The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

(สำนวนสนามหลวง)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Je Je, 2023-11-29 01:05:58

(สำนวนสนามหลวง)

(สำนวนสนามหลวง)

Keywords: บาลี

พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 193 มนุสฺสาน นิวาสภูตา ภูมิ ภูมิ เป็นที่อยู่อาศัย ของพวกมนุษย์ มนุสฺสา ชื่อว่า มนุสสะ อิธ ในอธิการว่าด้วยภูมิ ๔ นี้ ฯ เสเสสุปิแม้ในบทว่า เทวดาชั้นจาตุมมหาราชเป็นต้น ที่เหลือ เอว ก็มีนัย อย่างนี้ ฯ จตูสุ มหาราเชสุ ภตฺติเอเตส,ํจตุนฺนํ วา มหาราชานํ นิวาสนฏฺานภูเต จาตุมฺมหาราเช ภวาติจาตุมฺมหาราชิกา เทวดาที่ชื่อว่าจาตุมมหาราชิกะ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า มีการคบหาในพวกท้าวมหาราชทั้ง ๔ หรือเกิดในชั้นจาตุมมหาราช อันเป็นสถานที่อยู่อาศัยของท้าวมหาราชทั้ง ๔ ฯ (อาจริยา) วทนฺติ อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า มเฆน มานเวน สทฺธึ เตตฺตึส ชนทั้งหลายรวมกับมฆมาณพเป็น ๓๓ คน สหปุฺ การิโน มักท�ำบุญร่วมกัน นิพฺพตฺตา บังเกิดแล้ว เอตฺถ ในที่นี้ อิติ เพราะเหตุนั้น (ตํ-านํ) ที่นั้น ตํสหจริตํ านํ ซึ่งเป็นที่เป็นไปร่วมกันแห่งชน ๓๓ คนนั้น เตตฺตึส จึงชื่อว่า เตตติงสะ ตเทว เตตติงสะ นั้นนั่นเอง ตาวตึสํ เป็นตาวติงสะ ตํ ตาวติงสะนั้น นิวาโส เป็นที่อยู่อาศัย เอเตสํ ของเทวดาเหล่านั้น อิติ ตาวตึสา เพราะเหตุนั้น เทวดาเหล่านั้น จึงชื่อว่าเทวดาชั้นดาวดึงส์ ฯ ปน แต่ ยสฺมา เพราะ ฉกามาวจรเทวโลกา เทวโลกชั้นกามาวจร ๖ ชั้น อตฺถิ มีอยู่ เสสจกฺกวาเฬสุปิ แม้ในจักรวาลที่เหลือ วจนโต โดยพระบาลีว่า สหสฺสํ จาตุมฺมหาราชิกาน ชั้นจาตุมมหาราชมี ๑,๐๐๐ ชั้น ํสหสฺสฺ จ ตาวตึสาน และชั้นดาวดึงส์ ํ มี ๑,๐๐๐ ชั้น ดังนี้ ตสฺมา ฉะนั้น (ปณฺฑิเตน) คเหตพฺพ บัณฑิตพึงถือเอาว่า ํเอตํ ค�ำว่า ตาวติงสะ นี้ นามมตฺตเอวํ เป็นเพียงชื่อ ตสฺส เทวโลกสฺส ของเทวโลกนั้นเท่านั้น ฯ ทุกฺขโต ยาตา อปยาตาติ ยามา ที่ชื่อว่ายามา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไปแล้ว คือ ไปปราศแล้ว จากความทุกข์ ฯ อตฺตโน สิริสมฺปตฺติยา ตุสํ ปีตึอิตา คตาติตุสิตา ที่ชื่อว่าดุสิต เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ถึงแล้ว คือ บรรลุแล้วซึ่งความยินดี ได้แก่ ซึ่งความอิ่มใจใน สิริสมบัติของตน ฯ


194 ปริเฉทที่ ๕ นิมฺมาเน รติ เอเตสนฺติ นิมฺมานรติโน ที่ชื่อว่านิมมานรดี เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า มีความยินดีในการเนรมิต ฯ ปรนิมฺมิเตสุ โภเคสุ อตฺตโน วสํ วตฺเตนฺตีติปรมิมฺมิตวสวตฺติโน ที่ชื่อว่า ปรนิมมิตวสวัดดี เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังอ�ำนาจของตนให้เป็นไปในโภคสมบัติ ที่พวกเทวดาอื่นเนรมิตให้ ฯ เตสํ ปริสติภวาติพฺรหฺมปริสชฺชา ที่ชื่อว่าพรหมปาริสัชชา เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า เกิดในบริษัทของท้าวมหาพรหมเหล่านั้น มหาพฺรหฺมานํ ปริจาริกตฺตา เพราะเป็นผู้รับใช้ของพวกท้าวมหาพรหม ฯ พฺรหฺมปุโรหิตา ชื่อว่าพรหมปุโรหิตา เตสํ โปโรหิตฏฺาเน ิตตฺตา เพราะ ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นปุโรหิตของท้าวมหาพรหมเหล่านั้น ฯ เตหิเตหิฌานาทีหิคุณวิเสเสหิพฺรูหิตา ปริวุทฺธาติพฺรหฺมาโน ที่ชื่อว่า พวกพรหม เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เจริญ คือ งอกงาม ด้วยคุณวิเศษทั้งหลายมี ฌานเป็นต้นเหล่านั้น ๆ ฯ วณฺณวนฺตตาย เจว ทีฆายุกตาทีหิ จ พฺรหฺมปาริสชฺชาทีหิ มหนฺตา พฺรหฺมาโนติ มหาพฺรหฺมาโน ที่ชื่อว่าพวกมหาพรหม เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นพรหมผู้ใหญ่กว่าพรหมมีพรหมปาริสัชชาเป็นต้น โดยมีรัศมีและเป็นผู้มีอายุยืน เป็นต้น ฯ ตโยเปเต พรหมทั้ง ๓ จ�ำพวกเหล่านี้ ปณีตตรรตนปฺปภาวภาสิตสมานตลวาสิโน อยู่ชั้นเสมอกันซึ่งมีรัศมีแก้วที่ประณีตยิ่งกว่าแผ่สร้านออก ฯ จ อนึ่ง อุปริเมหิปริตฺตา อาภา เอเตสนฺติปริตฺตาภา ที่ชื่อว่าปริตตาภา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีรัศมีน้อยกว่าพรหมชั้นสูงขึ้นไป ฯ อปฺปมาณา อาภา เอเตสนฺติ อปฺปมาณาภา ที่ชื่อว่าอัปปมาณาภา เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า มีรัศมีหาประมาณมิได้ ฯ พลาหกโต วิชฺชุ วิย อิโตจีโตจ อาภา สรติ นิสฺสรติ เอเตส สปฺปีติกชฺฌานนิพฺพตฺตกฺขนฺธสนฺตานตฺตาติอาภสฺสรา ที่ชื่อว่าอาภัสสรา เพราะ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 195 อรรถวิเคราะห์ว่า มีรัศมีสร้านไป คือ สร้านออก รอบด้าน เหมือนสายฟ้าแลบ ออกจากกลีบเมฆ ฉะนั้น เพราะมีขันธสันดานที่บังเกิดจากฌานที่มีปีติ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ทณฺฑทีปิกาย อจฺจิวิย เอเตสํ สรีรโต อาภา ฉิชฺชิตฺวา ปตนฺตี วิย สรติ นิสฺสรตีติ อาภสฺสรา ที่ชื่อว่าอาภัสสรา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีร่างกายเป็นแดนสร้านไป คือ สร้านออกไป แห่งรัศมี ประดุจขาดตกไปเป็นสาย เปรียบเหมือนเปลวไฟแห่งคบเพลิง ฉะนั้น ฯ วา อีกอย่างนั้น ยถาวุตฺตาย ปภาย อาภายนสีลาติ อาภสฺสรา ที่ชื่อว่า อาภัสสรา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีปกติรุ่งเรืองด้วยรัศมีตามที่กล่าวแล้ว ฯ เอเตปิตโย พรหม ๓ จ�ำพวกแม้เหล่านี้ ปณีตตรรตนปฺปภาวภาสิเตกตลวาสิโน อยู่ชั้นเดียวกันซึ่งมีรัศมีแก้วที่ประณีตยิ่งกว่าแผ่สร้านออก ฯ สรีราภา รัศมีแห่งร่างกาย เอกฆนา เป็นสายเดียวกัน อจลา ไม่กวัดแกว่ง สุภาติ วุจฺจติ เรียกว่า รัศมีงาม ฯ สา รัศมีงามนั้น เอเตส ของพวกพรหมเหล่านี้ ํ ปริตฺตา น้อย อุปริพฺรหฺเมหิ กว่าพรหมชั้นสูงขึ้นไป อิติ เพราะเหตุนั้น (อิเม พฺรหฺมาโน) พรหมเหล่านี้ ปริตฺตสุภา จึงชื่อว่าปริตตสุภา ฯ อปฺปมาณา สุภา เอเตสนฺติ อปฺปมาณสุภา ที่ชื่อว่าอัปปมาณสุภา เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า มีรัศมีงามหาประมาณมิได้ ฯ ปภาสมุทยสงฺขาเตหิ สุเภหิ กิณฺณา อากิณฺณาติ สุภกิณฺณา ที่ชื่อว่า สุภกิณณา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เรี่ยรายแล้ว คือ เกลื่อนกล่นแล้ว ด้วยรัศมีงาม กล่าวคือเป็นที่ผุดผ่องขึ้นแห่งรัศมี ฯ จ ก็ สุภากิณฺณาติ วตฺตพฺเพ เมื่อควรจะกล่าวว่า สุภากิณณา ภาสทฺทสฺส รสฺสตฺต กตฺวา ท่านอาจารย์ก็ท�ำรัสสะ ภา ศัพท์ อนฺติมณการสฺส จ หการ กตฺวา แล้วแปลง ณ อักษรที่สุดศัพท์เป็น ห อักษร สุภกิณฺหาติวุตฺตํ แล้วกล่าวว่า สุภกิณฺหา ฯ


196 ปริเฉทที่ ๕ เอเตปิพรหม ๓ จ�ำพวกแม้เหล่านี้ ปณีตตรรตนปฺปภาวภาสิเตกตลวาสิโน อยู่ชั้นเดียวกันซึ่งมีรัศมีแก้วที่ประณีตยิ่งกว่าแผ่สร้านออก ฯ ฌานปฺปภาวนิพฺพตฺตํ วิปุลํ ผลเมเตสนฺติ เวหปฺผลา ที่ชื่อว่าเวหัปผลา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีผลที่บังเกิดด้วยอานุภาพแห่งฌาน ที่ไพบูลย์ ฯ นตฺถิ สฺ า ตํมุเขน วุตฺตา เสสารูปกฺขนฺธา จ เอเตสนฺติ อสฺ า ที่ชื่อว่าอสัญญา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีสัญญา และอรูปขันธ์ที่เหลือที่กล่าวแล้ว โดยมีสัญญานั้นเป็นประธาน สฺ าวิราคภาวนานิพฺพตฺตรูปสนฺตติมตฺตตฺตา เหตุมีเพียงรูปความสืบต่อที่บังเกิดด้วยภาวนาเป็นเครื่องส�ำรอกสัญญา ฯ เตเยว สตฺตา เหล่าสัตว์คือพวกพรหมที่ไม่มีสัญญาเหล่านั้น อิติอสฺ สตฺตา เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าอสัญญสัตว์ ฯ เอเตปิ พรหมแม้เหล่านี้ ปณีตตรรตนปฺปภาวภาสิเตกตลวาสิโน อยู่ชั้น เดียวกันซึ่งมีรัศมีแก้วที่ประณีตยิ่งกว่าแผ่สร้านออก ฯ สุทฺธานํ อนาคามิอรหนฺตานเมว อาวาสาติสุทฺธาวาสา ภูมิ ที่ชื่อว่าสุทธาวาส เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่อยู่ ของท่านผู้บริสุทธิ์ คือ ของพระอนาคามี และ พระอรหันต์เท่านั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อนุนยปฏิฆาภาวโต สุทฺโธ อาวาโส เอเตสนฺติสุทฺธาวาสา พวกพรหมชื่อว่าสุทธาวาส เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีที่อยู่ ที่ชื่อว่าบริสุทธิ์ เพราะ ไม่มีความยินดีและความยินร้าย ฯ เตสมฺปิ นิวาสา ภูมิ ภูมิอันเป็นที่อยู่อาศัยแม้แห่งท่านผู้บริสุทธิ์เหล่านั้น สุทฺธาวาสา ชื่อว่าสุทธาวาส ฯ ปน ก็ อิเมสุ บรรดาพรหมผู้อยู่ใน ๕ ชั้นเหล่านี้ ปมตลวาสิโน พวกพรหม ผู้อยู่ในชั้นที่ ๑ น วิชหนฺติย่อมไม่ละทิ้ง อตฺตโน าน สถานที่ของตน อปฺปเกน กาเลน โดยเวลาเพียงเล็กน้อย อิติอวิหา เพราะเหตุนั้น พรหมเหล่านั้น จึงชื่อว่า อวิหา ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 197 ทุติยตลวาสิโน พวกพรหมผู้อยู่ในชั้นที่ ๒ เกนจิ อตปฺปนฺติ ย่อมไม่ สะดุ้งกลัวด้วยเหตุอะไร ๆ อิติอตปฺปา เพราะเหตุนั้น พรหมเหล่านั้น จึงชื่อว่า อตัปปา ฯ ตติยตลวาสิโน พวกพรหมผู้อยู่ในชั้นที่ ๓ สุเขน ทิสฺสนฺติ ย่อมปรากฏ ได้ง่าย ปรมสุนฺทรรูปตฺตา เพราะมีรูปที่งดงามอย่างยิ่ง อิติสุทสฺสา เพราะเหตุนั้น พรหมเหล่านั้น จึงชื่อว่าสุทัสสา ฯ จตุตฺถตลวาสิโน พวกพรหมผู้อยู่ในชั้นที่ ๔ สุเขน ปสฺสนฺติ ย่อมเห็น ได้ง่าย สุปริสุทฺธทสฺสนตฺตา เพราะเป็นผู้มีความเห็นหมดจดด้วยดี อิติสุทสฺสิโน เพราะเหตุนั้น พรหมเหล่านั้น จึงชื่อว่าสุทัสสี ฯ ปน ส่วน ปฺ จมตลวาสิโน พวกพรหมผู้อยู่ในชั้นที่ ๕ นตฺถิ เอเตสํ กนิฏฺภาโวติ อกนิฏฺา ชื่อว่าอกนิฏฐา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีความเป็น ผู้น้อยที่สุด อุกฺกฏฺสมฺปตฺติกตฺตา เหตุเป็นผู้มีสมบัติอย่างสูงสุด ฯ อากาสานฺ จายตเน ปวตฺตา ปมารูปวิปากภูตจตุกฺขนฺธา เอว ขันธ์ ๔ อันเป็นอรูปาวจรวิบากจิตดวงที่ ๑ ซึ่งเป็นไปในอากาสานัญจายตนฌานนั่นเอง เตหิ ปริจฺฉินฺโนกาโส วา หรือโอกาสที่ก�ำหนดด้วยขันธ์ ๔ อันเป็นอรูปาวจร วิบากจิตดวงที่ ๑ เหล่านั้น อากาสานฺ จายตนภูมิ ชื่อว่าอากาสนัญจายตนภูมิ ฯ เสเสสุปิ แม้ในวิญญาณัญจายตนภูมิเป็นต้นที่เหลือ เอว ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ปุถุชฺชนา ปุถุชนก็ดี โสตาปนฺนา จ โสดาบันบุคคล ก็ดี สกทาคามิโน จาปิ ปุคฺคลา สกทาคามีบุคคลก็ดี น ลพฺภนฺติ หาไม่พบ สุทฺธาวาเสสุ ในชั้นสุทธาวาสทั้งหลาย สพฺพถาปิ แม้โดยประการทั้งปวง ฯ จ ก็ ปุถุชฺชนาทีนํ ปฏิกฺเขเปน เพราะปฏิเสธปุถุชนเป็นต้น อนาคามิ- อรหนฺตานเมว ตตฺถ ลาโภ วุตฺโต โหติ ย่อมเป็นอันท่านพระอนุรุทธาจารย์ กล่าวถึงการหาได้เฉพาะพระอนาคามีและพระอรหันต์ในชั้นสุทธาวาสเหล่านั้น ฯ เสสฏฺาเนสูติบทว่า เสสฏฺาเนสุ ความว่า อริยา พระอริยบุคคลทั้งหลาย อนริยาปิจ และแม้บุคคลทั้งหลายที่มิใช่พระอริยะ ลพฺภนฺติ ย่อมหาได้ เสสฏฺาเนสุ


198 ปริเฉทที่ ๕ ในฐานะที่เหลือ สุทฺธาวาสาปายาสฺ ีวชฺชิเตสุ ซึ่งเว้นชั้นสุทธาวาส (๕) อบายภูมิ (๔) และอสัญญีภพ (๑) ฯ โอกฺกนฺติกฺขเณติ บทว่า โอกฺกนติกฺขเณ ได้แก่ ปฏิสนฺธิกฺขเณ ในขณะ ปฏิสนธิ ฯ สัตว์ใด อนฺโธ บอด ชาติยา แต่ก�ำเนิด อิติชจฺจนฺโธ เพราะเหตุนั้น สัตว์นั้น จึงชื่อว่าชัจจันธะ ฯ ชาติกฺขเณ ในขณะเกิด อณฺฑชชลาพุชา อัณฑชสัตว์และชลาพุชสัตว์ สพฺเพ ทั้งหมด อจกฺขุกาว ไม่มีจักขุปสาทรูปเลย กิฺ จาปิ แม้ก็จริง ตถาปิ ถึงอย่างนั้น จกฺขฺวาทิอุปฺปชฺชนารหกาเลปิ ในเวลาที่จักษุเป็นต้นควรจะเกิดขึ้น สตฺโต สัตว์ จกฺขุปฺปตฺติวิพนฺธกกมฺมปฏิพาหิตสามตฺถิเยน ทินฺนปฏิสนฺธินา อิตเรนาปิวา กมฺเมน อนุปฺปาทิตพฺพจกฺขุโก ที่มีจักษุถูกกรรมที่มีสมรรถภาพ อันกรรมซึ่งเป็นตัวขัดขวางความเกิดขึ้นแห่งจักษุห้ามเสียแล้วก็ดี กรรมที่ให้ปฏิสนธิ ก็ดี กรรมแม้นอกนี้ก็ดี ไม่พึงให้เกิดขึ้น ชจฺจนฺโธ นาม ชื่อว่าบอดแต่ก�ำเนิด ฯ อปเร ปน...วทนฺติ ส่วนอาจารย์อีกพวกหนึ่ง กล่าวว่า ชจฺจนฺโธติ บทว่า ชจฺจนฺโธ ได้แก่ อนฺโธ สัตว์ที่บอด ปสูติยํเยว ในเวลาเกิดนั่นเอง อตฺโถ อธิบายว่า มาตุกุจฺฉิยํ อนฺโธ หุตฺวา นิกฺขมนฺโต เป็นสัตว์บอดตั้งแต่ในท้องมารดา ออกมา ฯ เตน เพราะอธิบายดังว่ามานี้ ทฺวิเหตุกติเหตุกานํ ส�ำหรับทวิเหตุกสัตว์ และติเหตุกสัตว์ มาตุกุจฺฉิยํ จกฺขุสฺส อวิปชฺชนํ สิทฺธํ จึงส�ำเร็จความไม่วิบัติจักษุ ในท้องมารดา ฯ ชจฺจนฺธาทีติ อาทิคฺคหเณน ด้วย อาทิ ศัพท์ ในค�ำว่า ชจฺจนฺธาทิ นี้ ชจฺจพธิรชจฺจมูคชจฺจชฬชจฺจุมฺมตฺตกปณฺฑกอุภโตพฺยฺ ชนกนปปสกมมฺมาทีนํ สงฺคโห เป็นอันรวบรวมสัตว์ผู้หนวกแต่ก�ำเนิด ใบ้แต่ก�ำเนิด เซ่อแต่ก�ำเนิด บ้าแต่ก�ำเนิด บัณเฑาะก์ สัตว์มี ๒ เพศ สัตว์ไม่มีเพศ และสัตว์ผู้ติดอ่างเป็นต้น เข้าด้วย ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 199 อปเร ปน...วทนฺติ ฝ่ายอาจารย์อีกพวกหนึ่ง กล่าวว่า เอกจฺเจ สัตว์บางพวก อเหตุกปฏิสนฺธิกา มีปฏิสนธิเป็นอเหตุกะ อวิกลินฺทฺริยา หุตฺวา เป็นผู้มีอินทรีย์ ไม่บกพร่อง โถกํ วิจารณปกติกา โหนฺติแต่มีปัญญาเป็นเครื่องพิจารณาเป็นเป็นปกติ เพียงเล็กน้อย ตาทิสานมฺปิ อาทิสทฺเทน สงฺคโห เป็นอันรวมแม้จ�ำพวกสัตว์ เช่นนั้นเข้าด้วยอาทิศัพท์ ฯ ภุมฺมเทเว สิตา นิสฺสิตา ตคฺคติกตฺตาติ ภุมฺมสฺสิตา เหล่าสัตว์ผู้ชื่อว่า ภุมมัสสิตะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อิง คือ อาศัยภุมมเทพอยู่ เหตุอาศัยภุมมเทพ นั้นเป็นที่เป็นไป ฯ สุขสมุสฺสยโต วินิปาติตาติ วินิปาติกา เหล่าสัตว์ผู้ชื่อว่าวินิปาติกะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ตกไปจากที่เป็นที่เกิดขึ้นแห่งความสุข ฯ สพฺพถาปิกามสุคติยนฺติข้อว่า สพฺพถาปิกามสุคติยํ ได้แก่ กามสุคติยํ ในกามสุคติภูมิ สตฺตวิธายปิ แม้ทั้ง ๗ อย่าง เทวมนุสฺสวเสน คือ เทวโลก (๖) มนุษย์ (๑) ฯ เตสูติ บทว่า เตสุ ได้แก่ ปุคฺคเลสุ ในบรรดาบุคคลทั้งหลาย อปายาทีสุวา หรือในบรรดาเหล่าสัตว์ที่เกิดในอบายภูมิเป็นต้น ยถาวุตฺตปฏิสนฺธิยุตฺเตสุ ผู้ประกอบด้วยปฏิสนธิตามที่กล่าวแล้ว ฯ นิยโม การก�ำหนด อายุปฺปมาณคณนาย จ�ำนวนประมาณอายุ นตฺถิ ชื่อว่า ย่อมไม่มี (อปายาทีน)ํ แก่เหล่าสัตว์ที่เกิดในอบายภูมิเป็นต้น เกสฺ จิจิรายุกตฺตา เพราะสัตว์บางพวกมีอายุยืน เกสฺ จิปริตฺตายุกตฺตา จ และเพราะสัตว์บางพวก มีอายุสั้น ฯ ตถา จาหุ สมจริงดังท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า อาปายิกมนุสฺสายุปริจฺเฉโท การก�ำหนดอายุของสัตว์ผู้เกิด ในอบายภูมิและมนุษย์ น วิชฺชติ ย่อมไม่มี ตถาหิ จริงอย่างนั้น กาโฬ พญากาฬนาคราช มนฺธาตา พระเจ้ามันธาตุ เกจิ ยกฺขา และยักษ์ บางพวก จิรายุโน มีอายุยืน อิติอาทึ ดังนี้เป็นต้น ฯ


