พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 243 เป็นฝี ธิจิตฺตํ ธิ วเตทํ จิตฺตนฺติอาทินา วา นเยน หรือโดยนัยเป็นต้นว่า น่าติเตียนจิต จิตนี้น่าติเตียนแท้ ดังนี้ ตทภาเว จ ปณีตภาวสนฺนิฏฺาเนน และ โดยความตกลงใจในความไม่มีความเป็นไปแห่งนามนั้นว่า เป็นธรรมชาติประณีต ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ปน แต่ เต สัตว์เหล่านั้น มรนฺติ ตายอยู่ อิธ ในมนุษย์นี้ เยน อิริยาปเถน โดยอิริยาบถใด นิพฺพตฺตนฺติ ย่อมบังเกิด ตตฺถ ในพวกอสัญญีสัตว์นั้น เตเนว โดยอิริยาบถนั้นเหมือนกัน ฯ อนาคามิโน ฯเปฯ อุปฺปชฺชนฺตีติข้อว่า อนาคามิโน ฯเปฯ อุปฺปชฺชนฺติ ความว่า อนาคามิโนเยว อริยา พระอริยบุคคลทั้งหลายที่เป็นพระอนาคามี เท่านั้น ปฺ จมชฺฌานํ ติวิธมฺปิ ภาเวตฺวา เจริญปัญจมฌานแม้ทั้ง ๓ อย่าง ปุถุชฺชนาทิกาเล ในกาลที่ยังเป็นปุถุชนเป็นต้น ปจฺฉาปิ วา หรือแม้ในกาล ภายหลังแล้ว ปฺ จสุ สุทฺธาวาเสสุ อุปฺปชฺชนฺติย่อมเกิดในชั้นสุทธาวาส ๕ ชั้น สทฺธาทิอินฺทฺริยเวมตฺตตานุกฺกเมน ตามล�ำดับความเป็นใหญ่พิเศษแห่งอินทรีย์ มีสัทธินทรีย์เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ภาเวตฺวา พระโยคาวจรทั้งหลาย เจริญ อรูปาวจรกุศลจิต ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้น ยถากฺกมมารุปฺเปสุ ในชั้นอรูปาวจรภูมิ ตามล�ำดับ ฯ จ ก็ ยถากฺกมนฺติ บทว่า ยถากฺกมํ ได้แก่ ปมารูปาทิอนุกฺกเมน โดย ล�ำดับอรูปฌานที่ ๑ เป็นต้น ฯ จ ก็ สพฺพมฺปิ เอตํ ค�ำว่า รูปาวจรกุสลมฺปน ดังนี้เป็นต้นแม้ทั้งหมด วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวแล้ว ตสฺส ตสฺเสว ฌานสฺส อเวนิกภูมิวเสน ด้วยอ�ำนาจฌานนั้น ๆ นั่นแหละ ซึ่งมีภูมิต่างกัน ฯ ปน แต่ นิกนฺติยา สติ เมื่อยังมีความติดใจภพอยู่ ปุถุชฺชนาทโย ปุถุชน เป็นต้น นิพฺพตฺตนฺติ ย่อมบังเกิด ยถาลทฺธชฺฌานสฺส ภูมิภูเตสุ สุทฺธาวาสวชฺชิเตสุ ยตฺถกตฺถจิ ในที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งเป็นภูมิของฌานตามที่ได้แล้ว เว้นชั้นสุทธาวาส ฯ
244 ปริเฉทที่ ๕ ตถา อนึ่ง ย่อมบังเกิด กามภเวปิ แม้ในกามภพ กามาวจรกมฺมวเสน ด้วยอ�ำนาจกามาวจรกรรม ฯ อิชฺฌติ ภิกฺขเว สีลวโต เจโตปณิธิ วิสุทฺธตฺตาติ หิ วุตฺตํ สมจริงดัง พระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การตั้งความปรารถนา แห่งใจมั่นของผู้มีศีล ย่อมส�ำเร็จ เพราะเป็นผู้บริสุทธิ์ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน อนาคามิโน พระอนาคามีทั้งหลาย กามภเวสุ นิกนฺตึ น อุปฺปาเทนฺติ ย่อมไม่ยังความติดใจในกามภพให้เกิดขึ้น กามราคสฺส สพฺพโส ปหีนตฺตา เพราะละกามราคะได้สิ้นเชิง อิติ เพราะเหตุนั้น นิพฺพตฺตนฺติ จึงบังเกิด กามโลกวชฺชิเต ยถาลทฺธชฺฌานภูมิภูเต ยตฺถกตฺถจิ ในที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งเป็นภูมิ ของฌานตามที่ได้แล้ว เว้นโลกที่เป็นกามาวจร ฯ หิ ความจริง นิยโม อตฺถิ มีการก�ำหนดแน่นอนว่า อนาคามิโนเยว เฉพาะ อนาคามีบุคคลเท่านั้น นิพฺพตฺตนฺติ ย่อมบังเกิด สุทฺธาวาเสสุ ในพวกพรหมชั้น สุทธาวาส ฯ ปน แต่ นิยโม นตฺถิ ไม่มีการก�ำหนดแน่นอนว่า เต พระอนาคามีนั้น น นิพฺพตฺตนฺติ ย่อมไม่บังเกิด อฺ ตฺถ ในที่อื่น ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็ เพราะอธิบายความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ วุตฺตํ อาจริเยน ท่านอาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า อนาคามิปุคฺคลาว เฉพาะอนาคามีบุคคลทั้งหลาย อุปปชฺชเร ย่อมเกิด สุทฺธาวาเสสุ ในพวกพรหมชั้นสุทธาวาส อนาคามิวิวชฺชิตา บุคคล ทั้งหลาย เว้นพระอนาคามีบุคคลเสีย ชายนฺติ ย่อมเกิด กามธาตุมฺหิ ในกามธาตุ ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า ปน แต่ เอเต อนาคามีบุคคลเหล่านั้น สุกฺขวิปสฺสกาปิ แม้เป็นสุกขวิปัสสก มรณกาเล ในเวลาใกล้ตาย เอกนฺเตเนว สมาปตฺตึ นิพฺพตฺเตนฺติ ก็ย่อมท�ำสมาบัติให้บังเกิดได้โดยแน่นอนแท้ สมาธิมฺหิ ปริปูรการีภาวโต เพราะเป็นผู้มีปกติท�ำให้บริบูรณ์ในสมาธิ ฯ
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 245 ปน แต่ พระพุทธโฆษาจารย์ อฏฺกถายํ วุตฺตํ พระพุทธโฆษาจารย์กล่าวไว้ ในอรรถกถาว่า อิตฺถิโยปิ ฝ่ายพวกผู้หญิง อริยา จะเป็นพระอริยะ อนริยา วาปิ หรือไม่ใช่พระอริยะก็ตาม อฏฺสมาปตฺติลาภินิโย มีปกติได้สมาบัติ ๘ นิพฺพตฺตนฺติ ย่อมบังเกิด พฺรหฺมปาริสชฺเชสุเยว เฉพาะในพวกพรหมชั้นพรหมปาริสัชชา ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง เอตฺถ เวหปฺผลอกนิฏฺจตุตฺถารูปภวานํ เสฏฺภวภาวโต เพราะบรรดาภพมีภพชั้นพรหมปาริสัชชาเป็นต้นนี้ ภพชั้นเวหัปผละ ชั้นอกนิฏฐะ และอรูปภพที่ ๔ เป็นภพประเสริฐที่สุด อริยา พระอริยบุคคลทั้งหลาย นิพฺพตฺตา บังเกิดแล้ว ตตฺถ ในภพทั้ง ๓ นั้น น อุปฺปชฺชนฺติ ย่อมไม่อุบัติ อฺ ตฺถ ในภพอื่น ฯ ตถา อนึ่ง พระอริยบุคคลทั้งหลาย นิพฺพตฺตา บังเกิดแล้ว อุปรูปริพฺรหฺมโลเกสุ ในพรหมโลกชั้นสูง ๆ ขึ้นไป อวเสเสสุ ที่เหลือ เหฏฺิมเหฏฺิเมสุ ย่อมไม่อุบัติ ในพรหมโลกชั้นต�่ำ ๆ ฯ วุตฺตฺ เหตํ อาจริเยน สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ดังนี้ว่า สพฺเพ อริยปุคฺคลา พระอริยบุคคลทั้งหมด ปติฏฺิตา ผู้ด�ำรงอยู่ เวหปฺผเล ในชั้นเวหัปผละ อกนิฏฺเ ชั้นอกนิฏฐะ ภวคฺเค จ และ ชั้นภวัคคพรหมแล้ว น ปุนฺ ตฺถ ชายนฺติ ย่อมไม่เกิดในพรหมโลก ชั้นอื่นอีก อริยา พระอริยบุคคลทั้งหลาย พฺรหฺมโลกคตา ผู้อยู่ ในพรหมโลกแล้ว น อุปปชฺชเร ย่อมไม่เกิด เหฏฺา ในพรหมโลก ชั้นต�่ำ ๆ ฯ อายุกฺขเยนาติอาทีสุ ในค�ำว่า อายุกฺขเยน เป็นต้น พึงทราบวินิจฉัย ดังต่อไปนี้ สติปิ กมฺมานุภาเว ตํตํคตีสุ ยถาปริจฺฉินฺนสฺส อายุโน ปริกฺขเยน มรณํ ความตายเพราะความสิ้นอายุ ตามที่ก�ำหนดไว้ในคตินั้น ๆ ในเมื่ออานุภาพ แห่งกรรมแม้ยังมีอยู่ อายุกฺขยมรณํ ชื่อว่าตายเพราะสิ้นอายุ ฯ สติปิตตฺถ ปริจฺฉินฺนายุเสเส คติกาลาทิปจฺจยสามคฺคิยฺ จ ตํตํภวสาธกสฺส กมฺมุโน ปรินิฏฺิตวิปากตฺตา มรณํ ความตายเพราะความที่กรรมซึ่งให้
246 ปริเฉทที่ ๕ ส�ำเร็จภพนั้น ๆ มีวิบากหมดสิ้นแล้ว ในเมื่อความเหลือลงแห่งอายุที่ก�ำหนด ในภพนั้น และเมื่อความพร้อมเพรียงแห่งปัจจัยมีคติและกาลเป็นต้นแม้ยังมีอยู่ กมฺมกฺขยมรณํ ชื่อว่าตายเพราะสิ้นกรรม ฯ อายุกมฺมานํ สมกเมว ปริกฺขีณตฺตา มรณํ ความตาย เพราะอายุและกรรม สิ้นไปพร้อมกันทีเดียว อุภยกฺขยมรณ ชื่อว่าตายเพราะสิ้นอายุและกรรมทั้งสอง ฯ ํ สติปิ ตสฺมึ ทุวิเธ ในเมี่ออายุและกรรมทั้งสองนั้นแม้ยังมีอยู่ ปุริมภเว สิทฺธสฺส กสฺสจิ อุปจฺเฉทกกมฺมุโน พเลน สตฺถาหรณาทีหิ อุปกฺกเมหิ อุจฺฉิชฺชมานสนฺตานานํ (ปวตฺตมรณํ) ความตายของเหล่าสัตว์ผู้มีสันดานขาดไป อยู่ด้วยความพยายามทั้งหลาย มีการน�ำศัสตรามาฆ่าตนเป็นต้น ซึ่งเป็นไปด้วย ก�ำลังอุปัจเฉทกกรรมบางอย่างที่ส�ำเร็จแล้วในภพก่อน คุณมหนฺเตสุ วา กเตน เกนจิ อุปกฺกเมน อายูหิตอุปจฺเฉทกกมฺมุนา ปฏิพาหิตสามตฺถิยสฺส กมฺมสฺส ตํตํอตฺตภาวปฺปวตฺตเน อสมตฺถภาวโต ทุสิมารกลาพุราชาทีนํ วิย ตํขเณเยว านา จาวนวเสน ปวตฺตมรณํ หรือว่า ความตายที่เป็นไปด้วยอ�ำนาจให้เคลื่อน จากฐานในทันที ดุจความตายแห่งพระเจ้าทุสิมาร และพระเจ้ากลาพุเป็นต้น เพราะกรรมซึ่งมีความสามารถถูกอุปัจเฉทกกรรมอันสัตว์สั่งสมแล้ว ด้วยความ พยายามบางอย่างที่ตนกระท�ำแล้วในพวกท่านผู้มีคุณมากห้ามเสียแล้ว เป็นธรรมชาต ไม่สามารถในการยังอัตภาพนั้น ๆ ให้เป็นไปได้ อุปจฺเฉทกมรณํ นาม ชื่อว่าตาย เพราะกรรมเข้าไปบั่นรอน ฯ ปน ก็ อิทํ ความตายเพราะกรรมเข้าไปบั่นรอนนี้ น โหติย่อมไม่มี เนรยิกานํ แก่พวกสัตว์นรก อุตฺตรกุรุวาสีนํ พวกชาวอุตตตรกุรุทวีป เกสฺ จิ เทวานฺ จ และพวกเทพบางเหล่า ฯ เตนาหุ เหตุนั้น อาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า (มรณ)ํ ความตาย อุปกฺกเมน วา เพราะความพยายาม อุปจฺเฉทกกมฺมุนา หรืออุปัจเฉทกกรรม พึงมี เกสฺ จิ แก่สัตว์บางเหล่า ฯ
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 247 อุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้น ปวตฺติ คือ ความเป็นไป มรณสฺส แห่งความตาย มรณุปฺปตฺติ ชื่อว่ามรณุปปัตติ ฯ มรณกาเลติ บทว่า มรณกาเล ได้แก่ มรณาสนฺนกาเล ในเวลาใกล้ตาย ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่ ตํตํคตีสุ อุปฺปชฺชนกสตฺตานุรูป เหมาะสมแก่สัตว์ผู้จะเกิดในคตินั้น ๆ ฯ ปน ก็ นามรูปธมฺมาทิกเมว ธรรมชาตมีนามธรรมและรูปธรรมเป็นต้น ยโถปฏฺิตํ ตามที่ปรากฏ กตฺถจิ อนุปฺปชฺชมานสฺส ขีณาสวสฺส แก่พระขีณาสพ ผู้ไม่เกิดขึ้นในภพไหน ๆ นั้นแหละ คจฺฉติถึง โคจรภาวํ ความเป็นอารมณ์ จุติปริโยสานานํ แก่จิตทั้งหลายมีจุติจิตเป็นที่สุด น กมฺมกมฺมนิมิตฺตาทโย กรรมและกรรมนิมิตเป็นต้น หาถึงความเป็นอารมณ์ได้ไม่ ฯ อุปลทฺธปุพฺพนฺติ บทว่า อุปลทฺธปุพฺพํ ได้แก่ เจติยทสฺสนาทิวเสน ปุพฺเพ อุปลทฺธํ ที่ได้มาในปางก่อน ด้วยอ�ำนาจการเห็นพระเจดีย์เป็นต้น ฯ อุปกรณภูตนฺติ บทว่า อุปกรณภูตํ ได้แก่ ปุปฺผาทิวเสน อุปกรณภูตํ ที่เป็นอุปกรณ์ ด้วยอ�ำนาจดอกไม้เป็นต้น ฯ อุปลภิตพฺพนฺติ บทว่า อุปลภิตพฺพํ ได้แก่ อนุภวิตพฺพํ พึงเสวย ฯ อุปโภคภูตนฺติ บทว่า อุปโภคภูต ได้แก่ ํอจฺฉราวิมานกปฺปรุกฺขนิรยคฺคิอาทิกํ คตินิมิตมีนางอัปสร วิมาน ต้นกัลปพฤกษ์ และไฟนรกเป็นต้น อุปภฺุ ชิตพฺพํ ที่ตนพึงเสวย ฯ หิความจริง รูปายตนํ รูปายตนะ อจฺฉราวิมานกปฺปรุกฺขมาตุกุจฺฉิอาทิคตํ มีนางอัปสร วิมาน ต้นกัลปพฤกษ์ และท้องมารดาเป็นต้น สุคตินิมิตฺตํ เป็น สุคตินิมิต นิรยคฺคินิรยปาลาทิคตํ รูปายตนะมีไฟนรกและนายนิรยบาลเป็นต้น ทุคฺคตินิมิตฺตํ เป็นทุคตินิมิต ฯ คติยา นิมิตฺตํ นิมิตแห่งคติ คตินิมิตฺตํ ชื่อว่าคตินิมิต ฯ
248 ปริเฉทที่ ๕ กมฺมพเลนาติ บทว่า กมฺมพเลน ได้แก่ ปฏิสนฺธินิพฺพตฺตกสฺส กุสลากุสลกมฺมสฺส อานุภาเวน ด้วยอานุภาพแห่งกุศลกรรมและอกุศลกรรมซึ่งให้ ปฏิสนธิจิตบังเกิด ฯ ฉนฺนํ ทฺวารานนฺติ ข้อว่า ฉนฺนํ ทฺวารานํ ได้แก่ ฉนฺนํ อุปปตฺติทฺวารานํ บรรดาทวารที่ปรากฏ ๖ อย่าง ยถาสมฺภวํ ตามก�ำเนิด วกฺขมานนเยน โดยนัยที่ จะกล่าวต่อไป ฯ ยทิกุสลกมฺมํ วิปจฺจติถ้ากุศลกรรมให้ผลไซร้ ตถา ในกาลนั้น กุสลจิตฺตํ กุศลจิต ปริสุทฺธํ ที่บริสุทธิ์ ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป อถ ถ้า อกุสลกมฺม อกุศลกรรม ํ ให้ผลไซร้ ตทา ในกาลนั้น อกุสลจิตฺตํ อกุศลจิต อุปกฺกิลิฏฺ ที่เศร้าหมอง ย่อมเป็นไป อิติ เพราะเหตุนั้น อาห วิปจฺจมานก ฯเปฯ กิลิฏฺ วาติ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า วิปจฺจมานก ฯเปฯ กิลิฏฺ วา ดังนี้ ฯ เตนาห ภควา ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ภิกฺขเว ภิกษุ ทั้งหลาย วิฺ าณํ วิญญาณ นิมิตฺตสฺสาทคธิตํ ที่ก�ำหนัดด้วยอ�ำนาจความพอใจ ในนิมิต อนุพฺยฺ ชนสฺสาทคธิตํ วา หรือที่ก�ำหนัดด้วยอ�ำนาจความพอใจใน อนุพยัญชนะ ติฏฺมานํ เมื่อด�ำรงอยู่ ติฏฺติย่อมด�ำรงอยู่ได้ ตสฺมิฺ เจ สมเย กาลํ กโรติหากบุคคลย่อมกระท�ำกาละในสมัยนั้นไซร้ ยํ ทฺวินฺนํ คตีนํ อฺ ตรํ คตึ อุปปชฺเชยฺย นิรยํ วา ติรจฺฉานโยนึ วาติ ข้อที่เขาพึงเข้าถึงบรรดาคติ ๒ อย่าง คติใดคติหนึ่ง คือนรก หรือก�ำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน านเมตํ วิชฺชติ นั่นเป็นฐานะที่จะมีได้ ฯ ตตฺโถนตํวาติ บทว่า ตตฺโถนตํว ได้แก่ ตสฺมึ อุปฺปชฺชิตพฺพภเว โอนตํ วิย ดุจน้อมไปในภพที่จะพึงเกิดขึ้นนั้น ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ตตฺโถนตํ อิวาติปทจฺเฉโท บทว่า ตตฺโถนตวํ ตัดบทเป็น ตตฺโถนตํ อิว ฯ
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 249 พาหุลฺเลนาติเอตฺถ อธิปฺปาโย อธิบายในบทว่า พาหุลฺเลน นี้ ทฏฺพฺโพ พึงเห็น วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวแล้ว เยภุยฺเยน ภวนฺตเรติ เอตฺถ ในข้อว่า เยภุยฺเยน ภวนฺตเร นี้ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ยถารหนฺติ อิมินาว ด้วยบทว่า ยถารหํ นี้แหละ โส สกฺกา สงฺคเหตํุ ใคร ๆ ก็สามารถจะรวบรวมอธิบายนั้นได้ อิติ เพราะเหตุนั้น วิฺ ายติ บัณฑิตย่อมเข้าใจว่า พาหุลฺเลนาติอิมินา ด้วยบทว่า พาหุลฺเลน นี้ ทีปิตํ ท่านอาจารย์แสดงไว้แล้วว่า (จิตฺตสนฺตาน)ํ จิตสันดาน สหสา โอจฺฉิชฺชมานชีวิตานํ ของเหล่าสัตว์ผู้มีชีวิตที่ขาดตกลงทันที (ปวตฺตติ) ย่อมเป็นไป อภิกฺขณเมว เนือง ๆ ทีเดียว สณิกํ มรนฺตานํ วิย เหมือนจิตสันดานของเหล่าสัตว์ผู้ค่อย ๆ ตายไป น หามิได้ ฯ อภินวกรณวเสนาติ บทว่า อภินวกรณวเสน ได้แก่ อตฺตานํ อภินวกรณวเสน ด้วยอ�ำนาจปรับปรุงตนเสียใหม่ ตํขเณ กริยมานํ วิย ดุจกระท�ำในขณะนั้น ฯ ปจฺจาสนฺนมรณสฺสาติ บทว่า ปจฺจาสนฺนมรณสฺส ได้แก่ สมาสนฺนมรณสฺส ของสัตว์ผู้มีความตายใกล้เข้ามาแล้ว เอกวีถิปฺปมาณายุกวเสน ด้วยอ�ำนาจสัตว์ ผู้มีอายุประมาณวิถีจิตหนึ่ง ตโต วา กิฺ จิอธิกายุกวเสน หรือด้วยอ�ำนาจสัตว์ ผู้มีอายุเกินกว่าวิถีจิตหนึ่งนั้นไปเพียงเล็กน้อย ฯ วีถิจิตฺตาวสาเนติ บทว่า วีถิจิตฺตาวสาเน ได้แก่ อวสาเน ในที่สุด วีถิจิตฺตานํ แห่งวิถีจิตทั้งหลาย ตทาลมฺพนปริโยสานานํ ที่มีตทาลัมพนจิต เป็นที่สุด ชวนปริโยสานานํ วา หรือมีชวนจิตเป็นที่สุด ฯ ธมฺมานุสารณิยํ วุตฺตํ ท่านอาจารย์กล่าวไว้ในคัมภีร์ธัมมานุสารณีว่า ตตฺถ ในบรรดาภพเป็นต้นนั้น กามภวโต จวิตฺวา ตตฺเถว อุปฺปชฺชมานานํ ตทาลมฺพนปริโยสานานิ (วิถีจิตฺตานิ) วิถีจิตของเหล่าสัตว์ผู้เคลื่อนจากกามภพ แล้วเกิดขึ้นในกามภพนั้นนั่นเอง มีตทาลัมพนจิตเป็นที่สุด เสสานํ ชวนปริโยสานานิ วิถีจิตของเหล่าสัตว์ที่เหลือมีชวนจิตเป็นที่สุด ฯ
