พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 143 จตุตฺถปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๔ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า อหํ ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) กตฺวา ครั้นท�ำ ปเภทสงฺคหํ การรวบรวมประเภท จิตฺตุปฺปาทานํ แห่งจิตตุปบาททั้งหลาย จตุนฺนํ ขนฺธานํ คือ ขันธ์ ๔ ประการ อุตฺตรํ อย่างยอดเยี่ยม อุตฺตมํ คือ อย่างสูงสุด เวทนาสงฺคหาทิวิภาคโต โดยการจ�ำแนกสังคหะมีเวทนาสังคหะเป็นต้น เอวํ อย่างนี้ อิติ ด้วยประการฉะนี้ ยถาวุตฺตนเยน คือ โดยนัยตามที่กล่าวแล้ว ปวกฺขามิ จักกล่าว สมาเสน โดยย่อ ยถาสมฺภวโต ตามก�ำเนิด ปวตฺติสงฺคหํนาม ชื่อซึ่งปวัตติสังคหะ ตนํามกํ สงฺคหํ คือสังคหะอันมีชื่อว่าปวัตตินั้น จิตฺตุปฺปาทานํ แห่งจิตตุปบาททั้งหลาย ปฏิสนฺธิปวตฺตีสุ ในปฏิสนธิกาลและปวัตติกาล ลกฺขิต ที่ท่าน ํ ก�ำหนดแล้ว เภเทน ด้วยความต่างกัน ติณฺณํ ภูมีนํแห่งภูมิ ๓ กามาวจราทีนํ มีกามาวจรภูมิเป็นต้น ทฺวิเหตุกาทิปุคฺคลานฺ จ และแห่งบุคคลมีทวิเหตุกบุคคล เป็นต้น นิยามิตํ ชื่อว่าอันท่านก�ำหนดแน่นอนแล้ว ปุพฺพาปรจิตฺเตหิ ด้วยจิต ดวงต้น และจิตดวงหลัง เอวํ อย่างนี้ว่า อิทํ เอตฺตเกหิ ปรํ อิมสฺส อนนฺตรํ เอตฺตกานิปิ จิตฺตานิ จิตดวงนี้เกิดขึ้นมีก่อนจิตทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ดวง แม้จิตทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ดวง ก็เกิดขึ้นมีในล�ำดับแห่งจิตดวงนี้ อิติ ดังนี้ ปุน ซ�้ำอีกฯ วตฺถุทฺวาราลมฺพนสงฺคหา วัตถุสังคหะ ทวารสังคหะ และอาลัมพนสังคหะ เหฏฺา กถิตาปิแม้ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้แล้วข้างต้น ปุน นิกฺขิตฺตา ท่านก็วางซ�้ำไว้อีก ปริปุณฺณํ กตฺวา ปวตฺติสงฺคหํ ทสฺเสตุํ เพื่อจะแสดงปวัตติสังคหะ ให้บริบูรณ์ ฯ ปวตฺติ ความเป็นไป วิสยานํ แห่งอารมณ์ทั้งหลาย จิตฺตานํ คือ แห่งจิตทั้งหลาย ทฺวาเรสุ วิสเยสุ จ ในทวารทั้งหลาย และในอารมณ์ทั้งหลาย วิสยปฺปวตฺติ ชื่อว่าวิสยัปปวัตติ ฯ ตตฺถา อิติ ปทํ บทว่า ตตฺถ เตสุ ฉสุ ฉกฺเกสุ ได้แก่ บรรดาหมวด ๖ หกหมวดเหล่านั้น ฯ อายสฺมา อนุรุทฺธาจริโย
144 ปริเฉทที่ ๔ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ทสฺเสตุํ หวังจะแสดง วีถีน นามโยชนา กาตพฺพา อิติ ว่าบัณฑิตพึงท�ำการประกอบชื่อวิถีจิตทั้งหลาย จกฺขุทฺวาเร ปวตฺตา วีถิจิตฺตปรมฺปรา จกฺขุทฺวารวีถีติอาทินา ทฺวารวเสน วา ด้วยอ�ำนาจทวาร โดยนัยว่า วิถีคือ ความสืบต่อกันแห่งจิตที่เป็นไปในจักขุทวาร ชื่อว่าจักขุทวารวิถี ดังนี้เป็นต้น หรือ จกฺขุวิฺ าณสมฺพนฺธินีวีถิเตน สห เอกาลมฺพนเอกทฺวาริกตาย สหจรณภาวโต จกฺขุวิฺ าณวีถีติอาทินา วิฺ าณวเสน วา ด้วยอ�ำนาจวิญญาณจิตโดยนัยว่า วิถีซึ่งมีความเกี่ยวเนื่องกับจักขุวิญญาณจิต ชื่อว่าจักขุวิญญาณวิถี เพราะมี ความเที่ยวไปร่วมกัน โดยมีอารมณ์อย่างเดียวกัน ทั้งเกิดขึ้นในทวารเดียวกันกับ จักขุวิญญาณจิตนั้น ดังนี้เป็นต้น จกฺขุทวาร วีถีติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวว่า จกฺขุทฺวารวีถิ ดังนี้เป็นต้น ฯ อติมหนฺตนฺติอาทีสุ บัณฑิตพึงทราบวินิจฉัยในค�ำว่า อติมหนฺตํ เป็นต้น ดังต่อไปนี้ ฯ เอกจิตฺตกฺขณาตีตํ หุตฺวา อารมณ์ที่ล่วงไปแล้ว ๑ อาปาถํ อาคตํ โสฬสจิตฺตกฺขณายุกํ ขณะจิตมาปรากฏ มีอายุ ๑๖ ขณะจิต อติมหนฺตํ นาม ชื่อว่าอติมหันตารมณ์ ฯ ทฺวิตฺติจิตฺตกฺขณาตีตํ อารมณ์ที่ล่วงไปแล้ว ๒ หรือ ๓ ขณะจิต ปณฺณรสจุทฺทสจิตฺตกฺขณายุกํ มาปรากฏมีอายุ ๑๕ หรือ ๑๔ ขณะจิต มหนฺตํ นาม ชื่อว่ามหันตารมณ์ ฯ จตุจิตฺตกฺขณโต ปฏฺาย ยาวนวจิตฺตกฺขณาตีตํ หุตฺวา อารมณ์ที่ล่วงไปแล้วตั้งแต่ ๔ ขณะจิต จนถึง ๙ ขณะจิต เตรสจิตฺตกฺขณโต ปฏฺาย ยาวอฏฺจิตฺตกฺขณายุกํ มาปรากฏมีอายุตั้งแต่ ๑๓ ขณะจิต จนถึง ๘ ขณะจิต ปริตฺตํ นาม ชื่อว่าปริตตารมณ์ ฯ ทส จิตฺตกฺขณโต ปฏฺาย ยาวปณฺณรสจิตฺตกฺขณาตีตํ อารมณ์ที่ล่วงไปแล้วตั้งแต่ ๑๐ ขณะจิต จนถึง ๑๕ ขณะจิต สตฺตจิตฺตกฺขณโต ปฏฺาย ยาวทฺวิจิตฺตกฺขณายุกํ มาปรากฏมีอายุ ตั้งแต่ ๗ ขณะจิต จนถึง ๒ ขณะจิต อติปริตฺตํ นาม ชื่อว่าอติปริตตารมณ์ ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังว่ามานี้ อนุรุทฺธาจริโย วกฺขติ ท่าน พระอนุรุทธาจารย์จักกล่าวว่า เอกจิตฺตกฺขณาตีตานีติอาทิ ล่วงไปแล้วขณะจิตเดียว ดังนี้เป็นต้น ฯ ปากฏํ อารมณ์ที่ปรากฏชัด วิภูตํ ชื่อว่าวิภูตารมณ์ อปากฏ อารมณ์ ํ ที่ปรากฏไม่ชัด อวิภูตํ ชื่อว่าอวิภูตารมณ์ ฯ
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 145 กถํ อิติปทํ บทว่า กถํ เกน ปกาเรน ได้แก่ โดยประการไร ฯ อนุรุทฺธาจริโย อติมหนฺตาทิวเสน วิสยววตฺถานํ อิติ ปุจฺฉิตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ถามว่า การก�ำหนดอารมณ์ด้วยอ�ำนาจอารมณ์มีอติมหันตารมณ์เป็นต้น จะมีได้อย่างไร ดังนี้เป็นต้น จิตฺตกฺขณวเสน ตํ ปกาเสตุํ เพื่อจะประกาศการก�ำหนดอารมณ์นั้น ด้วยอ�ำนาจขณะจิต อุปฺปาทิตีติอาทิมารทฺธ จึงเริ่มค� ํำว่า อุปฺปาทิติ ดังนี้เป็นต้น ฯ อุปฺปชฺชนมุปฺปาโท ความเกิดขึ้น ชื่อว่าอุปปาทขณะ อตฺตปฏิลาโภ ได้แก่ การได้ อัตภาพ ฯ ภฺ ชนํ ความสลาย ภงฺโค ชื่อว่าภังคะ สรูปวินาโส คือความพินาศไป แห่งสภาวะ ฯ อุภินฺนํ เวมชฺเฌ ภงฺคาภิมุขปฺปวตฺติ ความเป็นไปที่มุ่งถึงภังคขณะ ในท่ามกลางแห่งอุปปาทขณะ และภังคขณะทั้ง ๒ ิติ นาม ชื่อว่าฐิติขณะ ฯ ปน ก็ เกจิ อาจารย์บางพวก ปฏิเสเธนฺติ ปฏิเสธ (คัดค้าน) จิตฺตสฺส ิติกฺขณํ ฐิติขณะแห่งจิต ฯ หิ ความจริง เนสํ อธิปฺปาโย อาจารย์บางพวกเหล่านั้น มีอธิบายความ อยํ ดังต่อไปนี้ ฯ จิตฺตยมเก อุปฺปนฺนํ อุปฺปชฺชมานนฺติเอว มาทิปทานํ วิภงฺเค ในวิภังค์แห่งบทเป็นต้นอย่างนี้ว่า จิตเกิดขึ้นแล้ว ชื่อว่า เกิดขึ้นอยู่หรือ ดังนี้ ในจิตตยมกปกรณ์ ภงฺคุปฺปาทาว กถิตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสเฉพาะภังคขณะ และอุปปาทขณะแห่งจิตเท่านั้น ภงฺคกฺขเณ อุปฺปนฺนํ โน จ อุปฺปชฺชมานํ อุปฺปาทกฺขเณ อุปฺปชฺชมานํ โน จ อุปปนฺนนฺ อิติ อาทินา โดยพระพุทธพจนน์ว่า ในภังคขณะ จิตเกิดขึ้นแล้ว และไม่ใช่เกิดขึ้นอยู่ ในอุปปาทขณะ จิตเกิดขึ้นอยู่ และไม่ใช่เกิดขึ้นแล้ว ดังนี้เป็นต้น ฯ น ิติกฺขโณ กถิโต มิได้ตรัส ฐิติขณะแห่งจิตไว้ ฯ ยทิ จ ก็ถ้า จิตฺตสฺส ิติกฺขโณปิ แม้ฐิติขณะแห่งจิตมี อตฺถิ อยู่ไซร้ วตฺตพฺพํ สิยา พระผู้มีพระภาคเจ้าพึงต้องตรัสว่า ิติกฺขเณ ภงฺคกฺขเณ จ ในฐิติขณะ และในภังคขณะ อิติ ดังนี้ ฯ อถ กสฺสจิมตํ สิยา ถ้าใคร ๆ พึงมีความเห็น ิติกฺขโณ อตฺถี ฐิติขณะแห่งจิตมีอยู่ อิติ ว่า สุตฺตนฺตปาโต โดยพระบาลีพระสูตรว่า อุปฺปาโท ปฺ ายติ ความเกิดขึ้น ย่อมปรากฏ วโย จ ปฺ ายติ ความดับ (ภังคขณะ) ไปย่อมปรากฏ ิตสฺส อฺ ถตฺตํ ปฺ ายติจ และภาวะแห่งธรรม (อสังขตธรรม) ที่ด�ำรงอยู่แปรเป็น
146 ปริเฉทที่ ๔ อย่างอื่นย่อมปรากฏ อิติ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตตฺถาปิ แม้ในพระบาลีพระสูตรนั้น ปพนฺธฏฺิติเยว อธิปฺเปตา พระผู้มีพระภาคเจ้า ก็ประสงค์ถึงเฉพาะความด�ำรงอยู่ โดยความสืบเนื่องกันเท่านั้น เอกสฺมึ ธมฺเม อฺ ถตฺตสฺส อนุปฺปชฺชนโต ปฺ าณวจนโต จ เพราะภาวะแห่งธรรม (อสังขตธรรมที่แปรเป็นอย่างอื่น) ไม่เกิดขึ้นในธรรมอย่างเดียวกันและเพราะตรัสว่า ปรากฏ น จ ขณฏฺิติ อธิปฺเปตา แต่หาประสงค์ถึงฐิติขณะแห่งจิตไว้ไม่ ฯ จ อนึ่ง อภิธมฺเม ลพฺภมานสฺส อวจเน การณํ เหตุ ในการไม่ตรัสถึงธรรมที่จะหาได้อยู่ในพระอภิธรรม น อตฺถิ ก็ไม่มี ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ยถาธมฺมสาสเน อวจนมฺปิ แม้การไม่ตรัสถึงธรรมที่จะหาได้อยู่ ในพระอภิธรรม อภาวํ ทีเปติก็แสดงว่าไม่มีนั่นเอง ฯ ตตฺถ วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะ กล่าวเฉลย ในอธิบายความของอาจารย์บางพวกนั้น ดังต่อไปนี้ ฯ หิ ความจริง เอกธมฺมาธารภาเวปิ อุปฺปาทภงฺคาน เปรียบเหมือน แม้เมื่ออุปปาทขณะและ ภังคขณะแห่งจิตจะมีธรรมอย่างเดียวกันเป็นเครื่องรองรับ อฺ โ อุปฺปาทกฺขโณ อุปปาทขณะก็เป็นอย่างหนึ่ง อฺ โ ภงฺคกฺขโณ ภังคขณะก็เป็นอีกอย่างอื่น อิติ เพราะเหตุนั้น ภงฺคาวตฺถา อิจฺฉิตา บัณฑิตจึงปรารถนาการก�ำหนดภังคขณะ อุปฺปาทาวตฺถาย ภินฺนา ที่ต่างจากการก�ำหนดอุปปาทขณะ และภังคขณะทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ หิ ความจริง อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความไปนอกจากนี้ อฺ โเยว ธมฺโม อุปฺปชฺชติ อฺ โ นิรุชฺฌติ อาปชฺเชยฺย ก็จะต้องพูดว่า ธรรมอย่างหนึ่งนั่นแหละ เกิดขึ้น ธรรมอีกอย่างหนึ่ง ดับลง อิติ ดังนี้ ยถา ฉันใด ภงฺคาภิมุขาวตฺถาปิ อิจฺฉิตพฺพา บัณฑิตพึงปรารถนา แม้การก�ำหนดที่เพ่งถึง ภังคขณะ อุปฺปาทภงฺคาวตฺถาหิ ภินฺนา ที่ต่างจากการก�ำหนดอุปปาทขณะ และภังคะขณะทั้งหลาย เอวเมว ฉันนั้น เหมือนกัน ฯ สา ภงฺคาภิมุขาวตฺถา การก�ำหนดที่เพ่งถึงภังคขณะนั้น ิติ นาม ชื่อว่าฐิติขณะแห่งจิต ฯ ปน ก็ สา ิติ ฐิติขณะนั้น น วุตฺตา พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ตรัสไว้ ปาลิยํ ในพระบาลี วิเนยฺยชฺฌาสยานุโรธโต นยทสฺสนวเสน ด้วยอ�ำนาจแสดงเป็นนัยไว้ โดยคล้อย ตามอัธยาศัยแห่งเวไนยสัตว์ ฯ
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 147 หิ ความจริง อภิธมฺมเทสนาปิ แม้เทศนาในอภิธรรม กทาจิ บางคราว วิเนยฺยชฺฌาสยานุโรเธน ปวตฺตติ ก็เป็นไปโดยคล้อยตามอัธยาศัยของเวไนยสัตว์ ฯ ยถา รูปสฺส อุปฺปาโท อุปจโย สนฺตตีติ ทฺวิธา ภินฺทิตฺวา เทสิโต เหมือนทรง แสดงความเกิดขึ้นแห่งรูปธรรม แยกออกเป็น ๒ อย่างว่า อุปจยะ (๑) สันตติ (๑) ดังนี้ฉะนั้น ฯ จ ก็ สุตฺเต ตีณีมานิ ภิกฺขเว สงฺขตสฺส สงฺขตลกฺขณานิ กตมานิ ตีณิอุปฺปาโท ปฺ ายติวโย ปฺ ายติิตสฺส อฺ ถตฺตํ ปฺ ายตีติเอวํ สงฺขตธมฺมสฺเสว ลกฺขณทสฺสนตฺถ อุปฺปาทาทีน วุตฺตตฺตา เพราะในพระสูตร พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสขณะ ๓ มีอุปปาทขณะเป็นต้นไว้ เพื่อทรงแสดงลักษณะ เฉพาะสังขตธรรมเท่านั้น อย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สังขตลักษณะแห่ง สังขตธรรม ๓ ประการเหล่านี้ ๓ ประการอะไรบ้าง คือ ความเกิดขึ้นย่อมปรากฏ ความดับไปย่อมปรากฏ ภาวะแห่งธรรม (อสังขตธรรม) ที่ด�ำรงอยู่แปรเป็น อย่างอื่นย่อมปรากฏ ดังนี้เป็นต้น น สกฺกา ใคร ๆ จึงไม่สามารถ ปพนฺธสฺส ปฺ ตฺติสภาวสฺส อสงฺขตสฺส ิติ ตตฺถ วุตฺตาติ วิฺ าตุํ จะรู้แจ้งได้ว่า ฐิติขณะแห่งอสังขตธรรมที่มีความสืบเนื่องกัน ซึ่งมีสภาวะเป็นบัญญัติธรรม พระผู้มีพระภาคตรัสไว้แล้วในพระสูตรนั้น ฯ อุปสคฺคสฺส จ ธาตฺวตฺเถเยว ปวตฺตนโต ก็ เพราะอุปสัคใช้ในความหมายแห่งธาตุนั่นเอง ปฺ ายตีติเอตสฺส บทว่า ปญฺายติ นี้ วิฺ ายติ อิติ อตฺโถ จึงมีความหมายว่า วิฺ ายติ (อันบุคคลย่อมรู้แจ้ง) ดังนี้ ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น เอตฺตาวตา ด้วยค�ำอธิบาย เพียงเท่านั้น จิตฺตสฺส ิติกฺขโณ ฐิติขณะแห่งจิต น ปฏิพาหิตุํ ยุตฺโต จึงไม่ควร ถูกคัดค้าน อิติ เพราะเหตุนั้น อุปฺปาทิติภงฺควเสน อิติ เอตํ วจนํ ค�ำนี้ว่า อุปฺปาทฐิติภงฺควเสน (ด้วยอ�ำนาจอุปปาทขณะ ฐิติขณะ และภังคขณะ) ดังนี้ สุวุตฺตํ อันท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ถูกต้องแล้ว ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็ เพราะ อธิบายความดังกล่าวมานี้ วุตฺต อฏฺกถายมฺปิ พระอรรถกถาจารย์จึงกล่าวไว้ แม้ในอรรถกถา เอเกกสฺส จิตฺตสฺส อุปฺปาทิติภงฺควเสน ตโย ตโย ขณา อิติ ว่าจิตแต่ละดวง มีดวงละ ๓ ขณะ คือ อุปปาทขณะ ฐิติขณะ และภังคขณะ ฯ
148 ปริเฉทที่ ๔ อนุรุทฺธาจริโย ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อรูป ลหุปริณามํ รูป ครุปริณามํ คาหกคเหตพฺพภาวสฺส ตํตํขณวเสน นิปฺปชฺชนโต อิติมนสิกริตฺวา ค�ำนึงถึงว่า นามธรรมเปลี่ยนแปรเร็ว รูปธรรมเปลี่ยนแปรช้า เพราะนามธรรมเป็นสภาวะรับรู้ รูปธรรม และรูปธรรมเป็นสภาวะอันนามธรรมพึงรับรู้ ส�ำเร็จได้ด้วยอ�ำนาจขณะ (มีอุปปาทขณะเป็นต้นที่เปลี่ยนแปรเร็ว และเปลี่ยนแปรช้า) นั้น ๆ ดังนี้ ตานีติอาทิ อาห จึงกล่าวค�ำว่า ตานิ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตานิ อิติ ปทํ บทว่า ตานิ ตาทิสานิ ได้แก่ เช่นนั้น ฯ สตฺตรสนฺน จิตฺตาน ขณานิ วิย ขณานิ ขณะทั้งหลาย ดุจขณะทั้งหลาย แห่งจิต ๑๗ ดวง สตฺตรสจิตฺตกฺขณานิ ชื่อว่า ขณะดุจขณะจิต ๑๗ ดวงทั้งหลาย ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง ตานิ จิตฺตกฺขณานิ สตฺตรส อิติ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ขณะดุจขณะจิตทั้งหลายเหล่านั้นมี ๑๗ ขณะ ฯ ปน ก็ ตานิ สตฺตรส จิตฺตกฺขณานิ ขณะดุจขณะจิต ๑๗ ดวง เหล่านั้น วิสุํ วิสุํ เอกปฺ าส จิตฺตกฺขณานิโหนฺติแยกออกเป็น ๕๑ ขณะจิต ฯ รูปธมฺมานํ อิติ ปทํ บทว่า รูปธมฺมานํ วิฺ ตฺติลกฺขณตฺตยรูปวชฺชิตานํ รูปธมฺมานํ อิติอตฺโถ ความว่า แห่งรูปธรรมทั้งหลาย (๒๓ ประการ) เว้นวิญญัติรูป (๒ ประการ) และลักขณะรูป ๓ ประการ ฯ หิความจริง วิฺ ตฺติทฺวยํ วิญญัติรูป ๒ ประการ เอเกกจิตฺตกฺขณายุกํ มีอายุอย่างละ ๑ ขณะจิต ฯ ตถาหิ จริง อย่างนั้น ตํ วิฺ ตฺติทฺวยํ วิญญัติรูป ๒ ประการนั้น จิตฺตานุปริวตฺติธมฺเมสุวุตฺตํ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในหมวดธรรมที่เปลี่ยนไปตามจิต ฯ จ ก็ ลกฺขณรูเปสุ บรรดาลักขณะรูป (๓ ประการ) ชาติเจว อนิจฺจตา จ จิตฺตสฺส อุปฺปาทภงฺคกฺขเณหิ สมานายุกา ชาติรูป มีอายุเท่ากับอุปปาทขณะแห่งจิต และอนิจจตารูปมีอายุเท่ากับ ภังคขณะแห่งจิต ฯ ปน ส่วน ชรตา ชรตารูป เอกูนปฺ าสจิตฺตกฺขณายุกา มีอายุเท่ากับ ๔๙ ขณะจิต ฯ เอวฺ จ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวมานี้ ตํ สตฺตรสจิตฺตายุ วินา วิฺ ตฺติลกฺขณํ อิติวทนฺติ