200 ปริเฉทที่ ๕ หิ ความจริง อปาเยสุ ในอบายทั้งหลาย กมฺมเมว กรรมนั่นเอง ปมาณํ เป็นประมาณ (อายุ) ตตฺถ นิพฺพตฺตานํ ยาว กมฺมํ น ขียติตาว จวนาภาวโต เพราะเหล่าสัตว์ผู้บังเกิดในอบายภูมินั้นไม่มีการจุติตราบเท่าที่กรรมยังไม่สิ้นไป ฯ ภุมฺมเทวาน ส�ำหรับเหล่าภุมมเทพ ตถา ก็เหมือนกัน (กมฺมํ ปมาณํ คือ มีกรรมเป็นประมาณ) ฯ หิ ความจริง เตสุปิ นิพฺพตฺตา สัตว์ผู้เกิดแม้ในภุมมเทพเหล่านั้น เกจิ สตฺตาหาทิกาล ติฏฺนฺติ บางพวกก็ด�ำรงอยู่ได้ชั่วเวลาเพียง ๗ วันเป็นต้น เกจิ กปฺปมตฺตมฺปิบางพวกก็ด�ำรงอยู่ได้แม้ประมาณกัปหนึ่ง ฯ ตถา อนึ่ง (กมฺมเมว) กรรมนั่นเอง (ปมาณ) เป็นประมาณอายุ ํมนุสฺสานมฺปิ แม้แห่งมนุษย์ทั้งหลาย กทาจิเตสมฺปิอสงฺเขยฺยายุกตฺตา เพราะบางคราวแม้มนุษย์ เหล่านั้นก็มีอายุถึงอสงไขย กทาจิ ทสวสฺสายุกตฺตา บางคราวก็มีอายุ ๑๐ ปี ฯ ปน ก็ อิทํ อชฺชตฺตนกาลิเก สนฺธาย วุตฺต พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงหมายถึง ํ เหล่ามนุษย์ในทุกวันนี้ จึงตรัสพระด�ำรัสนี้ว่า โย จิรํ ชีวติ ผู้ใดอยู่ได้นาน โส วสฺสสตํ ชีวติผู้นั้นย่อมเป็นอยู่ได้ ๑๐๐ ปี อปฺป วา ภิยฺโย วา น้อยหรือมาก ทุติยมฺปิวสฺสสตํ น ปาปุณาติก็ไม่ถึง ๒๐๐ ปี ฯ ทิพฺพานิ ปฺ จวสฺสสตานีติข้อว่า ทิพฺพานิ ปญฺจวสฺสสตานิ ความว่า มนุสฺสานํ ปฺ าสวสฺสานิ ๕๐ ปี ของพวกมนุษย์ เอกทินํ เป็น ๑ วัน ฯ ทิพฺพปมาณานิปฺ จวสฺสสตานิ ๕๐๐ ปี อันเป็นประมาณปีทิพย์ ตทนุรูปโต มาสสํวจฺฉเร ปริจฺฉินฺทิตฺวา เพราะก�ำหนดเดือนและปี โดยเหมาะแก่วันนั้น อายุปฺปมาณํ โหติเป็นประมาณอายุ ฯ วุตฺตมฺปิเจตํ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า ยานิ ปฺ าสวสฺสานิ มนุสฺสานํ ๕๐ ปี ของเหล่ามนุษย์ ทิโน เป็น ๑ วัน ตหึ ในเทวดาชั้นจาตุมมหาราชนั้น ตึสรตฺตินฺทิโว ๓๐ วันและคืน มาโส เป็น ๑ เดือน มาสา ทฺวาทส ๑๒ เดือน สํวจฺฉรํ เป็น ๑ ปี ทิพฺพํ ปฺ จสตํ ๕๐๐ ปีทิพย์ เตน สํวจฺฉเรน


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 201 โดยปีนั้น มตํ บัณฑิตกล่าวว่า อายุ เป็นประมาณอายุ ฯ มนุสฺสคณนายาติ บทว่า มนุสฺสคณนาย ได้แก่ สวจฺฉรคณนําย โดยนับปี มนุสฺสานํ ของพวกมนุษย์ ฯ ตโต จตุคุณนฺติข้อว่า ตโต จตุคุณํ ได้แก่ จตุคุณํ ๔ เท่า เอวํ ทิวสสวจฺฉรทิคุณวเสน ํ คือ เอา ๒ คูณวันและปีอย่างนี้ อิติ คือ ทิพฺพวสฺสสหสฺสานิ ๑,๐๐๐ ปีทิพย์ ทิคุณํ กตฺวา เพราะเอา ๒ คูณ ปฺ าสมานุสฺสิกวสฺสปริมิตํ ทิวสํ วันซึ่งท่านก�ำหนดนับปีแบบมนุษย์ ๕๐ ปี จาตุมฺมหาราชิกานํ ทิพฺพานิจ ปฺ จวสฺสสตานิและ ๕๐๐ ปีทิพย์ ของพวกเทวดาชั้นจาตุมมหาราช ตาวตึสานํ สมฺภวติ เป็นประมาณอายุของเหล่าเทพชั้นดาวดึงส์ ฯ ปน ก็ ตํ (จตุคฺคุณํ) ๔ เท่านั้น วสฺสสหสฺสํ เป็น ๑,๐๐๐ ปี ทิพฺพคณนาย โดยการนับแบบปีทิพย์ สฏฺิวสฺสสตสหสฺสาธิกติโกฏิปฺปมาณํ โหติ เท่ากับ ๓ โกฏิ ๖ ล้านปี มนุสฺสคณนาย โดยการนับแบบมนุษย์ ฯ ตโต จตุคุณํ ยามานนฺติข้อว่า ตโต จตุคุณํ ยามานํ ความว่า จตุคุณํ ๔ เท่า วุตฺตนเยน โดยนัยดังกล่าวแล้ว ตาวตึสานมายุปฺปมาณโต จากประมาณ อายุของพวกเทวดาชั้นดาวดึงส์ ทฺวิสหสฺส จึงเป็น ๒,๐๐๐ ปี ํ ทิพฺพคณนาย โดยการนับ แบบปีทิพย์ ฯ มนุสฺสคณนาย โดยการนับแบบมนุษย์ จตฺตาฬีสวสฺสสตสหสฺสาธิกา จุทฺทสวสฺสโกฏิโย โหนฺติ จึงเป็น ๑๔ โกฏิ ๔ ล้านปี ฯ ตโต จตุคุณํ ตุสิตานนฺติ ข้อว่า ตโต จตุคุณํ ตุสิตานํ ได้แก่ ทิพฺพานิจตฺตาริวสฺสสหสฺสานิ ๔,๐๐๐ ปีทิพย์ ฯมนุสฺสคณนาย โดยการนับแบบมนุษย์ สฏฺิวสฺสสตสหสฺสาธิกา สตฺตปฺ าสวสฺสโกฏิโย จึงเป็น ๕๗ โกฏิ ๖ ล้านปี ฯ ตโต จตุคุณํ นิมฺมานรตีนนฺติข้อว่า ตโต จตุคุณํ นิมฺมานรตีนํ ได้แก่ ทิพฺพานิ อฏฺวสฺสสหสฺสานิ ๘,๐๐๐ ปีทิพย์ ฯมนุสฺสคณนาย โดยการนับ แบบมนุษย์ เทฺววสฺสโกฏิสตานิจตฺตาฬีสวสฺสสตสหสฺสาธิกานิตึสวสฺสโกฏิโย จ จึงเป็น ๒๓๐ โกฏิ ๔ ล้านปี ฯ


202 ปริเฉทที่ ๕ ตโต จตุคุณํ ปรนิมฺมิตวสวตฺตีนนฺติ ข้อว่า ตโต จตุคุณํ ปรนิมฺมิตวสวตฺตีนํ ได้แก่ ทิพฺพานิโสฬสวสฺสสหสฺสานิ ๑๖,๐๐๐ ปีทิพย์ ฯ ปน แต่ ทสฺเสนฺโต ท่านอาจารย์ เมื่อจะแสดง มนุสฺสคณนาย การนับแบบมนุษย์ สยเมว เสียเองทีเดียว อาห นวสตฺ จาติอาทิ จึงกล่าวค�ำว่า นวสตฺ จ ดังนี้เป็นต้น ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า วสฺสานํ สมฺพนฺธี นวสตํ เอกวีส โกฏิโย ตถา สฏฺี จ วสฺสสตสหสฺสานิ๙๒๑ โกฏิ ๖ ล้านปี อายุปฺปมาณ เป็นประมาณอายุ ํ วสวตฺตีสุ ในเหล่าเทพชั้นวสวัดดี ฯ ทุติยชฺฌานภูมิยนฺติค�ำว่า ทุติยชฺฌานภูมิย นี้ ํวุตฺต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ํ กล่าว จตุกฺกนยวเสน ด้วยอ�ำนาจฌานจตุกกนัย ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ตโต ปรํ ต่อจากปฏิสนธิกาลนั้นไป ปวตฺติย ในปวัตติกาล ํจวนกาเล จ และในจุติกาล รูปเมว รูปนั้นแล ปวตฺติตฺวา เป็นไป ตถา อย่างนั้น ภงฺคจุติวเสน คือ ด้วยอ�ำนาจภวังคจิตและจุติจิต นิรุชฺฌติ แล้วดับไป ฯ เตสูติ บทว่า เตสุ ได้แก่ พฺรหฺเมสุ บรรดาพวกพรหม คหิตปฏิสนฺธิเกสุ ที่มีปฏิสนธิอันตนถือเอาแล้ว ตาหิ ด้วยปฏิสนธิเหล่านั้น ฯ กปฺปสฺสาติ บทว่า กปฺปสฺส ได้แก่ อสงฺเขยฺยกปฺปสฺส อสงไขยกัป ฯ หิ ความจริง อายุปริจฺเฉโท การก�ำหนดอายุ พฺรหฺมปาริสชฺชาทีนํ ติณฺณํ ของพรหม ๓ จ�ำพวก มีพรหมปาริสัชชาเป็นต้น มหากปฺปวเสน ด้วยอ�ำนาจ มหากัป น สมฺภวติ ชื่อว่าย่อมไม่มีเลย ปริปุณฺณกปฺเป อสมฺภวโต เพราะ พรหมเหล่านั้นไม่เกิดมีในกัปที่บริบูรณ์ เอกกปฺเปปิ เตสํ อวินาสาภาเวน โดยเหตุที่พรหมเหล่านั้น จะไม่พินาศแม้ในกัปหนึ่ง ไม่มี ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอส โลโก โลกนี้ สตฺตวาเรสุ อคฺคินา วินสฺสติ พินาศด้วยไฟ ๗ ครั้ง อฏฺเม วาเร อุทเกน ในครั้งที่ ๘ พินาศด้วยน�้ำ ปุน สตฺตวาเรสุ อคฺคินา แล้วพินาศแม้ด้วยไฟอีก ๗ ครั้ง อฏฺเม วาเร อุทเกน ในครั้งที่ ๘ พินาศด้วยน�้ำ อิติเอวมฺปิรวมความดังกล่าวมานี้ อฏฺสุ อฏฺเกสุ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 203 ปริปุณฺเณสุ เมื่อครบหมวด ๘ ๘ ครั้งแล้ว ปจฺฉิเม วาเร ในครั้งสุดท้าย วาเตน วินสฺสติ โลกจึงพินาศด้วยลม ฯ ตตฺถ ในบรรดาชั้นปฐมฌานเป็นต้นเหล่านั้น (โลโก) โลก ปมชฺฌานตลํ อุปาทาย อคฺคินา (วินสฺสติ) พินาศด้วยไฟ กระทั่งถึงชั้นปฐมฌาน ทุติยตติยชฺ- ฌานตลํ อุปาทาย อุทเกน (วินสฺสติ) พินาศด้วยน�้ำ กระทั่งถึงชั้นทุติยฌานและ ตติยฌาน จตุตฺถชฺฌานตลํ อุปาทาย วาเตน วินสฺสติ พินาศด้วยลม กระทั่งถึง ชั้นจตุตถฌาน อิติ แล ฯ วุตฺตมฺปิเจตํ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า สตฺตสตฺตคฺคินา วารา คราวที่โลกพินาศด้วยไฟ ๗ ครั้ง ๗ คราว อฏฺเม อฏฺโมทกา ทุก ๆ คราวที่ ๘ จึงพินาศด้วยน�้ำ จตุสฏฺียทา ปุณฺณา เมื่อครบ ๖๔ คราวแล้ว เอโก วายุวโร สิยา จึงมีคราวลม คราวหนึ่ง ฯ อคฺคินาภสฺสรา เหฏฺา (โลกพินาศ) ด้วยไฟ ภายใต้แต่ชั้น อาภัสสรา อาเปน สุภกิณฺหโต ด้วยน�้ำ ภายใต้แต่ชั้นสุภกิณหา เวหปฺผลโต วาเตน ด้วยลม ภายใต้แต่ชั้นเวหัปผลา เอวํ โลโก วินสฺสติ โลกย่อมพินาศ อย่างนี้ ฯ จ ก็ ติณฺณมฺปิ ปมชฺฌานตลานํ เอกกปฺเปปิ อวินาสาภาวโต เพราะ ชั้นปฐมฌานแม้ทั้ง ๓ จะไม่พินาศแม้ในกัป ๑ ไม่มี ตสฺมา ฉะนั้น สกลกปฺเป เตสํ สมฺภโว นตฺถิเหล่าพรหมปาริสัชชาเป็นต้นเหล่านั้น จึงไม่เกิดในกัปทั้งสิ้น อิติ เพราะเหตุนั้น เตสํ อายุปริจฺเฉโท ทฏฺพฺโพ พึงเห็นการก�ำหนดอายุของ เหล่าพรหมปาริสัชชาเป็นต้นนั้น อสงฺเขยฺยกปฺปวเสน ด้วยอ�ำนาจอสงไขยกัป ฯ ปน แต่ว่า ทุติยชฺฌานาทิตลโต ปฏฺาย ตั้งแต่ชั้นทุติยฌานเป็นต้นไป (อายุปริจฺเฉโท ทฏฺพฺโพ) พึงเห็นการก�ำหนดอายุ ปริปุณฺณสฺส มหากปฺปสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจมหากัปที่บริบูรณ์ น อสงฺเขยฺยกปฺปวเสน ไม่พึงเห็นด้วยอ�ำนาจ อสงไขยกัป ฯ


204 ปริเฉทที่ ๕ จ ก็ อสงฺเขยฺยกปฺโปติ ที่ชื่อว่าอสงไขยกัป ได้แก่ จตุตฺถภาโค ส่วนที่ ๔ อกฺขยสภาวสฺส มหากปฺปสฺส แห่งมหากัป ซึ่งมีสภาวะไม่หมดสิ้นไป สาสปราสิโน ปริกฺขเยปิแม้ในเมื่อกองเมล็ดพันธุ์ผักกาดหมดสิ้นไป โยชนายามวิตฺถารวเสน สาสปราสิโต วสฺสสตวสฺสสตจฺจเยน เอเกกวีชสฺส หรเณน โดยการน�ำพืชพันธุ์ ผักกาดออกจากกองเมล็ดพันธุ์ผักกาด ยาวกว้างด้านละ ๑ โยชน์ ๑๐๐ ปี ต่อ ๑ เมล็ด ฯ ปน ก็ โส อสงไขยกัปหนึ่งนั้น จตุสฏฺิอนฺตรกปฺปปฺปมาโณ โหติ มีประมาณ ๖๔ อันตรกัป เอวํ ปริฉินฺนสฺส อนฺตรกปฺปสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจ อันตรกัปที่ท่านก�ำหนดไว้อย่างนี้ว่า สตฺถโรคทุพฺภิกฺขานํ อญฺตรสวฏฺเฏนํพหูสุ วินาสมุปคเตสุ, อวสิฏฺสตฺตสนฺตานปฺปวตฺตกุสลกมฺมานุภาเวน ทสวสฺสโต ปฏฺาย อนุกฺกเมน อสงฺเขยฺยายุกปฺปมาเณสุ สตฺเตสุ เมื่อสัตว์เป็นอันมาก ถึงความพินาศอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาศัสตราหรือโรค หรือทุพภิกขภัยแล้ว มีประมาณอายุเจริญขึ้นโดยล�ำดับ ตั้งแต่ ๑๐ ปี จนถึงอสงไขยหนึ่ง ด้วยอานุภาพ แห่งกุศลกรรมที่เป็นไปในสันดานของสัตว์ที่ยังเหลืออยู่ ปุน อธมฺมสมาทานวเสน กเมน ปริหายิตฺวา ทสวสฺสายุเกสุชาเตสุแล้วมีอายุเสื่อมลงตามล�ำดับ ด้วยอ�ำนาจ สมาทานอธรรม จนถึงมีอายุ ๑๐ ปีอีก โรคาทีนมฺ ตรสํวฏฺเฏน สตฺตานํ วินาสปฺปตฺติ สัตว์ถึงความพินาศด้วยความพินาศอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรดาโรค เป็นต้น ยาว อยเมโก อนฺตรกปฺโป ชั่วเวลาเท่านี้ เป็นอันตรกัปหนึ่ง ฯ (เกจิ) วทนฺติ อาจารย์บางพวกกล่าวว่า วีสติ อนฺตรกปฺปปฺปมาโณ ประมาณ ๒๐ อันตรกัป ฯ (เทพเหล่าใด) อากาสานฺ จายตนํ อุปคจฺฉนฺติเข้าถึงชั้นอากาสานัญจายตนภูมิ อิติ อากาสานฺ จายตนูปคา เพราะเหตุนั้น เทพเหล่านั้น จึงชื่อว่าผู้เข้าถึงชั้น อากาสานัญจายตนภูมิ ฯ เอกเมวาติ บทว่า เอกเมว ความว่า ภูมิโต ชาติโต สมฺปยุตฺตธมฺมโต สงฺขารโต จ สมานเมว เสมอกันโดยภูมิ ชาติ สัมปยุตธรรม และสังขารนั่นเอง ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 205 เอกชาติยนฺติ บทว่า เอกชาติยํ ได้แก่ เอกสฺมึ ภเว ในภพหนึ่ง ฯ อิทานิ บัดนี้ กมฺมํ จตูหากาเรหิทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หวังจะ แสดงกรรมโดยอาการ ๔ อย่าง ชนกนฺติอาทิมารทฺธํ จึงเริ่มค�ำว่า ชนก ดังนี้เป็นต้น ฯ ํ ชนยตีติชนกํ ที่ชื่อว่าชนกกรรม เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังวิบากให้เกิด ฯ อุปตฺถมฺเภตีติอุปตฺถมฺภกํ ที่ชื่อว่าอุปัตถัมภกกรรม เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เข้าไปสนับสนุนวิบาก ฯ อุปคนฺตฺวา ปีเฬตีติอุปปีฬกํ ที่ชื่อว่าอุปปีฬกกรรม เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เข้าไปเบียดเบียนวิบาก ฯ อุปคนฺตฺวา ฆาเตตีติอุปฆาตกํ ที่ชื่อว่าอุปฆาตกกรรม เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เข้าไปบั่นรอนวิบาก ฯ ตตฺถ ในบรรดากรรมเหล่านั้น กุสลากุสลเจตนา กุศลจิตและอกุศลจิต วิปากกตตฺตารูปานํ นิพฺพตฺติกา ซึ่งเป็นตัวให้วิบากและกตัตตารูปบังเกิด ปฏิสนฺธิปฺปวตฺตีสุ ในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล ชนก นาม ชื่อว่าชนกกรรม ฯ กุสลากุสลกมฺมํ กุศลกรรมและอกุศลกรรม สยํ วิปากํ นิพฺพตฺเตตุํ อสกฺโกนฺตมฺปิ แม้เมื่อไม่สามารถให้วิบากบังเกิดเองได้ กมฺมนฺตรสฺส จิรตรวิปากนิพฺพตฺตเน ปจฺจยภูตํ ก็เป็นปัจจัยแก่กรรมอื่นในการให้วิบากบังเกิดได้นานกว่า วิปากสฺเสว วา สุขทุกฺขภูตสฺส วิจฺเฉทปจฺจยานุปฺปตฺติยา อุปพฺรูหนปจฺจยุปฺปตฺติยา จ ชนกสามตฺถิยานุรูปจิรตรปฺปวตฺติปจฺจยภูตํ หรือเป็นปัจจัยแก่ความเป็นไปนานกว่า อันเหมาะสมแก่ความสามารถแห่งชนกกรรม เพื่อความไม่เกิดขึ้นแห่งปัจจัยอันเป็น ตัวบั่นรอน วิบากนั่นเอง ซึ่งเป็นสุขและทุกข์ และเพื่อความเกิดขึ้นแห่งปัจจัยอันเป็น ตัวพอกพูนวิบาก ซึ่งเป็นสุขและทุกข์ อุปตฺถมฺภกํ นาม ชื่อว่าอุปัตถัมภกกรรม ฯ ยงฺกิฺ จิ กมฺมํ กรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง จิรตรปฺปวตฺติวินิพนฺธกํ อันเป็น ตัวขัดขวางความเป็นไปได้นานกว่า กมฺมนฺตรชนิตวิปากสฺส แห่งวิบากที่กรรมอื่น ให้เกิดแล้ว พฺยาธิธาตุสมตาทินิมิตฺตวิพาธเนน โดยขัดขวางเครื่องหมายมีพยาธิ และความมีธาตุเสมอกันเป็นต้น อุปปีฬกํ นาม ชื่อว่าอุปปีฬกกรรม ฯ