250 ปริเฉทที่ ๕ ภวงฺคกฺขเยวาติ บทว่า ภวงฺคกฺขเยว ความว่า ยทิ เอกชวนวีถิโต อธิกตรายุเสโส สิยา ถ้าว่า ความเหลือลงแห่งอายุที่กว่าชวนวิถีจิตหนึ่งมีไซร้ ตทา (จุติจิตฺตํ) ภวงฺคาวสาเน วา อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌติ ในกาลนั้น จุติจิต เกิดขึ้นในที่สุดแห่งภวังคจิตแล้วดับลง อถ เอกจิตฺตกฺขณายุเสโส สิยา ตทา (จุติจิตฺตํ) วีถิจิตฺตาวสาเน วา อุปฺปชฺชิตฺวา นิรุชฺฌติหรือถ้าความเหลือลงแห่ง อายุเพียงขณะจิตเดียวพึงมีไซร้ ในกาลนั้น จุติจิตเกิดขึ้นในที่สุดวิถีจิตแล้วดับลง ฯ จ ก็ ตํ จุติจิตนั้น อตีตกมฺมาทิวิสยเมว มีอดีตกรรมเป็นต้นเป็นอารมณ์ อย่างเดียว ฯ ตสฺสานนฺตรเมวาติ อิมินา ด้วยบทว่า ตสฺสานนฺตรเมว นี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ปฏิกฺขิปติย่อมคัดค้าน อนฺตราภววาทิมต มติของผู้ที่มักกล่าวว่า ภพมีในระหว่าง ฯ ํ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่ อนุรูปวเสน ด้วยอ�ำนาจเหมาะ กมฺมกรณกาลสฺส แก่เวลาท�ำกรรม วิปากทานกาลสฺส จ และแก่เวลาให้ผล ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง อตฺโถ มีอธิบายว่า วิปจฺจมานกกมฺมานุรูป เหมาะแก่ กรรมที่จะให้ผล ปวตฺติอนุรูปโต คือ โดยเหมาะแก่ความเป็นไป อนุสยวเสน ด้วย อ�ำนาจอนุสัย ชวนสหชาตวเสน วา หรือด้วยอ�ำนาจธรรมที่เกิดร่วมกันกับชวนจิต ฯ ถามว่า จ ก็ อวิชฺชานุสยปริกฺขิตฺเตนาติอาทิวุตฺตํ ท่านอาจารย์กล่าวไว้ว่า อวิชฺชานุสยปริกฺขิตฺเตน ดังนี้เป็นต้น นนุ มิใช่หรือ จ ส่วน ชวนสหชาตานํ อนุสยภาโว ความที่อวิชชาและตัณหาที่เกิดพร้อมกับชวนจิตเป็นอนุสัย กถ พึงมีได้อย่างไร ฯ ตอบว่า อยํ ความที่อวิชชาและตัณหาที่เกิดพร้อมกับชวนจิตเป็นอนุสัยนี้ น โทโส ชื่อว่าไม่ผิด ตาสมฺปิอนุสยโวหารโต เพราะแม้อวิชชาและตัณหาที่เกิด พร้อมกับชวนจิตเหล่านั้น เรียกว่าอนุสัย อนุสยสทิสตาย เหตุเหมือนกับอนุสัย ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ น สิยา จะไม่พึงมี สงฺคโห การรวบรวม อกุสลกมฺมสหชาตานํ อวิชชาและตัณหาที่เกิดพร้อมกับอกุศลกรรม ภวปตฺถนาสหชาตานํ วา หรือที่เกิดพร้อมกับความปรารถนาภพ จุติอาสนฺนชวน สหชาตานฺ จ และที่เกิดพร้อมกับชวนจิตใกล้จุติจิต ฯ
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 251 อวิชฺชาว เฉพาะอวิชชา อนุสโย ชื่อว่าอนุสัย อนุสยนโต เพราะนอนเนื่อง ปวตฺตนโต คือ เป็นไป อปฺปหีนตฺเถน ด้วยอรรถว่ายังละไม่ได้ ฯ เตน ปริกฺขิตฺเตน สังขารธรรม ซึ่งถูกอนุสัยนั้นแวดล้อมแล้ว ปริวาริเตน คือ ห้อมล้อมแล้ว ฯ ตณฺหานุสโยว ตัณหานุสัยแล มูลํ เป็นมูล ปธานํ คือ เป็นประธาน สหการิการณภูตํ ได้แก่ เป็นเหตุกระท�ำร่วมกัน อิมสฺส แก่สังขารธรรมนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น สังขารธรรมนี้ ตณฺหานุสยมูลโก ชื่อว่ามีตัณหานุสัยเป็นมูล ฯ สงฺขาเรนาติ บทว่า สงฺขาเรน เป็นต้น ความว่า กุสลากุสลกมฺเมน อันกุศลกรรม หรืออกุศลกรรมก็ดี กมฺมสหคตผสฺสาทิธมฺมสมุทาเยน อันหมวด ธรรมมีผัสสเจตสิกเป็นต้นที่เกิดพร้อมด้วยกรรมก็ดี จุติอาสนฺนชวนสหชาเตน วา เตน อันหมวดธรรมมีผัสสเจตสิกเป็นต้นนั้น ที่เกิดพร้อมด้วยชวนจิตใกล้จุติจิต ก็ดี ชนิยมานํ ให้เกิดอยู่ ฯ หิ ที่จริง ตณฺหา ตัณหา นเมติ ย่อมน้อมวิญญาณจิตไป อวิชฺชาย ปฏิจฺฉนฺนาทีนเว วิสเย ในอารมณ์มีโทษอันอวิชชาปกปิดแล้ว ยถาวุตฺตสงฺขารา สังขารธรรมตามที่กล่าวแล้ว ขิปนกสงฺขารสมฺมตา อันท่านเรียกว่าสังขารธรรมส่งจิต ขิปนฺติ ย่อมส่งวิญญาณจิตไป ฯ ยถาหุ สมจริงดังที่พระโบราณาจารย์ทั้งหลาย กล่าวไว้ว่า อปายินํ ส�ำหรับเหล่าสัตว์ผู้เกิดในอบายภูมิ อวิชฺชา...สหเชหิ... วิสยาทีนวจฺฉาทนํ มีอวิชชาที่เกิดร่วมกับจิตปกปิดโทษในอารมณ์ ...ตณฺหา...สหเชหิ...นมนํ มีตัณหาเกิดร่วมกับจิตน้อมวิญญาณจิตไป ...สงฺขารสหเชหิ...ขิปนมฺปิจ และมีสังขารธรรมที่เกิดร่วมกับจิต ส่งวิญญาณจิตไป เสสานํ ส�ำหรับเหล่าสัตว์ผู้มีปกติไปสู่สุคติภูมิ ที่เหลือ อปฺปหีเนหิ...ฉาทนํ มีอวิชชานุสัยที่ยังละไม่ได้ปกปิดโทษ ในอารมณ์ อปฺปหีเนหิ...นมนมฺปิจ และมีตัณหานุสัยที่ยังละไม่ได้ น้อมวิญญาณจิตไป ปน ส่วน สงฺขารา สังขารธรรมทั้งหลาย ขิปกา
252 ปริเฉทที่ ๕ ที่ส่งวิญญาณจิต กุสลาว เฉพาะที่เป็นกุศลเท่านั้น ภวนฺติ ย่อมเกิดมี อิธ ในสุคติปฏิสนธินี้ ฯ สมฺปยุตฺตธมฺเมหิปริคฺคยฺหมานนฺติ ค�ำว่า สมฺปยุตฺตธมฺเมหิปริคฺคยฺหมานํ โดยอรรถว่า ผสฺสาทีหิธมฺเมหิอันธรรมมีผัสสเจตสิกเป็นต้น อตฺตนา สมฺปยุตฺเตหิ ประกอบกับตน ปริวาเรตฺวา คยฺหมานํ แวดล้อมประคอง สมฺปยุตฺตปจฺจยาทินา โดยเป็นสัมปยุตปัจจัยเป็นต้น ฯ สหชาตา ฯเปฯ ภูตนฺติค�ำว่า สหชาตา ฯเปฯ ภูตํ โดยอรรถว่า ปธานภูตํ เป็นประธาน อตฺตนา สหชาตานํ ปติฏฺานภาเวน โดยเป็นที่ประดิษฐานของธรรม ที่เกิดร่วมกันกับตน ฯ มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมาติหิวุตฺตํ สมจริงดังพระด�ำรัสที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ว่า ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า ดังนี้เป็นต้น ฯ ภวนฺตรปฏิสนฺธานวเสนาติ บทว่า ภวนฺตรปฏิสนฺธานวเสน โดยอรรถว่า ปฏิสนฺทหนวเสน ด้วยอ�ำนาจสืบต่อ ปุริมภวนฺตรสฺส ภพอื่นข้างหน้า ปจฺฉิมภวนฺตรสฺส จ และภพอื่นข้างหลัง อฺ มฺ เอกาพทฺธํ วิย ดุจเนื่องเป็น อันเดียวซึ่งกันและกัน ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า อุปฺปชฺชมานเมว จิตก�ำลังเกิดเท่านั้น ปฏฺาติ ปรากฏ น อิโต คนฺตฺวา ไม่ใช่ไปจากภพนี้แล้วจึงปรากฏ ฯ หิเพราะว่า โกจิ ธมฺโม ธรรมอะไร ๆ ปุริมภวปริยาปนฺโน อันเนื่องในภพก่อน น ภวนฺตรํ สงฺกมติย่อมย้ายไปในภพอื่นไม่ได้ ฯ นาปิปุริมภวปริยาปนฺนเหตูหิ วินา อุปฺปชฺชติ แม้เว้นเหตุอันเนื่องในภพก่อนเสียแล้ว ก็เกิดขึ้นไม่ได้ ปฏิโฆสทีปมุทฺทาทิ วิย ดุจเสียงสะท้อน เปลวประทีป และตราประทับเป็นต้นแล อิติ เพราะเหตุนั้น อลมติปปฺ เจน พอทีไม่ต้องพิสดารมากนัก ฯ ชวนจิตทั้งหลาย มนฺทํ หุตฺวา ปวตฺตานิ เป็นจิตอ่อนแล้วเป็นไป มนฺทปฺปวตฺตานิ ชื่อว่าเป็นไปอ่อน ฯ
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 253 อธิปฺปาโย อธิบายว่า ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพเนสฺวาปาถมาคเตสุ เมื่ออารมณ์ที่ เป็นปัจจุบันทั้งหลายนั่นแล มาปรากฏ มโนทฺวาเร ในมโนทวาร คตินิมิตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจคตินิมิต ปฺ จทฺวาเร กมฺมนิมิตฺตวเสน มาปรากฏในปัญจทวาร ด้วย อ�ำนาจกรรมนิมิต (มรณํ โหติ) ความตายย่อมมีได้ ฯ ปฏิสนฺธิฯเปฯ ลพฺภตีติ...อยเมตฺถ สงฺเขโป ในค�ำว่า แม้ปฏิสนธิจิตและ ภวังคจิต ก็ย่อมได้ความมีอารมณ์ปัจจุบันนี้ มีอรรถสังเขปดังนี้ว่า ปฏิสนฺธิยา ปฏิสนธิจิต ๑ ดวง จตุนฺนํภวงฺคานํ ภวังคจิต ๔ ดวง ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพนภาโว ลพฺภติ ย่อมได้ความมีอารมณ์ปัจจุบัน มโนทฺวาเร ในมโนทวาร ตาว ก่อน ปน แต่ ปฺ จทฺวาเร ในปัญจทวาร ปฏิสนฺธิยาว ปฏิสนธิจิตอย่างเดียว (ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพนภาโว ลพฺภติ) ย่อมได้ความมีอารมณ์ปัจจุบัน ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น กสฺสจิ มโนทฺวาเร อาปาถมาคตํ ปจฺจุปฺปนฺนํ คตินิมิตฺตมารพฺภ อุปฺปนฺนาย ตทาลมฺพนปริโยสานาย จิตฺตวีถิยา อนนฺตรํ จุติจิตฺเต อุปฺปนฺเน เมื่อจุติจิตเกิดขึ้นในล�ำดับต่อจากวิถีจิต ซึ่งมีตทาลัมพนจิต เป็นที่สุด ซึ่งเกิดขึ้นยึดคตินิมิตที่เป็นปัจจุบัน ซึ่งมาปรากฏแก่สัตว์บางตนในมโนทวาร ตทนนฺตรํ ปฺ จจิตฺตกฺขณายุเก อาลมฺพเน ปวตฺตาย ปฏิสนฺธิยา จตุนฺนํ ภวงฺคานํ ปจฺจุปฺปนฺนารมฺมเณ ปวตฺติ อุปลพฺภติ ย่อมได้ความเป็นไปในอารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน แห่งปฏิสนธิจิต (๑ ดวง) ภวังคจิต ๔ ซึ่งเป็นไปในอารมณ์ที่มีอายุ ๕ ขณะจิต ในล�ำดับต่อจากจุติจิตนั้น ปฺ จทฺวาเร จ าตกาทีหิอุปฏฺาปิเตสุ เทยฺยธมฺเมสุ วณฺณาทิเก อารพฺภ ยถารหํ ปวตฺตาย จิตฺตวีถิยา จุติจิตฺตสฺส จ อนฺตรํ เอกจิตฺตกฺขณายุเก อาลมฺพเน ปวตฺตาย ปฏิสนฺธิยา ปจฺจุปฺปนฺนารมฺมเณ ปวตฺติ อุปลพฺภติ และย่อมได้ความเป็นไปในอารมณ์ที่เป็นปัจจุบันแห่งปฏิสนธิจิต ซึ่งเป็นไปในอารมณ์ ที่มีอายุขณะจิตเดียว ในล�ำดับแห่งวิถีจิตและจุติจิต ซึ่งปรารภ รูปารมณ์เป็นต้น ในไทยธรรมทั้งหลาย ที่พวกญาติเป็นต้นตั้งไว้แล้ว ซึ่งมาปรากฏ ในปัญจทวาร เป็นไปตามสมควร ฯ
254 ปริเฉทที่ ๕ ปน ส่วน วิตฺถาโร ความพิสดาร ทฏฺพฺโพ บัณฑิตพึงค้นดู วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวไว้แล้ว วิสุทฺธิมคฺเค ในวิสุทธิมรรค วิภงฺคฏฺกถาย วา สงฺขารปจฺจยาวิฺ าณปทวณฺณนาย หรือในการพรรณนาบทแห่งสังขารปัจจัยและ วิญญาณ ในอรรถกถาวิภังค์ ฯ ฉทฺวารคฺคหิตนฺติในค�ำว่า ฉทฺวารคฺคหิต นี้ ํยถาสมฺภวํ โยเชตพฺพ บัณฑิต ํ พึงประกอบค�ำตามก�ำเนิดว่า กมฺมนิมิตฺตํ กรรมนิมิต ฉทฺวารคฺคหิต อันชวนจิตรับมา ํ ทางทวาร ๖ คตินิมิตฺต คตินิมิต ํฉฏฺทฺวารคฺคหิต อันชวนจิตรับมาทางทวารที่ ๖ ฯ ํ อปเร ปน อวิเสสโต วณฺเณนฺติ แต่อาจารย์อีกพวกหนึ่ง พรรณนาไว้ โดยไม่แปลกกัน ฯ สจฺจสงฺเขเปปิแม้ในปกรณ์สัจจสังเขป เตเนว อธิปฺปาเยน โดยอธิบายนั้น นั่นแหละ อิทํ วุตฺตํ ท่านอาจารย์ธรรมปาละกล่าวไว้ดังนี้ว่า วินา กมฺมํ เว้นกรรม ปฺ จทฺวาเร ในปัญจทวารเสีย สนฺธิ ปฏิสนธิจิต สิยา พึงมีได้ ทฺวิโคจเร ในอารมณ์ ๒ อย่าง ฯ ปน แต่ อฏฺกถายํ คตินิมิตฺตํ มโนทฺวาเร อาปาถมาคจฺฉตีติวุตฺตตฺตา เพราะในอรรถกถาท่านกล่าวไว้ว่า คตินิมิตย่อมมาปรากฏในมโนทวารดังนี้ ตทา รมฺมณาย จ ปฺ จทฺวาริกปฏิสนฺธิยา อทสฺสิตตฺตา และเพราะความที่ปฏิสนธิจิต ที่เกิดทางทวาร ๕ ซึ่งมีคตินิมิตนั้นเป็นอารมณ์ ท่านมิได้แสดงไว้ มูลฏีกาสุ จ กมฺมพเลน อุปฏฺาปิตํ วณฺณายตนํ สุปินํ ปสฺสนฺตสฺส วิย ทิพฺพจกฺขุสฺส วิย จ มโนทฺวาเรเยว โคจรภาวํ คจฺฉตีตินิยเมตฺวา วุตฺตตฺตา และเพราะในมูลฎีกา ทั้งหลาย ท่านกล่าวไว้แน่นอนว่า รูปายตนะที่ก�ำลังกรรมให้ปรากฏแล้ว ย่อมถึง ความเป็นอารมณ์เฉพาะในมโนทวาร ดุจรูปายตนะมาปรากฏแก่ผู้ฝัน และดุจ รูปายตนะมาปรากฏแก่ท่านผู้มีทิพยจักขุญาณ ฉะนั้น อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย น สมฺปฏิจฺฉนฺติจึงไม่รับรอง วจนํ ค�ำ เตสํ ของอาจารย์อีกพวกหนึ่งเหล่านั้น ฯ ปจฺจุปฺปนฺนฺ จาติเอตฺถ ในค�ำว่า ปจฺจุปฺปนฺนฺ จ เป็นต้นนี้ พึงมีค�ำท้วงว่า คตินิมิตฺตํ ตาว ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพนํ ยุชฺชติ คตินิมิตมีอารมณ์เป็นปัจจุบัน
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 255 ย่อมเหมาะสมก่อน ปน ส่วน กมฺมนิมิตฺตํ กรรมนิมิต อธิปฺเปตํ ท่านประสงค์ถึง ปฏิสนฺธิชนกกมฺมสฺเสว นิมิตฺตภูต เฉพาะที่เป็นนิมิตแห่งกรรมที่ให้ปฏิสนธิจิตเกิด ํ เท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตสฺส จุติอาสนฺนชวเนหิคหิตสฺส ปจฺจุปฺปนฺนภาโว สมฺภวติ ความที่กรรมนิมิตนั้น ซึ่งถูกชวนจิตที่ใกล้จุติจิตรับมาแล้วเกิดเป็นปัจจุบัน กถํ ได้อย่างไร ฯ หิ ความจริง ตเทว กรรมกล ่าวคือชวนจิตที่ใกล้จุติจิตนั้นนั่นเอง อารมฺมณูปฏฺาปกํ พึงเป็นตัวให้อารมณ์ตั้งขึ้น ชนกํ ภเวยฺย พึงเป็นตัวให้ ปฏิสนธิจิตเกิด น หามิได้ อุปจิตภาวาภาวโต เพราะไม่มีความเป็นกรรมอันสัตว์ สั่งสมแล้ว อนสฺสาทิตตฺตา จ และเพราะความเป็นกรรมอันตัณหาไม่ให้ยินดีแล้ว ฯ หิ ความจริง กตตฺตา อุปจิตตฺตาติ วจนโต เพราะพระบาลีว่า กตตฺตา อุปจิตตฺตา ดังนี้ ปุนปฺปุนํ ลทฺธาเสวนเมว กมฺมํ กรรมเฉพาะที่ได้อาเสวนปัจจัย บ่อย ๆ ปฏิสนฺธึอากฑฺฒติ ย่อมชักปฏิสนธิจิตมาได้ ฯ จ ส่วน ปฏิสมฺภิทามคฺเค ในคัมภีร์ปฏิสัมภิทามรรค นิกฺกนฺติขเณ ทฺวินฺนํ เหตูนํ ปจฺจยาปิสเหตุกปฏิสนฺธิยา วุตฺตตฺตา เพราะพระสารีบุตรเถระกล่าวถึง ปฏิสนธิจิตฝ่ายสเหตุกะซึ่งเป็นไปแล้ว แม้เพราะปัจจัยแห่งเหตุ ๒ ประการ ในขณะก้าวลงสู่ภพ กตูปจิตมฺปิ กมฺมํ กรรมแม้ที่สัตว์กระท�ำแล้วและสั่งสมแล้ว ตณฺหาย อสฺสาทิตเมว เฉพาะที่ตัณหาให้ยินดีแล้วเท่านั้น วิปากํ อภินิปฺผาเทติ ย่อมให้วิบากส�ำเร็จได้ ฯ จ ก็ จุติอาสนฺนชวนานิ ชวนจิตที่ใกล้จุติจิต ปวตฺตมานานิ ซึ่งเป็นไป ตทา ในกาลนั้น ปฏิสนฺธิยา สมานวีถิยํ วิย ดุจเป็นไปในวิถีจิตที่เสมอกับปฏิสนธิจิต ปุนปฺปุนํ ลทฺธาเสวนานิ สิยุ จะพึงได้อาเสวนปัจจัยบ่อย ๆ กถ ได้อย่างไร กถฺ จ ตานิ ตทา ตณฺหาย ปรามฏฺานิ และชวนจิตที่ใกล้ต่อจุติจิตเหล่านั้น จะพึงเป็นกรรมถูกตัณหายึดไว้ในกาลนั้น ได้อย่างไร ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง อฏฺกถายํ วุตฺตํ ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาว่า ปจฺจุปฺปนฺนํ กมฺมนิมิตฺตํ กรรมนิมิตที่เป็นปัจจุบัน จุติอาสนฺนปฺปวตฺตานํ ปฺ จทฺวาริกชวนานํ
256 ปริเฉทที่ ๕ อารมฺมณํ โหติย่อมเป็นอารมณ์แห่งชวนจิตที่เกิดทางทวาร ๕ ซึ่งเป็นไปใกล้ต่อ จุติจิต จ แต่ ปฺ จทฺวาริกกมฺม กรรมที่เกิดทางทวาร ๕ ํ ปฏิสนฺธินิพฺพตฺตกํ น โหติ จะให้ปฏิสนธิจิตบังเกิดย่อมไม่ได้ ปริทุพฺพลภาวโต เพราะมีก�ำลังอ่อนโดยรอบด้าน ฯ พึงมีค�ำตอบว่า เอตํ ค�ำที่ท่านกล่าวแล้วนี้ สจฺจํ เป็นความจริง ปน แต่ ตตฺถ วณฺณาทิกํ อารพฺภ จุติอาสนฺนวีถิโต ปุริมภาคปฺปวตฺตานํ ปฏิสนฺธิชนนสมตฺถานํ มโนทฺวาริกชวนานมารมฺมณภูเตน สห สมานตฺตา เพราะความที่กรรมนิมิตนั้น เป็นธรรมชาตเหมือนกับกรรมนิมิต ที่เป็นอารมณ์แก่ชวนจิตที่เกิดทางมโนทวาร ที่สามารถให้ปฏิสนธิจิตเกิดได้ ที่ยึดรูปารมณ์เป็นต้น ในดอกไม้เป็นต้นเหล่านั้น เป็นไปในกาลเบื้องต้น แต่วิถีจิตที่ใกล้จุติจิต าตกาทีหิอุปฏฺาปิเตสุ ปุปฺผาทีสุ สนฺนิหิเตเสฺวว มรณสมฺภวโต โดยความตายเกิดมีได้ ในเมื่อดอกไม้เป็นต้น ที่พวกญาติเป็นต้นช่วยกันจัดแจงไว้ ด�ำรงอยู่พร้อมแล้วนั่นแล วณฺณาทิก รูปายตนะ ํ เป็นต้น จุติอาสนฺนชวนคฺคหิตมฺปิ แม้ที่ชวนจิตที่ใกล้จุติจิตรับมา ปจฺจุปฺปนฺนํ ที่เป็นปัจจุบัน ตเทกสนฺตติยํ ปติตํ ซึ่งตกไปในความสืบต่อเดียวกันกับกรรมนิมิตนั้น กมฺมนิมิตฺตภาเวน วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ โดยความเป็นกรรมนิมิต ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ วุตฺตํ อานนฺทาจริเยน ท่านพระอานันทาจารย์จึงกล่าวว่า จ ก็ ปจฺจุปฺปนฺนํ กมฺมนิมิตฺตํ กรรมนิมิตที่เป็น ปัจจุบัน ปฺ จทฺวาเร อาปาถมาคจฺฉนฺตํ ซึ่งมาปรากฏในปัญจทวาร ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงทราบว่า อาสนฺนกตกมฺมารมฺมณสนฺตติยํ อุปฺปนฺนํ อิติ เกิดขึ้นแล้ว ในความสืบต่อแห่งอารมณ์ของกรรม ที่สัตว์ท�ำในเวลาใกล้ตาย ตสทิสนฺติ ํ และว่า เหมือนกับอารมณ์ของกรรมตามที่กล่าวแล้วนั้น ฯ ยถารหนฺติบทว่า ยถารห ได้แก่ ํ ทุติยจตุตฺถปมตติยานํ ปฏิสนฺธีนํ อนุรูปโต โดยเหมาะสมแก่ปฏิสนธิจิตดวงที่ ๒ กับดวงที่ ๑ และดวงที่ ๔ กับดวงที่ ๓ ฯ อารุปฺปปฏิสนฺธิโย อรูปาวจรปฏิสนธิจิต เหฏฺิมารุปฺปวชฺชิตา เว้นอรูปาวจร ปฏิสนธิจิตเบื้องต�่ำ โหนฺติ ย่อมมี อารุปฺปจุติยา ปรํ ต่อจากอรูปาวจรจุติจิต อุปรูปริอรูปีนํ เหฏฺิมเหฏฺิมกมฺมสฺส อนายูหนโต เพราะอรูปาวจรสัตว์ชั้นสูง ๆ