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 149 ท่านอาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวไว้ว่า เว้นวิญญัตติรูป (๒ ประการ) และลักขณะรูป (๓ ประการ) เสีย รูปธรรมที่เหลือ ๒๓ ประการนั้น (แต่ละประการ) มีอายุเท่ากับ จิต ๑๗ ดวง ดังนี้ ฯ ปน ส่วน เกจิ อาจารย์บางพวก วทนฺติ กล่าวว่า ปฏิจฺจ สมุปฺปาทฏฺกถายํ เอตฺตาวตา เอกาทส จิตฺตกฺขณา อตีตา โหนฺติอถาวเสสปฺ จจิตฺตกฺขณายุเก อิติ วจนโต เพราะในอรรถกถาปฏิจจสมุปบาท กล่าวไว้ว่า ด้วยถ้อยค�ำมีประมาณ เท่านี้ ขณะจิต ๑๑ ขณะ ย่อมล่วงเลยไปแล้ว ต่อจากนั้น ปฏิสนธิจิตย่อมเกิดขึ้น ในอารมณ์ที่มีอายุเหลืออยู่ ๕ ขณะจิต ดังนี้ โสฬส จิตฺตกฺขณานิ รูปธมฺมานมายู อุปฺปชฺชมานเมว หิรูป ภวงฺคจลนสฺส ปจฺจโย โหติ อิติขณะจิต ๑๖ ขณะ ย่อมเป็นอายุแห่งรูปธรรมทั้งหลาย ความจริงรูปธรรมเฉพาะที่ก�ำลังเกิดขึ้นนั่นแหละ ย่อมเป็นปัจจัยแก่ภวังคจลนจิตได้ ดังนี้ ฯ ตํ อิทํ ถ้อยค�ำของอาจารย์บางพวกนี้ นั้น อสารํ ไม่มีสาระ ปฏิสนฺธิจิตฺเตน สหุปฺปนฺนํ รูปํ ตโต ปฏฺาย สตฺตรสเมน สทฺธึนิรุชฺฌติปฏิสนฺธิจิตฺตสฺส ิติกฺขเณ อุปฺปนฺนํ อฏฺารสมสฺส อุปฺปาทกฺขเณ นิรุชฺฌติอิติอาทินา อฏฺกถายเมว สตฺตรสจิตฺตกฺขณสฺส อาคตตฺตา เพราะ ขณะจิต ๑๗ ดวง มาแล้วในอรรถกถานั่นเอง โดยนัยเป็นต้นว่ารูปธรรมที่เกิดขึ้น พร้อมกับปฏิสนธิจิต ต่อจากนั้น ก็ดับลงพร้อมกับจิตดวงที่ ๑๗ รูปธรรมที่เกิดขึ้น ในฐิติขณะแห่งปฏิสนธิจิต ก็ดับลงในอุปปาทขณะแห่งจิตที่ ๑๘ ดังนี้ ฯ ปน ส่วน ยตฺถ ในที่ใด โสฬสจิตฺตกฺขณาเนว ปฺ ายนฺติย่อมปรากฏเฉพาะขณะจิต ๑๖ ดวงที่นั้น ตตฺถ ในที่นั้น จิตฺตปฺปวตฺติยา ปจฺจยภาวโยคฺยกฺขณ วเสน นโย นีโต บัณฑิตแนะน�ำนัยไว้ ด้วยอ�ำนาจขณะจิตที่เหมาะ เพื่อความเป็นปัจจัยแก่ ความเป็นไปแห่งจิต ฯ หิความจริง เหฏฺิมโกฏิยา โดยการก�ำหนดอย่างต�่ำสุด เอกจิตฺตกฺขณมฺปิ อติกฺกมนฺตสฺสาปิ รูปสฺส รูปธรรมแม้ที่ล่วงเลยไปเพียง ขณะจิตดวงหนึ่ง อาปาถคมนสามตฺถิยํ อิติก็ยังมีความสามารถมาปรากฏได้แล ฯ อลํ อติวิวาเทน พอทีด้วยการกล่าวโต้แย้งมากเกินไป ฯ
150 ปริเฉทที่ ๔ เอกจิตฺตสฺส วิย ขณํ ขณะดุจขณะจิตดวงหนึ่ง เอกจิตฺตกฺขณํ ชื่อว่า ขณะดุจขณะจิตดวงหนึ่ง ฯ ตํ ขณะดุจขณะ จิตดวงหนึ่งนั้น เอเตสํ แห่งอารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้นเหล่านี้ อตีตํ ล่วงไปแล้ว เอตานิ วา ตํ อตีตานิ หรือว่า อารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้นเหล่านี้ ล่วงเลยขณะดุจขณะจิตดวงหนึ่งนั้นไปแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น เอกจิตฺตกฺขณาตีตานิ อารมณ์ ๕ มีรูปารมณ์เป็นต้น ชื่อว่า มีขณะดุจขณะจิตดวงหนึ่งล่วงไปแล้ว หรือว่าล่วงเลยขณะ ดุจขณะจิตดวงหนึ่ง ไปแล้ว ฯ อาปาถมาคจฺฉนฺตํ อิติ ปพฺพสฺส ข้อว่า อาปาถมาคจฺฉนฺติ รูปสทฺทาลมฺพนานิ สกสกฏฺาเน ตฺวาว โคจรภาวํ คจฺฉนฺตีติ อาโภคานุรูป อเนกกลาปคตานิ อาปาถํ อาคจฺฉนฺติ อิติ อตฺโถ ความว่า รูปารมณ์และ สัททารมณ์อยู่ในที่ของตน ๆ นั่นแหละ ย่อมถึงความเป็นอารมณ์ได้ เพราะเหตุนั้น รูปารมณ์และสัททารมณ์เหล่านั้น ซึ่งอยู่ในกลาปเอนกประการ ย่อมปรากฏได้ ตามสมควรแก่ความใส่ใจ ฯ ปน ส่วน เสสานิ คันธารมณ์ รสารมณ์ และ โผฏฐัพพารมณ์ที่เหลือ ฆานาทินิสฺสเยสุ อลีนาเนว เฉพาะที่กระทบกายปสาทรูป อันเป็นที่อาศัยอยู่แห่งฆานปสาทรูปเป็นต้นเท่านั้น วิฺ าณุปฺปตฺติการณานิ จึงเป็นเหตุเกิดขึ้นแห่งวิญญาณจิตได้ อิติ เพราะเหตุนั้น เอเกกกลาปคตานิปิ อาปาถํ อาคจฺฉนฺติ คันธารมณ์เป็นต้นเหล่านั้นแม้จะอยู่ในกลาปแต่ละอย่าง ก็ย่อมปรากฏได้ ฯ หิความจริง เอเกกกลาปคตาปิปสาทา ปสาทรูปทั้งหลาย แม้ที่อยู่ในกลาปแต่ละอย่าง วิฺ าณสฺส อาธารภาวํ คจฺฉนฺติ ย่อมถึงภาวะ เป็นเครื่องรองรับวิญญาณจิตได้ ฯ ปน ก็ เต ปสาทรูปเหล่านั้น ภวงฺคจลนสฺส อนนฺตรปจฺจยภูเตน ภวงฺเคน สทฺธึอุปฺปนฺนา เกิดขึ้นพร้อมกับภวังคจิต ซึ่งเป็น อนันตรปัจจัยแก่ภวังคจลนจิต ฯ อาวชฺชเนน สทฺธึ อุปฺปนฺนา อิติ อปเร วทนฺติ อาจารย์อีก พวกหนึ่งกล่าวว่า เกิดขึ้นพร้อมกับอาวัชชนจิต ฯ ทฺวิกฺขตฺตุํ ภวงฺเค จลิเต อิติ ปพฺพสฺส ข้อว่า ทฺวิกฺขตฺตุํ ภวงฺเค จลิเต (เมื่อภวังคจิตไหวแล้ว ๒ ครั้ง) วิสทิสวิฺ าณุปฺปตฺติเหตุภาวสงฺขาตจลนภาเวน ปุริมคหิตารมฺมณสฺมึเยว ทฺวิกฺขตฺตุํ ภวงฺเค ปวตฺเต อิติ อตฺโถ ความว่า เมื่อภวังคจิตเป็นไป ๒ ครั้ง
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 151 ในอารมณ์ที่จิตดวงก่อนรับไว้แล้วนั่นแหละ โดยภาวะที่ไหว กล่าวคือภาวะที่เป็น เหตุเกิดขึ้นแห่งวิญญาณจิตที่ไม่เหมือนกัน (มีอาวัชชนจิตเป็นต้น) ฯ หิความจริง ปฺ จสุ ปสาเทสุ โยคฺย เทสาวตฺถานวเสน อารมฺมเณ ฆฏิเต เมื่ออารมณ์ กระทบปสาทรูปทั้ง ๕ ด้วย อ�ำนาจก�ำหนดส่วนที่เหมาะสมกัน ภวงฺคสนฺตติ ภวังคสันตติ ปสาทฆฏนานุภาเวน โวจฺฉิชฺชมานา เมื่อจะขาดลงด้วยอานุภาพ อารมณ์ที่กระทบที่ประสาท สหสา อโนจฺฉิชฺชิตฺวา มิได้ขาด เอว ลงทันที ติ ทฺวิกฺขตฺตุํ อุปฺปชฺชิตฺวา โวจฺฉิชฺชติ ยถา เวเคน ธาวนฺโต าตุกาโมปิ ปุริโส เอกทฺวิปทวาเร อติกฺกมิตฺวาว ติฏฺติ เอวํ ทฺวิกฺขตฺตุํ อุปฺปชฺชิตฺวา โวจฺฉิชฺชติย่อมเกิดขึ้น ๒ ครั้งแล้ว จึงขาดลง เปรียบเหมือน คนที่วิ่งไปโดยเร็ว แม้ต้องการจะหยุด ก็ (ต้อง) เลยไปก้าวหนึ่ง หรือสองก้าวแล้วนั่นแหละ จึงจะหยุดได้ ฉะนั้น ฯ ตตฺถ ปมจิตฺตํ บรรดาภวังคจิต ๒ ดวงนั้น จิตดวงที่ ๑ ภวงฺคสนฺตตึ จาเลนฺตํ วิย อุปฺปชฺชติย่อมเกิดขึ้น คล้ายจะให้ภวังคสันตติไหว อิติ เพราะเหตุนั้น ภวงฺคจลนํ ทุติยํ ตสฺสา อุปฺปจฺฉิชฺชนากาเรน อุปฺปชฺชนโต ภวงฺคุปจฺเฉโทติ โวหรนฺติจิตดวงที่ ๑ นั้น อาจารย์ทั้งหลายจึงเรียกว่า ภวังคจลนะ จิตดวงที่สอง เรียกว่า ภวังคุปัจเฉทะ เพราะเกิดขึ้นโดยอาการที่ตัดภวังคสันตินั้นให้ขาดลง ฯ ปน แต่ อิธ ในอภิธัมมัตถสังคห ปกรณ์นี้ อวิเสเสน วุตฺต ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ํ กล่าวถึงจิตทั้ง ๒ ดวงนั้น โดยไม่ต่างกันว่า ทฺวิกฺขตฺตุํ ภวงฺเค จลิเต อิติเมื่อ ภวังคจิตไหวแล้ว ๒ ครั้ง ดังนี้ ฯ นนุ จ รูปาทินา ปสาเท ฆฏิเต ตํนิสฺสิตสฺเสว จลนํ ยุตฺตํ กถํ ปน หทยวตฺถุนิสฺสิตสฺส ภวงฺคสฺส อิติ โจทนา ถามว่า ก็เมื่ออารมณ์มีรูปารมณ์ เป็นต้น กระทบปสาทแล้ว วิญญาณจิตที่อาศัยประสาทนั้นเท่านั้นไหว ถูกต้องแล้ว ไม่ใช่หรือ ส่วนภวังคจิตที่อาศัยหทัยวัตถุไหว จะถูกต้องอย่างไร ฯ สนฺตติวเสน เอกาพทฺธตฺตา อิติ วิสชฺชนา ตอบว่า ถูกต้องแล้ว เพราะเนื่องถึงเป็นอันเดียวกัน ด้วยอ�ำนาจสันตติ ฯ หิ เปรียบเสมือน เภริยา เอกสฺมึ ตเล ิตสกฺขราย มกฺขิกาย นิสินฺนาย เมื่อแมลงวันเกาะอยู่ที่ก้อนน�้ำตาลกรวด ซึ่งอยู่ที่พื้นกลอง
152 ปริเฉทที่ ๔ ด้านหนึ่ง อิตรสฺมึตเล ทณฺฑาทินา ปหเต เมื่อบุคคลใช้ท่อนไม้เป็นต้นตีพื้นกลอง อีกด้านหนึ่ง อนุกฺกเมน เภริจมฺมวรตฺตาทีนํ จลเนน สกฺขราย จลิตาย เมื่อก้อน น�้ำตาลกรวดสะเทือนไหวไปตามความสั่นสะเทือนแห่งหนังกลองและเชือกเป็นต้น ตามล�ำดับ มกฺขิกาย อุปฺปติตฺวา คมนํ โหติ แมลงวันย่อมบินไป ยถา ฉันใด รูปาทินา ปสาเท ฆฏิเต เมื่ออารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้นกระทบประสาทแล้ว ตนฺนิสฺสเยสุ มหาภูเตสุ จลิเตสุ เมื่อมหาภูตรูปอันเป็นที่อาศัยแห่งประสาทนั้น ไหวแล้ว อนุกฺกเมน ตํสมฺพนฺธานํ เสสรูปานมฺปิจลเนน หทยวตฺถุมฺหิจลิเต เมื่อหทัยวัตถุไหวไปตามความไหวแม้แห่งรูปที่เหลือซึ่งเกี่ยวเนื่องกับมหาภูตรูปนั้น ตามล�ำดับ ตนฺนิสฺสิตสฺส ภวงฺคสฺส จลนากาเรน ปวตฺติโหติภวังคจิตที่อาศัย หทัยวัตถุนั้นย่อมมีความเป็นไป โดยอาการที่ไหว เอวเมว ฉันนั้นเหมือนกัน ฯ วุตฺตฺ จ สมจริงดังค�ำที่ท่านอาจารย์ธรรมปาละว่ากล่าวไว้ในปกรณ์สัจจสังเขปว่า ฆฏิเต อฺ วตฺถุมฺหิ เมื่ออารมณ์มีรูปารมณ์เป็นต้นกระทบวัตถุอย่างหนึ่ง (มีจักขุวัตถุเป็นต้น) อฺ นิสฺสิตกมฺปนํ เอกาพทฺเธน โหติความไหวแห่งภวังคจิต ที่อาศัยวัตถุอีกอย่างหนึ่ง (คือ หทัยวัตถุ) ย่อมมีได้ เพราะเนื่องถึง เป็นอันเดียวกัน อิติวจนํ สกฺขโรปมยา วเท ถ้อยค�ำดังนี้ บัณฑิตพึงกล่าวโดยข้ออุปมา คือ ก้อน น�้ำตาลกรวด อิติ ดังนี้ ฯ ภวงฺคโสตนฺติ บทว่า ภวงฺคโสตํ ภวงฺคปฺปวาหํ ได้แก่ กระแสภวังคจิต ฯ อาวชฺเชนฺตนฺติ บทว่า อาวชฺเชนฺตํ กุรุมานํ ได้แก่ กระท�ำ อาโภคํ ความร�ำพึงอยู่ วทนฺตํ วิย คล้ายจะพูดว่า กินฺนาม เอตํ นี่อะไรกัน ฯ ปสฺสนฺตนฺติ บทว่า ปสฺสนตํ เปกฺขนฺตํ ได้แก่ เห็นอยู่ ปจฺจกฺขโต โดยประจักษ์ ฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า จ ก็ วจนโต เพราะพระบาลีว่า จกฺขุนา รูปํ ทิสฺวา (เห็นรูปด้วยจักษุ) ดังนี้ จกฺขุนฺทฺริยเมว จักขุนทรีย์เท่านั้น สาเธติ ย่อมให้ส�ำเร็จ ทสฺสนกิจฺจํ หน้าที่เห็น (รูป) ได้ น วิฺ าณํ ไม่ใช่ วิญญาณจิต นนุ ไม่ใช่หรือ ฯ (วิสชฺชนา) ตอบว่า อิทํ เอวํ (วุตฺตวจนํ) ค�ำที่ท่านกล่าวแล้วนี้ น หาเป็นเช่นนั้นไม่ รูปสฺส อนฺธภาเวน รูปทสฺสเน อสมตฺถภาวโต เพราะรูปไม่มีความสามารถในการเห็นรูป
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 153 ได้ เพราะเป็นอายตนะมืด จ ก็ ยทิ ถ้า ตํ จกฺขุนฺทฺริยเมว จักขุนทรีย์นั้น ปสฺสติ เห็น รูปํ รูปได้ไซร้ ตถา สติ เมื่อเป็นได้อย่างนั้น อฺ วิฺ าณสมงฺคิโนปิ จักขุนทรีย์ที่พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณจิตอื่น (มีโสตวิญญาณจิตเป็นต้น) รูปทสฺสนปฺปสงฺโค สิยา จะพึงเกี่ยวข้องในการเห็นรูปได้ด้วย ฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า ยทิเอวํ ถ้าเมื่อเป็นเช่นนั้น วิญฺาณํ วิญญาณจิต ตํ ทสฺสนกิจฺจํ สาเธติ ย่อมท�ำ ทัสสนกิจนั้นให้ส�ำเร็จได้ วิญฺาณสฺส อปฺปฏิพทฺธตฺตา อนฺตริตรูปสฺสาปิ ทสฺสนํ สิยา วิญญาณจิตก็จะพึงเห็นรูปแม้ที่อยู่ภายใน เพราะไม่มีอะไรขัดขวาง ฯ (วิสชฺชนา) ตอบว่า โหติอนฺตริตสฺสาปิทสฺสนํ ยสฺส ผลิกาทิติโรหิตสฺส อาโลก ปฏิพทฺโธ นตฺถิแม้รูปที่อยู่ข้างในซึ่งมีแก้วผลึกเป็นต้นครอบอยู่ภายนอก ไม่มีการ เนื่องด้วยแสงสว่างเลย วิญญาณจิตก็ยังเห็นได้ ฯ ยสฺส ปน กุฑฺฑาทิอนฺตริตสฺส อาโลกปฏิพทฺโธ อตฺถิตตฺถ ตปฺปจฺจยาภาวโต วิญฺาณํ นุปฺปชฺชตีติน ตสฺส จกฺขุวิญฺาเณน คหณํ โหติ แต่ในรูปที่อยู่ภายในฝาเรือนเป็นต้น มีการเนื่องด้วย แสงสว่าง วิญญาณจิตก็เกิดขึ้นไม่ได้ เพราะไม่มีปัจจัยคือแสงสว่างนั้น เพราะเหตุนั้น จักขุวิญญาณจิต จึงรับรู้รูปนั้นไม่ได้ ฯ ปน แต่ ในพระบาลีว่า จกฺขุนา เอตฺถ นี้ อธิปฺปาโย มีอธิบายว่า ทฺวาเรน ด้วยทวาร เตน นั้น การณภูเตน อันเป็นเหตุ ฯ อถวา อีกอย่างหนึ่ง (อธิปฺปาโย อธิบายว่า) (ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า) วุตฺตา ตรัส นิสฺสิตกิริยา กิริยาแห่งวิญญาณจิตซึ่งเป็นตัวอาศัยว่า นิสฺสยปฏิพทฺธา เนื่องด้วยจักขุปสาทรูปเป็นที่อาศัย อิติ ดังนี้ ยถา มญฺจา อุกฺกุฏฺ กโรนฺตีติ เหมือนประโยคว่า เตียงทั้งหลายกระท�ำเสียงโห่ ดังนี้ ฉะนั้น ฯ สมฺปฏิจฺฉนฺตนฺติ บทว่า สมฺปฏิจฺฉนฺตํ ตเมว รูปํ ปฏิคฺคณฺหนฺตํ ได้แก่ ดุจรับรูปนั้นนั่นเอง ฯ สนฺตีรยมานนฺติ บทว่า สนฺตีรยมานํ ตเมว สุฏฺุ ได้แก่ ดุจก�ำหนดรูปนั้นนั่นเอง ด้วยดี ฯ โยนิโสมนสิการวเสน ลทฺโธ ปจจโย เอเตน ปัจจัยอันชวนจิตนี้ได้แล้ว ด้วยอ�ำนาจโยนิโสมนสิการ อิติ เพราะเหตุนั้น ลทฺธปจฺจยํ ชวนจิตนั้นจึงชื่อว่ามีปัจจัยอันได้แล้ว ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ชวนํ ชวนจิต ยงฺกิญฺจิ ดวงใดดวงหนึ่ง ฯ มุจฺฉามรณาสนฺนกาเลสุ ในเวลาสลบหรือใกล้ตาย
154 ปริเฉทที่ ๔ ชวนานิ ชวนจิต ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป ฉปฺปญฺจปิ เพียง ๖ ดวง หรือ ๕ ดวง อิติ เพราะเหตุนั้น อนุรุทฺโธ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อาห จึงกล่าวว่า เยภุยฺเยน ฯ ชวนนุพนฺธานีติ บทว่า ชวนนุพนฺธานิ ความว่า (ตทาลัมพนวิบากจิต ๒ ดวง) อนุคตานิ ติดตาม ชวน ชวนจิตไป ํกาล สิ้นกาล ํ กิญฺจิ เล็กน้อย ปฏิโสตคามินาวํ นทีโสโต วิย ดุจกระแสน�้ำติดตามเรือที่แล่นไปทวนกระแสน�้ำ ฉะนั้น ฯ ตสฺส ชวนสฺส อารมฺมณํ อารมฺมณเมเตสํ อารมณ์แห่งชวนจิตนั้นเป็นอารมณ์ของวิบาก เหล่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น (วิบากจิตเหล่านั้น) ตทารมฺมณานิ จึงชื่อว่ามีอารมณ์ แห่งชวนจิต นั้นเป็นอารมณ์ มชฺฌปทโลปวเสน ด้วยอ�ำนาจลบบทในท่ามกลางเสีย พฺรหฺมสโรติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า พฺรหฺมสโร ดังนี้ ฯ ปกานิ วิบากจิต ตานิ เหล่านั้น จ ด้วย ตทารมฺมณานิ มีอารมณ์แห่งชวนจิตนั้นเป็นอารมณ์ จ ด้วย อิติ เพราะเหตุนั้น ตทาลมฺพนปากานิ จึงชื่อว่าตทาลัมพนวิปากจิต ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารห อารมฺมณชวนสตฺตานุรูปํ ได้แก่ เหมาะแก่อารมณ์ ชวนจิต และ สัตว์ ฯ ปน ก็ (อนุรุทฺโธ ท่านพระอนุรุทธาจารย์) ปกาสยิสฺสติ จักประกาศ ปวตฺตึ ความเป็นไป ตถา เหมือนอย่างนั้น สยเมว เองทีเดียว ฯ ภวงฺคปาโตวาติ บทว่า ภวงฺคปาโตว จิตฺตสฺส ภวงฺคปาโต วิย ความว่า จิตเป็นดุจจิตตกลงสู่ภวังค์ อปฺปวตฺติตฺวา เพราะไม่เป็นไป วีถิจิตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจวิถีจิต ฯ วุตฺตํ โหติ ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า อุปฺปตฺติ เกิดขึ้น ภวงฺควเสน ด้วยอ�ำนาจภวังคจิต ฯ จ ก็ เอตฺถ ในอธิการนี้ วีถิจิตฺตปฺปวตฺติยา สุขคฺคหณตฺถํ เพื่อเข้าใจความเป็นไปแห่ง วิถีจิตได้ง่าย (อาจริยา ท่านอาจารย์ทั้งหลาย) อาหรนฺติ จึงน�ำ อมฺโพปมาทึ ข้ออุปมาด้วยผลมะม่วงเป็นต้นมา ฯ ตตฺร บรรดาอุปมาเหล่านั้น (เวทิตพฺพํ พึงทราบ) อมฺโพปมามตฺตํ เพียงข้ออุปมาด้วยผลมะม่วง อิทํ ดังต่อไปนี้ ฯ กิร เล่ากันมาว่า ปุริโส ชาย เอโก คนหนึ่ง สสีสํ ปารุปิตฺวา นอนคลุมโปง นิทฺทายนฺโต หลับอยู่ ผลิตมฺพรุกฺขมูเล ที่โคนต้นมะม่วงซึ่งมีผลดก ปพุชฺฌิตฺวา ตกใจตื่นขึ้น สทฺเทน เพราะเสียง อมฺพผลสฺส ผลมะม่วง เอกสฺส ผลหนึ่ง ปติตสฺส ที่ตกลง อาสนฺเน ในที่ใกล้ วตฺถํ อปเนตฺวา เลิกผ้าออก สีสโต