206 ปริเฉทที่ ๕ ปน ส่วน กมฺมํ กรรม ตสฺส วิปากํ ปฏิพาหิตฺวา สย วิปากนิพฺพตฺตนกํ ที่ห้ามวิบากของกรรมที่ทุรพลนั้นแล้ว ให้วิบากบังเกิดเสียเอง ทุพฺพลสฺส กมฺมสฺส ชนกสามตฺถิยํ อุปหจฺจ วิจฺเฉทกปจฺจยุปฺปาทเนน โดยให้เกิดปัจจัยอันเป็นตัวเข้าไป บั่นรอนความสามารถของกรรมที่ยังกรรมอันทุรพลให้เกิด อุปฆาตกํ นาม ชื่อว่า อุปฆาตกรรม ฯ หิ ความจริง ชนโกปฆาตกานํ อยํ วิเสโส ชนกกรรมและอุปฆาตกกรรม มีความแปลกกันดังนี้ คือ ชนกํ ชนกกรรม กมฺมนฺตรสฺส วิปากํ อนุปจฺฉินฺทิตฺวาว วิปากํ ชเนติ ไม่เข้าไปตัดวิบากของกรรมอื่นเลย ยังวิบากให้เกิด อุปฆาตกํ อุปฆาตกรรม อุปจฺเฉทกปุพฺพกํ มุ่งเข้าไปบั่นรอน ฯ อิทํ นี้ สนฺนิฏฺานํ เป็นความตกลงใจ อฏฺกถาสุ ในอรรถกถาทั้งหลาย ตาว ก่อน ฯ อปเร ปน อาจริยา วทนฺติ ส่วนอาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า อุปปีฬกกมฺมํ อุปปีฬกกรรม กมฺมนฺตรสฺส วิปากํ อนฺตรนฺตรา วิพาธติย่อมเบียดเบียนวิบาก ของกรรมอื่นในระหว่าง ๆ พหฺวาพาธตาทิปจฺจโยปสํหาเรน โดยน�ำปัจจัยมีความ เป็นผู้อาพาธหนักเป็นต้นเข้าไป ปน ส่วน อุปฆาตกํ อุปฆาตกกรรม ต สพฺพโส อุปจฺฉินฺทิตฺวา อฺ สฺส โอกาสํ เทติเข้าไปตัดวิบากนั้น โดยประการทั้งปวง แล้วจึงให้โอกาสแก่กรรมอื่น น ปน สยํ วิปากนิพฺพตฺตกํ แต่อุปฆาตกกรรมนั้น ไม่ใช่เป็นตัวให้วิบากเกิดเสียเอง หิความจริง ชนกโต อิมสฺส วิเสโส ความแปลกกัน แห่งอุปฆาตกกรรมนี้จากชนกกรรม สุปากโฏ ปรากฏชัดแล้ว เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ กิจฺจวเสนาติ บทว่า กิจฺจวเสน ได้แก่ ชนนุปตฺถมฺภนุปปีฬนุปจฺเฉทนกิจฺจวเสน ด้วยอ�ำนาจท�ำหน้าที่ให้เกิด ช่วยอุปถัมภ์ เข้าไปเบียดเบียน และเข้าไป บั่นรอน ฯ ครุกนฺติที่ชื่อว่า ครุกกรรม ได้แก่ มหาสาวชฺชํ มหานุภาวฺ จ อฺ เน กมฺเมน ปฏิพาหิตุํ อสกฺกุเณยฺยกมฺม กรรมที่มีโทษมาก และกรรมที่มีอานุภาพมาก ํ อันกรรมอื่นไม่สามารถจะห้ามได้ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 207 อาสนฺนนฺติ ที่ชื่อว่า อาสันนกรรม ได้แก่ มรณกาเล อนุสฺสริตํ กรรมที่ บุคคลระลึกได้ในเวลาใกล้ตาย ตทา กตฺ จ และกรรมที่บุคคลท�ำในกาลนั้น ฯ อาจิณฺณนฺติ ที่ชื่อว่า อาจิณณกรรม ได้แก่ อภิณฺหโส กตํ กรรมที่บุคคล ท�ำเนือง ๆ เอกวารํ กตฺวาปิวา อภิณฺหํ สมาเสวิตํ หรือกรรมที่บุคคลแม้ท�ำ ครั้งเดียว แต่ใฝ่ใจถึงเสมอ ฯ กตตฺตากมฺมนฺติ ที่ชื่อว่า กตัตตากรรม ได้แก่ ครุกาทิภาวํ อสมฺปตฺตํ กตมตฺตโตเยว กมฺมนฺติวตฺตพฺพกมฺมํ กรรมที่ไม่ถึงความเป็นครุกกรรมเป็นต้น พึงเรียกว่า เป็นกรรมได้ เพราะเพียงเป็นกรรมที่บุคคลท�ำแล้วเท่านั้น ฯ ตตฺถ บรรดากรรม ๔ ประการนั้น กุสลํ วา โหตุ อกุสลํ วา จะเป็นกุศลกรรม หรือจะเป็นอกุศลกรรมก็ตาม ครุกาครุเกสุ บรรดาครุกกรรมและไม่ใช่ครุกกรรม ยํ ครุกํ กรรมใด เป็นครุกกรรม อกุสลปกฺเข มาตุฆาตาทิกมฺมํ วา ในฝ่ายอกุศลกรรม ได้แก่ มาตุฆาตกรรมเป็นต้น กุสลปกฺเข มหคฺคตกมฺมํ วา หรือในฝ่ายกุศลกรรม ได้แก่ มหัคคตกรรม ตเทว ปมํ วิปจฺจติกรรมนั้น นั่นแหละย่อมให้ผลก่อน สติปิอาสนฺนาทิกมฺเม เมื่ออาสันนกรรมเป็นต้นแม้ยังมีอยู่ ปริตฺตํ อุทกํ โอตฺถริตฺ วา คจฺฉนฺโต มโหโฆ วิย เปรียบเหมือนห้วงน�้ำใหญ่ ไหลท่วมห้วงน�้ำน้อยไป ฉะนั้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น ตํ ครุกนฺติวุจฺจติ กรรมนั้นท่านเรียกว่า ครุกกรรม ฯ ตสฺมึ อสติ เมื่อครุกกรรมนั้นไม่มี ทูราสนฺเนสุ บรรดากรรมไกลและ กรรมใกล้ ยํ อาสนฺนํ กรรมใดเป็นกรรมใกล้มรณกาเล อนุสฺสริตํ คือ กรรม ที่ระลึกได้ในเวลาใกล้ตาย ตเทว วิปจฺจติ กรรมนั้นนั่นแหละ ย่อมให้ผลก่อน ฯ อาสนฺนกเต ในกรรมที่บุคคลท�ำในเวลาใกล้ตาย วตฺตพฺพเมว นตฺถิ ไม่มี ค�ำที่จะต้องพูดถึงเลย ฯ ตสฺมิมฺปิอสติ แม้เมื่ออาสันนกรรมนั้นไม่มี อาจิณฺณานาจิณฺเณสุ บรรดา อาจิณณกรรมและมิใช่อาจิณณกรรม ยํ อาจิณฺณ กรรมใดเป็นอาจิณณกรรม สุสีลฺยํ วา ทุสฺสีลฺยํ วา คือ ความเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ก็ตาม ความเป็นผู้ทุศีลก็ตาม ตเทว ปมํ วิปจฺจติ กรรมนั้นนั่นแหละย่อมให้ผลก่อน ฯ


208 ปริเฉทที่ ๕ ปน ส่วน กตตฺตากมฺมํ กตัตตากรรม ลทฺธาเสวนํ ที่ได้อาเสวนะแล้ว ปฏิสนฺธึ อากฑฺฒติย่อมชักปฏิสนธิจิตมาได้ ปุริมานํ อภาเว ในเมื่อไม่มีกรรม ๓ ประการข้างต้น อิติ รวมความว่า ครุกํ สพฺพปมํ วิปจฺจติ ครุกกรรม ย่อมให้ผลก่อนกรรมทั้งปวง ฯ ครุเก อสติเมื่อครุกกรรมไม่มี อาสนฺนํ อาสันนกรรมย่อมให้ผลก่อน ฯ ตสฺมึปิ อสติ แม้เมื่ออาสันนกรรมนั้นก็ไม่มี อาจิณฺณํ อาจิณณกรรม ย่อมให้ผลก่อน ฯ เตนาห ปากทานปริยาเยนาติ เพราะเหตุนั้น ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวว่า ปากทานปริยาเยน ดังนี้ ฯ อตฺโถ อธิบายความว่า วิปากทานานุกฺกเมน ตามล�ำดับการให้ผล ฯ ปน ส่วน อภิธมฺมาวตาราทีสุ ในอรรถกถาทั้งหลายมีอภิธัมมาวตารเป็นต้น อาสนฺนโต อาจิณฺณํ ปมํ วิปจฺจนฺตํ กตฺวา วุตฺตํ ท่านอาจารย์ทั้งหลาย กล่าว อาจิณณกรรมว่าให้ผลก่อนอาสันนกรรม ฯ ปน เปรียบเสมือน โคคณปริปุณฺณสฺส วชสฺส ทฺวาเร วิวเฏ เมื่อบุคคล เปิดประตูคอกที่เต็มด้วยฝูงโคแล้ว โย วชทฺวารสฺส อาสนฺโน โหติ โคตัวใด อยู่ใกล้ประตูคอก อนฺตมโส ทุพฺพลชรคฺคโวปิโดยที่สุดแม้จะเป็นโคแก่ทุรพลภาพ โสว ปมตรํ นิกฺขมติ โคตัวนั้นแหละก็ย่อมออกไปก่อน ปรภาเค ทมฺมควพลวคเวสุ สนฺเตสุ เมื่อโคหนุ่มและโคแข็งแรง ยังมีอยู่ในด้านหลัง ยถา ฉันใด อาสนฺนเมว อาสันนกรรมนั้นแหละ ปมํ วิปากํ เทติ ชื่อว่าย่อมให้ผลก่อน มรณกาลสฺส อาสนฺนตฺตา เพราะเป็นกรรมที่ใกล้เวลาตาย ครุกโต อฺ เสุ กุสลากุสเลสุ สนฺเตสุปิ เมื่อกุศลกรรมและอกุศลกรรมอื่นจากครุกกรรม แม้ยังมีอยู่ เอว ฉันนั้น ํ อิติ เพราะเหตุนั้น อิธ ในปกรณ์นี้ ตํ ปมํ วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าว อาสันนกรรมนั้นไว้ก่อน ฯ ทิฏฺธมฺโม ปจฺจกฺขภูโต ปจฺจุปฺปนฺโน อตฺตภาโว ตตฺถ เวทิตพฺพ กรรมใด ํ อันสัตว์พึงเสวย ในทิฏฐธรรม คือ ในอัตภาพที่เห็นประจักษ์ ได้แก่ ที่เป็นปัจจุบันนั้น


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 209 วิปากานุภวนวเสน ด้วยอ�ำนาจเสวยวิบาก อิติทิฏฺธมฺมเวทนียํ เพราะเหตุนั้น กรรมนั้น ชื่อว่าทิฏฐธัมมเวทนียกรรม ฯ อุปปชฺชิตฺวา เวทิตพฺพ กรรมอันสัตว์พึงเกิดขึ้นเสวย ํอนนฺตร ในภพอันเป็น ํ ล�ำดับติดต่อกัน ทิฏฺธมฺมโต จากภพปัจจุบัน อุปปชฺชเวทนีย ชื่อว่าอุปปัชชเวทนียกรรม ฯ ํ กมฺมํ กรรม เวทิตพฺพํ อันสัตว์พึงเสวย อปเร อปเร ในภพต่อ ๆ ไป ยตฺถกตฺถจิ อตฺตภาเว คือ ในอัตภาพใดอัตภาพหนึ่ง ทิฏฺธมฺมโต อฺ สฺมึ อื่นจากอัตภาพปัจจุบัน อปราปริยเวทนียํ ชื่อว่าอปราปริยเวทนียกรรม ฯ กมฺมํ กรรม อโหสิเอว ได้มีเสร็จแล้ว น เอวํ วตฺตพฺพกมฺมํ คือ กรรมที่ ไม่สมควรพูดอย่างนี้ว่า ตสฺส วิปาโก อโหสิวิบากของกรรมนั้นได้มีแล้ว อตฺถิ มี อยู่ ภวิสฺสติ วา หรือว่าจักมี อโหสิกมฺมํ ชื่อว่าอโหสิกรรม ฯ ตตฺถ บรรดากรรม ๔ อย่างนั้น ปมเจตนา ชวนจิตดวงที่ ๑ พลวภาวปฺปตฺตา ซึ่งถึงภาวะที่มีพลังรุนแรง ปฏิปกฺเขหิอนภิภูตตาย เพราะไม่ถูกธรรมที่เป็นข้าศึก ทั้งหลายครอบง�ำ ปจฺจยวิเสเสน ปฏิลทฺธวิเสสตาย จ และเพราะได้ความพิเศษ โดยปัจจัยพิเศษ สาติสยา หุตฺวา เป็นธรรมชาตดียิ่ง ตาทิสสฺส ปุพฺพาภิสงฺขารสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจความปรุงแต่งเบื้องต้นเช่นนั้น ตสฺมึเยว อตฺตภาเว ผลทายินี มีปกติ ให้ผลในอัตภาพนั้นนั่นแหละ ทิฏฺธมฺมเวทนียํ นาม ชื่อว่าทิฏฐธัมมเวทนียกรรม ฯ หิความจริง สา ชวนจิตดวงที่ ๑ นั้น วุตฺตปฺปกาเรน พลวติ ชวนสนฺตาเน คุณวิเสสยุตฺเตสุ อุปการาปการวสปฺปวตฺติยา ปวตฺตสนฺตานูปรมาเปกฺขํ (กมฺมํ น โหติจ) ไม่ใช่เป็นกรรม ที่เพ่งถึงการเข้าไปบั่นรอนความสืบต่อที่เป็นไป (ของ กรรมอื่นเสีย) ในความสืบต่อแห่งชวนจิตดวงที่มีพลังรุนแรง โดยประการดังกล่าว แล้ว เพราะความเป็นไปด้วยอ�ำนาจท�ำอุปการะหรือท�ำการเบียดเบียน ในท่าน ผู้ประกอบด้วยคุณวิเศษทั้งหลาย อาเสวนาลาเภน อปฺปวิปากตาย อิตรทฺวยํ วิย โอกาสลาภาเปกฺขํ กมฺมํ น โหติจ และไม่ใช่เป็นกรรมที่เพ่งถึงการได้โอกาส เหมือนกับกรรมทั้งสอง (คือ อุปปัชชเวทนียกรรม และอปราปริยเวทนียกรรม) นอกนี้ เพราะเป็นกรรมที่มีวิบากน้อย โดยไม่ได้อาเสวนปัจจัย อิติ เพราะเหตุนั้น


210 ปริเฉทที่ ๕ สา ชวนจิตดวงที่ ๑ นั้น เทติ จึงให้ อเหตุกผล วิบากที่เป็นอเหตุกะ ํ ปวตฺติวิปากมตฺตํ ซึ่งเป็นเพียงวิบากในปวัตติกาล อิเธว ในอัตภาพนี้เท่านั้น ปุปฺผมตฺตํ วิย เปรียบ เสมือนต้นไม้ที่มีเพียงดอก (แต่ไม่มีผล) ฉะนั้น ฯ ปน ส่วน สตฺตมชวนเจตนา ชวนจิตดวงที่ ๗ อตฺถสาธิกา ซึ่งให้ส�ำเร็จ ความต้องการ สนฺนิฏฺาปกเจตนาภูตา เป็นชวนจิตที่ให้ความต้องการมีการให้ทาน เป็นต้นส�ำเร็จได้ด้วยดี ปฏิลทฺธวิเสสา ได้ความวิเศษ วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวแล้ว วิปากทายินี มีปกติให้วิบาก อนนฺตรตฺตภาเว ในอัตภาพถัดไป อุปปชฺชเวทนียํ นาม ชื่อว่าอุปปัชชเวทนียกรรม ฯ จ ก็ สา ชวนจิตดวงที่ ๗ นั้น ปฏิสนฺธึ ทตฺวาว ครั้นให้ปฏิสนธิแล้ว ปวตฺติวิปากํ เทติก็ให้วิบากในปวัตติกาลด้วย ฯ ปน แต่ ปฏิสนฺธิยา อทินฺนาย เมื่อชวนจิตดวงที่ ๗ นั้นไม่ให้ปฏิสนธิเสียแล้ว (วจนํ) นตฺถิ ก็ไม่มีค�ำพูดว่า ปวตฺติวิปากํ เทติ ย่อมให้วิบากในปวัตวิติกาล ฯ หิ ความจริง จุติอนนฺตร (ฐาน) อันเป็นล� ํำดับติดต่อกันแห่งจุติ อุปปชฺชเวทนียสฺส โอกาโส เป็นโอกาสของอุปปัชชเวทนียกรรม อาจริยา วทนฺติ อาจารย์ทั้งหลาย กล่าวไว้ว่า ปน ก็ ปฏิสนฺธิยา ทินฺนาย เมื่อชวนจิตดวงที่ ๗ นั้นให้ปฏิสนธิแล้ว (สา สตฺตมชวนเจตนา) ชวนจิตดวงที่ ๗ นั้น ชาติสเตปิ ปวตฺติวิปากํ เทติ ย่อมให้วิบากในปวัตติกาลได้ แม้ตั้ง ๑๐๐ ชาติ ฯ ปฺ จกเจตนา ชวนจิต ๕ ดวง อาทิปริโยสานเจตนานํ มชฺเฌ ปวตฺตา ที่เป็นไป (คือเกิด) ในท่ามกลางชวนจิตดวงแรกกับดวงสุดท้าย ทิฏฺธมฺมเวทนียาทิภาวํ อสมฺปตฺตา ซึ่งไม่ถึงความเป็นทิฏฐธัมมเวทนียกรรมเป็นต้น ยถาวุตฺตการณวิรหโต เพราะเว้นจากเหตุตามที่กล่าวแล้ว ปฏิสนฺธิปฺปวตฺตีสุ วิปากํ อภินิปฺผาเทนฺตี ให้วิบากส�ำเร็จได้ในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล ยทา กทาจิ โอกาสลาเภ สติ เมื่อมีการได้โอกาสในกาลใดกาลหนึ่ง วิปากทานสภาวสฺส อนุปจฺฉินฺนตฺตา เพราะเป็นกรรมที่มีสภาวะคือการให้วิบากยังไม่ถูกบั่นรอน อปราปรเวทนียํ นาม ชื่อว่าอปราปริยเวทนียกรรม ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 211 ปน อนึ่ง ปุริมกมฺมทฺวยํ กรรม ๒ อย่าง (คือ ทิฏฐธัมมเวทนียกรรมและ อุปปัชชเวทนียกรรม) เบื้องต้น สกสกกาลาตีต ที่ล่วงกาลของตน ๆ ไปแล้ว ํ (อโหสิกมฺมํ นาม) ชื่อว่าเป็นอโหสิกรรม ตติยมฺปิจ และแม้อปราปริยเวทนียกรรมที่ ๓ อโหสิกมฺมํ นาม ก็ชื่อว่าเป็นอโหสิกรรมได้ สํสารปฺปวตฺติยา โวจฺฉินฺนาย ในเมื่อ ความเป็นไปแห่งสังสารวัฏขาดลงแล้ว ฯ ปากกาลวเสนาติ บทว่า ปากกาลวเสน ความว่า ปจฺจุปฺปนฺเน ตทนนฺตเร ยทากทาจีติเอวํ ปุริมานํ ติณฺณํ ยถาปริจฺฉินฺนกาลวเสน ด้วยอ�ำนาจกาลตามที่ ก�ำหนดไว้ของกรรม ๓ อย่างข้างต้น อย่างนี้ คือ ในปัจจุบันกาล ในกาลถัดจาก ปัจจุบันกาลนั้นไป ในกาลใดกาลหนึ่ง อิตรสฺส ตกําลาภาววเสน จ และด้วยอ�ำนาจ ความไม่มีแห่งกาลตามที่ก�ำหนดนั้นของอโหสิกรรมนอกนี้ ฯ หิ ความจริง อโหสิกมฺมสฺส ตํโวหาโร อโหสิกรรม ย่อมมีการบัญญัติว่า อโหสิกรรมนั้น กาลาติกฺกมโตว เพราะล่วงเลยกาลนั่นเอง ฯ ปากฏฺานวเสนาติ บทว่า ปากฏฺานวเสน ได้แก่ วิปจฺจนภูมิวเสน ด้วย อ�ำนาจภูมิที่ให้ผล ฯ อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หวังจะแสดง อกุสลาทิกมฺ มานํ กายกมฺมทฺวาราทิวเสน ปวตฺตึ ความเป็นไปแห่งอกุศลกรรมเป็นต้น ด้วย อ�ำนาจทวารแห่งกายกรรมเป็นอาทิ ตนิทฺเทสมุเขน ํจ เตสํ ปาณาติปาตาทิวเสน ทสวิธาทิเภทฺ จ และประเภทแห่งอกุศลกรรมเป็นต้นนั้นมี ๑๐ อย่างเป็นอาทิ ด้วยอ�ำนาจปาณาติบาตเป็นต้น โดยมุ่งแสดงถึงความเป็นไปแห่งอกุศลกรรมเป็นต้น ด้วยอ�ำนาจทวารแห่งกายกรรมเป็นอาทินั้น ตตฺถากุสลนฺติ อาทิ อารทฺธํ จึงเริ่ม ค�ำว่า ตตฺถากุสลํ ดังนี้เป็นต้น ฯ กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กรรมเป็นไปในกายทวาร กายกมฺมํ ชื่อว่า กายกรรม ฯ วจีกมฺมาทีนิ วจีกรรมเป็นต้น เอวํ ก็เหมือนกัน ฯ