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 257 ไม่สั่งสมกรรมชั้นต�่ำ ๆ ปน แต่ อุปจารชฺฌานสฺส พลวภาวโต เพราะอุปจารฌาน มีก�ำลังแรง กาเม ติเหตุกา ปฏิสนฺธิโย ติเหตุกปฏิสนธิจิตในกามภพ ตสฺส วิปากภูตา ซึ่งเป็นวิบากแห่งอุปจารฌานนั้น โหนฺติ ย่อมมีได้ ฯ ทุเหตุกติเหตุกปฏิสนฺธิโย ทุเหตุกปฏิสนธิจิตและติเหตุกปฏิสนธิจิต อเหตุกรหิตา ที่เว้นจากอเหตุกปฏิสนธิจิต สิยุํ พึงมีรูปาวจรจุติยา ปรํ ต่อจาก รูปาวจรจุติจิต อุปจารชฺฌานานุภาเวเนว ด้วยอานุภาพแห่งอุปจารฌานนั่นเอง ฯ อเหตุกาทิปฏิสนฺธิโย อเหตุกปฏิสนธิจิตเป็นต้น สพฺพา เอว ทั้งหมดทีเดียว กามรูปารูปภวปริยาปนฺนา คือ ที่นับเนื่องในกามภพ รูปภพ และอรูปภพ สิยุํ พึงมี จุติจิตฺตโต ปรํ ต่อจากจุติจิต กามติเหตุกมฺหา ที่เป็นติเหตุกะในกามภพ ยถารหํ ตามสมควร ฯ ติเหตุกาทิปฏิสนฺธิโย ติเหตุกปฏิสนธิจิตเป็นต้น อิตรา นอกนี้ สิยุ พึงมี กาเมเสฺวว ภเวสุ เฉพาะในกามภพ ทุเหตุกาเหตุกจิตฺตโต ปรํ ต่อจากทุเหตุกจิต และอเหตุกจิต ฯ ปฏิสนฺธิยา นิโรธสฺส อนนฺตรโต แต่ล�ำดับต่อจากปฏิสนธิจิตดับลง ปฏิสนฺธินิโรธานนฺตรโต ชื่อว่าแต่ ล�ำดับต่อจากปฏิสนธิจิตดับลง ฯ ตเทว จิตฺตนฺติ ข้อว่า ตเทว จิตฺตํ ความว่า ตเทว จิตนั้นนั่นเอง จิตฺตํ ชื่อว่าจิต ตโวห ํารมฺปตฺตตฺตา เพราะถึงโวหารว่าจิตนั้น ตสทิสต ําย เหตุเหมือนกับ ปฏิสนธิจิตนั้น ยถา ตานิเยว โอสถานิ เหมือนโอสถเหล่านั้นนั่นแล ฉะนั้น ฯ อสติ วีถิจิตฺตุปฺปาเทติ...สมฺพนฺโธ ข้อว่า อสติ วีถิจิตฺตุปฺปาเท เชื่อมความว่า อนฺตรนฺตรา วีถิจิตฺตานํ อุปฺปาเท อสติเมื่อไม่มีความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิตทั้งหลาย ในระหว่าง ๆ ตเทว จิตฺตํ จิตดวงนั้นนั่นเอง จุติจิตฺตํ หุตฺวา นิรุชฺฌติจึงเป็น จุติจิตดับลง ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ปฏิสนธิจิตเป็นต้น ปริวตฺตนฺตา ปวตฺตนฺติ ย่อม หมุนเวียนเปลี่ยนไป ยาว วฏฺฏมูลสมุจฺเฉทา จนกว่ามูลแห่งวัฏฏะจะขาด ฯ
258 ปริเฉทที่ ๕ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า ปฏิสนฺธิเจว ภวงฺคฺ จ วีถิโย จ จุติจ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต วิถีจิต และจุติจิต ย่อมหมุนเวียนเปลี่ยนไป อิห ภเว ในภพนี้ ยถา ฉันใด อยํ จิตฺตสนฺตติความสืบต่อแห่งจิตนี้ ปฏิสนฺธิภวงฺคมิติเอวมาทิกา มีอาทิอย่างนี้ คือ ปฏิสนธิจิต และภวังคจิต ปริวตฺตติ ก็หมุนเวียนเปลี่ยนไป ภวนฺตเร ในภพอื่น ปุน ใหม่ ตถา ฉันนั้น ฯ ปน แต่ เกจิ อาจารย์บางพวก อตฺถ วทนฺติกล่าวเนื้อความ ปฏิสนฺธิ- ภวงฺควีถิโยติอิมสฺส แห่งบทว่า ปฏิสนฺธิภวงฺควีถิโย นี้ ปฏิสนฺธิภวงฺคปฺปวาโหติ ว่า กระแสแห่งปฏิสนธิจิตและภวังคจิต อธิปฺปาเยน โดยอธิบายว่า อิมสฺมึ ปริจฺเฉเท วีถิมุตฺตสงฺคหสฺเสว ทสฺสิตตฺตา เพราะท่านพระอนุรุทธาจารย์แสดง เฉพาะการรวบรวมจิตที่พ้นจากวิถีไว้ในปริเฉทนี้ ปฏิสนฺธิภวงฺคจุตีนเมว อิธ สงฺคหณํ การรวบรวมเฉพาะปฏิสนธิจิต ภวังคจิต และจุติจิต เข้าไว้ในปริเฉทที่ ๕ นี้ ยุตฺตํ จึงเหมาะสมแล้ว ฯ ต ค� ํำนั้น มติมตฺต เป็นเพียงมติ ํเตส ของอาจารย์พวกนั้น ํตตฺถ สงฺคหิตานํ สพฺเพสเมว นิคมนสฺส อธิปฺเปตตฺตา เพราะท่านประสงค์ถึงการกล่าวย�้ำปฏิสนธิจิต ภวังคจิต วิถีจิต และจุติจิตทั้งหมดนั่นเอง ที่ท่านรวบรวมไว้ในปวัตติสังคหะ (ปริเฉทที่ ๔) นั้น ปวตฺติสงฺคหทสฺสนาวสาเน ในที่สุดแห่งการแสดงปวัตติสังคหะ ฯ หิความจริง เอวํ สติ เมื่อเป็นเช่นนั้น ปรามสนํ อุปฺปนฺนํ โหติย่อมเกิด มีการรวบรวม สพฺเพสเมว ปฏิสนธิจิตเป็นต้นทั้งหมดนั่นแล เอตํสทฺเทน ด้วย เอตํ ศัพท์ ปฏิสงฺขาย ปเนตมทฺธุวนฺติ เอตฺถ ในค�ำว่า ปฏิสงฺขาย ปเนตมทฺธุวํ นี้ สุฏฺุ ด้วยดี ฯ พุธา ท่านผู้รู้ทั้งหลาย ปณฺฑิตา คือ บัณฑิตทั้งหลาย ปฏิสงฺขาย พิจารณา ปจฺจเวกฺขิตฺวา ได้แก่ เห็นเฉพาะ อธุวํ ซึ่งความไม่ยั่งยืน อนิจฺจ คือ ความไม่เที่ยง ปโลกธมฺมํ ได้แก่ สิ่งที่มีความแตกสลายเป็นธรรมดา เอตํ นี้ วฏฺฏปฺปวตฺตํ คือ ซึ่งเป็นไปในวัฏฏะ ยถาวุตฺต ตามที่กล่าวแล้ว ํสุพฺพตา หุตฺวา เป็นผู้มีวัตรงาม จิราย โดยกาลนาน จิรํ กาลํ คือ ตลอดกาลนาน อธิคนฺตฺวา บรรลุแล้ว สจฺฉิกตฺวา
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 259 คือ ท�ำให้แจ้งแล้ว ปทํ ซึ่งทาง อจฺจุตํ อันไม่จุติ ธุวํ คือ ยั่งยืน อจวนธมฺมํ ได้แก่ ความไม่เคลื่อนไปเป็นธรรมดา นิพฺพานปท คือ ทางพระนิพพาน ํมคฺคผลาเณน ด้วยมรรคญาณและผลญาณ ตโตเยว ต่อแต่นั้นเอง สมุจฺฉินฺนสิเนหพนฺธนา เป็นผู้ตัดกิเลสเครื่องผูกคือความเยื่อใยได้เด็ดขาด สุฏฺุ ด้วยดี เอสฺสนฺติ จักลุถึง ปาปุณิสฺสนฺติ คือ จักบรรลุถึง สมํ ความสงบ นิรุปธิเสสนิพฺพานธาตุํ คือ นิพพานธาตุอันปราศจากอุปธิกิเลสที่เหลือ ฯ ปฺ จมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๕ อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ
260 ปริเฉทที่ ๖ ฉฏฐปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๖ (อนุรุทฺธาจริโย) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดง ทุวิธํ อภิธมฺมตฺถํ อรรถแห่งพระอภิธรรม ๒ ประการ จิตฺตเจตสิกวเสน คือจิต ๑ เจตสิก ๑ เอวํ ตาว ดังพรรณนามาฉะนี้ก่อนแล้ว อิทานิ บัดนี้ ทสฺเสตุมารภนฺโต เมื่อจะเริ่มแสดง รูปํ รูป ตทนนฺตรญฺจ นิพฺพานํ และพระนิพพาน ในล�ำดับต่อ จากรูปนั้น อาห จึงกล่าว เอตฺตาวตาติอาทิ ว่าเอตฺตาวตา ดังนี้เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า หิ เพราะ ยสฺมา คือ เพราะว่า ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย จิตฺตเจตสิกา คือจิตและเจตสิก สปฺปเภทปฺปวตฺติกา ซึ่งมีประเภทและ ปวัตติกาล วุตฺตปฺปเภทวนฺโต คือที่มีประเภทดังกล่าวไว้แล้ว ตีหิ ปริจฺเฉเทหิ โดย ๓ ปริเฉท นิทฺเทสปฏินิทฺเทสาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจนิเทศ และปฏินิเทศเป็นต้น วุตฺตปฺปวตฺติวนฺโต จ และที่มีปวัตติกาลดังกล่าวไว้แล้ว ทฺวีหิ ปริจฺเฉเทหิ โดย ๒ ปริเฉท ปวตฺติปฏิสนฺธิวเสน ด้วยอ�ำนาจปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล วิภตฺตา ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) ได้จ�ำแนกไว้เสร็จแล้ว เอตฺตาวตา ด้วยค�ำ มีประมาณเท่านี้ ปญฺจหิ ปริจฺเฉเทหิ คือ โดย ๕ ปริเฉท ตสฺมา ฉะนั้น อิทานิ บัดนี้ ปวุจฺจตีติ ข้าพเจ้าจะกล่าว รูปํ รูป ยถานุปฺปตฺตํ ซึ่งมาถึงเข้า ตามล�ำดับ ฯ อิทานิ บัดนี้ ฐเปตุํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์หวังจะตั้ง มาติกํ มาติกา ยถาปฏิญฺญาตรูปวิภาคตฺถํ เพื่อจ�ำแนกรูป ตามที่ปฏิญญาไว้แล้ว วุตฺตํ จึงกล่าวว่า สมุทฺเทสาติอาทิ สมุทฺเทสา ดังนี้เป็นต้น ฯ อุทฺทิสนํ การยกรูป ขึ้นแสดง สงฺเขปโต โดยย่อ สมุทฺเทโส ชื่อว่า สมุทเทสนัย ฯ วิภชน การจ� ํำแนกรูป เอกวิธาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจรูปอย่างเดียวเป็นต้น วิภาโค ชื่อว่าวิภาคนัย ฯ สมุฏฺฐานํ ที่ชื่อว่าสมุฏฐาน เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า สมุฏฺฐาติเอตสฺมา ผลนฺติ เป็นแดนตั้งขึ้นแห่งผล รูปชนกปจฺจยา ได้แก่ปัจจัยที่ให้รูปเกิด กมฺมาทโย
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 261 มีกรรมปัจจัยเป็นต้น ฯ จกฺขุทสกาทโย หมวดแห่งรูปมีจักขุทสกกลาปเป็นต้น กลาปา ชื่อว่ากลาป ฯ ปวตฺติกฺกมโต เจติ บทว่า ปวตฺติกฺกมโต จ อุปฺปตฺติกฺกมโต ได้แก่ โดยล�ำดับความเกิดขึ้น รูปานํ แห่งรูปทั้งหลาย ภวกาลสตฺตเภเทน โดยความต่างกันแห่งภพ กาล และสัตว์ ฯ มหาภูตา สภาวธรรมที่ชื่อว่ามหาภูต เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ภูตา เกิดมี ปาตุภูตาติ คือปรากฏ มหนฺตา หุตฺวา เป็นสภาวะใหญ่ สสมฺภารธาตุวเสน ด้วยอ�ำนาจธาตุพร้อมทั้งเครื่องประกอบ อุปฺปาทินฺนานุปฺปาทินฺนสนฺตาเนสุ ในความสืบต่อ แห่งอุปาทินนกสังขาร และ อนุปาทินนกสังขาร ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง มหาภูตา สภาวธรรมที่ชื่อว่ามหาภูต เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เอเตสูติ เป็นที่ อพฺภูตานิ ปรากฏแห่งความมหัศจรรย์ อภูตานิ วา หรือความมีไม่จริง มหนฺตานิ มากมาย อเนกวิธพฺภูตวิเสสทสฺสเนน โดยแสดงความแปลกประหลาดน่าอัศจรรย์หลากหลาย อเนกาภูตทสฺสเนน วา หรือโดยแสดงความมีไม่จริงเป็นเอนกประการ มายาการาทโย ได้แก่นักเล่นกล เป็นต้น ฯ มหาภูตา สภาวธรรมที่ชื่อว่ามหาภูต เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เตหิสมานา เสมอเหมือนกับความมหัศจรรย์หรือความมีไม่จริงมากมายเหล่านั้น สยํ อนีลาทิสภาวาเนว หุตฺวา นีลาทิอุปาทายรูปทสฺสนาทิโตติเพราะตนเองมี สภาวะไม่เป็นสีเขียวเป็นต้นเลย ก็แสดงอุปาทายรูปเป็นสีเขียวเป็นต้นเป็นอาทิได้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง มหาภูตา สภาวธรรมที่ชื่อว่ามหาภูต มหนฺตานิ อภูตานิ เอเตสูติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่มีแห่งความไม่จริงมากมาย วญฺจกตฺตา เพราะเป็นสภาวะหลอกลวง สตฺตานํ เหล่าสัตว์ มนาปอิตฺถีปุริสรูปทสฺสนาทินา โดยแสดงรูปหญิงและรูปชายอันน่าชอบใจเป็นต้น ยกฺขินีอาทโย วิย ดุจนางยักษิณี เป็นต้น วญฺจกา ซึ่งเป็นผู้หลอกลวง สตฺตาน เหล่าสัตว์ ํมนาปวณฺณสณฺฐานาทีหิ ด้วยรูปและทรวดทรงอันน่าชอบใจเป็นต้น ฉะนั้น ฯ วุตฺตมฺปิเจตํ สมจริงดังค�ำที่ ท่านอาจารย์พุทธัตตเถระกล่าวไว้ในคัมภีร์อภิธรรมาวตารดังนี้ ว่า มหาภูตาติสมฺมตาติ สภาวธรรมที่เรียกว่า มหาภูตมหนฺตา ปาตุภูตาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีปรากฏเป็นสภาวะใหญ่ มหาภูตสมาติวา
262 ปริเฉทที่ ๖ หรือเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีเสมอเหมือนกับความมหัศจรรย์ หรือ ความมีไม่จริงมากมาย วญฺจกตฺตา อภูเตน หรือเพราะเป็นสภาวะ หลอกลวงเหล่าสัตว์ โดยความที่มีไม่เป็นจริง ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง ภูตานิ จาติ ธรรมชาตเหล่าใดชื่อว่าภูต ภวนฺติ เอเตสุ อุปาทารูปานีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่าเป็นที่เกิดมีแห่งอุปาทายรูปทั้งหลายด้วย มหนฺตานิ ชื่อว่าใหญ่ มหนฺตปาตุภาวโต เพราะมีปรากฏเป็นของใหญ่ด้วย เพราะเหตุนั้น มหาภูตานิ ธรรมชาตเหล่านั้นจึงชื่อว่ามหาภูต ฯ รูปํ รูป มหาภูเต อุปาทาย ปวตฺตํ ที่อาศัยมหาภูตเป็นไป อุปาทายรูปํ ชื่อว่าอุปาทายรูป ฯ ยทิ ถามว่า ถ้า เอวํ เมื่อเป็นเช่นนั้น อาทิวจนโต เพราะพระบาลี ว่า เอกํ มหาภูตํ ปฏิจฺจ ตโย มหาภูตาติ มหาภูต ๓ อาศัยมหาภูต ๑ ดังนี้เป็นต้น เอเกกมหาภูตา มหาภูตแต่ละอย่าง นิสฺสยา โหนฺตีติ ย่อมเป็นที่อยู่อาศัย เสสมหาภูตานํ ของมหาภูตรูปที่เหลือได้ เพราะเหตุนั้น เตสมฺปิ มหาภูตรูป แม้เหล่านั้น อุปาทายรูปตาปสงฺโค สิยาติจะพึงพ้องกันกับอุปาทายรูปหละสิ ฯ น ตอบว่า จะพึงพ้องกันหามิได้ ยิทเมว อุปาทาเยว ปวตฺตรูปานํ ตํสมญฺญาสิทฺธิโต เพราะรูปที่ต้องอาศัยเฉพาะมหาภูตรูปนี้เท่านั้น จึงเป็นไปได้ จึงจะเรียกว่าอุปาทายรูปนั้นได้ ฯ หิ ความจริง ย รูปใด ํ อุปาทิยติ อาศัย มหาภูเตว มหาภูตรูปนั่นแล จ และ อญฺเญหิ รูปเหล่าอื่น สยํ อุปาทิยติก็อาศัยตนเองได้ น ตํ อุปาทายรูปํ รูปนั้นหาชื่อว่าอุปาทายรูปไม่ ฯ ยมฺปน ส่วน รูปใด อุปาทิยเตว อาศัยมหาภูตรูปฝ่ายเดียว เกนจิ รูปอะไร ๆ น อุปาทิยติ อาศัยตน ไม่ได้ ตเทว รูปนั้นแล อุปาทายรูปนฺติ ชื่อว่าอุปาทายรูป เพราะเหตุนั้น ภูตานํ ภูตรูปทั้งหลาย นตฺถิ ตพฺโพหารปฺปสงฺโค จึงไม่มีความพ้องกันกับชื่อว่า อุปาทายรูปนั้น ฯ อปิจ อีกอย่างหนึ่ง จตุนฺนํ มหาภูตานํ อุปาทายรูปนฺติ ค�ำว่า จตุนฺนํ มหาภูตานํ อุปาทายรูปํ ดังนี้ อุปาทายลกฺขณนฺติ เป็นเครื่องก�ำหนดให้ ทราบถึงอุปาทายรูป เพราะเหตุนั้น นตฺถิตโย อุปาทาย ปวตฺตานํ อุปาทายรูปตาติ ภูตรูปทั้งหลายซึ่งอาศัยมหาภูตรูป ๓ ประการเป็นไป จึงไม่จัดเป็นอุปาทายรูป ฯ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 263 [๒๕๐๔] ปฐวี ธาตุชื่อว่าปฐวี ปตฺถนตฺเถน เพราะอรรถว่า เป็นที่รองรับ ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ปกฺขายติ ย่อมปรากฏ อุปฏฺฐาตีติ คือเข้าไปตั้งอยู่ ปติฏฺฐาภาเวน โดยเป็นที่อาศัย สหชาตรูปาน ของรูปที่เกิดร่วมกัน ํ ปกติปฐวีวิย เหมือนปฐพีปกติ ตรุปพฺพตาทีน เป็นที่อาศัยของต้นไม้และภูเขาเป็นต้น ํ ฉะนั้น ฯ ปฐวีเอว ปฐวีนั่นเอง ปฐวีธาตุ ชื่อว่าปฐวีธาตุ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ธาตุ เป็นธาตุ สลกฺขณธารณาทิโต เพราะทรงลักษณะของตนไว้เป็นต้น นิสฺสตฺตนิชฺชีวตฺเถน เพราะอรรถว่า ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่ชีวะ สรีรเสลาวยวธาตุ สทิสตฺตา จาติ และเพราะเป็นเช่นกับธาตุอันเป็นส่วนประกอบแห่งสรีระ (ร่างกาย) และภูเขาคือปฐวี ฯ อาโป ชื่อว่าอาโป เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อาเปติ เอิบอาบ ปตฺถรติ คือซึมซาบ สหชาตรูปานิ รูปที่เกิดร่วม วา หรือ อปฺปายติ เพิ่มพูน พรูเหติ คือพอกพูน วฑฺเฒตีติ ได้แก่ ยังสหชาตรูปให้เจริญ ฯ เตโช ชื่อว่าเตโช เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เตเชติ ให้รุ่มร้อน ปริปาเจติ คือให้อบอุ่น วา หรือ นิเสติ ให้ย่อย เสสภูตตฺตยํ อุสฺมาเปตีติ คือให้ภูตรูปทั้ง ๓ ที่เหลือเป็นไออุ่น ติกฺขภาเวน ด้วยภาวะแรงกล้า ฯ วาโย ชื่อว่าวาโย เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า วายติ เคลื่อนไหว ปาเปตีติ คือให้ถึง ภูตสงฺฆาตํ การประชุมแห่งภูตรูป เทสนฺตรุปฺปตฺติเหตุภาเวน โดยเป็นเหตุอุบัติของส่วนอื่น ๆ ฯ ทฏฺฐพฺพ พึงเข้าใจว่า ํ จตสฺโส ปเนตา ก็ธาตุทั้ง ๔ นี้ กถินตฺตทฺรวตฺตอุณฺหตฺตวิตฺถมฺภนตฺตลกฺขณาติ มีลักษณะเป็นของแข้นแข็ง เป็นของเหลว เป็นความอบอุ่น และเป็นอาการเคลื่อนไหว ยถากฺกม ตามล� ํำดับ ฯ วจนตฺโถ อรรถวิเคราะห์ จกฺขฺวาทีน แห่งค� ํำว่าจักขุเป็นต้น กถิโตว ข้าพเจ้ากล่าวแล้ว เหฏฺฐา ในหนหลังแล ฯ ปสาทรูปนฺนาม ชื่อว่าประสาทรูป ปสนฺนภาวเหตุลกฺขณตฺตา เพราะมีลักษณะเป็นเหตุแห่งความผ่องใส จตุมหาภูตานํ ของมหาภูตรูปทั้ง ๔ ฯ ปน ก็ ต ประสาทรูปนั้น ํทฏฺฐุกามตาโสตุกามตาฆายิตุกามตาสายิตุกามตาผุสิตุกามตานิทานกมฺมสมุฏฺฐานภูตปฺปสาทลกฺขณํ มีลักษณะ ท�ำภูตรูปที่มีกรรมเป็นแดนเกิดเป็นสมุฏฐาน อันมีความประสงค์จะดู จะฟัง จะดม จะลิ้มรส และจะสัมผัสเป็นเหตุให้ผ่องใส ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ [จบ ๒๕๐๔]
