พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 293 ยมฺปิ วจนํ ตตฺถาปิ แม้ในพระพุทธพจน์ที่ตรัสว่า ภิกฺขเว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ชาติ ชาติ สงฺขตา ถูกปัจจัยปรุงแต่ง ปฏิจฺจ สมุปฺปนฺนา อาศัยกันและกัน เกิดขึ้น ร่วมกัน ชรามรณํ ชราและมรณะ สงฺขตํ ถูกปัจจัยปรุงแต่ง ปฏิจฺจ สมุปฺปนฺนนฺติ อาศัยกันและกัน เกิดขึ้นร่วมกัน ดังนี้เป็นต้น อยมภิสนฺธิ ก็มีความต่อเนื่องกัน ดังนี้ว่า ปฏิจฺจ สมุปฺปนฺนานํ ลกฺขณภาวโตติ สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้นเหล่านั้น ถูกปัจจัยปรุงแต่ง และว่า อาศัยกันและกัน เกิดขึ้นร่วมกัน โดยเป็นลักษณะของสภาวธรรมที่อาศัยกันและกัน เกิดขึ้นร่วมกัน ดังนี้ ฯ เตน เหตุนั้น โปราณา พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย อาหุ จึงได้กล่าวไว้ว่า ปาเฐ ในพระบาลี (ในพระอภิธรรม) (พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาติ ว่า) กุโตจิชาติยา ชาตตฺตํ ชาติรูปเกิดแต่ปัจจัยไหน ๆ ไว้ ปริยายโต โดยอ้อม (และในพระสูตร) ตีสุ สงฺขตโตทิตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสว่า (ในบรรดาลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้น) ๓ ประการ (ลักขณรูป มีชาติรูปเป็นต้น) ถูกปัจจัยปรุงแต่ง (และว่า อาศัยกันและกัน เกิดขึ้น ร่วมกัน) ไว้สงฺขตานํ สภาวตฺตา (เพราะลักษณะรูปทั้งหลายมีชาติรูป เป็นต้น) เป็นสภาวะแห่งสังขตธรรมทั้งหลาย ฯ (จบ ๒๕๐๙) ปน ก็ ยสฺมา เพราะ เอตานิ รูปานิ รูปเหล่านี้ อุปฺปชฺชมานานิ เมื่อ เกิดขึ้น กมฺมาทิโต แต่กรรมเป็นต้น น เอเกกํ สมุฏฺฐหนฺติหาตั้งขึ้นทีละอย่างไม่ อถโข โดยที่แท้ สมุฏฺฐหนฺติ ย่อมตั้งขึ้น ปิณฺฑโตว เป็นหมวดทีเดียว ตสฺมา ฉะนั้น ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดง ปิณฺฑานํ คณนปริจฺเฉทํ การก�ำหนดจ�ำนวนหมวด สรูปญฺจ และสภาวะตามที่มีปรากฏ วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำ เอกุปฺปาทาติอาทิ ว่า เอกุปฺปาท ดังนี้เป็นต้น ฯ สหวุตฺติโนติ บทว่า สหวุตฺติโน ความว่า สหวุตฺติโน อันมีความเป็นไปร่วมกัน วิสุํ วิสุํ กลาปคตรูปวเสน ด้วย อ�ำนาจรูปที่อยู่ในกลาปแต่ละอย่าง ๆ น สพฺพกลาปานํ อญฺญมญฺญสหปฺปวุตฺติวเสน หามีความเป็นไปร่วมกัน ด้วยอ�ำนาจความเป็นไปร่วมกันและกันแห่งกลาปทั้งปวงไม่ ฯ ทสก ที่ชื่อว่าทสกะ ํทส ปริมาณํ อสฺสาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีประมาณ ๑๐ ฯ
294 ปริเฉทที่ ๖ เอตํ ค�ำว่า ทสกะ นี้ นามํ เป็นชื่อ สมุทายสฺส ของรูปที่เกิดร่วมกัน ฯ ทสกํ หมวด ๑๐ แห่งรูป จกฺขุนา อุปลกฺขิตํ ที่ท่านก�ำหนดด้วยจักขุปสาทรูป ตปฺปธานํ วา หรือมีจักขุปสาทรูปนั้นเป็นประธาน (ชื่อว่าจักขุทสกกลาป) ฯ เสเสสุปิ แม้ในกลาปที่เหลือ เอวํ ก็มีนัยนี้ ฯ สทฺโทปิ ถึงสัททรูป สงฺคหิโต โหติ ก็เป็น อันท่านรวบรวมเข้า วจีวิญฺญตฺติคฺคหเณน ด้วยศัพท์ว่า วจีวิญญัติ ตสฺสา ตทวินาภาวโต เพราะวจีวิญญัตินั้น เว้นสัททรูปนั้นเสีย หามีได้ไม ่ อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำ วจีวิญฺญตฺติทสกนฺติว่า วจีวิญฺญตฺติทสกํ ดังนี้ ฯ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ใส่ใจถึงปัญหาว่า ปน ก็ เอเต เอกวีสติ กลาปา รูปกลาป ๒๑ เหล่านี้ สพฺเพปิ แม้ทั้งหมด โหนฺติ ย่อมมี สพฺพตฺถ ในที่ทุกสถาน กึ หรือ อุทาหุ หรือว่า เกจิ บางอย่าง โหนฺติ ย่อมมี กตฺถจีติ ในที่บางแห่ง อาห จึงกล่าว ตตฺถาติอาทิ ว่า ตตฺถ ดังนี้เป็นต้น ฯ อิทานิ บัดนี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตุ หวังจะแสดง ํ ปวตฺตึ ความเป็นไป เนสํ แห่งรูปเหล่านั้น สมฺภววเสน ด้วยอ�ำนาจภพที่เกิด ๑ ปวตฺติปฏิสนฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล ๑ โยนิวเสน จ ด้วยอ�ำนาจก�ำเนิด ๑ วุตฺตํ จึงกล่าวค�ำ สพฺพานิปิ ปเนตานีติอาทิ ว่า สพฺพานิปิ ปเนตานิ ดังนี้ เป็นต้น ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่ อนุรูปโต โดยสมควร สภาวกปริปุณฺณายตนานํ แก่เหล่าสัตว์ผู้มีภาวรูป (๒) และมีอายตนะบริบูรณ์ ฯ กมลกุมารคพฺภมลาทิสํเสทฏฺฐาเนสุชาตา เหล่าสัตว์ผู้เกิดในที่เป็นเถ้าไคล มีกลีบดอกบัวและมลทินครรภ์เป็นต้น สเสทชํา ชื่อว่าสังเสทชสัตว์ ฯ อุปปาติกา เหล่าสัตว์ชื่อว่าอุปปาติกะ อุปปาโต เนสํ อตฺถีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีการเกิดผุดขึ้น ฯ เจตฺถ ก็ในค�ำว่า โอปฺปาติกานญฺจ นี้ วิสิฏฺฐอุปปาโต คหิโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ระบุถึงการเกิดผุดขึ้นอย่างพิเศษ อุกฺกํสคติปริจฺเฉทวเสน ด้วยอ�ำนาจก�ำหนดคติอย่างสูงสุด ยถา กญฺญา ดุจในประโยคว่า หญิงแรกรุ่น ทาตพฺพาติ ควรให้ อภิรูปสฺส แก ่ชายรูปงาม ฉะนั้น ฯ สตฺต ทสกานิ ปาตุภวนฺตีติ ข้อว่า สตฺต ทสกานิ ปาตุภวนฺติ ความว่า ทสกะ ๗ หมวด
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 295 ย่อมมีปรากฏ อุปลพฺภนโต เพราะหาได้ ปริปุณฺณายตนภาเวน โดยความที่ สังเสทชสัตว์และอุปปาติกสัตว์มีอายตนะบริบูรณ์ ฯ กทาจิ น ลพฺภนฺติปีติ ข้อว่า กทาจิ น ลพฺภนฺติ ได้แก ่ ในกาลบางคราว ย ่อมหาไม ่ได้บ้าง ชจฺจนฺธชจฺจพธิรชจฺจาฆานนปปสกาทิกปฺปิกานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจคนพิการ มีผู้บอดแต่ก�ำเนิด หนวกแต่ก�ำเนิด ไม่มีฆานปสาทรูปแต่ก�ำเนิด และกะเทย เป็นต้น ฯ ทฏฺฐพฺพ พึงเห็นความหมายว่า ํตตฺถ ในบรรดาสุคติและทุคติทั้ง ๒ นั้น สุคติยํ ในสุคติ อุปปาติกานํ ส�ำหรับเหล่า อุปปาติกสัตว์ นิพฺพตฺตมานานํ ที่บังเกิด กมฺมุนา ด้วยกรรม มหานุภาเวน ที่มีอานุภาพมาก จกฺขุโสตฆานาลาโภ ไม่ได้จักขุปสาทรูป โสตปสาทรูป และฆานปสาทรูป อินฺทฺริยเวกลฺลโยคโต เพราะประกอบด้วยความบกพร่องแห่งอินทรีย์ ฯ สเสทชําน ส� ํำหรับเหล่าสังเสทชสัตว์ ภาวาลาโภ ไม่ได้ภาวรูป ปฐมกปฺปิกอุปปาติกานํ วเสนาติด้วยอ�ำนาจมนุษย์ต้นกัปป์ และอุปปาติกสัตว์ แล ฯ ปน ส่วน ทุคฺคติยํ ในทุคติภูมิ จกฺขุโสตภาวาลาโภ ไม่ได้จักขุปสาทรูป โสตปสาทรูป และภาวรูป ทฺวินฺนมฺปิวเสน ด้วยอ�ำนาจเหล่าสัตว์ แม้ทั้ง ๒ พวก ฆานาลาโภ ไม่ได้ฆานปสาทรูป สเสทชํานเมว วเสน ด้วยอ�ำนาจ เหล่าสังเสทชสัตว์เท่านั้น น อุปปาติกสฺส วเสนาติ มิใช่ด้วยอ�ำนาจอุปปาติกสัตว์ ฯ (บ.ศ. ๙ ๒๕๔๑) ตถาหิ จริงตามนั้น ธมฺมหทยวิภงฺเค ในคัมภีร์ ธัมมหทยวิภังค์ วจนโต โดยพระพุทธพจน์ว่า กามธาตุยา อุปปตฺติกฺขเณ ในขณะที่สัตว์เกิดขึ้นในกามธาตุ (คือในกามภพ) กสฺสจิ อุปปาติกสัตว์บางตน เอกาทสายตนานิ ปาตุภวนฺติ มีอายตนะปรากฏ ๑๑ ประการ (บางตนมีอายตนะ ปรากฏ ๑๐ ประการ) กสฺสจิ บางตน ทส มีอายตนะปรากฏ ๑๐ ประการ อปรานิปิ แม้อื่นอีก กสฺสจิ บางตนมีอายตนะ นว ปรากฏ ๙ ประการ กสฺสจิ บางตน สตฺตาติ มีอายตนะปรากฏ ๗ ประการ ดังนี้เป็นต้น อุปปาติกสฺส ส�ำหรับ อุปปาติกสัตว์ ปริปุณฺณินฺทฺริยสฺส ผู้มีอินทรีย์บริบูรณ์ วุตฺตานิ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส เอกาทสายตนานิ อายตนะ ๑๑ ประการ สทฺทายตนวชฺชิตานิ เว้นสัททายตนะ อนฺธสฺส ส�ำหรับอุปปาติกสัตว์ผู้บอด ทส ตรัสอายตนะ ๑๐ ประการ
296 ปริเฉทที่ ๖ จกฺขฺวายตนวชฺชิตานิ เว้นจักขวายตนะ พธิรสฺส ส�ำหรับอุปปาติกสัตว์ผู้หนวก ตถา ก็เหมือนกัน ทส คือตรัสอายตนะ ๑๐ ประการ โสตายตนวชฺชิตานิ เว้นโสตายตนะ อนฺธพธิรสฺส ส�ำหรับอุปปาติกสัตว์ผู้ทั้งบอดทั้งหนวก นว ตรัสอายตนะ ๙ ประการ ตทุภยวชฺชิตานิ เว้นจักขวายตนะและโสตายนะทั้ง ๒ นั้น คพฺภเสยฺยกสฺส ส�ำหรับคัพภเสยยกสัตว์ สตฺตายตนานิ วุตฺตานิ ตรัสอายตนะ ๗ ประการ จกฺขุโสตฆานชิวฺหาสทฺทายตนวชฺชิตานิ เว้นจักขวายตนะ โสตายนะ ฆานายตนะ ชิวหายตนะ และสัททายตนะ ฯ ปน ก็ ยทิ ถ้า อุปปาติโก อุปปาติกสัตว์ อฆานิโกปิ แม้ผู้ไม่มีฆานายตนะ สิยา พึงมีไซร้ วตฺตพฺพานิสิยุํ พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงต้องตรัส ติกฺขตฺตุํ ทส อายตนะ ๑๐ ประการไว้ ๓ ครั้ง อนฺธพธิราฆานานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจอุปปาติกสัตว์ผู้บอด ๑ ผู้หนวก ๑ ผู้ไม่มี ฆานายตนะ ๑ วตฺตพฺพานิสิยุํ พึงต้องตรัส ติกฺขตฺตุํ นว อายตนะ ๙ ประการ ไว้ ๓ ครั้ง อนฺธพธิรอนฺธาฆานพธิราฆานกานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจอุปปาติกสัตว์ ผู้ทั้งบอดทั้งหนวก ๑ ผู้ทั้งบอดทั้งไม่มีฆานายตนะ ๑ ผู้ทั้งหนวกทั้งไม่มีฆานายตนะ ๑ และ วตฺตพฺพานิ สิยุํ พึงต้องตรัส อฏฺฐ อายตนานิ อายตนะ ๘ ประการไว้ อนฺธพธิราฆานกสฺส จ วเสน ด้วยอ�ำนาจอุปปาติกะผู้ทั้งบอดทั้งหนวกทั้งไม่มี ฆานายตนะ ฯ น ปเนวํ วุตฺตานิแต่พระองค์ก็มิได้ตรัสไว้อย่างนั้น ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น อุปปาติกสฺส อุปปาติกสัตว์ นตฺถิ จึงไม่มี ฆานเวกลฺลนฺติ ความบกพร่องด้วย ฆานายตนะ แล ฯ ตถา จ วุตฺตํ สมจริงดังค�ำที่ ท่านพระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ ยมกฏฺฐกถายํ ในอรรถกถาคัมภีร์ยมกปกรณ์ว่า อุปปาติโก อุปปาติกสัตว์ อฆานิโก ผู้ไม่มีฆานายตนะ นตฺถิ ไม่มี ยทิ ถ้า ภเวยฺย พึงมีไซร้ วเทยฺยาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงตรัสว่า กสฺสจิอฏฺฐายตนานีติ อุปปาติกสัตว์บางตนมีอายตนะ ๘ ประการปรากฏ ดังนี้ ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ๒๕๔๑) (บ.ศ. ๙ ๒๕๔๘) ปน ก็ สเสทชํานํ ฆานาภาโว ภาวะที่เหล่าสังเสทชสัตว์ ไม่มีฆานายตนะ น สกฺกา อันใคร ๆ ไม่สามารถ นิวาเรตุ จะห้ามได้ ํกามธาตุยา อุปปตฺติกฺขเณติอาทิปาลิยา อุปปาติกโยนิเมว สนฺธาย สตฺตายตนคฺคหณสฺส จ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 297 อญฺเญสํ อสมฺภวโต คพฺภเสยฺยกเมว สนฺธาย วุตฺตตฺตา เพราะพระบาลีว่า ในขณะที่เหล่าสัตว์เกิดในกามธาตุ ดังนี้เป็ต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสหมายถึง เฉพาะอุปปาติกก�ำเนิดและเพราะตรัสหมายถึงเฉพาะคัพภเสยยกสัตว์ เหตุศัพท์ว่า อายตนะ ๗ ประการ ไม่เกิดมีแก่สัตว์เหล่าอื่น ฯ ยมฺปน อฏฺฐกถาวจนํ ส่วน แม้ค�ำในอรรถกถาที่ว่า สเสทชโยนิย ํา อุปปาติกสงฺคหํ กตฺวา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงท�ำการรวมสังเสทชก�ำเนิดเข้าในอุปปาติกก�ำเนิด ปริปุณฺณายตนภาเวน โดย เป็นก�ำเนิดที่มีอายตนะบริบูรณ์ วุตฺตานีติ จึงตรัสอายตนะไว้ ๑๑ ประการ ดังนี้ ตมฺปิ วุตฺตํ พระอรรถกถาจารย์กล่าวไว้ ปริปุณฺณายตนานํเยว สํเสทชานํ สงฺคหวเสน ด้วยอ�ำนาจรวมเหล่าสังเสทชสัตว์ เฉพาะที่มีอายตนะบริบูรณ์เข้าไว้ อุปปาติเกสุ ในพวกอุปปาติกสัตว์ ฯ ปน ส่วน อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่ง ท�ำการตกลงใจว่า ยมเก ในคัมภีร์ยมกปกรณ์ ฆานชิวฺหานํ สหจาริตา วุตฺตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ฆานายตนะและชิวหายตนะมีปกติไปร่วมกัน ดังนี้ วณฺเณนฺติ จึงพรรณนา อฆานิกสฺสาปิ อภาวเมว ว่า สัตว์แม้ไม่มีฆานายตนะ ไม่มีเลย อชิวฺหสฺส อสมฺภวโต เพราะสัตว์ไม่มีชิวหายตนะไม่เกิดมี ฯ ตตฺถาปิ แม้ในยมกปกรณ์นั้น วุตฺตาติ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัส เตสํ สหจาริตา ว่า ฆานายตนะและชิวหายตนะเหล่านั้นมีปกติไปร่วมกัน อปฺปวตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจ ไม่เป็นไป วิสุํ วิสุํ ภเว ในกามภพแยก ๆ กัน เอวํ อย่างนี้ว่า จกฺขุโสตานิ จักขวายตนะกับโสตายตนะ ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป ฆานชิวฺหาหิวินา แยกจาก ฆานายตนะและชิวหายตนะ รูปภเว ในรูปภพ ยถา ฉันใด ฆานชิวฺหา ฆานายตนะ กับชิวหายตนะ ปวตฺตนฺติ จะเป็นไป อญฺญมญฺญํ วินา แยกกันและกัน เอวํ ฉันนั้น น ก็หามิได้ ทฺวินฺนมฺปิอนุปฺปชฺชนโต เพราะฆานายตนะกับชิวหายตนะ แม้ทั้งสอง ไม่เกิดขึ้น รูปภเว ในรูปภพ ดังนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น น น สกฺกา วตฺตุนฺติ ใคร ๆ ไม่สามารถจะกล่าวว่า เหล่าสังเสทชสัตว์ไม่มีฆานายตนะ ก็หามิได้ ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ๒๕๔๘)