212 ปริเฉทที่ ๕ ปาณสฺส สณิกํ ปติตุมทตฺวา อติว ปาตนํ การท�ำสัตว์มีชีวิตให้ตกไป โดยพลัน ไม่ให้ค่อย ๆ ตกไป ปาณาติปาโต ชื่อว่าปาณาติบาต ฯ กายวาจาหิ อทินฺนสฺส อาทานํ การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยกาย หรือวาจา อทินฺนาทานํ ชื่อว่าอทินนาทาน ฯ เมถุนวีติกฺกมสงฺขาเตสุกาเมสุมิจฺฉาจรณ การประพฤติผิดในกามทั้งหลาย ํ กล่าวคือการล่วงละเมิดเมถุนธรรม กาเมสุมิจฺฉาจาโร ชื่อว่ากาเมสุมิจฉาจาร ฯ ตตฺถ ในอกุศลกรรมบถมีปาณาติบาตเป็นต้นนั้น พึงทราบวินิจฉัย ดังต่อไป นี้ ปาโณติ ที่ชื่อว่าปราณ โวหารโต สตฺโต โดยโวหาร ได้แก่ สัตว์ ปรมตฺถโต ชีวิตินฺทฺริยํ โดยปรมัตถ์ ได้แก่ ชีวีตินทรีย์ ฯ วธกเจตนา เจตนาคิดจะฆ่า ตสฺมึ ปาเณ ปาณสฺ ิโน ของบุคคลผู้มี ความส�ำคัญในสัตว์มีชีวิตนั้นว่าเป็นสัตว์มีชีวิต ชีวิตินฺทฺริยุปจฺเฉทนปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิดความพยายามเข้าไปบั่นรอนชีวิตินทรีย์ ปาณาติปาโต ชื่อว่าปาณาติบาต ฯ เถยฺยเจตนา เจตนาคิดจะลัก ปรภณฺเฑ ตถาสฺ ิโน ของบุคคลผู้มีความ ส�ำคัญในสิ่งของ ของผู้อื่นว่า เป็นเช่นนั้น ตทาทายกปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิด ความพยายามถือเอาสิ่งของ ของผู้อื่นนั้น อทินฺนาทานํ ชื่อว่าอทินนาทาน ฯ อคนฺตพฺพฏฺานวีติกฺกมเจตนา เจตนาล ่วงละเมิดฐานะที่ไม ่ควรถึง กายทฺวารปฺปวตฺตา ซึ่งเป็นไปทางกายทวาร อสทฺธมฺมเสวนวเสน ด้วยอ�ำนาจ เสพอสัทธรรม กาเมสุมิจฺฉาจาโร นาม ชื่อว่ากาเมสุมิจฉาจาร ฯ (อาจริยา) วทนฺติ อาจารย์ทั้งหลายกล่าวว่า สุราปานมฺปิ แม้การดื่มสุรา เอตฺเถว สงฺคยฺหติท่านก็รวมเข้าในบทว่า กาเมสุมิจฉาจาร นี้เหมือนกัน รสสงฺขาเต กาเม มิจฺฉาจารภาวโต เพราะเป็นการประพฤติผิดในกามกล่าวคือรส ฯ กายวิฺ ตฺติสงฺขาเต กายทฺวาเรติ ค�ำว่า กายวิญฺตฺติสงฺขาเต กายทฺวาเร (ในกายทวาร กล่าวคือกายวิญญัตติ) โดยอรรถว่า กมฺมทฺวาเร ในทวารแห่งกรรม กายทฺวารสงฺขาเต อันท่านเรียกว่ากายทวาร โจปนกายภาวโต เพราะเป็นกายที่ไหว กมฺมานํ ปวตฺติมุขภาวโต จ และเพราะเป็นทางเป็นไปของกรรม กายวิฺ ตฺติสงฺขาเต


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 213 ที่ท่านเรียกว่ากายวิญญัติ กาเยน อธิปฺปาย วิฺ าปนโต เพราะให้ผู้อื่นทราบ ความประสงค์ได้ด้วยกาย สยฺ จ กาเยน วิฺ เยฺยตฺตา และเพราะตนเองทราบ ได้ด้วยกาย อภิกฺกมาทิชนกจิตฺตชวาโยธาตฺวาธิกกลาปสฺส วิการภูเต ได้แก่ อาการเปลี่ยนแปลงของรูปกลาปอันยิ่งด้วยวาโยธาตุ ซึ่งเกิดแต่จิตที่ให้เกิดอาการ ก้าวไปเป็นต้น สนฺถมฺภนาทีนํ สหการีการณภูเต อันเป็นเหตุแห่งสหชรูปที่กระท�ำ การค�้ำจุนเป็นต้นร่วมกัน ฯ จ ก็ กิฺ จาปิ ตํตํกมฺมสหคตจิตฺตุปฺปาเทเนว สา วิฺ ตฺติ ชนิยติ วิญญัตินั้นอันจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยกรรมนั้น ๆ เท่านั้นแล ย่อมให้เกิดได้แม้ก็จริง ตถาปิ ถึงกระนั้น ตสฺสา ปวตฺตมานาย เมื่อวิญญัตินั้นเป็นไปอยู่ ตสมุฏฺ ําปกกมฺมสฺส กายกมฺมาทิโวหาโร โหติกรรมที่ให้วิญญัตินั้นตั้งขึ้นพร้อม ก็ย่อมมีโวหารเรียกได้ว่า กายกรรมเป็นต้น อิติ เหตุนั้น สา วิญญัตินั้น ลพฺภติ จึงได้ วตฺตุํ เพื่อจะกล่าว ตสฺส ปวตฺติมุขภาเวน โดยความเป็นทางเป็นไปของกรรมนั้น ฯ เอตฺตเกเยว วุตฺเต เมื่อท่านอาจารย์กล่าวแต่เพียงเท่านี้ว่า กายทฺวาเร วุตฺติโต อิติ เพราะความเป็นไปในกายทวาร ดังนี้เท่านั้นแล้ว อยํ โจทนา ปจฺจุปฏฺเยฺย จะพึงปรากฏค�ำท้วงดังนี้ว่า ยทิเอวํ ถ้าเช่นนั้น น สิยา ไม่ควรมี กมฺมทฺวารววตฺถานํ การก�ำหนดกรรมและทวาร ฯ หิแท้ที่จริง กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กรรมที่เป็น ไปแล้วในกายทวาร กายกมฺมนฺติ วุจฺจติ ย่อมเรียกได้ว่ากายกรรม ฯ กายกมฺมสฺส จ ปวตฺติมุขภูตํ และทวารที่เป็นทางเป็นไปของกายกรรม กายทฺวารนฺติ วุจฺจติ ย่อมเรียกได้ว่ากายทวาร ฯ ปน อนึ่ง ปาณาติปาตาทิกํ วาจาย อาณาเปนฺตสฺส ส�ำหรับผู้ที่ใช้วาจา สั่งการท�ำปาณาติบาตเป็นต้น กายกมฺมํ วจีทฺวาเรปิ ปวตฺตติก็ย่อมมีกายกรรม เป็นไปแม้ในวิจีทวาร อิติ เหตุนั้น ทฺวาเรน กมฺมววตฺถานํ น สิยา จึงไม่ควร มีการก�ำหนดกรรมด้วยทวาร ตถา มุสาวาทาทึ กายวิกาเรน กโรนฺตสฺส และ ส�ำหรับผู้ใช้กายวิการ กระท�ำวจีทุจริตมีมุสาวาทเป็นต้น วจีกมฺมํ กายทฺวาเรปิ ปวตฺตติ ก็ย่อมมีวจีกรรมเป็นไปแม้ในกายทวาร อิติ เหตุนั้น กมฺเมน ทฺวารววตฺ


214 ปริเฉทที่ ๕ ถานมฺปิน สิยา จึงไม่ควรมีแม้การก�ำหนดทวารด้วยกรรม อิติ ดังนี้ อิติ เพราะ เหตุนั้น พาหุลฺลวุตฺติยา ววตฺถานํ ทสฺเสตุํ (ท่านอาจารย์) เพื่อจะแสดงการก�ำหนด (กรรม) ด้วยความเป็นไปแห่งกรรมมาก (ในทวาร) พาหุลฺลวุตฺติโตติวุตฺต จึงกล่าว ํ ค�ำว่า พาหุลฺลวุตฺติโต ฯ อยเมตฺถ อธิปฺปาโย ในบทว่า พาหุลฺลวุตฺติโต นี้ มีอธิบายดังนี้ว่า หิความจริง กายกมฺมํ กายกรรม กายทฺวาเรเยว พหุลํ ปวตฺตติเป็นไปเฉพาะในกายทวารมาก อปฺป วจีทฺวาเร เป็นไปในวจีทวารน้อย ฯ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น กายกมฺมภาโวปิสิทฺโธ จึงชื่อว่าส�ำเร็จแม้ความเป็น กายกรรมได้ กายทฺวาเรเยว พหุลํ ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปมากเฉพาะในกายทวาร วนจรกาทีนํ วนจรกาทิภาโว วิย เปรียบเสมือนคนที่เที่ยวไปในป่าเป็นต้น ได้ชื่อ ว่าเป็นพรานป่าเป็นต้น ฉะนั้น ฯ ตถา อนึ่ง กายกมฺมเมว กายกรรมเท่านั้น เยภุยฺเยน กายทฺวาเร ปวตฺตติ ย่อมเป็นไปในกายทวารโดยมาก น อิตรานิ วจีกรรมและมโนกรรมนอกนี้หาเป็น ไปโดยมากไม่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น กายกมฺมทฺวารภาโว สิทฺโธ จึงชื่อว่าส�ำเร็จ ความเป็นทวารแห่งกายกรรม กายกมฺมสฺส เยภุยฺเยน เอตฺเถว ปวตฺตนโต เพราะกายกรรมเป็นไปในกายทวารนี้แหละโดยมาก พฺราหฺมณคามาทีนํ พฺราหฺมณคามาทิภาโว วิย เปรียบเสมือนบ้านพราหมณ์เป็นต้นได้ชื่อว่าเป็นบ้านพราหมณ์ เป็นต้น ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น กมฺมทฺวารววตฺถาเน ในการก�ำหนดกรรมและ ทวาร นตฺถิ โกจิ วิพนฺโธ จึงไม่มีข้อห้ามอะไร ฯ มุสาติ บทว่า มุสา ได้แก่ อภูตํ วตฺถุํ เรื่องไม่จริง ฯ ตํ ตจฺฉโต วทนฺติเอเตนาติมุสาวาโท ที่ชื่อว่ามุสาวาท เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องกล่าวเรื่องที่ไม่จริงนั้น โดยความเป็นจริงแห่งเหล่าชน ฯ ปิสติสามคฺคิยํ สฺ จุณฺเณติวิกฺขิปติปิยภาวํ สุฺ ํ กโรตีติวา ปิสุณา ที่ชื่อว่าปิสุณวาจา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า บด คือ ขยี้ความสามัคคีให้แหลกละเอียด หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ซัด คือ กระท�ำความเป็นที่รักให้สูญ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 215 อตฺตานมฺปิ ปรมฺปิ ผรุสํ กโรติ กกโจ วิย ขรสมฺผสฺสาติวา ผรุสา ที่ชื่อว่าผรุสวาจา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า กระท�ำทั้งตนเอง ทั้งผู้อื่นให้หยาบกระด้าง หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีสัมผัสแข็งกระด้าง เปรียบเหมือนเลื่อย ฉะนั้น ฯ สํ สุขํ หิตฺ จ ผรติ วิสรติ วินาเสตีติ สมฺผํ ธรรมชาตที่ชื่อว่าสัมผะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า แผ่ไป คือ สร้านไปเลยความดี ได้แก่ ความสุข และสิ่งที่ เป็นประโยชน์เกื้อกูล คือ ท�ำความสุขและสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูลให้เสียหายไป อตฺตโน จ ปเรสฺ จ อนุปการํ ยงฺกิฺ จิได้แก่ ถ้อยค�ำอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งไม่ เป็นอุปการะแก่ตนและชนเหล่าอื่น ฯ ตํ ปลปติเอเตนาติสมฺผปฺปลาโป ที่ชื่อว่าสัมผัปปลาปะ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องกล่าวถ้อยค�ำที่ไม่เป็นประโยชน์นั้นแห่งชน ฯ ตตฺถ บรรดาวจีทุจริต ๔ มีมุสาวาทเป็นต้นเหล่านั้น เจตนา เจตนา อภูตวตฺถุํ ภูตโต ปรํ วิฺ าเปตุกามสฺส ของผู้ต้องการจะให้ผู้อื่นทราบเรื่องที่ไม่เป็นจริง โดยเป็นเรื่องจริง ตถาวิฺ าปนปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิดความพยายาม ในการให้ผู้อื่นทราบว่าเป็นจริง มุสาวาโท ชื่อว่ามุสาวาท ฯ โส มุสาวาทนั้น ปรสฺส อตฺถเภทกโรว เฉพาะที่ท�ำลายประโยชน์ของผู้อื่น อย่างเดียว กมฺมปโถ โหติจึงเป็นกรรมบถ อิตโร นอกจากนี้ กมฺมเมว เป็นเพียง กรรมเท่านั้น ฯ สงฺกิลิฏฺเจตนา เจตนาที่เศร้าหมอง ปรเภทกรวจีปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้ เกิดวจีประโยคเป็นเครื่องท�ำให้ผู้อื่นให้แตกกัน ปเรสํ เภทกามตาย โดยต้องการ ให้ชนเหล่าอื่นแตกกันก็ตาม อตฺตโน ปิยกามตาย วา โดยต้องการให้ตนเป็นที่รัก ก็ตาม ปิสุณาวาจา ชื่อว่าปิสุณวาจา ฯ สาปิ แม้ปิสุณวาจานั้น ทฺวีสุ ภินฺเนสุเยว เมื่อชนทั้งสองฝ่ายแตกกันแล้ว เท่านั้น กมฺมปโถ โหติ จึงเป็นกรรมบถ ฯ


216 ปริเฉทที่ ๕ เอกนฺตผรุสเจตนา เจตนาที่หยาบโดยส่วนเดียว ปรสฺส มมฺมจฺเฉทกรวจี ปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิดวจีประโยคเป็นเครื่องท�ำการตัดความรักของผู้อื่น ผรุสวาจา ชื่อว่าผรุสวาจา ฯ หิ ความจริง จิตฺตสณฺหตาย สติ เมื่อยังมีความที่จิตเป็นธรรมชาต ละเอียดอ่อน ผรุสวาจา นาม ขึ้นชื่อว่าผรุสวาจา น โหติหามีไม่ ฯ สงฺกิลิฏฺเจตนา เจตนาที่เศร้าหมอง สีตาหรณาทิอนตฺถวิฺ าปนปโยคสมุฏฺาปิกา ซึ่งให้เกิดความพยายามในการให้ผู้อื่นทราบถึงเรื่องที่ไร้ประโยชน์ มีเรื่องน�ำนางสีดามาเป็นต้น สมฺผปฺปลาโป ชื่อว่าสัมผัปปลาปะ ฯปน ก็ โส สัมผัปปลาปะนั้น ปเรหิตสฺมึอตฺเถ คหิเตเยว เมื่อชนเหล่าอื่นรับรู้เนื้อความ นั้นเท่านั้น กมฺมปโถ จึงเป็นกรรมบถ ฯ วจีวิฺ ตฺติสงฺขาเต วจีทฺวาเรติข้อว่า วจีวิฺ ตฺติสงฺขาเต วจีทฺวาเร ความว่า กมฺมทฺวาเร ในทวารแห่งกรรม วจีทฺวารสงฺขาเต อันท่านเรียกว่าวจีทวาร โจปนวาจาภาวโต เพราะเป็นการเคลื่อนไหววาจา กมฺมานํ ปวตฺติมุขภาวโต จ และเพราะเป็นทางเป็นไปแห่งกรรมทั้งหลาย วจีวิฺ ตฺติสงฺขาเต ที่ท่านเรียกว่า วจีวิญญัติ วาจาย อธิปฺปายํ วิฺ าเปติ สยฺ จ วาจาย วิฺ ายตีติเพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ให้ผู้อื่นทราบความประสงค์ด้วยวาจา และตนเองก็รู้ความประสงค์ ได้ด้วยวาจา วจีเภทกรปโยคสมุฏฺาปิกจิตฺตสมุฏฺานปวีธาตฺวาธิกกลาปสฺส วิการภูเต ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงแห่งรูปกลาปที่ยิ่งด้วยปฐวีธาตุ ซึ่งมีจิตคิดให้เกิด ความพยายามเป็นเครื่องเปล่งวาจาเป็นสมุฏฐาน ฯ พาหุลฺลวุตฺติโตติ อิทํ ค�ำว่า พาหุลฺลวุตฺติโน นี้ วุตฺตนยเมว มีนัย ดังกล่าวแล้วนั่นแล ฯ ปรสมฺปตฺตึอภิมุขํ ฌายติโลภวเสน จินฺเตตีติอภิชฺฌา ที่ชื่อว่าอภิชฌา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เพ่งมุ่งเฉพาะสมบัติของผู้อื่น ได้แก่ คิดถึงสมบัติของผู้อื่น ด้วยอ�ำนาจโลภะ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 217 พฺยาปชฺชติหิตสุขํ เอเตนาติพฺยาปาโท ที่ชื่อว่าพยาบาท เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องถึงความพินาศแห่งประโยชน์เกื้อกูลและความสุข ฯ มิจฺฉา วิปรีตโต ปสฺสตีติมิจฺฉาทิฏฺิที่ชื่อว่ามิจฉาทิฏฐิ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เห็นผิด คือ วิปริต ฯ ตตฺถ บรรดามโนทุจริตมีอภิชฌาเป็นต้นนั้น อโห วต อิทํ มม สิยาติ เอวํ ปรภณฺฑาภิชฺฌานํ การเพ่งถึงสิ่งของของผู้อื่นอย่างนี้ว่า ไฉนหนอ สิ่งของนี้ พึงเป็นของเรา อภิชฺฌา ชื่อว่าอภิชฌา ฯ สา อภิชฌานั้น กมฺมปโถ โหติย่อมเป็นกรรมบถ ปรภณฺฑสฺส อตฺตโน นมเนเนว เฉพาะโดยการน้อมสิ่งของ ของผู้อื่นมาเพื่อตน ฯ อโห วตายํ สตฺโต วินสฺเสยฺยาติเอวํ มโนปโทโส ความคิดประทุษร้าย อย่างนี้ว่า ไฉนหนอ สัตว์นี้จะพึงพินาศ พฺยาปาโท ชื่อว่าพยาบาท ฯ นตฺถิทินฺนนฺติอาทินา นเยน วิปรีตทสฺสนํ ความเห็นผิดโดยนัยเป็นต้นว่า ทานที่บุคคลให้แล้วไม่มีผล ดังนี้ มิจฺฉาทิฏฺิ ชื่อว่ามิจฉาทิฏฐิ ฯ ปน แต่ เอตฺถ ในมิจฉาทิฏฐินี้ กมฺมปถเภโท กรรมบถขาดได้ นตฺถิกอเหตุกอกิริยทิฏฺีหิเยว โดยนัตถิกทิฏฐิ อเหตุกทิฏฐิ และอกิริยทิฏฐิเท่านั้น ฯ ปน ส่วน ปปฺ โจ ความพิสดาร อิเมสํ องฺคาทิววตฺถาปนวเสน ด้วยอ�ำนาจ การก�ำหนดองค์เป็นต้นแห่งอกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการเหล่านี้ ทฏฺพฺโพ บัณฑิต พึงค้นดูได้ ตตฺถ ตตฺถ อาคตนเยน โดยนัยที่มาแล้ว ในปกรณ์นั้น ๆ ฯ อฺ ตฺราปิ วิฺ ตฺติยาติ ข้อว่า อญฺตฺราปิ วิฺ ตฺติยา ได้แก่ กายวจีวิฺ ตฺตึวินาปิ แม้เว้นกายวิญญัติและวจีวิญญัติ ฯ อตฺโถ อธิบายว่า ตํ อสมุฏฺาเปตฺวาปิแม้ไม่ให้กายวิญญัติและวจีวิญญัตินั้นตั้งขึ้น ฯ จ ก็ เอตฺถ บรรดาอกุศลกรรมบถมีอภิชฌาเป็นต้นนี้ อภิชฺฌาทโย มโนทุจริตมีอภิชฌาเป็นต้น วิฺ ตฺติสมุฏฺาปกจิตฺตสมฺปยุตฺตา ซึ่งสัมปยุตด้วยจิต อันให้เกิดวิญญัติ เจตนาปกฺขิกาว โหนฺติ ย่อมเป็นไปในฝ่ายเจตนาอย่างเดียว ฯ