264 ปริเฉทที่ ๖ [๒๔๘๐, ๒๔๙๗, ๒๕๐๑] ตตฺถ บรรดาประสาททั้ง ๕ เหล่านั้น จกฺขุ จะกล่าวถึงจักขุปสาทรูป ตาว ก่อน ฯ (ตํ) จักขุปสาทรูปนั้น พฺยาเปตฺวา ซึมซาบ สตฺตกฺขิปฏลานิ ตลอดเยื่อตา ๗ ชั้น เตลมิว ประดุจน�้ำมัน ปิจุปฏลานิ ซึมซาบปุยนุ่นทุกชั้น ฉะนั้น สรีรสณฺฐานุปฺปตฺติปเทเส ในประเทศที่เกิดสรีรสัณฐาน ฐิตาน แห่งพวกคนผู้อยู่ ํ อภิมุเข ตรงหน้า โอกาสิรปริมาเณ ประมาณเท่าศีรษะเล็น มชฺเฌ ในท่ามกลาง กณฺหมณฺฑลสฺส แห่งแววตาด�ำ จตูหิธาตูหิอันธาตุทั้ง ๔ สนฺธารณพนฺธนปริปาจนสมุทีรณกิจฺจาหิ มีหน้าที่ทรงไว้ สมานให้อบอุ่นและให้ เคลื่อนไหว กตูปการํ กระท�ำอุปการะแล้ว วิย ขตฺติยกุมาโร ประดุจขัตติยกุมาร จตูหิธาตีหิอันพี่เลี้ยงทั้ง ๔ ธารณนหาปนมณฺฑนวีชนกิจฺจาหิจ มีหน้าที่อุ้ม ให้สรงสนาน แต่งพระองค์และถวายงานพัด กระท�ำอุปการะ ฉะนั้น อุตุจิตฺตาหาเรหิ อันอุตุ จิต และอาหาร อุปตฺถมฺภิยมาน คอยอุปถัมภ์ ํอายุนา อันอายุ ปริปาลิยมานํ เฝ้าบริบาล วณฺณาทีหิ อันโคจรรูปมีรูปเป็นต้น ปริวาริต คอยแวดล้อม ํสาเธนฺตํ ให้ส�ำเร็จ วตฺถุทฺวารภาว ความเป็นวัตถุและทวาร ํ จกฺขุวิญฺญาณาทีน แก่วิถีจิต ํ มีจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น ปวตฺตติ เป็นไป ยถาโยคํ ตามที่ประกอบ ฯ อิตรํ (ส่วน) จักขุปสาทรูปนอกนี้ วุจฺจติ เรียก สสมฺภารจกฺขูติ ว่าสสัมภารจักขุ ฯ โสตาทโยปิ แม้โสตปสาทรูปเป็นต้น ปเทสมภิพฺยาเปตฺวา ก็ซึมซาบตลอดประเทศ องฺคุลิเวธกาการ มีอาการดังวงแหวน ํ อุปจิตตนุตมฺพโลม มีขนแดง เล็กงอกขึ้นแล้ว ํ โสตพิลพฺภนฺตเร ภายในช่องโสตะเป็นไป อชปทสณฺฐานํ ซึมซาบตลอดประเทศ มีสัณฐานดังกีบแพะ นาสิกพฺภนฺตเร ภายในช่องนาสิกเป็นไป อุปฺปลทลคฺคสณฺฐานํ ซึมซาบตลอดประเทศมีสันฐานดังปลายกลีบดอกอุบล ชิวฺหามชฺเฌ ในท่ามกลาง ชิวหาเป็นไป ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ เอวํ ด้วยประการฉะนี้ ฯ ปน ส่วน อิตรํ กายปสาทรูปนอกนี้ ผริตฺวา ปวตฺตติ แผ่ไป สกลสรีร ตลอดสรีระร่างกายทุกส่วน ํ อวเสสํ ที่เหลือลง ฐเปตฺวา เว้น กมฺมชเตชสฺส ปติฏฺฐานฏฺฐานํ ที่ตั้งเตโชธาตุ อันเกิดแต่กรรม เกสคฺคโลมคฺคนขคฺคสุกฺขจมฺมานิจ และปลายผม ปลายขน ปลายเล็บ และหนังอันแห้ง ฯ เอวํ สนฺเตปิแม้เมื่อเป็นเช่นนี้ ตสฺส กายปสาทรูปนั้น
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 265 สงฺกโร น โหติ ก็ไม่ปะปนกัน อิตเรหิ กับจักขุปสาทรูปเป็นต้นนอกนี้ ภินฺนลกฺขณตฺตา เพราะมีลักษณะต่างกัน ฯ หิจริงอยู่ ตาว อันดับแรก รูปรสาทีนิ โคจรรูปมีรูป และรสเป็นต้น เอกนิสฺสยานิปิ แม้ที่มีที่อาศัยร่วมกัน อสงฺกิณฺณานิ ก็ไม่ปะปนกัน ลกฺขณเภทโต เพราะมีความต่างกันแห่งลักษณะ ฯ (จบ ๒๔๙๗, ๒๕๐๑) ปน แต่ ปสาทา ไฉนปสาทรูป ภินฺนนิสฺสยา ที่มีที่อาศัยต่างกัน กึ จึงปะปนกันเล่า ฯ อาโปธาตุยา สุขุมภาเวน ผุสิตุํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา เพราะความที่อาโปธาตุอัน ชาวโลกไม่อาจสัมผัสได้ เพราะเป็นธาตุละเอียด วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ จึงกล่าวว่า อาโป ฯเปฯ สงฺขาตนฺติ อาโป ฯเปฯ สงฺขาตํ ฯ (๒๕๑๖) สีตตา ความเย็น ผุสิตฺวา คยฺหติ อันชาวโลกย่อมสัมผัสจับต้องได้ กิญฺจาปิ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น สา ความเย็นนั้น เตโชธาตุเยว ก็คือเตโชธาตุนั่นเอง ฯ หิ ความจริง อุณฺหตฺเต เมื่อความร้อน มนฺเท ลดลง สีตพุทฺธิ ชาวโลกก็รู้สึกว่าเย็น สีตตาสงฺขาตสฺส กสฺสจิคุณสฺส อภาวโต เพราะคุณอะไร ๆ กล่าวคือความเย็น ไม่มี ฯ ตยิทํ ความร้อนนี้นั้น วิญฺญายติ อันชาวโลกย่อมรู้สึกได้ สีตพุทฺธิยา อนุวฏฺฐิตภาวโต เพราะความรู้สึกว่าเย็นไม่แน่นอน ปาราปาเร วิย ประดุจความ ไม่แน่นอนในฝั่งน�้ำฝั่งโน้นและฝั่งน�้ำฝั่งนี้ ฉะนั้น ฯ ตถาหิ เป็นความจริง อย่างนั้น ฆมฺมกาเล ในหน้าร้อน อาตเป ฐตฺวา ฉายํ ปวิฏฺฐานํ พวกคนที่อยู่กลางแดด เข้าร่มแล้ว สีตพุทฺธิโหติ ก็มีความรู้สึกว่าเย็น ตตฺเถว จิรกาลํ ฐิตาน (แต่) เมื่ออยู่ ํ ที่ร่มนั้นแหละนานเข้า อุณฺหพุทฺธิ ก็จะมีความรู้สึกว่าร้อน ฯ จ ก็ ยทิ ถ้า อาโปธาตุ อาโปธาตุ สีตตา สิยา พึงเป็นความเย็นไซร้ อุปลพฺเภยฺย ก็จะพึงค้นหา อาโปธาตุได้แน่ เอกสฺมึ กลาเป ในหมวดเดียวกัน อุณฺหภาเวน สห กับความร้อน น เจวํ อุปลพฺภติแต่ก็ค้นหาไม่ได้อย่างนั้น ตสฺมา เพราะฉะนั้น วิญฺญายติ ใคร ๆ จะเข้าใจ อาโปธาตุ อาโปธาตุ สีตตาติ ว่าเป็นความเย็น น ไม่ได้ ฯ ปน แต่ วทนฺติ พวกอาจารย์ที่พูดว่า เย ทฺรวตา ความเหลว อาโปธาตุ ชื่อว่า อาโปธาตุ จ และ สา อาโปธาตุนั้น ผุสิตฺวา คยฺหตีติ อันบุคคลย่อมสัมผัส ถูกต้องได้ ดังนี้ เต วตฺตพฺพา พึงถูกท่านผู้รู้คัดค้านว่า ทฺรวตา นาม ผุสิตฺวา
266 ปริเฉทที่ ๖ คยฺหตีติอิทํ ค�ำพูดที่ว่า ธรรมดาว่า ความเหลวอันบุคคลย่อมสัมผัสจับต้องได้นี้ อภิมานมตฺต เป็นเพียงความเข้าใจ ํอายสฺมนฺตานํ ของพวกท่าน สณฺฐาเน วิยาติ ประดุจความเข้าใจในสัณฐาน ฉะนั้น ฯ วุตฺตญฺเหตํ โปราเณหิ สมจริงดังค�ำที่ ท่านโบราณจารย์ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า อยํ โลโก ชาวโลกนี้ สมฺผุสํ สัมผัส ตีณิ ภูตานิ ภูตรูป ๓ ทฺรวตาลหวุตฺตีนิ ซึ่งมีปกติอยู ่ร ่วมกับความเหลว อภิมญฺญติ ย่อมเข้าใจแน่วแน่ว่า สมฺผุสามีติ เราสัมผัส ทฺรวตํ ของเหลว ภูเต ผุสิตฺวา บุคคลสัมผัสภูตรูปทั้งหลายแล้ว คยฺหเต ย่อมยึดถือ สณฺฐานํ สัณฐาน มนสา ด้วยความเข้าใจว่า ผุสามีติ เราสัมผัสได้ ปจฺจกฺขโต โดยประจักษ์ ยถา ฉันใด วิญฺเญยฺยา บัณฑิตพึงทราบ ทฺรวตา ความเป็นของเหลว ตถา ติ ฉันนั้น ฯ (จบ ๒๔๘๐, ๒๕๑๖) โคจรรูปนฺนาม ที่ชื่อว่าโคจรรูป ปญฺจวิญฺญาณวิสยภาวโต เพราะเป็นอารมณ์ ของปัญจวิญญาณจิต ฯ โคจรํ ที่ชื่อว่าโคจร คาโว อินฺทฺริยานิจรนฺติเอตฺถาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่เที่ยวไปแห่งโคทั้งหลาย คือแห่งอินทรีย์ทั้งหลาย ฯ หิ ความจริง เอตํ โคจรนฺติค�ำว่า โคจรนี้ อาลมฺพนสฺส นามํ เป็นชื่อของอารมณ์ ฯ ตมฺปเนตํ ปญฺจวิธมฺปิ ก็โคจรรูปแม้ทั้ง ๕ ประการนี้นั้น โคจรภาวลกฺขณํ มีลักษณะเป็นอารมณ์ จกฺขุวิญฺญาณาทีนํ ของวิญญาณจิต ๕ มีจักขุวิญญาณจิต เป็นต้น จกฺขฺวาทิปฏิหนนลกฺขณํ วา หรือมีลักษณะกระทบปสาทรูปทั้ง ๕ มีจักขุปสาทรูปเป็นต้น ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ ภาโว ภาวะ อิตฺถิยา แห่งหญิง อิตฺถตฺตํ ชื่อว่าอิตถีภาวรูป ฯ ภาโว ภาวะ ปุริสสฺส แห่งชาย ปุริสตฺตํ ชื่อว่า ปุริสภาวรูป ฯ ตตฺถ ในบรรดาภาวรูปนั้น อิตฺถตฺตํ อิตถีภาวรูป อิตฺถีลิงฺคนิมิตฺตกุตฺตากปฺปเหตุภาวลกฺขณํ มีลักษณะเป็นเหตุแห่งเพศหญิง นิมิตหญิง ลีลาหญิง และทรวดทรงหญิง ฯ ปุริสตฺตํ ปุริสภาวรูป ปุริสลิงฺคาทิเหตุภาวลกฺขณ มีลักษณะ ํ เป็นเหตุแห่งเพศชายเป็นต้น ฯ ตตฺถ บรรดาลักษณะหญิง ๔ ประการนั้น องฺคชาตํ เครื่องหมายเพศ อิตฺถีนํ ของหญิง อิตฺถีลิงฺคํ ชื่อว่าอิตถีลิงคะ ฯ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 267 สราธิปฺปายา เสียงและความต้องการ อิตฺถีนิมิตฺตํ ชื่อว่าอิตถีนิมิต สญฺชานนปจฺจยภาวโต เพราะความเป็นปัจจัยแห่งการจ�ำได้หมายรู้ อิตฺถีติ ว่าเป็นหญิง ฯ อวิสทฐานคมนนิสชฺชาทิ อิริยาบถมีการยืน การเดิน และการนั่ง ที่ไม่องอาจ ผึ่งผายเป็นต้น อิตฺถีกุตฺตํ ชื่อว่าอิตถีกุตตะ ฯ อิตฺถีสณฺฐานํ รูปทรงหญิง อิตฺถากปฺโป ชื่อว่าอิตถีกัปปะ ฯ ปุริสลิงฺคาทีนิปิ ถึงเพศชายเป็นต้น ทฏฺฐพฺพานิ ก็พึงเห็น วุตฺตนเยน โดยนัยดังกล่าวแล้ว ฯ อฏฺฐกถายมฺปน ส่วน ในอรรถกถา วณฺณิตานิ พระอรรถกถาจารย์ได้พรรณานา อิตฺถีลิงฺคาทีนิ เพศหญิงเป็นต้นไว้ อญฺญถา โดยประการอื่น ฯ ตมฺปน สงฺคเหตฺวา ก็ ท่านอาจารย์ทั้งหลายรวบรวม ข้อความนั้น วทนฺติ กล่าวไว้ เอวํ อย่างนี้ว่า หตฺถาทิสณฺฐานํ สัณฐานแห่งอวัยวะมีมือเป็นต้น ลิงฺคํ ชื่อว่าลิงคะ มิหิตาทิกํ กิริยามีการยิ้มแย้มเป็นต้น นิมิตฺตํ ชื่อว่านิมิต กีฬา การเล่น สุปฺปาทินา ด้วยกระด้งเป็นต้น กุตฺต ชื่อว่าลีลา ํคมนาทิกนฺติ อิริยาบถมีการเดินเป็นต้น อากปฺโป ชื่อว่าอากัปปะ ฯ ภาวรูปนฺนาม ที่ชื่อว่าภาวรูป กตฺวา เพราะกระท�ำอธิบาย ภวติ เอเตน อิตฺถาทิอภิธานํ พุทฺธิจาติว่าเป็นเครื่องมีปรากฏแห่งการบอกถึงความเป็นหญิง เป็นต้น และแห่งการรู้ว่าเป็นหญิงเป็นต้น ฯ ตมฺปเนตํ ก็ภาวรูปทั้ง ๒ นี้นั้น สกลสรีรํ ผริตฺวา ติฏฺฐติแผ่ไปอยู่ทั่วร่างกายทุกส่วน กายินฺทฺริยํ วิย เหมือน กายินทรีย์ ฉะนั้น ฯ (๒๕๐๘) หทยวตฺถุ ที่ชื่อว่าหทัยวัตถุ วตฺถุ จาติ เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า เป็นวัตถุ นิสฺสยตฺตา เพราะเป็นที่อาศัย มโนธาตุมโนวิญฺญาณธาตูนํ ของมโนธาตุจิตและมโนวิญญาณธาตุจิต หทยเมว คือ หทัย ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น ตํ หทัยวัตถุนั้น ธาตุทฺวยนิสฺสยภาวลกฺขณํ มีลักษณะเป็นที่อาศัยของธาตุจิต ทั้ง ๒ ฯ จ ด้วยว่า ต หทัยวัตถุนั้น ํ นิสฺสาย อาศัย โลหิต โลหิต ํ อฑฺฒปสตมตฺตํ ประมาณกึ่งฟายมือ หทยโกสพฺภนฺตเร ภายในซองหัวใจ ปวตฺตติ เป็นไป ฯ ปเนตสฺส อันหทัยวัตถุนี้ อวุตฺตสฺสาปิ แม้พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัส รูปกณฺเฑ ไว้ในรูปกัณฑ์ ทฏฺฐพฺโพ ก็พึงเห็น อตฺถิภาโว ว่ามี อาคมโต ทั้งโดยที่มา ยุตฺติโต จ
268 ปริเฉทที่ ๖ และโดยเหตุอันควร ฯ ตตฺถ ในสองอย่างนั้น ปฏฺฐานวจนํ พระบาลีปัฏฐาน เอวมาคตํ อันมาแล้วอย่างนี้ว่า มโนธาตุ มโนธาตุจิต มโนวิญฺญาณธาตุ จ และมโนวิญญาณธาตุจิต นิสฺสาย อาศัย ยํ รูปํ รูปใด ปวตฺตนฺติ เป็นไป ตํ รูปํ รูปนั้น ปจฺจโยติ เป็นปัจจัย นิสฺสยปจฺจเยน โดยนิสัยปัจจัย มโนธาตุยา ของมโนธาตุจิต มโนวิญฺญาณธาตุยา มโนวิญญาณธาตุจิต ตํสมฺปยุตฺตกานญฺจ ธมฺมานํ และธรรมที่สัมปยุตด้วยธาตุจิตทั้งสองนั้น ดังนี้ อาคโม ชื่อว่าปกรณ์ที่มา ฯ ปน ส่วน ยุตฺติ เหตุที่เหมาะสม ทฏฺฐพฺพา บัณฑิตพึงเห็น เอวํ อย่างนี้ว่า เทฺว ธาตู ธาตุจิตทั้งสอง กามรูปิน ของกามาวจรสัตว์และรูปาวจรสัตว์ ํ นิปฺผนฺนภูติกาธารา มีอุปาทายรูปที่อยู่ในหมวดนิปผันนรูปเป็น เครื่องรองรับ รูปานุพนฺธวุตฺติตฺตา เพราะมีความเป็นไปเนื่องด้วยรูป จกฺขุญาณาทโย วิย เหมือนธาตุจิตทั้งหลายมีจักขุวิญญาณธาตุจิต เป็นต้น มีจักขุปสาทรูปเป็นต้น เป็นเครื่องรองรับ ฉะนั้น ฯ เอตา ธาตุจิตทั้งสองนี้ น จกฺขฺวาทินิสฺสิตา ไม่ใช่อาศัยปสาทรูปมีจักขุปสาทรูป เป็นต้น ตสฺสญฺญาธารภาวโต เพราะจักขุปสาทรูปเป็นต้นนั้น เป็นที่ รองรับธาตุจิตอื่น นาปิรูปาทิเก แม้จะอาศัยโคจรรูปมีรูปารมณ์เป็นต้น ก็ไม่ใช่ เตสํ พหิทฺธาปิปวตฺติโต เพราะโคจรรูปมีรูปารมณ์เป็นต้นนั้น มีความเป็นไปแม้ในภายนอก น จาปิชีวิตํ และแม้จะอาศัยชีวิตรูป ก็ไม่ใช่ ตสฺส กิจฺจนฺตรนิยุตฺติโต เพราะชีวิตรูปนั้นมีการประกอบ ในกิจอื่น น จ ภาวทฺวยํ ทั้งจะอาศัยภาวรูปทั้งสอง ก็ไม่ใช่ ตสฺมึ อสนฺเตปิ ปวตฺติโต เพราะแม้เมื่อไม่มีภาวรูปทั้งสองนั้น ก็ยังเป็นไปได้ ตสฺมา ฉะนั้น ตทญฺญวตฺถุ ตํ หทัยวัตถุอันอื่นจากรูปทั้งหลายมีจักขุ ปสาทรูปเป็นต้นนั้น วิชานิยํ พึงทราบ ภูติกนฺติ ว่าเป็นอุปาทายรูป ตุ แต่ อิทํ หทัยวัตถุนี้ มเหสินาติพระผู้มีพระภาคเจ้าผู้แสวงหาคุณ อันยิ่งใหญ่ น อกฺขาตํ มิได้ตรัสไว้ ธมฺมสงฺคณิปาฐสฺมึ ในพระบาลี