298 ปริเฉทที่ ๖ คพฺภเสยฺยกา เหล่าสัตว์ชื่อว่าคัพภเสยยกะ คพฺเภ มาตุกุจฺฉิยํ เสนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า นอนในครรภ์ คือในท้องของมารดา ฯ คพฺภเสยฺยกสตฺตา ชื่อว่าคัพภเสยยกสัตว์ เตเยว รูปาทีสุ สตฺตตาย สตฺตาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่าสัตว์ เพราะเป็นผู้ข้องในอารมณ์ทั้งหลายมีรูปารมณ์เป็นต้น คือ ผู้นอน ในครรภ์นั้น ฯ ตีณิ ทสกานิ ทสกะ ๓ ประการ ปาตุภวนฺติ ที่มีปรากฏ อณฺฑชชลาพุชานํ แก่เหล่าอัณฑชสัตว์และชลาพุชสัตว์ ยานิ กลลรูปนฺติ วุจฺจนฺติ ซึ่งท่านเรียกว่า กลลรูป ปริปิณฺฑิตานิเป็นหมวดเดียวกัน ปคฺฆริตฺวา อคฺเค ฐิตวินฺทุมตฺตานิ มีขนาดเท่าหยาดน�้ำมันที่หยดลงแล้ว ติดอยู่ที่ปลาย อํสุโน ตานิชาติอุณฺณาย ขนแกะแรกเกิด เอกสฺส เส้นหนึ่ง ปสนฺนติลเตเล ปกฺขิปิตฺวา อุทฺธฏสฺส ที่บุคคลจุ่มในน�้ำมันงาใสแล้วยกขึ้น อจฺฉานิวิปฺปสนฺนานิ เป็นธรรมชาตผ่องใสแจ๋ว เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ กทาจิ ในกาลบางคราว น ลพฺภติ ย่อมไม่ได้ ภาวทสกกลาป อภาวกสตฺตานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจเหล่าสัตว์ ที่เป็นกะเทย ฯ ตโต ปรนฺติ ข้อว่า ตโต ปรํ ได้แก่ ปฏิสนฺธิโต ปรํ ต่อจาก ปฏิสนธิกาล ฯ ปวตฺติกาเลติ บทว่า ปวตฺติกาเล ความว่า สตฺตเมว สตฺตาเห ในสัปดาห์ที่ ๗ เอกาทสเม สตฺตาเห วา หรือในสัปดาห์ที่ ๑๑ ฏีกาการมเตน ตามมติของพระฎีกาจารย์ ฯ กเมนาติ บทว่า กเมน ความว่า เอวํ อนุกฺกเมน ตามล�ำดับอย่างนี้คือ สตฺตาหาติกฺกเมน โดยล่วงไป ๑ สัปดาห์ จกฺขุทสกปาตุภาวโต ต ่อจากจักขุทสกกลาปมีปรากฏ โสตทสกํ โสตทสกกลาปจึงมีปรากฏ สตฺตาหาติกฺกเมน โดยล่วงไปอีก ๑ สัปดาห์ ตโต ต่อจากนั้น ๗ วันนับแต่วันที่ โสตทสกะปรากฏนั้น ฆานทสกํ ฆานทสกกลาปจึงมีปรากฏ สตฺตาหาติกฺกเมน โดยล่วงไปอีก ๑ สัปดาห์ ตโต ต่อจากนั้นไป ชิวฺหาทสกนฺติ ชิวหาทสกกลาป จึงมีปรากฏ ฯ หิความจริง อฏฺฐกถายมฺปิ แม้ในอรรถกถา อยมตฺโถ ทสฺสิโตว พระอรรถกถาจารย์ก็ได้แสดงเนื้อความนี้ไว้เสร็จแล้ว ฯ ฐิติกาลนฺติ บทว่า ิติกาลํ ได้แก่ ฐิติกาลํ ซึ่งฐิติขณะ ปฏิสนฺธิจิตฺตสฺส แห่งปฏิสนธิจิต ฯ หิ ความจริง ปฏิสนฺธิจิตฺตสหชาตา ความสืบต่อแห่งรูปกลาปที่เกิดพร้อมกับ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 299 ปฏิสนธิจิต อุตุชรูปํ ชเนติย่อมให้อุตุชรูปเกิด อนุกฺกเมน ตามล�ำดับ อาทินา เป็นต้น คือ อุตุฏฺฐานปฺปตฺตา ความสืบต่อแห่งรูปกลาปที่ถึงฐานะแห่งอุตุ สุทฺธฏฺฐกํ สมุฏฺฐาเปนฺตี ย่อมยังสุทธัฏฐกกลาปให้ตั้งขึ้น ฐิติกฺขเณ ในฐิติขณะ ตสฺส แห่งปฏิสนธิจิตนั้น อุตุฏฺฐานปฺปตฺตา ความสืบต่อแห่งรูปกลาปที่ถึงฐานะ แห่งอุตุ อุปฺปนฺนา ซึ่งเกิดขึ้น ตถา (ตทา) ในกาลนั้น สุทฺธฏฺฐกํ สมุฏฺฐาเปนฺตี ย่อมให้สุทธัฏฐกกลาปตั้งขึ้น ภงฺคกฺขเณติในภังคขณะ ตสฺส แห่งปฏิสนธิจิตนั้น ฯ โอชาผรณมุปาทายาติ ข้อว่า โอชาผรณมุปาทาย ความว่า คพฺภเสยฺยกสฺส ส�ำหรับคัพภเสยยกสัตว์ มาตุอชฺโฌหริตาหารโต ปฏฺฐาย จ�ำเดิมแต่โอชาที่มารดา กลืนกินแล้ว สํเสทโชปปาติกานญฺจ และส�ำหรับสังเสทชสัตว์และอุปปาติกสัตว์ มุขคตเสมฺหาทิโต โอชาย สรีเร ผรณกาลโต ปฏฺฐาย จ�ำเดิมแต่กาลที่โอชา แต่เสมหะที่อยู่ในปากเป็นต้น แผ่ซาบซ่านไปในร่างกาย รสหรณิอนุสาเรน ตามเส้นเอ็นอันเป็นเครื่องรับรส ฯ จุติจิตฺตํ จุติจิต อุปริมํ มีในเบื้องบน เอตสฺสาติ ของจิตดวงที่ ๑๗ นั้น เพราะเหตุนั้น จิตดวงที่ ๑๗ นั้น จุติจิตฺโตปริ จึงชื่อว่ามีจุติจิตในเบื้องบน ฯ กมฺมชรูปานิ กัมมชรูปทั้งหลาย น อุปฺปชฺชนฺติ ชื่อว่าย่อมไม่เกิดขึ้น ตทุปปตฺติยํ มรณาภาวโต เพราะในเมื่อจิตดวงที่ ๑๗ นั้น เกิดขึ้น มรณะก็มีไม่ได้ ฯ กมฺมชรูปวิจฺเฉเทหิ เพราะเมื่อกัมมชรูปขาดลง มโตติ วุจฺจติ สัตว์ท่านจึงเรียกว่า ตายแล้ว ฯ ยถาห เหมือนอย่างที่ท่านโบราณาจารย์ กล่าวไว้ว่า อายุ อายุ (ชีวิตินทรีย์) อุสฺมา ไออุ่น (เตโชธาตุที่เกิดแต่กรรม) วิญฺญาณํ จ และวิญญาณ (วิปากวิญญาณ) กายํ ชหนฺติมํ ย่อม ละร่างกายนี้ ยทา ในกาลใด ตทา ในกาลนั้น อปวิทฺโธ กายนี้ ถูกทอดทิ้ง เสติ นอนอยู่ นิรตฺถํว กลิงฺครนฺติ คล้ายท่อนไม้ที่ ไร้ประโยชน์ ฉะนั้น ฯ ปุเรตรนฺติ บทว่า ปุเรตร ได้แก่ ํ อุปฺปาทกฺขเณ ในอุปปาทขณะ สตฺตรสมสฺส แห่งจิตดวงที่ ๑๗ ฯ ตโต ฯเปฯ โวจฺฉิชฺชตีติข้อว่า ตโต ฯเปฯ โวจฺฉิชฺชติ
300 ปริเฉทที่ ๖ ความว่า จิตฺตชมาหารชญฺจ จิตตชรูป และอาหารชรูป ยถานิพฺพตฺตํ ชื่อว่า ตามที่เกิดแล้ว อุปฺปตฺติยา อภาวโต เพราะไม่มีความเกิดขึ้น เตส แห่งรูปเหล่านั้น ํ อชีวกสนฺตาเน ในสันดานของสัตว์ที่ไม่มีชีวิต ตโต ปรํ ต่อแต่นั้น กิญฺจิ กาลํ ปวตฺติตฺวา เป็นไปได้ชั่วเพียงเล็กน้อย นิรุชฺฌติ แล้วดับลง ฯ ปน ส่วน อปเร อาจริยา อาจารย์อีกพวกหนึ่ง วณฺเณนฺติ พรรณนาว่า จิตฺตชรูปํ จิตตชรูป โวจฺฉิชฺชตีติ ขาดลง จุติจิตฺตโต ปุเรตรเมว ก่อนจุติจิตทีเดียว ฯ การณํ เหตุ อภาเว ในความไม่มี ฆานชิวฺหากายานํ ฆานปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป และ กายปสาทรูป รูปโลเก ในโลกที่เป็นรูปาวจร วุตฺตเมว ข้าพเจ้ากล่าวไว้เสร็จแล้ว ฯ ปน อนึ่ง ภาวทฺวยํ ภาวรูปทั้ง ๒ นปฺปวตฺตติ ชื่อว่า ไม่เป็นไป ตตฺถ ในโลก ที่เป็นรูปาวจรนั้น พหลกามราคูปนิสฺสยตฺตา เพราะภาวรูปทั้ง ๒ นั้น เป็นอุปนิสัย แห่งสัตว์ผู้มีกามราคะหนาแน่น พฺรหฺมานญฺจ ตทภาวโต และพวกพรหมไม่มี กามราคะที่หนาแน่นนั้น ฯ อาหารชกลาปา จ และอาหารชกลาปทั้งหลาย น ลพฺภนฺติ ชื่อว่าย่อมหาไม่ได้ อชฺโฌหริตาหาเรน สรีรคตสฺสาปิ อาหารสฺส รูปสมุฏฺฐาปนาภาวโต เพราะความที่อาหารแม้ที่มีอยู่ในร่างกาย โดยความเป็น อาหารที่สัตว์กลืนกินแล้ว ไม่มีการให้รูปตั้งขึ้น ฯ หิ ความจริง อุตุมาหารญฺจ อุตุและอาหารภายใน พาหิรํ อุปนิสฺสยํ ลภิตฺวา ได้อุตุและอาหาร ภายนอก เป็นอุปนิสัยปัจจัยแล้ว อุตุอาหารรูปํ สมุฏฺฐาเปนฺติ ย่อมให้อุตุชรูปและอาหารชรูป ตั้งขึ้นได้ ฯ ชีวิตนวกนฺติ ที่ชื่อว่า ชีวิตนวกะ ได้แก่ ชีวิตนวกํ หมวดแห่งรูป มีชีวิตรูปเป็นที่ ๙ กายทสกฏฺฐานิยํ ซึ่งตั้งอยู ่ในฐานเป็นกายทสกกลาป กายาภาวโต เพราะความไม่มีกายปสาทรูป ฯ อติริจฺฉตีติ บทว่า อติริจฺฉติ ความว่า รูปที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน อวสิฏฺฐํ โหติ ชื่อว่ายังเหลืออยู่ เสสพฺรหฺมานํ ปฏิสนฺธิยํ ปวตฺเต จ อุปลภิตพฺพรูปโต เพราะรูปแห่งเหล่าพรหมที่เหลือ พึงหาได้ในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล ฯ ปน แต่ มรณกาเล ในเวลาตาย พฺรหฺมานํ สรีรนิกฺเขปาภาวโต เพราะพวกพรหมไม่มีการทอดทิ้งร่างกายไว้ ติสมุฏฺฐานานิจ รูปที่มีสมุฏฐาน ๓ ทฺวิสมุฏฺฐานานิจ และรูปที่มีสมุฏฐาน ๒
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 301 สพฺเพสมฺปิ ของพวกพรหมแม้ทั้งหมด สเหว นิรุชฺฌนฺติ จึงดับไปพร้อมกัน ทีเดียว ฯ รูเปสุ ในรูปภพ เตวีส ชื่อว่ามีรูป ๒๓ อย่าง ปญฺจนฺนํ อภาวโต เพราะไม่มีรูป ๕ อย่าง ฆานชิวฺหากายภาวทฺวยวเสน คือ ปสาทรูป ชิวหาปสาทรูป กายปสาทรูป และภาวรูป ๒ ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก วทนฺติ กล่าวว่า ลหุตาทิตฺตยมฺปิ แม้วิการรูป ๓ อย่างมีลหุตารูปเป็นต้น นตฺถิ ก็ชื่อว่าไม่มี เตสุ ในรูปภพนั้น ทนฺธตฺตกราทิธาตุกฺโขภาภาวโตติ เพราะความไม่มีความก�ำเริบ แห่งธาตุ ซึ่งเป็นตัวท�ำความเฉื่อยชาเป็นต้น ฯ ตํ ค�ำของเกจิอาจารย์นั้น อการณํ ไม่มีเหตุผล ฯ หิเพราะว่า ตพฺพิโรธิธมฺมปฺปวตฺติ ความเป็นไปแห่งธรรมที่เป็น ข้าศึกต่อวิการรูป ๓ มีลหุตารูปเป็นต้นนั้น น วูปสเมตพฺพาเปกฺขา หาเพ่งถึงรูป ที่จะพึงเข้าไปสงบระงับไม่ ตถา สติ ลหุตาทีนมภาวปฺปสงฺคโต เพราะเมื่อมี ประการเช่นนั้น วิการรูป ๓ ประการ มีลหุตารูปเป็นต้น ก็จะเกี่ยวข้องกับ ความไม่มี สเหตุกกฺริยาจิตฺเตสุ ในกิริยาจิตที่เป็นสเหตุกะ ฯ สทฺโท วิกาโรติอาทิ ค�ำว ่า สทฺโท วิกาโร ดังนี้เป็นต้น วุตฺตํ ท ่านพระอนุรุทธาจารย์กล ่าวไว้ สาธารณวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นรูปที่ทั่วไป สพฺเพสมฺปิ แก่สัตว์แม้ทุกจ�ำพวก ฯ นิทฺทิสิตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ครั้นชี้แจง จิตฺตเจตสิกรูปานิ ถึงจิตเจตสิก และรูป วิภาคโส โดยการจ�ำแนก เอตฺตาวตา ด้วยค�ำมีประมาณเท่านี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ นิทฺทิสนฺโต เมื่อจะชี้แจง นิพฺพานํ ถึงพระนิพพาน อาห จึงกล่าว นิพฺพานํ ปนาติอาทิ ว่า นิพฺพานํ ปน ดังนี้เป็นต้น ฯ จตุมคฺคญาเณน สจฺฉิกาตพฺพนฺติ ด้วยค�ำว่า พึงกระท�ำให้แจ้งด้วยมรรคญาณ ๔ นี้ ทสฺเสติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมแสดง นิพฺพานสฺส ปจฺจกฺขสิทฺธิตํ ความที่พระนิพพาน ส�ำเร็จได้โดยชัดแจ้ง ตํตํอริยปุคฺคลานํ แก ่เหล ่าพระอริยบุคคลนั้น ๆ ฯ มคฺคผลานมาลมฺพนภูตนฺติ อิมินา ด้วยค�ำว่า มคฺคผลานมาลมฺพนภูตํ นี้ ทสฺเสติ ย่อมแสดง นิพฺพานสฺส อนุมานสิทฺธิตํ ความที่พระนิพพานส�ำเร็จได้ โดยความคาดคะเน กลฺยาณปุถุชฺชนานํ แก่เหล่ากัลยาณปุถุชน ฯ หิ เพราะ ญาณํ ญาณ สงฺขตธมฺมารมฺมณ ที่มีสังขตธรรมเป็นอารมณ์ ํ ปญฺญตฺตารมฺมณํ วา
302 ปริเฉทที่ ๖ หรือที่มีบัญญัติธรรมเป็นอารมณ์ อสมตฺถํ ไม่สามารถ กิเลสานํ สมุจฺเฉทปฏิปฺปสฺสมฺภเน ในการตัดกิเลสได้เด็ดขาด และการสงบระงับกิเลสได้ จ ส่วน กิเลสสมุจฺเฉทาทิ ญาณเป็นเครื่องตัดกิเลสได้เด็ดขาดเป็นต้น อตฺถิ มีอยู่ โลเก ในโลก ตสฺมา ฉะนั้น สิทฺธิ จึงส�ำเร็จความว่า เอโก ธมฺโมติ ธรรมอย่างหนึ่ง สงฺขตสมฺมติธมฺมวิปรีโต ที่ตรงกันข้ามจากสังขตธรรมและสมมติธรรม กิเลสานํ สมุจฺเฉทปฏิปฺปสฺสทฺธิกรานํ มคฺคผลานมาลมฺพนภูโต ซึ่งเป็นอารมณ์ของมรรค และผล ที่ตัดกิเลสได้เด็ดขาดและท�ำความสงบระงับกิเลสได้ นิพฺพานํ นาม ชื่อว่านิพพาน อตฺถิ มีอยู่ ฯ จ ก็ ปจฺจกฺขานุมานสิทฺธิตานํ สนฺทสฺสเนน เพราะชี้แจงถึงความที่พระนิพพานส�ำเร็จได้โดยแจ้งชัดและโดยความคาดคะเน นิเสเธตีติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงคัดค้าน วาทํ วาทะ ปฏิปนฺนานํ ของท่าน ผู้ปฏิบัติโดยส�ำคัญว่า อภาวมตฺตํ เพียงความไม่มี นิพฺพานํ ชื่อพระนิพพาน อิติ เพราะเหตุนั้น อลมติปปญฺเจน พอทีไม่ต้องพิสดารมากนัก ฯ คุณชาตอันเป็นอารมณ์ของมรรคและผล ท ่านเรียกว ่าพระนิพพาน นิกฺขนฺตตฺตา เพราะออกไป อตีตตฺตา คือเป็นไปล่วง วิสยาติกฺกมวเสน ด้วย อ�ำนาจล่วงเลยอารมณ์ ตณฺหาย จากตัณหา วานสงฺขาตาย ชื่อว ่าวานะ วินนโต เพราะร้อยรัด สํสิพฺพนโต คือรวบรัด เตภูมิกธมฺเม ธรรมที่เป็นไป ในภูมิ ๓ ขนฺธาทิเภเท ต่างด้วยขันธ์เป็นต้น เหฏฺฐุปริยวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นไป ในเบื้องต�่ำและเบื้องสูง ฯ สภาวโตติ บทว่า สภาวโต ได้แก่ สนฺติลกฺขเณน โดยลักษณะสงบ อตฺตโน แห่งตน ฯ อุปาทิ ชื่อว ่า อุปาทิ อุปาทิยติ กามูปาทานาทีหีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ถูกอุปาทานทั้งหลายมีกามุปาทาน เป็นต้นยึดถือมั่น ฯ เอตํ ค�ำว่า อุปาทิ นี้ อธิวจนํ เป็นชื่อ ปญฺจกฺขนฺธสฺส ขันธ์ ๕ ฯ อุปาทิเสโส ชื่อว่าอุปาทิเสส อุปาทิเยว เสโส กิเลเสหีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า สภาวะที่เหลือจากกิเลสทั้งหลาย คือ อุปาทิ ฯ สอุปาทิเสโส ชื่อว่าสอุปาทิเสส เตน สห ปวตฺตตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปกับด้วย อุปาทิเสสนั้น ฯ สอุปาทิเสสนิพฺพานธาตุ ชื่อว่าสอุปาทิเสสนิพพานธาตุ สา เอว
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 303 นิพฺพานธาตูติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า นิพพานธาตุ คือ สอุปาทิเสสนั้น ฯ การณปริยาเยนาติ บทว่า การณปริยาเยน ความว่า เลเสน โดยอ้างถึง อุปาทิเสสภาวาภาวสฺส ความมีและความไม ่มีอุปาทิเสส การณภูตสฺส อันเป็นเหตุ ปญฺญาปเน ในการบัญญัติ สอุปาทิเสสาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจ สอุปาทิเสสนิพพานธาตุเป็นต้น ฯ สุญฺญเมว นิพพานชื่อว่าสุญญะ สุญฺญตํ คือ ชื่อว่าสุญญตะ สุญฺญตฺตา เพราะว่าง ราคโทสโมเหหิ จากราคะ โทสะ และ โมหะ อารมฺมณโต โดยเป็นอารมณ์ สมฺปโยคโต จ และโดยเป็นสัมปโยค ตถา อนึ่ง อนิมิตฺตํ ชื่อว่าอนิมิตตะ ราคาทินิมิตฺตรหิตตฺตา เพราะเว้นจากนิมิต มีราคนิมิตเป็นต้น อปฺปณิหิตํ ชื่อว่าอัปปณิหิตะ ราคาทิปณิธิรหิตตฺตา เพราะ เว้นจากกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่นมีราคะเป็นต้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง สุญฺญตํ นิพพานชื่อว่าสุญญตะ สุญฺญตฺตา เพราะว่าง สพฺพสงฺขาเรหิ จากสังขารทั้งปวง อนิมิตฺตํ ชื่อว่าอนิมิตตะ สพฺพสงฺขารนิมิตฺตาภาวโต เพราะไม่มีนิมิตแห่ง สังขารทั้งปวง อปฺปณิหิตํ ชื่อว่าอัปปณิหิตะ สพฺพสงฺขารปณิธิยา อภาวโต เพราะไม่มีกิเลสเป็นเครื่องตั้งมั่นแห่งสังขารทั้งปวง อจฺจุตํ นิพพานชื่อว่าอัจจุตะ จวนาภาวโต เพราะไม่มีการจุติ อจฺจนฺตํ ชื่อว่าอัจจันตะ อติกฺกนฺตตฺตา เพราะ ก้าวล่วง อนฺตสฺส ที่สุด ปริโยสานสฺส คือ ที่สุดรอบ อสงฺขตํ ชื่อว่าอสังขตะ ปจฺจเยหิ อนภิสงฺขตตฺตา เพราะไม่ถูกปัจจัยทั้งหลายปรุงแต่ง อนุตฺตรํ ชื่อว่า อนุตตระ อตฺตโน อุตฺตริตรสฺสาภาวโต เพราะไม่มีธรรมที่ยวดยิ่งกว่าตน อุตฺตรสฺส วา อภาวโต หรือเพราะไม่มีสภาวะที่ยวดยิ่ง สห ธมฺเมน วตฺตพฺพสฺส อันจะพึงกล่าวรวมกันกับธรรม ฯ วานมุตฺตา พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงพระนามว่า วานมุตตะ มุตฺตตฺตา เพราะเป็นผู้หลุดพ้นแล้ว อปคตตฺตา คือ ไปปราศแล้ว สพฺพโส โดยประการทั้งปวง วานโต จากธรรมชาติเป็นเครื่องร้อยรัด ตณฺหาโต คือ จากตัณหา ฯ มเหสโย พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ทรงพระนามว่ามเหสี เอสนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า แสวงหา คเวสนฺตีติ คือค้นหา มหนฺเต ธรรมที่มี คุณใหญ่ สีลกฺขนฺธาทิเก ได้แก่ ธรรมมีสีลขันธ์เป็นต้น ฯ อิติ จิตฺตนฺติอาทิ