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 155 จากศีรษะแล้ว จกฺขํ อุมฺมิลิตฺวา ลืมตาขึ้น ทิสฺวา ว พอได้เห็นเข้า ตํ คเหตฺวา ก็หยิบมัน มทฺทิตฺวา บีบ อุปสิงฺฆิตฺวา ดมดู ปกฺกภาวํ ตฺวา ก็รู้ว่าเป็นมะม่วงสุก ปริภุญฺชิตฺวา จึงบริโภค อชฺโฌหริตฺวา กลืน มุขคตํ มะม่วงที่อยู่ในปากเข้าไป สห พร้อม เสมฺเหน กับเสมหะ นิทฺทายติ แล้วนอนหลับอยู่ ตตฺเถว ในที่นั้น นั่นแหละอีก ฯ ตตฺถ ในบรรดากาลทั้ง ๙ มีกาลที่นอนหลับเป็นต้นนั้น ภวงฺคกาโล กาลแห่งภวังคจิต ตสฺส ปุริสสฺส นิทฺทายนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายนั้น นอนหลับ ฯ อารมมฺมณสฺส ปสาทฆฏนกาโล กาลที่อารมณ์กระทบประสาท ผลสฺส ปติตกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ผลมะม่วงหล่น ฯ อาวชฺชนกาโล กาลแห่งอาวัชชนจิต ตสฺส สทฺเทน ปพุชฺฌนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ ชายคนนั้นตื่นขึ้น เพราะเสียงมะม่วงหล่น ฯ จกฺขุวิญฺาณปฺปวตฺติกาโล กาลที่ จักขุวิญญาณจิตเป็นไป อุมฺมิลิตฺวา โอโลกิตกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้น ลืมตาดูผลมะม่าง ฯ สมฺปฏิจฺฉนฺนกาโล กาลแห่งสัมปฏิจฉันนจิต คหิตกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้นหยิบผลมะม่วง ฯ สนฺตีรณกาโล กาลแห่งสันตีรณจิต มทฺทนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้นบีบผลมะม่วง ฯ โวฏฺพฺพนกาโล กาลแห่งโวฏฐัพพนจิต อุปสิงฺฆนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้นดม ผลมะม่วง ฯ ชวนกาโล กาลแห่งชวนจิต ปริโภคกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ ชายคนนั้นบริโภคผลมะม่วง ฯ ตทาลมฺพนกาโล กาลแห่งตทาลัมพนจิต มุขคตํ สห เสมฺเหน อชฺโฌหรณกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้นกลืนมะม่วง ที่อยู่ในปากเข้าไปพร้อมกับเสมหะ ฯ ปุน ภวงฺคกาโล กาลที่จิตเป็นภวังค์ต่อไป ปุน นิทฺทายนกาโล วิย เปรียบเหมือนกาลที่ชายคนนั้นหลับต่อไปอีก อิติ แลฯ (ปุจฺฉา) ถามว่า จ ก็ อุปมาย ด้วยข้ออุปมา อิมาย นี้ ทีปิตํ โหติเป็นอันท่าน แสดงอรรถไว้ กึ อย่างไร ฯ (วิสชฺชนา) ตอบว่า (ท่านแสดงไว้ว่า) อารมฺมณสฺส ปสาทฆฏนเมว กิจฺจํ อารมณ์มีหน้าที่กระทบประสาทเท่านั้น ฯ อาวชฺชนสฺส วิสยาภุญฺชนเมว อาวัชชนจิตมีหน้าที่ค�ำนึงถึงอารมณ์เท่านั้น ฯ จกฺขุวิญฺาณสฺส ทสฺสนมตฺตเมว จักขุวิญญาณจิต มีหน้าที่เพียงเห็นรูปารมณ์เท่านั้น ฯ จ และ
156 ปริเฉทที่ ๔ สมฺปฏิจฺฉนฺนาทีนํ สัมปฏิจฉันนจิตเป็นต้น ปฏิคฺคหณาทิมตฺตเมว มีหน้าที่เพียง รับอารมณ์เป็นต้นเท่านั้น ฯ ปน ส่วน ชวนสฺเสว เฉพาะชวนจิต อารมฺมณรสานุภวนํ มีหน้าที่เสวยรสแห่งอารมณ์ ฯ จ และ ตทารมฺมณสฺส ตทาลัมพนจิต อนุภวนํ มีหน้าที่เสวย อนุภูตสฺเสว เฉพาะอารมณ์ที่ชวนจิตเสวยแล้ว ฯ กิจฺจวเสน ว่าด้วยอ�ำนาจหน้าที่ เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ธมฺมานํ อญฺมฺ ํ อสงฺกิณฺณตา ทีปิตา โหติเป็นอันท่านแสดงถึงความที่ธรรมทั้งหลายไม่ปะปนกันและกัน ฯ ปน ก็ จิตฺตํ จิต ปวตฺตมานํ ที่เป็นไปอยู่ เอวํ อย่างนี้ เวทิตพฺพํ พึงทราบว่า ปวตฺตติ ย่อมเป็นไป จิตฺตนิยมวเสน โดยอ�ำนาจการก�ำหนดจิตนั่นเอง อุตุวีชนิยมาทิ วิย เปรียบเหมือนการก�ำหนดฤดูและพืชเป็นต้น นิยุญฺชเก การเก อสติปิ แม้ในเมื่อ ไม่มีผู้กระท�ำซึ่งเป็นผู้ชักชวน อาทินา นเยน โดยนัยเป็นต้นว่า ตฺวํ อาวชฺชนํ นาม หุตฺวา ภวงฺคานนฺตรํ โหหิ เจ้าจงเป็นอาวัชชนจิตมีต่อจากภวังคจิต ตฺวํ ทสฺสนาทีสุ อญฺตรํ หุตฺวา อาวชฺชนานนฺตรํ เจ้าจงท�ำหน้าที่มีการเห็นเป็นต้น อย่างใดอย่างหนึ่ง มีต่อจากหน้าที่น้อมนึก อิติ ดังนี้ ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า เอตฺตาวตา ด้วยอ�ำนาจจิตตุปบาทมีประมาณเท่านี้ จิตฺตกฺขณานิ ขณะดุจขณะจิต สตฺตรส ๑๗ ดวง ปริปูเรนฺติ ครบบริบรูณ์ ฯ อปฺปโหนฺตาตีตกนฺติ บทว่า อปฺปโหนฺตาตีตกํ อปฺปโหนฺตํ หุตฺวา อตีตํ ได้แก่ (อารมณ์) ล่วงไปแล้วไม่พอ (เพื่อความเกิดขึ้นแห่งตทาลัมพนจิต) ฯ นตฺถิ ตทา ลมฺพนุปฺปาโทติ ข้อว่า นตฺถิ ตทาลมฺพนุปฺปาโท จุทฺทสจิตฺตกฺขณายุเก ความว่า อารมณ์ที่มีอายุ ๑๔ ขณะจิต ตาว อารมฺมณสฺส นิรุทฺธตฺตา ว เพราะอารมณ์ดับลงเสียก่อนนั่นเอง ตทาลมฺพนํ ตทาลัมพนจิต น อุปฺปชฺชติ จึงไม่เกิดขึ้น ฯ หิความจริง เอกวีถิยํ ในวิถีจิตหนึ่ง เกสุจิ แม้เมื่อจิตบางเหล่า ปจฺจุปฺปนฺนาลมฺพเนสุ ที่มีอารมณ์เป็นปัจจุบัน (อุปฺปนฺเนสุ) ยังเกิดมีอยู่ กานิจิ จิตบางเหล่า อตีตารมฺมณานิ ที่มีอารมณ์เป็นอดีต น โหนฺติ จะเกิดมีไม่ได้ ปณฺณรสจิตฺตกฺขณายุเกปิ แม้ในอารมณ์ที่มีอายุ ๑๕ ขณะจิต ปรํ ชวนุปฺปตฺติโต ต่อจากชวนจิตเกิดขึ้นไป อวสิฏฺํ ยังเหลืออยู่ จิตฺตกฺขณํ เพียงขณะจิต เอกเมว
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 157 เดียวเท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น ตทาลมฺพนุปฺปตฺติยา อปฺปโหนกภาวโต เพราะอารมณ์นั้นไม่พอเพื่อตทาลัมพนจิต จะเกิดขึ้น ทฺวิกฺขตฺตุํ ๒ ครั้ง อุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้น ทุติยตทาลมฺพนสฺส แห่งตทาลัมพนจิตดวงที่ ๒ นตฺถิ จึงไม่มี อิติ เพราะเหตุนั้น ปมฺปิ แม้ตทาลัมพนจิตดวงที่ ๑ น อุปฺปชฺชติ ก็ย่อม ไม่เกิดขึ้น ฯ หิ ความจริง ตทาลมฺพนุปฺปตฺติ ความเกิดขึ้นแห่งตทาลัมพนจิต ทฺวิกฺขตฺตุเมว ๒ ครั้งนั่นแหละ ภควตา พระผู้มีพระภาคเจ้า นิยมิตา ทรงก�ำหนด ไว้แล้ว ปาลิยํ ในพระบาลี จิตฺตปฺปวตฺติคณนายํ สพฺพวาเรสุ ทฺวินฺนเมว จิตฺตวารานมาคตตฺตา เพราะในวาระทั้งปวง ในการนับความเป็นไปแห่งจิต วาระจิต มาแล้ว ๒ วาระแน่นอนว่า ตทาลมฺพเน ในตทาลัมพนวาระ เทฺว วาระจิต มาแล้ว ๒ วาระ อิติ ดังนี้ ฯ ทฏฺพฺพํ บัณฑิตพึงเห็นความหมายว่า ยมฺปน ปรมตฺถวินิจฉเย วุตฺตํ ค�ำที่ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวไว้ ในคัมภีร์ปรมัตถวินิจฉัย ว่า ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต อุปฺปชฺชติย่อมเกิดขึ้น สกึ ครั้งเดียว วา หรือ เทฺว สองครั้ง อาวชฺชนาทโย อาวัชชนจิตเป็นต้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น สกึ ครั้งเดียว อิติ ดังนี้ ตํ มชฺฌิมภาณกานํ มตานุสาเรน วุตฺตํ ท่านกล่าวตาม แนวมติของท่านอาจารย์ผู้กล่าวมัชฌิมนิกาย ฯ ปน ก็ ยสฺมา เพราะ วาโท วาทะ มชฺฌิมภานกาณํ ของท่านอาจารย์ผู้กล่าวมัชฌิมนิกายทั้งหลาย ปฏิกฺขิตฺโต ว ถูกคัดค้านตกไปแล้ว สมฺโมหวิโนทนิยํ ในคัมภีร์สัมโมหวิโนทนี อสํสนฺทนโต เพราะเปรียบไม่ได้ เหฏฺาวุตฺตปาลิยา กับพระบาลีที่กล่าวแล้วข้างต้น ตสฺมา ฉะนั้น อาจริเยนาปิ แม้ท่านอาจารย์ (พระอนุรุทธาจารย์) น วุตฺตา ก็ไม่กล่าวว่า ตทาลมฺพนุปฺปตฺติ ตทาลัมพนจิตเกิดขึ้น สกึ ครั้งเดียวไว้ อิธ ในปกรณ์ อภิธัมมัตถสังคหะนี้ จ และ นามรูปปริจฺเฉเท ในคัมภีร์นามรูปปริเฉท อตฺตโน อนธิปฺเปตตฺตา เพราะตัวท่านเองก็ไม่ประสงค์เลย ฯ อนุรุทฺโธ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อาห กล่าวว่า ชวนมฺปิ อนุปฺปชฺชิตฺวา เพราะแม้ชวนจิตก็ไม่เกิดขึ้น อิติ ดังนี้ อธิปฺปาเยน โดยอธิบายว่า อารมฺมณํ อารมณ์ ฉจิตฺตกฺขณาวสิฏฺายุกมฺปิ อารมณ์แม้มีอายุเหลือลงเพียง ๖ ขณะจิต
158 ปริเฉทที่ ๔ ปรํ โวฏฺพฺพนุปฺปาทโต ต่อจากโวฏฐัพพนจิตเกิดขึ้น ปจฺจโย น โหติ ก็ย่อมไม่ เป็นปัจจัย ชวนุปฺปตฺติยา แก่การเกิดขึ้นแห่งชวนจิตได้ ปริทุพฺพลตฺตา เพราะเป็น อารมณ์มีก�ำลังอ่อนรอบด้าน อปฺปายุกภาเวน โดยความเป็นอารมณ์มีอายุน้อย หิเพราะว่า ชวนํ ชวนจิต อุปฺปชฺชมานํ เมื่อจะเกิดขึ้น อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น สตฺตจิตฺตกฺขณายุเกเยว เฉพาะในอารมณ์ที่มีอายุ ๗ ขณะจิต นิยเมน โดยแน่นอน ฯ จ ก็ ตฺวาปจฺจโย ตฺวาปัจจัย อยํ นี้ เหตุมฺหิ ใช้ในเหตุ ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ชวนสฺสปิอนุปฺปตติยา เพราะแม้ชวนจิตไม่เกิดขึ้น ฯ อิตรถาปิ แม้เมื่อก�ำหนด เนื้อความนอกไปจากนี้ น ลพฺภติ ย่อมไม่ได้ อปรกาลกิริยาย สมานกตฺตุกตา ความที่ ตฺวา ปัจจัยซึ่งเป็นปุพพกาลกิริยา เป็นศัพท์มีกัตตาเสมอกับอปรกาลกิริยา (ปริวตฺตติ) อิติ แล ฯ ทฺวิตฺติกฺขตฺตุนฺติ บทว่า ทฺวิตฺติกฺขตฺตุํ ทฺวิกฺขตฺตุํ วา ติกฺขตฺตุํ วา ได้แก่ ๒ หรือ ๓ ครั้ง ฯ ปน แต่ เกจิ อาจารย์บางพวก วทนฺติ กล่าวว่า อิทํ บทว่า ติกฺขตฺตุํ นี้ วจนสิลิฏฺตามตฺตปโยชนํ มีประโยชน์ เพียงความไพเราะแห่งถ้อยค�ำ ฯ ปน ก็ ตํ ค�ำนั้น อภินิเวสนมตฺตํ เป็นเพียง ความเข้าใจ เตสํ ของเกจิอาจารย์บางพวกนั้น ฯ หิ ความจริง วุตฺเตปิ แม้เมื่อ กล่าวว่า โวฏฺพฺพนเมว โวฏฐัพพนจิตเท่านั้น ปริวตฺตติ เป็นไป ทฺวิกฺขตฺตุํ ๒ ครั้ง อิติ ดังนี้ วจนสฺส อสิลิฏฺภาโว ถ้อยค�ำจะไม่มีความไพเราะ น อตฺถิ ก็หามิได้ ฯ จ แต่ อฏฺกถาทีสุ ในอรรถกถาเป็นต้น น อตฺถิ ไม่มี กิญฺจิ ค�ำอะไร ๆ พาธกํ ที่จะบั่นรอน ปวตฺติยา ความเป็นไป ติกฺขตฺตุํ ๓ ครั้ง ฯ จ ก็ กตฺวา เพราะอธิบายความ เอว ดังกล่าวมาแล้วอย่างนี้ ํ สีหลสวณฺณนําการาปิ แม้อาจารย์ ผู้รจนาอรรถกถาภาษาสิงหล สํวณฺเณนฺติ ก็พรรณนาไว้ ตตฺถ ตตฺถ ในคัมภีร์ ธัมมาวตารเป็นต้นนั้น ๆ เอวํ อย่างนี้ว่า ทฺวิกฺขตฺตุํ วา ติกฺขตฺตุํ วา ๒ ครั้ง หรือ ๓ ครั้ง ฯ โวฏฺพฺพนเมว ปวตฺตตีติ ข้อว่า โวฏฺพฺพนเมว ปวตฺตติ ความว่า โวฏฺพฺพนเมว โวฏฐัพพนจิตนั่นแหละ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ปุนปฺปุนํ ซ�้ำ ๆ ฯ ปน ก็ ตํ อปฺปตฺวา อนฺตรา จกฺขุวิญฺาณาทีสุ ตฺวา จิตฺตปฺปวตฺติยา นิวตฺตนํ ความเป็นไปแห่งจิตที่ยังไม่ถึงโวฏฐัพพนจิตนั้น หยุดอยู่ที่จักขุวิญญาณจิตเป็นต้น
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 159 ในระหว่าง แล้วกลับ (เข้าภวังค์) นตฺถิ ย่อมไม่มี ฯ ปน ก็ เอตฺถ ในความเป็นไป แห่งวิถีจิตในปริตตารมณ์วิถีนี้ อานนฺทาจริโย ท่านพระอานันทาจารย์ ทีเปติ แสดงอธิบายไว้ว่า อาวชฺชนาย อนนฺตรปจฺจยภาวสฺส วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มี พระภาคเจ้าตรัสอาวัชชนจิตว่าเป็น อนันตรปัจจัย กุสลากุสลานํ แก่กุศลชวนจิต และอกุศลชวนจิต (โดยพระพุทธพจน์) ว่า อาวชฺชนา อาวัชชนจิต ปจฺจโย ย่อมเป็นปัจจัย อนนฺตรปจฺจเยน โดยอนันตรปัจจัย กุสลานํ ขนฺธานํ แก่กุศลขันธ์ ทั้งหลาย อกุสลานํ ขนฺธานํ แก่อกุศลขันธ์ทั้งหลาย อิติ ดังนี้เป็นต้น จ และ โวฏฺพฺพนนาวชฺชนานํ อนตฺถนฺตรภาวโต เพราะโวฏฐัพพนจิตกับอาวัชชนจิต (มโนทวาราวัชชนจิต) หามีความหมายเป็นอย่างอื่นไม่ (คือ มีความหมายเป็น อย่างเดียวกัน) สติอุปฺปตฺติยํ เมื่อมีอาวัชชนจิตเกิดขึ้นอยู่ โวฏฺพฺพน โวฏฐัพพนจิต ํ ปวตฺเตยฺย พึงเป็นไป อนนฺตรปจฺจย ภาเวน โดยความเป็นอนันตรปัจจัย กามาวจรกุสลากุสลกิริยาชวนานํ แก่กุศลชวนจิต อกุศลชวนจิต และกิริยาชวนจิต ฝ่ายกามาวจร เอกนฺตโต โดยแน่นอน โน อญฺถา หาพึงเป็นไปโดยประการอื่นไม่ อิติ เพราะเหตุนั้น นิยเมตพฺพํ บัณฑิตพึงก�ำหนด ปริตฺตารมฺมณํ ปริตตารมณ์วิถี ชวนาปาริปูริยา โดยความไม่บริบูรณ์แห่งชวนจิต มนฺทีภูตเวคตาย เพราะชวนจิต มีก�ำลังอ่อน มุจฺฉกาลาทีสุ ในเวลาสลบเป็นต้น น (นิยเมตพฺพํ) ไม่พึงก�ำหนด โวฏฺพฺพนสฺส ทฺวิตฺติกฺขตฺตุํ ปวตติยา โดยโวฏฐัพพนจิตเป็นไป ๒ ครั้ง หรือ ๓ ครั้ง อิติ ดังนี้ ฯ (อานนฺทาจริโย ท่านพระอานันทาจารย์) ทีเปติ แสดงไว้ เอว อย่างนี้ ํ กิญฺจาปิ แม้โดยแท้ ปน ถึงอย่างนั้น ติเหตุกวิปากานิ กามาวจรวิบากจิต ที่เป็นติเหตุกะ วุตฺตาเนว ที่ท่านอาจารย์กล่าวไว้ อนนฺตรปจฺจยภาเวน โดยความ เป็นอนันตรปัจจัยนั่นแหละ ปวตฺตานิ เป็นไป จุติวเสน ด้วยอ�ำนาจจุติจิต ขีณาสวานํ แก่พระขีณาสพทั้งหลาย น คจฺฉนฺติ ย่อมไม่ถึง อนนฺตรปจฺจยภาวํ ความเป็นอนันตรปัจจัย กสฺสจิ แก่จิตบางดวง อิติ เพราะเหตุนั้น เกนจิ ใคร ๆ น สกฺกา จึงไม่สามารถ วตฺตุํ กล่าวได้ว่า โวฏฺพฺพนมฺปิ แม้โวฏฐัพพนจิต ตานิ วิย ก็เหมือนกับกามาวจรวิบากจิตที่เป็นติเหตุกะเหล่านั้น อนนฺตรปจฺจโย
160 ปริเฉทที่ ๔ น โหติย่อมไม่เป็นอนันตรปัจจัย กุสลากุสลาทีน แก่กุศลชวนจิตและอกุศลชวนจิต ํ เป็นต้น ปจฺจยเวกลฺลโต เพราะปัจจัยบกพร่อง ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น เอตฺถ ในค�ำว่า ทฺวิตฺติกฺขตฺตุ โวฏฺพฺพนเมว ปริวตฺตติ นั้น นิยมิตพฺพ บัณฑิตพึงก� ํำหนด ปริตฺตารมฺมณํ ปริตตารมณ์วิถี อาคตนเยน โดยนัยที่มาแล้ว อฏฺกถาสุ ในอรรถกถาทั้งหลายนั่นแล ฯ นตฺถิ วีถิจิตฺตุปฺปาโทติ ข้อว่า นตฺถิ วีถิจิตฺตุปฺปาโท ความว่า อุปริมโกฏิยา เพราะโดยก�ำหนดอย่างสูง สตฺตจิตฺตกฺขณายุกสฺสาปิ ทฺวิตฺติกฺขตฺตุํ โวฏฺพฺพ นุปฺปตฺติยา อปฺปโหนกภาวโต อารมณ์ที่มีอายุ ๗ ขณะจิต ไม่เพียงพอเพื่อ โวฏฐัพพนจิตจะเกิดขึ้น ๒ หรือ ๓ ครั้ง วีถิจิตฺตานมุปฺปาโท ความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิต ทั้งหลาย นตฺถิ จึงไม่มี ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ภวงฺคปาโตว โหติ จิตย่อม ตกลงสู่ภวังค์ทันที ฯ ทสฺเสตุํ เพื่อแสดง อวธารณผลํ ถึงผลแห่งบทอวธารณะ ภวงฺคจลนเมวติ ในบทว่า ภวงฺคจลนเมว นี้ (อนุรุทฺเธน ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺต จึงกล่าวว่า ํ นตฺถิ วีถิจิตฺตุปฺปาโท ย่อมไม่มีความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิต อิติ ดังนี้ ฯ ปน แต่ อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่ง ทสฺเสนฺติ แสดง อวธารณผลํ ถึงผลแห่ง บทอวธารณะว่า นตฺถิ ไม่มี ภวงฺคุปจฺเฉโท ภวังคุปัจเฉทะ ฯ ปน ก็ ตํ ค�ำว่า ไม่มีภวังคุปัจเฉทะ นั้น สิทฺธํ ส�ำเร็จ วีถิจิตฺตุปฺปาทาภาววจเนนเนว ด้วยการ กล่าวถึงความไม่มีแห่งความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิตนั่นเอง สติปิ วีถิจิตฺตุปฺปาเท แม้เมื่อมีความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิต ภวงฺคํ ภวังคจิต อุปจฺฉิชฺชติ ก็ขาดได้ ฯ ปน ก็ เหฏฺาปิ เพราะแม้ข้างต้น วิสุํ วิสุํ อวุตฺตตฺตา ไม่ได้กล่าวแยกจากภวังคจลนจิตไว้ ภวงฺคุปจฺเฉทนาเมน โดยชื่อว่าภวังคุปัจเฉทะ ปน แต่ อิธ ในอธิการว่าด้วย อติปริตตารมณ์นี้ (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ กล่าว (ค�ำว่าไม่มี ความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิต ดังนี้) อวิเสสน ไว้โดยไม่แปลกกัน ฯ อภาวโต เพราะ ไม่มี วีถิจิตฺตุปฺปตฺติยา ความเกิดขึ้นแห่งวิถีจิต สพฺพโส โดยประการทั้งปวง ปจฺฉิมวาโร ว เฉพาะวาระสุดท้าย (อติปริตตารมณ์วิถี) เท่านั้น (อนุรุทฺเธน ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺตํ กล่าวไว้ โมฆวารวเสน ด้วยอ�ำนาจเป็นโมฆวาระ