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 269 ธัมมสังคณี เทสนาเภทโต โดยความต่างกันแห่งแสดง วตฺถาลมฺพทุกานํ วัตถุทุกะและอาลัมพนทุกะ ฯ [จบ ๒๕๐๘] ชีวิตํ รูปที่ชื่อว่าชีวิต ชีวนฺติ เตนาติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหตุเป็น อยู่แห่งเหล่าสหชาตธรรม ฯ ตเทว ชีวิตรูปนั้นแล อินฺทฺริยนฺติ ชื่อว่าเป็นอินทรีย์ อธิปจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ กมฺมชรูปปริปาลเน ในการ หล่อเลี้ยงกัมมชรูป เพราะเหตุนั้น ชีวิตินฺทฺริยํ จึงชื่อว่าชีวิตินทรีย์ ฯ ตถาเหตํ จริงอย่างนั้น ชีวิตินทรีย์นั้น กมฺมชรูปปริปาลนลกฺขณํ มีลักษณะหล่อเลี้ยง กัมมชรูป ฯ หิก็ อนุปาลกํ ชีวิตินทรีย์นี้ ชื่อว่าเป็นตัวหล่อเลี้ยง สหชาตานํ สหชาตธรรมทั้งหลาย ขณมตฺตฏฺฐายีนมฺปิ แม้ที่มีปกติตั้งอยู่ชั่วขณะจิต ยถาสกํ ตามปัจจัยของตน สหชาตานํ ปวตฺติเหตุภาเวเนว เพราะเป็นเหตุให้สหชาตธรรม ทั้งหลายเป็นไปได้นั่นเอง ฯ หิ เพราะ กมฺมํเยว กรรมเพียงอย่างเดียว ฐิติการณํ โหติ จะชื่อว่าเป็นเหตุตั้งอยู่ เตสํ แห่งสหชาตธรรมเหล่านั้น อาหารชาทีนํ อาหาราทิวิย เหมือนอาหารเป็นต้นเป็นเหตุตั้งอยู่แห่งอาหารชรูปเป็นต้น ฉะนั้น น หาได้ไม่ กมฺมสฺส ตํขณาภาวโต เพราะขณะนั้นกรรมยังไม่มี ฯ อิทมฺปน อนึ่ง ชีวิตินทรีย์นี้ พฺยาเปตฺวา ปวตฺตติ ย่อมซึมซาบ เป็นไป อุปาทินฺนกายํ ตลอดร่างกายที่มีใจครอง อนวเสสํ ทุกส่วน สห ปาจนคฺคินา พร้อมกับไฟ ที่ย่อยอาหาร ฯ กวฬีกาโร อาหาโร ที่ชื่อว่ากวฬิงการาหาร กวฬํ กตฺวา อชฺโฌหริยตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันบุคคลท�ำให้เป็นค�ำแล้วกลืนกิน ฯ อิทญฺจ ก็ ค�ำว่า กวฬิงการาหารนี้ วุตฺตํ ท่านอาจารย์กล่าวไว้ ทสฺเสตุํ เพื่อจะ แสดงถึง สวตฺถุกํ กตฺวา อาหารํ อาหารกระท�ำให้เป็นไปพร้อมทั้งที่ตั้งที่เกิด ฯ ปน แต่ โอชา โอชา อชฺโฌหริตพฺพาหารสิเนหภูตา ซึ่งเป็นยางเหนียวแห่งอาหาร ที่พึงกลืนกิน องฺคมงฺคานุสารีรสสารสงฺขาตา กล่าวคือความซึมซาบแห่งรสที่ซึม ไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ เสนฺทฺริยกาโยปตฺถมฺภนเหตุภูตา อันเป็นเหตุค�้ำจุนร่างกาย พร้อมทั้งอินทรีย์ อาหารรูปํ นาม ชื่อว่าอาหารรูป อิธ ในรูปสมุทเทสนัยนี้ ฯ ตถาเหต จริงอย่างนั้น อาหารนี้ ํ เสนฺทฺริยกาโยปตฺถมฺภนเหตุภาวลกฺขณ มีลักษณะ ํ
270 ปริเฉทที่ ๖ เป็นเหตุเครื่องค�้ำจุนร่างกายพร้อมทั้งอินทรีย์ โอชฏฺฐมกรูปาหรณลกฺขณํ วา หรือมีลักษณะน�ำรูปมีโอชาเป็นที่ ๘ มา ฯ สภาวรูปํ นาม รูป ๑๘ ประการชื่อว่า สภาวรูป อุปลพฺภนโต เพราะเป็นธรรมชาตจะค้นหาได้แน่นอน สภาเวน ตามสภาวะ อตฺตโน อตฺตโน ของตน ๆ กกฺขลตาทินา มีความแข็งกระด้าง เป็นต้น ฯ สลกฺขณํ ที่ชื่อว่าสลักขณรูป อุปฺปาทาทีหิอนิจฺจาทีหิวา ลกฺขเณหิ สหิตนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปร่วมกับลักษณะทั้งหลายมีอุปปาทขณะ เป็นต้น หรือกับลักษณะทั้งหลายมีอนิจจลักษณะเป็นต้น ฯ นิปฺผนฺนรูปํ ที่ชื่อว่า นิปผันนรูป ปริจฺเฉทาทิภาวํ วินา อตฺตโน สภาเวเนว กมฺมาทีหิ ปจฺจเยหิ นิปฺผนฺนตฺตา เพราะภาวะแห่งรูป ๑๘ ประการ เว้นภาวะแห่งปริเฉทรูปเป็นต้นส�ำเร็จ ได้ด้วยปัจจัยทั้งหลายมีกรรมเป็นต้น ตามสภาวะของตนนั่นเอง ฯ รุปฺปนสภาโว สภาวะที่มีความเปลี่ยนแปร รูปํ ชื่อว่ารูป ฯ ยุตฺตมฺปิ แม้ธรรมชาตที่ประกอบ เตน ด้วยสภาวะที่มีความเปลี่ยนแปรนั้น รูป ก็ชื่อว่ารูป ํ ยถา อริสโส นีลุปฺปลนฺติ เหมือนค�ำว่า คนเป็นโรคริดสีดวง ดอกอุบลเขียว ฉะนั้น ฯ สฺวายํ รูปสทฺโท ศัพท์ว่า รูปนี้นั้น ปวตฺตตีติ ย่อมเป็นไปได้ อตํสภาเวปิ แม้ในสภาวะที่มิใช่ มีความเปลี่ยนแปรนั้น รุฬฺหิยา เพราะภาษาเจริญขึ้น เพราะเหตุนั้น วิเสเสตฺวา วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวให้แปลกออกไป อปเรน รูปสทฺเทน ด้วยศัพท์ว่า รูป อีกศัพท์หนึ่ง รูปรูปนฺติ ว่า รูปรูป ยถา ทุกฺขทุกฺขนฺติ ํ เหมือนค�ำว่า ทุกฺขทุกขํ ฉะนั้น ฯ สมฺมสนรูปํ ที่ชื่อว่าสัมมสนรูป อรหตฺตา เพราะความเป็น ธรรมชาตที่ควร สมฺมสิตุํ เพื่อพระโยคาวจรจะพิจารณา ลกฺขณตฺตยาโรปเนน โดยยกขึ้นสู่ไตรลักษณ์ ปริจฺเฉทาทิภาวํ อติกฺกมิตฺวา สภาเวเนว อุปลพฺภนโต เหตุภาวะแห่งรูป ๑๘ ประการนั้น ยกเว้นภาวะแห่งปริเฉทรูปเป็นต้นเสีย จะค้นหา ได้แน่นอน ตามภาวะของตนนั่นเอง ฯ อกาโส ที่ชื่อว่าอกาส น กสฺสตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ท�ำให้เป็นรอยไม่ได้ ฯ อกาโสเยว อกาสนั่นเอง อากาโส เป็นอากาศ ฯ ธาตุ จาติ อากาศนั้นชื่อว่าเป็นธาตุ นิชฺชีวตฺเถน เพราะอรรถว่า ไม่ใช่ชีวะ เพราะเหตุนั้น อากาสธาตุ จึงชื่อว่าอากาสธาตุ ฯ รูปํ รูป ปริจฺเฉทกํ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 271 อันเป็นเขตแดนเครื่องก�ำหนด จกฺขุทสกาทิเอเกกกลาปคตรูปานํ อสงฺกิณฺณภาวาปาทนวเสน ด้วยอ�ำนาจท�ำรูปที่อยู่ในกลาปแต่ละอย่างมีจักขุทสกกลาปเป็นต้น ให้ถึงความไม่ปะปนกัน กลาปนฺตเรหิวา กับกลาปอื่น ๆ เตหิ ปริจฺฉิชฺชมานํ หรือที่กลาปเหล่านั้นก�ำหนดหมาย เตสํ ปริจฺเฉทมตฺตํ วา หรือเพียงเป็น เครื่องก�ำหนดหมายกลาปเหล่านั้น ปริจฺเฉทรูป ชื่อว่าปริเฉทรูป ฯ ํตญฺหิความจริง ปริเฉทรูปนั้น ตํตํรูปกลาปํ ปริจฺฉินฺทนฺตํ วิย โหติ ย่อมเป็นดุจตัดรูปกลาปนั้น ๆ ให้ขาดจากกันได้ ฯ จ ก็ วิชฺชมาเนปิ กลาปนฺตรภูเตหิ กลาปนฺตรภูตานํ สมฺผุฏฺฐภาเว เมื่อความที่ภูตรูปที่อยู่ในกลาปอื่น เป็นธรรมชาตอันภูตรูปซึ่งอยู่ใน กลาปอื่นอีกถูกต้องได้ แม้มีอยู่ ตตํ รูปวิวิตฺตต ํา ความเป็นธรรมชาตว่างจากรูปนั้น ๆ รูปปริยนฺโต คือ ที่สุดแห่งรูป อากาโส ชื่อว่าอากาศ ฯ จ ก็ โส อากาศนั้น ปริจฺเฉโท เป็นแดนก�ำหนดเขต เยสํ รูปกลาปเหล่าใด สยํ ตนเอง เตหิ อันรูปกลาปเหล่านั้น อสมฺผุฏฺโฐเยว หาถูกต้องได้ไม่เลย ฯ อญฺญถา เมื่อก�ำหนด เนื้อความนอกไปจากนี้ ปริจฺฉินฺนตา ความเป็นปริเฉทรูป น สิยา จะไม่พึงมี เตสํ รูปานํ พฺยาปิตภาวาปตฺติโต เพราะรูปทั้งหลายเหล่านั้นถึงความเป็นธรรมชาต เจือปนกัน ฯ หิ ความจริง อพฺยาปิตตา ความที่รูปเป็นธรรมชาตไม่เจือปนกัน อสมฺผุฏฺฐตา ก็คือความที่ภูตรูปที่อยู่ในกลาปอื่น อันภูตรูปซึ่งอยู่ในกลาปอื่นถูกต้อง ไม่ได้ ฯ เตนาห ภควา เหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า อสมฺผุฏฺฐํ จตูหิ มหาภูเตหีติอันมหาภูตรูป ๔ ถูกต้องไม่ได้ เป็นต้น ฯ [๒๔๙๙] กายวิญฺญตฺติ ธรรมชาติที่ชื่อว่ากายวิญญัตติ จลมานกาเยน อธิปฺปายํ วิญฺญาเปติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังคนอื่นให้รู้ความประสงค์ ด้วยกายที่เคลื่อนไหวอยู่ สยญฺจ เตน วิญฺญายตีติและตนเองก็รู้ความประสงค์ ได้ด้วยกายที่เคลื่อนไหวอยู่นั้น ฯ วจีวิญฺญตฺติ ที่ชื่อว่าวจีวิญญัตติ สวิญฺญาณ กสทฺทสงฺขาตวาจาย อธิปฺปายํ วิญฺญาเปติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ยังคนอื่นให้ รู้ความประสงค์ด้วยวาจา กล่าวคือเสียงที่มีจิตสั่งให้พูด สยญฺจ ตาย วิญฺญายตีติ และตนเองก็รู้ความประสงค์ได้ด้วยวาจากล่าวคือเสียงที่สั่งให้พูดนั้น ฯ ตตฺถ
272 ปริเฉทที่ ๖ ในวิญญัตติรูป ๒ นั้น วิกาโร ความเปลี่ยนแปร อภิกฺกมาทิชนกจิตฺตสมุฏฺฐานวาโย ธาตุยา แห่งวาโยธาตุ ซึ่งมีจิตอันเป็นธรรมชาตยังความคิดจะก้าวไปข้างหน้า เป็นต้นให้เกิดเป็นสมุฏฐาน สหการิการณภูโต อันเป็นเหตุท�ำร่วมกัน สหชรูป สนฺถมฺภนสนฺธารณจลิเตสุ ในการค�้ำจุน ทรงอยู่ และการเคลื่อนไหว แห่งรูป ที่เกิดร่วมกัน ผนฺทมานกายผนฺทนเหตุกวาโยธาตุวินิมุตฺโต ที่พ้นจากกาย ที่เคลื่อนไหวอยู่ (เอง) และวาโยธาตุที่เป็นเหตุให้กายไหว อุปลพฺภมาโน อันบุคคล ได้อยู่ ปริปฺผนฺทนปฺปจฺจยภาเวน โดยความเป็นปัจจัยแห่งความเคลื่อนไหว รูปกายสฺส แห่งรูปกาย อุสฺสาหนวิกาโร วิย ดุจความเปลี่ยนแปรแห่งความอุตสาหะ มหนฺตํ ปาสาณํ อุกฺขิปนฺตสฺส สพฺพถาเมน คหณกาเล ในเวลาที่คนยกหิน แผ่นใหญ่ถือด้วยก�ำลังทั้งหมด กายวิญฺญตฺติ ชื่อว่ากายวิญญัตติ ฯ หิความจริง สา กายวิญญัตตินั้น วิญฺญาเปติ ยังคนอื่นให้รู้ อธิปฺปายํ ความประสงค์ ผนฺทมานกาเยน ด้วยกายที่เคลื่อนไหวอยู่ ฯ หิ ก็ รุกฺขจลนาทีสุ ในความ เคลื่อนไหวแห่งต้นไม้เป็นต้น วิญฺญตฺติวิการรหิเตสุ ที่เว้นจากความเปลี่ยนแปร คือวิญญัตติน ทิฏฺฐนฺติบัณฑิตไม่เห็น อธิปฺปายคฺคหณ การก� ํำหนดรู้ความประสงค์ อิทเมส กาเรตีติ ว่า ต้นไม้นั้นให้ท�ำการนี้ ดังนี้แล ฯ สยญฺจกาเยน วิญฺญายติ และตนเองก็รู้ความประสงค์ได้ด้วยกาย อวิญฺญายมานนฺตเรหิมโนทฺวารชวเนหิ คยฺหมานตฺตา เพราะชวนจิตที่เกิดทางมโนทวาร อันมีในล�ำดับไม ่ปรากฏ ก�ำหนดรู้อยู่ ผนฺทมานกายาธิปฺปายคฺคหณานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากการก�ำหนดรู้ ความประสงค์แห่งกายที่เคลื่อนไหวอยู่ หตฺถจลนาทีสุ จ ในการคลื่อนไหวแห่งมือ เป็นต้น ฯ (ถามว่า) ปน ก็ หตฺถจลนาทโย การเคลื่อนไหวแห่งมือเป็นต้น โหนฺตีติ มีได้ วิญฺญตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจวิญญัตติ กถํ อย่างไร ฯ วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย ฯ สตฺตสุ ชวเนสุ บรรดาชวนะทั้ง ๗ เอกาวชฺชนวีถิยํ ในวิถีจิตที่มีอาวัชชนจิตหนึ่ง วาโยธาตุ วาโยธาตุ สตฺตมชวนสมุฏฺฐานา อันมี ชวนจิตดวงที่ ๗ เป็นสมุฏฐาน วิญฺญตฺติวิการสหิตา ประกอบด้วยความเปลี่ยนแปร คือวิญญัตติ ลทฺโธปตฺถมฺภา ได้รับความอุปถัมภ์แล้ว วาโยธาตูหิ จากเหล่าวาโยธาตุ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 273 ปฐมชวนาทิสมุฏฺฐานาหิ อันมีปฐมชวนจิต (ชวนจิตดวงที่ ๑) เป็นต้นเป็นสมุฏฐาน จลยติจิตฺตช ย่อมยังจิตตชรูปให้เคลื่อนไหว ํ เทสนฺตรุปฺปตฺติเหตุภาเวน เพราะ เป็นเหตุแห่งการเกิดขึ้นในส่วนอื่น ฯ ปน ส่วน ปุริมชวนาทิสมุฏฺฐิตา วาโยธาตุที่ เกิดแต่ชวนจิตดวงที่มีก่อนเป็นต้น สนฺถมฺภนสนฺธารณมตฺตกรา ท�ำหน้าที่เพียง ค�้ำจุนและทรงไว้ โหนฺติ ย่อมมี อุปการาย เพื่ออุปการะ ตสฺสา แก่วาโยธาตุที่มี ชวนจิตดวงที่ ๗ เป็นสมุฏฐานนั้น ฯ สตฺตหิ ยุเคหิ อากฑฺฒิตพฺพสกเฏ เปรียบเหมือนในเกวียนที่จะต้องลากไปด้วยแอก ๗ แอก โคณา คู ่โค สตฺตมยุคยุตฺตา เอว ที่เขาเทียมไว้ในแอกที่ ๗ เท่านั้น ลทฺธูปตฺถมฺภา ได้รับ ความช่วยเหลือ ยุตฺตโคเณหิ จากคู่โคที่เขาเทียมไว้ ฉสุ ยุเคสุ ในแอก ๖ แอก เหฏฺฐา เบื้องหลัง สกฏํ จาเลนฺติ จึงยังเกวียนให้เคลื่อนที่ได้ ปน ส่วน ปฐมยุคาทิยุตฺตา คู่โคที่เขาเทียมไว้ในแอกที่ ๑ เป็นต้น สาเธนฺตา ให้ส�ำเร็จกิจ อุปตฺถมฺภนสนฺธารณาทิมตฺตเมว เพียงช่วยเหลือและทรงไว้เป็นต้นเท่านั้น โหนฺติ มี อุปการาย เพื่ออุปการะ เตสํ แก่คู่โคที่เขาเทียมไว้ในแอกที่ ๗ เหล่านั้น ยถา หิ ฉันใด สมฺปทมิทํ ข้ออุปไมยนี้ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็น เอวํ ฉันนั้น ฯ เจตฺถ ก็ ในอธิการว่าด้วยกายวิญญัตตินี้ จลน ความเคลื่อนไหว ํ เทสนฺตรุปฺปตฺติเยว คือการเกิดขึ้น ในส่วนอื่น อุปฺปนฺนเทสโต เกสคฺคมตฺตมฺปิธมฺมานํ สงฺกมนาภาวโต เพราะธรรมทั้งหลายจะย้ายไปจากส่วนที่เกิดขึ้นแล้ว แม้เพียงปลายเส้นผมเส้นเดียว ก็ไม่ได้ ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ น สิยา จะไม่พึง เนสํ อพฺยาปารตา มีความที่ธรรมทั้งหลายเหล่านั้น ไม่มีความพยายาม ขณิกตา จ และความเป็นไปได้ชั่วขณะ ฯ ทฏฺฐพฺพ บัณฑิตพึงเห็นความตกลงใจว่า ํจ ก็ ตตฺถ อุปฺปตฺติเยวาติ ความเกิดขึ้นของตนในที่นั้น เตหิ สห พร้อมกับสหชาตรูปเหล่านั้น นั่นเอง ยถา อตฺตนา สหชรูปานิเหฏฺฐิมชวนสมุฏฺฐิตรูเปหิ ปติฏฺฐิตฏฺฐานโต อญฺญตฺถ อุปฺปชฺชนฺติเอวํ เปรียบเสมือนรูปที่เกิดร่วมกับตน ย่อมเกิดขึ้นในที่อื่น จากที่อันรูปซึ่งตั้งขึ้นจากชวนจิตดวงก่อนตั้งอยู่ ฉะนั้น เทสนฺตรุปฺปตฺติเหตุภาโวติ ชื่อว่าภาวะเป็นเหตุเกิดขึ้นในส่วนอื่น ฯ ปน ก็ เอตฺถ ในบรรดารูปนี้ จิตฺตเช
274 ปริเฉทที่ ๖ เมื่อจิตตชรูป จลิเต ไหวแล้ว อิตรมฺปิ แม้รูปนอกนี้ จลติ ก็ไหวตาม ตสมฺพนฺเธนํ เพราะเนื่องกับจิตตชรูปนั้น นทีโสเต ปกฺขิตฺตสุกฺขโคมยปิณฺฑํ วิย เปรียบเหมือน ก้อนโคมัยแห้งที่บุคคลทิ้งลงในกระแสแม่น�้ำ เมื่อน�้ำกระเพื่อมก็กระเพื่อมตาม ฉะนั้น ฯ ปฐมชวนาทิสมุฏฺฐานวาโยธาตุโย วาโยธาตุซึ่งมีชวนจิตดวงที่ ๑ เป็นต้น เป็นสมุฏฐาน จลยิตุมสกฺโกนฺติโยปิ แม้เมื่อไม่สามารถจะให้ไหวได้ ตถา อย่างนั้น วิญฺญตฺติวิการสหิตาเยว ก็ชื่อว่าเป็นไปพร้อมกับความเปลี่ยนแปรคือวิญญัตตินั่นเอง เยน ทิสาภาเคนายํ อภิกฺกมาทีนิ ปวตฺเตตุกาโม ตทภิมุขภาววิการสมฺภวโต เพราะเกิดมีความเปลี่ยนแปร คือความมุ่งหน้าตรงต่อทิสาภาคที่บุรุษนี้ต้องการ ให้กิจมีการก้าวไปข้างหน้าเป็นต้นเป็นไป ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็ เพราะอธิบาย ความดังว่ามา นี้ วกฺขติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จักกล่าว มโนทฺวาราวชฺชนสฺสาปิ วิญฺญตฺติสมุฏฺฐาปกตฺตํ ว่า แม้มโนทวาราวัชชนจิต ก็ให้วิญญัตติรูปตั้งขึ้นได้ ฯ (บ.ศ. ๙ ๒๕๓๗, ป.ธ. ๙ ๒๕๔๒) เอโก วิกาโร การเปลี่ยนแปรครั้งหนึ่ง วจีเภทกจิตฺตสมุฏฺฐานปฐวีธาตุยา แห่งปฐวีธาตุ ซึ่งมีจิตคิดจะเปล่งค�ำพูดเป็นสมุฏฐาน ฆฏฺฏนปจฺจยภูโต เป็นปัจจัยกระทบ อกฺขรุปฺปตฺติฏฺฐานคตอุปาทินฺนรูเปหิ สห กับอุปาทินนรูป (รูปที่มีใจครอง) ซึ่งอยู่ในที่เกิดขึ้นแห่งอักษร วจีวิญฺญตฺติ ชื่อว่า วจีวิญญัตติ ฯ ยํ ปเนตฺถ วตฺตพฺพํ ก็ ค�ำที่ข้าพเจ้าจะพึงกล่าวในวจีวิญญัตติรูปนี้ ตํ กายวิญฺญตฺติยํ วุตฺตนเยน ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงค้นดูได้ตามนัยที่ข้าพเจ้า กล่าวไว้แล้วในกายวิญญัตติรูป ฯ อยมฺปน วิเสโส ส่วน ความต่างกัน มีดังต่อไปนี้ ตตฺถ ในกายวิญญัตตินิเทศนั้น วุตฺต ข้าพเจ้ากล่าวไว้ ํผนฺทมานกายคฺคหณานนฺตรนฺติ ว่า ในล�ำดับต่อจากการก�ำหนดรู้ร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่ ยถา ฉันใด อิธ ใน วจีวิญญัตตินิเทศนี้ โยเชตพฺพ บัณฑิตพึงประกอบค� ํำ สุยฺยมานสทฺทสวนานนฺตรนฺติ ว่า ในล�ำดับต่อจากการฟังเสียงที่ได้ยินอยู่ เอวํ ฉันนั้น ฯ จ ก็ อิธ ใน วจีวิญญัตตินิเทศนี้ น ลพฺภติ ย่อมไม่ได้ สตฺตมชวนสมุฏฺฐิตาติอาทินโย นัยเป็นต้นว่า เกิดขึ้นจากชวนจิตดวงที่ ๗ สนฺถมฺภนาทิอภาวโต เพราะไม่มีกิจ มีการช่วยค�้ำจุนเป็นต้น ฯ หิ ความจริง สทฺโท เสียง อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 275 ฆฏฺฏเนน สทฺธึเยว พร้อมกับการกระทบทันที ฯ ฆฏฺฏนญฺจ และการกระทบ ลพฺภเตว ก็หาได้แน่แท้ ปฐมชวนาทีสุปิ แม้ในชวนจิตดวงที่ ๑ เป็นต้นไป ฯ (จบ ๒๔๙๙) จ ก็ เอตฺถ ในวจีวิญญัตตินิเทศนี้ อยํ ทฺวินฺนํ สาธารณูปมา มีข้ออุปมาที่ทั่วไปแก่วิญญัตติรูปทั้งสองดังนี้ว่า อุสฺสาเปตฺวา พนฺธโคสีสตาล ปณฺณาทิรูปานิ ทิสฺวา เปรียบเหมือน เพราะเห็นรูปศีรษะโคและใบตาลเป็นต้น ที่บุคคลช่วยกันยกขึ้นผูกไว้ มโนทฺวารชวนวีถิยา วิถีชวนจิตที่เกิดทางมโนทวาร อวิญฺญายมานนฺตราย ซึ่งมีล�ำดับไม่ปรากฏ ตทนนฺตรปฺปวตฺตาย เป็นไปในล�ำดับ ต่อจากการเห็นรูปศีรษะโคเป็นต้นนั้น โคสีสาทีนํ อุทกสหจาริตปฺปการสญฺญาณํ คเหตฺวา อุทกคฺคหณํ โหติก�ำหนดรู้เครื่องหมายแห่งศีรษะโคเป็นต้นว่า มีปกติ ไปร่วมกับน�้ำ แล้วย่อมก�ำหนดรู้ว่ามีน�้ำ ยถา ฉันใด วิปฺผนฺทมานสมุจฺจาริยมา นกายสทฺเท คเหตฺวา เพราะก�ำหนดรู้ร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่ และเสียงที่บุคคล เปล่งอยู่ มโนทฺวารวีถิยา วิถีจิตที่เกิดทางมโนทวาร อวิญฺญายมานนฺตราย ซึ่งมี ล�ำดับไม่ปรากฏ ปุริมสิทฺธสมฺพนฺธูปนิสฺสยาย ซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับความ ตกลงกันไว้ก่อนเป็นที่อิงอาศัย ตทนนฺตรปฺปวตฺตาย เป็นไปในล�ำดับต่อจาก การก�ำหนดรู้ร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่เป็นต้นนั้น สาธิปฺปายวิการคฺคหณํ โหตีติ ย่อมก�ำหนดรู้ความเปลี่ยนแปรพร้อมทั้งความหมาย (ความต้องการ) ได้ เอว ฉันนั้น ฯ ํ (จบ บ.ศ. ๙ ๒๕๓๗) ลหุภาโว ความเบาแห่งรูป ลหุตา ชื่อว่ารูปลหุตา ฯ มุทุภาโว ความ อ่อนโยนแห่งรูป มุทุตา ชื่อว่ารูปมุทุตา ฯ กมฺมญฺญภาโว ความควรแก่การงาน แห่งรูป กมฺมญฺญตา ชื่อว่ารูปกัมมัญญตา ฯ ทฏฺฐพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมาย ว่า เจตา ก็ ความเป็นไปแห่งรูปเหล่านี้ รูปานํ อครุตา คือความที่รูปไม่หนัก อโรคิโน วิย ดุจรูปของคนไม่มีโรค ฉะนั้น ลหุตา ชื่อว่ารูปลหุตา อกถินตา ความที่รูปไม่แข็งกระด้าง สุปริมทฺทิตจมฺมสฺส วิย ดุจแผ่นหนังที่ฟอกดีแล้ว ฉะนั้น มุทุตา ชื่อว่ารูปมุทุตา อนุกูลภาโวติ ความที่รูปคล้อยตาม สรีรกิริยานํ กิริยาแห่งร่างกาย สุธนฺตสุวณฺณสฺส วิย ดุจทองค�ำที่หลอมดีแล้ว ฉะนั้น