304 ปริเฉทที่ ๖ ค�ำว่า อิติ จิตฺตํ ดังนี้เป็นต้น นิคมนํ เป็นค�ำกล่าวย�้ำ จิตฺตาทีนํ ถึงอรรถ แห่งพระอภิธรรมมีจิตเป็นต้น วิภตฺตานํ ที่ได้จ�ำแนกไว้แล้ว ฉหิ ปริจฺเฉเทหิ โดยปริเฉททั้ง ๖ ฯ ฉฏฺฐปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๖ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺฐิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 305 สตฺตมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริจเฉทที่ ๗ {อธิบายคาถาสังคหะ} สลกฺขณา ฯเปฯ ปวกฺขามีติโยชนา มีวาจาประกอบความว่า วตฺถุธมฺมา วัตถุธรรมทั้งหลาย สภาวธมฺมา คือ สภาวธรรมทั้งหลาย สลกฺขณา พร้อมทั้ง ลักษณะ จินฺตนาทิลกฺขณา คือ มีลักษณะคิดอารมณ์เป็นต้น ทฺวาสตฺตติปฺปเภทา มี ๗๒ ประเภท จิตฺตเจตสิกนิปฺผนฺนรูปนิพฺพานวเสน คือ จิต (๑) เจตสิก (๕๒) นิปผันนรูป (๑๘) และพระนิพพาน (๑) วุตฺตา ข้าพเจ้าได้กล่าวไว้แล้ว อิทานิ บัดนี้ ปวกฺขามิ ข้าพเจ้าจะกล่าว สมุจฺจยํ สมุจจยสังคหะ สมุจฺจยราสึ คือ หมวดสมุจจยธรรม อกุสลสงฺคหาทิเภทํ ซึ่งแยกประเภทเป็นอกุศลสังคหะ เป็นต้น เตสํ แห่งวัตถุธรรมเหล่านั้น สภาวธมฺมาน คือ แห่งสภาวธรรมทั้งหลาย ํ ยถาโยคํ ตามที่ประกอบ โยคานุรูปโต คือ ตามสมควรแก ่การประกอบ เอเกกสมุจจยวเสน ด้วยอ�ำนาจสมุจจยสังคหะแต่ละหมวด ฯ {อธิบายสมุจจยสังคหะ ๔} สงฺคโห การรวบรวม อกุสลานเมว เฉพาะอกุศลธรรม สภาคธมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมที่มีส่วนเสมอกัน อกุสลสงฺคโห ชื่อว่า อกุศลสังคหะ ฯ สงฺคโห การรวบรวม มิสฺสกานํ ธรรมที่เจือปนกัน กุสลาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจกุศลธรรม เป็นต้น มิสฺสกสงฺคโห ชื่อว่า มิสสกสังคหะ ฯ สงฺคโห การรวบรวม ธมฺมานํ ธรรมทั้งหลาย สติปฏานาทิเภทานํ ซึ่งแยกประเภทเป็นสติปัฏฐานเป็นต้น ภวาน อันมี ํ ปกฺเข ในฝักฝ่าย อริยมคฺคสฺส อริยมรรค สจฺจาภิสมฺโพธิสงฺขาตสฺส กล่าวคือตรัสรู้สัจจะ โพธิปกฺขิยานํ คือ อันเป็นไปในฝักฝ่ายปัญญาเครื่องตรัสรู้ สภาคตฺถวเสน ด้วยอ�ำนาจธรรมที่มีอรรถเสมอกัน โพธิปกฺขิยสงฺคโห ชื่อว่า
306 ปริเฉทที่ ๗ โพธิปักขิยสังคหะ ฯ สงฺคโห การรวบรวม สพฺเพสํ ธรรมทั้งหมด ขนฺธาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจขันธ์เป็นต้น สพฺพสงฺคโห ชื่อว่า สัพพสังคหะ ฯ {อธิบายอกุศลสังคหะ} อธิบายอาสวะ ๔ (๒๕๑๖) (โลภาทโย ตโย ธมฺมา) ธรรม ๓ ประการมีโลภะเป็นต้น (โลภะ ทิฏฐิ และอวิชชา) อาสวา ชื่อว่า อาสวะ จิรปาริวาสิยตฺเถน เพราะมีความหมายว่า มีความหมักดองอยู่นาน ปุพฺพโกฏิยา อปญฺายนโต เหตุที่สุดเบื้องต้นไม่ปรากฏ วณโต วา วิสนฺทมานปูติยา วิย จกฺขฺวาทิโต วิสเยสุ วิสนฺทนโต หรือเพราะ ซึมซ่านไปในอารมณ์ทั้งหลาย ทางทวาร ๖ มีจักขุทวารเป็นต้น ประดุจน�้ำเหลืองเสีย ที่ไหลซึมออกทางแผล ฉะนั้น ฯ อถวา อีกนัยหนึ่ง (โลภาทโย ตโย ธมฺมา) ธรรม ๓ ประการมีโลภะเป็นต้น อาสวา ชื่อว่า อาสวะ ภวโต อาภวคฺคํ ธมฺมโต อาโคตฺรภุํ สวนฺติ ปวตฺตนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เมื่อกล่าวทางภพ ย่อมซึมซ่านไป คือ เป็นไปจนถึงภวัคคพรหม (คือ อรูปาวจรภูมิที่ ๔ ได้แก่ เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ) เมื่อกล่าวทางธรรม ย่อมซึมซ่านไป คือ เป็นไป จนถึงโคตรภูธรรม ฯ จ ก็ อากาโร อา อักษร เอตฺถ ในบทว่า อาสวา นี้ อวธฺยตฺโถ มีความหมายว่าเขตแดน ฯ จ ก็ อวธิ เขตแดน ทุวิโธ มี ๒ อย่าง มริยาทาภิวิธิวเสน คือ เขตคัน ๑ เขตก�ำหนด ๑ ฯ ตตฺถ ใน ๒ อย่างนั้น กิริยํ พหิ กตฺวา ปวตฺโต เขตแดนที่กันกิริยาไว้ภายนอกเป็นไป อาปาฏลิปุตฺตํ วุฏฺโ เทโวติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า อาปาฏลิปุตฺตํ วุฏฺโ เทโว (ฝนตกถึงเขตคันเมืองปาฏลีบุตร) ดังนี้ มริยาโท ชื่อว่า เขตคัน ฯ กิริยํ พฺยาเปตฺวา ปวตฺโต เขตแดนที่เป็นไปครอบคลุมกิริยาตลอดหมด อาภวคฺคํ สทฺโท อพฺภุคฺคโตติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า อาภวคฺคํ สทฺโท อพฺภุคฺคโต (เสียงได้ระบือขึ้นไปตลอดถึงภวัคคพรหม) ดังนี้ อภิวิธิ ชื่อว่า เขตก�ำหนด ฯ ปน ส่วน อากาโร อา อักษร อิธ ในบทว่า อาสวา นี้ อภิวิธิมฺหิ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 307 ทฏพฺโพ พึงเห็นว่า ใช้ในความหมายว่าเขตก�ำหนด ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอเต ธรรม ๓ ประการมีโลภะเป็นต้นเหล ่านี้ ปวตฺตนฺติ ย ่อมเป็นไป นิพฺพตฺติฏานภูเต อารมฺมณภูเต จ ภวคฺเค ในภวัคคพรหม อันเป็นทั้งสถานที่ เกิด ทั้งเป็นอารมณ์ โคตฺรภุมฺหิจ อารมฺมณภูเต และในโคตรภูธรรมอันเป็นอารมณ์ อิติ แล ฯ วิชฺชมาเนสุฯเปฯ นิรุทฺธาติทฏพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นรูปความหมายว่า อญฺเสุ เมื่อธรรมอื่น ๆ มานาทีสุ มีมานเจตสิกเป็นต้น สวนฺเตสุ ซึ่งซึบซาบไป อาภวคฺคํ ถึงภวัคคพรหม อาโคตฺรภุญฺจ และถึงโคตรภู วิชฺชมาเนสุ แม้มีอยู่ เอเตเยว ธรรม ๓ ประการ คือ โลภะ ทิฏฐิ และอวิชชาเหล่านี้เท่านั้น อาสวภาเวนนิรุทฺธา ที่จ�ำกัดไว้แล้วว่าเป็นอาสวะ อาสวสทิสตาย เพราะเป็น เช่นกับของหมักดอง มทกรณตฺเถน ด้วยความหมายว่าเป็นเครื่องกระท�ำความเมา อภิพฺยาปนโต เหตุให้ซึบซาบไป อตฺตตฺตนิยคฺคหณวเสน ด้วยอ�ำนาจความยึดถือ ว่าเป็นตนและว่าเป็นของเนื่องกับตน ฯ (จบ ๒๕๑๖) กาโมเยว อาสโว อาสวะ คือกาม กามาสโว ชื่อว่า กามาสวะ กามราโค ได้แก่ กามราคะ ฯ ฉนฺทราโค ความก�ำหนัดด้วยอ�ำนาจความพอใจ รูปารูปภเวสุ ในรูปภพและอรูปภพ ภวาสโว ชื่อว่า ภวาสวะ ฌานนิกนฺติ ได้แก่ ความติดใจ ในฌาน ฯ ราโค ราคะ สสฺสตทิฏสหคโตว เฉพาะที่สหรคตด้วยสัสสตทิฏฐิ สงฺคยฺหนฺติ ท่านรวมเข้าไว้ เอตฺเถว ในภวาสวะนี้นั่นเอง ฯ ตตฺถ บรรดาอาสวะ ทั้ง ๓ นั้น ปโม อาสวะที่ ๑ อุปปตฺติภเวสุ ราโค ได้แก่ ราคะในอุปปัตติภพ ทุติโย อาสวะที่ ๒ กมฺมภเว (ราโค) ได้แก่ ราคะในกัมมภพ ตติโย อาสวะที่ ๓ ภวทิฏสหคโต ได้แก่ ราคะที่เกิดพร้อมด้วยภวทิฏฐิ ฯ ทฺวาสฏวิธา ทิฏ ทิฏฐิ ๖๒ ประการ ทิฏาสโว ชื่อว่า ทิฏฐาสวะ ฯ อาณํ ความไม่รู้ อฏสุ าเนสุ ในฐานะ ๘ ทุกฺขาทีสุ จตูสุ สจฺเจสุ ปุพฺพนฺเต อปรนฺเต ปุพฺพนฺตาปรนฺเต ปฏิจฺจสมุปฺปาเท จาติ คือ ในสัจจะ ๔ มีทุกขสัจเป็นต้น ในที่สุดเบื้องต้น ๑ ในที่สุดเบื้องปลาย ๑ ในที่สุดเบื้องต้นและที่สุดเบื้องปลาย ๑ ในปฏิจจสมุปบาท ๑ อวิชฺชาสโว ชื่อว่า อวิชชาสวะ ฯ
308 ปริเฉทที่ ๗ อธิบายโอฆะ ๔ ชลปฺปวาโห ห้วงน�้ำ โอโฆติ วุจฺจติ ท่านเรียกว่า โอฆะ โอตฺถริตฺวา หรณโต เพราะไหลท่วมท้นไป โอหนนโต วา หรือเพราะท่วมทับไปให้จมลง เหฏา กตฺวา หรณโต คือ พัดพาไปเบื้องล่าง โอสีทาปนโต ได้แก่ พัดให้จมลง ฯ เอเตว กิเลสเหล่านี้แหละ สตฺเต โอตฺถริตฺวา หนนฺตา (วิย) ย่อมเป็นเหมือน ไหลท่วมทับเหล่าสัตว์ไป วฏฏสฺมึ สตฺเต โอสีทาเปนฺตา วิย โหนฺติ คือ เป็นเหมือนกดเหล่าสัตว์ให้จมลงในวัฏฏะ อิติ เพราะเหตุนั้น (เต กิเลสเหล่านั้น) โอฆา จึงชื่อว่า โอฆะ โอฆสทิสตาย เพราะเป็นเหมือนห้วงน�้ำ ฯ ปน แต่ เอตฺถ ในอกุศลสังคหะนี้ อาสวาเยว อาสวะนั่นเอง โอฆาติ ปวุจฺจนฺติ ท่านเรียกว่า โอฆะ ยถาวุตฺตตฺเถน เพราะอรรถตามที่กล่าวแล้ว ฯ อธิบายโยคะ ๔ โยคา กิเลสทั้งหลายชื่อว ่าโยคะ วฏฏสฺมึ ภวยนฺตเก วา สตฺเต กมฺมวิปาเกน ภวนฺตราทีหิทุกฺเขน วา สตตํ โยเชนฺตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ประกอบเหล่าสัตว์ไว้ในวัฏฏะ หรือในยนต์คือภพด้วยกรรมวิบาก ด้วยภพอื่น เป็นต้น หรือด้วยทุกข์ติดต่อกัน เหฏาวุตฺตธมฺมาว ได้แก่ ธรรมที่กล่าวแล้ว ในเบื้องต้นนั่นเอง ฯ อธิบายคันถะ ๔ กายคนฺถา กิเลสทั้งหลายชื่อว ่ากายคันถะ นามกาเยน รูปกายํ ปจฺจุปฺปนฺนกาเยน วา อาคามิกายํ (อนาคตกายํ) คนฺเถนฺติ ทุปฺปมุญฺจํ เวเนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ร้อยรัด คือ ผูกไว้ ซึ่งรูปกายด้วยนามกาย หรือซึ่งอนาคตกายด้วยปัจจุบันกายให้แก้ได้โดยยาก ฯ อามสนํ ความยึดถือ ปรโต โดยประการอื่น อสภาวโต คือ โดยไม่จริง โคสีลาทินา สีเลน วตฺเตน ตทุภเยน จ สุทฺธีติเอวํ อย่างนี้ว่า ความหมดจด ย่อมมีได้ด้วยศีลมีโคศีลเป็นต้น
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 309 ด้วยพรต และด้วยศีลและพรตทั้ง ๒ นั้น ปรามาโส ชื่อว่า ปรามาส ฯ อิทเมว สจฺจํ โมฆมญฺนฺติอภินิวิสนํ ทฬฺหคฺคาโห ความยึดมั่น คือ ความถือมั่นว่า นี้ เท่านั้นจริง สิ่งอื่นเปล่า อิทํสจฺจาภินิเวโส ชื่อว่า อิทังสัจจาภินิเวส ฯ อธิบายอุปาทาน ๔ อุปาทานานิ ที่ชื่อว่าอุปาทาน มณฺฑูกํ ปนฺนโค วิย ภุสํ ทฬฺหํ อารมฺมณํ อาทิยนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยึดถืออารมณ์อย่างหนาแน่น คือ อย่างมั่งคง เหมือนงูรัดกบ ฉะนั้น ฯ กาโม เอว อุปาทานํ อุปาทาน คือกาม (กามูปาทานํ) ชื่อว่า กามุปาทาน วา อีกอย่างหนึ่ง กามูปาทานํ ที่ชื่อว่ากามุปาทาน กาเม อุปาทิยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยึดกามมั่น ฯ คหณํ ความยึดถือ สีลวตาทีนํ ศีลและพรตเป็นต้น อิมินา เม สีลวตาทินา สํสารสุทฺธีติ เอวํ อย่างนี้ว่า ความหมดจดจากสงสาร ย่อมมีได้ด้วยศีลและพรตเป็นต้นของเรานี้ สีลพฺพตูปาทานํ ชื่อว่า สีลัพพตุปาทาน ฯ วาโท ที่ชื่อว่าวาทะ วทนฺติ เอเตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า เป็นเครื่องกล่าวแห่งเหล่าชน ฯ วาโท วาทะ วีสติปริกปฺปิตสฺส อตฺตโน ของตนที่ท่านก�ำหนดไว้ ๒๐ ประการ ขนฺเธหิ พฺยติริตฺตาพฺยติริตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจถ้อยค�ำที่แยกจากขันธ์และถ้อยค�ำที่ไม่แยกจากขันธ์ อตฺตวาโท ชื่อว่า อัตตวาทะ ฯ โสเยว อุปาทานํ อุปาทาน คืออัตตวาทะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น อตฺตวาทูปาทานํ จึงชื่อว่า อัตตวาทุปาทาน ฯ อธิบายนีวรณ์๖ นีวรณา ที่ชื่อว่านีวรณ์ ฌานาทิวเสน อุปฺปชฺชนกํ กุสลจิตฺตํ นิเสเธนฺติ ตถา ตสฺส อุปฺปชฺชิตํุน เทนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ห้ามกุศลจิต ที่จะเกิดขึ้นด้วยอ�ำนาจฌานเป็นต้น คือ ไม่ยอมให้กุศลจิตนั้นเกิดขึ้นได้อย่างนั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง นีวรณา ที่ชื่อว่า นีวรณ์ ปญฺาจกฺขุโน อาวรณตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องกั้นปัญญาจักษุ ฯ กามฉนฺโท ที่ชื่อว่ากามฉันทะ ปญฺจสุ
310 ปริเฉทที่ ๗ กามคุเณสุ อธิมตฺตราคสงฺขาโต กาโมเยว ฉนฺทตฺเถน ฉนฺโท จาติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่าฉันทะ เพราะอรรถว่าพอใจ คือ กาม กล่าวคือความก�ำหนัด อย่างยิ่งในกามคุณ ๕ ฯ โสเยว นีวรณํ นีวรณ์คือกามฉันทะนั้น อิติ เหตุนั้น กามฉนฺทนีวรณํ จึงชื่อว่ากามฉันทนีวรณ์ ฯ พฺยาปาโท ที่ชื่อว่าพยาบาท พฺยาปชฺชติ วินสฺสติ เอเตน จิตฺตนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุถึง ความวอดวาย คือ ความพินาศแห่งจิต นววิโธ (โทโส) โทสะมี ๙ อย่าง อนตฺถํ เม อจรีติอาทินยปฺปวตฺตนววิธอาฆาตวตฺถุปทฏานตาย เพราะเป็น ปทัฏฐานแห่งอาฆาตวัตถุ ๙ ประการที่เป็นไปโดยนัยเป็นต้นว่า ผู้นี้ได้ประพฤติ สิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่เรา อฏานโกเปน สห ทสวิโธ วา โทโส หรือรวมกับ ความโกรธในฐานะอันไม่สมควร โทสะจึงมี ๑๐ ประการ ฯ โสเยว นีวรณํ นีวรณ์คือพยาบาทนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น พฺยาปาทนีวรณํ จึงชื่อว ่า พยาบาทนีวรณ์ ฯ ถีนมิทฺธเมว นีวรณํ นีวรณ์คือถีนะและมิทธะ ถีนมิทฺธนีวรณํ ชื่อว่า ถีนมิทธนีวรณ์ ฯ ตถา อุทฺธจฺจกุกฺกุจจนีวรณํ อุทธัจจกุกกุจจนีวรณ์ ก็เหมือนกัน ฯ (๒๕๓๓) กสฺมา ฯเปฯ วุตฺตาติ(ปุจฺฉา) ถามว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุไร เอเต ภินฺนธมฺมา ธรรมที่ต่างกันเหล่านี้ วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสไว้ เทฺว เทฺว เป็นคู่ ๆ เอเกกนีวรณภาเวน โดยความเป็นนิวรณธรรมแต่ละข้อ ฯ กิจฺจา ฯเปฯ สมานภาวโต (อิติ วิสชฺชนา) ตอบว่า กิจฺจาหารปฏิปกฺขานํ สมานภาวโต เพราะนิวรณธรรมเหล่านั้นมีหน้าที่ อาหาร และธรรมที่เป็นข้าศึก เหมือนกัน ฯ หิความจริง ถีนมิทฺธานํ จิตฺตุปฺปาทสฺส ลยาปาทนกิจฺจํ สมานํ ถีนนีวรณ์กับมิทธนีวรณ์ มีหน้าที่ท�ำจิตตุปบาทให้ถึงความหดหู ่เหมือนกัน อุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจานํ อวูปสนฺตภาวกรณํ อุทธัจจนีวรณ์กับกุกกุจจนีวรณ์ มีหน้าที่ ท�ำจิตตุปบาทให้ไม่สงบเหมือนกัน ฯ ตถา อนึ่ง ปุริมานํ ทฺวินฺนํ ถีนนีวรณ์กับ มิทธนีวรณ์ ๒ ประการเบื้องต้น ตนฺทิวิชมฺภิกา อาหาโร มีความเกียจคร้านและ ความบิดกายเป็นอาหาร ฯ เหตูติ อตฺโถ อธิบายว่า เป็นเหตุ (เหมือนกัน) ฯ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 311 ปจฺฉิมาน อุทธัจจนีวรณ์กับกุกกุจจนีวรณ์ ๒ ประการเบื้องหลัง ํ าติพฺยสนาทิวิตกฺกนํ มีความตรึกถึงความพินาศแห่งญาติเป็นต้นเป็นอาหาร (เหมือนกัน) ฯ จ อนึ่ง ปุริมานํ ทฺวินฺนํ ถีนนีวรณ์กับมิทธนีวรณ์ ๒ ประการเบื้องต้น วิริยํ ปฏิปกฺขภูตํ มีวิริยะเป็นข้าศึก (เหมือนกัน) ปจฺฉิมาน อุทธัจจนีวรณ์กับกุกกุจจนีวรณ์ ๒ ประการ ํ เบื้องหลัง สมโถ มีสมถะเป็นข้าศึก (เหมือนกัน) อิติ แล ฯ เตนาหุ โปราณา เพราะเหตุนั้น พระโบราณาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวไว้ว่า หิ ก็ เอตฺถ บรรดานิวรณธรรมเหล่านี้ ตาทินา พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้คงที่ เอกํ กตมุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจํ ถีนมิทฺธญฺจ ทรงจัดถีนนีวรณ์กับ มิทธนีวรณ์ไว้เป็นข้อเดียวกัน และทรงจัดอุทธัจจนิวรณ์กับกุกกุจจนิวรณ์ ไว้เป็นข้อเดียวกัน กิจฺจาหารวิปกฺขานํ เอกตฺตา เพราะนิวรณธรรม เหล่านั้น มีหน้าที่ อาหาร และธรรมที่เป็นข้าศึกอย่างเดียวกัน ฯ ลีนตาสนฺตตา กิจฺจํ ภาวะที่จิตตุปบาทหดหู่ เป็นหน้าที่ของ ถีนนีวรณ์กับมิทธนีวรณ์ (อย่างเดียวกัน) ภาวะที่จิตตุปบาทไม่สงบ เป็นหน้าที่ของอุทธัจจนีวรณ์กับกุกกุจจนีวรณ์ (อย่างเดียวกัน) ตนฺทิ าติวิตกฺกนํ เหตุ ความเกียจคร้าน เป็นเหตุแห่งถีนนีวรณ์กับ มิทธนีวรณ์ (อย่างเดียวกัน) ความตรึกถึงญาติ เป็นเหตุแห่ง อุทธัจจนีวรณ์ กับกุกกุจจนีวรณ์ (อย่างเดียวกัน) อิเม วิริยสมถาวิริยะ และสมถะเหล่านี้ เตสํ วิโรธิโน เป็นข้าศึกต่อนิวรณธรรมเหล่านั้น ฯ อธิบายอนุสัย ๗ อปฺปหีนตฺเถน อนุอนุ สนฺตาเน เสนฺตีติอนุสยา อนุรูปํ การณํ ลภิตฺวา อุปฺปชฺชนฺตีติ อตฺโถ (สภาวธรรมเหล่าใด) ย่อมนอนแนบสนิทอยู่ในสันดาน เพราะอรรถว่ายังละไม่ได้ อธิบายว่า ได้เหตุที่เหมาะสมแล้ว ย่อมเกิดขึ้นได้ เพราะเหตุนั้น (สภาวธรรมเหล่านั้น) จึงชื่อว่า อนุสัย ฯ หิความจริง อปฺปหีนา กิเลสา กิเลสทั้งหลาย ที่ยังละไม่ได้ การณลาเภ สติอุปฺปชฺชนารหา เหมาะที่จะ