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 161 อิธ ในพระอภิธัมมัตถสังคหปกรณ์นี้ ฯ ปน ส่วน อญฺตฺถ ในปกรณ์อื่น (คือ ปกรณ์ปรมัตถวินิจฉัย) ทุติยวาราปิ แม้วาระที่ ๒ (มหันตารมณ์วิถี) (อาจริเยน) ท่านอาจารย์ วุตฺตา ก็กล่าวว่า โมฆวารา เป็นโมฆวาระ อิติ ดังนี้ สุญฺตฺตา เพราะว่าง ตทาลมฺพเนหิ จากตทาลัมพนจิต (จ) และ ตติยวารา วาระที่ ๓ (ปริตตารมณ์วิถี) วุตฺตา ก็กล่าวว่า โมฆวารา เป็นโมฆวาระ อิติ ดังนี้ สุญฺตฺตา เพราะว่าง ชวเนหิ จากชวนจิต ฯ (ตรงนี้เป็นการแปลฉีกศัพท์เพื่อจับคู่) อาลมฺพนภูตาติ บทว่า อาลมฺพนภูตา ได้แก่ วิสยภูตา ทั้งเป็นอารมณ์ ปจฺยภูตา ทั้งเป็นปัจจัย ฯ หิ ความจริง ปจฺจโยปิ แม้ปัจจัย (ปณฺฑิเตน บัณฑิต) ปวุจฺจติ ก็เรียกว่า อารมฺมณํ อารมณ์ อิติ ดังนี้ ลภติ มาโร โอตารํ ลภติ มาโร อารมฺมณนฺติอาทีสุ วิย ดุจในประโยคเป็นต้นว่า มารได้ช่อง มารได้ปัจจัย ฯ เตนเอว เหตุนั้นนั่นแล สิทฺธ จึงส� ํำเร็จค�ำว่า วิสยปฺปวตฺติ ความเป็นไปแห่งอารมณ์ อารมฺมณภูตา อันเป็นปัจจัย โมฆวารสฺสาปิ แม้แก่โมฆวาระ เอตฺถ ในบรรดา วาระทั้ง ๔ นี้ ฯ หิ ความจริง อติปริตฺตารมฺมณํ อติปริตตารมณ์ ปจฺจโย โหติ ย่อมเป็นปัจจัย โมฆวารปญฺาปนสฺส แก่การบัญญัติว่าโมฆวาระ ฯ หิ จริงอยู่ อิตรถา เมื่อก�ำหนดเนื้อความนอกไปจากนี้ ภวงฺคจลนสฺส สกสกโคจเรเยว ปวตฺตนโต เพราะภวังคจลนจิตเป็นไปเฉพาะในอารมณ์ของตน ๆ ปจฺฉิมวารสฺส ปัจฉิมวาระ ปวตฺติ นตฺถิ จึงไม่มีความเป็นไป อติปริตฺตารมฺมเณ ในอติปริตตารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น วจนํ ค�ำว่า จตุนฺนํวารานมาลมฺพนภูตา เป็นอารมณ์แห่ง วาระทั้ง ๔ อิติ ดังนี้ ทุรูปาทนํ สิยา จึงเป็นค�ำที่พึงเชื่อถือได้ยาก อิติ แล ฯ ปญฺจทฺวาเร ในปัญจทวาร วีถิจิตฺตานิ วิถีจิต อุปฺปชฺชมานานิ ซึ่งเกิดขึ้นอยู่ ยถารหํ ตามสมควร ตํตํทฺวารานุรูป คือเหมาะแก่ทวารนั้น ๆ ํตํตํปจฺจยานุรูปํ ได้แก่ เหมาะสมแก่ปัจจัยนั้น ๆ จ และ ตํตํอารมมณาทิอนุรูปํ เหมาะสมแก่ อารมณ์นั้น ๆ เป็นต้น อวิเสสโต ว่าโดยไม่แปลกกัน สตฺเตวโหนฺติ มี ๗ วิถี เท่านั้น อาวชฺชนทสฺสนาทิสมฺปฏิจฺฉนฺนสนฺตีรณโวฏฺฐพฺพนชวนตทาลมฺพนวเสน คือ อาวัชชนวิถี ๑ ปัญจวิญญาณวิถีมีทัสสนวิถีเป็นต้น ๑ สัมปฏิจฉันนวิถี ๑
162 ปริเฉทที่ ๔ สันตีรณวิถี ๑ โวฏฐัพพนวิถี ๑ ชวนวิถี ๑ ตทาลัมพนวิถี ๑ ฯ จิตฺตุปฺปาทา จิตตุปบาท วา หรือ อุปฺปชฺชมานจิตฺตานิเยว เฉพาะวิถีจิตที่ก�ำลังเกิดขึ้น อุปฺปตฺติวเสน ด้วยอ�ำนาจการเกิดขึ้น จิตฺตาน แห่งจิตทั้งหลาย ํ วิสุํ วิสุํ แต่ละแผนก จตุทฺทส ก็มี ๑๔ ดวง อาวชฺชนาทิปญฺจกสตฺตชวนตทาลมฺพนทฺวยวเสน คือ จิต ๕ ดวง มี อาวัชชนจิตเป็นต้นทั้ง ชวนจิต ๗ ดวง และตทาลัมพนจิต ๒ ดวง ปน แต่ว่า วิตฺถารา โดยพิสดาร (กามาวจรจิตฺตานิ กามาวจรจิต) จตุปญฺาส ชื่อว่ามี ๕๔ ดวง สพฺเพสเมว กามาวจรานํ ยถาสมฺภวํ ตตฺถ อุปฺปชฺชนโต เพราะกามาวจรจิตทั้งหมดนั้นแล เกิดขึ้นในปัญจทวารนั้นตามที่เกิดขึ้นได้ ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ วิสยปฺปวตฺติสงฺคเห ได้แก่ ในวิสยัปปวัตติสังคหะ ฯ อารมฺมณมฺปิ แม้อารมณ์ อตีตานาคตมฺปิ ที่เป็นอดีตหรืออนาคต อารมฺมณํ ก็ย่อมเป็นอารมณ์ มโนทฺวาริกจิตฺตานํ ของจิตที่เกิดทางมโนทวารได้ อิติ เพราะเหตุนั้น เกนจิ ใคร ๆ น สกฺกา จึงไม่อาจ กาตุํ ท�ำ วิสยววตฺถานํ การก�ำหนดอารมณ์ เตสํ ของจิตที่เกิดทางมโนทาวารเหล่านั้น อติมหนฺตาทิวเสน ด้วยอ�ำนาจอติมหันตารมณ์เป็นต้นได้ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน ท่าน พระอนุรุทธาจารย์) นิยเมตุํ เพื่อจะก�ำหนด ตํ อารมณ์นั้น วิภูตาวิภูตวเสเนว ด้วยอ�ำนาจวิภูตารมณ์ และอวิภูตารมณ์เท ่านั้น วุตฺตํ จึงกล ่าวค�ำว่า ยทิ วิภูตมาลมฺพนํ ดังนี้เป็นต้น ฯ เอตฺถาติ บทว่า เอตฺถ มโนทฺวาเร ได้แก่ ในมโนทวาร ฯ เอกจตฺตาฬีส จิต ๔๑ ดวง (ย ่อมเป็นไปในมโนทวาร) ปญฺจทฺวาราเวณิกานํ ทฺวิปญฺจวิญฺาณมโนธาตุตฺตยวเสน เตรสจิตฺตานํ ตตฺถ อปฺปวตฺตนโต เพราะจิต ๑๓ ดวง คือ ปัญจวิญญาณจิตทั้ง ๒ ฝ่าย (๑๐ ดวง) มโนธาตุจิต ๓ ดวง ซึ่งมีเฉพาะในปัญจทวาร ไม่เป็นไปในมโนทวารนั้น ฯ ปริตฺตชวนนโย นัยว่าด้วยชวนจิตที่เป็นกามาวจร วิภูตาวิภูตเภโท ความต่างกันแห่งวิภูตารมณ์และอวิภูตารมณ์ นตฺถิ ชื่อว่า ย่อมไม่มี อารมฺมณสฺส วิภูตกาเลเยว อปฺปนาสมฺภวโต เพราะอัปปนาชวนจิต เกิดมีได้เฉพาะเวลาที่อารมณ์ (มีปฐวีกสิณเป็นต้น) ปรากฏชัดเท ่านั้น ฯ
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 163 สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า หิ ความจริง ตตฺถ ในวาระว่าด้วยอัปปนาชวนจิตนั้น ฉพฺพีสติมหคฺคตโลกุตฺตรชวเนสุ บรรดามหัคคตชวนจิต (๑๘ ดวง) และ โลกุตตรชวนจิต (๘ ดวง) รวม ๒๖ ดวง ชวนํ ชวนจิต ยงฺกิญฺจิ ดวงใดดวงหนึ่ง โอตรติ ย่อมหยั่งลง อปฺปนาวีถึ สู่อัปปนาวิถี ฯ โยชนา มีวาจาประกอบ ความว่า (เมื่อบรรดากามาวจรชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๘ ดวง ดวงใดดวงหนึ่ง) อุปฺปชฺชิตฺวา เกิดขึ้นแล้ว นิรุทฺเธ ดับลง (๔ ครั้ง) ปริกมฺโมปจารานุโลมโคตฺรภู- นาเมน โดยชื่อว่า บริกรรม อุปจาร อนุโลม และโคตรภู ยถากฺกมํ ตามล�ำดับ (หรือเกิดขึ้นแล้วดับลง ๓ ครั้งโดยชื่อว่า อุปจาร อนุโลม และโคตรภู ตามล�ำดับ) ฯ หิความจริง ปมจิตฺตํ จิต (กามาวจรชวนจิต) ดวงที่ ๑ ปริกมฺมํ ชื่อว่าบริกรรม ปริกมฺมตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตสร้าง ปฏิสงฺขารกภูตตฺตา คือ เพราะเป็น ธรรมชาตปรุงแต่ง อปฺปนาย อัปปนา ฯ ทุติยํ กามาวจรชวนจิตดวงที่ ๒ อุปจารํ ชื่อว่าอุปจาร สมีปจาริตตฺตา เพราะเป็นธรรมชาตเข้าใกล้อัปปนา ฯ หิ ความจริง (สภาวธรรม) นาจฺจาสนฺโนปิ แม้ไปไม่ใกล้นัก นาติทูรวตฺติ ไม่ไกลนัก สมีปจารีนาม โหติก็ชื่อว่าอยู่ใกล้ ฯ วา อีกอย่างหนึ่ง (ทุติยํ กามาวจรชวนจิต ดวงที่ ๒) อุปจารํ ชื่อว่าอุปจาร อปฺปนํ อุเปจฺจ จรตีติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปใกล้อัปปนา ฯ ตติยํ กามาวจรชวนจิตดวงที่ ๓ อนุโลมํ ชื่อว่าอนุโลม อนุกุลตฺตา เพราะคล้อยตาม ปริกมฺมาน บริกรรม ํ ปุพฺพภาเคปิ แม้ในส่วนเบื้องต้น จ และ อนุกุลตฺตา คล้อยตาม อปฺปนาย อัปปนา อุปริ ในส่วนเบื้องสูง ฯ จตุตฺถํ กามาวจรชวนจิตดวงที่ ๔ โคตฺรภู ชื่อว่าโคตรภู อภิภวนโต เพราะครอบง�ำ ปริตฺตโคตฺตสฺส โคตรที่เป็นกามาวจร จ และ มหคฺคตโคตฺตสฺส เพราะท�ำโคตร ที่เป็นมหัคคตะ ภาวนโต ให้เกิดมี วฑฺฒนโต คือ เพราะให้เจริญ อภิภวนโต เพราะครอบง�ำ ปุถุชฺชนโคตฺตสฺส โคตรที่เป็นปุถุชน จ และ โลกุตฺตรโคตฺตสฺส เพราะท�ำโคตรที่เป็นโลกุตตระ ภาวนโต ให้เกิดมี วฑฺฒนโต คือ เพราะให้เจริญ ฯ นามานิ ชื่อ จตฺตาริ ๔ ประการ อิมานิ เหล่านี้ ลพฺภนฺติ ย่อมได้ อนวเสสโต โดยไม่มีส่วนเหลือ ปวตฺติย ในเวลาที่กามาวจรชวนจิตเป็นไป ํจตุกฺขตฺตุ ๔ ครั้ง ฯ ํ
164 ปริเฉทที่ ๔ ปน แต่ว่า ปวตฺติยํ ในเวลาที่กามาวจรชวนจิตเป็นไป ติกฺขตฺตุํ ๓ ครั้ง ลพฺภนฺติ ย่อมได้ อุปจารานุโลมโคตฺรภูนาเมเนว เฉพาะชื่อว่าอุปจาร อนุโลม และโคตรภูเท่านั้น ฯ ปน ส่วน อฏฺกถายํ ในอรรถกถา (อรรถกถาอัฏฐสาลินี) (อฏฺกถาจริเยน พระอรรถกถาจารย์) วุตฺต กล่าว ํ ปริกมฺมาทินาม ชื่อมีบริกรรม ํ เป็นต้น (กามาวจรานํ) แห่งกามาวจรชวนจิต ทฺวินฺนํ ๒ ดวง วา หรือ ติณฺณํ ๓ ดวง ปุริมาน ข้างต้นไว้ ํ อวิเสสนปิ แม้โดยไม่ต่างกัน ฯ หิ ความจริง อธิปฺปาโย อธิบายความว่า อุปฺปชฺชิตพฺพปฺปนานุรูปโต โดยสมควรแก่อัปปนาชวนจิตที่จะพึง เกิดขึ้น เป็นวาระที่ ๕ ในเมื่อบรรดากามาวจรชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๘ ดวง (มหากุศลจิต ๔ ดวง และมหากิริยาจิต ๔ ดวง) ดวงใดดวงหนึ่ง เกิดขึ้นแล้ว ดับลง ๔ ครั้ง โดยชื่อว่า บริกรรม อุปจาร อนุโลม และโคตรภู ตามล�ำดับ (ส�ำหรับ ท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรผู้เป็นทันธาภิญญาบุคคล) หรือโดยสมควรแก่อัปปนาชวนจิต ที่จะพึงเกิดขึ้นเป็นวาระที่ ๔ ในเมื่อบรรดากามาวจรชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๘ ดวง ดวงใดดวงหนึ่ง เกิดขึ้นแล้วดับลง ๓ ครั้งเท่านั้น โดยชื่อว่า อุปจาร อนุโลม และโคตรภู ตามล�ำดับ (ส�ำหรับท่านผู้บ�ำเพ็ญเพียรผู้เป็นขิปปาภิญญาบุคคล) ดังนี้ ฯ ปริกมฺมาทินามานํ อนวเสสโต ลพฺภมานวารทสฺสนตฺถํ เพื่อจะแสดงวาระแห่งชื่อ มีบริกรรมเป็นต้นที่จะได้อยู่โดยไม่มีส่วนเหลือ (อนุรุทฺเธน ท่านพระอนุรุทธาจารย์) วุตฺต จึงกล่าวไว้ ํ อาทิโต ข้างต้นว่า จตุกฺขตฺตุ ฯ ํวุตฺต กล่าวไว้ ํ โอสาเน ในที่สุดว่า ปญฺจมํ วา อิติ ดังนี้ คณนปฏิปาฏิวเสน ด้วยอ�ำนาจล�ำดับการนับ ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ขิปฺปาภิญฺาทนฺธาภิญฺานุรูป ได้แก่ เหมาะแก่ ํ ขิปปาภิญญาบุคคล และทันธาภิญญาบุคคล ฯ หิ ความจริง ปวตฺตกามาวจรชวนานนฺตรํ ในล�ำดับแห่งกามาวจรชวนจิต ที่เป็นไป ติกฺขตฺตุํ ๓ ครั้ง ขิปฺปาภิญฺสฺส ส�ำหรับขิปปาภิญญาบุคคล อปฺปนาจิตฺตํ อัปปนาชวนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น จตุตฺถํ เป็นวาระที่ ๔ ฯ ปวตฺตชวนานนฺตรํ ในล�ำดับแห่งกามาวจรชวนจิตที่เป็นไป จตุกฺขตฺตุ ๔ ครั้ง ํทนฺธาภิญฺสฺส ส�ำหรับทันธาภิญญาบุคคล อปฺปนา อัปปนาชวนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ปญฺจมํ เป็นวาระที่ ๕ ฯ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นความหมายว่า
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 165 ปน ก็ ยสฺมา เพราะ อนุโลมํ อนุโลมจิต อลทฺธาเสวนํ ที่ไม่ได้อาเสวนะ น สกฺโกติ ย่อมไม่สามารถ โคตฺรภุํ อุปฺปาเทตํุจะให้โคตรภูจิตเกิดขึ้นได้ จ และ ฉฏฺสตฺตม จิตดวงที่ ๖ หรือที่ ๗ ํลทฺธาเสวนมฺปิ แม้ได้อาเสวนะแล้ว น สกฺโกติ ก็ไม่สามารถ ปติฏฺาตํ ด�ำรงอยู่ได้ อปฺปนาวเสน ด้วยอ�ำนาจอัปปนาชวนจิต ภวงฺคสฺส อาสนฺนภาเวน เพราะใกล้ต่อภวังคจิต ปปาตาสนฺนปุริโส วิย เปรียบ เหมือนคนที่อยู่ใกล้เหว ฉะนั้น ฯ ตสฺมา เหตุนั้น โอรํ ต�่ำ จตุตฺถโต กว่าชวนจิต ดวงที่ ๔ วา หรือ ปร สูง ํ ปญฺจมโต กว่าชวนจิตดวงที่ ๕ อปฺปนา อัปปนาชวนจิต น โหติย่อมมีไม่ได้ ฯ ยถาภินีหารวเสนาติข้อว่า ยถาภินีหารวเสน รูปารูปโลกุตฺตรมคฺคผลานุรูปสมถวิปสฺสนาภาวนาจิตฺตาภินีหารณานุรูปโต ความว่า โดยสมควรแก่อภินิหารแห่งจิต ในสมถภาวนา และวิปัสสนาภาวนา อันเหมาะแก่รูปาวจรจิต อรูปาวจรจิต และ มรรคจิตและผลจิตฝ่ายโลกุตตระ ฯ วีถิ วิถี อปฺปนาย แห่งอัปปนา อปฺปนาวีถิ ชื่อว่าอัปปนาวิถี ฯ วุตฺเต เมื่อกล่าว เอตฺตเก ค�ำเฉพาะเพียงเท่านี้ว่า ตโต ปรํ ภวงฺคปาโตว โหติ (ต่อแต่นั้นไป ย่อมตกเป็นภวังคจิตทันที) อิติ ดังนี้ (ชนา) ชนทั้งหลาย คณฺเหยฺยํ ก็จะพึงยึดถือว่า ปรํ ต่อ โอติณฺณปฺปนาโต จาก อัปปนาชวนจิตหยั่งลงสู่อัปปนาวิถี จตุตฺถํ เป็นวาระที่ ๔ วา หรือ ปญฺจมํ เป็นวาระที่ ๕ แล้ว ภวงฺคปาโตว โหติ ย่อมตกเป็นภวังคจิตทันที ผลจิตฺต ผลจิต ํ น (อุปฺปชฺชติ) ย่อมไม่เกิด มคฺคานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากมรรคจิต จ และ สมาปตฺติวีถิยํ ในสมาบัติวิถี ฌานผลจิตฺตานิ ฌานจิตและผลจิต (น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิด) ปุนปฺปุนํ เรื่อย ๆ ไป อิติ ดังนี้ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺต จึงกล่าวย�้ ํำ ปุน อีกว่า อปฺปนาวสาเน (ในที่สุดแห่ง อัปปนาชวนจิต จึงตกเป็นภวังคจิตทันที) อิติ ดังนี้ ฯ กิร นัยว่า นิกายนฺตริกา อาจารย์ทั้งหลายนิกายอื่น วณฺเณนฺติ ย่อมพรรณนา ปวตฺตึ ความเป็นไป กามาวจรชวนาน แม้แห่งกามาวจรชวนจิตทั้งหลาย ํ ทฺวิตฺติกฺขตฺตุ ๒ หรือ ๓ ครั้ง ํ ปร ต่อ ํ ปมกปฺปนาโต จากอัปปนาชวนจิตเกิดครั้งแรก โลกิยปฺปนาสุ ในบรรดา
166 ปริเฉทที่ ๔ โลกิยอัปปนาชวนจิตทั้งหลาย สตฺตมชวนปูรณตฺถํ เพื่อความครบบริบูรณ์แห่ง ชวนจิตดวงที่ ๗ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าว สาวธารณํ บทมีบทอวธารณะว่า ภวงฺคปาโตว (ตกเป็นภวังคจิตทันที) อิติ ดังนี้ มตนิเสธนตฺถ เพื่อจะคัดค้านมติ ํเตส ของอาจารย์นิกายอื่นเหล่านั้นเสีย ฯ ํ ตตฺถาติ บทว่า ตตฺถ ได้แก่ อฏฺาณ สมฺปยุตฺตกามาวจรชวเนสุ บรรดา กามาวจรชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๘ ดวง (มหากุศลชวนจิต ๔ ดวง และ มหากิริยาชวนจิต ๔ ดวง) เตสุ เหล่านั้น จ และ ฉพฺพีสติมหคฺคตโลกุตฺตรชวเนสุ บรรดามหัคคตชวนจิตและโลกุตตรชวนจิต ๒๖ ดวง (มหัคคตกุศลชวนจิต ๙ ดวง มหัคคตกิริยาชวนจิต ๙ ดวง และโลกุตตรชวนจิต ๘ ดวง) เตสุ เหล่านั้น ฯ วา อีกนัยหนึ่ง ตตฺถ บทว่า ตตฺถ อปฺปนาชวนวาเร ได้แก่ ในวาระแห่งอัปปนาชวนจิต ตสฺมึ นั้น ฯ โสมนสฺสสหคตชวนานนฺตรนติ บทว่า โสมนสฺสสหคตชวนานนฺตรํ ได้แก่ กุสลกฺริยา ชวนานมนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากกุศลชวนจิตและกิรินาชวนจิต จตุนฺน ๔ ดวง ํ โสมนสฺสสหคตาน ซึ่งสหรคตด้วยโสมนัส ฯ ํ โสมนสฺสสหคตาวาติ บทว่า โสมนสฺสสหคตาว ความว่า (บัณฑิตพึงหวังเฉพาะอัปปนาชวนจิต) โสมนสฺสสหคตาว ที่สหรคตด้วยโสมนัส วเสน ด้วยอ�ำนาจ จตุกฺกชฺฌานสฺส ฌาน ๔ จ และ มคฺคผลสฺส มรรคจิตและผลจิต สุกฺขวิปสฺสกาทีนํ แห่ง พระอริยบุคคลผู้เป็นสุกขวิปัสสกเป็นต้น ปน แต่ น (ปาฏิกงฺขิตพฺพา) ไม่พึงหวัง (อปฺปนา) อัปปนาชวนจิต อุเปกฺขาสหคตาปิ แม้ที่สหรคตด้วยอุเบกขา ภินฺเวทนานํ อญฺมฺ อาเสวนปจฺจยภาวสฺส อนุทฺธฏตฺตา เพราะ (ในคัมภีร์ปัฏฐาน) พระผู้มีพระภาคเจ้ามิได้ทรงยกเหล่าชวนจิต ที่มีเวทนาต่างกัน (ขึ้นแสดงไว้) ว่าเป็น อาเสวนปัจจัยแก่กันและกัน ฯ ปาฏิกงฺขิตพฺพาติ บทว่า ปาฏิกงฺขิตพฺพา ได้แก่ ปสํสิตพฺพา (พึงประสงค์) ฯ วุตฺตํ โหติมีค�ำที่ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า อิจฺฉิตพฺพา (พึงปรารถนา) ฯ ตตฺถาปิติ บทว่า ตตฺถาปิเอกเวทนาชวนวาเรปิ ได้แก่ แม้ในวาระ แห่งชวนจิตที่ประกอบด้วยเวทนาอย่างเดียว ตสฺมึ นั้น ฯ กุสลชวนานนฺตรนฺติ บทว่า กุสลชวนานนฺตร ได้แก่ ํ จตุพฺพิธาณสมฺปยุตฺตกุสลชวนานนฺตร ในล� ํำดับ