276 ปริเฉทที่ ๖ กมฺมญฺญตา ชื่อว่ารูปกัมมัญญตา ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ ฯ วุจฺจติ บัณฑิตกล่าว อญฺญมญฺญํ อวิชหนฺตสฺสาปิ ลหุตาทิตฺตยสฺส ตํตํวิการาธิกรูเปหิ นานตฺตํ วิการรูป ๓ ประการมีรูปลหุตาเป็นต้น แม้จะไม่พรากจากกันและกัน ว่าต่างกัน โดยเป็นรูปที่ยิ่งด้วยความเปลี่ยนแปรนั้น ๆ ฯ หิ ความจริง รูปวิกาโร ความ เปลี่ยนแปรแห่งรูป ทนฺธตฺตกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฺฐาโน ซึ่งมีปัจจัย อันเป็นข้าศึก ต่อความก�ำเริบแห่งธาตุ ที่กระท�ำความเฉื่อยชาเป็นสมุฏฐาน ลหุตา ชื่อรูปลหุตา ฯ รูปวิกาโร ความเปลี่ยนแปรแห่งรูป ถทฺธตฺตกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฺฐาโน ซึ่งมีปัจจัยอันเป็นข้าศึกต่อความก�ำเริบแห่งธาตุ ที่กระท�ำ ความแข็งกระด้างเป็นสมุฏฐาน มุทุตา ชื่อว่ารูปมุทุตา ฯ รูปวิกาโร ความเปลี่ยนแปร แห่งรูป สรีรกิริยานํ อนนุกูลภาวกรธาตุกฺโขภปฏิปกฺขปจฺจยสมุฏฺฐาโน ซึ่งมีปัจจัย อันเป็นข้าศึกต่อความก�ำเริบแห่งธาตุ ที่กระท�ำความไม่คล้อยตามกิริยาแห่งร่างกาย เป็นสมุฏฐาน กมฺมญฺญตาติชื่อว่ารูปกัมมัญญตา แล ฯ (จบ ๒๕๔๒) อุปจยนํ ความก่อเกิดเริ่มแรก อุปจโย ชื่ออุปจยรูป ฯ อตฺโถ อธิบาย ปฐมจโยติ ว่า ความก่อเกิดครั้งแรก อุปสทฺทสฺส ปฐมตฺถโชตนโต เพราะศัพท์ว่า อุป ส่องอรรถว่า ครั้งแรก อุปญาตนฺติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคมีอาทิว่า อุปาตํ ดังนี้ ฯ สนฺตาโน ความสืบต่อ สนฺตติ ชื่อว่าสันตติรูป ฯ อตฺโถ อธิบาย ปพนฺโธติ ว่า ความสืบเนื่องกัน ฯ ตตฺถ บรรดาอุปจยรูปและสันตติรูป ทั้ง ๒ ประการนั้น รูปุปฺปาโท ความเกิดขึ้นแห่งรูป ปฏิสนฺธิโต ปฏฺฐาย เริ่มต้น ตั้งแต่ปฏิสนธิกาล ยาว จกฺขฺวาทีนํ ทสกานํ อุปฺปตฺติ จนถึงจักขุทสกกลาป เป็นต้นเกิด เอตฺถนฺตเร ในระหว่างนี้ อุปจโย นาม ชื่อว่าอุปจยรูป ฯ ตโต ปรํ ต่อแต่นั้นไป สนฺตติ นาม ชื่อว่าสันตติรูป ฯ ชีรณํ ความแก่คร�่ำคร่า รูปานํ แห่งรูป ขณมตฺตฏฺฐายีนํ ที่ตั้งอยู่เพียงชั่วขณะ ยถาสกํ ตามปัจจัยของตน นิโรธาภิมุขภาววเสน ด้วยอ�ำนาจความเป็นธรรมชาตมุ่งตรงต่อความดับ ชรา ชื่อว่าชรา ฯ สาเยว ชรานั่นเอง ชรตา เป็นชรตา ฯ อนิจฺจํ ที่ชื่อว่าอนิจจะ นิจฺจธุวสภาเวน น อิจฺจํ อนุปคนฺตพฺพนฺติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่พึงไป
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 277 คือไม่พึงเข้าถึง โดยสภาวะที่เที่ยงและยั่งยืน ฯ ภาโว ภาวะ ตสฺส แห่งอนิจจะนั้น อนิจฺจตา ชื่อว ่าอนิจจตา รูปปริเภโท ได้แก ่ ความแตกสลายแห ่งรูป ฯ ลกฺขณรูปนฺนาม ที่ชื่อว่าลักขณรูป ลกฺขณเหตุตฺตา เพราะเป็นเหตุก�ำหนด ธมฺมานํ ธรรมทั้งหลาย ตํตํอวตฺถานวเสน ด้วยอ�ำนาจการก�ำหนดนั้น ๆ ฯ ชาติรูปเมวาติ บทว่า ชาติรูปเมว ความว่า ชาติรูปเมว รูปเกิดนั่นเอง ชาติสงฺขาตํ กล่าวคือชื่อว่าชาติ อุปฺปตฺติภาวโต เพราะความเป็นที่เกิดขึ้น รูปานํ แห่งรูป ทั้งหลาย ขเณ ขเณ ทุก ๆ ขณะ ปฏิสนฺธิโต ปฏฺฐาย เริ่มต้นแต่ปฏิสนธิจิตไป รูปสมฺมตญฺจ และสมมติชื่อว่ารูป รูปปฏิพนฺธวุตฺติตฺตา เพราะมีความเป็นไป เนื่องกับความเปลี่ยนแปร รูปุปฺปตฺติภาเวน จ โดยความเกิดขึ้นแห่งความเปลี่ยนแปร วุจฺจติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าว อุปจยสนฺตติภาเวน โดยเป็นภาวะแห่งอุปจยรูป และสันตติรูป วิภชิตฺวา วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสจ�ำแนกไว้ อุปจโย สนฺตตีติ ว่า อุปจยรูป สันตติรูป ดังนี้ เวเนยฺยวเสน ด้วยอ�ำนาจเวไนยสัตว์ ปฐมปรินิพฺพตฺติสงฺขาตปวตฺติอาการเภทโต โดยความต่างอาการเป็นไป กล่าวคือ ความบังเกิดครั้งแรก ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวแล้วอย่างนี้ นิทฺเทเส ในนิเทศ ตาสํ แห่งลักขณรูปทั้ง ๒ ประการนั้น ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดง อเภท ความไม่ต่างกัน ํ อตฺถโต โดยความหมาย วุตฺต พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ํ โย อายตนานํ อาจโย ความก่อเกิดแห่งอายตนะทั้งหลายใด โส ความก่อเกิดอันนั้น รูปสฺส อุปจโย ชื่อว่าความก่อเกิดเริ่มแรกแห่งรูป โย รูปสฺส อุปจโย ความ ก่อเกิดเริ่มแรกแห่งรูปใด โส ความก่อเกิดเริ่มแรกแห่งรูปนั้น รูปสฺส สนฺตตีติ ชื่อว่าความสืบต่อแห่งรูป ฯ เอกาทสวิธมฺปีติ บทว่า เอกาทสปการมฺปิ ได้แก่ แม้มี ๑๑ ประการ สภาคสงฺคหวเสน ด้วยอ�ำนาจรวบรวมรูปที่มีส่วนเสมอกัน ฯ อฏฺฐวีสติวิธมฺภเว รูปพึงมี ๒๘ ประการ จตฺตาโร ภูตา คือ ภูตรูป ๔ ปญฺจ ปสาทา ปสาทรูป ๕ จตฺตาโร วิสยา โคจรรูป ๔ ทุวิโธ ภาโว ภาวรูป ๒ หทยรูปมิจฺจปีติ หทยรูป ๑ ชีวิตาหารรูเปหิ ทฺวีหิ สห รวมกับรูป ๒ คือ ชีวิตรูป ๑ อาหารรูป ๑ อิทํ อฏฺฐารสวิธํ ชื่อว่า นิปผันนรูปเป็น ๑๘ อย่าง
278 ปริเฉทที่ ๖ ตถา อนึ่ง อิเม ทส เจติ และรูปธรรม ๑๐ ประการเหล่านี้ ปริจฺเฉโท จ คือ ปริเฉทรูป ๑ ทุวิธา วิญฺญตฺติวิญญัตติรูป ๒ ติวิโธ วิกาโร วิการรูป ๓ จตุพฺพิธํ ลกฺขณนฺติ ลักขณรูป ๔ อนิปฺผนฺนา ชื่อว่าอนิปผันนรูป รูปานํ ปริจฺเฉทวิการาทิภาวํ วินา วิสุ ปจฺจเยหิ อนิพฺพตฺตตฺตา เพราะรูปทั้งหลาย เว้นภาวะแห่งปริเฉทรูปและวิการรูปเป็นต้นเสีย ไม่บังเกิดด้วยปัจจัยทั้งหลาย แผนกหนึ่ง ฯ อิทานิ บัดนี้ ยถาอุทฺทิฏฺฐานํ รูปานํ เอกวิธาทินยทสฺสนตฺถํ เพื่อจะแสดงนัยแห่งรูปทั้งหลายมีรูปอย่างเดียวเป็นต้น ตามที่ยกขึ้นแสดงไว้แล้ว วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำ สพฺพญฺจ ปเนตนฺติอาทิ ว่า สพฺพญฺจ ปเนตํ ดังนี้เป็นต้น ฯ อเหตุกํ รูปทั้งหมดนั้นชื่อว่าอเหตุกะ อภาวา เพราะไม่มี สมฺปยุตฺตสฺส อโลภาทิเหตุโน สัมปยุตเหตุมีอโลภเหตุเป็นต้น ฯ สปจฺจยํ ชื่อว่า สปัจจยะ ยถาสกปจฺจยวนฺตตาย เพราะมีปัจจัยตามที่เป็นของตน ฯ สาสว ชื่อว่า ํ สาสวะ สหิตตฺตา เพราะเกิดพร้อม อตฺตานํ อารพฺภ ปวตฺเตหิ กามาสวาทีหิ กับกามาสวะเป็นต้น ที่ปรารภตนเป็นไป ฯ สงฺขตํ ที่ชื่อว่าสังขตรูป ปจฺจเยหิ อภิสงฺขตตฺตา เพราะถูกปัจจัยทั้งหลายปรุงแต่ง ฯ โลกิย ชื่อว่าโลกิยะ ํ นิยุตฺตตาย เพราะประกอบ อุปาทานกฺขนฺธสงฺขาตโลเก ในโลก กล่าวคืออุปาทานขันธ์ ฯ กามาวจรํ ชื่อว่ากามาวจร อวจริตตฺตา เพราะเป็นที่ท่องเที่ยวไป กามตณฺหาย แห่งกามตัณหา ฯ อนารมฺมณํ ชื่อว่าอนารัมมณรูป อรูปธมฺมานํ วิย กสฺสจิ อารมฺมณสฺส อคฺคหณโต นาสฺส อารมฺมณนฺติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไม่มีอารมณ์ เหตุรับอารมณ์อะไร ๆ ดุจอรูปธรรมทั้งหลายไม่ได้ ฯ อปฺปหาตพฺพํ ชื่อว่า อัปปหาตัพพรูป ปหาตพฺพตาภาวโต เพราะไม่มีความเป็นธรรมชาตอันพระโยคาวจร จะต้องละ ตทงฺคาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจตทังคปหานเป็นต้น ฯ อิติสทฺโท อิติ ศัพท์ ปการตฺโถ เป็นปการัตถะ ฯ เตน ด้วย อิติ ศัพท์เป็นปการัตถะนั้น สงฺคณฺหาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ย่อมรวบรวม เอกวิธนยํ นัยแห่งรูปมีอย่างเดียว สพฺพํ ทั้งหมด อพฺยากตนฺติอาทิกํ มีอัพยากตรูปเป็นต้น ฯ อชฺฌตฺติกรูปํ ปสาทรูป ๕ อย่าง ชื่อว่าอัชฌัตติกรูป อตฺตภาวสงฺขาตํ อตฺตานํ อธิกิจฺจ อุทฺทิสฺส
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 279 ปวตฺตตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตมุ่งเฉพาะ คือเจาะจงตน กล่าวคืออัตภาพ เป็นไป ฯ อญฺเญปิ อชฺฌตฺตสมฺภูตา ธรรมที่เกิดมีภายในแม้เหล่าอื่น อตฺถิ มีอยู่ กามํ แม้ก็จริง ปน ถึงอย่างนั้น จกฺขฺวาทิกํเยว ปสาทรูป ๕ มีจักขุปสาท รูปเป็นต้น เท่านั้น อชฺฌตฺติกํ ชื่อว่าอัชฌัตติกรูป รุฬฺหิวเสน ด้วยอ�ำนาจศัพท์ที่ดาษดื่นทั่วไป ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง จกฺขฺวาทีเนว ปสาทรูป ๕ มีจักขุปสาทรูปเป็นต้นเท่านั้น อชฺฌตฺติกานินาม ชื่อว่าอัชฌัตติกรูป วิเสสโต โดยพิเศษ สาติสยอุปการตฺตา เพราะความเป็นธรรมชาตท�ำความเกื้อกูลอย่างดียิ่ง อตฺตภาวสฺส แก่อัตภาพ วทนฺตา วิย คล้ายจะพูดว่า ยทิ ถ้าหาก มยํ พวกเรา น โหม ไม่มี ตฺวํ ท่าน ภวิสฺสสีติ ก็จักเป็น กฏฺฐกลิงฺครูปโม ดุจท่อนไม้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง อชฺฌตฺตํ ชื่อว่าอัชฌัตตะ อตฺตสงฺขาตํ จิตฺตํ อธิกิจฺจ ตสฺส ทฺวารภาเวน ปวตฺตตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มุ่งเฉพาะจิตกล่าวคือตน เป็นไป โดยความเป็นทวารของ จิตนั้น ฯ ตเทว อัชฌัตตะนั่นเอง อชฺฌตฺติกํ เป็นอัชฌัตติกะ ฯ อิตรํ รูปนอกนี้ เตวีสติวิธํ คือ รูป ๒๓ อย่าง พาหิรรูปํ ชื่อว่าพาหิรรูป พหิภูตตฺตา เพราะเป็น ธรรมชาตเกิดในภายนอก ตโต แต่รูปที่เกิดในภายในนั้น ฯ จกฺขฺวาทิเนว รูป ๖ อย่าง กล่าวคือ ปสาทรูป ๕ อย่าง มีจักขุปสาทรูปเป็นต้นนั่นเอง และหทยรูป วตฺถุรูปํ ชื่อว่าเป็นวัตถุรูป อิตรํ รูปนอกนี้ พาวีสติวิธํ คือ รูป ๒๒ อย่าง น วตฺถุรูปํ ไม่ชื่อว่าเป็นวัตถุรูป ฯ อฏฺฐวิธมฺปิ รูปแม้ทั้ง ๘ อย่าง อินฺทฺริยรูป ชื่อว่าอินทรียรูป ํ อาธิปจฺจโยคโต เพราะประกอบด้วยความเป็นใหญ่ ปญฺจวิญฺญาเณสุ ลิงฺคาทีสุ ในปัญจวิญญาณจิตในเพศเป็นต้น สหชรูปปริปาลเน จ และในการหล่อเลี้ยงรูป ที่เกิดร่วมกัน ฯ หิ ความจริง ปสาทรูปสฺส ปญฺจวิธสฺส ปสาทรูป ๕ อย่าง อาธิปจฺจํ ชื่อว่ามีความเป็นใหญ่ จกฺขุวิญฺญาณาทีสุ ในจักขุวิญญาณจิตเป็นต้น เตสมฺปิ ปฏุมนฺทาทิภาวาปาทนโต เพราะยังจักขุวิญญาณจิตเป็นต้นแม้เหล่านั้น ให้ถึงความกล้าแข็งและอ่อนแอ อตฺตโน ปฏุมนฺทาทิภาเว ในเมื่อตนกล้าแข็ง และอ่อนแอเป็นต้นเป็นอาทิ ฯ ภาวทฺวยสฺสาปิ แม้ภาวรูปทั้ง ๒ อย่าง อาธิปจฺจํ ก็ชื่อว่ามีความเป็นใหญ่ อิตฺถีลิงฺคาทีสุ ในเพศหญิงเป็นต้น ยถาสกํ ปจฺจเยหิ
280 ปริเฉทที่ ๖ อุปฺปชฺชมานานมฺปิเตสํ เยภุยฺเยน สภาวสนฺตาเนเยว ตตทํากาเรน อุปฺปชฺชนโต เพราะเพศหญิงเป็นต้นเหล่านั้น แม้เกิดขึ้นอยู่ด้วยปัจจัยตามที่เป็นของตน ก็เกิดขึ้น โดยอาการนั้น ๆ ในสันดานที่เป็นเองนั่นแล โดยมาก ปน แต่ น อินฺทฺริยปจฺจยภาวโต หาชื่อว่ามีความเป็นใหญ่ เพราะความเป็นอินทรียปัจจัยไม่ ฯ จ อนึ่ง ชีวิตสฺส ชีวิตรูป อาธิปจฺจํ ชื่อว่ามีความเป็นใหญ่ กมฺมชรูปปริปาลเน ในการหล่อเลี้ยง กัมมชรูป เตสํ ยถาสกํ ขณฏฺฐานสฺส ชีวิตินฺทฺริยปฏิพทฺธตฺตา เพราะการตั้งอยู่ ได้ชั่วขณะจิต ตามปัจจัยของตน แห่งกัมมชรูปเหล่านั้น เนื่องด้วยชีวิตินทรีย์ ฯ สยญฺจ และตนเอง ปวตฺตติ ก็เป็นไปได้ อตฺตนา ฐปิตธมฺมสมฺพนฺเธเนว โดยความเกี่ยวเนื่องกับธรรมที่ตนตั้งไว้นั่นเอง นาวิโก วิย นาวาสมฺพนฺเธน เปรียบเหมือนชาวเรือ เป็นไปได้โดยความเกี่ยวเนื่องกับเรือ ฉะนั้น ฯ (๒๕๓๕) รูปทั้ง ๑๒ อย่าง กล่าวคือ ปสาทรูป ๕ และโคจรรูป ๗ โอฬาริกรูปํ ชื่อว่าโอฬาริกรูป ถุลฺลตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตหยาบ วิสยวิสยี- ภาวาปตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจถึงภาวะเป็นอารมณ์ และภาวะรับอารมณ์ได้ ฯ สนฺติเกรูปํ สันติเกรูป อาสนฺนรูปํ นาม ชื่อว่ารูปใกล้ ตโตเยว คหณสฺส สุกรตฺตา เพราะก�ำหนดรู้ ท�ำได้ง่ายกว่ารูปไกลนั้นนั่นแล ฯ โย สยํ นิสฺสยวเสน สมฺปตฺตานํ อสมฺปตฺตานญฺจ ปฏิมุขภาโว อญฺญมญฺญปตนํ ภาวะที่ปสาทรูป ทั้งหลายมีจักขุปสาทรูปเป็นต้นถึงพร้อมแล้ว ด้วยอ�ำนาจตนเองเป็นที่อยู่อาศัย และที่โคจรรูปทั้งหลายมีรูปารมณ์เป็นต้นไม่ถึงพร้อมแล้ว ประจวบกัน ตกลงร่วมกัน และกัน โส ปฏิโฆ วิยาติเป็นดุจกระทบกัน เพราะเหตุนั้น ปฏิโฆ จึงชื่อว่าปฏิฆะ ฯ ปฏิฆาเต สติ เปรียบเสมือน เมื่อคนแข็งแรง ๒ คน ปะทะกัน ทุพฺพลสฺส จลนํ โหติ คนอื่นที่อ่อนแอ ย่อมพลอยกระทบกระเทือนไปด้วย ยถา หิฉันใด อญฺญมญฺญปฏิมุขภาเว สติ เมื่อปสาทรูปกับโคจรรูปประจวบกันและกัน อรูปสภาวตฺตา ทุพฺพลสฺส ภวงฺคสฺส จลนํ โหติภวังคจิตซึ่งมีพลังอ่อน เพราะมี สภาวะเป็นอรูปธรรม ย่อมพลอยไหวไปด้วย เอวํ ฉันนั้น ฯ ปฏิโฆ ปฏิฆะ อตฺถิ ย่อมมี ยสฺส แก่รูปใด ตํ รูปนั้น ชื่อว่า สปฺปฏิฆํ สัปปฏิฆรูปฯ ทฏฺฐพฺพํ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 281 บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ตตฺถ บรรดาโคจรัคคาหิกรูป (บรรดารูปที่รับอารมณ์ได้) นั้น สยํ สมฺปตฺติโผฏฺฐพฺพสฺส นิสฺสยสฺส วเสน สมฺปตฺติฆานชิวฺหากายคนฺธรสานํ กายปสาทรูปกับโผฏฐัพพารมณ์ ย่อมกระทบกันได้ด้วยตนเอง ฆานปสาทรูปกับ คันธารมณ์ และชิวหาปสาทรูปกับรสารมณ์ ย่อมกระทบกันได้ ด้วยอ�ำนาจภูตรูป เป็นที่อยู่อาศัย ฯ จกฺขุโสตรูปสทฺทานนฺติ จักขุปสาทรูปกับรูปารมณ์ และ โสตปสาทรูปกับสัททารมณ์ อสมฺปตฺติ ย่อมไม่ถึงพร้อมกัน อุภยถาปิ แม้ทั้งสอง ฝ่าย ฯ อิตรํ รูปนอกนี้ โสฬสวิธมฺปิ คือ รูปทั้ง ๑๖ อย่าง สุขุมรูปาทิกํ ชื่อว่าสุขุมรูปเป็นต้น โอฬาริกตาทิสภาวาภาวโต เพราะไม่มีสภาวะมีความเป็น ธรรมชาตหยาบเป็นต้น ฯ อฏฺฐารสวิธ รูป ๑๘ อย่าง ํ กมฺมโต ชาต ที่เกิดแต่กรรม ํ อุปาทินฺนกรูปํ ชื่อว่าอุปาทินนกรูป ตณฺหาทิฏฺฐีหิ อุเปเตน กมฺมุนา อตฺตโน ผลภาเวน อาทินฺนตฺตา คหิตตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตถูกกรรมที่ประกอบด้วย ตัณหาและทิฏฐิยึดแล้ว คือถือแล้ว โดยความเป็นผลของตน ฯ อิตรํ รูปนอกนี้ ทสวิธํ คือ รูป ๑๐ อย่าง อคฺคหิตคฺคหเณน โดยระบุถึงรูปที่ยังมิได้ระบุถึง อนุปาทินฺนกรูปํ ชื่อว่าอนุปาทินนกรูป ฯ (ยํ รูปํ) รูปายตนะใด วตฺตตีติ ย่อมเป็นไป ทฏฺฐพฺพภาวสงฺขาเตน นิทสฺสเนน สห พร้อมกับด้วยนิทัสสนะ กล่าวคือภาวะที่บุคคลจะพึงยลได้ เพราะเหตุนั้น (ตํ รูป)ํ รูปายตนะนั้น สนิทสฺสน ชื่อว่าสนิทัสสนะ ฯ ํ หิ ความจริง จกฺขุวิญฺญาณโคจรภาโว ภาวะที่เป็นอารมณ์แห่งจักขุวิญญาณจิต วุจฺจติ ท่านเรียก นิทสฺสนนฺติ ว่า นิทัสสนะ ฯ จ ก็ ตสฺส รูปายตนโต อนญฺญตฺเตปิ เมื่อ นิทัสสนะนั้น แม้จะไม่เป็นอย่างอื่นจาก รูปายตนะ อญฺเญหิธมฺเมหิตํ วิเสเสตุํ เพื่อจะให้นิทัสสนะนั้นต่างจากธรรมเหล่าอื่น อญฺญํ วิย กตฺวา วตฺตุํ วฏฺฏติ สมควรกล่าวให้เป็นดุจธรรมอื่น สห นิทสฺสเนน สนิทสฺสนนฺติ ว่าธรรมชาต ที่เป็นไปพร้อมกับด้วยนิทัสสนะ ชื่อว่าสนิทัสสนะ ดังนี้ ฯ หิ ความจริง โย วิเสโส ความแปลกกัน นานตฺตกโร ซึ่งท�ำความต่างกัน ธมฺมสภาวสามญฺเญน เอกีภูเตสุ ธมฺเมสุ ในธรรมทั้งหลายที่เป็นอย่างเดียวกัน โดยเป็นสภาวธรรมเหมือนกัน ยุตฺโต
282 ปริเฉทที่ ๖ สมควรแล้ว อุปจริตุ ที่จะอ้อมค้อม ํ โส อญฺโญ วิย กตฺวา ท�ำให้เป็นดุจธรรมอื่น ฯ หิ ความจริง อตฺถวิเสสาวโพโธ ความเข้าใจความต่างกันแห่งความหมาย โหติ ย่อมมีได้ เอวํ ด้วยวิธีการอย่างนี้ ฯ (จบ ๒๕๓๕) (๒๕๔๘) อสมฺปตฺตวเสนาติ บทว่า อสมฺปตฺตวเสน เป็นต้น ความว่า อตฺตานํ อสมฺปตฺตสฺส โคจรสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจอารมณ์ (รูปารมณ์และ สัททารมณ์) ที่ยังไม่ถึงตน (จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป) อตฺตโน วิสยเทสํ วา อสมฺปตฺตวเสน หรือด้วยอ�ำนาจตน (จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป) ยังไม่ถึง ส่วนแห่งอารมณ์ ฯ หิ ความจริง จกฺขุโสตานิ จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป รูปสทฺเทหิอสมฺปตฺตานิ อันรูปารมณ์และสัททารมณ์ ยังไม่ถึงตน ก็รับอารมณ์ได้ สยํ วา ตานิ อสมฺปตฺตาเนว หรือว่าตนเอง (จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูป) ยังไม่ถึงรูปารมณ์และสัททารมณ์เหล่านั้นเลย อารมฺมณํ คณฺหนฺติ ก็รับอารมณ์ได้ ฯ เตเนตํ วุจฺจติเพราะเหตุนั้น พระโบราณาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวถ้อยค�ำไว้ ดังนี้ว่า ปเนเตสุ ก็ บรรดาปสาทรูป ๕ ประการเหล่านี้ จกฺขุโสตํ จักขุปสาทรูป และโสตปสาทรูป โหตาสมฺปตฺตคาหกํ ย ่อมรับอารมณ์ที่ยังไม ่ถึงตนได้ วิญฺญาณุปฺปตฺติเหตุตฺตา เพราะเป็นเหตุให้วิญญาณจิต (จักขุวิญญาณจิตและ โสตวิญญาณจิต) เกิดขึ้น สนฺตราธิกโคจเร ในอารมณ์ที่มีสิ่งอื่นคั่นในระหว่าง และไกล ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น จกฺขุ จักขุปสาทรูป อุทิกฺขติ ย่อมมองเห็น วณฺณํ รูปารมณ์ ทูรเทสฏฺฐํ ซึ่งอยู่ในที่ไกลก็ได้ ผลิกาทิติโรหิตํ รูปารมณ์ที่อยู่ ภายในแห่งวัตถุโปร่งแสงมีแก้วผลึกเป็นต้นก็ได้ มหนฺตญฺจ และรูปารมณ์ที่ใหญ่ นคาทีนํ มีภูเขาเป็นต้นก็ได้ ฯ สทฺโท สัททารมณ์ อากาสาทิคโต ที่อยู่ในอากาศ ธาตุเป็นต้น กุจฺฉิจมฺมานนฺตริโตปิจ แม้ที่อยู่ในภายในหนังท้อง มหนฺโต จ ฆณฺฑาทีนํ และที่ดังมีเสียงระฆังเป็นต้น โคจโร ย่อมเป็นอารมณ์ โสตสฺส ของโสตปสาทรูปได้ ฯ เจ หากบุคคลผู้ท้วงบางคน พึงกล่าวท้วงว่า คนฺตฺวา วิสยเทสนฺตํ ผริตฺวา คณฺหตีติ จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูปนั้น แผ่ไปถึง ส่วนแห่งอารมณ์แล้ว จึงรับรูปารมณ์และสัททารมณ์นั้นได้ ดังนี้ โยชนา มีการ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 283 ประกอบความว่า อธิฏฺฐานวิธาเนปิ แม้ในเวลาที่ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรท�ำการอธิษฐาน อภิญญา (ทิพจักขุญาณและทิพโสตญาณ) โส รูปารมณ์และสัททารมณ์นั้น โคจโร สิยา ก็พึงเป็นอารมณ์ ตสฺส ฃองจักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูปนั้นได้ ฯ เจ หาก โส รูปารมณ์และสัททารมณ์นั้น ยาติ ย่อมไปถึง อินฺทฺริยสนฺนิธึ ที่ด�ำรงอยู่แห่งอินทรีย์ (จักขุนทรีย์และโสตินทรีย์) ภูตปฺปพนฺธโต เพราะเกี่ยวเนื่องกัน แห่งภูตรูป วณฺโณ รูปารมณ์ กมฺมจิตฺโตชสมฺภูโต ที่เกิดแต่กรรม จิต และอาหาร สทฺโท จ และสัททารมณ์ที่ จิตฺตโช เกิดแต่จิต โคจรา โหนฺติย่อมเป็นอารมณ์ เตส ของจักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูปเหล่านั้น ํน ไม่ได้ หิเพราะ เต รูปารมณ์ และสัททารมณ์เหล่านั้น น สมฺโภนฺติ ย่อมไม่เกิดมี พหิ ในภายนอก (ร่างกาย) จ อนึ่ง ปาเฐ ในพระบาลี (พระบาลีคัมภีร์ปัฏฐาน) วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส เตสํ รูปารมณ์และสัททารมณ์เหล่านั้นว่า ตํวิสยาว เป็นอารมณ์ของจักขุปสาทรูป และโสตปสาทรูปนั้นแหละไว้ อวิเสเสน โดยไม่ต่างกัน ฯ ยทิ เจตํ ทฺวยํ ก็ ถ้าว่า จักขุปสาทรูปและโสตปสาทรูปทั้ง ๒ นี้ คณฺหติ รับได้ อตฺตสมีปํเยว เฉพาะรูปารมณ์และสัททารมณ์ที่ใกล้ตนเท ่านั้นไซร้ ตถา อนึ่ง ปสฺเสยฺย จักขุปสาทรูปก็จะพึงมองเห็น อกฺขิวณฺณ ดวงตา ํมูลํ ปขุมสฺส จ และโคนขนตา ได้ ฯ ทิสาเทสววตฺถานํ การก�ำหนดทิศและสถานที่ สทฺทสฺส แห่งสัททารมณ์ น ภเวยฺย จ ก็จะไม่พึงมี สิยา จ สรปาตนนฺติ และลูกศรก็จะพึงตกไป สกณฺเณ ในหูของตน สทฺทเวธิสฺส ของนายขมังธนูผู้ยิงตามเสียง ฯ (จบ ๒๕๔๘) โคจรคฺคาหิกรูปํ รูป ๕ อย่าง ชื่อว่าโคจรัคคาหิกรูป วิญฺญาณาธิฏฺฐิตํ หุตฺวา ตํตํโคจรคฺคหณสภาวตฺตา เพราะมีภาวะเป็นธรรมชาตอันวิญญาณจิต อยู่อาศัย รับอารมณ์นั้น ๆ ได้ ฯ อิตรํ รูปนอกนี้ เตวีสติวิธํ คือ รูป ๒๓ อย่าง อโคจรคฺคาหิกรูปํ ชื่อว่าอโคจรัคคาหิกรูป โคจรคฺคหณาภาวโต เพราะรับอารมณ์ ไม่ได้ฯ วณฺโณ สภาวะที่ชื่อว่าวัณณะ วณฺณิตพฺโพ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อันบุคคลพึงยล ทฏฺฐพฺโพติ คือพึงดู ฯ โอชา ธรรมชาติที่ชื่อว่าโอชา อตฺตโน อุทยานนฺตรํ รูปํ ชเนตีติเพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ให้รูปเกิดในล�ำดับต่อจากตน
284 ปริเฉทที่ ๖ เกิดขึ้น ฯ อวินิพฺโภครูปํ รูป ๘ ประการ ชื่อว่า อวินิพโภครูป อญฺญมญฺญวินิพฺภุชนสฺส วิสุํ วิสุํ ปวตฺติยา อภาวโต เพราะไม่มีความพลัดพรากกันและกัน คือความเป็นไปแยก ๆ กัน กตฺถจิปิ แม้ในอารมณ์ไหน ๆ ฯ หิ ก็ คนฺธาทีนํ อภาววาทิมตมฺปิแม้มติของท่านผู้มักกล่าวว่า คันธารมณ์เป็นต้นไม่มี รูปโลเก ในโลกที่เป็นรูปาวจร อาจริเยหิ ปฏิกฺขิตฺตเมว ถูกอาจารย์ทั้งหลายคัดค้าน เสียแล้ว ตตฺถ ตตฺถ ในที่นั้น ๆ นั่นเอง ฯ อิติสทฺโท อิติ ศัพท์ อิจฺเจวนฺติ เอตฺถาปิ แม้ในค�ำว่า อิจฺเจวํ นี้ ปการตฺโถ เป็นปการัตถะ ฯ เตน ด้วย อิติ ศัพท์ ที่เป็นปการัตถะนั้น สงฺคณฺหาติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมประมวล ทุกติกาทิเภทํ ประเภทแห่งรูปมีรูป ๒ อย่าง และรูป ๓ อย่างเป็นต้น สพฺพํ ทั้งหมด อนาคตมฺปิ แม้ที่ยังมิได้มา อิธ ในรูปวิภาคนัยนี้ ฯ (๒๕๒๗) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ค�ำนึงถึงค�ำถามว่า ปน ก็ รูปสมุฏฺฐานานีติ สมุฏฐานแห่งรูป กมฺมาทีนิ มีกรรมเป็นต้น ตานิ เหล่านั้น กานิ คือ อะไร เป็นสมุฏฐานแห่งรูป กถํ ได้อย่างไร กตฺถ ที่ไหน กทา จ และเมื่อไร อาห จึงกล่าวค�ำ ตตฺถาติอาทึ ว่า ตตฺถ ดังนี้เป็นต้น ฯ ปฏิสนฺธิมุปาทายาติ ข้อว่า ปฏิสนฺธิมุปาทาย นั้น ได้แก่ อุปฺปาทกฺขณํ อุปาทาย เริ่มต้นแต่อุปปาทขณะ ปฏิสนฺธิจิตฺตสฺส แห่งปฏิสนธิจิต ฯ ขเณ ขเณติ สองบทว่า ขเณ ขเณ ความว่า เอเกกสฺส จิตฺตสฺส ตีสุ ตีสุ ขเณสุ ทุกขณะจิตดวงละ ๓ ขณะ ฯ วุตฺตํ โหติ มีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ นิรนฺตรเมวาติ ว่าติดต่อกันเรื่อยไปทีเดียว ฯ ปน ส่วน อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่ง ปฏิเสเธนฺติ คัดค้าน จิตฺตสฺส ฐิติกฺขเณ ฐิติขณะ แห่งจิต รูปุปฺปาทํ จ และความเกิดขึ้นแห่งรูป ภงฺคกฺขเณ ในภังคขณะแห่งจิต ฯ ตตฺถ บรรดาความไม่มีฐิติขณะแห่งจิตและความไม่มีความเกิดขึ้นแห่งรูปในภังคขณะ แห่งจิตนั้น อุปฺปตฺติ เจว เหตุเกิดขึ้น (แห่งการกล่าว) ฐิติกฺขณาภาเว ในความ ไม่มีฐิติขณะแห่งจิต เตสํ ของอาจารย์อีกพวกหนึ่งเหล่านั้น วตฺตพฺพญฺจ และ ค�ำเฉลยที่จะพึงกล่าว ตตฺถ ในการกล่าวคัดค้านฐิติขณะแห่งจิตนั้น กถิตเมว ข้าพเจ้า (พระสุมังคลาจารย์) กล่าวไว้เสร็จแล้ว เหฏฺฐา ข้างต้น กิญฺจาปิ
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 285 แม้โดยแท้ ปน ถึงอย่างนั้น สุขคฺคหณตฺถํ เพื่อนักศึกษาจะเข้าใจใด้ง่าย สงฺคเหตฺวา วุจฺจติ ข้าพเจ้าจึงรวบรวมกล่าวข้อความ อุปฺปตฺติยา สห พร้อมทั้ง เหตุเกิดขึ้น (แห่งการกล่าว) รูปุปฺปาทาภาเว ในความไม่มีความเกิดขึ้นแห่งรูป ภงฺคกฺขเณ ในภังคขณะแห่งจิต วตฺตพฺเพน จ และค�ำเฉลยที่จะพึงกล่าว ตตฺถ ในการกล่าวคัดค้านความเกิดขึ้นแห่งรูปในภังคขณะแห่งจิตนั้นไว้ อิธาปิ แม้ใน การกล่าวพรรณนาความปริจเฉทที่ ๖ นี้ ฯ อาจารย์บางท ่านคัดค้าน ความเกิดขึ้นแห ่งรูปในภังคขณะแห ่งจิตว ่า วิภงฺเค ในการจ�ำแนก เอวมาทินํ (ปญฺหานํ) ปัญหาทั้งหลายเป็นต้นอย่างนี้ อุปฺปนฺนุปฺปชฺชมานนฺติ ว่า จิตเกิดขึ้นแล้ว ชื่อว่าเกิดขึ้นอยู่หรือ ดังนี้ อกฺขาตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส ภงฺคุปฺปาทาว เฉพาะภังคขณะแห่งจิตและอุปปาทขณะ แห่งจิตเท่านั้น น จิตฺตสฺส ฐิติกฺขโณ มิได้ ตรัสฐิติขณะแห่งจิตไว้ ภงฺคกฺขณสฺมึ อุปฺปนฺนํ โน จ อุปฺปชฺชมานกํ อุปฺปชฺชมานมุปฺปาเท อุปฺปนฺนญฺจาติอาทินา ตามปัญหาพยากรณ์ โดยนัยเป็นต้นว่า ในภังคขณะ จิตเกิดขึ้นแล้ว และมิใช่ เกิดขึ้นอยู่ในอุปปาทขณะ จิตเกิดขึ้นอยู่ด้วย เกิดขึ้นแล้วด้วย ดังนี้ เจ หาก มตํ อาจารย์เหล่าอื่นจะพึงเข้าใจว่า ฐิติ อตฺถีติ ฐิติขณะแห่งจิตมีอยู่ วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสฐิติขณะแห่งจิตไว้ในพระสูตรว่า อุปฺปาโท จ วโย เจว อญฺญถตฺตํ ฐิตสฺส จ ปญฺญายตีติ ความเกิดขึ้นปรากฏอยู่ ความดับไป ปรากฏอยู่ และภาวะแห่งธรรม ซึ่งด�ำรงอยู่แปรไปเป็นอย่างอื่น ปรากฏอยู่ ดังนี้ ตตฺถปิ แม้ในพระสูตรนั้น วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัส ปพนฺธฏฺฐิติ ความด�ำรงอยู่แห่งธรรม โดยความสืบเนื่องกัน อญฺญถตฺตสฺส เอกสฺมึ ธมฺเม อนูปลทฺธิโต เพราะภาวะที่แปรไปเป็นอย่างอื่น หาไม่ได้แน่แท้ในธรรมอย่างเดียวกัน ปญฺญาณวจนา เจว และเพราะตรัสว่า ปรากฏอยู่ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ฐิติ จิตฺตสฺส ฐิติขณะแห่งจิต น ทิสฺสติ จึงไม่ปรากฏ ปาลิยํ ในพระบาลี อภิธมฺเม อภาโวปิ แม้ความที่ฐิติขณะไม่มีอยู่ในพระอภิธรรม นิเสโธเยว ก็ย่อมเป็น การปฏิเสธเด็ดขาด สพฺพถา โดยสิ้นเชิง ฯ ปญฺเห เพราะในปัญหาที่ว่า ยทา
286 ปริเฉทที่ ๖ ในกาลใด สมุทโย ยสฺส สมุทัยสัจของบุคคลใด นิรุชฺฌติ ดับลง ตทา ในกาลนั้น ทุกฺขํ ทุกขสัจ อสฺส ของบุคคลนั้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น กึ หรือ ดังนี้ นิเสธโต พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปฏิเสธความเกิดขึ้นแห่งทุกขสัจ ตตฺถ ในขณะ สมุทัยสัจดับลง ด้วยพระพุทธพจน์ โนติ ว่า โน (แปลว่า ไม่ใช่) รูปุปฺปาโท น รูปจึงไม่เกิดขึ้น ภงฺคสฺมึ ในภังคขณะแห่งจิต ตสฺมา เพราะฉะนั้น สพฺเพปิ ปจฺจยา ปัจจัยทั้งหลายแม้ทั้งหมด รูปเหตูติ จึงเป็นเหตุให้รูปเกิดขึ้นได้ อุปฺปาเทเยว จิตฺตสฺส เฉพาะในอุปปาทขณะแห่งจิตเท่านั้น ฯ เกนจิ ตตฺถ ในการกล ่าวคัดค้านตามที่อาจารย์บางท ่านกล ่าวแล้วนั้น วุจฺจเต ข้าพเจ้า (พระสุมังคลาจารย์) จะกล่าวเฉลย (ดังต่อไปนี้) ฯ ภงฺคาวตฺถา ข้อที่ควรก�ำหนดภังคขณะ ภินฺนา ซึ่งต่าง อุปฺปาทาวตฺถโต จากข้อที่ควรก�ำหนดอุปปาทขณะ มตา พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ เอกสฺมึ ธมฺเมเยว ในธรรมอย่างเดียวกันนั่นเอง ยถา ฉันใด ตุ ก็ อิจฺฉิตพฺพา บัณฑิต พึงปรารถนา ภงฺคสฺสาภิมุขาวตฺถา ข้อที่ควรก�ำหนดมุ่งถึงภังคขณะ ตเถว ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ อยํ ข้อที่ควรก�ำหนดมุ่งถึงภังคขณะนี้ ฐิติ ชื่อว่าฐิติขณะ ตุ ก็ เอสา ฐิติ ขณะนี้ น เทสิตา พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรงแสดงไว้ วิภงฺเค ในคัมภีร์ พระวิภังค์ นยทสฺสนโต เพราะทรงแสดงนัยไว้ (เพราะทรงแสดงฐิติขณะไว้โดยย่อ) ฯ อุปฺปาทอาทินํ เทสิตตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงขณะ ๓ ประการ มีอุปปาทขณะเป็นต้น วตฺตุํ ไว้เพื่อจะตรัสเฉพาะ ลกฺขณํ ลักษณะ สงฺขตสฺเสว แห่งสังขตธรรมเท่านั้น น ฐิตีริตา พระองค์จึงไม่ตรัสฐิติขณะ ปพนฺธสฺส แห่ง สังขตธรรมที่สืบเนื่องกันไว้ ตตฺถาปิ แม้ในพระสูตรนั้น ฯ จ ก็ อุปสคฺคสฺส ธาตูนมตฺเถเยว ปวตฺติโต เพราะ (ป) อุปสัค คล้อยตามความหมายแห่งธาตุ นั่นเอง ปญฺญายตีติ เอตสฺส บทว่า ปญฺายติ นี้ อตฺโถ วิญฺญายเต อิติ บัณฑิตพึงก�ำหนดความหมายว่า วิฺ ายเต (แปลว่า อันบุคคลย่อมรู้แจ้งได้) ฯ นุปฺปาโท ความไม ่เกิดขึ้น รูปสฺส แห ่งรูป ภงฺเค ในภังคขณะ ภาสิโต