312 ปริเฉทที่ ๗ เกิดขึ้นได้ ในเมื่อมีการได้เหตุ สนฺตาเน อนุสยิตา วิย โหนฺติ จึงเป็นประดุจ นอนแนบสนิทอยู่ในสันดาน อิติ เพราะเหตุนั้น ตทวตฺถา กิเลสทั้งหลายที่ก�ำหนด ว่าจะเกิดขึ้นได้ ในเมื่อมีการได้เหตุนั้น อนุสยาติ วุจฺจนฺติ พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสเรียกว่า อนุสัย ฯ ปน ก็ เต กิเลสา กิเลสเหล่านั้น นิปฺปริยายโต ว่าโดยตรง อนาคตา ทั้งที่เป็นอนาคต อตีตปจฺจุปฺปนฺนาปิ ทั้งที่เป็นอดีต ทั้งที่ เป็นปัจจุบัน ตถา วุจฺจนฺติ บัณฑิตก็เรียกว่า อนุสัย อย่างนั้นเหมือนกัน ตสภําวตฺตา เพราะมีสภาวะที่จะเกิดขึ้นได้นั้น ฯ หิ ก็ กาลเภเทน ว่าโดยประเภท แห่งกาล น ธมฺมานํ สภาวเภโท อตฺถิ ธรรมทั้งหลาย หามีความต่างกัน โดยสภาวะไม่ ฯ ยทิฯเปฯ ภเวยฺยุนฺติ(โจทนา) มีค�ำท้วงว่า ยทิ ถ้า (กิเลสา) กิเลสทั้งหลาย อนุสยา ชื่อว่าอนุสัย อปฺปหีนตฺเถน เพราะอรรถว่ายังละไม่ได้ไซร้ สพฺเพปิ กิเลสา อปฺปหีนา อนุสยา ภเวยฺยํุกิเลสทั้งหลายที่ยังละไม่ได้ ก็พึงเป็นอนุสัยไปแม้ทั้งหมด นนุ มิใช่หรือ ฯ น มยํ ฯเปฯ อนุสยาติ(วทามาติ วิสชฺชนา) มีค�ำเฉลยว่า มยํ วทาม ข้าพเจ้ากล่าวว่า (กิเลสา) กิเลสทั้งหลาย อนุสยา ชื่อว่าอนุสัย อปฺปหีนตามตฺเตน เพราะเหตุเพียงภาวะที่ยังละไม่ได้ ดังนี้ น ก็หามิได้ อถโข โดยที่แท้ (ข้าพเจ้ากล่าวว่า) ถามคตา กิเลสา กิเลสทั้งหลาย ที่ถึงความรุนแรง อนุสยา ชื่อว่าอนุสัย อปฺปหีนตฺเถน เพราะอรรถว่ายังละไม่ได้ ฯ จ ก็ ถามคมนํ การถึงความรุนแรง อาเวนิโก สภาโว ได้แก่ สภาวะแผนกหนึ่ง กามราคาทีนเมว แห่งกิเลสทั้งหลายมีกามราคะเป็นต้นนั่นเอง อนญฺสาธารโณ ซึ่งมีไม่ทั่วไปกับกิเลสประการอื่น อิติ เพราะเหตุนั้น อลํ วิวาเทน พอที ด้วยการกล่าวโต้แย้ง ฯ (จบ ๒๕๓๓) (๒๕๐๗) กามราโคเยว อนุสโย อนุสัยคือกามราคะ กามราคานุสโย ชื่อว่า กามราคานุสัย ฯ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 313 อธิบายสัญโญชน์๑๐ สญฺโชนา ที่ชื่อว่าสัญโญชน์ สํโยเชนฺติพนฺธนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ ว่า ประกอบสัตว์ไว้ คือ ผูกพันสัตว์ไว้ ฯ อธิบายกิเลส ๑๐ กิเลสา สภาวธรรมที่ชื่อว่ากิเลส จิตฺตํ กิลิสฺสติ อุปตปฺปติ พาธิยติวา เอเตหีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุเศร้าหมอง คือ เข้าไปเดือดร้อน หรือ ล�ำบากแห่งจิต ฯ อธิบายค�ำที่เหลือ กามภวนาเมนาติ บทว่า กามภวนาเมน (โดยชื่อของกามและภพ) ได้แก่ กามภวสงฺขาตานมาลมฺพนานํ นาเมน โดยชื่อของอารมณ์กล่าวคือกามและภพ ฯ ตถาปวตฺตนฺติ บทว่า ตถาปวตฺตํ (ที่เป็นไปแล้วโดยประการนั้น) โดยอรรถว่า ปวตฺตํ ที่เป็นไปแล้ว สีลพฺพตาทีนํ อามสนาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจอาการมีอาทิเช่น เชื่อมั่นศีลพรตเป็นต้น ปรโต โดยประการอื่น ฯ อธิบายคาถาสังคหะ (บ.ศ. ๙ ๒๕๓๖, ป.ธ. ๙ ๒๕๔๐) ปาปานํ อกุสลานํ สงฺคโห นวธา วุตฺโต ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวการรวบรวมบาปธรรมทั้งหลาย ที่ชื่อว่าอกุศลธรรม ทั้งหลายไว้ ๙ หมวด อาสโวฆา ฯเปฯ ทส อิติเอวํ อย่างนี้ คือ วตฺถุโต ว่าโดยวัตถุ ธมฺมโต วุตฺตนเยน คือ ว่าตามนัยที่กล่าวโดยธรรม อาสโวฆา จ อาสวะหมวด ๑ โอฆะหมวด ๑ โยคา จ โยคะหมวด ๑ คนฺถา จ คันถะหมวด ๑ ตโย วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้หมวดละ ๓ ประการ ตถา อุปาทานา ทุเว วุตฺตา ตณฺหาทิฏวเสน อุปาทานก็เหมือนกัน คือ ตรัสไว้ ๒ ประการ ได้แก่ โลภ เจตสิกกับทิฏฐิเจตสิกหมวด ๑ นีวรณา อฏ สิยุํ นิวรณธรรมพึงมี ๘ ประการ
314 ปริเฉทที่ ๗ หมวด ๑ ถีนมิทฺธอุทฺธจฺจกุกฺกุจฺจานํ วิสุํ คหณโต เพราะจัดถีนเจตสิก มิทธเจตสิก อุทธัจจเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก แยกจากกัน ฯ อนุสยา ฉเฬว โหนฺติอนุสัย ย่อมมี ๖ ประการเท่านั้นหมวด ๑ กามราคภวราคานุสยานํ ตณฺหาสภาเวน เอกโต คหิตตฺตา เพราะรวมกามราคานุสัยกับภวราคานุสัยเป็นข้อเดียวกัน โดยเป็น โลภเจตสิกเหมือนกัน ฯ นว สญฺโชนา มตา สังโยชน์บัณฑิตกล่าวไว้ ๙ ประการ หมวด ๑ อุภยตฺถ วุตฺตานํ ตณฺหาสภาวานํ ทิฏสภาวานญฺจ เอเกกสงฺคหิตตฺตา เพราะรวมอกุศลธรรมทั้งหลาย ซึ่งเป็นโลภเจตสิกเหมือนกัน และรวมอกุศลธรรม ทั้งหลาย ซึ่งเป็นทิฏฐิเจตสิกเหมือนกัน ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในพระสูตร และในพระอภิธรรมทั้งสอง เป็นอย่างละข้อ ฯ ปน ส่วน กิเลสา สุตฺตนฺตวเสน อภิธมฺมวเสนปิทส กิเลส ว่าทั้งด้วยอ�ำนาจพระสูตร ว่าทั้งด้วยอ�ำนาจพระอภิธรรม ย่อมมี ๑๐ ประการหมวด ๑ ฯ จ ก็ เอตฺถ ในอกุศลสังคหะนี้ นว สงฺคหา มีการรวบรวมอกุศลธรรมทั้งหลายไว้ ๙ หมวด นวฏฺ ฯเปฯ ปาปา อิจฺเจวํ อย่างนี้ คือ นวฏสงฺคหา โลภทิฏโย โลภเจตสิกมีในสังคหะ ๙ หมวด ๑ ทิฏฐิเจตสิกมีในสังคหะ ๘ หมวด ๑ สตฺตสงฺคหา อวิชฺชา โมหเจตสิกมีในสังคหะ ๗ หมวด ๑ ปฏิโฆ ปญฺจสงฺคโห โทสเจตสิกมีในสังคหะ ๕ หมวด ๑ จตุสงฺคหา กงฺขา วิจิกิจฉาเจตสิกมีในสังคหะ ๔ หมวด ๑ ติสงฺคหา มานุทฺธจฺจา มานเจตสิก ๑ อุทธัจจเจตสิก ๑ มีในสังคหะ อย่างละ ๓ หมวด ถีนํ ทฺวิสงฺคหํ ถีนเจตสิกมีในสังคหะ ๒ หมวด ๑ กุกฺกุจฺจมิทฺธาหิริกาโนตฺตปฺปิสฺสานิคูหนา เอกสงฺคหิตา ปาปา บาปธรรมทั้งหลาย คือ กุกกุจจเจตสิก มิทธเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก อิสสาเจตสิก และมัจฉริยเจตสิก มีในสังคหะ อย่างละ ๑ หมวด ๑ ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ๒๕๓๖, ป.ธ. ๙ ๒๕๐๗, ๒๕๔๐) จบอกุศลสังคหะ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 315 {อธิบายมิสสกสังคหะ} อธิบายเหตุธรรม ๖ เหตูสุ วตฺตพฺพํ ค�ำที่จะพึงกล่าวในเหตุธรรมทั้งหลาย เหฏาวุตฺตเมว ข้าพเจ้ากล่าวไว้เสร็จแล้วข้างต้น ฯ อธิบายองค์ฌาน ๗ ฌานงฺคานิธรรมชาตที่ชื่อว่าองค์ฌาน อาลมฺพนํ อุปคนฺตฺวา จินฺตนสงฺขาเตน อุปนิชฺฌานตฺเถน ยถารหํ ปจฺจนิกธมฺมชฺฌาปนตฺเถน จ ฌานานิ จ ตานิ องฺคานิจ สมุทิตานํ อวยวภาเวน อติยนฺติายนฺตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่าองค์ เพราะอรรถว่า อันท่านก�ำหนดไว้ คือ รู้ได้ โดยความเป็นส่วนย่อย แห่งธรรมทั้งหลายที่ผุดขึ้น ดังนี้ เหล่านั้นด้วย ชื่อว่าเป็นฌาน เพราะอรรถว่า เพ่งอารมณ์อย่างแน่วแน่ กล่าวคือคิดเข้าไปถึงอารมณ์ และเพราะอรรถว่าแผดเผา ธรรมที่เป็นข้าศึกตามสมควรด้วย ฯ จ ก็ อวยววินิมุตฺตสฺส สมุทายสฺส อภาเวปิ แม้เมื่อไม่มีหมวดธรรมที่พ้นจากองค์ประกอบ (วิตกฺกาทโย ฌานงฺคานีติ) วุจฺจนฺติ สภาวธรรมมีวิตกเป็นต้น บัณฑิตทั้งหลายก็เรียกว่า องค์ฌาน เอกโต หุตฺวา ฌานภาเวน โดยภาวะที่รวมกันเข้าเป็นฌาน เสนางฺครถงฺคาทโย วิย วิสุํ วิสุํ องฺคภาเวน เปรียบเหมือนเรียกว่า กองทหารและตัวรถเป็นต้น โดยภาวะ แห่งองค์ประกอบแต่ละอย่างมารวมกัน ฉะนั้น ฯ จ ก็ เอตฺถ ในบรรดา องค์ฌาน ๗ นี้ โทมนสฺสํ อกุสลชฺฌานงฺคํ โทมนัสเป็นองค์ฌานที่เป็นอกุศล เสสานิ กุสลากุสลพฺยากตชฺฌานงฺคานิ องค์ฌานที่เหลือเป็นองค์ที่เป็นกุศล อกุศล และอัพยากฤต ฯ
316 ปริเฉทที่ ๗ อธิบายองค์มรรค ๑๒ มคฺคา เตสํ ปถภูตานิองฺคานิองค์ทั้งหลาย อันเป็นทางแห่งสภาวธรรม ทั้งหลาย ที่ชื่อว่ามรรค สุคติทุคฺคตีนํ นิพฺพานสฺส จ อภิมุขํ ปาปนโต เพราะเป็น เครื่องยังเหล่าสัตว์ให้มุ่งหน้าไปถึงสุคติ ทุคคติ และพระนิพพาน มคฺคสฺส วา อฏงฺคิกสฺส องฺคานิ หรือองค์ทั้งหลายแห่งมรรคมีองค์ ๘ ประการ มคฺคงฺคานิ ชื่อว่า องค์มรรค ฯ สมฺมาทิฏิ ที่ชื่อว่าสัมมาทิฏฐิ สมฺมา อวิปรีตโต ปสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เห็นโดยชอบ คือ โดยไม่ผิด ฯ ปน ก็ สา สัมมาทิฏฐินั้น อตฺถิ ทินฺนนฺติอาทิวเสน ทสวิธา มี ๑๐ อย่าง ด้วยอ�ำนาจความเห็นชอบเป็นต้นว่า ทานที่บุคคลให้แล้ว ย่อมมีผลจริง ดังนี้ ปริญฺาทิกิจฺจวเสน จตุพฺพิธา วา หรือมี ๔ อย่างด้วยอ�ำนาจกิจมีปริญญากิจเป็นต้น ฯ สมฺมาสงฺกปฺโป ที่ชื่อว่า สัมมาสังกัปปะ สมฺมา สงฺกปฺเปนฺติ เอเตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องด�ำริโดยชอบ แห่งเหล่าชน ฯ โส สัมมาสังกัปปะนั้น เนกฺขมฺมสงฺกปฺปอพฺยาปาทสงฺกปฺปอวิหึสาสงฺกปฺปวเสน ติวิโธ มี ๓ อย่าง คือ เนกขัมมสังกัปปะ อัพยาปาทสังกัปปะ และอวิหิงสาสังกัปปะ ฯ สมฺมาวาจาทโย องค์มรรคมีสัมมาวาจาเป็นต้น เหฏา วิภาวิตาว ข้าพเจ้าได้อธิบายไว้แจ่มแจ้งแล้วข้างต้น ฯ สมฺมาวายาโม สภาวธรรม ที่ชื่อว่าสัมมาวายามะ สมฺมา วายมนฺติ เอเตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องพยายามโดยชอบแห่งเหล่าชน ฯ สมฺมาสติ ธรรมชาติที่ชื่อว่าสัมมาสติ สมฺมา สรนฺติ เอตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องระลึกโดยชอบ แห่งเหล่าชน ฯ ปน ก็ อิเมสํ ปเภท ประเภทแห่งสัมมาวายามะและสัมมาสติ ํ เหล่านี้ อุปริ วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าวไว้ข้างหน้า ฯ สมฺมาสมาธิ สภาวธรรมที่ชื่อว่าสัมมาสมาธิ สมฺมา สมญฺจ อาธิยติเอเตน จิตฺตนฺติเพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องตั้งมั่นโดยชอบและสม�่ำเสมอแห่งจิต ฯ ปญฺจวิธา เอกคฺคตา เอกัคคตามี ๕ อย่าง ปมชฺฌานาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจปฐมฌาน เป็นต้น ฯ มิจฺฉาทิฏอาทโย สภาวธรรมมีมิจฉาทิฏฐิเป็นต้น มคฺคงฺคานิ ชื่อว่า เป็นองค์มรรค ทุคฺคติมคฺคงฺคตฺตา เพราะเป็นองค์แห่งทางไปสู่ทุคคติ ฯ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 317 อธิบายอินทรีย์ ๒๒ ทสฺสนาทีสุฯเปฯ นามาติ(มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย ทสฺสนาทีสุจกฺขุวิญฺาณาทีหิ(อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ที่ยังจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในทัสสนกิจเป็นต้น เยภุยฺเยน ตํสหิตสนฺตานปฺปวตฺติยํ ลิงฺคาทีหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังเพศเป็นต้น ให้เป็นไปตามตน ในกาลเป็นไปในสันดานที่เกิดขึ้นพร้อมด้วยจักขุวิญญาณจิต เป็นต้นนั้น โดยมาก ชีวเน ชีวนฺเตหิ กมฺมชรูปสมฺปยุตฺตธมฺเมหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังธรรมที่สัมปยุตด้วยกัมมชรูปที่เป็นอยู่ให้เป็นไปตามตน ในกาลที่เป็นอยู ่ มนเนว สมฺปยุตฺตธมฺเมหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังสัมปยุตธรรมทั้งหลายให้เป็นไปตามตน เฉพาะในกาลที่รู้ สุขิตาทิภาเว สุขิตาทีหิ สหเชหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังธรรมทั้งหลายที่เกิดพร้อม ด้วยโสมนัสเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในความที่ธรรมเกิดพร้อมด้วยโสมนัสเป็นต้น สทฺทหนาทีสุ สทฺทหนาทิวสปฺปวตฺเตหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังธรรม ทั้งหลายที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจความเชื่อเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในความเชื่อเป็นต้น เตเหว อนญฺตญฺสฺสามีติ ปวตฺติยํ ตถาปวตฺเตหิ สหชาเตหิ (อตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา) ยังสหชาตธรรมทั้งหลายซึ่งเป็นไปแล้วอย่างนั้นให้เป็นไปตามตน ในกาลที่เป็นไปว่า เราจักรู้สิ่งที่ยังไม่รู้ให้ได้ ด้วยธรรมเหล่านั้นแล อาชานเน อญฺาตาวิภาเว จ อาชานนาทิวสปฺปวตฺเตหิอตฺตานํ อนุวตฺตาเปนฺตา (และ) ยังธรรมทั้งหลายที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจความรู้ทั่วเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในความรู้ ทั่วและในความเป็นผู้รู้ทั่ว อินฺทฺริยานิ นาม ชื่อว่า อินทรีย์ อิสฺสรตฺเถน เพราะอรรถว่าเป็นใหญ่ ดังนี้ อาห จกฺขุนฺทฺริยนฺติอาทิจึงกล่าวว่า จกฺขุนฺทฺริยํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน อฏกถายํ ในอรรถกถา อปเรปิอินฺทฺริยลิงฺคตฺถาทโย อินฺทฺริยตฺถา วุตฺตา พระพุทธโฆษาจารย์กล ่าวอรรถแห ่งอินทรีย์ทั้งหลาย มีอรรถว่าเชิดชูกรรมที่เป็นใหญ่เป็นต้น แม้อื่นอีก ฯ