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 167 ต่อจากกุศลชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ๔ ดวง กุสลชวนํ กุศลชวนจิต อปฺเปติ ย่อมแน่วแน่ น กฺริยาชวนํ ไม่ใช่กิริยาชวนจิตแน่วแน่ นิพฺพตฺตนโต เพราะบังเกิด ภินฺนสนฺตาเนน โดยสันดานที่ต่างกัน ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า จ และ ผลตฺตยํ ผลจิต ๓ ดวง เหฏฺม เบื้องต�่ ํำ อปฺเปติ ย่อมแน่วแน่ สมาปตฺติวีถิย ในสมาบัติวิถี ฯ ํ สุขปฺุ มฺหาติ บทว่า สุขปฺุ มฺหา เป็นต้น ความว่า ทฺวตฺตึส อัปปนาชวนจิต ๓๒ ดวง อคฺคผลวิปากกฺริยาวชฺชิตโลกิยโลกุตฺตรจตุกฺกชฺฌานวเสน คือ ฌาน ๔ ทั้งฝ่ายโลกิยะและฝ่ายโลกุตตระ เว้นอรหัตตผลจิต (๔ ดวง) รูปาวจรวิบากจิต (๔ ดวง) และรูปาวจรกิริยาจิต (๔ ดวง) (สมฺโภนฺติ) ย่อมเกิด ปรํ ต่อ โสมนสฺสสหคตติเหตุกกุสลทฺวยโต จากกุศลจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสเวทนาฝ่าย ติเหตุกะ ๒ ดวง (อปฺปนา) อัปปนาชวนจิต ทฺวาทส ๑๒ ดวง ปญฺจมชฺฌานานิ อันเป็นฌานที่ ๕ ตเถว ก็เหมือนกัน (สมฺโภนฺติ) คือ ย่อมเกิด ปรํ ต่อ อุเปกฺขกา จากกุศลจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ติเหตุกกุสลทฺวยโต คือ ต่อจากกามาวจรกุศลจิตฝ่ายติเหตุกะ ๒ ดวง (อปฺปนา) อัปปนาชวนจิต อฏฺ ๘ ดวง วเสน คือ กฺริยาฌานจตุกฺกสฺส รูปาวจรกิริยาจิต ๔ ดวง จ และ อคฺคผลจตุกฺกสฺส อรหัตตผลจิต ๔ ดวง (สมฺโภนฺติ) ย่อมเกิด ปรํ ต่อ อุเปกฺขกา จากกิริยาจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ติเหตุกทฺวยโต คือ กามาวจรกิริยาจิตฝ่ายติเหตุกะ ๒ ดวง อปฺปนา อัปปนาชวนจิต ฉ ๖ ดวง วเสน คือ อุเปกฺขาสหคตรุปารูปกฺริยาปญฺจกสฺส รูปาวจรกิริยาจิต (๑ ดวง) และอรูปาวจรกิริยาจิต (๔ ดวง) ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา รวม ๕ ดวง จ และ อคฺคผลสฺส อรหัตตผลจิต (๑ ดวง) สมฺโภนฺติ ย่อมเกิด ปรํ ต่อ อุเปกฺขกา จากกิริยาจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ติเหตุกทฺวยโต คือ จากกามาวจรกิริยา จิตฝ่ายติเหตุกะ ๒ ดวง ฯ บทว่า เอตฺถ ได้แก่ วีถิสงฺคหาธิกาเร ในอธิการ ว่าด้วยวิถีสังคหะ ฯ บทว่า สพฺพตฺถาปีติ บทว่า สพฺพตฺถาปิ ความว่า ปญฺจทฺวาเร ทั้งใน ปัญจทวาร มโนทฺวาเรปิ ทั้งในมโนทวาร ฯ อิฏฺเติ บทว่า อิฏฺเ ได้แก่
168 ปริเฉทที่ ๔ อิฏฺมชฺฌตฺเต ในอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ฯ หิ ความจริง (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วกฺขติ จักล่าว อติอิฏฺารมฺมณํ อติอิฏฐารมณ์ วิสุํ แยกไว้แผนกหนึ่ง ฯ สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ปญฺวิญฺาณ ฯเปฯ ตทาลมฺพนานิ ปัญจวิญญาณจิต สัมปฏิจฉันนจิต สันตีรณจิต และตทาลัมพนจิต กุสลวิปากานิ ฝ่ายกุศลวิบาก (อุปฺปชฺชนฺติ) ย่อมเกิด (อิฏฺมชฺฌตฺเต) ในอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ ฯ สนฺตีรณตทาลมฺพนานิ สันตีรณจิตและ ตทาลัมพนจิต อุเปกฺขาสหคตาเนว เฉพาะที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น (อุปฺปชฺชนฺติ) ย่อมเกิด อิฏฺเ ในอิฏฐารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อาห จึงกล่าวว่า ปน แต่ว่า (สนฺตีรณตทาลมฺพนานิ) สันตีรณจิตและตทาลัมพนจิต โสมนสฺสสหคตาเนว เฉพาะที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนาเท่านั้น (อุปฺปชฺชนฺติ) ย่อมเกิด อติอิฏฺเ ในอติอิฏฐารมณ์ ฯ หิ ความจริง วิปากสฺส วิบากจิต ปวตฺตมานสฺส ที่เป็นไป กมฺมานุภาวโต ตามอานุภาพแห่งกรรม เวทนาโยโค โหติย่อมมีการประกอบ ด้วยเวทนา ยถารมฺมณเมว ตามอารมณ์นั่นแหละ กปฺเปตฺวา คหณาภาวโต เพราะจะก�ำหนดรับอารมณ์เองไม่ได้ นิพฺพิกปฺปตาย เหตุปราศจากการก�ำหนดหมาย อาทาเส มุขนิมิตฺตํ วิย เปรียบเสมือนเงาหน้าในกระจก ฉะนั้น ฯ ปน ส่วน กุสลากุสลานํ กุศลจิตและอกุศลจิตทั้งหลาย คหณํ โหติย่อมมีการรับอารมณ์ อติอิฏฺเปิ แม้ในอติอิฏฐารมณ์ อิฏฺมชฺฌตฺตอนิฏฺาการโต โดยอาการเป็น อิฏฐมัชฌัตตารมณ์หรือเป็นอนิฏฐารมณ์ก็ได้ อนิฏฺเปิ แม้ในอนิฏฐารมณ์ อิฏฺอิฏฺมชฺฌตฺตาการโต โดยการเป็นอิฏฐารมณ์หรือเป็นอิฏฐมัชฌัตตารมณ์ก็ได้ ปวตฺติยา เพราะเป็นไป สนฺตาเนสุ ในสันดาน อปฺปหีนวิปลฺลาเสสุ ที่ยังละ ความส�ำคัญผิดไม่ได้ ฯ ตถาหิ จริงย่างนั้น อติอิฏฺารมฺมเณปิ แม้ในอติอิฏฐารมณ์ พุทฺธาทีสุ มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น อสทฺธาทีน ส� ํำหรับพวกชนผู้ไม่มีศรัทธาเป็นต้น อุเปกฺขาชวนํ โหติ ย่อมมีชวนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเกิดขึ้น ฯ จ แต่ ติตฺถิยาทีนํ ส�ำหรับพวกเดียรถีย์เป็นต้น โทมนสฺสชวนํ โหติย่อมมีชวนจิตที่สหรคตด้วย
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 169 โทมนัสสเวทนาเกิดขึ้น ฯ จ ส่วน ปฏิกฺกูลารมมเณฺ ในอารมณ์ที่ปฏิกูล คมฺภีรปกติกาทีนํ ส�ำหรับพวกชนผู้มีปกติลึกซึ้งเป็นต้น อุเปกฺขาชวนํ โหติ ย่อมมีชวนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเกิดขึ้น ฯ จ แต่ ตตฺถ ในอารมณ์ ที่ปฏิกูลนั้น สุนขาทีนํ ส�ำหรับพวกสุนัขเป็นต้น โสมนสฺสชวนํ โหติ ย่อมมี ชวนจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนาเกิดขึ้นได้ ฯ ปน ส่วน วิปากานิ วิบากจิต ปุริมปจฺฉาภาคปฺปวตฺตานิ ที่เป็นไปแล้วในส่วนเบื้องต้นและภายหลัง ยถาวตฺถุกาเนว ย่อมเกิดตามวัตถุที่ตั้งที่เกิดนั่นแล ฯ อปิ เช่น วิปากานิ วิบากจิต สุนขาทีนํ ของพวกสุนัขเป็นต้น สุมนายมานานํ ประพฤติพอใจ อสุจิทสฺสเน ในเพราะเห็น ของไม่สะอาด อิติ แล ฯ ปน ก็ การณ เหตุ ํ จกฺขุวิญฺาณาทีนํ อติอิฏฺานิฏฺเสุ ปวตฺตมานานมฺปิ อุเปกฺขาสหคตภาเว ในความที่จักขุวิญญาณจิตเป็นต้น แม้ที่ เป็นไปอยู่ในอติอิฏฐารมณ์และอนิฏฐารมณ์ เป็นธรรมชาตสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา มยา ข้าพเจ้า (พระสุมังคลาจารย์) กถิตเมว กล่าวไว้เสร็จแล้ว เหฏฺา ข้างต้น นั่นแล ฯ ตตฺถาปีติ บทว่า ตตฺถาปิตทาลมฺพเนสุปิ แม้ในบรรดาตทาลัมพนจิต ฯ โสมนสฺสสหคตกฺริยาชวนาวสาเนติ บทว่า โสมนสฺสสหคตกฺริยาชวนาวสาเน สเหตุกาเหตุกสุขสหคตกฺริยาปญฺจกาวสาเน ได้แก่ เมื่อกิริยาชวนจิตที่สหรคต ด้วยโสมนัสสเวทนาทั้งฝ่ายสเหตุกะทั้งฝ่ายอเหตุกะ ๕ ดวงดับลง ฯ ขีณาสวานํ จิตฺตวิปลฺลาสาภาเวน เพราะพระขีณาสพทั้งหลาย ไม่มีจิตวิปัลลาส กฺริยาชวนานิปิ แม้กิริยาชวนจิต ปวตฺตนฺติ ก็ย่อมเป็นไป ยถารมฺมณเมว ตามอารมณ์นั่นแล อิติ เพราะเหตุนั้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ วุตฺตํ จึงกล่าวว่า โสมนสฺสสหคตกฺริยาชวนาวสาเนติอาทิ ในเมื่อกิริยาชวนจิตที่สหรคตด้วย โสมนัสสเวทนาดับลง ดังนี้เป็นต้น ฯ ปน ส่วน อาจริยา อาจารย์ เกจิ บางพวก วทนฺติ กล่าวว่า ปฏฺาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า วุตฺตํ ตรัส ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต กุสลากุสลานเมวานนฺตรํ ไว้ในล�ำดับ ต่อจากกุศลจิตและอกุศลจิตว่า กุสลากุสเล เมื่อกุศลจิตหรืออกุศลจิต นิรุทฺเธ ดับลง วิปาโก วิบากจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ตทารมฺมณตฺตา เพราะมี
170 ปริเฉทที่ ๔ ตทาลัมพนจิตเป็นอารมณ์ อิติ เพราะเหตุนั้น ตทารมฺมณุปฺปาโท ตทาลัมพนจิต จึงเกิด กฺริยาชวนานนฺตร ในล� ํำดับต่อจากกิริยาชวนจิต ฯ ตตฺถ ในค�ำของอาจารย์ บางพวกนั้น วุจฺจเต ข้าพเจ้าจะกล่าวเฉลย ฯ ยทิ ถ้า วุจฺเจยฺย พระผู้มีพระภาคเจ้า พึงตรัส ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต อพฺยากตานนฺตรมฺปิ แม้ในล�ำดับต่อจาก อัพยากตจิต (กิริยาชวนจิต) ไซร้ (ปุคฺคลา) บุคคลทั้งหลาย มญฺเยฺย ก็จะพึงส� ํำคัญ ปวตฺตึ ความเป็นไป ตสฺส แห่งตทาลัมพนจิตนั้น โวฏฺวนานนฺตรํปิ แม้ในล�ำดับ ต่อจากโวฏฐัพพนจิต ปริตฺตารมฺมเณ ในปริตตารมณ์วิถี อิติ เพราะเหตุนั้น (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า น วุตฺตํ จึงไม่ตรัส ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต กฺริยาชวนานนฺตรํ ไว้ในล�ำดับต่อจากกิริยาชวนจิต ปน แต่ น วุตฺตํ ที่ไม่ตรัสไว้ อลพฺภมานโต ไม่ใช่ว่าจะหาไม่ได้ ฯ หิ ความจริง อวจน การไม่ตรัส ํลพฺภมานสฺสาปิ ถึงธรรมแม้จะหาได้อยู่ อธิปฺปาเยน ด้วยพระประสงค์ เกนจิ บางประการ ทิสฺสติ ย่อมปรากฏ กตฺถจิ ในที่บางแห่ง ยถาตํธมฺมสงฺคเห ลพฺภมานมฺปิหทยวตฺถุ เทสนาเภทปริหารตฺถํ น วุตฺตํ เหมือนอย่างไม่ตรัสหทัยวัตถุ แม้ที่หาได้อยู่ใน หมวดธรรม เพื่อจะเฉลยความต่างแห่งเทศนา ฉะนั้น อิติ แล ฯ โทมนสฺสสหคเต เมื่อชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา นิรุทฺเธ ดับลง (ตทาลมฺพนภวงฺคานิ) ตทาลัมพนจิตและภวังคจิต อุเปกฺขาสหคตาเนว เฉพาะที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนาเท่านั้น ภวนฺติ ย่อมเกิด (ตทาลมฺพนภวงฺคานิ) ตทาลัมพนจิตและภวังคจิต โสมนสฺสสหคตานิ ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา น ภวนฺติ เกิดไม่ได้ อญฺมฺ ํ วิรุทฺธสภาวตฺตา เพราะโสมนัสสเวทนากับ โทมนัสสเวทนามีสภาวะขัดแย้งกันและกัน ฯ หิ ก็ เตเนว เพราะเหตุนั้นแหละ ปฏฺาเน ในคัมภีร์ปัฏฐาน (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า อนุทฺธฏํ จึงไม่ทรงยก โสมนสฺสํ โสมนัสสเวทนาขึ้นแสดงไว้ โทมนสฺสานนฺตรํ ในล�ำดับต ่อจาก โทมนัสสเวทนา จ และ อนุทฺธฏํ ไม่ทรงยก โทมนสฺสํ โทมนัสสเวทนาขึ้นแสดง ไว้ ตทนนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากโสมนัสสเวทนานั้น ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เวทนาตฺติเก ในเวทนา ๓ ประการ (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า วุตฺตา ตรัส
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 171 อนนฺตรปจฺจยวารา อนันตรปัจจัยไว้ สตฺเตว ๗ วาระเท่านั้น เอวํ อย่างนี้ อิติ คือ วุตฺตา ตรัส สุขทุกฺขเวทนาสมฺปยุตฺตธมฺมา ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา กับธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาไว้ ทฺวีสุ ทฺวีสุ วาเรสุ เวทนา ๒ วาระ อนนฺตรปจฺจยภาเวน โดยความเป็นอนันตรปัจจัย สมานเวทนาสมฺปยุตฺตานํ แก่ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตด้วยเวทนาที่เหมือนกัน อตฺตโน อตฺตโน ของตน ๆ จ และ อทุกฺขมสุขเวทนาสมฺปยุตฺตานํ แก ่ธรรมทั้งหลายที่สัมปยุตด้วย อทุกขมสุขเวทนา สุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺโต ธมฺโม สุขาย เวทนาย สมฺปยุตฺตสฺส ธมฺมสฺส อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโยติอาทินา โดยพระพุทธพจน์ว่า ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาเป็นปัจจัยโดยเป็นอนันตรปัจจัยแก่ธรรมที่สัมปยุต ด้วยสุขเวทนาดังนี้เป็น ปน แต่ วุตฺตา ตรัส ธมฺมา ธรรมทั้งหลาย อทุกฺขมสุขเวทนาสมฺปยุตฺตา ที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาไว้ ตีสุ วาเรสุ ๓ วาระ อนนฺตรปจฺจยภาเวน โดยความเป็นอนันตรปัจจัย ธมฺมานํ แก่ธรรม ทั้งหลาย สมานเวทนาสมฺปยุตฺตาน ที่สัมปยุตด้วยเวทนาที่เหมือนกัน จ และ ธมฺมานํ แก่ธรรมทั้งหลาย อิตรเวทนาทฺวยสมฺปยุตฺตานํ ที่สัมปยุตด้วยเวทนา ๒ ประการนอกนี้ ฯ จ ก็ ยทิ ถ้าว่า โสมนสฺสํ โสมนัสสเวทนา อุปฺปชฺเชยฺย จะพึงเกิดขึ้นได้ โทมนสฺสานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากโทมนัสสเวทนา วา หรือ โท มนสฺสํ โทมนัสสเวทนา อุปฺปชฺเชยฺย จะพึงเกิดขึ้นได้ โสมนสฺสานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากโสมนัสสเวทนาไซร้ วตฺตพฺพา สิยุํ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็จะต้อง ตรัส (อนันตรปัจจัย) ไว้ นว วารา ๙ วาระ วฑฺเฒตฺวา ทรงเพิ่มขึ้นอีก เทฺว วาเร ๒ วาระ สุขทุกฺขเวทนาสมฺปยุตฺตานมฺปิอญฺมฺ ํ อนนฺตรปจฺจยวเสน คือ ธรรมที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนากับธรรมที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นอนันตรปัจจัย แก่กันและกัน ฯ ปน น วุตฺตา แต่พระองค์ก็มิได้ตรัสไว้ เอวํ อย่างนั้น ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ตทนนฺตรํ เตสํ น อุปฺปตฺติ อตฺถิ โสมนัสสเวทนานั้น จึงไม่มีความเกิดขึ้น ในล�ำดับต่อจากโทมนัสสเวทนานั้น และโทมนัสสเวทนานั้น ก็ไม่มีความเกิดขึ้นในล�ำดับต่อจากโสมนัสสเวทนานั้น ฯ จ ก็ เอตฺถ ในอธิการว่า
172 ปริเฉทที่ ๔ ด้วยการก�ำหนดตทาลัมพนจิตนี้ โสมนสฺสสหคตกฺริยาชวนาวสาเนติอาทินา ด้วยค�ำว่า โสมนสฺสสหคตกฺริยา ชวนาวสาเน เป็นต้น (อนุรุทฺเธน) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อนุญฺาโต คล้อยตาม นิยโม ข้อก�ำหนด อยมฺปิ แม้นี้ว่า :- ปญฺจสุ สุขิเตสุ บรรดาตทาลัมพนจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ๕ ดวง ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต เอเกกํ แต่ละดวง (ย่อมเกิดมี) ปริตฺตกุสลาโทสปาปสาตกฺริยาชวา ต่อจากกามาวจรกุศลชวนจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา อกุศลชวนจิตที่ไม ่ใช ่โทสมูลจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา และกามาวจรกิริยาชวนจิตที่สหรคต ด้วยโสมนัสสเวทนา ยถารหํ ตามสมควร ฯ ฉสุ บรรดาตทาลัมพนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขา ๖ ดวง ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต เอเกกํ แต่ละดวง (ย่อมเกิดมี) ปาปา ต่อจากอกุสล ชวนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา กามสุภา กามาวจรกุศลชวนจิต ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา จ และ กฺริยาชวา จากกามาวจรกิริยา ชวนจิต โสเปกฺขา ที่สหรคตด้วยอุเบกขา อนุรูปโต ตามสมควร ฯ หิ ความจริง ตทารมฺมณนิยโม การก�ำหนดตทาลัมพนจิต ชวเนน ตามชวนจิต อยํ นี้ อพฺยภิจารี เป็นความประพฤติที่เกินความเป็จริงไป ก็หามิได้ ฯ ปน ส่วน ตทารมฺมณนิยโม การก�ำหนดตทาลัมพนจิต าณสมฺปยุตฺตตทารมฺมณนฺติ- อาทินยปฺปวตฺโต ที่เป็นไปโดยนัยว่า ตทาลัมพนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต (โหติ) ย่อมเกิดมี าณสมฺปยุตฺตชวนโต ต่อจากชวนจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ดังนี้เป็นต้น อเนกนฺติโก มิใช่เป็นไปโดยความหมายเพียงอย่างเดียว ฯ หิ ความจริง กทาจิ ในกาลบางคราว กุสลชวเนสุ เมื่อกุศลชวนจิตทั้งหลาย ปริจิตสฺส ของบุคคล ผู้สั่งสมไว้ อกุสลชวเนสุ ในอกุศลชวนจิตทั้งหลาย เยภุยฺเยน โดยมาก ชวิเตสุ แล่นไปแล้ว อเหตุกตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิตฝ่ายอเหตุกะ โหติ ย่อมเกิดมีได้ ปรํ แม้ต่อ ติเหตุกชวนโตปิ จากชวนจิตที่เป็นติเหตุกะ ปวตฺตปริจเยน เพราะ ความเคยชินที่เป็นไป อกุสลานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากอกุศลชวนจิต วา หรือว่า
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 173 กทาจิ ในกาลบางคราว (อกุสลชวเนสุ) เมื่ออกุศลชวนจิตทั้งหลาย (ปริจิตสฺส) ของบุคคลผู้สั่งสมไว้ (กุสลชวเนสุ) ในกุศลชวนจิตทั้งหลาย (เยภุยฺเยน) โดยมาก (ชวิเตสุ) แล่นไปแล้ว ติเหตุกตทารมฺมณมฺปิ ตทาลัมพนจิตฝ่ายติเหตุกะ ตถา ก็เหมือนกัน (โหติ) คือย่อมเกิดมีได้ ปรํ ต่อ อกุสลชวนโต จากอกุศลชวนจิต กุสลานนฺตรมฺปวตฺตปริจเยน เพราะความเคยชินที่เป็นไปในล�ำดับต ่อจาก กุศลชวนจิต ฯ ปน ส่วน ตทารมฺมณปฺปวตฺติย ในความเป็นไปแห่งตทาลัมพนจิต ํ อญฺกมฺเมน ด้วยกรรมอื่น ปฏิสนฺธินิพฺพตฺตกกมฺมโต จากกรรมที่ให้ปฏิสนธิจิต บังเกิด นฺตถิ ไม่มี วตฺตพฺพเมว ค�ำที่จะต้องพูดถึงเลย ฯ ตถา จ เพราะเหตุนั้นแล (ภควตา) พระผู้มีพระภาคเจ้า วุตฺตํ จึงตรัสไว้ ปฏฺาเน ในคัมภีร์ปัฏฐานว่า (โยคาวจโร) ผู้บ�ำเพ็ญเพียร วิปสฺสติ ย่อมเห็นแจ้ง อเหตุเก ขนฺเธ อเหตุขันธ์ ทั้งหลาย อนิจฺจโต โดยไม่เที่ยง ทุกฺขโต โดยเป็นทุกข์ อนตฺตโต โดยเป็นอนัตตา กุสลากุสเล เมื่อกุศลชวนจิตหรืออกุศลชวนจิต นิรุทฺเธ ดับลง วิปาโก วิบากจิต อเหตุโก ฝ่ายอเหตุกะ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ตทารมฺมณตฺตา เพราะมีอารมณ์ แห่งกุศลชวนจิตหรืออกุศลชวนจิตนั้นเป็นอารมณ์ กุสลากุสเล เมื่อกุศลชวนจิต หรืออกุศลชวนจิต นิรุทฺเธ ดับลง วิปาโก วิบากจิต สเหตุโก ฝ่ายสเหตุกะ อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้น ตทารมฺมณตฺตา เพราะมีอารมณ์แห่งกุศลชวนจิตหรือ อกุศลชวนจิตนั้นเป็นอารมณ์ อิติ ดังนี้เป็นต้น ฯ ตสฺมาติ บทว่า ตสฺมา สมฺพนฺโธ เชื่อมความว่า ยสฺมา เพราะเหตุที่ (ตทาลมฺพนภวงฺคานิ) ตทาลัมพนจิตและภวังคจิต อุเปกฺขาสหคตาเนว อันสหรคตด้วยอุเบกขาเวทนานั่นแล โหนฺติ มี โทมนสฺสชวนาวสาเน ในที่สุด ชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ตสฺมา ฉะนั้น ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต อุเปกฺขาสหคตํ ที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา อุปฺปชฺชติ จึงเกิดขึ้น โทมนสฺสชวนาวสาเน ในที่สุดชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ฯ โสมนสฺสปฏิสนธิกสฺสาติ ด้วยบทว่า โสมนสฺสปฏิสนธิกสฺส อิมินา นี้ ทีปิโตว โหติเป็นอันท่านอาจารย์แสดง ภวงฺคปาตาภาโวปิ แม้ความไม่มีการตกเป็นภวังคจิต
174 ปริเฉทที่ ๔ นั่นเอง โสมนสฺสาภาวโต เพราะไม่มีโสมนัสสเวทนา โทมนสฺสานนฺตรํ ในล�ำดับ ต่อจากโทมนัสสเวทนา อิติ เหตุนั้น (อนุรุทฺโธ) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ อวตฺวา จึงไม่กล่าว ตํ ความข้อนั้น ปริกปฺเปนฺโต ก�ำหนด ตทาลมฺพนาภาวเมว เฉพาะความไม่มีตทาลัมพนจิตอย่างเดียว อาห จึงกล่าวว่า ยทิ ถ้า นตฺถิ ไม่มี ตทาลมฺพนสมฺภโว ความเกิดตทาลัมพนจิต อิติ ดังนี้ ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า ยทิ ถ้า นตฺถิ ไม่มี อุปฺปตฺติสมฺภโว ความเกิด คือความอุบัติ ตทาลมฺพนสฺส แห่งตทาลัมพนจิต ติตฺถิยาทิโน แก่เดียรถีย์เป็นต้น โสมนสฺสปฏิสนฺธิกสฺส ผู้มีปฏิสนธิจิตที่สหรคตด้วยโสมนัสสเวทนา ปฏิหตจิตฺตสฺส ซึ่งมีจิตขัดเคือง พุทฺธาทิอติอิฏฺารมฺมเณปิ แม้ในอติอิฏฐารมณ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น โทมนสฺสชวเน ในเมื่อชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ชวิเต แล่นไปแล้ว วุตฺตนเยน โสมนสฺสตทาลมฺพนสฺส อนุปฺปชฺชนโต เพราะตทาลัมพนจิตที่สหรคตด้วย โสมนัสสเวทนาไม่เกิดขึ้นโดยนัยที่กล่าวแล้ว จ และ อุเปกฺขาสหคตตทาลมฺพนสฺส อนุปฺปชฺชนโต ตทาลัมพนจิตที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา ก็ไม่เกิดขึ้น อติอิฏฺารมฺมเณปิ ในอติอิฏฐารมณ์ วา หรือ ยทิ ถ้า นตฺถิ ไม่มี อุปฺปตฺติสมฺภโว ความเกิดคือความอุบัติ ตทาลมฺพนสฺส แห่งตทาลัมพนจิต (ปุคฺคลสฺส) แก่บุคคล ปริหีนโลกิยชฺฌานํ อารพฺภ ผู้ปรารภ ปริหีนโลกิยชฺฌานํ โลกิยฌานอันเสื่อมไป อสปฺปาเยน ด้วยอสัปปายะ เกนจิ บางอย่าง วิปฺปฏิสารํ ชเนนฺตสฺส เกิดเสียดายว่า ปณีตธมฺโม ธรรมประณีต เม ของเรา นฏฺโ ฉิบหายเสียแล้ว อิติ ดังนี้ โทมนสฺสชวเน สติ ในเมื่อมีชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ตทาลมฺพนาภาวโต เพราะไม่มีตทาลัมพนจิต อกามาวจราลมฺพเน ในอารมณ์ที่ไม่ใช่กามาวจร อิติ ดังนี้ ฯ ปริจิตปุพฺพนฺติ บทว่า ปริจิตปุพฺพ โดยอรรถว่า ํ ปริจิต ที่ตนคุ้นเคยแล้ว ํ ปุพฺเพ ในกาลก่อน คหิตปุพฺพํ คือที่ตนเคยรับแล้ว เยภุยฺเยน โดยมาก ภเว ในภพ ตสฺมึ นั้น ฯ อธิปฺปาโย อธิบายว่า อุเปกฺขาสหคตสนฺตีรณ สันตีรณจิต ํ ที่สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา นิราวชฺชนมฺปิ แม้ปราศจากอาวัชชนจิต อุปฺปชฺชติ ย่อมเกิดขึ้นได้ ยถาตํ นิโรธา วุฏฺหนฺตสฺส ผลจิตฺตํ เหมือนอย่างผลจิตของท่าน
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 175 ผู้ออกจากนิโรธสมาบัติ ฉะนั้น ฯ ยถาหุ (โปราณา) สมจริงดังที่พระโบราณาจารย์ ทั้งหลายกล่าวไว้ว่า หิ ความจริง เอตํ ค�ำว่า จิตฺตํ จิต นิราวชฺชํ ที่ปราศจากอาวัชชนจิต โหติ มีได้ กถํ อย่างไร อิติ ดังนี้ นั้น (อาจริเยหิ) ท่านอาจารย์ ทั้งหลาย น สมฺมตํ มิได้กล่าวไว้ นิยโม การก�ำหนดว่า วินาวชฺชํ จิตที่ปราศจากอาวัชชนจิต ย่อมไม่มี ดังนี้ น มีอยู่ก็หามิได้ ผลทสฺสนา เพราะแสดงถึงผลจิต (อนาคามิผลจิตและอรหัตตผลจิต) เว้นจาก อาวัชชน จิตเสีย ก็เกิดขึ้น นิโรธา ต่อจากนิโรธสมาบัติได้ ฯ เกน ปน กิจฺเจน อิทํ จิตฺตํ ปวตฺตตีติถามว่า ก็จิตดวงนี้ (สันตีรณจิตที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนา) ย่อมเป็นไปโดยกิจอะไร ฯ ตอบว่า ตาว อันดับแรก อิทํ จิตดวงนี้ นปฺปวตฺตติ ย่อมไม่เป็นไป ตทารมฺมณกิจฺเจน โดยตทาลัมพนกิจ ชวนารมฺมณสฺส อคฺคหณโต เพราะไม ่รับรองอารมณ์ของชวนจิต นาปิ สนฺตีรณกิจฺเจน ทั้งไม่เป็นไปโดยสันตีรณกิจ สนฺตีรณวเสน อปฺปวตฺตนโต เพราะไม ่เป็นไปด้วยอ�ำนาจพิจารณาอารมณ์ ยถาสมฺปฏิจฺฉิตสฺส ตามที่ สัมปฏิจฉันนจิตรับมา ปฏิสนฺธิจุตีสุ ในปฏิสนธิกิจและจุติกิจ วตฺตพฺพเมว นตฺถิ ไม่จ�ำเป็นต้องพูดถึงเลย ปน แต่ ปริเสสโต เมื่อว่าโดยนัยที่ยังเหลืออยู่ ภวงฺคกิจฺเจนาติยุตฺตํ สิยา ควรจะพูดว่า จิตดวงนี้ย่อมเป็นไปโดยภวังคจิต ภวสฺส องฺคภาวโต เพราะเป็นองค์แห่งภพ ฯ หิ ความจริง อาจริยธมฺมปาลตฺเถเรนาปิ แม้ท่านอาจารย์ธรรมปาลเถระ อยมตฺโถ ทสฺสิโตว ก็แสดงเนื้อความนี้ไว้เสร็จแล้ว ฯ ปน ก็ ยํ ปฏิสนฺธิภวงฺคานํ ธมฺมโต อารมฺมณโต จ สมานตํ วกฺขติตํ ข้อที่ ท่านอาจารย์จักกล่าวว่า ปฏิสนธิจิตและภวังคจิตเสมอกันโดยธรรมและอารมณ์นั้น เยภุยฺยโตติ ทฏฺพฺพํ พึงเห็นว่า ท่านอาจารย์กล่าวไว้โดยมาก ฯ หิ ความจริง อิทเมกํ านํ วชฺเชตฺวา เว้นฐานะหนึ่งนี้เสียแล้ว ปฏิสนฺธิภวงฺคานํ วิสทิสตา น อตฺถิ ปฏิสนธิจิตและภวังคจิตจะไม่มีความแปลกกันเลย ฯ ตมนนฺตริตฺวาติ บทว่า ตมนนฺตริตฺวา ได้แก่ ตํ อตฺตโน อนนฺตรํ กตฺวา กระท�ำสันตีรณจิตที่สหรคต
176 ปริเฉทที่ ๔ ด้วยอุเบกขาเวทนานั้นไว้ในล�ำดับแห่งตน อพฺยาวหิตํ คือไม่ให้จิตดวงอื่นเข้ามา แทรกแซง ฯ ตทนนฺตรนฺติ อตฺโถ อธิบายว่า ในล�ำดับต่อจากสันตีรณจิตที่ สหรคตด้วยอุเบกขาเวทนานั้น ฯ กามาวจร ฯเปฯ อิจฺฉนฺตีติเอตฺถ ในค�ำว่า กามาวจร ฯเปฯ อิจฺฉนฺติ (ท่านอาจารย์ทั้งหลาย ย่อมปรารถนาตทาลัมพนจิต ในเมื่อกามาวจรชวนจิตดับลง เฉพาะในกามาวจรธรรมที่เป็นอารมณ์ส�ำหรับเหล่ากามาวจรสัตว์) นี้ พึงทราบ อธิบายความว่า ท่านอาจารย์ทั้งหลาย อิจฺฉนฺติ ย่อมปรารถนา ตทารมฺมณํว ตทาลัมพนจิตนั่นแล กามาวจรชวนาวสาเนเยว ในเมื่อกามาวจรชวนจิตดับลง เท่านั้น กามตณฺหานิทานกมฺมนิพฺพตฺตตฺตา เพราะตทาลัมพนจิตนั้นบังเกิดแต่กรรม มีกามตัณหาเป็นต้นเหตุ ฯ หิ ความจริง ตํ ตทาลัมพนจิตนั้น กมฺมุนา อันกรรม กามตณฺหาเหตุเกน ที่มีกามตัณหาเป็นเหตุ ชนิตํ ให้เกิดแล้ว น อุปฺปชฺชติ ย่อมไม่เกิดขึ้น อนนฺตร ในล� ํำดับ รูปารูปาวจรโลกุตฺตรชวนสฺส แห่งรูปาวจรชวนจิต อรูปาวจรชวนจิต และโลกุตตรชวนจิต อตํสภาวสฺส ซึ่งไม่มีสภาวะเช่นนั้น ฯ กึการณํ เหตุอะไร หรือ ฯ อชฺชนกตฺตา เพราะรูปาวจรชวนจิตเป็นต้นนั้น ไม่ใช่ ธรรมชาตให้ก�ำเนิด ชนกสมานตฺตาภาวโต จ และเพราะรูปาวจรชวนจิตเป็นต้นนั้น ไม่มีสภาวะเสมอกับกามาวจรกุศลจิตและอกุศลจิตซึ่งให้ก�ำเนิด ฯ หิเปรียบเสมือน พาลโก เด็กผู้ไร้เดียงสา เคหโต พหินิกฺขมิตุกาโม ผู้ประสงค์จะออกไปภายนอก เรือน ชนกํ ตํสทิสํ วา องฺคุลิยํ คเหตฺวา นิกฺขมติ ย่อมเกาะนิ้วมือบิดา หรือบุคคลคล้ายกับบิดานั้นออกไป อญฺญ ราชปุริสาทึ องฺคุลิยํ คเหตฺวา น นิกฺขมติ ย่อมไม่เกาะบุคคลอื่นมีราชบุรุษเป็นต้นออกไป ยถา ฉันใด ตทาลมฺพนํ ตทาลัมพนจิต ปวตฺตมาน ที่เป็นไป ํอญฺญตฺถ ในรูปารมณ์เป็นต้นอื่น ภวงฺควิสยโต จากอารมณ์ภวังคจิต เอว ก็ฉันนั้น ํ อนุพนฺธติ ย่อมจะติดตาม กามาวจรกุสลากุสลํ กามาวจรกุศลจิตและอกุศลจิต ชนกํ ซึ่งให้ก�ำเนิด กามาวจรกฺริยาชวนํ วา หรือ กามาวจรกิริยาชวนจิต ตํสทิสํ ซึ่งคล้ายกับกามาวจรกุศลจิตและอกุศลจิตนั้นไป จ แต่ น อนุพนฺธติ จะไม่ติดตาม มหคฺคตโลกุตฺตรชวนานิ มหัคคตชวนจิตและ
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 177 โลกุตตรชวนจิต ตสฺส วิสทิสานิ ซึ่งไม่เหมือน กามาวจรชวนจิตและอกุศลจิต นั้นไป ฯ ตถา อนึ่ง ท่านอาจารย์ทั้งหลาย อิจฺฉนฺติ ย่อมปรารถนา ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต กามาวจรสตฺตานเมว ส�ำหรับเหล่ากามาวจรสัตว์เท่านั้น น อิจฺฉนฺติ ไม่ปรารถนา พฺรหฺมานํ ส�ำหรับพวกพรหม พฺรหฺมานํ กามาวจรปฏิสนฺธิพีชสฺส อภาวโต เพราะพวกพรหมไม่มีพืชคือกามาวจรปฏิสนธิจิต ตทารมฺมณูปนิสฺสยสฺส อันเป็นอุปนิสสยปัจจัยแก่ตทาลัมพนจิต ฯ ตถา อนึ่ง ท่านอาจารย์ทั้งหลาย อิจฺฉนฺติ ย่อมปรารถนา ตทารมฺมณํ ตทาลัมพนจิต กามาวจรธมฺเมเสฺวว อาลมฺพนภูเตสุ เฉพาะในกามาวจรธรรมที่เป็นอารมณ์ น อิจฺฉนฺติ ไม่ปรารถนา อิตเรสุ ในมหัคคตธรรม โลกุตตรธรรม และบัญญัติธรรมนอกนี้ อปริจิตตฺตา เพราะไม่คุ้นกัน ฯ หิ เปรียบเสมือน โส พาลโก เด็กผู้ไร้เดียงสานั้น ชนกํ ตํสทิสํ วา อนุคจฺฉนฺโตปิแม้เมื่อจะติดตามบิดา หรือบุคคลที่คล้ายบิดานั้นไป อรญฺญาทึ อปริจิตฏฺานํ คจฺฉนฺตํ นานุพนฺธิตฺวา ก็จะไม่ติดตามเขาไปยังที่ที่ตน ไม่คุ้นมีป่าเป็นต้น อนุพนฺธติ ย่อมจะติดตามไป ปริจิตฏฺาเนเยว เฉพาะในที่ที่ตน คุ้นเคย ปมุขงฺคณาทิมฺหิ มีลานหน้ามุขเป็นต้น ยถา ฉันใด อิทมฺปิ แม้ตทาลัมพนจิตนี้ เอวํ ก็ฉันนั้น นานุพนฺธติ ย่อมไม่ติดตาม รูปาวจราทิอปริจิตาลมฺพนํ อารพฺภ ปวตฺตํ ตํ กามาวจรชวนจิตนั้น ซึ่งปรารถนาอารมณ์ที่ไม่คุ้นมีอารมณ์ที่เป็นรูปาวจร ธรรมเป็นต้นเป็นไป ฯ อปิจ อีกนัยหนึ่ง ข้าพเจ้า (พระอนุรุทธาจารย์) วุตฺโตวายมตฺโถ ได้กล่าวอธิบายความไว้เสร็จแล้ว ดังนี้ อิติ ว่า กามตณฺหายตฺตกมฺมชนิตตฺตาปิ แม้เพราะเป็นธรรมชาติอันกรรมเนื่องด้วยกามตัณหาให้เกิดแล้ว เอต ตทาลัมพนจิตนี้ ํ ปวตฺตติ จึงเป็นไป ปริจิตธมฺเมเสฺวว เฉพาะในธรรมที่คุ้น กามตณฺหาลมฺพเนสุ อันเป็นอารมณ์แห่งกามตัณหา ฯ โหนฺติเจตฺถ ก็ ในฐานะที่ตทาลัมพนจิตเป็นไปได้ และไม่เป็นไปนี้ มีคาถารวมความไว้ดังนี้ว่า ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต อิจฺฉนฺติ ย่อมติดตาม ชนกํ กามาวจรกุศล จิตและอกุศลจิต ซึ่งให้ก�ำเนิด ตํสมานํ ชวนํ วา หรือ กามาวจรกิริยา ชวนจิต ซึ่งคล้ายกับ กามาวจรกุศลจิต และอกุศลจิตนั้นไป ตุ แต่
178 ปริเฉทที่ ๔ น อิจฺฉนฺติจะไม่ติดตาม อญฺญํ มหัคคตชวนจิต และ โลกุตตรชวนจิต อื่นไป พาลทารกลีลยา เปรียบเสมือน การติดตาม ของเด็กผู้ไร้เดียงสา ฉะนั้น ฯ ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิต นตฺถิ ย่อมไม่มี พฺรหฺมานมฺปิแม้แก่ พวกพรหม พีชสฺสาภาวโต เพราะพวกพรหมไม่มีพืช ฯ หิความจริง อิมสฺส ปฏิสนฺธิมโน กามาวจรสญฺญตํ พีชํ ตทาลัมพนจิตนี้ มี ปฏิสนธิจิต ที่เข้าใจกันว่า เป็นกามาวจรเป็นพืช ฯ อิทํ ตทาลมฺพํ ตทาลัมพนจิตนี้ พาลโก วิย เปรียบเสมือนเด็ก ผู้ไร้เดียงสา อนุยาติ ย่อมติดตาม ตํ กามาวจรชวนจิตและอกุศลจิต นั้นไป าเน ปริจิเตเยว ในที่ที่คุ้นเท่านั้น อิติ เพราะเหตุนั้น น อนุยาติ จึงไม่ติดตามไป อญฺญตฺถ ในที่ที่ไม่คุ้นอื่น วา หรือว่า อิทํ ตทาลัมพนจิตนี้ โหติ ย่อมเกิดมี ตณฺหาวเสน ด้วยอ�ำนาจตัณหา (เฉพาะในธรรมที่คุ้นอันเป็นอารมณ์แห่งกามตัณหา) ฯ ถามว่า จ ก็ วุตฺต ท่านอาจารย์ได้กล่าวไว้ ํ อิติ ว่า กามาวจรปฏิสนฺธิพีชาภาวโต เพราะไม่มีพืชคือกามาวจรปฏิสนธิจิต อิติ ดังนี้เป็นต้น ตถา จ ก็เมื่อเป็นเช่นนั้น จกฺขุวิญฺญาณาทีนมฺปิอภาโว อาปชฺชติวิญญาณจิตทั้งหลายแม้มีจักขุวิญญาณจิต เป็นต้นก็จะต้องไม่มี นนุ มิใช่หรือ ฯ ตอบว่า น อาปชฺชติ จะต้องไม่มี หามิได้ อินฺทฺริยปฺปวตฺติอานุภาวโต เพราะอานุภาพความเป็นไปแห่งอินทรีย์ ทฺวารวีถิเภเท จิตฺตนิยมโต จ และเพราะจิตนิยมในประเภทแห่งวิถีจิตที่เกิดทางทวาร ฯ มนฺทปฺปวตฺติยนฺติ บทว่า มนฺทปฺปวตฺติย ความว่า ํมนฺทํ หุตฺวา ปวตฺติย ในคราวที่ ํ (กามาวจรชวนจิต) เป็นไปอ่อน มนฺทภูตเวคตฺตา เพราะมีก�ำลังอ่อน วตฺถุทุพฺพลตาย โดยภาวะที่หทัยวัตถุมีก�ำลังอ่อน มรณกาเล ในเวลาใกล้ตาย ฯ อาทิสทฺเทน ด้วยอาทิศัพท์ มรณกาลาทีสูติ ในบทว่า มรณกาลาทีสุ นี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ มุจฺฉากาลํ สงฺคณฺหาติ ย่อมรวบรวมถึงคราวสลบ (ด้วย) ฯ ภควโต ฯเปฯ วทนฺตีติ ในค�ำว่า ภควโต ฯเปฯ วทนฺติ นี้ อฏฺกถาจริยา พระอรรถกถาจารย์ทั้งหลาย
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 179 วทนฺติ กล่าว อิติ ว่า ภควโต ส�ำหรับพระผู้มีพระภาคเจ้า ยมกปาฏิหาริยกาลาทีสุ อุทกกฺขนฺธอคฺคิกฺขนฺธานํ ปวตฺตนาทิอตฺถาย วิสุํ วิสุํ ปาทกชฺฌานํ สมาปชฺชิตฺวา ตโต วุฏฺาย ฌานธมฺเม วิสุํ วิสุํ อาวชฺเชนฺตสฺส ผู้ทรงเข้าฌานที่เป็นบาทแต่ละอย่าง เพื่อต้องการจะให้สายน�้ำและท่อไฟเป็นไปเป็นต้น ในคราวทรงท�ำยมกปาฏิหาริย์เป็นต้น ออกจากฌานที่เป็นบาทนั้นแล้ว ทรงน้อมนึกถึงฌานธรรมทั้งหลายเป็นแผนก ๆ อยู่ จิตฺตาภินีหาโร โหติย่อมมีอภินิหารแห่งจิต อาวชฺชนตปฺปโรว ซึ่งมีความน้อมนึก ที่ถึงที่สุดนั้นเป็นประธานนั่นแหละ อาวชฺชนวสิตาย มตฺถกปฺปตฺติยา โดยความที่ พระองค์ทรงมีความเชี่ยวชาญในการน้อมนึกบรรลุถึงที่สุดแล้ว อิติ เพราะเหตุนั้น ปจฺจเวกฺขณชวนจิตฺตานิ ชวนจิตเป็นเครื่องพิจารณา ยถาวชฺชิตฌานงฺคารมฺมณานิ ซึ่งมีองค์ฌานตามที่พระองค์ทรงน้อมนึกแล้วเป็นอารมณ์ ปวตฺตนฺติ ย่อมเป็นไป จตฺตาริปญฺจ วา ๔ หรือ ๕ ดวง ดังนี้ ฯ ภควโตติจ อิทํ ก็บทว่า ภควโต นี้ นิทสฺสนมตฺตํ เป็นเพียงอุทาหรณ์ เอวรูเป อจฺจายิกกาเล อปริปุณฺณชวนานํ ปวตฺตนโต เพราะในเวลารีบด่วนเห็นปานนี้ ชวนจิตที่ไม่ครบเป็นไปได้ อญฺเญสมฺปิ ธมฺมเสนาปติอาทีนํ แม้แก่พระสาวกเหล่าอื่นมีพระธรรมเสนาบดีเป็นต้น ฯ ตถา จ เพราะเหตุนั้นแล อฏฺ€กถายํวุตฺต พระพุทธโฆษาจารย์จึงกล่าวไว้ในอรรถกถา ํ อิติ ว่า อยญฺจ มตฺถกปฺปตฺตา วสี ความเชี่ยวชาญอันถึงที่สุดแล้วนี้ ย่อมมีได้ ภควโต แก่พระผู้มีพระภาคเจ้า ยมกปาฏิหาริยกาเล ในเวลาแสดงยมกปาฏิหาริย์ อญฺเญสํ วา หรือมีได้แก่พระสาวกเหล่าอื่น เอวรูเป กาเล ในเวลาเห็นปานนี้ ฯ ธมฺมปาลาจริโย วุตฺตํ ท่านอาจารย์ธรรมปาลเถระกล่าวไว้ อิติ ว่า จตฺตาริปญฺจ วาติ ปเนตํ ก็ ค�ำว่า จตฺตาริ ปญฺจ วา นี้ คเหตพฺพํ บัณฑิตควรถือเอา ติกฺขินฺทฺริยมุทินฺทฺริยวเสน ด้วยอ�ำนาจท่านผู้มีอินทรีย์แก่กล้า และท่านผู้มี อินทรีย์อ่อน ฯ ตสฺมา เพราะฉะนั้น ภควโต จตฺตาริอญฺเญสํ ปญฺจปีติค�ำว่า ปัจจเวกขณจิต ย่อมเป็นไปแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๔ ขณะ เป็นไปแก่พระสาวก เหล่าอื่นแม้ ๕ ขณะ ดังนี้ ยุตฺตํ วิย ทิสฺสติย่อมปรากฏ คล้ายเหมาะสมแล้ว ฯ อาทิกมฺมิกสฺสาติ บทว่า อาทิกมฺมิกสฺส อาทิโต กตโยคกมฺมสฺส ได้แก่ ของพระโยคาวจร
180 ปริเฉทที่ ๔ ผู้กระท�ำความเพียรเบื้องต้น ฯ ปมกปฺปนา อัปปนาที่บังเกิดครั้งที่ ๑ ปมํ นิพฺพตฺตา อปฺปนา ชื่อว่าอัปปนาที่เกิดครั้งแรก ฯ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ใส่ใจ อิติ ว่า อภิญฺญาชวนานมฺปิปมกปฺปนายาติอธิกาโร สิยา แม้อภิญญาชวนจิต ทั้งหลาย ก็พึงมีสัตตมีวิภัตติว่า ในอัปปนาครั้งแรก ดังนี้ สพฺพทาปีติ อาห จึงกล่าวว่า สพฺพทาปิ ดังนี้ ฯ อตฺโถ อธิบาย อิติ ว่า ปญฺจาภิญฺญาชวนานิ อภิญญาชวนจิตทั้ง ๕ ดวง ชวนฺติ ย่อมแล่นไปได้ เอกวารเมว เพียงครั้งเดียว เท่านั้น ปมุปฺปตฺติกาเล จิณฺณวสิกาเล จ ทั้งในกาลเกิดขึ้น ทั้งในกาลประพฤติ วสีแล้ว ฯ มคฺโคเยว มรรคนั่นเอง มคฺคุปฺปาโท ชื่อว่ามัคคุบาท อุปฺปชฺชนโต เพราะความเกิดขึ้น ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ อุปฺปนฺนมคฺคานุรูปํ ได้แก่ เหมาะแก่มรรคจิตที่เกิดขึ้น ปญฺจมํ จตุตฺถํ วา วาระที่ ๕ หรือวาระที่ ๔ ฯ หิความจริง เอกาวชฺชนวีถิยา สตฺตชวนปรมตฺตา เพราะในวิถีที่มีอาวัชชนจิตวิถีเดียว มีชวนจิตเพียง ๗ ดวงเป็นอย่างยิ่ง ตีณิ ผลจิตฺตานิ ผลจิตจึงมี ๓ ดวง ปร ต่อจาก ํ จตุตฺถํ อุปฺปนฺนมคฺคโต มัคคจิตที่เกิดขึ้นครั้งที่ ๔ เทฺว โหนฺติวา หรือมี ๒ ดวง ปญฺจมํ อุปฺปนฺนมคฺคโต ปรํ ต่อจากมัคคจิตที่เกิดขึ้นครั้งที่ ๕ ฯ นิโรธสมาปตฺติกาเลติ บทว่า นิโรธสมาปตฺติกาเล นิโรธสฺส ปุพฺพกาลภาเค ได้แก่ ในส่วนแห่งกาลเบื้องต้น ของนิโรธ ฯ จตุตฺถารูปชวนนฺติ บทว่า จตุตฺถารูปชวนํเนวสญฺญานาสญฺญายตนชวนํ ได้แก่ เนวสัญญานาสัญญายตนชวนจิต อญฺญตรํ ดวงใดดวงหนึ่ง กุสลกฺริยานํ บรรดารูปาวจรกุศลชวนจิตและอรูปาวจรกิริยาชวนจิต ฯ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ใส่ใจ อิติ ว่า อนาคามิขีณาสวาเยว พระอนาคามีและพระขีณาสพเท่านั้น นิโรธสมาปตฺตึ สมาปชฺชนฺติ ย่อมเข้านิโรธสมาบัติได้ โสตาปนฺนสกทาคามิโน พระโสดาบันและ พระสกทาคามี น สมาปชฺชนฺติ หาเข้าได้ไม่ อนาคามิผลํ อรหตฺตผลํ วาติวุตฺตํ จึงกล่าวว่า อนาคามิผลํ อรหตฺตผลํ วา ดังนี้ ฯ จ ก็ เอตฺถ ในค�ำว่า อนาคามิผลํ อรหตฺตผลํ วา นี้ วิภตฺติวิปลฺลาโส ทฏฺพฺโพ พึงเห็นวิภัติวิปัลลาส อนาคามิผเล อรหตฺตผเลติว่า อนาคามิผเล อรหตฺตผเล ฯ เตน เหตุนั้น นิรุทฺเธติ อาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าว ว่า นิรุทฺเธ ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 181 ตํตํปุคฺคลานุรูปํ เหมาะแก่บุคคลนั้น ๆ ฯ สพฺพตฺถาปิสมาปตฺติวีถิยนฺติข้อว่า สพฺพตฺถาปิสมาปตฺติวีถิยํ สกลายปิฌานสมาปตฺติวีถิยํ ผลสมาปตฺติวีถิยญฺจ ได้แก่ ทั้งในฌานสมบัติวิถี ทั้งในผลสมาบัติวิถีแม้ทั้งสิ้น ปริตฺตานิ ชวนานิ กามาวจรชวนจิต สตฺตกฺขตฺตุํ มตานิ บัณฑิตกล่าวไว้ ๗ ครั้ง อุกฺกํสโกฏิยา โดยก�ำหนดอย่างสูงสุด ฯ ปน ส่วน มคฺคาภิญฺญา มัคคชวนจิตและอภิญญาชวนจิต สกึ มตา ท่านกล่าวไว้เพียงครั้งเดียว เอกวารเมว คือ วาระเดียวเท่านั้น อวเสสานิ ชวนจิตที่เหลือ มหคฺคตโลกุตฺตรชวนานิ คือ มหัคคตชวนจิต และโลกุตตรชวนจิต อภิญฺญา มคฺควชฺชิตานิ เว้นอภิญญาชวนจิตและมัคคชวนจิต พหูนิปิ ลพฺภนฺติ ย่อมได้แม้จ�ำนวนมาก สมาปตฺติวีถิยํ ปวตฺตนโต เพราะเป็นไปในสมาบัติวิถีได้ อโหรตฺตมฺปิ ทั้งกลางวันและกลางคืน ฯ อปิสทฺเทน ด้วย อปิ ศัพท์ สมฺปิณฺเฑติ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ย่อมประมวลจิตทั้งหลายมา ว่า โลกิยชฺฌานานิ ฌานจิต ฝ่ายโลกิยะ (ปวตฺตานิ) เป็นไป ปมกปฺปนาย ในอัปปนาครั้งแรก อนฺติมผลทฺวยญฺจ และผลจิตสุดท้าย ๒ ดวง (ปวตฺตานิ) เป็นไป เอกวารํ ครั้งเดียว นิโรธานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากนิโรธสมาบัติ ผลจิตฺตานิ ผลจิตทั้งหลาย (ปวตฺตานิ) เป็นไป ทฺวิตฺติกฺขตฺตุมฺปีติ เพียง ๒ หรือ ๓ ครั้ง มคฺคานนฺตรํ ในล�ำดับต่อจากมัคคจิต ฯ อิทานิ บัดนี้ อุปฺปชฺชนกวีถิจิตฺตปริจฺเฉททสฺสนตฺถ เพื่อจะแสดงการก� ํำหนด วิถีจิตที่เกิดขึ้น ทฺวาทสนฺนํ ปุคฺคลานํ แก่บุคคล ๑๒ จ�ำพวก ทุเหตุกาเหตุก อปายิกาเหตุกติเหตุกวเสน จตุพฺพิธานํ ปุถุชฺชนานํ มคฺคฏฺผลฏฺวเสน อฏฺวิธานํ อริยานนฺติ คือ ปุถุชน ๔ จ�ำพวก ได้แก่ ทุเหตุกบุคคล อเหตุกบุคคล อปายิกา เหตุกบุคคล และติกเหตุกบุคคล พระอริยบุคคล ๘ จ�ำพวก ได้แก่ ท่านผู้ด�ำรงอยู่ ในมรรค ๔ และท่านผู้ด�ำรงอยู่ในผล ๔ ตาว อันดับแรก ทฺวิเหตุกานมเหตุ- กานญฺเจติอาทิอาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์กล่าวค�ำว่า ทฺวิเหตุกานมเหตุกานญฺจ ดังนี้เป็นต้น เตสํ วชฺชิตพฺพจิตฺตานิ ทสฺเสตุ เพื่อจะแสดงจิตที่จะพึงเว้นส�ำหรับ บุคคลเหล่านั้น ปมํ ก่อน ฯ ทฺวิเหตุกา บุคคลทั้งหลายชื่อว่าทวิเหตุกะ ปฏิสนฺธิวิญฺญาณสหคตา อโลภาโทสวเสน เทฺว เหตู อิเมสนฺติ เพราะ
182 ปริเฉทที่ ๔ อรรถวิเคราะห์ว่า มีเหตุ ๒ คือ อโลภเหตุและอโทสเหตุอันสหรคตด้วยปฏิสนธิ วิญญาณ ฯ อเหตุกา บุคคลทั้งหลายชื่อว่าอเหตุกะ ตาทิสานํเหตูนมภาวโต เพราะไม่มีเหตุทั้งหลายเช่นนั้น ฯ มกาโร ม อักษร ปทสนฺธิกโร ท�ำการเชื่อมบท ฯ อปฺปนาชวินานิ อัปปนาชวนจิต น ลพฺภนฺติ ชื่อว่าย่อมไม่ได้ เตสํ แก่บุคคล ๒ จ�ำพวกเหล่านั้น วิปากาวรณสพฺภาวโต เพราะมีสภาวะเป็นเครื่องกั้นวิบาก ฯ หิ ความจริง ทฺวิเหตุกาเหตุกปฏิสนฺธี ปฏิสนธิจิตแห่งทวิเหตุกบุคคลและ อเหตุกบุคคล วิปากาวรณนฺติวุจฺจนฺติ ท่านเรียกว่า เป็นเครื่องกั้นวิบาก ฯ อรหตฺตํ พระอรหัตต์ นตฺถิ ชื่อว่าไม่มี แก่บุคคล ๒ จ�ำพวกนั้น อปฺปนาชวนาภาวโตเยว เพราะไม่มีอัปปนาชวนจิตนั่นเอง อิติ เพราะเหตุนั้น กฺริยาชวนานิ น ลพฺภนฺติ กิริยาชวนจิตจึงไม่ได้แก่บุคคล ๒ จ�ำพวกนั้น ฯ ปาโต เพราะพระบาลี สเหตุกํ ภวงฺคํ อเหตุกสฺส ภวงฺคสฺส อนนฺตรปจฺจเยน ปจฺจโยติ ว่า ภวังคจิตที่เป็น สเหตุกะย่อมเป็นปัจจัยแก่ภวังคจิตที่เป็นอเหตุกะ โดยอนันตรปัจจัย ดังนี้ ทฺวิเหตุกตทาลมฺพน ตทาลัมพนจิตที่เป็นทวิเหตุกะ ํ สมฺภวติ จึงเกิดมี อเหตุกานมฺปิ แม้แก่เหล่าอเหตุกบุคคล นานากมฺเมน ด้วยกรรมต่าง ๆ ฯ ทฺวิเหตุกานมฺปิ ฝ่ายเหล่าทวิเหตุกบุคคล วตฺตพฺพเมว นตฺถิ ไม่จ�ำเป็นต้องกล่าวถึงเลย ฯ ปน แต่ มูลสนฺธิยา ชฑภาวโต เพราะปฏิสนธิจิตดวงเดิมยังมีความเกี่ยวข้องอยู ่ ติเหตุกตทาลมฺพนํ ตทาลัมพนจิตที่เป็นติเหตุกะ นตฺถิ จึงไม่มี อุภินฺนมฺปิ แก่ชนแม้ ๒ จ�ำพวก อิติ เพราะเหตุนั้น ตถา ญาณสมฺปยุตฺตวิปากานิจาติอาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ตถา าณสมฺปยุตตวิปากานิจ ดังนี้ ฯ ปน ก็ อวิเสเสน วุตฺตตฺตา เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ โดยไม่แปลกกัน สเหตุกํ ภวงฺคนฺติ ว่า สเหตุกํ ภวงฺคํ ดังนี้เป็นต้น อาจริยโชติปาลตฺเถเรน ท่านอาจารย์ โชติปาลเถระ อเหตุกานมฺปิติเหตุกตทาลมฺพนํวตฺวา จึงกล่าว ตทาลัมพนจิต ที่เป็นติเหตุกะ แม้แก่พวกอเหตุกบุคคล แล้ว วุตฺตํ จึงกล่าวไว้ อิธ ในอธิการ ว่าด้วยการแสดงถึงจิตที่จะพึงเว้นส�ำหรับบุคคลเหล่านั้นนี้ โส เอว ปุจฺฉิตพฺโพ โย ตสฺส กตฺตาติ ว่า บุคคลใดเป็นผู้พูดถ้อยค�ำนั้น พึงถามบุคคลนั้นนั่นแล
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 183 ปริหาสวเสน ด้วยอ�ำนาจจะเย้ย ญาณสมฺปยุตฺตวิปากาภาววจนสฺส ถ้อยค�ำที่ว่า วิบากจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ไม่มี ฯ ตมฺปน ก็ ค�ำนั้น วุตฺตมฺปิ แม้พระเถระ กล่าวไว้แล้ว ปริหาสวเสน ด้วยอ�ำนาจการเย้ย ิต ก็ด� ํำรงอยู่ อาจริยํ ปุจฺฉิตฺวาว ชานนตฺถํ วุตฺตวจนํ วิย คล้ายกับค�ำที่กล่าวไว้ เพื่อจะถามอาจารย์ก่อนแล้ว จึงจะทราบได้ ฯ ตถาหิ จริงอย่างนั้น เอตฺถ ในอธิการว่าด้วยการแสดงความไม่เป็นไป แห่งวิบากจิตที่ประกอบด้วยญาณ แก่บุคคลเหล่านี้ อาจริเยเนว ท่านอาจารย์ นั่นแหละ การณํ วุตฺตํ กล่าวเหตุไว้ ปรมตฺถวินิจฺฉเย ในปกรณ์ ปรมัตถวินิจฉัย อิติ ว่า ญาณปากา วิบากจิตที่เป็นญาณสัมปยุตทั้งหลาย น วตฺตนฺติ ย่อมเป็นไปไม่ได้ มูลสนฺธิยา ชฑตฺตา เพราะปฏิสนธิจิตดวงเดิม ยังมีความเกี่ยวข้องอยู่ ฯ ปน ส่วน อปเร อาจารย์อีกพวกหนึ่ง วณฺเณนฺติ พรรณนาไว้ อิติ ว่า ติเหตุกตทาลมฺพนมฺปิ แม้ตทาลัมพนจิตที่เป็นติเหตุกะ โหติ ก็มี ทฺวิเหตุกานํ แก่ทวิเหตุกบุคคลทั้งหลาย ยถา อเหตุกานํ สเหตุกตทาลมฺพนํ เหมือนกับ ตทาลัมพนจิตที่เป็นสเหตุกะ มีแก่พวกอเหตุกบุคคล เอวํ ฉะนั้น ฯ อาจารย์ อีกพวกหนึ่ง วทนฺติ กล่าว อิติ ว่า อเหตุเกเยว สนฺธาย ท่านพระอนุรุทธาจารย์ หมายเอาเฉพาะอเหตุกบุคคล ญาณสมฺปยุตฺตวิปากปฏิกฺเขโป กโต จ จึงกระท�ำ การคัดค้านวิบากจิตที่เป็นญาณสัมปยุต อิธาปิ แม้ในอภิธัมมัตถสังคหะนี้ มตานุโรเธน โดยคล้อยตามมติ เตสํ ของอาจารย์พวกนั้น ฯ ปน ก็ วีมํสิตฺวา บัณฑิตพิจารณาแล้ว วจนํ สมฺปฏิจฺฉิตพฺพํ รับรองถ้อยค�ำ เตสํ ของอาจารย์ พวกนั้น ตตฺถ ปมาณปาาภาวโต เพราะไม่มีพระบาลีเป็นหลักฐาน ในค�ำว่า ตทาลัมพนจิตที่เป็นทุเหตุกะ ดังนี้นั้น อาจริเยน อุภินฺนมฺปิ สาธารณวเสน ญาณสมฺปยุตฺตวิปากาภาเว การณํ วตฺวา สมกเมว จิตฺตปริจฺเฉทสฺส ทสฺสิตตฺตา จ และเพราะท่านอาจารย์กล่าวถึงเหตุในความไม่มีวิบากจิตที่เป็นญาณสัมปยุต ด้วยอ�ำนาจ ทั่วไปแม้แก่บุคคลทั้งสองจ�ำพวก แล้วแสดงการก�ำหนดจิตไว้เท่ากันพอดี ฯ จ ก็
184 ปริเฉทที่ ๔ สุคติยนฺติวจนํ ค�ำว่า สุคติยํ เอตฺถ ในค�ำว่า ตถา าณสมฺปยุตฺตวิปากานิจ สุคติยํ นี้ มีไว้ อเหตุกาเปกฺขาย โดยเพ่งถึงอเหตุกบุคคล ฯ ตมฺปน แต่ ค�ำว่า สุคติยํ นั้น อตฺถโต โดยเนื้อความ อนุญฺญาตํ ท่านอาจารย์อนุญาตไว้แล้ว ทฺวิเหตุกวิปากานํ ตตฺเถว สมฺภวทสฺสนปรํ เป็นค�ำที่มุ่งแสดงว่า ทวิเหตุกวิบากจิต ทั้งหลาย เกิดมี ในสุคตินั้นนั่นเอง ฯ เตน เหตุนั้น ทุคฺคติยมฺปนาติอาทึอาห ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าวว่า ทุคฺคติยมฺปน ดังนี้เป็นต้น ฯ ติเหตุเกสูติ บทว่า ติเหตุเกสุ ความว่า ติเหตุเกสุ บรรดาบุคคลที่มีเหตุ ๓ ปฏิสนฺธิวิญฺญาณสหคตอโลภาโทสาโมหวเสน คือ อโลภเหตุ ๑ อโทสเหตุ ๑ อโมหเหตุ ๑ ที่สหรคตด้วยปฏิสนธิวิญญาณ ปุถุชฺชนาทีสุ นววิธปุคฺคเลสุ ได้แก่ บุคคล ๙ จ�ำพวก มีปุถุชนเป็นต้น ฯ ทิฏฺิ ฯเปฯ เสกฺขานนฺติ ข้อว่า ทิฏฺิ ฯเปฯ เสกฺขาน ความว่า ตํสหคตชวนานิ เจว ชวนจิตที่สหรคตด้วยสักกายทิฏฐิ และวิจิกิจฉานั้น จสทฺเทน อากฑฺฒิตานิ ขีณาสวาเวนิกานิ กฺริยาชวนานิ จ และกิริยาชวนจิตซึ่งมีเฉพาะแก่พระขีณาสพที่ท่านชักมาด้วย จ ศัพท์ น ลพฺภนฺติ ย่อมไม่ได้ เสกฺขาติ ลทฺธนามานํ โสตาปนฺนสกทาคามีนํ แก่โสดาบันบุคคล และสกทาคามีบุคคล ผู้ได้นามว่าเสกขะ สิกฺขนสีลตาย เพราะเป็นผู้มีปกติศึกษา สิกฺขาย อปริปูริการิตาย โดยเป็นผู้กระท�ำยังไม่บริบูรณ์ในสิกขา สกฺกายทิฏฺิ- วิจิกิจฺฉานํ ปหีนตฺตา เพราะละสักกายทิฏฐิ และวิจิกิจฉาได้ ปมมคฺเคเนว ด้วยโสดาปัตติมรรคเท่านั้น ฯ ปฏิฆชวนานิจาติ บทว่า ปฏิฆชวนานิจ ได้แก่ โทมนสฺสชวนานิ เจว ชวนจิตที่สหรคตด้วยโทมนัสสเวทนา ทิฏฺิสมฺปยุตฺตวิจิกิจฺฉาสหคตกฺริยาชวนานิจ ชวนจิตที่สัมปยุตด้วยทิฏฐิ ชวนจิตที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉา และกิริยาชวนจิต ฯ โลกุตฺตร ฯเปฯ สมุปฺปชฺชนฺตีติ ข้อว่า โลกุตฺตร ฯลฯ สมุปฺปชฺชติ ความว่า อฏฺปิ โลกุตฺตรชวนานิ โลกุตตรชวนจิตแม้ทั้ง ๘ ดวง สมุปฺปชฺชนฺติ ย่อมเกิดขึ้นพร้อม อริยานเมว เฉพาะพระอริยบุคคลทั้งหลาย ยถาสกํ มคฺคผลฏฺานํ ผู้ด�ำรงอยู่ในมรรคและผล ตามสภาวะของตน จตุนฺนํ มคฺคานํ ปุคฺคลนฺตเรสุ อสมฺภวโต เพราะมัคคจิต ๔ ดวงไม่เกิดมีในบุคคลอื่น
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 185 เอกจิตฺตกฺขณิกภาเวน โดยเกิดขึ้นชั่วขณะจิตเดียว เหฏฺิมานํ อุปรูปริสมาปตฺติ ยา อนธิคตตฺตา จ เพราะพระอริยบุคคลชั้นต�่ำ ๆ ยังมิได้บรรลุสมาบัติชั้นสูง ๆ อุปริปุคฺคลานญฺจ ปฏิปฺปสฺสทฺธตฺตา จ และเพราะพระอริยบุคคลชั้นสูง ๆ เป็นผู้สงบระงับแล้ว โสตาปนฺนาทีหิ ปุคฺคลนฺตรภาวูปคมเนน โดยเข้าถึง ความเป็นบุคคลอื่นจากโสดาบันบุคคลเป็นต้น อสมุคฺฆาฏิตกมฺมกิเลสนิโรเธน เหตุที่กรรมกิเลสซึ่งพระอริยบุคคลชั้นต�่ำ ๆ ยังถอนไม่ได้ ดับไป ปุถุชฺชเนหิ โสตาปนฺนานํ วิย เหมือนอย่างโสดาบันบุคคลทั้งหลายเข้าถึงความเป็นบุคคลอื่น จากพวกปุถุชน ฉะนั้น ฯ (อาจริเยน) วชฺเชตฺวา ท่านพระอนุรุทธาจารย์ครั้นเว้น ยถาปฏิกฺขิตฺตชวนานิ ชวนจิตตามที่ถูกห้ามทั้งหลาย เตสํ เตสํ ปุคฺคลานํ ส�ำหรับบุคคลทั้งหลาย เหล่านั้น ๆ แล้ว อิทานิ บัดนี้ ลพฺภมานชวนานิ สมฺปิณฺฑิตฺวา ทสฺเสตุํ หวังจะรวบรวมแสดงชวนจิตที่จะได้อยู่ ปาริเสสโต โดยนัยที่ยังเหลืออยู่รอบด้าน อเสกฺขานนฺติอาทิวุตฺตํ จึงกล่าวค�ำว่า อเสกฺขาน ดังนี้เป็นต้น ฯ ํทฏฺฐพฺพ นักศึกษา ํ ทั้งหลายพึงเห็นความตกลงใจว่า อุทฺทิเส บัณฑิตพึงยกขึ้นแสดง จตุจตฺตาฬีส วีถิจิตฺตานิ ซึ่งวิถีจิต ๔๔ ดวง เตวีสติกามาวจรวิปากวีสติกฺริยาอรหตฺตผลวเสน คือ กามาวจรวิบากจิต ๒๓ ดวง กิริยาจิต ๒๐ ดวง และอรหัตตผลจิต (๑ ดวง) เสสานิ ที่เหลือ ปญฺจจตฺตาฬีสวชฺชิตานิ เว้นจิต ๔๕ ดวง วเสน คือ เตตฺตึสวิธกุสลากุสลสฺส กุศลจิต (๒๑ ดวง) อกุศลจิต (๑๒ ดวง) รวม ๓๓ ดวง เหฏฺฐิมผลตฺตยสฺส โลกุตตรผลจิตเบื้องต�่ำ ๓ ดวง วีถิมุตฺตานญฺจ นวมหคฺคตวิปากานํ และมหัคคต วิบากจิตที่พ้นจากวิถี ๙ ดวง สมฺภวา ตามที่เกิด ยถาลาภ คือตามที่หาได้ ํอเสกฺขานํ ส�ำหรับพระอริยบุคคลทั้งหลาย ผู้ชื่อว่าพระอเสกขะ ติวิธสิกฺขาปริปูริการีภาวโต เพราะเป็นผู้มีปกติท�ำให้บริบูรณ์ในไตรสิกขา ขีณาสวาน ได้แก่ ส� ํำหรับพระขีณาสพ ทั้งหลาย กามภเว ฐิตานํ วเสน โดยหมายถึงพระขีณาสพทั้งหลาย ผู้ยังด�ำรงอยู่ ในกามภพ ฯ อวิเสสโต กล่าวโดยไม่แปลกกัน เตตฺตึส วชฺเชตฺวา บัณฑิตพึงเว้น จิต ๓๓ อฏฺฐารสกฺริยาชวนทิฏฺฐิวิจิกิจฺฉาสหคตปญฺจกอคฺคผลมหคฺคตวิปากวเสน
186 ปริเฉทที่ ๔ คือ กิริยาชวนจิต ๑๘ ดวง โลภมูลจิตที่เป็นทิฏฐิสัมปยุต (๔ ดวง) และโมหมูล จิตที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเจตสิก (๑ ดวง) รวม ๕ ดวง อรหัตตผลจิต (๑ ดวง) และมหัคคตวิบากจิต (๙ ดวง) อุทฺทิเส แล้วยกขึ้นแสดง ฉปญฺญาส วีถิจิตฺตานิ ซึ่งวิถีจิต ๕๖ ดวง เตวีสติกามาวจรวิปากอาวชฺชนทฺวยเอกวีสติกุสลสตฺตากุสลเหฏฺฐิมผลตฺตยวเสน คือ กามาวจรวิบากจิต ๒๓ ดวง อาวัชชนจิต ๒ ดวง กุศลจิต ๒๑ ดวง อกุศลจิต ๗ ดวง และโลกุตตรผลจิตเบื้องต�่ำ ๓ ดวง ยถาสมฺภว ตามที่เกิดได้ ํเสกฺขาน ส� ํำหรับพระอริยบุคคลทั้งหลายผู้เป็นพระเสกขะ ฯ ปน แต่ วิเสสโต กล่าวโดยแปลกกัน อุทฺทิเส พึงยกขึ้นแสดง เอกปญฺญาส ซึ่งวิถีจิต ๕๑ ดวง โสตาปนฺนสกทาคามีนํ ส�ำหรับพระโสดาบันบุคคลและ พระสกทาคามีบุคคลทั้งหลาย เอกูนปญฺญาส พึงยกขึ้นแสดงซึ่งวิถีจิต ๔๙ ดวง อนาคามีนํ ส�ำหรับพระอนาคามีบุคคลทั้งหลาย อวิเสสโต กล่าวโดยไม่แปลกกัน ปญฺจตฺตึส วชฺเชตฺวา บัณฑิตพึงเว้นจิต ๓๕ ดวง อฏฺฐารสกฺริยาชวนสพฺพโลกุตฺตรมหคฺคตวิปากวเสน คือ กิริยาชวนจิต ๑๘ ดวง โลกุตตรจิตทั้งปวง (๘ ดวง) และมหัคคตวิบากจิต (๙ ดวง) จิต อุทฺทิเส แล้วยกขึ้นแสดง จตุปญฺญาส วีถิจิตฺตานิ ซึ่งวิถีจิต ๕๔ ดวง กามาวจรวิปากอาวชฺชนโลกิยกุสลากุสลวเสน คือ กามาวจรวิบากจิต (๒๓ ดวง) อาวัชชนจิต (๒ ดวง) โลกิยกุศลจิต (๑๗ ดวง) และอกุศลจิต (๑๒ ดวง) อวเสสานิ ที่เหลือ ยถาสมฺภวโต ตามที่เกิดได้ อวเสสานํ จตุนฺนํ ปุถุชฺชนาน ส� ํำหรับบุคคลทั้งหลาย คือ ส�ำหรับปุถุชน ๔ จ�ำพวก ฯ ปน แต่ วิเสสโต กล่าวโดยแปลกกัน ติเหตุกานํ ส�ำหรับพวกติเหตุกบุคคล จตุปญฺญาเสว ลพฺภนฺติย่อมได้วิถีจิตเพียง ๕๔ ดวงเท่านั้น ฯ ทฺวิเหตุกาเหตุกานํ ส�ำหรับพวกทวิเหตุกบุคคลและอเหตุกบุคคล เอกจตฺตาฬีส ย่อมได้วิถีจิต ๔๑ ดวง เท่านั้น ญาณสมฺปยุตฺตวิปากอปฺปนาชวนวชฺชิตานิ ซึ่งเว้นกามาวจรโสภณวิบากจิต ที่เป็นญาณสัมปยุต (๔ ดวง) และอัปปนาชวนจิต (๔๘ ดวง) เสีย ฯ อาปายิกานํ ส�ำหรับเหล่าสัตว์ผู้เกิดในอบายภูมิ ตาเนว ย่อมได้วิถีจิต ๔๑ ดวง เหล่านั้น นั่นแหละ ทฺวิเหตุกวิปากวชฺชานิ ซึ่งเว้นกามาวจรโสภณวิบากจิตที่เป็นทวิเหตุกะ
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 187 (๔ ดวง) สตฺตตฺตึส วีถิจิตฺตานีติ คงเหลือวิถีจิตเพียง ๓๗ ดวงเท่านั้น ฯ จิตฺตปฺปวตฺติเภโท ความต่างกันแห่งความเป็นไปแห่งจิต ปุคฺคลานํ วเสน ด้วยอ�ำนาจบุคล ปุคฺคลเภโท ชื่อว่าบุคคลเภท ฯ สพฺพานิปิวีถิจิตฺตานิ วิถีจิต แม้ทั้งหมด อุปลพฺภนฺติ ย่อมหาได้ (ในกามาวจรภูมินั้น) ฉนฺนํ ทฺวารานํ สพฺเพสญฺจ ปุคฺคลานํ ตฺตถ สมฺภวโต เพราะทวาร ๖ และบุคคลทั้งหมดเกิดในกามาวจรภูมินั้น ฯ ยถารหนฺติ บทว่า ยถารหํ ได้แก่ ตํตํภวานุรูปํ ตามสมควรแก่ภพนั้น ๆ ตํตํปุคฺคลานุรูปญฺจ และตามสมควรแก่บุคคลนั้น ๆ ฯ สพฺพตฺถาปีติอาทินา ด้วยค�ำว่า สพฺพตฺถาปิ เป็นต้น ฆานวิญฺญาณาทีนมฺปิ ปฏิกฺเขโป เหสฺสตีติ จักเป็นการคัดค้านแม้วิญญาณจิตมีฆานวิญญาณจิตเป็นต้น เพราะเหตุนั้น รูปาวจรภูมิยํ ในภูมิที่เป็นรูปาวจร ปฏิฆชวนตทาลมฺพนาเนว ปฏิกฺขิตฺตานิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงคัดค้านเฉพาะโทสมูลจิต (๒ ดวง) และตทาลัมพนจิต (๑๑ ดวง) ฯ สพฺพตฺถาปีติ บทว่า สพฺพตฺถาปิ ได้แก่ กามภเว จ รูปภเว จ ในกามภพและในรูปภพ ฯ กามภเว ในกามภพ อสีติวีถิจิตฺตานิ ย่อมได้วิถีจิต ๘๐ ดวง วีถิมุตฺตกวชฺชานิ เว้นจิตที่พ้นจากวิถี (๙ ดวง) ยถารหํ ตามสมควร ฯ รูปภเว ในรูปภพ จตุสฏฺฐี ย่อมได้วิถีจิต ๖๔ ดวง เสสานิ อาวชฺชนทฺวยนวาเหตุกวิปากเตปญฺญาสเสสชวนวเสน คือ อาวัชชนจิต ๒ ดวง อเหตุกวิบากจิต ๙ ดวง และชวนจิตที่เหลือ ๕๓ ดวง ที่เหลือ ปญฺจวีสติวชฺเชตฺวา เว้นจิต ๒๕ ดวง ปฏิฆทฺวยอฏฺฐตทาลมฺพนฆานาทิวิญฺญาณ ฉกฺกวีถิมุตฺตกวเสน คือ โทสมูลจิต ๒ ดวง ตทาลัมพนจิต ๘ ดวง วิญญาณจิต ๖ ดวง มีฆานวิญญาณจิต เป็นต้น และจิตที่พ้นจากวิถี (๙ ดวง) ฯ อรูปภเว ในอรูปภพ ลพฺภเร ย่อมได้ อุปลพฺภนฺติ คือ ย่อมหาได้แน่นอน เทฺวจตฺตาฬีสจิตฺตานิ จิต ๔๒ ดวง เสสานิ ฉพฺพีสติปริตฺตชวนอฏฺฐารูปชวนสตฺตโลกุตฺตรชวนมโนทฺวารา วชฺชนวเสน ได้แก่ กามาวจรชวนจิต ๒๖ ดวง อรูปาวจรชวนจิต ๘ ดวง โลกุตตรชวนจิต ๗ ดวง และมโนทวาราวัชชนจิต (๑ ดวง) ที่เหลือ สตฺตจตฺตาฬีส วชฺเชตฺวา เว้นจิต ๔๗ ดวง เตวีสติกามาวจรวิปากปฐมมคฺค ปญฺจทสรูปาวจรปฏิฆทฺวยอรูป
188 ปริเฉทที่ ๔ วิปากกฺริยามโนธาตุหสนวเสน คือ กามาวจรวิบากจิต ๒๓ ดวง โสดาปัตติมรรคจิต (๑ ดวง) รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง โทสมูลจิต ๒ ดวง อรูปาวจรวิบากจิต (๔ ดวง) กิริยามโนธาตุจิต (๑ ดวง) และหสิตุปปาทจิต (๑ ดวง) ฯ ปน ฝ่าย เกจิ อาจารย์บางพวก ค�ำนึงถึงว่า รูปภเว อนิฏฺฐารมฺมณาภาวโต เพราะในรูปภพไม่มี อนิฏฐารมณ์ อกุสลวิปากสมฺภโว อกุศลวิบากจิต (๔ ดวง) เกิดมี อิธาคตานํเยว พฺรหฺมาน แก่พวกพรหม เฉพาะผู้มายังมนุษยโลกนี้เท่านั้น ํ อิติ ดังนี้ ปริหาเปตฺวา จึงให้ลด ตานิ อกุศลวิบากจิต (๔ ดวง) เหล่านั้นเสีย วทนฺติ แล้วกล่าวว่า รูปภเว ในรูปภพ ปญฺจปริตฺตวิปาเกหิสทฺธึสฏฺฐีเยว วีถิจิตฺตานีติย่อมได้วิถีจิต รวมกับกามาวจรวิบากจิต ๕ ดวง เป็น ๖๐ ดวงถ้วน ดังนี้ ฯ ปน ก็ น สกฺกา วตฺตุ ใคร ๆ ไม่อาจกล่าวว่า อิธ อนิฏฺฐารมฺมณสฺส อสมฺภโว อนิฏฐารมณ์ ในมนุษยโลกนี้ ไม่เกิดมี ตตฺถ ฐตฺวาปิ อิมํ โลกํ ปสฺสนฺตานํ แก่พวกพรหม แม้ผู้อยู่ในพรหมโลกนั้น (แต่) มองดูโลกนี้อยู่ อิติ เพราะเหตุนั้น ตตฺถ ในรูปภพนั้น วุตฺตานิ ท่านพระอนุรุทธาจารย์จึงกล่าววิถีจิต เตหิสทฺธึเยว รวมกับอกุศลวิบาก จิต ๔ ดวงเหล่านั้นนั่นแหละ จตุสฏฺฐี ว่ามี ๖๔ ดวง ฯ เอวญฺจ กตฺวา ก็เพราะอธิบายความดังกล่าวมานี้ วุตฺตํ ธมฺมานุสารณิยํ พระอรรถกถาจารย์จึง กล่าวไว้ในคัมภีร์ธัมมานุสารณีย์ อิติ ว่า ยทา ในกาลใด พฺรหฺมาโน พวกพรหม กามาวจรมนิฏฺฐารมฺมณมาลมฺพนฺติ น้อมนึกถึงอนิฏฐารมณ์ที่เป็นกามาวจร ตทา ในกาลนั้น อกุสลวิปากจกฺขุโสตวิญฺญาณมโนธาตุสนฺตีรณานํ จักขุวิญญาณจิต โสตวิญญาณจิต มโนธาตุจิต และสันตีรณจิต ฝ่ายอกุศลวิบาก อุปฺปตฺติ สมฺภวติ ย่อมเกิดมีขึ้นได้ ตํสุคติยมฺปิ แม้ในสุคติภูมินั้น ฯ วิภาโค การจ�ำแนกจิต ภูมิวเสน ด้วยอ�ำนาจภูมิ ภูมิวิภาโค ชื่อว่าภูมิวิภาค ฯ ยถาสมฺภวนฺติ บทว่า ยถาสมฺภวํ ได้แก่ สมฺภวานุรูปโต ตามสมควรแก่จิต ที่เกิดได้ ตํตํทฺวาเรสุ วา ในทวารนั้น ๆ ตํตํภเวสุ วา หรือในภพนั้น ๆ ฯ ยาวตายุกนฺติ บทว่า ยาวตายุกํ เป็นต้น อธิปฺปาโย มีอธิบายความว ่า (ฉทฺวาริกจิตฺตปฺปวตฺติ) ความเป็นไปแห่งจิตที่เกิดทางทวาร ๖ อพฺโพจฺฉินฺนา
พระมหาสมม์ปสพพ์ภพ โชติปฺ โ ป.ธ.๙ แปล 189 ย่อมเป็นไปไม่ขาดสาย ตลอดกาล ปวตฺตมโนทฺวาริกจิตฺตวีถิโต ปฏฺฐาย เริ่มตั้งแต่วิถีจิตที่เกิดทางมโนทวารที่เป็นไป ภวนิกนฺติวเสน คือ หยั่งลงสู่ภพ ปฏิสนฺธิโต ปรํ ต่อจากปฏิสนธิจิต จุติจิตฺตาวสานํ มีจุติจิตเป็นที่สุด ตโต ปุพฺเพ ปวตฺตภวงฺคาวสานํ วา หรือตลอดกาลที่เป็นไปก่อนแต่จุติจิตนั้น มีภวังคจิต เป็นที่สุด อสติ นิโรธสมาปตฺติยนฺติ ในเมื่อไม่มีการเข้านิโรธสมาบัติ ฯ จตุตฺถปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๔ อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา นาม อภิธมฺมตฺถสงฺคหวณฺณนาย ในฎีกาอภิธัมมัตถสังหะ ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินี นิฏฺฐิตา จบแล้ว อิติ ด้วยประการฉะนี้ ฯ
190 ปริเฉทที่ ๕ ปฺ จมปริจฺเฉทวณฺณนา พรรณนาความปริเฉทที่ ๕ จ ก็ (อายสฺมา อนุรุทฺธาจริโย) ท่านพระอนุรุทธาจารย์ เอตฺตาวตา วีถิสงฺคหํ ทสฺเสตฺวา ครั้นแสดงการรวบรวมวิถีจิต ด้วยค�ำมีประมาณเท่านี้แล้ว อิทานิ บัดนี้ วีถิมุตฺตสงฺคหํ ทสฺเสตุมารภนฺโต เมื่อจะเริ่มแสดงการรวบรวมจิตที่พ้นจากวิถีจิต อาห วีถิจิตฺตวเสเนวนฺติอาทึ จึงได้กล่าวค�ำว่า วิถีจิตฺตวเสเนวํ ดังนี้เป็นต้น ฯ โยชนา มีวาจาประกอบความว่า สงฺคโห การรวบรวม ปวตฺติสงฺคโห นาม ชื่อว่าปวัตติสังคหะ (มยา) อันข้าพเจ้า อุทีริโต ได้ยกขึ้นแสดงไว้แล้ว ปวตฺติยํ ในปวัตติกาล ปฏิสนฺธิโต อปรภาเค จุติปริโยสาเน คือ ในกาลอื่นจากปฏิสนธิกาล ซึ่งมีจุติเป็นที่สุด วีถิจิตฺตวเสน ด้วยอ�ำนาจแห่งวิถีจิต เอวํ ดังพรรณนามาฉะนี้ ยถาวุตฺตนเยน คือ โดยนัยตามที่กล่าวแล้ว (ในปริเฉทที่ ๔) อิทานิ บัดนี้ ตทนนฺตรํ คือ ในล�ำดับต่อจากปวัตติสังคหะในปวัตติกาลนั้น (มยา) ข้าพเจ้า วุจฺจติ จะกล่าว ปวตฺติสงฺคโห ปวัตติสังคหะ สนฺธิยํ ปฏิสนฺธิกาเล ในปฏิสนธิกาล คือ ในกาลแห่งปฏิสนธิ ตทาสนฺนตาย ตคหเณเนวํ คหิตจุติกาเล จ และในกาลแห่งจุติที่ท่านระบุด้วยศัพท์ว่า ปฏิสนธินั้นนั่นเอง โดยความที่จุติจิตใกล้ ต่อปฏิสนธิจิตนั้น ฯ ปฺุ สมฺมตา อยา เยภุยฺเยน อปคโตติ อปาโย ที่ชื่อว่าอบาย เพราะ อรรถวิเคราะห์ว่า โดยมาก ปราศจากความเจริญ ที่รู้กันว่าบุญ ฯ โสเยว ภูมิ ภูมิ คือ อบายนั้น ภวนฺติ เอตฺถ สตฺตาติ อปายภูมิ ชื่อว่า อบายภูมิ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นที่เกิดแห่งเหล่าสัตว์ ฯ อเนกวิธสมฺปตฺติอธิฏฺานตาย โสภณา คนฺตพฺพโต อุปฺปชฺชิตพฺพโต คติ จาติ สุคติ ที่ชื่อว่าสุคติ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ชื่อว่าคติ เพราะอันสัตว์พึงไป คือ พึงเกิดขึ้น และชื่อว่างาม เพราะเป็นที่อาศัยแห่งสมบัติเอนกประการ ฯ
พระมหาหวล ยสาโส ป.ธ.๙ แปล 191 กามตณฺหาย สหจริตา คติที่อยู่ร่วมกับกามตัณหา สุคติ ชื่อว่ากามสุคติ ฯ สาเยว ภูมิ ภูมิ คือ กามสุคตินั้น อิติ เพราะเหตุนั้น กามสุคติภูมิ จึงชื่อว่า กามสุคติภูมิ ฯ เสเสสุปิแม้ในรูปาวจรภูมิเป็นต้นที่เหลือ เอวํ ก็มีนัยอย่างนี้ ฯ อยโต สุขโต นิคฺคโตตินิรโย ที่ชื่อว่านิรยะ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ออกไป จากความเจริญ คือ ความสุข ฯ ติโร อฺ ฉิตาติติรจฺฉานา ที่ชื่อว่าดิรัจฉาน เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า ไปขวาง ฯ เตสํ โยนิก�ำเนิดของสัตว์ดิรัจฉานเหล่านั้น ติรจฺฉานโยนิ ชื่อว่าติรัจฉานโยนิ ฯ ยุวนฺติ ตาย สตฺตา อมิสฺสิตาปิ สมานชาติตาย มิสฺสิตา วิย โหนฺตีติ โยนิ ที่ชื่อว่าก�ำเนิด เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเครื่องผสม แห่งเหล่าสัตว์ แม้จะไม่ปะปนกัน ก็เป็นเหมือนปะปนกัน โดยมีชาติเสมอกัน ฯ ปน ก็ สา ก�ำเนิดนั้น อตฺถโต โดยเนื้อความ ขนฺธานํ ปวตฺติวิเสโส ได้แก่ ความเป็นไปแห่งขันธ์ทั้งหลายเป็นเครื่องแปลกกัน ฯ ปกฏฺเน สุขโต อิตา คตาติเปตา ที่ชื่อว่าเปรต เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นไปแล้ว คือ ไปแล้ว จากประโยชน์อันดียิ่ง คือ จากความสุข ฯ วิสโย วิสัย เปตานํ แห่งเปรตทั้งหลาย นิชฺฌามตณฺหิกาทิเภทานํ แยกประเภท เป็นนิชฌามตัณหิกเปรตเป็นต้น เปตฺติวิสโย ชื่อว่าเปรตวิสัย ฯ ปน ก็ เอตฺถ ในก�ำเนิดแห่งสัตว์ดิรัจฉานและเปรตวิสัยนี้ ขนฺธานเยวํคหณํ การก�ำหนดรู้ขันธ์ทั้งหลายนั่นแหละ (โหติ) มีได้ ติรจฺฉานโยนิเปตฺติวิสยคฺคหเณน ด้วยศัพท์ว่า ติรัจฉานะโยนิ และ เปตติวิสยะ เตสํ ตาทิสสฺส ปริจฺฉินฺโนกาสสฺส อภาวโต เพราะโอกาสที่ก�ำหนดเช่นนั้นไม่มีแก่ก�ำเนิดสัตว์ดิรัจฉานและเปรตวิสัยเหล่านั้น ฯ วา ปน ก็หรือว่า เต สัตว์เหล่านั้น นิพทฺธวาสํ วสนฺติอยู่ประจ�ำ ยตฺถ ในสถานที่เช่นใด อรฺ ปพฺพตปาทาทิเก มีป่าและเชิงเขาเป็นต้น (ปณฺฑิเตน) คเหตพฺโพ บัณฑิตพึงถือเอา โอกาโสปิ แม้โอกาส ตาทิสสฺส านสฺส วเสน ด้วยอ�ำนาจสถานที่เช่นนั้น ฯ
192 ปริเฉทที่ ๕ น สุรนฺติอิสฺสริยกีฬาทีหิน ทิพฺพนฺตีติอสุรา ที่ชื่อว่าอสูร เพราะอรรถ วิเคราะห์ว่า ย่อมไม่แกล้วกล้า คือ ไม่เพลิดเพลิน โดยความเป็นใหญ่หรือการเล่น เป็นต้น เปตาสุรา ได้แก่ เปรตอสูร ฯ ปน ส่วน อิตเร พวกท้าวเวปจิตติอสูรนอกนี้ น สุรา ไม่ใช่พวกเทวดา สุร ปฏิปกฺขา คือ เป็นข้าศึกต่อพวกเทวดา อิติ เพราะเหตุนั้น อสุรา จึงชื่อว่าอสูร ฯ จ ก็ อิธ ในบทว่า อสุรกาโย นี้ เปตาสุรานเมว คหณ ระบุเฉพาะเปรตอสูร ํ พวกเดียว น อิตเรสํ (คหณํ) หาระบุถึงท้าวเวปจิตติอสูรนอกนี้ไม่ ตาวตึเสสุ คหณสฺส อิจฺฉิตตฺตา เพราะท่านอาจารย์ต้องการจะจัดไว้ในพวกเทวดาชั้นดาวดึงส์ ฯ ตถาหิวุตฺตํ อาจริเยน จริงอย่างนั้น ท่านอาจารย์กล่าวไว้ว่า เวปจิตฺตาสุรา พวกท้าวเวปจิตติอสูร คตา อยู่ ตาวตึเสสุ เทเวสุ ในพวกเทวดาชั้นดาวดึงส์ ฯ มโน อุสฺสนฺนํ เอเตสนฺติมนุสฺสา ที่ชื่อว่ามนุษย์ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า มีใจสูง อุกฺกฏฺมนตาย เพราะเป็นผู้มีใจสูง สติสุรภาวพฺรหฺมจริยโยคฺยตาทิคุเณหิ ด้วยคุณมีสติความแกล้วกล้าและความเหมาะแก่การประพฤติพรหมจรรย์เป็นต้น ฯ ตถาหิจริงอย่างนั้น พุทฺธาทโยปิ แม้บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ปรมสติเนปกฺกาทิปตฺตา ผู้บรรลุถึงสติและปัญญาเครื่องรักษาตนอย่างยอดเยี่ยม เป็นต้น มนุสฺสภูตาเยว ก็เป็นมนุษย์เหมือนกัน ฯ จ ก็ เอตฺถ ในบรรดาชนผู้อยู่ในทวีปนี้ ชมฺพูทีปวาสิโน พวกชนชาวชมพูทวีป มนุสฺสา ชื่อว่าเป็นมนุษย์ นิปฺปริยายโต โดยตรง ฯ ปน อนึ่ง อิตรมหาทีปวาสิโนปิ พวกชนแม้ที่อยู่ในทวีปใหญ่นอกนี้ สทฺธึ ปริตฺตทีปวาสีหิ รวมทั้งชนที่อยู่ในทวีปน้อย (ปณฺฑิเตน) มนุสฺสาติ วุจฺจนฺติ บัณฑิตก็เรียกว่ามนุษย์ เตหิ สมานรูปาทิตาย โดยที่มีรูปร่างเหมือนชนที่อยู่ใน ชมพูทวีปเหล่านั้นเป็นต้น ฯ ปน แต่ โลกิยา...วทนฺติ ชาวโลก กล่าวว่า มนุโน อาทิขตฺติยสฺส อปจฺจ ปุตฺตาติ มนุสฺสา ที่ชื่อว่ามนุษย์ เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า เป็นเหล่ากอ คือ เป็นลูก ของพระมนูเจ้า ได้แก่ ของกษัตริย์ผู้เป็นต้นวงศ์ ฯ