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 287 พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ วเสน ด้วยอ�ำนาจ จิตฺตชานํ วา จิตตชรูปทั้งหลาย วาภิสนฺธาย หรือตรัสหมายถึง อารุปฺปํ อรูปภพ หิเพราะว่า ยถาลาภโยชนาติ การประกอบความตามที่จะเข้าใจได้นี้ สภาโวยํ เป็นสภาวะ ยมกสฺส แห่งคัมภีร์ พระยมก หิ ก็ ตโต เพราะเหตุดังนี้นั้น น น จิตฺตฏฺฐิติ ฐิติขณะแห่งจิต ไม่ใช่ว่าจะไม่มี ภงฺเค จ และในภังคขณะแห่งจิต น รูปสฺส อสมฺภโวติ ไม่ใช่ว่า รูปจะไม่เกิด แล ฯ (๒๕๒๗) (๒๕๑๓) จุทฺทส จิตฺตานิ จิต ๑๔ ดวง คือ อรูปวิปากา อรูปวิบากจิต ทั้ง ๔ ดวง รูปํ น สมุฏฺฐาเปนฺติย่อมให้รูปตั้งขึ้นไม่ได้ เหตุโน ตํวิธูรตาย จ เพราะเหตุ (ของวิบากเหล่านั้น) มีการขัดแย้งต่อรูปนั้น ๑ อโนกาสตาย จ เพราะรูปไม่มีโอกาส ๑ รูปวิราคภาวนานิพฺพตฺตตฺตา เพราะเป็นสภาวะเกิด แต่การเจริญกัมมัฏฐานที่มีการส�ำรอกรูปเป็นอารมณ์ ทฺวิปญฺจวิญฺญาณานิจาติ และวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) ก็ รูปํ น สมุฏฺฐาเปนฺติย่อมให้รูปตั้งขึ้น ไม่ได้ สมฺปโยคาภาวโต เพราะไม่มีการประกอบ ฌานงฺเคหิ ด้วยองค์ฌาน วิเสสปฺปจฺจเยหิ อันเป็นปัจจัยพิเศษ รูปชนเน ในอันให้รูปเกิด เหตุนั้น จุทฺทส จิตฺตานิ จิตทั้ง ๑๔ ดวง รูปํ น สมุฏฺฐาเปนฺตีติจึงให้รูปตั้งขึ้นไม่ได้ ดังนั้น วุตฺตํ ท่านอาจารย์จึงกล่าวไว้ว่า อรูป ฯเปฯ วชฺชิตนฺติ(จิตแม้ ๗๕ ดวง) เว้นอรูปวิบากจิต ๔ และวิญญาณจิตทั้งสองฝ่าย (๑๐ ดวง) ดังนี้ ฯ ปน ก็ ปฏิสนฺธิจิตฺตํ ปฏิสนธิจิต จุติจิตฺตญฺจ และจุติจิต น โหตีติย่อมไม่เป็น จิตฺตนฺตรํ จิตอื่น (จากภวังคจิต) อนฺโตคธตฺตา เพราะรวมลงภายใน เอกูนวีสติวิภงฺคสฺเสว ภวังคจิต ๑๙ ดวงนั่นแหละ เหตุนั้น น กตํ ท่านอาจารย์จึงมิได้ท�ำการ ตสฺสาวชฺชนํ เว้นปฏิสนธิจิตและจุติจิตไว้ ฯ น กตํ ถึงแม้มิได้ท�ำการเว้นไว้ กิญฺจาปิก็จริง ปน กระนั้น ปฏิสนฺธิจิตฺตํ ปฏิสนธิจิต รูปสมุฏฺฐาปกํ น โหติก็ย่อมไม่เป็นจิต ให้รูปตั้งขึ้นได้ ปวตฺตตฺตา เพราะเป็นจิตที่เป็นไป นิสฺสาย อาศัย ทุพฺพลวตฺถุํ วัตถุ (คือหทัย) อันทุรพล ปจฺฉาชาตปจฺจยรหิต ซึ่งขาดปัจฉาชาตปัจจัย ํอาหาราทีหิ จ อนุปตฺถมฺภํ และอันอาหารเป็นต้นยังไม่อุปถัมภ์ ๑ อตฺตโน จ อาคนฺตุกตาย
288 ปริเฉทที่ ๖ เพราะตนเป็นจิตที่จรมา ๑ จิตฺตสมุฏฺฐานรูปานํ ฐานํ คเหตฺวา ฐิตตฺตา จ เพราะตนยึดฐานของรูปที่มีจิตเป็นสมุฏฐาน ด�ำรงอยู่ได้ กมฺมชรูเปหิ ด้วยรูป อันเกิดแต่กรรมทั้งหลาย ๑ ฯ ปน ส่วน จุติจิตฺเต ในจุติจิต พึงทราบวินิจฉัยดังต ่อไปนี้ วุตฺตํ พระอรรถกถาจารย์กล่าว อฏฺฐกถายนฺตาว ไว้ในอรรถกถาก่อนว่า จุติจิตฺตํ จุติจิต ขีณาสวสฺเสว ของพระขีณาสพเท่านั้น รูปํ น สมุฏฺฐาเปตีติย่อมให้รูป ตั้งขึ้นไม ่ได้ สาติสยสนฺตวุตฺติตาย เพราะมีความเป็นไปอันสงบอย ่างดียิ่ง สนฺตาเน ในสันดาน วูปสนฺตวฏฺฏมูลสฺมึ ที่มีมูลแห่งวัฏฏะอันสงบระงับแล้ว ดังนี้ ฯ ปน แต่ อานนฺทาจริยาทโย อาจารย์ทั้งหลายมีท่านอานันทาจารย์เป็นต้น วทนฺติ กล่าวว่า จุติจิตฺตํ จุติจิต สพฺเพสมฺปิ แม้ของสัตว์ทั้งหมด รูปํ น สมุฏฺฐาเปตีติย่อมให้รูปตั้งขึ้นไม่ได้ ดังนี้ ฯ (จบ ๒๕๑๓) ปน ก็ วินิจฺฉโย การวินิจฉัย เตสํ ปฏิสนธิจิตและจุติจิตเหล ่านั้น ทฏฺฐพฺโพ บัณฑิตพึงเห็น วุตฺตนเยน โดยนัยที่กล่าวไว้ สงฺเขปโต โดยย่อ มูลฏีกาทีสุ ในมูลฎีกาเป็นต้น วิตฺถารโต และโดยพิสดาร อภิธมฺมตฺถปกาสินิยํ ในอภิธัมมัตถปกาสินี ฯ ปฐมภวงฺคมุปาทายาติ ข้อว่า ปมภวงฺคมุปาทาย ความว่า จิตทั้ง ๗๕ ดวง ชายนฺตเมว ที่เกิดอยู่ นิพฺพตฺตปฐมภวงฺคโต ปฏฺฐาย จ�ำเดิมแต่ภวังคจิตดวงแรก ที่บังเกิด ปฏิสนฺธิยา อนนฺตร ต่อจากปฏิสนธิจิตเท่านั้น ํ สมุฏฺฐาเปติ ย่อมยังรูปให้ตั้งขึ้นได้ ฯ ปน แต่ ฐิตํ ที่ด�ำรงอยู่ ภิชฺชมานํวา หรือที่ดับอยู่ น สมุฏฺฐาเปติหายังรูปให้ตั้งขึ้นได้ไม่ ชนกสามตฺถิยโยคโต เพราะ เป็นธรรมชาตประกอบด้วยความสามารถ เป็นตัวให้เกิดรูปได้ อุปฺปาทกฺขเณเยว เฉพาะในอุปปาทขณะ อนนฺตราทิปจฺจยลาเภน โดยการได้อนันตรปัจจัยเป็นต้น ฯ อิริยาปโถ ที่ชื่อว่าอิริยาบถ ปวตฺติปถภาวโต เพราะเป็นทางเป็นไป อิริยาย แห่งการสับเปลี่ยน กายิกกิริยาย คือกิริยาทางกาย คมนาทิ ได้แก่ การเดิน เป็นต้น ฯ อตฺถโต ว่าโดยเนื้อความ รูปปฺปวตฺติ ได้แก่ ความเป็นไปแห่งรูป ตทวตฺถา ซึ่งก�ำหนดถึงอิริยาบถนั้น ฯ สนฺธาเรติ อัปปนาชวนจิตย่อมทรง
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 289 ตมฺปิ แม้ซึ่งอิริยาบถนั้นไว้ อุปตฺถมฺเภติ คือ อุปถัมภ์อิริยาบถ ยถาปวตฺตํ ตามที่เป็นไปไว้ ฯ หิ เปรียบเสมือน ภวงฺเค เมื่อภวังคจิต อพฺโพกิณฺเณ ไม่ระคน วีถิจิตฺเตหิ ด้วยวิถีจิตทั้งหลาย ปวตฺตมาเน เป็นไปอยู่ องฺคานิ อวัยวะทั้งหลาย โอสีทนฺติ ย่อมหยุดนิ่ง ยถา ฉันใด เอเตสุ ทฺวตฺตึสวิเธสุ เมื่อจิต ๓๒ ดวง เหล่านี้ วกฺขมาเนสุ จ ฉพฺพีสติยา ชาครณจิตฺเตสุ และเมื่อจิตที่เป็นเครื่องตื่น ๒๖ ดวง ที่จะกล่าวอยู่ ปวตฺตมาเนสุ ก�ำลังเป็นไป องฺคานิ อวัยวะทั้งหลาย โอสีทนฺติ ย่อมหยุดนิ่ง เอวํ ฉันนั้น น หามิได้ ฯ ปน ก็ ตทา ในกาลนั้น องฺคานิ อวัยวะทั้งหลาย อุทฺธฏุทฺธฏานิ อันจิตอุปถัมภ์แล้ว ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป ยถาปวตฺตอิริยาปถภาเวเนว โดยความเป็นอิริยาบถ ตามที่เป็นไปแล้วนั่นแล วิญฺญตฺตึ ย ่อมยังวิญญัตติรูปให้ตั้งขึ้น ฯ รูปิริยาปถาเนว สมุฏฺฐาเปนฺติ อวัยวะทั้งหลายย่อมยังเฉพาะอิริยาบถแห่งรูปให้ตั้งขึ้น เกวลํ อย่างเดียว น หามิได้ ฯ ปเนตฺถ ในอธิการว่าด้วยรูปสมุฏฐานนี้ ทฏฺฐพฺพ พึงเห็นความหมาย ํ อวิเสสวจเนนปิ แม้ด้วยถ้อยค�ำที่ไม่แปลกกันว่า โวฏฺฐวนชวนานิ โวฏฐัพพนจิต และชวนจิตทั้งหลาย มโนทฺวารปฺปวตฺตาเนว เฉพาะที่เป็นไปทางมโนทวาร วิญฺญตฺติสมุฏฺฐาปกานิ ย่อมให้วิญญัตติรูปตั้งขึ้น ตถา หาสชนกานิจ และให้ ความยิ้มแย้มเกิดขึ้นได้เหมือนกัน ปญฺจทฺวารปฺปวตฺตานํ ปริทุพฺพลภาวโตติ เพราะความที่โวฏฐวนจิตและชวนจิตทั้งหลายที่เป็นไปทางทวาร ๕ เป็นธรรมชาต มีก�ำลังอ่อนแอรอบด้าน ฯ เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยรูปสมุฏฐานนี้ อิริยาปโถ อิริยาบถก็ดี วิญฺญตฺติวา วิญญัตติก็ดี รูปวินิมุตฺโต ที่พ้นจากรูป นตฺถิ ย่อมไม่มี กามํ แม้ก็จริง ตถาปิ ถึงอย่างนั้น จิตฺตํ จิต รูปสมุฏฺฐาปกํ อันให้รูปตั้งขึ้น อิริยาปถูปตฺถมฺภกํ จะอุปถัมภ์อิริยาบถ วิญฺญตฺติชนกญฺจ และให้วิญญัตติเกิดได้ สพฺพํ ทุกดวง น โหติ หามีไม่ ฯ ปน ก็ ยํ จิตฺตํ จิตดวงใด วิญฺญตฺติชนกํ ให้วิญญัตติรูปเกิด ตํ จิตดวงนั้น อิริยาปถูปตฺถมฺภกํ ชื่อว่าอุปถัมภ์อิริยาบถ เอกสโต ํ โดยส่วนเดียว อิริยาปถสฺส วิญฺญตฺติยา สห อวินาภาวโต เพราะความ ที่อิริยาบถไม่แยกจากกันกับวิญญัตติฯ วิเสสทสฺสนตฺถํ เพื่อจะแสดงความต่างกัน
290 ปริเฉทที่ ๖ อิริยาปถูปตฺถมฺภกญฺจ รูปชนกนฺติ อิมสฺส แห่งค�ำว่า อิริยาปถูปตฺถมฺภกญฺจ รูปชนกํ นี้ อิริยาปถวิญฺญตฺตีนํ คหณํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงท�ำการระบุถึง อิริยาบถและวิญญัตติ วิสุํ เป็นแผนกหนึ่ง รูปโต จากรูป ฯ เตรสาติ บทว่า เตรส ความว่า เตรส โสมนัสชวนจิต ๑๓ ดวง คือ กุสลโต จตฺตาริ ฝ่ายกุศลจิต ๔ ดวง อกุสลโต จตฺตาริ ฝ่ายอกุศลจิต ๔ ดวง กิริยาโต ปญฺจาติฝ่ายกิริยาจิต ๕ ดวง ฯ ปุถุชฺชนา ปุถุชนทั้งหลาย หสนฺติ ย่อมหัวเราะ อฏฺฐหิกุสลากุสเลหิ ด้วยโสมนัสชวนจิตฝ่ายกุศลและฝ่ายอกุศล ๘ ดวง ฯ เสกฺขา พระเสกขะทั้งหลาย หสนฺติ ย่อมหัวเราะ ทิฏฺฐิสหคตวชฺเชหิ ฉหิ ด้วยโสมนัสชวนจิต ๖ ดวง เว้นจิตที่สหรคตด้วยทิฏฐิ ฯ ปน ส่วน อเสกฺขา พระอเสกขะทั้งหลาย หสนฺติ ย่อมยิ้มแย้ม ปญฺจหิกฺริยาจิตฺเตหิ ด้วยกิริยาจิต ๕ ดวง ฯ ตตฺถาปิ แม้ในบรรดา พระอเสกขะเหล่านั้น พุทฺธา พุทธเจ้าทั้งหลาย หสนฺติ ย่อมยิ้มแย้ม จตูหิ สเหตุกกฺริยาจิตฺเตเหว ด้วยกิริยาจิตฝ่ายสเหตุกะ ๔ ดวงเท่านั้น น อเหตุเกน หสนฺติ หายิ้มแย้มด้วยกิริยาจิตฝ่ายอเหตุกะไม่ ฯ วจนโต เพราะพระบาลีว่า สพฺพํ กายกมฺมํ กายกรรมทุกอย่าง อตีตํสาทีสุ อปฺปฏิหตญาณํ ปตฺวา อิเมหิ ตีหิธมฺเมหิ สมนฺนาคตสฺส พุทฺธสฺส ภควโต ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพุทธเจ้า ผู้ทรงบรรลุพระญาณอันอะไร ๆ ขัดขวางไม่ได้ ในบรรดาอดีตังสญาณเป็นต้น แล้วประกอบด้วยธรรม ๓ ประการเหล่านี้ ญาณปุพฺพงฺคมํ เป็นกรรมมีญาณ เป็นประธาน ญาณานุปริวตฺติกนฺติ เปลี่ยนไปตามพระญาณ ดังนี้ วทนฺติ ท่านอาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า หิ ก็ ปวตฺติ ความเป็นไป หสิตุปฺปาทสฺส แห่ง หสิตุปปาทจิต วิจารณปญฺญารหิตสฺส ที่เว้นจากวิจารณปัญญา น พุทฺธานํ ยุตฺตาติ หาสมควรแก่พระพุทธเจ้าทั้งหลายไม่ เอวญฺจ กตฺวา ก็ เพราะอธิบาย ความดังกล ่าวแล้วอย ่างนี้ว ่า ปน ก็ สิตการณํ เหตุแห ่งการแย้ม เตสํ ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้น หสิตุปฺปาทจิตฺเตน ปวตฺติยมานานมฺปิ แม้ผู้อันหสิตุปปาทจิตให้เป็นไปอยู่ ญาณานุปริวตฺติเยวาติ ก็ชื่อว่าเป็นไป ตามญาณนั่นเอง ปุพฺเพนิวาสอนาคตํสสพฺพญฺญุตญาณานํ อนุปฺปวตฺตกตฺตา
พระมหาวิทยาเชฏฐ์ วรธมฺโม ป.ธ.๙ แปล 291 เพราะเป็นไปตามปุพเพนิวาสญาณ อนาคตตังสญาณ และสัพพัญญุตญาณ ดังนี้ วุตฺตํ พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวไว้ อฏฺฐกถายํ ในอรรถกถาว่า อิทํ จิตฺตํ หสิตุปปาทจิตดวงนี้ อุปฺปชฺชตีติ ย่อมเกิดขึ้น เตสํ แก่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย เหล่านั้น ญาณานํ จิณฺณปริยนฺเต ในที่สุดแห่งพระญาณทั้งหลาย อันพระองค์ ทรงบ�ำเพ็ญแล้ว ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น น สกฺกา ใคร ๆ จึงไม่สามารถ นิวาเรตุํ จะห้ามความ ตสฺส ปวตฺติ เป็นไปแห่งหสิตุปปาทจิตนั้น พุทฺธานํ แห่งพระพุทธเจ้า ทั้งหลายได้ ฯ อุตุโอชานํ พลวภาโวติ ภาวะที่อุตุและโอชา เป็นของเหมาะสม (โหติ) ย่อมมี ฐิติกฺขเณเยว เฉพาะในฐิติขณะเท่านั้น ปจฺฉาชาตาทิปจฺจยุปตฺถมฺภลาเภน เพราะได้การอุปถัมภ์จากปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำว่า เตโชธาตุฐิติปฺปตฺตาติอาทิเตโชธาตุิติปฺปตฺตา ดังนี้เป็นต้น ฯ หทยินฺทฺริยรูปานิ หทัยรูป (๑) และอินทรียรูป (๘) นว ๙ ประการ กมฺมชาเนว ชื่อว่าเป็นกัมมชรูปล้วน กมฺมโตเยว ชาตตฺตา เพราะเกิดแต่กรรม อย่างเดียว ฯ หิความจริง ย รูปใด ํชาต เกิดแล้ว ํ ชายติ ก�ำลังเกิด ชายิสฺสติ จ และจักเกิด ตํ รูปนั้น กมฺมชนฺติ วุจฺจติ ท่านเรียกว่า กัมมชรูป ยถา ทุฏฺฐนฺติ เหมือนเรียก กรรมว่า ทุฏกรรม ฉะนั้น ฯ ลหุตาทิตฺตยํ วิการรูป ๓ ประการ มีลหุตารูปเป็นต้น กมฺมชํ น โหติไม่ชื่อว่ากัมมชรูป ปจฺจุปฺปนฺนปจฺจยาเปกฺขตฺตา เพราะเพ่งถึงปัจจัยที่เป็นปัจจุบัน ฯ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อนอกไปจากนี้ ภาเวหิภวิตพฺพํ รูปทั้งหลายพึงเป็นภาวรูป สพฺพทา ทุกเมื่อ อิติ เพราะเหตุนั้น วุตฺตํ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวค�ำ ลหุตา ฯเปฯ สมฺโภตีติว่า ลหุตา ฯเปฯ สมฺโภติ ดังนี้ ฯ อฏฺฐารส รูป ๑๘ ประการ เอกนฺตกมฺมชานิ นว คือรูปที่เกิด แต่กรรมอย่างเดียวมี ๙ ประการ จตุชฺเชสุ และในบรรดารูปที่เกิดแต่สมุฏฐาน ๔ กมฺมชานิ นว จาติ รูปที่เกิดแต่กรรมนี้มี ๙ ประการ กมฺมชานิ ชื่อว่ากัมมชรูป ฯ ปณฺณรส รูป ๑๕ ประการ ปญฺจวิการรูปสทฺทอวินิพฺโภครูปอากาสวเสน คือ วิการรูป ๕ สัททรูป (๑) อวินิพโภครูป (๘) และปริเฉทรูป (๑) จิตฺตชานิ ชื่อว่าจิตตชรูป ฯ เตรส รูป ๑๓ ประการ คือ สทฺโท สัททรูป (๑) ลหุตาทิตฺตยํ
292 ปริเฉทที่ ๖ วิการรูป ๓ มีลหุตารูปเป็นต้น อวินิพฺโภคากาสรูปานิจาติ อวินิพโภครูป (๘) และปริเฉทรูป (๑) อุตุชานิ ชื่อว่าอุตุชรูป ฯ ทฺวาทส รูป ๑๒ ประการ ลหุตาทิตฺตยอวินิพฺโภคากาสวเสน คือ วิการรูป ๓ มีลหุตารูปเป็นต้น อวินิพโภครูป และปริเฉทรูป อาหารชานิ ชื่อว่าอาหารชรูป ฯ (๒๕๐๙) ปกาสิตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประกาศไว้แล้วว่า ลกฺขณานิ ลักขณรูปทั้ง ๔ น ชายนฺตีติ ย่อมไม่เกิด เกหิจิ ปจฺจเยหิแต่ปัจจัยอะไร ๆ ชายมานาทิรูปานํชายมานปริปจฺจมานภิชฺชมานรูปานํ สภาวตฺตา เพราะเป็น สภาวะของรูปที่ก�ำลังเกิดเป็นต้น คือ ที่ก�ำลังเกิด ก�ำลังแปรไป และก�ำลังแตกสลาย สภาวมตฺตํ วินา อตฺตโน ชาติอาทิลกฺขณาภาวโต ได้แก่ เพราะเว้นเหตุสักว่า สภาวะเสียแล้ว จะไม่มีลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้นของตน เกวล อย่างเดียว ดังนี้ ฯ ํ หิจริงอยู่ จกฺขฺวาทีนํ จักขุเป็นต้น อุปฺปาทาทิยุตฺตานํ ประกอบด้วยสังขตลักษณะ มีเกิดขึ้นเป็นต้น วิชฺชนฺติ ย่อมมี ลกฺขณานิ ลักขณรูป ชาติอาทีนิ มีชาติรูป เป็นต้นได้ (ยถา) ฉันใด ฯ ชาติอาทีนิ ลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้น น เอวํ ไม่เป็นฉันนั้น ฯ ยทิ หาก เตสมฺปิ ชาติรูปเป็นต้นแม้นั้น สิยุํ พึงมี ชาติอาทีนิ ลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้นไซร้ เตสมฺปิ แม้ลักขณรูปทั้ง ๓ นั้น สิยุนฺติ ก็ต้องมี ชาติอาทีนิ ลักขณรูปมีชาติรูปเป็นต้นด้วยแล ฯ เอว เมื่อเป็นเช่นนั้น ํอนวตฺถานเมว อาปชฺเชยฺย ก็ต้องถึงความไม่มีที่ก�ำหนดเลย ฯ ยมฺปน ส่วน ชาติยา กุโตจิ ชาตตฺตํ ภาวะที่ชาติรูปเกิดแต่ปัจจัยไหน ๆ อนุญฺญาตํ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงอนุญาตไว้ รูปายตนํ ฯเปฯ กวฬีกาโร อาหาโร อิเม ธมฺมา จิตฺตสมุฏฺฐานาติอาทีสุ ในพระด�ำรัสเป็นอาทิว่า รูปายตนะ ฯลฯ กวฬีการาหารธรรม เหล่านี้ มีจิตเป็นสมุฏฐาน ดังนี้แม้นั้น ทฏฺฐพฺพ ก็พึงเห็นว่า ํ ตมฺปิรูปชนกปจฺจยานํ รูปุปฺปาทนมฺปฏิจฺจ อนุปรตพฺยาปารานํ อุปลพฺภมานตํ สนฺธายาติ ทรงอนุญาต แล้วหมายเอาภาวะที่ปัจจัยอันให้รูปเกิด ยังไม่หมดความพยายาม เพราะอาศัย การให้รูปเกิด เป็นปัจจัยอันจะเข้าไปก�ำหนดได้ ชายมานธมฺมวิการภาเวน โดยอาการ ผันแปรของธรรมที่ก�ำลังเกิด ปจฺจยภาวูปคมนกฺขเณ ในขณะเข้าถึงความเป็นปัจจัย ฯ