318 ปริเฉทที่ ๗ (๒๕๒๕) ชีวิตินฺทฺริยนฺติ ที่ชื่อว่าชีวิตินทรีย์ ได้แก่ รูปารูปวเสน ทุวิธํ ชีวิตินฺทฺริยํ ชีวิตินทรีย์ ๒ อย่าง คือ รูปชีวิตินทรีย์ (ชีวิตินทรีย์ที่เป็นรูป) ๑ อรูปชีวิตินทรีย์ (ชีวิตินทรีย์ที่เป็นนาม) ๑ ฯ ปฏิปนฺนสฺส อินฺทฺริยํ อินทรีย์ของ ท่านผู้ปฏิบัติ อนมตคฺเค ฯเปฯ สฺสามีติ เอวมชฺฌาสเยน โดยอัธยาศัย อย่างนี้ว่า อนมตคฺเค สํสาเร อนญฺาตํ อมตปทํ จตุสจฺจธมฺมเมว วา สฺสามิ เราจักรู้สิ่งที่ยังไม่รู้ในสงสารที่มีเบื้องต้นและที่สุด อันบุคคลรู้ตามไม่ได้แล้ว คือ อมตบท หรือสัจจธรรม ๔ ประการนั่นเอง อนญฺตญฺสฺสามีตินฺทฺริยํ ชื่อว่า อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์ ฯ (ญาณใด) อาชานาติ ย่อมรู้ทั่วถึง ปมมคฺเคน ทิฏมริยาทํ อนติกฺกมิตฺวา ชานาติ คือ รู้ไม่เลยเขตแดนอันโสดาปัตติมรรค เห็นแล้วด้วย อินฺทฺริยญฺจ เป็นอินทรีย์ด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น (ญาณนั้น) อญฺนฺทฺริยํ ชื่อว่า อัญญินทรีย์ ฯ อินฺทฺริยํ อินทรีย์ อญฺาตาวิโน ของท่าน ผู้รู้ทั่วถึงแล้ว จตฺตาริสจฺจานิปฏิวิชฺฌิตฺวา ตสฺส อรหโต คือ ของพระอรหันต์ ผู้รู้แจ้งสัจจะ ๔ ประการ แล้วด�ำรง (ชีพ) อยู่ อญฺาตาวินฺทฺริยํ ชื่อว่า อัญญาตาวินทรีย์ ฯ จ ก็ เอตฺถ ในที่นี้ ธมฺมสรูปวิภาวนตฺถํ เพื่อทรงอธิบาย สภาวธรรม ปญฺนฺทฺริยคฺคหณํ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสศัพท์ว่า ปัญญินทรีย์ ไว้ ฯ ปุคฺคลชฺฌาสยกิจฺจวิเสสวิภาวนตฺถํ เพื่อทรงอธิบายหน้าที่พิเศษแห่ง อัธยาศัยแห่งบุคคล อนญฺตญฺสฺสามีตินฺทฺริยาทีนํ คหณํ จึงตรัสศัพท์ว่า อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์ เป็นต้นไว้ ฯ จ ก็ เอตฺถ ในที่นี้ อชฺฌตฺติกายตนานิ อาทิโต วุตฺตานิ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอินทรีย์ที่เป็นอายตนะภายใน (๕ ประการ) ไว้เบื้องต้น สตฺตปญฺตฺติยา วิเสสนิสฺสยตฺตา เพราะเป็นที่อยู่อาศัยพิเศษแห่ง การบัญญัติว่าสัตว์ ฯ ปน ส่วน มนินฺทฺริยํ มนินทรีย์ เอตฺเถว วตฺตพฺพมฺปิ แม้ควร ตรัสไว้ในอินทรีย์ที่เป็นอายตนะภายในนี้เหมือนกัน อชฺฌตฺติกายตนภาวสามญฺเน โดยเป็นอินทรีย์ที่เป็นอายตนะภายในเหมือนกัน ชีวิตินฺทฺริยานนฺตรํ วุตฺตํ (แต่) ตรัสไว้ในล�ำดับต่อจากชีวิตินทรีย์ อรูปินฺทฺริเยหิ สห เอกโต ทสฺสนตฺถํ เพื่อ ทรงแสดงไว้รวมกับอินทรีย์ที่เป็นอรูป (เป็นนาม) ฯ ตทนนฺตรํ ภาวทฺวยํ วุตฺตํ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 319 ตรัสอินทรีย์ที่เป็นภาวรูป ๒ ประการไว้ ในล�ำดับต่อจากอินทรีย์ที่เป็นอายตนะ ภายในนั้น สายํ ฯเปฯ คจฺฉตีติ ทสฺสนตฺถํ เพื่อทรงแสดงว่า สายํ ปญฺตฺติ บัญญัตินี้นั้น อิตฺถี ปุริโสติ วิภาคํ คจฺฉติย่อมถึงการจ�ำแนกได้ว่า เป็นหญิง เป็นชาย อิเมสํ วเสน ด้วยอ�ำนาจอินทรีย์ที่เป็นภาวรูป ๒ ประการเหล่านี้ ฯ ตโต ต่อแต่นั้น ชีวิตินฺทฺริยํ (วุตฺตํ) ตรัสชีวิตินทรีย์ไว้ ตยิเม ฯเปฯ ติฏนฺตีติ ทสฺสนตฺถํ เพื่อทรงแสดงว่า ตยิเม อุปาทินฺนธมฺมา อุปาทินนธรรมเหล่านี้นั้น อิมสฺส วเสน ติฏนฺติ ย่อมด�ำรงอยู่ได้ด้วยอ�ำนาจชีวิตินทรีย์นี้ ฯ ตโต ต่อแต่นั้น เวทนาปญฺจกํ (วุตฺต)ํ ตรัสอินทรีย์ที่เป็นเวทนา ๕ ประการไว้ สตฺตสญฺโต ฯเปฯ สงฺกิลิสฺสตีติทสฺสนตฺถํ เพื่อทรงแสดงว่า สตฺตสญฺโต ธมฺมปุญฺโช กองธรรม ที่เข้าใจกันว่าสัตว์ ปพนฺธวเสน ปวตฺตมาโน เป็นไปอยู่ได้ด้วยอ�ำนาจความต่อเนื่องกัน อิมาหิเวทนาหิสงฺกิลิสฺสติย่อมเศร้าหมองด้วยอินทรีย์ที่เป็นเวทนา (๕ ประการ) เหล่านี้ ฯ ปน ก็ ตโต ต่อแต่นั้น สทฺธาทิปญฺจกํ (วุตฺต)ํ ตรัสอินทรีย์ ๕ ประการ มีสัทธินทรีย์เป็นต้นไว้ โวทานสมฺภารทสฺสนตฺถ เพื่อทรงแสดงธรรมอันเป็นเหตุผ่องแผ้ว ํ ที่ควรบ�ำเพ็ญ ตาหิวิสุทฺธิกามานํ (สตฺตานํ) แก่เหล่าสัตว์ผู้ต้องการความบริสุทธิ์ จากอินทรีย์ที่เป็นเวทนา ๕ ประการเหล่านั้น ฯ อนฺเต ในที่สุด ตีณิ วุตฺตานิ ตรัสอินทรีย์ ๓ ประการไว้ สมฺภต- ฯเปฯ โหนฺตีติทสฺสนตฺถํ เพื่อทรงแสดงว่า จ ก็ สมฺภตโวทานสมฺภารา (สตฺตา) เหล่าสัตว์ผู้มีธรรมอันเป็นเหตุผ่องแผ้วที่ควร บ�ำเพ็ญได้บ�ำเพ็ญเพียบพร้อมแล้ว อิเมหิวิสุชฺฌนฺติ ย่อมบริสุทธิ์ได้ด้วยอินทรีย์ ๓ ประการเหล่านี้ อิติ เพราะเหตุนั้น (เต) สัตว์เหล่านั้น วิสุทฺธิปฺปตฺตา นิฏตกิจฺจ า จ โหนฺติจึงเป็นผู้บรรลุถึงความบริสุทธิ์แล้ว และเป็นผู้เสร็จกิจแล้ว ฯ เอตฺตาวตา ด้วยการทรงแสดงอินทรียธรรมเพียงเท่านี้ อธิปฺเปตตฺถสิทฺธิ ย่อมส�ำเร็จความ ที่ทรงพระประสงค์แล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น อญฺเสํ อคฺคหณํ จึงไม่ทรงระบุ ธรรมเหล่าอื่นไว้(อีก) อิติ อิทํ รวมความดังกล่าวมานี้ เอเตสํ อนุกฺกเมน เทสนาย การณํ คือ เหตุแห่งการทรงแสดงอินทรียธรรมเหล่านั้นตามล�ำดับ อิติ เพราะเหตุนั้น อลมติปปญฺเจน พอทีไม่ต้องให้พิสดารมากนัก ฯ (จบ ๒๕๒๕)
320 ปริเฉทที่ ๗ อธิบายพละ ๙ สทฺธาทีนิ สตฺต ธรรม ๗ ประการมีสัทธาเป็นต้น พลานิ ชื่อว่า พละ อกมฺปิยตฺเถน เพราะอรรถว่าไม่หวั่นไหว อสทฺธิยโกสชฺชปมาทอุทฺธจฺจอวิชฺชาอหิริกอโนตฺตปฺปสงฺขาเตหิ ปฏิปกฺขธมฺเมหิ ด้วยธรรมที่เป็นข้าศึก กล่าวคือ อสัทธิยะ โกสัชชะ ปมาทะ อุทธัจจะ อวิชชา อหิริกะ และอโนตตัปปะ สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ ถิรภาเวน จ และเพราะความมั่นคงในสัมปยุตธรรมทั้งหลาย ฯ ปน ส่วน อหิริกาโนตฺตปฺปทฺวยํ อหิริกะและอโนตตัปปะทั้ง ๒ ประการ (พลํ) ชื่อว่า พละ สมฺปยุตฺตธมฺเมสุ ถิรภาเวเนว เพราะมั่นคงในสัมปยุตธรรมทั้งหลาย เท่านั้น ฯ อธิบายอธิปติธรรม ๔ ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย อตฺตาธีนปวตฺตีนํ ปติภูตา ซึ่งเป็นใหญ่กว่า สัมปยุตธรรมที่มีความเป็นไปเนื่องกับตน อธิปตี ชื่อว่า อธิบดี ฯ หิ ความจริง ฉนฺทวโต กินฺนาม น สิชฺฌตีติอาทิกํ ปุพฺพาภิสงฺขารูปนิสฺสยํ ลภิตฺวา อุปฺปชฺชมาเน จิตฺเต เมื่อจิตได้การปรุงแต่งเบื้องต้นเป็นต้นว่า ชื่อว่าอะไรเล่า จะไม่ส�ำเร็จแก่ผู้มี ความพอใจ ดังนี้ เป็นที่อิงอาศัย เกิดขึ้นอยู่ ฉนฺทาทโย อธิบดีธรรม ๔ มีฉันทาธิบดี เป็นต้น ธูรภูตา ก็รับหน้าที่ สยํ สมฺปยุตฺตธมฺเม สาธยมานา หุตฺวา ปวตฺตนฺติ ยังสัมปยุตธรรมให้ส�ำเร็จไปเสียเอง ฯ จ ก็ เต สัมปยุตธรรมเหล่านั้น เตสํ วเสน ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไปด้วยอ�ำนาจอธิบดีธรรม ๔ เหล่านั้น เตน เหตุนั้น เต อธิบดีธรรม ๔ เหล่านั้น ปวตฺตนฺติ จึงเป็นไป อตฺตาธีนานํ ปติภาเวน โดยความ เป็นใหญ่กว่าสัมปยุตธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับตน ฯ อญฺเสํ ฯเปฯ อินฺทฺริยตาติ อยํ อธิปตินฺทฺริยานํ วิเสโส อธิปติธรรมและอินทรียธรรมมีความต่างกันดังนี้ คือ อิสฺสริยํ ความเป็นใหญ่ อญฺเสํ อธิปติธมฺมานํ อธิปติภาวนิวารณวเสน ด้วยอ�ำนาจห้ามความเป็นอธิบดีแห่งธรรมที่เป็นใหญ่เหล่าอื่น อธิปติตา ชื่อว่า ความเป็นอธิปติธรรม ฯ เกวลํ ทสฺสนาทีสุจกฺขุวิญฺาณาทีหิอนุวตฺตาปนมตฺตํ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 321 เพียงการท�ำจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นให้เป็นไปตามตน ในทัสสนกิจเป็นต้น อย่างเดียว สนฺเตสุปิ อินฺทฺริยนฺตเรสุ ในเมื่ออินทรียธรรมเหล่าอื่น แม้ยังมีอยู่ อินฺทฺริยตา ชื่อว่า ความเป็นอินทรียธรรม ฯ อธิบายอาหาร ๔ อาหารา สภาวธรรมที่ชื่อว่าอาหาร โอชฏมกรูปาทโย อาหรนฺตีติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า น�ำรูปมีโอชาเป็นที่ ๘ เป็นต้นมา ฯ หิ ความจริง กวฬีการาหาโร กวฬีการาหาร โอชฏมกรูปํ อาหรติ ย่อมน�ำรูปที่มีโอชาเป็นที่ ๘ มา ฯ ผสฺสาหาโร ผัสสาหาร ติสฺโส เวทนา (อาหรติ) ย่อมน�ำเวทนา ๓ มา ฯ กุสลากุสลกมฺมํ กุศลกรรมและอกุศลกรรม มโนสญฺเจตนาหารสงฺขาตํ กล่าวคือมโนสัญเจตนาหาร ตีสุ ภเวสุ ปฏิสนฺธึ (อาหรติ) ย่อมน�ำปฏิสนธิ ในภพทั้ง ๓ มา ฯ ปฏิสนฺธิวิญฺาณํ ปฏิสนธิวิญญาณ วิญฺาณาหารสงฺขาตํ กล่าวคือวิญญาณาหาร สหชาตนามรูเป อาหรติ ย่อมน�ำนามและรูปซึ่งเกิด ร่วมกันมา ฯ อญฺเปิ ธรรมแม้เหล่าอื่น สกสกปจฺจยุปฺปนฺเน อาหรนฺตา ซึ่งน�ำธรรมที่อาศัยปัจจัยของตน ๆ เกิดขึ้นมา อตฺถิ มีอยู่ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น อิเมเยว ธรรม ๔ อย่างนี้เท่านั้น จตฺตาโร อาหาราติวุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกว่า อาหาร ๔ อชฺฌตฺติกสนฺตติยา วิเสสปฺปจฺจยตฺตา เพราะเป็นปัจจัยพิเศษแก่ความสืบต่อที่เป็นไปภายใน ฯ หิ ความจริง กวฬีการาหาโร กวฬีการาหาร วิเสสปฺปจฺจโย ชื่อว่า เป็นปัจจัยพิเศษ รูปกายสฺส แก่รูปกาย กวฬีการาหารภกฺขานํ สตฺตานํ ของเหล่าสัตว์ผู้มีกวฬีการาหารเป็นภักษา กมฺมาทิชนิตสฺสาปิตสฺส กวฬีการาหารุปตฺถมฺภพเลเนว ทสวสฺสาทิปวตฺติสมฺภวโต เพราะรูปกายนั้นแม้อันปัจจัยมีกรรมเป็นต้นให้เกิดแล้ว ก็มีความเป็นไปตลอด ๑๐ ปี เป็นต้นได้ ด้วยก�ำลังกวฬีการาหารคอยช่วยอุปถัมภ์นั่นเอง ฯ ตถาหิจริงอย่างนั้น เอโส กวฬีการาหารนี้ ธาตีวิย ฯเปฯ เคหสฺสาติวุตฺโต ท่านอาจารย์กล่าวว่า ธาตี วิย กุมารสฺส คล้ายกับแม่นมคอยอุปถัมภ์กุมาร อุปตฺถมฺภนกยนฺตํ วิย
322 ปริเฉทที่ ๗ เคหสฺส คล้ายกับแม่แรงช่วยค�้ำเรือน ฉะนั้น ฯ ผสฺโสปิ แม้ผัสสาหาร สุขาทิวตฺถุภูตํ อารมฺมณํ ผุสนฺโตเยว ซึ่งถูกต้องอารมณ์อันเป็นที่ตั้งอาศัยแห่งสุขเวทนาเป็นต้น นั่นเอง สตฺตานํ ิติยา ปจฺจโย โหติก็เป็นปัจจัยแก่การด�ำรงอยู่แห่งเหล่าสัตว์ สุขาทิเวทนาปฺปวตฺตเนน โดยความเป็นไปแห่งสุขเวทนาเป็นต้น ฯ มโนสญฺเจตนา มโนสัญเจตนาหาร กุสลากุสลกมฺมวเสน อายูหมานาเยว ประมวลมาด้วยอ�ำนาจ กุศลกรรมและอกุศลกรรมนั่นแล สตฺตานํ ติยา ปจฺจโย โหติ เป็นปัจจัยแก่ ความด�ำรงอยู่แห่งเหล่าสัตว์ ภวมูลนิปฺผาทนโต โดยให้ส�ำเร็จมูลแห่งภพ (ปฏิสนธิ วิญญาณ) ฯ วิญฺาณํ วิญญาณาหาร วิชานนฺตเมว ซึ่งรู้แจ้งอารมณ์อยู่เท่านั้น สตฺตานํ ติยา ปจฺจโย โหติย่อมเป็นปัจจัยแก่ความด�ำรงอยู่แห่งเหล่าสัตว์ นามรูปปฺปวตฺตเนน โดยความเป็นไปแห่งนามและรูป อิติ รวมความดังกล่าวมานี้ เอเตเยว ธรรม ๔ อย่างเหล่านี้เท่านั้น อาหาราติวุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเรียกว่า อาหาร อชฺฌตฺตสนฺตานสฺส วิเสสปฺปจฺจยตฺตา เพราะเป็นปัจจัยพิเศษ แก่ความสืบต่อภายใน เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ฯ ผสฺสาทีนํ ทุติยาทิภาโว ความที่ผัสสาหารเป็นต้นเป็นที่ ๒ เป็นอาทิ เทสนากฺกมโต (วุตฺโต) ตรัสไว้แล้ว โดยล�ำดับเทศนา น อุปฺปตฺติกฺกมโต (วุตฺโต) หาตรัสไว้โดยล�ำดับความเกิดขึ้นไม่ ฯ อธิบายค�ำที่เหลือ (บ.ศ. ๙ ๒๕๔๓, ๒๕๔๙, ป.ธ. ๙ ๒๕๔๗) ปญฺจวิญฺาณานํ ฯเปฯ วุตฺตนฺติ อิมมตฺถํ มนสิ นิธาย ท่านพระอนุรุทธาจารย์ตั้งใจถึงอธิบายความนี้ว่า ปญฺจวิญฺาณานํ วิตกฺกวิรเหน อารมฺมเณสุ อภินิปาตมตฺตตฺตา เพราะ ปัญจวิญญาณจิตทั้งหลาย (๑๐ ดวง) เป็นเพียงตกลงในอารมณ์ทั้งหลาย (๕ ประการ มีรูปารมณ์เป็นต้น) โดยเว้นจากวิตกเจตสิก อุเปกฺขาสุขทุกฺขานิ อุเบกขาเวทนา สุขเวทนา และทุกขเวทนา เตสุ วิชฺชมานานิปิแม้จะมีอยู่ในปัญจวิญญาณจิต เหล่านั้น น อุทฺธฏานิพระผู้มีพระภาคเจ้าก็มิได้ทรงยกขึ้นแสดง ฌานงฺคภาเวน โดยความเป็นองค์ฌาน อุปนิชฺฌานาการสฺส อภาวโต เพราะไม่มีอาการเพ่งอารมณ์
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 323 ที่แนวแน่ ฯ หิ ความจริง ฌานงฺค องค์ฌาน ํ วิตกฺกปจฺฉิมกํ วุตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสว่า มีภายหลังวิตกเจตสิก ฯ โสฬสจิตฺเตสุ วิริยาภาวโต เพราะวิริยเจตสิก ไม่เกิดมีในจิต ๑๖ ดวง ทฺวิปญฺจวิญฺาณมโนธาตุตฺติกสนฺตีรณตฺติกวเสน คือ ปัญจวิญญาณจิตทั้ง ๒ ฝ่าย (๑๐ ดวง) มโนธาตุจิต ๓ ดวง และสันตีรณจิต ๓ ดวง สมาธิ เอกัคคตาเจตสิก ตตฺถ วิชฺชมาโนปิ แม้จะมีอยู่ในจิต ๑๖ ดวงนั้น พลวภาวํ (พลภาวํ) น คจฺฉติก็ไม่ถึงภาวะเป็นพลธรรม ฯ วิริย- ฯเปฯ พลนฺติ หิ วุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า วิริยปจฺฉิมกํ พลํ พลธรรม มีภายหลังวิริยเจตสิก ฯ ตถา อนึ่ง อฏารสเหตุเกสุ ในอเหตุกจิต ๑๘ ดวง มคฺคงฺคานิ น ลพฺภนฺติ ก็หาองค์มรรคทั้งหลายไม่ได้ เหตุกวิรหโต เพราะเว้นจากเหตุธรรม (๖ ประการ) ฯ เหตุ- ฯเปฯ มคฺคงฺคนฺติ หิ วุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว ่า เหตุปจฺฉิมกํ มคฺคงฺคํ องค์มรรค มีภายหลังเหตุธรรม ดังนี้ อาห ปญฺจวิญฺาเณสูติอาทิ จึงกล่าวว่า ปญฺจวิญฺาเณสุ ดังนี้เป็นต้น ฯ ฌานงฺคานิ น ลพฺภนฺตีติ สมฺพนฺโธ เชื่อม ความว่า (ปญฺจวิญฺาเณสุ ในปัญจวิญญาณจิตทั้งหลาย) ฌานงฺคานิ น ลพฺภนฺติ ย่อมหาองค์ฌานทั้งหลายไม่ได้ ฯ อธิโมกฺขวิรหโต เพราะเว้นจาก อธิโมกข์เจตสิก เอกคฺคตา เอกัคคตาเจตสิก วิจิกิจฺฉาจิตฺเต ในจิตที่สัมปยุตด้วย วิจิกิจฉาเจตสิก (โมหมูลจิตดวงที่ ๑) จิตฺตฏติมตฺตํ เป็นเพียงความด�ำรงอยู่ แห่งจิต ปน แต่ น มิจฺฉาสมาธิสมาธินฺทฺริยสมาธิพลโวหารํ คจฺฉติ ไม่ถึง จะเรียกว่า มิจฉาสมาธิ สมาธินทรีย์ และสมาธิพละ อิติ เพราะเหตุนั้น อาห ตถา วิจิกิจฺฉาจิตฺเตติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ตถา วิจิกิจฺฉาจิตเต ดังนี้เป็นต้น ฯ ทฺวิเหตุกติเหตุกคฺคหเณน ด้วยศัพท์ว่า ทวิเหตุกะ และติเหตุกะ เอกเหตุเกสุ อธิปตีนํ อภาวํ ทสฺเสติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์แสดงว่า อธิปติธรรม (๔ ประการ) ไม่เกิดมีในเอกเหตุกจิตทั้งหลาย (โมหมูลจิต ๒ ดวง) ฯ อวธารณํ บทอวธารณะ ชวเนเสฺววาติ (เอตฺถ) ในบทว่า ชวเนเสฺวว นี้ โลกิยวิปาเกสุ อธิปตีนํ อสมฺภวทสฺสนตฺถํ มีไว้เพื่อแสดงว่าอธิปติธรรมทั้งหลายไม่เกิดมี
324 ปริเฉทที่ ๗ ในโลกิยวิบากจิตทั้งหลาย (๓๒ ดวง) ฯ หิ ความจริง เต โลกิยวิบากจิตเหล่านั้น น ฉนฺทาทีนิ ปุรกฺขิตฺวา ปวตฺตนฺติย่อมไม่เชิดชูอธิปติธรรม ๔ ประการ มี ฉันทาธิปติเป็นต้นเป็นไป ฯ วีมํสาธิปติโน ทฺวิเหตุกชวเนสุ อสมฺภวโต เพราะ วีมังสาธิปติธรรมไม่เกิดมี ในชวนจิตที่เป็นทวิเหตุกะ จิตฺตาภิสงฺขารูปนิสฺสยสฺส จ สมฺภวานุรูปโต และเพราะเหมาะสมแก่ความเกิดมีแห่งอุปนิสัยคือความปรุงแต่งจิต ลพฺภมานตํ สนฺธายาห ยถาสมฺภวนฺติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หมายถึงภาวะแห่ง อธิปติธรรมที่จะหาได้อยู่ จึงกล่าวว่า ยถาสมฺภวํ ดังนี้ ฯ (ทฺวิเหตุกติเหตุกชวเนสุ ในชวนจิตที่เป็นทวิเหตุกะและชวนจิตที่เป็นติเหตุกะทั้งหลาย) เอโกว ลพฺภติ ชื่อว่า ย่อมหาอธิปติธรรมได้เพียงประการเดียวเท่านั้น (ยถาสมฺภว ตามที่เกิดมีได้) ํ อิตรถา อธิปติภาวาโยคโต เพราะนอกจากนี้ ไม่ประกอบด้วยภาวะเป็นอธิปติธรรม ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ปี ๒๕๔๓) หิ ก็ เตเนว เพราะเหตุนั้นนั่นแหละ ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า อธิปติ อธิปติสมฺปยุตฺตานนฺติอาทินา (นเยน) อวตฺวา จึงไม่ตรัสไว้โดยนัยเป็นต้นว่า อธิปติธรรม เป็นปัจจัยโดยอธิปติปัจจัย แก่ธรรม ทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยอธิปติธรรม ดังนี้ เหตุปจฺจยนิทฺเทเส วิย เหมือนตรัสไว้ใน นิเทศแห่งเหตุปัจจัย เหตุ เหตุสมฺปยุตฺตกานํ ธมฺมานํ เหตุปจฺจเยน ปจฺจโยติอาทินา (นเยน) โดยนัยเป็นต้นว่า เหตุธรรม เป็นปัจจัยโดยเหตุปัจจัย แก่ธรรมทั้งหลาย ที่สัมปยุตด้วยเหตุธรรม ดังนี้ อธิปติปจฺจโย อุทฺธโฏ แล้วทรงยกอธิปติปัจจัยขึ้น แสดง เอเกกาธิปติวเสเนว ด้วยอ�ำนาจอธิปติธรรมแต่ละอย่างเท่านั้น ฉนฺทาธิปติ ฉนฺทสมฺปยุตฺตกานนฺติอาทินา (นเยน) โดยนัยเป็นต้นว่า ฉันทาธิปติธรรม เป็นปัจจัยโดยอธิปติปัจจัย แก่ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยฉันทาธิปติธรรม ดั้งนี้ ฯ (จบ ๒๕๔๗)
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 325 อธิบายคาถาสังคหะ (บ.ศ.๙ ปี ๒๕๔๐ และ ป.ธ. ๙ ปี ๒๕๓๑) สงฺคโห สังคหะ กุสลาทีหิ ตีหิสมากิณฺโณ ซึ่งระคนด้วยธรรม ๓ ประการมีกุศลธรรมเป็นต้น มิสฺสกสงฺคโห ชื่อว่ามิสสกสังคหะ เอวํนามโก คือ มีชื่ออย่างนั้น ตโตเยว เพราะระคนด้วย ธรรม ๓ ประการมีกุศลธรรมเป็นต้นนั้นนั่นเอง วตฺถุโต ฯเปฯ วุตฺตาติสตฺตธา วุตฺโต ท่านอาจารย์กล่าวไว้ ๗ หมวด คือ วตฺถุโต กล่าวโดยวัตถุ ธมฺมวเสน ได้แก่ กล่าวตามอ�ำนาจธรรม เหตุธมฺมา ฉ เหตุธรรม พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ๖ ประการหมวด ๑ ฌานงฺคานิ ปญฺจ องค์ฌานตรัสไว้ ๕ ประการหมวด ๑ โสมนสฺสโทมนสฺสุเปกฺขานํ เวทนาวเสน เอกโต คหิตตฺตา เพราะทรงรวม โสมนัสเวทนา โทมนัสเวทนา และอุเบกขาเวทนา เป็นข้อเดียวกัน คือเป็น เวทนาเจตสิก ฯ มคฺคงฺคานิ นว องค์มรรคตรัสไว้ ๙ ประการหมวด ๑ มิจฺฉาสงฺกปฺปวายามสมาธีนํ วิตกฺกวิริยจิตฺเตกคฺคตาสภาเคน สมฺมาสงฺกปฺปาทีหิ สห เอกโต คหิตตฺตา เพราะทรงรวมมิจฉาสังกัปปะ มิจฉาวายามะ และมิจฉาสมาธิ เป็นข้อเดียวกันกับสัมมาสังกัปปะเป็นต้น โดยมีส่วนเป็นวิตกเจตสิก วิริยเจตสิก และจิตเตกัคคตาเจตสิกเหมือนกัน ฯ อินฺทฺริยธมฺมา โสฬส อินทรียธรรมตรัสไว้ ๑๖ ประการหมวด ๑ ปญฺจนฺนํ เวทนินฺทฺริยานํ เวทนาสามญฺเน (เอกโต คหิตตฺตา) เพราะทรงรวมอินทรียธรรมที่เป็นเวทนา ๕ ประการ เป็นข้อเดียวกัน โดยเป็นเวทนาเจตสิกเหมือนกัน ติณฺณํ โลกุตฺตรินฺทฺริยานํ ปญฺนฺทฺริยสฺส จ าณสามญฺเน จ เอกโต คหิตตฺตา ทรงรวมอินทรียธรรมที่เป็นฝ่ายโลกุตตระ ๓ ประการ และปัญญินทรีย์เป็นข้อเดียวกัน โดยเป็นปัญญาเจตสิกเหมือนกัน รูปารูปชีวิตินฺทฺริยานญฺจ วิสุํ วิสุํ คหิตตฺตา และทรงแยกรูปชีวิตตินทรีย์กับ อรูปชีวิตินทรีย์ออกจากกัน ฯ ปน ส่วน พลธมฺมา นว อีริตา พลธรรมตรัสไว้ ๙ ประการหมวด ๑ ยถาวุตฺตนเยเนว โดยนัยตามที่กล่าวไว้แล้วนั่นแหละ ฯ อธิปติธมฺมา จตฺตาโร วุตฺตา อธิปติธรรมตรัสไว้ ๔ ประการหมวด ๑ ฯ อาหารา
326 ปริเฉทที่ ๗ ตถา จตฺตาโร วุตฺตา อาหารธรรม ก็เหมือนกัน คือ ตรัสไว้ ๔ ประการหมวด ๑ ฯ จ ก็ เอตฺถ บรรดาธรรม (๕๓ ประการ) มีเหตุธรรมเป็นต้นเหล่านี้ ปญฺจสงฺคหิตา ปญฺา ปัญญาเจตสิก มีในสังคหะ ๕ หมวด (มีการรวมไว้ใน ๕ ฐานะ) ปน ส่วน วายาเมกคฺคตา จตุสงฺคหิตา วิริยเจตสิกกับเอกัคคตาเจตสิกมีในสังคหะอย่างละ ๔ หมวด จิตฺตํ สติเจว ติสงฺคหา เจตนาเจตสิกกับสติเจตสิก มีในสังคหะอย่างละ ๓ หมวด ฯ สงฺกปฺปเวทนาสทฺธา วิตกเจตสิก เวทนาเจตสิก และ สัทธาเจตสิก ทุกสงฺคหิตา มตา บัณฑิตกล่าวว่า มีในสังคหะอย่างละ ๒ หมวด เสสา อฏวีสติ(ธมฺมา) ธรรม ๒๘ ประการที่เหลือ เอเกกสงฺคหา ภาสิตา ท่าอาจารย์กล่าวว่า มีในสังคหะอย่างละ ๑ หมวด ฯ (จบ บ.ศ.๙ ปี ๒๕๔๐ และ ป.ธ.๙ ปี ๒๕๓๑) จบมิสสกสังคหะ {อธิบายโพธิปักขิยสังคหะ} อธิบายสติปัฏฐาน ๔ ปฏานํ ที่ชื่อว่าปัฎฐาน ปฏาตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ตั้งมั่น อสุภคฺคหณาทิวเสน อนุปวิสิตฺวา กายาทิอาลมฺพเน ปวตฺตีติอตฺโถ อธิบายว่า ความเป็นไปในอารมณ์มีกายเป็นต้น เข้าไปถึงตามล�ำดับด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดรู้ว่า ไม่งามเป็นต้น ฯ สติเยว ปฏานํ ปัฎฐานคือสติสติปฏานํ ชื่อว่า สติปัฎฐาน ฯ ปน ก็ ตํ สติปัฎฐานนั้น จตุพฺพิธํ มี ๔ ประการ กายเวทนาจิตฺตธมฺเมสุ อสุภทุกฺขานิจฺจานตฺตาการคฺคหณวเสน ด้วยอ�ำนาจก�ำหนดรู้อาการในกาย ว่าไม่งาม ในเวทนาว่าเป็นทุกข์ ในจิตว่าไม่เที่ยง และในธรรมว่าไม่ใช่ตัวตน (กายเวทนาจิตฺตธมฺเมสุ) สุภสุขนิจฺจอตฺตสญฺาวิปลฺลาสปฺปหานวเสน จ และ ด้วยอ�ำนาจละสัญญาวิปัลลาสในกายว่างาม ในเวทนาว่าเป็นสุข ในจิตว่าเที่ยง และในธรรมว่าเป็นตัวตน อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ จตฺตาโร สติปฏานาติ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 327 พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สติปัฎฐานมี ๔ ประการ ฯ กาโย ที่ชื่อว่ากาย กุจฺฉิตานํ เกสาทีนํ อาโยติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นบ่อเกิดแห่งอาการ ๓๒ มีผมเป็นต้นที่น่าเกลียด สรีร ได้แก่ ร่างกาย ฯ ํวา อีกนัยหนึ่ง อสฺสาสปสฺสาสานํ สมูโห กองลมอัสสาสะและลมปัสสาสะ กาโย ชื่อว่า กาย ฯ ตสฺส อนุปสฺสนา ปริกมฺมวเสน วิปสฺสนาวเสน จ สรณํ ความเห็นเนือง ๆ คือ ความระลึกถึงกายนั้น ด้วยอ�ำนาจบริกรรมและด้วยอ�ำนาจวิปัสสนา กายานุปสฺสนา ชื่อว่า กายานุปัสสนา ฯ ทุกฺขทุกฺขวิปริณามทุกฺขสงฺขารทุกฺขภูตานํ เวทนานํ วเสน อนุปสฺสนา ความเห็น เนือง ๆ ด้วยอ�ำนาจเวทนาซึ่งเป็นทุกข์เพราะทนได้ยาก เป็นทุกข์เพราะเปลี่ยนแปรไป และเป็นทุกข์ประจ�ำสังขาร เวทนานุปสฺสนา ชื่อว่า เวทนานุปัสสนา ฯ ตถา อนึ่ง สราคมหคฺคตาทิวเสน สมฺปโยคภูมิเภเทน ภินฺนสฺเสว จิตฺตสฺส อนุปสฺสนา ปริกมฺมวเสน วิปสฺสนา ความเห็นเนืองๆ คือ ความเห็นแจ้งซึ่งจิตที่ต่างกัน โดย ประเภทแห่งสัมปโยคและภูมิ ด้วยอ�ำนาจสราคจิตและมหัคคตจิตเป็นต้นนั่นแล ด้วยอ�ำนาจบริกรรม จิตฺตานุปสฺสนา ชื่อว่า จิตตานุปัสสนา ฯ สญฺาสงฺขารานํ ธมฺมานํ ภินฺนลกฺขณานเมว อนุปสฺสนา ความเห็นเนืองๆ ซึ่งธรรม คือ สัญญา และสังขาร ที่มีลักษณะต่างกันนั่นแล ธมฺมานุปสฺสนา ชื่อว่า ธัมมานุปัสสนา ฯ อธิบายสัมมัปปธาน ๔ สมฺมปฺปธานํ ที่ชื่อว่าสัมมัปปธาน สมฺมา ปทหนฺติ เอเตนาติ เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องตั้งความเพียรโดยชอบแห่งเหล่าชน วายาโม ได้แก่ วายามะ ฯ จ ก็ โส วายามะนั้น จตุพฺพิโธ มี ๔ ประการ กิจฺจเภเทน โดย ประเภทแห่งหน้าที่ อิติ เพราะเหตุนั้น อาห จตฺตาโร สมฺมปฺปธานาติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า สัมมัปปธานมี ๔ ประการ ดังนี้เป็นต้น ฯ อสุภมนสิการกมฺมฏานานุยุญฺชนาทิวเสน วายมนํ ความพยายามด้วยอ�ำนาจ ความใส่ใจถึงว่าไม่งามและเพียรประกอบกัมมัฎฐานเป็นต้น วายาโม ชื่อว่า วายามะ ฯ ภิยฺโยภาวายาติ บทว่า ภิยฺโยภาวาย ได้แก่ อภิวุทฺธิยา เพื่อความเจริญยิ่งขึ้น ฯ
328 ปริเฉทที่ ๗ อธิบายอิทธิบาท ๔ อิทฺธิ ที่ชื่อว่าอิทธิ อิชฺฌติอธิฏานาทิกเมตายาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องส�ำเร็จแห่งกิจมีการอธิษฐานเป็นต้น อิทฺธิวิธาณ ได้แก่ อิทธิวิธญาณ ฯ ํ อิทฺธิยา ปาทา ธรรมเป็นเครื่องถึงความส�ำเร็จ อิทฺธิปาทา ชื่อว่า อิทธิบาท ฯ ฉนฺโทเยว อิทฺธิปาโท อิทธิบาทคือฉันทะ ฉนฺทิทฺธิปาโท ชื่อว่า ฉันทิทธิบาท ฯ อธิบายโพชฌงค์ ๗ โพธิ ที่ชื่อว่าโพธิ พุชฺฌตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ตรัสรู้ ฯ โยคาวจโร พระโยคาวจร อารทฺธวิปสฺสกโต ปฏาย เริ่มตั้งแต่ท่านผู้ปรารภวิปัสสนา พุชฺฌติ วา ย่อมรู้ได้ สจฺจานิวา ปฏิวิชฺฌติ ย่อมรู้แจ้งสัจจะทั้งหลายได้ กิเลสนิทฺทาโต วา วุฏาติ ย่อมออกจากความหลับคือกิเลสได้ กิเลสสงฺโกปาภาวโต วา มคฺคผลปฺปตฺติยา วิกสติ หรือย่อมเบิกบานในการบรรลุมรรคและผล เพราะไม่มี ความคดงอคือกิเลสได้ ยาย สติอาทิกาย ธมฺมสามคฺคิยา ด้วยความพร้อมเพรียง แห่งธรรมมีสติเป็นต้นใด สา ธมฺมสามคฺคี ความพร้อมเพรียงแห่งธรรมนั้น โพธิ ชื่อว่า โพธิ ฯ โพชฺฌงฺคา ที่ชื่อว่าโพชฌงค์ ตสฺส โพธิสฺส ตสฺสา วา โพธิยา องฺคภูตา การณภูตาติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นองค์ คือ เป็นเหตุ แห่งความตรัสรู้นั้น หรือแห่งความพร้อมเพรียงแห่งธรรมคือโพธินั้น ฯ ปน ก็ เต โพชฌงค์เหล่านั้น ธมฺมวเสน สตฺตวิธา มี ๗ ประการด้วยอ�ำนาจแห่งธรรม อิติ เพราะเหตุนั้น อาห สติสมฺโพชฺฌงฺโคติอาทิท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า สติสัมโพชฌงค์ ดังนี้เป็นต้น ฯ สติสมฺโพชฺฌงฺโค ที่ชื่อว่าสติสัมโพชฌงค์ สติเยว สุนฺทโร โพชฺฌงฺโค สุนฺทรสฺส วา โพธิสฺส สุนฺทราย วา โพธิยา องฺโคติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นองค์แห่งความตรัสรู้อันงาม คือ เป็นองค์แห่งความ ตรัสรู้อันงาม หรือแห่งความพร้อมเพรียงแห่งธรรมที่ชื่อว่าโพธิอันงาม คือสติ ฯ ธมฺมวิจโย ที่ชื่อว่าธัมมวิจยะ ธมฺเม วิจินาติ อุปปริกฺขตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เลือกเฟ้น คือ พิจารณาธรรมทั้งหลาย วิปสฺสนาปญฺา ได้แก่ วิปัสสนาปัญญา ฯ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 329 อุเปกฺขาติ อิธ ในบทว่า อุเปกฺขา นี้ ตตฺรมชฺฌตฺตุเปกฺขา (อธิปฺเปตา) พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประสงค์ถึงตัตรมัชฌัตตุเปกขา ฯ อธิบายคาถาสังคหะ (บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๗ และ ป.ธ.๙ ปี ๒๕๔๑) สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโหติวตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวว่า ในโพธิปักขิยสังคหะนั้น มีการรวบรวมสภาวธรรมไว้ ๗ หมวด ดังนี้แล้ว ปุน ตํ ทสฺเสตุํ หวังจะแสดงการรวบรวมสภาวธรรมนั้นซ�้ำอีก สงฺกปฺปปสฺสทฺธิจาติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า สงฺกปฺปปสฺสทฺธิ จ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ บรรดาสภาวธรรม ๑๔ ประการนั้น วิริยํ วิริยเจตสิก นวฏาน ชื่อว่า มีฐานะ ํ ๙ ประการ สมฺมปฺปธานจตุกฺกวิริยิทฺธิปาทวิริยินฺทฺริยวิริยพลวิริยสมฺโพชฺฌงฺคสมฺมาวายามวเสน นวกิจฺจตฺตา เพราะท�ำหน้าที่ ๙ อย่าง คือ สัมมัปปธาน ๔ วิริยิทธิบาท (๑) วิริยินทรีย์ (๑) วิริยพละ (๑) วิริยสัมโพชฌงค์ (๑) สัมมาวายามะ (๑) ฯ สติ สติเจตสิก อฏฏานา ชื่อว่า มีฐานะ ๘ ประการ สติปฏานจตุกฺกสตินฺทฺริยสติพลสติสมฺโพชฺฌงฺคสมฺมาสติวเสน อฏกิจฺจตฺตา เพราะท�ำหน้าที่ ๘ อย่าง คือ สติปัฎฐาน ๔ สตินทรีย์ (๑) สติพละ (๑) สติสัมโพชฌงค์ (๑) สัมมาสติ (๑) ฯ สมาธิ เอกัคคตาเจตสิก จตุฏาโน ชื่อว่า มีฐานะ ๔ ประการ สมาธินฺทฺริยสมาธิพลสมาธิสมฺโพชฺฌงฺคสมฺมาสมาธิวเสน จตุกิจฺจตฺตา เพราะท�ำ หน้าที่ ๔ อย่าง คือ สมาธินทรีย์ (๑) สมาธิพละ (๑) สมาธิสัมโพชฌงค์ (๑) สัมมาสมาธิ (๑) ฯ ปญฺา ปัญญาเจตสิก ปญฺจฏานา ชื่อว่า มีฐานะ ๕ ประการ วีมํสิทฺธิปาทปญฺนฺทฺริยปญฺาพลธมฺมวิจยสมฺโพชฺฌงฺคสมฺมาทิฏวเสน ปญฺจกิจฺจตฺตา เพราะท�ำหน้าที่ ๕ อย่าง คือ วีมังสิทธิบาท (๑) ปัญญินทรีย์ (๑) ปัญญาพละ (๑) ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ (๑) สัมมาทิฎฐิ (๑) ฯ สทฺธา สัทธาเจตสิก ทุฏานา ชื่อว่า มีฐานะ ๒ ประการ สทฺธินฺทฺริยสทฺธาพลวเสน ทฺวิกิจฺจตฺตา เพราะท�ำหน้าที่ ๒ อย่าง คือ สัทธินทรีย์ (๑) สัทธาพละ (๑) ฯ เอโส อุตฺตมานํ โพธิปกฺขิยภาเวน วิสิฏานํ สตฺตตฺตึสธมฺมานํ ปวโร อุตฺตโม วิภาโค นี้เป็น
330 ปริเฉทที่ ๗ การจ�ำแนกสภาวธรรม ๓๗ ประการ อันยอดเยี่ยม คือ พิเศษสุด โดยความเป็นธรรม ซึ่งเป็นไปในฝักฝ่ายปัญญาเครื่องตรัสรู้ อย่างประเสริฐ คือ อย่างยอดเยี่ยม ฯ โลกุตฺตเร อฏวิเธปิ ในโลกุตตรจิตแม้ทั้ง ๘ ดวง สพฺเพ สตฺตตฺตึสธมฺมา โหนฺติ ย่อมมีธรรมครบทั้ง ๓๗ ประการ ฯ สงฺกปฺปปีติโย น วา โหนฺติหรือว่า วิตกเจตสิก กับปีติเจตสิกไม่มี ทุติยาทิชฺฌานิเก สงฺกปฺปสฺส (อสมฺภวโต) จตุตฺถปญฺจมชฺฌานิเก ปีติยา จ อสมฺภวโต น โหนฺติวา คือ หรือว่า ชื่อว่ามีอยู่ก็หามิได้ เพราะวิตกเจตสิก ไม่เกิดมีในทุติยฌานิกจิตเป็นต้น และเพราะปีติเจตสิกไม่เกิดมีในจตุตถฌานิกจิต และปัญจมฌานิกจิต ฯ โลกิเยปิจิตฺเต แม้ในโลกิยจิต (๘๑ ดวง) เกจิ สภาวธรรม บางเหล่า กตฺถจิ วิสุํ วิสุํ โหนฺติ ก็เกิดแยกๆ กันในจิตบางดวง ยถาโยคํ ตามที่ประกอบได้ ตตํ กิจฺจสฺส ํ อนุรูปวเสน คือ ด้วยอ�ำนาจที่เหมาะสมแก่หน้าที่นั้น ๆ สีลวิสุทฺธาทิฉพฺพิสุทฺธิปฺปวตฺติยํ ในความเป็นไปแห่งวิสุทธิ ๖ ประการมีสีลวิสุทธิ เป็นต้น กตฺถจิน วา โหนฺติหรือว่า ไม่เกิดมีในจิตบางดวง ฯ (จบ บ.ศ. ๙ ปี ๒๕๓๗ และป.ธ.๙ ปี ๒๕๔๑) จบโพธิปักขิยสังคหะ {อธิบายสัพพสังคหะ} อธิบายขันธ์ ๕ เต เต สภาคธมฺมา ธรรมที่มีส่วนเสมอกันทั้งหลายเหล่านั้นๆ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนาทิเภทภินฺนา ที่ต่างกันโดยแยกเป็นอดีตธรรม อนาคตธรรม และ ปัจจุปันนธรรมเป็นต้น ขนฺธา ชื่อว่า ขันธ์ เอกชฺฌํ ราสฏเน เพราะอรรถว่า รวมเป็นหมวดเดียวกัน ฯ เตนาห ภควา ตเทกชฺฌํ ฯเปฯ รูปกฺขนฺโธติอาทิ เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว ่า ตเทกชฺฌํ อภิสญฺญูหิตฺวา อภิสงฺขิปิตฺวา เพราะประมวลย่นรูปนั้นเข้าเป็นอันเดียวกัน อยํ วุจฺจติรูปกฺขนฺโธ นี้เรียกว่า รูปขันธ์ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ก็ เต เอเต ขนฺธา ขันธ์เหล่านี้นั้น ปญฺเจว วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ ๕ ประการเท่านั้น ภาชนโภชน-
