหนดรู้ได้ทาง มโนทวาร ปญฺญตฺติวิญฺเญยฺยา อันบัณฑิตพึงรู้ว่า เป็นบัญญัติ นามปญฺญตฺตีติ วิญฺเญยฺยา คือพึงรู้ว่า เป็นนามบัญญัติ ปญฺญาปนโต ปญฺญตฺติสงฺขาตา กล่าวคือ ปัญญาปนโตบัญญัติ ฯ (จบ ๒๕๒๔) จ ก็ เอตฺถ (คาถาย)ํ ในคาถานี้ (อาจริเยน) สงฺคเหตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ รวบรวม มโนทฺวาริกวีถิมฺปิ แม้ซึ่งวิถีจิตที่เกิดทางมโนทวาร โสตวิญฺญาณวีถิยา อนนฺตรภาวินึ ซึ่งเกิดมีในล�ำดับต่อจากโสตวิญญาณวิถี โสตวิญฺญาณวีถิคฺคหเณเนว ด้วยศัพท์ว่า โสตวิญญาณวิถี นั่นเอง โสตวิญฺญาณวีถิยาติ(วจนํ) วุตฺตํ แล้ว กล่าวค�ำว่า โสตวิฺ าณวีถิยา ฯ อาจริยา (วทนฺติ) อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า ฆฏาทิสทฺทญฺหิ สุณนฺตสฺส (ปุคฺคลสฺส) ความจริง เมื่อบุคคลได้ยินเสียงว่า ฆฏะ เป็นต้น ชวนวารา ชวนจิต เอกเมกํ สทฺทํ อารพฺภ ปรารภเสียงแต่ละอักษร (โหนฺติ) เทฺว เทฺว เกิดมีอักษรละ ๒ วาระ ปจฺจุปฺปนฺนาตีตารมฺมณวเสน ด้วยอ�ำนาจปัจจุบันนารมณ์ วาระหนึ่ง และอตีตารมณ์วาระหนึ่ง ปณฺณตฺติภูตํ อกฺขราวลิมารพฺภ ชวนจิต ปรารภระเบียบอักษรที่เป็นนามบัญญัติ พุทฺธิยา คหิตํ นาม ซึ่งจ�ำได้ด้วยปัญญา เอโกติ เกิดมีอีกวาระหนึ่ง รวมความดังกล ่าวมานี้ อตีตสทฺทารมฺมณาย ชวนวีถิยา อนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากชวนวิถี อันมีเสียงที่เป็นอดีตเป็นอารมณ์ โสตวิญฺญาณวีถิยา อนนฺตราย ซึ่งเป็นล�ำดับต่อจากโสตวิญญาณวิถี นามปญฺญตฺติยา คหณํ จึงก�ำหนดรู้ถึงนามบัญญัติได้ ตโต ปรํ ต่อแต่นั้นไป อตฺถาวโพโธติ จึงทราบความหมายได้ เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ
พระมหาครรชิต อติภทฺโท ป.ธ.๙ แปล 389 อฏฺฐมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๘ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่อว่าอภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺฐิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ
390 ปริเฉทที่ ๙ นวมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๙ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า อิโต ปรํ เบื้องหน้าแต่นี้ ปจฺจยนิทฺเทสโต คือ แต่การแสดงไขปัจจัยไป อหํ ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) วกฺขามิ จักกล่าว กมมฏฺานํ กัมมัฏฐาน กมฺมฏฺานภูตมาลมพนํ คือ อารมณ์ที่ชื่อว่าเป็นกัมมัฏฐาน ทุวิธภาวนากมฺมสฺส ปวตฺติฏฺานตาย เพราะเป็นเหตุประพฤติกรรมในภาวนา ๒ อย่าง จ และ ภาวนาวิธึ ภาวนาวิธี กมมฏฺานภูตํ ที่ชื่อว่าเป็นกัมมัฏฐาน อุตฺตรุตฺตรโยคกมฺมสฺส เพราะเป็นปทัฏฐานแห่งการท�ำความเพียงยิ่ง ๆ ขึ้นไป ทุวิธมฺปิ แม้ทั้ง ๒ อย่าง ทฺวินฺนํภาวนานํ แห่งภาวนา ๒ สมถสงฺขาตานํ อันท่านเรียกว่า สมถะ สมนตฺเถน โดยอรรถว่าสงบ นีวรณานํ นีวรณ์ทั้งหลายได้ จ และ วิปสฺสนาสงฺขาตานํ อันท่านเรียก