218 ปริเฉทที่ ๕ โทสมูเลน ชายนฺตีติ ข้อว่า โทสมูเลน ชายนฺติ ความว่า ปาณาติบาต ๑ ผรุสวาจา ๑ พยาบาท ๑ ชายนฺติ ย่อมเกิด โทสสงฺขาตมูเลน ด้วยเหตุเป็นมูลราก กล่าวคือโทสะ โทสมูลกจิตฺเตน วา หรือด้วยจิตที่มีโทสะเป็นมูล สหชาตาทิปจฺจเยน โดยสหชาตปัจจัยเป็นต้น น โลภมูลาทีหิ หาเกิดด้วยเหตุอันเป็นมูลรากมีโลภมูล เป็นต้นไม่ ฯ หิความจริง ราชาโน พระราชาทั้งหลาย หสมานาปิ แม้ก�ำลังทรงพระสรวลอยู่ วธํ อาณาเปนฺติ ก็ทรงรับสั่งให้ประหารได้ โทสจิตฺเตเนว ด้วยพระหทัยที่มีโทสะ เป็นมูลนั่นเอง ฯ ผรุสวาจาพฺยาปาเทสุปิ แม้ในผรุสวาจาและพยาบาท ตถา ยถารหํ ทฏฺพฺพํ ก็พึงเห็นถ้อยค�ำตามสมควรอย่างนั้นเหมือนกัน ฯ มิจฺฉาทสฺสนสฺส อภินิวิสิตพฺพวตฺถูสุ โลภปุพฺพงฺคมเมว อภินิวิสนโต เพราะความเห็นผิด ยึดมั่นในวัตถุที่พึงยึดมั่นทั้งหลาย มีโลภะเป็นตัวน�ำหน้านั่นเอง อาห มิจฺฉาทิฏฺิจ โลภมูเลนาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า มิจฺฉาทิฏฺิ จ โลภมูเลน ดังนี้ ฯ เสสานิ ฯเปฯ สมฺภวนฺตีติ ข้อว่า เสสานิ ฯเปฯ สมฺภวนฺติ ความว่า ตาว อันดับแรก โย ผู้ใด อตฺตพนฺธุปริตฺตานาทิปโยชนํ สนฺธาย มุ่งประโยชน์ มีการป้องกันตนเองและพวกพ้องเป็นต้น หรติ ลักเอา อภิมตํ วา วตฺถุํ สิ่งของ ที่ตนต้องการก็ตาม อนภิมตํ วา ไม่ต้องการก็ตาม อทินฺนาทานํ อทินนาทาน ตสฺส ของผู้นั้น โหติ ย่อมมี โลภมูเลน เพราะโลภมูล อทินนาทาน เวรนิยฺยานตฺถํ หรนฺตสฺส ของผู้ที่ลักของผู้อื่นเพื่อจะแก้แค้น โทสมูเลน ย่อมมีเพราะโทสมูล ฯ อทินนาทาน ปรสนฺตกํ หรนฺตานํ ราชูนํ ของพระราชาทั้งหลาย ผู้ริบเอา สมบัติของผู้อื่นไป ทุฏฺนิคฺคหตฺถํ เพื่อจะข่มคนชั่ว นีติปากปฺปมาณโต ตาม บทบัญญัติพระธรรมนูญก็ดี อทินนาทาน พฺราหฺมณานฺ จ สพฺพมิทํ พฺราหฺมณานํ ราชูหิทินฺนํ เตสํ ปน สพฺพทุพฺพลภาเวน อฺ เ ปริภุฺ ชนฺติ อตฺตสนฺตกเมว พฺราหฺมณา


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 219 ปริภุฺ ชนฺตีติอาทีนิวตฺวา สกสกสฺ าย เอว ยงฺกิฺ จิหรนฺตานํ ของพราหมณ์ ทั้งหลาย ผู้กล่าวว่า สิ่งของทั้งหมดนี้ ในหลวงได้พระราชทานไว้แล้วแก่พวกพราหมณ์ แต่ชนพวกอื่นพากันใช้สอย เพราะพวกพราหมณ์เหล่านั้นมีก�ำลังอ่อนแอกว่าคน ทุกจ�ำพวก พวกพราหมณ์ ย่อมใช้สอยเฉพาะของตน ดังนี้เป็นต้น แล้วน�ำสิ่งใด สิ่งหนึ่งไป ด้วยความส�ำคัญว่าเป็นของ ของตนนั่นเองก็ดี อทินนาทาน กมฺมผลสมฺพนฺธาปวาทีนฺ จ ของพวกที่มักพูดปฏิเสธความเกี่ยวเนื่องกันแห่งกรรมและ ผลแห่งกรรมก็ดี โมหมูเลน ย่อมมีเพราะโมหมูล ฯ มุสาวาทาทีสุปิแม้ในวจีทุจริตมีมุสาวาทเป็นต้น เอวํ ยถารหํ โยเชตพฺพํ ก็พึงประกอบถ้อยค�ำตามสมควรอย่างนี้เหมือนกัน ฯ เอต กามาวจรกุศลกรรมนี้ ํฉสุ อารมฺมเณสุ ติวิธกมฺมวเสน อุปฺปชฺชมานมฺปิ แม้เกิดขึ้นอยู่ในอารมณ์ ๖ ด้วยอ�ำนาจกรรม ๓ อย่าง ติวิธนิยเมน อุปฺปชฺชติ ก็ย่อมเกิดขึ้น โดยการก�ำหนด ๓ อย่าง อิติ เพราะเหตุนั้น อาห ตถา ทานสีลภาวนาวเสนาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ตถา ทานสีลภาวนาวเสน ดังนี้ ฯ หิ ความจริง ทสธา นิทฺทิสิยมานานํ บรรดาบุญกิริยาวัตถุที่แสดงไว้ ๑๐ ประการ สงฺคโห ท่านรวบรวม ทฺวินฺนํ ปัตติทานมัยกับปัตตานุโมทนามัยทั้ง ๒ ปุน ทฺวินฺนํ อปจายนมัยกับเวยยาวัจจมัยทั้ง ๒ อีก ติณฺณฺ จ และธัมมัสสวนมัย ธัมมเทสนามัย กับทิฏฐุชุกรรมทั้ง ๓ ทานสีลาทีสุ ตีเสฺวว เข้าในบุญกิริยาวัตถุ ๓ ประการมีทานและศีลเป็นต้น ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ ปน แต่ การณํ เหตุ เอตฺถ ในการรวบรวมไว้ในบุญกิริยาวัตถุ ๓ ประการ ปวกฺขาม ข้าพเจ้าจักกล่าว ปรโต ต่อไป ฯ ปน ส่วน ฉฬารมฺมเณสุ ติวิธกมฺมทฺวาเรสุ จ เนสํ ปวตฺติโยชนา วาจา เป็นเครื่องประกอบความเป็นไปแห่งบุญกิริยาวัตถุเหล่านั้น ในอารมณ์ ๖ และ ในทวารแห่งกรรม ๓ อย่าง คเหตพฺพา พึงค้นดู อฏฺกถาทีสุ อาคตนเยน ตามนัยที่มาแล้วในอรรถกถาเป็นต้น ฯ


220 ปริเฉทที่ ๕ ทิยฺยติเอเตนาติ ทานํ ที่ชื่อว่าทาน เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่อง อันบุคคลให้ ปริจฺจาคเจตนา ได้แก่ เจตนาเป็นเครื่องบริจาค ฯ เสเสสุปิแม้ในศีลเป็นต้นที่เหลือ เอวํ ก็มีนัยนี้เหมือนกัน ฯ สีลตีติสีลํ ที่ชื่อว่าศีล เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า คงที่ ฯ สีลติสมฺมา ทหติจิตฺตํ เอเตนาติสีลํ ที่ชื่อว่าศีล เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องตั้งมั่น คือ ด�ำรงอยู่โดยชอบแห่งจิต ฯ อตฺโถ อธิบายว่า (จิตฺตํ) จิต กายวจีกมฺมานิสมฺมา ทหติสมฺมา เปติ ตั้งกายกรรมและวจีกรรมได้โดยชอบ คือ วางกายกรรมและวจีกรรมไว้โดยชอบ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง สีลยติอุปธาเรตีติสีลํ ที่ชื่อว่าศีล เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า รองรับไว้ คือ เข้าไปรองรับไว้ ฯ ปน ก็ กุสลานํ อธิฏฺานภาโว ภาวะเป็นที่ตั้งอาศัยแห่งกุศลธรรมทั้งหลาย อุปธารณํ ชื่อว่าความเข้าไปรองรับไว้ เอตฺถ ในที่นี้ ฯ ตถาหิ วุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ สีเล ปติฏฺายาติอาทิว่า สีเล ปติฏฺาย ดังนี้เป็นต้น ฯ ภาเวติ กุสลธมฺเม อาเสวติ วฑฺเฒติ เอตายาติ ภาวนา ที่ชื่อว่าภาวนา เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องให้กุศลธรรมทั้งหลายเกิดมี คือ เสพคุ้น ได้แก่ ท�ำกุศลธรรมทั้งหลายให้เจริญแห่งชน ฯ อปจายติ ปูชาวเสน สามีจึ กโรติ เอตายาติ อปจายนา ที่ชื่อว่าอปจายน ะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องประพฤติอ่อนน้อม คือ ท�ำความชอบยิ่งด้วย อ�ำนาจการบูชาแห่งชน ฯ ตํตํกิจฺจกรเณ พฺยาวฏสฺส ภาโว ภาวะแห่งบุคคลผู้ขวนขวายในการกระท�ำ กิจนั้น ๆ เวยฺยาวจฺจํ ชื่อว่าเวยยาวัจจะ ฯ อตฺตโน สนฺตาเน นิพฺพตฺตา ปตฺติทิยฺยติเอเตนาติปตฺติทานํ ที่ชื่อว่า ปัตติทาน เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องอันชนให้ส่วนบุญที่บังเกิดในสันดาน ของตน ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 221 ปตฺตึ อนุโมทติ เอตายาติ ปตฺตานุโมทนา ที่ชื่อว่าปัตตานุโมทนา เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องพลอยชื่นชมส่วนบุญแห่งชน ฯ ธมฺมํ สุณนฺติเอเตนาติธมฺมสฺสวน ที่ชื่อว่าธัมมัสสวนะ เพราะอรรถวิเคราะห์ ํ ว่า เป็นเครื่องฟังธรรมแห่งเหล่าชน ฯ ธมฺมํ เทเสนฺติเอตายาติธมฺมเทสนา ที่ชื่อว่าธัมมเทสนา เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องแสดงธรรมแห่งเหล่าชน ฯ ทิฏฺิยา อุชุกรณํ การท�ำความเห็นให้ตรง ทิฏฺุชุกมฺมํ ชื่อว่าทิฏฐุชุกรรม ฯ ตตฺถ บรรดาบุญกิริยาวัตถุมีทานเป็นต้นนั้น เจตนา เจตนา สานุสยสนฺตานวโต ของบุคคลผู้มีสันดานที่ยังมีอนุสัย อตฺตโน วิชฺชมานวตฺถุปริจฺจชนวสปฺปวตฺตา ซึ่งเป็นไปด้วยอ�ำนาจการสละสิ่งของที่มีอยู่ของตน ปเรสํ ปูชานุคฺคหกามตาย เพื่อต้องการจะบูชาหรืออนุเคราะห์ชนเหล่าอื่น ทานํ นาม ชื่อว่าทานมัย ฯ ปุพฺพปจฺฉาภาคเจตนา เจตนาอันเป็นไปในส่วนเบื้องต้นและภายหลัง ปวตฺตา ซึ่งเป็นไป ทานวตฺถุปริเยสนวเสน ด้วยอ�ำนาจแสวงหาทานวัตถุ ทินฺนสฺส โสมนสฺสจิตฺเตน อนุสฺสรณวเสน จ และด้วยอ�ำนาจระลึกถึงทานวัตถุที่ตนให้แล้ว ด้วยจิตที่สหรคตด้วยโสมนัส คจฺฉนฺติย่อมถึง สโมธานํ การรวมลง เอตฺเถว ในทานมัยนี้เหมือนกัน ฯ เสเสสุปิ แม้ในบุญกิริยาวัตถุมีศีลเป็นต้นที่เหลือ เอวํ ยถารหํ ทฏฺพฺพํ ก็พึงเห็นถ้อยค�ำตามสมควรเหมือนกัน ฯ ปวตฺตเจตนา เจตนาที่เป็นไปแล้ว นิจฺจสีลาทิวเสน ปฺ จ อฏฺ ทส วา สีลานิ สมาทิยนฺตสฺส ปริปูเรนฺตสฺส ของบุคคลผู้สมาทานศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ด้วยอ�ำนาจนิจศีลเป็นต้น บ�ำเพ็ญอยู่ก็ดี อสมาทิยิตฺวาปิสมฺปตฺตกายวจีทุจฺจริต โต วิรมนฺตสฺส ปพฺพชฺชนฺตสฺส แม้มิได้สมาทาน แต่งดเว้นจากกายทุจริตและวจีทุจริต ที่มาประจวบเข้าก็ดี อุปสมฺปทมาฬเก สํวรํ สมาทิยนฺตสฺส จตุปาริสุทฺธสีลํ ปริปูเรนฺตสฺส จ ผู้สมาทานสังวรในโรงอุโบสถ บ�ำเพ็ญปาริสุทธิศีล ๔ ให้บริบูรณ์ ก็ดี สีลํ นาม ชื่อว่าศีลมัย ฯ


222 ปริเฉทที่ ๕ โคตฺรภูปริโยสานเจตนา เจตนาที่มีโคตรภูเป็นที่สุด จตฺตาฬีสาย กมฺมฏฺาเนสุ ขนฺธาทีสุ จ ภูมีสุ ปริกมฺมสมฺมสนวสปฺปวตฺตา ที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจการบริกรรม ในกัมมัฏฐาน ๔๐ และการพิจารณาในภูมิธรรมมีขันธ์เป็นต้น อปฺปนํ อปฺปตฺตา ยังไม่ถึงอัปปนา ภาวนา นาม ชื่อว่าภาวนามัย ฯ นิรวชฺชวิชฺชาทิปริยาปุณนเจตนาปิ แม้เจตนาเป็นเครื่องเล่าเรียนวิชาที่ ปราศจากโทษเป็นต้น เอตฺเถว สโมธานํ คจฺฉติก็ย่อมถึงการรวมลงในภาวนามัย นี้เหมือนกัน ฯ พหุมานกรณเจตนา เจตนาเป็นเครื่องกระท�ำความนับถือมาก วยสา คุเณหิ จ เชฏฺานํ ต่อท่านผู้เจริญที่สุดทั้งหลายโดยวัยและโดยคุณ ปจฺจุปฏฺานอาสนาภินิหารวิธินา ด้วยวิธีมีการลุกรับและการน�ำเอาอาสนะมาให้ อสงฺกิลิฏฺชฺฌาสเยน โดยอัธยาศัยที่ไม่เศร้าหมอง จีวราทีสุ ปจฺจาสารหิเตน ซึ่งไม่หวังการตอบแทน ในปัจจัย ๔ มีจีวรเป็นต้น อปจายนํ นาม ชื่อว่าอปจายนมัย ฯ ตตํ กิจฺจกรณเจตน ํา เจตนาเป็นเครื่องช่วยท�ำกิจนั้น ๆ เตสเมว แก่ท่านผู้เจริญ ที่สุดเหล่านั้นนั่นแหละ คิลานานฺ จ และแก่ผู้ป่วยไข้ทั้งหลาย ยถาวุตฺตชฺฌาสเยน โดยอัธยาศัยตามที่กล่าวแล้ว เวยฺยาวจฺจํ นาม ชื่อว่าเวยยาวัจจมัย ฯ อตฺตโน สนฺตาเน นิพฺพตฺตสฺส ปุฺ สฺส ปเรหิสาธารณภาวปจฺจาสึสนเจตนา เจตนาเป็นเครื่องมุ่งหวังถึงความที่บุญซึ่งบังเกิดแล้วในสันดานของตน เป็นธรรมชาตทั่วไปด้วยชนเหล่าอื่น ปตฺติทานํ นาม ชื่อว่าปัตติทานมัย ฯ อพฺภานุโมทนเจตนา เจตนาเป็นเครื่องพลอยยินดียิ่ง ปเรหิ ทินฺนสฺส อทินฺนสฺสาปิ วา ปุฺ สฺส ถึงบุญที่บุคคลเหล่าอื่นให้แล้ว หรือแม้ที่พวกเขา ยังมิได้ให้ มจฺเฉรมลวินิสฺสเฏน จิตฺเตน ด้วยจิตที่ปราศจากมลทินคือความตระหนี่ ปตฺตานุโมทนา นาม ชื่อว่าปัตตานุโมทนามัย ฯ หิตูปเทสสวนเจตนา เจตนาเป็นเครื่องฟังสิ่งที่อ้างถึงประโยชน์เกื้อกูล อสงฺกิลิฏฺชฺฌาสเยน ด้วยอัธยาศัยที่ไม่เศร้าหมอง เอวํ อตฺตโน ปเรสํ วา หิตผรณวสปฺปวตฺเตน ซึ่งเป็นไปด้วยอ�ำนาจแผ่ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตนเองหรือ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 223 แก่ชนเหล่าอื่นอย่างนี้ว่า เอวมิมํ ธมฺมํ สุตฺวา ตตฺถ วุตฺตนเยน ปฏิปชฺชนฺโต โลกิยโลกุตฺตรคุณวิเสสสฺส ภาคี ภวิสฺสามิ เราฟังธรรมนี้อย่างนี้แล้ว ปฏิบัติ อยู่ในธรรมนั้น โดยนัยดังกล่าวแล้วจักเป็นผู้มีส่วนแห่งคุณวิเศษ อันเป็นโลกิยะ และโลกุตตระ พหุสฺสุโต วา หุตฺวา ปเรสํ ธมฺมเทสนาทีหิ อนุคฺคณฺหิสฺสามิ หรือว่าเราจักเป็นพหูสูตอนุเคราะห์ชนเหล่าอื่น ด้วยการแสดงธรรมเป็นต้น ธมฺมสฺสวนํ นาม ชื่อว่าธัมมัสสวนมัย ฯ นิรวชฺชวิชฺชาทิสวนเจตนาปิถึงเจตนาซึ่งเป็นเครื่องฟังวิชาที่ปราศจากโทษ เป็นต้น สงฺคยฺหติ อันบัณฑิตก็รวมเข้า เอตฺเถว ในธัมมัสสวนมัยนี้เหมือนกัน ฯ หิตูปเทสเจตนา เจตนาเป็นเครื่องแสดงอ้างถึงสิ่งที่เป็นประโยชน์เกื้อกูล โยนิโสมนสิการโต โดยโยนิโสมนสิการ ลาภสกฺการาทินิรเปกฺขตาย โดยไม่เพ่ง เล็งถึงลาภและสักการะเป็นต้น ธมฺมเทสนา นาม ชื่อว่าธัมมเทสนามัย ฯ นิรวชฺชวิชฺชาทิอุปทิสนเจตนาปิ แม้เจตนาเป็นเครื่องแสดงอ้างถึงวิชาที่ ปราศจากโทษเป็นต้น เอตฺเถว สงฺคหํ คจฺฉติ ก็ถึงการรวมเข้าในธัมมเทสนามัยนี้ เหมือนกัน ฯ ทิฏฺิยา อุชุกรณํ การกระท�ำความเห็นให้ตรง อตฺถิ ทินฺนนฺติอาทิ- นยปฺปวตฺตสมฺมาทสฺสนวเสน ด้วยอ�ำนาจสัมมาทิฏฐิที่เป็นไปโดยนัยเป็นต้นว่า ทานที่บุคคลให้แล้วมีผลจริง ดังนี้ ทิฏฺุชุกมฺมํ นาม ชื่อว่าทิฏฐุชุกรรม ฯ ถามว่า ยทิเอวํ เมื่อเป็นเช่นนั้น าณวิปฺปยุตฺตจิตฺตุปฺปาทสฺส ทิฏฺุชุ- กมฺมปุฺ กิริยาภาโว น ลพฺภติย่อมไม่ได้ความที่จิตตุปบาทที่เป็นญาณวิปยุต เป็นบุญกิริยาวัตถุ คือ ทิฏฐุชุกรรม ฯ ตอบว่า โน น ลพฺภติ ย่อมไม่ได้หามิได้ ปุริมปจฺฉิมเจตนานมฺปิตํตํปุฺ - กิริยาเสฺวว สงฺคณฺหนโต เพราะรวมแม้เจตนาดวงที่เกิดก่อนและดวงที่เกิดภายหลัง เข้าในบุญกิริยาวัตถุนั้น ๆ นั่นเอง ฯ หิความจริง อุชุกรณเวลาย ในเวลาท�ำความเห็นให้ตรง าณสมฺปยุตฺตเมว จิตฺตํ โหติจิตย่อมเป็นญาณสัมปยุต เท่านั้น กิฺ จาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น


224 ปริเฉทที่ ๕ ปุริมปจฺฉาภาเค ในกาลเบื้องต้นและกาลภายหลัง าณวิปฺปยุตฺตมฺปิ สมฺภวติ จิตย่อมเป็นญาณวิปยุตได้บ้าง อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺสาปิ ทิฏฺุชุกมฺมภาโว แม้ความที่จิตเป็นญาณวิปยุตนั้นเป็นทิฏฐุชุกรรม อุปปชฺชติ จึงถูกต้อง อิติ แล ฯ อลํ พอกันที อติปปฺ เจน ไม่ต้องให้พิศดารมากนัก ฯ ปน ก็ อิเมสุ ทสสุ บรรดาบุญกิริยาวัตถุ ๑๐ ประการมีทานมัยเป็นต้นเหล่านี้ ปตฺติทานานุโมทนา ปัตติทานมัยกับปัตตานุโมทนามัย คจฺฉนฺติ ชื่อว่าย่อมถึง สงฺคหํ การรวมเข้า ทาเน ในทานมัย ตสภําวตฺตา เพราะมีภาวะเหมือนกับทานมัยนั้น ฯ หิความจริง ทานมฺปิ แม้ทานมัย ปฏิปกฺข ก็ย่อมเป็นข้าศึก ํ อิสฺสามจฺเฉรานํ ต่ออิสสาเจตสิกและมัจฉริยเจตสิก เอเตปิ ปัตติทานมัยกับปัตตานุโมทนามัย แม้เหล่านั้น ก็เป็นข้าศึกต่ออิสสาเจตสิกและมัจฉริยเจตสิก ตสฺมา เพราะเหตุนั้น เต ปัตติทานมัยกับปัตตานุโมทนามัยเหล่านั้น สงฺคยฺหนฺติ ท่านอาจารย์จึงรวมเข้า ทานมยปุฺ กิริยาวตฺถุมฺหิ ในทานมัยบุญกิริยาวัตถุ เอกลกฺขณตฺตา เพราะมีลักษณะ เป็นอย่างเดียวกัน สมานปฏิปกฺขตาย โดยมีข้าศึกเหมือนกัน ฯ อปจายนเวยฺยาวจฺจา อปจายนมัยและเวยยาวัจจมัย สงฺคยฺหนฺติ ท่านอาจารย์รวมเข้า สีลมยปุฺ เ ในศีลมัยบุญกิริยาวัตถุ จาริตฺตสีลภาวโต เพราะความเป็นจาริตศีล ฯ อาจริยธมฺมปาลตฺเถเรน วุตฺตํ ท่านอาจารย์ธรรมปาลเถระกล่าวว่า ปน ก็ เทสนาสวนทิฏฺุชุตา ธรรมเทสนามัย ธัมมัสสวนมัย และทิฏฐุชุกรรม คจฺฉนฺติ ย่อมถึง สงฺคหํ การรวมเข้า ภาวนามเย ในภาวนานัยบุญกิริยาวัตถุ กุสลธมฺมาเสวนโต เพราะเป็นการส้องเสพกุศลธรรม ฯ อปเร ปน วทนฺติ แต่อาจารย์อีกพวกหนึ่งกล่าวว่า เทเสนฺโต บุคคล ผู้แสดง สุณนฺโต จ และสดับอยู่ เทสนานุสาเรน าณํ เปเสตฺวา ส่งญาณไป ตามแนวแห่งเทศนา ลกฺขณานิปฏิวิชฺฌ ปฏิวิชฺฌ เทเสติสุณาติจ ย่อมแสดง และสดับธรรมรู้แจ้งไตรลักษณ์ ตานิจ เทสนาสวนานิปฏิเวธธมฺมเมว อาหรนฺติ และธรรมเทสนากับธัมมัสสวนะเหล่านั้นจึงชื่อว่าย่อมน�ำปฏิเวธธรรมมาได้แน่นอน


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 225 อิติ เพราะเหตุนั้น เทสนาสวนํ ธรรมเทสนามัยกับธัมมัสสวนมัย ภาวนามเย สงฺคหํ คจฺฉติจึงถึงการรวมเข้าในภาวนามัยบุญกิริยาวัตถุ ฯ สกฺกา วตฺตุํ บัณฑิตอาจกล่าวได้ ธมฺมทานสภาวโต เทสนา ทานมเย สงคหํ คจฺฉตีติปิแม้ว่า ธรรมเทสนามัย ย่อมถึงการรวมเข้าในทานมัยบุญกิริยาวัตถุ เพราะมีภาวะเหมือนกับธรรมทาน ฯ ตถาหิ วุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาตีติว่า การให้ธรรม ย่อมชนะการให้ทั้งปวง ดังนี้เป็นต้น ฯ ตถา อนึ่ง ทิฏฺุชุกมฺมํ ทิฏฐุชุกรรม ย่อมถึงการรวมเข้า สพฺพตฺถาปิ ในบุญกิริยาวัตถุ ๙ ประการแม้ทั้งหมด สพฺเพสํ นิยมนลกฺขณตฺตา เพราะมี ลักษณะเป็นเครื่องก�ำหนดบุญกิริยาวัตถุ ๙ ประการทั้งปวง ฯ หิ ความจริง ทานาทีสุ บรรดาบุญกิริยาวัตถุมีทานมัยเป็นต้น ยงฺกิฺ จิ บุญกิริยาวัตถุอย่างใดอย่างหนึ่ง อตฺถิทินฺนนฺติอาทินยปฺปวตฺตาย สมฺมาทิฏฺิยา วิโสธิตํ อันสัมมาทิฏฐิซึ่งเป็นไปโดยนัยเป็นต้นว่า ทานที่บุคคลให้แล้ว ย่อมมีผลจริง ช�ำระให้สะอาดแล้ว มหปฺผลํ โหติมหานิสํสํ ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ ทีฆนิกายฏฺ- กถายํ...วุตฺตํ ในอรรถกถาทีฆนิกาย พระพุทธโฆษาจารย์จึงกล่าวว่า ทิฏฺุชุกมฺมํ ทิฏฐุชุกรรม สพฺเพสํ นิยมนลกฺขณํ มีลักษณะเป็นเครื่องก�ำหนดบุญกิริยาวัตถุ ๙ ประการทั้งปวง ฯ (สนฺนิฏานํ) ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความตกลงใจว่า สงฺเขปโต โดยย่อ ติวิธเมว ปุฺ กิริยาวตฺถุ โหติ บุญกิริยาวัตถุมีเพียง ๓ อย่างเท่านั้น อิตเรสํ สงฺคหณโต เพราะรวมบุญกิริยาวัตถุ ๗ อย่างนอกนี้ ทานสีลภาวนาวเสน ตีสุ เข้าในบุญกิริยาวัตถุ ๓ อย่าง คือ ทานมัย ๑ ศีลมัย ๑ ภาวนามัย ๑ เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ จ ก็ อาจริเยน เหฏฺา ทสฺสิตํ ท่านอาจารย์ได้แสดงไว้ข้างต้นแล้ว ตถา เอว อย่างนี้เหมือนกัน ฯ


226 ปริเฉทที่ ๕ (รูปาวจรกุสสํ) รูปาวจรกุศลกรรม มโนกมฺมเมว ชื่อว่าเป็นมโนกรรม อย่างเดียว กายทฺวาราทีสุ อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่เป็นไปในกายทวารเป็นต้น วิฺ ตฺติสมุฏฺาปกตาภาเวน เหตุไม่มีการยังวิญญัติให้ตั้งขึ้น ฯ ตฺ จ รูปาวจรกุสลํ และรูปาวจรกุศลกรรมนั้น ภาวนามย ชื่อว่าส� ํำเร็จมาจาก ภาวนา ทานาทิวเสน อปฺปวตฺตนโต เพราะไม่เป็นไปด้วยอ�ำนาจทานมัยบุญกิริยาวัตถุ เป็นต้น อปฺปนาปฺปตฺต ชื่อว่าถึงอัปปนาแล้ว ํ ปุพฺพภาคปฺปวตฺตานํ กามาวจรภาวโต เพราะกุศลกรรมทั้งหลายที่เป็นไปในส่วนเบื้องต้นเป็นกามาวจร ฯ ฌานงฺคเภเทนาติบทว่า ฌานงฺคเภเทน ความว่า ปน ก็ อเนกวิธตฺเตปิ แม้เมื่อรูปาวจรกุศลกรรมนั้นมีหลายประการ ปฏิปทาทิเภทโต โดยความต่างแห่งปฏิปทา เป็นต้น ปฺ จวิธํ โหติรูปาวจรกุศลกรรมนั้น ก็มี ๕ อย่าง นิพฺพตฺตชฺฌานงฺคเภทโต โดยประเภทแห่งองค์ฌานที่บังเกิด องฺคาติกฺกมนวเสน ด้วยอ�ำนาจล่วงเลยองค์ ฯ อาลมฺพนเภเทนาติ บทว่า อาลฺมพนเภเทน ความว่า ปเภเทน โดยประเภท อิเมสํ จตุนฺนํ อาลมฺพนานํ แห่งอารมณ์ ๔ เหล่านี้ อิติ คือ จตุพฺพิธํ อารมณ์มี ๔ อย่าง อิติ คือ กสิณุคฺฆาฏิมากาสํ อากาศที่เพิกกสิณ ๑ อากาสวิสยํ มโน วิญญาณซึ่งมีอากาศเป็น อารมณ์ ๑ ตทภาโว ความไม่มีแห่งวิญญาณนั้น ๑ ตทาลมฺพํ วิฺ าณํ วิญญาณซึ่งมีความไม่มีแห่งวิญญาณนั้นเป็นอารมณ์ ๑ ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ ความว่า อิเมสุ ปากฏฺานวเสน จตุพฺพิเธสุ กมฺเมสุ บรรดากรรม ๔ อย่าง ด้วยอ�ำนาจสถานที่ให้ผล เหล่านี้ ฯ อุทฺธจฺจรหิตนฺติ บทว่า อุทฺธจฺจรหิตํ ความว่า เอกาทสวิธํ อกุสลกมฺมํ อกุศลกรรม ๑๑ อย่าง อุทฺธจฺจสหคตเจตนารหิต เว้นจิตที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ฯ ํ ถามว่า ปน ก็ กึ อะไร การณํ เป็นเหตุ เอตฺถ ในค�ำนี้ว่า วิจิกิจฺฉาสหคตํ อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก สพฺพทุพฺพลมฺปิ แม้จะมีพลังเพลากว่า อกุศลกรรมทั้งหมด อธิโมกฺขวิรเหน เพราะเว้นจากอธิโมกข์เจตสิก อากฑฺฒติ ปฏิสนฺธึ ก็ย่อมชักปฏิสนธิมาได้ อุทฺธจฺจสหคตํ อกุศลกรรมที่สหรคตด้วย


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 227 อุทธัจจเจตสิก ตโต พลวนฺตมฺปิ แม้จะมีพลังแรงกว่าอกุศลกรรมที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาเจตสิกนั้น อธิโมกฺขสมฺปโยเคน เพราะประกอบด้วยอธิโมกข์เจตสิก ตํ นากฑฺฒติก็ย่อมชักปฏิสนธินั้นมาไม่ได้ อิติ ดังนี้ ฯ ตอบว่า ปฏิสนฺธิทานสภาวาภาวโต เพราะอกุศลกรรมที่สหรคตด้วย อุทธัจจเจตสิกนั้น ไม่มีสภาวะคือการให้ปฏิสนธิ ฯ หิความจริง ปฏิสนฺธิทานสภาเวสุเยว ในกรรมทั้งหลายที่มีสภาวะคือการให้ ปฏิสนธินั่นเอง อยํ วิจารณา ก็ยังมีข้อที่ควรพิจารณาดังนี้ว่า พลวํ อากฑฺฒติ กรรมที่มีพลังแรง ย่อมชักปฏิสนธิมาได้ ทุพฺพลํ นากฑฺฒติกรรมที่มีพลังอ่อน ย่อมชักปฏิสนธิมาไม่ได้ ฯ ปน ส่วน ยสฺส กรรมใด ปฏิสนฺธิทานสภาโวเยว นตฺถิ ไม่มี สภาวะคือ การให้ปฏิสนธิเลย ตสฺส กรรมนั้น พลวภาโว ถึงจะมีพลังแรง น ปฏิสนฺธิอากฑฺฒเน การณํ ก็ไม่เป็นเหตุในการชักปฏิสนธิมา ฯ ถามว่า กถมฺปเนตํ วิฺ าตพฺพํ ก็พวกเราจะพึงทราบถึงค�ำนี้ได้อย่างไรว่า อุทฺธจฺจสหคตสฺส อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ปฏิสนฺธิทานสภาโว นตฺถิ ไม่มีสภาวะคือการให้ปฏิสนธิ ฯ ตอบว่า บัณฑิตทั้งหลายพึงทราบถึงค�ำนี้ได้ ทสฺสเนน ปหาตพฺเพสุ อนาคตตฺตา เพราะอกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น มิได้มาในหมวด อกุศลธรรมอันทัสสนะ (โสดาปัตติมรรค) พึงละ ฯ หิ ความจริง ติวิธา อกุสลา อกุศลธรรมมี ๓ หมวด คือ ทสฺสเนน ปหาตพฺพา อกุศลธรรมอันทัสสนะพึงละหมวด ๑ ภาวนาย ปหาตพฺพา อกุศลธรรม อันภาวนาพึงละหมวด ๑ สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา สิยา ภาวนาย ปหาตพฺพา อกุศลธรรมบางทีอันทัสสนะพึงละ บางทีอันภาวนาพึงละหมวด ๑ ฯ ตตฺถ บรรดาอกุศลธรรม ๓ หมวดนั้น ทิฏฺิสหคตวิจิกิจฺฉาสหคตจิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยทิฏฐิ และจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา นาม ชื่อว่าอกุศลธรรมอันทัสสนะพึงละ ปมํ นิพฺพาน-


228 ปริเฉทที่ ๕ ทสฺสนวเสน ทสฺสนนฺติลทฺธนาเมน โสตาปตฺติมคฺเคน ปหาตพฺพตฺตา เพราะ เป็นสภาวธรรมอันโสดาปัตติมรรค ซึ่งได้นามว ่าทัสสนะ ด้วยอ�ำนาจเห็น พระนิพพานก่อน พึงละ ฯ อุทฺธจฺจสหคตจิตฺตุปฺปาโท จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ภาวนาย ปหาตพฺโพ นาม ชื่อว่าอกุศลธรรมอันภาวนาพึงละ อคฺคมคฺเคน ปหาตพฺพตฺตา เพราะเป็นสภาวธรรมอันอรหัตตมรรคพึงละ ฯ หิความจริง อุปริมคฺคตฺตยํ มรรค ๓ ประการเบื้องสูง ภาวนาติ วุจฺจติ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า ภาวนา ปมมคฺเคน ทิฏฺนิพฺพาเน ภาวนาวเสน ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปด้วยอ�ำนาจภาวนาในพระนิพพานอันโสดาปัตติมรรคเห็นแล้ว ฯ ปน ส่วน ทิฏฺิวิปฺปยุตฺตโทมนสฺสสหคตจิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาทที่เป็น ทิฏฐิวิปยุต และจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโทมนัส สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา สิ ยา ภาวนาย ปหาตพฺพา นาม ชื่อว่าอกุศลธรรม บางทีอันทัสสนะพึงละ บางที อันภาวนาพึงละ เตสํ อปายนิพฺพตฺตกาวตฺถาย ปมมคฺเคน ปหิยฺยมานตฺตา เพราะข้อก�ำหนดกิเลสที่ให้สัตว์บังเกิดในอบายภูมิแห่งจิตตุปบาทที่เป็นทิฏฐิวิปยุต และจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยโทมนัสเหล่านั้น อันโสดาปัตติมรรคละได้ เสสพหลาพหลาวตฺถาย อุปริมคฺเคหิ ปหิยฺยมานตฺตา (และ) เพราะข้อก�ำหนดกิเลสที่ หนาแน่นซับซ้อนที่เหลือ อันมรรคเบื้องสูงทั้งหลายละได้ ฯ ตตฺถ ในอกุศลธรรม ๓ หมวดนั้น สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพมฺปิ แม้ อกุศลธรรมบางทีอันทัสสนะพึงละ ทสฺสเนน ปหาตพฺพนฺติโวหรนฺติท่านอาจารย์ ทั้งหลายก็เรียกว่า อันทัสสนะพึงละ อิธ ในค�ำว่า ทสฺสเนน ปหาตพฺเพสุ นี้ ทสฺสเนน ปหาตพฺพสามฺ เน โดยความเป็นสภาวธรรมอันทัสสนะพึงละ เหมือนกัน ฯ จ ก็ ยทิ ถ้าว่า อุทฺธจฺจสหคต อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ํ ปฏิสนฺธึทเทยฺย พึงให้ ปฏิสนธิได้ไซร้ ตทา ในกาลนั้น อปาเยเสฺวว ทเทยฺย อกุศลกรรมที่สหรคต ด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น พึงให้ปฏิสนธิ ในอบายภูมิเท่านั้น


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 229 อกุสลปฏิสนฺธิยา สุคติยํ อสมฺภวโต เพราะปฏิสนธิแห่งอกุศลกรรมไม่เกิดมีใน สุคติภูมิ ฯ จ ก็ อปายคามินิยํ อกุศลกรรมที่ให้สัตว์ไปสู่อบายภูมิ อวสฺสํ ทสฺสเนน ปหาตพฺพํ สิยา จะต้องเป็นอกุศลกรรมอันทัสสนะพึงละแน่แท้ ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ เสกฺขานํ อปายุปปตฺติอาปชฺชติ พระเสขบุคคลทั้งหลายจะต้องเกิดในอบายภูมิ อปายคามินิยสฺส อปฺปหีนตฺตา เพราะยังละอกุศลกรรมที่ให้สัตว์ไปสู่อบายภูมิไม่ได้ ฯ จ ปน ก็แล เอตํ การที่พระเสขบุคคลทั้งหลายจะต้องเกิดในอบายภูมินี้ น ยุตฺตํ ไม่ถูกต้อง จตูหปาเยหิจ วิปฺปมุตฺโต อวินิปาตธมฺโมติอาทิวจเนหิ สห วิชฺฌนโต เพราะผิดกับพระพุทธพจน์เป็นต้นว่า ก็พระโสดาบันเป็นผู้พ้นแล้ว จากอบายภูมิ ๔ เป็นผู้ไม่ตกลงสู่เบื้องต�่ำเป็นธรรมดา ดังนี้ ฯ จ ปน ก็แล สติเอตสฺส ทสฺสเนน ปหาตพฺพภาเว เมื่อภาวะที่อกุศลกรรม ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น อันทัสสนะพึงละมีอยู่ สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพาติ อิมสฺส วิภงฺเค วตฺตพฺพํ สิยา พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงตรัสอกุศลกรรมที่สหรคต ด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นไว้ในวิภังค์แห่งค�ำว่า สิยา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา นี้ จ ปน ก็แล เอตํ อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนี้ น วุตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้า มิได้ตรัสไว้แล้ว ฯ อถ สิยา ถ้าพึงมีค�ำท้วงว่า อปายคามินิโย ราโค โทโส โมโห ตเทกฏฺา จ กิเลสาติ เอวํ ทสฺสเนน ปหาตพฺเพสุ วุตฺตตฺตา เพราะกิเลสทั้งหลาย พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในหมวดอกุศลธรรมอันทัสสนะพึงละอย่างนี้ว่า ราคะ โทสะ โมหะ และกิเลสทั้งหลายที่อยู่ในประเภทเดียวกันกับราคะเป็นต้นนั้น ที่ให้สัตว์ไปสู่อบายภูมิ ดังนี้เป็นต้น อุทฺธจฺจสหคตเจตนาย ตตฺถ สงฺคโห สกฺกา กาตํุบัณฑิตจึงสามารถท�ำการรวมเจตนาที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก เข้าในหมวด อกุศลธรรมอันทัสสนะพึงละนั้นได้ ฯ


230 ปริเฉทที่ ๕ พึงมีค�ำตอบว่า ตํ น ข้อนั้นไม ่พึงมี ตสฺส เอกนฺตโต ภาวนาย ปหาตพฺพภาเวเนว วุตฺตตฺตา เพราะอกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้โดยความเป็นอกุศลกรรมอันภาวนาพึงละ โดยแน่นอน นั่นเอง ฯ วุตฺตฺเหตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ กตเม ธมฺมา ภาวนาย ปหาตพฺพา อุทฺธจฺจสหคโต จิตฺตุปฺปาโทติ ดังนี้ว่า ธรรมทั้งหลายอัน ภาวนาพึงละ เป็นไฉน คือ จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ดังนี้เป็นต้น ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ทสฺสเนน ปหาตพฺเพเสฺวว อวจนํ การไม่ตรัส อกุศลกรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นไว้ในหมวดอกุศลธรรมอันทัสสนะ พึงละนั่นแหละ อิมสฺส ปฏิสนฺธิทานาภาวํ สาเธติย่อมให้ส�ำเร็จความว่าอกุศลกรรม ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนี้ไม่มีการให้ปฏิสนธิ ฯ ถามว่า จ ก็ ปฏิสมฺภิทาวิภงฺเค ในปฏิสัมภิทาวิภังค์ เอวํ อุทฺธจฺจสหคตจิตฺตุปฺปาทํ อุทฺธริตฺวา ตสฺส วิปาโกปิ อุทฺธโฏ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยก จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกขึ้นแสดงแล้วทรงยกแม้วิบากแห่งจิตตุปบาท ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นขึ้นแสดงไว้อย่างนี้ว่า ยสฺมึ สมเย ในสมัยใด อกุสลํ จิตฺตํ อกุศลจิต อุเปกฺขาสหคตํ อุทฺธจฺจสมฺปยุตฺตํ ที่สหรคตด้วยอุเบกขา สัมปยุตด้วยอุทธัจจเจตสิก รูปารมฺมณํ วา ฯเปฯ ธมฺมารมฺมณํ วา ยํ ยํ วา ปนารพฺภ ปรารภรูปารมณ์ ฯลฯ ธรรมารมณ์ ก็หรือว่าอารมณ์ใด ๆ อุปฺปนฺนํ โหติ เกิดขึ้น ตสฺมึ สมเย ในสมัยนั้น ผสฺโส โหติ ฯเปฯ อวิกฺเขโป โหติ ย่อมมีผัสสะ ฯลฯ มีความไม่ฟุ้งซ่าน อิเม ธมฺมา ธรรมเหล่านี้ อกุสลา ชื่อว่า อกุศลธรรม อิเมสุ ธมฺเมสุ าณํ ญาณในธรรมเหล่านี้ ธมฺมปฏิสมฺภิทา ชื่อว่า ธัมมปฏิสัมภิทา เตสํ วิปาเก าณํ ญาณในวิบากแห่งธรรมเหล่านั้น อตฺถปฏิสมฺภิทา ชื่อว่าอัตถปฏิสัมภิทา อิติ ดังนี้ นนุ มิใช่หรือ อิติ เพราะเหตุนั้น กถมสฺส ปฏิสนฺธิทานาภาโว สมฺปฏิจฺฉิตพฺโพ พวกท่านจะพึงรับรองว่าจิตตุปบาทที่ สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นไม่มีการให้ปฏิสนธิได้อย่างไร ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 231 ตอบว่า อย วิบากแห่งจิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนี้ ํ ปฏิสนฺธิทานํ สนฺธาย อุทฺธโฏ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยกขึ้นแสดงมุ่งถึงการให้ปฏิสนธิจิต น หามิได้ อถโข โดยที่แท้ ปวตฺติวิปากํ สนฺธาย อุทฺธโฏ ทรงยกขึ้นแสดง โดยมุ่งถึงวิบากจิตในปวัตติกาล ฯ ปน ส่วน ปฏฺาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน พระผู้มีพระภาคเจ้า ทสฺสเนน ปหาตพฺพเจตนาย เอว สหชาตนานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาวํ อุทฺธริตฺวา ทรงยก ความที่เจตนาอันโสดาปัตติมรรคพึงละนั่นแหละเป็นกรรมปัจจัยที่เกิดร่วมกันและ เกิดในขณะต่างกันขึ้นแสดงว่า สหชาตา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา เจตนา เจตนาที่ เกิดร่วมกันอันโสดาปัตติมรรคพึงละ จิตฺตสมุฏฺานานํ รูปานํ กมฺมปจฺจเยน ปจฺจโย เป็นปัจจัย โดยกรรมปัจจัย แก่รูปทั้งหลายที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน นานากฺขณิกา ทสฺสเนน ปหาตพฺพา เจตนา เจตนาที่เกิดในขณะต่างกันอันโสดาปัตติมรรค พึงละ วิปากานํ ขนฺธานํ กตตฺตารูปานฺ จ กมฺมปจฺจเยน ปจฺจโย เป็นปัจจัย โดยกรรมปัจจัย แก่วิบากขันธ์และกตัตตารูป ภาวนาย ปหาตพฺพเจตนาย สหชาตกมฺมปจฺจยภาโวว อุทฺธโฏ แล้วทรงยกเฉพาะความที่เจตนาอันภาวนา พึงละ เป็นกรรมปัจจัยที่เกิดร่วมกันขึ้นแสดงว่า สหชาตา ภาวนาย ปหาตพฺพา เจตนา เจตนาที่เกิดร่วมกัน อันภาวนาพึงละ จิตฺตสมุฏฺานานํ รูปานํ กมฺมปจฺจ เยน ปจฺจโย เป็นปัจจัย โดยกรรมปัจจัย แก่รูปทั้งหลาย ที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน โดยกรรมปัจจัย อิติ ดังนี้ น ปน นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาโว แต่หาทรงยก ความที่เจตนาอันภาวนาพึงละ เป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกันขึ้นแสดงไม่ ฯ จ ก็ จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยํ วินา เว้นเจตนาที่เป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกันเสีย น ปฏิสนฺธิอากฑฺฒนํ อตฺถิ หาชักปฏิสนธิมาได้ไม่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น นตฺถิ ตสฺส สพฺพถาปิ ปฏิสนฺธิทานํ จิตตุปบาทที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้น จึงไม่มีการให้ปฏิสนธิ แม้โดยประการทั้งปวง อิติ แล ฯ


232 ปริเฉทที่ ๕ ปน ฝ่าย ยํ เอเก วทนฺติอาจารย์พวกหนึ่งกล่าวค�ำใดไว้ว่า อุทฺธจฺจเจตนา อุภยวิปากมฺปิ น เทติ เจตนา (จิต) ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ย่อมไม่ให้ แม้วิบากทั้งสองอย่าง ปฏฺาเน นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา เพราะในคัมภีร์ปัฏฐาน พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรงยกเจตนาอันภาวนาพึงละ ว่าเป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกันขึ้นแสดงไว้ ดังนี้ ฯ ตํ ค�ำนั้น เตสํ มติมตฺตํ เป็นเพียงมติของอาจารย์พวกหนึ่งเหล่านั้น ปฏิสมฺภิทาวิภงฺเค อุทฺธจฺจสหคตานมฺปิ ปวตฺติวิปากสฺส อุทฺธฏตฺตา เพราะใน คัมภีร์ปฏิสัมภิทาวิภังค์ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยกวิบากในปวัตติกาล แม้แห่ง อกุศลกรรมทั้งหลายที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกขึ้นแสดงไว้ ปฏฺาเน จ ปฏิสนฺธิ วิปากาภาวเมว สนฺธาย นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา และ เพราะในคัมภีร์ปัฏฐานพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงหมายถึงความไม่มีวิบากในปฏิสนธิกาล เท่านั้น จึงไม่ทรงยกเจตนาอันทัสสนะพึงละว่าเป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกัน ขึ้นแสดงไว้ ฯ หิก็ ยทิ ถ้าว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ปวตฺตวิปากํ สนฺธาย พึงทรงหมายถึง วิบากในปวัตติกาลแล้ว นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาโว วุจฺเจยฺย ตรัสว่าเจตนา อันทัสสนะพึงละเป็นกรรมปัจจัยที่เกิดในขณะต่างกันไว้ไซร้ ตทา ในกาลนั้น ปฏิสนฺธิวิปากมฺปิสฺส มฺ เยฺยุํ ชนผู้ฟังทั้งหลาย จะพึงเข้าใจอกุศลกรรม ที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นว่ามีวิบากในปฏิสนธิกาลด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น ลพฺภมานสฺสาปิปวตฺติวิปากสฺส วเสน นานากฺขณิกกมฺมปจฺจยภาโว น วุตฺโต พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสว่าเจตนาอันภาวนาพึงละเป็นกรรมปัจจัยที่เกิด ในขณะต่างกันด้วยอ�ำนาจวิบากในปวัตติกาลแม้ที่หาได้อยู่ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น น สกฺกา ตสฺส ปวตฺติวิปากํ นิวาเรตุํ อาจารย์ทั้งหลาย บางพวกจึงไม่สามารถจะห้ามวิบากในปวัตติกาลแห่งเจตนากรรมที่สหรคตด้วย อุทธัจจเจตสิกนั้นได้ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 233 เตนาห ปวตฺติยมฺปนาติอาทิ เพราะเหตุนั้น ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวว่า ปวตฺติยมฺปน ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน อาจริยพุทฺธมิตฺตาทโย อาจารย์ทั้งหลายมีอาจารย์พุทธมิตรเป็นต้น เอวํ อุทฺธจฺจสหคตํ ทฺวิธา วิภชิตฺวา จ�ำแนกเจตนากรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิก ออกเป็น ๒ ประการอย่างนี้ว่า อตฺถิ อุทฺธจฺจสหคตํ ภาวนาย ปหาตพฺพมฺปิ เจตนากรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกอันภาวนาพึงละก็มี อตฺถิ น ภาวนาย ปหาตพฺพมฺปิ ไม่ใช่อันภาวนาพึงละก็มี เตสุ บรรดาเจตนากรรม ๒ อย่างนั้น ภาวนาย ปหาตพฺพํ เจตนากรรมอันภาวนาพึงละ เสกฺขสนฺตานปฺปวตฺตํ เป็นไป ในสันดานของพระเสขบุคคล อิตรํ เจตนากรรมไม่ใช่อันภาวนพึงละนอกนี้ ปุถุชฺชนสนฺตานปฺปวตฺตํ เป็นไปในสันดานของปุถุชน จ ส่วน ผลทานํ การให้ผล ปุถุชฺชนสนฺตานปฺปวตฺตสฺเสว มีเฉพาะเจตนากรรมที่เป็นไปในสันดานของปุถุชนเท่านั้น น เอตรสฺส หามีแก่เจตนากรรมที่เป็นไปในสันดานของพระเสขบุคคลนอกนี้ไม่ อิติ ดังนี้ เอกสฺส อุภยวิปากทานํ เอกสฺส สพฺพถาปิวิปากาภาวํ วณฺเณนฺติ แล้วพรรณนาว่าเจตนากรรมอย่างหนึ่งให้วิบากทั้งสองอย่าง เจตนากรรมอีกอย่างหนึ่ง ไม่มีวิบาก แม้โดยประการทั้งปวง ฯ ปน ก็ เอตฺถ ในค�ำว่า อตฺถิอุทฺธจฺจสหคตํ ฯเปฯ เนตรสฺส นี้ โย เตสํ วินิจฺฉโย ข้อวินิจฉัยของพระอาจารย์พุทธมิตรเป็นต้นเหล่านั้นอันใด ยฺ จ ตสฺส นิรากรณํ การคัดค้านข้อวินิจฉัยของพระอาจารย์พุทธมิตรเป็นต้นนั้นอันใด ยฺ จ สพฺพถาปิ วิปากาภาววาทีนํ มตปฏิกฺเขปนํ และการปฏิเสธมติของอาจารย์ ทั้งหลายผู้มีปกติกล่าวว่าเจตนากรรมที่สหรคตด้วยอุทธัจจเจตสิกนั้นไม่มีวิบาก แม้โดยประการทั้งปวงอันใด อิธ อวุตฺตํ อันข้าพเจ้ามิได้กล่าวไว้ในฎีกานี้ ฯ ตํ สพฺพํ ข้อวินิจฉัยเป็นต้นนั้นทั้งหมด วุตฺตนเยน เวทิตพฺพํ บัณฑิตพึงทราบ ตามนัยที่ท่านกล่าวไว้ ปรมตฺถมฺ ชูสาทีสุ ในคัมภีร์ทั้งหลายมีคัมภีร์ปรมัตถมัญชุสา เป็นต้น วิเสสโต จ อภิธมฺมตฺถปกาสินิยา นาม อภิธมฺมาวตารสํวณฺณนาย และ ตามที่ท่านกล่าวไว้โดยพิสดาร ในฎีกาอภิธัมมาวตาร ชื่ออภิธัมมัตถปกาสินี ฯ


234 ปริเฉทที่ ๕ สพฺพตฺถาปิ กามโลเกติ สองบทว่า สพฺพตฺถาปิ กามโลเก ความว่า สพฺพสฺมิมฺปิ กามโลเก ในโลกที่เป็นกามาวจรแม้ทั้งหมด สุคติทุคฺคติวเสน ด้วยอ�ำนาจสุคติและทุคติ ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารห คือ ํทฺวาราลมฺพนานุรูป สมควรแก่ทวารและอารมณ์ ฯ ยํ นาคสุปณฺณาทีนํ มหาสมฺปตฺติวิสยํ วิปากวิฺ าณํ วิบากจิตซึ่งมี มหาสมบัติเป็นอารมณ์ที่เกิดแก่พวกอเหตุกสัตว์มีนาคและครุฑเป็นต้น ยฺ จ นิรยวาสีนํ มหาโมคฺคลฺลานตฺเถรทสฺสนาทีสุ อุปฺปชฺชติ วิปากวิฺ าณํ และ วิบากจิตที่เกิดแก่พวกสัตว์นรกในเพราะเหตุทั้งหลายมีเห็นพระมหาโมคคัลลานเถระ เป็นต้น อปาเยสุปิ แม้ในอบายภูมินั้น ตํ กุสลกมฺมสฺเสว ผลํ ก็เป็นผลแห่ง กุศลกรรมนั่นแหละ ฯ หิจริงอยู่ อกุสลสฺส อกุศลกรรม น อิฏฺวิปาโก สมฺภวติจะเกิดวิบาก ที่น่าปรารถนา ไม่ได้ อิติ แล ฯ วุตฺตฺ เหตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ อฏฺานเมตํ ภิกฺขเว อโนกาโส ยํ อกุสลสฺส กมฺมสฺส อิฏฺโ กนฺโต วิปาโก สํวิชฺชตีติ ดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่อกุศลกรรมมีวิบากน่าปรารถนา น่าใคร่ นี้ไม่ใช่ ฐานะ ไม่ใช่โอกาส ดังนี้เป็นต้น ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น กุสลกมฺมํ กุศลกรรม อปาเยปิอเหตุกวิปากานิชเนติ จึงให้อเหตุกวิบากเกิดได้แม้ในอบายภูมิ ยถารหํ รูปาทิวิสยานิตานิ อภินิปฺผาเทติ และให้อเหตุกวิบากเหล่านั้น ซึ่งมีรูปเป็นต้นเป็นอารมณ์ ส�ำเร็จได้ตามสมควร รูปโลเกปิ แม้ในโลกที่เป็นรูปาวจร รูปาวจรกมฺเมน อเหตุกวิปากุปฺปตฺติยา อภาวโต เพราะการเกิดขึ้นแห่งอเหตุกวิบาก ด้วยรูปาวจรกรรมไม่มี อฺ ภูมิกสฺส จ กมฺมสฺส อฺ ภูมิกวิปากาภาวโต เหตุที่กรรมในภูมิอื่นจะมีวิบากในภูมิอื่นไม่ได้ กามวิราคภาวนาย กามตณฺหาวิสยวิฺ าณุปฺปาทนาโยคโต เหตุไม่ประกอบด้วย ความเกิดขึ้นแห่งวิญญาณจิตซึ่งมีกามตัณหาเป็นอารมณ์ ด้วยภาวนาเป็นเครื่อง ส�ำรอกกาม เอกนฺตสทิสวิปากตฺตา จ มหคฺคตานุตฺตรกุสลานํ และเหตุที่


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 235 มหัคคตกุศลและโลกุตตรกุศลต่างก็มีวิบากเหมือนกันแน่นอน อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ สพฺพตฺถาปิกามโลเกติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า สพฺพตฺถาปิ กามโลเก ดังนี้เป็นต้น ฯ (จบ ๒๕๑๔) ทสฺเสตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หวังจะแสดงว่า ปน ก็ เอวํ วิปจฺจนฺตํ กมฺมํ กรรมเมื่อจะเผล็ดผลอย่างนั้น ติธา วิปจฺจติ ย่อมเผล็ดผลเป็น ๓ หมวด โสฬสกทฺวาทสกอฏฺกวิปากวเสน คือ วิบากจิต ๑๖ ดวง หมวด ๑ วิบากจิต ๑๒ ดวง หมวด ๑ วิบากจิต ๘ ดวง หมวด ๑ ตตฺถาปีติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าว ค�ำว่า ตตฺถาปิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถาปีติ บทว่า ตตฺถาปิ ได้แก่ เอวํ วิปจฺจมาเนปิกุสลกมฺเม ในกุศลกรรม แม้ที่เผล็ดผลอยู่อย่างนี้ ฯ อุกฺกฏฺนฺติ บทว่า อุกฺกฏํ ความว่า วิสิฏฺํ ชื่อว ่าอันพิเศษสุด กุสลปริวารลาภโต เพราะได้กุศลเป็นบริวาร ปจฺฉา อาเสวนปฺปวตฺติยา วา หรือเพราะความเป็นไปแห่งความเสพคุ้นในภายหลัง ฯ หิความจริง ยํ กมฺมํ กรรมใด อตฺตโน ปวตฺติกาเล ปุริมปจฺฉาภาคปวตฺเตหิ กุสลกมฺเมหิ ปริวาริตํ อันกุศลกรรมทั้งหลายที่เป็นไปในกาลเบื้องต้น และ กาลภายหลังแวดล้อมแล้ว ในปวัตติกาลแห่งตน ปจฺฉา วา อาเสวนลาเภน สมุทาจิณฺณํ หรืออันบุคคลสั่งสมเนือง ๆ โดยได้ความเสพคุ้นในภายหลัง ตํ กรรมนั้น อุกฺกฏฺํ ชื่อว่าเป็นกรรมอุกฤษฏ์ ฯ ปน ส่วน ย กรรมใด ํกรณกาเล อกุสลกมฺเมหิปริวาริตํ อันอกุศลกรรม ทั้งหลายแวดล้อมในเวลากระท�ำ ปจฺฉา วา ทุกฺกฏเมตํ มยาติวิปฺปฏิสารุปฺปาทเนน ปริภาวิตํ หรือในเวลาภายหลัง อันบุคคลให้เจริญแล้ว โดยการยังความเดือดร้อน ใจให้เกิดขึ้นว่า กรรมนี้เราท�ำไว้แล้วไม่ดี ดังนี้ ตํ กรรมนั้น โอมกนฺติ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นว่า เป็นกรรมอันทราม ฯ ปฏิสนฺธินฺติบทว่า ปฏิสนฺธึ ได้แก่ เอกเมว ปฏิสนฺธึ ซึ่งปฏิสนธิครั้งเดียว เท่านั้น ฯ


236 ปริเฉทที่ ๕ หิความจริง ปฏิสนฺธิ ปฏิสนธิจิต โหติ ย่อมมี อเนกาสุ ชาตีสุ ในชาติ เป็นอันมาก เอเกน กมฺเมน ด้วยกรรมอันเดียวกัน น หามิได้ ฯ ปน แต่ ปวตฺติวิปาโก วิบากในปวัตติกาล โหติ ย่อมมีได้ ชาติสเต ตั้ง ๑๐๐ ชาติ ชาติสหสฺเสปิ ตั้ง ๑,๐๐๐ ชาติ ฯ ยถาห เหมือนอย่างที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ติรจฺฉานคเต ทานํ ทตฺวา สตคุณา ทกฺขิณา ปาฏิกงฺขิตพฺพาติว่า ผู้ให้ทานในสัตว์ดิรัจฉานพึงหวังอานิสงส์ ๑๐๐ เท่า ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ก็ ยสฺมา เพราะ าณํ ญาณ ปฏิปกฺข เป็นปฏิปักษ์ ํ โมหสฺส ต่อโมหะ สพฺพากุสลสฺเสว วา หรือต่ออกุศลทั้งปวงนั่นเทียว ชจฺจนฺธาทิวิปตฺตินิมิตฺตสฺส อันมีวิบัติมีบอดแต่ก�ำเนิดเป็นต้นเป็นนิมิต ตสฺมา ฉะนั้น ตํสมฺปยุตฺตํ กมฺมํ กรรมอันสัมปยุตด้วยญาณนั้น ชจฺจนฺธาทิวิปตฺติปจฺจยํ น โหติจึงไม่เป็นปัจจัย แก่วิบัติมีบอดแต่ก�ำเนิดเป็นต้น อิติ เหตุนั้น เอตฺถ บรรดาติเหตุกกรรมและ ทุเหตุกกรรมนี้ ติเหตุกํ ติเหตุกกรรม อติทุพฺพลมฺปิสมานํ แม้จะทุรพลอย่างยิ่ง ทุเหตุกปฏิสนฺธิเมว อากฑฺฒติ ก็ยังชักพาทุเหตุกปฏิสนธิมาได้นั่นเอง นาเหตุกํ ไม่ใช่พาอเหตุกปฏิสนธิมา ฯ จ ส่วน ทุเหตุกํ กมฺม ทุเหตุกกรรม ํอสมตฺถ ไม่สามารถ ํ าณผลุปฺปาเทน ในอันยังวิบากอันสัมปยุตด้วยญาณให้เกิด าณสมฺปโยคาภาวโต เพราะไม่มีความ ประกอบด้วยญาณ ยถาตํ อโลภสมฺปโยคาภาวโต อโลภผลุปฺปาเทน อสมตฺถ อกุสลกมฺมํ เหมือนดังอกุศลกรรมไม่สามารถในการให้วิบากอันสัมปยุตด้วยอโลภะให้เกิด เพราะไม่มีความประกอบด้วยอโลภะ ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ทุเหตุกกรรมนั้น อติอุกฺกฏฺมฺปิ สมานํ แม้จะอุกฤษฏ์อย่างยิ่ง ทุเหตุกเมว ปฏิสนฺธึ อากฑฺฒติ ก็ชักพาทุเหตุกปฏิสนธิเท่านั้นมาได้ น ติเหตุกํ ชักพาติเหตุกปฏิสนธิมาไม่ได้ อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ติเหตุกโมมกํ ทุเหตุกมุกฺกฏฺฺ จาติอาทิ พระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวไว้เป็นต้นว่า ติเหตุกกรรมอย่างเพลา และทุเหตุกกรรมอย่างอุกฤษฏ์ ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 237 เอตฺถ สิยา ในอธิการที่ติเหตุกกรรมชักพาทุเหตุกปฏิสนธิมานี้ พึงมีค�ำท้วงว่า หิ เหมือนอย่าง ปฏิสมฺภิทามคฺเค ในปฏิสัมภิทามรรค อฏฺนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา าณสมฺปยุตฺตุปปตฺติ(วุตฺตา) พระสารีบุตรเถระกล่าวถึงความเกิดแห่งวิบากจิต อันสัมปยุตด้วยญาณ เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๘ ประการ กุสลกมฺมสฺส ชวนกฺขเณ ติณฺณํ นิกนฺติกฺขเณ ทฺวินฺนํ ปฏิสนฺธิกฺขเณ ติณฺณฺ จ เหตูนํ วเสน คือ ๓ ประการ ในชวนขณะแห่งกุศลกรรม ๒ ประการ ในนิกันติขณะ และ ๓ ประการ ในปฏิสนธิขณะว่า คติสมฺปตฺติยา าณสมฺปยุตฺเต อฏฺนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา อุปปตฺติโหตีติ ความเกิดแห่งวิบากจิตอันสัมปยุตด้วยญาณ ย่อมมี เพราะปัจจัย แห่งเหตุ ๘ ประการ ในเมื่อมีความถึงพร้อมแห่งคติ ในเมื่อปฏิสนธิอันสัมปยุต ด้วยญาณอันติเหตุกกรรมพึงให้ส�ำเร็จ ตถา อนึ่ง ฉนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา าณวิปฺปยุตฺตุปปตฺติ วุตฺตา กล่าวความเกิดแห่งวิบากจิตอันเป็นญาณวิปยุต เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๖ ประการ ชวนกฺขเณ ทฺวินฺนํ นิกนฺติกฺขเณ ทฺวินฺนํ ปฏิสนฺธิกฺขเณ ทฺวินฺนฺ จ วเสน คือ ในชวนขณะ ๒ ประการ ในนิกันติขณะ ๒ ประการ ในปฏิสนธิขณะ ๒ ประการว่า คติสมฺปตฺติยา าณวิปฺปยุตฺเต ฉนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา อุปปตฺติโหตีติความเกิดแห่งทุเหตุกวิบากย่อมมี เพราะ ปัจจัยแห่งเหตุ ๖ ประการ ในเมื่อมีความถึงพร้อมแห่งคติ ในเมื่อปฏิสนธิ อันปราศจากญาณอันทุเหตุกกรรมพึงให้ส�ำเร็จ ยถา ฉันใด ติเหตุกสฺส ทุเหตุกปฏิสนฺธิอากฑฺฒนํ การที่ติเหตุกกรรมชักน�ำทุเหตุกปฏิสนธิมา นตฺถิ เป็นอันว่าไม่มี เอวํ ฉันนั้น ติเหตุกกมฺเมน ทุเหตุกปฏิสนฺธิยา อวุตฺตตฺตา เพราะทุเหตุกปฏิสนธิพระสารีบุตรเถระไม ่ได้กล ่าวไว้ โดยติเหตุกกรรมว ่า คติสมฺปตฺติาณวิปฺปยุตฺเต สตฺตนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา อุปปตฺติ โหตีติ ความเกิดแห่งทุเหตุกวิบากย่อมมี เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๗ ประการ ในเมื่อ ความถึงพร้อมแห่งคติ และปฏิสนธิที่ปราศจากญาณอันทุเหตุกกรรมพึงให้ส�ำเร็จ อิติ ดังนี้ ฯ


238 ปริเฉทที่ ๕ เฉลยว่า อิท ติเหตุกกรรมนี้ ํน เอวํ ไม่เป็นอย่างนั้น ติเหตุโกมกกมฺเมน สามตฺถิยานุรูปโต ทุเหตุกปฏิสนฺธิยาว ทาตพฺพตฺตา เพราะติเหตุกกรรมอย่างเพลา พึงให้ทุเหตุกปฏิสนธิเท่านั้น ตามสมควรแก่ความสามารถ ทุเหตุโกมกกมฺเมน อเหตุกปฏิสนฺธิยา วิย เหมือนทุเหตุกกรรมอย่างเพลา พึงให้อเหตุกปฏิสนธิ ฉะนั้น ฯ ปน ก็ ปาโ ปาฐะ สาวเสโส อันเป็นไปกับด้วยส่วนเหลือ มหาเถเรน พระมหาเถระ กโต กระท�ำไว้ กมฺมสริกฺขกวิปากทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงวิบาก ที่เหมือนกับกรรม ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ ทฏฺพฺพ บัณฑิตพึงเห็นสันนิษฐาน ํ ว่า จตุนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยาติ วจนาภาวโต เพราะไม่มีค�ำว่า จตุนฺนํ เหตูนํ ปจฺจยา (เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๔ ประการ) ทุเหตุกกมฺเมน อเหตุกุปปตฺติยาปิ แม้ความเกิดแห่งอเหตุกวิบากด้วยทุเหตุกกรรม อภาโว อาปชฺชติ ก็ต้องไม่มี ตสฺมา เพราะฉะนั้น อเหตุกุปปตฺตึ วชฺเชตฺวา พระมหาเถระจึงเว้นความเกิด แห่งอเหตุกวิบาก สุคติยํ ชจฺจนฺธพธิราทิวิปตฺติยา ด้วยความวิบัติมีตาบอดและ หูหนวกแต่ก�ำเนิดเป็นต้น ในสุคติเสีย ทุเหตุกกมฺเมน ทุเหตุกุปปตฺติ เอว อุทฺธฏา แล้วยกขึ้นแสดงเฉพาะความเกิดแห่งทุเหตุกวิบากด้วยทุเหตุกกรรม สเหตุกุปปตฺติทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงความเกิดแห่งสเหตุกวิบาก คติสมฺปตฺติยา ในเมื่อมีความพร้อมแห่งคติ น อเหตุกุปปตฺติไม่ยกความเกิดแห่งอเหตุกวิบาก ขึ้นแสดง ยถา ฉันใด ติเหตุกกมฺเมน ติเหตุกุปปตฺติเอว อุทฺธฏา ยกขึ้นแสดง เฉพาะความเกิดแห่งติเหตุกวิบากด้วยติเหตุกกรรม กมฺมสริกฺขกวิปากทสฺสนตฺถํ เพื่อแสดงวิบากที่เหมือนกับกรรม น ทุเหตุกุปปตฺติไม่ยกความเกิดแห่งทุเหตุกวิบาก ขึ้นแสดง เอว ฉันนั้น ํ น ปน อลพฺภมานโต แต่ที่ไม่ยกขึ้น ไม่ใช่เพราะหาไม่ได้ ฯ ทสฺเสตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ครั้นแสดง วิปากปฺปวตฺตึ ความเป็นไป แห่งวิบากจิต ปวตฺตสฺส ติปิฏกจูฬนาคตฺเถรวาทสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจวาทะของ พระจูฬนาคเถระผู้ทรงพระไตรปิฎก ที่เป็นไปแล้วว่า เอกาย เจตนาย จิตดวงหนึ่ง


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 239 โสฬส วิปากานิ มีวิบากจิต ๑๖ ดวง เอตฺเถว เฉพาะในกรรมที่กุศลจิตดวงหนึ่ง ประมวลมาแล้วนี้ ทฺวาทสกมตฺโต มีวิบากจิตเพียง ๑๒ ดวง หมวดหนึ่ง อเหตุกฏฺกมฺปิ ทั้งมีอเหตุกวิบากจิต ๘ ดวง หมวดหนึ่ง อิติ ดังนี้ เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุํ หวังจะแสดงความเป็นไปแห่งวิบากจิต อาคตสฺส โมรวาปิวาสิมหาธมฺมรกฺขิตตฺเถรวาทสฺสาปิ วเสน ด้วยอ�ำนาจ แม้แห่งวาทะของพระมหาธรรมรักขิตเถระผู้อยู่ที่โมรวาปีวิหาร ที่มาแล้วว่า เอกาย เจตนาย จิตดวงหนึ่ง ทฺวาทส วิปากานิ มีวิบากจิต ๑๒ ดวง เอตฺเถว เฉพาะใน กรรมที่กุศลจิตดวงหนึ่ง ประมวลมาแล้วนี้ ทสกมตฺโต มีวิบากจิตเพียง ๑๐ ดวง หมวดหนึ่ง อเหตุกฏฺกมฺปิ ทั้งมีอเหตุกวิบากจิต ๘ ดวง หมวดหนึ่ง อิติ ดังนี้ อสงฺขารํ สสงฺขารวิปากานีติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อสงฺขารํ สสงฺขารวิปากานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ อยเมตฺถ อธิปฺปาโย ในคาถานี้ มีอธิบายความดังนี้ว่า มุเข จลิเต เมื่อ ดวงหน้าไหวแล้ว มุขนิมิตฺต เงาหน้า ํอาทาสตเล ที่พื้นกระจก จลติ ย่อมไหวตาม ยถา ฉันใด อสงฺขารกุสลสฺส กุศลกรรมที่เป็นอสังขาริก เอวํ ก็ฉันนั้น อสงฺขาริกวิปาโกว โหติ ย่อมมีวิบากเป็นอสังขาริกเท่านั้น น สงฺขาโร หามีวิบาก เป็นสสังขาริกไม่ อิติเอว รวมความดังกล่าวมาแล้วนี้ ํ สสงฺขารเภโท ความต่างกัน แห่งวิบากจิตที่เป็นสสังขาริก ย่อมมี อาคมนโตว โดยกรรมเป็นเหตุมาเท่านั้น ฯ ปน ก็ ยสฺมา เพราะ สงฺขารเภโท ความต่างกันแห่งสังขาร วิปากสฺส แห่งวิบาก ปจฺจยวเสน อิจฺฉิโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ปรารถนาแล้วด้วยอ�ำนาจ แห่งปัจจัย น กมฺมวเสน หาปรารถนาด้วยอ�ำนาจแห่งกรรมไม่ ตสฺมา ฉะนั้น เอโส วาทะที่ว่า อสฺขารํ สสงฺขารวิปากานิ ดังนี้เป็นต้นนั้น เกจิวาโท กโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงแต่งไว้ว่า เป็นเกจิวาทะ ฯ เตสนฺติ บทว่า เตสํ ได้แก่ เอเตสํ เอวํวาทีนํ ของอาจารย์ทั้งหลายผู้มี ปกติกล่าวอย่างนั้น เหล่านั้น ฯ


240 ปริเฉทที่ ๕ ยถากฺกมนฺติ บทว่า ยถากฺกมํ ได้แก่ ติเหตุกุกฺกฏฺาทีนํ อนุกฺกเมน โดยล�ำดับกุศลกรรมที่เป็นติเหตุกะอย่างอุกฤษฏ์เป็นต้น ฯ ทฺวาทส วิปากานีติ ข้อว่า ทฺวาทส วิปากานิ เป็นต้น ความว่า อุทฺทิเส บัณฑิตพึงยกขึ้นแสดง ทฺวาทส วิปากานิ วิบากจิต ๑๒ ดวง ติเหตุกุกฺกฏฺ- อสงฺขาริกสสงฺขาริกกมฺมสฺส วเสน ยถากฺกมํ สสงฺขาริกจตุกฺกวชฺชิตานิ อสงฺขาริกจตุกฺกวชฺชิตานิ จ ซึ่งเว้นวิบากจิตที่เป็นสสังขาริก ๔ ดวง ส�ำหรับกรรม ที่เป็นติเหตุกะ อย่างอุกฤษฏ์ ซึ่งเป็นฝ่ายอสังขาริก และเว้นวิบากจิตที่เป็นอสังขาริก ๔ ดวง ส�ำหรับกรรมที่เป็นติเหตุกะอย่างอุกฤษฏ์ ซึ่งเป็นฝ่ายสสังขาริกตามล�ำดับ ตถา อนึ่ง พึงยกขึ้นแสดง ทส วิปากานิ วิบากจิต ๑๐ ดวง ติเหตุโกมกสฺส ทฺวิเหตุกุกฺกฏฺสฺส จ กมฺมสฺส วเสน ทฺวิเหตุกสสงฺขาริกทฺวยวชฺชิตานิ ทฺวิเหตุกาสงฺขาริกทฺวยวชฺชิตานิจ ที่เว้นวิบากจิตที่เป็นทวิเหตุกะ ซึ่งเป็นสสังขาริก ๒ ดวง ส�ำหรับกรรมที่เป็นติเหตุกะอย่างเพลา และเว้นวิบากจิตที่เป็นทวิเหตุกะ ซึ่งเป็น อสังขาริก ๒ ดวง ส�ำหรับกรรมที่เป็นทวิเหตุกะอย่างอุกฤษฏ์ และพึงยกขึ้นแสดง อฏฺ วิปากานิวิบากจิต ๘ ดวง ทฺวิเหตุโกมกสฺส วเสน ทุเหตุกทฺวยวชฺชิตานิจ ที่เว้นวิบากจิตที่เป็นทุเหตุกะ ๒ ดวง ส�ำหรับ กรรมที่เป็นทวิเหตุกะอย่างเพลา อนุสาเรน ตามท�ำนอง อนุสฺสรเณน คือ ตามแนว ยถาวุตฺตสฺส แห่งนัยตามที่กล่าวแล้ว ติเหตุกมุกฺกฏฺนฺติอาทินา วุตฺตนยสฺส คือ แห่งนัยที่กล่าวไว้ โดยนัยเป็นต้นว่า ติเหตุกมุกฺกฏฺํ ดังนี้ ยถาสมฺภวํ ตามก�ำเนิด ตสฺส ตสฺส สมฺภวานุรูปโต คือ โดยสมควรแก่ก�ำเนิด แห่งนัยนั้น ๆ ฯ ปริโต อตฺตํ ขณฺฑิตํ วิย อปฺปานุภาวนฺติ ปริตฺตํ ฌานที่ชื่อว่าปริตตะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีอานุภาพน้อย ดุจถูกตัด คือ ถูกบั่นรอนรอบด้าน ฉะนั้น ฯ ปกฏฺภาวํ นีตนฺติปณีตํ ฌานที่ชื่อว่าปณีตะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ถึงความเป็นฌานดีเลิศ ฯ อุภินฺนํ มชฺเฌ ภวํ ฌานที่มีในท่ามกลางแห่งฌาน ทั้ง ๒ มชฺฌิมํ ชื่อว่ามัชฌิมฌาน ฯ


พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 241 อวิเสสโตว อฏฺกถายํ วุตฺตํ ท่านพระพุทธโฆษาจารย์กล่าวไว้ในอรรถกถา โดยไม่แปลกกันเลยว่า ตตฺถ บรรดาฌาน ๓ นั้น ปฏิลทฺธมตฺตมนาเสวิตํ ฌานที่เพิ่งได้ ยังไม่เสพคุ้น ปริตฺตํ ชื่อว่าปริตตฌาน ฯ ตถา อนึ่ง ท่านกล่าวว่า นาติสุภาวิตํ ฌานที่เจริญยังไม่ดีนัก อปริปุณฺณวสีภาวํ มีวสีภาพยังไม่บริบูรณ์ มชฺฌิม ชื่อว่ามัชฌิมฌาน ํ ปน ส่วน อติวิย สุภาวิตํ ฌานที่เจริญดีอย่างยิ่ง สพฺพโส ปริปุณฺณวสีภาวํ มีวสีภาพบริบูรณ์โดยครบถ้วน ปณีตํ ชื่อว่าปณีตฌาน ฯ ทิสฺสติ มีค�ำชี้แจงว่า ปน ก็ เอตฺถ ในที่นี้ อาจริเยน ท่านอาจารย์ อธิปฺเปตํ ประสงค์ถึง ปริตฺตมฺปิ แม้ปริตตฌาน อีสกํ ลทฺธาเสวนเมว ที่ได้ ความเสพคุ้นนิดหน่อยเท่านั้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น นามรูปปริจฺเฉเท ในคัมภีร์นามรูปปริเฉท อเนน ท่านพระอนุรุทธาจารย์นั้น มหคฺคตธมฺมานํ วิปากทานํ วตฺวา กล่าวถึงการให้วิบาก แห่งมหัคคตธรรมทั้งหลาย พลวภาวโต เพราะเป็นธรรมมีก�ำลัง อาเสวนลาเภน โดยได้ความเสพคุ้น สมานภูมิกโต จากธรรมที่มีภูมิเสมอกัน วุตฺต แล้วจึงกล่าวถึง ํ อวิปจฺจนํ ความไม่เผล็ดผล อภิฺ าย แห่งอภิญญา ตทภาวโต เพราะไม่มี การได้ความเสพคุ้นจากธรรมที่มีภูมิเสมอกันนั้นว่า สมานาเสวเน ลทฺเธ เมื่อได้ความเสพคุ้นจากธรรมที่เสมอกัน วิชฺชมาเน มหพฺพเล เมื่อมหัคคตกุศลมีก�ำลังมาก มีอยู่ (ตํ มหคฺคตกุสลํ วิปจฺจติ) มหัคคตกุศลนั้นจึงเผล็ดผล อภิฺ า (ส่วน) อภิญญา อลทฺธา ตาทิสํ เหตุํ ไม่ได้เหตุเช่นนั้น น วิปจฺจติ จึงไม่เผล็ดผล ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง นิพฺพตฺติตํ ฌานที่พระโยคาวจรให้บังเกิด หีเนหิ ฉนฺทวิริยจิตฺตวีมํสาหิด้วยฉันทะ วิริยะ จิตตะ วิมังสา อย่างต�่ำ ปริตฺตํ ชื่อว่า ปริตตฌาน มชฺฌิเมหิ ฉนฺทาทีหิ ฌานที่พระโยคาวจรให้บังเกิด ด้วยอธิบดีธรรม มีฉันทาธิบดีเป็นต้นอย่างกลาง มชฺฌิม ชื่อว่ามัชฌิมฌาน ํ


242 ปริเฉทที่ ๕ ปณีเตหิ ฌานที่พระโยคาวจรให้บังเกิดด้วยอธิบดีธรรมมีฉันทาธิบดีเป็นต้น อย่างประณีต ปณีตํ ชื่อว่าปณีตฌาน อิติ ดังนี้แล ฯ อลํ พอที อติปปฺ เจน ไม่ต้องให้พิสดารมากนัก ฯ ปฺ จมชฺฌานํ ภาเวตฺวาติ ข้อว่า ปญฺจมชฺฌานํ ภาเวตฺวา ได้แก่ ปฺ จมชฺฌานํ ติวิธมฺปิภาเวตฺวา เจริญปัญจมฌานทั้ง ๓ อย่าง อภิฺ าภาวมสมฺปตฺตํ ที่ยัง ไม่ถึงความเป็นอภิญญา ฯ ปน ก็ อภิฺ าภาวปฺปตฺตสฺส อวิปากภาโว ความที่ปัญจมฌานที่ถึง ความเป็นอภิญญาแล้วไม่มีวิบาก อาจริเยน สาธิโต ท่านอาจารย์ให้ส�ำเร็จแล้ว อลทฺธา ตาทิสนฺติอาทินา ด้วยค�ำว่า อลทฺธา ตาทิสํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน มูลฏีกาการาทโย อาจารย์ทั้งหลายมีอาจารย์ผู้แต่งมูลฎีกาเป็นต้น ต ยังความที่ปัญจมฌานที่ถึงความเป็นอภิญญาแล้วไม่มีวิบากนั้น ํ สาเธนฺติ ให้ส�ำเร็จ อฺ ถาปิ แม้โดยประการอื่น ฯ ปน ก็ ตํ ค�ำของอาจารย์ผู้แต่งมูลฎีกาเป็นต้นนั้น ทฏฺพฺพํ พึงเห็น วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวไว้ สงฺเขปโต ตตฺถ ตตฺถ โดยย่อในคัมภีร์นั้น ๆ วิตฺถารโต จ อภิธมฺมตฺถวิกาสนิยํ และโดยพิสดารในอภิธรรมมัตถวิกาสนี ฯ สฺ าวิราคํ ภาเวตฺวาติอธิปฺปาโย ในค�ำว่า สฺ าวิราคํ ภาเวตฺตา นี้ มีอธิบายว่า ติตฺถิยา เอวา เฉพาะพวกเดียรถีย์ กมฺมกิริยวาทิโน ผู้เป็น กรรมกิริยวาที อรูปวิราคภาวนํ ภาเวตฺวา เจริญภาวนาเป็นเครื่องส�ำรอกนาม อรูปสฺส อนิพฺพตฺติสภาวาปาทนวเสน ด้วยอ�ำนาจท�ำนามให้ถึงสภาวะมีการ ไม่บังเกิด ปฏิลภิตพฺพภเว ในภพที่ตนจะพึงได้ เตน ด้วยก�ำลังภาวนานั้นแล้ว อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้น อสฺ ีสตฺเตสุ ในพวกอสัญญีสัตว์ได้ ภาวนาพเลน ด้วยก�ำลังภาวนา วาโยกสิเณ ในวาโยกสิณ ปริจฺฉินฺนากาสกสิเณ วา หรือ ในอากาสกสิณที่ก�ำหนดแล้ว เกสฺ จิ มเตน ตามมติของอาจารย์บางพวก อรูปปฺปวตฺติยา อาทีนวทสฺสเนน โดยเห็นโทษในความเป็นไปแห ่งนาม สฺ าโรโค สฺ าคณฺโฑติอาทินา โดยนัยเป็นต้นว่า สัญญาเป็นโรค สัญญา


Click to View FlipBook Version