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 331 พฺยญฺชนภตฺตการกภุญฺชกวิกปฺปวเสน ด้วยอ�ำนาจความก�ำหนดว่าเป็นภาชนะ ว่าเป็นโภชนะ ว่าเป็นกับข้าว ว่าเป็นผู้ปรุงอาหาร และว่าเป็นผู้บริโภค (อาหาร) อิติ เพราะเหตุนั้น อาห รูปกฺขนฺโธติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า รูปกฺขนฺโธ ดังนี้เป็นต้น ฯ หิ ความจริง รูป รูปขันธ์ ํเวทนานิสฺสยตฺตา ภาชนฏานิยํ ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นดุจภาชนะ เพราะเป็นที่อยู่อาศัยแห่งเวทนาเจตสิก ฯ เวทนา เวทนาขันธ์ ภุญฺชิตพฺพตฺตา โภชนฏานิยา ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะ เป็นดุจโภชนะ เพราะเป็นธรรมชาติอันวิญญาณพึงบริโภค ฯ สญฺา สัญญาขันธ์ เวทนาสฺสาทลาภเหตุตฺตา พฺยญฺชนฏานิยา ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นดุจกับข้าว เพราะเป็นเหตุได้ความพอใจในเวทนาเจตสิก ฯ สงฺขารา สังขารขันธ์ อภิสงฺขรณโต อธิรญฺชโต ภตฺตการกฏานิยา ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นดุจผู้ปรุงอาหาร เพราะเป็นตัวปรุงแต่งอารมณ์ คือ เพราะท�ำให้วิญญาณได้ความยินดี ฯ วิญฺาณํ วิญญาณขันธ์ อุปภุญฺชกตฺตา ภุญฺชกฏานิยํ ชื่อว่า ด�ำรงอยู่ในฐานะเป็นดุจ ผู้บริโภค เพราะเป็นตัวบริโภคอารมณ์ได้เต็มที่ ฯ จ ก็ เอตฺตาวตา ด้วยค�ำอธิบาย เพียงเท่านี้ อธิปฺเปตตฺถสิทฺธิ เป็นอันส�ำเร็จเนื้อความตามพระประสงค์แล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น ปญฺเจว วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสขันธ์ไว้ ๕ ประการ เท่านั้น ฯ เทสนากฺกเมปิ แม้ในล�ำดับแห่งเทศนา อิทเมว การณํ ก็ชื่อว่ามีเหตุนี้ เหมือนกัน ยตฺถ ภุญฺชติยญฺจ ภุญฺชติเยน จ ภุญฺชติโย จ ภุญฺชโก โย จ ภุญฺชิตา เตสํ อนุกฺกเมน ทสฺเสตุกามตฺตา เพราะทรงพระประสงค์จะแสดง ตามล�ำดับแห่งสถานที่บริโภค สิ่งของบริโภค เครื่องบริโภค ผู้ปรุง และผู้บริโภค ฯ อธิบายอุปาทานขันธ์ ๕ อุปาทานานํ โคจรกฺขนฺธา หมู่แห่งอารมณ์ของอุปาทานทั้งหลาย อุปาทานกฺขนฺธา ชื่อว่า อุปาทานขันธ์ ฯ ปน ก็ เต รูปาทโย อุปาทานขันธ์มีรูปเป็นต้น เหล่านั้น อุปาทานวิสยภาเวน คหิตา ที่สัตว์ยึดถือโดยความเป็นอารมณ์ ของอุปาทาน ปญฺเจว มี ๕ ประการเหมือนกัน อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ
332 ปริเฉทที่ ๗ รูปูปาทานกฺขนฺโธติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า รูปูปาทานกฺขนฺโธ ดังนี้เป็นต้น ฯ หิ ความจริง สพฺพสภาคธมฺมสงฺคหตฺถํ เพื่อรวบรวมธรรมที่มี ส่วนเสมอกันทั้งหมด สาสวา อนาสวาปิ ธมฺมา อวิเสสโต ปญฺจกฺขนฺธาติ เทสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงแสดงธรรมทั้งหลาย ทั้งที่มีอาสวะ ทั้งที่หาอาสวะ มิได้ว่า ขันธ์ ๕ ดังนี้ โดยไม่แปลกกัน ฯ ปน แต่ วิปสฺสนาภูมิสนฺทสฺสนตฺถ เพื่อจะ ํ ทรงแสดงภูมิวิปัสสนา สาสวาว อุปาทานกฺขนฺธาติ (เทสิตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงแสดงเฉพาะธรรมที่มีอาสวะเท่านั้นว่า อุปาทานขันธ์ ฯ ยถา ฯเปฯ อุปาทานกฺขนฺเธสูติ ทฏพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ปน ก็ เอตฺถ ในขันธ์ ๕ มีรูปขันธ์เป็นต้นนี้ เวทนาทโย นามขันธ์ทั้งหลายมีเวทนาเป็นต้น สาสวา อนาสวา จ เป็นทั้งที่มีอาสวะ และหาอาสวะมิได้ ยถา ฉันใด น เอวํ รูปํ รูปขันธ์หาเป็นฉันนั้นไม่ เอกนฺตกามาวจรตฺตา เพราะรูปเป็นกามาวจรอย่างเดียว ฯ ปน อนึ่ง ตํ รูปนั้น ขนฺเธสุ เทสิตํ ทรงแสดงไว้ในขันธ์ทั้งหลาย สภาคราสิวเสน ด้วยอ�ำนาจหมวดสภาคธรรม ปน แต่ อุปาทานกฺขนฺเธสุ (เทสิตํ) ทรงแสดงไว้ ในอุปาทานขันธ์ทั้งหลาย อุปาทานิยภาเวน ราสิวเสน จ โดยความเป็นธรรมชาต อันเหล่าสัตว์พึงยึดมั่นถือมั่น และด้วยอ�ำนาจเป็นหมวดธรรม ฯ อธิบายอายตนะ ๑๒ ตตํทฺวํารารมฺมณา จิตฺตเจตสิกา จิตและเจตสิก ซึ่งมีทวารนั้น ๆ เป็นอารมณ์ อายตนนฺติ ย่อมสืบต่อ ฆเฏนฺติ คือ พากเพียร วายมนฺติ ได้แก่ พยายาม เตน เตน กิจฺเจน โดยหน้าที่นั้นๆ เอตฺถ (จกฺขุรูปาทีสุ) ในจักขุและรูปเป็นต้นนี้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (จักขุและรูปเป็นต้นเหล่านั้น) อายตนานิ จึงชื่อว่า อายตนะ อายภูเต วา เต ธมฺเม เอตานิ ตเนนฺติ วิตฺถาเรนฺติ หรือว่าจักขุและรูปเป็นต้น เหล่านี้ ย่อมยังธรรมเหล่านั้นอันเป็นบ่อเกิดใหัแผ่ขยาย คือ ให้กว้างขวาง (อิติ) เพราะเหตุนั้น (จักขุและรูปเป็นต้นเหล่านั้น) อายตนานิ จึงชื่อว่าอายตนะ อายตํ วา สํสารทุกฺขํ นยนฺติ ปวตฺเตนฺติ หรือว่าจักขุและรูปเป็นต้นเหล่านี้
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 333 ย่อมน�ำไป คือ ยังสังสารทุกข์ให้เป็นไปยึดยาว (อิติ) เพราะเหตุนั้น (จักขุและรูป เป็นต้นเหล่านั้น) อายตนานิ จึงชื่อว่า อายตนะ จกฺขุวิญฺาณาทีนํ การณภูตานิ วา หรือว่าจักขุและและรูปเป็นต้นเหล่านี้ เป็นเหตุแห่งจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น (จักขุและรูปเป็นต้นเหล่านั้น) อายตนานิ จึงชื่อว่าอายตนะ ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง โลเก นิวาสอากรสโมสรณสญฺชาติฏานํ สถานที่อยู่อาศัย สถานที่เป็นบ่อเกิด สถานที่ประชุม และสถานที่เกิดของตน ในโลก อายตนนฺติ วุจฺจติ เขาก็เรียกกันว่า อายตนะ ฯ ตสฺมา เพราะเหตุนั้น เอเตปิ(จกฺขาทโย) จักขุปสาทรูปเป็นต้นแม้เหล่านี้ อายตนานิ ชื่อว่า อายตนะ ตํตํทฺวาริกานํ ตํตทารมฺมณานญฺจ จกฺขุวิญฺาณาทีนํ นิวาสฏานตาย เพราะเป็นที่อยู่อาศัย แห่งจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น ซึ่งเป็นไปทางทวารนั้น ๆ และมีทวารนั้น ๆ เป็นอารมณ์ เตสเมว อากิณฺณภาเวน ปวตฺตนฺตานํ อากรฏานตาย เพราะเป็นสถานที่เป็น บ่อเกิดแห่งจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นเหล่านั้นนั่นเอง ที่เป็นไปโดยความเป็นธรรมชาต เจือปนกันอยู่ทั่วไป ทฺวาราลมฺพนโต สโมสรนฺตานํ สโมสรณฏานตาย เพราะ เป็นสถานที่ประชุมแห่งจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นเหล่านั้น ซึ่งมาประชุมกันทางทวาร และอารมณ์ ตตฺเถว อุปฺปชฺชนฺตานํ สญฺชาติฏานตาย จ และเพราะเป็นสถานที่ เกิดของตนแห่งจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นเหล่านั้น ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ในทวารและอารมณ์ เหล่านั้นนั่นเอง ฯ ตานิฯเปฯ ทฺวาทสวิธานีติ(มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ค�ำนึงถึงว่า ปน ก็ ตานิ อายตนะเหล่านั้น ทฺวาทสวิธานิ มี ๑๒ อย่าง ทฺวารภูตานิ ฯเปฯ ฉาติคือ ทฺวารภูตานิอชฺฌตฺติกายตนานิฉ ที่เป็นทวาร ชื่อว่า อายตนะ ภายในมี ๖ ประการ อาลมฺพนภูตานิจ พาหิรายตนานิฉ และที่เป็นอารมณ์ ชื่อว่า อายตนะภายนอกมี ๖ ประการ ดังนี้ อาห จกฺขฺวายตนนฺติอาทิ จึงกล่าวว่า จกฺขฺวายตนํ ดังนี้เป็นต้น ฯ จกฺขุจ ตํ อายตนญฺจาติจกฺขฺวายตนํ จักขุนั้นด้วย เป็นอายตนะด้วย เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า จักขวายตนะ ฯ เอวํ เสเสสุปิ แม้ใน อายตนะทั้งหลายที่เหลือ ก็มีนัยอย่างนี้เหมือนกัน ฯ ตตฺถ อชฺฌตฺติกายตเนสุ ในอายตนะภายใน (๖ ประการ) บรรดาอายตนะ ๑๒ ประการนั้น จกฺขฺวายตนํ
334 ปริเฉทที่ ๗ จักขวายตนะ วิภูตํ ชื่อว่า ปรากฎชัดเจน สนิทสฺสนสปฺปฏิฆาลมฺพนตฺตา เพราะมีอารมณ์ที่เห็นได้และกระทบได้ อิติ เพราะเหตุนั้น ตํ ปมํ นิกฺขิตฺตํ (วุตฺตํ) พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสจักขวายตนะนั้นไว้เป็นประการแรก ฯ อนิทสฺสนสปฺปฏิฆารมฺมณานิ อิตรานิ (วุตฺตานิ) ตรัสอายตนะนอกนี้ ซึ่งมี อารมณ์เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ไว้ ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากจักขวายตนะนั้น ฯ ตตฺถาปิ แม้ในบรรดาอายตนะ ๕ ประการนั้น จกฺขฺวายตนานนฺตรํ โสตายตนํ วุตฺตํ ก็ตรัสโสตายตนะไว้ในล�ำดับต่อจากจักขวายตนะ อสมฺปตฺตคฺคาหกสามญฺเน เพราะเป็นธรรมชาตรับอารมณ์ที่ยังไม่มาถึงตนได้เหมือนกัน ฯ อิตเรสุ ในบรรดา อายตนะนอกนี้ ฆานายตนํ ปมํ วุตฺตํ ตรัสฆานายตนะไว้ก ่อน สีฆตรํ อารมฺมณคฺคหณสมตฺถตฺตา เพราะมีความสามารถรับอารมณ์ได้เร็วกว่า ฯ หิ ความจริง ปุรโต ปิตมตฺตสฺส โภชาทิกสฺส คนฺโธ กลิ่นของโภชนะเป็นต้น เพียงวางไว้ข้างหน้า วาตานุสาเรน ฆาเน ปฏิหญฺติ ก็กระทบฆานปสาทรูปได้ ตามกระแสลม ฯ ปน ก็ ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากฆานายตนะนั้น ชิวฺหายตนํ วุตฺตํ ตรัสชิวหายตนะไว้ ปเทสวุตฺติสามญฺเน โดยมีความเป็นไปในเฉพาะส่วน เสมอกัน ฯ ตโต ต่อแต่นั้น สพฺพฏานิกํ กายายตนํ (วุตฺตํ) จึงตรัสกายายตนะ อันเป็นที่รองรับอายตนะทั้งหมด ฯ ตโต ต่อแต่นั้นไป ปญฺจนฺนมฺปิโคจรคฺคหณสมตฺถํ มนายตนํ (วุตฺตํ) จึงตรัสมนายตนะ ซึ่งมีความสามารถรับอารมณ์แม้ของอายตนะ ทั้ง ๕ ได้ ฯ ปน ส่วน รูปายตนาทีนิ อายตนะภายนอก ๖ ประการ มีรูปายตนะ เป็นต้น เตสํ เตสํ อารมฺมณานิซึ่งเป็นอารมณ์ของอายตนะภายใน ๖ ประการ มีจักขวายตนะเป็นต้นนั้น ๆ ยถาวุตฺตานํ อนุกฺกเมน วุตฺตานิ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ตามล�ำดับอายตนะตามที่ได้กล่าวไว้แล้ว ฯ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 335 อธิบายธาตุ๑๘ (ธรรมชาติเหล่าใด) อตฺตโน สภาวํ ธาเรนฺติย่อมทรงไว้ซึ่งสภาวะแห่งตน อิติ เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง (ธรรมชาติเหล่าใด) ยถาสมฺภวมเนกปฺปการํ สํสารทุกฺขํ วิทหนฺติ ย่อมทรงไว้ซึ่ง สังสารทุกข์มีเอนกประการ ตามที่เกิดมีได้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึ่ง (ธรรมชาติเล่าใด) สตฺเตหิธิยนฺติธริยนฺติอันเหล่าสัตว์ ทรงไว้ คือ ธารไว้ ภารหาเรหิวิย ภาโร คล้ายของหนัก อันบุคคลผู้แบกของหนัก แบกไว้ ฉะนั้น (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึ่ง อวสวตฺตนโต ทุกฺขวิธานมตฺตเมว เอตา ธรรมชาติเหล่านี้ เป็นเพียงความ ทรงไว้ซึ่งทุกข์เท่านั้น เพราะไม่เป็นไปในอ�ำนาจ (ของตน) (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึ่ง สตฺเตหิสํสารทุกฺขํ อนุวิธิยติ เอตาหิ สังสารทุกข์ อันเหล่าสัตว์ย่อมเสวยด้วยธรรมชาติเหล่านี้ (อิติ) เพราะ เหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึ่ง ตถาวิหิตํ เอตาเสฺวว ธิยติปิยติทุกข์มีประการดังกล่าวแล้วเช่นนั้น ตั้งอยู่ คือ ด�ำรงอยู่ในธรรมชาติ เหล่านี้นั่นแหละ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ จ อนึ่ง (ธรรมชาติเหล่าใด) เยฺยาวยวภูตา เป็นองค์ประกอบแห่งธรรมที่ควรรู้ รสโสณิตาทิสรีราวยวธาตุโย วิย หริตาลมโนสิลาทิเสลาวยวธาตุโย วิย จ ดุจธาตุอันเป็นส่วนประกอบแห่งร่างกายมีรสและโลหิตเป็นต้น และดุจธาตุอันเป็น องค์ประกอบแห่งภูเขามีหรดาลและมโนสิลาเป็นต้น ฉะนั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ ฯ ยถาหุ สมจริงดังที่พระโบราณาจารย์ ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า (ธรรมชาติใด) วิทหติ ย่อมทรงสังสารทุกข์เอนกประการไว้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ธาตุ ชื่อว่า ธาตุ (ธรรมชาติใด) ธิยติ อันเหล่าสัตว์ทรงไว้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น)
336 ปริเฉทที่ ๗ ธาตุ ชื่อว่า ธาตุ (ธรรมชาติใด) วิธานํ อันเป็นเพียงความทรงทุกข์ไว้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ธาตุ ชื่อว่า ธาตุ วิธยเต เอตาย สังสารทุกข์ อันเหล่าสัตว์ย่อมเสวยด้วยธรรมชาตินี้ (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ธาตุ ชื่อว่า ธาตุ ธิยเต เอตฺถ ทุกข์มีประการดังกล่าว ด�ำรงอยู่ในธรรมชาตินี้ อิติ เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาตินั้น) ธาตุสมฺมตา ชื่อว่า ธาตุ (ธาตุสมฺมตา เรียกว่าธาตุ) (ธรรมชาติเหล่าใด) เยฺยาวยวภูตา เป็นองค์ประกอบแห่งธรรม ที่ควรรู้ สรีรเสลาวยวธาตุโย วิย ดุจธาตุอันเป็นองค์ประกอบแห่ง ร่างกายและภูเขา ฉะนั้น (อิติ) เพราะเหตุนั้น (ธรรมชาติเหล่านั้น) ธาตุโย ชื่อว่า ธาตุ ฯ (จ ศัพท์ กับ วา ศัพท์ ในคาถานี้ไม่แปล) ฯ ตา ฯเปฯ วุตฺตาติ (มนสิกตฺวา) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า ปน ก็ ตา มนายตนํ สตฺตวิญฺาณธาตุวเสน สตฺตธา ภินฺทิตฺวา อวเสเสหิ เอกาทสายตเนหิ สห อฏารสธา วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจ�ำแนก มนายตนะเป็น ๗ ประการ คือ วิญญาณธาตุจิต ๗ ประการ แล้วตรัสธาตุ เหล่านั้น รวมกับอายตนะ ๑๑ ประการที่เหลือ เป็น ๑๘ ประการ ดังนี้ อาห จกฺขุธาตูติอาทิ จึงกล่าวว่า จกฺขุธาตุ ดังนี้เป็นต้น ฯ กมการณํ เหตุแห่ง การจัดล�ำดับ วุตฺตนเยน ทฏพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นตามนัยที่ข้าพเจ้ากล่าวไว้แล้ว ฯ อธิบายอริยสัจ ๔ (บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๙ และป.ธ.๙ ปี ๒๕๔๗) (ธมฺมชาตานิ ธรรมชาตทั้งหลาย) สจฺจานิ ชื่อว่า สัจจะ ตจฺฉภาวโต เพราะเป็นธรรมชาตแท้ อริยานิ ชื่อว่า อริยะ อริยกรตฺตา เพราะท�ำความเป็นพระอริยะ อิติ เพราะเหตุนั้น อริยสจฺจานิ จึงชื่อว่า อริยสัจจ์ ฯ หิ ความจริง อิมานิ อริยสัจจ์เหล่านี้ อฏ อริยปุคฺคเล สาเธนฺติ ย่อมให้ส�ำเร็จพระอริยบุคคล ๘ ประเภท จตฺตาโร ฯเปฯ ผลฏเติ คือ จตฺตาโร ปฏิปนฺนเก ท่านผู้ด�ำรงอยู่ในมรรคผู้ปฎิบัติอยู่ ๔ ประเภท จตฺตาโร จ ผลฏเ
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 337 และท่านผู้ด�ำรงอยู่ในผล ๔ ประเภท อสติสจฺจปฏิเวเธ เตสํ อริยภาวานุปคมนโต จ เพราะเมื่อไม่มีความรู้แจ้งสัจจะพระอริยบุคคลเหล่านั้น ก็เข้าถึงความเป็นพระอริยะ ไม่ได้ สติตสฺมึเอกนฺเตน ตพฺภาวูปคมนโต จ และเพราะเมื่อมีความรู้แจ้งสัจจะนั้น พระอริยบุคคลเหล่านั้น ก็เข้าถึงความเป็นพระอริยะนั้นได้ โดยส่วนเดียว ฯ ปน อนึ่ง ทุกฺขสมุทยนิโรธมคฺคานเมว ยถากฺกมํ พาธกตฺตปภวตฺตนิสฺสรณตฺตนิยฺยานิกตฺตํ (โหติ) ภาวะที่ทุกขอริยสัจจ์เป็นธรรมชาตเบียดเบียน สมุทัยอริยสัจจ์เป็นแดน เกิดก่อน นิโรธอริยสัจจ์เป็นสภาวะสลัดออก และมรรคอริยสัจจ์เป็นสภาวะน�ำออกไป จากทุกข์นั่นแหละ ย่อมมีตามล�ำดับ น อญฺเสํ พาธกาทิภาโวเยว (โหติ) จ ภาวะที่ธรรมเหล่าอื่นเป็นธรรมชาตเบียดเบียนเป็นต้นนั่นแหละ มีอยู่ก็หามิได้ น ทุกฺขาทีนํ อพาธกาทิภาโว (โหติ) จ และภาวะที่ทุกขอริยสัจจ์เป็นต้นเป็นธรรมชาต ไม่เบียดเบียนเป็นต้น มีอยู่ก็หามิได้ ตสฺมา เพราะฉะนั้น เอตานิ อริยสัจจ์ ๔ ประการ เหล่านี้ ตจฺฉานิ จึงเป็นธรรมชาตแท้ อญฺตฺถาภาวตตฺถพฺยาปิตาสงฺขาเตน ลกฺขเณน โดยลักษณะ กล่าวคือภาวะเป็นธรรมชาตเบียดเบียนเป็นต้นไม่มีใน ธรรมเหล่าอื่น และภาวะเป็นธรรมชาตเบียดเบียนเป็นต้นซึมซาบอยู่ในทุกขอริยสัจจ์ เป็นต้นเหล่านั้น ฯ เตนาหุ โปราณา เพราะเหตุนั้น พระโบราณาจารย์ทั้งหลายจึง กล่าวไว้ว่า จตฺตาโร (ธมฺมา) ธรรม ๔ ประการ ฉินฺทนฺเต จตุโร มลํ ขีณโทเส จ จตฺตาโร สาเธนฺตีริยปุคฺคเล ย่อมยังพระอริยบุคคล ๔ ประเภท ผู้ก�ำลังตัดมลทิน และพระอริยบุคคล ๔ ประเภทผู้สิ้นโทษแล้วให้ ส�ำเร็จได้ โพธานุรูป ตามสมควรแก่ปัญญาตรัสรู้ ํ หิ เพราะ อญฺตฺถ พาธกตฺตาทิ น เอเตหิ (ทุกฺขาทีหิ) ลพฺภติ ความเป็นธรรมชาต เบียดเบียนเป็นต้น บัณฑิตหาไม่ได้ ในธรรมเหล่าอื่นจากทุกขอริยสัจจ์ เป็นต้นเหล่านี้ นาพาธกตฺตเมเตสํ (ทุกฺขาทีนํ โหติ) ภาวะที่ ทุกขอริยสัจจ์เป็นต้นเหล่านี้ เป็นธรรมชาตไม่เบียดเบียน (เป็นต้น)
338 ปริเฉทที่ ๗ มีอยู่ก็หามิได้ ตโต เพราะเหตุนั้น ตจฺฉาเนตานิเว อริยสัจจ์เหล่านี้ จึงเป็นธรรมชาตแท้แล ฯ (จบ บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๙) วา หรือว่า อริยานํ สจฺจานิ สัจจะทั้งหลายของพระอริยบุคคลทั้งหลาย อริยสจฺจานิ ชื่อว่า อริยสัจจ์ เตหิ ปฏิวิชฺฌิตพฺพตฺตา เพราะเป็นสภาวะที่ พระอริยบุคคลเหล่านั้นพึงรู้แจ้งได้ ฯ วา หรือว่า อริยสฺส สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส สจฺจานิ สัจจะทั้งหลายของพระอริยเจ้า คือ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เตน เทสิตตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตอันพระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น อริยสจฺจานิ จึงชื่อว่า อริยสัจจ์ ฯ ปน ก็ ตานิ อริยสัจจ์เหล่านั้น จตุพฺพิธานิ มี ๔ อย่าง สงฺกิลิฏาสงฺกิลิฏผลเหตุวเสน คือ ผลที่เศร้าหมอง (ทุกขอริยสัจจ์) ผลที่ไม่เศร้าหมอง (นิโรธอริยสัจจ์) เหตุที่เศร้าหมอง (สมุทัยอริยสัจจ์) เหตุที่ไม่ เศร้าหมอง (มรรคอริยสัจจ์) อิติ เพราะเหตุนั้น อาห จตฺตาริอริยสจฺจานีติอาทิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า จตฺตาริ อริยสจฺจานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถ พึงทราบวินิจฉัยในค�ำว่า จตฺตาริ อริยสจฺจานิ นั้น ดังต่อไปนี้ ทุกขํ ธรรมชาต ที่ชื่อว่าทุกข์ กุจฺฉิตตฺตา ตุจฺฉตฺตา จ เพราะเป็นธรรมชาตที่น่าเกลียด และเพราะ เป็นธรรมชาตว่างเปล่า ฯ สมุทโย สภาวธรรมที่ชื่อว่าสมุทัย ทุกฺขุปฺปตฺตินิมิตฺเตน โดยเป็นนิมิตหมายแห่งความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ กมฺมาทิปจฺจยสนฺนิธาเน ในการสั่งสม ปัจจัยมีกรรมปัจจัยเป็นต้น สมุเทติ เอตสฺมา ทุกฺขนฺติ กตฺวา เพราะอธิบายความว่า เป็นแดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ฯ ทุกฺขสฺส สมุทโย แดนเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ทุกฺขสมุทโย ชื่อว่า ทุกขสมุทัย ฯ ทุกฺขนิโรโธ สภาวธรรมที่ชื่อว่าทุกขนิโรธ ทุกฺขสฺส อนุปฺปาทนิโรโธ เอตฺถ เอเตน วาติ เพราะอธิบายความว่า เป็นที่ หรือเป็น เครื่องดับลงโดยไม่เกิดขึ้นแห่งทุกข์ ฯ ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา ข้อปฎิบัติที่ชื่อว่า ทุกขนิโรธคามินีปฎิปทา ทุกฺขนิโรธํ คจฺฉติปฏิปชฺชนฺติจ ตํ เอตายาติ เพราะ อธิบายความว่า ไปถึงความดับทุกข์ และเป็นเครื่องด�ำเนินถึงความดับทุกข์นั้น แห่งท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรทั้งหลาย ฯ (จบ ๒๕๔๗)
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 339 อธิบายค�ำที่เหลือ อเกนูนสตฺตติ ธมฺมา ธรรม ๖๙ ประการ เจตสิกานํ โสฬสสุขุมรูปานํ นิพฺพานสฺส จ วเสน คือ เจตสิก (๕๒) สุขุมรูป ๑๖ และนิพพาน (๑) อายตเนสุ ธมฺมายตนํ ธาตูสุ ธมฺมธาตูติจ สงฺขฺยํ คจฺฉนฺติย่อมถึงการนับว่า ธัมมายตนะ ในบรรดาอายตนะทั้งหลาย (๑๒) และว่า ธัมมธาตุ ในบรรดาธาตุ ทั้งหลาย (๑๘) ฯ อธิบายคาถาสังคหะ เสสา เจตสิกาติ ข้อว่า เสสา เจตสิกา ได้แก่ เวทนาสญฺาหิเสสา ปญฺาส เจตสิกา เจตสิกธรรม ๕๐ ประการ ซึ่งเหลือจากเวทนาเจตสิกและ สัญญาเจตสิก ฯ กสฺมา ฯเปฯ กตาติ(ปุจฺฉา) ถามว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุไร เวทนาสญฺา วิสุํ กตา (วุตฺตา) พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสเวทนาขันธ์และ สัญญาขันธ์แยกไว้ต่างหาก ฯ วฏฏธมฺเมสุ ฯเปฯ ภาวโต (อิติวิสชฺชนา) ตอบว่า วฏฏธมฺเมสุ อสฺสาทตทุปกรณภาวโต เพราะเวทนาขันธ์เป็นธรรมชาติพอใจใน วัฏฏธรรมทั้งหลาย และสัญญาขันธ์เป็นอุปกรณ์แก่ความพอใจในวัฏฏธรรมนั้น ฯ หิ ความจริง เตภูมิกธมฺเมสุ อสฺสาทวสปฺปวตฺตา ธรรมชาติที่เป็นไปด้วย อ�ำนาจพอใจ ในธรรมที่เป็นไปในไตรภูมิ เวทนา ชื่อว่า เวทนา ฯ จ ก็ ตสฺสา ตทาการปฺปวตฺติ เวทนาเจตสิกนั้นมีความเป็นไปโดยอาการอย่างนั้น อสุเภ สุภาทิสญฺาวิปลฺลาสวเสน ด้วยอ�ำนาจความส�ำคัญผิดในสิ่งที่ไม่งามว่างามเป็นต้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตทุปกรณภูตา ธรรมชาติอันเป็นอุปกรณ์แก่เวทนาเจตสิกนั้น สญฺา จึงชื่อว่า สัญญา ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น เอตา วินิพฺภุชิตฺวา เทสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงแยกแสดงเวทนาขันธ์และสัญญาขันธ์เหล่านั้นไว้ สสํารสฺส ปธานเหตุตาย เพราะเป็นเหตุซึ่งเป็นประธานแห่งสงสาร อิติ แล ฯ วุตฺตญฺเหตํ อาจริเยน สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ดังนี้ว่า
340 ปริเฉทที่ ๗ วฏฏธมฺเมสุ อสฺสาทํ ตทสฺสาทูปเสจนํ (จ) วินิพฺภุชฺช นิทสฺเสตุํ เพื่อทรงแยกแสดงความพอใจ ในวัฏฏธรรม และความเข้าไปติด ความพอใจในวัฏฏธรรมนั้น ขนฺธทฺวยมุทาหฏํ พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงยกขันธ์ ๒ ขึ้นแสดง ฯ นนุ จ ฯเปฯ สงฺคหิตนฺติ(มนสิกตฺวา) ท่านพระอนรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงว่า จ ก็ นิพฺพาน พระนิพพาน ํอายตนธาตูสุ สงฺคหิต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรวมไว้ ํ ในอายตนะ (๑๒) และธาตุ (๑๘) นนุ มิใช่หรือ กสฺมา เพราะเหตุไร ขนฺเธสุ น สงฺคหิตํ จึงไม่ทรงรวมไว้ในขันธ์ทั้งหลาย (๕) เล่า ดังนี้ อาห เภทาภาเวนาติอาทิ จึงกล่าวว่า เภทาภาเวน ดังนี้เป็นต้น ฯ อตีตาทิ ฯเปฯ วินิมุตฺตนฺติ อตฺโถ อธิบายว่า หิ ความจริง อตีตาทิเภทภินฺนานํ ราสตฺเถน ขนฺธโวหาโร การบัญญัติ ธรรมทั้งหลาย ซึ่งต่างกันโดยแยกเป็นอดีตธรรมเป็นต้น ว่าเป็นขันธ์ เพราะอรรถว่า เป็นหมวดธรรม อิติ เพราะเหตุนั้น นิพฺพานํ พระนิพพาน นิสฺสฏํ จึงชื่อว่า ออกแล้ว วินิมุตฺตํ คือ พ้นแล้ว ขนฺธสงฺคหโต จากการสงเคราะห์ว่าขันธ์ เภทาภาวโต เพราะไม่มีความต่างกัน ฯ อายตนานิ ทฺวาทส ภวนฺติ อายตนะมี ๑๒ ประการ ทฺวารานํ ฉนฺนํ อาลมฺพนานญฺจ ตตฺตกานเมว เภเทน โดยความต่างกันแห่งทวาร ๖ และอารมณ์ ก็มีจ�ำนวนเท่านั้นเหมือนกัน ฯ ธาตุโย อฏารส ภวนฺติธาตุมี ๑๘ ประการ ปริยาเยน โดยปริยาย กเมน คือ โดยล�ำดับ ฉนฺนํ ทฺวารานํ ฉนฺนํ อาลมฺพนานํ ตทุภยํ นิสฺสาย อุปฺปนฺนานํ ตตฺตกานเมว วิญฺาณานํ แห่งทวาร ๖ อารมณ์ ๖ และวิญญาณที่อาศัยทวาร และอารมณ์ทั้ง ๒ นั้น ต ศัพท์เกิดขึ้น ก็มีจ�ำนวนเท่านั้นเหมือนกัน ฯ ติสฺโส ภูมิโย อิมสฺส ภูมิของวัฏฏะนี้มี ๓ อิติ เพราะเหตุนั้น (วัฏฏะนี้) ติภูมํ ชื่อว่ามีภูมิ ๓ ฯ ติภูมํเยว เตภูมิกํ ติภูมะนั่นเอง เป็นเตภูมิกะ ฯ วฏฏํ ที่ชื่อว่าวัฏฏะ วตฺตติ เอตฺถ กมฺมํ ตพฺพิปาโก วาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่เป็นไปแห่งกรรม หรือผลของกรรมนั้น ฯ ตณฺหาติ ที่ชื่อว่าตัณหา ได้แก่ กามตณฺหาทิวเสน ติวิธา ตณฺหา ตัณหา มี ๓ อย่าง คือ กามตัณหาเป็นต้น
พระมหาชัยวัฒน์ ปฺ าคโม ป.ธ.๙ แปล 341 ฉฬารมฺมณวเสน อฏารสวิธา มี ๑๘ อย่าง คือ อารมณ์ ๖ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนวเสน จตุปญฺาสวิธา มี ๕๔ อย่าง คือ อตีตารมณ์ อนาคตารมณ์ และปัจจุปันนารมณ์ อชฺฌตฺติกพาหิรวเสน อฏสตเภทา จ และแยกเป็น ๑๐๘ อย่าง คือ ตัณหาภายในและตัณหาภายนอก ปุน อีก ฯ กสฺมา ฯเปฯ วุตฺตาติ(ปุจฺฉา) ถามว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุไร อญฺเสุปิ ทุกฺขเหตูสุ สนฺเตสุ เมื่อเหตุแห่งทุกข์แม้เหล่าอื่นก็ยังมีอยู่ ตณฺหาเยว สมุทโยติ วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสเฉพาะตัณหาว่า สมุทัย ฯ ปธานการณตฺตา (อิติ วิสชฺชนา) ตอบว่า ปธานการณตฺตา เพราะเป็นเหตุที่เป็นประธาน ฯ หิความจริง ตณฺหา ตัณหา ทุกฺขสฺส วิเสสการณ ชื่อว่า เป็นเหตุพิเศษแห่งทุกข์ ํ ทุกฺขวิจิตฺตการณตฺตา เพราะเป็นเหตุตระการไปด้วยทุกข์ กมฺมวิจิตฺตตาเหตุภาเวน โดยเป็นเหตุ แห่งความเป็นธรรมชาติอันตระการไปด้วยกรรม กมฺมสฺส สหายภาวูปคมเนน จ และโดยเข้าถึงความเป็นสหายของกรรม ฯ มคฺโคติ ที่ชื่อว่ามรรค นิโรธคามินีปฏิปทานาเมน วุตฺโต มคฺโค คือ มรรคที่ตรัสไว้โดยชื่อว่านิโรธคามินีปฏิปทา โลกุตฺตโร มคฺโคติมโต บัณฑิตเรียกว่า โลกุตตรมรรค อิติ เพราะเหตุนั้น ปุน มคฺคคฺคหณํ โยเชตพฺพํ พึงประกอบศัพท์ว่า มรรค เพิ่มเข้าไปอีก ฯ (บ.ศ.๙ ปี ๒๕๓๓ และ ป.ธ.๙ ปี ๒๕๓๔) นิปฺปริยายโต ว่าโดยตรง มคฺคยุตฺตา ฯเปฯ สสมฺปยุตฺตนฺติ เอเต (ธมฺมา) ธรรมทั้งหลายเหล่านี้ คือ มคฺคยุตฺตา ธรรมทั้งหลายที่ประกอบกับมรรคจิต อฏงฺคิกวินิมุตฺตา เสสา มคฺคสมฺปยุตฺตา ผสฺสาทโย ได้แก่ สัมปยุตธรรมทั้งหลายมีผัสสเจตสิกเป็นต้น ที่ประกอบกับมรรคจิต ซึ่งพ้นจากมรรคมีองค์ ๘ ได้แก่ ที่เหลือ ผลญฺเจว สสมฺปยุตฺตํ และผลจิตพร้อมทั้งสัมปยุตธรรม วินิสฺสฏา ออกแล้ว วินิคฺคตา คือ พ้นแล้ว จตูหิสจฺเจหิจากสัจจะ ๔ ประการ ฯ ปน แต่ ปริยายโต ว่าโดยอ้อม อญฺาตาวินฺทฺริยนิทฺเทเสปิ มคฺคงฺคํ มคฺคปริยาปนฺนนฺติ วุตฺตตฺตา เพราะ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้แม้ในนิเทศแห่งอัญญาตาวินทรีย์ว่า องค์มรรค นับเนื่องกับ มรรคจิต ดังนี้เป็นต้น ผลธมฺเมสุ ในบรรดาผลธรรมทั้งหลาย สมฺมาทิฏอาทีนํ
342 ปริเฉทที่ ๗ มคฺคสจฺเจ อิตเรสญฺจ มคฺคผลสมฺปยุตฺตานํ (ผสฺสาทีนํ) สงฺขารทุกฺขสามญฺเน ทุกฺขสจฺเจ สงฺคโห สกฺกา กาตุํ บัณฑิตจึงจะสามารถท�ำการรวมองค์มรรคทั้งหลาย มีสัมมาทิฏฐิเป็นต้นลงในมรรคสัจ และรวมสัมปยุตธรรมทั้งหลายมีผัสสเจตสิก เป็นต้นนอกนี้ ที่ประกอบกับมรรคจิตและผลจิตลงในทุกขสัจ โดยเป็นทุกข์ประจ�ำ สังขารเหมือนกัน ฯ หิ ความจริง เอวํ สติ เมื่อมีการรวมธรรมไว้อย่างนั้น สจฺจเทสนายปิ สพฺพสงฺคาหิกตา อุปฺปนฺนา โหติแม้สัจจเทศนา ก็ย่อมเกิด มีการรวมธรรมไว้ได้ทั้งหมด ฯ กสฺมา ฯเปฯ วุตฺตา (อิติปุจฺฉา) ถามว่า ปน ก็ กสฺมา เพราะเหตุไร เอเต ขนฺธาทโย พหู ธมฺมา วุตฺตา ท่านอาจารย์จึงกล่าว ธรรมทั้งหลายมีขันธ์เป็นต้นเหล่านี้ไว้มากมาย ฯ ภควตาปิ ฯเปฯ เทสิตตฺตา (อิติ วิสชฺชนา) ตอบว่า ภควตาปิตเถว เทสิตตฺตา เพราะแม้พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ทรงแสดงไว้อย่างนั้นเหมือนกัน ฯ ภควตาปิฯเปฯ เทสิตาติ(ปุจฺฉา) ถามว่า กสฺมา เพราะเหตุไร ภควตาปิตถา เทสิตา แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงแสดงไว้ อย่างนั้น ฯ ติวิธ- ฯเปฯ อธิปฺเปตตฺตา (อิติวิสชฺชนา) ตอบว่า ติวิธสตฺตานุคหสฺส อธิปฺเปตตฺตา เพราะทรงพระประสงค์จะอนุเคราะห์สัตว์ ๓ จ�ำพวก ฯ หิ ความจริง ติวิธา สตฺตา เหล่าสัตว์มี ๓ จ�ำพวก นามรูปตทุภยสมฺมุฬฺหวเสน ติกฺขนาติ- ติกฺขมุทินฺทฺริยวเสน สงฺขิตฺตมชฺฌิมวิตฺถารรุจิวเสน จ คือ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลง ในนาม มีอินทรีย์แก่กล้า และพอใจความย่อจ�ำพวก ๑ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลงในรูป มีอินทรีย์ยังไม่แก่กล้านัก และพอใจความปานกลางจ�ำพวก ๑ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลง ในนามและรูปทั้งสองนั้น มีอินทรีย์อ่อน และพอใจความพิสดารจ�ำพวก ๑ ฯ เตสุ บรรดาเหล่าสัตว์ ๓ จ�ำพวกนั้น นามสมฺมุฬฺหานํ ขนฺธคฺคหณํ เหล่าสัตว์ ผู้ลุ่มหลงในนามจะก�ำหนดรู้ถึงขันธ์ได้ นามสฺส ตตฺถ จตุธา วิภตฺตตฺตา เพราะใน ขันธ์ทั้งหลายเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจ�ำแนกนามเป็น ๔ ประการ (คือ เวทนาขันธ์ ๑ สัญญาขันธ์ ๑ สังขารขันธ์ ๑ วิญญาณขันธ์ ๑) ฯ รูปสมฺมุฬฺหานํ อายตนคฺคหณํ เหล่าสัตว์ผู้ลุ่มหลงในรูปจะก�ำหนดรู้ถึงอายตนะได้ รูปสฺส (ตตฺถ) อฑฺเฒกาทสธา วิภตฺตตฺตา เพราะในอายตนะทั้งหลายเหล่านั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า