วิปัสสนา ทสฺสนตฺเถน โดยอรรถว่า เห็น (สังขาร) อนิจฺจาทิวิวิธาการโต โดยอาการต่างชนิดมีอาการไม่เที่ยงเป็นต้น ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ สมถวิปสฺสนานุกฺกเมน คือโดยล�ำดับแห่งสมถภาวนาและ วิปัสสนาภาวนา ฯ ราคจริตา ที่ชื่อว่า ราคจริต ราโค ว จริตา จริยา ปกตีติ เพราะอรรถว่า เป็นจริต ได้แก่ ความประพฤติกิริยาทั่วไป คือ อาการก�ำหนัด ฯ เอวํ โทสจริตาทโยปิแม้โทสจริต เป็นต้น ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ จริตสงฺคโหติที่ชื่อว่า จริตสงฺคโห ปุคฺคลสงฺคโห ได้แก่ การจัดรวมบุคคล มูลจริตวเสน ด้วยอ�ำนาจจริตที่เป็นมูล ฯ ปน แต่ จริยา ความประพฤติ (ของ บุคคล) เตสฏฺ โหนฺติ มีได้ ๖๓ ประการ สสคฺควเสนํ ด้วยอ�ำนาจจริต ที่ระคนกัน อิติ แล ฯ วุตฺตฺ หิ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ (ในคัมภีร์นามรูปปริจเฉท) ว่า ติเก ในหมวดจริต ๓ ราคาทิเก มีราคจริต เป็นต้น สตฺต มีจริต ๗ ประการ หมวดหนึ่ง ติเก ในหมวดจริต ๓ สทฺธาทิเก มีสัทธาจริต เป็นต้น สตฺต มีจริต
พระมหานคร จรณธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 391 ๗ ประการหมวดหนึ่ง มิสฺสโต ว่าโดยเจือปนกัน เอกทฺวิตฺติกมูลมฺหิ ทั้งในจริต ที่มีมูลเดียวสองมูล และสามมูล สตฺตสตฺตภ จึงมีหมวด ๗ แห่งจริต ๗ หมวด ฯ ํ หิ ความจริง เอตฺถ ในหมวดจริต ๓ มีราคจริต เป็นต้นเป็นอาทินี้ จริยา จริต โหนฺติ มี จุทฺทส ๑๔ ประการ เทฺว ติเก อมิสฺเสตฺวา เพราะไม่เอา หมวดจริต สาม ๒ หมวดคละกัน เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ ติเก ในหมวดจริต ๓ ราคาทิเก ที่มีราคจริตเป็นต้น สตฺตกํ มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง เอวํ อย่างนี้ อิติ ได้แก่ ราคจริตา ราคจริต โทสจริตา โทสจริต โมหจริตา โมหจริต ราคโทสจริตา ราคโทสจริต ราคโมหจริตา ราคโมหจริต โทสโมหจริตา โทสโมหจริต ราคโทสโมหจริตา ราคโทสโมหจริต จ และ ติเก แม้ในหมวดจริต ๓ สทฺธาทิเกปิ ที่มีสัทธาจริต เป็นต้น สตฺตกํ ก็มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง อิติ ได้แก่ สทฺธาจริตา สัทธาจริต พุทฺธิจริตา พุทธิจริต วิตกฺกจริตา วิตกจริต สทฺธาพุทฺธิจริตา สัทธาพุทธิจริต สทฺธาวิตกฺกจริยา สัทธาวิตกจริต พุทฺธิวิตกฺกจริตา พุทธิวิตกจริต สทฺธาพุทฺธิวิตกฺกจริตา สัทธาพุทธิวิตกจริต ฯ ปน แต่ โยชิเต เมื่อประกอบ ราคาทิตฺติเก หมวดจริต ๓ ที่มีราคจริต เป็นต้น สห กับ สทฺธาทิตฺติเกน หมวดจริต ๓ ที่มีสัทธาจริต เป็นต้น เอกทฺวิตฺติกมูลวเสน ด้วยอ�ำนาจมูลเดียว ๒ มูล และ ๓ มูลแล้ว เอกมูลนเย ในนัยแห่งจริต มูลเดียว โหติ ย่อมมี สตฺตกตฺตยํ หมวด ๗ แห่งจริต ๓ หมวด เอวํ อย่างนี้ อิติ ได้แก่ ราคมูลนเย ในนัยแห่งจริตที่มีราคะเป็นมูล สตฺตกํ มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง อิติ คือ ราคสทฺธาจริตา ราคสัทธาจริต ราคพุทฺธิจริตา ราคพุทธิจริต ราควิตกฺกจรตา ราควิตกจริต ราคสทฺธาพุทฺธิจริตา ราคสัทธาพุทธิจริต ราคสทฺธา วิตกฺกจริตา ราคสัทธาวิตกจริต ราคพุทฺธิวิตกฺกจริตา ราคพุทธิวิตกจริต ราคสทฺธา พุทฺธิวิตกฺกจริตา ราคสัทธาพุทธิวิตกจริต ตถา และ โทสมูลนเยปิ แม้ในนัย แห่งจริตที่มีโทสะเป็นมูล สตฺตกํ ก็มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง (นเยน) อาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า โทสสทฺธาจริตา โทสสัทธาจริต โทสพุทฺธิจริตา โทสพุทธิจริต โทสวิตกฺกจริตา โทสวิตกจริต โมหมูลนเยปิ แม้ในนัยแห่งจริต
392 ปริเฉทที่ ๙ ที่มีโมหะเป็นมูล สตฺตกํ ก็มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง (นเยน) โดยนัย อาทินา เป็นต้นว่า โมหสทฺธาจริตา โมหสัทธาจริต ฯ (จบ ๒๕๐๖) จ อนึ่ง ทฺวิมูลกนเยปิ แม้ในนัยแห่งจริต ๒ มูล สตฺตกตฺตย ก็มีหมวด ๗ แห่งจริต ๓ หมวด ํ (นเยน) อาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า ราคโทสสทฺธาจริตา ราคโทสสัทธาจริต ราคโทสพุทฺธิจริตา ราคโทสพุทธิจริต ราคโทสวิตกฺกจริตา ราคโทสวิตกจริต ยถา เอตฺถ เหมือนในนัยแห่งจริตมูลเดียว ฉะนั้น ฯ ปน ส่วน ติมูลกนเย ในนัยแห่งจริตที่มี ๓ มูล สตฺตกํ มีหมวด ๗ แห่งจริต เอกํ หมวดหนึ่ง (นเยน) อาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า ราคโทสโมหสทฺธาจริตา ราคโทสโมหสัทธาจริต อิติเอว รวมความดังกล่าวมานี้ ํ มิสฺสโต โดยนัยที่เจือปนกัน จริยา โหนฺติ มีจริต เอกูนปญฺาส ๔๙ ประการ สตฺตสตฺตกวเสน ด้วยอ�ำนาจหมวด ๗ แห่งจริต ๗ หมวด ฯ จริตา จริต เอกูนปญฺาส ๔๙ ประการ อิมา เหล่านี้ จ และ จริยา จริต จุทฺทส ๑๔ ประการ ปุริมา ข้างต้น อิติ รวมความว่า ทฏฺพฺพา บัณฑิตพึงเห็น จริยา จริต เตสฏฺ ๖๓ ประการ อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก วณฺเณนฺติ พรรณนาไว้ว่า จริยา จริตทั้งหลาย สทฺธึ รวมกับ ทิฏฺยา ทิฏฐิ จตุสฏฺ จึงมี ๖๔ ประการ ฯ ภาวนา ภาวนา อาทิกมฺมภูตา อันเป็นส่วนเบื้องต้น ภาวนาย ปฏิสงฺขารกมฺมภูตา ซึ่งท�ำการปรุงแต่งภาวนา วา หรือ ปุพฺพภาคภาวนา เป็นการริเริ่มท�ำภาวนา ปริกมฺมภาวนา นาม ชื่อว่าบริกรรมภาวนา ฯ กามาวจรภาวนา กามาวจรภาวนา นีวรณวิกฺขมฺภนโต ปฏฺาย ซึ่งเริ่มต้นแต่ข่มนีวรณ์ได้ โคตฺรภูปริโยสานา จนถึง มีโคตรภูญาณเป็นที่สุด อุปจารภาวนา นาม ชื่อว่า อุปจารภาวนา สมีปจาริตตฺตา เพราะเป็นไปใกล้อัปปนา คามูปจาราทโย วิย ดุจชานบ้านเป็นต้น ฉะนั้น ฯ มหคฺคตภาวปฺปตฺตา (ภาวนา) ภาวนาที่ถึงความเป็นมหัคคตะ อปฺปนาภาวนา นาม ชื่อว่า อัปปนาภาวนา อปฺปนาสงฺขาตวิตกฺกปมุขตฺตา เพราะมีวิตกที่เรียกว่า อัปปนาเป็นประธาน ฯ วิตกฺโก ที่ชื่อว่าวิตก สมฺปยุตฺตธมฺเม อารมฺมเณ อปฺเปนฺโต วิย ปวตฺตตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปดุจยังสัมปยุตธรรม